Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

การจัดการข้ ามวัฒนธรรม

Cross Cultural Management


บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีทางวัฒนธรรมระหว่ างประเทศ
อาจารย์ เพ็ญนฤมล จะระ
https://sites.google.com/site/ajpennaruemonchara/home/introduction
แนวคิดและทฤษฎีทางวัฒนธรรมระหว่ างประเทศ
• ในการศึกษาเกีย่ วกับวัฒนธรรมของชาติต่างๆ ได้ มีการศึกษาและ
วิจยั เป็ นจานวนมาก การศึกษาอันเป็ นทีย่ อมรับและมีการนามา
ประยุกต์ ใช้ กบั ธุรกิจระหว่ างประเทศอย่ างกว้ างขวาง
ประกอบด้ วย 2 แนวคิดหลัก ได้ แก่
1. แนวคิดของ Edward T.Hall
2. แนวคิดของ Greert Hofstede
แนวคิดของ Edward T.Hall
แนวคิดของ Edward T.Hall
• แนวคิดทฤษฎีของ Edward T.Hall หรือวัฒนธรรมแบบ High –
and Low – context
• ได้ แบ่ งความแตกต่ างของวัฒนธรรมชาติต่างๆ ออกเป็ น 2
ลักษณะ ดังนี้
1. วัฒนธรรมแบบพืน้ ฐานทัว่ ไป Low-context culture
2. วัฒนธรรมพืน้ ฐานระดับสู ง High-context culture
วัฒนธรรมพืน้ ฐานทัว่ ไป (Low-context culture)
• เป็ นวัฒนธรรมทีใ่ ห้ ความสาคัญกับการใช้ ภาษาพูดเป็ นหลัก การ
อธิบายจะเน้ นการสื่ อสารผ่ านทางภาษาพูด ถือเป็ นวัฒนธรรม
เพือ่ สื่ อสารถึงความคิดทีม่ ีความชัดเจน มีเหตุมีผล และน่ าเชื่อถือ
การสื่ อสารตรงไปตรงมา
วัฒนธรรมพืน้ ฐานทัว่ ไป (Low-context culture)
• ประเทศมีมีลกั ษณะวัฒนธรรมแบบ Low-context จะเป็ น
ประเทศในกลุ่มยุโรปตอนเหนือและทวีปอเมริกาเหนือ เช่ น
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมัน เป็ นต้ น
วัฒนธรรมพืน้ ฐานทัว่ ไป (Low-context culture)
• ความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลในวัฒนธรรมแบบนีจ้ ะมีลกั ษณะ
เป็ นทางการ การทาธุรกิจหรือเจรจาธุรกิจหรือการทาข้ อตกลงจะ
ยึดข้ อตกลงที่มีบันทึกและลงนามร่ วมกันเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร มี
การให้ ความสาคัญกับแนวคิด หลักการ มากว่ าความสั มพันธ์
ส่ วนบุคคล
วัฒนธรรมพืน้ ฐานทัว่ ไป (Low-context culture)
• เช่ น การเจรจาของชาวอเมริกาจะมุ่งไปสู่ ประเด็นทีต่ ้ องการ
ต่ อรองโดยไม่ อ้อมค้ อม โดยวัฒนธรรมลักษณะนีจ้ ะประเมิน
คุณค่ าการทางานจากความชานาญและผลงาน รวมถึง
ประสิ ทธิภาพการทางาน และการเจรจาจะใช้ สัญญาหรือ
ข้ อตกลงทางกฎหมาย ทีม่ ีความชัดเจนเพือ่ ให้ การบรรลุข้อตกลง
ของการเจรจา
วัฒนธรรมพืน้ ฐานระดับสู ง (High-context culture)
• เป็ นวัฒนธรรมทีเ่ น้ นการสื่ อสารโดยใช้ ภาษากายเป็ นหลักและ
มองว่ าการสื่ อสารเป็ นหนทางที่จะทาให้ เกิดสั มพันธภาพที่ดแี ละ
มีความกลมกลืนต่ อกัน วัฒนธรรมแบบนี้ อาจมีรูปแบบการ
สื่ อสารแบบไม่ ตรงไปตรงมา เพือ่ การรักษาหน้ าแบบสุ ภาพของคู่
สนทนา
วัฒนธรรมพืน้ ฐานระดับสู ง (High-context culture)
• โดยวัฒนธรรมลักษณะเช่ นนีจ้ ะพบในประเทศแถบเอเชีย
ตะวันออก เช่ น จีน ญีป่ ุ่ น เกาหลี เวียดนาม ไทย
วัฒนธรรมพืน้ ฐานระดับสู ง (High-context culture)
• โดยวัฒนธรรมลักษณะเช่ นนีจ้ ะให้ ความสาคัญกับความสั มพันธ์
ระหว่ างบุคคล ยึดความสั มพันธ์ อนั ยาวนานในการทาธุรกิจและ
มักนาความรู้ สึกส่ วนตัวไปปะปนกับธุรกิจด้ วย
• การสื่ อสารแบบตรงไปตรงมา อาจจะทาลายความสั มพันธ์ และ
ถูกมองว่ าไม่ สุภาพ
วัฒนธรรมพืน้ ฐานระดับสู ง (High-context culture)
• หากต้ องการความสาเร็จในการติดต่ อธุรกิจในประเทศในเอเชีย
ผู้บริหารต้ องสั งเกตและเข้ าใจภาษากายของคู่สนทนาให้ ดี ทั้ง
รู ปแบบการเจรจาต่ อรองจะดาเนินไปอย่ างเชื่องช้ าและเป็ นพิธี
การ ซึ่งในการบรรลุข้อตกลงทางธุรกิจจาเป็ นต้ องอาศัยความเชื่อ
ใจและไว้ วางใจระหว่ างกัน
วัฒนธรรมพืน้ ฐานระดับสู ง (High-context culture)
• หากต้ องการความสาเร็จในการติดต่ อธุรกิจในประเทศในเอเชีย
ผู้บริหารต้ องสั งเกตและเข้ าใจภาษากายของคู่สนทนาให้ ดี ทั้ง
รู ปแบบการเจรจาต่ อรองจะดาเนินไปอย่ างเชื่องช้ าและเป็ นพิธี
การ ซึ่งในการบรรลุข้อตกลงทางธุรกิจจาเป็ นต้ องอาศัยความเชื่อ
ใจและไว้ วางใจระหว่ างกัน
สรุปแนวคิดของ Edward T. Hall
• High context จีน
• สร้ างความไว้ วางใจทางสั งคมให้ เกิดขึน้ ก่ อน เกาหลี
• ให้ ความสาคัญกับความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและค่ านิยม ญี่ปุ่น
• สั ญญาต่ างๆ เน้ นที่ความไว้ วางใจซึ่งกันและกัน เวียดนาม
• การเจรจาต่ อรองเป็ นไปด้ วยความล่ าช้ าและมีพธิ ีการ
อาหรับ
สเปน
• Low context อิตาลี
• ทางานอย่ างจริงจัง อังกฤษ
• ให้ ความสาคัญกับความเชี่ยวชาญและผลการทางาน อเมริกาเหนือ
• สั ญญาต่ างๆ เน้ นข้ อตกลงเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร สแกนดิเนเวีย
• เน้ นการเจรจาที่เกิดประสิ ทธิผลให้ มากที่สุด สวิตเซอร์ แลนด์
เยอรมัน
ั นธรรมการจัดการของ Hofestede
ทฤษฏีวฒ
• Greert Hofstede ชาวเนเธอแลนด์ ทาวิจยั โดยการเก็บ
รวบรวมข้ อมูลจากพนักงานของบริษทั IBM ทีท่ างานอยู่ใน
ประเทศต่ างๆ จานวน 116,000 คน ที่มีความแตกต่ างด้ านเชื้อ
ชาติ อายุ เพศ นาข้ อมูลมาวิเคราะห์ จนได้ แบ่ งวัฒนธรรม
ออกเป็ น 4 มิติ ดังนี้
ั นธรรมการจัดการของ Hofestede
ทฤษฏีวฒ
1. มิติปัจเจกนิยมกับวัฒนธรรมแบบรวมกลุ่ม (Individualism
versus Collectivism)
2. มิติช่องว่ างของอานาจ (Power distance)
3. มิติการหลีกเลีย่ งความไม่ นอน (Uncertainty Avoidance)
4. มิติทมี่ ุ่งเน้ นความสาเร็จของงานกับมุ่งเน้ นด้ านความสั มพันธ์
(Masculinity versus Femininity)
5. มิติช่องห่ างของระยะเวลา
(Long term & Short term orientation)
1. มิติปัจเจกนิยมกับวัฒนธรรมแบบรวมกลุ่ม
• เป็ นการอธิบายถึงลักษณะสั งคมของประชาชนในประเทศนั้นๆ
ว่ ามีลกั ษณะสั งคมแบบชอบความเป็ นส่ วนตัว (Individualism)
หรือชอบความเป็ นกลุ่ม (Collectivism)
1. มิติปัจเจกนิยมกับวัฒนธรรมแบบรวมกลุ่ม
• วัฒนธรรมแบบปัจเจกบุคคล
• เน้ นการทางานอย่ างจริงจัง
• ยอมรับความเสี่ ยงทางธุรกิจ
• องค์ กรมีความคาดหวังให้ บุคลากรมีการพัฒนาทักษะ
ความสามารถและพึง่ พาตนเองได้
• ชอบความเป็ นส่ วนตัวมากกว่ าทีจ่ ะชอบอยู่รวมกัน
• เช่ น ประเทศ ออสเตรเลีย แคนาดา อังกฤษ สหรัฐอเมริกา
1. มิติปัจเจกนิยมกับวัฒนธรรมแบบรวมกลุ่ม
• วัฒนธรรมแบบปัจเจกบุคคล
• เช่ น ประเทศ ออสเตรเลีย แคนาดา อังกฤษ สหรัฐอเมริกา
1. มิติปัจเจกนิยมกับวัฒนธรรมแบบรวมกลุ่ม
• สังคมทีช่ อบการรวมกล่ มุ
• ให้ ความสาคัญต่ อการตัดสิ นใจของกลุ่มมากกว่ า
• เน้ นความสั มพันธ์ ระหว่ างกันและสร้ างอานาจอิทธิพลจากกลุ่ม
สมาชิก
• การจัดการทางธุรกิจจะให้ ความสาคัญต่ อความคิดเห็นของ
บุคคลอืน่
• มีความอนุโลม ประนีประนอม
1. มิติปัจเจกนิยมกับวัฒนธรรมแบบรวมกลุ่ม
• สังคมทีช่ อบการรวมกล่ มุ
• เช่ น อินโดนีเซีย ปารีสถาน กลุ่มประเทศในเอเชีย
2. มิติช่องว่ างของอานาจ
• เป็ นการอธิบายถึงความไม่ เท่ าเทียมกันของคนในสั งคม ทีม่ ี
อานาจในสั งคมแตกต่ างกัน ซึ่งส่ งผลต่ อสั งคมระหว่ างคนที่มี
อานาจมากและอานาจน้ อย
• ยังแสดงถึงสถานภาพภายในองค์ กรทีส่ ะท้ อนถึงความไม่ เท่ า
เทียมกันและระดับการให้ ความสาคัญหรือการยึดถืออานาจ
หน้ าที่ในองค์ กรทีแ่ ตกต่ างกัน
2. มิติช่องว่ างของอานาจ
• ในสังคมทีม่ ีมิติของช่ องว่ างของอานาจสูง (Large power distance)
• ผู้บริหารจะรู้ สึกว่ าตนมีอานาจและอยู่ในระดับทีเ่ หนือกว่ า
พนักงานมาก
• เป็ นองค์ กรทีแ่ บ่ งลาดับขั้นของอานาจหน้ าที่อย่ างชัดเจน
• มีการสั่ งการและการส่ งต่ อของอานาจตามลาดับชั้นในสายงาน
บังคับบัญชา
2. มิติช่องว่ างของอานาจ
• ในสังคมทีม่ ีมิติของช่ องว่ างของอานาจสูง (Large power distance)
• เช่ น อินเดีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ประเทศแถบตะวันออกกลาง
• ผู้บริหารมีแนวโน้ มการตัดสิ นใจแบบเผด็จการและ
ผู้ใต้ บังคับบัญชาต้ องปฏิบัตติ ามอย่ างเคร่ งครัด
2. มิติช่องว่ างของอานาจ
• สังคมทีม่ ีความแตกต่ างของอานาจต่า (Small power distance)
• บุคคลในสั งคมรับรู้ ถงึ ความเท่ าเทียมระหว่ างผู้คนในสั งคม
• อานาจทีไ่ ด้ มาของผู้บริหารภายในองค์ กรจะเกิดจากความชอบ
ธรรมและมุ่งมั่นทุ่มเททางานอย่ างหนัก
• องค์ กรธุรกิจมักมีโครงสร้ างของลาดับชั้นในการบริหารงานไม่
ซับซ้ อน
• มีช่องว่ างของคนในสั งคมน้ อย
2. มิติช่องว่ างของอานาจ
• สังคมทีม่ ีความแตกต่ างของอานาจต่า (Small power distance)
• เช่ น เดนมาร์ ก สวีเดน แม้ ประเทศเหล่ านีม้ ีการเก็บภาษีในอัตราที่
สู ง แต่ มีการจัดระบบสวัสดิการสั งคมเพือ่ ให้ ประชาชนได้ รับ
ความเท่ าเทียมกันในด้ านรายได้ ของคนภายในชาติ
3. มิติการหลีกเลีย่ งความไม่ แน่ นอน
• เป็ นการอธิบายลักษณะของสภาวะ ทีบ่ ุคคลรู้ สึกถูกคุมคามด้ วย
สถานการณ์ คลุมเครือกากวมหรือไม่ ชัดเจน บุคคลหรือองค์ กรจะ
พยายามสร้ างความเชื่อบางประการเพือ่ ทาให้ สถานการณ์ ที่
คลุมเครือนั้นลดลงหรือควบคุมได้
3. มิติการหลีกเลีย่ งความไม่ แน่ นอน
• วัฒนธรรมทีพ่ ยายามหลีกเลีย่ งความไม่ นอนในระดับสูง (Strong
uncertainty avoidance)
• องค์ กรทีส่ ามารถจัดการความเสี่ ยงให้ มีน้อยทีส่ ุ ดเพือ่ ให้ ธุรกิจ
เกิดความมั่นคงปลอดภัย
• เน้ นการงานที่มั่นคง และสร้ างกฎเกณฑ์ ทเี่ ปลีย่ นแปลงในทาง
ปฏิบัตกิ ระทาได้ ยาก
• อัตราการหมุนเวียนของพนักงานตา่
• ผู้บริหารใช้ เวลาในการตัดสิ นใจนาน เพราะต้ องพิจารณาเหตุและ
ผล อย่ างละเอียดรอบคอบ
3. มิติการหลีกเลีย่ งความไม่ แน่ นอน
• วัฒนธรรมแบบหลีกเลีย่ งความไม่ นอนในระดับต่า (Weak
uncertainty avoidance)
• จะเป็ นวัฒนธรรมทีท่ าให้ เกิดการทางานที่ท้าทายและสร้ างสรรค์
• เปิ ดกว้ างและยอมรับแนวคิดใหม่ ๆ
• สมาชิกในสั งคมยอมรับความไม่ แน่ นอน
• ผู้บริหารมีลกั ษณะของความเป็ นผู้ประกอบการและคุ้นเคยกับ
ความเสี่ ยงและมีการตัดสิ นใจอย่ างรวดเร็ว
• ยอมรับความคิดเห็นทีแ่ ตกต่ าง
4. มิติมุ่งเน้ นความสาเร็จของงานกับมุ่งเน้ นด้ านความสั มพันธ์

• เป็ นการอธิบายลักษณะของวัฒนธรรมทีเ่ น้ นในเรื่องความสาเร็จ


ของงานและวัตถุนิยม (Achievement) กับวัฒนธรรมที่
เน้ นการรักษาความสั มพันธ์ อนั ดี และคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
(Nurturing)
4. มิติมุ่งเน้ นความสาเร็จของงานกับมุ่งเน้ นด้ านความสั มพันธ์

• วัฒนธรรมทีเ่ น้ นในเรื่ องความสาเร็ จเป็ นหลัก (Masculinity)


• ให้ ความสาคัญของความมั่นคัง่ ร่ารวย
• ความการแข่ งขัน การยอมรับ ความก้ าวหน้ า ความท้ าทาย ความ
ทะเยอทะยาน
• มุ่งเน้ นการทาธุรกิจให้ ประสบความสาเร็จเหนือคู่แข่ งขัน
• บุคคลมักนิยมทางานกับบริษทั ขนาดใหญ่ ทมี่ ีชื่อเสี ยง
4. มิติมุ่งเน้ นความสาเร็จของงานกับมุ่งเน้ นด้ านความสั มพันธ์

• วัฒนธรรมทีเ่ น้ นในเรื่ องการรั กษาความสัมพันธ์ และส่ งเสริ ม


คณุ ภาพชีวติ ทีด่ ี (Fermninity)
• ให้ ความสาคัญกับผู้ด้อยโอกาสและคุณภาพชีวติ
• มีระบบประกันสั งคมทีด่ ี
• เห็นความสาคัญของการศึกษา
• บรรยากาศการทางานเป็ นกันเอง พึง่ พากันและกัน
• เน้ นความร่ วมมือและความมั่นคงในหน้ าที่การงาน
5. มิติช่องห่ างของระยะเวลา
• เป็ นการอธิบายโดยพิจารณาจากประเด็นความสั มพันธ์ ทมี่ ีต่อกัน
มาต่ อเนื่องยาวนานในแต่ ละวัฒนธรรม โดยมิตินีแ้ สดงให้ เห็นถึง
ความแตกต่ างของวัฒนธรรมตะวันออกกับวัฒนธรรมตะวันตก
• การทางานทีม่ ่ ุงเน้ นสร้ างความสั มพันธ์ อนั ยาวนาน จะให้ คุณค่ า
กับขนมธรรมเนียมประเพณีทสี่ ั่ งสมมา ความมัธยัสถ์ ความ
อุตสาหะมุมานะบากบั่น ความเกรงใจและมีความเห็นอกเห็นใจ
กัน
5. มิติช่องห่ างของระยะเวลา
• องค์ กรให้ ความสาคัญต่ อความสาเร็จระยะยาว
• สั งคมมีระเบียบวินัย ซื่อสั ตย์ ทางานหนัก
• เช่ น ญีป่ นุ่ สิ งคโปร์
5. มิติช่องห่ างของระยะเวลา
• ในขณะทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศในแถบตะวันตก
ส่ วนใหญ่ เน้ นการมีวฒั นธรรมแบการทางานทีม่ ่ ุงสร้ าง
ความสั มพันธ์ ระยะสั้ น
• เน้ นชื่อเสี ยงและความมั่นคงส่ วนบุคคล
• เน้ นวัฒนธรรมการทางานมุ่งสร้ างความสั มพันธ์ ระยะสั้ น
• ทาตามหน้ าที่ของสั งคมทีว่ างไว้ เพือ่ ผลประโยชน์ ต่างตอบแทน
เป็ นหลัก
คาถามท้ ายบทที่ 2
1. แนวคิดและทฤษฏีทางวัฒนธรรมระหว่ างประเทศที่สาคัญได้ แก่
อะไรบ้ าง และใครเป็ นผู้คดิ ค้ น
2. จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฏีของ Edward T. Hall ในฐานที่
เป็ นคนไทย นักศึกษาจะสามารถนาไปปรับใช้ กบั การทางานในองค์กร
ได้ อย่ างไรบ้ าง
3. หากต้ องการทาธุรกิจกับประเทศทีม่ ีวฒ ั นธรรมพืน้ ฐานระดับสู ง
ผู้บริหารต้ องมีลกั ษณะบุคลิกอย่ างไร
4. จงอธิบายแนวคิดและความสาคัญของทฤษฏีวัฒนธรรมการจัดการของ
Greert Hofstede

You might also like