Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 312

ตําราประกอบการสอน

รายวิชา 2103241
เธอรโมไดนามิกส 1

ผศ. ดร. จิตติน แตงเทีย่ ง

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ปการศึกษา 2554
i

คํานํา
ตําราเธอรโมไดนามิกส 1 เลมนี้เปนตําราที่ผูเขียนไดเขียนขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอนของ
รายวิชาเธอรโมไดนามิกส 1 ในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งเปดสอนมาตั้งแตป 2545 และผูเขียนก็ไดเขามามีสวนรวมในการสอนรายวิชานี้
ตั้งแตป 2546 ตามเนื้อหาในหลักสูตรแลว เธอรโมไดนามิกส 1 เปนวิชาพื้นฐานวิชาแรกสําหรับวิชาในสาย
เธอรโมฟลูอิดสซึ่งประกอบไปดวย เธอรโมไดนามิกส กลศาสตรของไหล การถายเทความรอน รวมไปถึง
การนําเอาวิชาพื้นฐานดังที่กลาวมาทั้งหมดไปประยุกตในการออกแบบอุปกรณเชิงความรอนชนิดตางๆ
ดังนั้นเธอรโมไดนามิกสจึงเปนวิชาพื้นฐานสําคัญที่ผูเรียนควรจะศึกษาและทําความเขาใจใหถองแทกอนทีจ่ ะ
นําไปประยุกตใชในวิชาลําดับถัดๆ ไป
อย า งไรก็ ต ามหลั ง จากที่ ผู เ ขี ย นได เ ข า มาสั ม ผั ส กั บ การสอนวิ ช าเธอร โ มไดนามิ ก ส ไ ปได ช ว ง
ระยะเวลาหนึ่ง ผูเขียนก็พบวาเธอรโมไดนามิกสเปนวิชาที่ทําความเขาใจไดยากและถือวาเปนยาขมสําหรับ
ผูเรียนบางคนเลยที่เดียว โดยความเห็นสวนตัวของผูเขียนนั้น สาเหตุดังกลาวมาจากสองประการดังตอไปนี้
ประการแรกเธอรโมไดนามิกสเปนวิชาที่เกี่ยวของกับสิ่งที่เปนนามธรรมเสียเปนสวนใหญและตองอาศัย
จินตนาการรวมดวย ตัวอยางที่เดนชัดเจนที่สุดในเรื่องนี้ไดแกเรื่องเกี่ยวกับเอนโทรปและกฏขอที่สองของ
เธอรโมไดนามิกส อยางไรก็ตามถึงแมวาตัวเธอรโมไดนามิกสสวนใหญจะเกี่ยวของกับนามธรรม แตใน
ความเปนจริงกลับกลายเปนวางานประยุกตของเธอรโมไดนามิกสกลับมีอยูมากมายรอบตัวเรา ดังนั้นผูเขียน
จึงพยายามที่จะเชื่อมโยงสิ่งที่เปนรูปธรรมเหลานั้นเขากับเนื้อหารายวิชานี้เพื่อผูเรียนจะไดอยางนอยเห็น
ตัวอยางของการใชงานใหไดมากที่สุด
ประการที่สองในการวิเคราะหปญหาทางเธอรโมไดนามิกสนั้นเปนไปไดวาจะมีทางเลือกในการ
แกปญหามากกวาหนึ่งวิธีและสงผลใหคําตอบที่ไดดวยวิธีที่ตางกันนั้นก็อาจจะคลาดเคลื่อนตางกันดวย
เชนกัน ประเด็นนี้เองที่ทําใหผูเรียนบางคนเกิดความไมคุนเคยรวมทั้งเกิดความของใจกับสิ่งดังกลาวเพราะ
วิชาที่เรียนมาสวนใหญมักจะมีวิธีการที่ตายตัวอยูเสมอวาถาปญหาเปนแบบนี้ก็ควรใชวิธีใดเพื่อจะใหได
คําตอบ ดังนั้นจึงไมแปลกที่ผูเรียนมักจะเขามาถามผูเขียนอยูเสมอวาวิธีไหนดีที่สุด แลวผูเขียนก็จะตอบ
กลับไปวาวิธีที่ดีที่สุดอยูที่ผูเรียนจะตัดสินใจเลือกเองเพราะภายใตเงื่อนไขที่ตางกันวิธีที่ดีที่สุดอาจจะไม
เหมือนกันก็ได ในมุมมองของผูเขียนนั้นลักษณะดังกลาวกลับเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจริงไมเพียงแตในวิชาเธอรโม
ไดนามิกสเทานั้น แตจะเกิดกับปญหาอื่นๆ ในอนาคตของผูเรียนเองดวย ดังนั้นการใหผูเรียนไดฝกตัดสินใจ
เลือกวิธีตางๆ ภายใตเงื่อนไขที่แตกตางกันจึงเปนสวนหนึ่งที่สําคัญของวิชานี้ดวยเชนกัน อาจเปรียบไดวา
วิชาเธอรโมไดนามิกสอาจจะดูเหมือนเปนยาขมไปบาง แตหากผูเรียนใชความพยายามและความอดทนดื่ม
ยาขมตํารับนี้ไปบอยๆ ผลที่ไดก็คงจะดีตอสุขภาพของผูเรียนเองไมมากก็นอย
ii

จากความเห็นที่ไดกลาวมาจึงเปนสวนหนึ่งที่ใหผูเขียนไดลองเขียนตําราเลมนี้ขึ้น ทั้งนี้แนวคิดก็คือ
พยายามอธิบายใหงายและกระชับที่สุด รวมทั้งใหตัวอยางที่ไมยากเกินไป แตจะมีหมายเหตุทายตัวอยางเพื่อ
แทรกแนวคิดอื่นๆ รวมทั้งเกร็ดตางๆ ที่นอกเหนือไปจากเนื้อหาโดยตรงที่เกี่ยวของกับตัวอยางนั้นๆ ดวย
นอกจากนี้ เ นื่ อ งจากตํ า ราเล ม นี้ เ ขี ย นเป น ภาษาไทยและวิ ช าเธอร โ มไดนามิ ก ส ก็ จ ะมี คํ า ศั พ ท เ ทคนิ ค
ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของอยูเปนจํานวนมาก ดังนั้นคําศัพทภาษาไทยที่ใชในตําราฉบับนี้จึงไดอางอิงมาจาก
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานในสวนของศัพทเธอรโมไดนามิกสเปนหลักประกอบกับศัพทปรับ
อากาศและศัพทพลังงาน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความถูกตองและเปนมาตรฐานเดียวกัน
สําหรับเนื้อหาที่อยูในตําราเลมนี้สวนใหญนั้นจะเปนหลักการพื้นฐานของเธอรโมไดนามิกสเปน
สวนใหญไดแกแนวความคิดและนิยามตางๆ สมบัติของสารบริสุทธิ์ งานและความรอน กฎขอที่หนึ่งและขอ
ที่สองของเธอรโมไดนามิกสทั้งมวลควบคุมและปริมาตรควบคุม เนื้อหาเหลานี้จะถูกบรรจุอยูในบทที่ 1 ถึง
บทที่ 9 สําหรับบทที่ 10 นั้นจะเกี่ยวกับการนําเธอรโมไดนามิกสไปประยุกตใชงานซึ่งจะทําใหผูเรียนไดเห็น
ประโยชนอันหลากหลายของวิชาเธอรโมไดนามิกสนี้ อยางไรก็ตามก็ยังมีเนื้อหาของเธอรโมไดนามิกสอีก
หลายสวนที่ตําราเลมนี้ไมไดครอบคลุมไวแตจะถูกบรรจุอยูในรายวิชาเธอรโมไดนามิกส 2 ซึ่งเปนรายวิชา
ถัดไปจากวิชานี้
ทายที่สุดนี้ผูเขียนหวังวาตําราเธอรโมไดนามิกส 1 เลมนี้คงจะใหประโยชนแกผูเรียน ผูอานทั่วไป
และผูสนใจในวิชาเธอรโมไดนามิกสทุกทาน หากมีสิ่งใดขาดตกบกพรองหรือมีคําแนะนําติชมประการใด
ผูเขียนยินดีที่จะรับฟงคําแนะนําติชมของทุกทานโดยผานทางอีเมล fmectt@eng.chula.ac.th และขอขอบคุณ
ทุกทานมา ณ ที่นี้

ผศ. ดร. จิตติน แตงเที่ยง


ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
มิถุนายน 2554
iii

สารบัญ

หนา
บทที่ 1 บทนํา ............................................................................................................................. 1
บทที่ 2 แนวความคิดและบทนิยาม ............................................................................................. 6
2.1 ระบบทางเธอรโมไดนามิกสและปริมาตรควบคุม .................................................. 6
2.2 ทัศนคติมหภาคและจุลภาค ..................................................................................... 7
2.3 สมบัติและภาวะของสาร ......................................................................................... 7
2.4 กระบวนการและวัฏจักร ......................................................................................... 8
2.5 หนวยสําหรับมวล เวลาและระยะทาง ..................................................................... 10
2.6 พลังงาน ................................................................................................................... 10
2.7 ปริมาตรจําเพาะและความหนาแนน ........................................................................ 11
2.8 ความดัน .................................................................................................................. 13
2.9 การเทากันของอุณหภูมแิ ละกฎขอที่ศูนยของเธอรโมไดนามิกส ............................. 15
2.10 สเกลอุณหภูมิ ........................................................................................................ 16
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 17
บทที่ 3 สมบัติของสารบริสุทธิ์ .................................................................................................... 18
3.1 สารบริสุทธิ์ ............................................................................................................. 18
3.2 สมดุลสถานะของไอ ของเหลวและของแข็งในสารบริสุทธิ์ ................................... 18
3.3 สมบัติอิสระของสารบริสุทธิ์ ................................................................................... 25
3.4 ตารางสมบัติเธอรโมไดนามิกส ............................................................................... 26
3.5 พื้นผิวเธอรโมไดนามิกส ......................................................................................... 32
3.6 พฤติกรรมระหวางความดัน ปริมาตรและอุณหภูมิของแกสที่มีความหนาแนน
ปานกลางถึงต่ํา ....................................................................................................... 33
3.7 แฟกเตอรสภาพอัดได .............................................................................................. 35
3.8 สมการภาวะ ............................................................................................................ 38
3.9 โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับใชคํานวณหาสมบัติเธอรโมไดนามิกส ................... 39
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 40
iv

หนา
บทที่ 4 งานและความรอน .......................................................................................................... 41
4.1 นิยามของงาน .......................................................................................................... 41
4.2 หนวยของงาน ......................................................................................................... 42
4.3 งานที่กระทําจากขอบเขตเคลื่อนที่ของสารอัดตัวไดเชิงเดียว .................................. 42
4.4 ระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับงาน ................................................................................. 50
4.5 นิยามของความรอน ................................................................................................ 50
4.6 วิธีการถายเทความรอน ........................................................................................... 51
4.7 การเปรียบเทียบระหวางงานและความรอน ............................................................. 52
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 54
บทที่ 5 กฎขอที่หนึ่งของเธอรโมไดนามิกส ................................................................................. 55
5.1 กฎขอที่หนึ่งของเธอรโมไดนามิกสสาํ หรับมวลควบคุมภายใตวัฏจักร ................... 55
5.2 กฎขอที่หนึ่งของเธอรโมไดนามิกสสาํ หรับการเปลี่ยนภาวะของมวลควบคุม ......... 57
5.3 พลังงานภายใน – สมบัติเธอรโมไดนามิกส ............................................................ 60
5.4 การวิเคราะหปญหาและกลวิธีในการหาคําตอบ ...................................................... 61
5.5 เอนธัลป – สมบัติเธอรโมไดนามิกส ....................................................................... 64
5.6 ความรอนจําเพาะที่ปริมาตรคงที่และทีค่ วามดันคงที่ .............................................. 68
5.7 พลังงานภายใน เอนธัลป และความรอนจําเพาะของแกสอุดมคติ ........................... 72
5.8 กฎขอที่หนึ่งในรูปของสมการอัตรา ........................................................................ 81
5.9 การอนุรักษมวล ....................................................................................................... 81
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 82
บทที่ 6 การวิเคราะหกฎขอหนึ่งสําหรับปริมาตรควบคุม ............................................................ 83
6.1 การอนุรักษมวลและปริมาตรควบคุม ...................................................................... 83
6.2 กฎขอที่หนึ่งของเธอรโมไดนามิกสสาํ หรับปริมาตรควบคุม ................................... 87
6.3 กระบวนการภาวะคงตัว .......................................................................................... 90
6.4 ตัวอยางของกระบวนการภาวะคงตัว ....................................................................... 91
6.5 กระบวนการชั่วขณะ ............................................................................................... 100
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 106
v

หนา
บทที่ 7 กฎขอที่สองของเธอรโมไดนามิกส ................................................................................. 107
7.1 เครื่องยนตความรอนและตูเย็น ................................................................................ 107
7.2 กฎขอที่สองของเธอรโมไดนามิกส ......................................................................... 114
7.3 กระบวนการยอนกลับได ........................................................................................ 117
7.4 ปจจัยที่ทําใหกระบวนการยอนกลับไมได ............................................................... 119
7.5 วัฏจักรคารโนต ....................................................................................................... 120
7.6 ขอความสองขอที่เกี่ยวของกับวัฏจักรคารโนต ........................................................ 122
7.7 สเกลอุณหภูมิเธอรโมไดนามิกส ............................................................................. 123
7.8 เครื่องจักรอุดมคติและเครื่องจักรจริง ...................................................................... 124
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 128
บทที่ 8 เอนโทรป ........................................................................................................................ 129
8.1 ความไมเทากันของเคลาเซียส ................................................................................. 129
8.2 เอนโทรป - สมบัติของระบบ .................................................................................. 131
8.3 เอนโทรปของสารบริสุทธิ์ ....................................................................................... 132
8.4 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปในกระบวนการยอนกลับได ......................................... 133
8.5 ความสัมพันธสมบัติเธอรโมไดนามิกส ................................................................... 136
8.6 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของมวลควบคุมในระหวางกระบวนการ
ยอนกลับไมได ........................................................................................................ 137
8.7 การผลิตเอนโทรป ................................................................................................... 139
8.8 หลักการเพิ่มขึ้นของเอนโทรป ................................................................................ 146
8.9 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของของแข็งและของเหลว ............................................ 154
8.10 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแกสอุดมคติ .......................................................... 155
8.11 กระบวนการโพลีโทรปกยอนกลับไดสําหรับแกสอุดมคติ .................................... 162
8.12 กฎขอที่สองในรูปของสมการอัตรา ....................................................................... 166
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 167
บทที่ 9 การวิเคราะหกฎขอสองสําหรับปริมาตรควบคุม ............................................................ 168
9.1 กฎขอที่สองของเธอรโมไดนามิกสสาํ หรับปริมาตรควบคุม ................................... 168
9.2 กระบวนการภาวะคงตัว .......................................................................................... 169
9.3 กระบวนการชั่วขณะ ............................................................................................... 175
vi

หนา
9.4 กระบวนการภาวะคงตัวยอนกลับไดของอุปกรณการไหลเชิงเดีย่ ว ......................... 178
9.5 หลักการเพิ่มขึ้นของเอนโทรป ................................................................................ 183
9.6 ประสิทธิภาพ .......................................................................................................... 188
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 194
บทที่ 10 ระบบกําลังและระบบทําความเย็น ................................................................................ 195
10.1 เกริ่นนําเกี่ยวกับระบบกําลัง .................................................................................. 195
10.2 วัฏจักรแรงคิน ....................................................................................................... 196
10.3 ผลกระทบของความดันและอุณหภูมติ อวัฏจักรแรงคิน ......................................... 199
10.4 วัฏจักรรีฮีต ............................................................................................................ 205
10.5 วัฏจักรรีเจเนอเรทิฟ ............................................................................................... 206
10.6 ความเบี่ยงเบนของวัฏจักรจริงจากวัฏจักรอุดมคติ.................................................. 215
10.7 การรวมผลิตกําลังและความรอน............................................................................ 216
10.8 วัฏจักรกําลังมาตรฐานอากาศ ................................................................................ 217
10.9 วัฏจักรเบรยตัน ...................................................................................................... 218
10.10 วัฏจักรกังหันแกสอยางงายที่มีรีเจเนอเรเตอร ...................................................... 225
10.11 การปรับปรุงรูปแบบวัฏจักรกําลังกังหันแกส ...................................................... 233
10.12 วัฏจักรกําลังเครื่องยนตลูกสูบ.............................................................................. 235
10.13 วัฏจักรออตโต ..................................................................................................... 239
10.14 วัฏจักรดีเซล ........................................................................................................ 245
10.15 วัฏจักรสเตอรลิง .................................................................................................. 252
10.16 เกริ่นนําเกี่ยวกับระบบทําความเย็น ...................................................................... 253
10.17 วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ ............................................................................. 254
10.18 ของไหลทํางานสําหรับระบบทําความเย็นแบบอัดไอ ......................................... 260
10.19 ความเบีย่ งเบนของวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอจริงจากวัฏจักรอุดมคติ ........... 261
10.20 การปรับปรุงรูปแบบวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ ............................................ 265
10.21 วัฏจักรทําความเย็นแบบดูดกลืน ......................................................................... 268
10.22 วัฏจักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศ ................................................................... 270
10.23 ระบบกําลังและระบบทําความเย็นวัฏจักรรวม .................................................... 271
แบบฝกหัด .................................................................................................................... 273
vii

หนา
เอกสารอางอิง ............................................................................................................................. 275
คําตอบของแบบฝกหัดบางขอ .................................................................................................... 276
ภาคผนวก ................................................................................................................................... 277
ตารางที่ ผ.1 คาคงตัวและจุดรวมสาม ............................................................................ 277
ตารางที่ ผ.2 สมบัติของของแข็งที่ 25oC ....................................................................... 278
ตารางที่ ผ.3 สมบัติของของเหลวที่ 25oC ..................................................................... 279
ตารางที่ ผ.4 สมบัติของแกสอุดมคติที่ 25oC, 100 kPa .................................................. 280
ตารางที่ ผ.5 ความรอนจําเพาะที่ความดันคงที่ของแกสอุดมคติ .................................... 281
ตารางที่ ผ.6 สมบัติของแกสอุดมคติที่ความดัน 100 kPa ............................................... 282
ตารางที่ ผ.7 ตารางสําหรับน้ําภาวะอิ่มตัว−อุณหภูมิเปนเลขเต็ม− …………………... 285
ตารางที่ ผ.8 ตารางสําหรับน้ําภาวะอิ่มตัว−ความดันเปนเลขเต็ม− …………………... 287
ตารางที่ ผ.9 ตารางสําหรับน้ําภาวะไอรอนยวดยิ่ง ……………………………………. 289
ตารางที่ ผ.10 ตารางสําหรับ อาร-134เออิ่มตัว ……………………………………….. 295
ตารางที่ ผ.11 ตารางสําหรับ อาร-134เอภาวะไอรอนยวดยิ่ง ……………………………… 296
viii

สัญลักษณ
A พื้นที่
a ความเรง
B เสนผานศูนยกลางของลูกสูบ
C ความรอนจําเพาะ
CP ความรอนจําเพาะที่ความดันคงที่
CP0 ความรอนจําเพาะที่ความดันคงที่สําหรับแกสอุดมคติ
CV ความรอนจําเพาะที่ปริมาตรคงที่
CV0 ความรอนจําเพาะที่ปริมาตรคงที่สําหรับแกสอุดมคติ
D เสนผานศูนยกลาง
E พลังงานรวม
e พลังงานรวมจําเพาะ
g ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง
H ความสูง
H เอนธัลป
HV ความรอนจากการเผาไหม
h เอนธัลปจําเพาะ
i กระแสไฟฟา
F แรง
KE พลังงานศักย
k อัตราสวนความรอนจําเพาะ
L ความยาว
M มวลโมเลกุล
m มวล
m& อัตราไหลเชิงมวล
n ดัชนีชี้กําลังในกระบวนการโพลีโทรปก
n จํานวนโมล
N จํานวน
P ความดัน
P0 ความดันบรรยากาศ
ix

Pabs ความดันสัมบูรณ
Pguage ความดันเกจ
Pmeff ความดันยังผลเฉลี่ย
Q ความรอน
Q& อัตราการถายเทความรอน
q ความรอนจําเพาะ
R คาคงตัวของแกส
R คาคงตัวสากลของแกส
r รัศมี
rC อัตราสวนการตัดเชื้อเพลิง
rP อัตราสวนความดัน
rV อัตราสวนการอัด
S ระยะชัก
S เอนโทรป
Sgen การผลิตเอนโทรป
Sgen HT การผลิตเอนโทรปอันเนื่องมาจากการถายเทความรอน
S& gen อัตราการผลิตเอนโทรป
S 0T เอนโทรปมาตรฐาน
s เอนโทรปจําเพาะ
sgen อัตราการผลิตเอนโทรปจําเพาะ
T อุณหภูมิ
T0 อุณหภูมิสิ่งลอมรอบ
t เวลา
U พลังงานภายใน
u พลังงานภายในจําเพาะ
V ปริมาตร
V& อัตราไหลเชิงปริมาตร
V ความเร็ว
v ปริมาตรจําเพาะ (มวลเปนฐาน)
v ปริมาตรจําเพาะ (จํานวนโมลเปนฐาน)
W งาน
W& กําลัง
x

w งานจําเพาะ
x ระยะทาง
x คุณภาพสารสองสถานะ
Z ความสูงจากระยะอางอิง
Z แฟกเตอรสภาพอัดได

อักษรกรีก
β็H สัมประสิทธิ์สมรรถนะของปมความรอน
β็R สัมประสิทธิ์สมรรถนะของตูเย็น
ε ความตางศักยไฟฟา
ηth ประสิทธิภาพอุณหภาพ
ρ ความหนาแนน (มวลเปนฐาน)
ρ ความหนาแนน (จํานวนโมลเปนฐาน)
τ แรงบิด
ω ความเร็วเชิงมุม

ตัวหอย
all ทั้งหมด
avg คาเฉลี่ย
boiler หมอตม
c คาวิกฤต
comb. หองเผาไหม
comp. เครื่องอัด
cond. เครื่องควบแนน
CM มวลควบคุม
CV ปริมาตรควบคุม
e ทางออก
evap. เครื่องระเหย
f ภาวะของเหลวอิ่มตัว
fg ผลตางระหวางภาวะไออิ่มตัวและภาวะของเหลวอิ่มตัว
g ภาวะไออิ่มตัว
H แหลงจายพลังงานอุณหภูมิสูง
xi

i ทางเขา
irr ยอนกลับไมได
L แหลงรับพลังงานอุณหภูมิต่ํา
max สูงสุด
min ต่ําสุด
net สุทธิ
pump เครื่องสูบ
r รีดิวซ
real อุปกรณจริง
regen. รีเจเนอเรเตอร
rev ยอนกลับได
s ภาวะภายใตกระบวนการไอเซนโทรปก
sat ภาวะอิ่มตัว
surr สิ่งลอมรอบ
total ทั้งหมดหรือรวม
turbine กังหัน
1,2,3,... ภาวะที่ 1,2,3,...
1

บทที 1
บทนํา
วิชาเธอร์ โมไดนามิกส์ (Thermodynamics) นันถือว่าเป็ นแขนงหนึ งของวิทยาศาสตร์ กายภาพที
เกียวข้องกับพลังงานในรู ปแบบต่างๆ และรวมไปถึงผลของพลังงานดังกล่าวทีมีต่อการเปลียนแปลงของสาร
อาจกล่าวได้ว่าวิชาเธอร์ โมไดนามิกส์นนเป็
ั นศาสตร์ ทีมีประวัติทียาวนานย้อนไปถึงก่อนคริ สตกาล ซึ งในยุค
นันเธอร์ โมไดนามิกส์จะเกิดจากการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆทีเกิดขึนโดยธรรมชาติเช่น การเปลียนแปลง
สถานะของสารเมื อได้รับความร้ อ น การพยายามที จะวัด ระดับ ความร้ อ นหรื อ ความเย็น ที สัมผัสได้( ซึ ง
ภายหลังก็คืออุณหภูมิ) เป็ นต้น แต่ในช่ วงเวลาดังกล่าวนัน ยังไม่ได้มีการรวบรวมศาสตร์ เหล่านันให้เป็ น
ทฤษฎีหรื อกฎพืนฐานต่างๆแต่อย่างใด จนกระทังถึงคริ สตศักราชที 18 ซึงถือว่าเป็ นการเริ มต้นของวิชาเธอร์
โมไดนามิกส์สมัยใหม่ โดยนักฟิ สิ กส์ชาวฝรังเศสชือว่า ซาดิ คาร์โนต์ (Sadi Carnot) ซึงเป็ นผูร้ ิ เริ มทีนิยามคํา
ว่า “งาน” เพือแสดงถึงความสามารถในการยกนําหนักวัตถุต่างๆให้สูงขึน หลังจากนันก็ได้มีการพัฒนาวิชา
เธอร์โมไดนามิกส์อย่างต่อเนือง ได้แก่ การทดลองของเจมส์ จูล (James Joule) ทีแสดงถึงการเปลียนพลังงาน
กลให้เป็ นความร้อน การนิยามคําว่า “เอนโทรปี ” เพืออธิบายการสู ญเสี ยความร้อนในระหว่างกระบวนการ
ต่างๆโดย รู ดอล์ฟ เคลาเซียส (Rudulf Clausius) นักฟิ สิ กส์และวิศวกรชาวเยอรมัน การเสนอข้อจํากัดในการ
เปลียนรู ปความร้อนให้เป็ นพลังงานกลโดย วิลเลียม ธอมสัน (William Thomson) นักฟิ สิ กส์ชาวไอร์แลนด์
ซึ งภายหลังได้รับฐานันดรศักดิให้เป็ น ลอร์ ด เคลวิน (Lord Kelvin) ผลงานทีกล่าวข้างต้นได้ถูกนํามา
รวบรวมเพือเป็ นรากฐานสําคัญของเธอร์โมไดนามิกส์ในเวลาต่อมา
วิชาเธอร์โมไดนามิกส์นนประกอบได้
ั ดว้ ยกฎทีสําคัญทังหมดสี ข้อด้วยกัน ในงานทีเกียวข้องกับทาง
วิศวกรรมนันเราจะเน้นไปทีการวิเคราะห์กฎข้อทีหนึ งและข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์เป็ นหลัก โดยที
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์กล่าวถึงหลักการอนุรักษ์พลังงานซึ งหมายความว่าพลังงานไม่สามารถถูก
สร้างหรื อถูกทําลายได้ แต่พลังงานจะเปลียนรู ปไปมาจากรู ปหนึงไปยังอีกรู ปหนึ งโดยทีผลรวมของพลังงาน
ทังหมดก่อนและหลังการเปลียนแปลงจะมีค่าเท่าเดิมเสมอ ในขณะทีกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์จะ
เกียวกับทิศทางในการเปลียนรู ปของพลังงานกล่าวคือพลังงานจะเปลียนแปลงไปในทิศทางทีทําให้คุณภาพ
ของพลังงานจะตําลงเสมอ
นอกเหนือไปจากกฎพืนฐานของวิชาเธอร์โมไดนามิกส์ซึงถือว่าเป็ นหลักการทีสําคัญ เรายังสามารถ
นําเอาวิชาเธอร์ โมไดนามิ กส์ ไปประยุกต์ใช้ได้ในหลากหลายสาขาวิชา ในส่ วนของเธอร์ โมไดนามิกส์
สําหรับวิศวกรรมเครื องกลนันจะเน้นการประยุกต์ใช้ไปทีเครื องจักรหรื ออุปกรณ์ต่างๆซึงใช้ในการเปลียนรู ป
ของพลังงานโดยเน้นไปทีงานกลเป็ นหลัก ทังนี เราจะนําเสนอตัวอย่างของเครื องจักรหรื ออุปกรณ์ต่างๆ ที
เกียวข้องกับวิศวกรรมเครื องกลดังต่อไปนี
2

โรงจักรไอนํามีหน้าทีผลิตงานกลจากการใช้ไอนําในการขับเคลือนกังหันไอนํา ไอนําทีเกิ ดขึนมา


จากการให้แหล่งความร้อนต่างๆ อาทิ ความร้อนจากการเผาไหม้ถ่านหิ นหรื อชีวมวล ความร้อนจากพลังงาน
นิวเคลียร์ ในเตาปฏิกรณ์ ความร้อนจากแสงอาทิตย์ เป็ นต้น ในขณะทีงานกลทีได้ก็นาํ ไปผลิตกระแสไฟฟ้ า
ผ่านเครื องกําเนิ ดไฟฟ้ า ตัวอย่างของโรงจักรไอนําในประเทศไทยได้แก่โรงไฟฟ้ าแม่เมาะ จังหวัดลําปาง ซึ ง
เป็ นโรงจักรไอนําทีใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ าโดยใช้ถ่านหิ นเป็ นเชือเพลิง ณ ปั จจุบนั ในปี พ.ศ. 2554 โรงไฟฟ้ า
แม่เมาะมีกาํ ลังการผลิตประมาณ 2,400 MW โดยจ่ายไฟฟ้ าให้แก่ส่วนภูมิภาคได้แก่ภาคเหนื อ ภาคกลาง และ
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ

รู ปที 1.1 ใบพัดของกังหันไอนํา (http://en.wikipedia.org/wiki/Steam_turbine)

รู ปที 1.2 โรงไฟฟ้ าแม่เมาะ จังหวัดลําปาง (http://kanchanapisek.or.th/kp8/lpa/lpa105.html)


3

เครื องยนต์เผาไหม้ภายในมีหน้าทีเปลียนความร้อนจากการเผาไหม้ของเชือเพลิงภายในกระบอกสู บ
เพือขับเคลือนลูกสู บ จากนันการเคลือนทีของลูกสูบจะถูกส่ งต่อไปยังก้านสู บและข้อเหวียงเพือทําให้เกิดเป็ น
งานกลเชิงหมุน เครื องยนต์เผาไหม้ภายในมีอยูส่ องแบบกล่าวคือเครื องยนต์เผาไหม้ภายในทีจุดระเบิดด้วย
ประกายไฟหรื อทีเรากันว่าเครื องยนต์แกโซลีนและเครื องยนต์เผาไหม้ภายในทีจุดระเบิดด้วยการอัดหรื อทีเรา
เรี ยกกันว่าเครื องยนต์ดีเซล การใช้งานของเครื องยนต์เผาไหม้ภายในทังสองชนิ ดมีอยู่หลากหลายตังแต่
เครื องมือทางการเกษตร ยานยนต์ชนิดต่างๆ พาหนะทางนํา อากาศยานบางประเภท หรื อแม้กระทังเป็ นต้น
กําลังสําหรับเครื องกําเนิดไฟฟ้ า

รู ปที 1.3 ภาพตัดขวางของเครื องยนต์ดีเซล (http://www.gruppofrattura.it/pdf/


ICMFF9/files/assets/seo/page282.html)

รู ปที 1.4 เครื องยนต์เผาไหม้ภายในทีพบเห็นอยูท่ ุกวันบนการจราจรในกรุ งเทพฯ (http://ict.in.th/21272)


4

เครื องยนต์กงั หันแก๊สเป็ นเครื องยนต์ซึงอาศัยการเผาไหม้ของเชือเพลิงในห้องเผาไหม้เพือทําให้เกิด


ไอเสี ย ที อุ ณ หภู มิ แ ละความดัน สู ง จากนันนํา ไอเสี ยดัง กล่ า วไปขับกังหัน แก๊ สเพื อสร้ างงานกลเชิ ง หมุ น
เครื องยนต์กงั หันแก๊สส่ วนมากนันจะใช้สาํ หรับเป็ นเครื องไอพ่นสําหรับอากาศยานและใช้ขบั เครื องกําเนิ ด
ไฟฟ้ าเพือผลิตกระแสไฟฟ้ า ในประเทศไทยนันเราใช้เครื องยนต์กงั หันแก๊สสําหรับในการผลิตกระแสไฟฟ้ า
ทีมีสัดส่ วนถึงประมาณร้อยละ 60 ของการผลิตไฟฟ้ าทังหมดในประเทศโดยเชือเพลิงทีใช้คือแก๊สธรรมชาติ
จากอ่าวไทย ตัวอย่างของโรงไฟฟ้ าทีใช้เครื องยนต์กงั หันแก๊สได้แก่โรงไฟฟ้ าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
โรงไฟฟ้ าบางปะกงเป็ นโรงไฟฟ้ าที ใช้ระบบความร้ อนร่ ว มทังเครื องยนต์กังหันแก๊ สและโรงจักรไอนํา
ร่ วมกันโดยมีกาํ ลังการผลิตรวมประมาณ 3,700 MW ซึงถือว่าเป็ นโรงไฟฟ้ าขนาดใหญ่โรงหนึงของประเทศ

รู ปที 1.5 เครื องยนต์กงั หันแก๊สสําหรับอากาศยาน (Turns, 2006: 12))

รู ปที 1.6 โรงไฟฟ้ าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา (http://www.siamfishing.com/


board/view.php?tid=74725&begin=275)
5

เครื องปรับอากาศเป็ นอุปกรณ์ใช้สาํ หรับใช้ปรับอุณหภูมิของอากาศภายในบริ เวณทีมีขนาดต่างๆ ให้


มีเกิ ดความสบายต่อมนุ ษย์ เครื องปรับอากาศจะต้องอาศัยงานกลในการอัดสารทําความเย็นให้มีความดัน
สูงขึน จากนันสารทําความเย็นถูกทําให้ควบแน่นจนเป็ นของเหลว และลดความดันจนกระทังมีอุณหภูมิตาลง ํ
ตามทีต้องการ สารทําความเย็นทีเป็ นของเหลวทีอุณหภูมิตาเมื ํ อได้รับความร้อนจากอากาศก็จะดูดความร้อน
ทําให้อากาศมีอุณหภูมิตาลงในขณะที
ํ ตัวสารทําความเย็นเองก็จะระเหยกลายเป็ นไอจนหมด ซึงตรงจุดนีเอง
ทําให้เครื องปรับอากาศสามารถทําให้อากาศเย็นสบายตามทีต้องการ

รู ปที 1.7 เครื องปรับอากาศแบบแยกส่ วนทีใช้กนั อยูท่ วไปตามบ้


ั านเรื อนทีอยูอ่ าศัยและอาคาร
(http://radiantfloor.org/2011/01/18/air-conditioner-image)

รู ปที 1.8 เครื องทํานําเย็นสําหรับระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ตามอาคารและสํานักงาน


http://cset.mnsu.edu/engagethermo/images/Chiller_perspective.jpg

จะเห็ นได้ว่าอุปกรณ์ เหล่ านี บางส่ วนก็เป็ นสิ งทีอยู่ใกล้ตวั ที สามารถพบเห็ นได้ในชี วิตประจําวัน
ดังนันอาจจะกล่ าวได้ว่าวิชาเธอร์ โมไดนามิ กส์ นันเป็ นศาสตร์ ทีอยู่ใกล้ตวั เราและการเข้าใจในหลักการ
พืนฐานทางเธอร์โมไดนามิกส์กส็ ามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้กบั สิ งทีอยูร่ ายล้อมรอบตัวเราได้เช่นกัน
6

บทที 2
แนวความคิดและบทนิยาม
2.1 ระบบทางเธอร์โมไดนามิกส์และปริ มาตรควบคุม
ในการวิเคราะห์ทางเธอร์ โมไดนามิกส์นัน สิ งทีต้องคํานึ งถึงเป็ นอันดับแรกคือระบบทางเธอร์ โม
ไดนามิกส์ (thermodynamics system) อาจจะกล่าวได้ว่าระบบทางเธอร์ โมไดนามิกส์นนเป็ ั นระบบสมมติที
สนใจและเกิดจากการเลือกเพือจะทําการศึกษา ในทางกายภาพนันระบบดังกล่าวไม่ปรากฏอยูจ่ ริ ง ดังนันการ
เลือกระบบทางเธอร์โมไดนามิกส์จึงสามารถทําได้อย่างอิสระ ในการเลือกนันจะทําการสร้างปริ มาตรสมมติ
ขึนมาหนึงอันเพือล้อมรอบสิ งทีเราสนใจและจะเรี ยกปริ มาตรนันว่าปริ มาตรควบคุม (control volume) โดยที
พืนทีผิวโดยรอบปริ มาตรควบคุมจะถูกเรี ยกว่าผิวควบคุม (control surface) สิ งทีอยูน่ อกปริ มาตรควบคุมจะ
เรี ยกว่าสิ งล้อมรอบ (surroundings) ในการเขียนแผนภาพเพือแสดงปริ มาตรควบคุม เรานิ ยมใช้เส้นประเพือ
แสดงขอบเขตระบบ (system boundary) ในกรณี ทีไม่มีมวลไหลผ่านเข้าออกผิวควบคุมซึ งจะทําให้มวล
ภายในปริ มาตรควบคุมมีค่าคงทีอยูต่ ลอดเวลา เราจะเรี ยกระบบดังกล่าวว่ามวลควบคุม (control mass) และ
ในบางกรณี เราจะแทนคําว่ามวลควบคุมด้วยคําว่าระบบปิ ด (closed system) ในทางตรงกันข้ามหากระบบ
อนุ ญาตให้มวลไหลผ่านเข้าหรื อออกจากระบบได้ เราจะเรี ยกระบบดังกล่าวว่าระบบเปิ ด (open system)
อนึงจะเห็นไว้วา่ ทังระบบปิ ดและระบบเปิ ดต่างอนุญาตให้พลังงานในรู ปต่างๆไหลผ่านเข้าออกจากระบบได้
ตัวอย่างของระบบปิ ดได้แก่แก๊สในกระบอกสู บในขณะทีได้รับความร้อนและตัวอย่างของระบบเปิ ดได้แก่
ส่ วนหนึงของระบบผลิตไอนําดังทีแสดงในรู ปที 2.1

ไอนํา

สิงล้อมรอบ เครืองสูบ หม้อต้ม


แก๊ส
นําปอน นําทิง

ความร้อน พลังงานกล ความร้อน

ระบบปิ ด ระบบเปิ ด

รู ปที 2.1 ตัวอย่างของระบบปิ ดและระบบเปิ ด


7

2.2 ทัศนคติมหภาคและจุลภาค
วิชาเธอร์โมไดนามิกส์นนสามารถจํ
ั าแนกได้เป็ น 2 กลุ่มโดยแบ่งตามทัศนคติ กล่าวคือ
1) วิชาเธอร์โมไดนามิกส์ดงเดิ ั มหรื อมหภาค (classical or macroscopic thermodynamics) ซึ งอาศัยทัศนคติ
ในภาพรวมและมีลกั ษณะเป็ นค่าเฉลียในระดับมหภาค ตัวอย่างเช่น หากกล่าวถึงคําว่าความดันของแก๊ส
เราคงจะนึ กถึงค่าแรงของโมเลกุลของแก๊สทีกระทําต่อพืนทีผนังภาชนะโดยรอบ ซึงค่าดังกล่าวหากมอง
ตามข้อเท็จจริ งแล้วค่าดังกล่าวเป็ นค่าเฉลีย เพราะโมเลกุลแต่ละตัวก็คงมีพฤติกรรมทีแตกต่างกัน เพียงแต่
เราไม่ได้สนใจในรายละเอียดว่าโมเลกุลของแก๊สแต่ละตัวจะมีพฤติกรรมเป็ นอย่างไร แต่เราสนใจเพียง
ค่าเฉลียโดยรวมทีเกิดขึน หากเรานําเครื องมือมาวัดค่าความดันของแก๊สดังกล่าว ค่าความดันทีได้ยอ่ ม
เป็ นค่าเฉลียในทัศนคติมหภาคเช่นกัน
2) วิชาเธอร์โมไดนามิกส์สถิติหรื อจุลภาค (statistical or microscopic thermodynamics) ซึงอาศัยทัศนคติใน
ระดับจุลภาค หากนําตัวอย่างของแก๊สข้างต้นมาอธิบาย เธอร์โมไดนามิกส์จุลภาคจะสนใจในพฤติกรรม
ของโมเลกุลของแก๊สในแต่ละตัวว่ามีพฤติกรรมเป็ นเช่นไร หากแต่ว่าเนื องจากโมเลกุลของแก๊สมีเป็ น
จํานวนมาก (ในระดับ 1023) การจะหาพฤติกรรมของโมเลกุลแต่ละตัวคงจะเป็ นไปไม่ได้ในทางปฏิบตั ิ
ดังนันจึงมีความจําเป็ นต้องนําวิชาสถิติมาประยุกต์ใช้เพือหาว่าพฤติกรรมของโมเลกุลส่ วนใหญ่เป็ นไป
ในทิศทางนัน จากนันเธอร์ โมไดนามิกส์จุลภาคก็จะนําเอาผลดังกล่าวไปเชือมโยงกับผลลัพธ์ทีได้จาก
เธอร์โมไดนามิกส์มหภาคของเพือทีจะสามารถอธิบายพฤติกรรมในระดับมหภาคต่อไป

2.3 สมบัติและภาวะของสาร
ในทางเธอร์ โมไดนามิกส์ สถานะ (phase) เป็ นคําทีแสดงถึงปริ มาณของสารทีมีความต่อเนื องเป็ น
เนือเดียวกันโดยตลอด ในขณะทีสารกําลังอยูใ่ นสถานะใดสถานะหนึง เราจะพบว่าสารนันอาจจะอยูใ่ นภาวะ
(state) ทีต่างๆกัน คําว่าภาวะนันหมายถึงสภาพของสารทีปรากฏอยู่ ณ ขณะนัน ซึ งจะถูกกําหนดโดยสมบัติ
เธอร์โมไดนามิกส์ (thermodynamic properties) ของสารเหล่านัน ตัวอย่างเช่นหากมีการพบสาร ก. อยูส่ อง
แห่ ง สาร ก. ทีปรากฏอยู่ ณ สถานทีทังสองแห่ งนี จะมีสมบัติเหมือนกันทุกประการก็ต่อเมือสาร ก. อยู่ใน
ภาวะเดียวกัน สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ทีเป็ นทีคุน้ เคยกันได้แก่ อุณหภูมิ ความดัน ความหนาแน่น เป็ นต้น
จํานวนสมบัติทีต้องการเพือทีจะกําหนดภาวะของสารได้นนจะกล่ ั าวในส่ วนถัดไป สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์
นันจะแบ่งได้ออกเป็ นสองประเภทคือสมบัติเอกซ์เทนซิ ฟ (extensive property) และสมบัติอินเทนซิ ฟ
(intensive property) ซึ งสมบัติทงสองมี
ั ความแตกต่างตรงทีสมบัติเอกซ์เทนซิ ฟคือสมบัติทีขึนโดยตรงกับ
มวลของสารนันๆ ตัวอย่างของสมบัติเอกซ์เทนซิ ฟได้แก่ มวล ปริ มาตร เป็ นต้น ในขณะทีสมบัติอินเทนซิ ฟ
คือสมบัติทีไม่ขึนอยูก่ บั มวลของสาร ตัวอย่างของสมบัติอินเทนซิฟได้แก่ อุณหภูมิ ความดัน ความหนาแน่ น
เป็ นต้น หากนําสมบัติเอกซ์เทนซิฟ (ยกเว้นตัวมวลเอง) มาหารด้วยมวลของสารก็จะได้สมบัติอินเทนซิฟ
8

การที ระบบอยู่ภ ายใต้ส มดุ ล (equilibrium) นันหมายถึ ง ระบบอยู่ใ นภาวะที หากได้รั บ การ
เปลียนแปลงเพียงเล็กน้อยจากภายนอก ระบบก็จะกลับสู่ ภาวะเดิมทีเคยเป็ นอยู่ ทังนี ยังสามารถแบ่งสมดุล
ออกได้เป็ น สมดุลอุณหภาพ (thermal equilibrium) ซึ งหมายถึงไม่มีการเปลียนแปลงอุณหภูมิภายในระบบ
สมดุลกล (mechanical equilibrium) ซึ งหมายถึงไม่มีการเปลียนแปลงความดันภายในระบบยกเว้นความดัน
สถิตทีเป็ นผลมาจากแรงโน้มถ่วง สมดุลสถานะ (phase equilibrium) ซึ งหมายถึงไม่มีการเปลียนแปลง
สถานะภายในระบบ และสมดุลเคมี (chemical equilibrium) ซึ งหมายถึงไม่มีการเปลียนแปลงองค์ประกอบ
ทางเคมีภายในระบบ โดยรวมแล้วหากระบบไม่มีการเปลียนแปลงในทุกๆด้านทีกล่าวมี อาจจะกล่าวได้ว่า
ระบบดังกล่าวอยูภ่ ายใต้สมดุลเธอร์โมไดนามิกส์ (thermodynamic equilibrium)

2.4 กระบวนการและวัฏจักร
เมือสารได้รับสิ งเร้าจากภายนอกซึ งได้แก่พลังงานในรู ปต่างๆ สิ งทีเกิดขึนก็คือสมบัติของสารก็จะ
เปลียนไป ย่อมหมายความว่าภาวะของสารเกิดการเปลียนแปลงเช่นกัน ในระหว่างการเปลียนแปลงนันจะ
พบว่าสารจะเดิ นทางผ่านภาวะต่างๆ ตังแต่ภาวะเริ มต้นจนกระทังภาวะสุ ดท้าย เส้นทางเดิ นของภาวะที
เกิดขึนของสารนันเรี ยกว่ากระบวนการ (process) โดยทีตัวเส้นทางเดินดังกล่าวจะเรี ยกว่าวิถี (path)
พิจารณากระบอกสู บทีบรรจุแก๊สอยู่ภายในดังทีแสดงในรู ปที 2.2 จะพบว่าหากค่อยๆใส่ กอ้ น
นําหนักลงไปบนลูกสู บทีละหนึ งก้อน ในขณะทีใส่ นาหนัํ กลงไปหนึ งก้อนนัน ก็จะทําให้เกิดการเสี ยสมดุล
กลขึนทําให้ลูกสูบเคลือนทีลง จนกระทังระบบเกิดสมดุลกลอีกครังจนกว่าจะมีการใส่ นาหนั ํ กเพิมลงไปอีก

แก๊ส แก๊ส แก๊ส

รู ปที 2.2 ตัวอย่างของกระบวนการแบบกึงสมดุล

เนืองจากภาวะของสารทีได้อธิบายในหัวข้อ 2.3 ข้างต้นเป็ นภาวะทีเกิดขึนเมือระบบอยูภ่ ายใต้สมดุลเธอร์โม


ไดนามิกส์ สิ งทีน่ าสงสัยก็คือว่าในระหว่างทีระบบเกิดการเปลียนแปลงขึนอันเป็ นผลมาจากการเสี ยสมดุล
เนืองจากสิ งเร้าภายนอก ระบบจะยังคงอยูใ่ นภาวะทีเราได้อธิ บายข้างต้นหรื อไม่ เพือจะสามารถตอบคําถาม
จากข้อสงสัยดังกล่าวได้ จึงได้มีการนิ ยามคําว่ากระบวนการกึ งสมดุล (quasi-equilibrium process) ขึน
กระบวนการกึงสมดุลเป็ นกระบวนทางอุดมคติ ซึ งหมายความถึงกระบวนการทีเกิดขึนอย่างช้าๆ จนระบบ
สามารถปรั บ ตัว เองได้ท ัน และถื อ ว่ า ระบบยัง เสมื อ นคงอยู่ภ ายใต้ส มดุ ล เธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ใ นระหว่ า ง
9

กระบวนการทีเกิดขึน ดังนันหากเรากําหนดภาวะตังต้นและภาวะสุ ดท้ายลงบนแผนภาพในรู ปที 2.3 หาก


กระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการกึงสมดุล สิ งทีเกิ ดขึนก็คือภาวะต่างๆ ในระหว่างกระบวนการก็จะ
ปรากฏขึนเป็ นจุดเพราะว่าระบบยังเสมือนคงอยูภ่ ายใต้สมดุลเธอร์ โมไดนามิกส์ หากนําจุดหลายๆ จุดมาต่อ
กันผลลัพธ์ทีได้กจ็ ะปรากฏเป็ นเส้นทึบซึงแสดงถึงวิถีของกระบวนการดังกล่าวดังทีแสดงในรู ป 2.3 (a)
ในทางตรงกันข้ามหากกระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการทีเกิดขึนอย่างรวดเร็ ว เป็ นผลให้ระบบ
ไม่สามารถปรับตัวเองได้ทนั และมีความเบียงเบนต่อสมดุลเธอร์ โมไดนามิกส์เป็ นอย่างมาก กระบวนการ
ดังกล่าวเรี ยกว่ากระบวนการอสมดุล (nonequilibrium process) ซึ งเราจะไม่สามารถระบุภาวะของสารใน
ระหว่างกระบวนการดังกล่าวได้ เนื องจากสิ งทีเกิ ดขึนในระหว่างกระบวนการไม่อยู่ในสมดุลเธอร์ โม
ไดนามิกส์ ดังนันเราจึงไม่สามารถกําหนดจุดหรื อภาวะในระหว่างกระบวนการได้ ด้วยเหตุนีเราจึงนิยมเขียน
เส้นประแสดงวิถีของกระบวนการอสมดุลดังทีแสดงในรู ป 2.3 (b)

คุณสมบัติที 2 คุณสมบัติที 2
ภาวะสุดท้าย ภาวะสุดท้าย

วิถีของกระบวนการ วิถีของกระบวนการ
กึงสมดุล อสมดุล

ภาวะตังต้น ภาวะตังต้น
คุณสมบัติที 1 คุณสมบัติที 1
(a) (b)

รู ปที 2.3 เส้นทึบและเส้นประแสดงวิถีของกระบวนการกึงสมดุลและกระบวนการอสมดุลตามลําดับ

ในทางเธอร์ โมไดนามิกส์นนจะมี
ั คาํ ศัพท์เฉพาะทีใช้สาํ หรับกระบวนการชนิดต่างๆ กระบวนการที
เกิดขึนภายใต้เงือนไขทีสมบัติอย่างใดอย่างหนึ งของสารมีค่าคงที ตัวอย่างเช่น กระบวนการไอโซเธอร์ มลั
(isothermal process) หรื อก็คือกระบวนการทีมีอุณหภูมิคงที กระบวนการไอโซบาริ ก (isobaric process)
หรื อก็คือกระบวนการทีมีความดันคงที และกระบวนการไอโซคอริ ก (isochoric process) หรื อก็คือ
กระบวนการที มี ป ริ ม าตรคงที ในกรณี ข องระบบ ณ ภาวะเริ มต้น ค่า หนึ งได้ผ่านกระบวนการหลายๆ
กระบวนการจนกระทังภาวะสุ ดท้ายของสารกลับมาทีภาวะเริ มต้นเดิ มอีกครัง เราจะเรี ยกกระบวนการใน
ลักษณะนี ว่าวัฏจักร (cycle) เราจะเห็นว่าอุปกรณ์หรื อเครื องจักรหลายๆอย่างในชีวิตประจําวันทํางานเป็ น
แบบวัฏจักรเช่น เครื องยนต์ในรถยนต์ เครื องปรับอากาศภายในบ้าน เป็ นต้น
10

2.5 หน่วยสําหรับมวล เวลาและระยะทาง


ในตําราเล่มนีจะใช้ระบบหน่วยเมตริ กหรื อทีนิยมเรี ยกกันว่าหน่วยเอสไอ (SI units) ซึงจะมีการนิยาม
หน่วยสําหรับมวล เวลา และระยะทาง ซึงเป็ นหน่วยพืนฐานคือ กิโลกรัม (kilogram หรื อ kg) วินาที (second
หรื อ s) และ เมตร (meter หรื อ m) ตามลําดับ ซึ งหน่วยเอสไอได้มีการนิ ยามหน่วยพืนฐานเหล่านีได้อย่าง
ชัดเจน สําหรับในการนิยามหน่วยของแรงนันจะเป็ นไปตามกฎข้อทีสองของนิวตันกล่าวคือ
F = ma (2.1)
หน่วยของแรงในหน่ วยเอสไอคือ นิวตัน (Newton หรื อ N) ดังนันจะสามารถเขียนหน่วยนิวตันในรู ปของ
หน่วยพืนฐานได้จากสมการข้างต้นว่า 1 N = 1 kg-m/s2
นอกจากนี แล้วในหน่วยเอสไอยังมีการใช้คาํ นําหน้าเพือทําหน้าทีเป็ นตัวคูณในหน่วยต่างๆ ซึ งเป็ น
จํานวนเท่าของสิ บดังทีแสดงในตารางที 2.1

ตารางที 2.1 คํานําหน้าทีใช้สาํ หรับหน่วยเอสไอ

คํานําหน้า ตัวคูณ สัญลักษณ์ คํานําหน้า ตัวคูณ สัญลักษณ์


เทร่ า (tera) 1012 T มิลลิ (milli) 10−3 m
กิกะ (giga) 109 G ไมโคร (micro) 10−6 μ
เมกะ(mega) 106 M นาโน (nano) 10−9 n
กิโล (kilo) 103 k พิโค (pico) 10−12 p

ในกรณี ของหน่วยเวลาทียาวกว่าวินาที ก็จะสามารถใช้ นาที ชัวโมง และวันแทนได้

2.6 พลังงาน
คําว่าพลังงานนันเป็ นคําที ค่อนข้างจะเป็ นที คุ น้ เคยกับบุคคลทัวไปและใช้อยู่อย่างสมําเสมอใน
ชีวิตประจําวัน โดยทัวไปแล้วพลังงานเปรี ยบเสมือนศักยภาพในการทํางานในรู ปแบบต่างๆ อย่างไรก็ตาม
คําอธิบายดังกล่าวนันก็ไม่สามารถทีจะนิยามคําว่าพลังงานได้อย่างชัดเจนและแม่นยํา เราทราบดีว่าพลังงาน
มีความสามารถทีจะเก็บสะสมภายในระบบ สามารถทีจะส่ งผ่านจากระบบหนึ งไปยังอีกระบบหนึ ง และ
สามารถเปลียนรู ปแบบจากรู ปหนึงไปยังอีกรู ปหนึง นอกเหนื อจากคําอธิ บายดังกล่าวแล้วนัน เรายังสามารถ
ทีจะอธิบายคําว่าพลังงานได้จากทัศนคติในระดับจุลภาคได้เช่นกัน
พลังงานในส่ วนแรกทีกล่าวถึงเป็ นพลังงานทีเกียวข้องกับพลังงานจลน์ในหลายๆรู ปแบบได้แก่ การ
เคลือนทีของโมเลกุล การหมุนและการสันสะเทือนของโมเลกุลในกรณี ทีโมเลกุลประกอบด้วยอะตอม
มากกว่าหนึงอะตอม การเคลือนทีของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส และการหมุนของอิเล็กตรอนและนิวเคลียส
รอบตัวเอง ซึงพลังงานจลน์เหล่านันเป็ นส่ วนประกอบของพลังงานในระดับมหภาคทีมีชือว่าพลังงานสัมผัส
11

(sensible energy) ทังนี พลังงานสัมผัสถือว่าเป็ นพลังงานในรู ปแบบหนึ งของพลังงานภายใน(internal


energy) ในทางเธอร์ โมไดนามิกส์นันพลังงานภายในเป็ นพลังงานในระดับมหภาคทีนอกเหนื อไปจาก
พลังงานจลน์และพลังงานศักย์ นอกจากพลังงานสัมผัสแล้ว ยังมีพลังงานภายในอีกส่ วนทีเกียวข้องโดยตรง
กับแรงยึดเหนี ยวระหว่างโมเลกุลของสารซึ งแรงดังกล่าวจะมีมากทีสุ ดในของแข็งและมีน้อยทีสุ ดในแก๊ส
ถ้าพลังงานจากภายนอกมีมากเพียงพอทีทําให้โมเลกุลสามารถเอาชนะแรงยึดเหนี ยวดังกล่าวได้ก็จะเกิดการ
เปลียนสถานะของสารขึน พลังงานภายในทีเกียวข้องกับการเปลียนสถานะของสารดังกล่าวมีชือว่าพลังงาน
แฝง (latent energy)
พลังงานภายในอีกรู ปหนึงทีเกียวข้องกับแรงยึดเหนียวอะตอมภายในโมเลกุลนันเรี ยกว่าพลังงานเคมี
(chemical energy) จะสังเกตเห็นว่าขณะทีเกิดปฏิกิริยาเคมีขึน พันธะเคมีบางส่ วนจะถูกทําลายออกและสร้าง
ขึนมาใหม่ เป็ นผลให้องค์ประกอบทางเคมีเปลียนไป สําหรับพลังงานในส่ วนสุ ดท้ายทีเกียวข้องกับแรงยึด
เหนี ยวภายในนิ วเคลียสของอะตอมจะเรี ยกว่าพลังงานนิ วเคลียร์ (nuclear energy) ซึ งพลังงานเคมีและ
พลังงานนิวเคลียร์นนจะอยู
ั น่ อกเหนือขอบเขตของตําราเล่มนี

2.7 ปริ มาตรจําเพาะและความหนาแน่น


โดยทัวไปคํานิ ยามของปริ มาตรจําเพาะ (specific volume หรื อ v) คือปริ มาตรของสารต่อหนึ งหน่วย
มวล สําหรับความหนาแน่น (density หรื อ ρ) จะมีค่าเป็ นส่ วนกลับของปริ มาตรจําเพาะนันก็คือ
V 1
v = = (2.2)
m ρ
โดยที V และ m คือปริ มาตรและมวลตามลําดับ ในทํานองเดียวกันปริ มาตรจําเพาะและความหนาแน่นก็
สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปของโมลได้โดยเปลียนจากมวลของสารให้เป็ นจํานวนโมลแทนกล่าวคือ
V 1
v = = (2.3)
n ρ
โดยที n คือจํานวนโมลของสาร จะเห็นได้ว่าเราจะใช้สัญลักษณ์ขีดด้านบนเพือแสดงว่าปริ มาณดังกล่าวใช้
จํานวนโมลเป็ นฐานทังนีเพือให้เกิดความแตกต่างระหว่างปริ มาณทีใช้มวลเป็ นฐาน
นอกจากนีเราสามารถนําทฤษฎีของลิมิตมาประยุกต์ใช้ในการเขียนปริ มาตรจําเพาะกล่าวคือ
δV
v = lim (2.4)
δV→δV ′ δm
โดยทีปริ มาตรจําเพาะของสารนันจะต้องหาภายใต้สมมุติฐานความต่อเนื อง (continuum hypothesis) ดังที
แสดงในรู ปที 2.4 กล่าวคือปริ มาตรทีใช้ในการวัด δV จะต้องมีค่าเข้าใกล้ δV′ ซึ งเป็ นจุดตังต้นของ
12

สมมุติฐานความต่อเนื อง ทังนีสมมุติฐานความต่อเนืองจะเกิดขึนเมือความยาวด้านของ δV′ มีค่ามากกว่าค่า


เส้นทางเดินเฉลียอิสระ (mean free path) ของโมเลกุลของสารนันๆ
δV
δm

δV
δV′

รู ปที 2.4 สมมุติฐานความต่อเนืองสําหรับการหาปริ มาตรจําเพาะ

ค่าปริ มาตรจําเพาะและความหนาแน่นของสารบางชนิดได้แสดงอยูใ่ นตารางที 2.2 จะเห็นได้วา่ แก๊ส


จะมีค่าปริ มาตรจําเพาะสู งทีสุ ดและอยูใ่ นลําดับที 1∼10 m3/kg ในขณะทีของเหลวมีค่าปริ มาตรจําเพาะอยูใ่ น
ลําดับที 0.0001∼0.001 m3/kg และของแข็งมี ค่าปริ ม าตรจํา เพาะอยู่ใ นช่ ว งที กว้า งกว่า ตังแต่ ลาํ ดับ ที
0.00001∼0.01 m3/kg ทังนี เนื องจากโครงสร้างของของแข็งทีมีลกั ษณะทีต่างๆ กันออกไป ถ้าเป็ นของแข็ง
จําพวกโลหะหรื อวัสดุตนั ชนิ ดอืนๆ ก็จะมีปริ มาตรจําเพาะตํา ในขณะทีถ้าเป็ นของแข็งทีมีลกั ษณะเป็ นวัสดุ
พรุ นซึงมีอากาศแทรกอยูภ่ ายในก็จะมีปริ มาตรจําเพาะสู ง สําหรับสารชนิดเดียวกันจะพบว่าปริ มาตรจําเพาะ
ของของแข็งและของเหลวจะมีค่าไม่ต่างกันมาก ซึ งส่ วนมากจะมีค่าอยู่ในลําดับทีใกล้เคียงกัน แต่ปริ มาตร
จําเพาะของของเหลวกับแก๊สนันจะมีค่าแตกต่างกันมากถึงประมาณ 1000 เท่าเลยทีเดียว

ตารางที 2.2 ปริ มาตรจําเพาะและความหนาแน่นของสารชนิดต่างๆ ที 25oC, 100 kPa

สาร ปริ มาตรจําเพาะ (m3/kg) ความหนาแน่น (kg/m3)


อากาศ 0.855 1.169
ฮีเลียม 6.192 0.1615
นํา 0.00100 997
เอทานอล 0.00128 783
กลีเซอรี น 7.937 x 10−4 1,260
เหล็กหล่อ 1.375 x 10−4 7,272
ทองคํา 5.181 x 10−5 19,300
ขนสัตว์ 0.01 100
13

ตัวอย่างที 2.1
ภาชนะชินหนึงทําจากอลูมิเนียมซึงมีมวล 3 kg ภาชนะดังกล่าวใช้บรรจุนาปริํ มาตร 10 L และบรรจุ
นํามันปริ มาตร 4 L โดยทีนํามันมีความหนาแน่น 910 kg/m3 จงหามวลรวมของภาชนะและสารทีบรรจุ
วิธีทาํ
ตัวแปรทีทราบค่า: mal, Vwater, Voil, ρoil
ตัวแปรทีต้องการ: mtotal
จากนิยามของความหนาแน่นจะได้วา่
⎛ 1 m3 ⎞
m water = ρ water Vwater = ⎜ 997 3 ⎟(10 L )⎜
⎛ kg ⎞
⎟ = 9.97 kg
⎝ m ⎠ ⎝ 1000 L ⎠
3
m oil = ρ oil Voil = ⎛⎜ 910 3 ⎞⎟(4 L )⎜
kg ⎛ 1 m ⎞
⎟ = 3.64 kg
⎝ m ⎠ ⎝ 1000 L ⎠
ดังนันมวลรวมของภาชนะและสารทีบรรจุจะหาได้จาก
m total = m aluminum + m water + m oil = (3 + 9.97 + 3.64) kg
m total = 16.61 kg คําตอบ

2.8 ความดัน
ความดัน (pressure หรื อ P) คือแรงในแนวตังฉากต่อพืนทีทีถูกแรงกระทํา คําว่าความดันนันจะนิยม
ใช้กบั สารทีเป็ นของไหล(ของเหลวและแก๊ส)เท่านัน ในกรณี ทีสารเป็ นของแข็งจะใช้คาํ ว่าความเค้นตังฉาก
แทน(normal stress) โดยทัวไปแล้วสมการระหว่างความดันและแรงทีกระทําสามารถเขียนได้เป็ น
Fn
P = (2.5)
A
โดยที Fn และ A คือความดัน แรงกระทําในแนวตังฉากและพืนทีตามลําดับ นอกจากนี ถ้านําทฤษฎีของลิมิต
มาประยุกต์ใช้โดยจะสามารถเขียนสมการระหว่างความดันและแรงทีกระทําได้เป็ น
δFn
P = lim (2.6)
δA→δA ′ δA
โดยทีสมการทีได้จะต้องอยูภ่ ายใต้สมมุติฐานความต่อเนื องเช่นเดียวกับกรณี ของปริ มาตรจําเพาะทีเคยกล่าว
ไปแล้ว หน่วยของความดันทีใช้ในหน่วยเอสไอนันจะใช้ พาสคาล (Pascal หรื อ Pa) ซึงมีค่าเท่ากับ 1 N/m2
ในทางปฏิบตั ิยงั มีหน่ วยความดันอืนๆ ทีนิ ยมใช้กนั ได้แก่ บาร์ (bar) หรื อเอทีเอ็ม (atm) เป็ นต้น หากเรา
ต้องการจะแปลงหน่วยดังกล่าวเราจะพบว่า 1 bar จะมีค่าเท่ากับ 105 Pa และ 1 atm จะมีค่าเท่ากับค่าความดัน
บรรยากาศทีระดับนําทะเล (atmospheric pressure หรื อ P0) ซึงมีค่าเท่ากับ 101,325 Pa
14

ในทางเธอร์โมไดนามิกส์นนั ความดันทีนําไปใช้มกั จะเป็ นค่าความดันสัมบูรณ์ (absolute pressure


หรื อ Pabs) แต่ในทางปฏิบตั ินนค่
ั าความดันทีวัดได้จะเป็ นค่าความดันทีแตกต่างจากค่าความดันบรรยากาศที
ระดับนําทะเล ในกรณี ทีความดันทีวัดได้มีค่าสู งกว่าค่าความดันบรรยากาศทีระดับนําทะเล เราจะเรี ยกความ
ดันส่ วนต่างนันว่าความดันเกจ (gauge pressure หรื อ Pguage) ในทางตรงกันข้ามถ้าความดันทีวัดได้มีค่าตํากว่า
ค่าความดันบรรยากาศทีระดับนําทะเล เราจะเรี ยกความดันส่ วนต่างนันว่าความดันสุ ญญากาศ (vacuum
pressure หรื อ Pvacuum)
Pguage = P0 + Pabs
(2.7)
Pvacuum = P0 − Pabs

เมือพิจารณาแท่งของไหลทีมีความสู ง H ดังรู ปที 2.5 จะพบว่าความดันทีตําแหน่ง B มีค่ามากกว่า


ความดันทีตําแหน่ง A เนืองจากนําหนักของของไหลทีกดทับเพิมขึนเป็ นความสูง H
P=PA

H
B

รู ปที 2.5 ความดันทีตําแหน่ง A และ B และแท่งของไหลความสูง H

จากสมดุลแรงหรื อกฎข้อทีหนึงของนิวตัน ณ ทีตําแหน่ง B จะสามารถเขียนได้วา่


PB A = PA A + ρ g A H
PB = PA + ρ g H (2.8)

โดยที g คือความเร่ งเนืองจากแรงโน้มถ่วงของโลกมีค่าเท่ากับ 9.81 m/s2 ผลจากสมการดังกล่าวสามารถ


นํา ไปประยุก ต์ใ ช้ไ ด้กับ อุ ป กรณ์ ว ดั ความดัน บางประเภทเช่ น มาโนมิ เ ตอร์ ห รื อ บาโรมิ เ ตอร์ ไ ด้อี ก ด้ว ย
นอกจากนี แล้วจากสมการที 2.8 จะเห็นได้ว่าในบางครังเราสามารถแทนค่าความดันได้ดว้ ยความสู งของของ
ไหล เป็ นผลให้หน่ วยวัดความดันบางหน่ วยจะแทนค่าความดันด้วยค่าความสู งของแท่งของไหลพร้อมทัง
ระบุชนิดของของไหลนันๆ ตัวอย่างเช่น มิลลิเมตรปรอท (mm Hg) หรื อ เมตรนํา (m H2O หรื อ m WC)
ดังนันเมือทราบค่าความสู งของแท่งของไหลและความหนาแน่นของของไหลชนิดดังกล่าวแล้ว ก็จะสามารถ
นําไปแทนในสมการ P = ρ g H เพือหาค่าความดันได้
15

ตัวอย่างที 2.2 P0
มาโนมิเตอร์รูปตัวยูดงั ทีแสดงอยูใ่ นรู ปต่ออยูก่ บั ถังบรรจุ
แก๊สทีขาด้านหนึ ง และต่ออยู่กบั บรรยากาศภายนอกทีความดัน
ถัง
บรรยากาศ(P0) ทีขาอีกข้างหนึ ง ของเหลวทีอยู่ในมาโนมิเตอร์ H
คือปรอทโดยทีความสู งระหว่างจุด A และ B มีค่าเท่ากับ 30 cm
A B
จงหาว่าความดันของแก๊สในถังมีค่าเป็ นเท่าไร

วิธีทาํ
ตัวแปรทีทราบค่า: Hl, P0
ตัวแปรทีต้องการ: Ptank
ความดันทีจุด A และ B มีค่าเท่ากันเนื องจากเป็ นของไหลชนิ ดเดียวกันและอยู่ทีระดับเดียวกัน
ในขณะทีจุด A เป็ นความดันของแก๊สภายในถังหรื อ Ptank ในขณะทีจุด B มีของไหลความสู ง H อยูด่ า้ นบน
และจากนันก็ออกสู่ความดันบรรยากาศ
PA = PB
Ptank = P0 + ρ g H

Ptank = 101.325 kPa + ⎛⎜ 13,580 3 ⎞⎟⎛⎜ 9.81 2 ⎞⎟(0.30 m )⎛⎜


kg m 1 kPa ⎞

⎝ m ⎠⎝ s ⎠ ⎝ 1000 Pa ⎠
Ptank = 101.325 kPa + 39.966 kPa
Ptank = 141.3 kPa คําตอบ

2.9 การเท่ากันของอุณหภูมิและกฎข้อทีศูนย์ของเธอร์โมไดนามิกส์
อุณหภูมิ (temperature หรื อ T) เป็ นสมบัติทีเป็ นทีคุน้ เคยและพบเห็นบ่อยในชีวิตประจําวัน ในความ
เข้าใจของคนโดยทัวไปอุณหภู มิคือระดับที แสดงความรู ้ สึกร้ อนและความรู ้ สึกเย็น หากแต่ว่าคํานิ ยาม
ดังกล่าวจะขึ นอยู่กับความรู ้ สึก ของผูส้ ังเกตซึ งจะมี ค่าแตกต่างกันออกไปในแต่ ละบุคคล ดังนันในการ
กําหนดความหมายของคําว่าอุณหภูมินนจึ ั งนิยมใช้ว่าการเท่ากันของอุณหภูมิ (equality of temperature) แทน
ั นผลมาจากการนําวัตถุสองชินทีมีอุณหภูมิต่างกันมาสัมผัสและถ่ายเทความร้อน
การเท่ากันของอุณหภูมินนเป็
ซึงกันและกัน วัตถุทงสองชิ
ั นถูกวัดด้วยเธอร์ โมมิเตอร์ แบบปรอทซึ งสามารถเห็นระดับของปรอทดังกล่าว
หากวัตถุชินแรกทีมีอุณหภูมิสูงกว่าสัมผัสกับวัตถุชินทีสองทีมีอุณหภูมิตากว่ ํ า ดังนันเมือนําวัตถุสองชินมา
สัมผัส เราจะเห็นว่าระดับของปรอทของเธอร์โมมิเตอร์ ทีวัตถุชินแรกจะมีระดับทีลดลง ในขณะทีระดับของ
ปรอทของเธอร์ โมมิเตอร์ ทีวัตถุชินทีสองจะมีระดับทีเพิมขึน เมือระดับของปรอทของเธอร์ โมมิเตอร์ ทีวัตถุ
ทังสองชินมีระดับทีไม่เปลียนแปลงและมีค่าเท่ากันหลังจากทีวัตถุทงสองได้ ั สัมผัสและถ่ายเทความร้อนกัน
เป็ นระยะเวลานาน เราจะกล่าวได้วา่ วัตถุทงสองชิั นเกิดการเท่ากันของอุณหภูมิ
16

หากเรามีวตั ถุสองชินและเธอร์โมมิเตอร์ แบบปรอทอีกหนึ งแท่ง อันดับแรกนําวัตถุชินแรกกับเธอร์


โมมิเตอร์ แบบปรอทมาสัมผัสและถ่ายเทความร้อนกันจนเกิดการเท่ากันของอุณหภูมิ จากนันนําเธอร์ โม
มิเตอร์ แบบปรอทออกจากวัตถุชินแรกแล้วนํามาสัมผัสและถ่ายเทความร้ อนกับวัตถุชินที สองจนเกิ ดการ
เท่ากันของอุณหภูมิอีกครัง ถ้าหากไม่มีการเปลียนระดับของปรอทแสดงว่าวัตถุชินแรกและวัตถุชินทีสอง
เกิดการเท่ากันของอุณหภูมิ ตัวอย่างทีแสดงให้เห็นดังกล่าวนันถือว่าเป็ นข้อความของกฎข้อทีศูนย์ของเธอร์
โมไดนามิกส์ซึงไม่สามารถพิสูจน์ได้จากกฎข้ออืนๆ และได้ตงขึ ั นหลังจากทีกฎข้อทีหนึ งและกฎข้อทีสอง
ของเธอร์โมไดนามิกส์ได้ถือกําเนิดไปแล้ว กฎข้อนีเป็ นพืนฐานสําคัญของการวัดอุณหภูมิดว้ ยเช่นกัน

2.10 สเกลอุณหภูมิ
สเกลอุณหภูมิ (temperature scale) ทีใช้กนั อย่างแพร่ หลายในปั จจุบนั อันหนึ งคือสเกลเซลเซี ยส
(Celsius scale) ซึ งถือกําเนิ ดขึนในคริ สตศักราชที 18 จากวิศวกรชาวสวีเดนชือว่า แอนเดอซ์ เซลเซี ยส
(Anders Celsius) โดยการแบ่งอุณหภูมิออกเป็ นร้อยส่ วนจากจุดเริ มต้นที 0 ทีจุดเยือกแข็งของนําจนไปถึง 100
ทีจุ ดเดื อดของนําทีความดันบรรยากาศ สเกลดังกล่าวมีชือว่าสเกลเซลเซี ยส (Celsius scale) ซึ งจะใช้
สัญลักษณ์ oC เพือแทนสเกลเซลเซี ยส ต่อจากนันได้มีการพิจารณาถึงการใช้สเกลอุณหภูมิสัมบูรณ์ซึงเป็ น
ผลมาจากกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์ซึงจะกล่าวถัดไปในบทที 7 สเกลอุณหภูมิสัมบูรณ์ดงั กล่าวจะ
มีชือว่าสเกลอุณหภูมิเธอร์โมไดนามิกส์ (thermodynamic temperature scale) ทังนี เงือนไขของสเกลอุณหภูมิ
สัมบูรณ์ก็คือจะต้องเป็ นสเกลทีเป็ นอิสระต่อชนิดของสาร เป็ นผลให้สเกลเซลเซี ยสซึ งถือกําเนิ ดจากการใช้
นําเป็ นสเกลไม่สามารถนํามาใช้เป็ นสเกลอุณหภูมิสัมบูรณ์ได้ สเกลอุณหภูมิสัมบูรณ์ทีนําสเกลเซลเซียสมา
ปรับปรุ งได้แก่สเกลเคลวิน (Kelvin scale) โดยตังชือตามลอร์ ดเคลวินนักพิสิกส์ชาวไอร์ แลนด์ เราจะใช้
สเกลเคลวินเป็ นหน่ วยของอุณหภูมิทีใช้ในหน่ วยเอสไอและจะใช้สัญลักษณ์ K เพือแทนสเกลเคลวิน
ความสัมพันธ์ระหว่างสเกลเซลเซียสและสเกลเคลวินคือ

T(in K) = T(in o C) + 273.15 (2.9)


17

แบบฝึ กหัด
1) จงอธิบายความแตกต่างระหว่างมวลควบคุมและปริ มาตรควบคุม
2) ระหว่าง ความดัน อุณหภูมิ ปริ มาตร และ ความหนาแน่ น สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ใดเป็ นสมบัติ
อินเทนซิฟ (ตอบได้มากกว่าหนึงข้อ)
3) หากเรานําถังแก๊สหุงต้มทีใช้ตามบ้านเรื อนนําไปตากแดด กระบวนการทีเกิดขึนกับแก๊สหุ งต้มทีอยูใ่ น
ถังเป็ นกระบวนการแบบใด
4) ภาชนะใบหนึงบรรจุนามั ํ นเครื อง 8 L ต่อมามีคนนําลูกเหล็กทรงกลมซึงทําด้วยเหล็กกล้าทีมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 2 cm จํานวน 80 ลูกมาเทใส่ ในนํามันเครื องดังกล่าว จงหามวลรวมทังหมดโดยไม่รวม
ภาชนะทีใส่
5) อากาศถูกบรรจุอยู่ในกระบอกสู บทีมีลูกสู บซึ งเคลือนไหวได้อย่างอิสระ P0
วางอยูด่ า้ นบนในภาวะสมดุลกล หากลูกสู บทําจากเหล็กหล่อทีมีความสู ง
75 cm เ ส้นผ่านศูนย์กลาง 1.3 m ในขณะทีความดันบรรยากาศ (P0) มีค่า
เท่ากับ 101.3 kPa จงหาว่าความดันของอากาศในกระบอกสูบมีค่าเท่าไร อากาศ

P0
6) มาโนมิเตอร์รูปตัวยูดงั ทีแสดงอยูใ่ นรู ป ขาด้านหนึงของมาโนมิเตอร์ต่ออยู่
กับถังบรรจุแก๊ส ในขณะทีขาด้านหนึ งปล่อยสู่ บรรยากาศภายนอกทีความ ถัง
ดันบรรยากาศ (P0) = 101.3 kPa) ของเหลวทีอยูใ่ นมาโนมิเตอร์มีความ H
หนาแน่น 826 kg/m3 ถ้าแก๊สในถังทีมีความดันสัมบูรณ์เท่ากับ 112 kPa
จงหาระยะความสูง H ของของเหลวดังกล่าว

7) กฎข้อทีศูนย์ของเธอร์โมไดนามิกส์กล่าวไว้วา่ อย่างไร จงอธิบาย


18

บทที 3
สมบัตขิ องสารบริสุทธิ
3.1 สารบริ สุทธิ
สารบริ สุทธิ (pure substance) ในทางเธอร์ โมไดนามิกส์นันหมายถึงสารทีมีลกั ษณะคือ 1) มี
องค์ประกอบทางเคมีทีไม่เปลียนแปลง 2) มีลกั ษณะเป็ นเนื อเดียวกัน (homogeneous) และ 3) สามารถ
ปรากฏได้ในหลายสถานะ ตัวอย่างเช่ น สารทําความเย็นอาร์ -22 (R-22) เป็ นสารบริ สุทธิ เพราะมี
องค์ประกอบทางเคมีคือ CHClF2 เพียงอย่างเดี ยว ของผสมระหว่างนํากับนําแข็งก็ถือว่าเป็ นสารบริ สุทธิ
เพราะถึงแม้ว่าของผสมดังกล่าวจะปรากฏอยู่สองสถานะนันคือของแข็งและของเหลว แต่ก็มีองค์ประกอบ
ทางเคมีคือ H2O เพียงอย่างเดียว สําหรับอากาศนันตามทฤษฎีไม่เป็ นสารบริ สุทธิเนืองจากว่าอากาศเป็ นแก๊ส
ผสมทีมีองค์ประกอบหลักทางเคมีทีหลากหลายได้แก่ N2 O2 และ Ar เป็ นต้น แต่เนืองจากอากาศเป็ นสารทีมี
อยูท่ วไปและมี
ั การนํามาใช้ประโยชน์อยูบ่ ่อยครัง เราจึงถือว่าได้ว่าพฤติกรรมของอากาศมีลกั ษณะคล้ายคลึง
กับสารบริ สุทธิได้กต็ ่อเมือไม่เกิดการเปลียนสถานะขึน
สําหรับในตําราเล่มนี เราจะพิจารณาเฉพาะสารทีเรี ยกว่าสารอัดตัวได้เชิงเดียว (simple compressible
substance) ซึ งถือว่าการเปลียนแปลงปริ มาตรทีเกิดจากกระบวนการต่างๆ มีนยั สําคัญ ในขณะทีผลกระทบ
ของ แรงตึงผิว สนามแม่เหล็ก และสนามไฟฟ้ า ต่อสารดังกล่าวมีนอ้ ยมาก ระบบทีประกอบไปด้วยสารอัด
ตัวได้เชิงเดียวนันเราจะเรี ยกว่าระบบอัดตัวได้เชิงเดียว (simple compressible system) หากพิจารณาตาม
ข้อเท็จจริ งในทางปฏิบตั ิแล้ว จะพบว่ากระบวนการทีเกิดขึนส่ วนมากจะเป็ นกระบวนการทีเกิดขึนกับระบบ
อัดตัวได้เชิงเดียวเกือบทังสิ น ตัวอย่างเช่น กระบวนการต้มนําให้เดือด กระบวนการอุ่นอากาศให้ร้อนขึน
กระบวนการทําความเย็นของสารทําความเย็น เป็ นต้น

3.2 สมดุลสถานะของไอ ของเหลวและของแข็งในสารบริ สุทธิ


พิจารณานําทีเป็ นของเหลวบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บและลูกสู บดังทีแสดงในรู ป 3.1 (a) สมมติว่า
ลูกสู บมีนาหนั
ํ กทีเบามากและลูกสู บสามารถทีจะเคลือนไหวได้อย่างอิสระ ความดันภายนอกเท่ากับความ
ดันบรรยากาศ (P0) ซึ งมีค่าเท่ากับ 101.3 kPa ดังนันเพือรักษาสมดุลกลระหว่างความดันของนําภายใน
กระบอกสู บกับความดันภายนอก ความดันของนําจึงต้องมีค่าเท่ากับ 101.3 kPa และมีค่าคงทีอยูต่ ลอดเวลา
หรื ออีกนัยหนึงกระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการไอโซบาริ กที 101.3 kPa ในทางตรงกันข้ามปริ มาตร
ของนําทีอยูใ่ นกระบอกสูบสามารถทีจะเปลียนแปลงได้เนืองจากลูกสูบสามารถเคลือนไหวได้อย่างอิสระ
19

P0 = 101.3 kPa (คงที)

H2O (g)
H2O (g) H2O (g)
100oC 200oC
H2Oo (l) H2Oo(l) 100oC
30 C 100 C H2O (l)

(a) (b) (c) (d) (e)


รู ปที 3.1 นําภายในกระบอกสูบทีเปลียนจากของเหลวไปเป็ นไอภายใต้กระบวนการไอโซบาริ ก

ในเบืองต้นให้นาที ํ เป็ นของเหลวในรู ปที 3.1 (a) มีอุณหภูมิเริ มต้นที 30oC จะสังเกตได้วา่ นําทีเป็ นของเหลว
ในลักษณะนี ยังคงสถานะเป็ นของเหลวถึงแม้ว่าจะได้รับความร้อนเพิมหรื อคายความร้อนออก เราจะเรี ยก
ภาวะของของเหลวในลักษณะนี ว่าของเหลวอัดตัวหรื อของเหลวเย็นยิง (compressed liquid หรื อ subcooled
liquid) เมือให้ความร้อนแก่นาที ํ อุณหภูมิ 30oC ไปเรื อยๆ เราจะพบว่าอุณหภูมิของนําค่อยๆเพิมขึนเป็ น 35oC
40oC 45oC 50oC ไปเรื อยๆ ซึงนําทีอุณหภูมิดงั กล่าวก็ยงั คงภาวะเป็ นของเหลวอัดตัวอยู่ จนกระทังเมือนํามี
อุณหภูมิที 100oC เราจะพบว่าถ้าเราให้ความร้อนแก่นาเพิ ํ มขึนไปมากกว่านีอีกเพียงเล็กน้อย นําบางส่ วนก็จะ
เริ มเปลียนกลายเป็ นไอนํา ดังนันเราจะเรี ยกภาวะของของเหลวทีเมือได้รับความร้อนอีกเพียงเล็กน้อยก็จะ
เปลียนสถานะกลายเป็ นไอนีว่าของเหลวอิมตัว (saturated liquid) ซึงแสดงในรู ป 3.1 (b) ต่อจากนันเมือนํา
ได้รับความร้อนเพิมขึนไปอีก เราจะพบว่านําส่ วนทีเป็ นของเหลวก็จะเปลียนสถานะกลายเป็ นไอนํามากขึน
เรื อยๆ ในขณะทีอุณหภูมิยงั คงทีที 100oC จนกระทังนําทีเป็ นของเหลวหยดสุ ดท้ายเปลียนสถานะกลายเป็ น
ไอนําจนหมด ไอนําที ได้ก็ยงั คงมีอุณหภูมิที 100oC แต่ถา้ เราให้ไอนําดังกล่าวคายความร้ อนออกเพียง
เล็กน้อยก็จะปรากฏของเหลวซึงเกิดจากการควบแน่นของไอนําขึนทันที เราจะเรี ยกภาวะของแก๊สหรื อไอที
เมือคายความร้อนออกเพียงเล็กน้อยก็จะเปลียนสถานะกลับไปเป็ นของเหลวนี ว่าไออิมตัว (saturated vapor)
ซึงแสดงในรู ป 3.1 (d) จากนันไอนําอิมตัวในรู ป 3.1 (d) ได้รับความร้อนเพิมขึนไปอีก เราจะพบว่าไอนําจะ
เริ มมีอุณหภูมิสูงขึนเกิน 100oC ไปเป็ น 120oC 140oC 160oC 180oC 200oC ไปเรื อยๆ ไอนําดังกล่าวเมือ
คายความร้อนออกหรื อได้รับความร้อนเพิมก็ยงั คงเป็ นสถานะเป็ นไอเหมือนเดิม เราจะเรี ยกภาวะของแก๊ส
หรื อไอในลักษณะนีว่าไอร้อนยวดยิง (superheat vapor) ดังทีแสดงในรู ป 3.1 (e)
หากย้อนกลับไปดูรูปที 3.1 (c) จะพบว่านําอยู่ระหว่างการเปลียนสถานะจากของเหลวอิมตัว
กลายเป็ นไออิมตัว ดังนันนําในรู ปที 3.1 (c) นีจึงอยูใ่ นสถานะทีเป็ นของผสมระหว่างของเหลวอิมตัวในรู ป
3.1 (b) กับไออิมตัวในรู ป 3.1 (d) เราจะเรี ยกภาวะของของผสมในลักษณะนี ว่าของผสมระหว่างของเหลว
20

และไออิมตัว (saturated liquid-vapor mixture) หรื อของผสมสองสถานะ (two-phase mixture) อนึงในขณะ


ทีนําอยู่ในภาวะของเหลวอิมตัว ของผสมสองสถานะ หรื อไออิมตัวนัน เราจะนิ ยามคําว่าคุณภาพสารสอง
สถานะ (quality หรื อ x) ซึงมีค่าเท่ากับอัตราส่ วนระหว่างมวลเฉพาะสถานะทีเป็ นไอต่อมวลทังหมดกล่าวคือ
m vap
x = (3.1)
m total

โดยที mvap และ mtotal คือมวลเฉพาะสถานะไอและมวลทังหมดตามลําดับ อนึงคุณภาพสารสองสถานะ นัน


เป็ นสมบัติอินเทนซิฟและคุณภาพสารสองสถานะจะไม่นิยามในภาวะของเหลวอัดตัวและไอร้อนยวดยิง
หากนําภาวะทีเกิดขึนทังหมดในรู ป 3.1 ไปวาดเป็ นแผนภาพ โดยกําหนดให้แกนนอนเป็ นปริ มาตร
ของนําในกระบอกสู บและแกนตังเป็ นอุณหภูมิของนํา แผนภาพดังกล่าวมีชือว่าแผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตร
(T-V diagram) ดังทีแสดงในรู ป 3.2
T
P = 101.3 kPa
200oC e
100oC
b c d
30oC a

V
รู ปที 3.2 แผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรแสดงการเปลียนสถานะของนําจากของเหลวไปเป็ นไอ
ทีความดันคงทีเท่ากับ 101.3 kPa (ไม่ได้ตามสัดส่ วน)

จะเห็นได้ว่าปริ มาตรของนําจากจุด a ซึ งเป็ นของเหลวอัดตัวไปยังจุด b ซึ งเป็ นของเหลวอิมตัวนันมีการ


เปลียนแปลงน้อยมาก ทังนี เนื องจากของเหลวเป็ นสถานะทีจัดอยูใ่ นประเภทสารอัดไม่ได้ (incompressible
substance) นันคือปริ มาตรจําเพาะหรื อความหนาแน่นจะเปลียนแปลงน้อยมากยกเว้นในกรณี ทีกระบวนการ
อัดทีมีการเปลียนแปลงความดันสู งมากๆ จากนันถ้าสังเกตปริ มาตรของนําจากจุด b ซึงเป็ นของเหลวอิมตัว
ไปยังจุด c ซึงเป็ นของผสมสองสถานะไปจนถึงจุด d ซึงเป็ นไออิมตัว จะพบว่าปริ มาตรมีการเปลียนแปลง
อย่างมีนัยสําคัญ ทังนี เนื องมาจากไอนําซึ งมีสถานะเป็ นแก๊สได้ปรากฏตัวขึนและมีปริ มาณเพิมขึนเรื อยๆ
ในขณะทีอุณหภูมิยงั คงมีค่าคงทีที 100oC หลังจากนันปริ มาตรของไอนําภายหลังจากจุด d ซึงเป็ นไออิมตัว
ไปยังจุด e ซึ งเป็ นไอร้อนยวดยิงยังคงเพิมขึนอย่างต่อเนื อง ในขณะทีอุณหภูมิขยับเพิมขึนจาก 100oC ไป
เรื อยๆ จนถึง 200oC
21

จะเห็นว่ากระบวนการทีเรากล่าวถึงมาตังแต่ตน้ นันเป็ นกระบวนการไอโซบาริ กที 101.3 kPa หาก


กระบวนการทังหมดได้กระทําซําอีกครังโดยเปลียนความดันจาก 101.3 kPa ไปเป็ นค่าอืน สิ งทีเกิดขึนคือ
แผนภาพทีแสดงในรู ป 3.3

T
P = 10 MPa
P = 1 MPa
311oC
P = 101.3 kPa
180oC

100oC
P = 10 kPa
45.8oC

V
รู ปที 3.3 แผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรแสดงการเปลียนสถานะของนําจากของเหลวไปเป็ นไอ
ทีความดันคงทีค่าต่างๆ (ไม่ได้ตามสัดส่ วน)

จุดที น่ าสังเกตคืออุณหภูมิทีเกิ ดการเปลี ยนสถานะจะมีค่าเปลี ยนไปเมื อความดันเปลี ยนไป เราจะเรี ยก


อุณหภูมิในขณะทีเกิดการเปลียนสถานะจากของเหลวไปเป็ นไอว่าอุณหภูมิอิมตัว (saturation temperature
หรื อ Tsat) ซึงจะเกิดขึนทีความดันค่าหนึงซึงจะเรี ยกว่าความดันอิมตัว (saturation pressure หรื อ Psat) จากรู ป
3.3 จะเห็นได้ว่าความดันอิมตัวและอุณหภูมิอิมตัวจะเปลียนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน ในทางคณิ ตศาสตร์
อาจจะกล่าวว่าความดันอิมตัวเป็ นฟังก์ชนั ของอุณหภูมิอิมตัวดังทีแสดงในรู ป 3.4
P
Psat = f(Tsat)

T
รู ปที 3.4 แผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างความดันอิมตัวและอุณหภูมิอิมตัว
22

จากแผนภาพทีแสดงในรู ปที 3.3 หากเรานําภาวะของเหลวอิมตัวของนําทีค่าความดันต่างๆ กันมา


เชื อมต่อกัน และนําภาวะไออิมตัวของนําทีค่าความดันต่างๆ กันมาเชื อมต่อกัน สิ งทีปรากฏขึนคือเส้นที
เชือมต่อระหว่างภาวะของเหลวอิมตัวซึ งจะมีชือว่าเส้นของเหลวอิมตัว (saturated liquid line) และเส้นที
เชือมต่อระหว่างภาวะไออิมตัวซึงจะมีชือว่าเส้นไออิมตัว(saturated vapor line) ดังทีแสดงในรู ปที 3.5

P = 22.09 MPa
T
P = 10 MPa
จุดวิกฤติ
374.14oC P = 1 MPa

P = 101.3 kPa

P = 10 kPa
เส้นของเหลวอิมตัว

เส้นไออิมตัว

V
รู ปที 3.5 แผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรแสดงเส้นของเหลวอิมตัว เส้นไออิมตัว
และจุดวิกฤต (ไม่ได้ตามสัดส่ วน)

จุดทีเส้นของเหลวอิมตัวและเส้นไออิมตัวตัดกันจะเรี ยกว่าจุดวิกฤต (critical point) ซึ งจะเป็ นจุดทีภาวะ


ของเหลวอิมตัวและไออิมตัวกลายเป็ นภาวะเดียวกัน อุณหภูมิ ความดัน และปริ มาตรจําเพาะทีจุดวิกฤตจะมี
ชือว่าอุณหภูมิวิกฤต (critical temperature หรื อ Tc) ความดันวิกฤต (critical pressure หรื อ Pc) และปริ มาตร
วิกฤต (critical volume หรื อ vc) ตามลําดับ ซึงค่าทังสามสําหรับนําจะมีค่าเท่ากับ 374.14oC 22.09 MPa และ
0.003155 m3/kg ตามลําดับ ในกรณี ทีนําผ่านกระบวนไอโซบาริ กทีมีค่าความดันเกินกว่าค่าความดันวิกฤต
เราจะพบว่าของผสมสองสถานะในรู ป 3.1 (c) จะไม่ปรากฏขึนเนืองจากความดันทีสู งมากดังกล่าวจะอัดสาร
ให้อยู่ในสถานะเพียงสถานะเดียว สารดังกล่าวจะไม่อยู่ในสถานะทีเป็ นของเหลวหรื อไอ แต่เราจะเรี ยก
สถานะนันว่าของไหลเหนือวิกฤต (supercricial fluid)
ในทางเธอร์ โมไดนามิกส์เรานิ ยมจะนําแผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรทีแสดงในรู ป 3.5 มาเขียนใหม่
โดยแสดงเฉพาะเส้นของเหลวอิมตัวและเส้นไออิมตัวซึ งเมือนํามาต่อกันจะปรากฏเป็ นเส้นโค้งรู ประฆังควํา
ทีแบ่งพืนทีออกเป็ นส่ วนต่างๆ ทีแสดงถึงภาวะต่างๆ ของสารดังทีแสดงในรู ปที 3.6
23

T
จุดวิกฤติ

ของเหลว ไอร้อนยวดยิง
อัดตัว ของผสมสองสถานะ

เส้นของเหลวอิมตัว เส้นไออิมตัว
V
รู ปที 3.6 แผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรแสดงเส้นโค้งระฆังควําทีแบ่งพืนทีออกเป็ นภาวะต่างๆ ของสาร

โดยทัวไปแล้ว เราจะใช้ตวั ห้อย f เพือแทนสมบัติทีภาวะของเหลวอิมตัว และจะใช้ตวั ห้อย g เพือแทน


สมบัติทีภาวะไออิมตัว นอกจากนีสมบัติในส่ วนทีเป็ นของผสมสองสถานะนัน จะเป็ นการเฉลียถ่วงนําหนัก
ระหว่างของเหลวอิมตัวและไออิมตัว ตัวอย่างเช่นหากว่าเราต้องการจะหาปริ มาตรจําเพาะของของผสมสอง
สถานะซึ งเกิ ดจากการผสมกันระหว่างของเหลวอิมตัวและไออิ มตัว ในเบืองต้นเราจะหาปริ มาตรของ
ของผสมซึงเกิดจากผลรวมของปริ มาตรในส่ วนสถานะทีเป็ นของเหลวและสถานะทีเป็ นแก๊สกล่าวคือ
Vtotal = Vliq + Vvap
Vtotal = m liq v f + m vap v g

ดังนันปริ มาตรจําเพาะของของผสมสองสถานะจึงเขียนได้เป็ น
V m v m v
v total = tot = liq f + vap g
m tot m tot m tot

ทังนีเรานิยมทีจะละทิงตัวห้อย total ซึงแสดงถึงค่าเฉลียของของผสมสองสถานะ และจากนิยามของคุณภาพ


สารสองสถานะในสมการที 3.1 จะเขียนได้วา่
v = (1 − x ) v f + x v g (3.2)

จะเห็นว่าค่าเฉลียของปริ มาตรจําเพาะของของผสมสองสถานะเป็ นการเฉลียถ่วงนําหนักระหว่างปริ มาตร


จําเพาะของของเหลวอิมตัวและไออิมตัวโดยนําค่าคุณภาพสารสองสถานะมาเป็ นสัดส่ วนในการเฉลียนันเอง
สมการที 3.2 สามารถเขียนใหม่ในรู ปของ v fg ซึงนิยามโดย
v fg = v f − v g (3.3)
24

ดังนันสมการที 3.2 จะสามารถนํามาเขียนใหม่ได้อยูใ่ นรู ป

v = vf + x v fg (3.4)

กลับมาพิจารณารู ปที 3.4 อีกครัง จะพบว่าแผนภาพในรู ปที 3.4 เกิดจากการกําหนดให้อุณหภูมิและ


ความดันเป็ นแกนนอนและแกนตังตามลําดับ ส่ วนเส้นทีปรากฏในแผนภาพเป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง
อุ ณ หภู มิ อิ มตัว และความดัน อิ มตัว ดัง นั นหากสารใดก็ ต ามที มี อุ ณ หภู มิ แ ละความดัน ตกอยู่ บ นเส้ น
ความสัมพันธ์ดงั กล่าว ก็จะทราบว่าสารดังกล่าวอยู่ในภาวะของเหลวอิมตัว ของผสมสองสถานะ หรื อไอ
อิมตัวอย่างใดอย่างหนึง หรื ออีกนัยหนึงสารนันกําลังจะเปลียนสถานะจากของเหลวกลายไปเป็ นไอ ดังนัน
เส้นความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิอิมตัวและความดันอิมตัวจะมีอีกชือหนึงว่าเส้นระเหย (vaporization line)
ในกรณี ทีสารทีมีอุณหภูมิและความดันตกอยูใ่ นบริ เวณทางด้านซ้ายของเส้นระเหย ก็แสดงว่าสารนันอยูใ่ น
ภาวะของเหลวอัดตัว (หรื อเรี ยกสันๆ ว่าอยูใ่ นสถานะของเหลว) ในทางตรงกันข้ามหากสารทีมีอุณหภูมิและ
ความดันตกอยูใ่ นบริ เวณทางด้านขวาของเส้นระเหย ก็แสดงว่าสารนันอยูใ่ นภาวะไอร้อนยวดยิง (หรื อเรี ยก
สันๆว่าอยูใ่ นสถานะแก๊สหรื อไอ) ดังนันการวาดแผนภาพทีใช้อุณหภูมิและความดันเป็ นแกนนอนและแกน
ตังตามลําดับจึ งเป็ นแผนภาพที แสดงสถานะต่ างๆ ของสารหรื อมี อีกชื อหนึ งว่าแผนภาพสถานะ (phase
diagram) ซึงแสดงได้ในรู ปที 3.7
P
เส้นระเหย
สถานะ
ของเหลว

สถานะไอ

T
รู ปที 3.7 แผนภาพสถานะทีแสดงถึงเส้นระเหยและบริ เวณทีเป็ นสถานะของเหลวและไอ

แผนภาพสถานะสามารถทีจะยืดขยายต่อไปยังค่าความดันและอุณหภูมิอืนๆ ทีกว้างขึนและครอบคลุมใน
ส่ วนทีสารจะปรากฏตัวอยูใ่ นสถานะของแข็ง ทังนีนอกเหนือจากเส้นระเหยแล้ว จะปรากฏเส้นทีแสดงการ
เปลียนสถานะจากของแข็งกลายไปเป็ นของเหลวหรื อมีอีกชื อหนึ งว่าเส้นละลาย (fusion line) และเส้นที
แสดงการเปลียนสถานะจากของแข็งกลายไปเป็ นไอหรื อมีอีกชือหนึงว่าเส้นระเหิ ด (sublimation line) ทังนี
เส้นละลาย เส้นระเหยและเส้นระเหิ ดจะมาบรรจบกันทีจุดเดียวเรี ยกว่าจุดร่ วมสาม (triple point) ดังทีแสดง
ในรู ปที 3.8 ดังนันทีอุณหภูมิและความดันเท่ากับจุดร่ วมสาม สารจะสามารถปรากฏได้ทงสถานะของแข็
ั ง
ของเหลวและไอพร้อมๆ กันในภาวะสมดุล อนึ งจะสังเกตได้ว่าความดันทีจุดร่ วมสามจะเป็ นตัวบ่งชีว่าสาร
25

จะปรากฏอยูใ่ นภาวะของเหลวหรื อไม่ ถ้าความดันของสารทีปรากฏมีค่าน้อยกว่าความดันทีจุดร่ วมสาม สาร


ดังกล่าวจะไม่มีทางปรากฏอยูใ่ นสถานะของเหลวได้เลยไม่วา่ อุณหภูมิจะเปลียนแปลงไปเช่นไร
P
เส้นละลาย
สถานะ เส้นระเหย
ของเหลว
สถานะ
ของแข็ง

จุดร่วมสาม สถานะไอ
เส้นระเหิด
T

รู ปที 3.8 แผนภาพสถานะทีแสดงถึงเส้นละลาย เส้นระเหย เส้นระเหิด และจุดร่ วมสาม

3.3 สมบัติอิสระของสารบริ สุทธิ


สําหรั บสารบริ สุทธิ ที เป็ นสารอัด ตัวได้เชิ งเดี ยวนัน อาจกล่าวได้ว่าจํานวนสมบัติที ต้องการเพือ
กําหนดภาวะของสารบริ สุทธิคือสองค่า สมบัติทงสองค่ ั านันต้องเป็ นสมบัติอินเทนซิฟและต้องเป็ นอิสระต่อ
กัน ข้อความดังทีกล่าวมานันในบางครังจะถูกเรี ยกว่ากฎของภาวะทางเธอร์ โมไดนามิกส์ (two properties
rule) ดัง นั นเมื อใดก็ ต ามที ภาวะถู ก กํา หนดเป็ นที เรี ยบร้ อ ย สมบัติ อื นๆ ที เหลื อ อยู่ ย่ อ มต้อ งเท่ า กัน
ตัวอย่างเช่น หากมีขอ้ มูลว่านํามีอุณหภูมิ 30oC และความดัน 101.3 kPa อยากทราบว่าภาวะของนําดังกล่าว
ถูกกําหนดแล้วหรื อไม่ เราจะพบว่านําทีภาวะดังกล่าวเป็ นของเหลวอัดตัว จึงทําให้อุณหภูมิและความดันต่าง
ก็เป็ นสมบัติอินเทนซิฟและเป็ นอิสระต่อกัน ดังนันภาวะของนําทีมีอุณหภูมิ 30oC และความดัน 101.3 kPa
จึงได้ถูกกําหนดแล้ว หากพิจารณาตัวอย่างถัดไปเพือเป็ นการเปรี ยบเทียบกล่าวคือ ถ้านํามีอุณหภูมิ 100oC
และความดัน 101.3 kPa อยากทราบว่าภาวะของนําดังกล่าวถูกกําหนดแล้วหรื อไม่ เราจะเห็นว่าข้อมูลทีเรา
ทราบมีความคล้ายคลึงกับตัวอย่างแรกนันคือทราบทังอุณหภูมิและความดัน แต่เราจะไม่สามารถระบุได้ว่า
นําดังกล่าวเป็ นของเหลวอิมตัว ของผสมสองสถานะ หรื อไออิมตัว นันก็หมายความว่าภาวะของนํายังไม่ถูก
กําหนด ทังนี เนื องจากทีภาวะอิมตัวหรื อภาวะทีสารกําลังเปลียนสถานะ อุณหภูมิและความดันของสารจะ
เท่ากับอุณหภูมิอิมตัวและความดันอิมตัวตามลําดับและทังสองค่านีไม่เป็ นอิสระต่อกันตามรู ปที 3.4 ดังนัน
การระบุอุณหภูมิและความดันทีภาวะอิมตัวจึงเทียบเท่ากับการระบุสมบัติเพียงค่าเดียว เป็ นผลให้สถานะยัง
ไม่ถูกกําหนดเพราะเราต้องการจํานวนสมบัติทีเป็ นอิสระต่อกันจํานวนสองค่า ดังนันหากต้องการทีจะ
กําหนดภาวะของสารทีภาวะอิมตัว เราจึงต้องระบุสมบัติเพิมอีกหนึงค่านอกเหนือจากอุณหภูมิและความดัน
เพือกําหนดภาวะดังกล่าว อนึงทีภาวะอิมตัวนันในทางปฏิบตั ิเรานิยมทีจะระบุอุณหภูมิหรื อความดันเพียงค่า
26

เดียวค่าใดค่าหนึงเท่านัน ตัวอย่างเช่นนําทีอุณหภูมิ 100oC (โดยไม่ตอ้ งบอกว่าความดัน 101.3 kPa) คุณภาพ


สารสองสถานะร้อยละ 100 จะทําให้เราทราบได้ทนั ทีวา่ นําดังกล่าวอยูใ่ นภาวะไอนําอิมตัว

3.4 ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์
จากทีได้กล่าวมาทังหมดเกียวกับภาวะต่างๆ ของสารบริ สุทธิทีภาวะสมดุล เพือให้การหาสมบัติและ
ภาวะต่างๆ ทําได้โดยสะดวก จึงมีการระบุสมบัติต่างๆ ของสารบริ สุทธิ ให้อยูใ่ นรู ปแบบของตารางทีมีชือว่า
ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ (table of thermodynamic properties) ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ส่วน
ใหญ่จะประกอบไปด้วยตารางสองประเภทคือ 1) ตารางสําหรับภาวะอิมตัว (saturated table) ซึงจะใช้สาํ หรับ
หาสมบัติของของเหลวอิมตัว ของผสมสองสถานะ และไออิมตัว และ 2) ตารางสําหรับภาวะไอร้อนยวดยิง
(superheat vapor table) ซึงจะใช้สาํ หรับหาสมบัติของไอร้อนยวดยิง ตัวอย่างทีจะนํามาแสดงต่อไปนี เป็ น
ตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ของนํา ซึ งประกอบด้วยตารางสําหรับนําภาวะอิมตัวและตารางสําหรับนํา
ภาวะไอร้อนยวดยิงดังทีแสดงในตารางที 3.1 และ 3.2 ตามลําดับ

ตารางที 3.1 ตัวอย่างของตารางสําหรับนําภาวะอิมตัว (Borgnakke and Sonntag, 2009: 702)

อุณหภูมิ ความดัน ปริ มาตรจําเพาะ (m3/kg) พลังงานภายใน (kJ/kg)


(oC) (kPa) ของเหลวอิมตัว ไออิมตัว ของเหลวอิมตัว ไออิมตัว
80 47.39 0.001029 3.40715 333.84 2482.19
85 57.83 0.001032 2.82757 355.82 2488.40
90 70.14 0.001036 2.36056 376.82 2494.52
95 84.55 0.001040 1.98186 397.86 2500.56
100 101.3 0.001044 1.67290 418.91 2506.50
105 120.8 0.001047 1.41936 440.00 2512.34
110 143.3 0.001052 1.21014 461.12 2518.09

จากตารางที 3.1 ค่าทีอยูใ่ นสดมภ์ที 1 และ 2 เป็ นอุณหภูมิอิมตัวและความดันอิมตัวตามลําดับ ซึ ง


แท้จริ งแล้วนีก็คือความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิอิมตัวและความดันอิมตัวทีแสดงในรู ป 3.4 แต่นาํ เสนออยูใ่ น
รู ปของตาราง จะเห็ น ว่า การจัด รู ปแบบของตารางนันเป็ นแบบที ใช้อุณ หภู มิ เ ป็ นหลัก กล่ าวคื อตัว เลข
อุณหภูมิอิมตัวทีปรากฏเป็ นเลขเต็ม ในขณะทีความดันอิมตัวเป็ นค่าทีสอดคล้องกับอุณหภูมิอิมตัวทีเป็ นเลข
เต็มดังกล่าว แต่เพือความสะดวกในการใช้งานในบางครัง จึงมีการจัดรู ปแบบของตารางให้ความดันเป็ น
หลัก นันคือตัวเลขความดันอิมตัวทีปรากฏเป็ นเลขเต็ม ในขณะทีอุณหภูมิอิมตัวเป็ นค่าทีสอดคล้องกับความ
ดันอิมตัวทีเป็ นเลขเต็มดังกล่าวแทน ต่อจากนันค่าทีอยู่ในสดมภ์ที 3 และ 4 เป็ นปริ มาตรจําเพาะของ
27

ของเหลวอิมตัวและไออิมตัวตามลําดับ ในตารางจากแหล่งอ้างอิงอืนๆ อาจจะมีการเพิมค่า vfg ทีนิ ยามตาม


สมการที 3.3 ลงไประหว่างสดมภ์ที 3 และ 4 เพือความสะดวกในการใช้งาน ส่ วนค่าทีอยูใ่ นสดมภ์ที 5 และ
6 รวมทังสดมภ์ถดั ไปถ้ามี จะเป็ นการระบุสมบัติอืนๆ ทีภาวะของเหลวอิมตัวและไออิมตัวซึงจะกล่าวถึงใน
ภายหลัง

ตารางที 3.2 ตัวอย่างของตารางสําหรับนําภาวะไอร้อนยวดยิง (Borgnakke and Sonntag, 2009: 710)

ความดัน
100 kPa (99.62oC)
อุณหภูมิ ปริ มาตรจําเพาะ พลังงานภายใน เอนธัลปี เอนโทรปี
(oC) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 1.69400 2506.06 2675.46 7.3593
150 1.93636 2582.75 2776.38 7.6133
200 2.17226 2658.05 2875.27 7.8342
250 2.40604 2733.73 2974.33 8.0332
300 2.63876 2810.41 3074.28 8.2157
400 3.10263 2967.85 3278.11 8.5434
500 3.56547 3131.54 3488.09 8.8341

จากตารางที 3.2 จะเห็นว่าลักษณะของตารางสําหรับภาวะไอร้อนยวดยิงจะแตกต่างจากตาราง


สําหรับภาวะอิมตัวตรงทีตารางสําหรับภาวะไอร้อนยวดยิงจะมีลกั ษณะเป็ นตารางย่อย โดยในแต่ละตาราง
ย่อยจะมีการระบุค่าความดันด้านบนของตารางซึงในตัวอย่างตารางที 3.2 จะมีค่าเท่ากับ 100 kPa ในขณะที
ค่าทีอยูใ่ นสดมภ์แรกจะเป็ นอุณหภูมิ สดมภ์ที 2 เป็ นปริ มาตรจําเพาะและสดมภ์ถดั ไปเป็ นสมบัติอืนๆ ทีภาวะ
ไอร้อนยวดยิง ทังนีจะมีค่ายกเว้นอยูท่ ีค่าอุณหภูมิทีแถวแรกซึงแทนด้วยคําย่อว่า sat. นันหมายถึงค่าอุณหภูมิ
อิมตัวซึงระบุอยูใ่ นวงเล็บหลังค่าความดันซึงมีค่าเท่ากับ 99.62oC ดังนันค่าต่างๆ ของสดมภ์ที 2 และสดมภ์
ถัดไปในแถวแรกนี จึงเป็ นสมบัติทีภาวะไออิมตัว สําหรับตารางย่อยถัดก็จะมีลกั ษณะทีคล้ายคลึงกันกับ
ตารางที 3.2 เพียงแต่เปลียนค่าความดันด้านบนของตารางให้เป็ นค่าอืน รู ปแบบของตารางสําหรับภาวะไอ
ร้อนยวดยิงทีมีลกั ษณะเป็ นตารางย่อยเช่นนี เนื องมาจากทีภาวะไอร้อนยวดยิงนัน อุณหภูมิและความดันเป็ น
อิสระไม่ขึนต่อกัน นันคือหากกําหนดให้ความดันมีค่าคงที อุณหภูมิก็จะสามารถแปรเปลียนได้ตราบใดทีไม่
เกิดการเปลียนสถานะขึน ดังนันการแยกตารางออกเป็ นตารางย่อยก็เปรี ยบได้กบั การทีให้อุณหภูมิและความ
ดันเป็ นอิสระต่อกันนันเอง
28

อนึ งจะสังเกตได้ว่าโดยทัวไปแล้วตารางสําหรับภาวะของเหลวอัดตัวสําหรับสารบริ สุทธิ ชนิ ดต่างๆ


จะไม่มีปรากฏยกเว้นนํา ทังนี หากพิจารณาสารทีภาวะของเหลวอัดตัวแล้วจะพบว่ามีพฤติกรรมบางอย่างที
คล้ายกับไอร้อนยวดยิงนันคืออุณหภูมิและความดันเป็ นอิสระไม่ขึนต่อกัน ดังนันรู ปแบบตารางสําหรับภาวะ
ของเหลวอัดตัวนันจึงเป็ นรู ปแบบเดียวกับตารางสําหรับภาวะไอร้อนยวดยิง แต่สาเหตุทีตารางสําหรับภาวะ
ของเหลวอัดตัวไม่มีปรากฏให้ใช้งานนันเนืองจากเหตุผลทีว่าของเหลวส่ วนมากมีพฤติกรรมใกล้เคียงกับสาร
อัดไม่ได้ เป็ นผลให้สมบัติของของเหลวอัดตัวนันจะไม่ขึนอยู่กบั ความดัน ดังนันเมือนํากฎของภาวะทาง
เธอร์ โมไดนามิกส์มาใช้กบั ของเหลวอัดตัว จะเห็นได้ว่าเราจะสามารถตัดผลของความดันทิงออกไปได้ จึง
เหลือแต่ผลของอุณหภูมิเพียงอย่างเดียว จากการทีสมบัติอืนๆ ของของเหลวอิมตัวขึนอยู่กบั อุณหภูมิเพียง
อย่างเดียวนัน เราจึงสามารถประมาณสมบัติของของเหลวอัดตัวทีอุณหภูมิและความดันใดๆ ได้เป็ นสมบัติ
ของของเหลวอิมตัวทีอุณหภูมิเดียวกัน หากเขียนข้อความดังกล่าวในรู ปของสมการ จะได้วา่
v compressed liquid (T, P) ≈ v f (T ) (3.5)

จากสมการที 3.5 เราสามารถนําไปใช้ได้กบั สมบัติอืนๆ โดยแทนปริ มาตรจําเพาะได้ดว้ ยสมบัติทีต้องการ

ตัวอย่างที 3.1
จากตารางด้านล่างโดยทีสารเป็ นนํา จงหาสมบัติทีหายไปพร้อมทังระบุภาวะทีปรากฏด้วย
P (kPa) T (oC) v (m3/kg) x ภาวะทีปรากฏ
(a) 110 0.4
(b) 100 200
(c) 80 2.4
วิธีทาํ
ตัวแปรทีทราบค่า: สมบัติจาํ นวนสองสมบัติต่อหนึงภาวะทีกําหนด
ตัวแปรทีต้องการ: สมบัติทีหายไปและภาวะทีปรากฏ
(a) T = 110oC, x = 0.4
จากข้อมูลทีทราบ เนืองจากเราทราบค่า x = 0.4 ดังนันจึงเป็ นทีทราบอย่างชัดเจนว่าภาวะทีปรากฏ
คือของผสมสองสถานะอย่างแน่นอน เราทราบว่าของผสมสองสถานะเป็ นภาวะทีเกิดการเปลียนสถานะที
T = Tsat = 110 o C ดังนัน P = Psat = f (Tsat ) จากตารางที 3.1 จะเห็นว่านําเปลียนสถานะทีความดัน
เท่ากับ 143.3 kPa ในส่ วนของปริ มาตรจําเพาะ จะต้องหาจากสมการที 3.2 เนืองจากนําอยูใ่ นภาวะของ
ผสมสองสถานะ
⎛ m3 ⎞ ⎛ m3 ⎞ m3
v = (1 − x ) v f + x v g = ( 0.6 )⎜ 0.001052 ⎟ + ( 0.4 )⎜ 1.21014 ⎟ = 0.4847
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠ kg
29

โดยสรุ ปแล้วจะได้วา่ P = Psat = 143.3 kPa


v = 0.4847 m3/kg
ภาวะทีปรากฏคือของผสมสองสถานะ คําตอบ
(b) P = 100 kPa, T = 200oC
จากข้อมูลทีทราบ เราต้องหาก่อนว่าที P = 100 kPa นัน นําจะเปลียนสถานะเป็ นไอทีอุณหภูมิเท่าไร
หรื ออีกนัยหนึงคือหาค่า Tsat นันเอง ซึงการหาดังกล่าวหาได้สามวิธีคือ 1) ใช้ตารางสําหรับนําภาวะอิมตัว
แบบทีใช้ความดันเป็ นหลัก เปิ ดไปที P = 100 kPa ซึงจะได้ Tsat = 99.62oC 2) ใช้ตารางไอร้อนยวดยิงที
P = 100 kPa ซึงก็คือตารางที 3.2 นันเอง จะพบตัวเลขวงเล็บทีอยูห่ ลังค่าความดันซึงค่านันคือ Tsat = 99.62oC
3) สมมติว่าเรามีตารางที 3.1 เพียงแค่ตารางเดียว เราจะพบว่าที P = 100 kPa เป็ นค่าทีตกอยูร่ ะหว่างแถวทีอยู่
ในตาราง นันคือจากตารางที 3.1
P (kPa) T (oC)
84.55 95
100 ค่าทีต้องการ
101.3 100
ดังนันเราจะใช้วิธีการทีเรี ยกว่าการประมาณในช่วงแบบเชิงเส้น (linear interpolation) กล่าวคือเป็ นการ
ประมาณว่าความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลแถวก่อนค่าทีเราต้องการ (ซึงคือ P = 84.55 kPa, T = 95oC) กับข้อมูล
แถวหลังค่าทีเราต้องการ (ซึงคือ P = 101.3 kPa, T = 100oC) เป็ นแบบเชิงเส้นดังรู ปด้านล่าง
T

100oC
ค่าอุณหภูมิทีต้องการ (Tsat)

การประมาณในช่วง
95oC แบบเชิงเส้น

84.55 kPa 101.3 kPa P


100 kPa
โดยอาศัยคุณสมบัติของความชันทีเท่ากันบนเส้นตรงเดียวกันจะได้วา่
(Tsat − 95)o C ( 100 − 95 ) o C
=
( 100 − 84.55 ) kPa ( 101.3 − 84.55 ) kPa
o
แก้สมการข้างต้นจะได้ Tsat = 99.61 C ซึงก็มีค่าใกล้เคียงกับสองวิธีแรก วิธีการประมาณในช่วงแบบเชิงเส้น
นีสามารถใช้ได้กบั การหาค่าทีต้องการซึงตกอยูใ่ นระหว่างค่าทีทราบในตารางทุกประเภท
30

กลับทีโจทย์ปัญหาของเราอีกครัง เราทราบว่า P = 100 kPa จะมี Tsat = 99.62oC แต่เราทราบว่าอุณหภูมิของ


สารหรื อ T = 200oC ดังนันโดยอาศัยแผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตร จะได้วา่
T

P = 100 kPa
200oC
99.62oC

v
จะเห็นว่าเมือ T > Tsat ทีความดันเดียวกัน จะทําให้นาอยู ํ ่ในภาวะไอร้อนยวดยิง ซึ งจะไม่มีการนิ ยามค่า
คุณภาพสารสองสถานะทีภาวะนี จากนันหาปริ มาตรจําเพาะโดยไปเปิ ดตารางสําหรับนําภาวะไอร้อนยวดยิง
ที P = 100 kPa ซึงก็คือตารางที 3.2 จากนันที T = 200oC จะได้ v = 2.17226 m3/kg
โดยสรุ ปแล้วจะได้วา่ v = 2.17226 m3/kg
x ไม่มีการนิยาม
ภาวะทีปรากฏคือไอร้อนยวดยิง คําตอบ
o 3
(c) T = 80 C, v = 2.4 m /kg
จากข้อมูลทีทราบ เราต้องหาก่อนว่าที T = 80oC ค่าของ Psat เป็ นเท่าไร โดยอาศัยตารางที 3.1 จะได้
ว่า Psat = 47.39 kPa เนืองจากเราทราบค่า v ดังนันจึงควรหาค่า vf และ vg จากในตารางที 3.1 แล้วนําไปวาด
ลงบนแผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรเพือนําไปเปรี ยบเทียบ จะได้วา่
T

P = 47.39 kPa
80oC

vf v vg v
0.001029 m3/kg 2.4 m3/kg 3.40715 m3/kg
พบว่าค่า v = 2.4 m3/kg ทีโจทย์กาํ หนดมาตกอยูร่ ะหว่าง vf และ vg ซึงเขียนเป็ นสมการได้วา่ vf < v < vg เป็ น
ผลให้ภาวะทีปรากฏเป็ นของผสมสองสถานะ ดังนันความดันจึงเท่ากับความดันอิมตัวหรื อ 47.39 kPa ใน
การหาค่า x นันจะใช้สมการที 3.2 โดยแทนค่าทีทราบลงไปแล้วแก้สมการหาค่า x กล่าวคือ
v = (1 − x ) v f + x v g
m3 ⎛ m3 ⎞ ⎛ m3 ⎞
2.4 = ( 1 − x )⎜ 0.001029 ⎟ + ( x )⎜ 3.40715 ⎟
kg ⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
จะได้ค่า x = 0.7043 อนึงอาจจะใช้สมการที 3.3 และ 3.4 เพือนําไปหาค่า x ก็ได้เช่นกัน
31

โดยสรุ ปแล้วจะได้วา่ P = Psat = 47.39 kPa


x = 0.7043
ภาวะทีปรากฏคือของผสมสองสถานะ คําตอบ

ตัวอย่างที 3.2
กระบอกสูบและลูกสูบบรรจุนาอยู ํ ภ่ ายในทีความดัน 200 kPa อุณหภูมิ 110oC ปริ มาตรเริ มต้นเท่ากับ
0.01 m3 ตัวลูกสู บสามารถเคลือนทีได้อย่างอิสระ ต่อมากระบอกสู บได้รับความร้อนจากภายนอกจนมี
ปริ มาตรสุ ดท้ายเป็ น 10 m3 จงหามวลของนําภายในกระบอกสูบและอุณหภูมิสุดท้ายของนํา
วิธีทาํ
มวลควบคุม: นําภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, V1, V2
ตัวแปรทีต้องการ: m, T2
เนืองจากลูกสูบสามารถเคลือนทีได้อย่างอิสระ เพือรักษาสมดุลกลของลูกสู บดังนันความดันของนํา
ภายในกระบอกสูบจะมีค่าคงทีตลอดเวลาหรื อกระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการไอโซบาริ ก จากข้อมูล
ทีโจทย์กาํ หนดให้จะได้วา่
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): P1 = 200 kPa
T1 = 110oC ภาวะถูกกําหนดแล้ว
หากใช้ตารางสําหรับนําภาวะอิมตัวแบบทีใช้ความดันเป็ นหลัก เปิ ดไปทีค่า P1 = 200 kPa จะพบว่าค่า Tsat =
120.23oC จากข้อมูลทีกําหนดให้ T1 = 110oC ซึงมีค่าน้อยกว่า Tsat ทีความดันเดียวกัน ดังนันภาวะทีปรากฏ
สําหรับภาวะที 1 คือของเหลวอัดตัว ดังนันการหาสมบัติของของเหลวอัดตัวจะหาได้จากสมการที 3.5
v compressed liquid (110 o C, 200 kPa) ≈ v f (110 o C)
ดังนันจากตารางสําหรับนําภาวะอิมตัวทีใช้อุณหภูมิเป็ นหลักหรื อตารางที 3.1 จะได้วา่
o m3
v 1 ≈ v f (110 C) = 0.001052
kg
หามวลของนําในกระบอกสูบจากนิยามของปริ มาตรจําเพาะ กล่าวคือ
V V1 0.01 m 3
m = = =
v v1 0.001052 m 3 / kg
m = 9.506 kg คําตอบ
32

เราจะสามารถหาปริ มาตรจําเพาะทีภาวะที 2 ได้เนืองจากเราทราบทังมวลและปริ มาตรของภาวะที 2


V2 10 m 3 3
v2 = = = 1. 052 m / kg
m 9.506 m 3 / kg
ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): P2 = P1 = 200 kPa
v2 = 1.052 m3/kg ภาวะถูกกําหนดแล้ว
จะเห็นว่าภาวะที 2 เป็ นภาวะเดียวกันกับภาวะ (e) ในรู ป 3.2 เนืองจากที P2 = 200 kPa, vg = 0.88573 m3/kg
เป็ นผลให้ v2 มีค่ามากกว่า vg ทีความดันเดียวกัน ดังนันทีภาวะที 2 นําจะปรากฏเป็ นไอร้อนยวดยิง เมือเรา
ทราบทัง P2 และ v2 ก็เท่ากับว่าภาวะที 2 ถูกกําหนดตามกฎของภาวะทางเธอร์โมไดนามิกส์ ดังนันเราจะ
สามารถหาสมบัติอืนๆ ได้ทีภาวะที 2 ได้ จากตารางสําหรับนําภาวะไอร้อนยวดยิงหรื อตารางที 3.2 จะเห็นว่า
ค่า v2 ตกอยูใ่ นระหว่างค่าทีทราบในตารางนันคือ T2 จะอยูร่ ะหว่าง 150oC ถึง 200oC ดังนันจึงต้องใช้วิธีการ
ประมาณภายในแบบเชิงเส้นดังทีแสดงตัวอย่างการคํานวณไว้ในตัวอย่างที 3.1 (b) ดังนัน T2 จะหาได้จาก
(T2 − 150 )o C ( 200 − 150 ) o C
=
( 1.052 − 0.95964 ) m 3 / kg ( 1.08034 − 0.95964 ) m 3 / kg

T2 = 188.3oC คําตอบ
หากวาดภาวะที 1 ภาวะที 2 และวิถีของกระบวนการทีเกิดขึนลงบนแผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรจะได้เป็ น
T
P1 = P2 = 200 kPa

v
v1 v2
หมายเหตุ
รายละเอียดต่างๆ ในการหาสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ รวมทังวิธีการประมาณภายในแบบเชิ งเส้น
ของตัวอย่างทีจะนําเสนอหลังจากนีจะไม่มีการแสดงรายละเอียดเพือให้เกิดความกระชับ ดังนันผูอ้ ่านควรทํา
ความเข้าใจให้ถ่องแท้ในส่ วนนีก่อนทีจะอ่านในส่ วนถัดไป

3.5 พืนผิวเธอร์โมไดนามิกส์
เมือนําความดัน ปริ มาตร และอุณหภูมิมาวาดเป็ นแผนภาพในสามมิติโดยให้ปริ มาตรและอุณหภูมิ
เป็ นแกนนอน ส่ วนความดันเป็ นแกนตัง สิ งที ได้จะเป็ นความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ปริ มาตร และ
อุณหภูมิซึงแสดงออกมาในรู ปของพืนผิวในสามมิติ แผนภาพดังกล่าวมีชือว่าพืนผิวความดัน-ปริ มาตร-
อุณหภูมิ (pressure-volume-temperature surface) ซึงแสดงในรู ปที 3.9
33

รู ปที 3.9 พืนผิวความดัน-ปริ มาตร-อุณหภูมิ (Borgnakke and Sonntag, 2009: 59)

จากรู ปจะเห็นได้วา่ เมือทําการมองจากด้านข้าง ภาพฉายของพืนผิวทีปรากฏก็คือแผนภาพสถานะทีมีอุณหภูมิ


และความดันเป็ นแกนนอนและแกนตังตามลําดับนันเอง ในขณะทีหากมองจากทางด้านบน ภาพฉายของ
พืนผิวทีปรากฏก็คือแผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรนันเองโดยทีพืนทีผิวทีแรเงาในรู ป 3.9 จะกลายเป็ นพืนที
ภายใต้เส้นโค้งระฆังควําดังทีแสดงในรู ป 3.6 ในทางปฏิบตั ินนเราจะไม่
ั นิยมใช้พืนผิวความดัน-ปริ มาตร-
อุณหภูมิเพือหาค่าสมบัติของสาร เนืองจากการอ่านค่าจากพืนผิวสามมิตินนทํั าได้ยากและให้ค่าทีค่อนข้างไม่
แม่นยํา ดังนันเราจึงนิ ยมใช้ตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์หรื อใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพือหาค่าสมบัติ
ของสารมากกว่า

3.6 พฤติกรรมระหว่างความดัน ปริ มาตรและอุณหภูมิของแก๊สทีมีความหนาแน่นปานกลางถึงตํา


สําหรับแก๊สทีมีความหนาแน่ นตํา เราจะพบว่าระยะห่ างระหว่างโมเลกุลของแก๊สจะมีค่ามาก จึงทํา
ให้โมเลกุลของแก๊สแต่ละตัวเป็ นอิสระต่อกัน และทําให้ผลของพลังงานระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อยมากจน
สามารถละเลยได้ เมือเกิดสถานการณ์ดงั กล่าวขึน เราจะถือว่าแก๊สนันมีพฤติกรรมทีใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติ
(ideal gas) ซึงจะมีพฤติกรรมเป็ นไปตามสมการแก๊สอุดมคติ (ideal gas equation) หรื อในบางครังจะถูก
เรี ยกว่ากฎของแก๊ส (ideal gas law) กล่าวคือ

PV = nRT หรื อ Pv = RT (3.6)


34

โดยที R คือค่าคงตัวสากลของแก๊สมีค่าเท่ากับ 8.3145 kJ/kmol-K ค่า R นันไม่ขึนกับชนิดของสารนันคือ


จะสามารถใช้ได้กบั แก๊สทุกชนิ ดทีมีพฤติกรรมใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติ หากต้องการจะเขียนสมการที 3.6
ใหม่ให้อยูใ่ นรู ปทีใช้มวลเป็ นฐาน จะต้องเปลียนจํานวนโมลให้เป็ นมวลโดยใช้ความสัมพันธ์
m
n = (3.7)
M
โดยที M คือมวลโมเลกุล (molecular mass) ของสาร เมือคูณมวลโมเลกุลเข้าไปทังสองข้างของสมการที 3.6
จะสามารถเขียนสมการแก๊สอุดมคติในรู ปทีใช้มวลเป็ นฐานได้วา่

PV = mRT หรื อ Pv = RT (3.8)

โดยที
R
R = (3.9)
M
ในทีนี R คือค่าคงตัวของแก๊ส (gas constant) ซึงจะขึนอยูก่ บั แก๊สแต่ละชนิดทีมีค่ามวลโมเลกุลทีแตกต่างกัน
ค่าของ M และ R ของแก๊สบางชนิดได้นาํ มาแสดงในตารางที 3.3

ตารางที 3.3 ตัวอย่างค่ามวลโมเลกุลและค่าคงตัวของแก๊สบางชนิด (Borgnakke and Sonntag, 2009: 686)

แก๊ส สูตรเคมี มวลโมเลกุล ค่าคงตัวของแก๊ส


(kg/kmol) (kJ/kg-K)
Air - 28.97 0.287
Carbon dioxide CO2 44.01 0.1889
Helium He 4.003 2.0771
Nitrogen N2 28.013 0.2968
Oxygen O2 31.999 0.2598
Steam H2O 18.015 0.4615

จะเห็นได้ว่าสมการแก๊สอุดมคติเป็ นสมการสันๆ และสามารถจดจําได้ง่าย ดังนันเราจึงสามารถนําสมการ


แก๊สอุดมคติไปใช้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ ว อย่างไรก็ตามสิ งทีผูน้ าํ ไปใช้จะต้องตระหนักอยู่เสมอก่อน
การนําสมการแก๊สอุดมคติไปใช้ก็คือข้อจํากัดของสมการดังกล่าว นันหมายความว่าสําหรับสารทีมีสถานะ
เป็ นแก๊สนัน สมการแก๊สอุดมคติไม่สามารถถูกนําไปใช้ได้กบั ทุกกรณี ซึงเงือนไขของการใช้สมการแก๊สอุดม
คตินนจะกล่
ั าวในส่ วนถัดไป
35

3.7 แฟกเตอร์สภาพอัดได้
สมการแก๊ ส อุ ด มคติ จ ะมี ค วามแม่ น ยํา ได้นันจะต้อ งอยู่ภ ายใต้เ งื อนไขที ว่ า แก๊ ส จะต้อ งมี ค วาม
หนาแน่นตําหรื อมีปริ มาตรจําเพาะทีสู ง เมือพิจารณาสมการที 3.8 จะเห็นได้ว่าเงือนไขดังกล่าวจะเกิดขึนได้
เมือแก๊สมีอุณหภูมิสูงหรื อความดันตํา อย่างไรก็ตามผลทีได้ดงั กล่าวเป็ นเพียงแค่แนวโน้มเชิงคุณภาพเท่านัน
แต่เรายังไม่ทราบในเชิงปริ มาณว่าแก๊สจะต้องมีอุณหภูมิสูงถึงเท่าไรหรื อความดันตําถึงเท่าไรจึงจะเพียงพอ
ต่อการนําสมการแก๊สอุดมคติไปใช้ได้อย่างถูกต้องแม่นยํา ดังนันแฟกเตอร์ สภาพอัดได้ (compressibility
factor หรื อ Z) จึงเป็ นตัวแปรทีใช้แสดงว่าแก๊สมีพฤติกรรมใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติมากเพียงใด สมการของ
แฟกเตอร์สภาพอัดได้สามารถทีจะเขียนได้เป็ น
Pv
z = (3.10)
RT

จะเห็นได้ว่าถ้าค่า Z มีค่าลู่เข้าสู่ 1 จะทําให้แก๊สมีพฤติกรรมใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติมากยิงขึน ในทาง


ตรงกันข้ามหากค่า Z มีค่าทีแตกต่างจาก 1 มากๆ ก็แสดงว่าแก๊สมีพฤติกรรมแตกต่างจากแก๊สอุดมคติซึงเราจะ
เรี ยกแก๊สในลักษณะนีว่าแก๊สจริ ง (real gas)
โดยทัวไปแล้วค่าแฟกเตอร์ สภาพอัดได้จะขึนอยู่กบั หลายปั จจัยได้แก่ชนิ ดของสาร อุณหภูมิและ
ความดันของสาร ณ ขณะนัน เป็ นต้น อย่างไรก็ตามเมือได้มีการนําเอาความสัมพันธ์ระหว่างแฟกเตอร์สภาพ
อัดได้กบั อุณหภูมิและความดันของสารหลายๆชนิ ดมาวาดลงบนแผนภูมิก็จะพบว่าความสัมพันธ์ดงั กล่าว
สามารถนํามาเขียนลงบนแผนภูมิอนั เดียวได้โดยไม่ขึนกับชนิดของสารอีกต่อไป แต่ทงนี ั ทังนันจะต้องมีการ
ปรั บค่าอุณหภู มิและความดันที อยู่ในแผนภูมิเสี ยใหม่โดยใช้อุณหภูมิและความดันสัมพัทธ์แทนที จะใช้
อุณหภูมิและความดันจริ งของสารโดยตรง ค่าอุณหภูมิและความดันสัมพัทธ์ดงั กล่าวนันมีชือว่าอุณหภูมิ
รี ดิวซ์ (reduced temperature หรื อ Tr) และความดันรี ดิวซ์ (reduced pressure หรื อ Pr) ซึงสามารถเขียนเป็ น
สมการได้คือ
T P
Tr = และ Pr = (3.11)
Tc Pc

จะเห็นได้ว่าอุณหภูมิและความดันรี ดิวซ์นนแท้ั จริ งแล้วคือสัดส่ วนทีแสดงว่าอุณหภูมิหรื อความดันจริ งของ


สารเป็ นกีเท่าของอุณหภูมิวิกฤตหรื อความดันวิกฤตของสารนันๆ ตามลําดับ แผนภูมิทีใช้หาค่าแฟกเตอร์
สภาพอัด ได้ทีสามารถใช้ไ ด้โ ดยไม่ ขึ นต่ อชนิ ด ของสารนันมี ชือว่าแผนภู มิ แ ฟกเตอร์ สภาพอัด ได้ท วไป

(compressibility-factor generalized chart) ดังทีแสดงอยูใ่ นรู ป 3.10
36

รู ปที 3.10 แผนภูมิแฟกเตอร์สภาพอัดได้ทวไป


ั (Borgnakke and Sonntag, 2009: 755)

จากแผนภูมิแฟกเตอร์ สภาพอัดได้ทวไปจะสัั งเกตได้ว่ามีเส้นของเหลวและไออิมตัวปรากฏอยู่ใน


แผนภูมิ ดังนันเราจึงสามารถใช้แผนภูมิได้กบั สารทีมีภาวะเป็ นของเหลวอัดตัว ของเหลวอิมตัว ของผสม
สองสถานะ ไออิมตัว รวมทังไอร้อนยวดยิงด้วยเช่นกัน นอกจากนีจะสังเกตได้ว่าในส่ วนของไอร้อนยวดยิง
นัน เมือ Pr มีค่าน้อยมากๆ (Pr << 1) ค่า Z จะมีค่าลู่เข้าสู่ 1 หรื อแก๊สมีพฤติกรรมใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติโดย
ทีเงือนไขเกิดขึนกับค่า Tr ทุกๆ ค่า จากข้อมูลดังกล่าวเมือลองทดสอบดูว่าอากาศทีปรากฏอยู่ทีความดัน
บรรยากาศนันมีพฤติกรรมเช่นไร จะพบว่าหากนําความดันบรรยากาศเท่ากับ 101.3 kPa ไปหารด้วยความดัน
วิกฤตของอากาศ (อนึงอากาศเป็ นของผสม ดังนันความดันวิกฤตของอากาศจึงต้องหาจากทฤษฎีของผสมซึง
จะไม่นาํ มากล่าวในทีนี ) ซึ งมีค่าเท่ากับ 3.95 MPa จะพบว่าค่า Pr มีค่าเพียง 0.026 ดังนันอากาศทีผ่าน
กระบวนการโดยทัวไปทีมีความดันใกล้เคียงกับความดันบรรยากาศตัวอย่างเช่นการปรับอากาศภายในอาคาร
การระบายความร้อนด้วยอากาศโดยหม้อนํา การใช้อากาศร้อนในอุตสาหกรรมต่างๆ จึงมีพฤติกรรมใกล้เคียง
กับแก๊สอุดมคติและสามารถนําสมการแก๊สอุดมคติไปใช้ได้โดยทีค่าความคลาดเคลือนมีค่าตํามากโดยไม่ตอ้ ง
คํานึงถึงว่าอุณหภูมิจะเปลียนแปลงไปเพียงใด
อนึ งสิ งทีต้องระวังในการใช้แผนภูมิแฟกเตอร์ สภาพอัดได้ทวไปคื ั อ อันดับแรกแผนภูมิดงั กล่าวจะ
ใช้ได้ดีกบั สารทีมีสูตรโมเลกุลไม่ซับซ้อนมาก หากว่าสารทีใช้มีโมเลกุลทีซับซ้อนมากขึน ค่าความคลาด
37

เคลือนจากการใช้แผนภูมิก็จะมากขึนด้วยเช่นกันโดยเฉพาะอย่างยิงบริ เวณทีใกล้กบั เส้นไออิมตัว อันดับที


สองแผนภูมิดงั กล่าวเกิดจากการนําข้อมูลของสารทีมีสูตรโมเลกุลอย่างง่ายหลายๆ ชนิดมารวมกันแล้วทําการ
ลากเส้นแนวโน้มซึ งเกิ ดจากค่าเฉลียของข้อมูลดังกล่าว ดังนันค่าทีได้จากเส้นแนวโน้มนันยังคงมีความ
คลาดเคลือนจากค่าทีได้จากข้อมูลจริ งอยูเ่ ช่นกัน ดังนันหากต้องการได้ขอ้ มูลทีถูกต้องแม่นยํามากทีสุ ดควร
ใช้ขอ้ มูลจากตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์หรื อแผนภูมิทีใช้เฉพาะสําหรับสารทีต้องการจะดีกว่า

ตัวอย่างที 3.3
จงหาค่าปริ มาตรจําเพาะของนําทีอุณหภูมิ 200oC ความดัน 1 MPa ทีได้จากการคํานวณทังสามวิธี
ดังต่อไปนี (a) ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ (b) สมการแก๊สอุดมคติ และ (c) แผนภูมิแฟกเตอร์สภาพอัด
ได้ทวไปั จากนันให้คาํ นวณหาค่าความคลาดเคลือนจากกรณี (b) และ (c) โดยให้ค่าทีได้จากกรณี (a) เป็ น
ค่าทีมีความถูกต้องทีสุ ด
วิธีทาํ
ตัวแปรทีทราบค่า: T, P
ตัวแปรทีต้องการ: v จากการคํานวณสามวิธี, error
(a) ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์
T = 100oC
P = 1MPa ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไอร้อนยวดยิง
ดังนัน v = 0.20596 m3/kg คําตอบ
และให้ค่า v ทีได้เป็ นค่าทีถูกต้องเพือใช้ในการคํานวณหาค่าความคลาดเคลือน

(b) สมการแก๊สอุดมคติ
สําหรับนํา R = 0.4615 kJ/kg-K
P = 1 MPa = 1,000 kPa, T = 200oC = 473.15 K
Pv = RT

(1,000 kPa )v ⎛
= ⎜ 0.4615
kJ ⎞
⎟ (473.15 K )
kg − K ⎠

v = 0.21836 m3/kg คําตอบ

v estimate − v actual 0.21836 − 0.20596


error = × 100 % = × 100 %
v actual 0.20596
error = 6.02 % คําตอบ
38

(c) แผนภูมิแฟกเตอร์สภาพอัดได้ทวไป ั
สําหรับนํา Tc = 647.3 K, Pc = 22.12 MPa
T 473.15 K
Tr = = = 0.73
Tc 647.3 K
T 1 MPa
Pr = = = 0.045
Tc 22.12 MPa
จากรู ปที 3.10 จะประมาณได้วา่ Z = 0.96
Pv = ZRT

(1,000 kPa )v ⎛
= ( 0.96 ) ⎜ 0.4615
kJ ⎞
⎟ (473.15 K )
kg − K ⎠

v = 0.20962 m3/kg คําตอบ

v estimate − v actual 0.20962 − 0.20596


error = × 100 % = × 100 %
v actual 0.20596
error = 1.78 % คําตอบ

หมายเหตุ
จะเห็นได้วา่ ค่าความคลาดเคลือนลดลงเมือใช้แผนภูมิแฟกเตอร์สภาพอัดได้ทวไปแทนการใช้
ั สมการ
แก๊สอุดมคติ โดยทีค่าความคลาดเคลือนลดลงจากประมาณร้อยละ 6 เหลือประมาณร้อยละ 2 เท่านัน

3.8 สมการภาวะ
สมการทีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ปริ มาตรจําเพาะ และอุณหภูมิจะมีชือโดยทัวไปว่า
สมการภาวะ (equation of state) สมการแก๊สอุดมคติก็เป็ นตัวอย่างหนึงของสมการภาวะซึงอยูใ่ นรู ปแบบที
ง่ายทีสุ ดนันคือความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ปริ มาตรจําเพาะ และอุณหภูมิจะมีค่าคงทีปรากฏอยูใ่ นสมการ
เพียงค่าเดียวนันคือค่าคงตัวของแก๊ส ถึงกระนันสมการแก๊สอุดมคติก็ยงั มีขอ้ จํากัดภายใต้เงือนไขต่างๆ ซึงได้
กล่าวไปแล้วในหัวข้อที 3.7 ดังนันจึงมีความพยายามทีจะพัฒนาสมการภาวะทีครอบคลุมในส่ วนอืนๆ ผลที
ได้คือสมการจะมีความซับซ้อนยิงขึน จํานวนค่าคงตัวทีปรากฏในสมการก็จะเพิมยิงขึน สมการภาวะที
ซับซ้อ นกว่าสมการแก๊ สอุ ดมคติ ขนหนึ
ั งก็คือสมการที ประกอบไปด้ว ยค่าคงตัว ทังหมดสองค่า สมการ
ดังกล่าวมีชือเรี ยกว่าสมการแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals equation) กล่าวคือ
RT a
Pv = −
v − b v2
39

จะเห็นได้ว่าค่าคงตัวสองค่าทีกล่าวคือค่า a และ b ทีปรากฏอยูใ่ นสมการนันเอง สมการภาวะทีน่าสนใจ


อีกสมการหนึงได้แก่สมการลี-เคสเลอร์ (Lee-Kesler equation) ซึงประกอบไปด้วยค่าคงตัวทังหมด 12 ค่า
เป็ นผลให้สมการดังกล่าวจึงมีความซับซ้อนมาก ดังนันในเวลาทีจะนําไปใช้งานจึงมีการนําคอมพิวเตอร์ มา
ใช้ในการคํานวณหรื อนําสมการดังกล่าวไปวาดเป็ นแผนภูมิ ผลทีได้ก็คือแผนภูมิแฟกเตอร์สภาพอัดได้ทวไป

ทีแสดงอยู่ในรู ปที 3.10 นันเอง นอกจากนี ตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ทีกล่าวถึงในหัวข้อ 3.4 ก็เป็ น
ตัวอย่างหนึ งของสมการภาวะเช่นกัน เพียงแต่สมการภาวะทีใช้สาํ หรับสร้างตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์
นันมีความซับซ้อนอย่างมากเนื องจากมีค่าคงตัวถึงประมาณ 40 ค่าหรื อมากกว่า ดังนันเพือให้เกิดความ
สะดวกในการใช้งาน จึงได้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการคํานวณค่าต่างๆ และนําเสนอความสัมพันธ์
ระหว่างความดัน ปริ มาตรจําเพาะ และอุณหภูมิในรู ปของตารางแทนการนําเสนอด้วยสมการ

3.9 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาํ หรับใช้คาํ นวณหาสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์


ในปั จจุบนั เนื องจากได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทีมีลกั ษณะเป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพือใช้ในการ
คํานวณหาสมบัติเธอร์ โมไดนามิ กส์ ของสารต่างๆ โปรแกรมดังกล่าวมีความแม่นยําสู งเนื องจากการใช้
สมการภาวะทีมีความซับซ้อนมากดังทีกล่าวไปในหัวข้อที 3.9 นอกจากนีโปรแกรมยังสามารถใช้ได้สะดวก
และรวดเร็ ว อย่างไรก็ตามสําหรับในส่ วนของการเรี ยนการสอนนันการใช้ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ก็
ยังมีบทบาทสําคัญทีช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้เข้าใจถึงเนือหาต่างๆ ตัวอย่างเช่นหากผูเ้ รี ยนลองทําตัวอย่างที 3.1 (c)
อีกครังโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ก็จะพบว่าโปรแกรมจะสามารถให้ผลลัพธ์ได้ในทันทีและสามารถบอก
ได้ทนั ทีวา่ สารอยูใ่ นภาวะของผสมสองสถานะ หากแต่ว่ากระบวนการทีแสดงให้เห็นว่าเนืองจาก vf < v < vg
จึงทําให้สารอยูใ่ นภาวะของผสมสองสถานะนันจะหายไปเมือใช้โปรแกรมดังกล่าว ในทางตรงกันข้ามหาก
ใช้ตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ ผูเ้ รี ยนก็จะเห็นค่า vf และ vg จากในตาราง เป็ นผลให้เกิดกระบวนการ
เรี ยนรู ้เกิดขึนจากขันตอนดังกล่าว ดังนันในความเห็นส่ วนตัวของผูเ้ ขียน จึงแนะนําให้ใช้ตารางสมบัติเธอร์
โมไดนามิกส์สาํ หรับการเรี ยนรู ้เบืองต้นน่าจะเป็ นการเหมาะสมกว่า และเมือเกิดความชํานาญขึนก็สามารถ
ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพือให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ วต่อไป
40

แบบฝึ กหัดบทที 3
1) จงอธิบายความแตกต่างระหว่างของเหลวอัดตัวและของเหลวอิมตัว
2) จงหาสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนําทีหายไป พร้อมระบุภาวะทีปรากฏ
P (kPa) T (oC) v (m3/kg) x ภาวะทีปรากฏ
(a) 200 150
(b) 130 0.7
(c) 300 0.5
(d) 500 122
(e) 200 0.15
3) ดาวเคราะห์ดวงหนึงมีบรรยากาศทีบางมาก ทําให้ความดันบรรยากาศบนดาวเคราะห์ดวงนีมีค่าเท่ากับ
500 Pa ดังนันนําทีปรากฏบนดาวเคราะห์ดวงนีจะมีสถานะเป็ นอย่างไร อย่างไร อนึ งแนะนําให้ใช้
ตาราง ผ.1 เพือช่วยในการอธิบาย
4) ภาชนะปิ ดใบหนึงบรรจุสารทําความเย็นอาร์ -134 เอซึ งอยูใ่ นภาวะไออิมตัวทีอุณหภูมิ 5oC หากนํา
ภาชนะนี ไปวางไว้ทีบรรยากาศภายนอกเป็ นระยะเวลานานจนกระทังอาร์ -134 เอ มีอุณหภูมิเท่ากับ
อุณหภูมิหอ้ งซึงมีค่าคือ 30oC จงหาความดันสุ ดท้ายภายในภาชนะปิ ด
5) จงหาค่าปริ มาตรจําเพาะของนําทีอุณหภูมิ 300oC ความดัน 3 MPa ทีได้จากการคํานวณทังสามวิธี
ดังต่อไปนี (a) ตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ (b) สมการแก๊สอุดมคติ และ (c) แผนภูมิแฟกเตอร์
สภาพอัดได้ทวไป ั จากนันให้คาํ นวณหาค่าความคลาดเคลือนจากกรณี (b) และ (c) โดยให้ค่าทีได้จาก
กรณี (a) เป็ นค่าทีมีความถูกต้องทีสุ ด

6) อากาศถูกบรรจุอยูใ่ นถังทีมีวาล์วอยู่ดา้ นบนดังรู ป ในตอนเริ มต้นอากาศมี


วาล์ว
ความดัน 400 kPa อุณหภูมิ 60oC ต่อมาได้มีการเปิ ดวาล์วโดยให้อากาศ
ไหลออกจากถังอย่างช้าๆ จนกระทังอากาศมีความดันอยู่ที 200 kPa
อุณหภูมิ 30oC จากนันวาล์วก็ปิดลง จงหามวลของอากาศทีไหลออกจาก
อากาศ
ถังดังกล่าว
41

บทที 4
งานและความร้ อน
4.1 นิยามของงาน
คํานิยามของงาน (work หรื อ W) คือแรง F ทีกระทําทีวัตถุให้เคลือนทีเป็ นระยะทาง x ในทิศทาง
เดียวกับแรง หรื อสามารถเขียนเป็ นสมการได้วา่
2

δW = F dx หรื อ W =
∫ F dx
1
(4.1)

อย่างไรก็ตามเพือให้เชื อมโยงกับแนวความคิดและนิ ยามต่างๆ ทางเธอร์ โมไดนามิกส์ ทีได้กล่าวไปแล้ว


ดังนันจึงเราจึงนิ ยามงานได้ว่า งานทีกระทําโดยระบบคือความสามารถต่อสิ งล้อมรอบในการยกนําหนักขึน
ซึ งหากพิจารณาแล้วการยกนําหนักขึนก็เปรี ยบเสมือนแรงทีกระทําต่อวัตถุให้เคลือนทีตามแนวแรงนันเอง
ตัวอย่างของงานทีกระทําโดยระบบได้แก่รูปที 4.1 (a) ซึงจะเห็นได้ชดั เจนว่ามีการหมุนของเพลาผ่านขอบเขต
ระบบซึงสามารถยกนําหนักให้สูงขึนได้ ถึงแม้วา่ จะเปลียนจากรอกไปเป็ นใบพัดดังทีแสดงในรู ปที 4.1 (b) ก็
จะเห็นว่าผลทีได้เป็ นอย่างเดียวกัน ดังนันการหมุนของเพลาผ่านขอบเขตระบบเช่นนี ก็ถือว่าเกิดการทํางาน
โดยระบบหรื อระบบทํางาน หากเปลียนขอบเขตระบบให้ครอบคลุมอยูเ่ ฉพาะตัวแบตเตอรี ดังทีแสดงในรู ป
ที 4.1 (c) เราจะพบว่ามีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านระบบออกไป และเราก็พบว่าหากมอเตอร์เป็ นมอเตอร์อุดมคติ
ก็จะสามารถเปลียนกระแสไฟฟ้ าให้กลายเป็ นการหมุนของเพลาโดยทีไม่มีการสู ญเสี ย ดังนันการไหลของ
กระแสไฟฟ้ าผ่านขอบเขตของระบบเช่นนีก็ถือว่าเกิดการทํางานโดยระบบเช่นกัน

มอเตอร์ รอก มอเตอร์ มอเตอร์

ใบพัด

แบตเตอรี แบตเตอรี แบตเตอรี


ตุ้มนําหนัก
(a) (b) (c)
รู ปที 4.1 ตัวอย่างของงานทีกระทําโดยระบบ

จะเห็นได้ว่างานในทางเธอร์ โมไดนามิกส์จะต้องเป็ นพลังงานทีส่ งผ่านขอบเขตระบบเพือเข้าสู่ หรื อออกจาก


ระบบเท่านัน โดยสัญนิยมแล้วงานจะมีเครื องหมายเป็ นบวกเมือเป็ นงานทีได้จากระบบหรื อระบบสร้างงาน
ในทางกลับกันงานจะมีเครื องหมายเป็ นลบเมือเป็ นงานทีใส่ เข้าไปในระบบหรื อระบบถูกกระทํา
42

4.2 หน่วยของงาน
หน่วยของงานตามหน่วยเอสไอคือจูล (Joule หรื อ J) ตามนิ ยามของงานจะได้ว่า 1 J = 1 N-m
ในขณะทีงานจําเพาะ (specific work หรื อ w) คืองานต่อหนึงหน่วยมวล ซึงสามารถเขียนสมการได้เป็ น
W
w = (4.2)
m
โดยทีหน่วยของงานจําเพาะคือ J/kg ซึงเทียบเท่ากับ (m/s)2
ในการทํางานนันบางครังอาจจะต้องคํานึงระยะเวลาในระหว่างการทํางานด้วย ดังนันจึงมีการนิยาม
คําว่ากําลัง (Power หรื อ W& ) ซึงก็คืออัตราการทํางานต่อหน่วยเวลาและจะเขียนเป็ นสมการได้เป็ น
2
δW
W& =
δt
หรื อ W =
∫ W&
1
δt (4.3)

กําลังกลจะสามารถเขียนเป็ นสมการได้คือ
W& = F V การเคลือนทีแบบเลือนขนาน
(4.4)
W& = τ ω การเคลือนทีแบบหมุน
โดยที V, τ และ ω คือความเร็ วในทิศทางเดียวกับแรง แรงบิด และความเร็ วเชิ งมุมตามลําดับ ส่ วน
กําลังไฟฟ้ าจะสามารถเขียนเป็ นสมการได้คือ
W& = i ε (4.5)
โดยที i และ ε คือกระแสไฟฟ้ าและความต่างศักย์ตามลําดับ อนึงงานทีได้จากสมการที 4.4 และ 4.5 นัน
จะต้องใส่ เครื องหมายบวกและลบตามสัญนิยมเช่นกัน
หน่วยของกําลังตามหน่วยเอสไอคือวัตต์ (Watt หรื อ W) ซึงจากสมการที 4.2 จะได้ว่า 1 W = 1 J/s
นอกจากหน่วยวัตต์ดงั กล่าวแล้ว ยังมีหน่วยทีนิยมใช้ในทางปฏิบตั ิคือแรงม้า (horsepower หรื อ hp) ซึงจะเห็น
ใช้งานอยู่ทวไป
ั แต่ผูท้ ี จะใช้หน่ วยแรงม้าต้องระวังในเรื องความสับสนเนื องจากหน่ วยแรงม้ามี อยู่
หลากหลายแบบเช่น แรงม้าเมตริ ก (metric horsepower) แรงม้ากล (mechanical horsepower) แรงม้าหม้อไอ
นํา (boiler horsepower) เป็ นต้น ดังนันผูใ้ ช้งานควรจะหาข้อมูลให้แน่ใจว่าหน่วยแรงม้าทีใช้เป็ นแรงม้าชนิด
ใดเสี ยก่อน หน่วยแรงม้าทีนิยมใช้ในปัจจุบนั คือแรงม้าเมตริ กซึงมีค่าเท่ากับ 0.735499 kW

4.3 งานทีกระทําจากขอบเขตเคลือนทีของสารอัดตัวได้เชิงเดียว
ในกระบวนการทางเธอร์ โมไดนามิกส์นนงานที
ั เกิดขึนมักจะเกิดจากการเคลือนทีของลูกสู บภายใน
กระบอกสู บทีมีสารสถานะเป็ นแก๊สอยู่ภายใน ตัวอย่างเช่นลูกสู บภายในเครื องยนต์ ลูกสู บภายในเครื องอัด
เป็ นต้น ดังนันงานในลักษณะดังทีกล่าวมานันจะมีชือว่างานขอบเขตเคลือนที (moving boundary work) ซึง
43

ในทีนี เราจะพิจารณาเฉพาะงานขอบเขตเคลือนทีของสารอัดตัวได้เชิ งเดี ยวภายใต้กระบวนการกึ งสมดุ ล


เท่านัน เมือพิจารณาแก๊สทีบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บทีมีพืนทีหน้าตัดเท่ากับ A และเมือค่อยๆ นํานําหนักออก
ทีละก้อน จะเห็นได้วา่ ลูกสูบเคลือนทีเป็ นระยะทาง dL ดังทีแสดงในรู ป 4.2
A

dL

แก๊ส

รู ปที 4.2 งานขอบเขตเคลือนทีของสารอัดตัวได้เชิงเดียวภายใต้กระบวนการกึงสมดุล

ถ้าความดันของแก๊สมีค่าเท่ากับ P ดังนันหากกระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการกึงสมดุล แรงทีกระทํา


ต่อลูกสู บโดยแก๊สจะมีค่าเท่ากับ PA และเมือนําไปแทนในสมการที 4.1 จะได้ว่า δW = PA dL และ
เนืองจาก A dL มีคา่ เท่ากับ dV ดังนัน
δW = P dV (4.6)
จะเห็นได้ว่าสมการที 4.6 จะสามารถนํามาใช้ได้ก็ต่อเมือเราทราบความสัมพันธ์ระหว่าง P และ V แล้ว
จากนันหาค่าปริ พนั ธ์ (integration) เพือให้ได้ค่างาน ความสัมพันธ์ระหว่าง P และ V นันอาจจะแสดงโดย
การใช้สมการหรื อการใช้กราฟแสดงความสัมพันธ์ซึงมี อีก ชื อหนึ งว่าแผนภาพความดัน-ปริ มาตร (P-V
diagram) ดังทีแสดงในรู ปที 4.3

P
2
P2

P1 1
V2 V1 V

รู ปที 4.3 งานขอบเขตเคลือนทีของสารอัดตัวได้เชิงเดียวภายใต้กระบวนการกึงสมดุล


44

จะเห็นได้วา่ พืนทีใต้กราฟระหว่างความดันและปริ มาตรทีแสดงเป็ นพืนทีแรเงาในรู ปที 4.3 นันก็คือการหาค่า


ปริ พนั ธ์ของทางฝังขวาของสมการที 4.6 ซึงผลลัพธ์ทีได้กค็ ืองานจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 ดังสมการ
2 2

W =
1 2 ∫ δW = ∫ P dV
1 1
= พืนทีใต้กราฟความดันและปริ มาตร (4.7)

อนึงหากสังเกตจากรู ปที 4.3 แล้วจะเห็นว่ากระบวนการจากภาวะที 1 ไปภาวะที 2 จะเป็ นการกดลูกสู บให้มี


ปริ มาตรน้อยลงหรื อ dV < 0 หากนําไปแทนในสมการที 4.7 จะพบว่าค่า 1W2 มีเครื องหมายเป็ นลบนันคือเรา
เป็ นฝ่ ายกระทํางานให้กบั ระบบซึ งก็คือการออกแรงกดลูกสู บนันเอง ในทางตรงกันข้ามหากลูกสู บขยายตัว
จากภาวะที 2 กลับไปเป็ นภาวะที 1 จะทําให้ dV > 0 และทําให้ค่า 1W2 มีเครื องหมายเป็ นบวกนันคือระบบ
เป็ นฝ่ ายให้งานกับเราซึงก็คือการขยายตัวของลูกสู บเพือทํางานนันเอง โดยสรุ ปแล้วสมการที 4.7 จะทําให้
เครื องหมายของ 1W2 สอดคล้องกันกับเครื องหมายของ dV และเป็ นไปตามสัญนิยมทีกําหนดไว้ในตอนแรก
เราจะสังเกตได้วา่ หากวิถีจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 เปลียนไปจากวิถี A ไปเป็ นวิถี B ดังทีแสดงใน
รู ปที 4.4

P
2
P2
B

A
P1 1
V2 V1 V

รู ปที 4.4 งานจากกระบวนการทีมีภาวะตังต้นและภาวะสุ ดท้ายเดียวกันแต่มีวิถีทีต่างกัน

ผลลัทธ์ทีได้จะทําให้ 1W2 มีค่าแตกต่างกันเนื องจากพืนทีใต้กราฟระหว่างความดันและปริ มาตรของวิถี A


และวิถี B แตกต่างกันถึงแม้วา่ ภาวะเริ มต้นและภาวะสุ ดท้ายจะเป็ นภาวะเดียวกันก็ตาม ดังนันเราจึงสรุ ปได้วา่
งานไม่ได้เป็ นฟังก์ชนั เพียงแต่เฉพาะภาวะเริ มต้นและภาวะสุ ดท้ายเพียงอย่างเดียว แต่งานเป็ นฟังก์ชนั ของวิถี
ด้วย ด้วยเหตุนีในทางคณิ ตศาสตร์ จึงกล่าวได้ว่างานจึงเป็ นฟังก์ชนั วิถี (path function) และเป็ นอนุพนั ธ์ไม่
แม่นตรง (inexact differential) ตัวแปรใดๆ ทีเป็ นอนุพนั ธ์ไม่แม่นตรงนันเมืออยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์ เราจะใช้
สัญลักษณ์ δ ใส่ ไว้ขา้ งหน้าตัวแปรดังกล่าว ดังนันหากจะเขียนอนุพนั ธ์ของงานจะต้องเขียนว่า δW ดังที
แสดงในสมการที 4.6 และ 4.7
45

เพือให้เกิดการเปรี ยบเทียบให้เห็นเด่นชัดขึน หากตัวแปรใดๆ ทีเป็ นฟังก์ชนั เฉพาะภาวะเริ มต้นและ


ภาวะสุ ดท้ายเพียงอย่างเดียวโดยไม่ขึนอยูก่ บั วิถี ในทางคณิ ตศาสตร์ตวั แปรดังกล่าวจะเป็ นฟั งก์ชนั จุด (point
function) และเป็ นอนุพนั ธ์แม่นตรง (exact differential) เมือต้องการเขียนอนุพนั ธ์ของตัวแปรทีเป็ นฟังก์ชนั
จุด เราจะใช้สัญลักษณ์ d ใส่ ไว้ขา้ งหน้าตัวแปรดังกล่าว ตัวอย่างของตัวแปรทีเป็ นฟั งก์ชนั จุดได้แก่ปริ มาตร
เป็ นต้น หากพิจารณารู ปที 4.5 จะพบว่าหากเราต้องการหาผลต่างของปริ มาตรหรื อ ΔV เราจะพบว่า ΔV
จะมีค่าเท่ากับ V2 − V1 ไม่วา่ กระบอกสูบจะมีวิถีเป็ นเช่นไร นันแสดงว่าปริ มาตรเป็ นฟังก์ชนั จุดและเมือใดก็
ตามทีเราต้องการเขียนอนุพนั ธ์ของปริ มาตรเราก็เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ dV
ΔV

V2 V1
รู ปที 4.5 อนุพนั ธ์ของปริ มาตรทีไม่ขึนอยูก่ บั วิถี

ดังนันหากต้องการจะหาค่าปริ พนั ธ์ของ dV ผลทีได้กค็ ือ


2

∫ dV
1
2 = V2 − V1 = ΔV (4.8)

เนื องจากปริ มาตรเป็ นหนึ งในสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ ดังนันเราจึงสามารถขยายผลดังกล่าวและสรุ ปได้ว่า


ตัวแปรใดๆ ทีเป็ นสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ ตัวแปรนันจะเป็ นฟั งก์ชนั จุดและเป็ นอนุ พนั ธ์แม่นตรง เมือ
เปรี ยบเทียบสมการที 4.8 กับสมการที 4.7 จะเห็นได้ว่าเมือต้องการหาปริ พนั ธ์ของตัวแปรทีเป็ นฟังก์ชนั วิถี
ผลลัพธ์ทีได้จะเขียนอยูใ่ นรู ป 1W2 ซึงหมายถึงงานจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 ผ่านวิถีทีกําหนด แต่เราจะไม่
เขียน W2 − W1 โดยเด็ดขาดเพราะนันจะเป็ นการสื อว่างานขึนกับภาวะตังต้นและภาวะสุ ดท้ายเท่านันซึงไม่
เป็ นการถูกต้อง
ดังทีแสดงในสมการที 4.7 ถ้าหากเราทราบความสัมพันธ์ระหว่าง P และ V หรื ออีกนัยหนึ งก็คือ
ทราบวิถีของกระบวนการ จะทําให้เราสามารถหาค่า 1W2 ได้ กระบวนการโพลีโทรปิ ก (polytropic process)
เป็ นกระบวนการหนึงทีพบเห็นโดยทัวไปซึงจะสามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่าง P และ V ให้อยูใ่ นรู ป
PV n = ค่าคงตัว (4.9)
โดยที n คือดัชนี ชีกําลังของกระบวนการโพลีโทรปิ ก โดยทีค่า n สามารถเป็ นค่าใดๆ ก็ได้ สําหรับ
กระบวนการอัดตัวและขยายตัวของแก๊สโดยทัวไปนันค่า n จะมีค่าเป็ นบวก นันหมายความว่าความดันและ
ปริ มาตรจะเปลียนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกล่าวคือถ้าปริ มาตรลดลงความดันจะเพิมขึน ในขณะทีถ้า
ปริ มาตรเพิมขึนความดันจะลดลง ซึงสอดคล้องกับลักษณะทางกายภาพทีเกิดขึนและสามัญสํานึกโดยทัวไป
46

นอกจากนี กระบวนโพลี โ ทรปิ กยัง มี ค วามสอดคล้อ งกับ พฤติ ก รรมการลู่ เ ข้า เชิ ง กํา กับ (asymptotical
approach) กล่าวคือหากต้องการให้ V → 0, P → ∞ และในขณะเดียวกัน P → 0, V → ∞ เมือนํา
สมการที 4.9 ไปแทนในสมการที 4.7 แล้วทําการหาค่าปริ พนั ธ์ จะได้วา่
2 2
C P V −P V
1 2W =

1
P dV =
∫1
V n
dV = 2 2 1 1 โดยที n ≠ 1
1− n
(4.10)

สมการที 4.10 จะใช้ได้กต็ ่อเมือ n ≠ 1 ส่ วนในกรณี ที n = 1 นันจะได้วา่


2 2
C ⎛V ⎞ ⎛V ⎞
1W2 = ∫
1
P dV =

1
V
dV = P1 V1 ln ⎜⎜ 2 ⎟⎟ = P2 V2 ln ⎜⎜ 2 ⎟⎟ โดยที n = 1
⎝ V1 ⎠ ⎝ V1 ⎠
(4.11)

จะสังเกตได้ว่าในกรณี ที n = 1 นันกระบวนการโพลีโทรปิ กจะสามารถเขียนได้เป็ น PV = ค่าคงตัว หาก


เปรี ยบเทียบสมการดังกล่าวกับสมการแก๊สอุดมคติจะได้ว่า PV = mRT ดังนัน mRT จะต้องเป็ นค่าคงตัว
เช่นกัน หากระบบทีพิจารณาเป็ นระบบปิ ดซึ งมวลมีค่าคงทีและ R ก็เป็ นค่าคงตัวอยูแ่ ล้ว ดังนันอุณหภูมิจึง
ต้องเป็ นค่าคงตัว โดยสรุ ปแล้วกระบวนการโพลีโทรปิ กทีมีค่า n = 1 นันจึงเทียบเท่ากับกระบวนการไอโซ
เธอร์มลั ของก๊าซอุดมคติ

ตัวอย่างที 4.1
นํามวล 0.5 kg ถูกบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บและลูกสู บทีมีนาหนั
ํ กเบา P0
ในทีนีด้านบนของลูกสูบติดกับสปริ งเชิงเส้นและสัมผัสกับบรรยากาศภายนอก CM
ทีมีความดัน P0 = 100 kPa ดังรู ป ในตอนเริ มต้นนํามีความดัน 100 kPa และ
คุณภาพสารสองสถานะร้อยละ 70 ส่ วนสปริ งก็อยูท่ ีตําแหน่งสมดุลนันคือยัง
H2O
ไม่ได้รับแรงกด ต่อมานําได้รับความร้อนจนกระทังมีปริ มาตรเป็ น 1.5 เท่า
และความดันเพิมขึนเป็ น 200 kPa จงหางานทีเกิดขึนจากกระบวนการดังกล่าว
วิธีทาํ
มวลควบคุม: นําภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: สปริ งเชิงเส้น
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: m, P0, P1, x1, P2, V2=1.5V1
ตัวแปรทีต้องการ: 1W2
ถ้าให้ลูกสูบมีพืนทีหน้าตัด A ระยะทีสปริ งถูกกดเป็ นระยะ x จากตําแหน่งสมดุล ค่าคงตัวสปริ งมีค่า
เป็ น k ดังนันแรงทีสปริ งกระทําต่อลูกสู บหรื อ Fs = kx เมือเขียนกฎข้อทีหนึงของนิวตันหรื อสมดุลแรงที
ลูกสูบในทิศทางตามแกน y จะได้วา่
47

Fs
∑ Fy = 0 y
PA − P0 A − Fs = 0 P0
kx
P = P0 + P
A
แต่ทงนี
ั ระยะ x สามารถหาได้จากปริ มาตรทีเพิมขึนของกระบอกสูบกล่าวคือ
V − V0
x=
A
โดยที V คือปริ มาตรของนําทีตําแหน่งใดๆ และ V0 คือปริ มาตรของนําทีตําแหน่งสมดุลของสปริ ง เมือแทน
ค่า x ลงไปในสมการสมดุลแรงจะได้วา่
k k k
P = P0 + 2 (V − V0 ) = ⎛⎜ P0 − 2 V0 ⎞⎟ + 2 V
A ⎝ A ⎠ A
จากสมการด้านบนจะเห็นได้ว่าเมือ V = V0 จะทําให้ P = P0 ซึงนันคือความดันของนําจะเท่ากับความดัน
บรรยากาศภายนอกและปราศจากแรงกดของสปริ ง นอกจากนีหากเขียนสมการด้านบนเสี ยใหม่โดยยุบเอาค่า
คงตัวเข้าด้วยกัน จะได้วา่
P = C 0 + C1 V
ดังนันจากสมการข้างต้นจะเห็นได้ว่ากระบวนการขยายตัวของลูกสู บทีมีสปริ งกดอยู่ดา้ นบนนันจะทําให้
ความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริ มาตรเป็ นแบบเส้นตรง

จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): P1 = 100 kPa
x1 = 0.7 ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นของผสมสองสถานะ
⎛ m3 ⎞ ⎛ m3 ⎞
ดังนัน v 1 = (1 − x 1 ) v f + x 1 v g = ( 0.3)⎜ 0.001043 ⎟ + ( 0.7 )⎜ 1.69400 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
m3
v 1 = 1.18611
kg
m3 ⎞
V1 = m v 1 = (0.5 kg )⎜ 1.18611 ⎟ = 0.59306 m 3

หาปริ มาตรทีภาวะที 1
⎝ kg ⎠

ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): P2 = 200 kPa


v2 = 1.5 v1 = 1.77917 m3/kg ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไอร้อนยวดยิง
m3 ⎞
V2 = m v 2 = (0.5 kg )⎜ 1.77917 ⎟ = 0.88959 m 3

หาปริ มาตรทีภาวะที 2
⎝ kg ⎠
48

เนืองจากความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริ มาตรเป็ นแบบเส้นตรงและทําให้พืนทีใต้กราฟระหว่างความ


ดันและปริ มาตรเป็ นรู ปสี เหลียมคางหมูดงั ทีแสดงให้เห็นเป็ นพืนทีแรเงา
P

2
200 kPa

100 kPa 1

0.59306 m3 0.88959 m3 V
จากนันหางานขอบเขตเคลือนทีจากสมการที 4.7
2

1W2 =
∫ P dV
1
= พืนทีใต้กราฟความดันและปริ มาตร

เนืองจากพืนทีใต้กราฟความดันและปริ มาตรเป็ นรู ปสี เหลียมคางหมู ดังนัน


1
1W2 = (P1 + P2 )(V2 − V1 )
2
m3 ⎞
1W2 =
1
2
(100 + 200 kPa )⎜ 0.88959 − 0.59306 ⎟

kg ⎠

1W2 = 44.48 kJ คําตอบ
หมายเหตุ
หากทําการวิเคราะห์แผนภาพความดัน-ปริ มาตรอีกครังจะพบว่าสามารถแบ่งพืนทีสี เหลียมคางหมูได้
เป็ นสองส่ วนกล่าวคือ
P P P

= พืนที 1 +
พืนทีรวม พืนที 2
V V V

ทังนีพืนที 1 คืองานทีเกิดขึนเฉพาะในส่ วนของสปริ งทีถูกกดยุบซึงสามารถคํานวณได้จากงานของศักย์สปริ ง


1
กล่าวคือ Warea 1 = Wspring = k x 2 ส่ วนพืนที 2 คืองานทีใช้สาํ หรับยกลูกสู บทีความดันคงทีเท่ากับ P1
2
จนกระทังลูกสู บมีปริ มาตรเพิมขึนจาก V1 เป็ น V2 กล่าวคือ Warea 2 = P1 (V2 − V1 ) ดังนันผลรวมของงาน
ของทังสองส่ วนก็คือผลลัพธ์ทีได้นนเอง

49

ตัวอย่างที 4.2
อากาศมวล 0.6 kg ความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K ถูกบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บและลูกสู บ
หลังจากนันอากาศได้ถูกอัดอย่างช้าๆ ด้วยกระบวนการไอโซเธอร์มลั จนกระทังความดันมีค่าเท่ากับ 250 kPa
จงคํานวณหางานทีเกิดขึนจากกระบวนการดังกล่าว
วิธีทาํ แรง
มวลควบคุม: อากาศภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: ไอโซเธอร์มลั CM
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
อากาศ
ตัวแปรทีทราบค่า: m, P1, T1, P2
ตัวแปรทีต้องการ: 1W2

จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): m = 0.6 kg, P1 = 100 kPa, T1 =300 K
สําหรับอากาศ R = 0.287 kJ/kg-K
สมการแก๊สอุดมคติ P1 V1 = m R T1

(100 kPa ) V
1 = (0. 6 kg ) ⎛
⎜ 0 . 287
kJ ⎞
⎟ (300 K )
kg − K ⎠

V1 = 0.5166 m 3

เนืองจากกระบวนการทีเกิดขึนมีอุณหภูมิคงที ดังนัน
ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): m = 0.6 kg, P2 = 250 kPa, T2 = T1 = 300 K
สมการแก๊สอุดมคติ P2 V2 = m R T2

(250 kPa ) V 2= (0.6 kg )⎜ 0.287


⎛ kJ ⎞
⎟ (300 K )
kg − K ⎠

3
V2 = 0.20664 m

งานขอบเขตเคลือนทีซึงเกิดจากกระบวนการไอโซเธอร์มลั ของแก๊สอุดมคติจะเทียบเท่ากับกระบวนการโพลี
โทรปิ กทีมีค่า n = 1 ดังนันงานขอบเขตเคลือนทีจะสามารถหาได้จากสมการที 4.11 กล่าวคือ
2
⎛ V2 ⎞ ⎛ 0.20664 m 3 ⎞
P dV = P1 V1 ln ⎜⎜ ⎟⎟ = (100 kPa )(0.5166 m )ln ⎜
∫ ⎟
3
1W2 = ⎜ 3 ⎟
1 ⎝ V1 ⎠ ⎝ 0.5166 m ⎠
1W2 = − 47.34 kJ คําตอบ
50

หมายเหตุ
1) งานที ได้เป็ นลบซึ งเป็ นตามสัญนิ ยมเนื องจากเป็ นงานทีเกิ ดจากแรงภายนอกกระทําต่อระบบ ทําให้
ปริ มาตรของอากาศลดลง
2) จากกระบวนการโพลีโทรปิ กทีมีค่า n = 1 จะได้ว่า P1V1 = P2V2 ดังนันเมือนําสมการดังกล่าวไปแทนเพือ
⎛P ⎞
หาค่า 1W2 จะได้วา่ 1W2 = P1 V1 ln ⎜⎜ 1 ⎟⎟ ซึงก็จะทําให้ได้คาํ ตอบเดียวกัน
⎝ P2 ⎠

4.4 ระบบอืนๆ ทีเกียวของกับงาน


นอกเหนื อจากงานขอบเขตเคลือนทีทีได้กล่าวถึงไปแล้วนัน งานอาจจะปรากฏอยู่ในรู ปแบบอืนๆ
ได้เช่น งานจากการยืดของเส้นลวด งานจากแรงตึงผิว งานจากศักย์ไฟฟ้ า งานจากศักย์แม่เหล็ก เป็ นต้น
หากระบบของเรามีความเกียวข้องกับงานในรู ปแบบอืนๆ ทีกล่าวมา จะต้องรวมงานทังหมดเข้าด้วยกัน ยิง
ไปกว่านันผลของงานในรู ปแบบอืนๆ ทีกล่าวมาจะทําให้ระบบของเราไม่ได้เป็ นระบบอัดตัวได้เชิงเดียวอีก
ต่อไป เป็ นผลให้ค่ากฎของภาวะทางเธอร์โมไดนามิกส์ทีกล่าวไว้ในบทที 3 นันจะต้องนํามาพิจารณาใหม่อีก
ครังเนืองจากระบบต้องการคุณสมบัติเพิมเติมจากเดิมในการกําหนดภาวะของสารภายในระบบ รายละเอียด
ต่างๆ เกียวกับงานในรู ปแบบอืนๆ นันอยูน่ อกเหนือจากขอบเขตของตําราเล่มนี

4.5 นิยามของความร้อน
ความร้อน (heat หรื อ Q) เป็ นรู ปแบบหนึ งของพลังงานทีส่ งผ่านขอบเขตระบบอันเป็ นผลมาจาก
ผลต่างของอุณหภูมิระหว่างระบบและสิ งล้อมรอบ โดยทีความร้อนจะถ่ายเทจากทีทีมีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังที
ํ าเสมอ จากนิ ยามดังกล่าวจะเห็นได้ว่าระบบจะไม่ถือครองความร้อนภายในตัวระบบเอง
ทีมีอุณหภูมิตากว่
แต่จะถือครองพลังงานทีเรี ยกว่าพลังงานภายในแทน ส่ วนความร้อนนันจะเกิดขึนเมือเกิดการถ่ายเทข้ามผ่าน
ขอบเขตระบบเท่านัน ดังนันความร้อนเป็ นปรากฏการณ์ทีเกิดขึนชัวขณะ ตัวอย่างเช่นหากระบบคือก้อน
เหล็กทีมีอุณหภูมิสูงกว่าสิ งล้อมรอบ ความร้อนก็จะถ่ายเทออกจากก้อนเหล็กสู่ สิงล้อมรอบ หากทิงก้อน
เหล็กไว้เป็ นระยะเวลานานจนกระทังอุณหภูมิของเหล็กมีค่าลดลงจนกระทังมีอุณหภูมิเท่ากับสิ งล้อมรอบ
เมือถึงจุดนี การถ่ายเทความร้อนก็จะเป็ นศูนย์เพราะผลต่างของอุณหภูมิมีค่าเป็ นศูนย์เช่นกัน โดยสัญนิ ยม
แล้ว ความร้ อ นที เข้า สู่ ร ะบบจะมี เ ครื องหมายเป็ นบวก ในทางกลับ กัน ความร้ อ นที ออกจากระบบจะมี
เครื องหมายเป็ นลบ กระบวนการทีมีการถ่ายเทความร้อนเป็ นศูนย์จะมีชือเรี ยกว่ากระบวนการแอเดียแบติก
(adiabatic process)
หน่วยของความร้อนตามหน่วยเอสไอคือจูล (Joule หรื อ J) เช่นเดียวกับงาน นอกจากนียังมีหน่วย
ของความร้อนทียังคงมีการใช้อยูใ่ นบางประเทศหรื อในสาขาโภชนาการได้แก่ แคลอรี (calorie หรื อ cal) โดย
ที 1 cal = 4.18681 J ในขณะทีการถ่ายเทความร้อนจําเพาะ (specific heat transfer หรื อ q) คือการถ่ายเทความ
ร้อนต่อหนึงหน่วยมวล ซึงสามารถเขียนสมการได้คือ
51

Q
q = (4.12)
m
โดยทีหน่วยของการถ่ายเทความร้อนจําเพาะจะเป็ นหน่วยเดียวกับงานจําเพาะคือ J/kg
อัตราการถ่ายเทความร้อน (heat transfer rate หรื อ Q& ) ซึงก็คืออัตราการถ่ายเทความร้อนต่อหน่วย
เวลาและจะเขียนเป็ นสมการได้เป็ น
2
δQ
Q& =
δt
หรื อ Q =
∫ Q&
1
δt (4.13)

เช่นเดียวกับงาน ความร้อนเป็ นฟั งก์ชนั วิถีและเป็ นอนุพนั ธ์ไม่แม่นตรง ดังนันเราจึงเขียนอนุพนั ธ์ของความ


ร้อนได้เป็ น δQ ดังทีแสดงในสมการที 4.13 หรื ออาจจะเขียนเป็ นสมการในรู ปปริ พนั ธ์ได้โดยตรงคือ
2

1 Q2 =
∫ δQ
1
(4.14)

4.6 วิธีการถ่ายเทความร้อน
ในวิชาเธอร์ โมไดนามิกส์นันเราจะสนใจการถ่ายเทความร้อนทีเกิ ดจากการเปลียนภาวะของสาร
เพือให้สอดคล้องกับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ ทังนีทังนันเราจะไม่ได้เข้าไปศึกษาว่ากลไกการเกิด
ความร้อนทีเกิ ดจากผลต่างของอุณหภูมินันเป็ นอย่างไร ซึ งการศึกษาในส่ วนดังกล่าวนันจะอยู่ในวิชาการ
ถ่ายเทความร้อน (heat transfer) ซึงรายละเอียดนันอยูน่ อกเหนือขอบเขตของตําราเล่มนี อย่างไรก็ตามในทีนี
เราจะแนะนําวิธีการถ่ายเทความร้อนในเบืองต้นซึงประกอบไปด้วยสามวิธีดงั ต่อไปนี
การนําความร้อน (conduction) เป็ นวิธีการถ่ายเทความร้อนทีเกิดจากการส่ งผ่านการสันสะเทือนของ
โมเลกุลของสารหรื อตัวกลาง (medium) ต่อไปยังโมเลกุลข้างๆ จากทีเราได้อธิ บายมาแล้วในเรื องของ
พลังงานในทัศนคติจุลภาคว่าพลังงานในระดับโมเลกุลนันส่ วนหนึ งประกอบจากการเคลือนไหวในรู ปแบบ
ต่างๆ เช่นการเคลือนที การหมุน การสันสะเทือนเป็ นต้น ดังนันโมเลกุลทีมีระดับพลังงานสู งกว่าหรื อทีมี
อุณหภูมิสูงกว่าก็จะส่ งต่อไปยังโมเลกุลทีมีระดับพลังงานตํากว่าหรื อทีมีอุณหภูมิตากว่
ํ าต่อไปเรื อยๆ โดยที
หากพิจารณาในระดับมหภาคแล้วตัวกลางจะไม่มีการเคลือนไหว ดังนันลักษณะของการส่ งผ่านพลังงานจึงมี
ลักษณะทีเรี ยกว่าเป็ นการแพร่ (diffusion) ของพลังงานผ่านตัวกลางทีไม่เคลือนไหวดังทีแสดงในรู ปที 4.6 (a)
การพาความร้อน (convection) เป็ นวิธีการถ่ายเทความร้อนทีเกิดขึนเมือตัวกลางเกิดการเคลือนไหว
ในระดับมหภาคขึน ดังนันตัวกลางของการพาความร้อนจึงเป็ นจําพวกของไหล เมือของไหลเคลือนไหวไป
ตามการเคลือนทีในระดับมหภาคของตัวกลาง ของไหลดังกล่าวก็จะทําให้เกิดการขนส่ งพลังงานหรื อการพา
ความร้อนเกิดขึน หากตัวกลางทีมีอุณหภูมิตากว่ ํ าเคลือนไหวหรื อไหลผ่านพืนผิวมีอุณหภูมิทีสู งกว่าก็จะเกิด
การพาความร้อนออกไปจากพืนผิวดังทีแสดงในรู ปที 4.6 (b)
52

การแผ่รังสี ความร้อน (radiation) เป็ นวิธีการถ่ายเทความร้อนทีเกิ ดขึนจากการปลดปล่อยคลืน


แม่เหล็กไฟฟ้ าในรู ปของคลืนรังสี ความร้อนออกมาจากวัตถุไปรอบๆ โดยทีไม่ตอ้ งอาศัยตัวกลางมาเกียวข้อง
โดยทัวไปแล้ววัตถุทุกชนิดถ้ามีอุณหภูมิสูงกว่าศูนย์องศาสมบูรณ์ก็จะมีการปล่อยคลืนดังกล่าวอยูต่ ลอดเวลา
วัตถุทีมีอุณหภูมิทีสูงกว่าก็จะสามารถปล่อยพลังงานในรู ปคลืนรังสี ความร้อนดังกล่าวได้มากกว่า ดังนันหาก
มีวตั ถุสองชินทีมีอุณหภูมิต่างกัน วัตถุทงสองก็
ั จะแผ่รังสี ความร้อนเข้าหากันแต่ทา้ ยทีสุ ดการถ่ายเทความร้อน
รวมก็จะมีทิศทางจากวัตถุทีมีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังวัตถุทีมีอุณหภูมิตากว่
ํ าดังทีแสดงในรู ปที 4.6 (c)

ตัวกลางทีไม่เคลือนไหว ตัวกลางทีเคลือนไหว
T2 < T1
T1 T2 < T 1 Q&
T1 T2 < T1
T1 Q&
Q& คลืนรังสีความร้อน

(a) (b) (c)


รู ปที 4.6 วิธีการถ่ายเทความร้อนแบบต่างๆ

4.7 การเปรี ยบเทียบระหว่างงานและความร้อน


จากทีผ่านมาเราสามารถสรุ ปข้อทีมีความคล้ายคลึงกันระหว่างงานและความร้อนได้คือ 1) ระบบไม่
สามารถถือครองงานและความร้อนได้ 2) งานและความร้อนเป็ นพลังงานทีเข้าหรื อออกจากระบบผ่าน
ขอบเขตระบบเท่านัน และ 3) งานและความร้อนเป็ นฟั งก์ชนั วิถีและและเป็ นอนุพนั ธ์ไม่แม่นตรง อนึ ง
สังเกตได้วา่ หากระบบพิจารณาเปลียนไปก็จะส่ งผลทําให้เกิดความแตกต่างดังทีแสดงในรู ปที 4.7 และ 4.8

มอเตอร์ มอเตอร์

ใบพัด ใบพัด

แบตเตอรี แบตเตอรี

รู ปที 4.7 ตัวอย่างแสดงการเลือกระบบทีพิจารณาซึงมีผลต่องานทีผ่านเข้าออกระบบ

จะเห็ นได้ว่าหากเลือกระบบทีพิจารณาเป็ นดังรู ปที 4.7 (a) จะมีงานออกจากระบบผ่านเพลาของใบพัด


ในขณะทีหากเลือกระบบทีพิจารณาเป็ นดังรู ปที 4.7 (b) จะไม่มีงานผ่านเข้าออกจากระบบเนืองจากระบบได้
ครอบคลุมตัวใบพัดไปแล้ว หากแต่วา่ จะมีมวลของอากาศไหลผ่านขอบเขตระบบบริ เวณใบพัดแทน
53

ของไหล 1 ของไหล 1
T1 T1
T2 < T1 T2 < T1
ของไหล 2 ของไหล 2
(a) (b)

รู ปที 4.8 ตัวอย่างแสดงการเลือกระบบทีพิจารณาซึงมีผลต่อความร้อนทีผ่านเข้าออกระบบ

จากรู ปที 4.8 จะเป็ นได้ว่ามีของไหลสองชนิ ดไหลสวนทางกันโดยทีภายนอกมีการหุ ้มฉนวนเพือป้ องกัน


ไม่ให้เกิดการถ่ายเทความร้อนไปสู่ สิงล้อมรอบ หากของไหล 1 มีอุณหภูมิทีสู งกว่าของไหล 2 จะพบว่าหาก
ระบบทีพิจารณาเป็ นดังในรู ปที 4.8 (a) จะทําให้เกิดความร้อนไหลผ่านขอบเขตระบบจากของไหล 1 ไปยัง
ของไหล 2 หากระบบทีพิจารณาเป็ นดังในรู ปที 4.8 (b) จะไม่มีความร้อนไหลผ่านเข้าออกระบบเนืองจาก
ระบบได้ครอบคลุมของไหลทังสองชนิดเข้าด้วยกัน
ข้อแตกต่างระหว่างงานและความร้อนซึงเกิดจากการเลือกระบบทีพิจารณาจะแสดงในรู ปที 4.9 จะ
เห็ นได้ว่ามีแก๊สบรรจุอยู่ในภาชนะซึ งมีขดลวดต้านทานพันรอบอยู่โดยรอบ หากพิจารณาระบบให้เป็ น
เฉพาะตัวแก๊สในรู ปที 4.9 (a) เมือขดลวดต้านทานได้รับกระแสไฟฟ้ าก็จะมีอุณหภูมิทีสู งขึนซึ งจะทําให้
อุณหภูมิดงั กล่าวมีค่าสู งกว่าอุณหภูมิของแก๊ส เป็ นผลให้เกิดความร้อนถ่ายเทจากขดลวดผ่านภาชนะเข้าสู่
แก๊ส ในทางตรงกันข้าม หากพิจารณาระบบให้ครอบคลุมแก๊ส ภาชนะ และรวมทังขดลวดดังทีแสดงในรู ป
ที 4.9 (b) จะเห็นว่ามีกระแสไฟฟ้ าจากแบตเตอรี ไหลผ่านขอบเขตระบบ ซึงก็คือการใส่ งานเข้าสู่ ระบบ

แก๊ส แก๊ส

แบตเตอรี แบตเตอรี
(a) (b)
รู ปที 4.9 ตัวอย่างของความแตกต่างระหว่างานและความร้อนจากการเลือกระบบทีพิจารณา
54

แบบฝึ กหัด
1) โดยสัญนิยมแล้วงานจะมีเครื องหมายเป็ นอย่างไรในกรณี ต่อไปนี ให้ระบุดว้ ยว่างานทีเกิดขึนเป็ นงาน
ชนิดใด
(a) ไอนําความดันสูงผ่านกังหันแล้วทําให้กงั หันหมุน ระบบคือตัวกังหันทีมีไอนําไหลผ่าน
(b) นําในกาต้มนําร้อนไฟฟ้ าได้รับกระแสไฟฟ้ าทีจ่ายเข้าไปในขดลวดต้านทาน ระบบคือกาต้มนํา
ร้อนและนํา
(c) อากาศในกระบอกสูบและลูกสูบขยายตัวเพือดันนําหนักให้ยกขึน ระบบคืออากาศ
(d) ไข่ในชามถูกตีดว้ ยเครื องตีไข่ ระบบคือไข่ในชาม
2) สารทําความเย็นอาร์-134เอทีมีมวล 1.5 kg ถูกบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บและลูกสู บซึงสามารถเคลือนที
ได้โดยอิสระ ในตอนเริ มต้นอาร์-134เอมีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 0oC ต่อมากระบอกสู บได้รับ
ความร้อนจนอาร์-134เอขยายตัวขึนจนมีอุณหภูมิ 80oC จงหางานทีเกิดขึนจากการขยายตัวดังกล่าว
3) ก๊าซไนโตรเจนมวล 0.3 kg ถูกบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บซึ งตัวลูกสู บมีสปริ งเชิงเส้นติดไว้อยูด่ า้ นบน
ในตอนเริ มต้นไนโตรเจนมีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K ต่อจากนันไนโตรเจนได้รับความร้อน
และขยายตัวจนกระทังมีความดัน 160 kPa อุณหภูมิ 600 K จงหางานทีเกิดขึนจากการขยายตัว
ดังกล่าว (8.6814 kJ)
4) จงอธิบายโดยสังเขปว่าวิธีการถ่ายเทความร้อนมีกีวิธี อะไรบ้าง และแต่ละวิธีมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
5) คํากล่าวว่างานและความร้อนเป็ นฟังก์ชนั วิถีหมายความว่าอย่างไร อธิบาย

6) เครื องปรับอากาศส่ งลมเย็นให้ไหลเวียนอยู่ภายใน


ห้องดังรู ป โดยปรกติคนทัวไปจะกล่าวว่า“ลมเย็น ลมเย็น เครืองปรับอากาศ
ดึงความร้อนออกจากห้องจึงทําให้ห้องเย็นสบาย”
ห้อง ลมกลับ
ถ้าระบบทีพิจารณาคือห้องหรื อทีแสดงด้วยเส้นประ
ดังทีแสดงในรู ป คํากล่าวทีว่านี ถูกต้องหรื อไม่ตาม
หลักของเธอร์โมไดนามิกส์
55

บทที 5
กฎข้ อทีหนึงของเธอร์ โมไดนามิกส์
5.1 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักร
พิจารณามวลควบคุมภายใต้วฏั จักรทีมีงานและความร้อนถ่ายเทผ่านขอบเขตระบบดังทีแสดงในรู ปที
5.1
1Q2
4W1
1 1W2
4Q1

4 2

Q
3W4
3 2 3

Q W3
2
3 4

รู ปที 5.1 มวลควบคุมภายใต้วฏั จักรทีมีงานและความร้อนถ่ายเทผ่านขอบเขตระบบ

จะเห็นได้ว่าในวัฏจักรประกอบไปด้วยสี กระบวนการโดยทีภาวะเริ มต้นของระบบอยูท่ ีภาวะที 1 จากนันก็


เปลียนไปยังภาวะที 2, 3, 4 และกลับไปยังภาวะที 1 อีกครัง โดยทีในแต่ละกระบวนการในการเปลียนภาวะ
ของระบบ จะมีงานและความร้ อนถ่ายเทเข้าหรื อออกจากระบบก็ได้ กฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์
สําหรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักรนันจะสามารถเขียนเป็ นสมการทางคณิ ตศาสตร์ได้วา่

∫ δQ = ∫ δW (5.1)

ทังนี ความหมายของเครื องหมายปริ พ นั ธ์ว งปิ ด (หรื อ


∫ ก็คือผลรวมของตัวแปรทีปรากฏอยู่ภายใต้
)

งวัฏจักร ดังนันหากนําสมการที 5.1 ไปใช้กบั วัฏจักรทีแสดงในรู ป 5.1


เครื องหมายปริ พนั ธ์ทงหมดตลอดทั

ผลทีได้คือ
2 3 4 1 2 3 4 1

∫ δQ + ∫ δQ + ∫ δQ + ∫ δQ
1 2 3 4
=
∫ δW + ∫ δW + ∫ δW + ∫ δW
1 2 3 4

1 Q 2 + 2 Q 3 + 3 Q 4 + 4 Q 1 = 1W2 + 2W3 + 3W4 + 4W1


56

ดังนันจากผลทีได้หากจะอธิ บายกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักรอย่าง


ง่ายๆ ก็คือผลรวมของความร้อนทังหมดตลอดวัฏจักรจะเท่ากับผลรวมของงานทังหมดตลอดวัฏจักรนันเอง

∑Q
cycle
all = ∑W
cycle
all (5.2)

ทังนี การแทนค่า W และ Q ในสมการที 5.1 และ 5.2 นันจะต้องเป็ นไปตามสัญนิ ยมทีได้กาํ หนดไปแล้ว
สําหรับงานและความร้อน

ตัวอย่างที 5.1
ทิงสู่ภายนอก
เครื องปรั บอากาศเป็ นอุปกรณ์ ทีทํางานเป็ นวัฏจักรโดย
การดูดความร้อน 200 kJ จากอากาศเพือผลิตอากาศเย็น ในทีนี QH
W
เครื องปรับอากาศจะต้องบริ โภคพลังงานไฟฟ้ าไปเท่ากับ 60 kJ เครืองปรับอากาศ พลังงานไฟฟา
จากนันเครื องปรับอากาศก็ทิงความร้อนไปสู่ บรรยากาศภายนอก
ในปริ มาณหนึ ง ให้ ค ํา นวณหาความร้ อ นที ทิ งสู่ บ รรยากาศ QL
ภายนอกดังกล่าว อากาศเย็น
วิธีทาํ
มวลควบคุม: สารทําความเย็นในเครื องปรับอากาศ
กระบวนการ: วัฏจักร
ตัวแปรทีทราบค่า: QL, W
ตัวแปรทีต้องการ: QH
เนื องจากสารทําความเย็นในเครื องปรับอากาศทํางานเป็ นวัฏจักร ดังนันจากกฎข้อทีหนึ งของเธอร์
โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักร
∑Q
cycle
all = ∑W
cycle
all

QL + QH = W
(200 kJ ) + Q H = (− 60 kJ )
Q H = − 260 kJ คําตอบ
หมายเหตุ
พลัง งานไฟฟ้ าเป็ นงานที ใส่ เ ข้า สู่ ร ะบบดัง นันจึ ง มี เ ครื องหมายเป็ นลบ ส่ ว นความร้ อ นที ทิ งสู่
บรรยากาศภายนอก (QH) นันเป็ นตัวแปรทีไม่ทราบค่า ดังนันจึงให้เครื องหมายเป็ นบวกไปก่อน หลังจากที
แทนค่าจนได้คาํ ตอบแล้ว จะเห็นได้ว่าเครื องหมายของ QH จะมีค่าเป็ นลบ นันแสดงว่า QH เป็ นความร้อนที
ถ่ายเทออกจากระบบดังทีแสดงในรู ป
57

5.2 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับการเปลียนภาวะของมวลควบคุม


ในการใช้งานส่ วนใหญ่นนั นอกเหนือจากวัฏจักรแล้วเราจะสนใจสิ งทีเกิดขึนในแต่ละกระบวนการ
ด้วยเช่นกัน พิจารณาวัฏจักรทีประกอบไปด้วยกระบวนการสองกระบวนการบนแผนภาพความดัน-ปริ มาตร
ดังทีแสดงในรู ปที 5.2 จะเห็นได้ว่ากระบวนการเดินหน้านันมีสองทางเลือกคือกระบวนการ A และ C
ในขณะทีกระบวนการย้อนกลับนันมีอยูเ่ พียงกระบวนการเดียวคือกระบวนการ B

P
2
B
A
C
1

V
รู ปที 5.2 แผนภาพความดัน-ปริ มาตรแสดงวัฎจักรทีมีกระบวนการเดินหน้าสองกระบวนการ
และกระบวนการย้อนกลับเพียงกระบวนการเดียว

หากประยุกต์ใช้สมการที 5.1 กับกระบวนการเดินหน้า A และกระบวนการย้อนกลับ B จะสามารถเขียนได้วา่


2 1 2 1

∫ δQ + ∫ δQ
1
A
2
B =
∫ δW + ∫ δW
1
A
2
B

ในทํานองเดียวกันหากประยุกต์ใช้สมการที 5.1 อีกครังแต่เปลียนกระบวนการเดินหน้าจาก A ไปเป็ น C และ


กระบวนการย้อนกลับยังคงเป็ น B เช่นเดิม จะได้วา่
2 1 2 1

∫ δQ + ∫ δQ
1
C
2
B =
∫ δW + ∫ δW
1
C
2
B

นําสมการทีสองหักออกจากสมการแรกแล้วจัดรู ปสมการ ผลทีได้คือ


2 2 2 2

∫ δQ − ∫ δQ
1
A
1
C =
∫ δW − ∫ δW
1
A
1
C

2 2

∫ (δQ − δW )
1
A =
∫ (δQ − δW )
1
C
58

สมมติวา่ กระบวนการเดินหน้ามีเพิมเติมอีกนอกเหนื อจากกระบวนการ A และ C ทีมีอยูเ่ ดิมเป็ นกระบวนการ


D, E, จนถึง Z ถ้าหากว่าเราทําแบบเดียวกับวิธีการข้างต้นแต่เปลียนจากกระบวนการ C ไปเป็ นกระบวนการ
D, E, จนถึง Z ผลทีได้คือ
2 2 2 2 2

∫ (δQ − δW ) = ∫ (δQ − δW ) = ∫ (δQ − δW ) = ∫ (δQ − δW ) = K = ∫ (δQ − δW )


1
A
1
C
1
D
1
E
1
Z

นันแสดงให้เห็ นว่าปริ มาณ δQ − δW เป็ นปริ มาณทีไม่ขึนอยู่กบั วิถีแต่อย่างใด เพราะไม่ว่าเราจะเลือก


กระบวนการเดินหน้าเป็ นกระบวนใดก็ตาม ตราบใดทีภาวะตังต้นและภาวะสุ ดท้ายยังคงเป็ นภาวะเดิม ค่า
ของ δQ − δW ก็ยงั คงมีค่าเท่าเดิม ดังนัน δQ − δW จึงเป็ นฟังก์ชนั จุดและเป็ นสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์
เพือให้เกิดความสอดคล้องกับหน่วยของ δQ และ δW จะเห็นได้ว่า δQ − δW จะต้องเป็ นรู ปหนึ งของ
พลังงานซึงจะมีชือเรี ยกว่าพลังงานรวม (total energy หรื อ E) เนืองจากพลังงานรวมเป็ นฟังก์ชนั จุดดังนันเรา
จะสามารถเขียนได้วา่
dE = δQ − δW (5.3)
ในทีนีหากทําการหาปริ พนั ธ์ของสมการที 5.3 จากภาวะที 1 หรื อภาวะตังต้นไปยังภาวะที 2 หรื อภาวะสุ ดท้าย
ผลทีได้คือ
E 2 − E 1 = 1 Q 2 − 1W2 (5.4)
สมการทีได้คือกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับการเปลียนภาวะของมวลควบคุม ซึ งสมการที 5.3
เป็ นสมการกฎข้อทีหนึงทีอยูใ่ นรู ปอนุพนั ธ์ ส่ วนสมการที 5.4 เป็ นสมการกฎข้อทีหนึงทีอยูใ่ นรู ปผลต่าง
จะสังเกตได้ว่าพลังงานรวมเป็ นพลังงานทีเป็ นสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ซึงแสดงถึงพลังงานทีสะสม
อยู่ภายในมวลควบคุมหรื อระบบ ซึ งจะต่างจากงานและความร้อนซึ งแสดงถึงพลังงานทีผ่านเข้าสู่ หรื อออก
จากระบบผ่านทางขอบเขตระบบ ทังนีพลังงานรวมจะเป็ นพลังงานสะสมทุกๆ รู ปแบบทีปรากฏโดยทีเราจะ
แบ่งพลังงานรวมออกเป็ นพลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานจลน์ และพลังงานภายใน (internal energy หรื อ U)
ซึ งเป็ นตัวแทนของพลังงานรู ปแบบอืนๆ นอกเหนื อจากพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์ ดังนันจะ
สามารถเขียนได้วา่
E = U + KE + PE (5.5)
โดยที KE และ PE คือพลังงานจลน์และพลังงานศักย์โน้มถ่วงตามลําดับ เมือแทนค่าในสมการที 5.5 ลงใน
สมการที 5.3 และทําการหาปริ พนั ธ์เช่นเดียวกับการได้มาของสมการที 5.4 ผลลัพธ์ทีได้คือ
dU + d( KE ) + d( PE ) = δQ − δW (5.6)
(U 2 − U 1 ) + (KE 2 − KE 1 ) + (PE 2 − PE 1 ) = 1 Q 2 − 1W2 (5.7)
59

สําหรับพลังงานจลน์และพลังงานศักย์โน้มถ่วงนันจะนิยามตามหลักวิชากลศาสตร์คือ
1
KE = m V 2 และ PE = m g Z
2
โดยที V และ Z คือความเร็ วของสารในมวลควบคุมและระดับความสู งเมือเทียบกับระดับอ้างอิงตามลําดับ
เมือแทนค่า KE และ PE ลงในสมการที 5.6 และ 5.7 จะได้วา่
dU + m V dV + m g dZ = δQ − δW (5.8)

(U 2 − U1 ) + 1 m (V2 2 − V12 ) + m g (Z 2 − Z1 ) = 1 Q 2 − 1W2 (5.9)


2
สมการที 5.9 เป็ นกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับการเปลียนภาวะของมวลควบคุมทีสามารถ
นําไปใช้งานได้ อนึ งในบางครังเราอาจจะเรี ยกกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ได้ว่าหลักการอนุ รักษ์
พลังงาน (conservation of energy principle) ซึงกล่าวไว้ว่าพลังงานไม่สามารถถูกสร้างขึนหรื อถูกทําลายได้
แต่พลังงานจะเปลียนจากรู ปหนึ งไปเป็ นอีกรู ปหนึ ง กฎข้อทีหนึ งนี ไม่สามารถพิสูจน์ได้จากกฎอืนๆ และ
ค้นพบได้จากการสังเกตจากการทดลอง
ข้อสังเกตอย่างแรกเกียวกับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ก็คือด้านซ้ายของสมการที 5.9 แสดง
ถึงพลังงานในรู ปแบบทีสามารถสะสมอยู่ในระบบ ส่ วนด้านขวาของสมการที 5.9 แสดงถึงพลังงานใน
รู ปแบบทีผ่านเข้าสู่ หรื อออกจากระบบผ่านทางขอบเขตระบบ ซึ งผลรวมของทังสองส่ วนนี จะต้องเท่ากัน
เสมอ สิ งทีน่าสนใจต่อไปก็คือการพิจารณาพลังงานทีผ่านเข้าสู่ หรื อออกจากระบบผ่านทางขอบเขตระบบซึง
ก็คืองานและความร้อนในรู ปที 5.3

แก๊ส แก๊ส
ΔE = 10 kJ ΔE = 10 kJ

Q = 10 kJ W = 10 kJ

(a) (b)
รู ปที 5.3 การเปรี ยบเทียบงานและความร้อนในมุมมองของกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์

หากให้แก๊สในถังเป็ นระบบปิ ด จะเห็นได้ว่าถ้าหากเราให้ความร้อน 10 kJ กับระบบดังทีแสดงในรู ป 5.3 (a)


และระบบไม่มีงานเกิดขึน ดังนันจากสมการที 5.9 โดยการแทนค่า Q = +10 kJ จะได้ว่า E ของแก๊สมีค่า
60

เพิมขึน 10 kJ ในขณะเดียวกันถ้าเราให้งาน 10 kJ กับระบบดังทีแสดงในรู ป 5.3 (b) และระบบไม่มีการ


ถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบ จากสมการที 5.9 โดยการแทนค่า W = −10 kJ จะได้ว่า E ของแก๊สมีค่า
เพิมขึน 10 kJ เช่นกัน ดังนันการให้ความร้อน 10 kJ หรื อให้งาน 10 kJ แก่ระบบ ผลทีได้ต่อระบบเหมือนกัน
นันคือ ΔE = 10 kJ เช่นเดียวกัน จึงสรุ ปได้ว่าในมุมมองของกฎข้อทีหนึงของเธอร์ โมไดนามิกส์ผลของ
ความร้อนและงานต่อระบบไม่แตกต่างกัน ยังให้เกิดคําถามต่อไปว่าแล้วเหตุใดจึงต้องแยกความร้อนและ
งานออกจากกันด้วย คําตอบของคําถามนี นันจะเกียวข้องกับกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ซึงจะกล่าว
ในส่ วนถัดไป
ข้อสังเกตอย่างทีสองเกี ยวกับกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ ก็คือสิ งทีปรากฏทีด้านซ้ายของ
สมการที 5.9 จะอยูใ่ นรู ปของผลต่างเท่านัน นันคือเราจะสนใจเฉพาะการเปลียนแปลงของพลังงานภายใน
พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์โน้มถ่วงเท่านันโดยไม่สนใจค่าสัมบูรณ์ของพลังงานทังสามรู ปแต่อย่างใด
ในส่ วนของพลังงานภายในเราก็สามารถหาได้จากการกําหนดให้พลังงานภายในทีภาวะอ้างอิงเท่ากับค่าค่า
หนึ ง (ซึ งโดยมากคือศูนย์) แล้วจากนันคํานวณค่าพลังงานภายในให้สัมพัทธ์กบั ค่าอ้างอิงดังกล่าว ผลทีได้ก็
คือผลต่างของพลังงานภายในก็จะมีค่าเท่าเดิ มไม่ว่าค่าพลังงานภายในที ภาวะอ้างอิ งจะเป็ นเท่าใดก็ตาม
รายละเอี ยดเพิมเติ มเกี ยวกับพลังงานภายในจะกล่ าวถึ งในหัว ข้อถัดไป สําหรั บพลังงานจลน์นันเราจะ
กําหนดให้พลังงานจลน์มีค่าเป็ นศูนย์เมือความเร็ วสัมพัทธ์เมือเทียบกับโลกมีค่าเป็ นศูนย์ และพลังงานศักย์
นันก็มีค่าเป็ นศูนย์ทีระยะอ้างอิงทีเรากําหนด ดังนันโดยสรุ ปแล้วค่าพลังงานทังสามรู ปต่างก็เป็ นผลต่างหรื อ
ก็คือค่าสัมพัทธ์ดว้ ยกันทังสิ น

5.3 พลังงานภายใน - สมบัติเธอร์โมไดนามิกส์


เมือพิจารณาแต่ละพจน์ในสมการที 5.9 จะเห็นได้ว่าพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ต่างก็เป็ นสมบัติ
เอกซ์เทนซิ ฟเนืองจากมีมวลคูณอยู่ ดังนันเพือให้เกิดความสอดคล้องกัน พลังงานภายในจึงต้องเป็ นสมบัติ
เอกซ์เทนซิฟด้วยเช่นกัน เพือทีจะสามารถเขียนพลังงานภายในทีอยูใ่ นรู ปของสมบัติอินเทนซิฟ เราจึงนิยาม
พลังงานภายในจําเพาะ (specific internal energy หรื อ u) เช่นเดียวกับการนิยามปริ มาตรจําเพาะกล่าวคือ
U
u = (5.10)
m
พลังงานภายในจําเพาะจึงเป็ นสมบัติอินเทนซิฟโดยทีมีหน่วยเป็ น J/kg ทังนีเนืองจากค่าของพลังงานภายใน
จําเพาะจะมีค่าค่อนข้างมาก ดังนันหน่วยทีปรากฏในตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์จะเป็ น kJ/kg สําหรับ
ภาวะอิมตัวเราจะใช้ uf และ ug เพือเป็ นสัญลักษณ์แทนพลังงานภายในจําเพาะของของเหลวอิมตัวและไอ
อิมตัวตามลําดับ รวมทัง ufg ซึ งมีค่าเท่ากับ ug − uf เช่นกัน การหาค่าพลังงานภายในจําเพาะของของผสม
สองสถานะก็หาได้จากการเฉลียถ่วงนําหนักระหว่าง uf และ ug โดยนําค่าคุณภาพสารสองสถานะมาเป็ น
สัดส่ วนในการเฉลียเช่นเดียวกับปริ มาตรจําเพาะกล่าวคือ
61

u = (1 − x ) u f + x u g (5.11)
u = u f + x u fg (5.12)

ทังนี สําหรับสารบางชนิ ดตัวอย่างเช่ นนํา จะมีการกําหนดค่าพลังงานภายในจําเพาะทีภาวะอ้างอิงเพือใช้


สําหรับเป็ นค่าอ้างอิงในการคํานวณหาค่าพลังงานภายในจําเพาะทีภาวะอืนๆ สําหรับนําจะกําหนดให้ uf ที
อุณหภูมิ 0.01oC มีค่าเท่ากับศูนย์
การหาค่าพลังงานภายในจําเพาะหรื อการหาสมบัติอืนๆ จากค่าพลังงานภายในจําเพาะทีทราบค่าแล้ว
นันก็จะอยู่ภายใต้เงื อนไขของกฎของภาวะทางเธอร์ โมไดนามิ กส์ เช่ นเดี ยวกับกรณี ของปริ มาตรจําเพาะ
กล่าวคือเมือเราทราบสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ทีเป็ นสมบัติอินเทนซิ ฟและเป็ นอิสระต่อกันจํานวนสองค่า
ภาวะของสารบริ สุทธิทีเป็ นสารอัดตัวได้เชิงเดียวก็จะถูกกําหนดในทันที เป็ นผลให้สมบัติอืนๆ ทียังไม่ทราบ
ค่าสามารถหาค่าได้

5.4 การวิเคราะห์ปัญหาและกลวิธีในการหาคําตอบ
จากเนือหาทีผ่านมา จะเห็นได้วา่ เราได้เรี ยนรู ้พืนฐานมากมายเกียวกับเธอร์โมไดนามิกส์ ตัวอย่างเช่น
ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในรู ปแบบต่างๆ พลังงานในรู ปของงานและความร้อน รวมทังการ
แนะนํา กฎข้อ ที หนึ งของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ สํา หรั บ มวลควบคุ ม ในทางปฏิ บ ัติ นันปั ญ หาทางเธอร์ โ ม
ไดนามิกส์นนจะมี
ั อยูห่ ลากหลาย ดังนันในหัวข้อนีจะเป็ นการนําเสนอกลวิธีสาํ หรับในการวิเคราะห์เพือหา
คําตอบของปัญหาทางเธอร์โมไดนามิกส์ซึงจะสามารถเรี ยงลําดับได้เป็ นขันตอนดังต่อไปนี
1) เลือกระบบทีกําลังพิจารณา และพิจารณาว่าระบบดังกล่าวเป็ นมวลควบคุมหรื อปริ มาตรควบคุม
ขันตอนนี เป็ นขันตอนทีสําคัญมากเพราะชนิ ดของสารทีอยูใ่ นระบบทีพิจารณา พลังงานทีผ่าน
ขอบเขตระบบ รวมทังกฎทางเธอร์ โมไดนามิกส์ สิ งเหล่านี จะทราบหรื อเขียนขึนได้ก็ต่อเมือ
ระบบได้ถูกกําหนดขึนแล้วเท่านัน การวาดแผนภาพอย่างง่ายๆ เพือระบุระบบทีกําลังพิจารณา
จะทําให้สามารถการแก้ปัญหาในภายหลังทําได้ง่ายขึน
2) พิจารณาว่าทราบข้อมูลซึ งได้แก่สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ต่างๆ ทีเกี ยวกับภาวะตังต้นหรื อไม่
อย่างไร
3) พิจารณาว่าทราบข้อมูลซึ งได้แก่สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ต่างๆ ทีเกียวกับภาวะสุ ดท้ายหรื อไม่
อย่างไร
4) พิจารณาว่าทราบถึงกระบวนการทีเกิดขึนหรื อไม่ อย่างไร ทังนี กระบวนการทีเกิดขึนนันอยู่
ภายใต้เงือนไขใด ตัวอย่างเช่น ความดันคงที ปริ มาตรคงที การเคลือนทีถูกควบคุมด้วยสปริ ง
ความร้อนทีผ่านขอบเขตระบบเป็ นศูนย์ เป็ นต้น
62

5) วาดแผนภาพต่างๆ ตัวอย่างเช่ น แผนภาพความดัน-ปริ มาตรหรื อแผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตร


เป็ นต้น เพือช่วยให้เข้าใจถึงภาวะตังต้น ภาวะสุ ดท้าย รวมทังเห็นภาพของวิถีของกระบวนการ
ได้ดียงขึ
ิ น
6) เลื อ กรู ป แบบความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งสมบัติ เ ธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ว่ า จะเป็ นรู ป แบบไหน ทังนี
ความสั ม พัน ธ์ ดัง กล่ า วจะทํา ให้ วิ เ คราะห์ ห าสมบัติ เ ธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ที ไม่ ท ราบค่ า ได้
ตัวอย่างเช่น การเลือกใช้ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ การเลือกใช้สมการแก๊สอุดมคติ หรื อ
การเลือกใช้แผนภูมิแฟกเตอร์สภาพอัดได้ทวไป ั เป็ นต้น
7) ประยุกต์ใช้สมการต่างๆ ทีเกียวข้อง ตัวอย่างเช่น สมการงานขอบเขตเคลือนทีหรื กฎต่างๆ ของ
เธอร์โมไดนามิกส์ เป็ นต้น
8) ประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิ ตศาสตร์ เพือนําไปสู่ คาํ ตอบทีต้องการ วิธีการทางคณิ ตศาสตร์ ต่างๆ
ได้แก่ การแก้สมการและระบบสมการ แคลคูลสั การแก้สมการเชิ งอนุ พนั ธ์ หรื อการใช้วิธี
ทําซํา (iteration) เป็ นต้น
จากขันตอนทีกล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าขันตอนทีเกียวข้องกับการวิเคราะห์ทางเธอร์ โมไดนามิกส์นนคื ั อ
ขันตอนที 1 ถึง 7 สําหรับในส่ วนของขันตอนที 8 นันเป็ นเพียงแค่การนําคณิ ตศาสตร์มาใช้เป็ นเครื องมือใน
การหาคําตอบเท่านัน ดังนันสําหรับผูท้ ีสนใจศึกษาวิชาเธอร์โมไดนามิกส์ในเบืองต้นนันควรจะเน้นหนักไป
ทีการวิเคราะห์ในขึนตอนที 1 ถึง 7 เป็ นหลัก เมือฝึ กฝนการวิเคราะห์ดงั กล่าวได้อย่างชํานาญ ก็จะสามารถนํา
ขันตอนดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ได้กบั ปัญหาอืนๆ ทีเกียวข้องกับเธอร์โมไดนามิกส์ได้ต่อไป

ตัวอย่างที 5.2 ภาชนะปด


ภาชนะปิ ดใบหนึงมีปริ มาตร 250 L บรรจุไอนําอิมตัวที CM
อุณหภูมิ 110oC หลังจากนันความร้อนได้ถ่ายเทเข้าสู่ ภาชนะ H2 O
จนกระทังความดันภายในภาชนะมีค่าเป็ น 300 kPa จงหาปริ มาณ
ความร้อนทีถ่ายเทดังกล่าว Q
วิธีทาํ
มวลควบคุม: นําภายในภาชนะ
กระบวนการ: ไอโซคอริ ก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: V, T1, x1, P2
ตัวแปรทีต้องการ: 1Q2
จากข้อมูลทีกําหนดให้ จะเห็นว่าเราทราบข้อมูลของภาวะตังต้นกล่าวคือ
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): T1 = 110oC
x1 = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไออิมตัว
63

ดังนัน v1 = vg = 1.21014 m3/kg


u1 = ug = 2,518.09 kJ/kg
หามวลภายในภาชนะ
V 0.25 m 3
m= = = 0.20659 kg
v 1 1.21014 m 3 / kg

เนื องจากกระบวนการเป็ นแบบไอโซคอริ กหรื อปริ มาตรคงทีและมวลภายในภาชนะก็มีค่าคงทีด้วยเช่นกัน


ดังนันปริ มาตรจําเพาะก็จะมีค่าคงทีด้วย เป็ นผลให้ภาวะสุ ดท้ายถูกกําหนด กล่าวคือ
ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): P2 = 300 kPa
v2 = v1 = 1.21014 m3/kg ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไอร้อนยวดยิง
โดยการประมาณในช่วงแบบเชิงเส้นจะได้วา่
u2 = 3,155.85 kJ/kg
หากวาดแผนภาพความดัน-ปริ มาตรของกระบวนการทีเกิดขึน ผลทีได้คือ
P

300 kPa 2

Psat @110oC 1

0.25 m3 V

จากแผนภาพความดัน-ปริ มาตรทีได้ จะเห็นว่าเนืองจากปริ มาตรมีค่าคงทีหรื อ dV = 0 ดังนัน


2

1W2 =
∫ P dV
1
= 0

จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
1 Q2 − 1W2 = ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE
เนื องจากระบบไม่มีการเคลือนที ดังนัน ΔKE = 0 และ ΔPE = 0 รวมทัง 1W2 = 0 จากข้างต้น กฎข้อทีหนึง
ของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมจึงลดรู ปเป็ น
1 Q2 = ΔU = m (u 2 − u 1 )
64

แทนค่าลงไปจะได้วา่
⎛ kJ ⎞
Q
1 2 = 0. 20659 kg ⎜ 3,155. 85 − 2 , 518. 09 ⎟
⎝ kg ⎠
1 Q 2 = 131.75 kJ คําตอบ

5.5 เอนธัลปี - สมบัติเธอร์โมไดนามิกส์


พิจารณากระบวนการกึงสมดุลทีมีความดันคงทีหรื อกระบวนการไอโซบาริ กดังทีแสดงในรู ปที 5.4

แก๊ส แก๊ส
ภาวะที 1 ภาวะที 2

รู ปที 5.4 กระบวนการกึงสมดุลทีมีความดันคงที

งานทีกระทําโดยระบบคืองานจากการเคลือนทีของลูกสูบอันเนืองมาจากงานขอบเขตเคลือนที ดังนัน
2

1W2 =
∫ P dV
1

เนื องจากความดันมีค่าคงทีโดยตลอดทังกระบวนการ ดังนัน P1 = P2 = P จะทําให้สามารถหาปริ พนั ธ์ของ


สมการด้านบนได้เป็ น
1W2 = P (V2 − V1 )

หากระบบไม่มีการเปลียนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ กฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับ


มวลควบคุมคือ
1 Q2 − 1W2 = ΔU = U 2 − U 1

แทนค่างานขอบเขตเคลือนทีลงไปแล้วจัดรู ปสมการ จะได้เป็ น


1 Q2 = (U 2 − U 1 ) + P (V2 − V1 )
= (U 2 − U 1 ) + (P2 V2 − P1 V1 )
= (U 2 + P2 V2 ) − (U 1 + P1 V1 )
65

จะเห็นได้ว่า U + PV เป็ นปริ มาณทีเกิดจากการนําเอาสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ซึงได้แก่ U, P และ V นํามา


รวมกันผ่านเครื องหมายทางคณิ ตศาสตร์ เนื องจากสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์เป็ นฟั งก์ชนั จุด ดังนันปริ มาณที
เกิ ด จากการรวมกัน ผ่า นเครื องหมายทางคณิ ต ศาสตร์ ก็ จ ะต้อ งเป็ นฟั ง ก์ ชัน จุ ด หรื อ เป็ นสมบัติ เ ธอร์ โ ม
ไดนามิกส์ดว้ ยเช่นกัน เราจะเรี ยกปริ มาณดังกล่าวว่าเอนธัลปี (enthalpy หรื อ H) ดังนัน
H ≡ U + PV (5.13)
ในทํานองเดียวกับพลังงานภายในจําเพาะ เราสามารถเขียนเอนธัลปี จําเพาะ (specific enthalpy หรื อ h) ได้เป็ น
H
h = = u + Pv (5.14)
m
หน่วยของเอนธัลปี จําเพาะจะเหมือนกับหน่วยของพลังงานภายในจําเพาะนันคือ J/kg หรื อ kJ/kg สําหรับ
ภาวะอิมตัวเราจะใช้ hf และ hg เพือเป็ นสัญลักษณ์แทนเอนธัลปี จําเพาะของของเหลวอิมตัวและไออิมตัว
ตามลําดับ และเช่นเดียวกัน hfg จะมีค่าเท่ากับ hg − hf การหาค่าเอนธัลปี จําเพาะของของผสมสองสถานะก็
จะหาได้จาก
h = (1 − x ) h f + x h g (5.15)
h = h f + x h fg (5.16)
กลับไปยังรู ปที 5.4 อีกครัง เราจะได้ว่าความร้อนทีถ่ายเทเข้าสู่ ระบบของกระบวนการกึงสมดุลทีมีความดัน
คงทีจะมีค่าเท่ากับ
1 Q2 = (U 2 + P2 V2 ) − (U 1 + P1 V1 ) = H 2 − H 1 (5.17)
สิ งทีต้องระมัดระวังอย่างยิงในการใช้สมการที 5.17 นันก็คือสมการดังกล่าวสามารถใช้ได้กบั มวลควบคุมที
อยูภ่ ายใต้กระบวนการไอโซบาริ กเท่านัน
ข้อสังเกตเพิมเติมอย่างแรกเกียวกับเอนธัลปี ก็คือเนื องจากในบทที 6 ถัดไป เราจะเห็นได้ว่าจะมีการ
นําเอนธัลปี ไปใช้ในสมการต่างๆ อยูบ่ ่อยครัง ดังนันในตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์จากหนังสื อหรื อตํารา
บางเล่มอาจจะไม่ปรากฏค่าของพลังงานภายในจําเพาะอยู่ แต่จะมีปรากฏเพียงแต่ค่าของเอนธัลปี จําเพาะเพียง
ค่าเดียวโดยทียังมีค่าความดัน อุณหภูมิและปริ มาตรจําเพาะยังคงปรากฏอยูเ่ ช่นเดิม หากเกิดกรณี ดงั กล่าวขึน
เราจะสามารถหาค่าพลังงานภายในจําเพาะได้จากสมการ u = h − P v นันเอง ส่ วนข้อสังเกตข้อทีสองนัน
จะเกี ยวกับการกําหนดพลังงานภายในทีภาวะอ้างอิงทีกล่าวไปในช่ วงท้ายของหัวข้อที 5.2 และเราได้
ยกตัวอย่างในหัวข้อที 5.3 ว่าสําหรับนําเราจะกําหนดให้ uf = 0 kJ/kg ทีอุณหภูมิ 0.01oC อย่างไรก็ตามจะ
พบว่าสารบางชนิ ดจะมีการกําหนดภาวะอ้างอิงโดยการใช้เอนธัลปี แทนพลังงานภายใน ตัวอย่างเช่ น
แอมโมเนี ยหรื อสารทําความเย็นอาร์ -22 (R-22) จะมีการกําหนดให้ hf = 0 kJ/kg ทีอุณหภูมิ −40oC ดังนัน
หากมีการกําหนดภาวะอ้างอิงทีเอนธัลปี จําเพาะแล้ว ก็ไม่มีความจําเป็ นจะต้องระบุภาวะอ้างอิงของพลังงาน
ภายในจําเพาะอีก เพราะจะเกิดความซําซ้อนในการระบุภาวะอ้างอิง
66

ตัวอย่างที 5.3
ไอนําอิมตัวมวล 0.32 kg ถูกบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บและลูกสู บทีความดัน 500 kPa ตัวลูกสู บและ
ก้อนนําหนักจะรักษาความดันของนําให้คงทีที 500 kPa ต่อมาความร้อนถ่ายเทเข้าสู่ ระบบจนกระทังไอนํา
ภายในขยายตัวจนกระทังมีอุณหภูมิ 300oC จงหาความร้อนทีถ่ายเทเข้าสู่ ไอนําจากกระบวนการดังกล่าว
วิธีทาํ CM
มวลควบคุม: นําภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา H2O
ตัวแปรทีทราบค่า: m, P1, x1, T2
ตัวแปรทีต้องการ: Q
1Q2

จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): P1 = 500 kPa
x1 = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไออิมตัว
ดังนัน v1 = vg = 0.37489 m3/kg
u1 = ug = 2,561.23 kJ/kg
h1 = hg = 2,748.67 kJ/kg

เนืองจากกระบวนการเป็ นแบบไอโซบาริ กหรื อความดันคงที ดังนัน


ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): P2 = P1 = P = 500 kPa
T2 = 300oC ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไอร้อนยวดยิง
ดังนัน v2 = 0.52256 m3/kg
u2 = 2,802.91 kJ/kg
h2 = 3,064.20 kJ/kg
หากวาดแผนภูมิความดัน-ปริ มาตรของกระบวนการทีเกิดขึน ผลทีได้คือ
P

1 2
500 kPa

V
67

เนืองจากความดันมีค่าคงที ดังนันจะสามารถหางานขอบเขตเคลือนทีได้จาก
2

1W2 =
∫ P dV
1
= P (V2 − V1 ) = P m (v 2 − v 1 )

m3 ⎞
= (500 kPa )(0.32 kg )⎜ 0.52256 − 0.37489 ⎟

⎝ kg ⎠
1W2 = 23.627 kJ

จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
1 Q2 − 1W2 = ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE
เนื องจากระบบไม่มีการเคลือนทีไปในทิศทางใดๆ และไม่มีการเปลียนระดับความสู ง ดังนัน ΔKE = 0 และ
ΔPE = 0 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมจึงเขียนได้เป็ น
1 Q2 − 1W2 = ΔU = m (u 2 − u 1 )
แทนค่าลงไปจะได้วา่
⎛ kJ ⎞
Q
1 2 − 23.627 kJ = 0. 32 kg ⎜ 2 ,802. 91 − 2 , 561. 23 ⎟
⎝ kg ⎠
1 Q 2 − 23.627 kJ = 77.338 kJ

1 Q 2 = 101.0 kJ คําตอบ

อนึงเนืองจากกระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการความดันคงที ดังนันเราจึงสามารถใช้สมการที 5.17 ได้


1 Q 2 = ΔH = m (h 2 − h 1 )
⎛ kJ ⎞
1 Q 2 = 0.32 kg ⎜ 3,064.20 − 2,748.67 ⎟
⎝ kg ⎠
1 Q 2 = 101.0 kJ คําตอบ
หมายเหตุ
จะเห็นได้ว่าการใช้ประโยชน์จากนิยามของเอนธัลปี จากสมการที 5.17 จะทําให้การหาค่าความร้อน
ในกรณี ของกระบวนการไอโซบาริ กนันทําได้โดยง่ายเนื องจากขันตอนการหางานของระบบได้ถูกผนวกเข้า
ไปจนทําให้สมการอยู่ในรู ปของผลต่างของเอนธัลปี อย่างไรก็ตามในเบืองต้นผูเ้ ขียนแนะนําให้ใช้วิธีการ
แรกตามทีแสดงในตัวอย่างจะเป็ นการเหมาะสมกว่า เพราะจะได้เห็นถึงการคํานวณเป็ นลําดับขันตอนโดยใช้
สมการพืนฐานอย่างถูกต้องและไม่ตอ้ งกังวลในเรื องข้อจํากัดของการใช้งานแต่ประการใด
68

5.6 ความร้อนจําเพาะทีปริ มาตรคงทีและทีความดันคงที


ในหัวข้อนี เราจะพิจารณาเฉพาะสารบริ สุทธิ ทีอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรื อแก๊สอย่างใด
อย่างหนึงโดยทีไม่มีการเปลียนสถานะเกิดขึน คําว่า ความร้อนจําเพาะ (specific heat หรื อ C) ถูกนิยามโดย
ปริ มาณความร้อนทีให้แก่สารจํานวนหนึ งหน่วยมวลแล้วทําให้อุณหภูมิเพิมขึนหนึ งองศา แต่ทงนี ั ทังนันยัง
ไม่ได้มีการระบุวา่ กระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการแบบใด ดังนันเราจึงพิจารณากระบวนการทีเกิดขึน
ในสองกรณี ดงั ทีแสดงอยู่ในรู ปที 5.5 อนึ งกระบวนการทังสองจะไม่มีการเปลียนแปลงของพลังงานจลน์
และพลังงานศักย์

สาร 1 หน่วยมวล สาร 1 หน่วยมวล สาร 1 หน่วยมวล สาร 1 หน่วยมวล


อุณหภูมิ T อุณหภูมิ T+δT อุณหภูมิ T อุณหภูมิ T+δT

δQ δQ

(a) (b)

รู ปที 5.5 นิยามของความร้อนจําเพาะที (a) ปริ มาตรคงทีและที (b) ความดันคงที

1) กรณี ทีปริ มาตรคงทีดังทีแสดงในรู ปที 5.5 (a) จะเห็นได้วา่ เนืองจาก dV = 0 เป็ นผลให้งานขอบเขต
เคลือนทีหรื อ 1W2 = 0 ด้วย ดังนันสมการกฎข้อทีหนึ งของเธอร์โมไดนามิกส์ทีอยูใ่ นรู ปอนุ พนั ธ์หรื อ
สมการที 5.6 จะสามารถเขียนได้เป็ น
δQ − δW = dU + d( KE ) + d( PE )
δQ = dU
เนื องจากกระบวนการเป็ นแบบปริ มาตรคงที ดังนันเราจะเรี ยกความร้อนจําเพาะในกรณี นีว่า ความร้อน
จําเพาะทีปริ มาตรคงที (specific heat at constant volume หรื อ CV) จากนิ ยามของความร้อนจําเพาะทีได้
กล่าวมา เราจะสามารถแปลงคํานิยามดังกล่าวให้เป็ นสมการทีอยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์ได้คือ
1 ⎛ δQ ⎞
CV = ⎜ ⎟ (5.18)
m ⎝ δT ⎠ V
เมือแทนค่ากฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ทีลดรู ปแล้วจากสมการด้านบนจะได้วา่
1 ⎛ ∂U ⎞ ⎛ ∂u ⎞
CV = ⎜ ⎟ = ⎜ ⎟ (5.19)
m ⎝ ∂T ⎠ V ⎝ ∂T ⎠ V
69

2) กรณี ทีความดันคงทีดังทีแสดงในรู ปที 5.5 (b) จะเห็นได้วา่ เนืองจาก dP = 0 เป็ นผลให้กฎข้อทีหนึงของ


เธอร์ โมไดนามิกส์สามารถเขียนได้ในรู ปของสมการที 5.17 ดังนันหากเขียนสมการที 5.17 ใหม่อีกครัง
ในรู ปอนุพนั ธ์จะได้วา่
δQ = dH
เนื องจากกระบวนการเป็ นแบบความดันคงที ดังนันเราจะเรี ยกความร้อนจําเพาะในกรณี นีว่า ความร้อน
จําเพาะทีความดันคงที (specific heat at constant pressure หรื อ CP) จากนิยามของความร้อนจําเพาะทีได้
กล่าวมา เราจะสามารถแปลงคํานิยามดังกล่าวให้เป็ นสมการทีอยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์ได้คือ
1 ⎛ δQ ⎞
CP = ⎜ ⎟ (5.20)
m ⎝ δT ⎠ P
เมือแทนค่าสมการที 5.17 ในรู ปอนุพนั ธ์ลงไปจะได้วา่
1 ⎛ ∂H ⎞ ⎛ ∂h ⎞
CP = ⎜ ⎟ = ⎜ ⎟ (5.21)
m ⎝ ∂T ⎠ P ⎝ ∂T ⎠ P
จากสมการที 5.19 และ 5.21 จะเห็นได้ว่าค่าความร้อนจําเพาะสามารถเขียนอยู่ในรู ปของความสัมพันธ์
ระหว่างสมบัติเธอร์ โมไดนามิ กส์ ดังนันตัวความร้ อนจําเพาะเองก็จะเป็ นสมบัติเธอร์ โมไดนามิ กส์ ดว้ ย
เช่นกัน
ในกรณี ทีสารอยูใ่ นสถานะของแข็งหรื อของเหลวอย่างใดอย่างหนึงเพียงอย่างเดียว เราจะพบว่าสาร
นันจะจัดอยู่ในประเภทสารอัดไม่ได้ สําหรับสารอัดไม่ได้นันเราจะสามารถพิสูจน์ทางคณิ ตศาสตร์ ได้ว่า
เมือใดก็ตามทีปริ มาตรจําเพาะมีค่าคงที ค่าของ CV และ CP จะลู่เข้าสู่ ค่าเดียวกัน ดังนันเราจึงละทิงตัวห้อย V
และ P แล้วใช้สญ
ั ลักษณ์ C แทนและจะเรี ยกค่านันว่าความร้อนจําเพาะเฉยๆ โดยไม่มีคาํ พ่วงท้ายต่อ
CP = CV = C สําหรับสารอัดไม่ได้ (5.22)
เนืองจากผลของความดันต่อสารอัดไม่ได้มีนอ้ ย ดังนันความร้อนจําเพาะซึงก็เป็ นสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์จึง
ขึนอยูก่ บั อุณหภูมิเพียงอย่างเดียว จากสมการที 5.19 จะทําให้สามารถเขียนสมการทังสองจากเดิมทีอยูใ่ นรู ป
อนุพนั ธ์ยอ่ ย (partial differential) ให้เปลียนไปเป็ นอนุพนั ธ์สามัญ (ordinary differential) ได้คือ
du = C V dT = C dT (5.23)
จากนิยามของเอนธัลปี ในสมการที 5.14 หากปริ มาตรจําเพาะเป็ นค่าคงที จะได้วา่
dh = du + d( Pv ) = du + vdP
เมือแทนค่าสมการที 5.23 ลงไปจะได้วา่
dh = C dT + v dP (5.24)
70

หากกระบวนการทีเกิดขึนมีการเปลียนอุณหภูมิเป็ นสําคัญและการเปลียนความดันมีค่าไม่มาก และผนวกกับ


ปริ มาตรจําเพาะของของแข็งและของเหลวมีค่าน้อยอยูแ่ ล้ว ดังนันพจน์ vdP ในสมการที 5.24 จึงมีค่าน้อย
เมือเทียบกับพจน์ CdT เป็ นผลให้สามารถละทิงพจน์ vdP ดังกล่าวได้ ดังนัน
dh ≈ du ≈ C dT (5.25)
โดยทัวไปแล้วความร้อนจําเพาะของของแข็งและของเหลวจะขึนอยู่กบั อุณหภูมิดว้ ยเช่นกัน หากช่วงการ
ใช้งานของอุณหภูมิมีค่าไม่กว้างมากนัก เป็ นผลให้เราสามารถตังสมมติฐานได้ว่าความร้ อนจําเพาะของ
ของแข็งและของเหลวเป็ นค่าคงตัว ดังนันเมือหาปริ พนั ธ์ของสมการที 5.25 จะได้วา่
h 2 − h 1 ≈ u 2 − u 1 ≈ C (T2 − T1 ) (5.26)

ตัวอย่างที 5.4 เหล็กหล่อ


ั น 250oC ถูกหย่อนลง
เหล็กหล่อมวล 5 kg มีอุณหภูมิตงต้ CM

ในนํามันเครื องปริ มาตร 10 L ทีบรรจุอยูใ่ นภาชนะทีหุ ้มฉนวน


ั นเท่ากับ 30oC หลังจากนัน
อย่างดี นํามันเครื องมีอุณหภูมิตงต้
เหล็กหล่อและนํามันเครื องก็ถูกทิงไว้จนเกิดสมดุลอุณหภาพ จง นํามัน
หาอุณหภูมิสุดท้ายของเหล็กหล่อและนํามันเครื อง
ฉนวน
วิธีทาํ
มวลควบคุม: เหล็กหล่อและนํามันเครื อง
กระบวนการ: ไอโซบาริ กและไอโซคอริ กเนืองจากเป็ นสารอัดไม่ได้
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: เหล็กหล่อและนํามันเครื องเป็ นสารอัดไม่ได้ทีมีความร้อนจําเพาะเป็ นค่าคงตัว
ตัวแปรทีทราบค่า: miron, Tiron,1, Voil, Toil,1
ตัวแปรทีต้องการ: Tiron,2, Toil,2
จากข้อมูลทีกําหนดให้ สมบัติของเหล็กหล่อและนํามันเครื องคือ
เหล็กหล่อ: ρiron = 7,272 kg/m3, Ciron = 0.42 kJ/kg-K
นํามันเครื อง: ρoil = 885 kg/m3, Coil = 1.9 kJ/kg-K
หามวลของนํามันเครื องจากสมการ
m oil = ρoil Voil = ⎛⎜ 885 3 ⎞⎟ (0.01 m 3 )= 8.85 kg
kg
⎝ m ⎠
สําหรับสารอัดไม่ได้ปริ มาตรจะไม่มีการเปลียนแปลง ดังนัน dV = 0 เป็ นผลให้
2

1W2 =
∫ P dV
1
= 0
71

จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
1 Q2 − 1W2 = ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE
เนืองจากระบบไม่มีการเคลือนทีและเปลียนระดับความสู ง ดังนัน ΔKE = 0 และ ΔPE = 0 นอกจากนี
้ ฉนวนและถือว่าความร้อนสู ญเสี ยจากทางด้านบนมีค่าน้อยมากและ 1W2 = 0 จาก
1Q2 = 0 เนื องจากภาชนะหุ ม
dV = 0 ทีแสดงไป ดังนันกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมจึงลดรู ปเป็ น
0 = ΔU = U 2 − U1
ในทีนีมวลควบคุมประกอบไปด้วยสารสองชนิดได้แก่เหล็กหล่อและนํามันเครื อง ดังนันพลังงานภายในของ
มวลควบคุมจึงเขียนได้เป็ น
U1 = U iron ,1 + U oil ,1 = m iron u iron ,1 + m oil u oil ,1
U 2 = U iron , 2 + U oil , 2 = m iron u iron , 2 + m oil u oil , 2
แทนค่าพลังงานภายในลงไปในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ จะได้วา่
0 = U 2 − U 1 = (m iron u iron , 2 + m oil u oil , 2 )− (m iron u iron ,1 + m oil u oil ,1 )
0 = m iron (u iron , 2 − u iron ,1 ) + m oil (u oil , 2 − u oil ,1 )
เนื องจากความร้อนจําเพาะของสารทังสองเป็ นค่าคงตัว ดังนันผลต่างของพลังงานภายในจําเพาะของสารอัด
ไม่ได้จะสามารถเขียนได้อยูใ่ นรู ปของผลต่างของอุณหภูมิตามสมการที 5.26
0 = m iron C iron (Tiron , 2 − Tiron ,1 ) + m oil C oil (Toil , 2 − Toil ,1 )
ทังนีเนืองจากทีภาวะที 2 หรื อภาวะสุ ดท้าย ระบบอยูใ่ นสมดุลอุณหภาพ ดังนัน Tiron,2 = Toil,2 = T2 จากนัน
แทนค่าลงไปแล้วแก้สมการจะได้เป็ น
0 = m iron C iron (T2 − Tiron ,1 ) + m oil C oil (T2 − Toil ,1 )

0 = (5 kg )⎜ 0.42 ⎟ (T2 − 523.15 K ) + (8.85 kg )⎜ 1.9 ⎟ (T2 − 303.15 K )


⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠
T2 = 327.58 K = 54.43o C คําตอบ
หมายเหตุ
อุณหภูมิสุดท้ายทีได้ในบางครังจะเรี ยกว่าอุณหภูมิผสมระหว่างสารสองชนิดขึนไป จะสังเกตเห็นว่า
สมการสุ ดท้ายจากตัวอย่างข้างต้นจะอยูร่ ู ปของ mcΔT ซึงเป็ นรู ปสมการทีคุน้ เคยกันเป็ นอย่างดี อย่างไรก็
ตามผูใ้ ช้สมการดังกล่าวจะต้องระมัดระวังในการใช้งานเป็ นอย่างยิงเพราะแท้จริ งแล้วสมการดังกล่าวเป็ นผล
สื บเนื องมาจากกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ทีอยู่ภายใต้สมมติฐานหลายประการ ดังนันผูใ้ ช้จะต้อง
มันใจว่าระบบอยูภ่ ายใต้สมมติฐานดังกล่าวก่อนจะนําสมการดังกล่าวไปใช้งานได้อย่างถูกต้อง
72

5.7 พลังงานภายใน เอนธัลปี และความร้อนจําเพาะของแก๊สอุดมคติ


สําหรับสารบริ สุทธิ โดยทัวไปแล้วพลังงานภายในจําเพาะจะเป็ นฟั งก์ชนั ของสมบัติอินเทนซิ ฟทาง
เธอร์ โมไดนามิกส์ทีเป็ นอิสระต่อกันจํานวนสองค่าตามกฎของภาวะทางเธอร์ โมไดนามิกส์ แต่สาํ หรับแก๊ส
อุดมคติจะพบว่าพลังงานภายในจําเพาะของแก๊สอุดมคติจะขึนอยูก่ บั อุณหภูมิเพียงอย่างเดียวกล่าวคือ
u = u (T) สําหรับแก๊สอุดมคติ (5.27)
ทังนี เราสามารถยกตัวอย่างค่าของพลังงานภายในจําเพาะของนําทีความดันและอุณหภูมิบางค่าจากตาราง
สมบัติเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับนําทีภาวะไอร้อนยวดยิงดังทีแสดงในตารางที 5.1

ตารางที 5.1 พลังงานภายในจําเพาะของนําทีภาวะไอร้อนยวดยิง (Borgnakke and Sonntag, 2009: 710)

อุณหภูมิ (oC) ความดัน (kPa) พลังงานภายในจําเพาะทีเปลียนไป (%)


10 100
200 2661.27 2658.05 −0.121
300 2812.06 2810.41 −0.059
400 2968.89 2967.85 −0.035

จะเห็นได้ว่าทีค่าความดันตํากว่าค่าความดันวิกฤตมากๆ (Pc = 22.12 MPa สําหรับนํา) ซึงจะทําให้ไอนํามี


พฤติกรรมใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติยงขึ ิ น เมือเพิมความดันจาก 10 kPa ไปยัง 100 kPa ซึงเป็ นการเพิมความ
ดันขึนประมาณ 10 เท่า จะทําให้พลังงานภายในจําเพาะมีค่าเปลียนแปลงไม่เกินร้อยละ 0.2 ซึ งถือว่าเป็ นการ
เปลียนแปลงทีตํามาก ในขณะทีเมือเพิมอุณหภูมิขึน จะเห็ นได้ว่ามีการเปลียนแปลงของพลังงานภายใน
จําเพาะอย่างมี นัย สําคัญ ดังนันจึ งสามารถสรุ ปได้ว่าเมื อแก๊ สมี พฤติ กรรมลู่เข้าสู่ แ ก๊ สอุ ดมคติ จะทําให้
พลังงานภายในจําเพาะเป็ นอิสระต่อความดันและขึนอยูก่ บั อุณหภูมิเพียงอย่างเดียวตามสมการที 5.27 อนึ ง
ความสัมพันธ์ทีแสดงในสมการที 5.27 นันสามารถพิสูจน์ได้จากทฤษฎีจลน์ของแก๊สอุดมคติดว้ ยเช่นกัน
ในส่ วนของเอนธัลปี จําเพาะนันจากนิยามของเอนธัลปี จําเพาะกล่าวคือ h = u + Pv เมือแทนค่า
u = u(T) จากสมการที 5.27 ข้างต้นรวมทังสมการแก๊สอุดมคติ Pv = RT ลงไปในนิยามของเอนธัลปี จําเพาะ
ผลทีได้คือ
h = u ( T ) + RT
ดังนันจะเห็นได้วา่ ด้านซ้ายมือของสมการด้านบนจะเป็ นฟังก์ชนั ของอุณหภูมิเพียงอย่างเดียวเช่นกัน กล่าวคือ
h = h ( T) สําหรับแก๊สอุดมคติ (5.28)
73

ในส่ วนของความร้อนจําเพาะนัน หากนําความสัมพันธ์ทีได้จากสมการที 5.27 และ 5.28 ไปแทนค่า


ลงในสมการที 5.19 และ 5.21 ซึ งเดิมอยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์ยอ่ ย ผลทีได้จะทําให้สมการที 5.19 และ 5.21
เปลียนไปอยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์สามัญกล่าวคือ
du dh
CV = และ CP =
dT dT
ทังนี เพือให้เกิดความแตกต่างกันระหว่างความร้อนจําเพาะของสารบริ สุทธิ ทัวไปทีสมการจะเขียนอยูใ่ นรู ป
ของอนุพนั ธ์ยอ่ ยและความร้อนจําเพาะของแก๊สอุดมคติทีสมการจะเขียนอยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์สามัญ เราจึง
ใส่ ตวั ห้อย 0 เพิมเข้าไปเพือแสดงถึงความร้อนจําเพาะของแก๊สอุดมคติและให้เกิดความแตกต่างดังกล่าว
ดังนัน
du
CV0 = หรื อ du = C V 0 dT สําหรับแก๊สอุดมคติ (5.29)
dT
dh
CP0 = หรื อ dh = C P 0 dT สําหรับแก๊สอุดมคติ (5.30)
dT
จากนิยามของเอนธัลปี ของแก๊สอุดมคติ h = u + Pv = u + RT เมือเขียนสมการดังกล่าวในรู ปของ
อนุพนั ธ์จะได้วา่
dh = du + R dT
เมือแทนค่า du และ dh จากสมการที 5.29 และ 5.30 ลงไปในสมการด้านบน เราจะได้ความสัมพันธ์
ระหว่าง CV0 และ CP0 ของแก๊สอุดมคติเป็ น
C P0 = C V 0 + R (5.31)
จะเห็นได้ว่าผลต่างระหว่าง CP0 และ CV0 ของแก๊สอุดมคติก็คือค่าคงตัวของแก๊สนันเอง สมการที 5.31
สามารถเขียนได้ในรู ปทีใช้โมลเป็ นฐานกล่าวคือ
CP0 = CV 0 + R (5.32)
ข้อสังเกตอีกอันหนึงทีได้จากสมการที 5.31 ก็คือว่าค่าของ CP0 จะมีค่ามากกว่า CV0 เสมอ ซึงกรณี ดงั กล่าวจะ
เกิ ดขึนกับสารโดยทัวไปแม้ว่าสารนันจะไม่ใช่ แก๊สอุดมคติก็ตาม ข้อสรุ ปดังกล่าวนันเกิ ดขึนได้จากการ
วิเคราะห์รูปที 5.5 เนื องจากว่านิ ยามเบืองต้นของ CV และ CP ก็คือค่า δQ ของรู ปที 5.5 (a) และ (b)
ตามลําดับ ดังนันจะเห็นได้ว่า δQ ทีเข้าสู่ กระบวนการไอโซบาริ กในรู ปที 5.5 (b) จะมากกว่า δQ ทีเข้าสู่
กระบวนการไอโซคอริ กในรู ปที 5.5 (a) เสมอเพราะเราต้องใส่ δQ เพิมเข้าไปในกระบวนการไอโซบาริ กเพือ
ชดเชยกับงานขอบเขตเคลือนทีทีเกิดขึนนันเอง เป็ นผลให้ค่า CP มีค่ามากกว่า CV เสมอ ในกรณี สุดขีด
(extreme case) ทีเกิดขึนได้ก็คือสารอัดไม่ได้กล่าวคือหากสารทีอยูใ่ นรู ปที 5.5 เป็ นสารอัดไม่ได้ ผลทีเกิดขึน
คือ δQ ของรู ปที 5.5 (a) และ (b) จะมีค่าเท่ากันเพราะสารอัดไม่ได้ไม่เกิดการขยายตัว เป็ นผลให้ CP = CV = C
74

เนืองจากพลังงานภายในจําเพาะและเอนธัลปี จําเพาะของแก๊สอุดมคติเป็ นฟังก์ชนั ของอุณหภูมิเพียง


อย่างเดียว ดังนันตัวความร้อนจําเพาะของแก๊สอุดมคติทีแสดงในสมการที 5.29 และ 5.30 ก็จะเป็ นฟังก์ชนั
ของอุ ณหภู มิได้เพียงอย่างเดี ย วเช่ นกัน โดยวิธีการทางเธอร์ โมไดนามิ กส์ สถิ ติซึงจะไม่ นํามากล่ าวใน
รายละเอียดในทีนี จะทําให้เราทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่าง CP0 และอุณหภูมิของแก๊สบางชนิ ดซึ งได้ถูก
นํามาแสดงในรู ปที 5.6 อนึง CV0 ก็จะมีความสัมพันธ์ในทํานองเดียวกับ CP0 ตามสมการที 5.31 จึงไม่ได้
แสดงค่าของ CV0 ในรู ปที 5.6

รู ปที 5.6 ความร้อนจําเพาะของแก๊สอุดมคติชนิดต่างๆ ทีเป็ นฟังก์ชนั ของอุณหภูมิ


(Borgnakke and Sonntag, 2009: 135)

จากผลทีได้จะสามารถสรุ ปได้ว่าปั จจัยสําคัญทีทําให้ CP0 ผันแปรตามอุณหภูมิคือการสันสะเทือนของ


โมเลกุล ดังนันยิงโมเลกุลมีความซับซ้อนมากเท่าใด รู ปแบบของการสันสะเทือนของโมเลกุลก็จะมีมากขึน
เท่านัน เป็ นผลให้ค่า CP0 มีความผันแปรตามอุณหภูมิมากขึนเช่นกัน จากรู ปที 5.6 จะสังเกตได้ว่าหากแก๊ส
เป็ นแก๊สอะตอมเดียว (monatomic gas) ได้แก่ ฮีเลียม (He) หรื ออาร์กอน (Ar) เป็ นต้น จะพบว่าค่า CP0 จะ
เป็ นค่าคงตัวหรื อไม่มีการผันแปรเมือเทียบกับอุณหภูมิเลย ทังนีก็จะสามารถอธิบายได้ตามเหตุผลด้านบนได้
ว่าเนื องจากแก๊ สอะตอมเดี ยวมี แ ต่การเคลื อนที แบบเลื อนขนานและแบบหมุ นเท่ านัน แต่ จะไม่ เกิ ดการ
สันสะเทือนระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลได้ หากแก๊สเป็ นแก๊สอะตอมคู่ (diatomic gas) ได้แก่ไฮโดรเจน
(H2) ออกซิเจน(O2) หรื ออากาศซึงประกอบไปด้วยไนโตรเจน (N2) และออกซิเจน (O2) เป็ นหลัก จะเห็นได้
ว่าค่า CP0 เริ มเกิดการผันแปรเมือเทียบกับอุณหภูมิเนืองจากว่าแก๊สอะตอมคู่สามารถทีจะเกิดการสันสะเทือน
ระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลได้ หากแก๊สเป็ นแก๊สทีมีจาํ นวนอะตอมเกินสองตัว (polyatomic gas) ซึงมี
ความซับซ้อนมากขึนได้แก่ คาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) หรื อนํา (H2O) ความผันแปรระหว่าง CP0 และ
อุณหภูมิกจ็ ะมากขึนตามลําดับทังนีเนืองจากรู ปแบบของการสันสะเทือนทีซับซ้อนขึนนันเอง
75

การนําค่า CV0 และ CP0 ของแก๊สอุดมคติไปใช้งานนัน จุดประสงค์หลักในทางปฏิบตั ิกค็ ือค่าผลต่าง


ของพลังงานภายในจําเพาะหรื อผลต่างของเอนธัลปี จําเพาะนันเป็ นค่าทีปรากฏอยูใ่ นกฎข้อทีหนึงของเธอร์โม
ไดนามิกส์ อย่างไรก็ตามค่าทังสองเป็ นค่าทีวัดไม่ได้โดยตรงในทางปฏิบตั ิ ในทางตรงกันข้ามอุณหภูมิเป็ น
ค่าทีวัดได้ ดังนันจึงมีความพยายามทีจะหาความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานภายในจําเพาะและเอนธัลปี จําเพาะ
กับอุณหภูมิ ซึงนันก็นาํ ไปสู่การนําค่า CV0 และ CP0 ไปใช้งาน จากสมการที 5.29 และ 5.30 จะเห็นได้วา่
2

u 2 − u1 =
∫C
1
V0 dT (5.33)
2

h 2 − h1 =
∫C
1
P0 dT (5.34)

การหาปริ พนั ธ์ของสมการที 5.33 และ 5.34 นันสามารถทําได้หลายวิธีกล่าวคือ


1) การตังสมมติฐานว่าค่า CV0 และ CP0 เปลียนแปลงน้อยมากเมือเทียบกับช่วงของอุณหภูมิทีเปลียนแปลง
ไป ดังนันค่า CV0 และ CP0 จึงสามารถประมาณได้เป็ นค่าคงตัว ดังนันสมการที 5.33 และ 5.34 จะ
สามารถเขียนได้เป็ น
u 2 − u 1 = C V 0 ,avg (T2 − T1 ) (5.35)
h 2 − h 1 = C P 0 ,avg (T2 − T1 ) (5.36)
จะสังเกตได้ว่าค่า CV0 และ CP0 ทีใช้จะเป็ นค่าเฉลียในกรณี ที CV0 และ CP0 มีความผันแปรตามอุณหภูมิ
สําหรับกรณี ของแก๊สอะตอมเดียว เราก็จะสามารถประยุกต์ใช้สมการที 5.35 และ 5.36 ได้โดยทันที
เพราะ CV0 และ CP0 เป็ นค่าคงตัวอยูแ่ ล้ว ในกรณี ของแก๊สอะตอมคู่หรื อมากกว่า เราจะต้องระมัดระวัง
ในการใช้สมการที 5.35 และ 5.36 โดยเฉพาะอย่างยิงในกรณี ทีช่วงของการเปลียนแปลงอุณหภูมิมีค่ามาก
หรื อในกรณี ทีแก๊สมีโครงสร้างอะตอมในหนึงโมเลกุลทีซับซ้อน ข้อดีของวิธีการนี คือเป็ นวิธีทีค่อนข้าง
สะดวกรวดเร็ ว และคํา นวณหาคํา ตอบได้ง่ า ย แต่ ก็ มี ข ้อ เสี ย คื อ ความแม่ น ยํา จะน้อ ยลงอัน เป็ นผล
เนืองมาจากข้อจํากัดต่างๆ ทีกล่าวถึงไปข้างต้น
2) การแทนค่า CP0 ทีเป็ นฟั งก์ชนั ของอุณหภูมิทีอยู่ในรู ปพหุ นามลําดับทีสามซึ งแสดงไว้ในตารางที ผ.5
ส่ วนค่า CV0 นันก็ใช้ความสัมพันธ์จากสมการที 5.31 จากนันทําการแทนค่า CV0 และ CP0 เพือหาปริ พนั ธ์
ของสมการที 5.33 และ 5.34 โดยตรง ข้อดีของวิธีการนี คือเป็ นวิธีทีมีความแม่นยําค่อนข้างมากและ
สามารถใช้กบั กระบวนการทีมีช่วงการเปลียนแปลงอุณหภูมิมากๆ แต่ขอ้ จํากัดอย่างมากของวิธีการนีคือ
เสี ยเวลาในการคํานวณมาก
3) การใช้ตารางที ผ.6 เพือหาค่าพลังงานภายในจําเพาะหรื อเอนธัลปี จําเพาะทีอุณหภูมิค่าต่างๆ ทังนี
ตารางที ผ.6 นันเป็ นผลมาจากการปริ พนั ธ์ของสมการที 5.34 เช่นเดียวกัน เพียงแต่ว่าความสัมพันธ์
76

ระหว่าง CP0 กับอุณหภูมินนเป็


ั นความสัมพันธ์ทีได้มาจากวิชาเธอร์โมไดนามิกส์สถิติ การหาปริ พนั ธ์ของ
สมการที 5.34 ก็ทาํ การคํานวณเมือเทียบกับอุณหภูมิอา้ งอิง (T0) ดังสมการ
T2 T1

h 2 − h1 =
∫C
T0
P0 ∫
dT − C P 0 dT = h T2 − h T1
T0

จากนันก็ทาํ การใส่ ค่า hT ซึ งเป็ นฟังก์ชนั ของอุณหภูมิค่าต่างๆ ลงไปในตาราง อนึ งค่า u ทีปรากฏอยูใ่ น
ตารางก็สามารถหาได้โดยตรงจากนิยามของเอนธัลปี นันคือ uT = hT − RT นันเอง ตัวอย่างของตารางที
ผ.6 ได้นาํ มาแสดงในตารางที 5.2

ตารางที 5.2 ตัวอย่างของตารางแสดงค่าพลังงานจําเพาะและเอนธัลปี จําเพาะของอากาศเมือเป็ นแก๊สอุดมคติ


ทีความดัน 100 kPa (Borgnakke and Sonntag, 2009: 688)

T u h
(K) (kJ/kg) (kJ/kg)
280 200.02 280.39
290 207.19 290.43
298.15 213.04 298.62
300 214.36 300.47
320 228.73 320.58
340 243.11 340.70

ข้อดีของวิธีการนีคือเป็ นวิธีทีมีความแม่นยํามากและสามารถใช้กบั กระบวนการทีมีช่วงการเปลียนแปลง


อุณหภูมิมากๆ เช่นเดียวกับวิธีการในข้อ 2) แต่ขอ้ จํากัดของวิธีการนีคือกรณี ทีค่าทีต้องการไม่ปรากฏอยู่
ในตาราง จึงมีความจําเป็ นทีจะต้องใช้การประมาณในช่วงแบบเชิงเส้นซึงก็จะเสี ยเวลาในการคํานวณใน
ระดับหนึง

ตัวอย่างที 5.5
จงหาผลต่างของเอนธัลปี จําเพาะของอากาศทีได้รับความร้อนจนมีอุณหภูมิเพิมจาก 300 K ไปเป็ น
500 K โดยใช้วิธีทงสามวิ
ั ธีทีได้อธิบายในหัวข้อที 5.7
วิธีทาํ
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
ตัวแปรทีทราบค่า: T1, T2
ตัวแปรทีต้องการ: h2 − h1
77

เนื องจากอากาศเป็ นของผสมระหว่างแก๊สไนโตรเจนและแก๊สออกซิ เจนซึ งถือว่าอยู่ในกลุ่มแก๊ส


อะตอมคู่ ดังนันจึงประมาณได้ว่าค่า CP0 ของอากาศก็จะผันแปรตามการเปลียนแปลงของอุณหภูมิใน
บางส่ วน ดังนันในสําดับต่อไปก็คือการพิจารณาหาค่า h2 − h1 ตามทีโจทย์ตอ้ งการ
(1) วิธีตงสมมติ
ั ฐานว่าค่า CP0 เป็ นค่าคงตัว
จากสมการที 5.36 จะต้องทําการหาค่า CP0 ทีอุณหภูมิเฉลียก่อน ทังนีอุณหภูมิเฉลียหรื อ Tavg จะมีค่า
เท่ากับ 0.5(T1 + T2) = 400 K โดยอาศัยตารางที ผ.5 ค่า CP0 จะแปรผันตามอุณหภูมิดงั สมการ
⎛ kJ ⎞ T (K)
CP0 ⎜ ⎟ = 1.05 − 0.365θ + 0.85θ2 − 0.39θ3 โดยที θ = และ 0.25 ≤ θ ≤ 1.2
⎝ kg - K ⎠ 1000
ดังนัน θavg = Tavg/1000 = 400/1000 = 0.4 ซึงยังอยูใ่ นช่วงทีสามารถใช้งานได้ เมือแทนค่า θavg ลงไปใน
พหุนามด้านบนเพือหาค่า CP0,avg จะได้ว่า CP0,avg = 1.015 kJ/kg-K จากนันนําค่า CP0,avg ไปแทนค่าในสมการที
5.36 จะได้วา่
h 2 − h 1 = 1.015
kJ
kg − K
(500 − 300 K )
h 2 − h 1 = 203.0 kJ / kg คําตอบ

(2) วิธีหาปริ พนั ธ์โดยแทนค่า CP0 ทีเป็ นพหุนามลําดับทีสาม


จากสมการพหุนามลําดับทีสามของ CP0 ในตารางที ผ.5
⎛ kJ ⎞ T (K)
CP0 ⎜ ⎟ = 1.05 − 0.365θ + 0.85θ2 − 0.39θ3 โดยที θ = และ 0.25 ≤ θ ≤ 1.2
⎝ kg - K ⎠ 1000
แทนสมการพหุนามดังกล่าวลงไปในสมการที 5.34 เพือทําการหาปริ พนั ธ์
500 K 0. 5 0.5

∫C ∫ ∫ (1.05 − 0.365θ + 0.85θ − 0.39θ )dθ


2 3
h 2 − h1 = P0 dT = 1,000 K C P 0 dθ = 1,000 K
300 K 0. 3 0.3
0. 5
0.365 2 0.85 3 0.39 4 ⎞ ⎛ kJ ⎞
= 1,000 K ⎛⎜ 1.05θ − θ + θ − θ ⎟ = 1,000 K ⎜ 0.50870 − 0.30544 ⎟
⎝ 2 3 4 ⎠ 0. 3 ⎝ kg - K ⎠
h 2 − h 1 = 203.3 kJ / kg คําตอบ

(3) วิธีการเปิ ดตารางที ผ.6 เพือหาเอนธัลปี จําเพาะทีอุณหภูมิค่าต่างๆ


จากตารางที ผ.6 เนืองจากที T1 และ T2 นันเป็ นค่าทีปรากฏอยูใ่ นตารางพอดี ดังนันจะได้วา่
T1 = 300 K จะได้ h 1 = 300.47 kJ / kg
T2 = 500 K จะได้ h 2 = 503.36 kJ / kg
78

หาค่าผลต่างระหว่าง h1 และ h2 จะได้วา่


h 2 − h 1 = 202.9 kJ / kg คําตอบ
จากการคํานวณทังสามวิธี จะเห็นได้วา่ ค่า h2 − h1 ของทังสามวิธีมีค่าต่างกันไม่เกินร้อยละ 0.2 ซึงถือว่าความ
แตกต่างระหว่างการคํานวณทังสามวิธีนนไม่ ั มีนยั สําคัญ ซึ งหากพิจารณาด้วยความรวดเร็ วในการคํานวณ
เป็ นหลักแล้ว วิธีที (2) น่าจะเป็ นวิธีทีไม่เหมาะเนืองจากใช้เวลาในการคํานวณสูงสุ ด

หมายเหตุ
อนึ งหากลองทําการคํานวณใหม่อีกครังโดยตังสมมติฐานให้ CP0 เป็ นค่าคงตัวทีอุณหภูมิ 25oC
กล่าวคือจากตารางที ผ.4 จะได้ว่า CP0 = 1.004 kJ/kg-K จะทําให้คาํ นวณได้ค่า h2 − h1 = 200.8 kJ/kg-K ซึง
ทําให้ค่าผิดพลาดไปประมาณร้อยละ 1 เท่านัน ดังนันจะเห็นได้ว่ากระบวนการทีทําให้อากาศร้อนขึนหรื อ
เย็นลงทีพบในชีวิตประจําวันเช่นการปรับอากาศ (ในส่ วนทีเป็ นพลังงานสัมผัส) การระบายความร้อนทีหม้อ
นํารถยนต์หรื อทีเครื องควบแน่ น กระบวนการผลิตอากาศร้ อนในการอบอาหาร ต่างๆเหล่านี เป็ นต้น ซึ ง
กระบวนการเหล่านีมีช่วงการเปลียนแปลงของอุณหภูมิทีไม่มากนัก ทําให้การคํานวณหาผลต่างของเอนธัลปี
จําเพาะโดยการการตังสมมติฐานให้อากาศมี CP0 เป็ นค่าคงตัวแม้ว่าจะใช้ค่า CP0 ทีอุณหภูมิ 25oC แทนทีการ
ใช้ค่า CP0 ทีอุณหภูมิเฉลีย เป็ นทียอมรับได้ในทางวิศวกรรม
อย่างไรก็ตามผูเ้ ขียนอยากให้ตระหนักถึงข้อจํากัดของการตังสมมติฐานให้ค่า CP0 เป็ นค่าคงตัวที
25oC โดยการลองทําตัวอย่างนี ใหม่อีกครัง แต่เปลียนค่า T2 จาก 500 K ไปเป็ น 1,200 K แล้วจากนัน
คํานวณหาค่า h2 − h1 อีกครัง จะพบว่าค่าความผิดพลาดของการหาค่า h2 − h1 โดยการตังสมมติฐานให้ค่า
CP0 เป็ นค่าคงตัวที 25oC เมือเทียบกับวิธีที (3) จะมีค่าความคลาดเคลือนสูงถึงร้อยละ 7.5 เลยทีเดียว

ตัวอย่างที 5.6
กระบอกสู บและลูกสู บบรรจุแก๊สออกซิ เจนทีมีมวล 0.2 kg ความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 33oC
หลังจากนันออกซิเจนได้ถูกอัดด้วยกระบวนการโพลีโทรปิ กทีมีค่า n = 1.2 จนกระทังออกซิ เจนมีความดัน
เท่ากับ 600 kPa จงคํานวณหางานและความร้อนทีเกิดขึนจากกระบวนการดังกล่าว

วิธีทาํ แรง
มวลควบคุม: ออกซิเจนภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: โพลีโทรปิ ก n = 1.2 CM
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ออกซิเจนเป็ นแก๊สอุดมคติ
O2
ตัวแปรทีทราบค่า: m, P1, T1, n, P2
ตัวแปรทีต้องการ: 1W2, 1Q2
79

จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): m = 0.2 kg, P1 = 100 kPa, T1 =33oC
สําหรับออกซิเจน R = 0.2598 kJ/kg-K
สมการแก๊สอุดมคติ P1 V1 = m R T1

(100 kPa )V 1 = (0. 2 kg )⎛


⎜ 0 . 2598
kg
kJ ⎞
− K
⎟ (306.15 K )
⎝ ⎠
3
V1 = 0.15908 m
ความสัมพันธ์ระหว่าง P และ V ของกระบวนการโพลีโทรปิ กทีมีค่า n = 1.2 คือ PV 1.2 = ค่าคงตัว
ดังนันนําสมการดังกล่าวไปประยุกต์ใช้กบั ภาวะที 1 และภาวะที 2 กล่าวคือ
P1 V11.2 = P2 V2 1.2
แทนค่า P1, V1, และ P2 จะได้เป็ น

(100 kPa )(0.15908 m )3 1. 2


= (600 kPa )(V2 ) 1.2
1
V2 ⎛1⎞ 1. 2
= ⎜ ⎟
0.15908 m 3 ⎝6⎠
V2 = 0.035739 m 3

เมือทราบค่า V2 แล้ว จากนันให้ประยุกต์ใช้สมการแก๊สอุดมคติกบั ภาวะที 2 เพือหาอุณหภูมิสุดท้ายหรื อ T2


ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): m = 0.2 kg, P2 = 600 kPa, V2 = 0.035739 m3
สมการแก๊สอุดมคติ P2 V2 = m R T2

(600 kPa )(0.035739 m ) = (0.2 kg )⎛⎜ 0.2598 kg kJ− K ⎞⎟ T


3
2
⎝ ⎠
T2 = 412.69 K

จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด จะเห็นได้ว่าไม่ปรากฏงานรู ปอืนใดนอกเหนือจากงานขอบเขตเคลือนทีซึงเกิดจาก


การอัดตัวของออกซิเจน ดังนันสําหรับกระบวนการโพลีโทรปิ ก งานขอบเขตเคลือนทีจะหาได้จากสมการที
4.10 กล่าวคือ
2
P2 V2 − P1 V1 (600 kPa )(0.035739 m 3 )− (100 kPa )(0.15908 m 3 )
W =
1 2 ∫1
P dV =
1− n
=
1 − 1. 2
W = − 27.68 kJ
1 2 คําตอบ
80

จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
1 Q 2 − 1W2 = ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE
เนืองจากระบบไม่มีการเคลือนทีและเปลียนระดับความสู ง ดังนัน ΔKE = 0 และ ΔPE = 0 ดังนันกฎข้อที
หนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมจึงลดรู ปเป็ น
1 Q 2 − 1W2 = ΔU = m (u 2 − u 1 )
การหาผลต่างของพลังงานภายในจําเพาะของแก๊สอุดมคติในทีนี นัน จะต้องพิจารณาช่วงการเปลียนแปลง
ของอุณหภูมิก่อนจะเห็นว่าอุณหภูมิเปลียนจาก T1 = 306.15 K ไปเป็ น T2 = 412.69 K ซึ งมีช่วงการ
เปลียนแปลงของอุณหภูมิประมาณ 106 K นอกจากนีออกซิเจนยังเป็ นแก๊สอะตอมคู่ยอ่ มทําให้ค่า CV0 มี
ความผันแปรเทียบกับอุณหภูมิอยูบ่ า้ งบางส่ วน แต่เมือพิจารณาผลทีได้จากตัวอย่างที 5.5 จะเห็นได้ว่าช่วง
การเปลียนแปลงของอุณหภูมิในตัวอย่างที 5.5 ก็มีมากกว่าและอากาศก็เป็ นแก๊สอะตอมคู่เช่นเดียวกัน ดังนัน
จากตารางที ผ.4 หากตังสมมติฐานให้ออกซิเจนมีค่า CV0 เป็ นค่าคงตัวที 25oC ซึ งมีค่าเท่ากับ 0.662 kJ/kg-K
ก็น่าจะทําให้ได้คาํ ตอบทีมีความแม่นยําในระดับทียอมรับได้ในทางวิศวกรรม ดังนัน
u 2 − u1 = C V 0 ( 25 o C ) (T2 − T1 )
u 2 − u 1 = 0.662
kJ
kg − K
(412.69 − 306.15 K ) = 70.529
kJ
kg
แทนค่า u2 − u1 และ 1W2 ลงไปในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมทีลดรู ปแล้ว

Q
1 2 − (− 27. 68 kJ ) = 0. 2 kg

⎜ 70. 529
kJ ⎞

kg ⎠

1 Q 2 = − 13.57 kJ คําตอบ
หมายเหตุ
1) ค่า 1Q2 มีค่าติดลบแสดงว่าในระหว่างกระบวนการอัดอุณหภูมิของออกซิ เจนสู งขึนและเกิดการถ่ายเท
ความร้อนออกไปสู่สิงล้อมรอบ

2) หากลองหาค่า u2 − u1 อีกครังโดยใช้วิธีการเปิ ดตารางที ผ.6 เพือหาพลังงานภายในจําเพาะทีอุณหภูมิ


T1 และ T2 ทังนีจะต้องอาศัยการประมาณในช่วงแบบเชิงเส้นซึงจะทําให้ได้ u1 = 199.28 kJ/kg-K และ u2 =
270.84 kJ/kg-K เป็ นผลให้ u2 − u1 = 71.557 kJ/kg-K และเมือแทนค่าลงในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โม
ไดนามิกส์จะได้ 1Q2 = −13.37 kJ จากผลทีได้จะเห็นว่าคําตอบทีได้จากการตังสมมติฐานให้ค่า CV0 เป็ นค่า
คงตัวที 25oC จากด้านบนมีค่าความคลาดเคลือนประมาณร้อยละ 1.5 เท่านัน ซึ งเป็ นการพิสูจน์ว่าการ
ตังสมมติฐานดังกล่าวสามารถทําได้นนเอง

81

5.8 กฎข้อทีหนึงในรู ปของสมการอัตรา


กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ทีแสดงในสมการที 5.6 นันเป็ นสมการทีอยูใ่ นรู ปอนุพนั ธ์ ซึงจะ
สามารถเปลี ยนสมการให้อยู่ในรู ปของอัตราได้โดยการพิจารณากฎข้อที หนึ งของเธอร์ โมไดนามิ กส์ ใน
ช่วงเวลาสันๆ Δt และเมือให้ลิมิตของ Δt เข้าสู่ศูนย์ ดังนันสมการที 5.6 ก็จะสามารถเขียนได้อยูใ่ นรู ปอัตรา
กล่าวคือ
dU d( KE ) d( PE ) δQ δW
+ + = −
dt dt dt δt δt
จะพบว่าทางด้านขวาของสมการด้านบน จะสามารถเขียนได้ใหม่ในรู ปของอัตราการถ่ายเทความร้อนและ
กําลังกล่าวคือ
dU d( KE ) d( PE )
+ + = Q& − W& (5.37)
dt dt dt
ซึงก็อาจจะกลับไปเขียนสมการที 5.37 ในรู ปของพลังงานรวม
dE
= Q& − W& (5.38)
dt
กฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ในรู ปของสมการอัตรานันจะสามารถนําไปใช้ได้ในบทที 6 ซึ งจะกล่าว
ถัดไป รวมทังสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้กบั สาขาวิชาอืนๆ เช่นกลศาสตร์ ของไหลและการถ่ายเทความ
ร้อนเป็ นต้น

5.9 การอนุรักษ์มวล
หลักการอนุรักษ์มวล (conservation of mass principle) นันเป็ นหลักการหนึงทีกล่าวไว้ว่ามวลจะไม่
สามารถถูกสร้างขึนหรื อถูกทําลายได้ซึงจะมีความสอดคล้องกับหลักการอนุ รักษ์พลังงานหรื อก็คือกฎข้อที
หนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ดงั ทีได้กล่าวไปแล้ว สําหรับในกรณี ทีระบบเป็ นมวลควบคุมนัน เป็ นทีทราบกัน
ดีอยูแ่ ล้วว่ามวลของระบบจะมีค่าคงทีอยูต่ ลอดเวลา ดังนันหลักการอนุรักษ์มวลจึงมีความสอดคล้องไปโดย
ปริ ยายโดยไม่ตอ้ งมีการเขียนหรื อแสดงสมการแต่ประการใด
อย่างไรก็ตามอาจมีขอ้ สงสัยถึงความเป็ นไปได้ของการเปลียนจากมวลไปเป็ นพลังงานหรื อกลับกัน
ซึงเป็ นผลมาจากความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงานงานของไอน์สไตน์ E = mc2 โดย c คือความเร็ วของ
แสงในสุ ญญากาศซึงมีค่าเท่ากับ 2.9979 x 108 m/s จากการคํานวณอย่างง่ายๆ โดยนําความร้อนจากตัวอย่างที
5.3 ซึงมีค่าประมาณ 100 kJ มาเปลียนเป็ นมวล ผลทีได้คือมวลของนําในตัวอย่างข้อที 5.3 จะเปลียนแปลงไป
ประมาณ 1.11 x 10−12 kg ซึงแม้แต่อุปกรณ์วดั มวลทีละเอียดทีสุ ดก็คงจะไม่สามารถตรวจจับความแตกต่าง
ของมวลทีเกิดขึนในครังนี ได้ ดังนันในงานทีเกียวข้องกับทางวิศวกรรมโดยทัวไป เราจึงไม่คาํ นึ งถึงผลอัน
เกิดมาจากความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงานดังกล่าว
82

แบบฝึ กหัด
1) กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักรกล่าวไว้วา่ อย่างไร อธิบาย
2) รถยนต์คนั หนึงมีมวล 1,200 kg ถูกเร่ งให้มีความเร็ วเพิมขึนจาก 40 km/hr ไปเป็ น 80 km/hr จงหางาน
ทีกระทําต่อรถยนต์เพือให้มีความเร็ วเพิมขึนดังกล่าว
3) ถังใบหนึงมีปริ มาตร 1 m3 บรรจุนามวลํ 0.8 kg ซึงมีความดัน 200 kPa จงหาพลังงานภายในจําเพาะ
และเอนธัลปี จําเพาะของนําภายในถัง
4) ไอนําซึงมีความดัน 500 kPa อุณหภูมิ 300oC ถูกบรรจุในถังปิ ดซึงมีปริ มาตร 0.8 m3 ต่อมาถังถูกทิง
ไว้ในบรรยากาศภายนอกจนกระทังความดันภายในถังมีค่าเท่ากับ 200 kPa จงหาปริ มาณความร้อนที
ถ่ายเทในกระบวนการดังกล่าว
5) นํามวล 2 kg ถูกอัดด้วยกระบวนการโพลีโทรปิ กทีมีค่า n = 1.2 ในอุปกรณ์ทีประกอบไปด้วยกระบอก
สูบและลูกสูบ ในตอนเริ มต้นนํามีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 250oC กระบวนการอัดสิ นสุ ดเมือนํามี
ความดัน 300 kPa จงคํานวณหาการถ่ายเทความร้อนในกระบวนการดังกล่าว
6) จงคํานวณผลต่างของเอนธัลปี จําเพาะของคาร์บอนไดออกไซด์ทีมีอุณหภูมิเพิมขึนจาก 300 K ไปเป็ น
700 K โดยวิธีการดังต่อไปนี
(a) ตังสมมติฐานว่า CP0 ของคาร์บอนไดออกไซด์มีค่าคงทีทีอุณหภูมิหอ้ ง 25oC
(b) ตังสมมติฐานว่า CP0 ของคาร์บอนไดออกไซด์มีค่าคงทีทีอุณหภูมิเฉลีย
(c) ให้ CP0 ของคาร์บอนไดออกไซด์เป็ นฟังก์ชนั พหุนามลําดับทีสามของอุณหภูมิ
(d) ใช้ตาราง ผ.6
7) อากาศอยูใ่ นกระบอกสู บทีความดัน 200 kPa อุณหภูมิ 800 K และมีปริ มาตรตังต้นเท่ากับ 0.5 m3
อากาศขยายตัวด้วยกระบวนการความดันคงทีจนกระทังมีปริ มาตรเป็ นสองเท่า จงหางานและการ
ถ่ายเทความร้อนทีเกิดขึน
83

บทที 6
การวิเคราะห์ กฎข้ อหนึงสํ าหรับปริมาตรควบคุม
6.1 การอนุรักษ์มวลและปริ มาตรควบคุม
ปริ มาตรควบคุมเป็ นปริ มาตรสมมติทีถูกเลือกขึนเพือใช้สาํ หรับครอบคลุมบริ เวณทีเราสนใจจะศึกษา
ปริ มาตรควบคุมจะถูกล้อมรอบด้วยผิวควบคุมและอนุญาตให้ทงมวลและพลั
ั งงานไหลผ่านเข้าสู่ และออกจาก
ปริ มาตรควบคุมได้ เนื องจากมวลภายในของปริ มาตรควบคุมอาจจะเกิดการเปลียนแปลงอันเป็ นผลมาจาก
มวลในส่ วนทีไหลเข้าและไหลออก ดังนันสําหรับปริ มาตรควบคุมแล้วจึงต้องมีการพิจารณาหลักการอนุรักษ์
มวล โดยอาศัยหลักทางฟิ สิ กส์ง่ายๆ การเขียนหลักการอนุ รักษ์มวลให้อยู่ในรู ปของสมการสามารถทําได้
โดยการพิจารณาถังนําทีมีนาไหลเข้
ํ าและไหลออกดังรู ปที 6.1

นําไหลเข้า

นําสะสมภายใน นําไหลออก

รู ปที 6.1 แผนภาพสําหรับศึกษาหลักการอนุรักษ์มวลสําหรับปริ มาตรควบคุม

จะเห็นได้ว่าเนื องจากในหลักการอนุรักษ์มวลนันมวลไม่สามารถถูกสร้างขึนหรื อถูกทําลายได้ ดังนันเราจึง


สามารถเขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้วา่

อัตราการสะสมมวล อัตราไหลเชิงมวลที อัตราไหลเชิงมวลที


= −
ภายในปริมาตรควบคุม เข้าสู่ปริมาตรควบคุม ออกจากปริมาตรควบคุม

แทนค่าด้วยสัญลักษณ์ได้เป็ น
dm CV
dt
= ∑ m& i − ∑m& e (6.1)

โดยที mCV คือมวลสะสมภายในมวลควบคุม ส่ วน m& i และ m& e คืออัตราไหลเชิงมวลของนําทีไหลผ่านหน้า


ตัดทีเป็ นส่ วนของผิวควบคุมทังในส่ วนขาเข้าและขาออกตามลําดับ ทังนีเครื องหมายผลบวกทีใส่ ในสมการ
ที 6.1 นันแสดงถึงผลรวมของอัตราไหลเชิงมวลในกรณี ทีมีทางเข้าหรื อทางออกมากกว่าหนึงทาง จะสังเกต
ได้ว่าเมือใดก็ตามทีผลรวมของอัตราไหลเชิงมวลขาเข้ามากกว่าขาออก เครื องหมายของ dmCV/dt จะมีค่าเป็ น
บวก นันก็หมายความว่ามวลของนําทีสะสมภายในปริ มาตรควบคุมจะเพิมขึนเรื อยๆ เมือเวลาผ่านไป ในทาง
84

ตรงกันข้ามถ้าผลรวมของอัตราไหลเชิงมวลขาออกมีมากกว่าขาเข้า เครื องหมายของ dmCV/dt จะมีค่าเป็ นลบ


นันก็หมายความว่ามวลของนําทีสะสมภายในปริ มาตรควบคุมจะลดลงเรื อยๆ เมือเวลาผ่านไป ในกรณี ที
ผลรวมของอัตราไหลเชิงมวลขาเข้าและขาออกมีค่าเท่ากัน dmCV/dt จะมีค่าเท่ากับศูนย์ซึงแสดงว่ามวลของ
นําภายในปริ มาตรควบคุมจะไม่เปลียนแปลงเมือเทียบกับเวลาซึ งเราจะเรี ยกกรณี ในลักษณะนี ว่ามวลของ
ระบบอยูใ่ นภาวะคงตัว (steady state) อนึงสมการที 6.1 ซึงเป็ นสมการการอนุรักษ์มวลนันอาจจะมีอีกชือ
หนึงว่าสมการภาวะต่อเนือง (continuity equation)
หากนําสมการที 6.1 มาพิจารณาอีกครัง ในกรณี ทีภาวะของมวลภายในปริ มาตรควบคุมมีค่าไม่
เท่ากันตลอดทัวทังปริ มาตรควบคุม การหาค่า mCV จะทําได้โดยใช้สมการ
1
m CV = ρ dV =
∫ v
dV

สําหรับในส่ วนของ m& นัน หากพิจารณาการไหลในท่อทีแสดงในรู ป 6.2

V = Vlocal โดยที Vlocal = f(r) V = Vavg โดยที Vavg คงที

(a) การไหลทีมีการกระจายความเร็ว (b) การไหลเอกรู ป

รู ปที 6.2 การไหลภายในท่อทีหน้าตัดใดๆ

จะเห็นได้วา่ ในความเป็ นจริ งแล้วความเร็ วของของไหลทีจุดต่างๆ ของหน้าตัดหนึงๆ จะมีค่าไม่เท่ากัน โดยที


ความเร็ วของของไหลทีติดกับผิวท่อนันจะเป็ นศูนย์ ในขณะทีความเร็ วทีจุดศูนย์กลางท่อจะมีค่ามากทีสุ ดดังที
แสดงในรู ป 6.2 (a) ดังนันจะเกิดสิ งทีเรี ยกว่าการกระจายความเร็ ว (velocity profile) ดังนันหากจะทําการหา
อัตราไหลเชิงปริ มาตร (volume flow rate หรื อ V& ) บนหน้าตัดของท่อได้จากสมการ

V& =
∫Vlocal dA

โดยที Vlocal คือความเร็ วทีตําแหน่งต่างๆ ของหน้าตัด สําหรับรายละเอียดเกียวกับการหารู ปแบบการกระจาย


ความเร็ วของการไหลแบบต่างๆ นันไม่อยูใ่ นขอบเขตของตําราเล่มนีแต่จะสามารถศึกษาเพิมเติมได้ในวิชากล
ศาสตร์ ของไหล เพือให้การคํานวณทําได้ง่ายขึน เราจึงกําหนดให้การไหลภายในท่อมีลกั ษณะทีเป็ นการ
ไหลเอกรู ป (uniform flow) นันคือความเร็ วทุกๆ จุดบนพืนทีหน้าตัดมีค่าเท่ากันและมีค่าเท่ากับความเร็ วเฉลีย
(average velocity หรื อ Vavg) ดังทีแสดงในรู ป 6.2 (b) โดยทีความเร็ วเฉลียนันหาได้จาก
1
Vavg =
A∫Vlocal dA
85

เมือนําค่า Vavg ไปแทนค่าเพือหาอัตราไหลเชิงปริ มาตรจะได้วา่


V& = Vavg A = V A (6.2)
ทังนี ในตําราเล่มนี เราจะถือว่าความเร็ วทีกําหนดนันเป็ นความเร็ วเฉลียเสมอ ดังนันเราจึงละทิงตัวห้อย avg
ออกไปแล้วใช้สัญลักษณ์ V แทนความเร็ วเฉลียภายในท่อดังทีแสดงในสมการที 6.2 สําหรับอัตราไหลเชิง
มวลในสมการที 6.1 นันจะมีความสัมพันธ์กบั อัตราไหลเชิงปริ มาตรกล่าวคือ
V& VA
m& = ρ V& = = (6.3)
v v
อนึ งสมการที 6.3 นันอยูภ่ ายใต้สมมติฐานทีว่าปริ มาตรควบคุมทีอยูก่ บั ทีไม่เคลือนไหวและทิศทางการไหล
ตังฉากกับพืนที หน้าตัดเท่านัน ซึ งสมมติฐานทังสองที กล่าวมานันได้ครอบคลุมถึ งการใช้งานส่ วนใหญ่
ในทางเธอร์โมไดนามิกส์ ในกรณี ทีการไหลอยูน่ อกเหนือจากสมมติฐานดังกล่าวผูอ้ ่านจะสามารถคํานวณหา
ค่า m& ได้โดยการศึกษาเพิมเติมได้ในวิชากลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที 6.1
อากาศความดัน 250 kPa อุณหภูมิ 340oC กําลังไหลอยูใ่ นท่อทีมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8 m ด้วย
ความเร็ ว 8.6 m/s จงคํานวณหาอัตราไหลเชิงปริ มาตรและอัตราไหลเชิงมวลของอากาศนี
วิธีทาํ
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
ตัวแปรทีทราบค่า: P, T, D, V
ตัวแปรทีต้องการ: m&

จากข้อมูลทีทราบ การหาอัตราไหลเชิงมวลได้นนจะต้
ั องทราบปริ มาตรจําเพาะของอากาศก่อน
ภาวะของอากาศ: P = 250 kPa, T =340oC
สําหรับอากาศ R = 0.287 kJ/kg-K
สมการแก๊สอุดมคติ Pv = mRT

(250 kPa )v ⎛
= ⎜ 0.287
kJ ⎞
⎟ (613.15 K )
kg − K ⎠

m3
v = 0.70390
kg
เนืองจากท่อมีหน้าตัดเป็ นวงกลมดังนัน
π π
A = D 2 = 0.8 2 m 2 = 0.50265 m 2
4 4
86

แทนค่าลงไปในสมการที 6.2 เพือหา V&


V& = V A
V& = (8.6 m/s )(0.50265 m 2 )
m3
V& = 4.323 คําตอบ
s
แทนค่าลงไปในสมการที 6.3 เพือหา m&
V&
m& =
v
4.323 m 3 / s
m& =
0.70390 m 3 / kg
kg
m& = 6.141 คําตอบ
s
หมายเหตุ
สําหรับค่า V& ทีคํานวณได้จากตัวอย่างนีนันจะมีอีกชือหนึงว่าเป็ นอัตราไหลเชิงปริ มาตรจริ ง (actual
volume flow rate) ซึงมีความหมายว่าเป็ นอัตราไหลเชิงปริ มาตรของแก๊สทีภาวะจริ งทีปรากฏนันคือภาวะที
ความดัน 250 kPa อุณหภูมิ 340oC ในทางปฏิบตั ิบางครังนันอัตราไหลของแก๊สจะนิยมระบุเป็ นอัตราไหล
เชิงปริ มาตรมาตรฐานหรื ออัตราไหลเชิงปริ มาตรปกติ (standard or normal volume flow rate) ซึงจะหมายถึง
อัตราไหลเชิงปริ มาตรของแก๊สทีภาวะมาตรฐานทีกําหนด ตัวอย่างเช่นสมมติว่าภาวะมาตรฐานกําหนดไว้ที
15oC, 101.325 kPa ถ้าอากาศมีอตั ราไหลเชิงปริ มาตรที 4.323 m3/s (standard) หากคํานวณหาค่า v ทีภาวะ
มาตรฐานดังกล่าวโดยใช้สมการแก๊สอุดมคติจะได้ v = 0.81618 m3/kg ดังนันอัตราไหลเชิงมวลของอากาศก็
4.323 m 3 / s kg
จะมีค่าเป็ น m& = = 5. 297 ซึ งจะมีค่าตําลงจากคําตอบทีได้จากตัวอย่าง
0.81618 m 3 / kg s
เนื องจากค่าปริ มาตรจําเพาะได้เพิมขึนจากภาวะจริ งทีปรากฏไปเป็ นภาวะมาตรฐาน โดยสรุ ปแล้วหากมี
การระบุอตั ราไหลเชิ งปริ มาตรมาตรฐาน ก็จะเที ยบเท่ากับว่าเราทราบอัตราไหลเชิ งมวลไปในตัวเพราะ
ปริ มาตรจําเพาะได้ถูกกําหนดแล้วตามภาวะมาตรฐาน ส่ วนอัตราไหลเชิงปริ มาตรจริ งนัน เราจะทราบอัตรา
ไหลเชิงมวลได้กต็ ่อเมือเราทราบภาวะจริ งของแก๊สทีปรากฏ อนึงหน่วยของอัตราไหลเชิงปริ มาตรมาตรฐาน
จะมีสัญลักษณ์ตวั S หรื อตัว N ปรากฏอยูก่ บั หน่วยเช่น SCMH (standard cubic meter per hour) หรื อ
Nm3/min (normal cubic meter per minute) เป็ นต้น ส่ วนหน่วยของอัตราไหลเชิงปริ มาตรจริ งจะมีสัญลักษณ์
ตัว A ปรากฏอยูก่ บั หน่วยเช่น ACMH (actual cubic meter per hour) เป็ นต้น ข้อควรระวังอย่างหนึงก็คือ
ภาวะมาตรฐานทีใช้ในปั จจุบนั จากหลายองค์กรมีค่าทีต่างกัน บางแห่ งใช้ 0oC, 100 kPa ส่ วนบางแห่ งใช้
15oC, 101.325 kPa ดังนันควรจะต้องศึกษาภาวะมาตรฐานก่อนจะนําค่าไปคํานวณต่อไป
87

6.2 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม


จากหัวข้อที 5.8 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมในรู ปอัตราคือ
dE CM
= Q& − W& (6.4)
dt
ในการเขียนกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน เราสามารถทําได้โดยใช้วิธีการ
เดียวกับการเขียนหลักการอนุรักษ์มวลกล่าวคือพลังงานไม่สามารถถูกสร้างขึนหรื อถูกทําลายได้ ดังนันโดย
อาศัยหลักการดังกล่าว เราจะสามารถเขียนได้วา่

อัตราการสะสมพลังงาน
= อัตราการถ่ายเทพลังงาน − อัตราการถ่ายเทพลังงาน
ภายในปริมาตรควบคุม เข้าสู่ปริมาตรควบคุม ออกจากปริมาตรควบคุม

หากพิจารณารู ปที 6.3 ทีแสดงให้เห็นถึงระบบทีเป็ นปริ มาตรควบคุมโดยทัวไป จะเห็นได้ว่าพจน์ทีอยู่


ทางด้านซ้ายมือของสมการด้านบนจะเทียบเท่ากับพจน์ทีอยู่ทางด้านซ้ายมือของสมการที 6.4 สําหรับใน
ส่ วนของพจน์ทีอยู่ทางด้านขวามือของสมการด้านบนนันจะพบว่ามีส่วนทีแตกต่างจากพจน์ทีอยู่ทางด้าน
ขวามือของสมการที 6.4 อยู่ เนืองจากพจน์ทีอยูท่ างด้านขวามือของสมการที 6.4 ได้แสดงถึงพลังงานทีผ่าน
เข้าออกทางผิวควบคุมได้แก่งานหรื อความร้อนเท่านัน แต่จากรู ปที 6.4 จะเห็นได้ว่ายังมีพลังงานอีกรู ปแบบ
หนึ งที ผ่านเข้าออกทางผิว ควบคุ มนันคืออัตราการขนส่ งพลังงานผ่านผิวควบคุ มโดยอัตราไหลเชิ งมวล
ในขณะทีอัตราไหลเชิงมวลจะไม่ปรากฏอยูใ่ นสมการที 6.4 เนืองจากสมการที 6.4 เป็ นสมการสําหรับมวล
ควบคุมนันเอง

m& i
W& boundary

m& e
W&
Q&

รู ปที 6.3 แผนภาพสําหรับศึกษากฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม

โดยสรุ ปแล้วเราต้องเพิมพจน์ทีแสดงถึงอัตราการขนส่ งพลังงานผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิงมวลลงไป


ในสมการที 6.4 ซึงจะสามารถเขียนได้เป็ น
88

dE CV
= Q& − W& + E& mass flow ,i − E& mass flow ,o (6.5)
dt
จะเห็นได้ว่าพจน์ทีเพิมเติมเข้าไปนอกเหนือจากสมการที 6.4 ก็คือ E& mass flow ,i และ E& mass flow ,o หรื อก็คืออัตรา
การขนส่ งพลังงานผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิงมวลนันเอง
ในการขนส่ งพลังงานเข้าสู่ และออกจากปริ มาตรควบคุมนันสิ งทีจะต้องพิจารณาก็คือมีพลังงาน
รู ปแบบใดบ้างทีสารจะสามารถขนส่ งผ่านผิวควบคุมได้ พลังงานรู ปแบบแรกก็คือพลังงานทีเราได้แนะนํา
ไปแล้วในหัวข้อที 5.2 นันคือพลังงานรวมจําเพาะ (specific total energy หรื อ e) ซึงก็คือผลรวมของพลังงาน
ทุกรู ปแบบหรื อพลังงานรวมมาคิดต่อหนึงหน่วยมวลกล่าวคือ
E U + KE + PE V2
e = = = u+ + gZ
m m 2
นอกเหนือจากพลังงานรวมจําเพาะทีขนผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิงมวลแล้ว ยังมีพลังงานอีกรู ปหนึงที
ผ่านเข้าออกทางผิวควบคุมซึงมีชือว่าพลังงานไหล (flow energy หรื อ Wflow ) พลังงานไหลนันเกิดจากการที
ของไหลจะสามารถไหลเข้าสู่ ปริ มาตรควบคุมได้นนจะต้
ั องถูกดันจากก้อนของไหลทีอยูถ่ ดั ไปดังทีแสดงใน
รู ปที 6.4 (a) ลักษณะของการดันทีเกิดขึนนันเปรี ยบได้กบั การมีลูกสู บจําลองคอยดันของไหลให้ไหลเข้าสู่
ปริ มาตรควบคุมดังทีแสดงในรู ปที 6.4 (b)
area A

P F P
v v
CV CV
L
Wflow

รู ปที 6.4 พลังงานไหลของการไหล

ดังนันงานทีเกิดจากการเคลือนทีของลูกสูบทีออกแรง F เป็ นระยะทาง L ก็คือพลังงานไหลกล่าวคือ


Wflow = F L = P A L = P V
พลังงานไหลต่อหนึงหน่วยมวล (wflow) ก็จะเขียนได้เป็ น
PV
w flow = = Pv (6.6)
m
ดังนันพลังงานรวมที เกิ ดจากการไหลต่ อหนึ งหน่ วยมวลจะเกิ ดจากผลรวมของพลังงานรวมจําเพาะกับ
พลังงานไหลในสมการที 6.6 ซึงสามารถเขียนได้เป็ น
89

V2 V2
e + w flow = e + Pv = u + + gZ + Pv = h + + gZ
2 2
จะเห็ นได้ว่าพลังงานไหลได้ถูกรวมเข้ากับพลังงานภายในจําเพาะกลายไปเป็ นเอนธัลปี จําเพาะ ดังนัน
พลังงานรวมทีเกิดจากการไหลต่อหนึ งหน่วยมวลก็คือผลรวมระหว่างเอนธัลปี จําเพาะ พลังงานจลน์ต่อหนึ ง
หน่ วยมวลและพลังงานศักย์ต่อหนึ งหน่วยมวล เราจะเรี ยกผลรวมดังกล่าวว่าเอนธัลปี รวม (total enthalpy
หรื อ htotal) ซึงจะสามารถเขียนได้เป็ น
V2
h total = h + + gZ (6.7)
2
ดังนัน E& mass flow ,i และ E& mass flow ,o จะสามารถเขียนได้เป็ น
E& mass flow ,i = m& i h total ,i และ E& mass flow ,e = m& e h total ,e (6.8)
จากนันแทนค่าในสมการที 6.8 ข้างต้นลงไปในสมการที 6.5 ผลทีได้คือ
dE CV
= Q& − W& + m& i h total ,i − m& e h total ,e
dt
ทังนีทังนันอาจจะเป็ นไปได้ว่าทางเข้าและทางออกของปริ มาตรควบคุมอาจจะมีหลายทาง ดังนันจึงต้องเพิม
เครื องหมายผลบวกลงไปข้างหน้าพจน์ทีมีการไหลปรากฏอยู่ จะได้วา่
dE CV
dt
= Q& − W& + ∑ m& h i total ,i − ∑ m& h e total ,e
(6.9)
V2 V2
= Q& − W& + ∑ m& ⎛⎜ h i i + i + gZ i ⎞⎟ − ∑ m& e ⎛⎜ h e + e + gZ e ⎞⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
สมการที 6.9 คือกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมและอยู่ในรู ปทัวไปก่อนทีจะ
นําไปลดรู ปเพือใช้งานในกรณี เฉพาะต่อๆ ไป ทังนีหากทบทวนสมการที 6.9 อีกครังพบว่าด้านซ้ายมือของ
สมการคืออัตราการเปลียนแปลงพลังงานทีเกิดขึนภายในปริ มาตรควบคุม ทังนีหากเราย้อนกลับไปดูสมการ
ที 6.5 ซึงเป็ นต้นแบบของสมการที 6.9 จะพบว่า
⎛ ⎛ V2 ⎞⎞
E CV = (m e )CV = ⎜⎜ m ⎜ u + + gZ ⎟ ⎟⎟ (6.10)
⎝ ⎝ 2 ⎠ ⎠ CV
ส่ วนทางด้านขวามือของสมการที 6.9 คืออัตราการถ่ายเทพลังงานในรู ปแบบต่างๆ ทีเข้าสู่ และออกจาก
ปริ มาตรควบคุมผ่านทางผิวควบคุมซึ งได้แก่อตั ราการถ่ายเทความร้อน กําลัง และอัตราการขนส่ งพลังงาน
โดยอัตราไหลเชิงมวล อนึ งอัตราการถ่ายเทความร้อนและกําลังจะต้องมีเครื องหมายตามสัญนิ ยมทีกําหนด
ด้วยเช่นกัน
90

6.3 กระบวนการภาวะคงตัว
ในกระบวนการต่างๆ ที เกี ยวข้องกับทางวิศวกรรมนันส่ วนมากจะเป็ นกระบวนการภาวะคงตัว
(steady-state process) ซึงจะอยูภ่ ายใต้สมมติฐานทีว่า
1) ปริ มาตรควบคุมไม่เคลือนทีเมือเทียบกับกรอบอ้างอิงทีกําหนด
2) ภาวะของมวลในแต่ละตําแหน่งของปริ มาตรควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา
3) ค่าของอัตราไหลเชิงมวลและภาวะของสารทีไหลผ่านผิวควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา
4) อัตราการถ่ายเทความร้อนและกําลังผ่านผิวควบคุมเป็ นค่าคงตัว
ตัวอย่างของอุปกรณ์ทีมีการทํางานภายใต้กระบวนการภาวะคงตัวได้แก่ กังหัน เครื องอัด เครื องสูบ อุปกรณ์
แลกเปลียนความร้อน ห้องผสม หัวฉี ด ดิฟฟิ วเซอร์ เป็ นต้น จะเห็นได้ว่าในช่วงของการเริ มเดินเครื องนัน
อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านีจะอยูใ่ นสภาวะชัวขณะ (transient) ซึงภาวะทีจุดต่างๆ หรื อแม้กระทังอัตราไหลของสาร
ก็ยงั คงแปรเปลียนตามเวลาอยู่ เป็ นผลให้ขอ้ สมมติฐานของกระบวนการภาวะคงตัวนันจะไม่สมเหตุสมผล
เท่าใดนัก แต่เมือใดก็ตามทีอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านันได้เดินเครื องไปเป็ นระยะเวลานาน จะพบว่าอัตราไหล
และภาวะของสารจะเริ มคงทีและไม่แปรเปลียนตามเวลาแต่ภาวะของสารอาจจะแปรเปลียนตามตําแหน่ ง
ต่างๆ ซึ งนันก็หมายความว่าอุปกรณ์ต่างๆ ได้เข้าสู่ กระบวนการภาวะคงตัวแล้ว อนึ งในตําราบางเล่มอาจจะ
อ้างอิงถึงกระบวนการภาวะคงตัวว่ากระบวนการไหลคงตัว (steady flow process) ก็ได้
จากข้อสมมติฐานทังสี ข้อทีกล่าวมาข้างต้น จะส่ งผลต่อสมการการอนุรักษ์มวลและกฎข้อทีหนึงของ
เธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมคือ
1) เนื องจากปริ ม าตรควบคุ ม ไม่ มีก ารเคลื อนที ดัง นันงานขอบเขตเคลื อนที ที เกิ ด จากปริ ม าตร
ควบคุมจึงเป็ นศูนย์ ในขณะเดียวกันงานทีเกิดจากความเร่ งเนืองจากปริ มาตรควบคุมทีเคลือนทีก็
เป็ นศูนย์เช่นเดียวกัน
2) เนื องจากภาวะของสารทีตําแหน่ งใดๆ ภายในปริ มาตรควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา ดังนัน
อัตราการสะสมมวลและพลังงานภายในปริ มาตรควบคุมจึงมีค่าเป็ นศูนย์ จากสมการที 6.1
และ 6.9 จะได้วา่
dM CV dE CV
= 0 และ = 0
dt dt
3) เนืองจากอัตราไหลเชิงมวล ภาวะของสารทีไหลผ่านผิวควบคุม อัตราการถ่ายเทความร้อนและ
กําลังทีผ่านผิวควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา ดังนันปริ มาณทีแสดงอยูใ่ นสมการที 6.1 และ 6.9
ทังหมดก็จะไม่เป็ นฟังก์ชนั ของเวลา
จากผลทังสามข้อดังกล่าว สมการการอนุ รักษ์มวลและกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตร
ควบคุมจะสามารถเขียนได้เป็ น
91

0 = ∑ m& − ∑ m&
i e (6.11)
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟ (6.12)

สําหรั บอุปกรณ์ ทีมีทางเข้าและทางออกอย่างละหนึ งทางซึ งมีชือเรี ยกโดยย่อว่าอุปกรณ์ การไหลเชิ งเดี ยว


(single stream device) นัน สมการการอนุรักษ์มวลจะสามารถเขียนได้เป็ น
m& i = m& e = m& (6.13)
เป็ นผลให้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมลดรู ปเหลือเป็ น
Vi 2 ⎛ Ve 2

0 = Q& − W& + m& ⎜ h i + ⎞
+ gZ i ⎟ − m& ⎜ h e + + gZ e ⎞⎟ (6.14)
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
หรื อในบางครังเราจะเขียนกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ในรู ปของพลังงานต่อหนึงหน่วยมวลซึงจะทํา
ได้โดยการหารสมการที 6.14 ด้วย m& จะได้วา่
V2 V2
0 = q − w + ⎛⎜ h i + i + gZ i ⎞⎟ − ⎛⎜ h e + e + gZ e ⎞⎟ (6.15)
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
โดยที q = Q& / m& และ w = W& / m& จะเห็นได้วา่ ทัง q และ w นันเป็ นการถ่ายเทความร้อนจําเพาะและงาน
จําเพาะทีเกิดจากสัดส่ วนของปริ มาณทีเขียนอยูใ่ นรู ปของอัตราและจะมีคล้ายคลึงกับสมการที 4.2 และ 4.12

6.4 ตัวอย่างของกระบวนการภาวะคงตัว
1) อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน
อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน (heat exchanger) เป็ นชือโดยทัวไปทีใช้สาํ หรับเรี ยกอุปกรณ์ทีใช้
สํา หรั บ ในการแลกเปลี ยนความร้ อ นระหว่ า งของไหลจํา นวนสองชนิ ด แต่ ใ นทางปฏิ บ ัติ นันอุ ป กรณ์
แลกเปลียนความร้อนจะมีชือเรี ยกแตกต่างกันแล้วแต่การใช้งาน ตัวอย่างเช่นหม้อนํารถยนต์ (radiator) ใช้
สําหรับแลกเปลียนความร้ อนระหว่างนําระบายความร้ อนทีมาจากเครื องยนต์กบั อากาศภายนอก เครื อง
ระเหย (evaporator) ใช้สาํ หรับแลกเปลียนความร้อนระหว่างสารทําความเย็นกับสื อทีใช้สาํ หรับส่ งผ่านความ
เย็นซึงใช้สาํ หรับระบบปรับอากาศ รี คูเพอเรเตอร์ (recuperator) ใช้สาํ หรับแลกเปลียนความร้อนระหว่างไอ
เสี ยกับอากาศทีใช้ในการเผาไหม้ซึงใช้ในเตาเผาสําหรั บอุตสาหกรรมต่างๆ เป็ นต้น เงือนไขต่างๆ ของ
กระบวนการทีเกิดขึนจากอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนมีดงั ต่อไปนี
− กระบวนการทีเกิดขึนในของไหลแต่ละชนิดจะมีความดันค่อนข้างคงที ทังนีในความเป็ นจริ งจะ
เกิดความดันตก (pressure drop) อันเนืองมาจากแรงเสี ยดทานระหว่างของไหลกับท่อซึงจะทํา
ให้ค่าความดันลดลงเล็กน้อย
92

− โดยปรกติแล้วอุปกรณ์ แลกเปลียนความร้ อนมี วตั ถุประสงค์เพือให้เกิ ดการถ่ายเทความร้ อน


ระหว่างของไหลทังสอง ดังนันการถ่ายเทความร้อนสู่สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์
− งานทีเกิดขึนเป็ นศูนย์
− การเปลียนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
แผนภาพที ใช้แ สดงถึ ง อุ ป กรณ์ แ ลกเปลี ยนความร้ อ นจะแสดงอยู่ใ นรู ป ที 6.5 จะเห็ น ได้ว่ า ในอุ ป กรณ์
แลกเปลียนความร้อนนันของไหลทังสองชนิ ดจะไม่สัมผัสกันโดยตรง นอกจากนันยังมีการเพิมพืนทีสัมผัส
ระหว่างของไหลทังสองให้เพิมมากขึนเพือจะเพิมประสิ ทธิภาพการถ่ายเทความร้อนให้ได้มากทีสุ ด
ของไหล 2
ของไหล 2
ของไหล 2
ของไหล 1
ของไหล 1 ของไหล 1

รู ปที 6.5 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน

2) ห้องผสมและห้องแยก
ห้องผสม (mixing chamber) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับผสมของไหลทีไหลมารวมกันตังแต่สองสาย
ขึนไปเข้าด้วยกันเพือให้ได้ของไหลอยู่ในภาวะทีต้องการ ลักษณะของห้องผสมมีได้หลากหลายตังแต่ถงั
หรื อภาชนะรู ปต่างๆ หรื อแม้กระทังอยู่ในรู ปของข้อต่อตัวทีหรื อตัววายเพือให้ของไหลสองสายไหลมา
รวมกันก็ได้ ส่ วนห้องแยก (separate chamber) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับแยกของไหลออกไปเป็ นหลายสาย
ทังนี โดยมากจะใช้สาํ หรับแยกของผสมสองสถานะออกไปเป็ นไออิมตัวและของเหลวอิมตัว ลักษณะของ
ห้องแยกโดยมากมักจะอยูใ่ นรู ปของถังหรื อภาชนะ จากนันอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแยกสถานะของเหลว
ออกจากทางด้านล่างของภาชนะในขณะทีสถานะไอจะลอยขึนด้านบน เงือนไขต่างๆ ของกระบวนการที
เกิดขึนจากห้องผสมและห้องแยกมีดงั ต่อไปนี
− จากหลักการอนุรักษ์มวลทําให้ผลรวมของอัตราไหลขาเข้าเท่ากับผลรวมของอัตราไหลขาออก
− กระบวนการทีเกิดขึนภายในห้องผสมหรื อห้องแยกจะมีความดันค่อนข้างคงที ดังนันเส้นทาง
ของของไหลทุกๆ สายทีเข้าสู่หรื อออกจากห้องผสมหรื อห้องแยกจะมีความดันเท่ากัน
− การถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์เพราะเนื องจากกระบวนการผสมหรื อแยก
จะเกิดขึนได้ในเวลาอันสัน รวมทังการหุม้ ฉนวนของภาชนะทีป้ องกันความร้อนสูญเสี ย
− งานทีเกิดขึนเป็ นศูนย์
− การเปลียนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
93

แผนภาพทีใช้แสดงถึงห้องผสมและห้องแยกจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 6.6


ห้องผสม ห้องแยก

รู ปที 6.6 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงห้องผสมและห้องแยก

3) หัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์
หัวฉี ด (nozzle) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับเร่ งของไหลให้มีความเร็ วเพิมขึน ในขณะทีดิฟฟิ วเซอร์
(diffuser) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับหน่ วงของไหลมีความเร็ วลดลง จะเห็นได้ว่าอุปกรณ์ทงสองอย่ ั างนี จะ
ทํางานตรงกันข้ามกัน สําหรั บหัวฉี ดนันความเร็ วทีเพิมขึนจะทําให้ความดันของของไหลมีค่าลดตําลง
ในทางตรงกันข้ามในส่ วนของดิฟฟิ วเซอร์ นันความเร็ วทีลดลงจะทําให้ความดันของของไหลมีค่าเพิมขึน
เงือนไขต่างๆ ของกระบวนการทีเกิดขึนจากหัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์มีดงั ต่อไปนี
− งานทีเกิดขึนเป็ นศูนย์
− การถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์ ยกเว้นในกรณี พิเศษทีมีการระบุถึงการ
ระบายความร้อนออกจากตัวหัวฉีด
− การเปลียนแปลงพลังงานศักย์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
− การเปลียนแปลงพลังงานจลน์ไม่สามารถละทิงได้เนื องจากสิ งทีเราต้องการคือความเร็ วของ
ของไหลทีเพิมขึนหรื อลดลง
แผนภาพทีใช้แสดงถึงหัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์ทีใช้งานโดยในสภาพทัวๆ ไปทีไม่ใช่กรณี ทีใช้สาํ หรับความเร็ ว
สูงกว่าความเร็ วเสี ยงจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 6.7 จะเห็นได้วา่ หัวฉีดจะมีลกั ษณะคล้ายท่อทีมีพืนทีหน้าตัดทีลดลง
ในขณะทีดิฟฟิ วเซอร์ จะมีลกั ษณะตรงกันข้ามนันคือมีพืนทีหน้าตัดเพิมขึน ทังนี หากพิจารณาจากสมการที
6.13 เราจะอธิบายได้ว่าเพือให้ m& มีค่าคงทีตลอดทุกหน้าตัดของหัวฉี ดหรื อดิฟฟิ วเซอร์ จาก m& = V A / v
จะเห็นได้ว่าสําหรับหัวฉี ด หนทางหนึ งทีจะทําให้ความเร็ วเพิมขึนได้นนก็ ั คือการลดพืนทีหน้าตัดลงเพือจะ
รักษาค่า m& ให้มีค่าคงทีตลอดทุกหน้าตัด ส่ วนในกรณี ของดิฟฟิ วเซอร์ ก็จะมีลกั ษณะทีตรงกันข้ามนันก็คือ
ความเร็ วจะลดลงได้เมือทําการเพิมพืนทีหน้าตัดเพือจะได้รักษาค่า m& ให้มีค่าคงทีตลอดทุกหน้าตัด
หัวฉีด ดิฟฟวเซอร์

Vout > Vin Vout < Vin

รู ปที 6.7 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงหัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์ทีใช้งานโดยทัวไป


94

4) กังหัน เครื องอัด เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบ


กังหัน (turbine) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับในการผลิตงานเพลา (shaft work) อันเป็ นผลมาจากการที
แก๊สทีมีความดันสูงขับและหมุนใบพัดซึงต่ออยูก่ บั เพลานันๆ จากนันแก๊สทีผ่านกังหันไปแล้วก็จะมีความดัน
ทีลดลง เครื องอัด (compressor) จะทํางานในทางตรงกันข้ามกับกังหันนันก็คือ เครื องอัดเป็ นอุปกรณ์ทีใช้
สําหรับเพิมความดันของแก๊สโดยอาศัยแรงขับจากงานเพลา สําหรับเครื องเป่ าลม (blower) และพัดลม (fan)
นันมี ลกั ษณะเดี ยวกันกับเครื องอัดเพียงแต่ว่าระดับของความดันที เพิมขึนของแก๊สจะต่างกัน เครื องสู บ
(pump) จะมี วตั ถุประสงค์เช่ นเดี ยวกับเครื องอัดเพียงแต่ว่าของไหลทีใช้เป็ นของเหลวแทนที จะเป็ นแก๊ส
ตามสัญนิยมทีกําหนด งานจากกังหันจะมีเครื องหมายเป็ นบวก ในขณะทีงานจากเครื องอัด เครื องเป่ าลม พัด
ลม และเครื องสู บจะมีเครื องหมายเป็ นลบ เงือนไขต่างๆ ของกระบวนการทีเกิดขึนจากกังหัน เครื องอัด
เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบมีดงั ต่อไปนี
− งานทีเกิดขึนไม่เป็ นศูนย์เนืองจากงานเพลา
− การถ่ายเทความร้อนสู่สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์ ยกเว้นในกรณี ทีมีความร้อนสู ญเสี ยเกิดขึน
หรื อมีการระบุถึงการระบายความร้อนออกจากอุปกรณ์ดงั กล่าว
− การเปลียนแปลงพลังงานศักย์และพลังงานจลน์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
แผนภาพทีใช้แสดงถึงกังหัน เครื องอัด เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 6.8

กังหัน เครืองอัด
W& W& W&

เครืองเปาลม พัดลม
เครืองสูบ
W&
W& W& W&
รู ปที 6.8 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงกังหัน เครื องอัด เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบ

5) ธรอตทลิงวาล์ว
ธรอตทลิงวาล์ว (throttling valve) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับขัดขวางหรื อหน่วงเหนี ยวการไหลของ
ของไหลเพือให้ก่อให้เกิ ดความดันตกอย่างรวดเร็ ว ตัวอย่างของธรอตทลิงวาล์วได้แก่ วาล์วทีใช้สําหรั บ
ควบคุมอัตราไหลทีพบได้โดยทัวไป หลอดรู เล็ก (capillary tube) ทีมีลกั ษณะเป็ นท่อขนาดเล็กซึงใช้ในระบบ
ทําความเย็นเป็ นต้น การขัดขวางหรื อหน่วงเหนียวการไหลนันส่ วนมากจะทําได้โดยการทําให้พืนทีหน้าตัด
ในระหว่างการไหลมีขนาดลดลง เงือนไขต่างๆ ของกระบวนการทีเกิดขึนจากธรอตทลิงวาล์วมีดงั ต่อไปนี
95

− งานทีเกิดขึนเป็ นศูนย์
− การถ่ายเทความร้อนสู่สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์
− การเปลียนแปลงพลังงานศักย์และพลังงานจลน์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
แผนภาพทีใช้แสดงถึงธรอตทลิงวาล์วจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 6.9

รู ปที 6.9 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงธรอตทลิงวาล์ว

ตัวอย่างที 6.2
อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนซึ งมีฉนวนความร้อนหุ ้มภายนอกอันหนึ งทําหน้าทีแลกเปลียนความ
ร้อนระหว่างไอนําและอากาศ ไอนําอิมตัวทีอัตราไหลเชิงมวล 2.0 kg/s ทีความดัน 600 kPa คายความร้อน
ให้แก่อากาศจนกระทังกลายเป็ นของผสมสองสถานะ ในขณะเดียวกันอากาศทีอัตราไหลเชิงมวล 24 kg/s ที
อุณหภูมิ 25oC ความดัน 100 kPa ได้รับความร้อนจนกระทังมีอุณหภูมิสูงขึนเป็ น 130oC จงหาคุณภาพสาร
สองสถานะของนําเมือออกจากอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน
วิธีทาํ
CV อากาศ
ปริ มาตรควบคุม: อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนทังหมด A
กระบวนการ: ไอโซบาริ ก (แยกไอนํากับอากาศ)
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ของนํา 1 2
อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ ไอนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: m& s , P1, x1, m& a , TA, PA, TB B
ตัวแปรทีต้องการ: x2
จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด เริ มต้นทีการหาสมบัติของนําก่อน
ภาวะที 1: P1 = 600 kPa
x1 = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไออิมตัว
h1 = 2,756.80 kJ/kg
จากนันหาสมบัติของอากาศ ทังนีการหาเอนธัลปี ของอากาศจะใช้วิธีการเปิ ดตาราง ผ.6
ภาวะที A: PA = 100 kPa, TA = 25oC
จากตาราง ผ.6 TA = 298.15 K จะได้ hA = 298.15 kJ/kg
ภาวะที B: PB = PA = 100 kPa, TB = 130oC
จากตาราง ผ.6 TB = 403.15 K จะได้ hB = 404.50 kJ/kg
96

ถึงแม้วา่ การเลือกปริ มาตรควบคุมตามทีแสดงในรู ปจะทําให้ทางเข้าและออกมีอย่างละสองทาง แต่เนืองจาก


นําและอากาศไม่ได้ผสมกัน ดังนันเราจึงสามารถแยกคิดสมการการอนุรักษ์มวลของสารแต่ละชนิดได้ และ
ถ้าหากพิจารณาเฉพาะด้านนําหรื ออากาศด้านใดด้านหนึง จะพบว่ามีทางเข้าและทางออกอย่างละหนึงทาง จึง
ทําให้เราสามารถเขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้เป็ น
สมการการอนุรักษ์มวลด้านนํา
m& 1 = m& 2 = m& s = 2.0 kg / s
สมการการอนุรักษ์มวลด้านอากาศ
m& A = m& B = m& a = 24 kg / s
สําหรับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน เนื องจากเราได้เลือกปริ มาตรควบคุม
เป็ นดังรู ปและอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนมีฉนวนหุ ม้ จึงทําให้ Q& = 0 นอกจากนี W& = 0 เนืองจากไม่
ปรากฏงานใดๆ เกิดขึน และ ΔKE และ ΔPE มีค่าน้อยมาก ดังนัน

กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

0 = ∑ m& h − ∑
i i m& e h e
0 = (m& 1 h 1 + m& A h A ) − (m& 2 h 2 + m& B h B )
แทนค่า m& s และ m& a จากสมการการอนุรักษ์มวล จะได้เป็ น
0 = m& s (h 1 − h 2 ) + m& a (h A − h B )
kg ⎛ kJ ⎞ kg ⎛ kJ ⎞
0 = 2.0 ⎜ 2,756.80 − h 2 ⎟ + 24 ⎜ 298.62 − 404.50 ⎟
s⎝ kg ⎠ s⎝ kg ⎠
kJ
h 2 = 1,486.29
kg
ภาวะที 2: P2 = P1 = 600 kPa
h2 = 1,486.29 kJ/kg ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
สําหรับเอนธัลปี ของของผสมสองสถานะสามารถเขียนได้เป็ น
h 2 = (1 − x 2 ) h f + x 2 h g
kJ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
1,486.29 = (1 − x 2 )⎜ 670.54 ⎟ + (x 2 )⎜ 2,756.80 ⎟
kg ⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
x2 = 0.3910 คําตอบ
97

หมายเหตุ
ข้อ สัง เกตหนึ งที ได้ก็คื อการเลื อ กปริ ม าตรควบคุ มให้ค รอบคลุ มอุ ปกรณ์ แ ลกเปลี ยนความร้ อ น
ทังหมดดังทีแสดงในรู ปตอนต้นของตัวอย่างนัน จะทําให้เราไม่สามารถคํานวณหาความร้อนทีถ่ายเทระหว่าง
ของไหลทังสองชนิด(ซึ งในทีนีก็คือนําและอากาศ)ได้เนื องจากความร้อนดังกล่าวอยูภ่ ายในปริ มาตรควบคุม
ซึงตามนิยามในบทที 4 เราจะไม่สามารถเรี ยกพลังงานรู ปนีได้ว่าเป็ นความร้อนอีกต่อไป แต่พลังงานรู ปนีจะ
รวมอยู่ในเอนธัลปี ของของไหลทีผ่านเข้าออกปริ มาตรควบคุมแทน ดังนันหากต้องการจะคํานวณหาความ
ร้อนทีถ่ายเทระหว่างของไหล จะต้องเปลียนปริ มาตรควบคุมเสี ยใหม่ให้ครอบคลุมเฉพาะของไหลชนิ ดใด
ชนิดหนึงดังรู ปด้านล่าง ซึงเป็ นการเลือกปริ มาตรควบคุมเฉพาะนําเพียงอย่างเดียว

CV อากาศ
A

1 Q& 2
ไอนํา
B

จะได้ว่า W& = 0, ΔKE และ ΔPE มีค่าน้อยมากเช่นเดิม แต่ Q& ไม่เป็ นศูนย์เนืองจากมีการถ่ายเทความร้อน
ระหว่างนํากับสิ งทีอยูภ่ ายนอกปริ มาตรควบคุม ดังนันกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะเขียนได้เป็ น
0 = Q& + m& i h i − m& e h e
kg ⎛ kJ ⎞
Q& = m& s (h 2 − h 1 ) = 2.0 ⎜ 1,486.29 − 2,756.80 ⎟
s⎝ kg ⎠
Q& = − 2,541 kW
จะเห็นว่า Q& มีเครื องหมายเป็ นลบนันคือไอนําถ่ายเทความร้อนออกไปสู่ อากาศจนทําให้ควบแน่ นไปเป็ น
ของเหลวบางส่ ว น ในขณะเดี ย วกัน อากาศก็รับ ความร้ อนก็ทาํ ให้อุณ หภู มิมี ค่าสู ง ขึ น หากลองเปลี ยน
ปริ มาตรควบคุมให้ครอบคลุมเฉพาะอากาศเพียงอย่างเดียว ก็จะสามารถคํานวณค่า Q& ได้เท่ากับ 2,541 kW
เช่นเดียวกับด้านบนแต่เครื องหมายจะเป็ นตรงกันข้าม เพราะความร้อนถ่ายเทเข้าสู่อากาศ

ตัวอย่างที 6.3
ไอนําทีความดัน 2 MPa อุณหภูมิ 350oC ความเร็ ว 100 m/s ไหลเข้าสู่ กงั หันไอนําเพือใช้ในการผลิต
กระแสไฟฟ้ า จากนันไอนําไหลออกจากกังหันทีอุณหภูมิ 45oC คุณภาพสารสองสถานะ 0.92 ความเร็ ว 5 m/s
ตําแหน่งทีไอนําไหลเข้าสู่ กงั หันอยูส่ ู งกว่าตําแหน่งทีนําไหลออกอยู่ 4 m ถ้าไอนําไหลเข้ากังหันด้วยอัตรา
ไหลเชิงปริ มาตร 0.25 m3/s และความร้อนสู ญเสี ยออกจากกังหันมีค่าน้อยมาก จงหาว่ากําลังของเพลาทีออก
จากกังหันมีค่าเท่าไร
98

วิธีทาํ ไอนํา
ปริ มาตรควบคุม: กังหันไอนํา CV
1
กระบวนการ: แอเดียแบติก W&
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา z1−z2
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, V1, T2, x2, V2, Z1−Z2 , V&1
2
ตัวแปรทีต้องการ: W&
จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด เริ มต้นทีการหาสมบัติของนําก่อน
ภาวะที 1: P1 = 2 MPa
T1 = 350oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
v1 = 0.13857 m3/kg
h1 = 3,136.96 kJ/kg
ภาวะที 2: T2 = 45oC
x2 = 0.92 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
h 2 = (1 − x 2 ) h f + x 2 h g = ( 0.08 )⎜ 188.42 ⎟ + ( 0.92 )⎜ 2,583.19 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
h2 = 2,391.61 kJ/kg

เนืองจากกังหันเป็ นอุปกรณ์การไหลเชิงเดียว จึงทําให้เขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้เป็ น


สมการการอนุรักษ์มวล
m& 1 = m& 2 = m&
แต่เราทราบค่า V&1 ดังนันเราจึงสามารถหา m& ได้จาก
V&1 0.25 m 3 / s
m& = =
v1 0.13857 m 3 / kg
kg
m& = 1.8041
s
ในส่ วนของกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ สําหรับปริ มาตรควบคุมนัน เนื องจากกังหันได้มีการหุ ้ม
ฉนวนดังนัน Q& = 0 อย่างไรก็ตามโจทย์ได้ระบุขอ้ มูลเกียวกับ V1 และ V2 รวมทัง Z1−Z2 ด้วย จึงทําให้
ΔKE และ ΔPE ยังละทิงไม่ได้ ดังนันจะได้วา่
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

99

V2 V2
W& = m& 1 ⎛⎜ h 1 + 1 + gZ1 ⎞⎟ − m& 2 ⎛⎜ h 2 + 2 + gZ 2 ⎞⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
V − V2 ⎞
2 2
W& = m& (h 1 − h 2 ) + m& ⎛⎜ 1 ⎟ + m& g (Z1 − Z 2 )
⎝ 2 ⎠
⎡ ⎛ V1 2 − V2 2 ⎞ ⎤
W& = m& ⎢(h 1 − h 2 ) + ⎜ ⎟ + g (Z1 − Z 2 )⎥
⎣ ⎝ 2 ⎠ ⎦
kg ⎡⎛ kJ ⎞ ⎛ 100 2 − 52 kJ ⎞ ⎛ 9.81 ( 4 ) kJ ⎞⎤
W& = 1.8041 ⎢⎜ 3,136.96 − 2,391.61 ⎟ + ⎜ ⎟ +⎜ ⎟
s ⎣⎝ kg ⎠ ⎝ 2 ×1,000 kg ⎠ ⎝ 1,000 kg ⎠⎥⎦
kg ⎡⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞⎤
W& = 1.8041 ⎢⎜ 745.352 ⎟ + ⎜ 4.9875 ⎟ + ⎜ 0.03924 ⎟⎥
s ⎣⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠⎦
kg ⎡ kJ ⎤
W& = 1.8041 ⎢750.378 ⎥
s ⎣ kg ⎦
W& = 1,354 kW คําตอบ
หมายเหตุ
จากตัวอย่างข้างต้นนันจะเห็ นได้ว่าหากเปรี ยบเทียบพจน์จาํ นวนสามพจน์ทีอยู่ในวงเล็บสี เหลียม
กล่าวคือ h1−h2 = Δh, 0.5(V12−V22) = Δke และ g(Z1−Z2) = Δpe จะพบว่าค่าของ Δh จะมีค่ามากทีสุ ด
คือจะมีค่าประมาณร้อยละ 99.3 ของค่าทังหมดในวงเล็บสี เหลียม ในขณะที Δke จะคิดเป็ นประมาณร้อยละ
0.7 ส่ วน Δpe จะมีค่าน้อยมากจนแทบไม่มีผลกระทบใดๆ ดังนันจะเห็นเป็ นทีค่อนข้างชัดเจนว่าข้อ
สมมติฐานทีว่า Δpe ≈ 0 นันค่อนข้างทีจะถูกต้อง ส่ วนข้อสมมติฐานทีว่า Δke ≈ 0 นันจะเห็นได้ว่าก็ยงั ถือ
ว่าเป็ นข้อสมมติฐานทียอมรับได้ยกเว้นในกรณี ทีผลต่างของความเร็ วระหว่างทางเข้าและทางออกมีค่าสู ง
มากๆ เท่านัน ดังนันในทางปฏิบตั ิส่วนใหญ่ เราจะสนใจแต่ค่า Δh เพียงค่าเดียวเพือนําไปคํานวณหากําลัง
ของกังหัน คําตอบทีได้กจ็ ะมีความแม่นยําเพียงพอกับงานทางวิศวกรรม

ตัวอย่างที 6.4
จงพิสูจน์ว่ากระบวนการทีมีของไหลไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วเป็ นกระบวนการทีทําให้เอนธัลปี ของ
ของไหลมีค่าคงที
วิธีทาํ CV
ปริ มาตรควบคุม: ธรอตทลิงวาล์ว 1 2
กระบวนการ: -
เนื องจากธรอตทลิงวาล์วมีทางเข้าและทางออกอย่างละหนึ งทาง จึงทําให้เขียนสมการการอนุ รักษ์
มวลได้เป็ น
100

สมการการอนุรักษ์มวล
m& 1 = m& 2 = m&
สําหรับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน เนืองจากเวลาทีเกิดขึนในขณะทีของ
ไหลไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วนันเป็ นเพียงช่วงเวลาทีสันมาก รวมทังมีพืนทีสําหรับการถ่ายเทความร้อนมี
ค่อนข้างน้อย ดังนันจึงสามารถตังสมมติฐานได้ว่า Q& = 0 สําหรับ W& นันมีค่าเป็ นศูนย์อย่างแน่นอนเพราะ
ไม่มีงานรู ปใดปรากฏ นอกจากนี ΔKE และ ΔPE ก็สามารถทีจะละทิงได้ ดังนันจะได้วา่
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

0 = ∑m& i (h i ) −∑ m& e (h e )
0 = m& (h 1 )− m& (h 2 )

จากสมการการอนุรักษ์มวล ทําให้ m& มีค่าคงที ดังนัน


h1 = h 2 คําตอบ
นันก็หมายความว่ากระบวนการทีของไหลไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วจึงเทียบเท่ากับกระบวนการทีมีเอนธัลปี
คงที ซึงในหนังสื อบางเล่มจะเรี ยกกระบวนนีว่ากระบวนการไอเซนธัลปิ ก (isenthalpic process)
หมายเหตุ
จะเห็นได้ว่าถ้าของไหลทีไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วเป็ นแก๊สอุดมคติ ผลทีได้ก็คือกระบวนการไหล
ผ่านธรอตทลิงวาล์วก็จะเป็ นกระบวนการไอโซเธอร์ มลั ไปโดยปริ ยาย ทังนี เนื องจากเอนธัลปี ขึนอยู่กับ
อุณหภูมิเพียงอย่างเดียวในแก๊สอุดมคติ ดังนันเมือเอนธัลปี คงที อุณหภูมิจึงคงทีตาม

6.5 กระบวนการชัวขณะ
กระบวนการชัวขณะ (transient process) เป็ นกระบวนการทีเกิดขึนเมือระบบไม่อยูใ่ นภาวะคงตัว ซึง
เราจะพบว่ามีการใช้งานหลายประเภทเป็ นกระบวนการชัวขณะตัวอย่างเช่น กระบวนการอัดแก๊สลงไปในถัง
กระบวนการปล่อยนําทิงจากอ่าง เป็ นต้น ดังนันเพือให้การพิจารณาปั ญหามีความซับซ้อนน้อยลง เราจึง
ตังสมมติฐานเกียวกับกระบวนการชัวขณะดังต่อไปนี
1) ปริ มาตรควบคุมสามารถทีจะเปลียนขนาดได้ซึงเป็ นผลมาจากงานขอบเขตเคลือนที
2) ภาวะของมวลในปริ มาตรควบคุมแปรเปลียนตามเวลาได้ แต่จะไม่แปรเปลียนตามตําแหน่ง
3) ภาวะของมวลทีไหลผ่านเข้าสู่ หรื อออกจากปริ มาตรควบคุมจะไม่แปรเปลียนตามเวลา ในขณะ
ทีอัตราไหลเชิงมวลสามารถแปรเปลียนตามเวลาได้
101

จากสมการการอนุรักษ์มวลหรื อสมการที 6.1 ทีเวลาใดๆ จะได้วา่


dm CV
dt
= m& i − ∑ m& e ∑
เมือทําการหาปริ พนั ธ์จาํ กัดเขตของสมการการอนุรักษ์มวลบนช่วงเวลา t ใดๆ จะได้วา่
t t t
dm CV

0
dt
dt =
∫ ∑ m& dt − ∫ ∑ m& dt
0
i
0
e

(m 2 −m 1 )CV = ∑m − ∑m i e (6.16)
ผลของสมการที 6.16 ทีได้ก็คือสมการการอนุรักษ์มวลทีใช้สาํ หรับกระบวนการชัวขณะในระหว่างช่วงเวลา
t ใดๆ นันเอง
ในส่ วนของกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน จากสมการที 6.9
dE CV
dt
= Q& − W& + ∑
m& i h total ,i − m& e h total ,e ∑
หากทําการหาปริ พนั ธ์จาํ กัดเขตของกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์บนช่วงเวลา t ใดๆ โดยพิจารณาไป
ทีละพจน์จะได้วา่
d (m e )CV
t t
dE CV

0
dt
dt =

dt
0
dt = (m 2 e 2 −m 1 e 1 )CV

t t

∫ Q& dt
0
= Q และ
∫ W& dt
0
= W

t t

∫ ∑m& h
0
i total , i dt = ∑m h i total , i และ
∫ ∑m& h
0
e total ,e dt = ∑m h
e total ,e

ดังนันเมือแทนผลจากการหาปริ พนั ธ์บนช่วงเวลา t ใดๆ ของแต่ละพจน์ลงในกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โม


ไดนามิกส์ จะได้วา่
(m 2 e 2 −m 1 e 1 )CV = Q − W + ∑ m i h total ,i − ∑ m e h total ,e
หรื ออาจจะเขียนอยูใ่ นรู ปเต็มได้คือ
⎛ ⎛ V2 2 ⎞ ⎛ V1 2 ⎞
⎜ m2 ⎜ u2 + + gZ 2 ⎟ −m ⎜ u 1 + + gZ1 ⎞⎟ ⎟ = Q − W
⎝ ⎝ 2 ⎠ 1⎝ 2 ⎠ ⎠ CV
(6.17)
Vi 2 Ve 2
+ ∑ ⎛
mi ⎜ hi +
⎝ 2

+ gZ i ⎟ −


me ⎜ he +
⎝ 2∑ + gZ e ⎞⎟

102

สมการที 6.17 ก็คือกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สําหรับปริ มาตรควบคุมทีใช้สําหรับกระบวนการ


ชัวขณะในระหว่างช่วงเวลา t ใดๆ

ตัวอย่างที 6.5
ถังหุ ้มฉนวนขนาด 200 L บรรจุนาอยู ํ ภ่ ายในทีความดัน 200 kPa คุณภาพสารสองสถานะ 0.7
นอกจากนี ถังได้เชือมต่อกับท่อส่ งไอนําทีภาวะไออิมตัวทีความดัน 400 kPa เมือเปิ ดวาล์วออกไอนําจาก
ท่อส่ งก็ไหลเข้าสู่ ภายในถังจนกระทังความดันภายในถังมีค่าเป็ น 300 kPa จากนันวาล์วจึงปิ ด จงหามวล
ของนําภายในถังหลังจากทีวาล์วปิ ด
วิธีทาํ
ปริ มาตรควบคุม: ถังและวาล์ว
กระบวนการ: แอเดียแบติก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: V, P1, x1, Pi, xi, P2
ตัวแปรทีต้องการ: m2
ไอนําอิมตัว 400 kPa ไอนําอิมตัว 400 kPa
i i
วาล์วเริมเปด CV วาล์วเริมปด CV

ภาวะที 1 ภาวะที 2
P1=200 kPa, x1=0.7 P2=300 kPa

เนื องจากถังมีทางเข้าเพียงทางเดียวและมวลทีสะสมในถังมีปริ มาณเพิมขึนเรื อยๆ อันเป็ นผลมาจาก


ไอนําทีเข้าสู่ถงั ผ่านท่อส่ ง ดังนันกระบวนการทีเกิดขึนย่อมจะเป็ นกระบวนการชัวขณะอย่างแน่นอน เริ มต้น
จากการหาภาวะของนําทีจุดต่างๆ ก่อน
ภาวะที 1: P1 = 200 kPa
x1 = 0.7 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
⎛ m3 ⎞ ⎛ m3 ⎞
v 1 = (1 − x 1 ) v f + x 1 v g = ( 0.3)⎜ 0.001061 ⎟ + ( 0.7 )⎜ 0.88573 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
v 1 = 0.62033 m 3 / kg
103

⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
u 1 = (1 − x 1 ) u f + x 1 u g = ( 0.3)⎜ 504.47 ⎟ + ( 0.7 )⎜ 2,529.49 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
u 1 = 1,921.98 kJ / kg
ดังนันเราจึงสามารถหา m1 ได้จาก
V 0.2 m 3
m1 = =
v1 0.62033 m 3 / kg
m 1 = 0.32241 kg
ภาวะที i: Pi = 400 kPa
xi = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไออิมตัว
hi = hg = 2,738.53 kJ/kg
เมือพิจารณามวลทีเกียวข้องกับระบบจะเห็นว่ามวลทีเข้าสู่ ถงั มีทางเดียว ในขณะทีมวลทีออกจากถังมีค่าเป็ น
ศูนย์หรื อ me = 0 ดังนันจะเขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้เป็ น
สมการการอนุรักษ์มวล
(m 2 −m 1 )CV = ∑m − ∑mi e

m 2 −m 1 = m i

สําหรับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม จะพบว่า Q = 0 และ W = 0 เนืองจาก


ถังหุม้ ฉนวนและไม่มีปรากฏงานในรู ปแบบใดๆ ผ่านขอบเขตระบบ นอกจากนี ΔKE และ ΔPE ก็สามารถ
ทีจะละทิงได้ ดังนัน
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
⎛ ⎛ V2 2 ⎞ − m ⎛ u + V1 2 + gZ ⎞ ⎞ = Q − W
m u
⎜ 2⎜ 2 + + gZ 2⎟ 1⎜ 1 1 ⎟⎟
⎝ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎠ CV
Vi 2 Ve 2
+ ∑ ⎛
mi ⎜ hi +
⎝ 2

+ gZ i ⎟ −
⎠ ∑⎛
me ⎜ he +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

m 2 u 2 − m1u1 = m i h i

นําผลของสมการการอนุรักษ์มวลมาแทนในสมการข้างต้นจะได้วา่
m 2 u 2 − m 1 u 1 = (m 2 − m 1 ) h i
m 1 (h i − u 1 ) = m 2 (h i − u 2 )
104

ในขณะเดียวกัน m2 ก็จะสามารถเขียนได้อยูใ่ นรู ปของ v2 ได้ กล่าวคือ


V 0. 2 m 3
m2 = =
v2 v2
นําไปแทนในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ทีลดรู ปแล้ว จะได้วา่
⎛ kJ ⎞ 0.2 m 3 ⎛ kJ ⎞
0.32241 kg⎜ 2 ,738.53 − 1,921.98 ⎟ = ⎜ 2 ,738.53 − u 2 ⎟
⎝ kg ⎠ v2 ⎝ kg ⎠
kJ kJ
1,316.31 3 (v 2 ) = 2 ,738.53 − u 2
m kg
จากสมการด้านบนจะเห็นได้ว่าเราจะติดตัวแปรอยูส่ องค่า นันคือ v2 และ u2 เนืองจากเราทราบว่า P2 = 300
kPa หากเราสมมติค่า v2 ขึนมาค่าหนึง ดังนันจาก P2 และ v2 ทีสมมติขึน จะทําให้ภาวะถูกกําหนดตามกฎ
ของภาวะทางเธอร์ โมไดนามิกส์ หากไปเปิ ดตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ จะทําให้เราหาค่า u2 ได้ แต่
ทว่าหากนําทัง v2 ทีสมมติขึนและ u2 ทีได้จากตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ไปแทนในสมการข้างต้น ผลที
ได้อาจจะทําให้ทงสองข้
ั างของสมการไม่เท่ากัน นันย่อมแสดงว่า v2 ทีสมมติขึนในตอนแรกนันเป็ นค่าทีไม่
ถูกต้องและต้องคํานวณใหม่ดว้ ยวิธีทาํ ซํา (iteration) ในความเป็ นจริ ง P2 ได้ถูกกําหนดไว้ที 300 kPa ดังนัน
จะต้องมีค่า v2 ทีถูกต้องเพียงค่าเดียวทีสามารถทําให้ได้ u2 สอดคล้องทังจากตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์
และจากสมการข้างต้น อย่างไรก็ตามหากลองสมมติว่าถ้าภาวะที 2 เป็ นภาวะอิมตัว นันคือเราสามารถหา
x2 ได้ เราจะสามารถเขียนทัง v2 และ u2 ให้อยูใ่ นรู ปของ x2 ได้ดงั นี

ภาวะที 2: P2 = 300 kPa


x2 ยังไม่ทราบค่า สมมติภาวะที 2 ให้เป็ นภาวะอิมตัว
⎛ m3 ⎞ ⎛ m3 ⎞
v 2 = (1 − x 2 ) v f + x 2 v g = (1 − x 2 ) ⎜ 0.001073 ⎟ + (x 2 ) ⎜ 0.60582 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
m3
v 2 = 0.001073 + (0.604747 x 2 )
kg

⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
u 2 = (1 − x 2 ) u f + x 2 u g = (1 − x 2 ) ⎜ 561.13 ⎟ + (x 2 ) ⎜ 2,543.55 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
u 2 = 561.13 + (1,982.42 x 2 )
kJ
kg
เมือแทนค่า v2 และ u2 ทีอยูใ่ นรู ปของ x2 ลงในสมการทีแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง v2 และ u2 ผลทีได้คือ
m3
1,316.31 3 (0.001073 + (0.604747 x 2 )) = (2,738.53 − 561.13 − (1,982.42 x 2 ))
kJ kJ
m kg kg
105

แก้สมการเชิงเส้นทีได้เพือหาค่า x2 จะได้วา่
x2 = 0.78316
จะเห็นได้วา่ ได้ค่า 0 ≤ x2 ≤ 1 แสดงว่าการทีเราสมมติให้ภาวะที 2 เป็ นภาวะอิมตัวนันถูกต้อง จากนันแทน
ค่า x2 เพือหาค่า v2 และ m2 ตามลําดับ
m3 m3
v 2 = 0.001073 + (0.604747 × 0.78316 ) = 0.47469
kg kg
V 0.2 m 3
m2 = =
v2 0.47469 m 3 / kg
m 2 = 0.4213 kg คําตอบ
หมายเหตุ
1) อนึงถ้าภาวะที 2 เป็ นของเหลวอัดตัวหรื อไอร้อนยวดยิง ผลทีได้คือเราจะได้ค่า x2 < 0 หรื อ x2 > 1 หรื อ
ก็คือค่า x2 จะไม่มีการนิ ยาม นันแสดงว่าเราจะต้องกลับไปใช้วิธีทาํ ซําดังทีกล่าวมาข้างต้นเพือให้ได้ค่า v2
และ u2 ทีถูกต้อง

2) หากลองเปลียนปริ มาตรควบคุมไปเป็ นดังทีแสดงในรู ป


ไอนําอิมตัว 400 kPa ไอนําอิมตัว 400 kPa

วาล์วเริมเปด CV วาล์วเริมปด CV
i i

ภาวะที 1 ภาวะที 2
P=200 kPa, x=0.7 P=300 kPa

จะเห็นได้ว่าเราเลือกปริ มาตรควบคุมเฉพาะถังเพียงอย่างเดียวไม่รวมวาล์ว ถึงแม้วา่ ภาวะที i จะเปลียนไปก็


ตาม แต่การเลือกดังกล่าวไม่ส่งผลต่อการคํานวณแต่ประการใด ทังนีเนืองจากอัตราไหลเชิงมวลก่อนเข้าวาล์ว
และอัตราไหลเชิงมวลหลังออกจากวาล์วย่อมมีค่าเท่ากันสื บเนืองมาหลักการอนุรักษ์มวล นอกจากนีภาวะที i
ยังคงมีค่าเอนธัลปี จําเพาะเท่าเดิมกล่าวคือ hi = hsupply line = hg(400 kPa) = 2,738.53 kJ/kg ซึงเป็ นผลมาจาก
กระบวนการไอเซนธัลปิ กของการไหลผ่านวาล์วดังทีแสดงในตัวอย่างที 6.4 นันเอง
106

แบบฝึ กหัด
1) สารทําความเย็นอาร์-134เออยูใ่ นภาวะไออิมตัวที 5oC ไหลอยูใ่ นท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 mm
ถ้าอัตราไหลเชิงมวลของอาร์-134เอมีค่าเท่ากับ 0.08 kg/s จงหาว่าความเร็ วของอาร์-134เอในท่อมีค่า
เป็ นเท่าไร
2) ขณะที เรายืนรดนําต้นไม้อยู่ทีบ้าน หากเรารู ้ สึก ว่านํายังพุ่งไม่เ ร็ วพอ เราจะพบว่าเมื อเราใช้นิวอุ ด
ทางออกของสายยางประมาณครึ งหนึ งของพืนหน้าตัดของสายยาง นําก็จะพุ่งออกจากสายยางเร็ วขึน
ในทันที จงอธิบายว่าทําไมจึงเป็ นเช่นนัน
3) ถังผสมถังหนึ งทําหน้าทีผสมนําอุ่นจากนําเย็นและนําร้อนในการอุปโภค ตัวถังมีขนาด 2 m3 และมี
นําอุ่นบรรจุอยูเ่ ต็มถังในตอนเริ มต้น นําร้อนและนําเย็นทีเข้าสู่ ถงั มีอตั ราไหลเชิงมวลเท่ากับ 2.4 kg/s
และ 7.2 kg/s ตามลําดับ ในขณะทีอัตราการใช้นาอุ ํ ่นทีออกจากถังมีค่าเท่ากับ 12.8 kg/s ถ้าสมมติว่า
อัตราไหลทีระบุทงหมดเป็
ั นค่าคงตัว จงหาว่าจะต้องใช้เวลาเท่าไหร่ นาอุ ํ ่นถึงจะหมดถัง
o
4) ไอนํามีความเร็ วตํามากและมีความดัน 1.6 MPa อุณหภูมิ 400 C ไหลผ่านหัวฉี ดจนกระทังมีความเร็ ว
เพิมขึนเป็ น 420 m/s และความดัน 1 MPa ถ้ากระบวนการทีเกิดขึนรวดเร็ วมากจนถือว่าไม่มีการ
ถ่ายเทความร้อนเกิดขึน จงหาอุณหภูมิของไอนําทีออกจากหัวฉีด
5) เครื องอัดอากาศเครื องหนึงหุ ม้ ฉนวนอย่างดีมีอตั ราไหลเชิงปริ มาตรทีด้านดูดเท่ากับ 90 L/s อากาศที
เข้าสู่ เครื องอัดมีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K จะถูกอัดจนมีความดัน 500 kPa อุณหภูมิ 520 K จง
คํานวณหากําลังทีใช้ในการอัดอากาศ
6) อากาศทีมีความดันประมาณ 300 kPa ไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วจนมีความดันเท่ากับความดันบรรยากาศ
ภายนอก (101.3 kPa) กระบวนการทีเกิดขึนทําให้อากาศมีอุณหภูมิเพิมขึน ลดลง หรื อเท่าเดิม จง
อธิบายโดยสังเขป
7) ถังหุ ม้ ฉนวนขนาด 200 L บรรจุอากาศอยูภ่ ายในทีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K ถังได้เชือมต่อ
กับท่อส่ งอากาศทีความดัน 600 kPa อุณหภูมิ 700 K เมือเปิ ดวาล์วออกอากาศจากท่อส่ งก็ไหลเข้าสู่
ภายในถังจนกระทังความดันภายในถังมีค่าเป็ น 250 kPa จากนันวาล์วจึงปิ ด จงหามวลของอากาศ
ภายในถังหลังจากทีวาล์วปิ ด
107

บทที 7
กฎข้ อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์
7.1 เครื องยนต์ความร้อนและตูเ้ ย็น
จากทีผ่านมาเราได้ศึกษากฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ทงสํ
ั าหรับมวลควบคุมและปริ มาตร
ควบคุ ม ซึ งผลที ได้ทาํ ให้เราทราบว่าพลังงานสามารถเปลี ยนรู ปจากรู ปแบบหนึ งไปยังอี ก รู ปแบบหนึ ง
กล่าวคือพลังงานยังสามารถจะสะสมอยูภ่ ายในระบบทีพิจารณา สามารถทีจะขนส่ งผ่านขอบเขตระบบโดย
การไหลโดยมวล และสามารถถ่ ายเทผ่านขอบเขตระบบโดยตรง อย่างไรก็ตามลองพิจารณาวัฏจักรที
ประกอบไปด้วยสองกระบวนการโดยทีวัฏจักรสามารถเดินหน้าและย้อนกลับได้ดงั ทีแสดงอยูใ่ นรู ปที 7.1
W = 10 kJ
+ −

เปนไปได้ เปนไปได้
วัฏจักร
เดินหน้า ΔU = 10 kJ
กระบวนการ กระบวนการ
สาร Aforward สาร Bforward สาร

Q = 10 kJ
W = 10 kJ
+ −

เปนไปได้ เปนไปไม่ได้
วัฏจักร
ย้อนกลับ ΔU = 10 kJ
กระบวนการ กระบวนการ
สาร Breverse สาร Areverse สาร
Q = 10 kJ

รู ปที 7.1 วัฏจักรของระบบทีเกียวข้องกับงานและความร้อน

ระบบทีพิจารณาประกอบไปด้วยสารทีบรรจุอยูใ่ นถังและมีขดลวดต้านทานต่ออยู่ ทังนี เราจะให้ ΔKE และ


ΔPE สามารถละทิงได้ วัฏจักรเดินหน้าจะประกอบด้วย การให้งานจากกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดต้านทาน
เข้าสู่ ระบบซึงปริ มาณเท่ากับ 10 kJ (กระบวนการ Aforward) เมือระบบได้รับงานจะทําให้พลังงานภายใน
เพิมขึน 10 kJ ทําให้อุณหภูมิของแก๊สเพิมขึนมากกว่าสิ งล้อมรอบ จนเกิดการถ่ายเทความร้อนออกจากระบบ
เท่ากับ 10 kJ (กระบวนการ Bforward) ทําให้ระบบกลับมาสู่ ภาวะเริ มต้นอีกครัง หากเราใช้สามัญสํานึ ก
108

พิจารณาวัฏจักรเดินหน้าตังแต่ตน้ จนจบ ก็พบว่าวัฏจักรสามารถเกิดขึนและพบเห็นได้แม้ในชีวิตประจําวัน


ตัวอย่างเช่นถ้าให้ระบบเป็ นนําในกระติกนําร้อนไฟฟ้ า วัฏจักรดังกล่าวก็จะเปรี ยบได้กบั การอุ่นนําในกระติก
นําร้อนไฟฟ้ าให้ร้อนขึนแล้วปล่อยให้นาเย็
ํ นตัวกลับมาทีภาวะเดิม ในทางกลับกันลองจินตนาการถึงวัฏจักร
ย้อนกลับบ้างว่าจะเป็ นอย่างไร เราจะพบว่าหากเราให้ความร้อน 10 kJ กับระบบ (กระบวนการ Breverse) ผลที
ได้ก็คือพลังงานภายในของระบบเพิมขึน 10 kJ อย่างไรก็ตามพลังงานภายใน 10 kJ ทีเพิมขึนนันก็ไม่
สามารถเปลียนไปเป็ นกระแสไฟฟ้ าทีจ่ายกลับคืนออกมาในรู ปของงานเท่ากับ 10 kJ ได้ (กระบวนการ
Areverse) ดังนันกระบวนการ Areverse ของวัฏจักรย้อนกลับนันเป็ นไปไม่ได้ทงในทางสามั
ั ญสํานึกและในทาง
ปฏิบตั ิจริ งโดยการทดลองเอากระติกนําร้อนไฟฟ้ าไปวางบนเตาแก๊ส สิ งทีได้คือนําในกระติกทีร้อนขึนแต่จะ
เป็ นไปไม่ได้ทีจะได้กระแสไฟฟ้ ากลับคืนมา
จากทีอธิ บายมาข้างต้นจะเห็ นได้ว่ากระบวนการบางอย่างไม่สามารถจะย้อนกลับได้ แต่กระนัน
กระบวนการดังกล่าวก็ไม่ได้ขดั แย้งกับกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์แต่ประการใดเลยดังทีแสดงใน
กระบวนการ Areverse ในรู ปที 7.1 กล่าวคือ ΔU = −W = −10 kJ ดังนันเราจึงสามารถสรุ ปได้ว่ากฎข้อทีหนึง
ของเธอร์โมไดนามิกส์เพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถจะบอกได้ว่ากระบวนการนันจะเกิดขึนได้หรื อไม่ และนี
จึงเป็ นทีมาของกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ ซึงจะเป็ นตัวบ่งชี ถึงทิศทางของกระบวนการต่างๆ ว่า
กระบวนการนันจะเกิดขึนได้หรื อไม่และถ้าเกิดขึนจะเกิดขึนในทิศทางใด
เพือทีจะให้เข้าใจกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ให้ดียิงขึน เราจึงเริ มต้นโดยการแนะนําคําว่า
เครื องยนต์ความร้อน (heat engine) ซึ งก็คือระบบทีมีการทํางานเป็ นวัฏจักร โดยจะรับความร้อนจาก
แหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูง (high-temperature energy source) หรื อทีเรี ยกโดยย่อว่าแหล่งจ่ายพลังงาน
(energy source) จากนันเปลียนความร้อนบางส่ วนให้เป็ นงาน จากนันทิงความร้อนบางส่ วนออกไปสู่ แหล่ง
รับพลังงานอุณหภูมิตาํ (low-temperature energy sink) หรื อทีเรี ยกโดยย่อว่าแหล่งรับพลังงาน (energy sink)
ตัวอย่างของเครื องยนต์ความร้อนอย่างง่ายๆ ดังทีแสดงในรู ปที 7.2

แก๊ส

QH QL
แหล่งจ่ายพลังงาน แหล่งรับพลังงาน
อุณหภูมิสูง อุณหภูมิตํา

รู ปที 7.2 ตัวอย่างของเครื องยนต์ความร้อนอย่างง่าย


109

จากรู ปจะเห็นได้ว่าหากให้แก๊สเป็ นระบบทีพิจารณา จากภาวะเริ มต้นลูกสู บรับก้อนนําหนักจากทางด้านข้าง


จากนันแก๊สรับได้รับความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงทําให้แก๊สขยายตัวดันลูกสู บขึน เมือลูกสู บ
เลือนถึงระดับทีต้องการ ก้อนนําหนักก็ถูกเลือนออกไปจากลูกสู บทําให้เกิดงานในการยกก้อนนําหนักขึน
จากนันแก๊สก็คายความร้อนออกไปยังแหล่งรับพลังงานอุณหภูมิตาเป็ ํ นผลให้แก๊สหดตัวแล้วทําให้ลูกสู บ
เคลือนทีลงจนกระทังกลับมาสู่ ภาวะตังต้นเพือรอรับก้อนนําหนักก้อนต่อไปอีกครังหนึ ง จากกฎข้อทีหนึ ง
ของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักรหรื อสมการที 5.2 จะสามารถเขียนได้วา่

∑W
cycle
all = ∑Q
cycle
all

Wnet = Q H + (− Q L )

Wnet = Q H − Q L (7.1)

ทังนีการใส่ เครื องหมายลบให้กบั ค่า QL เป็ นการแสดงให้เห็นว่าเราทราบทิศทางของ QL ว่าเป็ นความร้อนซึง


ถ่ายเทออกจากระบบ ดังนันเครื องหมายลบทีปรากฏในสมการที 7.1 นันจึงหมายถึงว่าเราได้ใส่ เครื องหมายที
แสดงทิศทาง QL ลงในสมการเรี ยบร้อยแล้ว ดังนันการแทนค่า QL ลงในสมการที 7.1 จึงเป็ นการแทนค่า
เฉพาะขนาดของ QL เท่านันโดยไม่ตอ้ งใส่ เครื องหมายของ QL ซําลงไปอีก นอกจากนีแก๊สในรู ปที 7.2 เป็ น
ตัวอย่างของของไหลทํางาน (working fluid) ซึงหมายถึงสารทีเป็ นของไหลและใช้ในวัฏจักรเพือทําหน้าที
เป็ นตัวกลางในการถ่ายเทความร้อนและถ่ายเทงาน
เครื องยนต์ความร้อนอีกตัวอย่างหนึ งทีมีการใช้งานอยู่จริ งก็คือโรงจักรไอนําซึ งใช้นาเป็
ํ นของไหล
ทํางานดังทีแสดงในรู ปที 7.3
แหล่งจ่ายพลังงาน
อุณหภูมิสูง
QH

หม้อไอนํา
Win Wout
เครืองสูบ กังหัน

เครืองควบแน่น
QL
แหล่งรับพลังงาน
อุณหภูมิตํา

รู ปที 7.3 แผนภาพของโรงจักรไอนําซึงเป็ นเครื องยนต์ความร้อนแบบหนึง


110

วัฏจักรเครื องยนต์ความร้อนของโรงจักรไอนําประกอบด้วยกระบวนการภาวะคงตัวสี กระบวนการ ในทีนี


QH คือความร้อนทีจ่ายจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงไปยังหม้อไอนํา (boiler) เพือทําให้นากลายเป็
ํ นไอ
แหล่งจ่ายพลังงานดังกล่าวได้แก่ การเผาไหม้เชือเพลิงฟอสซิล หรื อปฏิกิริยานิวเคลียร์ เป็ นต้น Wout คืองาน
ทีออกจากกังหันไอนํา QL คือความร้อนทีทิงลงไปยังแหล่งรับพลังงานอุณหภูมิตาโดยเครื ํ องควบแน่ น
(condenser) โดยทีแหล่งรับพลังงานดังกล่าวก็คือนําระบายความร้อนซึงในท้ายทีสุ ดแล้วความร้อนก็ถูกนําไป
ทิงสู่บรรยากาศ Win คืองานทีใส่ เข้าไปในเครื องสู บ ดังนันหากระบบทีพิจารณาคือเส้นประทีแสดงในรู ปที
7.3 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักรสามารถเขียนได้เป็ น
Wnet = Wout − Win = Q H − Q L

ซึงสมการดังกล่าวก็อยูร่ ู ปเดียวกับสมการที 7.1 จากทีกล่าวมาทังหมดโรงจักรไอนําจึงมีองค์ประต่างๆ ครบ


ตามข้อกําหนดของเครื องยนต์ความร้อน รายละเอียดและการคํานวณต่างๆ เกี ยวกับโรงจักรไอนํานันจะ
กล่าวถึงอีกครังในบทที 10
ในการเขียนแผนภาพเพือแสดงถึงเครื องยนต์ความร้อนนันจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 7.4 โดยทีจะเห็นได้วา่
เราจะไม่แสดงรายละเอียดของวัฏจักรทีเกิ ดขึนว่าประกอบไปด้วยกระบวนการใดบ้าง ทังนี เนื องจากเรา
สนใจแต่เพียงภาพรวมว่าเครื องยนต์ความร้อนนีว่ามีการถ่ายเทพลังงานเข้าออกเป็ นอย่างไร
แหล่งจ่ายพลังงาน
อุณหภูมิสูงเท่ากับ TH
QH

Wnet
เครืองยนต์
ความร้อน

QL
แหล่งรับพลังงาน
อุณหภูมิตําเท่ากับ TL

รู ปที 7.4 แผนภาพเครื องยนต์ความร้อนโดยทัวไป

จากรู ปที 7.3 จะเห็นได้ว่าเราจะสามารถเปลียนความร้อนทีป้ อนเข้าสู่ เครื องยนต์ความร้อนหรื อ QH ให้เป็ น


งานสุ ทธิ หรื อ Wnet ไม่ได้ทงหมดเนื
ั องจากจะต้องมีความร้อนบางส่ วนทีอยูใ่ นรู ปของ QL ทิงลงสู่ แหล่งรับ
พลังงานอุณหภูมิตาํ ดังนันสัดส่ วนทีเครื องยนต์ความร้อนสามารถเปลียน QH ให้ไปเป็ น Wnet ได้นนจะมี
ั ชือ
เรี ยกว่าประสิ ทธิภาพอุณหภาพ (thermal efficiency หรื อ ηth) ซึงสามารถเขียนเป็ นสมการได้คือ
W
ηth = net (7.2)
QH
111

หากจะมองอย่างง่ายๆ ประสิ ทธิภาพอุณหภาพคืออัตราส่ วนระหว่างพลังงานทีต้องการซึงในทีนี คือ Wnet กับ


พลังงานทีใส่ เข้าไปซึงในทีนีก็คือ QH นันเอง หากนําค่า Wnet ในสมการที 7.1 ไปแทนในสมการที 7.2 เราจะ
สามารถเขียน ηth ได้เป็ น
QH − QL QL
ηth = = 1− (7.3)
QH QH

เครื องยนต์ความร้อนทีใช้ในทางปฏิบตั ิจริ งนันส่ วนใหญ่จะมีค่า ηth อยูเ่ พียงแค่ประมาณร้อยละ 20 ถึง 50


เท่านัน ตัวอย่างเช่นในกรณี ของโรงจักรไอนําขนาดใหญ่ก็จะมีค่า ηth อยูท่ ีประมาณร้อยละ 55 ถึง 60 ส่ วน
เครื องยนต์ทีใช้แกโซลีนและดีเซลเป็ นนํามันเชือเพลิงจะมีค่า ηth อยูท่ ีประมาณร้อยละ 30 ถึง 35 และร้อยละ
30 ถึง 40 ตามลําดับ ส่ วนเครื องยนต์ขนาดเล็กทีใช้ในการเกษตรหรื ออืนๆ จะมีค่า ηth อยูท่ ีประมาณร้อยละ
20 เท่านัน
วัฏจักรทีจะแนะนําในส่ วนต่อไปมีชือว่าตูเ้ ย็น (refrigerator) หรื อปัมความร้อน (heat pump) ซึงจะทํา
หน้าทีในการถ่ายเทความร้อนจากแหล่งทีมีอุณหภูมิตาไปยั ํ งแหล่งทีมีอุณหภูมิสูงกว่า จะเห็นได้ว่าโดยปรกติ
ในธรรมชาตินนความร้
ั อนจะถ่ายเทจากแหล่งทีมีอุณหภูมิสูงไปยังแหล่งทีมีอุณหภูมิตากว่ ํ าอยูแ่ ล้วได้โดยไม่
ต้องพึงพาอุปกรณ์ใดๆ หากแต่ว่าถ้าเราต้องการจะทําให้กระบวนการดังกล่าวย้อนกลับ จะต้องใช้ตูเ้ ย็นหรื อ
ปัมความร้อนในการทําให้กระบวนการย้อนกลับเกิดขึนได้ ทังตูเ้ ย็นและปัมความร้อนมีการทํางานเป็ นวัฏจักร
โดยทีเราจะเรี ยกของไหลทํางานในตูเ้ ย็นหรื อปั มความร้อนว่าสารทําความเย็นซึงมีตวั อย่างได้แก่ อาร์ -134เอ
(R-134a) หรื อแอมโมเนีย เป็ นต้น สําหรับวัฏจักรทําความเย็นทีใช้กนั อยูใ่ นปั จจุบนั มีชือว่าวัฏจักรทําความ
เย็นแบบอัดไอ (vapor compression refrigeration cycle) ดังทีแสดงอยูใ่ นรู ปที 7.5
แหล่งทีมีอุณหภูมิสูง
QH

เครืองควบแน่น
วาล์วระเหย Wnet
สารทําความเย็น เครืองอัด
เครืองระเหย

QL
แหล่งทีมีอุณหภูมิตํา

รู ปที 7.5 แผนภาพของวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอซึงเป็ นตูเ้ ย็นหรื อปัมความร้อนชนิดหนึง


112

จะเห็นได้วฏั จักรทําความเย็นแบบอัดไอประกอบไปด้วยกระบวนการภาวะคงตัวสี กระบวนการ ส่ วนทีทําให้


เกิดการทําความเย็นคือทีเครื องระเหย (evaporator) ซึ งจะทําหน้าทีดูดความร้อน QL ออกจากแหล่งทีมี
อุณหภูมิตาํ จากนันสารทําความเย็นเมือระเหยกลายเป็ นไอก็จะถูกอัดโดยอาศัยงาน Wnet ผ่านเครื องอัด
เพือให้มีความดันเพิมขึน จากนันสารทําความเย็นก็จะกลันตัวการเป็ นของเหลวโดยการผ่านเครื องควบแน่น
จากนันก็ลดความดันกลับมาทีความดันเดิมอีกครังโดยผ่านวาล์วระเหยสารทําความเย็น (expansion valve)
ทังนีหากมองโดยรวมจะสังเกตได้ว่าตูเ้ ย็นและปั มความร้อนจะดึงความร้อนเท่ากับ QL จากแหล่งทีมีอุณหภูมิ
ตําแล้วนําความร้อนเท่ากับ QH ไปทิงยังแหล่งทีมีอุณหภูมิสูงกว่า ทังนี เพือให้ระบบทํางานได้จะต้องอาศัย
งานทีใส่ เข้าไปในระบบเท่ากับ Wnet ด้วย หากระบบทีพิจารณาคือเส้นประทีแสดงในรู ปที 7.5 กฎข้อทีหนึง
ของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักรสามารถเขียนได้เป็ น

∑W
cycle
all = ∑Q
cycle
all

(− Wnet ) = ( − Q H ) + QL
Wnet = Q H − Q L

เช่นเดียวกับกรณี ของเครื องยนต์ความร้อน จากสมการด้านบนจะเห็นได้วา่ เราได้ใส่ เครื องหมายลบลงไปทีค่า


ของ Wnet และ QH เนืองจากเราทราบทิศทางของทัง Wnet และ QH แล้ว ผลทีได้ของสมการสุ ดท้ายของกฎข้อ
ที หนึ งของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ใ นกรณี ข องตู ้เ ย็น และปั มความร้ อ นจะเป็ นเช่ น เดี ย วกับ สมการที 7.1
รายละเอียดและการคํานวณต่างๆ เกียวกับวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอนันจะกล่าวถึงอีกครังในบทที 10
สําหรับการเขียนแผนภาพเพือแสดงถึงตูเ้ ย็นและปั มความร้อนนันจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 7.6 ซึงเราก็จะ
ไม่แสดงรายละเอียดของวัฏจักรเช่นเดียวกับกรณี ของแผนภาพเครื องยนต์ความร้อน ข้อแตกต่างระหว่าง
ตูเ้ ย็นและปั มความร้ อนก็คือวัตถุ ประสงค์การใช้งาน สํา หรั บตูเ้ ย็น นันมี วตั ถุประสงค์การใช้งานคื อเรา
ต้องการรักษาแหล่งทีมีอุณหภูมิตาที ํ TL ให้มีอุณหภูมิทีตํากว่าอุณหภูมิของสิ งล้อมรอบที TH ดังนันแหล่งที
มีอุณหภูมิตาของตู
ํ เ้ ย็นอาจจะมีชือเรี ยกว่าเนือทีทีรักษาความเย็น (cold space) ตัวอย่างได้แก่ช่องทําความเย็น
และช่องแข็งในตูเ้ ย็นเชิงพาณิ ชย์ทวไป ั ห้องทีได้รับการปรับอากาศโดยเครื องปรับอากาศ เป็ นต้น ในทาง
ตรงกันข้ามปั มความร้อนนันมีวตั ถุประสงค์การใช้งานคือเราต้องการรักษาแหล่งทีมีอุณหภูมิสูงที TH ให้มี
อุณหภูมิทีสู งกว่าอุณหภูมิของสิ งล้อมรอบที TL ดังนันแหล่งทีมีอุณหภูมิสูงของปั มความร้อนอาจจะมีชือ
เรี ยกว่าเนือทีทีรักษาความร้อน (heat space) ในทางปฏิบตั ินนการใช้ั งานปั มความร้อนจะไม่ค่อยปรากฏใน
ประเทศไทยเนืองจากอุณหภูมิในบ้านเราทีค่อนข้างจะสู ง ในส่ วนของต่างประเทศนันจะมีการปั มความร้อน
อยูท่ วไปเนื
ั องจากในหน้าหนาวทีมีอุณหภูมิภายนอกค่อนข้างตํา ดังนันเนือทีทีรักษาความร้อนก็จะเป็ นพืนที
ในอาคารทีต้องการความอบอุ่นนันเอง รู ปที 7.6 จะแสดงให้เห็นว่าตูเ้ ย็นและปั มความร้อนเป็ นอุปกรณ์ชนิด
เดียวกันแต่มีวตั ถุประสงค์ทีต่างกันดังทีกล่าวมา
113

อุณหภูมิสูงภายนอก เนือทีทีรักษาความเย็น
เท่ากับ TH ทีอุณหภูมิสูงเท่ากับ TH

QH QH
Wnet Wnet
ตู้เย็น ปมความร้อน

QL QL
เนือทีทีรักษาความเย็น อุณหภูมิตําภายนอก
ทีอุณหภูมิตําเท่ากับ TL เท่ากับ TL

รู ปที 7.6 แผนภาพตูเ้ ย็นและปัมความร้อนโดยทัวไป

ประสิ ทธิ ภาพของตูเ้ ย็นและปั มความร้อนนันจะใช้ชือทีแตกต่างออกไปโดยจะไม่ใช้คาํ ว่า "ประสิ ทธิ ภาพ"


แต่เราจะใช้คาํ ว่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะ (coefficient of performance (COP) หรื อ β) ซึ งจะมีค่าเท่ากับ
อัตราส่ วนระหว่างพลังงานทีต้องการต่อพลังงานทีใส่ เข้าไปเช่นเดียวกับประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพ แต่ทงนี ั
ทังนันเนืองจากตูเ้ ย็นและปัมความร้อนมีวตั ถุประสงค์ของการใช้งานทีแตกต่างกัน ดังนันพลังงานทีต้องการ
ของตูเ้ ย็นและปัมความร้อนจึงแตกต่างกันด้วย สําหรับตูเ้ ย็นนันพลังงานทีต้องการคือ QL เพือใช้ในการรักษา
อุณหภูมิ TL ภายในเนือทีทีรักษาความเย็น ส่ วนพลังงานทีใส่ เข้าไปคือ Wnet ดังนัน
Q
βR = L (7.4)
Wnet
ในส่ วนของปั มความร้อนนันพลังงานทีต้องการคือ QH เพือใช้ในการรักษาอุณหภูมิ TH ภายในเนือทีทีรักษา
ความร้อน ส่ วนพลังงานทีใส่ เข้าไปคือ Wnet เช่นเดียวกันกับตูเ้ ย็นดังนัน
Q
βH = H (7.5)
Wnet
โดยทีตัวห้อย R และ H ทีใส่ ให้กบั β นันเพือแสดงความแตกต่างระหว่าง β ของตูเ้ ย็นหรื อปั มความร้อน
จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ทีแสดงในสมการที 7.1 หากแทนค่า Wnet จากสมการที 7.1 ลงไปใน
สมการที 7.4 และ 7.5 จะสามารถเขียน βR และ βH ได้เป็ น
QL
βR = (7.6)
QH − QL
QH
βH = (7.7)
QH − QL
114

7.2 กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
พืนฐานของกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์นนได้ ั มาจากข้อความจํานวนสองข้อความ ข้อความ
แรกทีกล่าวถึงก็คือข้อความของเคลวิน-พลังค์ (Kelvin-Planck statement) ซึงกล่าวโดยสรุ ปไว้ว่า "การสร้าง
เครื องยนต์ความร้ อนทีสามารถเปลียนความร้ อนทีป้ อนจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงไปเป็ นงานได้
ทังหมดนันเป็ นไปไม่ได้" ดังนันหากนําข้อความดังกล่าวมาแสดงเป็ นแผนภาพก็จะได้เป็ นรู ปที 7.7
แหล่งจ่ายพลังงาน
อุณหภูมิสูงเท่ากับ TH
QH

Wnet
เครืองยนต์
ความร้อน

เปนไปไม่ได้
รู ปที 7.7 เครื องยนต์ความร้อนตามข้อความของเคลวิน-พลังค์

โดยอาศัยนิ ยามของประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพ เราสามารถเขียนข้อความของเคลวิน-พลังค์ให้เป็ นสมการทาง


คณิ ตศาสตร์อย่างง่ายๆ ว่า ηth มีค่าน้อยกว่า 1 เสมอสําหรับเครื องยนต์ความร้อนนันเอง
ข้อความทีสองทีกล่าวถึงต่อไปก็คือข้อความของเคลาเซียส (Clausius statement) ซึงกล่าวโดยสรุ ป
ไว้ว่า "การสร้างตูเ้ ย็นหรื อปั มความร้อนทีสามารถทํางานได้โดยปราศจากงานทีใส่ เข้าไปนันเป็ นไปไม่ได้"
ดังนันหากนําข้อความดังกล่าวมาแสดงเป็ นแผนภาพก็จะได้เป็ นรู ปที 7.8
แหล่งทีมีอุณหภูมิสูง
เท่ากับ TH

QH

ตู้เย็นหรือ
เปนไปไม่ได้
ปมความร้อน

QL
แหล่งทีมีอุณหภูมิตํา
เท่ากับ TL

รู ปที 7.8 ตูเ้ ย็นหรื อปัมความร้อนตามข้อความของเคลาเซียส

จากนิยามของสัมประสิ ทธิสมรรถนะ เราสามารถเขียนข้อความของเคลาเซียสให้เป็ นสมการทางคณิ ตศาสตร์


อย่างง่ายๆ ว่า βR หรื อ βH มีค่าน้อยกว่า ∞ เสมอสําหรับตูเ้ ย็นหรื อปัมความร้อนนันเอง
115

จากข้อ ความทังสองนันจะเห็ น ได้ว่ า กฎข้อ ที สองของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ นันถื อ กํา เนิ ด มาจาก
ข้อเท็จจริ งทีปรากฏหรื อสังเกตได้จากการทดลองซึงไม่สามารถพิสูจน์มาจากกฎหรื อทฤษฎีอืนใด นอกจากนี
จากอดีตทีผ่านมาเราจะไม่พบว่ามีการทดลองหรื อกระบวนการใดทีฝ่ าฝื นกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
ซึ งก็ถือว่าเป็ นการยืนยันถึงการมีอยู่ของกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ นอกจากนี เรายังจะสามารถ
พิสูจน์โดยทางตรรกศาสตร์ ว่าข้อความของเคลวิน-พลังค์และของเคลาเซี ยสเป็ นข้อความทีเทียบเท่ากัน นัน
หมายถึงว่าหากมีอุปกรณ์ใดทีขัดแย้งต่อข้อความของเคลวิน-พลังค์ เราก็จะพบว่าอุปกรณ์นนก็ ั จะขัดแย้งต่อ
ข้อความของเคลาเซียสด้วยเช่นกัน รายละเอียดของการพิสูจน์นนจะไม่ ั นาํ มาเสนอในทีนี
เครื องยนต์ เครื องจักรหรื ออุปกรณ์ใดๆ ทีขัดแย้งต่อกฎของเธอร์ โมไดนามิกส์เราจะเรี ยกอุปกรณ์
ประเภทนันว่าเครื องยนต์นิรันดร์ (perpetual motion machine) ถ้าอุปกรณ์ประเภทใดทีขัดแย้งต่อกฎข้อที
หนึ งของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ห รื อ ก็ คื อ สามารถสร้ า งพลัง งานได้เ อง เราจะเรี ย กอุ ป กรณ์ ป ระเภทนันว่ า
เครื องยนต์นิรันดร์ประเภททีหนึง (perpetual motion machine of the first kind หรื อ PMM1) ดังตัวอย่างที
แสดงในรู ปที 7.9 จะเห็ นได้ว่ามี เครื องยนต์ความร้ อนทีใช้สําหรั บขับปั มความร้ อนซึ งทังสองทํางานอยู่
ระหว่างแหล่งทีมีอุณหภูมิสูงเท่ากับ TH และแหล่งทีมีอุณหภูมิตาเท่ ํ ากับ TL แต่ถา้ หากเราพิจารณาระบบตาม
เส้นประ จะพบว่าอุปกรณ์ชินนีสามารถผลิตงานออกมาได้เองโดยไม่ตอ้ งใส่ พลังงานเข้าไปแต่อย่างใด

TH
QH
QH
W
เครืองยนต์ WHE HP ปมความร้อน
ความร้อน Wnet

QL QL
TL

รู ปที 7.9 ตัวอย่างของเครื องยนต์นิรันดร์ประเภททีหนึง

ในทํานองเดียวกันถ้าอุปกรณ์ประเภทใดทีขัดแย้งต่อกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์หรื อก็คือสามารถ


เปลียนความร้อนให้เป็ นงานได้ทงหมด
ั (ηth = 1) เราจะเรี ยกอุปกรณ์ประเภทนันว่าเครื องยนต์นิรันดร์
ประเภททีสอง (perpetual motion machine of the second kind หรื อ PMM2) หากมีคนนําอุปกรณ์ในรู ปที 7.9
ไปดัดแปลงเพิมเติมเพือให้หลักการทํางานเป็ นไปตามกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ดงั ทีแสดงในรู ปที
7.10 (a) จากรู ปเราจะเห็นได้ว่าทังเครื องยนต์ความร้อนและปั มความร้อนต่างก็สอดคล้องกับกฎข้อทีหนึ ง
ของเธอร์โมไดนามิกส์หรื อสมการที 7.1 ทุกประการ
116

TH TH
QH1=10 kJ QH2=8 kJ QH,net=2 kJ

W =5 kJ Wnet=2 kJ
เครืองยนต์ WHE=7 kJ HP ปมความร้อน
ความร้อน Wnet=2 kJ ระบบรวม

QL1=3 kJ QL2=3 kJ
TL

(a) (b)
รู ปที 7.10 ตัวอย่างของเครื องยนต์นิรันดร์ประเภททีสอง

หากแต่ว่าถ้าเราพิจารณาระบบรวมตามเส้นประในรู ปที 7.10 (a) จะพบว่าระบบรวมทีได้จะสามารถเขียนได้


เป็ นแผนภาพดังทีแสดงในรู ปที 7.10 (b) ซึ งจะเห็นได้ว่าระบบรวมดังกล่าวทําหน้าทีเปรี ยบเสมือน
เครื องยนต์ความร้อนทีรับความร้อนจากแหล่งทีมีอุณหภูมิสูง TH แล้วเปลียนไปเป็ นงานได้ทงหมดซึ ั งจะ
ขัดแย้งกับข้อความของเคลวิน-พลังค์ เป็ นผลให้อุปกรณ์ทีแสดงในรู ปที 7.10 (a) นันเป็ นเครื องยนต์นิรันดร์
ประเภททีสอง จากการศึกษาข้อมูลในอดีตจะพบว่าได้มีการนําเสนอเครื องยนต์นิรันดร์ ทงสองประเภทใน ั
วัตถุประสงค์เชิ งพาณิ ชย์ มีการระดมเงินทุนอย่างมากมายเพือจะสร้างเครื องยนต์ดงั กล่าว หรื อแม้กระทังมี
การยืนจดสิ ทธิบตั รด้วยเช่นกัน จนในปี ค.ศ. 1918 องค์กรจดสิ ทธิบตั รในประเทศสหรัฐอเมริ กาได้ระบุว่าจะ
ไม่รับสิ งประดิษฐ์ทีมีลกั ษณะเป็ นเครื องยนต์นิรันดร์เข้าพิจารณาเพือทําการจดสิ ทธิบตั รอีก ถึงอย่างไรก็ตาม
ก็ยงั คงมีความพยายามทีจะยืนเครื องยนต์นิรันดร์เข้าจดสิ ทธิบตั รอยูถ่ ึงแม้วา่ จะมีการระบุไว้แล้วก็ตาม

ตัวอย่างที 7.1
โรงจักรไอนําใช้แกลบเป็ นเชือเพลิงซึงมีค่าความร้อนจากการเผาไหม้ประมาณ 14 MJ/kg หากโรง
จักรไอนําผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ประมาณ 200 MW โดยทีประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของโรงจักรไอนํามี
ค่าประมาณร้อยละ 35 ในขณะทีความร้อนส่ วนทีเหลือจะทิงไปสู่ บรรยากาศ จงคํานวณหาอัตราการบริ โภค
แกลบของโรงจักรไอนําแห่งนีและอัตราการทิงความร้อนส่ วนทีเหลือ
วิธีทาํ
ตัวแปรทีทราบค่า: HV, W& , ηth
ตัวแปรทีต้องการ: m& , Q& L
โรงจักรไอนําเป็ นเครื องยนต์ความร้อนทีทํางานเป็ นวัฏจักร ซึ งเราจะสามารถเขียนแผนภาพของ
เครื องยนต์ความร้อนได้คือ
117

จากนิยามของประสิ ทธิภาพอุณหภาพของเครื องยนต์ความร้อน อุณหภูมิจากการเผาไหม้แกลบ


W& net TH
ηth =
Q& H Q& H
W& 200 MW
Q& H = net = = 571.43 MW W& net = 200 MW
η th 0.35 เครืองยนต์
ความร้อน
อัตราการบริ โภคแกลบจะสามารถหาได้จากค่าความร้อนจากการ
เผาไหม้ของเชือเพลิงกล่าวคือ Q& L

Q& H = m& × HV อุณหภูมิภายนอก


MJ TL
571.43 MW = m& × 14
kg
m& = 40.82 kg / s คําตอบ
จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักรหรื อสมการที 7.1
W& net = Q& H − Q& L
Q& L = Q& H − W& net = 571.43 − 200 MW
Q& L = 371.4 MW คําตอบ
หมายเหตุ
สมการที 7.1 ถึง 7.7 นันนอกจากจะเขียนอยูใ่ นรู ปของพลังงานโดยตรง เรายังสามารถเขียนสมการ
ดังกล่าวได้ในรู ปของอัตรากล่าวคือเราสามารถแทนที Q ด้วย Q& และแทนที W ด้วย W& ตามลําดับ ซึ ง
ตัวอย่างทีแสดงนีเป็ นการใช้สมการที 7.1 และ 7.2 ในรู ปอัตรานันเอง

7.3 กระบวนการย้อนกลับได้
กระบวนการย้อนกลับได้ (reversible process) เป็ นกระบวนการทีเมือเกิดขึนจะสามารถย้อนกลับสู่
ภาวะเดิมได้โดยทีไม่ก่อให้เกิดผลกระทบหรื อการเปลียนแปลงใดๆ ต่อสิ งล้อมรอบหรื อระบบอืน ตัวอย่าง
ของกระบวนการย้อนกลับนันได้แสดงอยูใ่ นรู ปที 7.11

P1,T1 P1,T1
P2,T2
แก๊ส

รู ปที 7.11 ตัวอย่างของกระบวนการย้อนกลับได้


118

จะเห็นได้ว่ากระบวนการดังทีแสดงในรู ปที 7.11 คือกระบวนการอัดตัวและขยายตัวของแก๊สในกระบอกสู บ


ทีหุม้ ฉนวนด้วยกระบวนการแบบกึงสมดุล ถ้าหากภาวะที 1 เป็ นภาวะตังต้นของแก๊ส เมือเราค่อยๆ ออกแรง
กดเพือให้แก๊สอัดตัวโดยทีไม่มีการถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบจนกระทังแก๊สมีภาวะสุ ดท้ายหรื อภาวะที 2
ดังรู ป จากนันเราค่อยๆ ปล่อยแรงออกอย่างช้าๆ จะพบว่าแก๊สจะค่อยๆ ขยายตัวออกกลับมาสู่ ภาวะที 1 หรื อ
ภาวะตังต้นอีกครังหนึง
กระบวนการทีมีลกั ษณะตรงกันข้ามกับกระบวนการย้อนกลับได้มีชือเรี ยกว่ากระบวนการย้อนกลับ
ไม่ได้ (irreversible process) ซึงเป็ นกระบวนการทีไม่สามารถย้อนกลับไปยังภาวะตังต้นได้และยังก่อให้เกิด
ผลกระทบหรื อการเปลียนแปลงต่อสิ งล้อมรอบหรื อระบบอืน จากรู ปที 7.11 หากให้กระบวนการอัดแก๊สยัง
มีลกั ษณะคงเดิมแต่เปลียนกระบวนการขยายตัวของแก๊สเสี ยใหม่โดยการเอาฉนวนทีหุ ้มออกดังรู ปที 7.12
ทังนีสมมติให้สิงล้อมรอบมีความดันและอุณหภูมิเท่ากับภาวะตังต้นของแก๊สคือ P1 และ T1

P1,T1
P1,T1
P2,T2
แก๊ส

Q Q
สิงล้อมรอบ P1, T1
รู ปที 7.12 ตัวอย่างของกระบวนการย้อนกลับไม่ได้

จะเห็นได้ว่ากระบวนการอัดแก๊สนันยังเป็ นแบบเดิมทําให้ภาวะของแก๊สไปสิ นสุ ดทีภาวะที 2 ซึงโดยทัวไป


แล้ว T2 จะมีค่ามากกว่า T1 อันเป็ นผลมาจากกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ แต่เมือปล่อยให้แก๊ส
ขยายตัวโดยไม่มีฉนวนหุม้ จะพบว่าความร้อนบางส่ วนได้ถ่ายเทออกจากแก๊สไปสู่ สิงล้อมรอบทําให้แก๊สเย็น
ลง ดังนันเมื อปล่อยให้ลูกสู บขยายตัวจนสุ ดและเกิ ดสมดุ ลกลและสมดุ ลอุณหภาพระหว่างแก๊สและสิ ง
ล้อมรอบ ผลทีได้คือแก๊สกลับมาอยูท่ ีภาวะที 1 หรื อภาวะตังต้น แต่ว่าตําแหน่งของลูกสู บจะไม่กลับมายังที
ตําแหน่ งเดิมเนื องจากการถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบ ดังนันกระบวนการทีเกิดขึนจึงเป็ นกระบวนการ
ย้อนกลับไม่ได้เนืองจากเกิดผลกระทบต่อสิ งล้อมรอบอันเนืองมาจากการถ่ายเทความร้อน
กระบวนการทีเกิดขึนจริ งตามธรรมชาตินนเป็ ั นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ทงสิ ั น แต่ในการศึกษา
กระบวนการต่างๆ ในทางเธอร์ โมไดนามิกส์นันจะเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้เสี ยส่ วนใหญ่ ทังนี ด้วย
เหตุผลทีว่าประการแรกการวิเคราะห์กระบวนการย้อนกลับได้นันทําได้ง่ายเนื องจากระบบเกิดสมดุลทาง
เธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ใ นระหว่ า งเกิ ด กระบวนการ ประการที สองกระบวนการย้อ นกลับ เปรี ย บเสมื อ น
กระบวนการทางอุดมคติทีเป็ นตัวบ่งชี ว่ากระบวนการจริ งทีเกิดขึนนันมีความใกล้เคียงกับกระบวนการใน
อุดมคติมากน้อยเพียงใด
119

7.4 ปัจจัยทีทําให้กระบวนการย้อนกลับไม่ได้
ปัจจัยต่างๆ ทีทําให้กระบวนการไม่สามารถย้อนกลับได้นนคื ั อ
1) แรงเสี ยดทานซึงจะเกิดขึนเมือวัตถุสองชินสัมผัสกันและเคลือนทีสัมพันธ์กนั แรงเสี ยดทานจะมีทิศทาง
ตรงกันข้ามกันทิศทางการเคลือนไหวเสมอ สําหรับอุปกรณ์ใดๆ ทีสร้างงาน แรงเสี ยดทานจะทําให้งาน
ทีได้จากอุปกรณ์ชนิ ดนันมีค่าน้อยลง ในทางตรงกันข้ามสําหรับกรณี ทีอุปกรณ์ตอ้ งการงานทีจะต้องใส่
เข้าไป แรงเสี ยดทานก็จะทําให้งานทีใส่ เข้าไปค่ามากขึน นอกจากนี แรงเสี ยดทางยังเกิดขึนในระหว่าง
การไหลของของไหลเมือสัมผัสกับส่ วนทีเป็ นของแข็งเช่นท่อ หรื อสิ งกีดขวางต่างๆ เป็ นต้น แรงเสี ยด
ทานจะเปลียนงานจากการเคลือนไหวบางส่ วนให้กลายเป็ นความร้อนซึ งจะถ่ายเทไปสู่ สิงล้อมรอบเป็ น
ผลให้กระบวนการย้อนกลับไม่ได้
2) การขยายตัวอย่างไม่มีขอ้ จํากัด (unrestrained expansion) ซึ งตัวอย่างได้แก่การขาดของแผ่นบางทีกัน
ระหว่างแก๊สซึ งมีความดันต่างกัน ผลทีได้ก็คือแก๊สจะขยายตัวอย่างไม่จาํ กัดเพือเข้าไปจับจองพืนทีใน
ส่ วนทีมีความดันตํากว่าอย่างรวดเร็ ว การจะทําให้แก๊สกลับสู่ ภาวะเดิมจะต้องมีการอัดแก๊สให้มีปริ มาตร
เล็กลงพร้อมกับมีการถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบ เป็ นผลให้กระบวนการขยายตัวอย่างไม่มีขอ้ จํากัด
ไม่สามารถย้อนกลับได้
3) การถ่ายเทความร้อนอันเป็ นผลมาจากผลต่างของอุณหภูมิทีมีค่าจํากัด เนื องจากการถ่ายเทความร้อนจะ
เกิดขึนจากแหล่งทีมีอุณหภูมิสูงไปยังแหล่งทีมีอุณหภูมิตากว่ ํ าเท่านัน ดังนันการจะทําให้กระบวนการ
ดังกล่าวย้อนกลับได้ จะต้องใช้ตูเ้ ย็นหรื อปั มความร้อนดังทีกล่าวไปในหัวข้อที 7.1 ซึงต้องใส่ งานเข้าไป
ดัง นันจึ ง เห็ น ได้ว่ า การถ่ า ยเทความร้ อ นอัน เป็ นผลมาจากผลต่ า งของอุ ณ หภู มิ ที มี ค่ า จํา กัด จึ ง เป็ น
กระบวนการย้อนกลับไม่ได้ อนึ งกระบวนการถ่ายเทความร้ อนจะย้อนกลับได้ก็ต่อเมื อผลต่างของ
อุณหภูมิมีค่าลู่เข้าสู่ ศูนย์
4) การผสมกันของสาร ในทีนี จะยกตัวอย่างได้แก่การทํานําเกลือซึ งกระบวนการผลิตนําเกลือนันง่ายมาก
แค่เพียงนํานํามาผสมกับเกลือในสัดส่ วนทีต้องการ แต่ว่าถ้าต้องการจะให้นาเกลื ํ อแยกกลับไปเป็ นนํา
และเกลืออีกครัง เราจะต้องใส่ ความร้อนเข้าไปเพือให้นาเกลื ํ อเดือดกลายเป็ นไอเพือแยกไอนําให้ออก
จากเกลือ แล้วทําให้ไอนําเย็นตัวลงเพือให้กลันตัวกลับมาเป็ นนําในสถานะของเหลว ดังนันการผสมกัน
ของสารเป็ นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้
5) ปัจจัยอืนๆ เช่น การไหลของกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดต้านทาน การเผาไหม้จากปฏิกิริยาเคมี เป็ นต้น ซึง
ทังหมดต่างก็เป็ นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ทงสิ ั น
อนึ งกระบวนการย้อนกลับได้โดยสมบูรณ์นนจะประกอบไปด้ ั วยกระบวนการย้อนกลับได้ภายใน
(internal reversible process) และกระบวนการย้อนกลับได้ภายนอก (external reversible process) รวมกัน
ซึงจะแสดงตัวอย่างนันจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 7.13
120

T T

Q Q
แหล่งจ่ายพลังงาน แหล่งจ่ายพลังงาน
T + dT T + ΔT
(a) (b)
รู ปที 7.13 ความแตกต่างระหว่างกระบวนการย้อนกลับได้ภายในและภายนอก

ระบบทีพิจารณาในรู ปที 7.13 เป็ นสารบริ สุทธิ ภายในกระบอกสู บและลูกสู บ กระบวนการทีเกิดขึนในรู ปที
7.13 เป็ นกระบวนการถ่ายเทความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานให้แก่สารบริ สุทธิ ทีอยูใ่ นภาวะของผสมสอง
สถานะทีอุณหภูมิ T จะเห็นได้วา่ ไม่มีความแตกต่างเกิดขึนภายในระบบทีพิจารณาในรู ปที 7.13 (a) และ (b)
กล่าวคือสารบริ สุทธิ ในรู ปทังสองต่ างอยู่ในภาวะเดี ยวกัน ภายใต้กระบวนการกึ งสมดุ ลที ความดันคงที
เหมือนกัน ดังนันหากระบบไม่มีแรงเสี ยดทานภายใน ไม่มีการขยายตัวอย่างไม่มีขอ้ จํากัด รวมทังไม่มีการ
ผสมกันเกิดขึน เราจึงถือได้ว่ากระบวนการทีเกิดขึนในรู ปที 7.13 (a) และ (b) เป็ นกระบวนการย้อนกลับได้
ภายในเนืองจากปัจจัยทุกอย่างทีอยูภ่ ายในระบบทีพิจารณาย้อนกลับได้ แต่ขอ้ แตกต่างระหว่างรู ปที 7.13 (a)
และ (b) ก็คือการถ่ายเทความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานภายนอกเข้าสู่ ระบบ ในรู ป 7.13 (a) เป็ นการถ่ายเท
ความร้อนผ่านผลต่างของอุณหภูมิทีมีค่าลู่เข้าสู่ ศูนย์ (dT → 0) ดังนันกระบวนการถ่ายเทความร้อนในรู ป
7.13 (a) จึงเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ภายนอก ดังนันสําหรับในรู ป 7.13 (a) การย้อนกลับได้เกิดขึนทัง
ภายในและภายนอกระบบ เป็ นผลให้กระบวนการทีได้เป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ทงหมด ั (total reversible
process) หรื อเรี ยกสันๆ ว่ากระบวนการย้อนกลับได้โดยตัดคําว่า"ทังหมด"ทิงไป ในทางตรงกันข้ามในรู ป
7.13 (b) เป็ นการถ่ายเทความร้อนผ่านผลต่างของอุณหภูมิเป็ นค่าทีจํากัด ดังนันกระบวนการถ่ายเทความร้อน
ในรู ป 7.13 (b) จึงเป็ นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ภายนอกแต่ยงั คงกระบวนการย้อนกลับได้ภายในไว้

7.5 วัฏจักรคาร์โนต์
จากข้อความของเคลวิน-พลังค์ เราทราบแล้วว่าเครื องยนต์ความร้อนจะต้องมีประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
หรื อ ηth ตํากว่า 1 เสมอ ถ้าหากลองจินตนาการว่าเราสามารถสร้างเครื องยนต์ความร้อนในทางอุดมคติ
ขึนมาเครื องหนึงทีมีการทํางานเป็ นวัฏจักรซึงประกอบไปด้วยกระบวนการย้อนกลับได้ทงหมด ั ผลทีได้ก็คือ
เครื องยนต์อุดมคติเครื องนันมีความเป็ นไปได้ทีจะมีค่าประสิ ทธิภาพอุณหภาพทีสูงสุ ดเช่นกัน ในช่วงต้นของ
121

คริ สตศักราชที 18 ก็ได้มีวิศวกรชาวฝรังเศสชือซาดิ คาร์ โนต์ (Sadi Carnot) ได้ทาํ การศึกษาจนได้คิดค้น


เครื องยนต์ความร้ อนอุดมคติดงั กล่าว ซึ งต่อมาภายหลังชื อของเครื องยนต์นีก็ได้ตงขึั นเพือเป็ นเกี ยรติแก่
วิศวกรชาวฝรังเศสผูน้ ีนันคือเครื องยนต์คาร์โนต์ (Carnot engine) โดยทีมีวฏั จักรการทํางานในชือว่าวัฏจักร
คาร์โนต์ (Carnot cycle) ซึงตัวอย่างได้แสดงอยูใ่ นรู ปที 7.14

T=TL
T=TL
T=TH
T=TH T=TH
QH Q=0 QL Q=0
แหล่งจ่ายพลังงาน แหล่งรับพลังงาน
อุณหภูมิสูง T=TH+dTH อุณหภูมิตํา T=TL−dTL
ภาวะที 1 ภาวะที 2 ภาวะที 3 ภาวะที 4 ภาวะที 1

รู ปที 7.14 เครื องยนต์ความร้อนทีเป็ นระบบปิ ดและทํางานภายใต้วฏั จักรคาร์โนต์

รายละเอียดของวัฏจักรคาร์โนต์มีดงั ต่อไปนี
1) กระบวนการไอโซเธอร์ มลั ย้อนกลับได้ ของไหลทํางานจะมีอุณหภูมิคงทีเท่ากับ TH โดยการถ่ายเท
ความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงเท่ากับ TH+dTH
2) กระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้ ของไหลทํางานจะขยายตัวทําให้มีอุณหภูมิลดลงจาก TH ไปเป็ น
TL โดยทีไม่มีความร้อนถ่ายเทเข้าสู่ระบบ
3) กระบวนการไอโซเธอร์ มลั ย้อนกลับได้ ของไหลทํางานจะมีอุณหภูมิคงทีเท่ากับ TL โดยการถ่ายเท
ความร้อนไปยังแหล่งรับพลังงานอุณหภูมิตาเท่ ํ ากับ TL−dTL
4) กระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้ ของไหลทํางานจะหดตัวทําให้มีอุณหภูมิเพิมขึนจาก TL ไปเป็ น
TH โดยทีไม่มีความร้อนถ่ายเทเข้าสู่ระบบ
เนื องจากกระบวนการทังหมดทีเกิดขึนในวัฏจักรคาร์ โนต์เป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ ดังนันถ้าหากเรา
ย้อนกลับกระบวนการทังหมด สิ งทีเกิดขึนก็คือแหล่งรับพลังงานอุณหภูมิตาก็ ํ จะกลายเป็ นแหล่งจ่ายพลังงาน
QL เข้าสู่ ระบบแทน ในทํานองเดียวกันแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงก็จะกลายเป็ นแหล่งรับพลังงาน QH ที
จ่ายออกจากระบบ ส่ วนงานสุ ทธิ ทีได้จากระบบก็จะเปลียนเป็ นงานสุ ทธิ ทีให้กบั ระบบแทน โดยสรุ ปแล้ว
เครื องยนต์คาร์โนต์กจ็ ะเปลียนเป็ นตูเ้ ย็นหรื อปัมความร้อนคาร์โนต์ในทันที
122

นอกจากนี เครื องยนต์ความร้อนภายใต้วฏั จักรคาร์ โนต์สามารถใช้ได้กบั กระบวนการและอุปกรณ์


ภาวะคงตัวเช่นกัน ดังนันโรงจักรไอนําทีแสดงในรู ปที 7.3 จะสามารถเปลียนเป็ นเครื องยนต์ความร้อน
ภายใต้วฏั จักรคาร์โนต์ได้ดงั รู ปที 7.15
แหล่งจ่ายพลังงาน
อุณหภูมิสูง TH+dTH
QH

T=TH ฉนวน
ฉนวน หม้อไอนํา
Win Wout
เครืองสูบ กังหัน
เครืองควบแน่น
T=TL
QL
แหล่งรับพลังงาน
อุณหภูมิตํา TL−dTL

รู ปที 7.15 โรงจักรไอนําซึงเป็ นเครื องยนต์ความร้อนภายใต้วฏั จักรคาร์โนต์

7.6 ข้อความสองข้อทีเกียวข้องกับวัฏจักรคาร์โนต์
ข้อ ความสองข้อ ที เกี ยวข้อ งกับ วัฏ จัก รคาร์ โ นต์ นั นถื อ ว่ า เป็ นหลัก การสํ า คัญ ที เกี ยวข้อ งกับ
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของเครื องยนต์ความร้อนภายใต้วฏั จักรคาร์โนต์ซึงกล่าวได้ดงั นี
1) ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของเครื องยนต์ความร้อนทีย้อนกลับไม่ได้จะมีค่าตํากว่าประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพ
ของเครื องยนต์ความร้อนทีย้อนกลับได้ซึงทํางานอยูร่ ะหว่างแหล่งพลังงานทีมีอุณหภูมิสูงและอุณหภูมิ
เท่ากัน
2) ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของเครื องยนต์ความร้อนทีย้อนกลับได้จะมีค่าเท่ากันทุกเครื องถ้าเครื องยนต์
ทํางานอยูร่ ะหว่างแหล่งพลังงานทีมีอุณหภูมิสูงและอุณหภูมิตาเท่ ํ ากัน
ในการพิสูจน์ขอ้ ความข้อแรกนันเริ มต้นจากการสมมติว่าเครื องยนต์ยอ้ นกลับไม่ได้มีประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
สู งกว่าเครื องยนต์ยอ้ นกลับได้ซึงทํางานอยูร่ ะหว่างแหล่งพลังงานทีมีอุณหภูมิสูงและอุณหภูมิตาเท่ ํ ากันดังที
แสดงในรู ปที 7.16 (a) ถ้าให้ QH มีค่าเท่ากัน จะได้ว่า Wirr > Wrev เพราะประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของ
เครื องยนต์ยอ้ นกลับไม่ได้ทีสู งกว่าตามทีสมมติไว้ตอนต้น จากกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ หรื อ
สมการที 7.1 จะทําให้ QL,irr < QL,rev หลังจากนันทําการกลับทิศทางของเครื องยนต์ยอ้ นกลับได้ซึงจะทําให้
กลายเป็ นตูเ้ ย็นย้อนกลับได้ดงั รู ปที 7.16 (b) ทังนี ตูเ้ ย็นย้อนกลับได้นีจะถูกขับโดยงานทีได้จากเครื องยนต์ที
ย้อนกลับไม่ได้ จะเห็นได้ว่าเนืองจาก Wirr > Wrev ดังนันจึงมีงานสุ ทธิหรื อ Wnet ซึงเท่ากับ Wirr − Wrev ออก
123

นอกระบบ ในทํานองเดียวกันถ้าพิจารณาระบบเป็ นเส้นประทีแสดงในรู ปที 7.16 (b) จะเห็นได้ว่าเราจะมี


QL,net ซึงเท่ากับ QL,rev − QL,irr ถ่ายเทจากแหล่งพลังงานอุณหภูมิตาเข้
ํ าสู่ระบบ

TH TH
QH QH QH QH

เครืองยนต์ Wirr>Wrev เครืองยนต์ Wrev เครืองยนต์ Wirr Wrev ตู้เย็น


ความร้อน ความร้อน ความร้อน ความร้อน Wnet
ย้อนกลับไม่ได้ ย้อนกลับได้ ย้อนกลับไม่ได้ ย้อนกลับได้

QL,irr<QL,rev QL,rev QL,irr QL,rev


TL QL,net
TL

(a) (b)
รู ปที 7.16 การพิสูจน์ขอ้ ความข้อแรกทีเกียวข้องกับวัฏจักรคาร์โนต์

ดังนันระบบทีแทนด้วยเส้นประนันจะขัดแย้งกับข้อความของเคลวิน-พลังค์กล่าวคือระบบสามารถเปลียน
QL,net ให้เป็ น Wnet ได้ทงหมด
ั เพราะฉะนันแล้วข้อสมมติทีให้ไว้แต่ขา้ งต้นว่า ηth,irr > ηth,rev ที TH และ TL
เดียวกันจึงไม่จริ ง ดังนันข้อสรุ ปทีได้ก็คือสําหรับเครื องยนต์ความร้อนทุกเครื องแล้ว ηth,irr < ηth,rev ที TH
และ TL เดียวกัน
สําหรับในการพิสูจน์ขอ้ ความข้อทีสองนันก็สามารถทําได้เช่นเดียวกับการพิสูจน์ขอ้ ความข้อแรก
เพียงแต่เปลียนเครื องยนต์ยอ้ นกลับไม่ได้ให้เป็ นเครื องยนต์ยอ้ นกลับได้อีกเครื องหนึ งแต่มีประสิ ทธิ ภาพที
ํ ค่าเท่ ากัน
ดี ก ว่าเครื องยนต์ย อ้ นกลับได้เครื องแรกโดยที แหล่ งพลัง งานที มี อุณ หภู มิ สูง และอุ ณ หภู มิ ต ามี
จากนันทําตามวิธีการพิสูจน์ดงั ทีกล่าวมา ผลทีได้ก็คือเกิดความขัดแย้งกับข้อความของเคลวิน-พลังค์ จึงทํา
ให้ได้ขอ้ สรุ ปว่า ηth,rev จะเท่ากันสําหรับทุกเครื องยนต์ยอ้ นกลับได้ที TH และ TL เดียวกัน

7.7 สเกลอุณหภูมิเธอร์โมไดนามิกส์
จากบทที 2 เราได้กล่าวถึงสเกลอุณหภูมิสมั บูรณ์ซึงเป็ นผลมาจากกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
และเป็ นอิสระต่อสารทีใช้ ทังนี จะมีชือเรี ยกสเกลอุณหภูมิสัมบูรณ์ นีว่าสเกลอุณหภูมิเธอร์ โมไดนามิกส์
(thermodynamic temperature scale) จะเห็นได้วา่ แท้จริ งแล้วสเกลอุณหภูมิเธอร์โมไดนามิกส์นนก็ั เป็ นผลมา
จากประสิ ทธิ ภาพของเครื องยนต์คาร์ โนต์นนเอง
ั จากข้อความข้อทีสองทีเกียวข้องกับวัฏจักรคาร์ โนต์ เรา
ทราบแล้วว่าประสิ ทธิภาพของเครื องยนต์คาร์โนต์จะเท่ากันทุกเครื องโดยมีขอ้ แม้ว่าเครื องยนต์จะต้องทํางาน
124

ระหว่าง TH และ TL เดียวกัน ดังนันเราจะเห็นได้ว่า ηth,rev จะขึนอยูก่ บั TH และ TL เท่านันและไม่ขึนอยูก่ บั


ชนิดของเครื องยนต์และชนิดของของไหลทํางาน ดังนัน
ηth ,rev = f (TH , TL ) (7.8)

หากพิจารณาสมการที 7.8 กับสมการที 7.3 สําหรับเครื องยนต์คาร์โนต์จะได้วา่


Q
1 − L = f (TH , TL )
QH
QH
= g (TH , TL ) (7.9)
QL

รู ปแบบของฟังก์ชนของสมการที
ั 7.9 นัน ลอร์ดเคลวินได้เสนอให้
QH TH
= (7.10)
QL TL

แทนสมการที 7.10 ลงในสมการที 7.3 จะได้วา่


TL
ηth ,rev = 1 − (7.11)
TH

7.8 เครื องจักรอุดมคติและเครื องจักรจริ ง


สมการที 7.10 นันสามารถประยุกต์ใช้ได้กบั ตูเ้ ย็นและปั มความร้อนย้อนกลับได้ดว้ ยเช่นกัน ดังนัน
จากสมการที 7.6 และ 7.7 สัมประสิ ทธิสมรรถนะของตูเ้ ย็นและปัมความร้อนคาร์โนต์จะสามารถเขียนได้เป็ น
QL TL
βR,rev = = (7.12)
QH − QL TH − TL
QH TH
βHP,rev = = (7.13)
QH − QL TH − TL

ดังนันหากทําการสรุ ปอีกครัง จะสามารถเขียนได้วา่


QL T
ηth ,real = 1 − ≤ ηth ,rev = 1 − L (7.14)
QH TH
QL TL
βR,real = ≤ βR,rev = (7.15)
QH − QL TH − TL
QH TH
βHP,real = ≤ βHP,rev = (7.16)
QH − QL TH − TL
125

ตัวอย่างที 7.2
เครื องทํานําเย็นเป็ นตูเ้ ย็นประเภทหนึ งทีทําหน้าทีผลิตนําเย็นเพือนําไปใช้ในงานอุตสาหกรรมและ
งานปรับอากาศ ทังนีเครื องทํานําเย็นจะทํานําเย็นได้ทีอุณหภูมิประมาณ 7oC ในขณะทีความร้อนจะทิงไปสู่
บรรยากาศภายนอกทีอุณหภูมิ 35oC ถ้าเครื องทํานําเย็นจะต้องดึงความร้อนจากนําเย็นเท่ากับ 8,500 kJ งาน
น้อยทีสุ ดทีเป็ นไปได้ทีเครื องทํานําเย็นเครื องนีต้องการจะเป็ นเท่าไร จากนันถ้าเครื องทํานําเย็นจริ งโดยทัวไป
มีค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะประมาณ 3.9 จงหาสัดส่ วนของงานทีต้องใช้จริ งต่องานทีน้อยทีสุ ดว่าเป็ นเท่าไร
วิธีทาํ
ตัวแปรทีทราบค่า: TL, TH, QL
ตัวแปรทีต้องการ: Wnet,rev , Wnet,real/Wnet,rev
เครื องทํานําเย็นทีใช้งานน้อยทีสุ ดก็คือเครื องทํานําเย็นทีเป็ นตูเ้ ย็นย้อนกลับได้หรื อทํางานภายใต้
วัฏจักรคาร์โนต์ ซึงเราจะสามารถเขียนแผนภาพของตูเ้ ย็นได้คือ
จากสมการสัมประสิ ทธิสมรรถนะของตูเ้ ย็นคาร์โนต์ บรรยากาศภายนอกที
TL TH = 35oC = 308.15 K
β R,rev =
TH − TL QH
280.15 K
βR,rev = = 10.005 Wnet,rev
308.15 − 280.15 K ตู้เย็น

ดังนันนํา βR,rev ไปแทนค่าในสมการที 7.4 จะได้เป็ น


QL QL = 8,500 kJ
βR,rev =
Wnet ,rev นําเย็นที
TL = 7oC = 280.15 K
Q 8,500 kJ
Wnet ,rev = L =
βR,rev 10.005
Wnet,rev = 849.5 kJ คําตอบ
จากนันโจทย์ได้ระบุว่าค่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะของเครื องทํานําเย็นจริ งมี ค่าประมาณ 3.9 ดังนันด้วย
ปริ มาณ QL ทีเท่าเดิม เราจะสามารถหาค่างานทีใช้ในเครื องทํานําเย็นจริ งได้เป็ น
QL
βR,real =
Wnet ,real
QL 8,500 kJ
Wnet ,real = = = 2,179 kJ
βR,real 3.9
Wnet ,real = 2,179 kJ
126

ดังนันสัดส่ วนของงานทีต้องใช้จริ งต่องานทีน้อยทีสุ ดจะมีค่าเป็ น


Wnet ,real 2,179 kJ
=
Wnet ,rev 849.5 kJ
Wnet ,real
= 2.57 คําตอบ
Wnet ,rev
หมายเหตุ
จะเห็นได้ว่างานทีต้องใช้สาํ หรับเครื องทํานําเย็นจริ งมีค่ามากกว่างานทีน้อยทีสุ ดในกรณี ทีเครื องทํา
นําเย็นทํางานภายใต้วฏั จักรคาร์ โนต์อยู่ประมาณ 2.6 เท่า ส่ วนต่างทีเกิดขึนนันย่อมมาจากปั จจัยซึ งทําให้
กระบวนการย้อนกลับไม่ได้ได้แก่แรงเสี ยดทาน การถ่ายเทความร้อนอันเป็ นผลมาจากผลต่างของอุณหภูมิที
มีค่าจํากัด เป็ นต้น นอกจากนี วัฏจักรทําความเย็นทีใช้อยูจ่ ริ งในทางปฏิบตั ิก็จะแตกต่างจากวัฏจักรคาร์ โนต์
เนืองจากมีขอ้ จํากัดอยูห่ ลายประการซึงรายละเอียดจะนําเสนอในบทที 10

ตัวอย่างที 7.3
ความร้ อ นจากใต้พิ ภ พเป็ นแหล่ ง พลัง งานธรรมชาติ รูป แบบหนึ งที มี ศ กั ยภาพในการนํา มาผลิ ต
กระแสไฟฟ้ าได้ โดยความร้อนทีได้จะอยูใ่ นรู ปของนําพุร้อนใต้ดินทีอุณหภูมิ 180oC และสามารถผลิตความ
ร้อนได้ประมาณ 120 MW บริ ษทั แห่งหนึงได้เสนอว่าสามารถนําความร้อนดังกล่าวมาผลิตไฟฟ้ าได้ 50 MW
ถ้าอากาศภายนอกมีอุณหภูมิเฉลียประมาณ 30oC สิ งทีบริ ษทั ดังกล่าวเสนอมาเป็ นไปได้หรื อไม่
วิธีทาํ
ตัวแปรทีทราบค่า: TH, Q& H , W& net ,real , TL
ตัวแปรทีต้องการ: ตรวจสอบความเป็ นไปได้ของข้อเสนอ
เครื องยนต์ความร้อนทีจะสามารถผลิตกําลังออกมาได้มากทีสุ ดก็คือเครื องยนต์คาร์โนต์ซึงถ้าหาก
นํามาใช้งานทีระหว่างนําพุร้อนใต้ดินที TH และอากาศภายนอกที TL จะมีประสิ ทธิภาพอุณหภาพเท่ากับ
TL อุณหภูมิจากนําพุร้อนที
ηth ,rev = 1 − TH = 180oC = 453.15 K
TH
303.15 K Q& H = 120 MW
ηth ,rev = 1 − = 0.3310
453.15 K W& net , real = 50 MW
เครืองยนต์
ในอี ก ด้า นหนึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพอุ ณ หภาพของเครื องยนต์ที ทาง ความร้อน
บริ ษทั เสนอมาจะสามารถคํานวณได้จาก Q& L
W& net ,real
ηth ,real = อากาศภายนอก
Q& H TL = 30oC = 303.15 K
127

50 MW
ηth ,real = = 0.4167
120 MW
เมือเปรี ยบเทียบกับประสิ ทธิภาพอุณหภาพของเครื องยนต์คาร์โนต์จะพบว่า
ηth ,real > ηth ,rev
จากข้อความข้อแรกทีเกี ยวข้องกับวัฏจักรคาร์ โนต์ จะพบว่าเป็ นไม่ได้ทีเครื องยนต์จริ งจะมีประสิ ทธิ ภาพ
อุณหภาพมากกว่าเครื องยนต์คาร์โนต์ ดังนันสิ งทีบริ ษทั เสนอมาจึงเป็ นไปไม่ได้ คําตอบ
หมายเหตุ
จากตัวอย่างทีได้จะเห็นได้ว่าถึงแม้จะเป็ นเครื องยนต์คาร์ โนต์ทีมีประสิ ทธิภาพอุณหภาพสู งสุ ดก็ให้
ค่า ηth ,rev เพียงแค่ประมาณร้อยละ 33 เท่านัน ทังนีหากพิจารณาสมการที 7.11 จะพบว่าค่า ηth ,rev จะขึนอยู่
กับ TH และ TL โดยทัวไป TL ก็มกั จะเป็ นอุณหภูมิของบรรยากาศซึงจะเปลียนแปลงตามสภาพอากาศและ
ไม่สามารถควบคุมได้ ดังนันตัวแปรทีจะสามารถทําให้ ηth ,rev เปลียนแปลงได้ก็คือ TH จากสมการที 7.11
ยิง TH มีค่ามากเท่าไหร่ เราจะพบว่า ηth ,rev ก็จะมีค่ามากขึนเท่านัน ในเครื องยนต์เผาไหม้ภายในหรื อ
รถยนต์ทีเราเห็นโดยทัวไปจะมีอุณหภูมิในห้องเผาไหม้หรื อ TH มีค่ามากกว่า 1,000 K ในขณะทีอากาศ
ภายนอกหรื อค่า TL มีค่าประมาณ 300 K ดังนันหากแทนค่าดังกล่าวลงในสมการที 7.11 จะได้ ηth ,rev = 0.7
เมือเทียบกับค่า TH จากตัวอย่างซึงมีค่าเพียง 453.15 K ดังนันค่าของ TH จึงเป็ นตัวแปรสําคัญในการบ่งบอก
ถึงศักยภาพของแหล่งพลังงานนันๆ นอกจากนี หาก TH ยิงมีค่าสู งขึนเท่าใด ก็ยิงแสดงว่าแหล่งพลังงานมี
ศักยภาพมากขึนเท่านัน พลังงานแสงอาทิตย์ก็เป็ นตัวอย่างหนึ งทีเห็ นได้ชดั ว่า หากนําแสงอาทิตย์มาให้
พลังงานโดยตรงกับนําก็จะได้อุณหภูมิของนําเพียงแค่ประมาณ 55-85oC เท่านัน ซึ งหากจะนํานําร้อน
ดังกล่าวมาเป็ นแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงเพือผลิตกระแสไฟฟ้ าก็ยอ่ มจะมีศกั ยภาพทีตํามาก ดังนันหาก
จะนําแสงอาทิตย์มาผลิตกระแสไฟฟ้ าจะต้องนําแสงอาทิตย์มารวมกันเพียงจุดเดี ยวเพือให้เกิ ดเป็ นแหล่ง
พลังงานทีมีอุณหภูมิสูงขึน ส่ งผลให้ศกั ยภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้ าเพิมขึนตามไปด้วย
128

แบบฝึ กหัด
1) เครื องยนต์ความร้อนเครื องหนึงมีประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพร้อยละ 30 และใช้นามั ํ นเตา (ค่าความร้อน
เชือเพลิงประมาณ 40 MJ/L) เป็ นเชือเพลิงในการป้ อนความร้อนเข้าสู่ เครื องยนต์ดงั กล่าว ถ้าต้องการ
ให้เครื องยนต์ความร้อนเครื องนีจ่ายกําลังออกมาเท่ากับ 240 kW จงหาอัตราการบริ โภคนํามันเตาเป็ น
ลิตรต่อชัวโมง

2) เครื องยนต์ความร้ อนเครื องหนึ งสร้ างงานเพือใช้ใน TH


การขับปั มความร้อนทังหมดดังทีแสดงในรู ป ทังนี QH,HE= 24 kJ QH,HP= 26 kJ
อุ ป กรณ์ ท ังสองทํา งานอยู่ร ะหว่า งแหล่ ง พลัง งานที Wnet= 16 kJ
เครืองยนต์
อุ ณ หภู มิ สู งและอุ ณ หภู มิ ต ําแหล่ ง เดี ย วกั น จง ความร้อน ปมความร้อน
พิจารณาว่าการทํางานดังกล่าวเป็ นไปได้ตามกฎข้อที
หนึ งและกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์หรื อไม่ QL,HE= 8 kJ
QL,HP= 10 kJ
อย่างไร อธิบาย TL

3) ปัจจัยใดทีทําให้เกิดการย้อนกลับไม่ได้ในกระบวนการต่อไปนี
(a) การชงกาแฟโดยการผสมกาแฟ นม นําตาลเข้าด้วยกัน
(b) การใช้หา้ มล้อเพือชะลอความเร็ วของรถยนต์
(c) การระเบิดของลูกโป่ งทีถูกอัดอากาศเข้าไป
(d) การทิงนําร้อนในแก้วให้เย็นลงโดยการวางบนโต๊ะเป็ นเวลานาน
4) จงอธิบายว่าเครื องยนต์คาร์โนต์ซึงทํางานเป็ นวัฏจักรประกอบไปด้วยกระบวนการใดบ้าง อธิบาย
5) แหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงที 300oC ทําหน้าทีจ่ายความร้อนให้แก่เครื องยนต์ความร้อน โดยจะทิง
ความร้อนไปยังแหล่งรับพลังงานอุณหภูมิตาที ํ 30oC ถ้าต้องการกําลังจากเครื องยนต์เท่ากับ 80 kW
อัตราการถ่ายเทความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงทีน้อยทีสุ ดจะมีค่าเป็ นเท่าไร
6) ปั มความร้อนถูกใช้งานเพือรักษาอุณหภูมิในห้องให้ได้ 25oC ในขณะทีอุณหภูมิของอากาศภายนอก
ห้องมีค่าเท่ากับ 0oC หากปัมความร้อนเครื องนีผลิตความร้อนได้ 480 kJ ในขณะทีต้องการงานในการ
ขับเท่ากับ 115 kJ สัมประสิ ทธิ สมรรถนะของปั มความร้อนเครื องนี มีค่าเป็ นร้อยละเท่าไหร่ ของ
สัมประสิ ทธิสมรรถนะของปัมความร้อนคาร์โนต์ทีทํางานระหว่างห้องและอากาศภายนอกเดียวกัน
129

บทที 8
เอนโทรปี
8.1 ความไม่เท่ากันของเคลาเซียส
ความไม่เท่ากันของเคลาเซียสเป็ นผลทีได้จากกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์ซึงใช้ได้กบั ระบบที
ทํางานเป็ นวัฏจักรทีย้อนกลับได้และย้อนกลับไม่ได้ ความไม่เท่ากันของเคลาเซี ยสสามารถเขียนอยู่ในรู ป
ของอสมการได้วา่
δQ
∫ T
≤ 0 (8.1)

เมือเปลียนเครื องหมายปริ พนั ธ์วงปิ ดให้เป็ นผลรวมทังหมดตลอดทังวัฏจักร จะสามารถเขียนความไม่เท่ากัน


ของเคลาเซียสได้เป็ น
⎛Q⎞ ≤ 0

cycle
⎜ ⎟
⎝ T ⎠ all
(8.2)

เพือทีจะแสดงว่าความไม่เท่ากันของเคลาเซี ยสนันสามารถนําไปใช้ได้ทงวัั ฏจักรย้อนกลับได้และวัฏจักร


ย้อนกลับไม่ได้ ให้พิจารณาเครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับได้และย้อนกลับไม่ได้ดงั รู ปที 8.1
TH TH

QH QH

เครืองยนต์ Wrev เครืองยนต์ Wirr


ความร้อน ความร้อน
ย้อนกลับได้ ย้อนกลับไม่ได้

QL,rev QL,irr

TL TL
(a) (b)
รู ปที 8.1 เครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับได้และย้อนกลับไม่ได้เพือแสดงถึงความไม่เท่ากันของเคลาเซียส

หากประยุกต์ใช้สมการที 8.1 และ 8.2 กับเครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับได้ในรู ปที 8.1 (a) จะได้วา่
δQ ⎛ Q ⎞ = Q H + ⎛⎜ − Q L ,rev ⎞⎟ = Q H − Q L ,rev
∫ T
= ∑cycle
⎜ ⎟
⎝ T ⎠all TH ⎜ T ⎟
⎝ L ⎠ TH TL
130

เครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับได้หรื อเครื องยนต์คาร์โนต์นนจะสอดคล้


ั องกับสมการที 7.10 เมือนําสมการที
7.10 ไปแทนยังพจน์สุดท้ายของสมการก่อนหน้านี จะได้วา่
δQ
∫ T
= 0 สําหรับเครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับได้ (8.3)

ซึงก็สอดคล้องกับความไม่เท่ากันของเคลาเซียส
ในทํานองเดียวกันสําหรับเครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับไม่ได้ในรู ป 8.1 (b) เราจะสมมติให้ QH, TH
และ TL มีค่าเท่ากับเครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับได้ ดังนันเนืองจาก ηth,rev > ηth,irr และผลจากกฎข้อทีหนึง
ของเธอร์โมไดนามิกส์ จึงทําให้
Wirr < Wrev และ Q L,irr > Q L,rev
ซึงสอดคล้องกับสามัญสํานึกนันก็คือถ้าความร้อนทีใส่ เข้าไปหรื อ QH มีค่าเท่ากัน เครื องยนต์ยอ้ นกลับไม่ได้
จะเปลียน QH ให้เป็ น W ได้นอ้ ยกว่าเครื องยนต์ยอ้ นกลับได้ ในขณะเดียวกันความร้อนเหลือทิงหรื อ QL ของ
เครื องยนต์ยอ้ นกลับไม่ได้จะมีค่ามากกว่าเครื องยนต์ยอ้ นกลับได้ ดังนันหากประยุกต์ใช้สมการที 8.1 และ
8.2 กับเครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับไม่ได้ ผลทีได้คือ
δQ ⎛ Q ⎞ = Q H + ⎛⎜ − Q L ,irr ⎞⎟ = Q H − Q L ,irr
∫ T
= ∑cycle
⎜ ⎟
⎝ T ⎠ all TH ⎜ T ⎟
⎝ L ⎠ TH TL
เนืองจาก QL,irr > QL,rev ในขณะที QH, TH และ TL มีค่าเท่าเดิม จึงทําให้
QH Q
− L ,irr < 0
TH TL
เป็ นผลให้
δQ
∫ T
< 0 สําหรับเครื องยนต์ความร้อนย้อนกลับไม่ได้ (8.4)

ดังนันสําหรับทุกเครื องยนต์ เราจึงเขียนสมการที 8.3 และ 8.4 รวมกันในรู ปของอสมการซึ งก็คือความไม่


เท่ากันของเคลาเซียสทีแสดงในสมการที 8.1 นันเอง
อนึ งหากเราเปลียนจากเครื องยนต์ความร้อนไปเป็ นตูเ้ ย็นหรื อปั มความร้อน โดยพิจารณาตูเ้ ย็นหรื อ
ปัมความร้อนทีย้อนกลับได้และย้อนกลับไม่ได้ในทํานองเดียวกับทีพิจารณาเครื องยนต์ความร้อนข้างต้น เรา
ก็จะได้ผลในทํานองเดียวกันกับเครื องยนต์ความร้อน ดังนันข้อสรุ ปทีได้สําหรับความไม่เท่ากันของเคลา
เซียสก็คือเป็ นอสมการทีใช้ได้กบั วัฏจักรทีย้อนกลับได้และย้อนกลับไม่ได้กล่าวคือ
δQ

T
≤ 0

โดยทีเครื องหมายเท่ากับและน้อยกว่านันใช้สาํ หรับวัฏจักรทีย้อนกลับได้และย้อนกลับไม่ได้ตามลําดับ


131

8.2 เอนโทรปี - สมบัติของระบบ


พิ จ ารณาระบบที มี ก ารทํา งานเป็ นวัฏ จัก รย้อ นกลับ ได้ซึ งประกอบไปด้ว ยกระบวนการสอง
กระบวนการดังที แสดงในรู ปที 8.2 จากรู ปจะเห็ นได้ว่ากระบวนการเดิ นหน้ามี สองทางเลื อกคื อ
กระบวนการ A และ C ในขณะทีกระบวนการย้อนกลับนันมีอยูเ่ พียงกระบวนการเดียวคือกระบวนการ B

P
2
B
A
C
1

V
รู ปที 8.2 วัฎจักรย้อนกลับได้ทีมีกระบวนการเดินหน้าสองกระบวนการ
และกระบวนการย้อนกลับเพียงกระบวนการเดียว

จากความไม่เท่ากันของเคลาเซียสสําหรับวัฏจักรทีย้อนกลับได้หรื อสมการที 8.3 จะได้วา่


δQ
∫T
=0

หากเราเลือกกระบวนการเดินหน้าเป็ นกระบวนการ A และกระบวนการย้อนกลับคือกระบวนการ B เราจะ


สามารถแทนปริ พนั ธ์วงปิ ดได้ดว้ ยปริ พนั ธ์ของแต่ละกระบวนการ กล่าวคือ
2 1
⎛ δQ ⎞ + ⎛ δQ ⎞ = 0

1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠A ∫
2
⎜ ⎟
⎝ T ⎠B
ในทํานองเดียวกัน ถ้าเปลียนกระบวนการเดินหน้าจากกระบวนการ A ไปเป็ น C จะได้วา่
2 1
⎛ δQ ⎞ + ⎛ δQ ⎞ = 0

1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠C ∫
2
⎜ ⎟
⎝ T ⎠B
นําสมการแรกหักออกจากสมการทีสองแล้วจัดรู ปสมการ ผลทีได้คือ
2 2
⎛ δQ ⎞ = ⎛ δQ ⎞
∫ 1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠A ∫
1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠C
132

สมมติว่ากระบวนการเดินหน้ามีเพิมเติมอีกนอกเหนื อจากกระบวนการทีมีอยูเ่ ดิมนันคือ A และ C ไปเป็ น


กระบวนการ D, E, จนถึง Z ถ้าหากว่าเราทําแบบเดียวกับวิธีการข้างต้นแต่เปลียนจากกระบวนการ C ไปเป็ น
กระบวนการ D, E, จนถึง Z ผลทีได้คือ
2 2 2 2 2
⎛ δQ ⎞ = ⎛ δQ ⎞ = ⎛ δQ ⎞ = ⎛ δQ ⎞ = K = ⎛ δQ ⎞
∫1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠A ∫1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠C ∫
1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠D ∫1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠E ∫
1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠Z
จะเห็นได้ว่าปริ มาณ (δQ/T ) เป็ นปริ มาณทีไม่ขึนอยูก่ บั วิถี เนื องจากไม่ว่าจะเลือกกระบวนการเดินหน้า
เป็ นกระบวนใด ตราบใดทีภาวะตังต้นและภาวะสุ ดท้ายยังคงเป็ นภาวะเดิม ค่าของ (δQ/T ) ก็ยงั คงมีค่าเท่า
เดิม ดังนัน (δQ/T ) จึงเป็ นฟังก์ชนั จุดและเป็ นสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ สมบัตินีจะมีชือเรี ยกว่าเอนโทรปี
(entropy หรื อ S) ดังนันเราจะสามารถเขียนได้วา่
δQ
dS = ⎛⎜ ⎞⎟ (8.5)
⎝ T ⎠ rev
เมือทําการหาปริ พนั ธ์ของสมการที 8.5 เราจะสามารถเขียนผลต่างของเอนโทรปี ได้เป็ น
2
⎛ δQ ⎞
S 2 − S1 =

1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠ rev
(8.6)

ในทํานองเดียวกันกับสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ทีเคยกล่าวมา เอนโทรปี เป็ นสมบัติเอกซ์เทนซิฟ ดังนันเราจึง


นิยามเอนโทรปี จําเพาะ (specific entropy หรื อ s) ซึงเป็ นสมบัติอินเทนซิฟและจะนิยามโดย
S
s= (8.7)
m
อนึงถ้าภาวะที 1 และ ภาวะที 2 เป็ นภาวะเดียวกัน ดังนัน S 2 − S1 จะมีค่าเท่ากันหมดไม่ว่ากระบวนการนัน
จะเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้หรื อย้อนกลับไม่ได้ เนื องจากเอนโทรปี เป็ นสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์และ
เป็ นฟังก์ชนั จุด เพียงแต่วา่ เฉพาะกระบวนการย้อนกลับได้เท่านันถึงจะทําให้สมการที 8.6 เป็ นจริ งได้

8.3 เอนโทรปี ของสารบริ สุทธิ


ในตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์จะมีการระบุค่าเอนโทรปี จําเพาะซึ งมีหน่วยเป็ น kJ/kg-K ลงใน
ตารางในลักษณะเดียวกับสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์อืนๆ ทีเคยกล่าวมานันคือ สําหรับภาวะอิมตัวเราจะใช้ sf
และ sg เพือเป็ นสัญลักษณ์แทนเอนโทรปี จําเพาะของของเหลวอิมตัวและไออิมตัวตามลําดับ รวมทัง sfg ซึงจะ
มีค่าเท่ากับ sg − sf เช่นกัน การหาค่าเอนโทรปี จําเพาะของของผสมสองสถานะก็หาได้จากการเฉลียถ่วง
นําหนักระหว่าง sf และ sg โดยนําค่าคุณภาพสารสองสถานะมาเป็ นสัดส่ วนในการเฉลียกล่าวคือ
133

s = (1 − x ) s f + x s g (8.8)
s = s f + x s fg (8.9)

ในบทที 3 เราได้กล่าวถึงแผนภาพอุณหภูมิ-ปริ มาตรซึ งใช้สาํ หรับแสดงภาวะของสารบริ สุทธิ ใน


เบืองต้น ต่อมาในบทที 4 เราก็ได้กล่าวถึงแผนภาพความดัน-ปริ มาตรซึ งพืนทีใต้กราฟจะนําไปหางาน
ขอบเขตเคลือนทีของระบบได้ จะเห็นได้ว่าตามกฎของภาวะทางเธอร์ โมไดนามิกส์นนั เราจะสามารถเลือก
สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์สองค่าใดก็ได้มาเป็ นแกนในแผนภาพเพือทีจะระบุภาวะของสารบริ สุทธิ ในทาง
ปฏิบตั ินนเรามี
ั วิธีเลือกสมบัติสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์สองค่าได้อย่างมากมาย สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ที
นิ ยมนํามาใช้เป็ นแกนในแผนภาพก็คืออุณหภูมิและเอนโทรปี หรื อทีเรี ยกว่าแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี
(temperature-entropy diagram) ดังตัวอย่างทีแสดงในรู ปที 8.3

รู ปที 8.3 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของนํา (Borgnakke and Sonntag, 2009: 258)

จะเห็ นได้ว่าแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี จะแสดงให้เห็ นถึงเส้นโค้งระฆังควําซึ งเกิ ดจากการเชื อมต่อกัน


ระหว่างเส้นของเหลวอิมตัวและเส้นไออิมตัวได้อย่างชัดเจน ในขณะเดียวกันในแผนภาพก็จะมีการแสดง
เส้นต่างๆ อาทิ เส้นความดันคงที เส้นปริ มาตรคงที เส้นเอนธัลปี คงที เป็ นต้น ซึ งเราจะใช้เส้นเหล่านี จะเป็ น
แนวทางในการลากวิถีของกระบวนการต่างๆ

8.4 การเปลียนแปลงเอนโทรปี ในกระบวนการย้อนกลับได้


พิจารณาวัฏจักรคาร์ โนต์ทีได้นาํ เสนอไปแล้วในบทที 7 เราจะพบว่าเนื องจากวัฏจักรคาร์ โนต์
ประกอบไปด้วยกระบวนการย้อนกลับได้สีกระบวนการได้แก่กระบวนการไอโซเธอร์ มลั ย้อนกลับได้สอง
กระบวนการและกระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้สองกระบวนการ สําหรับกระบวนการไอโซเธอร์มลั
ย้อนกลับได้นนหากนํ
ั าสมการที 8.6 มาประยุกต์ใช้ เนืองจากอุณหภูมิมีค่าคงทีเราจะได้วา่
134

2
⎛ δQ ⎞ = 1 Q 2
S 2 − S1 =

1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠ rev T
(8.10)

ในส่ วนของกระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้นนหากนํ ั าสมการที 8.6 มาประยุกต์ใช้ เนืองจากการถ่ายเท


ความร้อนมีค่าเป็ นศูนย์ สมการที 8.6 จึงสามารถเขียนได้เป็ น
2
⎛ δQ ⎞ = 0
S 2 − S1 =
∫1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠ rev
(8.11)

จะเห็นได้วา่ กระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้นนจะทํ ั าให้การเปลียนแปลงเอนโทรปี ของระบบมีค่าเป็ น


ศูน ย์ หรื อ ก็คือ เอนโทรปี ของระบบมี ค่ า คงที ตลอดทังกระบวนการ ดัง นันกระบวนการแอเดี ย แบติ ก
ย้อ นกลับ ได้จึ ง มี อี ก ชื อหนึ งว่า กระบวนการเอนโทรปี คงที หรื อ กระบวนการไอเซนโทรปิ ก (isentropic
process)
หากเรานําเครื องยนต์ความร้อนภายใต้วฏั จักรคาร์โนต์มาวาดลงบนแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ผล
ทีได้กจ็ ะเป็ นดังรู ปที 8.4
T T Wnet
1 2 1 2
TH QH TH

TL 4 3 TL 4 3
QL
a b a b
S1 = S4 S2 = S3 S S1 = S4 S2 = S3 S

(a) (b)
รู ปที 8.4 วัฏจักรคาร์โนต์บนแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี

จะเห็นได้ว่ากระบวนการจากภาวะที 1 ไปภาวะที 2 เป็ นกระบวนการไอโซเธอร์ มลั ย้อนกลับทีอุณหภูมิ


เท่ากับ TH ซึ งจะเกิดการถ่ายเทความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงเข้าสู่ ระบบ ดังนันจากสมการที
8.10 จะสามารถเขียนได้วา่
QH
S 2 − S1 = หรื อ Q H = TH (S 2 − S1 )
TH
135

ดังนัน QH ก็จะสามารถแทนได้ดว้ ยพืนที 1-2-b-a-1 หรื อก็คือพืนทีแรเงาทึบทีแสดงในรู ปที 8.4 (a) นันเอง
ในทํานองเดียวกันกระบวนการจากภาวะที 3 ไปภาวะที 4 เป็ นกระบวนการไอโซเธอร์มลั ย้อนกลับทีอุณหภูมิ
เท่ากับ TL ซึงจะเกิดการถ่ายเทความร้อนจากระบบออกไปยังแหล่งรับพลังงานอุณหภูมิตาํ ดังนันจากสมการ
ที 8.10 จะสามารถเขียนได้วา่
QL
S3 − S 4 = หรื อ Q L = TL (S 3 − S 4 )
TL
ดังนัน QL ก็จะสามารถแทนได้ดว้ ยพืนที 4-3-b-a-4 หรื อก็คือพืนทีแรเงาลายทแยงมุมทีแสดงในรู ปที 8.4 (b)
ดังนันหากอาศัยกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สําหรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักร Wnet ก็คือผลต่าง
ระหว่าง QH และ QL ซึงก็จะแทนด้วยพืนที 1-2-3-4-1 หรื อก็คือพืนทีทีถูกปิ ดล้อมด้วยวัฏจักรทีแสดงด้วยพืนที
แรเงาทึบในรู ปที 8.4 (b) อนึงสําหรับกระบวนการจากภาวะที 2 ไปภาวะที 3 และกระบวนการจากภาวะที
4 ไปภาวะที 1 นันเป็ นกระบวนการไอเซนโทรปิ ก ดังนันค่า S จึงไม่เปลียนแปลงในระหว่างกระบวนการ
ในส่ วนของประสิ ทธิภาพเชิงอุณหภาพก็จะสามารถหาได้จาก
Wnet พืนที 1 - 2 - 3 - 4 - 1
ηth = =
QH พืนที 1 - 2 - b - a - 1
นอกจากนีเครื องยนต์ความร้อนคาร์โนต์ยงั สามารถย้อนกลับได้ซึงผลทีได้คือตูเ้ ย็นหรื อปัมความร้อนคาร์โนต์
แทน ดังนันลูกศรทีแสดงวิถีของกระบวนการต่างๆ ในรู ป 8.4 ก็จะย้อนกลับหมด ถ้าเราหาค่า QH QL และ
Wnet ด้วยวิธีเดียวกับทีแสดงข้างต้น ก็จะพบว่า QH QL และ Wnet ก็จะแทนได้ดว้ ยพืนทีเช่นเดียวกับเครื องยนต์
ความร้อนคาร์โนต์นนเองั
หากพิจารณากระบวนการย้อนกลับได้ภายในใดๆ ทีเกิดการถ่ายเทความร้อนระหว่างระบบและสิ ง
ล้อมรอบ เราจะพบว่าหากนํากระบวนการดังกล่าวไปวาดลงบนแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ดังทีแสดงใน
รู ปที 8.5

1
Q
1 2
S
รู ปที 8.5 กระบวนการย้อนกลับได้ภายในบนแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี
136

จากสมการที 8.5 ถ้าเราหาปริ พนั ธ์ของสมการดังกล่าว ผลทีได้คือ


2 2

1 Q2 =
∫ δQ = ∫ T dS
1 1
(8.12)

ดังนันจะเห็นได้วา่ ปริ มาณความร้อนทีถ่ายเทผ่านระบบก็คือพืนทีใต้กราฟอุณหภูมิและเอนโทรปี นันเองซึงจะ


แทนได้ดว้ ยพืนทีแรเงาในรู ปที 8.5 ซึงนีก็คือประโยชน์อนั หนึงทีได้จากการใช้แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี
นอกจากนี หากวัฏจักรใดๆ ทีประกอบไปด้วยกระบวนการย้อนกลับได้ภายในทังหมด เราจะได้ขอ้ สรุ ป
เช่นเดียวกับวัฏจักรคาร์โนต์ทีแสดงในข้างต้นว่า พืนทีทีถูกปิ ดล้อมโดยวัฏจักรซึงแสดงบนแผนภาพอุณหภูมิ-
เอนโทรปี ก็คืองานสุ ทธิทีได้จากวัฏจักรนันนันเอง

8.5 ความสัมพันธ์สมบัติเธอร์โมไดนามิกส์
พิจารณากฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมในรู ปของอนุพนั ธ์หรื อสมการที 5.6
โดยทีละทิงการเปลียนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ สมการที 5.6 จะลดรู ปเป็ น
δQ = dU + δW

สําหรับกระบวนการย้อนกลับได้ของสารบริ สุทธิอัดตัวได้เชิงเดียว จะสามารถเขียนได้วา่


δQ = T dS และ δW = P dV

เมือแทนค่า δQ และ δW ลงในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมด้านบน จะได้เป็ น


T dS = dU + P dV (8.13)

อนึ งถึงแม้ว่าสมการด้านบนจะถูกพิสูจน์ภายใต้ขอ้ สมมติ ฐานว่ากระบวนการที เกิ ดขึนเป็ นกระบวนการ


ย้อนกลับได้ แต่เมือพิจารณาตัวสมการที 8.13 จะพบว่าความสัมพันธ์ทีเกิดขึนเป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง
สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์เพียงอย่างเดียว จากเดิมเราทราบว่าสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์เป็ นฟั งก์ชนั จุดซึ งจะ
ขึนอยูก่ บั ภาวะของสารเพียงอย่างเดียวโดยไม่ขึนอยูก่ บั วิถีของกระบวนการทีเกิดขึน ดังนันหากภาวะเริ มต้น
และภาวะสุ ดท้ายเป็ นภาวะเดียวกัน สมการที 8.13 ก็สามารถใช้ได้ทงกั ั บกระบวนการย้อนกลับได้รวมทัง
กระบวนการย้อนกลับไม่ได้เช่นกัน
จากนิยามของเอนธัลปี หรื อสมการที 5.13 เราสามารถเขียนได้วา่
H = U + PV

เมือเขียนนิยามของเอนธัลปี ในรู ปของอนุพนั ธ์ จะได้วา่


dH = dU + P dV + V dP
137

เมือแทนค่าลงไปในสมการที 8.13 จะได้เป็ น


T dS = dH − V dP (8.14)

สมการที 8.13 และ 8.14 มีชือว่าความสัมพันธ์สมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ (thermodynamic property relation)


ซึงสามารถเขียนได้ในรู ปของสมการต่อหนึงหน่วยมวล กล่าวคือ
T ds = du + P dv (8.15)
T ds = dh − v dP (8.16)

ในภายหลังเราจะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์สมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ทีจะถูกนําไปใช้อยู่บ่อยครังโดยเฉพาะ
อย่างยิงการใช้เป็ นสมการพืนฐานในการพิสูจน์สมการอืนๆ ต่อไป

8.6 การเปลียนแปลงเอนโทรปี ของมวลควบคุมในระหว่างกระบวนการย้อนกลับไม่ได้


พิจารณาระบบทีมีการทํางานเป็ นวัฏจักรทีมีความคล้ายคลึงกับรู ปที 8.2 เพียงแต่เปลียนกระบวนการ
C ให้เป็ นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ซึงจะถูกแทนด้วยเส้นประดังทีแสดงในรู ปที 8.6

P
2
B
A
C
1

V
รู ปที 8.6 วัฎจักรทีมีกระบวนการเดินหน้าสองกระบวนการและกระบวนการย้อนกลับเพียงกระบวนการเดียว
โดยทีกระบวนการเดินหน้าหนึงกระบวนการเป็ นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้

หากเราเลือกกระบวนการเดินหน้าเป็ นกระบวนการ A และกระบวนการย้อนกลับคือกระบวนการ B จะเห็น


ได้วา่ วัฏจักรจะเป็ นวัฏจักรย้อนกลับได้ เราจะสามารถเขียนได้วา่
2 1
⎛ δQ ⎞ + ⎛ δQ ⎞ = 0

1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠A ∫
2
⎜ ⎟
⎝ T ⎠B
138

ถ้าหากเราเปลียนกระบวนการเดินหน้าจากกระบวนการ A ไปเป็ น C ผลทีได้จะทําให้วฏั จักรเปลียนไป


เป็ นวัฏจักรย้อนกลับไม่ได้ ดังนันจากความไม่เท่ากันของเคลาเซียสในรู ปของอสมการจะได้วา่
2 1
⎛ δQ ⎞ + ⎛ δQ ⎞ < 0

1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠C ∫ 2
⎜ ⎟
⎝ T ⎠B
นําสมการแรกหักออกจากอสมการทีสองแล้วจัดรู ปสมการ ผลทีได้คือ
2 2
⎛ δQ ⎞ > ⎛ δQ ⎞

1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠A ∫
1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠C
เนืองจากกระบวนการ A เป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ ดังนันจากสมการที 8.6 จะเขียนได้วา่
2

(S 2 − S1 )A = ∫ ⎛⎜ δQ ⎞⎟
⎝ T ⎠A
1

ั เนื องจากเอนโทรปี เป็ นสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์และเป็ นฟั งก์ชนั จุด ดังนัน S 2 − S1 จะมีค่าเท่ากัน
แต่ทงนี
หมดไม่วา่ กระบวนการนันจะเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้หรื อย้อนกลับไม่ได้ ดังนัน
2

(S 2 − S1 )C = (S 2 − S1 )A = ∫ ⎛⎜ δQ ⎞⎟
⎝ T ⎠A
1

นําค่า ( S 2 − S1 )C ไปแทนค่าลงในอสมการด้านบน ผลทีได้คือ


2

(S 2 − S1 )C > ∫ ⎛⎜ δQ ⎞⎟
⎝ T ⎠C
1

เช่นเดียวกันกับวิธีทีเราเคยพิสูจน์ในหัวข้อที 8.2 กล่าวคือถ้ามีกระบวนการเดินหน้าทีย้อนกลับไม่ได้เพิมเติม


อีกนอกเหนื อจากกระบวนการ C ผลทีได้ก็คืออสมการด้านบนจะสามารถใช้ได้กบั กระบวนการย้อนกลับ
ไม่ได้ทุกๆ กระบวนการ กล่าวคือ
2
⎛ δQ ⎞
S 2 − S1 >
∫ 1
⎜ ⎟
⎝ T ⎠ irr
(8.17)

เมื อนําไปรวมกับสมการที 8.6 เราจะสามารถเขียนอสมการทีอยู่ในรู ปทัวไปและใช้ได้กับกระบวนการ


ย้อนกลับได้และย้อนกลับไม่ได้ดงั นี
2
δQ
S 2 − S1 ≥

1
T
(8.18)
139

อสมการที 8.18 นันถือได้ว่าเป็ นจุดเริ มต้นของการเขียนกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ในรู ป


ของความสัมพันธ์ทางคณิ ตศาสตร์ อสมการที 8.18 นันสามารถกลับไปเขียนอยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์ได้วา่
δQ
dS ≥ (8.19)
T
ทังนี เครื องหมายเท่ากับในอสมการที 8.19 จะใช้สาํ หรับกระบวนการย้อนกลับได้ ในขณะทีเครื องหมาย
มากกว่าในอสมการที 8.19 จะใช้สาํ หรับกระบวนการย้อนกลับไม่ได้

8.7 การผลิตเอนโทรปี
ข้อสรุ ปทีได้จากหัวข้อที 8.6 นันจะทําให้เราทราบว่า จากอสมการที 8.19 ถ้าหากว่ากระบวนการมี
δQ และ T เท่ากัน ผลต่างของเอนโทรปี ของระบบสําหรับกระบวนการย้อนกลับไม่ได้จะมีค่ามากกว่าผลต่าง
ของเอนโทรปี ของระบบสําหรับกระบวนการย้อนกลับได้ ดังนันเพือให้เกิดความสะดวกในการใช้งาน เรา
จึงเขียนอสมการที 8.19 ใหม่ในรู ปของสมการกล่าวคือ
δQ
dS = + δS gen (8.20)
T
โดยที
δS gen ≥ 0 (8.21)
ในทีนี δSgen มีชือว่าการผลิตเอนโทรปี (entropy generation) ซึงจะเกิดขึนเนืองจากการย้อนกลับไม่ได้ภายใน
ระบบทีพิจารณา ปั จจัยทีจะทําให้เกิดการผลิตเอนโทรปี ภายในระบบก็คือปั จจัยต่างๆ ทีกล่าวไปแล้วใน
ั ทังนันการถ่ายเทความร้อนอันเป็ นผลมาจากผลต่างของอุณหภูมิทีมีค่าจํากัดจะทําให้เกิด
หัวข้อที 7.4 แต่ทงนี
การย้อนกลับไม่ได้ภายนอกระบบได้เช่ นกัน จะสังเกตได้ว่า δSgen จะมีค่าเป็ นบวกเสมอในกรณี ของ
กระบวนการย้อนกลับไม่ได้ภายใน และ δSgen จะมีค่าตําทีสุ ดก็คือศูนย์ในกรณี ของกระบวนการย้อนกลับได้
เมือทําการหาปริ พนั ธ์ของสมการที 8.20 ผลทีได้คือ
2
δQ
S 2 − S1 =
∫1
T
+ 1 S 2 gen (8.22)

เมือเปรี ยบเทียบกับอสมการที 8.18 สมการที 8.22 นีก็คือกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับมวล


ควบคุมในรู ปของสมการนันเอง ซึ งในบางครังเราอาจจะเรี ยกสมการที 8.22 นี ว่าสมการดุลเอนโทรปี
(entropy balance equation) ซึงสมการนันจะเห็นได้วา่ เขียนอยูใ่ นรู ปทัวไปได้วา่
การเปลียนแปลงเอนโทรปี ผลการเปลียนเอนโทรปี การผลิตเอนโทรปี อันเน◌ื◌
= +
ภายในมวลควบคุม จากการถ่ายเทความร้อน มาจากการย้อนกลับไม่ได้
140

ดังนันหากพิจาณาจากสมการรู ปทัวไปด้านบนจะเห็นได้ว่าการเปลียนแปลงเอนโทรปี ภายในมวลควบคุม


หรื อพจน์ทางด้านซ้ายของสมการที 8.22 นันจะเป็ นผลมาจากปั จจัยสองอย่างซึ งแสดงอยู่โดยพจน์ทาง
ด้านขวาของสมการที 8.22 ปั จจัยแรกก็คือการถ่ายเทความร้อนเข้าและออกจากระบบ เนื องจาก δQ
สามารถมีเครื องหมายได้ทงบวกและลบั ดังนันการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ ระบบจะเป็ นการเพิมเอนโทรปี
ภายในระบบ ในขณะทีการถ่ายเทความร้อนออกจากระบบจะเป็ นการลดเอนโทรปี ภายในระบบ ปั จจัยที
สองทีทําให้เอนโทรปี ภายในระบบเพิมขึนเพียงอย่างเดียวนันก็คือการย้อนกลับไม่ได้ทีเกิดขึนภายในระบบ
หรื ออย่างดี ทีสุ ดก็คือไม่ทาํ ให้เอนโทรปี ภายในระบบเปลียนแปลงนันคือ 1S2 gen มีค่าเป็ นศูนย์สําหรับ
กระบวนการย้อนกลับได้นนเอง ั
ในกรณี ของระบบปิ ดทีไม่มีการถ่ายเทความร้อนและงานไปยังสิ งล้อมรอบซึ งเราจะเรี ยกระบบใน
ลักษณะนีว่าระบบโดดเดียว (isolated system) จากสมการที 8.22 เราจะพบว่าการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของ
ระบบจะมีค่าเท่ากับการผลิตเอนโทรปี ซึงจะทําให้
S 2 − S1 = 1S 2 gen ≥ 0 สําหรับระบบโดดเดียว (8.23)
นันก็หมายความว่าเอนโทรปี ของระบบโดดเดียวจะเพิมขึนอย่างเดียวและไม่มีทางลดลงได้ หลักการทีว่านีจึง
ได้ชือว่าหลักการเพิมขึนของเอนโทรปี (principle of the increase of entropy) ซึงเราจะกล่าวในรายละเอียด
ในหัวข้อที 8.8
ในหัวข้อที 7.1 นันเราได้แสดงให้เห็นว่ากระบวนการต่างๆ ทีเกิดขึนนันกฎข้อทีสองของเธอร์ โม
ไดนามิกส์จะเป็ นตัวบ่งชีถึงทิศทางของกระบวนการดังกล่าวว่าจะกระบวนการนันเกิดขึนได้หรื อไม่ หาก
พิจารณาสมการที 8.22 เราจะพบว่าตัวทีบ่งชีทิศทางของกระบวนการต่างๆ นันก็คือ 1S2 gen นันเอง อาจกล่าว
ได้ว่ากระบวนการต่างๆ ทีเกิดขึนตามธรรมชาตินนจะดํ ั าเนิ นไปในทิศทางที 1S2 gen มีค่ามากกว่าศูนย์เสมอ
สําหรับในกรณี ที 1S2 gen เท่ากับศูนย์นนก็
ั หมายความว่ากระบวนการดังกล่าวเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ซึง
เป็ นกระบวนการอุดมคติทีเราพยายามจะทําให้ใกล้เคียงทีสุ ด ส่ วนในกรณี ที 1S2 gen มีค่าน้อยกว่าศูนย์นนก็
ั จะ
หมายความว่ากระบวนการนันเป็ นไปไม่ได้ทีจะเกิดขึน
เพือให้เกิดความเข้าใจในเอนโทรปี มากขึน ในทัศนคติระดับจุลภาคเราจะมองเอนโทรปี เป็ นตัวแทน
ของระดับของความปั นป่ วนทีเกิดขึนในระบบ หากระบบมีค่าเอนโทรปี มากขึนย่อมแสดงว่าระบบมีความ
ปั นป่ วนภายในมากขึน สารทีอยู่สถานะของแข็งจะมีค่าเอนโทรปี ตําทีสุ ดเนื องจากโมเลกุลอยู่ในสภาพที
เป็ นโครงสร้างซึงมีการจัดระเบียบของโมเลกุลได้เป็ นอย่างดี ในทางตรงกันข้ามสารทีอยูใ่ นสถานะแก๊สจะมี
ค่าเอนโทรปี สู งทีสุ ดเนืองจากโมเลกุลของแก๊สอยูห่ ่ างจากกันและสามารถเคลือนไหวได้อย่างค่อนข้างอิสระ
อย่างไม่เป็ นระเบียบ ดังนันสถานะแก๊สจึ งความปั นป่ วนในระบบในระดับทีสู งกว่าเมือเทียบกับสถานะ
ของแข็ง
อนึ งในช่วงท้ายของหัวข้อ 5.2 ซึ งเราได้กล่าวถึงข้อสังเกตทีว่าสําหรับในมุมมองของกฎข้อทีหนึ ง
ของเธอร์ โมไดนามิกส์แล้ว ผลของความร้อนและงานต่อระบบไม่แตกต่างกัน ซึ งยังคําถามต่อไปว่าแล้ว
141

เพราะเหตุใดเราถึงแยกความร้อนและงานออกเป็ นพลังงานทีต่างชนิ ดกันด้วย คําตอบนันอยู่ในสมการที


8.22 นันคือเราจะสังเกตได้ว่ามีแต่เพียงความร้อนเท่านันทีจะทําให้เกิดการเปลียนแปลงเอนโทรปี ภายใน
ระบบได้ ในขณะเดียวกันก็ไม่ปรากฏว่างานจะมีผลต่อการเปลียนแปลงเอนโทรปี ภายในระบบแต่อย่างใด
หากเรานําทัศนคติจุลภาคของเอนโทรปี มาอธิ บายก็จะสามารถอธิ บายได้ว่าความร้ อนนันเปรี ยบเสมือน
พลังงานทีไร้ระเบียบ เราจะสังเกตเห็นว่าหากเกิดมีอุณหภูมิสูงขึน ณ จุดใดก็ตามทีทําให้อุณหภูมิแตกต่าง
จากจุดอืนโดยรอบ ความร้อนก็จะถ่ายเทออกไปสู่ จุดอืนโดยรอบโดยทันทีอย่างกระจัดกระจายและไม่เป็ น
ระเบียบ ดังนันเมือความร้อนเปรี ยบเสมือนพลังงานในรู ปทีไร้ระเบียบ ดังนันความร้อนจึงสามารถทีจะ
เพิมความปั นป่ วนหรื อความไร้ระเบียบของระบบได้เช่นกัน ในทางตรงกันข้ามงานนันถือว่าเป็ นพลังงานที
มีระเบียบ ตัวอย่างเช่นงานขอบเขตเคลือนทีก็คือการทีโมเลกุลของแก๊สขยายปริ มาตรไปในทิศทางเดียวกัน
อย่างเป็ นระเบียบจึงจะสามารถดันลูกสูบขึนได้ งานเพลาก็คือการทีโมเลกุลของเพลาเคลือนทีในลักษณะการ
หมุนอย่างเป็ นระเบียบในทิศทางเดียวกัน งานไฟฟ้ าก็คือการทีอนุภาคทีมีประจุของโลหะสามารถเคลือนที
ไปในทิศทางเดียวกันเพือให้เกิดกระแสไฟฟ้ าขึน ดังนันเมือเกิดการถ่ายเทงานผ่านเข้าหรื อออกจากระบบจึง
ไม่มีผลต่อเอนโทรปี หรื อความปั นป่ วนของระบบ โดยสรุ ปแล้วในมุมมองของกฎข้อทีสองของเธอร์ โม
ไดนามิกส์ ความร้อนและงานต่างกันเนืองจากความร้อนเป็ นพลังงานทีไร้ระเบียบและสามารถเปลียนแปลง
เอนโทรปี ในระบบได้ ในขณะทีงานเป็ นพลังงานทีมีระเบียบและไม่ก่อให้เกิดการเปลียนแปลงของเอนโทรปี
ในระบบ
นอกเหนือจากมุมมองทางด้านพลังงานทีไร้ระเบียบและมีระเบียบแล้ว เราอาจจะใช้กฎข้อทีสองของ
เธอร์ โมไดนามิกส์เพือมองว่าความร้อนเป็ นพลังงานทีมีคุณภาพตํา ในขณะทีงานเป็ นพลังงานทีมีคุณภาพสู ง
กว่า หากเราพิจารณาข้อความของเคลวิน-พลังค์ซึงกล่าวไว้ว่า ηth มีค่าน้อยกว่า 1 เสมอสําหรับเครื องยนต์
ความร้อนใดๆ นันก็หมายความว่าเราไม่สามารถเปลียนความร้อนได้เป็ นงานได้ทงหมด ั หรื อก็คือหากเราจะ
เปลียนพลังงานคุณภาพตําให้เป็ นพลังงานคุณภาพสู ง (หรื อก็คือเปลียนความร้อนไปเป็ นงาน) ย่อมกระทําได้
โดยการป้ อนความร้ อนดังกล่าวให้กับเครื องยนต์ความร้ อน จะพบว่าความร้ อนที ใส่ ไปนันไม่ สามารถ
เปลียนเป็ นงานได้ทงหมดแต่
ั จะสามารถเปลียนเป็ นงานได้เพียงสัดส่ วนเท่ากับค่า ηth ของเครื องยนต์ความ
ร้อนเท่านัน ในทางตรงกันข้ามหากเราต้องการเปลียนพลังงานคุณภาพสู งให้เป็ นพลังงานคุณภาพตํา (หรื อก็
คือเปลียนงานให้เป็ นความร้อน) เราสามารถทําได้ทงหมดร้
ั อยละร้อยและทําได้อย่างไม่ยากนัก ตัวอย่างก็คือ
การให้งานจากกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดต้านทานแล้วเปลียนเป็ นความร้อนให้กบั ระบบเป็ นต้น หากเรา
พิจารณาจากสิ งทีเกิ ดในธรรมชาติก็จะพบว่าพลังงานจะมีแนวโน้มเปลียนจากพลังงานคุณภาพสู งไปเป็ น
พลังงานคุณภาพตําเสมอ ตัวอย่างเช่นงานกลจากการเคลือนทีจะเปลียนไปเป็ นความร้อนเนื องจากแรงเสี ยด
ทาน แล้วความร้อนนันก็จะกระจัดกระจายสู่ สิงล้อมรอบในทันทีและไม่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้ หรื อ
งานไฟฟ้ าจะเปลียนเป็ นความร้อนเนื องจากความต้านทานไฟฟ้ าของวัสดุทีใช้ทาํ เป็ นสายไฟฟ้ าโดยทีความ
ร้อนดังกล่าวจะไม่เปลียนกลับมาเป็ นงานไฟฟ้ าอีก ดังนันอาจจะกล่าวได้ว่าในมุมมองของกฎข้อทีสองของ
เธอร์โมไดนามิกส์ พลังงานจะเปลียนจากพลังงานคุณภาพสูงไปเป็ นพลังงานคุณภาพตําเสมอ
142

ตัวอย่างที 8.1
ภาชนะปิ ดใบหนึงมีปริ มาตร 160 L บรรจุไอนําทีความดัน 300 kPa อุณหภูมิ 200oC จากนันก็ทิง
ภาชนะให้เย็นตัวลงจนมีอุณหภูมิเท่ากับ 100oC จงหาการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของนําในภาชนะ
วิธีทาํ
ภาชนะปด
มวลควบคุม: นําภายในภาชนะปิ ด
กระบวนการ: ไอโซคอริ ก CM
H2 O
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: V, P1,T1, T2
ตัวแปรทีต้องการ: S2 − S1 Q
จากข้อมูลทีกําหนดให้ จะเห็นว่าเราทราบข้อมูลของภาวะตังต้นกล่าวคือ
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): P1 = 300 kPa
T1 = 200oC ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไอร้อนยวดยิง
ดังนัน v1 = 0.71629 m3/kg
s1 = 7.3155 kJ/kg-K
หามวลของนําทีอยูใ่ นภาชนะ
V 0.16 m 3
m= = = 0.22337 kg
v 1 0.71629 m 3 / kg

เนื องจากกระบวนการเป็ นแบบไอโซคอริ กของมวลควบคุม ดังนันปริ มาตรจําเพาะก็จะมีค่าคงที เป็ นผลให้


สามารถหาภาวะสุ ดท้ายของนําได้กล่าวคือ
ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): T2 = 100oC
v2 = v1 = 0.71629 m3/kg ภาวะถู ก กํา หนดแล้ ว โดยเป็ นของผสมสอง
สถานะ
ดังนันจะสามารถหาคุณภาพสารสองสถานะได้จาก
v 2 = (1 − x 2 ) v f + x 2 v g
m3 ⎛ m3 ⎞ ⎛ m3 ⎞
0.71629 = (1 − x 2 )⎜ 0.001044 ⎟ + (x 2 )⎜ 1.67290 ⎟
kg ⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
x 2 = 0.42782
เมือทราบค่า x2 ก็จะสามารถหาค่า s2 ได้จากสมการ
s 2 = (1 − x 2 ) s f + x 2 s g
143

⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
s 2 = ( 0.57218 )⎜ 1.3068 ⎟ + ( 0.42782 )⎜ 7.3548 ⎟
⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠
s 2 = 3.89423 kJ / kg - K
หากวาดแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของกระบวนการทีเกิดขึน จะเห็ นได้ว่าวิถีของกระบวนการจะวิงไป
ตามแนวเส้นปริ มาตรจําเพาะคงทีซึงแสดงอยูใ่ นรู ปด้านล่าง
เส้นปริมาตรจําเพาะคงที
T

200 oC 1

100 oC
2

3.89423 7.3115 s
kJ/kg-K kJ/kg-K

ดังนันการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของนําในภาชนะจะหาได้จาก

S 2 − S1 = m (s 2 − s1 ) = (0.22337 kg ) ⎜ 3.89423 − 7.3115


⎛ kJ ⎞

⎝ kg − K ⎠
kJ
S 2 − S1 = − 0.76333 คําตอบ
K
หมายเหตุ
จะเห็ นว่าผลต่างของเอนโทรปี ของระบบมีเครื องหมายเป็ นลบหรื อเอนโทรปี ของระบบมีค่า
ลดลงอันเป็ นผลมาจากการถ่ายเทความร้อนออกนอกระบบซึ งสามารถเกิดขึนได้และไม่ขดั ต่อกฎข้อทีสอง
ของเธอร์ โมไดนามิกส์แต่อย่างใด แต่ในทางกลับกันถ้าการผลิตเอนโทรปี หรื อ Sgen มีเครื องหมายเป็ นลบ
นันหมายถึงกระบวนการดังกล่าวขัดต่อกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์และจะไม่เกิดขึน

ตัวอย่างที 8.2
ไอนําทีอยูใ่ นภาวะไออิมตัวซึ งมีมวล 2.8 kg ถูกบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บและลูกสู บ ภายนอกของ
กระบอกสู บได้ถูกหุ ้มฉนวนไว้เป็ นอย่างดี ในตอนเริ มต้นมีแรงกดลูกสู บไว้และทําให้ไอนํามี ความดัน
เท่ากับ 600 kPa ต่อมาแรงทีกดอยูม่ ีค่าน้อยลงทําให้ไอนําได้ขยายตัวออกอย่างช้าๆ จนกระทังอุณหภูมิ
ของไอนําลดลงเหลือ 120oC จงหางานทีเกิดขึนจากกระบวนการดังกล่าว
144

วิธีทาํ
CM
มวลควบคุม: นําภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
H2O
ตัวแปรทีทราบค่า: m, P1, x1, T2
ตัวแปรทีต้องการ: 1W2 ฉนวน
เนืองจากกระบอกสู บถูกหุ ม้ ฉนวนไว้อย่างดี ดังนันความร้อนทีถ่ายเทผ่านเข้าออกจากระบบจึงเป็ น
ศูนย์ นอกจากนี เรายังตังสมมติฐานว่ากระบวนการทีเกิดขึนอย่างช้าๆ เป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ภายใน
เป็ นผลให้กระบวนการขยายตัวของไอนําทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการไอเซนโทรปิ ก
จากข้อมูลทีกําหนดให้
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): P1 = 600 kPa
x1 = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไออิมตัว
ดังนัน u1 = ug = 2,567.40 kJ/kg
s1 = sg = 6.7600 kJ/kg-K

จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
1 Q2 − 1W2 = ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE
เนื องจากระบบไม่มีการเคลือนทีไปในทิศทางใดๆ และไม่มีการเปลียนระดับความสู ง ดังนัน ΔKE = 0 และ
ΔPE = 0 รวมทัง 1Q2 = 0 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมจึงเขียนได้เป็ น
− 1W2 = ΔU = m (u 2 − u 1 )
จะสังเกตเห็นว่าเรายังไม่ทราบค่า u2 เนื องจากภาวะที 2 หรื อภาวะสุ ดท้ายยังไม่ได้ถูกกําหนด ดังนันจาก
กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
2
δQ
S 2 − S1 =

1
T
+ 1 S 2 gen

เนื องจาก 1Q2 = 0 จึงทําให้พจน์แรกทางด้านขวามือของสมการเป็ นศูนย์ ในขณะทีกระบวนการย้อนกลับได้


จึงทําให้ 1S2 gen = 0 ส่ งผลให้ทางด้านขวามือของสมการมีค่าเป็ นศูนย์หมดทุกพจน์ ดังนัน
S 2 − S1 = 0
s 2 − s1 = 0 หรื อ s 2 = s1
จะเห็นได้วา่ สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กแล้ว เราสามารถใช้กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์พิสูจน์
ได้วา่ เอนโทรปี ของระบบมีค่าเท่าเดิมตลอดทังกระบวนการ จากนันใช้ผลดังกล่าวหาภาวะที 2 กล่าวคือ
145

ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): T2 = 120oC


s2 = s1 = 6.7600 kJ/kg-K ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นของผสมสองสถานะ
เนืองจาก s2 มีค่าอยูร่ ะหว่าง sf และ sg ทีอุณหภูมิ T2 = 120oC ดังนันจึงหาค่า x2 ได้โดย
s 2 = (1 − x 2 ) s f + x 2 s g
kJ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
6.7600 = (1 − x 2 )⎜ 1.5275 ⎟ + (x 2 )⎜ 7.1295 ⎟
kg − K ⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠
x 2 = 0.93404
เมือทราบค่า x2 ก็จะสามารถหาค่า u2 ได้จากสมการ
u 2 = (1 − x 2 ) u f + x 2 u g
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
u 2 = ( 0.06596 )⎜ 503.48 ⎟ + ( 0.93404 )⎜ 2,529.24 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
u 2 = 2,395.62 kJ / kg
แทนค่า u2 ลงในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ จะได้วา่
− 1W2 = m (u 2 − u 1 )

W
1 2 = m ( u 1 − u 2 ) = (2. 8 kg ) ⎛
⎜ 2 , 567. 40 − 2 , 395. 62
kJ ⎞

kg ⎠

kJ
W
1 2 = 481 .0 คําตอบ
kg
หากวาดแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของกระบวนการทีเกิดขึน จะเห็นว่าวิถีของกระบวนการเป็ นเส้นตรงใน
แนวดิงเนืองจากเอนโทรปี ของระบบมีค่าคงทีตลอดทังกระบวนการ
T

Tsat @600 kPa 1

120 oC 2

6.7600 s
kJ/kg-K
146

8.8 หลักการเพิมขึนของเอนโทรปี
จากทีกล่าวมาในหัวข้อที 8.7 หลักการเพิมขึนของเอนโทรปี นันจะใช้ได้กบั ระบบโดดเดียวซึงคือ
ระบบทีเป็ นระบบปิ ดซึ งมีมวลเป็ นค่าคงตัวและไม่อนุ ญาตให้พลังงานรู ปใดๆ หรื อก็คือความร้อนและงาน
ผ่านเข้าออกจากระบบดังทีแสดงในรู ปที 8.7

m = ค่าคงตัว

Q = 0, W=0

รู ปที 8.7 ตัวอย่างของระบบโดดเดียว

หากเขียนกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับระบบโดดเดียว ผลทีได้คือ


(E 2 − E1 )isolated system = 1 Q 2 − 1W2
(E 2 − E1 )isolated system = 0

ดังนันค่าพลังงานงานรวมของระบบโดดเดียวจะไม่มีการเปลียนแปลงกล่าวคือไม่มีการสะสมพลังงานรวมให้
มากขึนหรื อสู ญเสี ยพลังงานรวมให้นอ้ ยลง หรื ออาจจะกล่าวได้ว่าเกิดการอนุ รักษ์พลังงานรวมของระบบ
โดดเดียว ในลําดับถัดไปลองพิจารณากฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับระบบโดดเดียว จะได้วา่
2
δQ
(S 2 − S1 )isolated system =
∫ T
+ 1 S 2 gen
1
(S − S )
2 1 isolated system = 1 S 2 gen (8.24)

ดังนันจะเห็นได้ว่าเอนโทรปี ของระบบโดดเดียวจะมีค่าเพิมขึนเรื อยๆ เนื องจากการย้อนกลับไม่ได้ภายใน


ระบบโดดเดียว หรื ออย่างดีทีสุ ดก็คือเอนโทรปี ของระบบโดดเดียวจะมีค่าคงทีในกรณี ทีกระบวนการภายใน
ระบบย้อนกลับได้ เราจึงสามารถสรุ ปได้ว่าสําหรับระบบโดดเดียว เอนโทรปี เป็ นสมบัติทีไม่เกิดการอนุรักษ์
ขึนและมีแนวโน้มทีจะเพิมขึนเรื อยๆ และนีก็เป็ นทีมาของหลักการเพิมขึนของเอนโทรปี
หากเราพิจารณาระบบโดดเดียวทีเกิดขึนในความเป็ นจริ งโดยเริ มจากสิ งล้อมรอบตัวเราก่อน เราจะ
พบว่าหากเราพยายามทีจะหาภาชนะปิ ดทีไม่มีการถ่ายเทพลังงานและมวลกับสิ งล้อมรอบเลยอย่างสมบูรณ์
นันเป็ นไปไม่ได้เพราะยังคงมีความร้อนสู ญเสี ยไหลออกจากภาชนะดังกล่าวไปยังอากาศภายในห้อง ดังนัน
147

เราจึงต้องขยายระบบทีพิจารณาให้มีขนาดใหญ่ขึนโดยเป็ นห้องทังห้องเพือทีจะครอบคลุมทังภาชนะและ
อากาศภายใน กระนันเราก็พบว่าห้องของเราก็ยงั ถ่ายเทความร้อนไปสู่ อากาศภายนอก หากเราทําแบบนีไป
เรื อยๆ ก็จะทําให้ระบบทีพิจารณาขยายตัวขึนเรื อยๆ เพือจะครอบคลุมสิ งต่างๆ ทีเกิดขึนให้อยู่ภายในระบบ
ของเรา ด้วยความคิดนี จะทําให้เราพบว่าขนาดของระบบของเราใหญ่ขึนเรื อยๆ จนกระทังไปถึงสิ งทีใหญ่
ทีสุ ดทีเราจะจินตนาการได้นนก็
ั คือเอกภพ ดังนันหากเอกภพเป็ นระบบโดดเดียวตามแนวความคิดทีกล่าวมา
เราจะพบว่าเอนโทรปี ของเอกภพจะมีแนวโน้มทีจะเพิมขึนเรื อยๆ จากทีกล่าวมาแล้วนันหากเอนโทรปี
เปรี ยบเสมื อนระดับความปั นป่ วนของระบบ นันย่อมแสดงว่าระดับความปั นป่ วนของเอกภพย่อมจะมี
แนวโน้มทีจะเพิมขึนเรื อยๆ ด้วยเช่นกัน หลักการเพิมขึนของเอนโทรปี นันเป็ นหลักการสําคัญทังในทาง
วิทยาศาสตร์ ปรัชญา เศรษฐศาสตร์ นิเวศวิทยา และศาสตร์อืนๆ ด้วยเช่นกัน
หลักการเพิมขึนของเอนโทรปี นันจะพบเห็นอยู่ทวไปแม้
ั กระทังในชี วิตประจําวันดังตัวอย่างทีจะ
นําเสนอต่อไปนี หากเราเคยเล่นตัวต่อจิกซอว์เราจะพบว่าการจะทําให้ตวั ต่อเป็ นรู ปเป็ นร่ างหรื อเป็ นระเบียบ
นันอาจจะใช้ความพยายามเป็ นเวลาร่ วมเดือนกว่าจะทําได้ แต่หากเมือใดเราต่อเสร็ จแล้วจะรื อทิงเพือต่อใหม่
เราจะพบว่าการรื อทิ งให้ตวั ต่อไร้ ระเบี ยบหรื อเต็มไปด้วยความปั นป่ วนนันใช้เวลาเพียงแค่ไม่กีวินาที ก็
สามารถทําได้ นันย่อมแสดงว่าตัวต่อจิกซอว์มีแนวโน้มทีจะอยูอ่ ย่างไร้ระเบียบมากกว่าทีจะอยูอ่ ย่างมีระเบียบ
นันเอง คอมพิวเตอร์ ทีเราพบเห็นอยู่ในชี วิตประจําวันประกอบไปด้วยอุปกรณ์หลายร้อยชิ นร้อยเรี ยงกัน
อย่างเป็ นระเบียบเพือให้ทาํ งานได้อย่างถูกต้องอย่างทีเราต้องการ ซึ งการจะได้คอมพิวเตอร์ มานันต้องผ่าน
กระบวนการผลิตทีต้องใช้พลังงานและใช้เวลาพอสมควรกว่าจะได้คอมพิวเตอร์มาหนึงเครื อง แต่ถา้ เราอยาก
ให้คอมพิวเตอร์อยูใ่ นสภาพทีไร้ระเบียบและเต็มไปด้วยความปั นป่ วน เราก็แค่โยนคอมพิวเตอร์เครื องนันลง
มาจากตึก ผลทีได้เป็ นเช่นไรเราทังหลายก็คงจะทราบดี หรื อแม้แต่ถา้ เราใช้คอมพิวเตอร์ เครื องหนึ งไปเป็ น
ระยะเวลานานๆ ความปั นป่ วนก็อาจจะเกิ ดขึนกับอุปกรณ์ ชินหนึ งในทังหลายร้ อยชิ น ซึ งก็ทาํ ให้เราไม่
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ เครื องนันได้อีก ตัวอย่างดังกล่ าวที นําเสนอเป็ นการแสดงให้เ ห็ นว่าแม้แต่ใ น
ธรรมชาติรอบๆ ตัวเรา ระบบมีแนวโน้มทีจะเพิมความปันป่ วนหรื อเพิมเอนโทรปี ให้มีค่ามากขึนเสมอ
พิจารณามวลควบคุม 1 มวลควบคุม 2 และสิ งล้อมรอบดังทีแสดงในรู ปที 8.8
มวลควบคุม 2
มวลควบคุม 1

สิงล้อมรอบ
δQ δQ
แก๊ส T T0

รู ปที 8.8 แผนภาพแสดงมวลควบคุม 1 มวลควบคุม 2 และสิ งล้อมรอบ


148

จะเห็นได้วา่ มวลควบคุม 1 คือแก๊สในกระบอกลูกสูบซึงเราจะพิจารณามวลควบคุมนีเป็ นหลักอยูเ่ สมอ หาก


เขียนกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม 1 จะได้วา่
2
δQ
(S 2 − S1 )CM1 =
∫ T
+ 1 S 2 gen CM1 (8.25)
1

ทังนี 1S2 gen CM1 นันคือการผลิตเอนโทรปี ทีเกิดขึนจากการย้อนกลับไม่ได้ภายในมวลควบคุม 1


เมือพิจารณามวลควบคุม 2 จะพบว่ามวลควบคุม 2 ประกอบไปด้วยผนังกระบอกสู บ ลูกสู บ และ
อากาศโดยรอบกระบอกสู บทีแสดงด้วยพืนทีสี เทาในรู ปที 8.8 ทังนีมวลควบคุม 2 เปรี ยบเสมือนระบบทีอยู่
ขันกลางระหว่างมวลควบคุม 1 และสิ งล้อมรอบ ถ้าให้อุณหภูมิของแก๊สมีค่าเท่ากับ T ในขณะทีอุณหภูมิ
ของสิ งล้อมรอบมีค่าเท่ากับ T0 เมือเกิดการถ่ายเทความร้อนเท่ากับ δQ จากสิ งล้อมรอบไปสู่ แก๊ส เราจะเห็น
ว่าสําหรับมวลควบคุม 2 แล้ว δQ ก็จะถ่ายเทจากสิ งล้อมรอบเข้าสู่ มวลควบคุม 2 ในขณะเดียวกัน δQ
ปริ มาณเท่าเดิมก็จะถ่ายเทออกจากมวลควบคุม 2 ไปยังแก๊ส (มวลควบคุม 1) นันเอง หากเขียนกฎข้อทีสอง
ของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม 2 จะได้วา่
2 2
− δQ δQ
(S 2 − S1 )CM 2 =
∫ T
+
∫ T0
+ 1 S 2 gen CM 2
1 1

เนืองจากมวลควบคุม 2 ทําหน้าทีเพียงแค่ส่งผ่านความร้อนจากสิ งล้อมรอบไปยังมวลควบคุม 1 โดยทีภาวะ


ของมวลควบคุม 2 มีการเปลียนแปลงน้อยมาก หรื ออีกนัยหนึงก็คือมวลควบคุม 2 อยูใ่ นภาวะทีใกล้เคียงกับ
ภาวะคงตัว ดังนันเราจึงสรุ ปได้วา่ (S 2 − S1 )CM 2 ≈ 0 ซึงผลทีได้คือ
2
⎛1 1 ⎞
1 S 2 gen CM 2 = ∫
1
⎜⎜ − ⎟⎟ δQ
⎝ T T0 ⎠
จะเห็นว่าถ้า T0 > T เครื องหมายของ δQ จะเป็ นบวกดังทีแสดงในรู ปที 8.8 ดังนันจะเห็นว่าพจน์ในวงเล็บ
ของสมการด้านบนจะมีเครื องหมายเป็ นบวก ดังนัน 1 S 2 gen CM 2 มีเครื องหมายเป็ นบวก ในทางตรงกันข้าม
ถ้า T0 < T เครื องหมายของ δQ จะเป็ นลบและมีทิศทางตรงกันข้ามกับทีแสดงในรู ปที 8.8 ดังนันจะเห็นว่า
พจน์ในวงเล็บของสมการด้านบนจะมีเครื องหมายเป็ นลบ ดังนัน 1 S 2 gen CM 2 ก็ยงั คงมีเครื องหมายเป็ นบวก
เช่นเดิม โดยสรุ ปแล้ว 1 S 2 gen CM 2 ก็มีเครื องหมายเป็ นบวกเสมอไม่ว่า δQ จะมีทิศทางใด ดังนันเราจะเรี ยก
1 S 2 gen CM 2 ว่าการผลิตเอนโทรปี อันเนืองมาจากการถ่ายเทความร้อนซึงมีสญ
ั ลักษณ์เป็ น S gen HT กล่าวคือ
2
⎛1 1 ⎞
S gen HT =

1
⎜⎜ − ⎟⎟ δQ
⎝ T T0 ⎠
(8.26)
149

เมือนําสมการที 8.25 และ 8.26 มารวมกัน เราจะพบว่ามีบางพจน์จะตัดกันหายไป หลังจากนันเมือ


เราทําการจัดรู ปสมการ ผลทีได้คือ
2
δQ
+ S gen HT = (S 2 − S1 )CM1 −
1 S 2 gen CM 1 ∫
1
T0
โดยเราจะเรี ยกผลรวมของการผลิตเอนโทรปี ทางด้านซ้ายมือของสมการว่าการผลิตเอนโทรปี รวม (total
entropy production หรื อ Sgen total) ในขณะเดียวกัน T0 ซึงเป็ นอุณหภูมิของสิ งล้อมรอบจะมีค่าคงทีเสมอ
ส่ วนตัวห้อย CM1 ซึ งแสดงถึงมวลควบคุม 1 หรื อก็คือแก๊สในกระบอกลูกสู บซึ งเราสนใจเป็ นหลักอยูแ่ ล้ว
ดังนันเราจึงสามารถละทิงตัวห้อย CM1 ได้แล้วเขียนสมการด้านบนใหม่ได้วา่

S gen total = (S 2 − S1 ) − 1 2
Q
(8.27)
T0
สมการที 8.27 นันในตําราหรื อหนังสื อบางเล่มอาจจะมีการเขียนทีแตกต่างออกไป ทังนีถ้าเราพิจารณาระบบ
ในรู ปที 8.8 รวมกันทังหมดได้แก่มวลควบคุม 1 มวลควบคุม 2 และสิ งล้อมรอบ เราจะพบว่าระบบรวม
ทังหมดเป็ นระบบโดดเดียวระบบหนึง ดังนันจากสมการที 8.24 เราสามารถเขียนได้วา่
1 S 2 gen = (S 2 − S1 )isolated system

ทังนีถ้าเทียบสมการที 8.27 กับสมการด้านบนพจน์ต่อพจน์ เราจะได้ว่าทางด้านซ้ายมือของสมการนัน 1S2 gen


ก็คือ Sgen total นันเองเพราะระบบโดดเดียวคือระบบทังหมด ส่ วนด้านขวามือของสมการทังสองเราจะพบว่า

(S2 − S1 )isolated system = (S2 − S1 ) − 1TQ 2


0

หากเราย้อนกลับไปเราจะพบว่า (S 2 − S1 ) ก็คือ (S 2 − S1 )CM1 นันเอง แต่ทงนี


ั ระบบโดดเดี ยวของเรา
ประกอบไปด้วยมวลควบคุม 1 และส่ วนทีเหลือทีไม่ใช่ CM1 ดังนัน
(S 2 − S1 )isolated system = (S 2 − S1 )CM1 + (S 2 − S1 )non CM1

เมือเปรี ยบเทียบสมการสองสมการด้านบน จะพบว่า

(S 2 − S1 )non CM1 = − 1
Q2
T0
ส่ วนทีเหลือทีไม่ใช่ CM1 นันโดยรวมๆ แล้ว เราก็สามารถเรี ยกได้วา่ สิ งล้อมรอบได้เหมือนกัน ดังนันเราจึง
อาจจะเห็นว่าในตําราหรื อหนังสื อบางเล่มเขียนสมการด้านบนให้อยูใ่ นรู ป

(S2 − S1 )non CM1 = ΔSsurr = − 1TQ 2 (8.28)


0
150

อนึงสมการที 8.28 นันอาจจะสามารถพิสูจน์ได้โดยการใช้กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์หรื อสมการที


8.22 โดยให้ระบบทีพิจารณาคือสิ งล้อมรอบทีมีอุณหภูมิคงทีที T0 และกระบวนการทีเกิดขึนในสิ งล้อมรอบ
เป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ภายใน ดังนันสมการที 8.22 จะลดรู ปลงเป็ นสมการที 8.28 ดังนันสมการที
8.27 อาจจะเขียนใหม่ได้ในรู ป

S gen total = (S 2 − S1 ) − 1 2 = ΔS CM + ΔS surr = ΔS total


Q
(8.29)
T0
สมการที 8.27 หรื อสมการที 8.29 นันเป็ นกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับระบบทีพิจารณารวมกับ
สิ งล้อมรอบเพือใช้ในการหา Sgen total ซึงจะมีค่าเท่ากับการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของระบบ (ΔSCM) บวกกับ
การเปลียนแปลงเอนโทรปี ของสิ งล้อมรอบ (ΔSsurr) และเท่ากับการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของระบบรวม
(ΔStotal) นันเอง โดยส่ วนตัวของผูเ้ ขียนจะพบว่าสมการด้านบนสร้างความสับสนให้กบั ผูเ้ รี ยนเป็ นอย่างยิง
ทังนี สาเหตุหลักเนื องจากคําศัพท์ต่างๆ มีชือเรี ยกทีใกล้เคียงกัน ตัวอย่างเช่น การเปลียนแปลงเอนโทรปี ของ
ระบบ การเปลียนแปลงเอนโทรปี รวม การผลิตเอนโทรปี ของระบบ การผลิตเอนโทรปี รวม เป็ นต้น รวมทัง
การแยกว่าอะไรคือระบบทีพิจารณา อะไรคือสิ งล้อมรอบ และอะไรคือรวมทังหมด ดังนันเพือหลีกเลียง
ความสับสนแก่ผเู ้ รี ยน ผูเ้ ขียนจึงแนะนําให้ทาํ ความเข้าใจกับคําว่าการผลิตเอนโทรปี รวมเพียงคําเดียวก่อน
โดยการเน้นไปทีสมการที 8.27 เพือให้ผเู ้ รี ยนได้เข้าใจ ก่อนทีจะทําการขยายผลเพืออธิบายในส่ วนถัดไป

ตัวอย่างที 8.3
นําปริ มาณ 1.5 kg ถูกบรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บและลูกสู บทีความดัน 800 kPa และอุณหภูมิ 150oC
ต่อมาไอนําได้รับความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงซึงมีอุณหภูมิเท่ากับ 200oC ทําให้ไอนําขยายตัว
จนกระทังอุณหภูมิของไอนําเท่ากับ 200oC ลูกสู บกับก้อนนําหนักจะรั กษาความดันของนําให้มีค่าคงที
เท่ากับ 800 kPa เสมอ จงหาการผลิตเอนโทรปี รวมจากกระบวนการดังกล่าว
วิธีทาํ CM
มวลควบคุม: นําภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา H2O
ตัวแปรทีทราบค่า: m, P1, T1, , T0, T2
ตัวแปรทีต้องการ: Sgen total Q
แหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูง T0
สมมติให้กระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ภายในแบบไอโซคอริ ก จากข้อมูลที
กําหนดให้เราสามารถหาภาวะตังต้นของนําได้จาก
151

ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): P1 = 800 kPa


T1 = 150oC ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยของเหลวอัดตัว
ดังนัน v1 ≈ vf(150oC) = 0.001090 m3/kg
u1 ≈ uf(150oC) = 631.66 kJ/kg
s1 ≈ sf(150oC) = 1.8417 kJ/kg-K

นอกจากนี จะเห็ นได้ว่าเนื องจากความดันมีค่าคงทีตลอดทังกระบวนการ ทําให้เราทราบความดันทีภาวะ


สุ ดท้ายรวมทังค่าอุณหภูมิสุดท้ายทีโจทย์กาํ หนดมา ดังนัน
ภาวะที 2 (ภาวะสุ ดท้าย): P2 = P1 = 800 kPa
T2 = 200oC ภาวะถูกกําหนดแล้วโดยเป็ นไอร้อนยวดยิง
ดังนัน v2 = 0.26080 m3/kg
u2 = 2,630.61 kJ/kg-K
s2 = 6.8158 kJ/kg-K

เนืองจากความดันมีค่าคงที ดังนันจะสามารถคํานวณงานขอบเขตเคลือนทีได้จาก
2

1W2 =
∫ P dV
1
= P (V2 − V1 ) = P m (v 2 − v 1 )

m3 ⎞
= (800 kPa )(1.5 kg )⎜ 0.26080 − 0.001090 ⎟

⎝ kg ⎠
1W2 = 311.652 kJ

จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
1 Q 2 − 1W2 = ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE
เนืองจากระบบไม่มีการเคลือนทีไปในทิศทางใดๆ และไม่มีการเปลียนระดับความสู ง ดังนัน ΔKE = 0 และ
ΔPE = 0 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมจึงเขียนได้เป็ น
1 Q 2 − 1W2 = ΔU = m (u 2 − u 1 )
แทนค่าลงไปจะได้วา่
⎛ kJ ⎞
1 Q 2 − 311.652 kJ = 1.5 kg ⎜ 2,630.61 − 631.66 ⎟
⎝ kg ⎠
1 Q 2 − 311.652 kJ = 2 ,998.425 kJ

1 Q 2 = 3,310.077 kJ
152

การหาค่าการผลิตเอนโทรปี รวมนันจะทําได้โดยการใช้สมการที 8.27 โดยทีการผลิตเอนโทรปี รวมเกิดจาก


การผลิ ตเอนโทรปี ภายในระบบบวกกับการผลิ ตเอนโทรปี ที เกิ ดจากการถ่ายเทความร้ อนจากแหล่งจ่ าย
พลังงานอุณหภูมิสูงทีมีอุณหภูมิ T0 = 200oC = 473.15 K เข้าสู่ ระบบ ดังนันกฎข้อทีสองของเธอร์ โม
ไดนามิกส์สาํ หรับระบบและสิ งล้อมรอบสามารถเขียนได้เป็ น
S gen total = (S 2 − S1 ) − 1 2
Q
T0
S gen total = m (s 2 − s1 ) − 1 2
Q
T0
แทนค่าลงไปในสมการ ผลทีได้คือ
⎛ kJ ⎞ 3,310.077 kJ
S gen total = 1.5 kg ⎜ 6.8158 − 1.8417 ⎟ −
⎝ kg − K ⎠ 473.15 K
kJ kJ
S gen total = 7.46115 − 6.99583
K K
kJ
S gen total = 0.46532 คําตอบ
K
หากวาดแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของกระบวนการทีเกิดขึน จะเห็นว่าวิถีของกระบวนการเป็ นไปตามเส้น
ความดันคงที
T
เส้นความดันคงที

2
200 oC
Tsat @800 kPa
1
150 oC

1.8417 6.8158 s
kJ/kg-K kJ/kg-K

หมายเหตุ
หากพิจารณาปัญหาข้อนีโดยละเอียดโดยเริ มจากกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์ของมวลควบคุม
ซึงในทีนีคือนําเพียงอย่างเดียว จากสมการที 8.22 จะได้วา่
2
δQ
S 2 − S1 =

1
T
+ S gen CM
153

จะเห็นว่าในระหว่างกระบวนการไอโซบาริ กทีเกิดขึน ไม่ได้มีปัจจัยใดๆ ทีแสดงถึงการย้อนกลับไม่ได้ภายใน


ของระบบ นันก็คือหากมีการดึงความร้อนออกจากไอนําทีภาวะที 2 ผลทีได้ก็คือไอนําทีภาวะที 2 ก็
ย้อนกลับไปเป็ นของเหลวอัดตัวทีภาวะที 1 ได้ ดังนันเราจึงสรุ ปได้วา่
S gen CM = 0
ดังนัน เราจะสามารถเขียนได้วา่
2
δQ
S 2 − S1 =

1
T
2
δQ
พจน์

1
T
ทีปรากฏอยูน่ นไม่
ั สามารถหาค่าปริ พนั ธ์ได้โดยตรง เนืองจากกระบวนการทีเกิดขึนมีอุณหภูมิ

ไม่คงที กล่าวคือนําในภาวะของเหลวอัดตัวจะมีอุณหภูมิเพิมขึนจาก 150oC ไปยังอุณหภูมิอิมตัวที 800 kPa


ซึ งเท่ากับ 170.43oC จากนันก็จะเกิดการเปลียนสถานะกลายเป็ นไอนําอิมตัวจนหมด จากนันไอนําอิมตัวก็
จะได้รับความร้อนเพิมจนกระทังกลายเป็ นไอร้อนยวดยิงทีมีอุณหภูมิสุดท้ายที 200oC แต่จากสมการด้านบน
2
δQ kJ
ทําให้เราทราบว่า

1
T
= S 2 − S1 = 7.46115
K
สิ งทีน่าสนใจอย่างหนึงก็คือว่าหากเราจะทําการ
2
δQ
ลองประมาณค่าของ

1
T
อย่างง่ายๆ โดยสังเกตจากแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ทีแสดงอยู่ จะพบว่า

กระบวนส่ วนใหญ่จะเกิดขึนในระหว่างช่วงการเปลียนสถานะทีมีอุณหภูมิคงทีเท่ากับ Tsat = 170.43oC =


2
δQ
443.58 K ดังนันเราจึงสามารถประมาณค่าของ
∫1
T
ได้เป็ น
2
δQ 1 Q2
3,310.077 kJ kJ
∫1
T

Tsat @ 800 kPa
=
443.58 K
= 7.46219
K
2
δQ
จะเห็นได้วา่ ค่า

1
T
ั ค่าใกล้เคียงกับค่า S 2 − S1 ทีคํานวณได้เลยทีเดียว
ทีประมาณได้นนมี

อนึงเนืองจากค่า S gen CM = 0 ดังนัน


S gen total = S gen CM + S gen HT = S gen HT
ดังนันการผลิตเอนโทรปี รวมทีเกิดขึนจึงเป็ นผลมาจากการย้อนกลับไม่ได้เนื องจากการถ่ายเทความร้อนจาก
ผลต่างของอุณหภูมิทีมีค่าจํากัดซึงเกิดขึนระหว่างระบบและแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงนันเอง
154

8.9 การเปลียนแปลงเอนโทรปี ของของแข็งและของเหลว


สําหรับสารทีจัดอยู่ในประเภทสารอัดไม่ได้ซึงได้แก่ของแข็งและของเหลว เราทราบว่าปริ มาตร
จําเพาะของสารอัดไม่ได้เป็ นค่าคงตัวซึงจะทําให้ค่าของ CV และ CP จะลู่เข้าสู่ ค่าเดียวกันนันคือค่า C ดังนัน
โดยตังต้นจากความสัมพันธ์สมบัติเธอร์โมไดนามิกส์หรื อสมการที 8.15 เนืองจาก dV ≈ 0 จะได้วา่
du
ds ≈
T
จากนันแทนค่า du จากสมการที 5.23 ลงไปจะได้วา่
C dT
ds ≈ (8.30)
T
หากช่วงการใช้งานของอุณหภูมิมีค่าไม่กว้างมาก จะทําให้เราสามารถตังสมมติฐานได้ว่าค่า C ของของแข็ง
และของเหลวเป็ นค่าคงตัว เมือทําการหาค่าปริ พนั ธ์ของสมการที 8.30 จะได้วา่
⎛T ⎞
s 2 − s1 ≈ C ln ⎜⎜ 2 ⎟⎟ (8.31)
⎝ T1 ⎠
ในกรณี ทีค่า C ไม่เป็ นค่าคงตัว เราจะต้องหาความสัมพันธ์ระหว่าง C และ T จากนันแทนลงไปในสมการที
8.30 แล้วทําการหาปริ พนั ธ์เพือหาการเปลียนแปลงเอนโทรปี จําเพาะ
อนึงในสมการที 8.31 เราจะได้ขอ้ สังเกตอยูส่ องประการกล่าวคือ ประการแรกการเปลียนแปลงเอน
โทรปี จําเพาะของสารอัดได้ขึนอยู่กบั อุณหภูมิเพียงอย่างเดี ยวเช่ นเดี ยวกันกับพลังงานภายในจําเพาะและ
เอนธัลปี จําเพาะของสารอัดไม่ได้ ประการทีสองสําหรับสารอัดไม่ได้แล้วหากกระบวนการทีเกิดขึนเป็ น
กระบวนการแอเดียบาติก ผลทีได้กจ็ ะทําให้กระบวนการนันเป็ นกระบวนการไอโซเธอร์มลั ไปด้วยในทันที

ตัวอย่างที 8.4
แท่งอลูมิเนี ยมรู ปทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 cm ยาว 30 cm ได้รับความร้อนทําให้มี
อุณหภูมิเพิมขึนจาก 30oC ไปเป็ น 150oC จงหาการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของแท่งอลูมิเนียม
วิธีทาํ
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อลูมิเนียมเป็ นสารอัดไม่ได้ทีมีความร้อนจําเพาะเป็ นค่าคงตัว
ตัวแปรทีทราบค่า: D, L, T1, T2
ตัวแปรทีต้องการ: S2 − S1

จากตารางที ผ.2 จะได้ว่าคุณสมบัติของอลูมิเนียมคือ ρ = 2,700 kg/m3 และ C = 0.90 kJ/kg-K


ดังนันเราสามารถหามวลของแท่งอลูมิเนียมจาก
155

π
m = ρ V = ρ ⎛⎜ D 2 L ⎞⎟
⎝4 ⎠
kg π
m = ⎛⎜ 2,700 3 ⎞⎟ ⎛⎜ (0.1 m )2 (0.3 m )⎞⎟ = 6.3617 kg
⎝ m ⎠⎝ 4 ⎠
ดังนันจากสมการที 8.31 เราจะสามารถหาการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของแท่งอลูมิเนียมได้จาก
⎛T ⎞
S 2 − S1 = m (s 2 − s1 ) = m C ln ⎜⎜ 2 ⎟⎟
⎝ T1 ⎠
kJ ⎞ ⎜⎛ 423.15 K ⎞⎟
( ) ⎛
S 2 − S1 = 6.3617 kg ⎜ 0.90 ⎟ ln
⎝ kg − K ⎠ ⎜⎝ 303.15 K ⎟⎠
kJ
S 2 − S1 = 1.9095 คําตอบ
K

8.10 การเปลียนแปลงเอนโทรปี ของแก๊สอุดมคติ


การหาค่าการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของแก๊สอุดมคตินันเริ มต้นจากความสัมพันธ์สมบัติเธอร์ โม
ไดนามิกส์หรื อสมการที 8.15 กล่าวคือ
T ds = du + P dv

แทนค่า du ด้วยสมการที 5.29 และแทนค่า P ด้วยสมการแก๊สอุดมคติกล่าวคือ P = RT/v จากนันจัดรู ป


สมการ เราจะได้
C R
ds = V 0 dT + dv (8.32)
T v
เมือทําการหาปริ พนั ธ์ของสมการที 8.32 จะพบว่าพจน์ทีสองทางด้านขวามือของสมการสามารถหาปริ พนั ธ์
ได้โดยตรงเนืองจาก R เป็ นค่าคงตัว ในขณะทีพจน์แรกทางด้านขวามือของสมการยังไม่สามารถหาปริ พนั ธ์
ได้เนืองจาก CV0 เป็ นฟังก์ชนั ของ T ผลทีได้คือ
2
CV0 v
s 2 − s1 =

1
T
dT + R ln 2
v1
(8.33)

ในทํานองเดียวกัน หากเราเริ มต้นการพิสูจน์จากสมการที 8.16 แทนการใช้สมการที 8.15 ผลทีได้คือ


T ds = dh − v dP
156

แทนค่า dh ด้วยสมการที 5.30 และแทนค่า v ด้วยสมการแก๊สอุดมคติกล่าวคือ v = RT/P จากนันจัดรู ป


สมการ เราจะได้
C R
ds = P 0 dT − dP (8.34)
T P
เมือทําการหาปริ พนั ธ์ของสมการที 8.34 ผลทีได้กจ็ ะมีความคล้ายคลึงกับสมการที 8.33 กล่าวคือ
2
CP0 P
s 2 − s1 =

1
T
dT − R ln 2
P1
(8.35)

ในการหาค่าปริ พนั ธ์ของพจน์แรกทางขวามือของสมการที 8.33 และ 8.35 นันทําได้เช่นเดียวกับที


กล่าวไว้ในหัวข้อที 5.7 กล่าวคืออันดับแรกต้องพิจารณาว่าแก๊สทีสนใจเป็ นแก๊สอะตอมเดียว อะตอมคู่ หรื อ
แก๊สทีมีจาํ นวนอะตอมเกินสองตัวขึนไป ซึงปั จจัยเหล่านีจะมีผลต่อความผันแปรของ CV0 และ CP0 ทีมีต่อ
อุณหภูมิ หลังจากนันก็เลือกวิธีสาํ หรับการหาปริ พนั ธ์ของสมการที 8.33 และ 8.35 ดังต่อไปนี
1) การตังสมมติฐานว่าค่า CV0 และ CP0 เปลียนแปลงน้อยมากเมือเทียบกับช่วงของอุณหภูมิทีเปลียนแปลง
ไป ดังนันค่า CV0 และ CP0 จึงสามารถประมาณได้เป็ นค่าคงตัว ดังนันสมการที 8.33 และ 8.35 จะ
สามารถเขียนได้เป็ น
T v
s 2 − s1 = C V 0 ln 2 + R ln 2 (8.36)
T1 v1
T P
s 2 − s1 = C P 0 ln 2 − R ln 2 (8.37)
T1 P1
ในกรณี ของแก๊สอะตอมเดียว เราก็จะสามารถประยุกต์ใช้สมการที 8.36 และ 8.37 ได้โดยทันทีเนืองจาก
CV0 และ CP0 เป็ นค่าคงตัวอยูแ่ ล้ว ในส่ วนของแก๊สอะตอมคู่หรื อมากกว่า หากจะใช้สมการที 8.36 และ
8.37 ควรจะใช้ค่า CV0 และ CP0 ทีเป็ นค่าเฉลีย
2) การแทนค่า CP0 ทีเป็ นฟั งก์ชนั ของอุณหภูมิทีอยู่ในรู ปพหุ นามลําดับทีสามซึ งแสดงไว้ในตารางที ผ.5
ส่ วนค่า CV0 นันก็ใช้ความสัมพันธ์จากสมการที 5.31 จากนันทําการแทนค่า CV0 และ CP0 เพือหาปริ พนั ธ์
ของสมการที 8.33 และ 8.35 โดยตรง
3) การใช้ตารางที ผ.6 เพือหาค่าเอนโทรปี มาตรฐาน (standard entropy หรื อ s0T) ทังนีเอนโทรปี มาตรฐาน
ซึงนิยามโดย
T
C P0
s 0T =

T0
T
dT

จะเห็นว่าการปริ พนั ธ์จาํ กัดเขตของสมการนันเริ มต้นจากอุณหภูมิอา้ งอิง T0 ไปยังอุณหภูมิ T ใดๆ โดยที


ความสัมพันธ์ระหว่าง CP0 กับอุณหภูมินนเป็
ั นความสัมพันธ์ทีได้มาจากเธอร์โมไดนามิกส์สถิติ จะสังเกต
157

ได้ว่าค่าเอนโทรปี มาตรฐานนันจะเป็ นฟังก์ชนั ของอุณหภูมิเพียงอย่างเดียว จากนันการเปลียนแปลงเอน


โทรปี จําเพาะจะหาได้จาก
P
s 2 − s1 = (s 0T 2 − s 0T1 ) − R ln 2 (8.38)
P1
ข้อดีและข้อเสี ยของวิธีการทังสามนันได้มีการอภิปรายไปแล้วในหัวข้อที 5.7 ซึงจะไม่นาํ มากล่าวซํา
อีก ณ ทีนี อนึ งมีจุดทีน่ าสังเกตเกียวกับการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของแก๊สอุดมคติอยู่สองข้อกล่าวคือ ข้อ
แรกหากพิจารณาสมการที 8.33 หรื อ 8.35 จะพบว่า s2 − s1 ของแก๊สอุดมคตินนจะขึ ั นอยูก่ บั สมบัติเธอร์โม
ไดนามิกส์สองค่าไม่วา่ จะเป็ นอุณหภูมิและปริ มาตรจําเพาะหรื อไม่กอ็ ุณหภูมิและความดัน ซึงจะแตกต่างจาก
u2 − u1 และ h2 − h1 ซึงจะขึนอยูก่ บั อุณหภูมิเพียงอย่างเดียวเท่านัน ข้อทีสองหากเปรี ยบเทียบระหว่าง
สมการที 8.33 และ 8.35 เราจะพบว่าสมการทีจะสามารถนําไปใช้ได้ในทางปฏิบตั ิก็คือสมการที 8.35 ทังนี
เนื องจากสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ของแก๊สทีสามารถวัดจากเครื องมือวัดต่างๆ ได้โดยง่ายคืออุณหภูมิและ
ความดันนันเอง
พิจารณากรณี ทีแก๊สอุดมคติอยูภ่ ายใต้กระบวนการไอเซนโทรปิ ก เราจะพบว่าสําหรับกระบวนการ
ไอเซนโทรปิ กนัน การเปลียนแปลงเอนโทรปี ของระบบมีค่าเป็ นศูนย์ ดังนันจากสมการที 8.35 เราจะได้วา่
2
CP0 P
0=

1
T
dT − R ln 2
P1
(8.39)

หากเราตังสมมติฐานให้ CP0 ของแก๊สอุดมคติเป็ นค่าคงตัว ดังนันสมการที 8.39 จะสามารถเขียนได้เป็ น


T P
0 = C P 0 ln 2 − R ln 2
T1 P1
หากเขียนสมการใหม่อีกครังจะอยูใ่ นรู ป
R
T2 ⎛ P2 ⎞ CP 0
=⎜ ⎟ (8.40)
T1 ⎜⎝ P1 ⎟⎠
โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง CV0 และ CP0 หรื อสมการที 5.31 จะได้วา่
R C −C k −1
= P0 V 0 =
C P0 C P0 k
โดยที k คืออัตราส่ วนความร้อนจําเพาะ (specific heat ratio) ซึงนิยามโดย
C
k = P0 (8.41)
C V0
158

สมการที 8.40 จะสามารถเขียนอยูใ่ นรู ปของอัตราส่ วนความร้อนจําเพาะได้คือ


k −1
T2 ⎛ P2 ⎞ k
=⎜ ⎟ (8.42)
T1 ⎜⎝ P1 ⎟⎠
หากใช้สมการแก๊สอุดมคติร่วมกับสมการที 8.42 เราจะสามารถเขียนได้วา่
k −1
T2 ⎛ v 1 ⎞
=⎜ ⎟ (8.43)
T1 ⎜⎝ v 2 ⎟⎠
k
P2 ⎛ v 1 ⎞
=⎜ ⎟ (8.44)
P1 ⎜⎝ v 2 ⎟⎠
จะสังเกตได้ว่าสมการที 8.42 ถึง 8.44 เป็ นสมการที เขียนอยู่ในรู ปอัตราส่ วนระหว่างสมบัติเธอร์ โม
ไดนามิกส์ สมการที 8.44 จะสามารถเขียนได้ในอีกรู ปแบบหนึงคือ
PV k = ค่าคงตัว (8.45)
เมือเปรี ยบเทียบสมการที 8.45 กับสมการที 4.9 ซึงแสดงความสัมพันธ์ระหว่า P และ V ของกระบวนการโพลี
โทรปิ ก จะพบว่ากระบวนการไอเซนโทรปิ กของแก๊สอุดมคติทีมีค่าความร้อนจําเพาะเป็ นค่าคงตัวจะเทียบเท่า
กับกระบวนการโพลีโทรปิ กทีมีดชั นีชีกําลังเท่ากับค่า k นันเอง

ตัวอย่างที 8.5
จงหาผลต่างของเอนโทรปี จําเพาะของคาร์ บอนไดออกไซด์ทีได้รับความร้อนจนมีอุณหภูมิเพิมจาก
300 K ไปเป็ น 1000 K ในขณะทีความดันลดลงจาก 200 kPa ไปเป็ น 100 kPa โดยใช้วิธีทงสามวิ
ั ธีทีได้
อธิบายในหัวข้อที 8.10
วิธีทาํ
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นแก๊สอุดมคติ
ตัวแปรทีทราบค่า: T1, T2
ตัวแปรทีต้องการ: s 2 − s1

คาร์ บอนไดออกไซด์จดั อยู่ในกลุ่มแก๊สทีมีอะตอมมากกว่าสองตัว ดังนันจึงประมาณได้ว่าค่า CP0


ของคาร์ บ อนไดออกไซด์ ก็ จ ะผัน แปรตามการเปลี ยนแปลงของอุ ณ หภู มิ ค่ อ นข้า งมาก รวมทังการ
เปลียนแปลงอุณหภูมิของคาร์ บอนไดออกไซด์มีค่าตังแต่ 300 K ไปจนถึง 1,000 K ซึ งถือว่ามีช่วงการ
เปลียนแปลงอุณหภูมิมากพอสมควร ดังนันจึงประมาณการในเบืองต้นอย่างคร่ าวๆ ได้วา่ วิธีทงสามวิ
ั ธีอาจจะ
ให้ผลทีแตกต่างกันในระดับหนึง
159

(1) วิธีตงสมมติ
ั ฐานว่าค่า CP0 เป็ นค่าคงตัว
ทําการหาค่า CP0 ทีอุณหภูมิเฉลียหรื อ Tavg ก่อนซึงจะมีค่าเท่ากับ 0.5(T1 + T2) = 650 K โดยอาศัย
ตารางที ผ.5 ค่า CP0 ของคาร์บอนไดออกไซด์จะแปรผันตามอุณหภูมิดงั สมการ

⎛ kJ ⎞ T (K)
CP0 ⎜ ⎟ = 0.45 + 1.67θ − 1.27θ2 + 0.39θ3 โดยที θ = และ 0.25 ≤ θ ≤ 1.2
⎝ kg - K ⎠ 1000

ดังนัน θavg = Tavg/1000 = 650/1000 = 0.65 ซึงยังอยูใ่ นช่วงทีสามารถใช้งานได้ เมือแทนค่า θavg ลงไปใน
พหุ นามด้านบนเพือหาค่า CP0,avg จะได้ว่า CP0,avg = 1.1060 kJ/kg-K จากนันนําค่า CP0,avg ไปแทนค่าในสมการ
ที 8.37 ส่ วนค่า R = 0.1889 kJ/kg-K จะได้วา่
T P
s 2 − s1 = C P 0 ln 2 − R ln 2
T1 P1
⎛ kJ ⎞ ⎜⎛ 1,000 K ⎟⎞ ⎛ kJ ⎞ ⎛⎜ 200 kPa ⎞⎟
s 2 − s1 = ⎜ 1.1060 ⎟ ln ⎜ − ⎜ 0.1889 ⎟ ln ⎜
⎝ kg − K ⎠ ⎝ 300 K ⎟ kg − K ⎠ ⎝ 100 kPa ⎟⎠
⎠ ⎝
kJ
s 2 − s1 = 1.2007 คําตอบ
kg − K
(2) วิธีหาปริ พนั ธ์โดยแทนค่า CP0 ทีเป็ นพหุนามลําดับทีสาม
จากสมการพหุนามลําดับทีสามของ CP0 ในตารางที ผ.5

⎛ kJ ⎞ T (K)
CP0 ⎜ ⎟ = 0.45 + 1.67θ − 1.27θ2 + 0.39θ3 โดยที θ = และ 0.25 ≤ θ ≤ 1.2
⎝ kg - K ⎠ 1000
แทนสมการพหุนามดังกล่าวลงไปในพจน์แรกทางด้านขวามือของสมการที 8.35 จะได้วา่
1 , 000 K
(0.45 + 1.67θ − 1.27θ2 + 0.39θ3 ) dθ
1 1
CP0 CP0

300 K
T
dT =

0. 3
θ
dθ =

0.3
θ
1 , 000 K
1
CP0 1.27 0.39 3 ⎞ ⎛ kJ ⎞
dT = ⎛⎜ 0.45 ln θ + 1.67 θ − θ 2 +

300 K
T ⎝ 2
θ ⎟ = ⎜ 1.165 − ( −0.09443)
3 ⎠ 0. 3 ⎝

kg - K ⎠
1 , 000 K
CP0 kJ

300 K
T
dT = 1.25943
kg - K
160

ดังนันจากสมการที 8.35 จะได้วา่


2
C P0 P
s 2 − s1 =

1
T
dT − R ln 2
P1
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞ ⎛⎜ 200 kPa ⎞⎟
s 2 − s 1 = ⎜ 1.25943 −
⎟ ⎜ 0. 1889 ⎟ ln ⎜
⎝ kg - K ⎠ ⎝ kg − K ⎠ ⎝ 100 kPa ⎟⎠
kJ
s 2 − s1 = 1.1285 คําตอบ
kg − K
(3) วิธีการเปิ ดตารางที ผ.6 เพือหาเอนโทรปี มาตรฐานทีอุณหภูมิค่าต่างๆ
จากตารางที ผ.6 เนืองจากที T1 และ T2 นันเป็ นค่าทีปรากฏอยูใ่ นตารางพอดี ดังนันจะได้วา่
kJ
T1 = 300 K จะได้ s 0T1 = 6.8463
kg − K
kJ
T2 = 1,000 K จะได้ s 0T 2 = 8.1451
kg − K
จากสมการที 8.38 จะได้วา่
P2
s 2 − s1 = (s 0T 2 − s 0T1 ) − R ln
P1
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞ ⎜⎛ 200 kPa ⎞⎟
s 2 − s1 = ⎜ 8.1451 − 6.8463 ⎟ − ⎜ 0.1889 ⎟ ln
⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠ ⎜⎝ 100 kPa ⎟⎠
kJ
s 2 − s1 = 1.1679 คําตอบ
kg − K
จากการคํานวณทังสามวิธี จะเห็นได้ว่าค่า s2 − s1 ทีได้จากทังสามวิธีมีค่าค่อนข้างแตกต่างกันในระดับหนึ ง
หากให้คาํ ตอบจากวิธีที (3) เป็ นคําตอบทีมีค่าถูกต้องทีสุ ด เราจะพบว่าความผิดพลาดจากวิธีที (1) และวิธีที
(2) เมือเทียบจากวิธีที (3) จะมีค่าประมาณร้อยละ 3 ทังสองวิธี แต่ทงนี
ั วิธีที (1) จะใช้เวลาในการคํานวณน้อย
กว่าวิธีที (2) เป็ นอย่างมากโดยทีคําตอบทีได้มีความแม่นยําใกล้เคียงกัน ในขณะทีวิธีที (3) เป็ นวิธีทีมีความ
แม่นยําสูงอีกทังใช้เวลาในการคํานวณไม่มากนัก จึงน่าจะเป็ นวิธีทีเหมาะสมทีสุ ด

ตัวอย่างที 8.6
กระบอกสู บและลูกสู บบรรจุแก๊สฮีเลียมความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 30oC มีปริ มาตรตังต้น 1 m3
หลังจากนันฮีเลียมได้ถูกอัดด้วยกระบวนการไอเซนโทรปิ กจนกระทังมีความดันเท่ากับ 700 kPa จง
คํานวณหาอุณหภูมิสุดท้ายของฮีเลียมและงานทีใช้ในการอัด
161

วิธีทาํ แรง
มวลควบคุม: ฮีเลียมภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก CM
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ฮีเลียมเป็ นแก๊สอุดมคติ
He
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, V1, P2
ตัวแปรทีต้องการ: T2, 1W2
เนืองจากฮีเลียมเป็ นแก๊สอะตอมเดียว ดังนัน CV0 และ CP0 จึงเป็ นค่าคงตัวซึง ทําให้ k เป็ นค่าคงตัว
เช่นกัน จากตารางที ผ.4 จะได้วา่ สําหรับฮีเลียม R = 2.0771 kJ/kg-K, CV0 = 3.116 kJ/kg-K และ k = 1.667
ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): P1 = 100 kPa, T1 = 30oC = 303.15 K, V1 = 1 m3
สมการแก๊สอุดมคติ P1 V1 = m R T1

(100 kPa )(1 m ) 3 ⎛


= ( m ) ⎜ 2.0771
kJ ⎞
⎟ (303.15 K )
kg − K ⎠

m = 0.15881 kg
จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
1 Q2 − 1W2 = ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE
เนืองจากระบบไม่มีการเคลือนทีและเปลียนระดับความสู งดังนัน ΔKE = 0 และ ΔPE = 0 รวมทัง 1Q2 = 0
จากกระบวนการไอเซนโทรปิ ก ดังนันกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมจึงลดรู ปเป็ น
− 1W2 = ΔU = m (u 2 − u 1 )
สําหรับแก๊สอุดมคติทีมีค่าความร้อนจําเพาะเป็ นค่าคงตัว จะสามารถเขียนสมการทีได้ให้อยูใ่ นรู ป
1W2 = m (u 1 − u 2 ) = m C V 0 (T1 − T2 )
จากกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
2
δQ
S 2 − S1 =

1
T
+ 1 S 2 gen

สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ ก 1Q2 = 0 และ 1S2 gen = 0 กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์จึงลดรู ปลง


ไปเป็ น s 2 − s1 = 0 เมือรวมกับเงื อนไขทีระบบเป็ นแก๊สอุดมคติทีมีค่าความร้ อนจําเพาะเป็ นค่าคงตัว
ส่ งผลให้เราสามารถนําสมการที 8.42 มาใช้ได้ดงั นี
k −1
T2 ⎛ P2 ⎞k
=⎜ ⎟
T1 ⎜⎝ P1 ⎟⎠
162

1.667−1

T2 ⎛ 700 kPa ⎞ 1.667


=⎜ ⎟
303.15 K ⎝⎜ 100 kPa ⎟⎠

T2 = 660.386 K คําตอบ

นําค่าอุณหภูมิสุดท้ายหรื อ T2 ทีได้ไปแทนในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ทีลดรู ปแล้ว กล่าวคือ

1W2 = m C V 0 (T1 − T2 ) = 3.116


kJ
kg − K
(303.15 − 660.386 K )
1W2 = − 1,113.1 kJ คําตอบ
หมายเหตุ
สําหรับในข้อนี เราอาจจะหางานทีใช้ในการอัดแก๊สฮีเลียมได้จากสมการที 4.10 หรื อก็คือสมการ
สําหรับใช้หางานขอบเขตเคลือนทีของกระบวนการโพลีโทรปิ ก
2
P2 V2 − P1 V1
1W2 = ∫1
P dV =
1− n
แต่เนื องจากว่ากระบวนการไอเซนโทรปิ กของแก๊สอุดมคติทีมีค่าความร้อนจําเพาะเป็ นค่าคงตัวจะเทียบเท่า
กับกระบวนการโพลีโทรปิ กทีมีค่า n = k ดังนัน
P2 V2 − P1 V1 mRT2 − mRT1 R ⎞
1W2 = = = m ⎛⎜ ⎟(T2 − T1 )
1− k 1− k ⎝1− k ⎠
โดยอาศัยนิยามของ k และความสัมพันธ์ระหว่าง CV0 และ CP0 ของแก๊สอุดมคติหรื อสมการที 5.31 จะได้วา่
⎛ C P0 − C V0 ⎞
W
1 2 = m ⎜⎜ ⎟⎟(T2 − T1 ) = m (− C V 0 ) (T2 − T1 )
⎝ 1 − ( C P0 / C )
V0 ⎠

1W2 = m C V 0 (T1 − T2 )

จะเห็นได้ว่าสมการทีได้จะเหมือนกับกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ทีลดรู ปแล้วทุกประการ จึงทําให้


การหางานไม่วา่ จะด้วยวิธีใดก็จะได้คาํ ตอบทีเท่ากัน

8.11 กระบวนการโพลีโทรปิ กย้อนกลับได้สาํ หรับแก๊สอุดมคติ


จากที เราได้เคยแนะนํากระบวนการโพลี โทรปิ กไปแล้วในหัวข้อที 4.3 ซึ งจะสามารถเขียน
ความสัมพันธ์ระหว่าง P และ V ให้อยูใ่ นรู ป
PV k = ค่าคงตัว
163

เมือนําสมการความสัมพันธ์ระหว่าง P และ V ไปใช้ร่วมกับสมการแก๊สอุดมคติ จะได้สมการทีสามารถเขียน


ได้อยูใ่ นรู ปอัตราส่ วนทังหมดสามสมการกล่าวคือ
n −1
n n −1
P2 ⎛ v 1 ⎞ T2 ⎛ P2 ⎞n T2 ⎛ v 1 ⎞
= ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜⎜ ⎟⎟ และ = ⎜⎜ ⎟⎟ (8.46)
P1 ⎝ v 2 ⎠ T1 ⎝ P1 ⎠ T1 ⎝ v 2 ⎠
สํา หรั บมวลควบคุ มที เป็ นแก๊ สอุ ดมคติ ภ ายใต้กระบวนการโพลี โทรปิ ก เราจะสามารถหางานขอบเขต
เคลือนทีได้จากสมการที 4.10 และ 4.11
2
P2 V2 − P1 V1
1W2 =
∫1
P dV =
1− n
โดยที n ≠ 1

2
⎛V ⎞ ⎛P ⎞
1W2 = ∫1
P dV = P1 V1 ln ⎜⎜ 2 ⎟⎟ = P1 V1 ln ⎜⎜ 1 ⎟⎟
⎝ V1 ⎠ ⎝ P2 ⎠
โดยที n = 1

โดยทัวไปแล้วกระบวนการโพลีโทรปิ กย้อนกลับได้ส่วนมากนันจะมีการถ่ายเทความร้อนเกิดขึนร่ วมด้วย


ยกเว้นในกรณี ของกระบวนการไอเซนโทรปิ กเท่านัน นอกจากนี เราจะพบว่ากระบวนต่างๆ ทีผ่านมา ล้วน
แต่เป็ นกรณี หนึงของกระบวนการโพลีโทรปิ กทังสิ น กล่าวคือ
กระบวนการไอโซบาริ ก: n=0
กระบวนการไอโซเธอร์มลั : n=1
กระบวนการไอเซนโทรปิ ก: n=k
กระบวนการไอโซคอริ ก: n=∞

ตัวอย่างที 8.7
กระบอกสู บและลูกสู บบรรจุอากาศความดัน 600 kPa อุณหภูมิ 300 K มีปริ มาตรเริ มต้น 0.2 m3
ต่อจากนันอากาศขยายตัวด้วยกระบวนการโพลีโทรปิ กจนกระทังมีอุณหภูมิเท่ากับ 240 K งานทีได้จากการ
ขยายตัวมีค่าเท่ากับ 95 kJ ในทีนีสิ งล้อมรอบมีอุณหภูมิ 300 K จงคํานวณหาความดันสุ ดท้ายและการผลิต
เอนโทรปี รวม
วิธีทาํ CM
มวลควบคุม: อากาศภายในกระบอกสูบ
กระบวนการ: โพลีโทรปิ ก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ อากาศ
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, V1, T2, 1W2, T0
Q
ตัวแปรทีต้องการ: P2, Sgen total
สิงล้อมรอบ T0
164

จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด เราสามารถหามวลของอากาศภายในกระบอกสูบได้


ภาวะที 1 (ภาวะตังต้น): P1 = 600 kPa, T1 = 300 K, V1 = 0.2 m3
สําหรับอากาศ R = 0.287 kJ/kg-K
สมการแก๊สอุดมคติ P1 V1 = m R T1

(600 kPa )(0.2 m )3 ⎛


= ( m ) ⎜ 0.287
kg
kJ ⎞
− K
⎟ (300 K )
⎝ ⎠
m = 1.39373 kg
เนืองจากโจทย์ไม่ได้ระบุว่ากระบวนการโพลีโทรปิ กทีเกิดขึนมีค่า n เป็ นเท่าใด ดังนันจึงต้องหาค่า n ก่อน
เพือจะได้นาํ ข้อมูลไปหาสมบัติของแก๊สทีภาวะที 2 เนื องจากโจทย์ระบุ 1W2 มา สมการงานขอบเขต
เคลือนทีของกระบวนการโพลีโทรปิ กคือ
2
P2 V2 − P1 V1
1W2 = ∫
1
P dV =
1− n
จากสมการแก๊สอุดมคติทีภาวะที 1 และ 2 กล่าวคือ P1 V1 = mRT1 และ P2 V2 = mRT2 เมือแทนลงไปใน
สมการด้านบน ผลทีได้คือ
P2 V2 − P1 V1 mRT2 − mRT1 mR (T2 − T1 )
1W2 = = =
1− n 1− n 1− n
จะเห็นว่าเราทราบค่าตัวแปรทังหมดทีปรากฏอยูใ่ นสมการด้านบน ยกเว้น n เพียงค่าเดียวทียังไม่ทราบค่า
ดังนันแทนค่าตัวแปรทีทราบค่าลงไปแล้วแก้สมการหาค่า n

95 kJ =
(1.39373 kg )(0.287 kJ/kg - K )(240 − 300 K )
1− n
n = 1.25263
จากนันใช้สมการที 8.46 เพือหาค่า P2 กล่าวคือ
n −1
T2 ⎛ P2 ⎞n
=⎜ ⎟
T1 ⎜⎝ P1 ⎟⎠
1.25263−1
240 K ⎛ P ⎞ 1.25263
=⎜ 2 ⎟
300 K ⎜⎝ 600 kPa ⎟⎠

P2 = 198.45 kPa คําตอบ


165

จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุม
1 Q2 − 1W2 = ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE
เนืองจากระบบไม่มีการเคลือนทีและเปลียนระดับความสู ง ดังนัน ΔKE = 0 และ ΔPE = 0 ดังนันกฎข้อที
หนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมจึงลดรู ปเป็ น
1 Q2 − 1W2 = ΔU = m (u 2 − u 1 )
เนืองจากการเปลียนแปลงอุณหภูมิของกระบวนการทีเกิดขึนเปลียนจาก T1 = 300 K ไปเป็ น T2 = 240 K ซึงมี
ช่วงการเปลียนแปลงของอุณหภูมิแค่ 60 K ดังนันจึงตังสมมติฐานให้อากาศมีค่าความร้อนจําเพาะเป็ นค่าคง
ตัวโดยจะใช้ค่า CV0 และ CP0 ทีอุณหภูมิ 25oC ตามทีแสดงในตาราง ผ.4 ดังนัน CV0 = 0.717 kJ/kg-K และ CP0
= 1.004 kJ/kg-K ดังนันค่า u2 − u1 ทีปรากฏอยูใ่ นกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะหาได้จาก
u 2 − u 1 = C V 0 @ 25 o C (T2 − T1 )
u 2 − u 1 = 0.717
kJ
kg − K
(240 − 300 K ) = − 43.02
kJ
kg
แทนค่า u2 − u1 และ 1W2 ลงไปในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะได้เป็ น
⎛ kJ ⎞
Q
1 2 − 95 kJ = 1. 39373 kg ⎜ − 43. 02 ⎟
⎝ kg ⎠
1 Q 2 = 35.0418 kJ

การหาค่าการผลิตเอนโทรปี รวมนันจะหาได้จากสมการที 8.27 ทังนีการผลิตเอนโทรปี รวมเกิดจากการผลิต


เอนโทรปี ภายในระบบบวกกับการผลิตเอนโทรปี ทีเกิดจากการถ่ายเทความร้อนจากสิ งล้อมรอบเข้าสู่ ระบบ
โดยทีสิ งล้อมรอบมีอุณหภูมิ T0 = 300 K ดังนันกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สามารถเขียนได้เป็ น

S gen total = (S 2 − S1 ) − 1 2
Q
T0
S gen total = m (s 2 − s1 ) − 1 2
Q
T0
เนื องจากอากาศเป็ นแก๊สอุดมคติและมีค่าความร้อนจําเพาะเป็ นค่าคงตัว ดังนันเราจึงสามารถนําสมการที
8.37 มาใช้เพือหาการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของอากาศได้ กล่าวคือ
T P
s 2 − s1 = C P 0 ln 2 − R ln 2
T1 P1
⎛ kJ ⎞ ⎜⎛ 240 K ⎞⎟ ⎛ kJ ⎞ ⎛⎜ 198.45 kPa ⎞⎟
s 2 − s 1 = ⎜ 1.004 ⎟ ln ⎜ − ⎜ 0.287 ⎟ ln
⎝ kg − K ⎠ ⎝ 300 K ⎠⎟ ⎝ kg − K ⎠ ⎝⎜ 600 kPa ⎟⎠
166

⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
s 2 − s1 = ⎜ − 0.22404 ⎟ − ⎜ − 0.31754 ⎟
⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠
kJ
s 2 − s1 = − 0.093506
kg − K
แทนค่าลงในกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์เพือหาค่า Sgen total

S gen total = m (s 2 − s1 ) − 1 2
Q
T0
⎛ kJ ⎞ 35.0418 kJ
S gen total = 1.39373 kg ⎜ − 0.093506 ⎟ −
⎝ kg − K ⎠ 300 K
kJ kJ
S gen total = 0.13032 − 0.11681
K K
kJ
S gen total = 0.01352 คําตอบ
K

8.12 กฎข้อทีสองในรู ปของสมการอัตรา


กฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ในรู ปของอนุ พนั ธ์หรื อสมการที 8.20 นันจะสามารถเปลียน
สมการให้อยู่ในรู ปของอัตราได้โดยการพิจารณากฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ในช่ วงเวลาสันๆ Δt
และเมือให้ลิมิตของ Δt เข้าสู่ ศูนย์ ดังนันสมการที 8.20 ก็จะสามารถเขียนได้อยูใ่ นรู ปอัตรากล่าวคือ
dS 1 δQ δS
= + gen (8.47)
dt T δt δt
จะพบว่าทางด้านขวาของสมการด้านบน จะสามารถเขียนได้ใหม่ในรู ปของอัตราการถ่ายเทความร้อนและ
อัตราการผลิตเอนโทรปี นอกจากนี การถ่ายเทความร้อนทีเกิดขึนบนผิวควบคุมจากแหล่งจ่ายพลังงานนัน
อาจจะเกิดขึนได้มากกว่าหนึงแหล่ง ดังนันเราจึงใส่ เครื องหมายผลรวมเพิมเข้าไปในพจน์แรกทางด้านขวามือ
ของสมการที 8.47 ผลทีได้คือ
dS 1
dt
=
T∑ Q& + S& gen (8.48)

กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์ในรู ปของสมการอัตรานันจะสามารถนําไปใช้ได้ในบทที 9 ซึงเกียวกับกฎ


ข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม
167

แบบฝึ กหัด
1) ข้อดีของการใช้แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ในการนําเสนอกระบวนการและวัฏจักรต่างๆ คืออะไร จง
อธิบาย
2) นําซึ งบรรจุ อยู่ใ นกระบอกสู บ และลูก สู บถูก อัด ตัว อย่า งช้า ๆ ด้ว ยกระบวนการไอโซเธอร์ ม ัลจาก
ปริ มาตรเริ มต้นที 500 L ซึงมีความดัน 400 kPa อุณหภูมิ 200oC จนกระทังนํากลายไปเป็ นไอนําอิมตัว
จงหางานทีเกิดขึนและความร้อนทีถ่ายเทในกระบวนการดังกล่าว
3) ภาชนะตวงหุ ้มด้วยฉนวนทําด้วยโลหะไร้สนิ ม (stainless steel) ซึ งตัวภาชนะเองหนัก 0.6 kg มี
ปริ มาตรในการบรรจุเท่ากับ 4 L ภาชนะตวงได้ถูกทิงไว้ทีอุณหภูมิห้องที 30oC ต่อมาได้มีการเท
เอธานอลทีอุณหภูมิ −20oC ลงไปในภาชนะตัวดังกล่าวจนเต็มแล้วทิงไว้ซักพักจนไม่เกิดการ
เปลียนแปลงอุณหภูมิอีก จงหาการผลิตเอนโทรปี ของกระบวนดังกล่าว
4) จงอธิบายว่าหลักการเพิมขึนของเอนโทรปี กล่าวไว้วา่ อย่างไร
5) จงคํานวณหาการเปลียนแปลงเอนโทรปี จําเพาะของออกซิเจนทีมีอุณหภูมิเพิมขึนจาก 300 K ไปเป็ น
1,000 K โดยวิธีการดังต่อไปนี
(a) ตังสมมติฐานว่า CP0 ของออกซิเจนมีค่าคงทีทีอุณหภูมิหอ้ ง 25oC
(b) ตังสมมติฐานว่า CP0 ของออกซิเจนมีค่าคงทีทีอุณหภูมิเฉลีย
(c) ให้ CP0 ของออกซิเจนเป็ นฟังก์ชนั พหุนามลําดับทีสามของอุณหภูมิ
(d) ใช้ตาราง ผ.6
6) อากาศอยูใ่ นกระบอกสูบทีความดัน 6 MPa อุณหภูมิ 1,800 K ขยายตัวด้วยกระบวนการไอเซนโทรปิ ก
จนกระทังมีความดันเท่ากับ 300 kPa จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของอากาศโดยวิธีการดังต่อไปนี
(a) ตังสมมติฐานว่า CP0 ของออกซิเจนมีค่าคงทีทีอุณหภูมิหอ้ ง 25oC
(b) ใช้ตาราง ผ.6
7) กระบอกสู บและลูกสู บทีเคลือนทีได้อย่างอิสระบรรจุอากาศทีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 160oC
ปริ มาตรเริ มต้นเท่ากับ 350 L ต่อมากระกระบอกสู บและลูกสู บถูกทิงไว้ในบรรยากาศภายนอกทีมี
อุณหภูมิ 30oC จนกระทังอากาศภายในเย็นตัวลงจนมีอุณหภูมิ 50oC จงหาการผลิตเอนโทรปี รวมที
เกิดขึน
168

บทที 9
การวิเคราะห์ กฎข้ อสองสํ าหรับปริมาตรควบคุม
9.1 กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม
ในการเขียนกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนันทําได้เช่นเดียวกับกรณี
ของกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ทีแสดงในหัวข้อที 6.2 กล่าวคือเราจะเริ มต้นจากสมการที 8.48 ซึ ง
เป็ นกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมในรู ปของอัตรา
dS CM Q&
dt
= ∑ T
+ S& gen (9.1)

จากรู ปที 9.1 จะเห็นได้ว่ามวลทีไหลเข้าสู่ และออกจากปริ มาตรควบคุมนันก็ขนส่ งเอนโทรปี เข้าสู่ และออก


จากปริ มาตรควบคุมเช่นเดียวกับพลังงาน

m& i
W& boundary
si

m& e
W& se
Q&

รู ปที 9.1 การขนส่ งเอนโทรปี เข้าสู่และออกจากปริ มาตรควบคุมโดยอัตราไหลเชิงมวล

จากนันโดยอาศัยการดุลเอนโทรปี นันคืออัตราการเปลียนแปลงเอนโทรปี ทีสะสมอยูภ่ ายในปริ มาตรควบคุม


จะเท่ากับผลต่างระหว่างอัตราการถ่ายเทเอนโทรปี ทีเข้าสู่ กบั อัตราการเปลียนแปลงเอนโทรปี ทีออกจากผิว
ควบคุม นอกจากนียังต้องรวมกับเอนโทรปี ทีสามารถผลิตขึนด้วยดังสมการ

อัตราการสะสมเอนโทรป อัตราการถ่ายเทเอนโทรป อัตราการถ่ายเทเอนโทรป อัตราการผลิต


= − +
ภายในปริมาตรควบคุม เข้าสู่ปริมาตรควบคุม ออกจากปริมาตรควบคุม เอนโทรป

หากพิจารณาสมการที 9.1 เทียบกับสมการด้านบนจะพบว่าสิ งทียังขาดอยูน่ นก็


ั คืออัตราการขนส่ งเอนโทรปี
ผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิ งมวลนันเอง ดังนันเราจึงต้องเพิมพจน์เข้าไปในสมการที 9.1 เพือเป็ น
169

ตัวแทนของอัตราการขนส่ งเอนโทรปี ผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิ งมวลซึ งก็จะมีรูปแบบของสมการ


คล้ายคลึงกับอัตราการขนส่ งพลังงานผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิงมวลทีแสดงในสมการที 6.8 เพียงแต่
เปลียนจากเอนโทรปี รวมไปเป็ นเอนโทรปี เท่านัน ดังนันกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตร
ควบคุมจึงเขียนได้เป็ น
dS CV Q&
dt
= ∑ m& i s i − ∑
m& e s e +
T ∑+ S& gen (9.2)

สําหรับพจน์ทีสามทางด้านขวามือของสมการที 9.2 นันเป็ นพจน์ทีแสดงถึงอัตราการถ่ายเทเข้าสู่ และออกจาก


ปริ มาตรควบคุมโดยการถ่ายเทความร้อนผ่านผิวควบคุม ดังนัน T ทีปรากฏอยู่ในพจน์ดงั กล่าวจึงเป็ น
อุณหภูมิของผิวควบคุม ณ ตําแหน่งทีเกิดการถ่ายเทความร้อนขึนซึงอาจจะมีมากกว่าหนึงตําแหน่งก็ได้ และ
ในแต่ละตําแหน่งก็อาจจะมีค่าทีแตกต่างกันได้เช่นกัน ในส่ วนพจน์ทีสี ทางด้านขวามือของสมการที 9.2 นัน
แสดงถึงอัตราการผลิตเอนโทรปี เนืองจากการย้อนกลับไม่ได้ภายในปริ มาตรควบคุมและจะต้องมีค่ามากกว่า
หรื อเท่ากับศูนย์เสมอ ซึ งถ้าตัดพจน์ดงั กล่าวออกจะทําให้สมการที 9.2 สามารถกลับไปเขียนในรู ปของ
อสมการได้คือ
dS CV Q&
dt
≥ ∑ m& i s i − ∑ m& e s e + ∑ T
(9.3)

9.2 กระบวนการภาวะคงตัว
พิ จ ารณากฎข้อ ที สองของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ สํา หรั บ ปริ ม าตรควบคุ ม ซึ งประยุ ก ต์ใ ช้สํา หรั บ
กระบวนการภาวะคงตัว จะเห็ นได้ว่าสําหรั บภาวะคงตัว ภาวะของมวลในแต่ละตําแหน่ งของปริ มาตร
ควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา ดังนัน
dS CV
= 0
dt
เป็ นผลให้สมการที 9.2 สามารถเขียนได้เป็ น
Q&
0 = ∑ m& s i i − ∑ m& s e e + ∑T + S& gen (9.4)

โดยทีอัตราไหลเชิงมวล ภาวะของสารทีไหลผ่านผิวควบคุม อัตราการถ่ายเทความร้อน และอัตราการผลิต


เอนโทรปี จะไม่แปรเปลียนตามเวลาด้วยเช่นกัน
สําหรับอุปกรณ์ทีมีทางเข้าและทางออกอย่างละหนึ งทางนัน ด้วยผลของสมการการอนุรักษ์มวลซึ ง
เขียนได้คือ m& i = m& e = m& จะทําให้สมการที 9.4 สามารถเขียนได้เป็ น
Q&
0 = m& (s i − s e ) + ∑ T
+ S& gen (9.5)
170

เมือหารสมการที 9.5 ด้วย m& ผลทีได้คือ


q
0 = si − se + ∑T
+ s gen (9.6)

ในกรณี ทีกระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการแอเดียแบติก และ sgen มีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับศูนย์เสมอ จะ


ทําให้สมการที 9.6 เขียนได้เป็ น
s e = s i + s gen หรื อ se ≥ si (9.7)
และเมือกระบวนการเป็ นแบบไอเซนโทรปิ กซึงทําให้ sgen = 0 ผลทีได้จากสมการที 9.7 ก็คือ
se = si (9.8)
เราจะสามารถประยุกต์ใช้สมการที 9.8 ได้โดยตรงกับอุปกรณ์จาํ พวกกังหัน เครื องอัด เครื องเป่ าลม พัดลม
และเครื องสู บซึ งเป็ นอุปกรณ์ ทีเกี ยวข้องกับงานเพลาและการถ่ายเทความร้ อนมีค่าเป็ นศูนย์ ดังนันการ
ตังสมมติฐานให้กระบวนการเป็ นแบบไอเซนโทรปิ กจะทําให้การย้อนกลับไม่ได้ภายในระบบมีค่าเป็ นศูนย์
ดังนันในกรณี ของกังหันซึงมีค่างานเพลาเป็ นบวก จะทําให้งานเพลาทีได้มีค่ามากทีสุ ด ในกรณี ของเครื องอัด
เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบซึงมีค่างานเพลาเป็ นลบ จะทําให้งานเพลาทีใส่ เข้าไปมีค่าน้อยทีสุ ด

ตัวอย่างที 9.1
เครื องอัดอากาศเครื องหนึงอัดอากาศจากความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K ไปเป็ นความดันเท่ากับ
700 kPa อัตราไหลเชิงปริ มาตรทีด้านดูดมีค่าเท่ากับ 3.0 m3/min จงหาอุณหภูมิอากาศหลังจากการอัดและ
กําลังทีใช้ในการขับเครื องอัดเครื องนีว่ามีค่าเป็ นเท่าไรโดยสมมติให้กระบวนการอัดเป็ นแบบไอเซนโทรปิ ก
วิธีทาํ CV 2
ปริ มาตรควบคุม: เครื องอัดอากาศ
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก W&
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, P2, V&1 1
ตัวแปรทีต้องการ: W& อากาศ
จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด
ภาวะที 1 : P1 = 100 kPa, T1 = 300 K
สําหรับอากาศ R = 0.287 kJ/kg-K
สมการแก๊สอุดมคติ P1 v 1 = R T1

(100 kPa ) v ⎛
= ⎜ 0.287
kJ ⎞
⎟ (300 K )
kg − K ⎠

171

v 1 = 0.861 m 3 /kg

เนืองจากเครื องอัดอากาศมีทางเข้าและทางออกอย่างละหนึงทาง จึงทําให้เขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้เป็ น


สมการการอนุรักษ์มวล
m& 1 = m& 2 = m&
จากนันเนืองจาก V&1 = 3.0 m3/min = 0.05 m3/s เราจะสามารถหาอัตราไหลเชิงมวลได้จาก
V&1 0.05 m 3 / s
m& = =
v1 0.861 m 3 / kg
kg
m& = 0.058072
s
สําหรับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน เนืองจากกระบวนการอัดเป็ นแบบไอ
เซนโทรปิ กดังนัน Q& = 0 รวมทัง ΔKE และ ΔPE มีค่าน้อยมาก ดังนันจะได้วา่
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

W& = m& 1 (h 1 ) − m& 2 (h 2 )
W& = m& (h 1 − h 2 )
สําหรับกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน ในกรณี ของอุปกรณ์ทีมีทางเข้าและ
ทางออกอย่างละหนึงทางและกระบวนการเป็ นแบบไอเซนโทรปิ ก จากสมการที 9.8 จะได้วา่
กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
s 2 = s1 หรื อ s 2 − s1 = 0
ในส่ วนถัดไปคือการเลือกวิธีการหาผลต่างของเอนธัลปี และผลต่างของเอนโทรปี ทีปรากฏในกฎข้อทีหนึ ง
และข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์ตามลําดับ แต่จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนดเนืองจากเราไม่ทราบว่าอุณหภูมิ
สุ ดท้ายเป็ นเท่าไร ดังนันการเลือกใช้วิธีโดยการประมาณค่า CP0 ให้เป็ นค่าคงตัวนันอาจจะให้คาํ ตอบเกิด
ความคลาดเคลือนได้ ดังนันหากเลือกวิธีการเปิ ดตารางที ผ.6 ก็น่าจะเป็ นวิธีทีได้คาํ ตอบทีแม่นยํากว่า จาก
ตารางที ผ.6 จะได้วา่
ภาวะที 1: T1 = 300 K จะได้ h1 = 300.47 kJ/kg และ s 0T1 = 6.86926 kJ/kg-K
172

จากกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
P2
s 2 − s 1 = 0 = (s 0T 2 − s 0T1 ) − R ln
P1
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞ ⎛⎜ 700 kPa ⎞⎟
0 = ⎜ s 0T 2 − 6.86926 ⎟ − ⎜ 0.287 ⎟ ln
⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠ ⎝⎜ 100 kPa ⎟⎠
kJ
s 0T 2 = 7.42774
kg − K
เมือทราบค่า s 0T 2 แล้ว เราก็สามารถใช้ตารางที ผ.6 เพือย้อนกลับไปหา T2 และ h2 โดยการประมาณในช่วง
แบบเชิงเส้นได้กล่าวคือ
ภาวะที 2: s 0T 2 = 7.42774 kJ/kg-K จะได้ T2 = 520.19 K และ h2 = 524.18 kJ/kg
ดังนัน T2 = 520.19 K คําตอบ
และหลังจากนันก็นาํ ค่า h2 ทีได้ไปแทนค่าใน กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ทีลดรู ปแล้ว กล่าวคือ
kg ⎛ kJ ⎞
W& = m& (h 1 − h 2 ) = 0.058072 ⎜ 300.47 − 524.18 ⎟
s ⎝ kg ⎠
W& = − 12.991 kW คําตอบ
หมายเหตุ
เนืองจากโจทย์ไม่ได้กาํ หนดค่า T2 หากเราลองเลือกวิธีการประมาณค่า CP0 ให้เป็ นค่าคงตัวที 25oC
จากตารางที ผ.4 จะได้ว่าสําหรับอากาศ CP0 = 1.004 kJ/kg-K และ k = 1.400 ดังนันเราสามารถนํา
สมการที 8.42 มาใช้ได้กล่าวคือ
k −1
T2 ⎛ P2 ⎞ k
=⎜ ⎟
T1 ⎜⎝ P1 ⎟⎠
เมือแทนค่า P1, T1, P2 และ k ลงไปในสมการ จะได้ T2 = 523.09 K และสําหรับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โม
ไดนามิกส์ในกรณี ที CP0 เป็ นค่าคงตัวคือ
W& = m& (h 1 − h 2 ) = m& C P 0 (T1 − T2 )
เมือแทนค่าลงไปจะได้ W& = −13.007 kW ดังนันการประมาณค่า CP0 ให้เป็ นค่าคงตัวที 25oC จะทําให้เกิด
ความคลาดเคลือนตํากว่าร้อยละ 1 ซึ งถือว่าน้อยมาก ดังนันในทางปฏิบตั ิสาํ หรับกระบวนการอัดอากาศ
โดยทัวไปหากค่าความดันด้านอัด (หรื อ P2) มีค่าประมาณไม่เกิน 10 bar(g) ซึงเป็ นค่าทีไม่สูงมากเกินไปนัก
การคํานวณโดยอาศัยการประมาณค่า CP0 ให้เป็ นค่าคงตัวทีอุณหภูมิห้องนันก็ถือว่าเป็ นวิธีการทีสะดวก
รวดเร็ ว และมีความถูกต้องทียอมรับได้ในทางวิศวกรรม
173

ตัวอย่างที 9.2
ไอนําอิมตัวเข้าสู่หอ้ งผสมด้วยอัตราไหลเชิงมวล 1.5 kg/s โดยผสมเข้ากับนําทีมีอุณหภูมิ 45oC โดยที
ความดันภายในห้องผสมมีค่าเท่ากับ 400 kPa และห้องผสมมีการหุม้ ฉนวนอย่างดี นําทีออกจากห้องผสมอยู่
ในภาวะของเหลวอิมตัว จงคํานวณหาอัตราการผลิตเอนโทรปี ทีเกิดจากกระบวนการผสมดังกล่าว
วิธีทาํ
ปริ มาตรควบคุม: ห้องผสม 1 2
กระบวนการ: ไอโซบาริ กและแอเดียแบติก ห้องผสม
ไออิมตัว นํา 45oC
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: x1, m& 1 , T2, Pmix, x3
ของเหลวอิมตัว 3 CV
ตัวแปรทีต้องการ: S& gen
จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด เนืองจากความดันในห้องผสมจะเท่ากับความดันทุกๆ จุดของของไหลทุก
สายทีเข้าสู่หอ้ งผสม ดังนัน Pmix = P1 = P2 = P3 ซึงทําให้เราสามารถหาสมบัติของนําทีภาวะต่างๆ ได้
ภาวะที 1: P1 = 400 kPa
x1 = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไออิมตัว
h1 = hg = 2,738.53 kJ/kg
s1 = sg = 6.8958 kJ/kg-K
ภาวะที 2: P2 = 400 kPa
T2 = 45oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของเหลวอัดตัว
h2 ≈ hf(45oC) = 188.42 kJ/kg
s2 ≈ sf(45oC) = 0.6386 kJ/kg-K
ภาวะที 3: P3 = 400 kPa
x3 = 0 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของเหลวอิมตัว
h3 = hf = 604.73 kJ/kg
s3 = sf = 1.7766 kJ/kg-K
ห้องผสมมีทางเข้าสองทางและทางออกหนึงทาง ดังนันเราสามารถเขียนได้วา่
สมการการอนุรักษ์มวล
0 = ∑ m& − ∑ m&
i e

0 = m& 1 + m& 2 − m& 3


m& 3 = m& 1 + m& 2
174

สําหรับกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน เนื องจากห้องผสมได้ฉนวนหุ ้มเป็ น


อย่างดี จึงทําให้ Q& = 0 นอกจากนี W& = 0 เนืองจากไม่ปรากฏงานใดๆ เกิดขึน รวมทัง ΔKE และ ΔPE ก็
สามารถละทิงได้ ดังนัน
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
V2 V2
0 = Q& − W& + ∑ m& i ⎛⎜ h i + i + gZ i ⎞⎟ −
⎝ 2 ⎠ ∑ m& e ⎛⎜ h e + e + gZ e ⎞⎟
⎝ 2 ⎠
0 = ∑ m& h − ∑
i i m& e h e
0 = m& 1 h 1 + m& 2 h 2 − m& 3 h 3
จะเห็นได้วา่ จากสมการการอนุรักษ์มวลและกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ เราทราบค่า m& 1 , h1, h2 และ
h3 โดยทีมี m& 2 และ m& 3 เป็ นตัวแปรซึงจะสามารถหาคําตอบได้จากสมการทังสอง โดยการแทนค่า m& 3 จาก
สมการการอนุรักษ์มวลลงไปในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ จะได้เป็ น
0 = m& 1 h 1 + m& 2 h 2 − m& 3 h 3
0 = m& 1 h 1 + m& 2 h 2 − (m& 1 + m& 2 ) h 3
m& 2 (h 3 − h 2 ) = m& 1 (h 1 − h 3 )
⎛ kJ ⎞ kg ⎛ kJ ⎞
m& 2 ⎜ 604.73 − 188.42 ⎟ = 1.5 ⎜ 2,738.53 − 604.73 ⎟
⎝ kg ⎠ s⎝ kg ⎠
kg
m& 2 = 7.6883
s
แทนค่า m& 2 ลงในสมการการอนุรักษ์มวลเพือหา m& 3 จะได้วา่
kg
m& 3 = m& 1 + m& 2 = 1.5 + 7.6883
s
kg
m& 3 = 9.1883
s
เมือเราทราบอัตราไหลเชิ งมวลทังหมดแล้ว จากนันก็พิจารณากฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์สําหรับ
ปริ มาตรควบคุมเพือใช้ในการหา S& gen จะเห็นได้ว่าค่า S& gen นันคืออัตราการผลิตเอนโทรปี ทีเกิดขึนภายใน
ปริ มาตรควบคุมเนืองจากกระบวนการทีเกิดขึนนันเป็ นการผสมกันของสารซึงถือว่าเป็ นหนึงในปัจจัยทีทําให้
กระบวนการทีเกิดขึนย้อนกลับไม่ได้ นอกจากนี เนื องจากห้องผสมไม่มีการถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบ
( Q& = 0) ทําให้เราสามารถเขียนได้วา่
กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
Q&
0 = ∑ m& i s i − ∑ m& e s e + ∑ T
+ S& gen
175

S& gen = ∑ m& s e e − ∑ m& s i i

S& gen = m& 3s 3 − (m& 1s1 + m& 2 s 2 )


⎛ kg kJ ⎞ ⎛ kg kJ ⎞ ⎛ kg kJ ⎞
S& gen = ⎜ 9.1883 × 1.7766 ⎟ − ⎜ 1.5 × 6.8958 ⎟ − ⎜ 7.6883 × 0.6386 ⎟
⎝ s kg − K ⎠ ⎝ s kg − K ⎠ ⎝ s kg − K ⎠
kW
S& gen = 1.0704 คําตอบ
K

9.3 กระบวนการชัวขณะ
สําหรับกระบวนการชัวขณะ เราจะใช้วิธีการเดียวกันกับกรณี ของกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
นันคือเริ มต้นจากกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมทัวไปหรื อสมการที 9.2
dSCV Q&
dt
= ∑
m& i s i − m& e s e + ∑ ∑ T
+ S& gen

ทําการหาปริ พนั ธ์บนช่วงเวลา t ใดๆ โดยพิจารณาไปทีละพจน์


d (m s )CV
t t
dS CV

0
dt
dt =

0
dt
dt = (m 2 s 2 −m 1 s1 )CV

t t

∫ ∑ m& s dt
0
i i = ∑m s i i และ
∫ ∑ m& s dt = ∑ m s
0
e e e e

∫ S&
0
gen dt = 1 S 2 gen

สําหรับพจน์ทีมีการถ่ายเทความร้อนนัน เนื องจากในกระบวนการชัวขณะ อุณหภูมิมีการกระจายเป็ นแบบ


เอกรู ปนันคือมีค่าเท่ากับทุกๆ จุดบนผิวควบคุม ดังนัน
t t t
Q& 1 Q&
∫∑
0
T
dt =
∫∑
0
T
Q& dt =

0
T
dt

ดังนันเมือแทนผลจากการหาปริ พนั ธ์บนช่วงเวลา t ใดๆ ของแต่ละพจน์ลงในกฎข้อทีสองของเธอร์ โม


ไดนามิกส์ จะได้วา่
t
Q&
(m 2 s 2 −m 1 s1 )CV = ∑ m isi − ∑ m ese +
∫ T
dt + 1 S 2 gen (9.9)
0
176

ตัวอย่างที 9.3
ถังขนาด 400 L ภายในว่างเปล่าได้เชือมต่อกับท่อส่ งอากาศทีมีความดัน 400 kPa อุณหภูมิ 400 K
โดยผ่านวาล์วควบคุม ในขณะทีวาล์วเปิ ดออกเต็มที อากาศจากท่อส่ งไหลเข้าสู่ ภายในถังจนกระทังความดัน
ของอากาศภายในถังมีค่าเป็ น 200 kPa จากนันวาล์วจึงปิ ด กระบวนการทีเกิดขึนรวดเร็ วมากทําให้ไม่เกิด
การถ่ายเทความร้อนในระหว่างการจ่ายอากาศเข้าสู่ถงั จงหาการผลิตเอนโทรปี ของกระบวนการทีเกิดขึน
วิธีทาํ
ปริ มาตรควบคุม: ถัง
กระบวนการ: แอเดียแบติก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
ตัวแปรทีทราบค่า: V, m1, Pi, Ti, P2
ตัวแปรทีต้องการ: 1S2 gen

อากาศ 400 kPa,400 K อากาศ 400 kPa,400 K


i i
วาล์วเปด CV วาล์วปด CV

ภาวะที 1 ภาวะที 2
m1 = 0 P2 = 200 kPa

เนื องจากกระบวนการทีเกิดขึนรวดเร็ วมากหลังจากการเปิ ดวาล์วอย่างเต็มที ทําให้อากาศซึ งกําลัง


ไหลเข้าสู่ ถงั มีภาวะคงทีทีความดัน 400 kPa อุณหภูมิ 400 K ในกรณี นีเลือกใช้ตาราง ผ.6 สําหรับในการหา
สมบัติต่างๆ ของอากาศ
ภาวะที i: Pi = 400 kPa, Ti = 400 K จากตาราง ผ.6 จะได้วา่
Ti = 400 K จะได้ hi = 401.30 kJ/kg และ s 0Ti = 7.15926 kJ/kg-K

เนืองจากตอนเริ มต้นถังว่างเปล่า (m1 = 0) และไม่มีมวลทีไหลออกจากถัง (me = 0) ดังนันจะได้วา่


สมการการอนุรักษ์มวล
(m 2 −m 1 )CV = ∑m − ∑m i e

m2 = mi
177

เมือพิจารณากฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม จะพบว่า Q = 0 และ W = 0


เนื องจากกระบวนการเกิ ดขึนรวดเร็ วมากจนสามารถพิจารณาเป็ นกระบวนการแอเดี ยแบติกได้และไม่มี
ปรากฏงานในรู ปแบบใดๆ ผ่านขอบเขตระบบ นอกจากนี ΔKE และ ΔPE ก็สามารถทีจะละทิงได้ รวมทัง
m1 = 0 และ me = 0 ดังทีกล่าวมาแล้ว ดังนัน
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
⎛ ⎛ V2 2 ⎞ − m ⎛ u + V1 2 + gZ ⎞ ⎞ = Q − W
m u
⎜ 2⎜ 2 + + gZ 2⎟ 1⎜ 1 1 ⎟⎟
⎝ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎠CV
Vi 2 Ve 2
+ ∑ ⎛
mi ⎜ hi +
⎝ 2

+ gZ i ⎟ −
⎠ ∑

me ⎜ he +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

m2u2 = mihi
โดยอาศัยสมการการอนุรักษ์มวล m 2 = m i ทําให้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ลดรู ปเหลือเพียง
u2 = hi
kJ
u 2 = 401.30
kg
จากตารางที ผ.6 ทําให้เราสามารถนําค่า u2 ไปคิดเพือย้อนกลับไปหา T2 และ s 0T 2 โดยการประมาณในช่วง
แบบเชิงเส้นได้กล่าวคือ
ภาวะที 2: u2 = 401.30 kJ/kg จะได้ T2 = 555.429 K และ s 0T 2 = 7.49558 kJ/kg-K
ดังนัน P2 = 200 kPa, T2 = 555.429 K, V2 = 400 L =0.4 m3
สําหรับอากาศ R = 0.287 kJ/kg-K
สมการแก๊สอุดมคติ P2 V2 = m 2 R T2

(200 kPa )(0.4 m ) 3 ⎛


= (m 2 ) ⎜ 0.287
kg
kJ ⎞
− K
⎟ (555.429 K )
⎝ ⎠
m2 = 0.50186 kg
จากนันพิจารณากฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ เราจะพบว่า Q = 0 รวมทัง m1 = 0 และ me = 0 ดังที
กล่าวมาแล้ว ดังนัน
กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
t
Q&
(m 2 s 2 −m 1 s1 )CV = ∑ m isi − ∑ m ese +
∫ T
dt + 1 S 2 gen
0
178

1 S 2 gen = m 2s2 − m i si
โดยอาศัยสมการการอนุรักษ์มวล m 2 = m i รวมทังการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของแก๊สอุดมคติโดยใช้
สมการที 8.38 เราจะได้วา่
1 S 2 gen = m 2 (s 2 − s i )
⎛ P⎞
1 S 2 gen = m 2 ⎜⎜ (s 0T 2 − s 0Ti ) − R ln 2 ⎟⎟
⎝ Pi ⎠
⎛⎛ kJ ⎞ ⎛⎜ 200 kPa ⎞ ⎞
= (0.50186 kg )⎜ ⎜ 7.49558 − 7.15926
kJ ⎟⎟
1 S 2 gen ⎟ − 0.287 ln
⎜⎝ kg − K ⎠ ⎝⎜ kg − K 400 kPa ⎟⎠ ⎟⎠

= (0.50186 kg )⎜ 0.53525
⎛ kJ ⎞
1 S 2 gen ⎟
⎝ kg − K ⎠
kJ
1 S 2 gen = 0.26862 คําตอบ
K
หมายเหตุ
เราจะสังเกตได้ว่ากระบวนการอัดอากาศจากท่อส่ งเข้าสู่ ถงั ว่างเปล่านันเป็ นกระบวนการย้อนกลับ
ไม่ได้ เนืองจากอากาศจากท่อส่ งจะไหลเข้าสู่ถงั ทีเป็ นสุ ญญากาศทําให้เกิดการการขยายตัวอย่างไม่มีขอ้ จํากัด
อย่างรวดเร็ วซึ งจะเป็ นปั จจัยสําคัญทีทําให้เกิ ดการย้อนกลับไม่ได้ภายในปริ มาตรควบคุมในระหว่างการ
ดําเนินการ เป็ นผลให้ค่า 1S2 gen ยังคงปรากฏอยูใ่ นกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์

9.4 กระบวนการภาวะคงตัวย้อนกลับได้ของอุปกรณ์การไหลเชิงเดียว
ในหัวข้อนีเราจะเน้นการพิจารณาไปทีอุปกรณ์ทีเกียวข้องกับงานภายใต้ภาวะคงตัวและมีทางเข้าและ
ทางออกอย่างละหนึงทางหรื ออุปกรณ์การไหลเชิงเดียว โดยเราจะเริ มต้นจากการเขียนกฎข้อทีสองของเธอร์
โมไดนามิกส์ สําหรับอุปกรณ์ดงั กล่าวจะสามารถเขียนได้ดงั ทีแสดงในสมการที 9.6 กล่าวคือ
q
0 = si − se + ∑ T
+ s gen

ถ้าเขียนสมการดังกล่าวให้กลับไปอยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์ เราจะได้วา่


δq
ds = + δs gen
T
จัดรู ปสมการใหม่ จะได้เป็ น

δq = T ds − T δs gen
179

เราสามารถแทน Tds ได้ดว้ ยความสัมพันธ์สมบัติเธอร์โมไดนามิกส์หรื อสมการที 8.16

δq = dh − v dP − T δs gen
จากนันทําการหาปริ พนั ธ์จาํ กัดเขตจากทางเข้าหรื อภาวะที i ไปยังทีทางออกหรื อภาวะที e จะได้วา่
e e e e

q =
∫ δq = ∫ dh − ∫ v dP − ∫ T δs
i i i i
gen

e e

q = he − hi −
∫ v dP − ∫ T δs
i i
gen

เมือแทนค่า q ลงในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับอุปกรณ์ดงั กล่าวหรื อสมการที 6.15 กล่าวคือ


⎛ Vi 2 ⎞ ⎛ Ve 2
0 = q − w + ⎜ hi + + gZ i ⎟ − ⎜ h e + + gZ e ⎞⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
ผลทีได้จะทําให้พจน์ของผลต่างเอนธัลปี หายไป เราจะได้
e e
1
w =−
∫i
v dP + (Vi 2 − Ve 2 ) + g (Z i − Z e ) −
2 ∫ T δs
i
gen (9.10)

ผลของสมการข้างต้น จะพบว่าหากกระบวนการทีเกิดขึนย้อนกลับไม่ได้ เนืองจาก T และ δSgen มี


เครื องหมายเป็ นบวกเสมอ ดังนันพจน์สุดท้ายทางด้านขวามือของสมการที 9.10 จะทําให้อุปกรณ์ทีงานมี
เครื องหมายเป็ นบวกเช่นกังหันให้งานออกมาน้อยลง และจะทําให้อุปกรณ์ทีมีงานมีเครื องหมายเป็ นลบเช่น
เครื องอัด เครื องเป่ าลม พัดลม หรื อเครื องสู บต้องการงานทีใส่ เข้าไปเพิมขึน สําหรับในกรณี ทีกระบวนการ
ทีเกิดขึนย้อนกลับได้ภายใน สมการที 9.10 จะสามารถเขียนได้เป็ น
e
1 2
w =−

i
v dP +
2
(Vi − Ve 2 ) + g (Z i − Z e ) (9.11)

เราจะพบข้อสังเกตอยูส่ ามประการสําหรับสมการที 9.11 กล่าวคือ (1) งานจําเพาะทีเกิดขึนเป็ นผลมาจากสาม


ส่ วนได้แก่การเปลียนแปลงความดันให้กบั ของไหลหรื อก็คือพจน์แรกทางด้านขวามือ การเปลียนแปลง
พลังงานจลน์หรื อก็คือพจน์ทีสองทางด้านขวามือ และการเปลียนแปลงระดับความสู งหรื อก็คือพจน์ทีสาม
ทางด้านขวามือ ถ้าต้องการให้อุปกรณ์ให้งานออกมาหรื องานมีเครื องหมายเป็ นบวก ความดันของของไหล
มีค่าน้อยลง ความเร็ วลดลง และลดระดับความสู งลง แต่ถา้ ใส่ งานเข้าไปในอุปกรณ์หรื องานมีเครื องหมาย
เป็ นลบ ทังสามส่ วนก็จะมีการเปลียนแปลงในทางตรงกันข้าม (2) ขนาดของงานจําเพาะทีเกิดขึนนันจะ
ขึนอยู่กับปริ มาตรจําเพาะของสารนันๆ เมือเปรี ยบเที ยบปริ มาตรจําเพาะของของเหลวซึ งอยู่ในลําดับที
180

0.0001∼0.001 m3/kg ในขณะทีแก๊สอยูใ่ นลําดับที 0.1∼1 m3/kg ซึ งมีค่าแตกต่างกันประมาณ 1,000 เท่า


ดังนันไม่ว่าเครื องหมายของงานจะเป็ นอย่างไร ถ้าผลต่างของความดันมีค่าเท่ากัน ขนาดของงานจําเพาะใน
กรณี ที ของเหลวเป็ นของไหลทํา งานจะมี ค่ า น้อ ยกว่า งานจํา เพาะในกรณี ทีแก๊ ส เป็ นของไหลทํา งานอยู่
ประมาณ 1,000 เท่า (3) ในระหว่างการพิสูจน์สมการที 9.11 นัน เราระบุว่ากระบวนการทีเกิดขึนต้องเป็ น
กระบวนการย้อนกลับได้ภายในแต่ไม่ได้ระบุว่าเป็ นกระบวนการชนิดใด ดังนันสมการที 9.11 จึงใช้ได้กบั
กระบวนการย้อนกลับได้ภายในทุกชนิ ด ตัวอย่างเช่นกระบวนการแอเดียแบติก กระบวนการไอโซเธอร์ มลั
หรื อกระบวนการโพลีโทรปิ ก เป็ นต้น
สมการที 9.11 นันหากนําไปใช้กบั อุปกรณ์ทีผลต่างของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าน้อยมาก
เมือเทียบกับการเปลียนแปลงความดันทีเกิดขึน สมการที 9.11 จะลดรู ปลงไปเป็ น
e

w=−
∫ v dP
i
(9.12)

จะเห็นว่าสมการที 9.12 นันมีความคล้ายคลึงกับสมการที 4.7 หรื อ 1 w2 =


∫ P dv
1
เป็ นอย่างยิง แต่

ความหมายนันแตกต่างกันโดยสิ นเชิง เนืองจากสมการที 4.7 เป็ นงานขอบเขตเคลือนทีหรื องานทีเกิดจากการ


เปลียนแปลงขนาดปริ มาตรของระบบ ในขณะทีสมการที 9.12 เป็ นงานทีเกิดจากอุปกรณ์ทีทํางานอยู่ใน
ภาวะคงตัวและมีการไหลเชิงเดียว ดังนันผูใ้ ช้จึงต้องระมัดระวังมิให้เกิดความสับสนขึนในระหว่างการเลือก
สมการทังสองมาใช้งาน
หากเรานําสมการที 9.11 ไปประยุกต์ใช้กบั อุปกรณ์ทีมีของไหลทํางานเป็ นสารอัดไม่ได้หรื อก็คือ
สารทีมีปริ มาตรจําเพาะเป็ นค่าคงตัว ดังนันสมการที 9.11 จะเขียนได้เป็ น
1
w = − v (Pe − Pi ) + (Vi 2 − Ve 2 ) + g (Z i − Z e ) (9.13)
2
สําหรับในกรณี ทีสารอัดไม่ได้ไหลผ่านอุปกรณ์ทีไม่มีงานเกิดขึนตัวอย่างเช่น ท่อ หัวฉี ด ดิฟฟิ วเซอร์ เป็ นต้น
ผลทีได้คือด้านซ้ายของสมการที 9.13 จะมีค่าเป็ นศูนย์ ทําให้สมการจะอยูใ่ นรู ป
1
0 = v (Pi − Pe ) + (Vi 2 − Ve 2 ) + g (Z i − Z e ) (9.14)
2
สมการที 9.14 นันมีชือว่าสมการเบอร์นูลลี (Bernoulli equation) ซึงจะพบเห็นได้ในวิชากลศาสตร์ของไหล
ซึ งอยู่ภายใต้เงื อนไขทีว่าของไหลทํางานเป็ นสารอัดไม่ได้ กระบวนการทีเกิ ดขึนอยู่ในภาวะคงตัว และ
กระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ภายใน นันก็หมายความว่าการไหลทีเกิดขึนนันปราศจาก
แรงเสี ยดทานภายและปราศจากคลืนกระแทก
181

เราจะเห็นได้วา่ หากเราทราบความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริ มาตรจําเพาะ เราจะสามารถแทน


ความสัมพันธ์ดงั กล่าวลงในสมการที 9.12 จากนันทําการหาปริ พนั ธ์เพือหางานจําเพาะได้ ความสัมพันธ์ซึง
เราได้เคยกล่าวถึงไปแล้วในหัวข้อที 4.3 และหัวข้อที 8.11 นันก็คือความสัมพันธ์ระหว่างความดันและ
ปริ มาตรจําเพาะของกระบวนการโพลีโทรปิ กกล่าวคือ
Pv n = ค่าคงตัว
ดังนันเมือแทนความสัมพันธ์ดงั กล่าวลงในสมการที 9.12 แล้วทําการหาปริ พนั ธ์ จะได้วา่
e
n
w = −
∫i
v dP = −
n −1
(Pe v e − Pi v i ) โดยที n ≠ 1 (9.15)
e
⎛P ⎞
w = −
∫i
v dP = − Pi v i ln ⎜⎜ e ⎟⎟
⎝ Pi ⎠
โดยที n = 1 (9.16)

อนึงเราจะพบว่าในกรณี ของแก๊สอุดมคติทีมีค่าความร้อนจําเพาะคงที สมการที 9.15 และ 9.16 จะสามารถ


เขียนได้เป็ น
n −1
nR ⎛
n R Ti ⎜ ⎛ Pe ⎞ n ⎞

w = − (Te − Ti ) = − ⎜ ⎟ − 1 โดยที n ≠ 1 (9.17)
n −1 n − 1 ⎜⎜ ⎜⎝ Pi ⎟⎠ ⎟

⎝ ⎠
⎛P ⎞
w = − R Ti ln ⎜⎜ e ⎟⎟ โดยที n = 1 (9.18)
P
⎝ i⎠
ซึงกรณี ที n = k และ n = 1 นันจะเทียบเท่ากับกระบวนการไอเซนโทรปิ กและไอโซเธอร์มลั ตามลําดับ อนึง
ถ้าเราให้ภาวะที i หรื อภาวะทางด้านเข้าของอุปกรณ์ถูกกําหนดซึงส่ งผลให้ Pi และ Ti เป็ นค่าคงตัว ในขณะที
Pe เป็ นค่าคงตัวเนืองจากเป็ นค่าความดันทีเราต้องการ จากการวิเคราะห์สมการที 9.17 และ 9.18 เราจะพบว่า
สําหรับกรณี ของกังหันทีงานมีเครื องหมายเป็ นบวก เราจะพบว่ากังหันจะให้งานมากทีสุ ดเมือ n = 1 หรื อ
กระบวนการผ่านกังหันนันเป็ นกระบวนการไอโซเธอร์มลั และในทํานองเดียวกันสําหรับกรณี ของเครื องอัด
ทีงานมีเครื องหมายเป็ นลบ เครื องอัดจะต้องการงานน้อยทีสุ ดเมือ n = 1 หรื อกระบวนการผ่านเครื องสู บนัน
เป็ นกระบวนการไอโซเธอร์มลั เช่นกัน เราอธิบายได้โดยการเปรี ยบเทียบกระบวนการไอโซเธอร์มลั (n = 1)
กับกระบวนไอเซนโทรปิ ก (n = k ซึง k > 1) เราจะพบว่าถ้าเราอัดไอด้วยกระบวนการไอโซเธอร์มลั งาน
ดังกล่าวกลายไปเป็ นความร้อนถ่ายเทออกจากระบบจนหมดตามกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ โดยที
เอนธัลปี และอุณหภูมิของแก๊สยังคงเท่าเดิม เปรี ยบเทียบกันกับถ้าเราอัดไอด้วยกระบวนการไอเซนโทรปิ ก
ซึ งไม่มีการถ่ายเทความร้ อนผ่านเข้าออกระบบ ดังนันงานจํานวนนันทังหมดจะกลายไปเป็ นผลต่างของ
เอนธัลปี ซึงจะทําให้อุณหภูมิของแก๊สหลังการอัดมีค่าสู ง ผลคือแก๊สขยายตัวทําให้ปริ มาตรจําเพาะเพิมขึนซึ ง
ผลก็คือเราจึงจําเป็ นจะต้องใช้งานเพิมขึนมากกว่ากรณี ของกระบวนการไอโซเธอร์มลั
182

ตัวอย่างที 9.4
เครื องสูบนําเครื องหนึงสูบนําจากสระซึงอยูร่ ะดับเดียวกันด้วยอัตราไหลเชิงมวลเท่ากับ 12.5 kg/s ที
ความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 25oC โดยใช้กาํ ลังในการสู บเท่ากับ 7.5 kW จงหาความดันสู งสุ ดทีด้านจ่ายของ
เครื องสูบถ้า (a) ด้านจ่ายอยูร่ ะดับเดียวกับเครื องสูบและ (b) ด้านจ่ายอยูบ่ นยอดตึกสูง 12 m
วิธีทาํ
ปริ มาตรควบคุม: เครื องสูบและท่อตามแต่กรณี
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: นําเป็ นสารอัดไม่ได้
ตัวแปรทีทราบค่า: m& 1 , P1, T1, W& , H
ตัวแปรทีต้องการ: P2

2
CV
CV
12 m
เครืองสูบ เครืองสูบ
2
1 1

W& W&
กรณี (a) กรณี (b)
การทีความดันด้านจ่ายจะมีค่าสู งสุ ดได้นนั กระบวนการทีเกิดขึนจะต้องเป็ นกระบวนการย้อนกลับ
ํ นสารอัดไม่ได้โดยมี v = vf(25oC) = 0.001003 m3/kg และเป็ นค่าคง
ได้ รวมทังในทีนีเราตังสมมติฐานให้นาเป็
ตัว จากผลทีได้ทาํ ให้เราสามารถนําสมการที 9.13 มาประยุกต์ใช้ได้ สําหรับเครื องสู บทีมีทางเข้าและ
ทางออกเพียงทางเดียวจะได้วา่
สมการการอนุรักษ์มวล
kg
m& 1 = m& 2 = m& = 12.5
s
ดังนันขนาดของงานจําเพาะของเครื องสูบจะหาได้จาก
W& 7.5 kW kJ
w = = = 0. 6
m& 12.5 kg / s kg
183

(a) ด้านจ่ายอยูร่ ะดับเดียวกับเครื องสูบ


จากสมการที 9.13 จะได้ว่า เนื องจากด้านจ่ายอยูร่ ะดับเดียวกันเครื องสู บ ดังนันจึงไม่มีการเปลียน
ระดับความสูง นอกจากนีการเปลียนพลังงานจลน์มีนอ้ ยมาก ดังนันสมการที 9.13 จะลดรู ปเหลือเป็ น
w = − v (Pe − Pi ) = − v (P2 − P1 )

แทนค่าลงไปเพือหาค่า P2 ทังนีต้องระวังในการแทนเครื องหมายของ w ลงในสมการด้วย


m3
− 0.6 = − 0.001003 (P2 − 100 kPa )
kJ
kg kg
P2 = 698.2 kPa คําตอบ

(b) ด้านจ่ายอยูบ่ นยอดตึกสูง 12 m


จากสมการที 9.13 ถ้าให้ระดับความสู งอ้างอิงเป็ นระดับเดียวกับเครื องสู บดังนัน Z1 = 0 ในขณะที
ตําแหน่งทีอยูบ่ นยอดตึก Z2 = 12 m รวมทังการเปลียนพลังงานจลน์มีนอ้ ยมาก ดังนันสมการที 9.13 จะลด
รู ปเหลือเป็ น
w = − v (Pe − Pi ) + g (Z i − Z e ) = − v (P2 − P1 ) + g (Z1 − Z 2 )
แทนค่าลงไปเพือหาค่า P2 ทังนี ต้องระวังในการแทนเครื องหมายของ w ลงในสมการและการแปลงหน่วย
จาก m2/s2 ไปเป็ น kJ/kg
m3 1 kJ / kg
− 0.6 = − 0.001003 (P2 − 100 kPa ) + 9.81 2 (0 − 12 m )
kJ m
kg kg s 1,000 m 2 / s 2
P2 = 580.8 kPa คําตอบ
หมายเหตุ
เมือเปรี ยบเทียบกรณี (a) และ (b) เราจะเห็นได้ว่างานจากกรณี (a) ในบางส่ วนจะเอาไปใช้เพือ
เอาชนะพลังงานศัก ย์ของนําที ด้านจ่ ายซึ งอยู่ใ นตําแหน่ งที สู ง กว่า เป็ นผลให้ความดัน ด้านจ่ ายหรื อด้าน
ปลายทางของกรณี (b) มีค่าน้อยกว่าในกรณี (a)

9.5 หลักการเพิมขึนของเอนโทรปี
เราได้กล่าวถึงหลักการเพิมขึนของเอนโทรปี ไปแล้วในหัวข้อที 8.8 ซึงเป็ นกรณี ของมวลควบคุม ใน
ทีนีเราจะพิจารณาหลักการเพิมขึนของเอนโทรปี สําหรับกรณี ของปริ มาตรควบคุมดังทีแสดงในรู ปที 9.2 จะ
เห็นได้ว่าปริ มาตรควบคุม A คือปริ มาตรควบคุมหลัก ในขณะทีปริ มาตรควบคุม B คือสิ งล้อมรอบ ดังนัน
หากนําปริ มาตรควบคุม A กับ B มารวมกันผลทีได้คือระบบรวมทังหมดซึงเป็ นระบบโดดเดียว
184

CVB

CVA W&
m& e
m& i
Q& TA

TB

รู ปที 9.2 ระบบโดดเดียวทีประกอบไปด้วยปริ มาตรควบคุม A และ B

จากรู ปจะเห็นได้ว่าเกิดการถ่ายเทความร้อนจากปริ มาตรควบคุม B เข้าสู่ ปริ มาตรควบคุม A โดยผ่านผิว


ควบคุม A ซึงมีอุณหภูมิเท่ากับ TA ในขณะทีอุณหภูมิของสิ งล้อมรอบทีอยูห่ ่างออกไปคือ TB หากเขียนกฎข้อ
ทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม A จะได้วา่
dSCV A Q&
= m& i s i − m& e s e + + S& gen A (9.19)
dt TA
เราสามารถเขียนกฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม B ได้ในทํานองเดียวกัน แต่ทงนี

ทังนันทิศทางการเข้าและออกของ m& ทีแทนด้วยตัวห้อย i และ e นันจะอ้างอิงตามปริ มาตรควบคุม A
ดังนันทิศทางดังกล่าวจะเป็ นไปในทางตรงกันข้ามสําหรับปริ มาตรควบคุม B รวมไปถึงทิศทางของ Q& ซึ ง
จะมีทิศทางตรงกันข้ามด้วยเช่นกัน
dSCV B Q&
= − m& i s i + m& e s e − + S& gen B (9.20)
dt TA
หากรวมสมการทังสองเข้าด้วยกัน จะพบว่าพจน์ของอัตราไหลเชิงมวลและการถ่ายเทความร้อนได้ตดั กันไป
หมด เหลือเพียงแต่พจน์ของการผลิตเอนโทรปี เท่านันทีเหลือไว้ ดังนันจะได้วา่
dS net dS CV A dS CV B
= + = S& gen A + S& gen B = S& gen total ≥ 0 (9.21)
dt dt dt
สมการที 9.21 มีความคล้ายคลึงกับสมการที 8.29 ในบทที 8 ทีแสดงให้เห็นว่าระบบโดดเดียวมีการเพิมขึน
ของเอนโทรปี ภายในระบบตลอดเวลาซึงเป็ นผลมาจากการผลิตเอนโทรปี รวมทีเกิดขึน
185

ในกรณี ทีเราพิจารณาสมการที 9.19 และ 9.20 แยกออกจากกัน เราจะพบว่าปริ มาตรควบคุม B คือ


สิ งล้อมรอบทีมีอุณหภูมิภายนอกเท่ากับ TB ดังนันการถ่ายเทความร้อนทีเข้าสู่ ปริ มาตรควบคุม A จึงเกิดจาก
ความแตกต่างกันระหว่าง TB และ TA นันเอง ดังนันการผลิตเอนโทรปี ในปริ มาตรควบคุม B หรื อ S& gen B จึง
มีค่าเท่ากับการผลิตเอนโทรปี อันเนืองมาจากการถ่ายเทความร้อนทีแสดงในสมการที 8.26 แต่เขียนอยูใ่ นรู ป
อัตราแทน ดังนันจะได้วา่
⎛1 1⎞
S& gen B = S& gen HT = ⎜⎜ − ⎟⎟Q&
⎝ TA TB ⎠
เมือแทนค่าลงในสมการที 9.20 เราจะได้วา่
dSCV B Q& ⎛1 1⎞
= − m& i s i + m& e s e − + ⎜⎜ − ⎟⎟Q&
dt TA ⎝ TA TB ⎠
dSCV B Q&
= − m& i s i + m& e s e − (9.22)
dt TB
ในกรณี ทีกระบวนการภายในปริ มาตรควบคุม A เป็ นแบบภาวะคงตัวซึงเป็ นผลให้ dS CV A / dt = 0 ดังนัน
อัตราการเปลียนแปลงเอนโทรปี ของระบบรวม (หรื อ dS net / dt ) จะเท่ากับการการผลิตเอนโทรปี รวม (หรื อ
S& gen total ) และเท่ากับ dSCV B / dt ดังทีแสดงในสมการที 9.22 กล่าวคือ
dS net Q&
= S& gen total = − m& i s i + m& e s e − (9.23)
dt TB
ในกรณี ทีกระบวนการภายในปริ มาตรควบคุม A เป็ นกระบวนการชัวขณะ เราจะหาปริ พนั ธ์ของสมการที
9.21 บนช่วงเวลา t ใดๆ จะได้วา่
ΔSCV net = ΔSCV A + ΔSCV B = S gen A + S gen B = S gen total ≥ 0 (9.24)
ทังนี ΔSCV A ของกระบวนการชัวขณะสามารถเขียนได้เป็ น
ΔS CV A = (m 2 s 2 − m 1s1 )CV A (9.25)

ในขณะทีการหา ΔS CV B ทําได้โดยการหาปริ พนั ธ์ของสมการที 9.22 บนช่วงเวลา t ใดๆ นันคือ


Q
ΔSCV B = − m i s i + m e s e − (9.26)
TB
เมือแทนค่าลงสมการที 9.25 และ 9.26 ในสมการที 9.24 เราจะได้วา่
ΔS CV net = S gen total = (m 2 s 2 − m 1s1 )CV A − m i s i + m e s e −
Q
(9.27)
TB
186

ตัวอย่างที 9.5
อากาศทีมีอตั ราไหลเชิงปริ มาตรเท่ากับ 7.5 m3/min ความดัน 200 kPa อุณหภูมิ 30oC ถูกส่ งเข้าไปใน
อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนเพือผลิตอากาศร้ อนทีอุณหภูมิ 120oC ทังนี อากาศได้รับความร้อนจาก
แหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงเท่ากับ 130oC จงคํานวณหาอัตราการผลิตเอนโทรปี รวมทีเกิดขึน
วิธีทาํ CV
ปริ มาตรควบคุม: อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน 1 2
กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
อากาศ
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
Q
ตัวแปรทีทราบค่า: V& , P1, T1, T2, T0
แหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูง T0
ตัวแปรทีต้องการ: S& gen total
จากข้อมูลเกียวกับภาวะที 1 ทีโจทย์ให้มา
ภาวะที 1: P1 = 200 kPa, T1 = 30oC = 303.15 K
สําหรับอากาศ R = 0.287 kJ/kg-K
สมการแก๊สอุดมคติ P1 v 1 = R T1

(200 kPa )v1 =



⎜ 0. 287
kJ ⎞
⎟ (303.15 K )
kg − K ⎠

v 1 = 0.43502 m 3 / kg
เนืองจากอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนเป็ นอุปกรณ์การไหลเชิงเดียว จะเขียนได้วา่
สมการการอนุรักษ์มวล
m& 1 = m& 2 = m&
เนืองจากเราทราบว่า V&1 = 7.5 m3/min = 0.125 m3/s ดังนันอัตราไหลเชิงมวลจะหาได้จาก
V&1 0.125 m 3 / s
m& = =
v1 0.43502 m 3 / kg
m& = 0.28734 kg / s
จากนันประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม สําหรับอุปกรณ์แลกเปลียน
ความร้อนนัน W& = 0 รวมทัง ΔKE และ ΔPE สามารถทีจะละทิงได้ ดังนันจะได้วา่
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

187

Q& = m& 2 (h 2 ) − m& 1 (h 1 )


Q& = m& (h 2 − h 1 )
เนืองจากอากาศเป็ นแก๊สอุดมคติและอุณหภูมิของอากาศเปลียนแปลงจาก 30oC ไปยัง 120oC ซึงทําให้ผลต่าง
อุณหภูมิของอากาศมีค่าเพียง 90oC ดังนันการหาผลต่างของเอนธัลปี ทีปรากฏในกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โม
ไดนามิกส์นนจะเลื
ั อกใช้วิธีโดยการประมาณค่า CP0 ให้เป็ นค่าคงตัวทีอุณหภูมิ 25oC เพือความสะดวกรวดเร็ ว
และความคลาดเคลือนทีเกิดขึนก็อยูใ่ นระดับทียอมรับได้ ดังนันจากตารางที ผ.4 สําหรับอากาศทีอุณหภูมิ
25oC จะได้ CP0 = 1.004 kJ/kg-K ดังนัน

⎟ (393.15 − 303.15 K )
kg ⎛ kJ ⎞
Q& = m& C P 0 (T2 − T1 ) = ⎛⎜ 0.28734 ⎞⎟ ⎜ 1.004
⎝ s ⎠⎝ kg − K ⎠
Q& = 25.964 kW
เนื องจากโจทย์ตอ้ งการหา S& gen total ดังนันกฎข้อทีสองของเธอร์ โมไดนามิกส์ทีใช้จึงเป็ นสมการที 9.23 ซึ ง
รวมอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนกับสิ งทีอยูโ่ ดยรอบจนไปถึงจุดทีมีอุณหภูมิ T0 ดังนันเราจะเขียนได้วา่
กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
Q& Q&
S& gen total = − ∑ m& i s i + ∑ m& e s e −
T0
= − m& 1s1 + m& 2 s 2 −
T0
Q&
S& gen total = m& (s 2 − s1 ) −
T0
จากการประมาณค่า CP0 ให้เป็ นค่าคงตัวทีอุณหภูมิ 25oC ทําให้ผลต่างของเอนโทรปี ของอากาศซึ งเป็ นแก๊ส
อุดมคติสามารถเขียนได้ตามสมการที 8.37 รวมทังกระบวนการไอโซบาริ กทีเกิดขึนทําให้ผลทีได้คือ
⎛ T P ⎞ Q& ⎛ T ⎞ Q&
S& gen total = m& ⎜⎜ C P 0 ln 2 − R ln 2 ⎟⎟ − = m& ⎜⎜ C P 0 ln 2 ⎟⎟ −
⎝ T1 P1 ⎠ T0 ⎝ T1 ⎠ T0
⎛ kg ⎞ ⎛⎜ kJ ⎛⎜ 393.15 K ⎞⎟ ⎟⎞ 25.964 kW
S& gen total = ⎜ 0.28734 ⎟ 1.004 ln −
⎝ s ⎠ ⎝⎜ kg − K ⎜⎝ 303.15 K ⎟⎠ ⎟⎠ 403.15 K
kW kW
S& gen total = 0.074997 − 0.064404
K K
kW
S& gen total = 0.01059 คําตอบ
K
หมายเหตุ
หากเราลองใช้วิธีการเปิ ดตาราง ผ.6 ร่ วมกับการประมาณในช่วงแบบเชิงเส้นเพือหาเอนธัลปี และ
เอนโทรปี ของอากาศ เราจะพบว่าคําตอบทีได้จะต่างกับวิธีการข้างต้นไม่เกินร้อยละ 0.5
188

9.6 ประสิ ทธิภาพ


ประสิ ทธิ ภาพทีเราจะกล่าวถึงในทีนี นันเป็ นประสิ ทธิ ภาพของอุปกรณ์ซึงทํางานอยู่ในสภาวะคงตัว
ซึงได้แก่ กังหัน เครื องอัด เครื องสู บ และหัวฉี ด จากทีผ่านมาเรามักจะพิจารณาอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านันอยู่
ภายใต้ก ระบวนการย้อนกลับ ได้เ ป็ นผลให้อุ ป กรณ์ ดัง กล่ า วอยู่ใ นสภาวะที เรี ย กว่า เป็ นอุ ปกรณ์ อุ ด มคติ
ประสิ ทธิภาพของอุปกรณ์จะเป็ นการเปรี ยบเทียบระหว่างสมรรถนะของอุปกรณ์ต่างๆ ในการทํางานจริ งและ
ในการทํางานภายใต้สภาวะอุดมคติ ในการหาประสิ ทธิ ภาพของอุปกรณ์ นันโดยทัวไปเราจะทราบถึ ง
เงือนไขการทํางานจริ งทีเกิ ดขึนและสมรรถนะของอุปกรณ์ เหล่านัน เราจะจําลองว่าถ้าอุปกรณ์ดงั กล่าว
ทํางานอยู่ภายใต้เงื อนไขเดิ มที เป็ นอยู่หากแต่ว่าอุปกรณ์ ถูกเปลี ยนไปเป็ นอุปกรณ์ อุดมคติ จากนันเราก็
พิจารณาว่าสมรรถนะของอุปกรณ์เหล่านันจะเพิมขึนมากน้อยเพียงใดเมือเทียบกับสมรรถนะเดิม
อุ ป กรณ์ ช นิ ด แรกที จะกล่ า วถึ ง คื อ กัง หัน โดยทัวไปแล้ว กัง หัน เป็ นอุ ป กรณ์ ที จะทํา งานภายใต้
กระบวนการแอเดียแบติกหรื อในกรณี ทีจําเป็ นการถ่ายเทความร้อนทีเกิดขึนก็คือการถ่ายเทความร้อนสู่ สิง
ล้อมรอบเท่านัน นอกจากนีเงือนไขในการทํางานของกังหันคือการกําหนดภาวะด้านเข้าสู่ กงั หันซึงโดยมาก
ก็จะเป็ นกําหนดอุณหภูมิและความดัน (Ti และ Pi) ในขณะทีความดันด้านออกของกังหัน (Pe) ก็จะถูกกําหนด
ด้วยเช่นกัน ดังนันกระบวนการอุดมคติของกังหันจึงเป็ นกระบวนการไอเซนโทรปิ กทีเกิดขึนระหว่างภาวะ
ด้านเข้าและความดันด้านออกของกังหันทีถูกกําหนดขึนดังทีแสดงในรู ปที 9.3 จากรู ปภาวะที i คือภาวะที
เข้าสู่ กงั หัน ภาวะที e คือภาวะจริ งทีเกิดขึนทีด้านออกจากกังหัน ส่ วนภาวะที es คือภาวะอุดมคติทีสร้าง
ขึนโดยสมมติให้กระบวนการเป็ นแบบไอเซนโทรปิ กซึ งจะทําให้วิถีของกระบวนการเป็ นเส้นตรงในแนวดิง
อนึงหากเราพิจารณากระบวนการย้อนกลับไม่ได้จากภาวะที i ไปยังภาวะที e จะพบว่าเอนโทรปี ทางด้าน
ออกมีค่ามากกว่าเอนโทรปี ทางด้านเข้าทังนีเป็ นผลมาจากสมการที 9.7 นันเอง
T Pi
i
Ti

Pe
Te
Tes e
es

s
รู ปที 9.3 กระบวนการไอเซนโทรปิ กและกระบวนการจริ งทีเกิดขึนสําหรับกังหัน

ค่าทีแสดงถึงสมรรถนะของกังหันก็คือกําลังกลทีผลิตได้ ซึ งจะสามารถคํานวณได้จากกฎข้อทีหนึ งของเธอร์


โมไดนามิกส์ ดังนันจากสมการที 6.14 หาก Q& = 0 และเราละทิงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ จะได้วา่
W& = m& (h i − h e ) (9.28)
189

จะเห็นว่าถ้าเราประยุกต์ใช้สมการที 9.28 กับภาวะที i และภาวะที e ผลทีได้จะทําให้ W& เป็ นเป็ นกําลังจริ ง


ทีเกิดขึน ในทํานองเดียวกันถ้าเราประยุกต์ใช้สมการที 9.28 กับภาวะที i และภาวะที es ผลทีได้คือ
W& s = m& (h i − h es ) (9.29)
โดยที W& s คือกําลังทีได้จากกังหันอุดมคติทีมีกระบวนการเป็ นแบบไอเซนโทรปิ กซึ งจะเป็ นกําลังทีมี
ค่าสูงสุ ดทีกังหันทําได้ภายใต้เงือนไข Pi, Ti และ Pe ทีกําหนด ดังนันประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของกังหัน
(turbine isentropic efficiency หรื อ ηturbine) จะนิยามโดย
W& w h −h
ηturbine = = = i e (9.30)
W& s ws h i − h es
สมการดังกล่าวใช้ได้ในกรณี ของทังกังหันไอนําและกังหันแก๊ส ค่าของ ηturbine ของกังหันทีใช้งานอยูท่ วไป ั
จะมีค่าอยูท่ ีร้อยละ 70 ถึง 85
อุปกรณ์ชินต่อไปทีจะกล่าวถึงก็คือเครื องอัดหรื อเครื องสู บซึ งจะมีลกั ษณะส่ วนใหญ่ทีคล้ายคลึงกับ
กังหันกล่าวคือ เครื องอัดหรื อเครื องสู บเป็ นอุปกรณ์ ทีจะทํางานภายใต้กระบวนการแอเดี ยแบติกภายใต้
เงือนไขในการทํางานคือการกําหนดภาวะด้านเข้าสู่ เครื องอัดหรื อเครื องสู บโดยการกําหนดอุณหภูมิและ
ความดัน (Ti และ Pi) รวมทังการกําหนดความดันด้านออก (Pe) ด้วยเช่นกัน ดังนันกระบวนการอุดมคติของ
เครื องอัดก็จะเป็ นกระบวนการไอเซนโทรปิ กดังทีแสดงในรู ปที 9.4
T Pe
e
Te es
Tes
Pi

Ti
i
s
รู ปที 9.4 กระบวนการไอเซนโทรปิ กและกระบวนการจริ งทีเกิดขึนสําหรับเครื องอัด

ในทํานองเดียวกับกังหัน กําลังกลคือตัวแปรทีใช้ระบุสมรรถนะของเครื องอัดหรื อเครื องสู บ ทังนี กําลังทีใช้


ในการอัดสําหรับกระบวนการจริ งและกระบวนการไอเซนโทรปิ กจะสามารถแสดงได้ดว้ ยสมการที 9.28
และ 9.29 ตามลําดับ แต่ทงนีั ค่ากําลังกลทีได้จากสมการทังสองจะมีเครื องหมายเป็ นลบ นอกจากนีกําลังทีใช้
ของเครื องอัดหรื อเครื องสู บอุดมคติ ( W& s ) จะเป็ นกําลังทีมีค่าตําสุ ดทีเครื องอัดหรื อเครื องสู บต้องการภายใต้
เงือนไข Pi, Ti และ Pe ทีกําหนด ดังนันประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องอัด (compressor isentropic
190

efficiency หรื อ ηcomp.) หรื อประสิ ทธิ ภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องสู บ (pump isentropic efficiency หรื อ
ηpump) จะนิยามโดย
W& w h −h
ηcomp . หรื อ ηpump = s = s = i es (9.31)
W& w hi − he
ค่าของ ηcomp. ของเครื องอัดทีใช้งานอยูท่ วไปจะมี
ั ค่าอยูท่ ีประมาณร้อยละ 70 ถึง 85
อุปกรณ์สุดท้ายทีจะกล่าวถึงก็คือหัวฉี ด ทังนี วัตถุประสงค์ของหัวฉี ดคือการเร่ งความเร็ วให้แก่ของ
ไหลให้สูงขึนตามต้องการภายใต้กระบวนการแอเดียแบติกภายใต้เงือนไขในการทํางานคือการกําหนดภาวะ
ด้านเข้าสู่ หัวฉี ดโดยการกําหนดอุณหภูมิและความดัน (Ti และ Pi) และการกําหนดความดันด้านออก (Pe)
เช่ นเดี ยวกับในกรณี ของกังหัน เครื องอัดและเครื องสู บ ดังนันกระบวนการอุดมคติ ของหัวฉี ดก็จะเป็ น
กระบวนการไอเซนโทรปิ กดังทีแสดงในรู ปที 9.5
T Pi
i
Ti
Pe

Te e
Tes es
s
รู ปที 9.5 กระบวนการไอเซนโทรปิ กและกระบวนการจริ งทีเกิดขึนสําหรับหัวฉีด

แต่ทงนี
ั ทังนันตัวแปรทีแสดงสมรรถนะของหัวฉี ดก็คือพลังงานจลน์ของสารทีไหลออกจากหัวฉี ดซึงจะแปร
ตามความเร็ วของสารยกกําลังสอง จากสมการที 6.14 ถ้าเราให้ความเร็ วด้านเข้าหัวฉี ดมีค่าน้อยมากจนละทิง
ได้ ผลต่างพลังงานศักย์มีค่าเป็ นศูนย์ รวมทังการถ่ายเทความร้อนและงานมีค่าเป็ นศูนย์ เราจะได้วา่
Ve 2 / 2 = h i − h e (9.32)
ซึงพลังงานจลน์ทีได้เป็ นพลังงานจลน์ทีทางออกของหัวฉีดจริ ง ในกรณี ของหัวฉีดอุดมคติจะได้วา่
Ves 2 / 2 = h i − h es (9.33)
ซึงพลังงานจลน์ทีได้เป็ นพลังงานจลน์ทีทางออกของหัวฉี ดอุดมคติและจะมีค่าสู งสุ ดภายใต้ค่า Pi, Ti และ Pe
ทีกําหนด ดังนันประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของหัวฉีด (nozzle isentropic efficiency หรื อ ηnozzle) คือ
Ve 2 / 2 h −h
ηnozzle = 2 = i e (9.34)
Ves / 2 h i − h es
ค่าของ ηnozzle ของหัวฉีดทีใช้งานอยูท่ วไปจะมี
ั ค่าอยูท่ ีร้อยละ 90 ถึง 97
191

ตัวอย่างที 9.6
กังหันไอนําได้รับไอนําทีความดัน 2 MPa อุณหภูมิ 300oC ด้วยอัตราไหล 20 kg/s เพือใช้ในการผลิต
งานเพลา ไอนําขยายตัวจนกระทังมีความดัน 15 kPa ทีทางออกของกังหัน ถ้ากังหันนีมีประสิ ทธิภาพเท่ากับ
ร้อยละ 82 จงหาว่ากําลังจริ งทีออกจากกังหันและการผลิตเอนโทรปี ทีเกิดขึนมีค่าเป็ นเท่าไรโดยสมมติวา่ ไม่มี
ความร้อนสูญเสี ยออกจากกังหัน
วิธีทาํ ไอนํา
ปริ มาตรควบคุม: กังหันไอนํา CV
1
กระบวนการ: แอเดียแบติก W&
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, m& 1 , P2, ηturbine
2
ตัวแปรทีต้องการ: W& , S& gen
จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด เริ มต้นทีการหาสมบัติของนําทีทางเข้าของกังหันก่อน
ภาวะที 1: P1 = 2 MPa
T1 = 300oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
h1 = 3,023.50 kJ/kg
s1 = 6.7663 kJ/kg-K
เนืองจากกังหันมีทางเข้าและทางออกเพียงอย่างละหนึงทาง ดังนัน
สมการการอนุรักษ์มวล
m& 1 = m& 2 = m& = 20 kg / s
ในความเป็ นจริ งกระบวนการทีเกิดขึนภายในกังหันจะเป็ นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ภายในทังนีเนืองจาก
ั เราจะสมมติให้กงั หันเป็ นกังหันอุดมคติทีมีกระบวนการที
กังหันมีประสิ ทธิภาพตํากว่าร้อยละ 100 แต่ทงนี
เกิดขึนภายในเป็ นแบบไอเซนโทรปิ ก ดังนันจากสมการที 9.8 เราจะได้วา่
กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์
s 2 = s1
ดังนันเราสามารถหาสมบัติของนําทีทางออกของกังหันอุดมคติได้ แต่ทงนี ั ต้องระลึกเสมอว่าความดันที
ทางออกในกรณี ของกังหันอุดมคติจะมีค่าเท่ากับความดันจริ งทีเกิดขึนทีทางออก
ภาวะที 2s: P2s = P2 = 15 kPa
s2s = s1 = 6.7663 kJ/kg-K ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
เราสามารถหาคุณภาพสารสองสถานะของภาวะที 2s ได้จาก
s 2s = (1 − x 2 s ) s f + x 2 s s g
192

kJ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
6.7663 = (1 − x 2 s ) ⎜ 0.7548 ⎟ + (x 2 s ) ⎜ 8.0084 ⎟
kg − K ⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠
x 2s = 0.82876
จากนันหาเอนธัลปี ทีภาวะที 2s
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
h 2s = (1 − x 2 s ) h f + x 2 s h g = ( 0.17124 )⎜ 225.91 ⎟ + ( 0.82876 )⎜ 2,599.06 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
h 2s = 2,192.684 kJ/kg
เนืองจากกังหันไม่มีการสูญเสี ยความร้อนดังนัน Q& = 0 รวมทังสามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ได้ ดังนัน
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ m& i ⎜ h i + + gZ i ⎞⎟ −

⎝ 2 ⎠ ∑ m& e ⎜ h e + + gZ e ⎞⎟

⎝ 2 ⎠
W& = m& 1 (h 1 ) − m& 2 (h 2 ) = m& (h 1 − h 2 )
สําหรับกังหันอุดมคติกาํ ลังทีได้จะเป็ นกําลังสูงสุ ด ดังนันเมือแทนค่าทีภาวะที 1 และภาวะที 2s ลงไปจะได้วา่
W& s = m& (h 1 − h 2 s )
kg ⎛ kJ ⎞
W& s = 20 ⎜ 3,023.50 − 2,192.684 ⎟ = 16,616.3 kW = 16.616 MW
s ⎝ kg ⎠
จากนิยามของประสิ ทธิภาพของกังหัน จะทําให้เราสามารถหากําลังจริ งจากกังหันได้
W&
ηturbine =
W& s
W& = ηturbine Ws = 0.82 (16.616 MW )
W& = 13.625 MW คําตอบ
เมือเราทราบกําลังจริ งของกังหัน เราสามารถนําค่าดังกล่าวเพือคิดย้อนกลับไปหาเอนธัลปี และเอนโทรปี ที
ภาวะที 2 ซึ งเป็ นภาวะทีทางออกของกังหันจริ งได้ ทังนี ถ้าเราเขียนกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์
สําหรับกังหันจริ ง จะได้วา่
W& = m& (h 1 − h 2 )
kg ⎛ kJ ⎞
13,625.38 kW = 20 ⎜ 3,023.50 − h 2 ⎟
s ⎝ kg ⎠
h 2 = 2,342.231 kJ/kg
193

ภาวะที 2: P2 = 15 kPa
h2 = 2,342.231 kJ/kg ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
เราสามารถหาคุณภาพสารสองสถานะของภาวะที 2 ได้จาก
h 2 = (1 − x 2 ) h f + x 2 h g
kJ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
2,342.231 = (1 − x 2 )⎜ 225.91 ⎟ + (x 2 )⎜ 2,599.06 ⎟
kg ⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
x 2 = 0.89178
จากนันหาเอนโทรปี ทีภาวะที 2s
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
s 2 = (1 − x 2 ) s f + x 2 s g = ( 0.10822 )⎜ 0.7548 ⎟ + ( 0.89178 )⎜ 8.0084 ⎟
⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠
s 2 = 7.22339 kJ / kg - K
การผลิตเอนโทรปี นันจะเกิดขึนในกรณี ของกังหันจริ งเท่านัน ดังนันจากสมการที 9.4 เนืองจากกระบวนการ
ทีเกิดขึนเป็ นแบบแอเดียแบติก เราสามารถเขียนได้วา่
กฎข้อทีสองของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับกังหันจริ ง
Q&
0 = ∑ m& i s i − ∑ m& e s e + ∑ T
+ S& gen
S& gen = m& 2 (s 2 ) − m& 1 (s1 ) = m& (s 2 − s1 )
kg ⎛ kJ ⎞
S& gen = 20 ⎜ 7.22339 − 6.7663 ⎟
s ⎝ kg − K ⎠
kW
S& gen = 9.1419 คําตอบ
K
หมายเหตุ
หากวาดแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของกระบวนการทีเกิดขึนจะได้เป็ น
T P1
1
T1

P2

T2s = T2 2s 2
s
จะเห็นว่าภาวะที 2s และภาวะที 2 ยังคงเป็ นของผสมสองสถานะอยู่ เนืองจาก P2s = P2 เป็ นผลให้ T2s = T2
194

แบบฝึ กหัด
1) อากาศไหลผ่านเครื องอัดจริ งทีมีการหุม้ ฉนวนเป็ นอย่างดี เอนโทรปี ของอากาศทีทางออกของเครื องอัด
จะมีค่ามากกว่า น้อยกว่า หรื อเท่ากับเอนโทรปี ของอากาศทีทางเข้าของเครื องอัด จงอธิบาย
2) สารทําความเย็นอาร์-134เอทีความดัน 1.4 MPa อุณหภูมิ 80oC ไหลผ่านหัวฉี ดด้วยความเร็ ว 10 m/s
หลังจากผ่านหัวฉี ดไปแล้วอาร์-134เอมีความดันลดลงเหลือ 300 kPa จงหาความเร็ วของอาร์-134เอที
ออกจากหัวฉีดโดยสมมติให้กระบวนการทีเกิดขึนเป็ นกระบวนการไอเซนโทรปิ ก
3) อากาศไหลเข้าสู่ กงั หันด้วยอัตราไหลเชิงปริ มาตร 400 L/s ความดัน 700 kPa อุณหภูมิ 800 K จากนัน
อากาศจะลดความดันลงเมือไหลผ่านกังหันจนมีค่าเท่ากับ 100 kPa ในกรณี ทีกังหันเป็ นกังหันอุดมคติ
จงคํานวณหากําลังทีได้

4) ถังใบหนึงมีปริ มาตร 3 m3 บรรจุนาที


ํ อุณหภูมิ 100oC คุณภาพสารสอง
วาล์ว
สถานะ 0.6 ทีด้านบนของถังจะเชื อมต่อกับวาล์วเพือสามารถทีจะ
ระบายไอนําให้ออกจากถังได้ เมือวาล์วเปิ ดออกไอนําอิมตัวทีอุณหภูมิ
100oC ได้ไหลออกจากถัง ในขณะทีแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงได้ให้ H2O
ความร้อนกับถังเพือรักษาอุณหภูมิภายในถังให้คงทีเท่ากับ 100oC โดย
ตลอด กระบวนการดัง กล่ า วเกิ ด ขึ นจนกระทังนําที อยู่ ใ นสถานะ
ของเหลวภายในถัง กลายเป็ นไอจนหมด จากนั นวาล์ ว จึ ง ปิ ด จง Q
คํานวณหาการผลิตเอนโทรปี ของกระบวนการดังกล่าว จงอธิบายด้วยว่า แหล่งจ่ายพลังงาน
เหตุใดค่าของการผลิตเอนโทรปี ทีได้จึงมีค่าเป็ นเช่นนัน อุณหภูมิสูง
5) เครื องสู บเครื องหนึงใช้สาํ หรับสู บนํามันเครื องทีความดันบรรยากาศเท่ากับ 101.3 kPa ซึงอยูท่ ีระดับ
พืนดินขึนไปอยูบ่ นถังด้วยอัตราไหลเชิงปริ มาตรเท่ากับ 35 L/s ความดันทีวัดได้บนถังถูกกําหนดไว้
เท่ากับ 200 kPa เครื องสู บใช้กาํ ลังเท่ากับ 5.6 kW จงคํานวณหาความสู งของถังทีมากทีสุ ดเท่าทีจะ
เป็ นไปได้ตามเงือนไขต่างๆ ทีระบุ
6) สารทําความเย็นอาร์-134เอทีความดัน 1.2 MPa อุณหภูมิ 60oC ถูกส่ งผ่านอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน
ด้วยอัตราไหลเชิงมวล 1.5 kg/s เพือคายความร้อนออกจนกระทังมีอุณหภูมิเท่ากับ 40oC ทังนีแหล่งรับ
ความร้อนอุณหภูมิตามี ํ อุณหภูมิเฉลียเท่ากับ 33oC จงคํานวณหาอัตราการผลิตเอนโทรปี รวมทีเกิดขึน
7) คาร์บอนไดออกไซด์ถูกอัดผ่านเครื องอัดจากความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K จนกระทังมีความดัน
เท่ากับ 500 kPa หากเครื องอัดดังกล่าวใช้งานจําเพาะในการอัดเท่ากับ 130 kJ/kg จงคํานวณหา
ประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องอัดเครื องนีรวมทังคํานวณหาอุณหภูมิของคาร์บอนไดออกไซด์
ทีทางด้านออกของเครื องอัด
195

บทที 10
ระบบกําลังและระบบทําความเย็น
10.1 เกริ นนําเกียวกับระบบกําลัง
ในบทที 7 นันเราได้กล่าวถึงภาพรวมของเครื องยนต์ความร้อนซึ งทํางานเป็ นวัฏจักรและมีหน้าทีใน
การเปลี ยนความร้อนที ได้รับจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงบางส่ วนให้เป็ นงาน ในขณะที ความร้ อน
บางส่ วนจะต้องทิงไปสู่ แหล่งรับพลังงานอุณหภูมิตาํ เราจะเรี ยกวัฏจักรของเครื องยนต์ความร้อนในลักษณะ
นีว่าวัฏจักรกําลัง (power cycle) อย่างไรก็ตามเรายังไม่ได้เข้าไปศึกษาในรายละเอียดว่าภายในวัฏจักรกําลัง
นันประกอบไปด้วยกีกระบวนการ มีอุปกรณ์ชนิ ดใดบ้าง และแต่ละชินทํางานอย่างไร ดังนันในบทนีเราจะ
ศึกษาในรายละเอียดดังกล่าวของวัฏจักรกําลังชนิดต่างๆ ทีสอดคล้องกับการใช้งานจริ งทีมีอยูใ่ นปั จจุบนั
วัฏจักรกําลังนันสามารถแบ่งได้ในหลายๆ รู ปแบบ ตัวอย่างเช่ นหากเราใช้สถานะของของไหล
ทํางานมาเป็ นเงือนไขในการแบ่งชนิ ดของวัฏจักรกําลัง เราพบว่าจะมีวฏั จักรกําลังทีของไหลทํางานอยู่ใน
สถานะแก๊สเพียงอย่างเดียวหรื อวัฏจักรแก๊ส (gaseous cycle) และวัฏจักรกําลังทีของไหลทํางานอยูใ่ นสถานะ
เปลียนไปมาระหว่างของเหลวและแก๊สหรื อวัฏจักรไอ (vapor cycle) หากเราใช้การแทนทีของของไหล
ทํางานมาเป็ นเงือนไขในการแบ่งชนิ ดของวัฏจักรกําลัง เราพบว่าจะมีวฏั จักรกําลังทีของไหลทํางานอยูใ่ นวง
ปิ ดไม่สามารถรัวไหลออกไปได้หรื อวัฏจักรปิ ด (closed cycle) และวัฏจักรกําลังทีของไหลทํางานทีถูกใช้งาน
ไปแล้วก็ถูกขับออก จากนันก็ถูกแทนทีด้วยสารใหม่อยูต่ ลอดเวลาหรื อวัฏจักรเปิ ด (open cycle) ในกรณี นีถ้า
หากพิจารณาตามหลักความเป็ นจริ ง ของไหลทํางานไม่ได้ทาํ งานครบรอบวัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิกส์ แต่
ในทางทฤษฎีเรามีการทําให้ปัญหานันง่ายขึนโดยการใส่ สมมติฐานบางประการลงไปซึงจะกล่าวถัดไป
สําหรั บเครื องยนต์ความร้ อนนันเราจะใช้ประสิ ทธิ ภาพอุ ณหภาพเป็ นตัว บ่งชี ถึ งสมรรถนะของ
เครื องยนต์ความร้อนนันๆ ซึงประสิ ทธิภาพอุณหภาพจะสามารถเขียนได้จากสมการที 7.2 กล่าวคือ
W
ηth = net
QH
โดยทีสําหรับเครื องยนต์ทีมีประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพสู งทีสุ ดก็คือเครื องยนต์คาร์ โนต์ซึงได้กล่าวในหัวข้อที
7.5 ทังนีวัฏจักรคาร์โนต์นนจะประกอบไปด้
ั วยกระบวนการทีย้อนกลับได้ทงภายในและภายนอก
ั ซึงในทาง
ปฏิบตั ินันไม่สามารถทําให้เกิดขึนได้เนื องจากข้อจํากัดในด้านต่างๆ ดังนันเราจึงพิจารณาวัฏจักรกําลังใน
รู ปแบบอืนๆ แทนวัฏจักรคาร์ โนต์ แต่ทงนี ั ทังนันวัฏจักรกําลังทีพิจารณานันจะต้องเป็ นวัฏจักรอุดมคติ
(ideal cycle) ซึ งหมายความว่ากระบวนการทีเกิดขึนภายในวัฏจักรเป็ นกระบวนการทีย้อนกลับได้ภายใน
เท่านัน แต่ไม่จาํ เป็ นทีกระบวนการจะต้องย้อนกลับได้ทงภายในและภายนอกดั
ั งเช่นวัฏจักรคาร์ โนต์ เป็ นผล
ให้วฏั จักรอุดมคติจะอนุญาตให้เกิดการถ่ายเทความร้อนอันเป็ นผลมาจากผลต่างของอุณหภูมิทีมีค่าจํากัดได้
196

10.2 วัฏจักรแรงคิน
วัฏจักรกําลังทีนําเสนอเป็ นอันดับแรกคือวัฏจักรแรงคิน (Rankine cycle) ซึ งเป็ นวัฏจักรอุดมคติทีใช้
เป็ นแบบจําลองสําหรับโรงจักรไอนํา (steam power plant) วัฏจักรแรงคินเป็ นวัฏจักรปิ ดและเป็ นวัฏจักรไอที
ํ นของไหลทํางาน รวมทังมีได้หลายรู ปแบบขึนอยูก่ บั อุปกรณ์ทีนํามาเสริ มเพือทําการปรับปรุ ง แต่ใน
ใช้นาเป็
เบืองต้นนันเราจะศึกษาวัฏจักรแรงคินซึ งเป็ นพืนฐานสําหรับใช้ในการปรับปรุ งทีมีชือเรี ยกว่าวัฏจักรแรงคิน
อย่างง่าย (simple Rankine cycle) ซึงจะประกอบไปด้วยกระบวนการสี กระบวนการดังนี
1) กระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้ภายในผ่านเครื องสูบ
2) กระบวนการไอโซบาริ กย้อนกลับได้ภายในผ่านหม้อต้ม (boiler)
3) กระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้ภายในผ่านกังหันไอนํา
4) กระบวนการไอโซบาริ กย้อนกลับได้ภายในผ่านเครื องควบแน่น (condenser)
ซึงเราจะเขียนแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ได้ดงั รู ปที 10.1 (a) และ 10.1 (b) ตามลําดับ
3
T
P2 = P3 W& turbine
3 Q& H กังหัน
หม้อไอนํา
Tboil. 4
P1 = P4 2
2 Q& L
เครืองสูบ เครือง
W& pump ควบแน่น
Tcond.
1 4
1
a b s
(a) (b)
รู ปที 10.1 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรแรงคินอย่างง่าย

จะเห็นได้ว่าจากภาวะที 1 นําซึ งอยู่ในสภาวะของเหลวอิมตัวจะถูกอัดด้วยกระบวนการไอเซน


โทรปิ กผ่านเครื องสู บจนมีความดันเพิมขึนจนกลายเป็ นของเหลวอัดตัวในภาวะที 2 หลังจากนันนําก็จะ
ได้รับความร้อนผ่านหม้อต้มด้วยกระบวนการไอโซบาริ กซึ งก็จะทําให้นาเปลีํ ยนจากภาวะของเหลวอัดตัว
กลายไปเป็ นของเหลวอิมตัว แล้วก็เริ มเปลียนสถานะจากของเหลวอิมตัวกลายไปเป็ นไออิมตัว จนกระทัง
กลายเป็ นไอร้อนยวดยิงทีภาวะที 3 หลังจากนันไอนําร้อนยวดยิงก็จะขยายตัวผ่านกังหันด้วยกระบวนการไอ
เซนโทรปิ กเพือให้ได้กาํ ลังเพลาออกมา ไอนําทีผ่านกังหันแล้วจะมีความดันลดลงมากลับสู่ ความดันเดิมดังที
แสดงอยูใ่ นภาวะที 4 ซึ งจะเป็ นของผสมสองสถานะก็ได้ ไออิมตัวก็ได้ หรื อไอร้อนยวดยิงก็ได้ (แต่ทีแสดง
ในรู ปที 10.1 (a) นําทีภาวะที 4 จะอยูใ่ นภาวะของผสมสองสถานะ) หลังจากนันนําก็จะผ่านเครื องควบแน่น
ภายใต้กระบวนการไอโซบาริ กเพือทีจะระบายความร้อนออกสู่ สิงล้อมรอบ ซึ งจะทําให้นาควบแน่
ํ นกลับไป
197

เป็ นของเหลวอิมตัวทีภาวะที 1 อีกครัง เราจะสังเกตได้ว่าในวัฏจักรแรงคินอย่างง่ายจะมีความดันอยูเ่ พียง


สองค่าเท่านันนันคือทีค่า P1 = P4 ซึงเป็ นค่าความดันตําหรื ออีกชือหนึงว่าความดันเครื องควบแน่น (condenser
pressure) และทีค่า P2 = P3 ซึงเป็ นค่าความดันสูงหรื ออีกชือหนึงว่าความดันหม้อต้ม (boiler pressure) จะเห็น
ได้ว่านําจะมีการเปลียนสถานะสองครังทีหม้อต้มและเครื องควบแน่ นซึ งเป็ นอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน
ทังคู่ ครั งแรกเกิ ดขึนทีหม้อต้มซึ งมี ความดันสู ง อุณหภูมิซึงเกิ ดการเปลียนสถานะของนําจากของเหลว
กลายเป็ นไอจะเรี ยกว่าอุณหภูมิเดือด (boiling temperature) ซึงจะมีค่าเท่ากับอุณหภูมิอิมตัวทีความดันหม้อ
ต้มนันเอง ครังทีสองเกิดขึนทีเครื องควบแน่นซึงมีความดันตํา อุณหภูมิซึงเกิดการเปลียนสถานะของนําจาก
ไอกลับมาเป็ นของเหลวจะเรี ยกว่าอุณหภูมิควบแน่น (condensing temperature.) ซึ งจะมีค่าเท่ากับอุณหภูมิ
อิมตัวทีความดันเครื องควบแน่นนันเอง
หากเราจะคํานวณหาประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินในรู ปที 10.2 (a) จากหัวข้อที 8.4 เรา
จะพบว่างานสุ ทธิ (Wnet) ทีได้จากวัฏจักรบนแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ก็คือพืนทีทีถูกปิ ดล้อมโดยวัฏจักร
นันๆ ซึงก็คือพืนที 1-2-3-4-1 ในขณะทีความร้อนทีถ่ายเทเข้าสู่ วฏั จักร (QH) เกิดขึนทีกระบวนการไอโซบาริ ก
ทีหม้อต้มจะมีค่าเท่ากับพืนทีใต้กราฟระหว่างภาวะที 2 และภาวะที 3 หรื อก็คือพืนที a-2-3-b-a ดังนัน
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินก็คือ
Wnet พืนที 1 - 2 - 3 - 4 - 1
ηth = =
QH พืนที a - 2 - 3 - b - a
สิ งที น่ า ตังคํา ถามก็ คื อ ว่ า เนื องจากวัฏ จัก รคาร์ โ นต์เ ป็ นวัฏ จัก รที ทํา ให้ เ ครื องยนต์ค วามร้ อ นมี
ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพสู งสุ ด เหตุใดเราถึงไม่พยายามทีจะสร้างวัฏจักรคาร์ โนต์ให้เป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ิ
เพือจะตอบคําถามดังกล่าวเราจะต้องย้อนกลับไปทีหัวข้อที 7.5 ซึงจะพบว่าวัฏจักรคาร์ โนต์นนประกอบไป ั
ด้ว ยกระบวนการไอโซเธอร์ ม ัล ย้อ นกลับ ได้แ ละกระบวนการแอเดี ย แบติ ก ย้อ นกลับ ได้ หากพิ จ ารณา
เฉพาะตัวกระบวนการเราจะพบว่ากระบวนการแอเดี ยแบติ กนันสามารถทําได้ในทางปฏิบตั ิโดยการหุ ้ม
ฉนวนความร้อนเพือป้ องกันไม่ให้เกิดการถ่ายเทความร้อนระหว่างระบบกับสิ งล้อมรอบ ส่ วนกระบวนการ
ไอโซเธอร์ มลั นันเราจะพบว่าถ้าสารอยูส่ ถานะเดียวเช่นเป็ นแก๊สหรื อของเหลวอย่างใดอย่างหนึ ง การจะทํา
ให้กระบวนการไอโซเธอร์มลั เป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ินนทํ ั าได้ยาก ตัวอย่างเช่นหากเราต้องการให้อากาศใน
ห้องมีอุณหภูมิ 25oC คงทีตลอดเวลาจะต้องทําอย่างไร คําตอบก็คือเราต้องการเครื องปรับอากาศอย่างดีมาซัก
หนึ งเครื องเพือจะควบคุมอากาศให้ได้ 25oC ตลอดเวลาซึ งฟั งดูก็พอทําได้อยู่ แต่หากพิจารณาว่าอากาศใน
ห้องอยูท่ ี 25oC เท่ากันตลอดทัวทังห้องจริ งๆหรื อไม่ คําตอบคือคงไม่เป็ นเช่นนัน ตําแหน่ งทีอากาศเย็นจาก
เครื องปรับอากาศไหลผ่านก็จะเย็นกว่า 25oC ในขณะทีตําแหน่งทีอยูใ่ กล้หน้าต่างซึ งโดนแสงแดดก็จะร้อน
กว่า 25oC โดยสรุ ปแล้วในกรณี ของสารทีอยูใ่ นสถานะเดียว เมือเกิดความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิขึน จะทํา
ให้เกิดการถ่ายเทความร้อนซึ งก็จะทําให้อุณหภูมิของสารทีอยูใ่ นสถานะเดียวนันเปลียนแปลงไปในอันเป็ น
ผลมากจากการเปลียนแปลงพลังงานสัมผัสของสารนันนันเอง ดังนันกระบวนการไอโซเธอร์ มลั จึงเกิดขึน
198

ได้ย ากในทางปฏิ บ ัติ แต่ ห ากว่า สารนันกํา ลัง อยู่ใ นภาวะอิ มตัว หรื อ กํา ลัง เปลี ยนสถานะ เราจะพบว่ า
กระบวนการไอโซเธอร์ ม ัล จะขึ นพร้ อ มๆ กับ กระบวนการไอโซบาริ กซึ งเป็ นไปได้ใ นทางปฏิ บ ัติ
ตัวอย่างเช่นการต้มนําให้เดือดทีบรรยากาศ เราจะพบว่าในความเป็ นจริ งกระบวนการทีเกิดขึนทีบรรยากาศ
คือกระบวนการไอโซบาริ กที 1 atm แต่เนืองจากนํากําลังอยูใ่ นภาวะอิมตัวจึงทําให้กระบวนการทีเกิดขึนเป็ น
กระบวนการไอโซเธอร์ มลั ที 100oC ไปโดยปริ ยาย หากเกิดความแตกต่างของอุณหภูมิแล้วเกิดการถ่ายเท
ความร้อนขึน ผลก็คือความร้อนดังกล่าวจะกลายไปเป็ นพลังงานแฝงของนําซึ งก่อให้เกิดการเปลียนสถานะ
ในขณะทียังคงรักษาอุณหภูมิไว้ที 100oC อยูต่ ราบใดทีความดันยังคงทีที 1 atm ดังนันจากทีกล่าวมาทังหมด
เราก็อาจจะลองสร้างวัฏจักรคาร์โนต์โดยให้สารอยูใ่ นภาวะอิมตัวเพือให้กระบวนการไอโซเธอร์มลั เกิดขึนได้
พร้อมกับกระบวนการไอโซบาริ กดังซึงก็คือภาวะที 1-2-3-4-1 ดังทีแสดงในรู ปที 10.3
T

3’
2 3

2’

1’ 1 4 4’
s
รู ปที 10.3 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของวัฏจักรกําลังคาร์โนต์ในกรณี ทีสารอยูใ่ นภาวะอิมตัว

จากวัฏจักรแรงคินในรู ปที 10.2 (a) หรื อภาวะที 1’-2’-3’-4’-1’ ในรู ปที 10.3 หากเราเลือนภาวะที 3 ให้เป็ นไอ
อิมตัวแทนทีจะเป็ นไอร้อนยวดยิงและเลือนภาวะที 2 ให้เป็ นของเหลวอิมตัวแทนทีจะเป็ นของเหลวอัดตัว
โดยทีต้องเลือนภาวะที 4 และ 1 ให้เอนโทรปี เท่ากับภาวะที 3 และ 2 ตามลําดับ ผลทีได้จะปรากฏเป็ นวัฏจักร
คาร์ โนต์หรื อภาวะที 1-2-3-4-1 อย่างไรก็ตามสาเหตุทีเราไม่สามารถสร้างวัฏจักรคาร์ โนต์ตามรู ปที 10.3 นัน
เนื องมากจากสองปั จจัย ปั จจัยแรกเกิดขึนทีภาวะที 4 ซึ งก็จะเป็ นภาวะของสารในขณะทีออกมาจากกังหัน
ในทางปฏิบตั ินนเราจะพยายามให้
ั ภาวะที 4 ซึ งเป็ นของผสมสองสถานะมีส่วนทีเป็ นสถานะของเหลวน้อย
ทีสุ ดหรื อถ้าเป็ นไอทังหมดเลยได้กย็ งดี
ิ เนืองจากสถานะของเหลวซึงมีความหนาแน่นมากกว่าสถานะไอจะมี
โมเมนตัมในขณะทีเกิดการเหวียงของใบพัดกังหันมากกว่า ดังนันส่ วนของของเหลวทีมีโมเมนตัมสู งกว่าจะ
เข้าปะทะกับตัวใบพัดและทําให้เกิดความเสี ยหายขึนได้ ทําให้เราจําเป็ นจะต้องขยับภาวะที 3 ให้กลายไป
เป็ นภาวะที 3’ ก็เพือให้ภาวะที 4’ นันมีปริ มาณสัดส่ วนสถานะของเหลวในของผสมสองสถานะน้อยกว่าที
ภาวะที 4 อนึ งเราอาจจะเรี ยกปริ มาณสัดส่ วนของเหลวในของผสมสองสถานะในขณะทีออกจากกังหันว่า
ปริ มาณความชืน (moisture content) ทีออกจากกังหัน ปั จจัยทีสองเกิดขึนในลักษณะคล้ายคลึงกันกับปั จจัย
แรกนันคือภาวะที 1 ซึ งเป็ นภาวะของสารก่อนจะทีเข้าสู่ เครื องสู บ โดยปรกติแล้วเครื องสู บนันออกแบบมา
199

สําหรับสถานะของเหลวเพียงอย่างเดียว ดังนันหากมีไอเข้าไปผสมในระหว่างทีเครื องสู บกําลังอัดของเหลว


อยู่ จะทําให้เกิดปรากฏการณ์คาวิเตชัน (cavitation) ซึ งก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ใบพัดของเครื องสู บ ดังนัน
เพือหลีกเลียงไม่ให้มีสถานะไอปรากฏอยูใ่ นภาวะที 1 เราจึงจําเป็ นต้องขยับจากภาวะที 1 ไปเป็ นภาวะที 1’
ซึ งจะทําให้สถานะของสารก่อนเข้าสู่ เครื องสู บเป็ นของเหลวเพียงอย่างเดียว ส่ งผลให้ภาวะที 2 ขยับไปภาวะ
ที 2’ ด้วยเช่ นกัน ด้วยปั จจัยทังสองประการซึ งเป็ นเหตุผลทางด้านปฏิบตั ิ จึ งมีความจําเป็ นทีจะต้อง
ปรับเปลียนวัฏจักรคาร์โนต์ไปกลายไปเป็ นวัฏจักรแรงคินดังทีกล่าวมา

10.3 ผลกระทบของความดันและอุณหภูมิต่อวัฏจักรแรงคิน
ในหัวข้อนี เราจะศึกษาผลกระทบในเชิ งคุณภาพของความดันและอุณหภูมิทีมีผลต่อประสิ ทธิ ภาพ
อุณหภาพของวัฏจักรแรงคิน ทังนี ทังนันการพิจาณาในเชิ งคุณภาพนันจะสามารถทําได้จากสองมุมมอง
มุมมองแรกคือการพิจารณาประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพจากพืนทีภายในแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี โดยการ
พิจารณาว่างานสุ ทธิ และความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรมีค่าเพิมขึนหรื อลดลงมากน้อยต่างกันเท่าไร มุมมองที
สองคือการพิจารณาประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินโดยการเทียบเคียงกับประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
ของวัฏจักรคาร์โนต์ตามสมการที 7.11 กล่าวคือ
TL
ηth ,rev = 1 −
TH
ทังนี TH และ TL คืออุณหภูมิสูงสุ ดและตําสุ ดทีปรากฏอยูใ่ นวัฏจักรแรงคินตามลําดับ ดังนันจะเห็นได้ว่า
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินจะมีค่าเพิมขึนถ้า TH เพิมขึนหรื อถ้า TL ลดลง
ในลําดับแรกเราจะศึกษาผลของความดันเครื องควบแน่นในรู ปที 10.4
T

P4
2 P4’
2’ 1 4
1’
4’
a’ a s
รู ปที 10.4 ผลกระทบของความดันเครื องควบแน่นทีมีต่อวัฏจักรแรงคิน

จะเห็นได้ว่าเมือความดันเครื องควบแน่นลดลงจาก P4 ไปเป็ น P4’ งานสุ ทธิจะเพิมขึนเท่ากับพืนทีแรเงาหรื อ


พืนที 1-4-4’-1’-2’-2-1 ในขณะทีความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรจะมีค่าเพิมขึนเท่ากับพืนที a’-2’-2-a-a’ ซึงจะ
200

เห็นได้ว่างานสุ ทธิ ทีเพิมขึนมีค่ามากกว่าความร้อนป้ อนเข้าทีเพิมขึน ดังนันผลลัพธ์ทีได้ก็คือประสิ ทธิ ภาพ


อุ ณ หภาพของวัฏจัก รแรงคิ น จะมี ค่ า เพิ มขึ น หรื อ ถ้า เราจะมองในอี ก มุ ม หนึ งก็ คือ ว่า ถ้า ความดัน เครื อง
ควบแน่ นมีค่าลดลง จะทําให้อุณหภูมิตาสุ ํ ดในวัฏจักรหรื อ TL มีค่าลดลง ดังนันเมือเทียบเคียงกับสมการที
7.11 จะพบว่าประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินจะมีค่าเพิมขึน อนึ งหากภาวะที 4 ขยับไปเป็ นภาวะ
ที 4’ เราจะพบว่าปริ มาณความชืนทีออกจากกังหันมีค่าเพิมขึนโดยสังเกตได้จากภาวะที 4’ จะขยับห่ างจาก
เส้นไออิมตัวมากกว่าภาวะที 4 ดังนันเมือปริ มาณความชืนทีออกจากกังหันเพิมขึนก็จะก่อให้เกิดผลเสี ยต่อ
ใบพัดกังหันดังทีกล่าวมา
ต่อไปเราจะพิจารณาผลของอุณหภูมิไอร้อนยวดยิงทีออกจากหม้อต้มดังทีแสดงในรู ปที 10.5
T

3’
3

2
4 4’
1

a b b’ s
รู ปที 10.5 ผลกระทบของอุณหภูมิไอร้อนยวดยิงทีมีต่อวัฏจักรแรงคิน

เราจะพบว่าเมืออุณหภูมิทีภาวะที 3 เพิมขึนไปเป็ นภาวะที 3’ ซึ งเทียบเท่ากับการเพิมอุณหภูมิไอร้อนยวดยิงที


ออกจากหม้อต้ม ผลทีได้ก็คืองานสุ ทธิ ก็จะเพิมขึนตามพืนทีแรเงาหรื อพืนที 3-3’-4’-4-3 ในขณะเดียวกัน
ความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรก็จะมีค่าเพิมขึนเท่ากับพืนที 3-3’-b’-b-3 เนืองจากอัตราส่ วนระหว่างพืนทีแรเงา
กับพืนที 3-3’-b’-b-3 มีค่ามากกว่าอัตราส่ วนระหว่างงานสุ ทธิ กบั ความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรทีมีอยู่เดิ ม
ดังนันผลดังกล่าวจะทําให้ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินจะมีค่าเพิมขึน หากเรามองในแง่ของ
การเทียบเคียงกับประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรคาร์โนต์ เราจะพบว่าอุณหภูมิสูงสุ ดของวัฏจักรหรื อ TH
ซึ งก็คืออุณหภูมิทีภาวะที 3 มีค่าเพิมขึน ผลก็คือประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินก็จะมีค่าเพิมขึน
เช่นกัน อนึงการเพิมอุณหภูมิไอร้อนยวดยิงจะส่ งผลให้ปริ มาณความชืนทีออกจากกังหันมีค่าลดลงเนื องจาก
ภาวะที 4 ได้ขยับเข้าใกล้เส้นไออิมตัวมากขึนไปเป็ นภาวะที 4’ ซึงก็จะก่อให้เกิดผลดีกบั ใบพัดกังหัน
ในลําดับสุ ดท้ายเราจะพิจารณาผลของความดันหม้อต้มโดยเพิมความดันหม้อต้มจาก P3 ไปเป็ น P3’
ดังทีแสดงในรู ปที 10.6 อนึงการเพิมความดันหม้อต้มนันเพือไม่ให้เกิดผลกระทบทีทับซ้อนกันกับการเพิม
อุณหภูมิไอร้อนยวดยิงทีกล่าวไปแล้ว เราจึงกําหนดให้ค่า T3 มีค่าเท่ากับ T3’ ดังทีแสดงในรู ปที 10.6
201

T
P3’ P3
3’ 3

2’
2
4’ 4
1

a b’ b s
รู ปที 10.6 ผลกระทบของความดันหม้อต้มทีมีต่อวัฏจักรแรงคิน

จะเห็นว่างานสุ ทธิมีปริ มาณลดลงเท่ากับพืนทีแรเงาสี อ่อน แต่ในขณะเดียวกันงานสุ ทธิกม็ ีปริ มาณเพิมขึนจาก


พืนทีแรเงาสี เข้ม ซึ งหากพิจารณาขนาดของพืนที เราจะพบว่าพืนทีในสองส่ วนดังกล่าวมีขนาดใกล้เคียงกัน
ดังนันงานสุ ทธิ จึงมีค่าเกือบคงทีไม่เปลียนแปลง สําหรับความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรนันจะมีปริ มาณลดลง
เท่ากับพืนทีแรเงาสี อ่อนบวกด้วยพืนที 4-4’-b’-b-4 ในขณะเดียวกันความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรนันจะมี
ปริ มาณเพิมขึ นจากพืนที แรเงาสี เข้ม ดังนันหากพืนที แรเงาสี อ่อนกับพืนที แรเงาสี เข้มมี ขนาดพอๆ กัน
ดังนันความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรก็จะมีปริ มาณทีลดลงเนื องจากพืนที 4-4’-b’-b-4 เป็ นส่ วนทีลดลงมากกว่า
โดยสรุ ปแล้วเมืองานสุ ทธิ เท่าเดิมและความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรลดลง ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักร
แรงคินก็จะมีค่าเพิมขึน ในอีกทางหนึ งหากมองในแง่ของการเทียบเคียงกับประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของ
วัฏจักรคาร์ โนต์ เราจะพบว่าถึงแม้ว่าอุณหภูมิสูงสุ ดของวัฏจักรหรื อ TH มีค่าคงเดิม ถ้าเรามอง TH ใน
ลักษณะทีไม่ใช่อุณหภูมิสูงทีสุ ดแต่เป็ นอุณหภูมิเฉลียในขณะทีเกิดกระบวนการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ วฏั จักร
แทน เราก็พบว่าการเพิม P3 ไปเป็ น P3’ จะทําให้อุณหภูมิเฉลียในขณะทีเกิดกระบวนการถ่ายเทความร้อนเข้า
สู่วฏั จักรมีค่าเพิมขึน เป็ นผลให้ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินก็จะมีค่าเพิมขึน อนึงการเพิมความ
ดันหม้อต้มจะส่ งผลให้ปริ มาณความชืนทีออกจากกังหันมีค่าเพิมขึนจากภาวะที 4 ขยับห่ างจากเส้นไออิมตัว
มากขึนไปเป็ นภาวะที 4’ ผลทีเกิดขึนจะทําให้เกิดผลเสี ยต่อใบพัดกังหัน
โดยสรุ ปรวมการเพิมประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินนัน จะทําได้โดยการลดความดัน
เครื องควบแน่ น เพิมอุณหภูมิไอร้ อนยวดยิง และเพิมความดันหม้อต้ม ซึ งผลดังกล่าวนันสามารถที จะ
ตรวจสอบได้โดยการเทียบเคียงกับประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรคาร์ โนต์ ทังนี ทังนันในวิธีการทัง
สามนันเราจะพบว่า การลดความดัน เครื องควบแน่ น และการเพิ มความดัน หม้อ ต้ม นันจะทํา ให้ปริ ม าณ
ความชืนทีออกจากกังหันเพิมขึน ในขณะทีการเพิมอุณหภูมิไอร้อนยวดยิงจะทําให้ปริ มาณความชืนทีออก
จากกังหันลดลง
202

ตัวอย่างที 10.1
โรงจักรไอนําแห่ งหนึ งมีการทํางานเป็ นวัฏจักรแรงคินอย่างง่ายโดยมีอตั ราไหลของไอนําที 50 kg/s
ไอนําทีป้ อนเข้าสู่กงั หันมีความดัน 3 MPa อุณหภูมิ 500oC ในขณะทีความดันเครื องควบแน่นเท่ากับ 10 kPa
จงหากําลังสุ ทธิของโรงจักรไอนําและประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
วิธีทาํ
สมมติฐานเบืองต้น:
1) วัฏจักรแรงคินอย่างง่ายเป็ นวัฏจักรอุดมคติ
2) สามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
3) จากหลักการอนุรักษ์มวล m& = 50 kg/s เท่ากันตลอดทังวัฏจักร
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: m& , P3, T3, P4
ตัวแปรทีต้องการ: W& net , ηth
T 3
P = 3 MPa
W& turbine
o
500 C 3 Q& H กังหัน
หม้อไอนํา
4
P = 10 kPa
2 2 Q& L
เครืองสูบ เครือง
W& pump ควบแน่น
1 4
1
s
ในการคํานวณเกี ยวกับวัฏจักรทีประกอบไปด้วยอุปกรณ์ภายใต้ภาวะคงตัวนัน จุดสําคัญคือการ
จะต้องหาภาวะที ตําแหน่ งต่ างๆ ให้ได้ก่ อน สมบัติเธอร์ โมไดนามิ กส์ ทีเราต้องการทราบก็คือเอนธัลปี
เนืองจากถ้าเราทราบเอนธัลปี ของทุกๆ ภาวะ เราก็จะสามารถประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
ทีอุปกรณ์ชินใดก็ได้เพือหาค่าทีเราต้องการ ดังนันเราสามารถหาภาวะต่างๆ ได้ดงั นี
ภาวะที 1: P1 = P4 = 10 kPa
x1 = 0 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของเหลวอิมตัว
v1 = vf = 0.001010 m3/kg
h1 = hf = 191.81 kJ/kg
s1 = sf = 0.6492 kJ/kg-K
ภาวะที 2: P2 = P3 = 3 MPa
s2 = s1 = 0.6492 kJ/kg-K ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของเหลวอัดตัว
203

เราพบว่าภาวะที 2 ได้ถูกกําหนดแล้วจากค่า P2 และ s2 ทีทราบ หากแต่ว่าเนื องจากตารางสมบัติเธอร์ โม


ไดนามิกส์ส่วนมากจะไม่มีตารางของเหลวอัดตัวปรากฏอยู่ ดังนันเราจึงต้องใช้วิธีการอืนเพือหาเอนธัลปี ของ
ภาวะที 2 แทน จากความสัมพันธ์สมบัติเธอร์โมไดนามิกส์หรื อสมการที 8.16
T ds = dh − v dP

เนืองจากกระบวนการผ่านเครื องสู บเป็ นกระบวนการไอเซนโทรปิ ก ดังนัน ds = 0 นอกจากนีนําจะอยูใ่ น


สถานะทีเป็ นของเหลวเพียงอย่างเดียวจากภาวะที 1 ไปภาวะที 2 ดังนันเราจึงให้นาเป็
ํ นสารอัดไม่ได้จึงทําให้
v ≈ ค่าคงตัว = v1 จากนันหาปริ พนั ธ์จาํ กัดเขตของสมการด้านบนจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 จะได้วา่
2 2

0 =
∫ dh − ∫ v dP = (h − h ) − v (P − P )
1 1
2 1 1 2 1

h 2 = h 1 + v 1 (P2 − P1 )

แทนค่าต่างๆ ลงไปจะได้วา่
m3 ⎞
h 2 = 191.81 + ⎜ 0.001010 ⎟ (3,000 − 10 kPa )
kJ ⎛
kg ⎝ kg ⎠
h 2 = 194.83 kJ / kg

ภาวะที 3: P3 = 3 MPa
T3 = 500oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
h3 = 3,456.48 kJ/kg
s3 = 7.2337 kJ/kg-K
ภาวะที 4: P4 = 10 kPa
s4 = s3 = 7.2337 kJ/kg-K ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
s 4 = (1 − x 4 ) s f + x 4 s g
kJ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
7.2337 = (1 − x 4 ) ⎜ 0.6492 ⎟ + (x 4 ) ⎜ 8.1501 ⎟
kg − K ⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠
x 4 = 0.87783
จากนันหาเอนธัลปี ทีภาวะที 4
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
h 4 = (1 − x 4 ) h f + x 4 h g = ( 0.12217 )⎜ 191.81 ⎟ + ( 0.87783)⎜ 2 ,584.63 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
h 4 = 2 ,292.294 kJ/kg
204

เมื อทราบเอนธัลปี ของทุกๆ ภาวะทีปรากฏในวัฏจักรแล้ว เราก็เริ มประยุกต์ใช้กฎข้อที หนึ งของเธอร์ โม


ไดนามิกส์ทีอุปกรณ์ต่างๆ ได้
ปริ มาตรควบคุม: เครื องสูบ
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
W& pump = m& (h 1 − h 2 )
kg ⎛ kJ ⎞
W& pump = 50 ⎜ 191.81 − 194.83 ⎟ = − 150.995 kW
s ⎝ kg ⎠
ปริ มาตรควบคุม: กังหัน
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
W& turbine = m& (h 3 − h 4 )
kg ⎛ kJ ⎞
W& turbine = 50 ⎜ 3,456.48 − 2,292.294 ⎟ = 58,209.28 kW
s ⎝ kg ⎠
ดังนัน W& net = W& pump + W& turbine = − 150.995 + 58,209.28 kW
W& net = 58,058.29 kW = 58.058 MW คําตอบ
ปริ มาตรควบคุม: หม้อต้ม
กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
Q& boiler = Q& H = m& (h 3 − h 2 )
kg ⎛ kJ ⎞
Q& H = 50 ⎜ 3,456.48 − 194.83 ⎟ = 163,082.51 kW
s ⎝ kg ⎠
ดังนันประสิ ทธิภาพอุณหภาพจะหาได้จาก
W& net 58,058.29 kW
ηth = =
Q& H 163,082.51 kW
ηth = 0.3560 = 35.60 % คําตอบ
หมายเหตุ
เราสามารถหาค่า W& net ได้อีก วิธีหนึ งโดยการหาความร้ อนที ทิ งออกจากวัฏจัก รผ่านทางเครื อง
ควบแน่นกล่าวคือ
205

ปริ มาตรควบคุม: เครื องควบแน่น


กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
Q& cond . = Q& L = m& (h 1 − h 4 )
kg ⎛ kJ ⎞
Q& L = 50 ⎜ 191.81 − 2,292.294 ⎟ = − 105,024.22 kW
s ⎝ kg ⎠
ดังนันจากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ของวัฏจักรหรื อสมการที 5.2
∑W
cycle
all = ∑Q
cycle
all

W& net = Q& H + Q& L = 163,082.51 + ( − 105,024.22 ) kW = 58,058.29 kW

10.4 วัฏจักรรี ฮีต


จากหัวข้อที 10.3 เราพบว่าหากเราเพิมความดันหม้อต้มจะส่ งผลดีในแง่ของประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
ของวัฏจักรแรงคินทีเพิมขึน แต่ขณะเดียวกันก็จะส่ งผลเสี ยต่อใบพัดกังหันเนื องจากปริ มาณความชืนทีออก
จากกังหันเพิมขึนด้วยเช่ นกัน ดังนันจึ งมีการแนวคิดทีจะปรั บปรุ งวัฏจักรแรงคินอย่างง่ ายให้กลายไป
เป็ นวัฏจักรรี ฮีต (reheat cycle) ดังทีแสดงเป็ นแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี หรื อรู ปที 10.7 (a) ในวัฏจักรรี ฮีต
นันกังหันไอนําจะถูกแบ่งเป็ นสองส่ วนก็คือกังหันความดันสู งและกังหันความดันตําดังทีแสดงในแผนภาพ
อุปกรณ์หรื อรู ปที 10.7 (b)
กังหัน
3 ความดันสูง
กังหัน
T หม้อไอนํา ความดันตํา
4
3’ Q& H
3 W& turbine
5 6
4 5
2 Q& L
2 เครือง
W& pump เครืองสูบ
ควบแน่น
1 6’ 6
1
s
(a) (b)
รู ปที 10.7 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรรี ฮีต
206

เมือไอนําออกจากหม้อต้มทีภาวะที 3 ไอนําก็จะถูกส่ งเข้าไปในกังหันความดันสู งก่อนเพือลดความดันจาก


ความดันหม้อต้มลงไปสู่ความดันค่าหนึงซึงอยูร่ ะหว่างความดันหม้อต้มกับความดันเครื องควบแน่น ซึงเราจะ
เรี ยกค่าความดันนีว่าความดันระหว่างกลาง (intermediate pressure) หลังจากทีไอนําลดความดันจากกังหัน
ความดันสู งสู่ ความดันระหว่างกลางทีภาวะที 4 จากนันไอนําก็จะถูกส่ งกลับเข้าไปในหม้อต้มเพือรับความ
ร้อนทีกระบวนการไอโซบาริ กอีกครังจนกระทังกลายไปเป็ นไอร้อนยวดยิงทีภาวะที 5 ซึ งตรงจุดนี เราจะ
เรี ยกว่ากระบวนการรี ฮีต หลังจากนันไอนําก็จะถูกส่ งผ่านเข้าสู่ กงั หันความดันตําเพือลดความดันจากความ
ดันระหว่างกลางไปยังความดันเครื องควบแน่นทีภาวะที 6 และต่อไปยังเครื องสูบและหม้อต้มต่อไป
เราจะเห็นได้ว่าจากภาวะที 3 ถ้าเราผ่านกังหันเพียงตัวเดียวเพือลดความดันจากความดันหม้อต้มลง
ไปสู่ ความดันเครื องควบแน่นในทันที เราก็จะได้วฏั จักรแรงคินอย่างง่ายหรื อภาวะที 1-2-3-6’-1 ซึงผลทีได้
ก็คือปริ มาณความชืนทีออกจากกังหันก็จะเพิมขึนจากภาวะที 6 ไปเป็ นภาวะที 6’ ดังนันจะเห็นได้ว่าวัฏจักร
รี ฮีตสามารถแก้ไขปั ญหาในเรื องของปริ มาณความชืนทีออกจากกังหันทีเกิดขึนกับของวัฏจักรแรงคินอย่าง
ง่ายได้ อนึ งโดยมากแล้วภาวะที 3 จะเป็ นภาวะทีมีอุณหภูมิทีสู งทีสุ ดในวัฏจักร ดังนันค่าอุณหภูมิสูงสุ ด
ดังกล่าวจึงใช้สาํ หรับในการออกแบบเลือกวัสดุของหม้อต้มและกังหัน หากวัสดุดงั กล่าวสามารถทีจะทนต่อ
อุณหภูมิทีภาวะที 3’ ซึงมีค่ามากกว่าอุณหภูมิทีภาวะที 3 ได้ เราก็จะเลือกทีจะใช้วฏั จักรแรงคินอย่างง่ายหรื อ
ภาวะที 1-2-3’-6-1 แทนการใช้วฏั จักรรี ฮีตเนืองจากประสิ ทธิภาพอุณหภาพทีสู งกว่า

10.5 วัฏจักรรี เจเนอเรทิฟ


วัฏจัก รรี เจเนอเรทิ ฟ (regenerative cycle) เป็ นวัฏจักรที เกิ ดมาจากการแนวคิ ดที จะปรั บปรุ ง
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรแรงคินอย่างง่ายให้ดียงขึิ น แนวคิดดังกล่าวนันมาจากว่าในกระบวนการ
ป้ อนความร้อนเข้าสู่ นาผ่
ํ านทางหม้อต้มของวัฏจักรแรงคินอย่างง่ายในรู ปที 10.8
T
P2 = P3
3
2’

P1 = P4
2

1 4
s
รู ปที 10.8 กระบวนการป้ อนความร้อนเข้าสู่นาผ่
ํ านทางหม้อต้ม

จะเห็นว่าในช่วงแรกของกระบวนการป้ อนความร้อนเข้าสู่ นานั ํ งอยูใ่ น


ํ น เราจะต้องป้ อนความร้อนให้แก่นาซึ
ภาวะของเหลวอัดตัวหรื อภาวะที 2 จนกระทังนํามีอุณหภูมิเพิมขึนจนกลายเป็ นของเหลวอิมตัวในภาวะที 2’
207

ในช่วงนีจะสังเกตได้ว่านําจะมีอุณหภูมิทีตํามากเมือเทียบกับอุณหภูมิของแหล่งจ่ายพลังงานในหม้อต้ม เป็ น
ผลให้ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพมีค่าตําลงไปด้วย ดังนันวัฏจักรรี เจเนอเรทิฟจะเป็ นการปรับปรุ งเพือให้นาที ํ
ผ่านเครื องสู บก่ อนจะเข้าหม้อต้มมีอุณหภูมิทีสู งขึน โดยการใช้อุปกรณ์ ทีเรี ยกว่าเครื องอุ่นนําป้ อน (feed
water heater) ในการเพิมอุณหภูมิของนําทีจะเข้าสู่หม้อต้มหรื อทีเรี ยกสันๆ ว่านําป้ อน
เครื องอุ่นนําป้ อนนันจะมีอยู่ทงหมดสองชนิ
ั ด ชนิ ดแรกจะเป็ นเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด (open
feedwater heater หรื อ direct-contact feedwater heater) ซึงจะมีลกั ษณะเป็ นห้องผสม ดังนันการอุ่นนําป้ อน
จะทําได้โดยการผสมนําป้ อนด้วยไอนําทีอุณหภูมิทีสู งกว่าโดยตรงซึ งจะทําให้นาที ํ ออกมาจากเครื องอุ่นนํา
ป้ อนแบบเปิ ดจะมีอุณหภูมิทีสูงกว่านําป้ อนขาเข้า วัฏจักรรี เจเนอเรทิฟทีใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดจะเป็ น
ดังทีแสดงในรู ปที 10.9
5
T หม้อไอนํา
W& turbine
Q& H กังหัน
5
เครืองอุ่นนําปอน
แบบเปด 6
7
4
3 6 4 2
Q& L
เครือง
2 ควบแน่น
W& pump2 W& pump1
1 7
เครืองสูบ 3 เครืองสูบ 1
s 2 1
(a) (b)
รู ปที 10.9 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรรี เจเนอเรทิฟ
ทีใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด
จะเห็ นได้ว่าไอนําเข้าสู่ กงั หันทีภาวะที 5 หลังจากนันไอนําบางส่ วนจะถูกดึงออกจากกังหันทีความดัน
ระหว่างกลางทีภาวะที 6 ซึ งจะถูกส่ งไปยังเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด ในขณะทีไอนําส่ วนทีเหลือก็จะลด
ความดันลงต่อไปจนกระทังมีความดันเท่ากับความดันเครื องควบแน่นทีภาวะที 7 ไอนําส่ วนนีจะผ่านเครื อง
ควบแน่นจนกลายเป็ นของเหลวอิมตัวทีภาวะที 1 และผ่านเครื องสู บตัวแรกเพือเพิมความดันจากความดัน
เครื องควบแน่นให้เป็ นความดันระหว่างกลางหรื อก็คือภาวะที 2 จากนันนําทีภาวะที 2 นีจะถูกส่ งเข้าสู่เครื อง
อุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดเพือผสมกับไอนําทีภาวะที 6 ทําให้กลายไปเป็ นนําอิมตัวซึงมีอุณหภูมิสูงขึนทีภาวะที 3
ดังนันตรงจุดนีจึงเป็ นการอุ่นนําป้ อนด้วยไอนําทีภาวะที 6 เพือให้มีอุณหภูมิสูงขึนก่อนทีจะเข้าสู่ หม้อต้ม นํา
อิมตัวในภาวะที 3 จะต้องเพิมความดันด้วยเครื องสู บตัวทีสองให้มีความดันเท่ากับความดันหม้อต้มจน
กลายเป็ นของเหลวอัดตัวในภาวะที 4 จากนันก็ป้อนนําส่ วนนี เข้าสู่ หม้อต้มต่อไป จะสังเกตได้ว่าเครื องอุ่น
นําป้ อนนีจะทํางานทีค่าความดันระหว่างกลางซึงมีชือเรี ยกอีกชือหนึงว่าความดันเครื องอุ่นนําป้ อน
208

เครื องอุ่นนําป้ อนชนิดทีสองคือเครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ด (closed feedwater heater หรื อ indirect-
contact feedwater heater) ซึงจะมีลกั ษณะเป็ นอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน ดังนันการอุ่นนําป้ อนทีเกิดขึน
จะเป็ นการแลกเปลียนความร้อนกันระหว่างไอนําทีอุณหภูมิสูงกว่ากับนําป้ อนทีมีอุณหภูมิตากว่ ํ าโดยไม่มี
การสัมผัสกันโดยตรง เครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดนันจะแบ่งย่อยเป็ นอีกสองแบบตามอุปกรณ์เสริ มทีนํามาใช้
ได้แ ก่ เ ครื องอุ่ น นําป้ อนแบบปิ ดร่ ว มกับ เครื องสู บ และเครื องอุ่ น นําป้ อนแบบปิ ดร่ ว มกับ แทรป (trap)
สําหรับวัฏจักรรี เจเนอเรทิฟทีใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดร่ วมกับเครื องสู บ (Cengel and Boles, 2007: 584)
จะแสดงอยูใ่ นรู ปที 10.10
5
หม้อไอนํา
T W& turbine
Q& H กังหัน
5 เครืองอุ่นนําปอน
แบบปด 6
7
4 9 8 2
9 6 Q& L
8 3 ห้องผสม เครือง
2 W& pump1 ควบแน่น
4 เครืองสูบ
1 7 2 3 เครืองสูบ 1
W& pump2
1
s
(a) (b)
รู ปที 10.10 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรรี เจเนอเรทิฟ
ทีใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดร่ วมกับเครื องสูบ
จากรู ปเราจะเห็นได้วา่ ไอนําทีออกมาจากกังหันทีภาวะที 6 และ 7 จะมีความคล้ายคลึงกับวัฏจักรรี เจเนอเรทิฟ
ทีใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด ส่ วนทีแตกต่างกันก็คือไอนําทีดึ งออกมาจากกังหันทีภาวะที 6 จะถูก
แลกเปลียนความร้อนผ่านอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนกับนําทีภาวะที 2 แทนทีจะเกิดการผสมกัน หลังจาก
นันนําภาวะที 2 จะถูกอุ่นขึนไปเป็ นภาวะที 8 ในขณะเดียวกันไอนําทีภาวะที 6 ก็จะควบแน่นกลายไปเป็ น
ของเหลวอิมตัวทีภาวะที 3 จะสังเกตได้ว่าทีเครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดนัน ความดันทีภาวะที 2 และ 8 จะ
เท่ากับความดันหม้อต้มในขณะทีความดันทีภาวะที 6 และ 3 จะเท่ากับความดันระหว่างกลาง เนื องจาก
ความดันของทังสองเส้นมีค่าไม่เท่ากัน ดังนันจึงจําเป็ นจะต้องมีเครื องสู บตัวทีสองเพือเพิมความดันระหว่าง
กลางของภาวะที 3 ให้กลายไปเป็ นความดันหม้อต้มทีภาวะที 4 หลังจากนันนําทีภาวะที 4 จะถูกส่ งไปยัง
ห้องผสมเพือรวมกับนําป้ อนซึงถูกอุ่นแล้วทีภาวะที 8 จนกลายเป็ นนําทีภาวะที 9 แล้วก็จะถูกส่ งไปยังหม้อต้ม
ต่อไป โดยรวมแล้ววัฏจักรรี เจเนอเรทิฟทีใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดแบบนี จะอุ่นนําป้ อนทีภาวะที 2 จน
กลายไปเป็ นนําทีภาวะที 8 โดยจะต้องใช้ร่วมกับเครื องสูบตัวทีสองเพือเพิมความดันให้แก่นาที ํ ภาวะที 3
209

ในส่ วนของวัฏจักรรี เจเนอเรทิฟทีใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดร่ วมกับแทรป (Moran and Shapiro,
2004: 373) จะแสดงอยูใ่ นรู ปที 10.11
5
หม้อไอนํา
T W& turbine
Q& H กังหัน
5 เครืองอุ่นนําปอน
แบบปด 6
7
8 2 Q& L
8 6 เครือง
2 3
W& pump1 ควบแน่น
1 4 7 4
เครืองสูบ 1
3 1 แทรป
s
(a) (b)
รู ปที 10.11 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรรี เจเนอเรทิฟ
ทีใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดร่ วมกับแทรป
จากรู ปจะเห็นได้ว่ารู ปแบบการแลกเปลียนความร้อนทีเครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดแบบนี จะเหมือนกับกรณี
ของเครื องอุ่น นําป้ อนแบบปิ ดที ใช้ร่วมกับเครื องสู บทุกประการ กล่าวคือเกิ ดการแลกเปลี ยนความร้ อน
ระหว่างไอนําทีดึงออกมาจากกังหันทีภาวะที 6 กับนําป้ อนทีภาวะที 2 โดยไอนําทีภาวะที 6 จะควบแน่นไป
เป็ นของเหลวอิมตัวทีภาวะที 3 ในขณะทีนําป้ อนทีภาวะที 2 จะก็ถูกอุ่นขึนไปเป็ นภาวะที 8 ทังนีความดัน
ของภาวะที 2 และ 8 คือความดันหม้อต้ม ส่ วนความดันทีภาวะที 6 และ 3 คือความดันระหว่างกลาง ส่ วนที
แตกต่างกันระหว่างการใช้เครื องสู บกับการใช้แทรปก็คือในกรณี ทีของแทรปเราจะส่ งนําทีภาวะที 8 เข้าสู่
หม้อต้มไปเลยโดยไม่มีการผสมกันทีห้องผสม ในส่ วนของนําทีภาวะที 3 นันแทนทีเราจะใช้เครื องสู บใน
การเพิมความดัน เรากลับลดความดันทีภาวะที 3 ลงโดยใช้แทรป ซึ งมีลกั ษณะเดียวกับธรอตทลิงวาล์ว นํา
ในภาวะของเหลวอิมตัวทีภาวะที 3 ก็จะลดความดันลงจนเท่ากับความดันเครื องควบแน่นทีภาวะที 4 ซึงจะ
ปรากฏเป็ นของผสมสองสถานะ จากนันของผสมสองสถานะทีภาวะที 4 ก็จะถูกส่ งกลับไปทีเครื องควบแน่น
จะสังเกตจากรู ปที 10.11 (a) ได้ว่าเราจะใช้เส้นประแทนกระบวนการธรอตทลิงผ่านแทรปเนื องจาก
กระบวนการดังกล่าวเป็ นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ นอกจากนี ข้อดีของการใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดที
ใช้ร่วมกับแทรปก็คือเราไม่จาํ เป็ นจะต้องใช้เครื องสูบเพิมอีกอีกเครื องในการทํางาน
หากเราเปรี ยบเทียบข้อดีและข้อเสี ยของเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดและแบบปิ ด เราจะพบว่าข้อดีของ
เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดก็คือระบบไม่ซบั ซ้อน ราคาถูก และมีการถ่ายเทความร้อนทีมีประสิ ทธิภาพดีกว่า
เพราะเป็ นการผสมกันโดยตรง แต่ขอ้ เสี ยของของเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดก็คือจะต้องมีเครื องสู บสําหรับ
ใช้กบั เครื องอุ่นนําป้ อนแต่ละเครื องเสมอ ส่ วนเครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ดนันระบบจะซับซ้อนกว่า ราคาแพง
210

และมีการถ่ายเทความร้อนทีมีประสิ ทธิภาพไม่ดีเท่าเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด แต่ขอ้ ดีกค็ ือเราสามารถเลือก


ทีจะแทรปในการทํางานแทนเครื องสูบต่อเครื องอุ่นนําป้ อนแต่ละเครื องได้ ในโรงจักรไอนําทีใช้งานจริ งนัน
อาจจะมีเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดและปิ ดร่ วมกันมากกว่าหนึงเครื องก็ได้ โดยทัวไปแล้วจะต้องมีเครื องอุ่น
นําป้ อนแบบเปิ ดอย่างน้อยหนึ งเครื องเพือใช้ในการดึงอากาศออก (deaeration) ทังนี เนื องจากนําทีไหลเวียน
อยู่ในวัฏจักรอาจจะมีแก๊สต่างๆ รวมทังอากาศเข้าไปผสมอยู่ ดังนันจึงมีความจําเป็ นจะต้องนําแก๊สเหล่านี
ออกจากนําเพือป้ องกันการกัดกร่ อนทีจะเกิดขึนในระบบ

ตัวอย่างที 10.2
โรงจักรไอนําแห่ งหนึ งมีการทํางานเป็ นวัฏจักรรี ฮีตร่ วมกับเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดโดยมีอตั รา
ไหลของไอนํารวมที 50 kg/s ไอนําทีป้ อนเข้าสู่ กงั หันมีความดัน 3 MPa อุณหภูมิ 500oC ในขณะทีความดัน
เครื องควบแน่นเท่ากับ 10 kPa ไอนําทีออกจากกังหันความดันสู งจะมีความดันระหว่างกลางเท่ากับ 500 kPa
จากนันไอนําบางส่ วนจะแยกเข้าทําไปทําการรี ฮีตทีหม้อต้มจนมีอุณหภูมิ 500oC ในขณะทีไอนําส่ วนทีเหลือ
ถูกป้ อนเข้าสู่ เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด จงหากําลังสุ ทธิของโรงจักรไอนําและประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
วิธีทาํ
สมมติฐานเบืองต้น:
1) วัฏจักรรี ฮีตร่ วมกับเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดเป็ นวัฏจักรอุดมคติ
2) สามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: m& , P5, T5, P8, P6, T7
ตัวแปรทีต้องการ: W& net , ηth
กังหัน กังหัน
T 5 ความดันสูง ความดันตํา
P=3 MPa หม้อไอนํา
W& turbine
P=500 kPa Q& H
o 5 7 6
500 C
4 8
3 6 7
P = 10 kPa 4 เครืองอุ่น 2
Q& L
2 นําปอน เครือง
W& pump2 แบบเปด W& pump1 ควบแน่น
1 8
เครืองสูบ 3 เครืองสูบ 1
s 2 1

ในข้อนี เป็ นการปรับปรุ งวัฏจักรแรงคินอย่างง่ายในตัวอย่างที 10.1 โดยการเพิมการรี ฮีตและเครื อง


อุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดเข้าไป ดังนันเราจึงหาสมบัติทีภาวะต่างๆ ได้ดงั ต่อไปนี
211

ภาวะที 1: P1 = P8 = 10 kPa
x1 = 0 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของเหลวอิมตัว
v1 = vf = 0.001010 m3/kg
h1 = hf = 191.81 kJ/kg
ภาวะที 2: P2 = P6 =500 kPa
ใช้วิธีการหาเอนธัลปี ทีภาวะที 2 เช่นเดียวกับตัวอย่างที 10.1 กล่าวคือสําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กผ่าน
เครื องสูบ โดยการตังสมมติฐานให้นาเป็ ํ นสารอัดไม่ได้จึงทําให้ v ≈ ค่าคงตัว = v1
h 2 = h 1 + v 1 (P2 − P1 )
m3 ⎞
h 2 = 191.81 + ⎜ 0.001010 ⎟ (500 − 10 kPa )
kJ ⎛
kg ⎝ kg ⎠
h 2 = 192.305 kJ / kg

ภาวะที 3: P3 = P6 = 500 kPa


x1 = 0 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของเหลวอิมตัว
v3 = vf = 0.001093 m3/kg
h3 = hf = 640.21 kJ/kg
ภาวะที 4: P4 = P5 = 3 MPa
ใช้วิธีการหาเอนธัลปี ทีภาวะที 4 เช่นเดียวกับวิธีการหาเอนธัลปี ทีภาวะที 2 กล่าวคือสําหรับกระบวนการ
ไอเซนโทรปิ กผ่านเครื องสูบ โดยการตังสมมติฐานให้นาเป็ ํ นสารอัดไม่ได้จึงทําให้ v ≈ ค่าคงตัว = v3
h 4 = h 3 + v 3 (P4 − P3 )
m3 ⎞
h 4 = 640.21 + ⎜ 0.001093 ⎟ (3,000 − 500 kPa )
kJ ⎛
kg ⎝ kg ⎠
h 4 = 642.943 kJ / kg

ภาวะที 5: P5 = 3 MPa
T5 = 500oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
h5 = 3,456.48 kJ/kg
s5 = 7.2337 kJ/kg-K
ภาวะที 6: P6 = 500 kPa
s6 = s5 = 7.2337 kJ/kg-K ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
h6 = 2,942.216 kJ/kg (จากการประมาณในช่วงแบบเชิงเส้น)
212

ภาวะที 7: P7 = P6 =500 kPa


T7 = 500oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
h7 = 3,483.82 kJ/kg
s7 = 8.0872 kJ/kg-K
ภาวะที 8: P8 = 10 kPa
s8 = s7 = 8.0872 kJ/kg-K ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
s 8 = (1 − x 8 ) s f + x 8 s g
kJ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
8.0872 = (1 − x 8 ) ⎜ 0.6492 ⎟ + (x 8 ) ⎜ 8.1501 ⎟
kg − K ⎝ kg − K ⎠ ⎝ kg − K ⎠
x 8 = 0.99161
จากนันหาเอนธัลปี ทีภาวะที 8
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
h 8 = (1 − x 8 ) h f + x 8 h g = ( 0.00839 )⎜ 191.81 ⎟ + ( 0.99161)⎜ 2 ,584.63 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
h 8 = 2 ,564.565 kJ/kg
เมือทราบเอนธัลปี ของทุกๆ ภาวะทีปรากฏในวัฏจักรแล้ว เราจะเริ มต้นประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โม
ไดนามิกส์ทีเครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดซึ งจะทําให้เราหาสัดส่ วนของไอนําทีแยกสู่ กงั หันความดันตําและ
สัดส่ วนของไอนําทีเข้าสู่ เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด
ปริ มาตรควบคุม: เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด
กระบวนการ: ไอโซบาริ กและแอเดียแบติก
สมการอนุรักษ์มวลจะลดรู ปเป็ น
m& 3 = m& 6 + m& 2
ทังนี m& 3 เป็ นอัตราการไหลรวมทังหมด ดังนัน m& 3 = m& = 50 kg / s จากนันถ้าเรากําหนดให้ m& 6 = y m&
โดยที y คือสัดส่ วนของไอนําทีเข้าสู่ เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ด ดังนันไอนําส่ วนทีแยกเข้าสู่ กงั หันความดัน
ตําหรื อ m& 2 จะหาได้จากสมการอนุรักษ์มวลกล่าวคือ
m& = y m& + m& 2
m& 2 = (1 − y )m&
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
0 = ∑ m& i h i −∑ m& e h e
0 = m& 6 h 6 + m& 2 h 2 − m& 3 h 3
213

แทนค่าให้อยูใ่ นรู ปของ y และ m& จะได้วา่


0 = y m& h 6 + (1 − y ) m& h 2 − m& h 3
h −h 640.21 − 192.305 kJ / kg
y = 3 2 =
h6 − h2 2 ,942.216 − 192.305 kJ / kg
y = 0.16288
เมือทราบค่า y แล้ว เราจึงทราบอัตราไหลของไอนําส่ วนทีแยกเข้าสู่ กงั หันความดันตําหรื อ m& 2 และอัตรา
ไหลของไอนําทีเข้าสู่ เครื องอุ่นนําป้ อนแบบเปิ ดหรื อ m& 6 ดังนันเราจึงสามารถประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึงของ
เธอร์โมไดนามิกส์ทีอุปกรณ์ต่างๆ ได้
ปริ มาตรควบคุม: เครื องสูบ 1
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
W& pump1 = m& 1 (h 1 − h 2 ) = (1 − y ) m& (h 1 − h 2 )
kg ⎛ kJ ⎞
W& pump1 = ( 1 − 0.16288 ) 50 ⎜ 191.81 − 192.305 ⎟ = − 20.715 kW
s ⎝ kg ⎠
ปริ มาตรควบคุม: เครื องสูบ 2
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
W& pump 2 = m& 3 (h 3 − h 4 ) = m& (h 3 − h 4 )
kg ⎛ kJ ⎞
W& pump 2 = 50 ⎜ 640.21 − 642.943 ⎟ = − 136.625 kW
s ⎝ kg ⎠
ปริ มาตรควบคุม: กังหันความดันสูงและความดันตํารวมกัน
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
W& turbine = ∑ m& h − ∑ m& h =
i i e e m& (h 5 − h 6 ) + (1 − y ) m& (h 7 − h 8 )
kg ⎛ kJ ⎞ kg ⎛ kJ ⎞
W& turbine = 50 ⎜ 3,456.48 − 2 ,942.216 ⎟ + ( 1 − 0.16288 ) 50 ⎜ 3,483.82 − 2 ,564.565 ⎟
s ⎝ kg ⎠ s ⎝ kg ⎠
W& turbine = 64,189.564 kW
ดังนัน W& net = W& pump1 + W& pump 2 + W& turbine = ( − 20.715) + ( − 136.625) + 64 ,189.564 kW
W& net = 64 ,032.23 kW = 64.032 MW คําตอบ
214

ปริ มาตรควบคุม: หม้อต้มรวมกระบวนการรี ฮีต


กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
Q& boiler = Q& H = ∑ m& h − ∑ m& h = m& (h − h ) + (1 − y ) m& (h − h )
e e i i 5 4 7 6

kg ⎛ kJ ⎞ kg ⎛ kJ ⎞
Q& H = 50 ⎜ 3,456.48 − 642.943 ⎟ + ( 1 − 0.16288 ) 50 ⎜ 3,483.82 − 2,942.216 ⎟
s ⎝ kg ⎠ s ⎝ kg ⎠
Q& H = 163,346.26 kW
ดังนันประสิ ทธิภาพอุณหภาพจะหาได้จาก
W& net 64 ,032.23 kW
ηth = =
Q& H 163,346.26 kW
ηth = 0.3920 = 39.20 % คําตอบ
หมายเหตุ
1) เราสามารถหาค่า W& net ได้อีกวิธีโดยการหาความร้ อนทีทิ งออกจากวัฏจักรผ่านทางเครื องควบแน่ น
เช่นเดียวกับตัวอย่างที 10.1 กล่าวคือ
ปริ มาตรควบคุม: เครื องควบแน่น
กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะลดรู ปเป็ น
Q& cond . = Q& L = m& 8 (h 1 − h 8 ) = (1 − y ) m& (h 1 − h 8 )
kg ⎛ kJ ⎞
Q& L = ( 1 − 0.16288 ) 50 ⎜ 191.81 − 2 ,564.565 ⎟ = − 99,314.035 kW
s ⎝ kg ⎠
ดังนันจากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ของวัฏจักรหรื อสมการที 5.2 ซึงลดรู ปแล้ว จะได้วา่
W& net = Q& H + Q& L = 163,346.260 + ( − 99,314.035 ) kW = 64 ,032.225 kW

2) สิ งทีน่ าสังเกตเกี ยวกับวัฏจักรแรงคินอีกอย่างหนึ งก็คือว่างานสุ ทธิ ทีได้นันเกิ ดจากงานทีใส่ เข้าไปใน


เครื องสูบทังสองตัวและงานทีได้จากกังหัน กล่าวคือ
W& net = W& pump1 + W& pump 2 + W& turbine = ( − 20.715) + ( − 136.625) + 64 ,189.564 kW

จะเห็นได้ว่าขนาดของงานทีใส่ เข้าไปในเครื องสู บทังสองรวมกันคิดเป็ นเพียงร้อยละ 0.25 เท่านัน ซึงถือว่า


น้อยมากเมือเทียบกับงานทีได้จากกังหัน ทังนี เหตุผลก็มาจากความแตกต่างกันของปริ มาตรจําเพาะของ
215

ของเหลวและแก๊สทีมีต่อสมการที 9.12 หรื อ w = −


∫ v dP ในหัวข้อที 9.4
i
ดังนันในทางปฏิบตั ิเรา

สามารถจะประมาณงานสุ ทธิ ให้เท่ากับงานทีได้จากกังหันโดยตรงได้เลย โดยไม่ตอ้ งคิดงานจากเครื องสู บ


รวมเข้าไปด้วย ทังนีความคลาดเคลือนทีเกิดขึนก็จะมีค่าไม่เกินร้อยละ 1 ซึงถือว่ายอมรับได้ในทางวิศวกรรม

10.6 ความเบียงเบนของวัฏจักรจริ งจากวัฏจักรอุดมคติ


ปัจจัยสําคัญทีทําให้วฏั จักรจริ งเบียงเบนไปจากวัฏจักรอุดมคตินนมี
ั ดงั ต่อไปนี
1) การย้อนกลับไม่ได้ภายในกังหันซึงเป็ นผลให้งานทีได้จากกังหันจริ งมีค่าน้อยกว่างานทีได้จากกังหันอุดม
คติทีมีกระบวนการเป็ นแบบไอเซนโทรปิ ก ในหัวข้อที 9.6 เราได้กล่าวถึงประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ ก
ของกังหันซึงเป็ นตัวบ่งชีว่ากังหันจริ งเบียงเบนออกจากกังหันอุดมคติเท่าไร
2) การย้อนกลับไม่ได้ภายในเครื องสูบซึงเป็ นผลให้งานทีใส่ เข้าไปในเครื องสูบจริ งมีค่ามากกว่างานทีใส่ เข้า
ไปในเครื องสู บอุดมคติทีมีกระบวนการเป็ นแบบไอเซนโทรปิ ก ในหัวข้อที 9.6 เราได้กล่าวถึ ง
ประสิ ทธิ ภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องสู บเช่นเดียวกับกังหันทีกล่าวไปในข้างต้น ผลของการย้อนกลับ
ไม่ได้ภายในกังหันและเครื องสูบจะทําให้วฏั จักรแรงคินอุดมคติเบียงเบนไปดังทีแสดงในรู ปที 10.12
T
3

2
2s

1 4s 4
s
รู ปที 10.12 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี แสดงผลของการย้อนกลับไม่ได้ของกังหันและเครื องสูบ
ต่อวัฏจักรแรงคินอุดมคติ

3) แรงเสี ยดทานภายในท่อต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิงภายในหม้อต้มและเครื องควบแน่ น แรงเสี ยดทาน


เหล่านีจะทําให้เกิดความดันตกขึนภายในระบบ ดังนันไอนําทีออกจากหม้อต้มก็จะมีความดันตํากว่านํา
ทีเข้าสู่ หม้อต้ม ในขณะเดี ยวกันนําที ออกจากเครื องควบแน่ นก็จะมีความดันตํากว่านําที เข้าสู่ เครื อง
ควบแน่น นอกจากนี แรงเสี ยดทานยังเกิดขึนภายในท่อทีเชือมต่อระหว่างอุปกรณ์ชินต่างๆ ด้วย ดังนัน
เครื องสูบจึงต้องการงานทีใส่ เข้าไปในปริ มาณทีเพิมขึนเพือเอาชนะแรงเสี ยดทานทีเกิดขึน
4) ความร้อนสูญเสี ยจากอุปกรณ์ชินต่างๆ และท่อไปยังสิ งล้อมรอบ ซึงจะเป็ นผลให้ภาวะต่างๆ ของนําทีอยู่
ในวัฏจักรมีค่าเบียงเบนไป ดังนันเพือทีจะรักษาภาวะของนําให้ได้ตามทีต้องการ เราจึงต้องใส่ ความร้อน
เพิมเข้าไปในหม้อต้มเพือชดเชยกับความร้อนสูญเสี ยไปสู่ สิงล้อมรอบดังทีกล่าวมา
216

5) ปั จจัยอืนๆ เช่น แรงเสี ยดทานในอุปกรณ์ทางกลทีเคลือนไหวได้ การสู ญเสี ยไอนําทีรัวออกจากระบบ


งานทีใส่ เพิมเข้าไปในอุปกรณ์เสริ มเช่นเครื องเป่ าลมหรื อพัดลม เป็ นต้น

10.7 การร่ วมผลิตกําลังและความร้อน


จากทีผ่านมาเราจะสังเกตได้ว่าจุดมุ่งหมายของวัฏจักรแรงคินก็คืองานเพลาจากกังหัน ซึ งโดยมาก
แล้วงานเพลาทีได้ก็จะนําไปใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้ าผ่านทางเครื องกําเนิดไฟฟ้ า (generator) แต่ในการ
ผลิ ตทางอุตสาหกรรมนันนอกเหนื อจากพลังงานไฟฟ้ าแล้ว เรายังต้องการพลังงานความร้ อนเพือใช้ใน
กระบวนการผลิตเช่นกันตัวอย่างเช่น การใช้ความร้อนในกระบวนการทางเคมีในอุตสาหกรรมฟอกย้อม การ
ใช้ความร้อนในการฆ่าเชือจุลินทรี ยใ์ นอุตสาหกรรมอาหาร การใช้ความร้อนในการควบคุมคุณภาพของไม้
ในอุตสาหกรรมไม้แปรรู ป เป็ นต้น ดังนันจะเห็ นได้ว่าในอุตสาหกรรมส่ วนใหญ่แล้วเรามีความจําเป็ น
จะต้องใช้พลังงานความร้อนร่ วมกับพลังงานไฟฟ้ าอยู่เสมอ จึงมีแนวความคิดทีจะใช้ระบบร่ วมผลิตกําลัง
และความร้อน (cogeneration system) ซึงหมายถึงระบบทีสามารถผลิตได้ทงไฟฟ้ั าและความร้อนพร้อมกัน
จากแหล่งพลังงานแหล่งเดียว ตัวอย่างของระบบร่ วมผลิตกําลังและความร้อนนันได้แสดงอยูใ่ นรู ปที 10.13
(Borgnakke and Sonntag, 2009: 398)
กังหัน กังหัน
5 ความดันสูง ความดันตํา
หม้อไอนํา
W& turbine
ไอนําในการ
Q& H ผลิตความร้อน
6

7
8
4 2
ห้องผสม Q& L
เครือง
W& pump2 W& pump1 ควบแน่น

เครืองสูบ 3 เครืองสูบ 1
2 1
รู ปที 10.13 ตัวอย่างแผนภาพอุปกรณ์ของระบบร่ วมผลิตกําลังและความร้อน

จากรู ปจะเห็นได้ว่าไอนําทีออกมาหม้อต้มได้เข้าสู่ กงั หันความดันสู งและถูกดึงออกมาใช้บางส่ วนทีภาวะที 6


ในการเป็ นแหล่งความร้อนให้กบั กระบวนการผลิต ในขณะทีไอนําอีกส่ วนก็จะผ่านกังหันความดันตําเพือ
ผลิตงานเพลาซึงต่อไปยังเครื องกําเนิดไฟฟ้ าในการผลิตไฟฟ้ าตามลําดับ สําหรับไอนําทีภาวะที 6 นันจะถูก
ส่ งไปยังจุดทีต้องการเพือใช้ในการผลิตความร้อนผ่านอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน เป็ นผลให้ไอนําทีภาวะ
ที 6 คายความร้อนออกและกลันตัวเป็ นของเหลวในภาวะที 8 ซึงมีชือว่าของเหลวผลควบแน่น (condensate)
หลังจากนันของเหลวผลควบแน่นจะถูกนํามาผสมรวมกันกับนําทีผ่านเครื องสู บตัวแรกจนมีอุณหภูมิเพิมขึน
เป็ นภาวะที 3 จากนันก็จะถูกส่ งต่อไปยังเครื องสูบตัวทีสองเพือเพิมความดันและป้ อนเข้าสู่ หม้อต้มต่อไป
217

10.8 วัฏจักรกําลังมาตรฐานอากาศ
จากทีผ่านมาเราได้กล่าวถึงวัฏจักรแรงคินซึ งทํางานในรู ปแบบของวัฏจักรไอ อย่างไรก็ตามยังมี
เครื องยนต์ความร้อนอีกประเภทหนึ งทีทํางานเป็ นวัฏจักรแก๊สซึ งหมายถึงของไหลทํางานอยูใ่ นสถานะแก๊ส
เพียงอย่างเดียว ตัวอย่างของเครื องยนต์ความร้อนประเภทนี ได้แก่เครื องยนต์เผาไหม้ภายในซึ งประกอบไป
ด้วยเครื องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟ (spark-ignition engine หรื อ SI engine) ซึ งก็คือเครื องยนต์ทีใช้
นํามันแกโซลีนเป็ นเชือเพลิง และเครื องยนต์จุดระเบิดด้วยการอัด (compression-ignition engine หรื อ CI
engine) ซึ งก็คือเครื องยนต์ทีใช้นามัํ นดี เซลเป็ นเชื อเพลิง นอกจากนี ยังมีเครื องยนต์ความร้อนทีอยู่ใน
ประเภทเครื องยนต์กงั หันแก๊ส (gas turbine engine) ทีใช้สําหรับในการผลิตกระแสไฟฟ้ าและใช้เป็ น
เครื องยนต์ไอพ่นสําหรั บอากาศยาน เครื องยนต์ความร้ อนซึ งเป็ นวัฏจักรแก๊สนันจะทํางานในลักษณะ
ของวัฏจักรเปิ ดกล่าวคือมีการทําปฏิกิริยาเคมีระหว่างเชือเพลิงและอากาศเพือทําให้เกิดการเผาไหม้แล้วคาย
ความร้อนออกมาเพือทําหน้าทีเป็ นแหล่งจ่ายพลังงานให้กบั เครื องยนต์ความร้อน จากนันไอเสี ยซึ งเป็ นผลที
ได้จากการเผาไหม้ก็จะถูกปล่อยออกสู่ บรรยากาศ หากพิจารณาหลักความเป็ นจริ งแล้วของไหลทํางานใน
วัฏจักรเปิ ดจะไม่ได้ทาํ งานครบรอบตามวัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิกส์ ดังนันเพือทําให้สามารถวิเคราะห์การ
ทํางานของเครื องยนต์ในลักษณะดังกล่าวได้ง่ายขึนรวมทังหลีกเลียงความซับซ้อนทีเกิดจากการเผาไหม้ เรา
จึงมีการนิยามวัฏจักรมาตรฐานอากาศ (air-standard cycle) ซึงประกอบไปด้วยสมมติฐานดังต่อไปนี
1) อากาศเป็ นของไหลทํางานเพียงอย่างเดียวตลอดทังวัฏจักรโดยทีไม่มีเชือเพลิงและไอเสี ยมาเกียวข้อง
2) อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
3) กระบวนการเผาไหม้ถูกแทนทีด้วยกระบวนการถ่ายเทความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูง
ภายนอกเข้าสู่ อากาศ
4) กระบวนการปล่อยไอเสี ยทิงสู่ บรรยากาศถูกแทนทีด้วยกระบวนการถ่ายเทความร้อนจากอากาศสู่
แหล่งรับพลังงานอุณหภูมิตาภายนอก

5) กระบวนการทีเกิดขึนทังหมดในวัฏจักรเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ภายใน
สมมติฐานทังห้าข้อดังกล่าวจะมีชือเรี ยกว่าโดยรวมว่าสมมติฐานมาตรฐานอากาศ (air-standard assumption)
แต่ถา้ มีการเพิมสมมติฐานเข้าไปอีกหนึงข้อกล่าวคืออากาศมีค่าความร้อนจําเพาะเป็ นค่าคงตัวทีอุณหภูมิ 25oC
เราจะเรี ยกสมมติฐานทังหมดหกข้อนีว่าสมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น (cold-air-standard assumption) ทังนี
สมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็นจะทําให้สามารถวิเคราะห์วฏั จักรแก๊สได้อย่างสะดวกและรวดเร็ ว แต่ความ
แม่นยําทีได้จะลดลงเนื องจากช่วงการเปลียนแปลงของอุณหภูมิมีค่าค่อนข้างมากซึ งจะทําให้ค่าความร้อน
จําเพาะของอากาศเปลียนแปลงตามอุณหภูมิ อย่างไรก็ตามเราสามารถใช้สมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น
กับวัฏจัก รแก๊ ส เพือเป็ นแบบจํา ลองเบื องต้น ในการศึ ก ษาวัฏจัก รแก๊ สในเชิ งคุ ณภาพโดยเฉพาะอย่างยิง
การศึกษาของผลกระทบของตัวแปรต่างๆ ทีมีต่อสมรรถนะของเครื องยนต์ความร้อน จากนันเราก็สามารถ
นําผลทีได้ไปใช้เป็ นแนวทางในการทํานายพฤติกรรมของเครื องยนต์จริ งต่อไป
218

10.9 วัฏจักรเบรย์ตนั
วัฏจักรกําลังอุ ดมคติ ที เป็ นวัฏจักรแก๊สและใช้เ ป็ นแบบจําลองสําหรั บเครื องยนต์กังหัน แก๊สคื อ
วัฏจักรเบรย์ตนั (Brayton cycle) ในทางปฏิบตั ิเครื องยนต์กงั หันแก๊สนันจะใช้การเผาไหม้ระหว่างเชือเพลิง
และอากาศเป็ นแหล่งจ่ายพลังงานให้กบั ไอเสี ยเพือให้ไอเสี ยมีความดันและอุณหภูมิสูงขึน จากนันก็นาํ ไปขับ
กังหันและก่อให้เกิดงานเพลาแล้วก็จะปล่อยไอเสี ยทิงสู่ บรรยากาศ โดยอาศัยสมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น
วัฏจักรเบรย์ตนั จะมีอากาศเป็ นของไหลทํางานซึงประกอบไปด้วยกระบวนการสี กระบวนการกล่าวคือ
1) กระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้ภายในผ่านเครื องอัด
2) กระบวนการไอโซบาริ กย้อนกลับได้ภายในผ่านห้องเผาไหม้ (combustion chamber)
3) กระบวนการแอเดียแบติกย้อนกลับได้ภายในผ่านกังหันแก๊ส
4) กระบวนการไอโซบาริ กย้อนกลับได้ภายในผ่านอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน ซึ งกระบวนการนี
อาจจะมีหรื อไม่มีกไ็ ด้ ในกรณี ทีมีวฏั จักรจะเป็ นแบบปิ ด แต่ถา้ ไม่มีวฏั จักรก็จะเป็ นแบบเปิ ด
เราจะสามารถเขียนแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายทีเป็ นแบบ
เปิ ดได้ดงั รู ปที 10.14 (a) และ 10.14 (b) ตามลําดับ
T 3 P2 = P3 Q& H

P1 = P4 ห้องเผาไหม้

4 2 3

2 W& net
เครืองอัด กังหัน

1 1 4
s
(a) (b)
รู ปที 10.14 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายแบบเปิ ด

จากรู ปจะเห็นได้ว่าวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายแบบเปิ ดจะดูดอากาศจากบรรยากาศภายนอกทีภาวะที 1 เข้าสู่


เครื องอัดซึงจะทําให้ความดันของอากาศภายนอก P1 เพิมขึนเป็ น P2 หลังจากนันอากาศก็จะถูกป้ อนเข้าสู่หอ้ ง
เผาไหม้เพือรับความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานภายนอกจนมีอุณหภูมิเพิมสู งขึน ต่อมาอากาศก็จะถูกส่ งผ่าน
กังหันเพือหมุนใบพัดทําให้เกิดงานเพลาแล้วความดันของอากาศก็จะลดลงเท่ากับความดันอากาศภายนอก
ก่อนจะปล่อยทิงสู่ บรรยากาศ ข้อสังเกตอย่างหนึ งก็คือว่าในวัฏจักรเบรย์ตนั จะมีความดันอยู่เพียงสองค่า
เท่านัน กล่าวคือ P1 = P4 ซึงส่ วนมากจะมีความดันใกล้เคียงกับความดันบรรยากาศภายนอก และ P2 = P3 ซึงก็
คือความดันของอากาศหลังจากการอัดผ่านเครื องอัด ดังนันเราจะนิ ยามอัตราส่ วนความดัน (pressure ratio
หรื อ rP) ได้คือ
219

P2 P
rP = = 3 (10.1)
P1 P4
ั องยนต์กงั หันแก๊สส่ วนมากจะทํางานในลักษณะทีคล้ายคลึงกับวัฏจักรเบรย์ตนั แบบเปิ ด
ในทางปฏิบตั ินนเครื
ทีแสดงในรู ปที 10.14 ซึงจะนําไปใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้ าหรื อใช้เป็ นเครื องยนต์ไอพ่นสําหรับอากาศยาน
แต่ถา้ เรานําอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนมาชินหนึ งแล้วเชือมต่อระหว่างภาวะที 4 และภาวะที 1 ในรู ปที
10.14 (b) โดยทีอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนนี จะดึงความร้อนของอากาศทีออกจากกังหันให้เย็นลงจน
เท่ากับอุณหภูมิของอากาศภายนอก เป็ นผลให้วฏั จักรเบรย์ตนั กลายไปเป็ นแบบปิ ดซึ งจะสามารถเขียน
แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ได้ดงั รู ปที 10.15 (a) และ 10.15 (b) ตามลําดับ วัฏจักร
เบรย์ตนั แบบปิ ดนันส่ วนมากจะนําไปใช้ร่วมกับโรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์
Q& H

T 3 P2 = P3 ห้องเผาไหม้
2 3
P1 = P4
W& net
4
เครืองอัด กังหัน
2
1 4
อุปกรณ์แลก
เปลียนความร้อน
1
s Q& L

(a) (b)
รู ปที 10.15 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายแบบปิ ด

โดยอาศัยสมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น เราสามารถเขียนกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ ที


อุปกรณ์ชินต่างๆ ต่ออัตราไหลเชิงมวลของอากาศได้ดงั นัน
ปริ มาตรควบคุม: เครื องอัด w comp . = h 1 − h 2 = C P 0 (T1 − T2 )
ปริ มาตรควบคุม: ห้องเผาไหม้ q comb . = q H = h 3 − h 2 = C P 0 (T3 − T2 )
ปริ มาตรควบคุม: กังหัน w turbine = h 3 − h 4 = C P 0 (T3 − T4 )
ดังนัน w net = w comp . + w turbine = C P 0 (T3 − T4 + T1 − T2 )
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายคือ
w net C P 0 (T3 − T4 + T1 − T2 ) T −T T (T / T − 1)
ηth = = = 1− 4 1 = 1− 1 4 1 (10.2)
qH C P 0 (T3 − T2 ) T3 − T2 T2 (T3 / T2 − 1)
220

เนื องจากกระบวนการจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 และกระบวนการจากภาวะที 3 ไปยังภาวะที 4 เป็ น


กระบวนการไอเซนโทรปิ ก ดังนันจะสามารถเขียนได้วา่
k k
P2 ⎛ T2 ⎞ k −1 P3 ⎛ T3 ⎞ k −1
=⎜ ⎟ และ =⎜ ⎟
P1 ⎜⎝ T1 ⎟⎠ P4 ⎜⎝ T4 ⎟⎠
แต่ P1 = P4 และ P2 = P3 จึงทําให้สมการข้างต้นเขียนได้เป็ น
T2 T3 T4 T3
= หรื อ =
T1 T4 T1 T2
นําผลทีได้ไปแทนลงในสมการที 10.2 ผลทีได้คือ
k −1
T1 ⎛P ⎞ k 1
ηth = 1 − = 1 − ⎜⎜ 1 ⎟⎟ = 1−
T2 ⎝ P2 ⎠ (P2 / P1 )( k −1 ) / k
1
ηth = 1 − (10.3)
rP ( k −1 ) / k
จะเห็นได้ว่าในกรณี ถา้ k ของอากาศเป็ นค่าคงตัว ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายจะ
ขึนอยูก่ บั อัตราส่ วนความดันเพียงอย่างเดียว ในทางปฏิบตั ิเราไม่สามารถเปลียน P1 ได้เนืองจากเป็ นความดัน
บรรยากาศภายนอก ดังนันตัวแปรทีเราสามารถจะเปลียนได้ก็คือ P2 เมือพิจารณาสมการที 10.3 แล้วจะ
พบว่าเมือ P2 เพิมขึน rP ก็จะเพิมขึน ส่ งผลให้ ηth มีค่าเพิมขึนตามไปด้วย เป็ นผลให้แผนภาพอุณหภูมิ-เอน
โทรปี จะเป็ นดังทีแสดงในรู ปที 10.16
T P2’ = P3’
3’
P2 = P3
3
P1 = P4
4
2’
2

1
s
รู ปที 10.16 ผลของการเพิมอัตราส่ วนความดันของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่าย

จากรู ปจะเห็นได้วา่ เมือเพิมค่าความดัน P2 ไปเป็ น P2’ ผลก็คือทังงานสุ ทธิและความร้อนป้ อนเข้าสู่ วฏั จักรมี
ค่าเพิมขึนในปริ มาณทีเท่ากันซึงเท่ากับพืนทีแรเงาหรื อพืนที 2-2’-3’-3-2 เป็ นผลให้ประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
221

ของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายมีค่าเพิมขึนซึงสอดคล้องกับแนวโน้มทีได้จากสมการที 10.3 อนึงจะสังเกตได้


ว่า T3 เป็ นอุณหภูมิสูงสุ ดของวัฏจักรซึ งโดยทัวไปแล้วอุณหภูมิ T3 จะใช้สําหรับเป็ นเงือนไขในการ
ออกแบบเลือกวัสดุทีใช้ทาํ กังหัน ดังนันการขยับ T3 ไปเป็ น T3’ นันจะต้องคํานึงถึงข้อจํากัดทางด้านวัสดุดงั ที
กล่าวมาด้วย
ในทางปฏิบตั ินนเราจะทราบความดั
ั น P1 และอุณหภูมิ T1 ซึงถูกกําหนดโดยความดันและอุณหภูมิ
ของบรรยากาศภายนอก และในขณะเดียวกัน T3 ก็จะถูกกําหนดตามชนิดของวัสดุทีใช้ทาํ กังหัน ดังนันถ้าเรา
ให้ P1, T1 และ T3 เป็ นค่าคงตัว หากเราใช้ผลของสมการที 10.3 มาใช้โดยลองทําการเพิม rP ขึนเรื อยๆ
เพือทีจะให้ได้ค่าของ ηth เพิมขึนตาม ผลทีได้จะเป็ นดังรู ปที 10.17
T
P1 = P4
rP4 rP3 rP2 rP1
3”’ 3” 3’ 3
T3
2”’ 4
rP1 < rP2 < rP3 < rP4
4’
2” rP1 1-2-3-4-1
4” rP2 1-2’-3’-4’-1
2’
rP3 1-2”-3”-4”-1
2 4”’
rP4 1-2”’-3”’-4”’-1
T1 1
s
รู ปที 10.17 ผลของการเปลียนอัตราส่ วนความดันของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่าย
เมือกําหนดให้ P1, T1 และ T3 เป็ นค่าคงตัว

เมือเราเพิม rP ขึนเรื อยๆ จาก rP1 ซึงมีค่าน้อยทีสุ ดไปยัง rP4 ซึงมีค่ามากทีสุ ด เราจะพบว่าถึงแม้วา่ ค่า ηth จะ
เพิมขึนเรื อยๆ ตามสมการที 10.3 แต่ปริ มาณของงานสุ ทธิซึงแทนได้ดว้ ยพืนทีทีถูกปิ ดล้อมโดยวัฏจักรจะค่า
น้อยที rP1 จากนันก็จะเพิมขึนเรื อยๆ เมือ rP เพิมขึน และเมือถึงจุดหนึงเราจะเห็นว่าถ้าเราเพิม rP ไปจนถึง rP4
ผลทีได้ก็คืองานสุ ทธิกลับมีค่าลดลงอีกครัง ดังนันการเพิม rP ขึนไปเรื อยๆ ก็ไม่ทาํ ให้เกิดประโยชน์ในทาง
ปฏิบตั ิเพราะในท้ายทีสุ ดเราก็ได้งานสุ ทธิ ทีลดลง ทังนี โดยการพิสูจน์ทางคณิ ตศาสตร์ เราจะสามารถหาได้
ว่าสําหรับวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายทีกําหนดให้ P1, T1 และ T3 เป็ นค่าคงตัว เราจะได้ว่างานสุ ทธิจะมีค่าสู งสุ ด
ที rP = (T3 / T1 )k /( 2 k −2 )
ความเบียงเบนของวัฏจักรเบรย์ตนั อุดมคติกบั เครื องยนต์กงั หันแก๊สจริ งนันส่ วนใหญ่จะมาจากการ
ย้อนกลับไม่ได้ในเครื องอัดและกังหันซึงสามารถแสดงได้ดว้ ยประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องอัดและ
กังหันในสมการที 9.31 และ 9.30 ตามลําดับ ผลของประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องอัดและกังหันจะ
แสดงได้ในรู ปที 10.18 นอกจากนี การย้อนกลับไม่ได้อนั เนื องมาจากความดันตกในช่องทางไหลของแก๊ส
และในห้องเผาไหม้กม็ ีส่วนสําคัญทีทําให้เกิดความเบียงเบนดังกล่าวด้วยเช่นกัน
222

T
3 P2 = P3
P1 = P4
4
4s
2
2s

1
s
รู ปที 10.18 ผลของการย้อนกลับไม่ได้ของเครื องอัดและกังหันต่อวัฏจักรเบรย์ตนั อุดมคติ

ตัวอย่างที 10.3
อากาศถูกดูดเข้าสู่ เครื องอัดของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายทีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K โดยมี
อัตราส่ วนความดันเท่ากับ 13 อุณหภูมิสูงสุ ดในวัฏจักรมีค่าเท่ากับ 1,500 K จงหางานจําเพาะสุ ทธิและ
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักร
วิธีทาํ
สมมติฐานเบืองต้น:
1) วัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายเป็ นวัฏจักรอุดมคติ
2) สามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
3) ใช้สมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็นกับวัฏจักร
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, rP, T3
ตัวแปรทีต้องการ: w net , ηth
T P2 = P3
3 Q& H
1,500 K
P1 = P4 = 100 kPa ห้องเผาไหม้

4 2 3

2 W& net
เครืองอัด กังหัน

300 K 1
1 4
s

ในการคํานวณเกียวกับวัฏจักรเบรย์ตนั นัน หลักการเบืองต้นก็จะคล้ายคลึงกับคําแนะนําทีให้ไว้ใน


ตอนต้นของตัวอย่างที 10.1 ของวัฏจักรแรงคินนันก็คือเราต้องหาเอนธัลปี ของทุกๆ ภาวะเพือทีจะสามารถ
223

ประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ทีอุปกรณ์ชินใดชิ นหนึ งเพือหาค่าต่างๆ ทีเราต้องการ แต่


สําหรับวัฏจักรเบรย์ตนั นัน เนื องจากผลของสมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น ทําให้เราไม่จาํ เป็ นจะต้องหา
เอนธัลปี โดยตรงเนืองจากเอนธัลปี ของแก๊สอุดมคติเป็ นฟังก์ชนั ของอุณหภูมิเพียงอย่างเดียว ดังนันเราจึงเน้น
ไปทีการหาอุณหภูมิทีภาวะต่างๆ แทน รวมทังเนื องจากค่าความร้อนจําเพาะของอากาศเป็ นค่าคงตัว ดังนัน
ผลต่างของเอนธัลปี จึงสามารถหาได้จากสมการ h 2 − h 1 = C P 0 (T2 − T1 )
สําหรับอากาศที 25oC R = 0.287 kJ/kg-K, CP0 = 1.004 kJ/kg-K, k = 1.4
ภาวะที 1 : P1 = 100 kPa, T1 = 300 K
ภาวะที 2 : rp = P2/P1 = 13
P2 = 13 (100kPa) = 1,300 kPa
สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กผ่านเครื องอัดจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 จากสมการที 8.42 จะได้วา่
k −1
T2 ⎛ P2 ⎞ k
= ⎜⎜ ⎟⎟ = (rP )( k −1 ) / k = ( 13) ( 1.4 −1 ) / 1.4 = 2.08099
T1 ⎝ P1 ⎠
T2 = 2.08099 (300 K ) = 624.296 K
ภาวะที 3 : P3 = P2 = 1,300 kPa, T3 = 1,500 K
ภาวะที 4 : P4 = P1 = 100 kPa
สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กผ่านกังหันจากภาวะที 3 ไปยังภาวะที 4 จะได้วา่
k −1 k −1 1.4 −1
T4 ⎛ P4 ⎞ ⎛1⎞ 1
= ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎛⎜ ⎞⎟
k k 1. 4
= 0.48054
T3 ⎝ P3 ⎠ ⎝ rP ⎠ ⎝ 13 ⎠
T4 = 0.48054 (1,500 K ) = 720.812 K
เมือทราบอุณหภูมิของทุกๆ ภาวะทีปรากฏในวัฏจักรแล้ว เราจะสามารถประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โม
ไดนามิกส์ทีอุปกรณ์ชินต่างๆ ได้ดงั นี

ปริ มาตรควบคุม: เครื องอัด


กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น

w comp . = h 1 − h 2 = C P 0 (T1 − T2 ) = 1.004


kJ
kg − K
(300 − 624.296 K )
w comp . = − 325.594 kJ / kg
224

ปริ มาตรควบคุม: กังหัน


กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น

w turbine = h 3 − h 4 = C P 0 (T3 − T4 ) = 1.004


kJ
kg − K
(1,500 − 720.812 K )
w turbine = 782.305 kJ / kg

ดังนัน w net = w comp . + w turbine = − 325.594 + 782.305 kJ / kg


w net = 456.712 kJ / kg คําตอบ

ปริ มาตรควบคุม: ห้องเผาไหม้


กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น

q comb . = q H = h 3 − h 2 = C P 0 (T3 − T2 ) = 1.004


kJ
kg − K
(1,500 − 624.296 K )
q comb . = 879.206 kJ / kg

ดังนันประสิ ทธิภาพอุณหภาพจะหาได้จาก
w net 456.712 kJ / kg
ηth = =
qH 879.206 kJ / kg
ηth = 0.5195 = 51.95 % คําตอบ
หมายเหตุ
1) เราจะเห็นได้วา่ งานจําเพาะสุ ทธิทีได้นนเกิ
ั ดจากงานจําเพาะทีได้จากกังหันหักออกด้วยงานของเครื องอัด
ดังนันหากเราลองพิจารณาอัตราส่ วนของงานจําเพาะทีได้จากเครื องสู บต่องานจําเพาะทีได้จากกังหันโดย
สนใจเฉพาะขนาดเพียงอย่างเดียว เราจะได้วา่
w comp . 325.594 kJ / kg
= = 0.416 ≈ 42 %
w turbine 782.305 kJ / kg
ซึงส่ วนทีเหลืออีกร้อยละ 58 ก็คืองานจําเพาะสุ ทธิทีได้ จะเห็นได้วา่ อัตราส่ วนของงานทีใช้ในการอัดไอนัน
มีค่าค่อนข้างมาก เมือเปรี ยบเทียบกับวัฏจักรแรงคินแล้วนันจะพบว่าสัดส่ วนของงานทีใช้ในการสู บนําจะมี
ค่าไม่เกินร้อยละ 1 เท่านัน ทําให้เราสามารถละทิงงานทีใช้ในเครื องสูบได้ ด้วยเหตุผลนีในเครื องยนต์กงั หัน
แก๊ สจริ ง งานที ได้จากกังหันจะมี ค่าน้อยลงในขณะที งานที ใช้ในเครื องอัดจะมี ค่าเพิมขึ น ดังนันถ้าหาก
ประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องอัดและกังหันมีค่าลดลง ก็จะทําให้ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักร
225

มีค่าลดลงอย่างรวดเร็ ว ในทางปฏิบตั ิงานงานทีใช้ในเครื องอัดอาจจะมีค่าสู งถึงร้อยละ 60 ถึง 80 ของงานที


ได้จากกังหัน นอกจากนี ถ้าหากประสิ ทธิ ภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องอัดและกังหันมีค่าตํากว่าร้อยละ 60
ผลก็คืองานทังหมดทีได้จากกังหันจะถูกนําไปใช้ในเครื องอัดจนหมดและทําให้งานสุ ทธิมีค่าเป็ นศูนย์

2) เราสามารถหาประสิ ทธิภาพอุณหภาพได้โดยใช้สมการที 10.3 หากเราแทนค่า rP = 13 และ k = 1.4 ลง


ไปในสมการดังกล่าวจะทําให้ได้ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพทีมีค่าเดียวกันกับค่าทีเราคํานวณได้ อย่างไรก็ตาม
สมการที 10.3 นันเป็ นสมการทีใช้สาํ หรับในการหาประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพเพียงอย่างเดียว ดังนันหากเรา
ต้องการทราบรายละเอียดอืนๆ เช่นงานสุ ทธิ ความร้อนทีป้ อนเข้าสู่ หอ้ งเผาไหม้ เราจะต้องใช้กฎข้อทีหนึ ง
ของเธอร์โมไดนามิกส์ในการคํานวณหาค่าอืนๆ ดังกล่าว

3) ถ้าเราคํานวณความร้อนจําเพาะทีทิงออกจากวัฏจักรหรื อ qL โดยสมมติวา่ มีอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน


มาเชือมต่อระหว่างภาวะที 4 และภาวะที 1 แล้วให้ปริ มาตรควบคุมเป็ นอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนชินนี
จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์เราจะเขียนได้วา่
q L = h 1 − h 4 = C P 0 (T1 − T4 ) = 1.004
kJ
kg − K
(300 − 720.812 K )
q L = − 422.495 kJ / kg
ซึงเมือคํานวณงานจําเพาะสุ ทธิกจ็ ะได้เป็ น
w net = q H + q L = 879.206 + ( − 422.495) kJ / kg = 456.712 kJ / kg
เราก็จะได้คา่ งานจําเพาะสุ ทธิเป็ นค่าเดียวกับคําตอบทีแสดงไว้ในตัวอย่างนี

10.10 วัฏจักรกังหันแก๊สอย่างง่ายทีมีรีเจเนอเรเตอร์
การเพิมประสิ ทธิ ภาพวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายนันทําได้โดยการเพิมอุปกรณ์ทีมีชือว่ารี เจเนอเรเตอร์
(regenerator) เข้าไปในวัฏจักร ถ้าเราพิจารณาตัวอย่างที 10.3 เราจะเห็นได้ว่าไอเสี ย (ซึงทดแทนด้วยอากาศ
เนื องจากสมมติฐานมาตรฐานอากาศ) หลังจากออกจากกังหันทีภาวะที 4 นันจะมีอุณหภูมิทีสู งกว่าอากาศ
ก่อนทีจะป้ อนเข้าสู่ หอ้ งเผาไหม้ทีภาวะที 2 ดังนันจึงมีแนวคิดทีจะนําไอเสี ยทีภาวะที 4 มาแลกเปลียนความ
ร้อนกับอากาศทีภาวะที 2 ก่อนทีจะปล่อยทิงสู่ บรรยากาศซึ งจะทําให้อากาศทีภาวะที 2 มีอุณหภูมิทีสู งขึน
ก่อนทีจะถูกป้ อนเข้าสู่ ห้องเผาไหม้ ดังนันถ้าผลต่างระหว่างอุณหภูมิของอากาศก่อนและหลังจากห้องเผา
ไหม้มีค่าลดลง จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์เราจะเห็นได้วา่ ความร้อนทีป้ อนเข้าสู่หอ้ งเผาไหม้ก็จะ
มีคา่ ลดลง ส่ งผลให้ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรมีค่าเพิมขึน อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนทีทําหน้าที
โดยการนําความร้ อนเหลื อทิ งจากไอเสี ยกลับมาใช้ใหม่เพือทําการอุ่นอากาศมี ชือเรี ยกว่ารี เจเนอเรเตอร์
(regenerator) วัฏจักรเบรย์ตนั ทีมีการนํารี เจเนอเรเตอร์มาประยุกต์ใช้จะมีชือว่าวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟ
(regenerative Brayton cycle) สําหรับวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟอุดมคตินนจะแสดงอยู
ั ใ่ นรู ปที 10.19
226

T 3 P2 = Px = P3 y รีเจเนอเรเตอร์

P1 = Py = P4 ห้องเผาไหม้ 4
x x
4 2
Q& H 3
2 W& net
y เครืองอัด กังหัน

1 1
s
(a) (b)
รู ปที 10.19 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟอุดมคติ

จากรู ปจะเห็นได้ว่ารี เจเนอเรเตอร์ จะทําให้อากาศก่อนเข้าห้องเผาไหม้จากเดิมมีอุณหภูมิอยู่ที T2 จะมี


อุณหภูมิเพิมสู งขึนเป็ น Tx ในขณะเดียวกันไอเสี ยทีออกจากกังหันจากเดิมมีอุณหภูมิอยูท่ ี T4 ก็จะมีอุณหภูมิ
ลดลงเป็ น Ty ก่อนทีปล่อยทิงสู่ บรรยากาศ เราสังเกตได้ว่าอุณหภูมิสูงสุ ดของภาวะที x ทีจะเป็ นไปได้ก็คือ
T4 ซึ งก็คืออุณหภูมิของไอเสี ยทีเข้าสู่ รีเจเนอเรเตอร์ ดังนันในกรณี รีเจเนอเรเตอร์ อุดมคตินนก็
ั คือสามารถ
แลกเปลียนความร้อนได้สูงทีสุ ด เราจะได้ว่า Tx = T4 โดยอาศัยกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์โดยมี
ปริ มาตรควบคุมคือรี เจเนอเรเตอร์ร่วมกับสมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น เราจะได้วา่ Ty = T2 ด้วยเช่นกัน
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟอุดมคตินนสามารถพิ
ั สูจน์ได้โดยวิธีเดียวกับ
การหาประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่าย ส่ วนทีแตกต่างกันก็คือค่า qH ในวัฏจักรเบรย์ตนั
รี เจเนอเรทิฟอุดมคตินนจะคํ
ั านวณโดยทีอากาศจะมีอุณหภูมิเพิมขึนจาก Tx ไปเป็ น T3 แทนทีจะเพิมขึนจาก
T2 ไปเป็ น T3 ดังเช่นวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่าย โดยสรุ ปแล้วประสิ ทธิภาพอุณหภาพของของวัฏจักรเบรย์ตนั
รี เจเนอเรทิฟอุดมคติจะเขียนได้เป็ น
⎛T ⎞
ηth = 1 − ⎜⎜ 1 ⎟⎟ rP ( k −1 ) / k (10.4)
⎝ T3 ⎠
จะเห็ นได้ว่าประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของของวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิ ฟอุ ดมคติ นันจะไม่ได้ขึนอยู่กับ
อัตราส่ วนความดันเพียงอย่างเดียว แต่จะขึนอยูก่ บั อัตราส่ วนระหว่างอุณหภูมิตาสุ
ํ ดและสูงสุ ดของวัฏจักรด้วย
หากเปรี ยบเทียบสมการที 10.3 และ 10.4 เราจะพบว่าถ้า T1/T3 เป็ นค่าคงตัว ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของ
ของวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟลดลงเมืออัตราส่ วนความดันมีค่าเพิมขึน ซึ งแนวโน้มดังกล่าวจะมีลกั ษณะ
ตรงกันข้ามกับวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่าย เมือนําสมการที 10.3 และ 10.4 มาวาดกราฟเพือเปรี ยบเทียบกัน ผล
ทีได้จะแสดงอยูใ่ นรู ปที 10.20
227

0.9 วัฏจักรเบรย์ตันรีเจเนอเรทิฟ
0.8 วัฏจักรเบรย์ตันอย่างง่าย
0.7

rP 0.6

0.5
T1/T3 = 1/5
0.4
T1/T3 = 1/4
0.3

0.2
T1/T3 = 1/3
0.1

0
0 5 10 15 20 25
ηth

รู ปที 10.20 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่ วนความดันและประสิ ทธิภาพอุณหภาพ


ของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายและวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟ

จากรู ปที 10.20 จะเห็นได้ว่าประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟจะมีค่าสู งกว่าวัฏจักร


เบรย์ตนั อย่างง่ายก็ต่อเมือ rP มีค่าตําและเมือ T1/T3 มีค่าตํา นอกจากนี การ0tนําเอารี เจเนอเรเตอร์ มา
ประยุกต์ใช้กบั วัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายนันจะต้องคํานึงถึงอุณหภูมิทีภาวะที 2 และ 4 ของวัฏจักรเบรย์ตนั
อย่างง่ายดังทีแสดงในรู ปที 10.21 ซึงเราจะกําหนดให้ P1, T1 และ T3 เป็ นค่าคงตัว
T
rP3 rP2 rP1 P1 = P4
3” 3’ 3
T3

2”
4 rP1 < rP2 < rP3
2’
4’ rP1 1-2-3-4-1
2 4” rP2 1-2’-3’-4’-1
rP3 1-2”-3”-4”-1
T1 1
s
รู ปที 10.21 ผลของอัตราส่ วนความดันต่อ T2 และ T4 ของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่าย

จากรู ปที 10.21 เมืออัตราส่ วนความดันมีค่าตําที rP1 ซึงปรากฏเป็ นภาวะที 1-2-3-4-1 เราจะเห็นได้ว่า T2 มีค่า
น้อยกว่า T4 ดังนันการนํารี เจเนอเรเตอร์มาประยุกต์ใช้กบั วัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายจะทําให้ค่า ηth ของวัฏจักร
เบรย์ตนั อย่างง่ายมีค่าเพิมขึน หากเราเพิมอัตราส่ วนความดันให้เป็ นที rP2 ซึงปรากฏเป็ นภาวะที 1-2’-3’-4’-1
228

เราจะเห็นได้ว่า ณ จุดนี การนํารี เจเนอเรเตอร์มาใช้จะไม่เกิดประโยชน์เนืองจาก T2 มีค่าเท่ากับ T4 ดังนันจุด


นีจึงเป็ นจุดทีค่า ηth ของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายและวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟมีค่าเท่ากันซึงแสดงได้จาก
จุดตัดกันระหว่าง ηth ของวัฏจักรทังสองในรู ปที 10.20 หากเรายังเพิมอัตราส่ วนความดันต่อไปให้เป็ นที rP3
ซึงปรากฏเป็ นภาวะที 1-2”-3”-4”-1 ผลทีได้คือ T2 มีค่าตํากว่า T4 ดังนันหากเรานํารี เจเนอเรเตอร์มาใช้ก็จะ
เกิดผลในทางลบยิงกว่าการทีไม่มีรีเจเนอเรเตอร์ เสี ยด้วยซํา เป็ นผลให้ค่า ηth ของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายมี
ค่าสูงกว่าค่า ηth ของวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟ
รี เจเนอเรเตอร์ทีเราได้กล่าวถึงมาทังหมดนันเป็ นรี เจเนอเรเตอร์อุดมคติซึงทําให้ Tx = T4 ดังทีแสดง
ในรู ปที 10.19 (a) อย่างไรก็ตามรี เจเนอเรเตอร์ทีใช้งานอยูจ่ ริ งนันจะไม่สามารถทําตามเงือนไขดังกล่าวได้
เนื องจากการถ่ายเทความร้อนจะเกิดขึนได้เมือมีผลต่างของอุณหภูมิทีมีค่าจํากัด ดังนันจึงมีการนิ ยามคําว่า
ประสิ ทธิผลของรี เจเนอเรเตอร์ (effectiveness หรื อ ηregen.) ดังนี
q regen . real hx − h2 h −h
ηregen . = = = x 2 (10.5)
q regen . max hx' − h2 h4 − h2
โดยที qregen. real และ qregen. max คือความร้อนจําเพาะทีใช้ในการอุ่นอากาศจริ งและความร้อนจําเพาะสู งสู ดทีใช้
ในการอุ่นอากาศดังรู ปที 10.22 (b) จากสมการที 10.5 หากนําสมมติฐานมาตรฐานอากาศมาใช้เราจะได้วา่
T −T T −T
η regen . = x 2 = x 2 (10.6)
Tx ' − T2 T4 − T2
ทังนี Tx’ คืออุณหภูมิของอากาศทีอุ่นได้ในกรณี ของรี เจเนอเรเตอร์อุดมคติซึงจะทําให้ Tx’ = T4 ในขณะที Tx
คืออุณหภูมิของอากาศทีอุ่นได้ในกรณี ของรี เจเนอเรเตอร์จริ ง เราจะเห็นได้ว่าเมือ ηregen น้อยกว่า 1 ผลทีได้
จะทําให้ Tx มีค่าตํากว่า Tx’ ดังทีแสดงในรู ปที 10.22 (a)
P2 = Px = P3 รีเจเนอเรเตอร์จริง
T 3 y 4
qregen. real
P1 = Py = P4
x’
x 4 2 x T x < T4
2 y รีเจเนอเรเตอร์อุดมคติ
y’ 4
y’
qregen. max
1
s 2 x’ Tx’ = T4
(a) (b)
รู ปที 10.22 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของวัฏจักรเบรย์ตนั ทีใช้รีเจเนอเรเตอร์จริ งและการเปรี ยบเทียบ
การถ่ายเทความร้อนระหว่างรี เจเนอเรเตอร์จริ งและรี เจเนอเรเตอร์อุดมคติ
229

รี เจเนอเรเตอร์ ทีใช้ในทางปฏิบตั ินนโดยมากจะมี


ั ค่าประสิ ทธิ ผลตํากว่า 0.85 การใช้รีเจเนอเรเตอร์ ทีมี
ประสิ ทธิผลสูงจะส่ งผลให้เกิดการประหยัดเชือเพลิงในห้องเผาไหม้และลดต้นทุนด้านการใช้พลังงาน แต่ใน
ขณะเดียวกันรี เจเนอเรเตอร์ ทีมีประสิ ทธิ ผลสู งนันจะมีขนาดใหญ่ ใช้วสั ดุในปริ มาณทีมากกว่าซึ งจะทําให้
ต้นทุนสู งกว่า นอกจากนี รี เจเนอเรเตอร์ ทีมีประสิ ทธิ ผลสู งยังก่อให้เกิดค่าความดันตกในระบบทีมากกว่า
ดังนันในการเลือกใช้รีเจเนอเรเตอร์นนจะต้
ั องมองในแง่ของทังด้านพลังงานและเศรษฐศาสตร์ไปพร้อมๆ กัน

ตัวอย่างที 10.4
วัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟมีอากาศก่อนเข้าสู่ เครื องอัดทีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K โดยมี
อัตราส่ วนความดันเท่ากับ 13 อุณหภูมิสูงสุ ดในวัฏจักรมีค่าเท่ากับ 1,500 K เครื องอัดและกังหันมีค่า
ประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กเท่ากับร้อยละ 85 และ 87 ตามลําดับ ในขณะทีรี เจเนอเรเตอร์มีค่าประสิ ทธิ ผล
เท่ากับร้อยละ 75 จงหางานจําเพาะสุ ทธิและประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักร
วิธีทาํ
สมมติฐานเบืองต้น:
1) วัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟเป็ นวัฏจักรอุดมคติยกเว้นกังหัน เครื องสูบและรี เจเนอเรเตอร์
2) สามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
3) ใช้สมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็นกับวัฏจักร
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, rP, T3, ηcomp., ηturbine, ηregen.
ตัวแปรทีต้องการ: w net , ηth
T P2 = P3
รีเจเนอเรเตอร์
3 y
1,500 K P1 = P4 = 100 kPa
x’
x 4 ห้องเผาไหม้ 4
x
4s 2
Q& H 3
2 y
2s W& net
เครืองอัด กังหัน

300 K
1 1
s

จะเห็นได้ว่าเนืองจากเครื องอัด กังหัน และรี เจเนอเรเตอร์ไม่ใช่อุปกรณ์อุดมคติ ดังนันเราจึงต้องหา


อุณหภูมิทีภาวะต่างๆ ทังภาวะในทางอุดมคติและภาวะจริ งทีเกิดขึน
สําหรับอากาศที 25oC R = 0.287 kJ/kg-K, CP0 = 1.004 kJ/kg-K, k = 1.4
ภาวะที 1 : P1 = 100 kPa, T1 = 300 K
230

ภาวะที 2s : rp = P2/P1 = 13
P2 = P2s = 13 (100kPa) = 1,300 kPa
สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กผ่านเครื องอัดจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2s จะได้วา่
k −1
T2 s ⎛ P2 s ⎞ k
= ⎜⎜ ⎟⎟ = (rP )( k −1 ) / k = ( 13) ( 1.4 −1 ) / 1.4 = 2.08099
T1 ⎝ P1 ⎠
T2 s = 2.08099 (300 K ) = 624.296 K
ภาวะที 2 : P2 = 1,300 kPa
เมือทราบภาวะที 2s แล้ว เราสามารถคํานวณหา T2 ได้จากนิยามประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องอัด
h −h T −T
ηcomp . = 1 2 s = 1 2 s
h1 − h 2 T1 − T2
300 − 624.296 K
0.85 =
300 − T2 K
T2 = 681.525 K
ภาวะที 3 : P3 = P2 = 1,300 kPa, T3 = 1,500 K
ภาวะที 4s: P4s = P4 = P1 = 100 kPa
สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กผ่านกังหันจากภาวะที 3 ไปยังภาวะที 4s จะได้วา่
k −1 k −1 1.4 −1
T4 s ⎛ P4 s ⎞ ⎛1⎞ 1
= ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎛⎜ ⎞⎟
k k 1. 4
= 0.48054
T3 ⎝ P3 ⎠ ⎝ rP ⎠ ⎝ 13 ⎠
T4 s = 0.48054 (1,500 K ) = 720.812 K
ภาวะที 4 : P4 = 100 kPa
เมือทราบภาวะที 4s แล้ว เราสามารถคํานวณหา T4 ได้จากนิยามประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กของกังหัน
h −h T −T
ηturbine = 3 4 = 3 4
h 3 − h 4 s T3 − T4 s
1,500 − T4 K
0.87 =
1,500 − 720.812 K
T4 = 822.106 K
ภาวะที x’ : Px’ = P2 = 1,300 kPa
Tx’ คืออุณหภูมิอากาศหลังจากการอุ่นด้วยไอเสี ยในกรณี ของรี เจเนอเรเตอร์อุดมคติ ดังนันเราจะได้วา่
231

Tx ' = T4 = 822.106 K
สิ งทีต้องระมัดระวังคือ Tx’ มีค่าเท่ากับ T4 ไม่ใช่เท่ากับ T4s เนืองจากอากาศจะสามารถอุ่นให้มีอุณหภูมิสูงขึน
ได้ตามอุณหภูมิไอเสี ยทีเกิดขึนจริ ง ไม่ใช่อุณหภูมิไอเสี ยในกรณี ของกังหันอุดมคติซึงไม่ได้เกิดขึนจริ ง
ภาวะที x : Px = Px’ = P2 = 1,300 kPa
เราจะสามารถหา Tx ได้จากนิยามประสิ ทธิผลของรี เจเนอเรเตอร์
T −T T −T
ηregen . = x 2 = x 2
Tx ' − T2 T4 − T2
Tx − 681.525 K
0.75 =
822.106 − 681.525 K
Tx = 786.961 K
เช่นเดียวกัน T2 ทีแทนในสมการด้านบนจะต้องเป็ นอุณหภูมิทีออกจากเครื องอัดจริ ง ไม่ใช่ T2s ทีได้จากกรณี
ของเครื องอัดอุดมคติ

เมือได้อุณหภูมิทีภาวะต่างๆ แล้ว เราเราจะสามารถประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ทีอุปกรณ์


ชินต่างๆ ได้ดงั นี

ปริ มาตรควบคุม: เครื องอัด(จริ ง)


กระบวนการ: แอเดียแบติก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น

w comp . = h 1 − h 2 = C P 0 (T1 − T2 ) = 1.004


kJ
kg − K
(300 − 681.525 K )
w comp . = − 383.051 kJ / kg

ปริ มาตรควบคุม: กังหัน(จริ ง)


กระบวนการ: แอเดียแบติก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น

w turbine = h 3 − h 4 = C P 0 (T3 − T4 ) = 1.004


kJ
kg − K
(1,500 − 822.106 K )
w turbine = 680.606 kJ / kg

ดังนัน w net = w comp . + w turbine = − 383.051 + 680.606 kJ / kg


w net = 297.554 kJ / kg คําตอบ
232

ปริ มาตรควบคุม: ห้องเผาไหม้


กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น

q comb . = q H = h 3 − h 2 = C P 0 (T3 − Tx ) = 1.004


kJ
kg − K
(1,500 − 786.961 K )
q comb . = 715.891 kJ / kg

ดังนันประสิ ทธิภาพอุณหภาพจะหาได้จาก
w 297.554 kJ / kg
ηth = net =
qH 715.891 kJ / kg
ηth = 0.4156 = 41.56 % คําตอบ
หมายเหตุ
1) หากเราลองทําการคํานวณเปรี ยบเทียบผลทีได้จากสามกรณี โดยทีกรณี ที 1) คือผลทีได้ในตัวอย่างที 10.3
กล่าวคือเป็ นกรณี ของเครื องสู บและกังหันอุดมคติและไม่มีรีเจเนอเรเตอร์ กรณี ที 2) คือผลทีได้ในตัวอย่างนี
กล่าวคือเป็ นกรณี ของเครื องสู บและกังหันจริ งแต่ไม่มีรีเจเนอเรเตอร์ และกรณี ที 3) คือผลทีได้ในตัวอย่างนี
โดยตรงกล่าวคือเป็ นกรณี ของเครื องสูบ กังหันและรี เจเนอเรเตอร์จริ ง ผลทีได้เป็ นดังตารางด้านล่าง
wcomp. wturbine wnet qH ηth
kJ/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg %
กรณี ที 1) −325.594 782.305 456.712 879.206 51.95
กรณี ที 2) −383.051 680.606 297.554 821.749 36.21
กรณี ที 3) −383.051 680.606 297.554 715.891 41.56
เมือเปรี ยบเทียบกรณี ที 2) โดยอ้างอิงจากกรณี ที 1) จะเห็นว่า wnet ลดลงอย่างมากโดยที wcomp./wturbine เพิมขึน
จากร้อยละ 41.6 ไปเป็ นร้อยละ 56.3 ในขณะที qH ก็มีค่าลดลงเช่นกันซึงเป็ นผลมาจากเครื องสู บในกรณี ที 2)
เป็ นเครื องสู บจริ งทําให้ T2 มีค่ามากกว่า T2s แต่โดยรวมแล้วผลของ wnet ทีลดลงจะมีค่ามากกว่าผลของ qH ที
ลดลงเลยทําให้ ηth มีค่าตําลงอย่างทีปรากฏ เมือเปรี ยบเทียบกรณี ที 3) โดยอ้างอิงจากกรณี ที 2) จะพบว่า
การใส่ รีเจเนอเรเตอร์เพิมเข้าไปนันจะช่วยทําให้ qH ลดลงเนื องจากการอุ่นอากาศก่อนเข้าห้องเผาไหม้โดยที
ไม่ส่งผลกระทบต่อ wnet ของวัฏจักร จึงทําให้ ηth มีค่าเพิมขึน

2) ในตัวอย่างนี เราไม่สามารถใช้สมการที 10.4 เพือคํานวณหา ηth ของวัฏจักรได้เนื องจากสมการ


ดังกล่าวใช้สําหรั บของวัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟอุดมคติ เท่านัน แต่ในตัวอย่างทีนําเสนอนี เครื องอัด
กังหันและรี เจเนอเรเตอร์ไม่ใช่อุปกรณ์อุดมคติ
233

10.11 การปรับปรุ งรู ปแบบวัฏจักรกําลังกังหันแก๊ส


จากในช่วงท้ายของหัวข้อที 9.4 เราได้อธิบายว่าสําหรับแก๊สอุดมคติทีมีค่าความร้อนจําเพาะเป็ นค่า
คงตัว เมือภาวะตังต้นและความดันด้านขาออกได้ถูกกําหนด กระบวนการไอโซเธอร์มลั จะเป็ นกระบวนการ
ทีใช้งานน้อยทีสุ ดในกรณี ของกระบวนการอัดผ่านเครื องอัดและเป็ นกระบวนการทีได้งานมากทีสุ ดในกรณี
ของกระบวนการขยายตัวผ่านกังหัน แต่เราพบว่าถ้าของไหลทํางานทีใช้อยู่ไม่ได้อยู่ในช่วงของการเปลียน
สถานะ กระบวนการไอโซเธอร์ มลั ในทางปฏิบตั ินันทําได้ยากเพราะความร้ อนจากสิ งล้อมรอบจะทําให้
พลังงานสัมผัสของระบบเปลียนแปลงไป ดังนันกระบวนการไอเซนโทรปิ กจึงมีความเหมาะสมกว่าในทาง
ปฏิ บ ัติ อย่า งไรก็ ต ามเราสามารถที จะปรั บ ปรุ ง กระบวนการไอเซนโทรปิ กให้มี ล ัก ษณะใกล้เ คี ย งกับ
กระบวนการไอโซเธอร์ มลั ได้โดยการใช้กระบวนการอัดหลายขันตอนร่ วมกับการหล่อเย็นระหว่างขันตอน
(intercooling) หรื อกระบวนการขยายตัวหลายขันตอนร่ วมกับการรี ฮีต ในเบืองต้นเราจะแสดงตัวอย่างของ
กระบวนการดังกล่าวในรู ปที 10.23
T 5 7 เครืองหล่อเย็นระหว่างขันตอน Q& H รีฮีตเตอร์
Q& reheat
Q& int.coolin g
6 8 ห้องเผาไหม้
2 3 4 5 6 7

W& net
เครืองอัด เครืองอัด กังหัน กังหัน
4 2

3 1 1
s 8

(a) (b)
รู ปที 10.23 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรเบรย์ตนั ทีใช้กระบวนการอัด
และขยายตัวสองขันตอนร่ วมกับการหล่อเย็นระหว่างขันตอนและการรี ฮีต

จะเห็นได้วา่ ถ้าเราต้องการอัดอากาศให้มีความดันเพิมขึนจากความดันตําสุ ดหรื อ P1 ไปยังความดันสู งสุ ดหรื อ


P4 เราทําการอัดโดยแบ่งเป็ นสองขันตอนกล่าวคือเริ มการอัดขันแรกจาก P1 ไปเป็ นความดันระหว่างกลาง
หรื อ P2 จากนันทําการดึงความร้อนออกจากอากาศผ่านเครื องหล่อเย็นระหว่างขันตอน (intercooler) ซึงจะทํา
ให้อากาศเย็นลงจากภาวะที 2 ไปเป็ นภาวะที 3 จากนันก็เริ มการอัดขันทีสองจาก P2 ไปเป็ น P4 ตามทีแสดง
ในรู ปที 10.23 (a) สําหรับการขยายตัวก็เช่นเดียวกับการอัดนันก็คือเราจะให้อากาศขยายตัวออกเป็ นสอง
ขันตอน ขันตอนแรกจาก P5 ไปยัง P6 จากนันก็ใส่ ความร้อนเพิมให้กบั อากาศโดยผ่านรี ฮีตเตอร์ (reheater)
ซึงจะทําให้อากาศร้อนขึนจากภาวะที 6 ไปเป็ นภาวะที 7 หลังจากนันก็ให้อากาศขยายตัวขันทีสองจาก P7 ไป
เป็ น P8 ก่อนจะปล่อยทิงสู่ บรรยากาศดังทีแสดงในรู ปที 10.23 (a) อนึงทังเครื องหล่อเย็นระหว่างขันตอน
และรี ฮีตเตอร์ต่างก็เป็ นอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนดังทีแสดงในรู ปที 10.23 (b)
234

หากเราพิจารณาเปรี ยบเทียบระหว่างวัฏจักรเบรย์ตนั ทีใช้กระบวนการอัดและขยายตัวสองขันตอน


ร่ วมกับการหล่อเย็นระหว่างขันตอนและการรี ฮีตกับวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่ายทีทํางานระหว่าง P1 และ P4 ค่า
เดียวกัน ผลทีได้จะแสดงในรู ปที 10.24
T 5 7

6 8
8’

4’
4 2

3 1
s
รู ปที 10.24 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี เปรี ยบเทียบระหว่างวัฏจักรเบรย์ตนั ทีใช้กระบวนการอัดและ
ขยายตัวสองขันตอนร่ วมกับการหล่อเย็นระหว่างขันตอนและการรี ฮีตกับวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่าย

จะเห็นได้ว่าพืนทีปิ ดล้อมหรื องานสุ ทธิ ของวัฏจักรเบรย์ตนั ทีใช้กระบวนการอัดและขยายตัวสองขันตอน


(พืนที 1-2-3-4-5-6-7-8-1) จะมีค่ามากกว่าพืนทีปิ ดล้อมหรื องานสุ ทธิของวัฏจักรเบรย์ตนั อย่างง่าย (พืนที 1-
4’-5-8’-1) ซึ งมีกระบวนการอัดและขยายตัวขันตอนเดียว ทังนี พืนทีแรเงา 2-3-4-4’-2 เป็ นพืนทีส่ วนต่าง
ระหว่างการอัดสองขันตอนกับการอัดขันตอนเดียวจาก P1 ไปยัง P4 ดังนันพืนทีดังกล่าวจึงเท่ากับส่ วนต่าง
ระหว่างงานทีใช้ในการอัดสองขันตอนทีมีค่าน้อยกว่ากับงานทีใช้ในการอัดขันตอนเดียว ในทํานองเดียวกัน
พืนทีแรเงา 6-7-8-8’-6 จะเท่ากับส่ วนต่างระหว่างงานทีได้จากการขยายตัวสองขันตอนทีมีค่ามากกว่ากับงาน
ทีได้จากการขยายตัวขันตอนเดียว
ในกรณี ของกระบวนการอัดและขยายตัวร่ วมกับการหล่อเย็นระหว่างขันตอนและการรี ฮีตทีมีหลาย
ขันตอน เราจะสามารถวาดแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ดังทีแสดงในรู ปที 10.25
T

Tavg high

Tavg low
s
รู ปที 10.25 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ในกรณี ของกระบวนการอัดและขยายตัวหลายขันตอน
235

จะเห็นได้ว่ากระบวนการอัดและขยายตัวร่ วมกับการหล่อเย็นระหว่างขันตอนและการรี ฮีตหลายขันตอนนัน


จะทําให้กระบวนการเฉลียมีลกั ษณะทีใกล้เคียงกับกระบวนการไอโซเธอร์มลั ทีอุณหภูมิ Tavg low และ Tavg high
ดังทีแสดงในรู ปที 10.25 อนึงวัฏจักรทีประกอบไปด้วยกระบวนอุดมคติสีกระบวนการได้แก่กระบวนการ
ไอโซบาริ กย้อนกลับได้ภายในสองกระบวนการและกระบวนการไอโซเธอร์ มลั ย้อนกลับได้ภายในสอง
กระบวนการจะมีชือเรี ยกว่าวัฏจักรอีริกส์สัน (Ericsson cycle) ดังนันอาจกล่าวได้ว่าวัฏจักรเบรย์ตนั ทีใช้
กระบวนการอัดและขยายตัวร่ วมกับการหล่อเย็นระหว่างขันตอนและการรี ฮีตหลายขันตอนจะมีการทํางานที
ลู่เข้าสู่วฏั จักรอีริกส์สนั นันเอง ในทางปฏิบตั ินนเรานิ
ั ยมจะประยุกต์ใช้กระบวนการอัดและขยายตัวร่ วมกับ
การหล่อเย็นระหว่างขันตอนและการรี ฮีตเพียงแค่สองหรื อสามขันเท่านัน ทังนี เนื องจากหากมีอุปกรณ์ใน
ระบบเพิมมากขึ นถึ งจุ ด หนึ ง จะเป็ นผลให้ค วามย้อ นกลับ ไม่ ไ ด้ใ นวัฏ จัก รสะสมเพิ มมากขึ นจนกระทัง
ผลตอบแทนทีได้จากการเพิมอุปกรณ์ชินต่อไปจะไม่คุม้ ค่ากับการลงทุนทีเพิมขึน

10.12 วัฏจักรกําลังเครื องยนต์ลูกสูบ


เครื องยนต์ลูกสู บเป็ นเครื องยนต์ทีใช้กนั อย่างแพร่ หลายและพบเห็นได้ทวไปในชี
ั วิตประจําวัน การ
ใช้งานของเครื องยนต์ลูกสู บนันมีตงแต่ ั การใช้งานในยานยนต์ อากาศยานขนาดเล็ก เรื อ การเกษตร หรื อ
แม้แต่เป็ นแหล่งจ่ายงานกลสําหรับเครื องกําเนิ ดไฟฟ้ า ส่ วนประกอบพืนฐานของเครื องยนต์ลูกสู บนันได้
แสดงอยูใ่ นรู ปที 10.26 (a)
หัวเทียนหรือตัวฉีด
ลินไอดี ลินไอเสีย

ไอดี ไอเสีย
กระบอกสูบ

Vmin Vmin
B
S ลูกสูบ
ก้านสูบ
Vmax TDC Vmax
TDC
θ
r
ข้อเหวียง
BDC BDC

(a) (b) (c)


รู ปที 10.26 ส่ วนประกอบของเครื องยนต์ลูกสูบ ตําแหน่งศูนย์ตายบนและศูนย์ตายล่าง

เมือลูกสู บเคลือนทีไปอยูบ่ นตําแหน่งทีทําให้ปริ มาตรในกระบอกสู บมีค่าตําสุ ด (V = Vmin) ซึงจะสอดคล้อง


กับตําแหน่งที θ = 0o เราจะเรี ยกตําแหน่งของลูกสู บนี ว่าตําแหน่งศูนย์ตายบน (top dead center หรื อ TDC)
236

ซึ งแสดงอยูใ่ นรู ป 10.26 (b) ในทางตรงกันข้ามเมือลูกสู บเคลือนทีไปอยูบ่ นตําแหน่งทีทําให้ปริ มาตรใน


กระบอกสูบมีค่าสูงสุ ด (V = Vmax) ซึงจะสอดคล้องกับตําแหน่งที θ = 180o เราจะเรี ยกตําแหน่งของลูกสู บนี
ว่าตําแหน่งศูนย์ตายล่าง (bottom dead center หรื อ BDC) ซึงแสดงอยูใ่ นรู ป 10.26 (c) ในรู ป 10.26 (a) เรา
จะเห็นว่าเครื องยนต์ลูกสู บจะทําหน้าทีเปลียนการเคลือนทีแบบเลือนขนาน (translation) ของลูกสู บให้กลาย
ไปเป็ นการเคลือนทีแบบหมุน (rotation) ของข้อเหวียง (crank) ซึงการเปลียนรู ปแบบการเคลือนทีนันจะต้อง
อาศัยก้านสู บ (connecting rod) ซึงเชือมต่อระหว่างข้อเหวียงกับลูกสู บ อนึ งการเคลือนทีแบบเลือนขนาน
ของลูกสู บนันจะเกิดจากการขยายตัวของไอเสี ยภายในกระบอกสู บอันเป็ นผลมาจากความร้อนทีได้จากการ
เผาไหม้ จากรู ปที 10.26 (a) ระยะ B คือเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสู บหรื อขนาดกระบอกสู บ (bore) ในขณะ
ทีระยะทางทีลูกสู บเคลือนทีระหว่างศูนย์ตายบนและศูนย์ตายล่างคือระยะ S หรื อทีเรี ยกกันว่าระยะชัก
(stroke) หาก r คือรัศมีของการเคลือนทีเป็ นวงกลมของข้อเหวียง เราจะได้ความสัมพันธ์ว่า S = 2r ดังนัน
หากจํานวนลูกสู บมีเท่ากับ N ปริ มาตรทังหมดของกระบอกสู บหรื อความจุเครื องยนต์ (displacement หรื อ
Vdisplace.) จะมีค่าเท่ากับ
π
Vdisplace . = N (Vmax − Vmin ) = N ⎛⎜ B 2 ⎞⎟ S (10.7)
⎝4 ⎠
เราจะนิ ย ามอัต ราส่ ว นระหว่ า งปริ ม าตรสู ง สุ ด กับ ปริ ม าตรตําสุ ด ในกระบอกสู บ ว่ า อัต ราส่ ว นการอัด
(compression ratio หรื อ rV) ซึงสามารถเขียนเป็ นสมการได้คือ
V
rV = max (10.8)
Vmin
นอกจากนีงานสุ ทธิต่อกระบอกสูบทีเกิดขึนเมือลูกสูบหมุนทํางานครบหนึงรอบจะหาได้จาก


Wnet = P dV = Pmeff (Vmax − Vmin ) (10.9)

โดยที Pmeff คือความดันยังผลเฉลีย (mean effective pressure) ซึงเปรี ยบได้กบั ความดันเสมือนทีเป็ นค่าเฉลียที
เกิดขึนบนลูกสู บในจังหวะสร้างกําลังและให้งานสุ ทธิ ออกมาเท่ากับงานสุ ทธิ จริ งทีเกิดขึนต่อการหมุนหนึ ง
รอบ ดังนันหากเครื องยนต์กาํ ลังหมุนด้วยจํานวนรอบต่อนาทีเท่ากับ RPM จะได้ว่ากําลังของเครื องยนต์
ทังหมดจะหาได้จาก
RPM
W& net = f Pmeff Vdisplace . (10.10)
60
ทังนี f คือตัวประกอบการคูณขึนอยูก่ บั ชนิดของเครื องยนต์ โดยที f จะมีค่าเท่ากับ 0.5 ในเครื องยนต์สี
จังหวะ (four-stroke engine) และ f จะมีค่าเท่ากับ 1 ในเครื องยนต์สองจังหวะ (two-stroke engine)
เครื องยนต์ทีใช้งานส่ วนใหญ่นนจะเป็
ั นเครื องยนต์สีจังหวะซึงหมายความว่าเครื องยนต์จะต้องหมุน
เป็ นจํานวนสองรอบถึงทํางานครบรอบวัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิกส์ดงั ทีแสดงในรู ปที 10.27
237

P
สินสุดการเผาไหม้ ลินไอเสียเปด ลินไอดีเปด
จุดระเบิด
กําลัง

จุดระเบิด ลินไอเสียเปด
อัด
ลินไอดีเปด คาย(ไอเสีย)
Patm
ดูด(ไอดี) V จังหวะอัด จังหวะกําลัง จังหวะคาย จังหวะดูด
Vmin(TDC) Vmax(BDC)
(a) (b)
รู ปที 10.27 แผนภาพความดัน-ปริ มาตรของเครื องยนต์สีจังหวะจริ งและจังหวะการทํางานทังสี จังหวะ

ในจังหวะแรกหรื อจังหวะอัดของผสมระหว่างอากาศและเชือเพลิงหรื ออีกชือหนึ งว่าไอดีซึงอยูเ่ ต็มกระบอก


สู บจะถูกอัดโดยลูกสู บ จนกระทังก่อนถึงตําแหน่งศูนย์ตายบนเล็กน้อยหัวเทียนจะทําการจุดระเบิดทําให้เกิด
การเผาไหม้ในกระบอกสูบ ไอเสี ยทีความดันและอุณหภูมิสูงจะดันลูกสู บออก เราจะเรี ยกจังหวะนีว่าจังหวะ
กําลังซึ งเป็ นจังหวะทีลูกสู บจะดันก้านสู บเพือหมุนข้อเหวียง หลังจากนันเมือลูกสู บถึงตําแหน่งศูนย์ตายล่าง
ลินไอเสี ยจะเปิ ดออกในขณะทีลูกสู บจะเคลือนทีขึนอีกครังเพือไล่ไอเสี ยให้ไหลออกจากกระบอกสู บ เราจะ
เรี ยกจังหวะนีว่าจังหวะคาย เมือลูกสู บเคลือนทีถึงศูนย์ตายบนอีกครัง เมือไอเสี ยส่ วนใหญ่ก็จะไหลออกจาก
ลูกสู บไปแล้วลินไอดีก็จะเปิ ดออก ในขณะทีลูกสู บเคลือนทีลงอีกครังหนึ งเพือดูดไอดีเข้ามาในยังกระบอก
สู บซึงเราจะเรี ยกจังหวะนีว่าจังหวะดูด เมือไอดีเต็มกระบอกสู บลินไอดีจะปิ ดและเริ มจังหวะอัดอีกครังหนึ ง
ดังนันจะเห็นได้ว่าลูกสู บต้องเคลือนทีขึนลงสองรอบถึงจะทําให้การทํางานครบวัฏจักรเธอร์ โมไดนามิกส์
อนึ งการทํางานของเครื องยนต์สีจังหวะทีอธิ บายไปนันเป็ นการทํางานของเครื องยนต์จุดระเบิดด้วยประกาย
ไฟ สําหรับเครื องยนต์สีจังหวะทีทํางานด้วยการจุดระเบิดด้วยการอัดนันจะมีลกั ษณะทีคล้ายคลึงกันเพียงแต่
เปลียนไอดีเป็ นอากาศและเปลียนการจุดระเบิดด้วยหัวเทียนเป็ นการฉีดเชือเพลิงด้วยตัวฉีด
นอกจากนี เราจะเห็นได้ว่าจากรู ปที 10.27 (a) ความดันของกระบอกสู บในจังหวะคายจะสู งกว่า
ความดันบรรยากาศเล็กน้อยเพือทําให้ไอเสี ยสามารถไหลออกจากกระบอกสู บได้ ในอีกทางหนึ งความดัน
ของกระบอกสูบในจังหวะดูดจะตํากว่าความดันบรรยากาศเล็กน้อยเพือทําให้ไอดีสามารถไหลเข้าสู่ กระบอก
สู บได้ ถ้าเราทําการประมาณให้กระบวนการของจังหวะคายและจังหวะดูดเป็ นกระบวนการความดันคงทีที
ความดันบรรยากาศทีเกิดขึนระหว่างศูนย์ตายบนและศูนย์ตายล่าง งานทีเสี ยไปในจังหวะคายและงานทีได้มา
จากจังหวะดูดจะมีค่าเท่ากันและหักล้างกันจนกลายเป็ นศูนย์ ดังนันในจังหวะคายและจังหวะดูดจึงเป็ นการ
หมุนของเครื องยนต์ไปหนึ งรอบโดยไม่สร้างงานแต่ประการใด ผลก็คืองานสุ ทธิ ทีเกิดขึนจึงเกิดจากงานที
แตกต่างกันในจังหวะอัดและจังหวะกําลังซึงจะแทนด้วยพืนทีปิ ดล้อมในส่ วนบนของรู ปที 10.27 (a) นันเอง
238

เครื องยนต์สองจังหวะนันมีการทํางานทังสี จังหวะเหมือนเครื องยนต์สีจังหวะดังทีได้อธิ บายไป แต่


เครื องยนต์ทาํ งานแค่สองจังหวะเท่านันนันคือจังหวะอัดและดูดรวมกันเป็ นหนึ งจังหวะ และจังหวะกําลัง
และคายรวมกันเป็ นหนึงจังหวะดังทีแสดงในรู ปที 10.28
จุดระเบิด

ไอดี ไอเสีย
ไอเสีย
ไอดี
ช่องด้านข้าง

ช่องไอเสีย

ช่องไอดี ไอดี

ลินไอดี ลินไอดี ไอดี ลินไอดี ลินไอดี


ไอดี
เริมเปด เปด เริมปด ปด

เริมจังหวะอัดและดูด ระหว่างอัดและดูด เริมจังหวะกําลังและคาย ระหว่างให้กําลังและคาย

(a) (b) (c) (d)


รู ปที 10.28 จังหวะการทํางานของเครื องยนต์สองจังหวะ

เมือลูกสู บอยูท่ ีตําแหน่งศูนย์ตายล่างในรู ปที 10.28 (a) ตําแหน่งนีจะเป็ นการเริ มต้นของจังหวะอัดและดูด ใน


จังหวะนี ลินไอดีจะเริ มเปิ ด และในกระบอกสู บจะเต็มไปด้วยไอดีทีเพิงจะไล่ไอเสี ยออกไปทางช่องไอเสี ย
เมือลูกสู บเคลือนทีขึนในรู ปที 10.28 (b) จะเห็นได้ว่าลูกสู บจะเคลือนทีปิ ดช่องไอเสี ยและช่องด้านข้างทําให้
กักไอดีอยูใ่ นกระบอกสูบ ในขณะเดียวกันทีห้องข้อเหวียง (crankcase) ด้านล่าง เนืองจากปริ มาตรในห้องข้อ
เหวียงเพิมขึน เป็ นผลให้ไอดีจะถูกดูดผ่านช่องไอดีเข้าสู่ ห้องข้อเหวียงจนเต็ม ดังนันจึงกล่าวได้ว่าในรู ปที
10.28 (b) นีเป็ นตําแหน่งทีเกิดการอัดไอดีและดูดไอดีไปด้วยพร้อมกัน เมือลูกสู บอยูท่ ีตําแหน่งศูนย์ตายบน
ในรู ปที 10.28 (c) หัวเทียนก็ทาํ การจุดระเบิดขึนทําให้ลูกสู บเริ มเคลือนทีลงและเป็ นการเริ มต้นของจังหวะ
กําลัง ในขณะเดี ยวกันลินไอดี จะเริ มปิ ดเพือกักไอดี ไว้ในห้องข้อเหวียง เมือลูกสู บเคลือนทีลงทําให้ช่อง
ไอเสี ยและช่องด้านข้างเปิ ดดังทีแสดงในรู ปที 10.28 (d) จะเห็นว่าไอเสี ยทีอยูใ่ นกระบอกสู บกําลังดันลูกสู บ
ลง ในขณะเดียวกันปริ มาตรในห้องข้อเหวียงลดลง ผลก็คือไอดีทีอยูใ่ นห้องข้อเหวียงจะถูกไล่ผา่ นช่องด้าน
ข้างขึนไปยังกระบอกสู บด้านบน เป็ นผลให้ไอดีดงั กล่าวเริ มไล่ไอเสี ยบางส่ วนออกไปจากกระบอกสู บผ่าน
ทางช่องไอเสี ย ดังนันอาจกล่าวได้ว่าในรู ปที 10.28 (d) นีเป็ นตําแหน่งทีเกิดการให้กาํ ลังและคายไอเสี ยไป
ด้วยพร้อมกัน เมือไอเสี ยส่ วนใหญ่ถูกไล่ออกไปโดยไอดี สูบสูบก็จะอยูใ่ นตําแหน่งศูนย์ตายล่างและกลับไป
เริ มต้นทีรู ป 10.28 (a) อีกครัง โดยสรุ ปจะเห็นได้ว่าในการทํางานครบวัฏจักรเธอร์โมไดนามิกส์ ลูกสู บจะ
เคลือนทีขึนลงเพียงครังเดียวเท่านัน อนึ งเครื องยนต์สองจังหวะนันสามารถใช้ได้ทงเครื ั องยนต์จุดระเบิด
ด้วยหัวเที ยนซึ งใช้ในเครื องยนต์ขนาดเล็กได้แก่ จักรยานยนต์ หรื อเครื องตัดหญ้าเป็ นต้น และใช้ได้กับ
เครื องยนต์จุดระเบิดด้วยการอัดซึงใช้ในเครื องยนต์ขนาดใหญ่สาํ หรับพาหนะทางนํา
239

10.13 วัฏจักรออตโต
วัฏจักรออตโตเป็ นวัฏจักรอุดมคติทีใช้เป็ นแบบจําลองสําหรับเครื องยนต์เผาไหม้ภายในทีจุดระเบิด
ด้วยประกายไฟหรื อเครื องยนต์แกโซลี น ระบบของวัฏจักรออตโตจะเป็ นมวลควบคุ มซึ งบรรจุ ในภาย
กระบอกสู บ ดังนันเมือประยุกต์ใช้สมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น จึงทําให้มวลควบคุมทีอยูใ่ นกระบอกสู บ
ก็คืออากาศนันเอง วัฏจักรออตโตประกอบไปด้วยกระบวนการทังหมดสี กระบวนการกล่าวคือ
1) กระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปิ ก
2) กระบวนการไอโซคอริ กย้อนกลับได้ภายในซึงจะมีการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ ระบบ
3) กระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปิ ก
4) กระบวนการไอโซคอริ กย้อนกลับได้ภายในซึงจะมีการถ่ายเทความร้อนออกจากระบบ
เราจะสามารถเขียนแผนภาพความดัน-ปริ มาตรและกระบวนการทํางานของอากาศภายในกระบอกสู บของ
วัฏจักรออตโตได้ดงั รู ปที 10.29 (a) และ 10.29 (b) ตามลําดับ
P
3
Q=0 QH Q=0 QL

s คงที Vmin
2 อากาศ
4 Vmax
s คงที
1
ภาวะที 1 ภาวะที 2 ภาวะที 3 ภาวะที 4 ภาวะที 1
V
Vmin(TDC) Vmax(BDC)
(a) (b)
รู ปที 10.29 แผนภาพความดัน-ปริ มาตรและกระบวนการของอากาศภายในกระบอกสูบของวัฏจักรออตโต

จากรู ปจะเห็นว่าอากาศทีภาวะที 1 ซึ งจะมีภาวะใกล้เคียงกับอุณหภูมิและบรรยากาศภายนอกจะถูกอัดด้วย


กระบวนการไอเซนโทรปิ กจากตําแหน่งศูนย์ตายล่างไปยังศูนย์ตายบนจนอากาศอยูใ่ นภาวะที 2 หลังจาก
นันอากาศจะได้รับความร้อนจากแหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงจากภายนอกซึงนํามาทดแทนการเผาไหม้จาก
การจุดระเบิดด้วยหัวเทียน ทังนี ปริ มาตรภายในกระบอกสู บยังคงทีอยูท่ ี Vmin จนกระทังอากาศอยูท่ ีภาวะที 3
ซึงเป็ นภาวะทีมีอุณหภูมิและความดันสูงทีสุ ดในวัฏจักร ต่อมาอากาศก็จะขยายตัวแบบไอเซนโทรปิ กเพือดัน
ลูกสูบออกจากตําแหน่งศูนย์ตายบนกลับไปยังศูนย์ตายล่างจนกระทังอากาศมาอยูท่ ีภาวะที 4 จากนันอากาศก็
จะคายความร้อนออกสู่ สิงล้อมรอบซึ งนํามาทดแทนกระบวนการแทนทีไอเสี ยด้วยไอดีทีมีอุณหภูมิทีตํากว่า
ทังนีปริ มาตรภายในกระบอกสูบยังคงทีอยูท่ ี Vmax จนในทีสุ ดอากาศก็เย็นตัวกลับมาอยูท่ ีภาวะที 1 อีกครัง
240

โดยอาศัยสมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรออตโตจะสามารถหา


ได้จาก
2 q3 = q H = u 3 − u 2 = C V 0 (T3 − T2 )
q = q L = u 1 − u 4 = C V 0 (T1 − T4 )
4 1

จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักร


w net = 2 q 3 + 4 q 1 = C V 0 (T3 − T2 + T1 − T4 )

ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรออตโตจะหาได้จาก
w net C V 0 (T3 − T4 + T1 − T2 ) T −T T (T / T − 1)
ηth = = = 1− 4 1 = 1− 1 4 1 (10.11)
qH C V 0 (T3 − T2 ) T3 − T2 T2 (T3 / T2 − 1)

เนื องจากกระบวนการจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 และกระบวนการจากภาวะที 3 ไปยังภาวะที 4 เป็ น


กระบวนการไอเซนโทรปิ ก ดังนันเราจะสามารถเขียนได้วา่
k −1 k −1
T2 ⎛ V1 ⎞ T3 ⎛ V4 ⎞
= ⎜⎜ ⎟⎟ และ = ⎜⎜ ⎟⎟
T1 ⎝ V2 ⎠ T4 ⎝ V3 ⎠
แต่เนืองจาก V1 = V4 = Vmax และ V2 = V3 = Vmin จึงทําให้สมการข้างต้นเขียนได้เป็ น
T2 T3 T4 T3
= หรื อ =
T1 T4 T1 T2

และจากสมการที 10.8
Vmax V
rV = = 1
Vmin V2

นําผลทีได้ไปจากสมการทังสองไปแทนลงในสมการที 10.11 จะได้วา่


k −1
T ⎛V ⎞ 1
ηth = 1 − 1 = 1 − ⎜⎜ 2 ⎟⎟ = 1− (10.12)
T2 ⎝ V1 ⎠ (rV )k−1
จะสังเกตได้วา่ ถ้า k ของอากาศเป็ นค่าคงตัว ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรออตโตจะขึนอยูก่ บั อัตราส่ วน
การอัดเพียงอย่างเดียว เมืออัตราส่ วนการอัดเพิมขึน ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรออตโตก็จะเพิมขึน
ด้วยเช่นกัน หากเรานําสมการที 10.12 ไปทําการวาดกราฟเพือหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่ วนการอัด
และประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรออตโต ผลทีได้จะแสดงอยูใ่ นรู ปที 10.30
241

0.7

0.6

0.5

0.4
rV
0.3

0.2

0.1

0
0 2 4 6 8 10 12 14 16
ηth

รู ปที 10.30 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่ วนการอัดและประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรออตโต

สําหรับเครื องยนต์จริ งทีจุดระเบิดด้วยประกายไฟหรื อเครื องยนต์แกโซลีนนันโดยทัวไปจะมีค่าอัตราส่ วน


การอัดอยูท่ ีประมาณ 7 ถึง 11 ดังทีแสดงเป็ นพืนทีแรเงาในรู ปที 10.30 อย่างไรก็ตามการเพิมอัตราส่ วนการ
อัดให้มีค่าเพิมขึนนันจะมีได้สองวิธีกล่าวคือการเพิมค่า Vmax และการลดค่า Vmin สําหรับการเพิมค่า Vmax
นันกระทําได้ค่อนข้างยากเพราะจะมีขอ้ จํากัดในด้านเนื อที สําหรับการลดค่า Vmin จะทําได้ง่ายกว่าเพราะ
ผลกระทบต่อขนาดของเครื องยนต์และข้อจํากัดในด้านเนื อทีจะมีน้อยกว่า ตัวอย่างเช่ นหากต้องการเพิม
อัตราส่ วนการอัดอีกเป็ นสองเท่า หากเราคงค่า Vmin ไว้ เราจะต้องเพิม Vmax อีกสองเท่าจากค่า Vmax เดิมเพือให้
ได้ผลตามทีต้องการ เป็ นผลให้เราต้องเพิมระยะชักเกือบสองเท่าเลยทีเดียว ในขณะทีถ้าเราคงค่า Vmax ไว้
และลดค่า Vmin เพียงครึ งเดียวของค่า Vmin เดิม เราก็จะได้อตั ราส่ วนการอัดเพิมขึนเป็ นสองเท่าเช่นกันโดยที
ระยะชักทีเพิมขึนมีค่าเท่ากับ Vmin/2 เท่านัน อย่างไรก็ตามการเพิมอัตราส่ วนการอัดโดยการลดค่า Vmin ลง
นันจะทําให้เกิดผลเสี ยกล่าวคือไอดีทีภาวะที 2 ในรู ปที 10.29 จะมีความดันและอุณหภูมิเพิมขึนอย่างรวดเร็ ว
หาก Vmin มีค่าลดลง ดังนันถ้าไอดีมีอุณหภูมิสูงขึนถึงจุดๆ หนึง ไอดีดงั กล่าวจะจุดระเบิดเอง (autoignition)
ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทีเรี ยกว่าเครื องยนต์น็อก (engine knock) ซึงจะทําให้สมรรถภาพของเครื องยนต์ตกลง
อย่า งรวดเร็ ว รวมทังก่ อให้เ กิ ดความเสี ย หายแก่ เครื องยนต์ ดังนันในทางปฏิ บตั ิ ก ารจุ ด ระเบิ ดเองของ
เครื องยนต์จะเป็ นตัวกําหนดค่าอัตราส่ วนการอัดสู งสุ ดของเครื องยนต์นนๆ ั และจะเป็ นข้อจํากัดในการเพิม
อัตราส่ วนการอัดในเครื องยนต์แกโซลีนนันเอง
ความสามารถในการต้านทานการน็อกของเครื องยนต์นนจะมี ั ค่ามากหรื อน้อยเพียงใดนันก็จะขึนอยู่
กับชนิดของเชือเพลิงทีใช้ดว้ ยเช่นกัน ดังนันในปั จจุบนั จึงได้มีการพัฒนาสารเติมแต่ง (additive) ทีเติมลงไป
ในนํามันเชือเพลิงเพือจะปรับปรุ งให้นามั ํ นเชือเพลิงสามารถต้านทานการน็อกของเครื องยนต์ได้มากยิงขึน
สารปรุ งแต่งจะทําให้ตวั เลขออกเทน (octane number) ซึงเป็ นค่าทีแสดงถึงความสามารถของนํามันเชือเพลิง
242

ในการต้านทานการน็อกของเครื องยนต์มีค่าเพิมมากขึน ในประมาณทศวรรษที 1920 ได้มีการนําสารเททระ


เอทิลเลด (tetraethyl lead หรื อ TEL) ซึงมีส่วนประกอบของตะกัวมาเป็ นสารปรุ งแต่งเพือเพิมตัวเลขออกเทน
ในนํามันแกโซลีนเนื องจากเป็ นสารทีราคาถูก แต่ต่อมาสารสารเททระเอทิลเลดได้ถูกยกเลิกการใช้งานใน
ประเทศต่างๆ รวมทังประเทศไทยเนืองจากสารดังกล่าวเป็ นพิษและก่อให้เกิดอันตรายต่อสุ ขภาพ ในปัจจุบนั
ได้มีการพัฒนาสารปรุ งแต่งชนิ ดอืนเพือนํามาทดแทนสารเททระเอทิ ลเลดและไม่ก่อให้เกิ ดอันตรายต่อ
สุ ขภาพ
เครื องยนต์แกโซลีนจริ งนันจะมีความเบียงเบนจากวัฏจักรออตโตอุดมคติภายใต้สมมติฐานมาตรฐาน
อากาศเย็นในหลายๆ ส่ วนด้วยกันซึ งได้แก่ ค่าความจุความร้อนจําเพาะของอากาศทีเพิมขึนเมืออุณหภูมิที
สู งขึน การเผาไหม้ทีไม่สมบูรณ์ภายในเครื องยนต์ซึงจะให้ความร้อนออกมาไม่เท่ากับในทฤษฎี ความดัน
ตกในส่ วนต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิงทีลินไอดี และลินไอเสี ย ความร้อนสู ญเสี ยไปยังส่ วนต่างๆ เช่ นผนัง
กระบอกสูบหรื อลูกสูบ เป็ นต้น

ตัวอย่างที 10.5
เครื องยนต์แกโซลีนเครื องหนึงดูดอากาศทีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K กระบวนการเผาไหม้
ทีเกิดขึนทําให้ปริ มาณความร้อนจําเพาะเท่ากับ 970 kJ/kg ถ่ายเทเข้าสู่ อากาศ อุณหภูมิสูงสุ ดในวัฏจักรมีค่า
เท่ากับ 2,100 K จงหาอัตราส่ วนการอัด ความดันทีสูงสุ ดในวัฏจักรและประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักร
วิธีทาํ
สมมติฐานเบืองต้น:
1) เครื องยนต์แกโซลีนมีการทํางานเป็ นวัฏจักรออตโตอุดมคติ
2) สามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
3) ใช้สมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็นกับวัฏจักรเป็ นผลให้อากาศเป็ นมวลควบคุมในวัฏจักร
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, qH, T3
ตัวแปรทีต้องการ: rV, P3, ηth
สําหรั บวัฏจักรออตโตนันจะใช้หลักการคํานวณของ P
3
ระบบปิ ดซึ งในที นี ก็ คื อ อากาศที บรรจุ อ ยู่ ใ นกระบอกสู บ
ดัง นันสมบัติ เ ธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ที เราต้อ งการก็ คื อ พลัง งาน s คงที
ภายในที ภาวะต่ างๆ ของอากาศเพือที เราจะสามารถแทนค่ า 2
พลังงานภายในลงไปในกฎข้อที หนึ งของเธอร์ โมไดนามิ กส์ 4
s คงที
สําหรับกระบวนการทีเราสนใจ แต่เนืองจากผลของสมมติฐาน
1
มาตรฐานอากาศเย็น ทําให้เราเน้นไปทีการหาอุณหภูมิทีภาวะ V
ต่างๆ แทนการหาพลังงานภายในเนื องจากพลังงานภายในของ Vmin(TDC) Vmax(BDC)
แก๊สอุดมคติเป็ นฟังก์ชนั ของอุณหภูมิเพียงอย่างเดียว
243

สําหรับอากาศที 25oC R = 0.287 kJ/kg-K, CV0 = 0.717 kJ/kg-K, k = 1.4


ภาวะที 1 : P1 = 100 kPa, T1 = 300 K
สมการแก๊สอุดมคติ P1 v 1 = R T1

(100 kPa )v1 =



⎜ 0 . 297
kg
kJ ⎞
− K
⎟ (300 K )
⎝ ⎠
3
v 1 = 0.861 m / kg
เนืองจากโจทย์ให้ขอ้ มูลเกียวกับปริ มาณความร้อนจําเพาะเท่ากับ 970 kJ/kg ซึงเป็ นความร้อนทีถ่ายเทเข้าสู่
อากาศจากภาวะที 2 ไปเป็ นภาวะที 3 ดังนัน
กระบวนการ: ไอโซคอริ กจากภาวะที 2 ไปยังภาวะที 3
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่อหนึงหน่วยมวลจะลดรู ปเป็ น
q = q H = u 3 − u 2 = C V 0 (T3 − T2 )
2 3
kJ
970 = 0.717
kg
kJ
kg − K
(2,100 − T2 K )
T2 = 747.141 K
เมือเราทราบ T2 เราสามารถใช้สมการสําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 ได้คือ
k −1
T2 ⎛ v 1 ⎞
= ⎜⎜ ⎟⎟ = (rV )k −1
T1 ⎝ v 2 ⎠
747.141 K
= (rV )1.4 −1
300 K
rV = 9.788 คําตอบ
3
v 1 0.861 m / kg
ดังนัน v2 = = = 0.087963 m 3 / kg
rV 9.788
ภาวะที 2 : T2 = 747.141 K, v2 = 0.087963 m3/kg
สมการแก๊สอุดมคติ P2 v 2 = R T2
m3 ⎞
⎟ (747.141 K )
⎛ ⎛ kJ ⎞
P2 ⎜ 0.087963 ⎟ = ⎜ 0.287
⎝ kg ⎠ ⎝ kg − K ⎠
P2 = 2,437.72 kPa
ภาวะที 3 : T3 = 2,100 K, v3 = v2 = 0.087963 m3/kg
สมการแก๊สอุดมคติ P3 v 3 = R T3
244

m3 ⎞
⎟ (2,100 K )
⎛ ⎛ kJ ⎞
P3 ⎜ 0.087963 ⎟ = ⎜ 0.287
⎝ kg ⎠ ⎝ kg − K ⎠
P3 = 6,851.74 kPa คําตอบ
เนืองจากเราทราบว่า v4 = v1 = 0.861 m3/kg เราสามารถใช้สมการสําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กจาก
ภาวะที 3 ไปยังภาวะที 4 ได้คือ
k −1 k −1
T4 ⎛ v 3 ⎞ ⎛1⎞ ⎛ 1 ⎞1.4 −1
= ⎜ ⎟ = ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜ ⎟ = 0.40153
T3 ⎜⎝ v 4 ⎟⎠ r
⎝ V⎠ ⎝ 9 . 788 ⎠
T4 = 0.40153 (2,100 K ) = 843.214 K
ภาวะที 4 : T4 = 843.214 K, v4 = v1 = 0.861 m3/kg
สมการแก๊สอุดมคติ P4 v 4 = R T4
m3 ⎞
⎟ (843.214 K )
⎛ ⎛ kJ ⎞
P4 ⎜ 0.861 ⎟ = ⎜ 0.287
⎝ kg ⎠ ⎝ kg − K ⎠
P4 = 281.071 kPa
จากนันเริ มประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์กบั กระบวนการต่างๆ
กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ กจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่อหนึงหน่วยมวลจะลดรู ปเป็ น

1 w 2 = u 1 − u 2 = C V 0 (T1 − T2 ) = 0.717
kJ
kg − K
(300 − 747.141 K )
1 w 2 = − 320.600 kJ / kg

กระบวนการ: ไอเซนโทรปิ กจากภาวะที 3 ไปยังภาวะที 4


กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่อหนึงหน่วยมวลจะลดรู ปเป็ น

3 w 4 = u 3 − u 4 = C V 0 (T3 − T4 ) = 0.717
kJ
kg − K
(2,100 − 843.214 K )
3 w 4 = 901.115 kJ / kg
ดังนัน w net = 1 w 2 + 3 w 4 = − 320.600 + 901.115 kJ / kg = 580.515 kJ / kg
ดังนันประสิ ทธิภาพอุณหภาพจะหาได้จาก
w 580.515 kJ / kg
ηth = net =
qH 970 kJ / kg
ηth = 0.5985 = 59.85 % คําตอบ
245

หมายเหตุ
1) เราสามารถหา wnet ได้จากการหา qL โดยกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ของกระบวนการไอโซ
คอริ กจากภาวะที 4 ไปยังภาวะที 1
q
4 1 = q L = u 1 − u 4 = C (T
V0 1 − T4 ) = 0. 717
kJ
kg − K
(300 − 843.214 K ) = − 389.485 kJ / kg
w net = q H + q L = 970 + ( − 389.485) kJ / kg = 580.515 kJ / kg

2) หลังจากทีเราทราบค่า rV แล้ว เราสามารถหา ηth ได้จากสมการที 10.12 หากเราแทนค่า rV = 9.788


และ k = 1.4 ลงไปในสมการดังกล่าวจะทําให้ได้ค่า ηth เช่นเดียวกันกับทีเราคํานวณได้

3) ในความเป็ นจริ งเราไม่จาํ เป็ นจะต้องหาค่า P2 และ P4 ก็ได้ เนืองจากเราไม่ได้ใช้ค่า P2 และ P4 ในการ
คํานวณเพือหาคําตอบทีโจทย์ตอ้ งการ อย่างไรก็ตามการหาค่าความดันทังสองนันจะทําให้เราทราบถึงภาวะ
ของอากาศทีตําแหน่งต่างๆ ได้อย่างครบถ้วน นอกจากนีเมือเราได้ค่า P4 แล้ว เราสามารถตรวจสอบค่า P4 ที
คํานวณได้จากกระบวนการไอโซคอริ กจากภาวะที 4 ไปยังภาวะที 1 กล่าวคือ จากสมการแก๊สอุดมคติทีภาวะ
ที 1 และภาวะที 4 เราจะเขียนได้วา่
P1 v 1 = R T1 และ P4 v 4 = R T4
นําสมการทีสองไปหารสมการแรก เนืองจาก v 1 = v 4 จะได้สมการในรู ปของอัตราส่ วนกล่าวคือ
P4 / P1 = T4 / T1
เมือแทนค่า P4, P1, T4 และ T1 ลงไป ค่าทังสองข้างของสมการด้านบนจะต้องเท่ากัน

10.14 วัฏจักรดีเซล
วัฏจักรดีเซลเป็ นวัฏจักรอุดมคติทีใช้เป็ นแบบจําลองสําหรับเครื องยนต์เผาไหม้ภายในทีจุดระเบิด
ด้วยการอัดหรื อเครื องยนต์ดีเซล โดยทัวแล้ววัฏจักรดี เซลจะมีกระบวนการทีเกิดขึนในวัฏจักรคล้ายคลึง
กับวัฏจักรออตโตเกือบหมดทุกกระบวนการยกเว้นกระบวนการเผาไหม้ ในวัฏจักรดีเซลนันกระบวนการเผา
ไหม้จะเกิ ดจากการฉี ดนํามันเชื อเพลิ งให้เป็ นฝอยทีความดันสู งเข้าไปในกระบอกสู บผ่านตัวฉี ด เมืออยู่
ภายใต้ส มมติ ฐ านมาตรฐานอากาศเย็น กระบวนการดัง กล่ า วจะถูก แทนที ด้ว ยการถ่ า ยเทความร้ อ นจาก
แหล่งจ่ายพลังงานภายนอกทีทําให้อากาศขยายตัวด้วยกระบวนการความดันคงที โดยสรุ ปแล้ววัฏจักรดีเซล
จะประกอบไปด้วยกระบวนการดังนี
1) กระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปิ ก
2) กระบวนการไอโซบาริ กย้อนกลับได้ภายในซึงจะมีการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ ระบบ
3) กระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปิ ก
4) กระบวนการไอโซคอริ กย้อนกลับได้ภายในซึงจะมีการถ่ายเทความร้อนออกจากระบบ
246

เราจะสามารถเขียนแผนภาพความดัน-ปริ มาตรและกระบวนการทํางานของอากาศภายในกระบอกสู บของ


วัฏจักรดีเซลดังรู ปที 10.31 (a) และ 10.31 (b) ตามลําดับ
P QH
Q=0 Q=0 QL
P คงที
2 3
s คงที
Vmin
4 อากาศ

s คงที 1 Vmax
V
Vmin(TDC) Vmax(BDC) ภาวะที 1 ภาวะที 2 ภาวะที 3 ภาวะที 4 ภาวะที 1
(a) (b)
รู ปที 10.31 แผนภาพความดัน-ปริ มาตรและกระบวนการของอากาศภายในกระบอกสูบของวัฏจักรดีเซล

จะสังเกตได้วา่ ในเครื องยนต์ดีเซลนันอัตราส่ วนการอัดยังคงนิยามตามสมการที 10.8 กล่าวคือ


V V
rV = max = 1
Vmin V2
แต่เนื องจากในวัฏจักรดีเซล V3 มีค่ามากกว่า V2 ซึ งจะแตกต่างจากในวัฏจักรออตโตซึ ง V3 และ V2 มีค่า
เท่ากัน ดังนันเราจึงนิยามอัตราส่ วนการตัดเชือเพลิง (cutoff ratio หรื อ rC) สําหรับวัฏจักรดีเซลดังนี
V
rC = 3
V2
ในการหาประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรดีเซล เราจะสามารถหาได้จาก
q = q H = h 3 − h 2 = C P 0 (T3 − T2 )
2 3

อนึงจะเห็นว่าทางด้านขวามือของสมการข้างต้น เราใช้ผลต่างของเอนธัลปี เนืองจากในระบบปิ ดทีมีกระบวน


เป็ นแบบไอโซบาริ ก ปริ มาณความร้อนถ่ายเทเข้าสู่ ระบบจะหาได้จากสมการที 5.17 นอกจากนีจะเห็นได้วา่
4 q1 = q L = u 1 − u 4 = C V 0 (T1 − T4 )
จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมภายใต้วฏั จักร
w net = 2 q 3 + 4 q 1 = C P 0 (T3 − T2 ) + C V 0 (T1 − T4 )
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรดีเซลคือ
w net C P 0 (T3 − T2 ) + C V 0 (T1 − T4 ) C T −T T (T / T − 1)
ηth = = = 1 − V0 4 1 = 1 − 1 4 1 (10.13)
qH C P 0 (T3 − T2 ) C P 0 T3 − T2 k T2 (T3 / T2 − 1)
247

เนืองจากกระบวนการจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 เป็ นกระบวนการไอเซนโทรปิ ก จะสามารถเขียนได้วา่


k −1
T2 ⎛ V1 ⎞
=⎜ ⎟ = (rv )k −1
T1 ⎜⎝ V2 ⎟⎠
ในขณะทีกระบวนการจากภาวะที 2 ไปยังภาวะที 3 เป็ นกระบวนการไอโซบาริ ก ดังนัน
T3 V3
= = rC
T2 V2
และกระบวนการจากภาวะที 4 ไปยังภาวะที 1 เป็ นกระบวนการไอโซคอริ ก ดังนัน
k k k
T4 P4 P4 P3 P2 P4 P2 ⎛ V3 ⎞ ⎛ V1 ⎞ ⎛V ⎞
= = = =⎜ ⎟ ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜⎜ 3 ⎟⎟ = (rC )k
T1 P1 P3 P2 P1 P3 P1 ⎜⎝ V4 ⎟⎠ ⎝ V2 ⎠ ⎝ V2 ⎠
แทนค่าอัตราส่ วนของอุณหภูมิทงสามสมการลงไปในสมการที
ั 10.13 จะได้วา่
⎡ (rC )k − 1 ⎤
1
ηth = 1 − k−1 ⎢ (10.14)
(rV ) ⎣ k (rC − 1)⎥⎦
หากเรานําสมการที 10.14 ไปทํา การวาดกราฟเพือหาความสัมพัน ธ์ระหว่างอัต ราส่ ว นการอัด และ
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรดีเซลและนําเปรี ยบเทียบกับประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรออตโตใน
รู ปที 10.30 ผลทีได้จะแสดงในรู ปที 10.32
0.8

0.7
rC = 1 (Otto)
0.6
rC = 2
rC = 3
0.5
rC = 4

rV 0.4

0.3

0.2

0.1

0
0 5 10 15 20 25
ηth

รู ปที 10.32 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่ วนการอัดและประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักรดีเซล

จากการพิจารณาสมการที 10.14 เปรี ยบเทียบกับสมการที 10.12 เราจะพบว่า ηth ของวัฏจักรดีเซลมี


แตกต่างจาก ηth ของวัฏจักรออตโตตรงที ηth ของวัฏจักรดีเซลจะมีพจน์ทีอยูใ่ นวงเล็บสี เหลียมปรากฏเพิม
248

ขึนมานันเอง จากการพิจารณาพจน์ดงั กล่าวเราจะพบว่าในเครื องยนต์ดีเซลปรกตินนค่ ั า rC จะมากกว่าหนึ ง


เสมอ เป็ นผลให้พจน์ในวงเล็บสี เหลียมของสมการที 10.14 มีค่ามากกว่าหนึงเช่นกัน ดังนันถ้าเปรี ยบเทียบ
เครื องยนต์ทีมี rV เท่ากัน เครื องยนต์แกโซลีนจะมีประสิ ทธิภาพอุณหภาพมากกว่าเครื องยนต์ดีเซลดังทีแสดง
ในรู ปที 10.32 นอกจากนีเรายังเห็นว่าในกรณี ที rV มีค่าคงเดิม ถ้า rC มีค่าเพิมขึน ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของ
เครื องยนต์ดีเซลก็จะมีค่าลดลง อนึ งถ้า rC มีค่าลู่เข้าสู่ หนึ ง เราจะพบว่าพจน์ในวงเล็บสี เหลียมของสมการที
10.14 จะมีค่าลู่เข้าสู่ หนึ งด้วยเช่นกัน ดังนันเราอาจกล่าวได้ว่าในทางทฤษฎีถา้ rC = 1 ผลทีได้จะทําให้
เครื องยนต์ดีเซลจะมีประสิ ทธิภาพอุณหภาพเทียบเท่ากับเครื องยนต์แกโซลีนนันเอง
ในการเปรี ยบเทียบวัฏจักรแกโซลีนกับวัฏจักรดีเซลทีมีค่า rV เท่ากันนัน เราสามารถใช้แผนภาพ
ความดัน-ปริ มาตรและแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ในรู ปที 10.33 ในการพิจารณาก็ได้ จากรู ปจะเห็ นได้
ว่าวัฏจักรออตโต 1-2-3’-4-1 และวัฏจักรดีเซล 1-2-3-4-1 ทีแสดงในรู ปจะมีภาวะก่อนและหลังกระบวนการ
อัดและภาวะหลังจากการขยายตัวเป็ นภาวะเดียวกัน จุดทีต่างกันคือภาวะหลังจากการเผาไหม้อนั เป็ นผลมา
จากกระบวนการไอโซคอริ ก 2-3’ และกระบวนการไอโซบาริ ก 2-3 ในรู ปที 10.33 (b) เนืองจากเส้นความ
ดันคงทีมีความชันน้อยกว่าเส้นปริ มาตรคงที ดังนันพืนที 2-3’-3-2 จึงเป็ นตัวแทนของงานสุ ทธิทีเพิมขึนเมือ
เปลียนจากวัฏจักรดีเซลไปเป็ นวัฏจักรออตโต และก็เป็ นตัวแทนของปริ มาณความร้อนทีป้ อนเข้าสู่ ระบบที
เพิมขึนเมือเปลียนจากวัฏจักรดีเซลไปเป็ นวัฏจักรออตโตเช่นกัน ดังนันจากผลทีได้ดงั กล่าวประสิ ทธิ ภาพ
อุณหภาพของวัฏจักรออตโตจึงมีค่าเพิมขึนมากกว่าวัฏจักรดีเซลในกรณี ที rV มีค่าเท่ากัน
P
3’ T
P คงที 3’
v คงที 3
2 3 4
s คงที 2
4 v คงที
s คงที 1 1
V s
Vmin Vmax
(a) (b)
รู ปที 10.33 แผนภาพความดัน-ปริ มาตรและแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของเครื องยนต์แกโซลีน
กับเครื องยนต์ดีเซลทีมีอตั ราส่ วนการอัดเท่ากัน

ในการทํางานของเครื องยนต์ดีเซลนันอากาศบริ สุทธิ จะถูกดู ดเข้าไปในกระบอกสู บในช่ วงการ


ทํางานในจังหวะดูดซึ งจะแตกต่างจากเครื องยนต์แกโซลีนซึ งอากาศและเชื อเพลิงจะถูกผสมกันเป็ นไอดี
ก่อนทีจะถูกดูดเข้าสู่ กระบอกสู บ เมืออากาศบริ สุทธิถูกอัดจนมีอุณหภูมิและความดันตามทีต้องการ การเผา
249

ไหม้จะเกิ ดขึนเองโดยการฉี ดนํามันเชื อเพลิงผ่านตัวฉี ดลงไปในอากาศแทนการใช้หัวเทียนในการสร้ าง


ประกายไฟเพือทําการจุดระเบิดในเครื องยนต์แกโซลีน ดังนันจะเห็นได้ว่าสําหรับเครื องยนต์ดีเซลทีอัด
อากาศบริ สุทธิ แทนการอัดไอดี การจุดระเบิดเองจึ งไม่สามารถที จะเกิ ดขึน เป็ นผลให้ในทางปฏิบตั ิ เรา
สามารถทีจะเพิมอัตราส่ วนการอัดของเครื องยนต์ดีเซลให้สูงกว่าเครื องยนต์แกโซลีนได้ โดยทัวไปแล้ว
เครื องยนต์ดีเซลจะทํางานทีอัตราส่ วนการอัดประมาณ 14 ถึง 24 ดังทีแสดงเป็ นพืนทีแรเงาลายทแยงมุมในรู ป
ที 10.32 ในขณะทีช่วงการใช้งานของอัตราส่ วนการอัดของเครื องยนต์แกโซลีนจะแสดงให้เห็นเป็ นพืนที
แรเงาทึบ ดังนันด้วยค่าอัตราส่ วนการอัดทีสู งกว่าจึงทําให้ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของเครื องยนต์ดีเซลใน
การใช้งานจริ งจะมีค่าสูงกว่าประสิ ทธิภาพอุณหภาพของเครื องยนต์แกโซลีน ด้วยประสิ ทธิภาพอุณหภาพที
สู งกว่านีเองทําให้เครื องยนต์ดีเซลเหมาะสําหรับการใช้งานทีมีความต้องการกําลังสู งๆ เช่นรถบรรทุก รถไฟ
เรื อขนาดใหญ่ หรื อ การใช้ขบั เครื องกําเนิดไฟฟ้ า เป็ นต้น
ความเบียงเบนของเครื องยนต์ดีเซลจริ งจากวัฏจักรดีเซลอุดมคติภายใต้สมมติฐานมาตรฐานอากาศ
เย็นนันจะคล้ายคลึงกับความเบียงเบนของเครื องยนต์แกโซลีนทีได้กล่าวไว้ในหัวข้อที 10.13 จากทีกล่าวมา
นันการวิเคราะห์การทํางานของเครื องแกโซลีนและดีเซลโดยใช้หลักการทางเธอร์โมไดนามิกส์เป็ นเพียงการ
วิเคราะห์ในเบืองต้นเท่านัน ในความเป็ นจริ งการทํานายพฤติกรรมของเครื องยนต์แกโซลีนและดีเซลจริ ง
โดยใช้แบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ นนมี ั ความสลับซับซ้อนมากเนื องจากการทํางานภายในกระบอกสู บของ
เครื องยนต์จริ งนันจะเกียวข้องกับศาสตร์ในหลายๆ ด้านตัวอย่างเช่น กลศาสตร์ของไหล การถ่ายเทมวลและ
ความร้อน จลนพลศาสตร์เคมี เป็ นต้น การทํานายพฤติกรรมดังกล่าวด้วยแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์นนจะ ั
กระทําได้จะต้องอาศัยหลักการคํานวณเชิ งตัวเลขซึ งจะต้องทําการประมวลผลผ่านเครื องคอมพิวเตอร์ ทีมี
ประสิ ทธิภาพสูงเพือให้ได้ผลการคํานวณตามทีต้องการ วิธีการต่างๆ ทีกล่าวไปนันยังคงเป็ นงานวิจยั ทีกําลัง
ศึกษาอยู่ ณ ปัจจุบนั

ตัวอย่างที 10.6
เครื องยนต์ดีเซลเครื องหนึงมีอตั ราส่ วนการอัดเท่ากับ 21 และอัตราส่ วนการตัดเชือเพลิงเท่ากับ 1.8
อากาศทีถูกดูดเข้าไปก่อนกระบวนการอัดมีความดันและอุณหภูมิเท่ากับ 100 kPa และ 300 K ตามลําดับ จง
คํานวณหาอุณหภูมิสูงสุ ด ความดันหลังจากกระบวนการขยายตัว และประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักร
วิธีทาํ
สมมติฐานเบืองต้น:
1) เครื องยนต์ดีเซลมีการทํางานเป็ นวัฏจักรดีเซลอุดมคติ
2) สามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
3) ใช้สมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็นกับวัฏจักรเป็ นผลให้อากาศเป็ นมวลควบคุมในวัฏจักร
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, rV, rC
ตัวแปรทีต้องการ: T3, P4, ηth
250

สํ า หรั บ วั ฏ จั ก รดี เ ซลนั นการคํ า นวณจะมี ค วาม P


คล้า ยคลึ ง กั บ การคํา นวณในวัฏ จั ก รออตโตกล่ า วคื อ จาก 2 3
สมมติฐานมาตรฐานอากาศเย็น จึงทําให้ระบบปิ ดทีใช้ในการ s คงที
คํา นวณก็ คื อ อากาศภายในกระบอกสู บ จากนันเราก็ จ ะหา 4

อุณหภูมิทีภาวะต่างๆ ในวัฏจักรเพือนําไปแทนในกฎข้อทีหนึง s คงที 1


ของเธอร์โมไดนามิกส์ต่อไป V
Vmin(TDC) Vmax(BDC)
สําหรับอากาศที 25oC R = 0.287 kJ/kg-K, CV0 = 0.717 kJ/kg-K, CP0 = 1.004 kJ/kg-K, k = 1.4
ภาวะที 1 : P1 = 100 kPa, T1 = 300 K
สมการแก๊สอุดมคติ P1 v 1 = R T1

(100 kPa ) v1 =

⎜ 0. 287
kJ ⎞
⎟ (300 K )
kg − K ⎠

v 1 = 0.861 m 3 / kg
เนืองจาก rV = 21 เราจะได้วา่
3
v 1 0.861 m / kg
v2 = = = 0.041 m 3 / kg
rV 21
สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 จะได้วา่
k −1
T2 ⎛ v 1 ⎞
= ⎜⎜ ⎟⎟ = (rV )k −1 = ( 21) 1.4 −1 = 3.3798
T1 ⎝ v 2 ⎠
T2 = 3.3798 (300 K ) = 1,013.93 K
ภาวะที 2 : T2 = 1,013.932 K, v2 = 0.041 m3/kg
สมการแก๊สอุดมคติ P2 v 2 = R T2

⎟ (1,013.93 K )
⎛ kJ ⎞
P2 ( 0.041) = ⎜ 0.287
⎝ kg − K ⎠
P2 = 7,097.53 kPa
เนืองจาก rC = 1.8 เราจะได้วา่
v 3 = rC v 2 = 1.8 (0.041 m 3 / kg ) = 0.0738 m 3 / kg
ภาวะที 3 : P3 = P2 = 7,097.53 kPa, v3 = 0.0738 m3/kg
สมการแก๊สอุดมคติ P3 v 3 = R T3
251

m3 ⎞
(0.0738 kPa )⎜ 0.0738 kg ⎟ = ⎛⎜ 0.287 kg kJ− K ⎞⎟ (T3 )

⎝ ⎠ ⎝ ⎠
T3 = 1,825.08 K คําตอบ
เนืองจาก v4 = v1 = 0.861 m3/kg เราสามารถใช้สมการสําหรับกระบวนการไอเซนโทรปิ กจากภาวะที 3 ไป
ยังภาวะที 4 ได้คือ
k −1 k −1 k −1 k −1 1.4 −1
T4 ⎛ v 3 ⎞ ⎛v v ⎞ ⎛v v ⎞ ⎛ rC ⎞ 1.8
= ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎜⎜ 3 2 ⎟⎟ = ⎜⎜ 3 2 ⎟⎟ = ⎜⎜ ⎟⎟ = ⎛⎜ ⎞⎟ = 0.37430
T3 ⎝ v 4 ⎠ ⎝ v2 v4 ⎠ ⎝ v 2 v1 ⎠ ⎝ rV ⎠ ⎝ 21 ⎠
T4 = 0.37430 (1,825.08 K ) = 683.129 K
ภาวะที 4 : T4 = 683.129 K, v4 = v1 = 0.861 m3/kg
สมการแก๊สอุดมคติ P4 v 4 = R T4
m3 ⎞
⎟ (683.129 K )
⎛ ⎛ kJ ⎞
P4 ⎜ 0.861 ⎟ = ⎜ 0.287
⎝ kg ⎠ ⎝ kg − K ⎠
P4 = 227.710 kPa คําตอบ
เริ มประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์กบั กระบวนการต่างๆ
กระบวนการ: ไอโซบาริ กจากภาวะที 2 ไปยังภาวะที 3
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่อหนึงหน่วยมวลจะลดรู ปเป็ น

2 q 3 = q H = h 3 − h 2 = C P 0 (T3 − T2 ) = 1.004
kJ
kg − K
(1,825.08 − 1,013.43 K )
q H = 814.390 kJ / kg
กระบวนการ: ไอโซคอริ กภาวะที 4 ไปยังภาวะที 1
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่อหนึงหน่วยมวลจะลดรู ปเป็ น
q = q L = u 1 − u 4 = C V 0 (T1 − T4 ) = 0.717
4 1
kJ
kg − K
(300 − 683.129 K )
q L = − 274.704 kJ / kg
ดังนัน w net = q H + q L = 814.390 + ( − 274.704 ) kJ / kg = 539.687 kJ / kg
ดังนันประสิ ทธิภาพอุณหภาพจะหาได้จาก
w net 539.687 kJ / kg
ηth = =
qH 814.390 kJ / kg
ηth = 0.6627 = 66.27 % คําตอบ
252

หมายเหตุ
1) ในวัฏจักรดีเซลการหา wnet โดยตรงนันจะค่อนข้างใช้เวลามากกว่าการหา wnet โดยการนํา qH มารวมกับ
qL ดังทีแสดงในตัวอย่าง สําหรับการหา wnet โดยตรงนันทําได้ดงั นี
เขียนกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ของกระบวนการไอเซนโทรปิ กจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2

1 w 2 = u 1 − u 2 = C V 0 (T1 − T2 ) = 0.717
kJ
kg − K
(300 − 1,013.93 K )= − 511.889 kJ / kg
เขียนสมการสําหรับหางานของเขตเคลือนทีของกระบวนการไอโซบาริ กจากภาวะที 2 ไปยังภาวะที 3
3
⎛ m3 ⎞
2 w3 =
2

P dV = P2 (v 3 − v 2 ) = 7,097.53 kPa ⎜ 0.0738 − 0.041 ⎟ = 232.799 kJ / kg
⎝ kg ⎠
เขียนกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ของกระบวนการไอเซนโทรปิ กจากภาวะที 3 ไปยังภาวะที 4

3 w 4 = u 3 − u 4 = C V 0 (T3 − T4 ) = 0.717
kJ
kg − K
(1,825.08 − 683.129 K )= 818.778 kJ / kg
ดังนัน w net = 1 w 2 + 2 w 3 + 3 w 4 = − 511.889 + 232.799 + 818.778 kJ / kg = 539.687 kJ / kg

2) เนืองจากโจทย์กาํ หนดค่า rV และ rC มาให้ เราสามารถหา ηth ได้จากสมการที 10.14 โดยตรง

3) เราสามารถตรวจสอบค่า P4 ทีคํานวณได้จากกระบวนการไอโซคอริ กจากภาวะที 4 ไปยังภาวะที 1


เช่นเดียวกับหมายเหตุในตัวอย่างที 10.5 โดยใช้สมการในรู ปอัตราส่ วนกล่าวคือ
P4 / P1 = T4 / T1
เมือแทนค่า P4, P1, T4 และ T1 ลงไป ค่าทังสองข้างของสมการด้านบนจะต้องเท่ากัน

10.15 วัฏจักรสเตอร์ลิง
วัฏจักรสเตอร์ลิง (Stirling cycle) เป็ นวัฏจักรอุดมคติทีใช้เป็ นแบบจําลองสําหรับเครื องสเตอร์ลิงซึง
ประกอบไปด้วยกระบวนการทังหมดสี กระบวนการกล่าวคือ
1) กระบวนการอัดแบบไอโซเธอร์มลั ย้อนกลับได้ภายในซึงจะมีการถ่ายเทความร้อนออกจากระบบ
2) กระบวนการไอโซคอริ กย้อนกลับได้ภายในซึงจะมีการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ ระบบ
3) กระบวนการขยายตัวแบบไอโซเธอร์มลั ย้อนกลับได้ภายในซึงจะมีการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ระบบ
4) กระบวนการไอโซคอริ กย้อนกลับได้ภายในซึงจะมีการถ่ายเทความร้อนออกจากระบบ
เราจะสามารถเขียนแผนภาพความดัน-ปริ มาตรและและแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของวัฏจักรสเตอร์ลิงได้
ดังรู ปที 10.34 (a) และ 10.34 (b)
253

P T
3
3 4

2 T คงที v คงที v คงที


4
2 1
T คงที 1 s
V a c b d

(a) (b)
รู ปที 10.34 แผนภาพความดัน-ปริ มาตรและแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของเครื องยนต์สเตอร์ลิง

วัฏจักรสเตอร์ลิงมีความคล้ายคลึงกับวัฏจักรออตโตแต่ต่างกันตรงทีกระบวนการอัดและขยายตัวของแก๊สถูก
เปลียนจากกระบวนการไอเซนโทรปิ กไปเป็ นกระบวนการไอโซเธอร์มลั ย้อนกลับได้ภายใน ดังนันเมือแก๊ส
ถูกอัดจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 ก็จะมีความร้อนถ่ายเทออกจากระบบ ในขณะทีเมือแก๊สขยายตัวจากภาวะ
ที 3 ไปยังภาวะที 4 ก็จะมีความร้อนถ่ายเทเข้าสู่ ระบบ
เครื องยนต์สเตอร์ลิงนันถูกพัฒนามาจากเครื องยนต์เผาไหม้ภายนอก (external combustion engine)
กล่าวคือกระบวนการถ่ายเทความร้อนทังหมดจะเกิดจากการถ่ายเทความร้อนไปสู่ แหล่งภายนอกทังสิ นและ
ของไหลทํางานจะเป็ นระบบปิ ดซึงอยูภ่ ายในกระบอกสู บ นอกจากนีในการใช้งานเครื องยนต์สเตอร์ลิงจะมี
การเพิมรี เจเนอเรเตอร์เข้าไประบบโดยการนํา 2Q3 หรื อพืนที a-2-3-b-a ไปใช้สาํ หรับ 1Q4 หรื อพืนที c-1-4-d-c
ซึงในทางทฤษฎีแล้วพืนทีทังสองจะเท่ากันทําให้ 2Q3 และ 1Q4 หักล้างกันไป ดังนัน QH ของวัฏจักรก็คือ 3Q4
ในขณะที QL ของวัฏจักรก็คือ 1Q2 เป็ นผลให้ผลต่างระหว่าง 3Q4 และ 1Q2 ก็คืองานสุ ทธิทีได้นนเอง

10.16 เกริ นนําเกียวกับระบบทําความเย็น


ในหัวข้อที 10.1 เราได้แนะนําเครื องยนต์ความร้อนซึ งทํางานภายใต้วฏั จักรกําลังซึ งเกิดขึนได้ทงั
จากการทํางานของอุปกรณ์ทีอยู่ในภาวะคงตัวและจากงานขอบเขตเคลือนทีของลูกสู บภายในกระบอกสู บ
ในทางทฤษฎีนนกระบวนการที
ั เกิดขึนในวัฏจักรกําลังอุดมคติจะเป็ นกระบวนการย้อนกลับได้ภายในทังหมด
ดังนันหากเราทําให้กระบวนการที เกิ ดขึนในวัฏจักรกําลังเดิ นย้อนกลับในทิศทางตรงกันข้าม วัฏจักรที
เกิดขึนก็จะกลายเป็ นเป็ นวัฏจักรทําความเย็น (refrigeration cycle) ซึ งก็จะเป็ นวัฏจักรอุดมคติดว้ ยเช่นกันอัน
เป็ นผลมาจากกระบวนการย้อนกลับได้ภายในทีเกิดขึน ในวัฏจักรทําความเย็นนันค่าทีแสดงถึงประสิ ทธิภาพ
รวมของวัฏจักรก็คือค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะ ในกรณี ทีระบบทําความเย็นมีวตั ถุประสงค์ในการใช้งานเป็ น
ตูเ้ ย็น ค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะจะเขียนได้เป็ น
Q
βR = L
Wnet
254

ในกรณี ทีระบบทําความเย็นมีวตั ถุประสงค์ในการใช้งานเป็ นปั มความร้อน ค่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะจะ


เขียนได้เป็ น
Q
βH = H
Wnet

10.17 วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ
เราทราบแล้ว ว่า วัฏ จัก รทํา ความเย็น ที มี ค่า สัม ประสิ ท ธิ สมรรถนะสู ง ที สุ ด ก็คื อ วัฏ จัก รคาร์ โ นต์
อย่างไรก็ตามปั ญหาของวัฏจักรคาร์ โนต์ในทางปฏิบตั ิทีเราได้กล่าวไปแล้วในหัวข้อที 10.2 ก็คือการทํา
กระบวนการไอโซเธอร์มลั ให้เกิดขึนซึงจะกระทําได้ถา้ สารกําลังเปลียนสถานะหรื ออยูใ่ นภาวะอิมตัว ดังนัน
ความเป็ นไปได้ในการสร้ างวัฏจักรทําความเย็นคาร์ โนต์ให้เกิ ดขึนได้ก็คือให้สารทําความเย็นได้ทาํ งาน
ในช่วงทีกําลังเปลียนสถานะดังรู ปที 10.35
T

2 3

1 4
s
รู ปที 10.35 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของวัฏจักรทําความเย็นคาร์โนต์ในกรณี ทีสารอยูใ่ นภาวะอิมตัว

อย่างไรก็ตามการทําให้วฏั จักรทําความเย็นในรู ปที 10.35 ให้เป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ินนก็


ั ยงั คงทําได้ยากด้วย
เหตุผลเดียวกับการสร้างวัฏจักรกําลังคาร์โนต์เนืองจากข้อจํากัดในการจัดการกับภาวะที 1 และ 4 ทีเป็ นของ
ผสมสองสถานะ ในเมือการย้อนกลับทิศทางของวัฏจักรกําลังคาร์โนต์ทาํ ได้ยากในทางปฏิบตั ิ ดังนันเราจึง
เกิดแนวความคิดทีจะสร้างวัฏจักรทําความเย็นจากการย้อนกลับทิศทางของวัฏจักรกําลังทีมีความเป็ นไปได้
ในทางปฏิบตั ิแทน วัฏจักรกําลังทีเราได้เคยกล่าวถึงวัฏจักรแรกก็คือวัฏจักรแรงคิน ดังนันหากเราย้อนกลับ
ทิศทางของกระบวนการทังหมดในวัฏจักรแรงคิน ผลทีได้จะแสดงอยู่ในรู ปที 10.36 ซึ งประกอบไปด้วย
กระบวนการต่อไปนี
1) กระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปิ กผ่านกังหันจากภาวะที 3 ไปยังภาวะที 4 เมือย้อนกลับ
กระบวนการดังกล่าวจะได้เป็ นกระบวนการอัดตัวแบบไอเซนโทรปิ กผ่านเครื องอัดจากภาวะที 4
กลับไปยังภาวะที 3
255

2) กระบวนการไอโซบาริ กทีมีความร้อนป้ อนเข้าสู่ ระบบผ่านหม้อต้มจากภาวะที 2 ไปยังภาวะที 3


เมือย้อนกลับกระบวนการดังกล่าวจะได้เป็ นกระบวนการไอโซบาริ กทีมีความร้อนถ่ายเทออกจาก
ระบบผ่านเครื องควบแน่นจากภาวะที 3 กลับไปยังภาวะที 2
3) กระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปิ กผ่านเครื องสู บจากภาวะที 1 ไปยังภาวะที 2 เมือย้อนกลับ
กระบวนการดังกล่าวจะได้เป็ นกระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปิ กผ่านกังหันจากภาวะที 2
กลับไปยังภาวะที 1 อนึงกังหันจะต้องใช้กบั สารในสถานะของเหลว
4) กระบวนการไอโซบาริ กทีมีความร้อนถ่ายเทออกจากระบบผ่านเครื องควบแน่นจากภาวะที 4 ไป
ยังภาวะที 1 เมือย้อนกลับกระบวนการดังกล่าวจะได้เป็ นกระบวนการไอโซบาริ กทีมีความร้อน
ป้ อนเข้าสู่ ระบบผ่านอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนทีเราจะเรี ยกว่าเครื องระเหย (evaporator) จาก
ภาวะที 1 กลับไปยังภาวะที 4
3
T
P2 = P3
W& comp.
3 Q& H เครืองอัด
เครือง
ควบแน่น
4
P1 = P4
2
2 Q& L
1 4 กังหัน W& turbine
1 เครืองระเหย
s
(a) (b)
รู ปที 10.36 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรทําความเย็น
ทีได้จากการย้อนกลับทิศทางของวัฏจักรแรงคิน

อย่างไรก็ตามเมือนําแนวความคิดของการย้อนกลับทิศทางของวัฏจักรแรงคินดังกล่าวมาทดสอบใช้
ในทางปฏิบตั ิ เราจะพบปั ญหาในสองส่ วน ส่ วนแรกคือในกระบวนการอัดตัวแบบไอเซนโทรปิ กผ่านเครื อง
อัดจากภาวะที 4 กลับไปยังภาวะที 3 สถานะของสารทําความเย็นจะต้องเป็ นแก๊สเพียงอย่างเดียวเพราะถ้า
หากมีของเหลวปะปนอยู่ในสารทําความเย็นก่ อนทีจะเข้าสู่ เครื องอัด ผลทีได้จะทําให้เครื องอัดเกิ ดความ
เสี ยหายขึน ส่ วนทีสองคือในกระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปิ กผ่านกังหันจากภาวะที 2 กลับไปยัง
ภาวะที 1 จะเห็นได้ว่าสารทําความเย็นทีผ่านกังหันดังกล่าวอยูใ่ นสถานะของเหลวซึงมีค่าปริ มาตรจําเพาะตํา
ดังนันจากสมการที 9.12 งานทีได้จากกังหันจะมีค่าน้อยกว่างานทีใช้ในการอัดแก๊สผ่านเครื องอัดประมาณ
1,000 เท่าตามความแตกต่างระหว่างปริ มาตรจําเพาะของของเหลวและแก๊ส นอกจากนีเนืองจากกังหันเป็ น
อุปกรณ์ทีมีชินส่ วนทีเคลือนไหวทําให้ทาํ การประกอบได้ยากและยังได้งานกลับคืนมาในปริ มาณทีน้อยมาก
จนแทบไม่มีนัยสําคัญ ดังนันด้วยความเหมาะสมทางด้านการใช้งานและผลตอบแทนทีได้ เราจึงต้องหา
256

อุปกรณ์ชนิดอืนมาแทนทีกังหันสําหรับทําหน้าทีในการลดความดันจากภาวะที 2 ไปยังภาวะที 1 อุปกรณ์


ดังกล่าวมีชือว่าวาล์วระเหยสารทําความเย็น (expansion valve) ซึงมีลกั ษณะเป็ นธรอตทลิงวาล์วดังทีอธิบาย
ในหัวข้อที 6.4 ซึ งกระบวนการผ่านวาล์วระเหยสารทําความเย็นนันจะเป็ นกระบวนการไอเซนธัลปิ กหรื อ
กระบวนการเอนธัลปี คงที อย่างไรก็ตามเนืองจากอุปกรณ์ชนิดนีอาศัยแรงเสี ยดทานเพือทําให้เกิดความดัน
ตกภายในสารทําความเย็น ดังนันกระบวนการทีเกิดขึนจึงเป็ นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ ดังนันวัฏจักร
แรงคินทีมีการทํางานย้อนกลับทิศทางจึงถูกปรับปรุ งให้กลายเป็ นวัฏจักรทําความเย็นทีมีชือเรี ยกว่าวัฏจักรทํา
ความเย็นแบบอัดไอ (vapor-compression refrigeration cycle) ซึ งเป็ นวัฏจักรทําความเย็นทีใช้กนั อยูอ่ ย่าง
แพร่ หลายในปัจจุบนั หากนําวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอมาแสดงโดยการเรี ยงลําดับของภาวะต่างๆ ใหม่
อีกครัง ผลทีได้จะอยูใ่ นรู ปที 10.37
T Q& H
P2 = P3 3 2
2
เครืองควบแน่น
Tcond. 3 W& comp.
วาล์วระเหย
P1 = P4 สารทําความเย็น
เครืองอัด
Tevap.
4 1 4 เครืองระเหย 1
s Q& L

(a) (b)
รู ปที 10.37 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคติ

โดยสรุ ปแล้ววัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอจะประกอบไปด้วยกระบวนการดังต่อไปนี
1) กระบวนการไอเซนโทรปิ กผ่านเครื องอัด
2) กระบวนการไอโซบาริ กย้อนกลับได้ภายในผ่านเครื องควบแน่น
3) กระบวนการไอเซนธัลปิ กย้อนกลับไม่ได้ผา่ นวาล์วระเหยสารทําความเย็น
4) กระบวนการไอโซบาริ กย้อนกลับได้ภายในผ่านเครื องระเหย
ในวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคตินนสารทํ
ั าความเย็นทีภาวะที 1 ซึงอยูใ่ นภาวะไออิมตัวจะถูกอัดด้วย
กระบวนการไอเซนโทรปิ กผ่านเครื องอัดจนกระทังอยู่ในภาวะไอร้อนยวดยิงในภาวะที 2 ต่อมาสารทํา
ความเย็นจะถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบทําให้เย็นตัวลงแล้วก็ควบแน่ นโดยกระบวนการไอโซบาริ กผ่าน
เครื องควบแน่นจนกลายเป็ นของเหลวอิมตัวอิมตัวในภาวะที 3 จากนันสารทําความเย็นเหลวอิมตัวก็จะถูก
ส่ งผ่านวาล์วระเหยสารทําความเย็นเพือลดความดันลงให้เท่ากับความดันก่อนทีสารทําความเย็นจะถูกอัด
ภายหลังจากทีสารทําความเย็นผ่านกระบวนการไอเซนธัลปิ กทีวาล์วระเหยสารทําความเย็น สารทําความเย็น
ก็จะอยูใ่ นภาวะของผสมสองสถานะซึ งแสดงอยูใ่ นภาวะที 4 ต่อจากนันของผสมดังกล่าวก็จะถูกส่ งผ่าน
257

เครื องระเหยด้วยกระบวนการไอโซบาริ กซึ งจะทําหน้าที ให้สารทําความเย็น ดู ดความร้ อนจากบริ เวณที


ต้องการทําความเย็น เป็ นผลให้สารทําความเย็นจะระเหยกลายเป็ นไอจนหมดและกลับไปสู่ ภาวะที 1 อีกครัง
เราจะสังเกตได้วา่ ในวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคตินนจะมี
ั ความดันอยูเ่ พียงสองค่าคือทีค่า P1 = P4 ซึง
เป็ นค่าความดันตําหรื ออีกชือหนึงว่าความดันเครื องระเหย (evaporator pressure) และทีค่า P2 = P3 ซึงเป็ นค่า
ความดันสู งหรื ออีกชือหนึ งว่าความดันเครื องควบแน่ น (condenser pressure) อุณหภูมิทีเกิดการเปลียน
สถานะของสารทําความเย็นจากของผสมสองสถานะกลายเป็ นไอจะเรี ยกว่าอุณหภูมิระเหย (evaporating
temperature หรื อ Tevap.) ซึ งจะมีค่าเท่ากับอุณหภูมิอิมตัวทีความดันเครื องระเหยนันเอง ในอีกทางหนึ ง
อุณหภูมิทีเกิ ดการเปลียนสถานะของสารทําความเย็นจากไอให้ควบแน่ นกลับมาเป็ นของเหลวจะเรี ยกว่า
อุณหภูมิควบแน่น (condensing temperature หรื อ Tcond.) ซึงจะมีค่าเท่ากับอุณหภูมิอิมตัวทีความดันเครื อง
ควบแน่นนันเอง
อนึ งการพิจารณาพืนทีปิ ดล้อมในแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี เพือหาค่างานสุ ทธิ ทีใช้ในวัฏจักรทํา
ความเย็นแบบอัดไอนันไม่สามารถทําได้ เหตุผลก็คือเนื องจากในวัฏจักรประกอบไปด้วยกระบวนการ
ย้อนกลับไม่ได้หนึงกระบวนการ อย่างไรก็ตามเรายังสามารถหาค่าความร้อนทีถ่ายเทเข้าสู่ เครื องระเหยและ
ค่าความร้อนทีถ่ายเทออกจากเครื องควบแน่นได้จากพืนทีใต้กราฟของกระบวนการจากภาวะที 4 ไปภาวะที 1
และพืนทีใต้กราฟของกระบวนการจากภาวะที 2 ไปภาวะที 3 ตามลําดับ ส่ วนการหาค่าสัมประสิ ทธิ
สมรรถนะของวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอนันจะสามารถหาได้โดยตรงจากสมการที 7.4 หรื อ 7.5 ร่ วมกับ
การใช้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์กบั อุปกรณ์ต่างๆ

ตัวอย่างที 10.7
ตูเ้ ย็นเครื องหนึงซึงใช้อาร์-134เอ (R-134a) เป็ นสารทําความเย็นสามารถใช้วฏั จักรทําความเย็นแบบ
อัดไอเป็ นแบบจําลองโดยทีมีอุณหภูมิระเหยเท่ากับ −10oC ในขณะทีความดันเครื องควบแน่ นมีค่าเท่ากับ
1.2 MPa จงหาความร้อนจําเพาะทีสารทําความเย็นทิงสู่ สิงล้อมรอบและสัมประสิ ทธิสมรรถนะ
วิธีทาํ
สมมติฐานเบืองต้น:
1) วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอเป็ นวัฏจักรอุดมคติ
2) สามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของอาร์-134เอ
ตัวแปรทีทราบค่า: Tevap., Pcond.
ตัวแปรทีต้องการ: q H , βR
การวิเคราะห์วฏั จักรทําความเย็นแบบอัดไอนันจะคล้ายคลึงกับการวิเคราะห์วฏั จักรแรงคินกล่าวคือ
อุปกรณ์ต่างๆ อยูภ่ ายใต้ภาวะคงตัว ดังนันเราจะต้องหาเอนธัลปี ทีภาวะต่างๆ ก่อนทีจะประยุกต์ใช้กฎข้อที
258

หนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ทีอุปกรณ์ชินใดก็ได้เพือหาค่าทีเราต้องการ แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของ


วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคติจะแสดงอยูใ่ นรู ปด้านล่าง
T P2 = P3 = 1.2 MPa Q& H
3 2
2
เครืองควบแน่น
W& comp.
3 วาล์วระเหย
สารทําความเย็น
P1 = P4 เครืองอัด

−10oC 4 1 4 เครืองระเหย 1

s Q& L

ภาวะที 1: T1 = Tevap. = −10oC


x1 = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไออิมตัว
h1 = hg = 392.28 kJ/kg
s1 = sf = 1.7319 kJ/kg-K
ภาวะที 2: P2 = 1.2 MPa
s2 = s1 = 1.7319 kJ/kg-K ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
h2 = 429.527 kJ/kg
ภาวะที 3: P3 = P2 = 1.2 MPa
x3 = 0 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของเหลวอิมตัว
h1 = hf = 266.056 kJ/kg
ภาวะที 4: T4 = Tevap. = −10oC
h4 = h3 = 266.056 kJ/kg ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ

หลังจากทราบเอนธัลปี ของทุกๆ ภาวะในวัฏจักรแล้ว เราก็จะประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึงของเธอร์ โมไดนามิกส์


ทีอุปกรณ์ต่างๆ ได้

ปริ มาตรควบคุม: เครื องควบแน่น


กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น
q cond . = q H = h 3 − h 2 = 266.056 − 429.527 kJ / kg
q H = − 163.471 kJ / kg คําตอบ
259

ปริ มาตรควบคุม: เครื องอัด


กระบวนการ: แอเดียแบติก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น
w comp . = h 1 − h 2
w comp . = 392.28 − 429.527 kJ / kg = − 37.247 kJ / kg

ปริ มาตรควบคุม: เครื องระเหย


กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น
q evap . = q L = h 1 − h 4
q L = 392.28 − 266.056 kJ / kg = 126.224 kJ / kg

ดังนันสัมประสิ ทธิสมรรถนะจะหาได้จาก อนึงการแทนค่างานหรื อกําลังลงไปในสมการเพือหาสัมประสิ ทธิ


สมรรถนะนันจะต้องคิดเฉพาะขนาดเพียงอย่างเดียวโดยไม่ตอ้ งนําเครื องหมายใส่ ลงไป เพราะมิฉะนันเรา
อาจจะคํานวณได้ค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะทีมีเครื องหมายเป็ นลบซึงไม่สมเหตุสมผลแต่ประการใด
Q& q q 126.224 kJ / kg
βR = L = L = L =
W& net w net w comp . 37.247 kJ / kg
βR = 3.389 คําตอบ

หมายเหตุ
1) จุดทีน่าสังเกตสําหรับวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคติก็คือหากเราทราบค่าความดันเครื องระเหย
และความดันควบแน่นหรื ออุณหภูมิระเหยและอุณหภูมิควบแน่น เราก็จะสามารถหาภาวะทุกๆ ตําแหน่งได้
ในทันที
2) กระบวนการธรอตทลิงผ่านวาล์วระเหยสารทําความเย็น กระบวนการไอโซบาริ กผ่านเครื องควบแน่ น
และกระบวนการไอโซบาริ กผ่านเครื องระเหยจะไม่มีงานเกิดขึน ดังนันเป็ นผลให้งานสุ ทธิ ของวัฏจักรทํา
ความเย็นแบบอัดไอจะมีค่าเท่ากับงานทีป้ อนเข้าไปในเครื องอัด
3) เราสามารถหางานสุ ทธิได้จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ของวัฏจักรกล่าวคือ
w net = q H + q L = ( − 163.471) + 126.224 kJ / kg = − 37.247 kJ / kg
4) ในวัฏจักรทําความเย็นทีมีวตั ถุประสงค์การใช้งานเป็ นตูเ้ ย็นนัน อัตราการถ่ายเทความร้อนทีดูดออกจาก
บริ เวณหรื อเนือทีทีรักษาความเย็น ( Q& L ) จะมีชือเรี ยกอีกชือหนึงว่าภาระการทําความเย็น (cooling load)
260

10.18 ของไหลทํางานสําหรับระบบทําความเย็นแบบอัดไอ
ของไหลทํางานหรื อสารทําความเย็นสําหรั บระบบทําความเย็นแบบอัดไอนันมีอยู่ดว้ ยกันหลาย
ประเภท สารทําความเย็นในอุดมคติกค็ ือเป็ นสารทีเสถียร ไม่เป็ นพิษต่อคนและสิ งแวดล้อม ไม่กดั กร่ อน ไม่
ติดไฟ และมีสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ทีเหมาะสมตัวอย่างเช่นมีค่า hfg สู งและมี vg ตําทีอุณหภูมิระเหยที
ต้องการเป็ นต้น จะพบว่าในทางปฏิบตั ิเราไม่สามารถหาสารทําความเย็นทีมีคุณสมบัติครบทังหมดดังเช่นสาร
ทําความเย็นอุดมคติได้ ดังนันสารทําความเย็นแต่ละชนิ ดจะมีขอ้ ดีและข้อเสี ยทีแตกต่างกันออกไปแล้วแต่
การใช้งานแต่ละประเภท
ในระบบทําความเย็นขนาดใหญ่ทีใช้ในอุตสาหกรรมเช่น อุตสาหกรรมผลิตนําแข็ง อุตสาหกรรม
อาหารบางประเภท อุตสาหกรรมห้องเย็นทีใช้สาํ หรับในการจัดเก็บสิ นค้า เป็ นต้น สารทําความเย็นทีนิยมใช้
คือแอมโมเนี ยซึ งมีขอ้ ดีคือมีสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ทีเหมาะสมทําให้ค่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะของระบบ
ทําความเย็นมีค่าสูงและมีราคาถูก แต่ขอ้ เสี ยคือมีความเป็ นพิษต่อร่ างกาย เป็ นผลให้ไม่สามารถใช้แอมโมเนีย
กับระบบทําความเย็นทีใช้ตามบ้านเรื อนทีมีผคู ้ นอยูอ่ าศัยได้ อย่างไรก็ตามเนืองจากแอมโมเนียมีกลินฉุน จึง
ทําให้เมือเกิ ดการรั วไหลขึน ผูค้ นทีอยู่โดยรอบจะสามารถตรวจจับได้ง่าย รวมทังต่อมาภายหลังเมือเกิ ด
ปัญหาวิกฤตด้านสารทํางานความเย็นทีมีต่อชันโอโซนในบรรยากาศ เราพบว่าแอมโมเนียไม่ก่อให้เกิดปั ญหา
ดังกล่าว จึงทําให้แอมโมเนียยังคงถูกใช้งานเป็ นสารทําความเย็นสําหรับงานทางอุตสาหกรรมอยูใ่ นปัจจุบนั
สําหรับสารทําความเย็นทีไม่เป็ นพิษและปลอดภัยต่อมนุษย์นนในประมาณปลายทศวรรษที
ั 1920 ได้
มีการนําสารในกลุ่มคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (chlorofluorocarbons) หรื อทีเรี ยกโดยย่อว่าสารซีเอฟซี (CFCs)
มาใช้เป็ นสารทําความเย็นสําหรับระบบทําความเย็นในบ้านเรื อนและทีอยูอ่ าศัย โมเลกุลของสารซี เอฟซี จะ
ประกอบไปด้วยอะตอมของคาร์ บอนเป็ นตัวกลางล้อมรอบด้วยอะตอมของคลอรี นและฟลูออรี น ตัวอย่าง
ของสารทําความเย็นดังกล่าวได้แก่อาร์-12 (R-12) ซึงใช้กบั ตูเ้ ย็นตามทีอยูอ่ าศัย และอาร์-11 (R-11) ซึงใช้กบั
ระบบปรับอากาศในอาคารขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามในทศวรรษที 1970 ได้มีการค้นพบว่าสารซี เอฟซี ได้
ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลเสี ย โดยการทํา ลายชันโอโซนในบรรยากาศโลก ดัง นันต่ อ มาจึ ง ได้มี ก ารถู ก ห้ า มใช้ใ น
สนธิสัญญาระดับสากล ส่ งผลให้ในปั จจุบนั เราจึงแทบจะไม่พบเห็นการใช้สารซี เอฟซี ในระบบทําความเย็น
ต่างๆ อีกต่อไป สารอีกกลุ่มหนึ งทีมีความใกล้เคียงกับสารซี เอฟซี ก็คือสารไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์ บอน
(hydrochlorofluorocarbons) หรื อทีเรี ยกโดยย่อว่าสารเอชซี เอฟซี (HCFCs) ซึ งจะแตกต่างจากสารซี เอฟซี
ตรงทีในโมเลกุลของสารเอชซีเอฟซีจะมีอะตอมของไฮโดรเจนแทรกอยูด่ ว้ ย สารเอชซีเอฟซีทีนิยมใช้กนั ใน
เครื องปรับอากาศตามทีอยู่อาศัยและอาคารต่างๆ ก็คืออาร์ -22 (R-22) ผลของการทําลายชันโอโซนใน
บรรยากาศของอาร์-22 จะมีค่าเพียงร้อยละ 5 ของผลดังกล่าวของอาร์-12 ดังนันการใช้งานของอาร์-22 จึง
ยังคงมีอยูใ่ นปัจจุบนั แต่อย่างไรก็ตามอาร์-22 กําลังอยูใ่ นสถานภาพทีจะถูกยกเลิกโดยการแทนทีด้วยสารทํา
ความเย็นชนิดใหม่ซึงเป็ นสารทําความเย็นผสม
สารทํา ความเย็น ที นํา มาใช้ ท ดแทนสารซี เ อฟซี ก็ คื อ สารในกลุ่ ม ไฮโดรฟลู อ อโรคาร์ บ อน
(hydrofluorocarbons) หรื อทีเรี ยกโดยย่อว่าสารเอชเอฟซี (HFCs) ซึงจะไม่ปรากฏอะตอมของคลอรี นอยูใ่ น
261

โมเลกุลของสารทําความเย็นดังกล่าว เป็ นผลให้สารเอชเอฟซี จะไม่ทาํ อันตรายต่อชันโอโซนในบรรยากาศ


ตัวอย่างของสารเอชเอฟซีทีนํามาทดแทนสารซีเอฟซีได้แก่อาร์ 134-เอ (R-134a) ซึงนํามาทดแทนการใช้งาน
ของอาร์ -12 อย่างไรก็ตามจากปั ญหาปรากฏการณ์โลกร้อนในปั จจุบนั จะเป็ นปั ญหาสําคัญของอาร์ 134-เอ
กล่าวคืออาร์ 134-เอ ก่ อให้เกิ ดสภาวะเรื อนกระจกให้แก่ ชันบรรยากาศมากกว่าคาร์ บอนไดออกไซด์ถึง
ประมาณ 1,400 เท่า ซึงปัญหาดังกล่าวกําลังมีการพิจารณาแก้ไขต่อไป
ในการเลือกสารทําความเย็นนันจะต้องพิจารณาอุณหภูมิระเหยและอุณหภูมิควบแน่ นเป็ นหลัก
สําหรับอุณหภูมิระเหยนันจะต้องสอดคล้องกับอุณหภูมิทีต้องการในการทําความเย็น ตัวอย่างเช่นอุณหภูมิที
ต้องการในห้องปรับอากาศอยู่ทีประมาณ 25oC ในขณะทีอุณหภูมิการใช้งานในช่องแช่แข็งอยู่ทีประมาณ
−20oC เป็ นต้น นอกจากนี ความดันเครื องระเหยทีขึนอยู่กบั อุณหภูมิระเหยก็มีส่วนสําคัญ หากความดัน
เครื องระเหยตําก็จะทําให้ปริ มาตรจําเพาะของสารทําความเย็นในสถานะแก๊สมีค่าสู งขึน เป็ นผลให้อุปกรณ์
ต่างๆ มีขนาดใหญ่ขึนส่ งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตด้วยเช่ นกัน สําหรั บอุณหภูมิควบแน่ นนันจะมีค่า
สอดคล้อ งกับ อุ ณ หภู มิ ข องอากาศภายนอกซึ งเราไม่ ส ามารถควบคุ ม ได้ อย่า งไรก็ต ามความดัน เครื อง
ควบแน่นนันจะมีค่าสูงหรื อตําก็จะส่ งผลต่ออุปกรณ์นนๆ
ั เช่นถ้าความดันเครื องควบแน่นมีค่าสูงมาก อุปกรณ์
ต่างๆ จะต้องสามารถทนความดันทีมีค่าสูงดังกล่าวได้ซึงจะส่ งผลต่อมูลค่าการผลิตด้วยเช่นกัน

10.19 ความเบียงเบนของวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอจริ งจากวัฏจักรอุดมคติ


วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอจริ งนันจะมีส่วนทีเบียงเบนไปจากวัฏจักรอุดมคติดงั นี
1) การย้อนกลับไม่ได้ภายในเครื องอัดอันเป็ นผลทําให้งานจริ งทีใส่ เข้าไปในเครื องอัดมีค่ามากกว่างานทีใส่
เข้าไปในเครื องอัดอุดมคติ หากเครื องอัดมีการย้อนกลับไม่ได้ภายในแต่สามารถป้ องกันความร้ อน
สูญเสี ยได้ ภาวะทีออกจากเครื องอัดก็จะเป็ นภาวะที 2’ ดังทีแสดงในรู ปที 10.38 ในกรณี ทีเกิดความร้อน
สูญเสี ยร่ วมกับการย้อนกลับไม่ได้ภายในเครื องอัด ผลทีได้กค็ ือภาวะที 2” ดังทีแสดงในรู ปที 10.38
2) สารทําความเย็นทีออกจากเครื องระเหยอาจจะเป็ นไอร้อนยวดยิงแทนทีจะเป็ นไออิมตัวดังเช่นทีปรากฏ
ในวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคติ ผลดังกล่าวนันเกิดจากเราไม่สามารถควบคุมให้สารทําความ
เย็นทีออกมาจากเครื องระเหยให้เป็ นไออิมตัวได้พอดี ดังนันเมือเกิดความร้อนสู ญเสี ยบนท่อส่ งสารทํา
ความเย็นระหว่างเครื องระเหยและเครื องอัด รวมทังการป้ องกันไม่ให้มีสารทําความเย็นในสถานะ
ของเหลวหลุดรอดเข้าไปในเครื องอัดได้ เราจึงนิ ยมให้สารทําความเย็นทีออกจากเครื องระเหยเป็ นไอ
ร้อนยวดยิงหรื อภาวะที 1’ ดังรู ปที 10.38
3) สารทําความเย็นทีออกจากเครื องควบแน่นอาจจะเป็ นของเหลวอัดตัวแทนทีจะเป็ นของเหลวอิมตัวเช่นที
ปรากฏในวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคติ ผลดังกล่าวนันเกิดจากเราไม่สามารถควบคุมให้สารทํา
ความเย็นทีออกมาจากเครื องควบแน่นให้เป็ นของเหลวอิมตัวได้พอดีและอาจเกิดจากความร้อนสู ญเสี ย
ภายในท่อส่ งระหว่างเครื องควบแน่นกับวาล์วระเหยสารทําความเย็น ในรู ปที 10.38 ภาวะที 3’ จะแสดง
ถึงผลของสารทําความเย็นทีออกจากเครื องควบแน่นในภาวะของเหลวอัดตัว
262

T 2’ P2 = P3
2s
2”

Tcond. 3
3’
P1 = P4

Tevap. 1’
4 1
s
รู ปที 10.38 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอจริ ง

4) ความดันตกซึ งเกิดจากแรงเสี ยดทานภายในท่อโดยเฉพาะอย่างยิงในเครื องควบแน่ นและเครื องระเหย


ดังนันความดันของสารทําความเย็นทีออกจากเครื องควบแน่นและเครื องระเหยจะมีค่าลดลงเมือเทียบกับ
ความดันก่อนเข้าเครื องควบแน่นและเครื องระเหยตามลําดับ

ตัวอย่างที 10.8
ตูเ้ ย็นเครื องหนึงทํางานโดยใช้ระบบทําความเย็นแบบอัดไอซึงใช้อาร์-134เอ (R-134a) เป็ นสารทํา
ความเย็นโดยมีอุณหภูมิระเหยที −5oC สารทําความเย็นก่อนเข้าเครื องอัดมีอุณหภูมิอยูท่ ี 10oC เมือออกจาก
เครื องอัดจะมีความดัน 1 MPa โดยทีเครื องอัดมีประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กเท่ากับร้อยละ 80 หลังจากผ่าน
เครื องควบแน่นสารทําความเย็นมีอุณหภูมิ 35oC จงหาอุณหภูมิสูงสุ ดในวัฏจักรและสัมประสิ ทธิสมรรถนะ
วิธีทาํ
สมมติฐานเบืองต้น:
1) วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอโดยมีเครื องควบแน่นและเครื องระเหยเป็ นอุปกรณ์อุดมคติ
2) สามารถละทิง ΔKE และ ΔPE ในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของอาร์-134เอ
ตัวแปรทีทราบค่า: Tevap., T1, P2, ηcomp., T3
ตัวแปรทีต้องการ: T2, βR
จะเห็นได้ว่าการกําหนดอุณหภูมิระเหยที −5oC จะเทียบเท่ากับการระบุค่าความดันเครื องระเหย
กล่าวคือ P1 = P4 = Psat(−5oC) = 244.5 kPa นอกจากนีจะพบได้ว่าวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอทีโจทย์
กําหนดไม่ได้เป็ นวัฏจักรอุดมคติเนืองจาก 1) เครื องอัดมีประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ ก 2) สารทําความเย็นที
เข้าสู่เครื องอัดเป็ นไอร้อนยวดยิงและ 3) สารทําความเย็นทีออกจากเครื องควบแน่นเป็ นของเหลวอัดตัว เมือ
วาดแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี ของวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอทีโจทย์กาํ หนดจะเป็ นดังรู ปทีแสดงถัดไป
263

T P2 = P3 = 1 MPa
2 Q& H
2s 3 2
เครืองควบแน่น
W& comp.
o 3 วาล์วระเหย
35 C สารทําความเย็น
P1 = P4
เครืองอัด
o
10 C
−5 Co 1
4 4 เครืองระเหย 1
s Q& L

ภาวะที 1: P1 = Psat(−5oC) = 244.5 kPa


T1 = −10oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
h1 = 408.463 kJ/kg
s1 = 1.7782 kJ/kg-K
ภาวะที 2s: P2s = P2 = 1 MPa
s2s = s1 = 1.7782 kJ/kg-K ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
h2s = 440.692 kJ/kg
เนืองจากเราทราบ h1 และ h2s รวมทัง ηcomp. ทีโจทย์กาํ หนดให้ ดังนันจากนิยามของ ηcomp. ทําให้เราสามารถ
คํานวณหาค่า h2 ได้กล่าวคือ
h −h
ηcomp . = 1 2 s
h1 − h 2
408.463 − 440.629 kJ / kg
0.8 =
408.463 − h 2 kJ / kg
h 2 = 448.749 kJ / kg

ภาวะที 2: P2 = 1 MPa
h2 = 448.749 kJ/kg ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
โดยการประมาณในช่วงแบบเชิงเส้น จะได้วา่
T2 = 66.56oC คําตอบ
ภาวะที 3: P3 = P2 = 1 MPa
T3 = 35oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของเหลวอัดตัว
h3 ≈ hf(35oC) = 249.10 kJ/kg
264

ภาวะที 4: P4 = Psat(−5oC) = 244.5 kPa


h4 = h3 = 249.10 kJ/kg ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
หลังจากทราบเอนธัลปี ของทุกๆ ภาวะในวัฏจักรแล้ว เราก็จะประยุกต์ใช้กฎข้อทีหนึงของเธอร์ โมไดนามิกส์
ทีอุปกรณ์ต่างๆ ได้ อนึ งในสําหรับกระบวนการทีเกียวข้องกับภาวะที 2 ให้ใช้ภาวะที 2 ทีปรากฏขึนจริ ง
ไม่ใช่ภาวะที 2s ซึงเป็ นภาวะทางอุดมคติสาํ หรับในกรณี ทีเครื องอัดเป็ นแบบไอเซนโทรปิ กเท่านัน

ปริ มาตรควบคุม: เครื องอัด


กระบวนการ: แอเดียแบติก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น
w comp . = h 1 − h 2
w comp . = 408.463 − 448.749 kJ / kg = − 40.286 kJ / kg

ปริ มาตรควบคุม: เครื องระเหย


กระบวนการ: ไอโซบาริ ก
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ต่ออัตราไหลเชิงมวลจะลดรู ปเป็ น
q evap . = q L = h 1 − h 4
q L = 408.463 − 249.10 kJ / kg = 159.363 kJ / kg

ในการหาค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะนัน จะต้องแทนค่าเฉพาะขนาดของ wcomp. และ qL เพียงอย่างเดียวโดยไม่


ต้องนําเครื องหมายใส่ ลงไปดังทีอธิบายไปแล้วในตัวอย่างที 10.7
Q& L qL qL 159.363 kJ / kg
βR = = = =
W& net w net w comp . 40.286 kJ / kg
βR = 3.956 คําตอบ

หมายเหตุ
1) จากกฎข้อ ที หนึ งของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ โ ดยมี ปริ ม าตรควบคุ ม คื อ เครื องควบแน่ น เราจะสามารถ
คํานวณหา qH หรื อความร้อนจําเพาะทีสารทําความเย็นทิงไปยังสิ งล้อมรอบผ่านเครื องควบแน่นได้คือ
q cond . = q H = h 3 − h 2 = 249.10 − 448.749 kJ / kg = − 199.649 kJ / kg
ดังนันเราจะสามารถหางานสุ ทธิได้จากกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ของวัฏจักรได้จากสมการ
w net = q H + q L = ( − 199.649 ) + 159.363 kJ / kg = − 40.286 kJ / kg
2) หากลองคํานวณหาสัมประสิ ทธิ สมรรถนะของวัฏจักรทําความเย็นใหม่ โดยการสมมติให้เครื องอัดเป็ น
เครื องอัดอุดมคติ ดังนันภาวะที 2 จะถูกแทนด้วยภาวะ 2s ซึงเราหามาได้เรี ยบร้อยแล้ว ดังนันจะได้วา่
265

w comp . = 408.463 − 440.692 kJ / kg = − 32.229 kJ / kg


q 159.363 kJ / kg
βR = L = = 4.945
w comp . 32.229 kJ / kg
จะเห็นได้ว่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะเพิมขึนถึงร้อยละ 25 เมือเทียบกับค่าเดิมเลยทีเดียว ดังนันประสิ ทธิภาพ
ไอเซนโทรปิ กของเครื องอัดจึงมีส่วนสําคัญในการเพิมสัมประสิ ทธิสมรรถนะของระบบทําความเย็น
3) ในทางระบบทําความเย็นและปรับอากาศนันผลต่างของอุณหภูมิของไอร้อนยวดยิงทีภาวะที 1 กับ
อุณหภูมิระเหยจะมีชือเรี ยกว่าองศาร้อนยวดยิง (degree of superheat) ในขณะเดียวกันผลต่างระหว่าง
อุณหภูมิควบแน่นกับอุณหภูมิของของเหลวอัดตัวทีภาวะที 3 จะมีชือเรี ยกว่าองศาเย็นยิง (degree of subcool)

10.20 การปรับปรุ งรู ปแบบวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ


ในการใช้งานเกียวกับระบบทําความเย็นบางประเภทนันต้องการความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของ
เนื อทีทีต้องการรักษาความเย็นกับอุณหภูมิภายนอกค่อนข้างมาก โดยอาศัยสมการสัมประสิ ทธิ สมรรถนะ
ของวัฏจักรทําความเย็นคาร์โนต์หรื อสมการที 7.12 และ 7.13 เป็ นแนวทางในการพิจารณา เราพบว่ายิงความ
แตกต่างระหว่างอุณหภูมิดงั กล่าวมีค่ามากเท่าไร ค่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะของระบบทําความเย็นก็จะตําลง
ดังนันเราสามารถจะปรับปรุ งให้ค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะของระบบทําความเย็นมีค่าสูงขึนได้ในหลายวิธี
วิธีแรกคือการใช้ระบบทําความเย็นแบบลดหลัน (cascade refrigeration system) ซึงระบบดังกล่าวจะ
ประกอบด้ว ยระบบทํา ความเย็น แบบอัด ไอหลายระบบเชื อมต่ อ กัน ด้ว ยอุ ป กรณ์ แ ลกเปลี ยนความร้ อ น
ตัวอย่างทีแสดงในรู ปที 10.39 คือวัฏจักรทําความเย็นแบบลดหลันสองขันตอน จากรู ป 10.39 (b) จะเห็นได้
ว่าวัฏจักรทําความเย็นทีแสดงด้วยภาวะที 1-2-3-4-1 จะเป็ นวัฏจักรขันแรกและวัฏจักรทําความเย็นทีแสดงด้วย
ภาวะที 5-6-7-8-5 จะเป็ นวัฏจักรขันทีสอง ทังนี วัฏจักรขันแรกจะถ่ายเทความร้อนผ่านอุปกรณ์แลกเปลียน
ความร้อนไปยังวัฏจักรขันทีสองโดยทีอุปกรณ์แลกเปลียนความร้ อนนันจะทําหน้าทีเป็ นเครื องควบแน่ น
ของวัฏจักรขันแรกและทําหน้าทีเป็ นเครื องระเหยของวัฏจักรขันทีสองไปพร้อมๆ กัน เราจะเห็นได้วา่ วัฏจักร
ทํา ความเย็น แบบลดหลันสองขันตอนวัฏ จัก รนี ต้อ งการจะทํา อุ ณ หภู มิ ร ะเหยให้ ไ ด้เ ท่ า กับ Tevap.1 ใน
ขณะเดียวกันก็ระบายความร้อนออกจากวัฏจักรทีอุณหภูมิควบแน่นเท่ากับ Tcond.2 ถ้าหากเราเปรี ยบเทียบ
กับวัฏจักรทําความเย็นขันตอนเดียวทีแสดงด้วยภาวะที 1-6’-7-4’-1 ทีมีอุณหภูมิระเหย Tevap.1 และอุณหภูมิ
ควบแน่ น Tcond.2 เดียวกันกับวัฏจักรทําความเย็นแบบลดหลันสองขัน เราจะพบว่างานทีใช้ในวัฏจักรทํา
ความเย็นแบบลดหลันสองขันตอนจะมีค่าน้อยกว่างานทีใช้ในวัฏจักรทําความเย็นขันตอนเดียวเท่ากับพืนที
2-6’-6-5-2 หรื อพืนทีแรเงาทีแสดงในรู ปที 10.39 (a) ในขณะเดียวกันความสามารถในการทําความเย็นหรื อ
Q& L ทีเครื องระเหยของวัฏจักรทําความเย็นแบบลดหลันสองขันตอนจะมีค่ามากกว่า Q& L ของในวัฏจักรทํา
ความเย็นขันตอนเดียวเท่ากับพืนที a-b-4’-4-a หรื อพืนทีแรเงาลายทแยงมุมในรู ปที 10.39 (a)
266

Q& H
7 6
เครืองควบแน่น
T 6’ W& comp.2
6 วาล์วระเหย
สารทําความเย็น อุปกรณ์แลกเปลียน
Tcond.2 7 ความร้อน เครืองอัด
2 8 5
Tevap.2 8 5
Tcond.1 3
3 2
W& comp.1
Tevap.1
4 4’ 1 วาล์วระเหย
สารทําความเย็น
a s เครืองอัด
b
4 เครืองระเหย 1
Q& L

(a) (b)
รู ปที 10.39 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรทําความเย็น
แบบลดหลันสองขันตอน

ดังนันด้วยงานทีใช้ในเครื องอัดมีค่าตํากว่าและความสามารถในการทําความเย็นทีมากกว่า ทําให้วฏั จักรทํา


ความเย็นแบบลดหลันสองขันตอนมีค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะสู งกว่าวัฏจักรทําความเย็นแบบขันตอนเดียวที
ทํางานภายใต้ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิทีมีค่าเท่ากัน อนึงเนืองจากวัฏจักรขันแรกและวัฏจักรขันทีสอง
ได้แยกกันทํางานอย่างอิสระ ดังนันเราสามารถทีจะเลือกสารทําความเย็นในวัฏจักรทังสองขันให้เหมือนกัน
หรื อต่างกันก็ได้ตามความต้องการ
เมือใดก็ตามทีสารทําความเย็นทีใช้ในวัฏจักรทังสองขันเป็ นสารเดียวกัน เราสามารถทีเปลียนระบบ
ทําความเย็นแบบลดหลันสองขันตอนให้เป็ นระบบทําความเย็นทีใช้กระบวนการอัดสองขันตอนร่ วมกับห้อง
แฟลช (flash chamber) ดังทีแสดงในรู ปที 10.40 ทังนีห้องแฟลชจะทําหน้าทีเหมือนกับห้องแยกทีได้อธิบาย
ไปในหัวข้อที 6.4 และจะนําใช้เพือแทนทีอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนซึ งใช้อยูใ่ นวัฏจักรทําความเย็นแบบ
ลดหลันสองขันตอน จากรู ปที 10.40 (b) เราจะเห็นได้ว่าห้องแฟลชจะทํางานทีความดันระหว่างกลางค่า
หนึ งและจะทําให้สารทําความเย็นแยกไหลออกเป็ นสองเส้น เส้นแรกซึ งอยูใ่ นสถานะของเหลวอิมตัวหรื อ
ภาวะที 3 จะถูกลดความดันลงให้เท่ากับความดันเครื องระเหยเพือทําความเย็นแล้วจากนันก็ส่งผ่านเข้าสู่
เครื องอัดขันแรกเพือเพิมความดันกลับมาเท่ากับความดันระหว่างกลางอีกครั ง ส่ วนเส้นทีสองซึ งอยู่ใน
สถานะไออิมตัวหรื อภาวะที 9 จะนําไปรวมกับเส้นแรกทีห้องผสมแล้วจากนันสารทําความเย็นทังหมดจะถูก
ส่ งเข้าเครื องอัดขันทีสองเพือเพิมความดันจากความดันระหว่างกลางไปเป็ นความดันเครื องควบแน่น
267

Q& H
7 6
เครืองควบแน่น
T 6’ W& comp.2
6
วาล์วระเหย
สารทําความเย็น
Tcond 7 8 5
เครืองอัด
2 9
8 ห้องแฟลช ห้องผสม
Tint. 3 5
9
3 2
W& comp.1
4 4’ 1 วาล์วระเหย
Tevap สารทําความเย็น
a s เครืองอัด
b
4 เครืองระเหย 1
Q& L

(a) (b)
รู ปที 10.40 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรทําความเย็น
ทีใช้กระบวนการอัดสองขันตอนร่ วมกับห้องแฟลช

จากรู ปที 10.40 (a) จะเห็นได้วา่ วัฏจักรทําความเย็นทีใช้กระบวนการอัดสองขันตอนร่ วมกับห้องแฟลชนันจะ


มีพืนที 2-6’-6-5-2 หรื อพืนทีแรเงา และพืนที a-b-4’-4-a หรื อพืนทีแรเงาลายทแยงมุมเช่นเดียวกับวัฏจักรทํา
ความเย็นแบบลดหลันสองขันตอน ดังนันวัฏจักรทําความเย็นทีใช้กระบวนการอัดสองขันตอนร่ วมกับห้อง
แฟลชจะมีค่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะสู งกว่าวัฏจักรทําความเย็นแบบขันตอนเดียวทีแสดงด้วยภาวะที 1-6’-7-
4’-1 ในขณะเดียวกันถ้าเปรี ยบเทียบวัฏจักรทําความเย็นทีใช้กระบวนการอัดสองขันตอนร่ วมกับห้องแฟลช
กับวัฏจักรทําความเย็นแบบลดหลันสองขันตอน เราจะพบว่าค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะของวัฏจักรทังสองจะ
มีค่าใกล้เคียงกัน ข้อดีของวัฏจักรทําความเย็นทีใช้กระบวนการอัดสองขันตอนร่ วมกับห้องแฟลชคือจะมี
ราคาทีถูกกว่าเนืองจากการใช้หอ้ งแฟลชและห้องผสมทดแทนการใช้อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนทีมีราคาที
แพงกว่า นอกจากนีวัฏจักรทําความเย็นทีใช้กระบวนการอัดสองขันตอนร่ วมกับห้องแฟลชยังสามารถใช้งาน
ได้ในกรณี ที Tint และ Tevap ในรู ปที 10.40 (a) มีค่าต่างกันไม่มาก อย่างไรก็ตามวัฏจักรทําความเย็นทีใช้
กระบวนการอัดสองขันตอนร่ วมกับห้องแฟลชก็จะมีขอ้ จํากัดในเรื องของสารทําความเย็นทีจะต้องใช้สารทํา
ความเย็นชนิ ดเดียวกันในขณะทีวัฏจักรทําความเย็นแบบลดหลันสองขันตอนจะมีความยืดหยุ่นกว่าในการ
เลือกใช้สารทําความเย็นทีต่างกันได้
268

10.21 วัฏจักรทําความเย็นแบบดูดกลืน
วัฏจักรทําความเย็นอีกวัฏจักรหนึ งซึ งมีการใช้งานอยู่บา้ งสําหรับงานบางประเภทก็คือวัฏจักรทํา
ความเย็นแบบดูดกลืน (absorption refrigeration cycle) ความแตกต่างระหว่างวัฏจักรทําความเย็นแบบ
ดูดกลืนและวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอจะอยูท่ ีกระบวนการอัด เป็ นทีทราบกันดีกว่าการอัดสารทีอยูใ่ น
สถานะแก๊สจะใช้งานมากกว่าการอัดสารทีอยู่ในสถานะของเหลวซึ งเป็ นผลมาจากค่าปริ มาตรจําเพาะที
แตกต่างระหว่างแก๊สกับของเหลวถึงประมาณ 1,000 เท่า ดังนันแนวคิดของวัฏจักรทําความเย็นแบบดูดกลืน
คือการหาวิธีทีจะเพิมความดันให้กบั สารทําความเย็นในสถานะของเหลวแทนทีจะเป็ นการเพิมความดันของ
แก๊สโดยใช้เครื องอัดดังเช่นในวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ แนวคิดดังกล่าวจะกระทําได้โดยทําให้สารทํา
ความเย็น ในสถานะแก๊ ส ละลายลงไปในสารอี ก ชนิ ด ซึ งอยู่ใ นสถานะของเหลวที มี ชื อว่ า ตัว ดู ด กลื น
(absorbent) ดังนันอาจจะเปรี ยบได้ว่าตัวกลางขนส่ งได้ทาํ การ “ดูดกลืน” สารทําความเย็นลงไป การทํางาน
ของคือวัฏจักรทําความเย็นแบบดูดกลืนนันจะแสดงอยูใ่ นแผนภาพอุปกรณ์ในรู ปที 10.41
.
QH

NH3 เครืองควบแน่น .
อุปกรณ์แยก NH3 + H2O Qgen.
สารทําความเย็น

วาล์วระเหย สารละลาย NH3


สารทําความเย็น เจือจาง รีเจเนอเรเตอร์

ชุดดูดกลืน วาล์ว
NH3
เครืองระเหย NH3 + H2O
. .
QL
Wpump
.
Qabsorb. สารละลาย NH3
เข้มข้น

รู ปที 10.41 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรทําความเย็นแบบดูดกลืน

จะเห็ นได้ว่าหากพิจารณาอุปกรณ์ ต่างๆ ในวัฏจัก รทําความเย็นแบบดู ดกลื นนัน จะพบว่ามี บาง


อุปกรณ์ได้แก่ เครื องควบแน่น วาล์วระเหยสารทําความเย็น และเครื องระเหย จะมีความคล้ายคลึงและจะทํา
หน้าทีเช่นเดียวกับในวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ ในขณะทีชุดอุปกรณ์ต่างๆ ทีอยูใ่ นเส้นประทังหมดจะ
ทําหน้าทีแทนเครื องอัดในวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ ในวัฏจักรทําความเย็นแบบดูดกลืนทีแสดงในรู ปที
269

10.41 นี จะใช้แอมโมเนี ยเป็ นสารทําความเย็นในขณะทีนําทําหน้าทีเป็ นตัวดูดกลืน เราจะเริ มต้นจาก


แอมโมเนียรับความร้อนจากเครื องระเหยจนอยูใ่ นสถานะแก๊สจนหมด จากนันเมือแก๊สแอมโมเนียก็จะเข้าสู่
ชุดดูดกลืน (absorber) นําจะทําหน้าทีเป็ นตัวทําละลายให้กบั แอมโมเนียจนเกิดเป็ นสารละลายแอมโมเนี ย
เข้มข้น เนื องจากกระบวนการทําละลายระหว่างนํากับแอมโมเนี ยเป็ นกระบวนการคายความร้อน ดังนันใน
ชุดดูดกลืนจะต้องมีความร้อนถ่ายเทออกจากระบบสู่ สิงล้อมรอบ หลังจากนันสารละลายแอมโมเนียเข้มข้น
ถูกอัดให้มีความดันสู งขึนผ่านเครื องสู บ ตรงจุดนี เองทีทําให้วฏั จักรทําความเย็นแบบดูดกลืนสามารถเพิม
ความดันให้กบั สารทําความเย็นหรื อแอมโมเนี ยซึ งอยูใ่ นสถานะของเหลวทีเป็ นสารละลายแทนทีจะต้องใช้
เครื องอัดดังเช่นวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ จากนันเมือผ่านรี เจเนอเรเตอร์ และเข้าสู่ อุปกรณ์แยกสารทํา
ความเย็น (generator) สารละลายแอมโมเนียเข้มข้นจะได้รับความร้อนจากแหล่งจากพลังงานภายนอกทําให้
แอมโมเนี ยส่ วนใหญ่แยกตัวออกจากนํากลายเป็ นแก๊สแอมโมเนี ยซึ งจะไหลเข้าสู่ เครื องควบแน่ นต่อไป
ในขณะที สารละลายแอมโมเนี ย เข้ม ข้น เมื อคายแอมโมเนี ย ส่ ว นใหญ่ อ อกไปจะกลายเป็ นสารละลาย
แอมโมเนี ยเจือจางซึ งจะไหลผ่านรี เจเนอเรเตอร์ ลดความดันโดยผ่านวาล์ว และกลับไปสู่ ชุดดูดกลืนอีกครัง
จะสังเกตได้ว่านําซึงทําหน้าทีดูดกลืนและคายแอมโมเนียออกจะไหลวนเวียนอยูร่ ะหว่างอุปกรณ์แยกสารทํา
ความเย็นและชุดดูดกลืนเท่านัน นอกจากนี พลังงานทีต้องการในการทํางานของวัฏจักรทําความเย็นแบบ
ดูดกลืนก็คืองานทีใช้ในการอัดของเครื องสู บ ( W& pump ) และความร้อนทีใช้ในการแยกแอมโมเนี ยออกจาก
สารละลายแอมโมเนี ยเข้มข้นในอุปกรณ์แยกสารทําความเย็น ( Q& gen . ) ดังนันสัมประสิ ทธิ สมรรถนะของ
วัฏจักรทําความเย็นแบบดูดกลืนจะหาได้จาก
Q& L
βR = (10.15)
W& pump + Q& gen .
เมือเปรี ยบเทียบระหว่างระบบทําความเย็นแบบดูดกลืนและระบบทําความเย็นแบบอัดไอ จะพบว่า
ระบบทําความเย็นแบบดูดกลืนจะมีขอ้ ดีประการแรกคือใช้งานน้อยกว่าเนืองจากงานทีใช้ในการอัดของเหลว
ผ่านเครื องสูบจะมีค่าน้อยกว่างานทีใช้ในการอัดแก๊สผ่านเครื องอัด ข้อดีประการทีสองคือต้องการความร้อน
เป็ นแหล่งพลังงานหลักในป้ อนเข้าสู่ ระบบซึ งบางแห่ งอาจจะหาได้ง่ายกว่างานซึ งส่ วนมากมาจากพลังงาน
ไฟฟ้ า อย่างไรก็ตามข้อเสี ยของระบบทําความเย็นแบบดูดกลืนก็คือระบบมีความซับซ้อนดังทีแสดงในรู ปที
10.41 เป็ นผลให้ระบบโดยรวมมีราคาทีแพงกว่า และทีสําคัญทีสุ ดค่าสัมประสิ ทธิสมรรถนะมีค่าตํากว่าระบบ
ทําความเย็นแบบอัดไอมาก สําหรับเครื องปรับอากาศขนาดใหญ่เราจะพบว่าค่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะใน
กรณี ของระบบทําความเย็นแบบดูดกลืนจะมีค่าไม่เกินประมาณ 1.5 ในขณะทีค่าดังกล่าวของระบบทําความ
เย็นแบบอัดไอจะมีค่าสู งถึงประมาณ 5 เลยทีเดี ยว ดังนันการใช้งานระบบทําความเย็นแบบดูดกลืนจึง
เหมาะสมกับแหล่งพลังงานเหลือทิงทีมีอุณหภูมิสูงหรื อแหล่งพลังงานหมุนเวียนทีมีราคาถูก เช่น ไอเสี ยจาก
การเผาไหม้ แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ ดังนันหากแหล่งพลังงานดังกล่าวมีปริ มาณมากเพียงพอ เราก็
สามารถนําแหล่งพลังงานเหล่านีมาใช้กบั ระบบทําความเย็นแบบดูดกลืนเพือทําความเย็นได้
270

10.22 วัฏจักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศ
เราได้กล่าวถึงแนวคิดในการสร้างวัฏจักรทําความเย็นโดยการย้อนกลับทิศทางของวัฏจักรแรงคิน
ร่ วมกับการปรั บเปลียนอุปกรณ์บางชิ นซึ งผลทีได้ก็คือวัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอ ด้วยแนวความคิด
เดียวกันหากเราจะสร้างวัฏจักรทําความเย็นโดยการย้อนกลับทิศทางของวัฏจักรเบรย์ตนั ซึงมีของไหลทํางาน
อยู่ ใ นสถานะแก๊ ส เพี ย งอย่ า งเดี ย ว ผลที ได้ก็ คื อ วัฏ จัก รทํา ความเย็น มาตรฐานอากาศ (air-standard
refrigeration cycle) ซึงสามารถใช้งานได้ทงระบบเปิ
ั ดและระบบปิ ดดังทีแสดงในรู ปที 10.42 และ 10.43
T P2 = P3
2 Q& H
อุปกรณ์แลก
เปลียนความร้อน 2
3 3
Tambient P1 = P4
W& net
Trefrig. space 1 กังหัน เครืองอัด

Tsupply 4 1
4
s อากาศไปยังห้อง อากาศกลับมาจากห้อง

(a) (b)
รู ปที 10.42 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์ของวัฏจักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศแบบเปิ ด

Q& H
T P2 = P3 อุปกรณ์แลก
2 เปลียนความร้อน 2
3
W& net
3 กังหัน เครืองอัด
Tambient P1 = P4
Trefrig. space 1 4 1
อุปกรณ์แลก
เปลียนความร้อน
4 Q& L
s
(a) (b)
รู ปที 10.43 แผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปี และแผนภาพอุปกรณ์วฏั จักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศแบบปิ ด

ในวัฏจักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศทังแบบเปิ ดและปิ ดนันจะใช้อากาศเป็ นสารทําความเย็น โดยเริ มต้นที


ภาวะที 1 อากาศซึงมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิของห้องหรื อเนือทีทีต้องการรักษาความเย็น (Trefrig. space) จะถูก
อัดผ่านเครื องอัดด้วยกระบวนการไอเซนโทรปิ กจนมีความดันและอุณหภูมิเพิมขึนไปเป็ นภาวะที 2 จากนัน
อากาศจะถูกระบายความร้ อนผ่านอุ ปกรณ์ แ ลกเปลี ยนความร้ อนจนมี อุณ หภู มิลดลงเท่ ากับ อุ ณ หภู มิสิ ง
271

ล้อมรอบ (Tambient) ทีภาวะที 3 ต่อมาอากาศก็จะขยายตัวผ่านกังหันให้ความดันลดลงจนกระทังมีความดัน


เท่ากับความดันก่อนเข้าเครื องอัดซึงอากาศดังกล่าวเย็นลงจนมีอุณหภูมิตาที ํ สุ ดในวัฏจักรทีภาวะที 4 ในกรณี
ของวัฏจักรแบบเปิ ดในรู ปที 10.42 อุณหภูมิทีภาวะที 4 จะเป็ นอุณหภูมิของอากาศทีจ่ายเข้าสู่ หอ้ งหรื อเนือที
ทีต้องการรักษาความเย็น (Tsupply) ซึงอุณหภูมิดงั กล่าวจะต้องมีค่าตํากว่า Trefrig. space ทีต้องการ หลังจากทีห้อง
ได้รับความร้อนจากหลายแหล่งเช่นความร้อนถ่ายเทผ่านผนังห้องจากภายนอก จากคนทีอยูใ่ นห้อง หรื อจาก
อากาศอุ่นทีรัวเข้าไปในห้อง ผลทีได้จะทําให้อากาศในห้องอุ่นขึนจนมีอุณหภูมิเท่ากับ Trefrig. space หรื อทีภาวะ
ที 1 อีกครังก่อนทีจะถูกดูดจากในห้องกลับเข้าไปในวัฏจักรโดยแรงดูดจากเครื องอัด อนึ งความดัน P1 ซึ ง
เท่ากับ P4 ในวัฏจักรเปิ ดจะเท่ากับความดันภายในห้อง สําหรับวัฏจักรปิ ดนันแทนทีอากาศทีภาวะที 4 จะถูก
ส่ งเข้าไปในห้องโดยตรง อากาศดังกล่าวจะถูกส่ งผ่านอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนในรู ปที 10.43 เพือรับ
ความร้อนทางอ้อมจนกระทังอุณหภูมิเพิมขึนเท่ากับ Trefrig. space หรื อทีภาวะที 1 อีกครัง อนึงในวัฏจักรปิ ดนัน
ความดัน P1 ซึงเท่ากับ P4 อาจจะไม่เท่ากับความดันภายในห้องก็ได้
ในการวิเคราะห์วฏั จักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศนันจะเหมือนกับการวิเคราะห์วฏั จักรเบรย์ตนั
ทุกประการ เนื องจากวัฏจักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศนันเป็ นการย้อนกลับทิศทางของวัฏจักรเบรย์ตนั
โดยตรงและไม่ได้มีการปรับเปลียนแต่ประการใด โดยทัวไปแล้วค่าสัมประสิ ทธิ สมรรถนะของวัฏจักรทํา
ความเย็นมาตรฐานอากาศมีค่าตํากว่าค่าดังกล่าวของระบบทําความเย็นแบบอัดไอ แต่เนืองจากอุปกรณ์ต่างๆ
ทีใช้ในวัฏจักรมีนาหนั
ํ กเบาและไม่ซับซ้อน เราจึงนิ ยมใช้วฏั จักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศกับการทํา
ความเย็นในอากาศยาน นอกจากนีเนืองจากสารทําความเย็นอยูใ่ นสถานะแก๊ส จึงทําให้ไม่เกิดปั ญหาในเรื อง
การแข็งตัวของสารทําความเย็น ดังนันการใช้งานวัฏจักรทําความเย็นมาตรฐานอากาศจึงเหมาะสมกับงานทีมี
อุณหภูมิตามากๆ
ํ เช่นการทําความเย็นในภาวะเย็นยวดยิง (cryogenic refrigeration) หรื อการทําให้เป็ น
ของเหลว (liquefaction) ของของผสมทีอยูใ่ นสถานะแก๊ส

10.23 ระบบกําลังและระบบทําความเย็นวัฏจักรร่ วม
จากระบบกําลังและระบบทําความเย็นทีได้นาํ เสนอไปทังหมด เราจะพบว่าในทางปฏิบตั ิจริ งนันจะมี
การนําเอาระบบต่างๆ มาใช้ร่วมกันซึ งจะก่อให้เกิดวัฏจักรทีมีชือเรี ยกว่าวัฏจักรร่ วม (combined cycle)
จุดมุ่งหมายของวัฏจักรร่ วมนันก็เพือประยุกต์ใช้วฏั จักรชนิ ดต่างๆ ทีมีช่วงการใช้งานของอุณหภูมิแตกต่างที
หลากหลายนํามาใช้ร่วมกันเพือเพิมประสิ ทธิภาพรวมของวัฏจักร ตัวอย่างของวัฏจักรร่ วมทีนําเสนอในทีนี
เป็ นเพียงบางส่ วนของวัฏจักรร่ วมซึงมีอยูห่ ลายหลายรู ปแบบและมีการใช้งานอยูใ่ นปัจจุบนั
วัฏจักรร่ วมโดยการอาศัยความร้อนเหลือทิงจากไอเสี ยทีปล่อยออกจากวัฏจักรเบรย์ตนั นํามาใช้เป็ น
แหล่งจ่ายพลังงานอุณหภูมิสูงให้แก่วฏั จักรแรงคินจะแสดงอยู่ในรู ปที 10.44 ในวัฏจักรร่ วมเบรย์ตนั และ
แรงคินจะเห็ นได้ว่าไอเสี ยทีออกมาจากเครื องยนต์กงั หันแก๊สยังคงมีอุณหภูมิสูงมากพอทีจะใช้เป็ นแหล่ง
พลังงานให้กบั โรงจักรไอนํา ทังนี เรานําอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนมาแทนทีหม้อต้มในโรงจักรไอนํา
เพือทีจะแลกเปลียนความร้อนระหว่างไอเสี ยและนํา ผลทีได้ก็คือไอเสี ยทีจากเดิมทิงสู่ บรรยากาศโดยตรง
272

เรากลับนําเอาความร้อนทีเหลือทิงไปกับไอเสี ยนันกลับมาใช้ใหม่โดยนํามาถ่ายเทความร้อนให้กบั ไอนําเพือ


ผลิตงานเพิมในโรงจักรไอนํา ผลทีได้จะทําให้ประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักรร่ วมมีค่าเพิมขึนมากกว่า
วัฏจักรเบรย์ตนั เพียงวัฏจักรเดียว

Q& H
C
ห้องเผาไหม้
4 อุปกรณ์แลกเปลียน W& steam
2 3 ความร้อน กังหัน
W& gas ไอนํา
กังหัน
เครืองอัด แก๊ส B D
5 W& pump Q& L
1 เครือง
ควบแน่น
เครืองสูบ A

รู ปที 10.44 แผนภาพอุปกรณ์วฏั จักรร่ วมระหว่างวัฏจักรเบรย์ตนั และวัฏจักรแรงคิน

วัฏจักรร่ วมทีอาศัยความร้อนเหลือทิงจากไอเสี ยอีกลักษณะหนึ งคือการนําไอเสี ยทีปล่อยออกจาก


วัฏจักรเบรย์ตนั นํามาเป็ นแหล่งพลังงานเพือทําความเย็นโดยใช้วฏั จักรทําความเย็นแบบดูดกลืนดังรู ปที 10.45
จะเห็นได้ว่าความร้อนเหลือทิงจากไอเสี ยจากเครื องยนต์กงั หันก๊าซสามารถนํามาเป็ นแหล่งความร้อนให้กบั
อุปกรณ์แยกสารทําความเย็นในระบบทําความเย็นแบบดูดกลืน ดังนันระบบร่ วมดังกล่าวจึงสามารถผลิต
กระแสไฟฟ้ าได้จากเครื องยนต์กงั หันก๊าซร่ วมกับการทําความเย็นจากระบบทําความเย็นแบบดูดกลืน
.
QH
NH3 อุปกรณ์แยก
Q& H เครืองควบแน่น สารทําความเย็น
4 NH3 + H2O 5
ห้องเผาไหม้
2 3

W& gas วาล์วระเหย รีเจเนอเรเตอร์


กังหัน สารทําความเย็น
เครืองอัด แก๊ส
ชุดดูดกลืน วาล์ว

1 NH3 เครืองระเหย NH3 + H2O


. .
QL
Wpump
.
Qabsorb.

รู ปที 10.45 แผนภาพอุปกรณ์วฏั จักรร่ วมระหว่างวัฏจักรเบรย์ตนั และวัฏจักรทําความเย็นแบบดูดกลืน


273

แบบฝึ กหัด
1) โรงจักรไอนําแห่ งหนึ งทํางานโดยสามารถผลิตไอนําได้เท่ากับ 2.4 kg/s โดยทีความดันหม้อต้มมีค่า
เท่ากับ 2.5 MPa และความดันเครื องควบแน่นมีค่าเท่ากับ 7.5 kPa อุณหภูมิของไอนําก่อนเข้ากังหันมี
ค่าเท่ากับ 250oC หากนําวัฏจักรแรงคินอย่างง่ายมาใช้เป็ นแบบจําลองสําหรับโรงจักรไอนําแห่ งนี จง
คํานวณหาคุณภาพสารสองสถานะของนําขณะทีออกจากกังหัน กําลังสุ ทธิ ทีได้ และประสิ ทธิ ภาพ
อุณหภาพของวัฏจักร
2) โรงจักรไอนําในในข้อที 1) ได้มีการปรับปรุ งเพือลดปริ มาณความชืนทีออกจากกังหันโดยการเพิมส่วน
ของการรี ฮีตเพือให้กลายเป็ นวัฏจักรรี ฮีต ทังนี อัตราการผลิตไอนํา ความดันหม้อต้ม และความดัน
เครื องควบแน่นยังคงมีค่าเท่าเดิม อุณหภูมิก่อนเข้ากังหันความดันสูงมีค่าเท่ากับ 250oC เมือไอนําออก
จากกังหันความดันสู งจะถูกรี ฮีตทีความดัน 1 MPa จนมีอุณหภูมิ 250oC อีกครัง จงคํานวณหาคุณภาพ
สารสองสถานะของนําขณะทีออกจากกังหัน กําลังสุ ทธิ ทีได้ และประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของวัฏจักร
พร้อมทังเปรี ยบเทียบผลทีได้กบั ข้อที 1) ว่าแตกต่างกันอย่างไร

3) โรงจักรไอนําแห่ งหนึ งใช้เครื องอุ่นนําป้ อนแบบปิ ด 5


หนึ งเครื องร่ วมกับแทรปโดยที มี ความดันหม้อต้ม หม้อไอนํา
W& turbine
เท่ากับ 8 MPa ความดันเครื องควบแน่นเท่ากับ 7.5 Q& H กังหัน
เครืองอุ่นนําปอน
kPa และความดันระหว่างกลางทีดึงไอนําออกจาก แบบปด 6
7
กังหันเท่ากับ 800 kPa อุณหภูมิสูงสุ ดในวัฏจักร
8 2 Q& L
เท่ากับ 500oC ในขณะทีนําป้ อนทีภาวะที 8 ในรู ป เครือง
W& pump1 ควบแน่น
ด้านขวาถูกอุ่นจนมีอุณหภูมิเท่ากับ 160oC จง
4
เครืองสูบ 1
คํานวณหางานจําเพาะสุ ทธิ ทีได้และประสิ ทธิ ภาพ 3 1 แทรป
อุณหภาพของวัฏจักร

4) โรงจักรไอนําแห่ งหนึ งทํางานทีความดันหม้อต้มและความดันเครื องควบแน่นซึ งมีค่าเท่ากับ 4 MPa


และ 10 kPa ตามลําดับ อุณหภูมิของไอนําก่อนเข้ากังหันมีค่าเท่ากับ 400oC ประสิ ทธิ ภาพไอเซน
โทรปิ กของเครื องสู บและกังหันมีค่าเท่ากับร้อยละ 82 และ 87 ตามลําดับ จงคํานวณหาประสิ ทธิภาพ
อุณหภาพของวัฏจักร
5) เครื องยนต์กงั หันแก๊สเครื องหนึ งสามารถใช้วฏั จักรเบรย์ตนั อย่างง่ายเป็ นแบบจําลองได้โดยการดูด
อากาศเข้าสู่เครื องยนต์ทีความดัน 90 kPa อุณหภูมิ 290 K ความร้อนจําเพาะทีป้ อนเข้าสู่ หอ้ งเผาไหม้มี
ค่าเท่ากับ 850 kJ/kg อุณหภูมิสูงสุ ดของวัฏจักรมีค่าเท่ากับ 1,400 K จงคํานวณหางานจําเพาะสุ ทธิและ
ประสิ ทธิภาพอุณหภาพของวัฏจักร
274

6) วัฏจักรเบรย์ตนั รี เจเนอเรทิฟอุดมคติทาํ งานโดยการดูดอากาศเข้าสู่ วฏั จักรทีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ


300 K อุณหภูมิสูงสุ ดของวัฏจักรมีค่าเท่ากับ 1,600 K ในขณะทีไอเสี ยทีออกจากรี เจเนอเรเตอร์และ
ปล่อยออกสู่ บรรยากาศมีอุณหภูมิ 650 K จงคํานวณหางานจําเพาะสุ ทธิ และประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
ของวัฏจักร
7) เครื องยนต์กงั หันแก๊สทีใช้ร่วมกับรี เจเนอเรเตอร์ มีอตั ราส่ วนความดันเท่ากับ 11.5 เครื องยนต์ดูด
อากาศจากบรรยากาศทีความดัน 95 kPa อุณหภูมิ 305 K ไอเสี ยทีออกจากรี เจเนอเรเตอร์และปล่อย
ออกสู่บรรยากาศมีอุณหภูมิ 700 K เครื องอัดและกังหันมีประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปิ กเท่ากับร้อยละ 87
และ 90 ตามลําดับ ในขณะทีประสิ ทธิ ผลของรี เจเนอเรเตอร์ มีค่าเท่ากับ 0.8 จงคํานวณหาอุณหภูมิ
สูงสุ ดทีเกิดขึน งานจําเพาะสุ ทธิและประสิ ทธิภาพอุณหภาพ
8) เครื องยนต์แกโซลีนเครื องหนึ งดูดอากาศจากภายนอกทีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K โดยมี
อัตราส่ วนการอัดเท่ากับ 10.5 ความดันสู งสุ ดทีเกิดขึนมีค่าเท่ากับ 6,200 kPa จงคํานวณหาอุณหภูมิ
หลังจากกระบวนการขยายตัว ความร้อนจําเพาะทีถ่ายเทเข้าสู่ ระบบและประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของ
เครื องยนต์
9) อากาศภายนอกทีความดัน 95 kPa และอุณหภูมิ 305 K ถูกดูดเข้าสู่ เครื องยนต์ดีเซลเครื องหนึง ทังนี
ความดันและอุณหภูมิสูงสุ ดในวัฏจักรมีค่าเท่ากับ 6,500 kPa และ 2,000 K ตามลําดับ จงคํานวณหา
อุณหภูมิหลังจากกระบวนการขยายตัว อัตราส่ วนการตัดเชื อเพลิงและประสิ ทธิ ภาพอุณหภาพของ
เครื องยนต์
10) วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไออุดมคติทาํ งานเป็ นปั มความร้อนซึ งใช้อาร์ -134เอเป็ นสารทําความเย็น
โดยทีมีอุณหภูมิระเหยเท่ากับ 30oC ในขณะทีความดันด้านจ่ายของเครื องอัดมีค่าเท่ากับ 2,000 kPa จง
คํานวณหาอุณหภูมิสูงสุ ดทีเกิดขึนในวัฏจักรและสัมประสิ ทธิสมรรถนะ
11) วัฏจักรทําความเย็นแบบอัดไอทํางานเป็ นตูเ้ ย็นซึ งใช้อาร์ -134เอเป็ นสารทําความเย็นโดยทีมีความดัน
และอุณหภูมิก่อนเข้าเครื องอัดเท่ากับ 150 kPa และ −10oC ตามลําดับ ในขณะทีความดันและอุณหภูมิ
ทีออกจากเครื องอัดมีค่าเท่ากับ 1,200 kPa และ 70oC ตามลําดับ ถ้าของเหลวทีออกจากเครื องควบแน่น
อยูใ่ นภาวะของเหลวอิมตัว จงคํานวณหาประสิ ทธิ ภาพไอเซนโทรปิ กของเครื องอัดและสัมประสิ ทธิ
สมรรถนะ
12) การใช้งานของระบบทําความเย็นแบบดู ดกลื นและระบบทําความเย็นมาตรฐานอากาศจะมี ความ
เหมาะสมในกรณี ใด จงอธิบาย
275

เอกสารอางอิง
ภาษาไทย
ฤชากร จิรกาลวสาน. อุณหพลศาสตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
2548.

ภาษาอังกฤษ
Borgnakke, C., and Sonntag, R.E. Fundamentals of Thermodynamics. 7th edition. Asia: John Wiley &
Sons, 2009.

Cengel, Y. A., and Boles, M. A. Thermodynamics: An Engineering Approach. 6th edition, Singapore:
McGraw-Hill, 2007.

Incropera, F. P., and DeWitt, D. P. Fundamentals of Heat and Mass Transfer. 5th edition, USA: John
Wiley & Sons, 2002.

Moran, M. J., and Shapiro, H. N. Fundamentals of Engineering Thermodynamics. 5th edition, USA:
John Wiley & Sons, 2004.

Turns, S. R. Thermodynamics: Concepts and Applications. 1st edition, Hong kong: Cambridge
University Press, 2006.

American Society of Heating and Refrigerating and Air-Conditioning Engineers. ASHRAE Handbooks:
Fundamentals: USA, 2001.
276

คําตอบของแบบฝกหัดบางขอ
แบบฝกหัดบทที่ 2 แบบฝกหัดบทที่ 7
2) ความดัน อุณหภูมิ และความหนาแนน 1) 72 L/hr
4) 9.701 kg 5) 169.8 kW
6) 1.320 m 6) รอยละ 35.0

แบบฝกหัดบทที่ 3 แบบฝกหัดบทที่ 8
2) (b) 270.1 kPa, 0.46827, ของผสมสองสถานะ 2) −278.8 kJ, −362.7 kJ
(d) 0.001062 m3/kg, ไมนิยาม, ของเหลวอัดตัว 3) 0.004580 kJ/K
4) 393.2 kPa 6) (a) 764.8 K
6) 5.654 kg (b) 868.3 K
7) 0.01976 kJ/K
แบบฝกหัดบทที่ 4
2) 10.224 kJ แบบฝกหัดบทที่ 9
3) 8.6814 kJ 2) 269.6 m/s
4) 0 kJ/K
แบบฝกหัดบทที่ 5
5) 7.061 m
3) 2,765.0 kJ/kg, 2,914.3 kJ/kg
7) รอยละ 84.43, 454.39 K
5) −158.840 kJ
7) 100 kJ, 407.27 kJ แบบฝกหัดบทที่ 10
1) 0.7599, 2,113.2 kW, 0.3251
แบบฝกหัดบทที่ 6
3) 1,125.83 kJ/kg, 0.4135
1) 9.506 m/s
5) 404.56 kJ/kg, 0.4760
3) 10.4 min
7) 1,578.0 K, 360.98 kJ/kg, 0.4765
5) −23.36 kW
9) 782.79 K, 1.961, 0.6518
7) 0.3384 kg
11) 0.8152, 2.309
277

ภาคผนวก

ตารางที่ ผ.1 คาคงตัววิกฤต (Borgnakke and Sonntag, 2009: 684) และจุดรวมสาม (Cengel and Boles, 2007: 122)
คาคงตัววิกฤต จุดรวมสาม
สาร สูตรเคมี มวลโมเลกุล Tc Pc vc TTP PTP
3
(kg/kmol) (K) (MPa) (m /kg) (K) (kPa)
แอมโมเนีย NH3 17.031 405.5 11.35 0.00426 195.40 6.076
อารกอน Ar 39.948 150.8 4.87 0.00188 83.81 68.9
คารบอนไดออกไซด CO2 44.01 304.1 7.38 0.00212 216.55 517
คารบอนมอนอกไซด CO 28.01 132.9 3.50 0.00333 68.10 15.37
ฮีเลียม He 4.003 5.19 0.227 0.00143 2.19 5.1
ไฮโดรเจน H2 2.016 33.2 1.30 0.00323 13.84 7.04
ไนโตรเจน N2 28.013 126.2 3.39 0.0032 63.18 12.6
ออกซิเจน O2 31.999 154.6 5.04 0.00229 54.36 0.152
ซัลเฟอรไดออกไซด SO2 64.063 430.8 7.88 0.00191 197.69 1.67
น้ํา H2O 18.015 647.3 22.12 0.00317 273.16 0.61
อาร-22 CHClF2 86.469 369.3 4.97 0.00191 115.76 -
มีเทน CH4 16.043 190.4 4.60 0.00615 90.68 11.7
อาร-134เอ CF3CH2F 102.03 374.2 4.06 0.00197 169.85 0.39
278

ตารางที่ ผ.2 สมบัติของของแข็งที่ 25oC (Borgnakke and Sonntag, 2009: 685)


สาร ρ Cp0 สาร ρ Cp0
(ของแข็ง) (kg/m3) (kJ/kg-K) (ของแข็ง) (kg/m3) (kJ/kg-K)
ของแข็งทั่วไป โลหะ
ยางมะตอย 2120 0.92 อลูมิเนียม 2700 0.90
อิฐ (ธรรมดา) 1800 0.84 ทองเหลือง 8400 0.38
เพชร 3250 0.51 ทองแดง 8300 0.42
แกรไฟต 2000-2500 0.61 ทอง 19300 0.13
ถานหิน 1200-1500 1.26 เหล็กหลอ 7272 0.42
คอนกรีต 2200 0.88 เหล็กกลา (304) 7820 0.46
แกว (แผน) 2500 0.8 ตะกั่ว 11340 0.13
แกว (ใย) 200 0.66 แมกนีเซียม 1778 1.00
หินแกรนิต 2750 0.89 นิเกิล 8666 0.44
o
น้ําแข็ง (0 C) 917 2.04 เงิน 10524 0.24
กระดาษ 700 1.2 โซเดียม 971 1.21
แพลกซิกลาส 1180 1.44 ดีบุก 7304 0.22
โพลีสไตลีน 920 2.3 ทังสเตน 19300 0.13
โพลีไวนิลคลอไรด 1380 0.96 สังกะสี 7144 0.39
ยาง (ออน) 1100 1.67
ทราย (แหง) 1500 0.8
เกลือ (หิน) 2100-2500 0.92
ซิลิกอน 2330 0.70
หิมะ (แนน) 560 2.1
ไมโอค 720 1.26
ไมสน 510 1.38
ขนสัตว 100 1.72
279

ตารางที่ ผ.3 สมบัติของของเหลวที่ 25oC (Borgnakke and Sonntag, 2009: 685)


สาร ρ Cp0 สาร ρ Cp0
(ของเหลว) (kg/m3) (kJ/kg-K) (ของเหลว) (kg/m3) (kJ/kg-K)
ของเหลวทั่วไป โลหะเหลว
แอมโมเนีย 604 4.84 บิสมัท, Bi 10040 0.14
เบนซีน 879 1.72 ตะกั่ว, Pb 10660 0.16
บิวเทน 556 2.47 ปรอท, Hg 13580 0.14
คารบอนเตตระคลอไรด 1584 0.83 โพแทสเซียม, K 828 0.81
คารบอนไดออกไซด 680 2.9 โซเดียม, Na 929 1.38
เอธานอล 783 2.46 ดีบุก, Sn 6950 0.24
แกโซลีน 750 2.08 สังกะสี, Zn 6570 0.50
กลีเซอรีน 1260 2.42
น้ํามันกาด 815 2.0
เมธานอล 787 2.55
เอ็น-ออกเทน 692 2.23
น้ํามันเครื่อง 885 1.9
น้ํามันเบา 910 1.8
โพรเพน 510 2.54
อาร-12 1310 0.97
อาร-22 1190 1.26
อาร-32 961 1.94
อาร-125 1191 1.41
อาร-134เอ 1206 1.43
น้ํา 997 4.18
280

ตารางที่ ผ.4 สมบัติของแกสอุดมคติที่ 25oC, 100 kPa (Borgnakke and Sonntag, 2009: 686)
แกส สูตรเคมี มวลโมเลกุล R Cp0 Cv0 k
(kg/kmol) (kJ/kg-K) (kJ/kg-K) (kJ/kg-K)
อากาศ - 28.97 0.287 1.004 0.717 1.400
แอมโมเนีย NH3 17.031 0.4882 2.130 1.642 1.297
อารกอน Ar 39.948 0.2081 0.520 0.312 1.667
คารบอนไดออกไซด CO2 44.01 0.1889 0.842 0.653 1.289
คารบอนมอนอกไซด CO 28.01 0.2968 1.041 0.744 1.399
ฮีเลียม He 4.003 2.0771 5.193 3.116 1.667
ไฮโดรเจน H2 2.016 4.1243 14.209 10.085 1.409
มีเทน CH4 16.043 0.5183 2.254 1.736 1.299
ไนโตรเจน N2 28.013 0.2968 1.042 0.745 1.400
ออกซิเจน O2 31.999 0.2598 0.922 0.662 1.393
อาร-22 CHClF2 86.469 0.09616 0.658 0.562 1.171
อาร-134เอ CF3CH2F 102.03 0.08149 0.852 0.771 1.106
ซัลเฟอรไดออกไซด SO2 64.059 0.1298 0.624 0.494 1.263
น้ํา H2O 18.015 0.4615 1.872 1.410 1.327
281

ตารางที่ ผ.5 ความรอนจําเพาะที่ความดันคงที่ของแกสอุดมคติ (Borgnakke and Sonntag, 2009: 687)


Cp0 = C0 + C1θ + C2θ2 + C3θ3 โดยที่ θ = T(เคลวิน)/1000
แกส สูตรเคมี C0 C1 C2 C3
อากาศ - 1.05 −0.365 0.85 −0.39
แอมโมเนีย NH3 1.60 1.4 1.0 −0.7
อารกอน Ar 0.52 0 0 0
คารบอนไดออกไซด CO2 0.45 1.67 −1.27 0.39
คารบอนมอนอกไซด CO 1.10 −0.46 1.0 −0.454
ฮีเลียม He 5.193 0 0 0
ไฮโดรเจน H2 13.46 4.6 −6.85 3.79
มีเทน CH4 1.2 3.25 0.75 −0.71
ไนโตรเจน N2 1.11 −0.48 0.96 −0.42
ออกซิเจน O2 0.88 −0.0001 0.54 −0.33
อาร-22 CHClF2 0.2 1.87 −1.35 0.35
อาร-134เอ CF3CH2F 0.165 2.81 −2.23 1.11
ซัลเฟอรไดออกไซด SO2 0.37 1.05 −0.77 0.21
น้ํา H2O 1.79 0.107 0.586 −0.20
หมายเหตุ: ชวงการใชจาก 250 ถึง 1500 K
282

ตารางที่ ผ.6 สมบัติของแกสอุดมคติที่ความดัน 100 kPa (Borgnakke and Sonntag, 2009: 688-691)
อากาศ อากาศ (ตอ)
R = 0.287 kJ/kg-K R = 0.287 kJ/kg-K
M = 28.9 kg/kmol M = 28.9 kg/kmol
อุณหภูมิ u h S0 อุณหภูมิ u h S0
(K) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (K) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
200 142.77 200.17 6.46260 720 528.44 735.10 7.77044
220 157.07 220.22 6.55812 740 544.33 756.73 7.80008
240 171.38 240.27 6.64535 760 560.32 778.46 7.82905
260 185.70 260.32 6.72562 780 576.40 800.28 7.85740
280 200.02 208.39 6.79998 800 592.58 822.20 7.88514
290 207.19 290.43 6.83521 850 633.42 877.40 7.95207
298.15 213.04 298.62 6.86305 900 674.82 933.15 8.01581
300 214.36 300.47 6.86926 950 716.76 989.44 8.07667
320 228.73 320.58 6.93413 1000 759.19 1046.22 8.13493
340 243.11 340.70 6.99515 1050 802.10 1103.48 8.19081
360 257.53 360.86 7.05276 1100 845.45 1161.18 8.24449
380 271.99 381.06 7.10735 1150 889.21 1219.30 8.29616
400 286.49 401.30 7.15926 1200 933.37 1277.81 8.34596
420 301.04 421.59 7.20875 1250 977.89 1336.68 8.39402
440 315.64 441.93 7.25607 1300 1022.75 1395.89 8.44046
460 330.31 462.34 7.30142 1350 1067.94 1455.43 8.48539
480 345.04 482.81 7.34499 1400 1113.43 1515.27 8.52891
500 359.84 503.36 7.38692 1450 1159.20 1575.40 8.57111
520 374.73 523.98 7.42736 1500 1205.25 1635.80 8.61208
540 389.69 544.69 7.46642 1600 1298.08 1757.33 8.69051
560 404.74 565.47 7.50422 1700 1391.80 1879.76 8.76472
580 419.87 586.35 7.54084 1800 1486.33 2002.99 8.83516
600 435.10 607.32 7.57638 1900 1581.59 2126.95 8.90219
620 450.42 628.38 7.61090 2000 1677.52 2251.58 8.96611
640 465.83 649.53 7.64448 2200 1871.16 2502.63 9.08573
660 481.34 670.78 7.67717 2400 2066.91 2755.78 9.19586
680 496.94 692.12 7.70903 2600 2264.48 3010.76 9.29790
700 512.64 713.56 7.74010 2800 2463.66 3267.35 9.39297
3000 2664.27 3525.36 9.48198
283

ตารางที่ ผ.6 สมบัติของแกสอุดมคติที่ความดัน 100 kPa (ตอ)


ไนโตรเจน ออกซิเจน
R = 0.2968 kJ/kg-K R = 0.2598 kJ/kg-K
M = 28.013 kg/kmol M = 31.999 kg/kmol
อุณหภูมิ u h S0 อุณหภูมิ u h S0
(K) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (K) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
200 148.39 207.75 6.4250 200 129.84 181.81 6.0466
250 185.50 259.70 6.6568 250 162.41 227.37 6.2499
300 222.63 311.67 6.8463 300 195.20 273.15 6.4168
350 259.80 363.68 7.0067 350 228.37 319.31 6.5590
400 297.09 415.81 7.1459 400 262.10 366.03 6.6838
450 334.57 468.13 7.2692 450 296.52 413.45 6.7954
500 372.35 520.75 7.3800 500 331.72 461.63 6.8969
550 410.52 573.76 7.4811 550 367.70 510.61 6.9903
600 449.16 627.24 7.5741 600 404.46 560.36 7.0768
650 488.34 681.26 7.6606 650 441.97 610.86 7.1577
700 528.09 735.86 7.7415 700 480.18 662.06 7.2336
750 568.45 791.05 7.8176 750 519.02 713.90 7.3051
800 609.41 846.85 7.8897 800 558.46 766.33 7.3728
850 650.98 903.26 7.9581 850 598.44 819.30 7.4370
900 693.13 960.25 8.0232 900 638.90 872.75 7.4981
950 735.85 1017.81 8.0855 950 679.80 926.65 7.5564
1000 779.11 1075.91 8.1451 1000 721.11 980.95 7.6121
1100 867.14 1193.62 8.2572 1100 804.80 1090.62 7.7166
1200 957.00 1313.16 8.3612 1200 889.72 1201.53 7.8131
1300 1048.46 1434.31 8.4582 1300 975.72 1313.51 7.9027
1400 1141.35 1556.87 8.5490 1400 1062.67 1426.44 7.9864
1500 1235.50 1680.70 8.6345 1500 1150.48 1540.23 8.0649
1600 1330.72 1805.60 8.7151 1600 1239.10 1654.83 8.1389
1700 1426.89 1931.45 8.7914 1700 1328.49 1770.21 8.2088
1800 1523.90 2058.15 8.8638 1800 1418.63 1886.33 8.2752
1900 1621.66 2185.58 8.9327 1900 1509.50 2003.19 8.3384
2000 1720.07 2313.68 8.9984 2000 1601.10 2120.77 8.3987
284

ตารางที่ ผ.6 สมบัติของแกสอุดมคติที่ความดัน 100 kPa (ตอ)


คารบอนไดออกไซด น้ํา
R = 0.1889 kJ/kg-K R = 0.4615 kJ/kg-K
M = 44.01 kg/kmol M = 18.015 kg/kmol
อุณหภูมิ u h S0 อุณหภูมิ u h S0
(K) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (K) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
200 97.49 135.28 4.5439 200 276.38 368.69 9.7412
250 126.21 173.44 4.7139 250 345.98 461.36 10.1547
300 157.70 214.38 4.8631 300 415.87 554.32 10.4936
350 191.78 257.90 4.9972 350 486.37 657.90 10.7821
400 228.19 303.76 5.1196 400 557.79 742.40 11.0345
450 266.69 351.70 5.2325 450 630.40 838.09 11.2600
500 307.06 401.52 5.3375 500 704.36 935.12 11.4644
550 349.12 453.03 5.4356 550 779.79 1033.63 11.6522
600 392.72 506.07 5.5279 600 856.75 1133.67 11.8263
650 437.71 560.51 5.6151 650 935.31 1235.30 11.9890
700 483.97 616.22 5.6976 700 1015.49 1338.56 12.1421
750 531.40 673.09 5.7761 750 1097.35 1443.49 12.2868
800 579.89 731.02 5.8508 800 1180.90 1550.13 12.4244
850 629.35 789.93 5.9223 850 1266.19 1658.49 12.5558
900 676.69 849.72 5.9906 900 1353.23 1768.60 12.6817
950 730.85 910.33 6.0561 950 1442.03 1880.48 12.8026
1000 782.75 971.67 6.1190 1000 1532.61 1994.13 12.9192
1100 888.55 1096.36 6.2379 1100 1719.05 2226.73 13.1408
1200 996.64 1223.34 6.3483 1200 1912.42 2466.25 13.3492
1300 1106.68 1352.28 6.4515 1300 2112.47 2712.46 13.5462
1400 1218.38 1482.87 6.5483 1400 2318.89 2965.03 13.7334
1500 1331.50 1614.88 6.6394 1500 2531.28 3223.57 13.9117
1600 1445.85 1748.12 6.7254 1600 2749.24 3487.69 14.0822
1700 1561.26 1882.43 6.8068 1700 2972.35 3756.95 14.2454
1800 1677.61 2017.67 6.8841 1800 3200.17 4030.92 14.4020
1900 1794.78 2153.73 6.9577 1900 3432.28 4309.18 14.5524
2000 1912.67 2290.51 7.0278 2000 3668.24 4591.30 14.6971
285

ตารางที่ ผ.7 ตารางสําหรับน้ําภาวะอิ่มตัว−อุณหภูมิเปนเลขเต็ม− (Borgnakke and Sonntag, 2009: 702-705)


อุณหภูมิ ความดัน ปริมาตรจําเพาะ พลังงานภายใน เอนธัลป เอนโทรป
3 3
(m /kg) (kJ/kg) (m /kg) (kJ/kg-K)
o
( C) (kPa) vf vg uf ug hf hg sf sg
0.01 0.6113 0.001000 206.132 0 2375.33 0 2501.35 0 9.1562
5 0.8721 0.001000 147.118 20.97 2382.24 20.98 2510.54 0.0761 9.0257
10 1.2276 0.001000 106.377 41.99 2389.15 41.99 2519.74 0.1510 8.9007
15 1.705 0.001001 77.925 62.98 2396.04 62.98 2528.91 0.2245 8.7813
20 2.339 0.001002 57.7897 83.94 2402.91 83.94 2538.06 0.2966 8.6671
25 3.169 0.001003 43.3593 104.86 2409.76 104.87 2547.17 0.3673 8.5579
30 4.246 0.001004 32.8932 125.77 2416.58 125.77 2556.25 0.4369 8.4533
35 5.628 0.001006 25.2158 146.65 2423.36 146.66 2565.28 0.5052 8.3530
40 7.384 0.001008 19.5229 167.53 2430.11 167.54 2574.26 0.5724 8.2569
45 9.593 0.001010 15.2581 188.41 2436.81 188.42 2583.19 0.6386 8.1647
50 12.350 0.001012 12.0318 209.30 2443.47 209.31 2592.06 0.7037 8.0762
55 15.758 0.001015 9.56835 230.19 2450.08 230.20 2600.86 0.7679 7.9912
60 19.941 0.001017 7.67071 251.09 2456.63 251.11 2609.59 0.8311 7.9095
65 25.03 0.001020 6.19656 272.00 2463.12 272.03 2618.24 0.8934 7.8309
70 31.19 0.001023 5.04217 292.93 2469.55 292.96 2626.80 0.9548 7.7552
75 38.58 0.001026 4.13123 313.87 2475.91 313.91 2635.28 1.0154 7.6824
80 47.39 0.001029 3.40715 334.84 2482.19 334.88 2643.66 1.0752 7.6121
85 57.83 0.001032 2.82757 355.82 2488.40 355.88 2651.93 1.1342 7.5444
90 70.14 0.001036 2.36056 376.82 2494.52 376.90 2660.09 1.1924 7.4790
95 84.55 0.001040 1.98186 397.86 2500.56 397.94 2668.13 1.2500 7.4158
100 101.3 0.001044 1.67290 418.91 2506.50 419.02 2676.05 1.3068 7.3548
105 120.8 0.001047 1.41936 440.00 2512.34 440.13 2683.83 1.3629 7.2958
110 143.3 0.001052 1.21014 461.12 2518.09 461.27 2691.47 1.4184 7.2386
115 169.1 0.001056 1.03658 482.28 2523.72 482.46 2698.96 1.4733 7.1832
120 198.5 0.001060 0.89186 503.48 2529.24 503.69 2706.30 1.5275 7.1295
125 232.1 0.001065 0.77059 524.72 2534.63 524.96 2713.46 1.5812 7.0774
130 270.1 0.001070 0.66850 546.00 2539.90 546.29 2720.46 1.6343 7.0269
135 313.0 0.001075 0.58217 567.34 2545.03 567.67 2727.26 1.6869 6.9777
140 361.3 0.001080 0.50885 588.72 2550.02 289.11 2733.87 1.7390 6.9298
145 415.4 0.001085 0.44632 610.16 2554.86 610.61 2740.26 1.7906 6.8832
150 475.9 0.001090 0.39278 631.66 2559.54 632.18 2746.44 1.8417 6.8378
286

ตารางที่ ผ.7 ตารางสําหรับน้ําภาวะอิ่มตัว−อุณหภูมิเปนเลขเต็ม− (ตอ)


อุณหภูมิ ความดัน ปริมาตรจําเพาะ พลังงานภายใน เอนธัลป เอนโทรป
3
(m /kg) (kJ/kg) (m3/kg) (kJ/kg-K)
o
( C) (kPa) vf vg uf ug hf hg sf sg
155 543.1 0.001096 0.34676 653.23 2564.04 653.82 2752.39 1.8924 6.7934
160 617.8 0.001102 0.30706 674.85 2568.37 675.53 2758.09 1.9426 6.7501
165 700.5 0.001108 0.27269 696.55 2572.51 697.32 2763.53 1.9924 6.7078
170 791.7 0.001114 0.24283 718.31 2576.46 719.20 2768.70 2.0418 6.6663
175 892.0 0.001121 0.21680 740.16 2580.19 741.16 2773.58 2.0909 6.6256
180 1002.2 0.001127 0.19405 762.08 2583.70 763.21 2778.16 2.1395 6.5857
185 1122.7 0.001134 0.17409 784.08 2586.98 785.36 2782.43 2.1878 6.5464
190 1254.4 0.001141 0.15654 806.17 2590.01 807.61 2786.37 2.2358 6.5078
195 1397.8 0.001149 0.14105 828.36 2592.79 829.96 2789.96 2.2835 6.4697
200 1553.8 0.001156 0.12736 850.64 2595.29 852.43 2793.18 2.3308 6.4322
205 1723.0 0.001164 0.11521 873.02 2597.52 875.03 2796.03 2.3779 6.3951
210 1906.3 0.001173 0.10441 895.51 2599.44 897.75 2798.48 2.4247 6.3584
215 2104.2 0.001181 0.09479 918.12 2601.06 920.61 2800.51 2.4713 6.3221
220 2317.8 0.001190 0.08619 940.85 2602.35 943.61 2802.12 2.5177 6.2860
225 2547.7 0.001199 0.07849 963.72 2603.30 966.77 2803.27 2.5639 6.2502
230 2794.9 0.001209 0.07158 986.72 2603.89 990.10 2803.95 2.6099 6.2146
235 3060.1 0.001219 0.06536 1009.88 2604.11 1013.61 2804.13 2.6557 6.1791
240 3344.2 0.001229 0.05976 1033.19 2603.95 1037.31 2803.81 2.7015 6.1436
245 3648.2 0.001240 0.05470 1056.69 2603.37 1061.21 2802.95 2.7471 6.1083
250 3973.0 0.001251 0.05013 1080.37 2602.37 1085.34 2801.52 2.7927 6.0729
255 4319.5 0.001263 0.04598 1104.26 2600.93 1109.72 2799.51 2.8382 6.0374
260 4688.6 0.001276 0.04220 1128.37 2599.01 1134.35 2796.89 2.8837 6.0018
265 5081.3 0.001289 0.03877 1152.72 2596.60 1159.27 2793.61 2.9293 5.9661
270 5498.7 0.001302 0.03564 1177.33 2593.66 1184.49 2789.65 2.9750 5.9301
275 5941.8 0.001317 0.03279 1202.23 2590.17 1210.05 2784.97 3.0208 5.9837
280 6411.7 0.001332 0.03017 1227.43 2586.09 1235.97 2779.53 3.0667 5.8570
285 6909.4 0.001348 0.02777 1252.98 2581.38 1262.29 2773.27 3.1129 5.8198
290 7436.0 0.001366 0.02557 1278.89 2575.99 1289.04 2766.13 3.1593 5.7821
295 7992.8 0.001384 0.02354 1305.21 2569.87 1316.27 2758.05 3.2061 5.7436
300 8581.0 0.001404 0.02167 1331.97 2562.96 1344.01 2748.94 3.2533 5.7044
374.1 22089 0.003155 0.00315 2029.58 2029.58 2099.26 2099.26 4.4297 4.4297
287

ตารางที่ ผ.8 ตารางสําหรับน้ําภาวะอิ่มตัว−ความดันเปนเลขเต็ม− (Borgnakke and Sonntag, 2009: 706-709)


ความดัน อุณหภูมิ ปริมาตรจําเพาะ พลังงานภายใน เอนธัลป เอนโทรป
3 3
(m /kg) (kJ/kg) (m /kg) (kJ/kg-K)
o
(kPa) ( C) vf vg uf ug hf hg sf sg
0.6113 0.01 0.001000 206.132 0 2375.30 0.01 2501.30 0 9.1562
1 6.98 0.001000 129.20802 29.29 2384.98 29.29 2514.18 0.1059 8.9756
1.5 13.03 0.001001 87.98013 54.70 2393.32 54.70 2525.30 0.1956 8.8278
2 17.50 0.001001 67.00385 73.47 2399.48 73.47 2533.49 0.2607 8.7236
2.5 21.08 0.001002 54.25385 88.47 2404.40 88.47 2540.03 0.3120 8.6431
3 24.08 0.001003 45.66502 101.03 2408.51 101.03 2545.52 0.3545 8.5775
4 28.96 0.001004 34.80015 121.44 2415.17 121.44 2554.37 0.4226 8.4746
5 32.88 0.001005 28.19251 137.79 2420.49 137.79 2561.45 0.4763 8.3950
7.5 40.29 0.001008 19.23775 168.76 2430.50 168.77 2574.79 0.5763 8.2514
10 45.81 0.001010 14.67355 191.79 2437.89 191.81 2584.63 0.6492 8.1501
15 53.97 0.001014 10.02218 225.90 2448.73 225.91 2599.06 0.7548 8.0084
20 60.06 0.001017 7.64937 251.35 2456.71 251.38 2609.70 0.8319 7.9085
25 64.97 0.001020 6.20424 271.88 2463.08 271.90 2618.19 0.8930 7.8313
30 69.10 0.001022 5.22918 289.18 2468.40 289.21 2625.28 0.9439 7.7686
40 75.87 0.001026 3.99345 317.51 2477.00 317.55 2636.74 1.0258 7.6700
50 81.33 0.001030 3.24034 340.42 2483.85 340.47 2645.87 1.0910 7.5939
75 91.77 0.001037 2.21711 394.29 2496.67 384.36 2662.96 1.2129 7.4563
100 99.62 0.001043 1.69400 417.33 2506.06 417.44 2675.46 1.3025 7.3593
125 105.99 0.001048 1.37490 444.16 2513.48 444.30 2685.35 1.3739 7.2843
150 111.37 0.001053 1.15933 466.92 2519.64 467.08 2693.54 1.4335 7.2232
175 116.06 0.001057 1.00363 486.78 2524.90 486.97 2700.53 1.4848 7.1717
200 120.23 0.001061 0.88573 504.47 2529.49 504.68 2706.63 1.5300 7.1271
225 124.00 0.001064 0.79325 520.45 2533.56 520.69 2712.04 1.5705 7.0878
250 127.43 0.001067 0.71871 535.08 2537.21 535.34 2716.89 1.6072 7.0526
275 130.60 0.001070 0.65731 548.57 2540.53 548.87 2721.29 1.6407 7.0208
300 133.55 0.001073 0.60582 561.13 2543.55 561.45 2725.30 1.6717 6.9918
325 136.30 0.001076 0.56201 572.88 2546.34 573.23 2728.99 1.7005 6.9651
350 138.88 0.001079 0.52425 583.93 2548.92 584.31 2732.40 1.7274 6.9404
375 141.32 0.001081 0.49137 594.38 2551.31 594.79 2735.58 1.7527 6.9174
400 143.63 0.001084 0.46246 604.29 2553.55 604.73 2738.53 1.7766 6.8958
450 147.93 0.001088 0.41398 622.75 2557.62 623.24 2743.91 1.8206 6.8565
500 151.86 0.001093 0.37489 639.66 2561.23 640.21 2748.67 1.8606 6.8212
288

ตารางที่ ผ.8 ตารางสําหรับน้ําภาวะอิ่มตัว−ความดันเปนเลขเต็ม− (ตอ)


ความดัน อุณหภูมิ ปริมาตรจําเพาะ พลังงานภายใน เอนธัลป เอนโทรป
3
(m /kg) (kJ/kg) (m3/kg) (kJ/kg-K)
o
(kPa) ( C) vf vg uf ug hf hg sf sg
550 155.48 0.001097 0.34268 655.30 2564.47 665.94 2752.94 1.8972 6.7892
600 158.85 0.001101 0.31567 669.88 2567.40 670.54 2756.80 1.9311 6.7600
650 162.01 0.001104 0.29268 683.55 2570.06 684.26 2760.30 1.9627 6.7330
700 164.97 0.001108 0.27286 696.43 2572.49 697.20 2763.50 1.9922 6.7080
750 167.77 0.001111 0.25560 708.62 2574.73 709.45 2766.43 2.0199 6.6846
800 170.43 0.001115 0.24043 720.20 2576.79 721.10 2769.13 2.0461 6.6627
850 172.96 0.001118 0.22698 731.25 2578.69 732.20 2771.63 2.0709 6.6421
900 175.38 0.001121 0.21497 741.81 2580.46 742.82 2773.94 2.0946 6.6225
950 177.69 0.001124 0.20419 751.94 2582.11 753.00 2776.08 2.1171 6.6040
1000 179.91 0.001127 0.19444 761.67 2583.64 762.79 2778.08 2.1386 6.5864
1100 184.09 0.001133 0.17753 780.08 2586.40 781.32 2781.68 2.1791 6.5535
1200 187.99 0.001139 0.16333 797.27 2588.82 798.64 2784.82 2.2165 6.5233
1300 191.64 0.001144 0.15125 813.42 2590.95 814.91 2787.58 2.2514 6.4953
1400 195.07 0.001149 0.14084 828.68 2592.83 830.29 2790.00 2.2842 6.4692
1500 198.32 0.001154 0.13177 843.14 2594.50 844.87 2792.15 2.3150 6.4448
1750 205.76 0.001166 0.11349 876.44 2597.83 878.48 2796.43 2.3851 6.3895
2000 212.42 0.001177 0.09963 906.42 2600.26 908.77 2799.51 2.4473 6.3408
2250 218.45 0.001187 0.08875 933.81 2601.98 936.48 2801.67 2.5034 6.2971
2500 223.99 0.001197 0.07998 959.09 2603.13 962.09 2803.07 2.5546 6.2574
2750 229.12 0.001207 0.07275 982.65 2603.81 985.97 2803.86 2.6018 6.2208
3000 233.90 0.001216 0.06668 1004.76 2604.10 1008.41 2804.14 2.6456 6.1869
3250 238.38 0.001226 0.06152 1025.62 2604.04 1029.60 2803.97 2.6866 6.1551
3500 242.60 0.001235 0.05707 1045.41 2603.70 1049.73 2803.43 2.7252 6.1252
4000 250.40 0.001252 0.04978 1082.28 2602.27 1087.29 2801.38 2.7963 6.0700
5000 263.99 0.001286 0.03944 1147.78 2597.12 1154.21 2794.33 2.9201 5.9733
6000 275.64 0.001319 0.03244 1205.41 2589.69 1213.32 2784.33 3.0266 5.8891
7000 285.88 0.001351 0.02737 1257.51 2580.48 1266.97 2772.07 3.1210 5.8132
8000 295.06 0.001384 0.02352 1305.54 2569.79 1316.61 2757.94 3.2067 5.7431
9000 303.40 0.001418 0.02048 1350.47 2557.75 1363.23 2742.11 3.2857 5.6771
10000 311.06 0.001452 0.01803 1393.00 2544.41 1407.53 2724.67 3.3595 5.6140
20000 365.81 0.002035 0.00583 1785.47 2293.05 1826.18 2409.74 4.0137 4.9269
22089 374.14 0.003155 0.00315 2029.58 2029.58 2099.26 2099.26 4.4297 4.4297
289

ตารางที่ ผ.9 ตารางสําหรับน้ําภาวะไอรอนยวดยิ่ง (Borgnakke and Sonntag, 2009: 710-715)


ความดัน ความดัน
o
10 kPa (45.81 C) 50 kPa (81.33oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 14.67355 2437.89 2584.63 8.1501 3.24034 2483.85 2645.87 7.5939
50 14.86920 2443.87 2592.56 8.1749 - - - -
100 17.19561 2515.50 2687.46 8.4479 3.41833 2511.61 2682.52 7.6947
150 19.51251 2587.86 2782.99 8.6881 3.88937 2585.61 2780.08 7.9400
200 21.82507 2661.27 2879.52 8.9037 4.35595 2659.85 2877.64 8.1579
250 24.13559 2735.95 2977.31 9.1002 4.82045 2734.97 2975.99 8.3555
300 26.44508 2812.06 3076.51 9.2812 5.28391 2811.33 3075.52 8.5372
400 31.06252 2968.89 3279.51 9.6076 6.20929 2968.43 3278.89 8.8641
500 35.67896 3132.26 3489.05 9.8977 7.13364 3131.94 3488.62 9.1545
600 40.29488 3302.45 3705.40 10.1608 8.05748 3302.22 3705.10 9.4177
700 44.91052 3479.63 3928.73 10.4028 8.98104 3479.45 3928.51 9.6599
800 49.52599 3663.84 4159.10 10.6281 9.90444 3663.70 4158.92 9.8852
900 54.14137 3855.03 4396.44 10.8395 10.82773 3854.91 4396.30 10.0967
1000 58.75669 4053.01 4640.58 11.0392 11.75097 4052.91 4640.46 10.2964

ความดัน ความดัน
100 kPa (99.62oC) 200 kPa (120.23oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 1.69400 2506.06 2675.46 7.3593 0.88573 2529.49 2706.63 7.1271
150 1.93636 2582.75 2776.38 7.6133 0.95964 2576.87 2768.80 7.2795
200 2.17226 2658.05 2875.27 7.8342 1.08034 2654.39 2870.46 7.5066
250 2.40604 2733.73 2974.33 8.0332 1.19880 2731.22 2970.98 7.7085
300 2.63876 2810.41 3074.28 8.2157 1.31616 2808.55 3071.79 7.8926
400 3.10263 2967.85 3278.11 8.5434 1.54930 2966.69 3276.55 8.2217
500 3.56547 3131.54 3488.09 8.8341 1.78139 3130.75 3487.03 8.5132
600 4.02781 3301.94 3704.72 9.0975 2.01297 3301.36 3703.96 8.7769
700 4.48986 3479.24 3928.23 9.3398 2.24426 3478.81 3927.66 9.0194
800 4.95174 3663.53 4158.71 9.5652 2.47539 3663.19 4158.27 9.2450
900 5.41353 3854.77 4396.12 9.7767 2.70643 3854.49 4395.77 9.4565
1000 5.87526 4052.78 4640.31 9.9764 2.93740 4052.53 4640.01 9.6563
290

ตารางที่ ผ.9 ตารางสําหรับน้ําภาวะไอรอนยวดยิ่ง (ตอ)


ความดัน ความดัน
300 kPa (133.55oC) 400 kPa (143.63oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.60582 2543.55 2725.30 6.9918 0.46246 2553.55 2738.53 6.8958
150 0.63388 2570.79 2760.95 7.0778 0.47084 2564.48 2752.82 6.9299
200 0.71629 2650.65 2865.54 7.3115 0.53422 2646.83 2860.51 7.1706
250 0.79636 2728.69 2967.59 7.5165 0.59512 2726.11 2964.16 7.3788
300 0.87529 2806.69 3069.28 7.7022 0.65484 2804.81 3066.75 7.5661
400 1.03151 2965.53 3274.98 8.0329 0.77262 2964.36 3273.41 7.8984
500 1.18669 3129.95 3485.96 8.3250 0.88934 3129.15 3484.89 8.1912
600 1.34136 3300.79 3703.20 8.5892 1.00555 3300.22 3702.44 8.4557
700 1.49573 3478.38 3927.10 8.8319 1.12147 3477.95 3926.53 8.6987
800 1.64994 3662.85 4157.83 9.0575 1.23722 3662.51 4157.40 8.9244
900 1.80406 3854.20 4395.42 9.2691 1.35288 3853.91 4395.06 9.1361
1000 1.95812 4052.27 4639.71 9.4689 1.46847 4052.02 4639.41 9.3360

ความดัน ความดัน
500 kPa (151.86oC) 600 kPa (158.85oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.37489 2561.23 2748.67 6.8212 0.31567 2567.40 2756.80 6.7600
200 0.42492 2642.91 2855.37 7.0592 0.35202 2638.91 2850.12 6.9665
250 0.47436 2723.50 2960.68 7.2708 0.39383 2720.86 2957.16 7.1816
300 0.52256 2802.91 3064.20 7.4598 0.43437 2801.00 3061.63 7.3723
350 0.57012 2882.59 3167.65 7.6328 0.47424 2881.12 3165.66 7.5463
400 0.61728 2963.19 3271.83 7.7937 0.51372 2962.02 3270.25 7.7078
500 0.71093 3128.35 3483.82 8.0872 0.59199 3127.55 3482.75 8.0020
600 0.80406 3299.64 3701.67 8.3521 0.66974 3299.07 3700.91 8.2673
700 0.89691 3477.52 3925.97 8.5952 0.74720 3477.08 3925.41 8.5107
800 0.98959 3662.17 4156.96 8.8211 0.82450 3661.83 4156.52 8.7367
900 1.08217 3853.63 4394.71 9.0329 0.90169 3853.34 4394.36 8.9485
1000 1.17469 4051.76 4639.11 9.2328 0.97883 4051.51 4638.81 9.1484
291

ตารางที่ ผ.9 ตารางสําหรับน้ําภาวะไอรอนยวดยิ่ง (ตอ)


ความดัน ความดัน
800 kPa (170.43oC) 1000 kPa (179.91oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.24043 2576.79 2769.13 6.6627 0.19444 2583.64 2778.08 6.5864
200 0.26080 2630.61 2839.25 6.8158 0.20596 2621.90 2827.86 6.6939
250 0.29314 2715.46 2949.97 7.0384 0.23268 2709.91 2942.59 6.9246
300 0.32411 2797.14 3056.43 7.2327 0.25794 2793.21 3051.15 7.1228
350 0.35439 2878.16 3161.68 7.4088 0.28247 2875.18 3157.65 7.3010
400 0.38426 2959.66 3267.07 7.5715 0.30659 2957.29 3263.88 7.4650
500 0.44331 3125.95 3480.60 7.8672 0.35411 3124.34 3478.44 7.7621
600 0.50184 3297.91 3699.38 8.1332 0.40109 3296.76 3697.85 8.0289
700 0.56007 3476.22 3924.27 8.3770 0.44779 3475.35 3923.14 8.2731
800 0.61813 3661.14 4155.65 8.6033 0.49432 3660.46 4154.78 8.4996
900 0.67610 3852.77 4393.65 8.8153 0.54075 3852.19 4392.94 8.7118
1000 0.73401 4051.00 4638.20 9.0153 0.58712 4050.49 4637.60 8.9119

ความดัน ความดัน
1200 kPa (187.99oC) 1400 kPa (195.07 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.16333 2588.82 2784.82 6.5233 0.14084 2592.83 2790.00 6.4692
200 0.16930 2612.74 2815.90 6.5898 0.14302 2603.09 2803.32 6.4975
250 0.19235 2704.20 2935.01 6.8293 0.16350 2698.32 2927.22 6.7467
300 0.21382 2789.22 3045.80 7.0316 0.18228 2785.16 3040.35 6.9533
350 0.23452 2872.16 3153.59 7.2120 0.20026 2869.12 3149.49 7.1359
400 0.25480 2954.90 3260.66 7.3773 0.21780 2952.50 3257.42 7.3025
500 0.29463 3122.72 3476.28 7.6758 0.25215 3121.10 3474.11 7.6026
600 0.33393 3295.60 3696.32 7.9434 0.28596 3294.44 3694.78 7.8710
700 0.37294 3474.48 3922.01 8.1881 0.31947 3473.61 3920.87 8.1160
800 0.41177 3659.77 4153.90 8.4149 0.35281 3659.09 4153.03 8.3431
900 0.45051 3851.62 4392.23 8.6272 0.38606 3851.05 4391.53 8.5555
1000 0.48919 4049.98 4637.00 8.8274 0.41924 4049.47 4636.41 8.7558
292

ตารางที่ ผ.9 ตารางสําหรับน้ําภาวะไอรอนยวดยิ่ง (ตอ)


ความดัน ความดัน
1600 kPa (201.40 oC) 1800 kPa (207.15 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.12380 2595.95 2794.02 6.4217 0.11042 2598.38 2797.13 6.3793
250 0.14184 2692.26 2919.20 6.6732 0.12497 2686.02 2910.96 6.6066
300 0.15862 2781.03 3034.83 6.8844 0.14021 2776.83 3029.21 6.8226
350 0.17456 2866.05 3145.35 7.0693 0.15457 2862.95 3141.18 7.0099
400 0.19005 2950.09 3254.17 7.2373 0.16847 2947.66 3250.90 7.1793
500 0.22029 3119.47 3471.93 7.5389 0.19550 3117.84 3469.75 7.4824
600 0.24998 3293.27 3693.23 7.8080 0.22199 3292.10 3691.69 7.7523
700 0.27937 3472.74 3919.73 8.0535 0.24818 3471.87 3918.59 7.9983
800 0.30859 3658.40 4152.15 8.2808 0.27420 3657.71 4151.27 8.2258
900 0.33772 3850.47 4390.82 8.4934 0.30012 3849.90 4390.11 8.4386
1000 0.36678 4048.96 4635.81 8.6938 0.32598 4048.45 4635.21 8.6390

ความดัน ความดัน
2000 kPa (212.42 oC) 2500 kPa (223.99 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.09963 2600.26 2799.51 6.3408 0.07998 2603.13 2803.07 6.2574
250 0.11144 2679.58 2902.46 6.5452 0.08700 2662.55 2880.06 6.4084
300 0.12547 2772.56 3023.50 6.7663 0.09890 2761.56 3008.81 6.6437
350 0.13857 2859.81 3136.96 6.9562 0.10976 2851.84 3126.24 6.8402
400 0.15120 2945.21 3247.60 7.1270 0.12010 2939.03 3239.28 7.0147
450 0.16353 3030.41 3357.48 7.2844 0.13014 3025.43 3350.77 7.1745
500 0.17568 3116.20 3467.55 7.4316 0.13998 3112.08 3462.04 7.3233
600 0.19960 3290.93 3690.14 7.7023 0.15930 3287.99 3686.25 7.5960
700 0.22323 3470.99 3917.45 7.9487 0.17832 3468.80 3914.59 7.8435
800 0.24668 3657.03 4150.40 8.1766 0.19716 3655.30 4148.20 8.0720
900 0.27004 3849.33 4389.40 8.3895 0.21590 3847.89 4387.64 8.2853
1000 0.29333 4047.94 4634.61 8.5900 0.23458 4046.67 4633.12 8.4860
293

ตารางที่ ผ.9 ตารางสําหรับน้ําภาวะไอรอนยวดยิ่ง (ตอ)


ความดัน ความดัน
3000 kPa (233.90 oC) 4000 kPa (250.40 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.06668 2604.10 2804.14 6.1869 0.04978 2602.27 2801.38 6.0700
250 0.07058 2644.00 2855.75 6.2871 - - - -
300 0.08114 2750.05 2993.48 6.5389 0.05884 2725.33 2960.68 6.3614
350 0.09053 2843.66 3115.25 6.7427 0.06645 2826.65 3092.43 6.5820
400 0.09936 2932.75 3230.82 6.9211 0.07341 2919.88 3213.51 6.7689
450 0.10787 3020.38 3344.00 7.0833 0.08003 3010.13 3330.23 6.9362
500 0.11619 3107.92 3456.48 7.2337 0.08643 3099.49 3445.21 7.0900
600 0.13243 3285.03 3682.34 7.5084 0.09885 3279.06 3674.44 7.3688
700 0.14838 3466.59 3911.72 7.7571 0.11095 3462.15 3905.94 7.6198
800 0.16414 3653.58 4146.00 7.9862 0.12287 3650.11 4141.59 7.8502
900 0.17980 3846.46 4385.87 8.1999 0.13469 3843.59 4382.34 8.0647
1000 0.19541 4045.40 4631.63 8.4009 0.14645 4042.87 4628.65 8.2661

ความดัน ความดัน
5000 kPa (263.99oC) 10000 kPa (311.06 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.03944 2597.12 2794.33 5.9733 0.01803 2544.41 2724.67 5.6140
300 0.04532 2697.94 2924.53 6.2083 - - - -
350 0.05194 2808.67 3068.39 6.4492 0.02242 2699.16 2923.39 5.9442
400 0.05781 2906.58 3195.64 6.6458 0.02641 2832.38 3096.46 6.2119
450 0.06330 2999.64 3316.15 6.8185 0.02975 2943.32 3240.83 6.4189
500 0.06857 3090.92 3433.76 6.9758 0.03279 3045.77 3373.63 6.5965
550 0.07368 3181.82 3550.23 7.1217 0.03564 3144.54 3500.92 6.7561
600 0.07869 3273.01 3666.47 7.2588 0.03837 3241.68 3625.34 6.9028
700 0.08849 3457.67 3900.13 7.5122 0.04358 3434.72 3870.52 7.1687
800 0.09811 3646.62 4137.17 7.7440 0.04859 3628.97 4114.91 7.4077
900 0.10762 3840.71 4378.82 7.9593 0.05349 3826.32 4361.24 7.6272
1000 0.11707 4040.35 4625.69 8.1612 0.05832 4027.81 4611.04 7.8315
294

ตารางที่ ผ.9 ตารางสําหรับน้ําภาวะไอรอนยวดยิ่ง (ตอ)


ความดัน ความดัน
15000 kPa (342.24 oC) 20000 kPa (365.81 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.01034 2455.43 2610.49 5.3097 0.00583 2293.05 2409.74 4.9269
350 0.01147 2520.36 2692.41 5.4420 - - - -
400 0.01565 2740.70 2975.44 5.8810 0.00994 2619.22 2818.07 5.5539
450 0.01845 2879.47 3156.15 6.1403 0.01270 2806.16 3060.06 5.9016
500 0.02080 2996.52 3308.53 6.3442 0.01477 2942.82 3238.18 6.1400
550 0.02293 3104.71 3448.61 6.5198 0.01656 3062.34 3393.45 6.3347
600 0.02491 3208.64 3582.30 6.6775 0.01818 3174.00 3537.57 6.5048
650 0.02680 3310.37 3712.32 6.8223 0.01969 3281.46 3675.32 6.6582
700 0.02861 3410.94 3840.12 6.9572 0.02113 3386.46 3809.09 6.7993
800 0.03210 3610.99 4092.43 7.2040 0.02385 3592.73 4069.80 7.0544
900 0.03546 3811.89 4343.75 7.4279 0.02645 3797.44 4326.37 7.2830
1000 0.03875 4015.41 4596.63 7.6347 0.02897 4003.12 4582.45 7.4925

ความดัน ความดัน
30000 kPa 40000 kPa
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
375 0.001789 1737.75 1791.43 3.9303 0.001641 1677.09 1742.71 3.8289
400 0.002790 2067.34 2151.04 4.4728 0.001908 1854.52 1930.83 4.1134
425 0.005304 2455.06 2614.17 5.1503 0.002532 2096.83 2198.11 4.5028
450 0.006735 2619.30 2821.35 5.4423 0.003693 2365.07 2512.79 4.9459
500 0.008679 2820.67 3081.03 5.7904 0.005623 2678.36 2903.26 5.4699
550 0.010168 2970.31 3275.36 6.0342 0.006984 2869.69 3149.05 5.7784
600 0.011446 3100.53 3443.91 6.2330 0.008094 3022.61 3346.38 6.0113
650 0.012596 3221.04 3598.93 6.4057 0.009064 3158.04 3520.58 6.2054
700 0.013661 3335.84 3745.67 6.5606 0.009942 3283.63 3681.29 6.3750
800 0.015623 3555.60 4024.31 6.8332 0.011523 3517.89 3978.80 6.6662
900 0.017448 3768.48 4291.93 7.0717 0.012963 3739.42 4257.93 6.9150
1000 0.019196 3978.79 4554.68 7.2867 0.014324 3954.64 4527.59 7.1356
295

ตารางที่ ผ.10 ตารางสําหรับอาร-134เออิ่มตัว (Borgnakke and Sonntag, 2009: 736-737)


อุณหภูมิ ความดัน ปริมาตรจําเพาะ พลังงานภายใน เอนธัลป เอนโทรป
3
(m /kg) (kJ/kg) (m3/kg) (kJ/kg)
(oC) (kPa) vf vg uf ug hf hg sf sg
−55 22.2 0.000689 0.78678 132.36 346.50 132.37 364.00 0.7256 1.7874
−50 29.9 0.000695 0.59657 137.60 349.31 137.62 367.16 0.7493 1.7780
−45 39.6 0.000701 0.45853 143.15 352.15 143.18 370.32 0.7740 1.7695
−40 51.8 0.000708 0.35696 148.95 355.00 148.98 373.48 0.7991 1.7620
−35 66.8 0.000715 0.28122 154.93 357.86 154.98 376.64 0.8245 1.7553
−30 85.1 0.000722 0.22402 161.06 360.73 161.12 379.80 0.8499 1.7493
−26.3 101.3 0.000728 0.19020 165.73 362.89 165.80 382.16 0.8690 1.7453
−25 107.2 0.000730 0.18030 167.30 363.61 167.38 382.95 0.8754 1.7441
−20 133.7 0.000738 0.14649 173.65 366.50 173.74 386.08 0.9007 1.7395
−15 165.0 0.000746 0.12007 180.07 369.39 180.19 389.20 0.9258 1.7354
−10 201.7 0.000755 0.09921 186.57 372.27 186.72 392.28 0.9507 1.7319
−5 244.5 0.000764 0.08257 193.14 375.15 193.32 395.34 0.9755 1.7288
0 294.0 0.000773 0.06919 199.77 378.01 200.00 398.36 1.0000 1.7262
5 350.9 0.000783 0.05833 206.48 380.85 206.75 401.32 1.0243 1.7239
10 415.8 0.000794 0.04945 213.25 383.67 213.58 404.23 1.0485 1.7218
15 489.5 0.000805 0.04213 220.10 386.45 220.49 407.07 1.0725 1.7200
20 572.8 0.000817 0.03606 227.03 389.19 227.49 409.84 1.0963 1.7183
25 666.3 0.000829 0.03098 234.04 391.87 234.59 412.51 1.1201 1.7168
30 771.0 0.000843 0.02671 241.14 394.48 241.79 415.08 1.1437 1.7153
35 887.6 0.000857 0.02310 248.34 397.02 249.10 417.52 1.1673 1.7139
40 1017.0 0.000873 0.02002 255.65 399.46 256.54 419.82 1.1909 1.7123
45 1160.2 0.000890 0.01739 263.08 401.79 264.11 421.96 1.2145 1.7106
50 1318.1 0.000908 0.01512 270.63 403.98 271.83 423.91 1.2381 1.7088
55 1491.6 0.000928 0.01316 278.33 406.01 279.72 425.65 1.2619 1.7066
60 1681.8 0.000951 0.01146 286.19 407.85 287.79 427.13 1.2857 1.7040
65 1889.9 0.000976 0.00997 294.24 409.46 296.09 428.30 1.3099 1.7008
70 2117.0 0.001005 0.00866 302.51 410.78 304.64 429.11 1.3343 1.6970
80 2633.6 0.001078 0.00645 319.96 412.22 322.79 429.19 1.3849 1.6862
90 3244.5 0.001195 0.00461 339.51 410.75 343.38 425.70 1.4404 1.6671
100 3973.2 0.001557 0.00264 368.55 396.74 374.74 407.21 1.5228 1.6098
101.2 4064.0 0.001969 0.00197 382.97 382.97 390.98 390.98 1.5658 1.5658
296

ตารางที่ ผ.11 ตารางสําหรับอาร-134เอภาวะไอรอนยวดยิ่ง (Borgnakke and Sonntag, 2009: 738-741)


ความดัน ความดัน
o
100 kPa (−26.54 C) 200 kPa (−10.22 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
o 3 3
( C) (m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat. 0.19257 362.73 381.98 1.7456 0.10002 372.15 392.15 1.7320
−20 0.19860 367.36 387.22 1.7665 - - - -
−10 0.20765 374.51 395.27 1.7978 0.10013 372.31 392.34 1.7328
0 0.21652 381.76 403.41 1.8281 0.10501 379.91 400.91 1.7647
10 0.22527 389.14 411.67 1.8578 0.10974 387.55 409.50 1.7956
20 0.23392 396.66 420.05 1.8869 0.11436 395.27 418.15 1.8256
30 0.24250 404.31 428.56 1.9155 0.11889 403.10 426.87 1.8549
40 0.25101 412.12 437.22 1.9436 0.12335 411.04 435.71 1.8836
50 0.25948 420.08 446.03 1.9712 0.12776 419.11 444.66 1.9117
60 0.26791 428.20 454.99 1.9985 0.13213 427.31 453.74 1.9394
70 0.27631 436.47 464.10 2.0255 0.13646 435.65 462.95 1.9666
80 0.28468 444.89 473.36 2.0521 0.14076 444.14 472.30 1.9935
90 0.29302 453.47 482.78 2.0784 0.14504 452.78 481.79 2.0200
100 0.30135 462.21 492.35 2.1044 0.14930 461.56 491.42 2.0461

ความดัน ความดัน
300 kPa (0.56 oC) 400 kPa (8.84 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat 0.06787 378.33 398.69 1.7259 0.05136 383.02 403.56 1.7223
10 0.07111 385.84 407.17 1.7564 0.05168 383.98 404.65 1.7261
20 0.07441 393.80 416.12 1.7874 0.05436 392.22 413.97 1.7584
30 0.07762 401.81 425.10 1.8175 0.05693 400.45 423.22 1.7895
40 0.08075 409.90 434.12 1.8468 0.05940 408.70 432.46 1.8195
50 0.08382 418.09 443.23 1.8755 0.06181 417.03 441.75 1.8487
60 0.08684 426.39 452.44 1.9035 0.06417 425.44 451.10 1.8772
70 0.08982 434.82 461.76 1.9311 0.06648 433.95 460.55 1.9051
80 0.09277 443.37 471.21 1.9582 0.06877 442.58 470.09 1.9325
90 0.09570 452.07 480.78 1.9850 0.07102 451.34 479.75 1.9595
100 0.09861 460.90 490.48 2.0113 0.07325 460.22 489.52 1.9860
110 0.10150 469.87 500.32 2.0373 0.07547 469.24 499.43 2.0122
297

ตารางที่ ผ.11 ตารางสําหรับอาร-134เอภาวะไอรอนยวดยิ่ง (ตอ)


ความดัน ความดัน
500 kPa (15.66 oC) 600 kPa (21.52 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat 0.04126 386.82 407.45 1.7198 0.03442 390.01 410.66 1.7179
20 0.04226 390.52 411.65 1.7342 - - - -
30 0.04446 398.99 421.22 1.7663 0.03609 397.44 419.09 1.7461
40 0.04656 407.44 430.72 1.7971 0.03796 406.11 428.88 1.7779
50 0.04858 415.91 440.20 1.8270 0.03974 414.75 438.59 1.8084
60 0.05055 424.44 449.72 1.8560 0.04145 423.41 448.28 1.8379
70 0.05247 433.06 459.29 1.8843 0.04311 432.13 457.99 1.8666
80 0.05435 441.77 468.94 1.9120 0.04473 440.93 467.76 1.8947
90 0.05620 450.59 478.69 1.9392 0.04632 449.82 477.61 1.9222
100 0.05804 459.53 488.55 1.9660 0.07488 458.82 487.55 1.9492
110 0.05985 468.60 498.52 1.9924 0.04943 467.94 497.59 1.9758
120 0.06164 477.79 508.61 2.0184 0.05095 477.18 507.75 2.0019
130 0.06342 487.13 518.83 2.0440 0.05246 486.55 518.03 2.0277
140 0.06518 496.59 529.19 2.0694 0.05396 496.05 528.43 2.0532

ความดัน ความดัน
800 kPa (31.30 oC) 1000 kPa (39.37 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat 0.02571 395.15 415.72 1.7150 0.02038 399.16 419.54 1.7125
40 0.02711 403.17 424.86 1.7446 0.02047 399.78 420.25 1.7148
50 0.02861 412.23 435.11 1.7768 0.02185 409.39 431.24 1.7494
60 0.03002 421.20 445.22 1.8076 0.02311 418.78 441.89 1.7818
70 0.03137 430.17 455.27 1.8373 0.02429 428.05 452.34 1.8127
80 0.03268 439.17 465.31 1.8662 0.02542 437.29 462.70 1.8425
90 0.03394 448.22 475.38 1.8943 0.02650 446.53 473.03 1.8713
100 0.03518 457.35 485.50 1.9218 0.02754 455.82 483.36 1.8994
110 0.03639 466.58 495.70 1.9487 0.02856 465.18 493.74 1.9268
120 0.03758 475.92 505.99 1.9753 0.02956 474.62 504.17 1.9537
130 0.03876 485.37 516.38 2.0014 0.03053 484.16 514.69 1.9801
140 0.03992 494.94 526.88 2.0271 0.03150 493.81 525.30 2.0061
298

ตารางที่ ผ.11 ตารางสําหรับอาร-134เอภาวะไอรอนยวดยิ่ง (ตอ)


ความดัน ความดัน
1200 kPa (46.31 oC) 1400 kPa (52.42 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat 0.01676 402.37 422.49 1.7102 0.01414 404.98 424.78 1.7077
50 0.01724 406.15 426.84 1.7237 - - - -
60 0.01844 416.08 438.21 1.7584 0.01503 413.03 434.08 1.7360
70 0.01953 425.74 449.18 1.7908 0.01608 423.20 445.72 1.7704
80 0.02055 435.27 459.92 1.8217 0.01704 433.09 456.94 1.8026
90 0.02151 444.74 470.55 1.8514 0.01793 442.83 467.93 1.8333
100 0.02244 454.20 481.13 1.8801 0.01878 452.50 478.79 1.8628
110 0.02333 463.71 491.70 1.9081 0.01958 462.17 489.59 1.8914
120 0.02420 473.27 502.31 1.9354 0.02036 471.87 500.38 1.9192
130 0.02504 482.91 512.97 1.9621 0.02112 481.63 511.19 1.9463
140 0.02587 492.65 523.70 1.9884 0.02186 491.46 522.05 1.9730
150 0.02669 502.48 534.51 2.0143 0.02258 501.37 532.98 1.9991
160 0.02750 512.43 545.43 2.0398 0.02329 511.39 543.99 2.0248

ความดัน ความดัน
1600 kPa (57.90 oC) 2000 kPa (67.48 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat 0.01215 407.11 426.54 1.7051 0.00930 410.15 428.75 1.6991
60 0.01239 409.49 429.32 1.7135 - - - -
70 0.01345 420.37 441.89 1.7507 0.00958 413.37 432.53 1.7101
80 0.01438 430.72 453.72 1.7847 0.01055 425.20 446.30 1.7497
90 0.01522 440.79 465.15 1.8166 0.01137 436.20 458.95 1.7850
100 0.01601 450.71 476.33 1.8469 0.01211 446.78 471.00 1.8177
110 0.01676 460.57 487.39 1.8762 0.01279 457.12 482.69 1.8487
120 0.01748 470.42 498.39 1.9045 0.01342 467.34 494.19 1.8783
130 0.01817 480.30 509.37 1.9321 0.01403 477.51 505.57 1.9069
140 0.01884 490.23 520.38 1.9591 0.01461 487.68 516.90 1.9346
150 0.01949 500.24 531.43 1.9855 0.01517 497.89 528.22 1.9617
160 0.02013 510.33 542.54 2.0115 0.01571 508.15 539.57 1.9882
299

ตารางที่ ผ.11 ตารางสําหรับอาร-134เอภาวะไอรอนยวดยิ่ง (ตอ)


ความดัน ความดัน
3000 kPa (86.20 oC) 4000 kPa (100.33 oC)
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) (m3/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
Sat 0.00528 411.83 427.67 1.6759 0.00252 394.86 404.94 1.6036
90 0.00575 418.93 436.19 1.6995 - - - -
100 0.00665 433.77 453.73 1.7472 - - - -
110 0.00734 446.48 468.50 1.7862 0.00428 429.74 446.84 1.7148
120 0.00792 458.27 482.04 1.8211 0.00500 445.97 465.99 1.7642
130 0.00845 469.58 494.91 1.8535 0.00556 459.63 481.87 1.8040
140 0.00893 480.61 507.39 1.8840 0.00603 472.19 496.29 1.8394
150 0.00937 491.49 519.62 1.9133 0.00644 484.15 509.92 1.8720
160 0.00980 502.30 531.70 1.9415 0.00683 495.77 523.07 1.9027
170 0.01021 513.09 543.71 1.9689 0.00718 507.19 535.92 1.9320
180 0.01060 523.89 555.69 1.9956 0.00752 518.51 548.57 1.9603

ความดัน ความดัน
6000 kPa 10000 kPa
อุณหภูมิ v u h s v u h s
(oC) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K) 3
(m /kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg-K)
90 0.001059 328.34 334.70 1.4081 0.000991 320.72 330.62 1.3856
100 0.001150 346.71 353.61 1.4595 0.001040 336.45 346.85 1.4297
110 0.001307 368.06 375.90 1.5184 0.001100 352.74 363.73 1.4744
120 0.001698 396.59 406.78 1.5979 0.001175 369.69 381.44 1.5200
130 0.002396 426.81 441.18 1.6843 0.001272 387.44 400.16 1.5670
140 0.002985 448.34 466.25 1.7458 0.001400 405.97 419.98 1.6155
150 0.003439 465.19 485.82 1.7926 0.001564 424.99 440.63 1.6649
160 0.003814 479.89 502.77 1.8322 0.001758 443.77 461.34 1.7133
170 0.004141 493.45 518.30 1.8676 0.001965 461.65 481.30 1.7589
180 0.004435 506.35 532.96 1.9004 0.002172 478.40 500.12 1.8009

You might also like