Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

การอ่านแผนที่ และการใช้ เข็มทิศ

.....................................
สิ่ งทีค่ วรทราบเกีย่ วกับการอ่านแผนที่
รายละเอียดขอบระวาง

3 5 4 2
1

18 6
13 14
10 8 7
12 15 16
9 11
17

๑.ชื่อระวาง ๒. หมายเลขแผ่นระวาง ๓. ชื่อชุดและมาตราส่ วน ๔. หมายเลขลาดับชุด


๕. ครั้งที่จดั พิมพ์ ๖. มาตราส่ วนเส้นบรรทัด ๗. ข้อความเกี่ยวกับเส้นโครงแผนที่ ๘. บันทึก
๙. ศัพทานุกรม ๑๐. คาอธิบายสัญลักษณ์ ๑๑. คาแนะนาวิธีอ่านพิกดั ๑๒. แผนผังเดคลิเนชัน่
๑๓. สารบัญแสดงเขตการปกครอง ๑๔. สารบัญระวางติดต่อ ๑๕. คาแนะนาเกี่ยวกับลาด
๑๖. คาแนะนาเกี่ยวกับระดับสู ง ๑๗. หมายเลขสิ่ งอุปกรณ์
๑๘. หน่วยงานที่จดั เตรี ยมแผนที่และอายุขอ้ มูล
มาตราส่ วน และการวัดระยะ
๑. มาตราส่ วน คือ อัตราส่ วนของความสัมพันธ์ระหว่างระยะแผนที่กบั ระยะภูมิประเทศ
สู ตรมาตราส่ วน = ระยะทางบนแผนที่
ระยะทางในภูมิประเทศ
ตัวอย่างการคานวณหามาตราส่ วน

วิธีทา ๑. วัดระยะจากสะพานถึงทางสามแยกในภูมิประเทศได้ = ๑ กม.


๒.วัดระยะจากสะพานถึงทางสามแยกในแผนที่ได้ = ๔ ซม.

สู ตรมาตราส่ วน = ระยะบนแผนที่
ระยะในภูมิประเทศ
= ๔ ซม.
๑ กม.
= ๔
๑ x ๑,๐๐๐ x ๑๐๐
= ๑
๒๕,๐๐๐
ข้ อพึงระวังในการคานวณหามาตราส่ วน
- เปลี่ยนหน่ วยวัดระยะให้ เป็ นหน่ วยเดียวกัน
- ทอนเศษให้ เหลือ 1 เสมอ
- คิดส่ วนใกล้ เคียง 1,000
๒. การวัดระยะ
ก . ก า ร วั ด ร ะ ย ะ ท า ง ต ร ง
ใช้แถบกระดาษทาบระหว่างจุดทั้งสองที่ตอ้ งการวัดทาเครื่ องหมายที่ แถบกระดาษตรงจุดกึ่ งกลางของแต่ละจุ ด
แล้วนากระดาษไปทาบที่มาตราส่ วนเส้นบรรทัด ตามหน่วยวัดระยะ ที่ตอ้ งการ
ข . ก ารวั ด ระ ย ะ ท างข อ งถ น น ( เส้ น ท างที่ ไ ม่ ต รง ) ใช้ แ ถ บ ก ระ ด าษ ท าบ ไ ป ต าม ถ น น
ที่ ขี ด แ บ่ ง ถ น น ใ น ส่ ว น ที่ เป็ น ร ะ ย ะ ท า ง ต ร ง พ ร้ อ ม กั บ ขี ด ที่ แ ถ บ ก ร ะ ด า ษ ด้ ว ย
นากระดาษไปทาบที่มาตราส่ วนเส้นบรรทัด ที่ตอ้ งการแล้วอ่านระยะจากขีดเริ่ มต้นถึงขีดสุ ดท้ายที่แถบกระดาษ

ข้ อควรจา
- วัดระยะที่จุดกึ่งกลางของตาบลที่ต้องการวัด
- ใช้ มาตราส่ วนเส้ นบรรทัดให้ ถกู ต้ อง
- การวัดถนนให้ วดั ด้ านหนึ่งด้ านใดโดยเฉพาะ
ความสู ง และทรวดทรง
ลักษณะภูมิประเทศเปรียบเทียบ

สั ญลักษณ์และสี ต่าง ๆ ของแผนที่


๑. สัญลักษณ์ของแผนที่ คือ เครื่ องหมายแบบมาตรฐานที่พิมพ์ไว้บนแผนที่ เพื่อแสดงลักษณะของสิ่ งต่าง ๆ
ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า ง ขึ้ น สั ญ ลั ก ษ ณ์ ต่ า ง ๆ ที่ ใ ช้ นี้
จ ะ ต้ อ ง พ ย า ย า ม ใ ห้ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ห มื อ น ข อ ง จ ริ ง ม า ก ที่ สุ ด เ ท่ า ที่ จ ะ ท า ไ ด้
แต่จะต้องให้เหมือนกับที่ได้มองเห็นมาจากข้างบน
๒ . สั ญ ลั ก ษ ณ์ ต่ า ง ๆ ที่ พิ ม พ์ ไ ว้ บ น แ ผ น ที่ นั้ น จ า เป็ น จ ะ ต้ อ ง ใ ช้ สี เพิ่ ม เติ ม
เพื่อให้เด่นชัดยิ่งขึ้ นทั้งนี้ เพื่อต้องการจะให้สะดวกและง่ายในการพิจารณา สี ของสัญลักษณ์ ที่ใช้เป็ นมาตรฐาน
ได้แก่ สี ต่อไปนี้
ก. สี ดา แสดงสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ข. สี แดง แสดงถนนสายหลัก ๆ
ค. สี เขียว แสดงพืชพันธุ์ไม้ต่าง ๆ
ง. สี น้ าเงิน แสดงลักษณะภูมิประเทศที่เป็ นน้ า
จ. สี น้ าตาล แสดงความสู งและทรวดทรง
๓. สัญลักษณ์ และสี ต่างๆ ทางทหาร
ก. สี น้ าเงินแทนกาลังฝ่ ายเรา และสี แดงแทนกาลังฝ่ ายข้าศึก เว้นแต่ เครื่ องกีดขวางใช้ “สี เขียว”,
พื้นที่ครอบคลุมจากการยิงของฝ่ ายเราใช้ “สี น้ าเงิน”, พื้นที่ที่เป็ นพิษใช้ “สี เหลือง”
ข . ก ร ณี ไ ม่ ใ ช้ สี ก า ร เ ขี ย น ก า ลั ง ข อ ง ฝ่ า ย เ ร า เ ขี ย น ด้ ว ย เ ส้ น เ ดี่ ย ว
และการเขียนกาลังของฝ่ ายข้าศึกเขียนด้วยเส้นคู่
สั ญลักษณ์ทางทหาร
สั ญ ลัก ษณ์ ท างทหาร เป็ นสั ญ ลัก ษณ์ อ ย่า งหนึ่ ง ประกอบด้ว ยภาพแผนผัง ตัว เลข ตัว อัก ษร ค าย่ อ
สี ห รื อ สิ่ ง ที่ ก ล่ า ว แ ล้ ว ผ ส ม กั น เพื่ อ แ ส ด ง ถึ ง ห น่ ว ย ท ห า ร ก า ลั ง ที่ ตั้ ง ห รื อ กิ จ ก ร ร ม ใ ด ๆ
อันเกี่ยวกับกิจกรรมของทหาร
๑. สัญลักษณ์ทางทหารปกติจะใช้เขียนกับสิ่ งต่อไปนี้
ก. แผนที่สถานการณ์
ข. แผนที่สังเขป และแผ่นบริ วาร
ค. ภาพถ่ายทางอากาศ
ง. แผนผังการจัดกาลัง
๒. หลักนิยมในการเขียนสัญลักษณ์ทางทหารที่ดี คือ
ให้มีความง่าย , เป็ นแบบเดียวกัน , มีความชัดเจน
๓. องค์ประกอบของสัญลักษณ์ทหาร โดยทัว่ ไปประกอบด้วย
ก. สัญลักษณ์หลัก
ข. สัญลักษณ์ขนาดหน่วย
ค. สัญลักษณ์เหล่า และ/หรื อ สัญลักษณ์ของการปฏิบตั ิการ
ง. หน่วย ตาบล หรื อกิจการ
จ. รายการอื่น ๆ (ถ้ามี)
หลักการประกอบสั ญลักษณ์
ผังการประกอบสั ญลักษณ์

หลักทัว่ ไปในการประกอบสั ญลักษณ์


๑. “หน่วยที่ระบุถึง” หมายถึงหน่วยเล็กที่สุดที่ตอ้ งเขียน
๒. “ขนาดหน่วย” เป็ นการแสดงขนาดของหน่วยที่ระบุถึง
๓. “สัญลักษณ์ เหล่า หรื ออักษร” เป็ นการแสดงเหล่าของหน่วยที่ระบุถึง ถ้าไม่มีให้ใช้ อักษรย่อแทน
๔. “อาวุธประจาหน่วย” สาหรับหน่วยบางหน่วยที่มีอาวุธประจาหน่วยเท่านั้น
๕. “หน่วยเหนือ” หมายถึงหน่วยบังคับบัญชาตามลาดับของหน่วยที่ระบุถึง
๖. กรณี ที่หน่วยเหนือไม่เป็ นไปตามลาดับชั้นของหน่วยที่ระบุถึง ให้เขียนสัญลักษณ์ “ขนาดหน่วย”
ไว้ส่วนบนของ “ตัวเลขหน่วย” นั้นด้วย
๗. กรณี ที่ตอ้ งเขียนหน่วยหนึ่งหน่วยใดเพียงหน่วยเดียว โดยไม่ตอ้ งเขียนหน่วยเหนือ ให้เขียน
หน่วยนั้นไว้ “ทางขวา” ของสัญลักษณ์หน่วยทหาร
การวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่
๑. การวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่ดว้ ยเครื่ องมือ P-67
ก. ใช้ดินสอดาขีดเส้นตรงเชื่อมโยง ระหว่างจุดเริ่ มต้นและจุดปลายทางบนแผนที่ที่ตอ้ งการ
ข . ใ ช้ จุ ด ห ลั ก ( INDEX POINT) ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น หั ว ลู ก ศ ร
(ป ล ายหั ว ลู กศรอยู่ ต รงจุ ด ศู น ย์ ก ลางของวงก ลม ที่ เจาะเป็ น รู เล็ ก ๆ ) ทั บ ตรงจุ ด ห รื อต าบ ลเริ่ มต้ น
แ ล้ ว จั ด แ น ว ข น า น เส้ น ก ริ ด ข อ ง P-6 7 ใ ห้ ข น า น กั บ เส้ น ก ริ ด ตั้ ง บ น แ ผ น ที่
โ ด ย หั น โ ค้ ง ว ง ก ล ม ไ ป ท า ง ต า บ ล ป ล า ย ท า ง จุ ด ที่ เส้ น ต ร ง ตั ด กั บ โ ค้ ง ว ง ก ล ม คื อ
ค่ามุมภาคทิศเหนื อที่วดั จากจุดเริ่ มต้นไปยังจุดปลายทางที่ตอ้ งการ โดยถือหลักว่าถ้าหันโค้งวงกลมไปทางขวามือ
จะต้องอ่านเลของศาแถวใน (0-180 องศา) แต่ถา้ หันโค้งวงกลมไปทางซ้ายมือจะต้องอ่านเลของศาแถวนอก (180-
360 องศา)
0
0 -180
ตัวเลขรอบใน

90

180

180 -360 360


ตัวเลขรอบนอก

270

180
เข็มทิศเลนเซติค และการใช้
๑. ลักษณะของเข็มทิศเลนเซติค

าตลับเข็มทิศ ตัวเรือนเข็มทิศ ก้านเล็ง


๒. การใช้เข็มทิศวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่
ก. วางแผนที่ให้ถูกทิศโดยใช้เข็มทิศ
ข. ขีดเส้นจากจุดเริ่ มต้นไปยังที่หมาย
ค. ใช้ขอบด้านตรง (ที่มีมาตราส่ วน) วางขนาน หรื อทับกับเส้นที่ขีด หันฝาตลับไปทางที่หมาย แล้วอ่านค่าใต้ดชั นีสีดา
ง. การวัดมุมกลับ ให้ฝาตลับชี้มาทางจุดเริ่ มต้น

๓. การตั้งเข็มทิศเพื่อใช้งานในเวลากลางคืน
ก. เมื่อมีแสงสว่าง
๑) จับเข็มทิศหันไปจนดัชนีสีดาชี้ตรงมุมภาคทิศเหนือที่ตอ้ งการ
๒) หมุนครอบหน้าปั ดเข็มทิศให้ขีดพรายน้ ายาวทับหัวลูกศรและรักษาไว้เช่นนี้
๓) ทิศทางตามแนวเส้นเล็งขณะนี้จะเป็ นทิศทางที่ตอ้ งการ
ข. เมื่อไม่มีแสงสว่าง
๑) ตั้งเข็มทิศปกติ (ดัชนีสีดา,หัวลูกศร,ขีดพรายน้ ายาวตรงกัน)
๒) หมุนครอบหน้าปัดเข็มทิศทวนเข็มนาฬิกาตามจานวนคลิ้กที่ได้
๓) ทิศทางตามแนวเส้นเล็งขณะที่ขีดพรายน้ ายาวทับหัวลูกศร จะเป็ นทิศทางที่ตอ้ งการ
การกาหนดจุดทีอ่ ยู่
๑. การกาหนดจุดที่อยูข่ องตนลงบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศและเครื่ องมือวัดมุม
ก . ก า ร เล็ ง ส กั ด ก ลั บ คื อ วิ ธี ก า ร ก า ห น ด จุ ด ที่ อ ยู่ ข อ ง ต น เอ ง ล ง บ น แ ผ น ที่
โ ด ย วั ด มุ ม ภ า ค ทิ ศ เห นื อ จ า ก ต า บ ล ที่ ยื น อ ยู่ ใ น ภู มิ ป ร ะ เท ศ ไ ป ยั ง ต า บ ล เด่ น อี ก 2 ต า บ ล
ในภูมิประเทศซึ่ งปรากฏอยูบ่ นแผนที่ วิธีปฏิบตั ิ ดังนี้.-
๑) วางแผนที่ให้ถูกทิศ
๒) เลือกตาบลเด่นในภูมิประเทศ 2 ตาบล ซึ่ งมีอยูบ่ นแผนที่
๓) วัดมุมภาคทิศเหนือจากจุดที่ยนื ไปยังตาบลทั้งสอง
๔) เปลี่ยนค่าของมุมที่วดั ได้เป็ นมุมภาคทิศเหนือกลับ
๕) ขีดแนวมุมภาคทิศเหนือกลับจากจุดทั้งสองบนแผนที่
๖) จุดที่แนวมุมภาคทิศเหนือทั้งสองตัดกัน คือจุดที่อยูข่ องตนเองบนแผนที่

การเล็งสกัดกลับ
ข. การเล็งสกัดกลับประกอบแนว วิธีน้ ีเป็ นการหาจุดที่อยูข่ องตนเองที่สะดวกและรวดเร็ วแต่
จากัดด้วยภูมิประเทศที่ยนื อยูจ่ ะต้องเป็ น ถนน เส้นทาง ลาน้ าหรื อลาธาร ที่ปรากฏบนแผนที่ มีวธิ ี ปฏิบตั ิดงั นี้.-
๑) วางแผนที่ให้ถูกทิศ
๒) เลือกตาบลเด่นในภูมิประเทศ 1 ตาบล ซึ่ งมีอยูบ่ นแผนที่
๓) วัดมุมภาคทิศเหนือจากจุดที่ยนื ไปยังตาบลนั้น
๔) เปลี่ยนค่าของมุมที่วดั ได้เป็ นมุมภาคทิศเหนือกลับ
๕) ขีดแนวมุมภาคทิศเหนือกลับจากจุดที่เลือกไว้บนแผนที่
๖) จุดที่แนวมุมภาคทิศเหนือตัดกับเส้นทางเป็ นที่อยูข่ องตนเอง

การเล็งสกัดกลับประกอบแนว
ค. การเล็งสกัดกลับโดยวิธีหมายตาบลระเบิด (MARKING ROUNDS) บางครั้งต้องปฏิบตั ิการ
ในพื้ น ที่ มี ล ั ก ษณะภู มิ ป ระเทศเป็ นพื้ น ราบหรื อป่ าสู ง ไม่ ส ามารถที่ จ ะมองเห็ น ภู มิ ป ระเทศสู งเด่ น ได้
วิ ธี ก า ร ก า ห น ด จุ ด ที่ อ ยู่ ข อ ง ต น เ อ ง ที่ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว น า ม า ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้
จึ ง ต้ อ ง อ า ศั ย ห น่ ว ย ท ห า ร ปื น ใ ห ญ่ เ ป็ น ผู ้ ท า ต า บ ล เ ด่ น ใ ห้
โดยการใช้กระสุ นควันฟอสฟอรัสขาวยิงแตกอากาศตามพิกดั ที่ขอยิง ซึ่ งสามารถปฏิบตั ิได้ 2 วิธี คือ การใช้ ป.ยิง 2
จุด และการใช้ ป.ยิง จุดเดียว

You might also like