Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

1

การศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ ส่งงาน / การบ้ าน


ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริหารธุรกิจ

ผู้วจิ ยั
นางสาวยุวลี สายสั งข์
อาจารย์ ประจาสาขาคอมพิวเตอร์

วิจยั เล่มนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการผลิตผลิตสื่ อสิ่ งพิมพ์


ประจาภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริหารธุรกิจ
2

ชื่องานวิจัย การศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8


สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ

ชื่อผู้วิจัย ยุวลี สายสังข์

บทคัดย่ อ

การศึกษาวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8


สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ ผูว้ จิ ยั ได้จดั ทาแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาสาเหตุ
ของการไม่ส่งงาน / การบ้านของนักเรี ยนจานวน 13 ข้อ โดยให้นกั เรี ยนเรี ยงลาดับสาเหตุการไม่ส่งงาน /
การบ้านตามลาดับที่มากที่สุดจนถึงน้อยที่สุดจากลาดับ 1 – 13 และได้ทาการนาผลของแต่ละสาเหตุ มาหา
ค่า ร้อยละ แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์และหาข้อสรุ ปพร้อมทั้งนาเสนอในรู ปของตารางประกอบคาบรรยาย
เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน
ผลการศึกษาปรากฏว่า จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน /
การบ้าน ของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ
แสดงให้เห็นว่า สาเหตุของการไม่ส่งงาน/ การบ้าน ลาดับที่ 1 คือ ลืมทา โดยคิดจากนักเรี ยน 38 คน
ที่เลือกเป็ นสาเหตุอนั ดับที่ 1 จานวน 9 คน คิดเป็ น ร้อยละ 23.68
3

บทที่ 1
ความสาคัญและที่มา
การเรี ยนการสอนในปั จจุบนั จะแบ่งคะแนนออกเป็ นสองส่วน คือ คะแนนเก็บก่อนสอบปลาย
ภาค ซึ่งคิดเป็ น 80 เปอร์เซ็นต์ของคะแนนทั้งหมด โดยใน 80 เปอร์เซ็นต์น้ นั ผูว้ จิ ยั ได้เก็บคะแนนโดย
การสอบเป็ นรายจุดประสงค์และการส่งงานของนักเรี ยน ดังนั้นการทาใบงานและการบ้านส่งครู ของ
นักเรี ยนจึงเป็ นเรื่ องที่สาคัญมากในการเรี ยนการสอนเพราะนอกจากจะมีคะแนนในส่วนของใบงานและ
การบ้านแล้ว ยังมีผลต่อการเรี ยนในคาบถัดไปด้วย เนื่องจากใบงานจะเป็ นการประเมินความรู ้ความเข้าใจ
ในบทเรี ยนของนักเรี ยนว่ามีมากน้อยเพียงใดอีกทั้งยังเป็ นการวัดพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรี ยนได้
อีกทางหนึ่ง ถ้าหากนักเรี ยนไม่ได้ทาใบงานที่ครู แจกให้นกั เรี ยนก็จะขาดคะแนนเก็บในส่วนนั้นและครู ก็
ไม่สามารถประเมินความรู ้ความเข้าใจของนักเรี ยนได้
ในช่วงแรกของการสอน ครู ได้ใช้ใบงานและใบความรู ้แจกให้กบั นักเรี ยนทุกคนประกอบการ
สอนในแต่ละชัว่ โมง โดยที่ใบงานและใบความรู ้ที่แจกให้นกั เรี ยนเก็บเป็ นของตนเอง แต่ใบงานบางเรื่ อง
ต้องนามาเรี ยนต่อในคาบต่อไป ซึ่งเมื่อถึงชัว่ โมงเรี ยนในชัว่ โมงต่อไปแล้วนักเรี ยนไม่ได้นามา เมื่อครู ถาม
ถึงสาเหตุ นักเรี ยนตอบว่า อยูบ่ า้ น ลืมเอามา หรื อทาหายไปแล้วก็มี ครู จึงบอกให้นกั เรี ยนที่ไม่ได้นาใบ
งานมาในชัว่ โมงนี้ นามาให้ครู ดูในชัว่ โมงถัดไป ซึงปรากฏว่ามีนกั เรี ยนเพียงไม่กี่คนที่นาใบงานมาให้ครู
ดู เมื่อทาการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนผ่านไปช่วงหนึ่ง ครู สงั เกตได้วา่ นักเรี ยนที่ไม่ทางานส่งนั้นมี
ค่อนข้างมาก อาจเป็ นเพราะการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในช่วงแรกครู ให้นกั เรี ยนทางานทุกครั้งและ
ให้ทาการบ้านเก็บเป็ นคะแนนเก็บทุกครั้งนักเรี ยนที่ขาดเรี ยนในคาบใดคาบหนึ่งไปก็มกั จะตามเพือ่ นไม่ทนั
แล้วก็นาไปสู่การไม่ส่งการบ้านในที่สุดหรื อนักเรี ยนบางคนมาโรงเรี ยนแต่ไม่เคยทางานส่งเลย ซึ่งสังเกต
ได้จากสมุดส่งงานของนักเรี ยน ครู จึงตั้งข้อสังเกตได้วา่ ใบงานใดที่แจกให้นกั เรี ยนทาแล้วส่งท้ายชัว่ โมง
จานวนนักเรี ยนที่ส่งงานในครั้งนั้นก็จะมีมาก แต่หากให้เป็ นการบ้านก็จะมีนกั เรี ยนที่ไม่ส่งงานหรื อส่งงาน
ไม่ตรงตามกาหนดค่อนข้างมาก
จากการที่ผสู ้ อนได้สอนในรายวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และชมรม ของนักเรี ยนในระดับชั้น
ปวช. 3/8 พบว่านักเรี ยนส่วนใหญ่มกั จะส่งงาน / การบ้านไม่ตรงเวลาที่ครู ผสู ้ อนกาหนด หรื อบางคนก็ไม่
ส่งงาน / หรื อการบ้านเลย ซึ่งทาให้ครู ผสู ้ อนไม่สามารถวัดความรู ้ หรื อติดตามความก้าวหน้าของนักเรี ยน
ได้ ซึ่งในบางรายวิชาอาจมีผลต่อคะแนนเก็บของนักเรี ยนด้วย ดังนั้นผูว้ จิ ยั ซึ่งในฐานะที่เป็ นทั้งครู ผสู ้ อน
และครู ประจาวิชาเห็นความสาคัญของปั ญหาดังกล่าว จึงได้ ทาการวิจยั เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนใน
ระดับชั้น ปวช.3/8 เพือ่ นามาเป็ นข้อมูลในการแก้ปัญหาของนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้านต่อไป
4

สมมติฐานการวิจัย
จัดทาแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรี ยนชั้นประกาศนี
วิชาชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ เพือ่ นาผลจากการวิจยั มาเก็บ
เป็ นข้อมูลเพือ่ นาไปแก้ไขปั ญหาในการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรี ยน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพือ่ ศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ
2. เพือ่ รวบรวมข้อมูลสาหรับการแก้ปัญหาการไม่ส่งงาน / การบ้านของนักเรี ยน

ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ


1. ทราบถึงพฤติกรรมและสาเหตุของการไม่ส่งงาน/การบ้านของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี
ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ
2. ได้แนวทางใน การแก้ปัญหาการเรี ยนการสอน

ตัวแปรที่ศึกษา
1. แบบสอบถาม เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน /การบ้านของนักเรี ยนชั้นประกาศนี
วิชาชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ
2. ระดับคะแนนเฉลี่ยของแบบสอบถาม

นิยามศัพท์ เฉพาะ
1. การบ้ าน หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนได้ทานอกเวลาเรี ยนเพือ่ เป็ น
การฝึ กทักษะค้นคว้าหาความรู ้เพิม่ เติมและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. งาน หมายถึง แบบฝึ กหัดที่ครู ให้ในชัว่ โมงเรี ยน แบบฝึ กหัดที่ครู ให้เป็ นการบ้าน ใบงาน
รวมถึงการทางานเป็ นกลุ่มและชิ้นงาน
3. ใบงาน หมายถึง แบบฝึ กหัดที่ครุ ให้ทาในชัว่ โมงเรี ยนหรื อให้เป็ นการบ้าน
4. ใบความรู้ หมายถึง เนื้อหาในบทเรี ยนแยกเป็ นบท โดยครู มาแจกเมื่อเข้าสู่เนื้อหาในบทเรี ยนนั้น
5

ขอบเขตของการวิจัย
1. ในการศึกษาวิจยั ครั้งนี้เป็ นการสร้างแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่
ส่งงาน / การบ้านของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทย
บริ หารธุรกิจ โดยใช้ขอ้ ความที่คาดว่าจะเป็ นสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน จานวน 13 ข้อ และได้
กาหนดขอบเขตของการวิจยั ไว้ดงั นี้
1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ จานวนห้องเรี ยน 1 ห้อง จานวนนักเรี ยน 38 คน
2. แบบสอบถามที่ใช้ ในการศึกษา เป็ นเป็ นแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนชั้น
ประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจในเรื่ องการไม่ส่ง
งาน / การบ้าน จานวน 13 ข้อ
6

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง

เพือ่ เป็ นพื้นฐานในงานวิจยั เรื่ อง การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ของ


นักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ
ผูว้ จิ ยั จึงศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องโดยเสนอตามลาดับหัวข้อดังนี้
1. ความหมายของพฤติกรรม
2. ความหมายของการบ้าน
3. แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการบ้าน
4. วิธีการเรี ยนที่ดีหรื อพฤติกรรมเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มผลสัมฤทธิ์ในการเรี ยน
5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

พฤติกรรม ( Behavior )
พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยาหรื อกิจกรรมทุกชนิดของสิ่งมีชีวติ แม้วา่ จะสังเกตได้หรื อไม่ก็ตาม
เช่น คน สัตว์ มีนกั พฤติกรรมศาสตร์บางคนได้ให้ความหมายไว้วา่ พฤติกรรมมีความหมายกว้างขาวง
ครอบคลุมไปถึงพฤติกรรมของสิ่งที่ไม่มีชีวติ ด้วย เช่น การไหลของน้ า คลื่นของน้ าทะเล กระแสลมที่พดั
การปลิวของฝุ่ นละออง การเดือดของน้ า เป็ นต้น สิ่งที่กล่าวมาเป็ นการเคลื่อนไหวของสิ่งไม่มีชีวติ แต่มี
การเปลี่ยนแปลงจากลักษณะหนึ่งไปยังอีกลักษณะหนึ่ง เลยถือว่าคล้าย ๆ กับเป็ นปฏิกิริยาหรื อเป็ น
กิจกรรมที่ปรากฏออกมาจากสิ่งนั้นจึงนับว่าเป็ นกิจกรรมด้วย
การศึกษาเรื่ องพฤติกรรมส่วนใหญ่จะมุ่งศึกษาเฉพาะพฤติกรรมของคนส่วนพฤติกรรมของสัตว์
กระทาเป็ นบางครั้ง เพือ่ นามาเป็ นส่วนประกอบให้เข้าใจในพฤติกรรมของคนได้ดียงิ่ ขึ้น

พฤติกรรมภายนอก ( Overt Behavior )


พฤติกรรมภายนอก หมายถึง ปฏิกิริยาของบุคคลหรื อกิจกรรมของบุคคลที่ปรากฏออกมาให้
บุคคลอื่นได้เห็น ทั้งทางวาจาและการกระทาท่าทางอื่นๆ ที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้ พฤติกรรมที่ปรากฎ
ออกมาให้เห็นภายนอกนั้นเป็ นสิ่งที่คนมองเห็นตลอดเวลา เป็ นปฏิกิยาที่คนเราได้แสดงออกมาตลอดเวลา
ของการมีชีวติ ถ้าลาดับตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทัง่ นอนหลับ จะเห็นว่าได้แสดงพฤติกรรมออกมาตลอดเวลา
7

พฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมามีความสาคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าสังคมใดที่ประเมิน


คุณภาพของคนว่าเป็ นคนดี มีระเบียบวินยั สุภาพ ซื่อสัตย์ ทารุ ณ เป็ นต้น ล้วนแต่ประเมินคุณภาพของ
พฤติกรรมภายนอกทั้งสิน ถ้าไม่แสดงออกมาสังคมก็ไม่ทราบว่าบุคคลนั้นเป็ นคนอย่างไร
พฤติกรรมที่คนแสดงออกมาให้เห็นภายนอกจึงนับว่าเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม สังคมชอบตัดสินคนด้วยพฤติกรรมภายนอก ดังนั้นพฤติกรรมที่เรา
เห็นได้ทราบอาจไม่ใช่พฤติกรรมที่แท้จริ งของเขา และไม่ใช่ตวั ตนที่แท้จริ ง คือการกระทาไม่ตรงกับ
ความคิดความรู ้สึก บางคนอาจสวมหน้ากากเข้าหากัน หรื อแสดงไปตามบทบาทที่เขาเป็ นบางครั้งจึง
กาหนดไม่ได้วา่ เป็ นเรื่ องจริ ง เพราะไม่ได้สะท้อนความเป็ นจริ งออกมาทั้งหมด

พฤติกรรมภายใน ( Covert Behavior )


พฤติกรรมภายใน หมายถึง กิจกรรมภายในที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล ซึ่งสมองทาหน้าที่รวบรวม
สะสมและสัง่ การ ซึ่งเป็ นผลจากการกระทาของระบบประสาทและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
ชีวเคมีของร่ างกาย พฤติกรรมภายในมีท้งั รู ปธรรมและนามธรรม ที่เป็ นรู ปธรรมคนอื่นจะสังเกตเห็น
ไม่ได้แต่จะใช้เครื่ องมือทางการแพทย์ทดสอบได้ สัมผัสได้ เช่น การเต้นของหัวใจการหดและการ
ขยายตัวของกล้ามเนื้อ การบีบของลาไส้ การสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงร่ างกาย เป็ นต้น ที่เป็ นนามธรรมได้แก่
ความคิด ความรู ้สึก เจตคติ ความเชื่อ ค่านิยม ซึ่งจะอยูใ่ นสมองของคน บุคคลภายนอกไม่สามรถจะ
มองเห็นได้ หรื อสัมผัสได้เพราะไม่มีตวั ตน และจะทราบว่าเขาคิดอย่างไรก็ต่อเมื่อเขาแสดงออกมา เช่น
การแสดงอาฆาตมาดร้าย ใช้คาพูดข่มขู่หรื อระทาดังที่คิดไว้ พฤติกรรมภายในจะมีเหมือนกันหมดทุกวัย
ไม่วา่ เด็กหรื อผูใ้ หญ่ เพศชาย เพศหญิง หรื อต่างเชื้อชาติ ส่วนที่จะแตกต่างกันจะอยูท่ ี่จานวน ปริ มาณ
หรื อคุณภาพเท่านั้น
พฤติกรรมภายในมีความสาคัญต่อคน เป็ นคุณสมบัติที่ทาให้คนเหนือกว่าสัตว์ คนมีแนวคิดที่มี
ระบบและคาดการณ์ในสิ่งต่างๆ ในอนาคตได้ พฤติกรรมภายในของคนมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรม
ภายนอกที่แสดงออกมา บางสถานการณ์ก็ไม่อาจสอดคล้องกันได้ เช่น บางครั้งไม่พอใจในการกระทา
ของผูอ้ ื่นก็อาจจะทาเฉยเพราะไม่กล้าต่อว่าหรื ทาร้ายเขา เพราะถ้ากระทาอะไรลงไปอาจทาให้เกิดการ
ทะเลาะวิวาทกันขึ้นได้
มนุษย์จะแสดงพฤติกรรมภายในและพฤติกรรมภายนอกตั้งแต่เกดจนตาย พฤติกรรมที่แสดง
ออกมาอาจเป็ นผลสืบเนื่องมาจากการเลี้ยงดูและอบรมจากครอบครัวหรื อในทางตรงกันข้ามอาจสืบ
เนื่องมาจากการขาดการเลี้ยงดูและอบรมจากครอบครัวหรื อในทางตรงกันข้ามอาจสืบเนื่องมาจากการขาด
การเลี้ยงดูอบรมจากครอบครัว จึงทาให้มีปัญหาอยูม่ าก
ในแต่ละช่วงของชีวติ จะมีพฒั นาการปรับเปลี่ยนหรื อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปบ้างโดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ต้องปรับพฤติกรรมให้เข้ากับขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนนั้นๆ รวมทั้งการ
8

เปลี่ยนแปลงของสังคมในทุกๆด้าน เมื่อขนบธรรมเนียมประเพณี เป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมของคนจึงทาให้


ตนเปลี่ยนพฤติกรรมได้ยาก เช่น บางชุมชนมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบๆ เป็ นต้น

ความหมายของการบ้ าน
กู๊ด ( Good , 2008 : 224 ) กล่าวว่า การบ้าน หมายถึง งานที่ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนกลับไปทาที่
บ้าน เพือ่ ทบทวนความรู ้ที่เรี ยนไปแล้ว และเป็ นการฝึ กทักษะ การใช้กฎ หรื อสูตรต่างๆที่เรี ยนไปแล้ว
ไพโรจน์ โตเทศ ( 25 53 : 9 - 12 ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา่ การบ้านเป็ นงานที่ครู ผสู ้ อน
มอบหมายหันกั เรี ยนไปทาที่บา้ น เพือ่ เป็ นการทบทวนความรู ้ที่นกั เรี ยนได้เรี ยนไปแล้วจากโรงเรี ยน
ประการหนึ่ง อีกประหนึ่ง เป็ นการให้งานที่มุ่งวางพื้นฐานในการเรี ยนต่อไป เพือ่ ความเข้าใจตรงกันหรื อ
ความง่ายต่อการสอนในเนื้อหาวิชาต่อไป
จินตนา ใบกาซูยี ( 2551 : 40 ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา่ หมายถึง สิ่งจาเป็ นที่เด็กทุกชั้นจะต้อง
ปฏิบตั ิ ทาให้เด็กรู ้จกั วินยั รู ้จกั ควบคุมตนเอง มีความรับผิดชอบต่อตนเอง แบ่งเวลาเป็ น และรู ้จกั เรี ยน
ด้วยตนเอง
จันทนา คุณกิตติ ( 25 52 : 14 ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา่ หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู
มอบหมายให้นกั เรี ยนทานอกเวลาเรี ยนปกติตามข้อกาหนดที่ตกลงร่ วมกันระหว่างครู กบั นักเรี ยนเพือ่ ให้
นักเรี ยนได้คิด ค้นคว้า ทบทวนความรู ้ที่เรี ยนไปแล้ว เพือ่ ฝึ กทักษะหรื อเต รี ยมสู่ บทเรี ยนใหม่ตลอดจน
เพือ่ ส่งเสริ มผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยน
บัทเลอร์ ( Butler ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา่ หมายถึง การให้นกั เรี ยนใช้เวลานอกชั้นเรี ยนในการ
ทากรรมกิจกรรมจากแบบฝึ กหัด เป็ นการเสริ มแรงหรื อประยุกต์ทกั ษะหรื อความรู ้ใหม่และเรี ยนรู ้ทกั ษะ
ขั้นพืน้ ฐานด้วยตนเองอย่างอิสระ Butler. 2007. Homework. ( ออนไลน์) สืบค้นได้จาก :
www.bigchalk.com [ 5 กุมภาพันธ์ 2551 ]
กระทรวงศึกษาธิการ ( 25 51 : 2 ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา่ การบ้าน หมายถึง กิจกรรมที่ครู
มอบหมายให้นกั เรี ยนทานอกเวลาเรี ยน ตามข้อกาหนดที่ตกลงร่ วมกันระหว่างครู กบั นักเรี ยนหรื ออาจเป็ น
กิจกรรมที่นกั เรี ยนคิดขึ้นเองโดยความเห็นชอบของครู
จากความหมายข้างต้น พอสรุ ปได้วา่ การบ้านหมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู มอบหมายให้
นักเรี ยนได้ทานอกเวลาเรี ยนเพือ่ เป็ นการฝึ กทักษะ คันคว้าหาความรู ้เพิม่ เติมและใช้วา่ งให้เกิดประโยชน์
9

แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้ องกับการบ้ าน
วัตถุประสงค์ของการบ้ าน
สแตรง ( Strang , 2007 อ้างถึงใน สุขดี ตั้งทรงสวัสดิ์. 2550 : 9 ) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการ
มอบหมายการบ้านไว้ดงั นี้
1. เพือ่ ช่วยกระตุน้ ให้นกั เรี ยนมีความพยายาม ความคิดริ เริ่ ม ความเป็ นอิสระ มีโอกาสใช้
ความคิดของตนเอง
2. ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนใช้เวลาว่างจากการเรี ยนในโรงเรี ยนให้เป็ นประโยชน์
3. เพือ่ เพิม่ พูนประสบการณ์ที่ได้รับจากโรงเรี ยนโดยทากิจกรรม
4. สนับสนุนการเรี ยนรู ้โดยมีการเตรี ยมตัวฝึ กปฏิบตั ิ

กระทรวงศึกษาธิการ ( 2552 : 3 ) ได้ กล่ าวถึงวัตถุประสงค์ของการบ้ านไว้ ดังนี้


1. เพือ่ เพิม่ ทักษะและประสบการณ์จากสิ่งที่ได้เรี ยนรู ้มาแล้ว
2. เพือ่ ให้รู้จกั ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
3. เพือ่ ให้รู้จกั ตนเองเกี่ยวกับความถนัด ความสามารถ ความสนใจและข้อบกพร่ องในการเรี ยน
วิชานั้น ๆ
4. เพือ่ ให้เกิดความเชื่อมัน่ ในสิ่งที่เรี ยนรู ้และทาให้กล้าตัดสินใจ
5. เพือ่ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์
6. เพือ่ ให้มีวนิ ยั รักการทางาน มีความรับผิดชอบและรู ้จกั ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
7. เพือ่ ปลูกฝังคุณธรรม รู ้จกั เสียสละ ช่วยเหลือสังคมและทางานเป็ นหมู่คณะได้
8. เพือ่ ให้ครู และผูป้ กครองสามารถสนับสนุน และช่วยเหลือในข้อบกพร่ องต่างๆ ของ
นักเรี ยนที่เกิดจากการเรี ยนการสอนได้

บัทเลอร์ ( Butler ) ได้ ให้ วัตถุประสงค์ของการบ้ านไว้ Butler. 2008 .


Homework. ( ออนไลน์ ) สื บค้นได้ จาก : www.bigchalk.com [ 5 กุมภาพันธ์ 2553]
1. การบ้านควรจะเป็ นการเสริ มทักษะที่ถูกแนะนาในห้องเรี ยน
2. เพือ่ บรรลุผลในความเชี่ยวชาญต่อบทเรี ยนพื้นฐาน เช่น ก ฎทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นต้น
3. สนับสนุนให้เลือกหัวข้อที่จะศึกษาได้อย่างอิสระ
4. ให้โอกาสในการทากิจกรรมที่มีคุณค่าอย่างอิสระ
5. สนับสนุนให้ใช้เวลาอย่างฉลาดและเป็ นระเบียบ
10

ประเภทของการบ้ าน
สาอาง สีหาพงษ์ ( 2551 : 43 - 47) แบ่งการบ้านออกเป็ น 3 ประเภท คือ
1. ภาคความรู ้ คือ การบ้านที่เป็ นเรื่ องทักษะ ความรู ้ ความคิด เช่น การศึกษาค้นคว้าทารายงาน
การหาข่าว ทาแบบฝึ กหัด การตอบคาถาม การเติมคา การอ่านหนังสือเพิม่ เติม
2. ภาคปฏิบตั ิ คือ การบ้านที่ทาด้วยมือเพือ่ ก่อให้เกิดความชานาญและประสบการณ์ เช่น การทา
กระบวยตักน้ า การจัดนิทรรศการ การตอนกิ่งไม้ การทดลองต่างๆ เป็ นต้น
3. ประเภทให้ประโยชน์สาธารณะ เช่น การช่วยงานโรงเรี ยน การเข้าร่ วมกิจกรรมชุมนุมและ
การเข้าร่ วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เป็ นต้น

กระทรวงศึกษาธิการ ( 2553 : 4 ) ได้ แบ่ งประเภทของการบ้ านไว้ ดังนี้


1. ประเภทเสริ มความรู ้ เช่น การศึกษาค้นคว้า การศึกษานอกสถานที่ การทารายงาน และการ
ทาแบบฝึ กหัด เป็ นต้น
2. ประเภทเสริ มการปฏิบตั ิ เช่น การทาชิ้นงาน การฝึ กงาน การจัดนิทรรศการ และการจัดป้ าย
นิเทศ เป็ นต้น
3. ประเภทให้ประโยชน์สาธารณะ เช่น การช่วยงานโรงเรี ยน การเข้าร่ วมกิจกรรมชุมชนและ
การเข้าร่ วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เป็ นต้น

ซัลลิแวน และซีควิ รา ( Sullivan and sequeira ) ได้ เสนอรู ปแบบการบ้ านไว้ 4 ประเภทดังนี้
Sullivan and sequeira. 2008. Homework tips for Teacher. [ 5 กุมภาพันธ์ 2553 ]
1. ประเภทแบบฝึ กหัด ( Practice ) เป็ นการทาซ้ าและเป็ นการฝึ กฝนซึ่งจะเป็ นการเสริ มแรง
ให้กบั การเรี ยนรู ้ต่อเนื้อหาวิชา ตลอดจนเป็ นการเพิม่ ความเร็วและความเชี่ยวชาญของทักษะเฉพาะด้าน
2. ประเภทเตรี ยมความพร้อม ( Preparation ) มีผลการเรี ยนรู ้ของการทางานและกระตุน้ ให้
นักเรี ยนรวบรวมข้อมูลของบทเรี ยน ซึ่งเขาจาเป็ นจะต้องเตรี ยมพร้อมในชั้นเรี ยนต่อไป
3. ประเภทเสริ มบทเรี ยน ( Extension ) อนุญาตให้นกั เรี ยนได้ขยายความรู ้ที่มีต่อเนื้อหาหรื อ
ประยุกต์ทกั ษะการเรี ยนในการทางานใหม่
4. งานประดิษฐ์ ( Creative ) อนุญาตใหันกั เรี ยนรวมกลุ่มเพือ่ สร้างความคิดดั้งเดิมหรื อคิดงานใหม่
11

ลักษณะของการบ้ าน
การบ้านเป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรี ยนการสอน ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อการเรี ยนรู ้และทัศนคติ
ของผูเ้ รี ยนเป็ นอย่างยิง่ ดังนั้น จึงเป็ นหน้าที่ของครู ในการจัดการบ้านที่ดีให้แก่นกั เรี ยน
กระทรวงศึกษาธิการ ( 2553 : 5 – 6 ) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะที่ดีของการบ้านไว้ดงั นี้
1. ตรงตามหลักการ จุดหมาย และจุดประสงค์ของหลักสูตร
2. สัมพันธ์และสอดคล้องกับจุดประสงค์รายวิชา และแผนการเรี ยนการสอน
3. ชัดเจน ไม่มากและยากเกินไป สอดคล้องกับสภาพชีวติ และความเป็ นอยูข่ องนักเรี ยน
4. ยั่ วยุและท้าทายความถนัด ความสามารถ และความสนใจของนักเรี ยน
5. ส่งเสริ มและพัฒนาการ ด้านความรู ้ ทักษะ และประสบการณ์ของนักเรี ยน
6. ใช้เวลาพอเหมาะกับวัยและความสามารถของนักเรี ยน

หลักการสาคัญในการมอบหมายการบ้ าน
ฟิ ลิป และแดเนียล (Philip and Daniel, 2009 : 55 - 57 ) ได้เสนอหลักการมอบหมายการ้านไว้
ดังนี้
1. ควรให้การบ้านเป็ นประจา ไม่ใช่ให้บางครั้งบางคราว และควรกาหนดส่งตามเวลา
2. ควรให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคลวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและจุดมุ่งหมาย
ของครู นักเรี ยนเก่งควรให้การบ้านประเภทศึกษาสารานุกรม แล้วนามาสนทนาในห้องเรี ยน นักเรี ยน
อ่อนควรให้การบ้านที่เป็ นการฝึ กฝนและเพิม่ พูนเนื้อหาความรู ้ในบทเรี ยน
3. ควรให้การบ้านที่ส่งเสริ มสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบ้านกับโรงเรี ยน
4. ไม่ควรเป็ นงานซับซ้อนหรื อเป็ นงานที่ครู ยดั เยียดให้นกั เรี ยน เพราะอาจจะทาในสิ่งที่ตนไม่
เข้าใจ ซึ่งมีผลเสียอย่างมากสาหรับนักเรี ยนที่อ่อน

อ้ อม ประนอม ( 2552 อ้ างถึงใน สุ ขดี ตั้งทรงสวัสดิ์ , 2552 : 13 ) ได้ เสนอหลักการในการ


มอบหมายการบ้ านดังนี้
1. ครู ให้การบ้านเมื่อนักเรี ยนเข้าใจบทเรี ยนดีแล้ว
2. แบบฝึ กหัดที่ให้การบ้านนั้น ควรมีความยากง่ายเหมาะสมกับความสามารถของนักเรี ยนและ
เหมาะสมกับเวลาที่ทา
3. การบ้านต้องให้สม่าเสมอและติดตามผอย่างใกล้ชิด
4. ครู ควรมีสมุดบันทึกการบ้านเป็ นการตระเตรี ยมบทเรี ยนที่จะให้การบ้านที่เหมาะสมยิง่ ขึ้น
12

หลักในการให้ การบ้ านได้ ประมวลจากแนวคิดของนักการศึกษาหลายท่ านที่มีความสอดคล้ องกัน


กรทรวงศึกษาธิการ ( 2552 : 6 ) สรุปได้ ดังนี้
1. ต้องจัดให้สมั พันธ์สอดคล้องกับราบวิชา กลุ่มวิชา และแผนการเรี ยนการสอน
2. ต้องเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ศึกษ าค้นคว้าและแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง
3. ต้องจัดให้สอดคล้องกับความแตกต่างของนักเรี ยนแต่ละคน มีความยากง่ายและปริ มาณ
พอเหมาะกับความสามารถและเวลาของนักเรี ยน
4. ต้องไม่เพิม่ ภาระให้ผปู ้ กครองมากเกินไป
5. ต้องเป็ นการสร้างความร่ วมมือและความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรี ยนกับบ้าน
6. ต้องสอดคล้องกับสภาพการดาเนินชีวติ ของนักเรี ยนและชุมชน
7. ควรสอนความสามารถเบื้องต้นที่เด็กจาเป็ นต้องใช้ในการทาการบ้าน เพราะเมื่อนักเรี ยนทา
การบ้านถูกจะก่อให้เกิดความชื่นชมตนเอง ครู จึงควรให้การบ้านที่ช่วยให้กาลังใจแก่นักเรี ยนมากกว่าเป็ น
การฉุดรั้งให้เกิดความล้มเหลวในการเรี ยน
8. ควรให้อย่างสม่าเสมอ ให้แต่นอ้ ยๆ และบ่อยๆ อย่างต่อเนื่อง การทาทุกครั้งให้เด็กประสบ
ความสาเร็จเสมอ คือทาแล้วได้เครื่ องหมายถูกมากกว่าผิด เพราะถือว่าการฝึ กฝนในปริ มาณที่พอดีกบั เวลา
ก่อให้เกิดผลดี การฝึ กมากเกินไปจะให้ผลเสียมากกว่า เพราะจะทาให้นกั เรี ยนเบื่อหน่าย หลีกเลี่ยง หรื อ
ทาแบบขอไปที
9. ให้การบ้านหลายๆ แบบ เพราะคนเราชอบความแปลกใหม่ จึงไม่ควรให้การบ้านลักษณะ
เดียวกันตลอดปี
10. เมื่อให้การบ้านแล้วครู ตอ้ งกาหนดวันส่ง พร้อมทั้งจะต้องตรวจการบ้านและติดตามผลอย่าง
ใกล้ชิดว่านักเรี ยนยังบกพร่ องในเรื่ องใด ตรงไหนควรช่วยเหลือเป็ นรายบุคคลหรื อช่วยเป็ นกลุ่ม

ประโยชน์ ของการบ้ าน
การบ้านมีประโยชน์หลายประการดังนี้คือ ( กระทรวงศึกษาธิการ , 2553 : 9 )
ก. ต่ อนักเรียน
1. ได้พฒั นาแนวคิดอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
2. ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ซึ่งเป็ นปั จจัยสาคัญที่ช่วยให้เด็กเชื่อมัน่ ในความสามารถของตนเอง
ปลูกนิสยั ให้รักเด็กและพยายามค้นคว้าหาความรู ้ และความก้าวหน้ามาสู่ตนเอง
3. ได้สารวจและพัฒน าตนเองในด้านความรู ้ ความถนัด ความสามารถ และความสนใจ
4. ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็ นการสร้างนิสยั ที่ดีให้กบั นักเรี ยน
5. ปลูกฝังความมีระเบียบ ความรับผิดชอบและความเสียสละ รู ้จกั แบ่งเวลาเพือ่ พัฒนาตนเอง
รู ้วา่ เวลาไหนควรทาอะไร ลาดับกิจกรรมก่อนหลัง วางแผนงานเป็ นไปในแต่ละวัน
13

ข. ต่ อผู้ปกครอง
1. ลดความวิตกกังวลในเรื่ องความประพฤติของบุตรหลาน
2. ทราบพัฒนาการและข้อบกพร่ องทางการเรี ยนของบุตรหลาน
3. เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผูป้ กครอง ครู และนักเรี ยน
ค. ต่ อครู ผู้สอน
1. ช่วยเสริ มให้แผนการสอนของครู เป็ นระบบและครบถ้วน
2. เป็ นเครื่ องมือช่วยจาแนกความแตกต่างของนักเรี ยนเพือ่ กาหนดวิธีสอนให้เหมาะสมกับ
นักเรี ยน
3. ทราบผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนได้อย่างต่อเนื่อง

ข้ อควรคานึงในการมอบหมายการบ้ าน
กระทรวงศึกษาธิการ ( 2551 : 13 ) ได้กล่าวว่า ในการมอบหมายการบ้าน อาจจะประสบปั ญหา
ต่างๆ เช่น ขาดการประสานงานระหว่างครู การบ้านยาก มากหรื อน้อยเกินไป นักเรี ยนเกิดความวิตก
กังวล เบื่อหน่ายการเรี ยนและหนีเรี ยน ทาให้ผปู ้ กครองเดือดร้อน และขาดแหล่งศึกษาค้นคว้า เป็ นต้น
เพือ่ ไม่ให้เกิดปั ญหาดังกล่าว ในการมอบหมายการบ้าน โรงเรี ยนและครู ควรคานึงถึงแนวปฏิบตั ิ
ดังต่อไปนี้
1. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน
2. ควรกาหนดปริ มาณ ความยากง่ายให้พอเหมาะกับสภาพและพ้นฐานของนักเรี ยนโดย
ไม่จาเป็ นต้องให้เท่ากันทุกคนและต้องชัดเจน
3. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือในการแก้ปัญหากาสอนไม่จบหลักสูตร
4. ควรอานวยความสะดวกและเตรี ยมการล่วงหน้าสาหรับการบ้านที่ตอ้ งใช้วสั ดุอุปกรณ์
5. ควรจูงใจให้นกั เรี ยนเห็นประโยชน์และคุณค่าของกาบ้าน
6. ควรสร้างเสริ มการบ้านให้มีลกั ษณะยัว่ ยุ และท้าท้ายความถนัดความสามารถและความ
สนใจของนักเรี ยน
7. ควรมอบหมายการบ้านหลายรู ปแบบและไม่ซ้ าซาก
8. ควรเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้มีส่วนร่ วมในการทาการบ้าน
9. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือในการลงโทษนักเรี ยน
14

ทัศนีย ์ ศุภเมธี ( 2552 : 113 ) กล่าวว่า การให้แบบฝึ กหัดของการให้ทาการบ้านเป็ น


กิจกรรมการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองของนักเรี ยน ผลงานจากาทาแบบฝึ กหัดจะบอกให้ครู ทราบว่านักเรี ยนเข้าใจ
บทเรี ยนที่เยนไปหรื อไม่ ถ้านักเรี ยนทาแบบฝึ กหัดหรื อการบ้านไม่ค่อยได้ ก็แสดงให้เห็นว่า ครู ตอ้ งสอน
ซ่อมเสริ มหรื ออาจจะต้องทบทวนบทเรี ยนใหม่

ข้ อเสนอแนะในการให้ ทาแบบฝึ กหัดหรือการให้ ทาการบ้ าน


1. ควรจะให้ทนั ทีหลังจากสอนจบบทเรี ยน
2. ควรให้ในปริ มาณพอสมควรและเหมาะสมกับความสามารถของนักเรี ยน
3. ครู ควรจะร่ วมมือกับผูป้ กรองในการเอาใจใส่ดูแลการทาการบ้านของนักเรี ยน
4. การให้การบ้านหรื อแบบฝึ กหัดแต่ละครั้งครู ตอ้ งแน่ใจว่านักเรี ยนเข้าใจคาสัง่ ในงานที่ได้รับ
มอบหมาย
5. ให้นกั เรี ยนเข้าใจจุดหมายและปะโยชน์ของการทาแบบฝึ กหัดและการบ้าน
6. การให้การบ้านของครู ไม่ควรเน้นที่งานหนังสืออย่างเดียว ครู ควรให้การบ้านที่นกั เรี ยนจะลง
ปฏิบตั ิดว้ ยตนเองด้วย เช่น ให้ตดั เล็บให้ส้ นั ทุกวันศุกร์ ปลูกต้นไม้กระถาง ให้ใส่ปุ๋ยต้นไม้ 7 วันต่อ
ครั้ง
คูเปอร์ ( Cooper ) ได้ ศึกษาถึงข้ อควรคานึงในการให้ การบ้ านดังนี้ Cooper.2008. Homewort :
Time To Turn It In ? ( ออนไลน์ ) สบค้นได้ จาก : www.bigchalk.com [ 21 มีนาคม 2552 ]
1. ไม่ควรให้การบ้านเป็ นการลงโทษ
2. หลีกเลี่ยงการบ้านที่เป็ นงานซึ่งเด็กสามารถทาได้ดีอยูแ่ ล้ว
3. การให้การบ้านควรจะมีปริ มาณไม่มาก และไม่ยากเกินไป และควรเป็ นการบ้านที่น่าสนใจ
ซึ่งเด็กสามารถจะทาได้ดว้ ยตนเอง
4. ควรจะให้การบ้านที่เหมาะสมกับระดับการศึกษาของเด็ก
15

บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจัย
การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั ศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ของนักเรี ยนชั้น
ประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ โดยใช้
แบบสอบถามเพือ่ หาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ผูว้ จิ ยั ได้วางแผนการดาเนินการศึกษา
สร้างแบบสอบถาม โดยใช้ขอ้ ความที่คาดว่าจะเป็ นสาเหตุของการมาส่งงาน / การบ้านตามกาหนด และได้
ดาเนินการซึ่งมีรายละเอียดเป็ นขั้นตอนดังนี้
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้เป็ นนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ จานวน 38 คน
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจยั
1. แบบสอบถาม
ขั้นตอนการดาเนินการ
ในการดาเนินการศึกษาวิจยั ครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพือ่
1.ขั้นวิเคราะห์ ( Analysis)
1.1 วิเคราะห์ ข้อมูลพืน้ ฐานของผู้เรียน การวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนได้กาหนดไว้ดงั นี้
ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่3/8ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีไทย
บริ หารธุรกิจ จานวน 38 คน
1.2 วิเคราะห์ สาเหตุของการไม่ ส่งงาน / การบ้ าน ของนักเรียน โดยการหาค่าร้อยละ
2. ขั้นออกแบบ (Design)
ผูว้ จิ ยั ดาเนินการสร้างแบบสอบถามเพือ่ วัดพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด โดยมี
ลาดับขั้นตอนการสร้างดังนี้
2.1 ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบสอบถามจากเอกสารต่างๆ
2.2 สร้างแบบสอบถามเพือ่ วัดพฤติกรรมของนักเรี ยนเพือ่ หาสาเหตุในการไม่ส่งงาน/การบ้าน
ตามกาหนดของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่3/8 จานวน 13 ข้อ โดยให้นกั เรี ยนใส่หมายเลขลาดับ
สาเหตุของการไม่ส่งงานจากลาดับมากที่สุด ( 1 ) ไปจนถึงลาดับน้อยที่สุด ( 15 )
16

3. ขั้นดาเนินการ
ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้มีการดาเนินการดังนี้
3.1 นาแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ของนักเรี ยน ชั้น
ประกาศนีวชิ าชีพปี ที่3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 วิทยาลัย
เทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ จานวน 38 คน เพือ่ หาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตาม
กาหนด และทาการบันทึกคะแนน
3.2 ดาเนินการหาค่าร้อยละของแต่ละข้อสาเหตุ
4. ขั้นวิเคราะห์ ข้อมูล
4.1 วิเคราะห์ ข้อมูล
- วิเคราะห์ผลจากคะแนนที่ได้จากการทาแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรม
4.2 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
4.2.1 การหาค่าร้อยละ
ค่าร้อยละ = X x 100
N
เมื่อ X = คะแนนที่ได้
N = จานวนนักเรี ยนทั้งหมด
17

บทที่ 4
ผลการวิจัย

จากการศึกษาวิจยั ในชั้นเรี ยนครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน/การบ้าน ตาม


กาหนดของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ
เพือ่ นาผลการวิจยั มาเก็บเป็ นข้อมูลเพือ่ หาสาเหตุ และนาไปแก้ไขปั ญหาในการเรี ยนการสอนและเพือ่ ให้
นักเรี ยนเห็นความสาคัญของการส่งงานและการบ้าน โดยใช้แบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมจานวน 13
ข้อ โดยกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็ นของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัเทค
โนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 จานวน 38 คน โดยสามารถวิเคราะห์ผลได้ดงั นี้
ผลการประเมินแบบสอบถามของนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน/การบ้านตามกาหนด เกี่ยวกับการ
หาสาเหตุที่ไม่ส่งงาน นักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8

ตาราง 1 ผลการประเมินแบบสอบ ถามของนักเรี ยนถึงสาเหตุที่ผเู ้ รี ยนไม่ส่งงาน / การบ้านตาม


กาหนด
สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ลาดับที่ ร้อยละ
1. การบ้านมากเกินไป 8 21.05
2. แบบฝึ กหัดยาก ทาไม่ได้ 1 2.63
3. ไม่น่าสนใจ 0 0
4. ให้เวลาน้อยเกินไป 3 7.89
5. ครู อธิบายเร็วจนเกินไป 1 2.63
6. ไม่เข้าใจคาสัง่ 2 5.63
7. สมุดหาย/หนังสือหาย 5 13.16
8. เบื่อหน่ายไม่อยากทา 1 2.63
9. ช่วยเหลืองานผูป้ กครอง 3 7.89
10. ลืมทา 9 23.68
11. เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 0 0
12. ติดเกมส์ 5 13.16
13. ทากิจกรรมของโรงเรี ยน 0 0
18

จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าการตอบแบบสอบถามของนักเรี ยนในเรื่ องสาเหตุของการไม่ส่งงาน /


การบ้านตามกาหนด โดยทาการเรี ยงลาดับจากสาเหตุที่นกั เรี ยนที่นกั เรี ยนคิดว่าเป็ นสาเหตุที่สาคัญที่สุด
จนถึงสาเหตุที่นอ้ ยที่สุด ตามลาดับ 1-15 ดังต่อไปนี้
ลืมทาการ อยูใ่ นลาดับที่ 1 คิดเป็ นร้อยละ 38.98 ( 9 คน )

บ้านมากเกินไป อยูใ่ นลาดับที่ 2 คิดเป็ นร้อยละ 38.98 (8 คน )

ติดเกมส์ อยูใ่ นลาดับที่ 3 คิดเป็ นร้อยละ 13.16 ( 5 คน )

สมุดหาย/หนังสือหาย อยูใ่ นลาดับที่ 3 คิดเป็ นร้อยละ 13.16 ( 5 คน )

เวลาน้อย อยูใ่ นลาดับที่ 4 คิดเป็ นร้อยละ 7.89 ( 3 คน )

ให้เวลาน้อยเกินไป อยูใ่ นลาดับที่ 4 คิดเป็ นร้อยละ 7.89 ( 3 คน )

ช่วยเหลืองานผูป้ กครอง อยูใ่ นลาดับที่ 5 คิดเป็ นร้อยละ 5.63 (2 คน )

ไม่เข้าใจคาสัง่ อยูใ่ นลาดับที่ 6 คิดเป็ นร้อยละ 2.63 ( 1 คน )

แบบฝึ กหัดยาก ทาไม่ได้ อยูใ่ นลาดับที่ 6 คิดเป็ นร้อยละ 2.63 ( 1 คน )

ครู อธิบายเร็วจนเกินไป อยูใ่ นลาดับที่ 6 คิดเป็ นร้อยละ 2.63 (1 คน )

เบื่อหน่ายไม่อยากทา อยูใ่ นลาดับที่ 7 คิดเป็ นร้อยละ 0 (0 คน )

เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น อยูใ่ นลาดับที่ 7 คิดเป็ นร้อยละ 0 (0 คน )

ทากิกรรมของโรงเรี ยน อยูใ่ นลาดับที่ 7 คิดเป็ นร้อยละ 0 ( 0 คน )


19

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษาวิจัย
จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของ
นักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ แสดงให้
เห็นว่า สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ลาดับที่ 1 คือ ลืมทา นักเรี ยนเลือก 9 คน คิดเป็ น
ร้อยละ 23.68 อันดับที่ 2 คือ การบ้านมากเกินไป นักเรี ยนเลือก 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 21.05 อันดับที่
3 คือ ติดเกมส์ สมุดหาย/หนังสือหาย นักเรี ยนเลือก 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 13.16 ลาดับที่ 4 คือ ให้เวลา
น้อยเกินไป ช่วยงานผูป้ กครอง นักเรี ยนเลือก 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 7.89 ลาดับที่ 5 คือ ไม่เข้าใจคาสัง่
นักเรี ยนเลือก 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.63 ลาดับที่ 6 คือ แบบฝึ กหัดยากทาไม่ได้, ครู อธิบายเร็วเกินไป,เบื่อ
หน่ายไม่อยากทา นักเรี ยนเลือก 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.63 ลาดับที่ 7 คือ เบื่อหน่ายไม่อยากทา เตรี ยมตัว
สอบเก็บคะแนนวิชาอื่น ทากิกรรมของโรงเรี ยน นักเรี ยนเลือก 0 คน คิดเป็ นร้อยละ 0 โดยคิดจาก
นักเรี ยน 34 คน

อภิปรายผลการศึกษาวิจัย
จากการสร้างแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของนักเรี ยน
ชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจ ในครั้งนี้สามารถ
อภิปรายผลได้ดงั นี้
พบว่าแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
วิทยาลัเทคโนโลยีไทยบริ หารธุรกิจในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ได้ทาให้ทราบถึงสาเหตุที่
สาคัญมากที่สุด จนถึงสาเหตุที่นอ้ ยที่สุด ในการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด คือ ลืมทา การบ้านมาก
เกินไป ติดเกมส์ สมุดหาย/หนังสือหาย ให้เวลาน้อยเกินไป ช่วยเหลืองานผูป้ กครอง ไม่เข้าใจคาสัง่
แบบฝึ กหัดยาก /ทาไม่ได้ ครู อธิบายเร็วจนเกินไป เบื่อหน่ายไม่อยากทา เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น
ทากิกรรมของโรงเรี ยน
20

ข้ อเสนอแนะ
1. ในการสร้างแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด อาจ
จัดทากับนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3 ทั้งระดับ เพือ่ เป็ นการศึกษาในภาพรวม เพราะการวิจยั ครั้งนี้
กลุ่มตัวอย่างเป็ นเพียงนักเรี ยนชั้นประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3 /8เท่านั้น ซึ่งอาจจะได้ผลการวิจยั ที่แตกต่างกันก็ได้
2. ในการวิจยั ครั้งต่อไปอาจเจาะจงทาการวิจยั กลุ่มนักเรี ยนในระดับชั้นอื่นๆ ต่อไป และ
อาจแยกหัวข้อเป็ นรายวิชาต่างๆ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลที่ละเอียดขึ้น ซึ่งจะได้นาผลการทดลองที่ได้ไปแก้ไข
ปั ญหาในการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของนักเรี ยนต่อไป
21

บรรณานุกรม

ทัศนีย ์ กิติวนิ ิต . 2550 . ปั จจัยที่ที่มีอิทธิพลต่อความรับผิดชอบในการทางานของพนักงาน.


กรุ งเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ .
พวงทอง ป้ องภัย. 2550. พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น, ภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี .
ศิริวฒั น์ สงวนหมู่. 2553 . พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มผลสัมฤทธิ์ในการเรี ยนฟิ สิกส์ตามการ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลาย . กรุ งเทพ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหา
วิทยาลัย .
Bulping . 2008 . Homework .( ออนไลน์ ) สืบค้นจาก : www.bigchalk . com [ 5 กุมภาพันธ์ 2553]
Cooper . 2007. Homework : Time To Turn It In ( ออนไลน์ ) สืบค้นจาก : www. Bigchalk .com [
21 มีนาคม 2553 ]
Sullivan and Sequeira . 2008 . Homework Tips for Teacher . ( ออนไลน์ ) สืบค้นจาก : www.
Bigchalk . com [ 5 กุมภาพันธ์ 2553]
Yvone . 2008 . Developing Home Policies . ( ออนไลน์ ) สืบค้นได้จาก : www. eq . gov . /
databases / ERIC Digests / ed 256473 . html [ 20 พฤศจิกายน 2553 ]
22

ภาคผนวก
23

แบบสอบถามเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ ส่งงาน / การบ้ านของนักเรียนชั้น


ประกาศนีวชิ าชีพปี ที่ 3/8 วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริหารธุรกิจ
คาชี้แจง :
1. แบบสอบถามฉบับนี้สร้างขึ้นเพือ่ ให้ทราบถึงสาเหตุที่ผเู ้ รี ยนไม่ส่งงาน / การบ้าน
2. แบบสอบถามฉบับนี้ มี 2 ตอน
ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผูต้ อบ
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุที่ไม่ส่งงาน / การบ้านของผูเ้ รี ยน
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบ
เพศ ……………อายุ ………….ปี ……….. ผลการเรี ยนภาคเรี ยนที่ 1 …………………….
ตอนที่ 2 : ความคิดเห็นของผูต้ อบที่มีต่อการไม่ส่งงาน / การบ้าน
คาชี้แจง : แบบสอบถามนี้ จัดทาขึ้นเพือ่ สอบถามสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านของผูเ้ รี ยน
โปรดอ่านข้อความด้วยความรอบคอบและใส่หมายเลขตามหัวข้อที่นกั เรี ยนคิดว่าเป็ นสาเหตุของการไม่ส่ง
งานการบ้าน โดยเรี ยงลาดับจากสาเหตุที่สาคัญที่สุดจนถึงสาเหตุที่นอ้ ยมี่สุด ตามลาดับ 1 - 13

สาเหตุของการไม่ ส่งงาน / การบ้ าน ลาดับที่


1. การบ้านมากเกินไป
2. แบบฝึ กหัดยากทาไม่ได้
3. ไม่น่าสนใจ
4. เวลาน้อย
5. ครู อธิบายเร็วจนเกินไป
6. ไม่เข้าใจคาสัง่
7. ไม่ได้นาสมุดมา/หนังสือหาย
8. เบื่อหน่าย ไม่อยากทา
9. ช่วยเหลืองานผูป้ กครอง
10. ลืมทา
11. เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น
12. ติดเกมส์
13. ทากิจกรรมของโรงเรี ยน

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………

You might also like