ชาดก 500 ชาติ เล่ม 2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 154

หน้า 1 จาก 1

ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ชาดก
จาก พระไตรปิ ฎกเล่มที ๒๗ และ ๒๘
พระสุตตันตปิ ฎกเล่มที ๑๙ และ ๒๐ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค
๑ และ ๒.

ชากด 500 ชาติ


อรรถกถาชาดกทังหมด ๕๔๗ เรือง ผูเ้ รี ยบเรี ยงจะพยายาม
นํามาจัดทํารู ปเล่มให้ครบ ซึ งเนือหาในชาดก ทังหมดนีนํามา
จาก
http://www.84000.org/tipitaka/atita/
ซึ งท่านสามารถเข้าไปอ่านกันได้
แต่ผเู้ รี ยบเรี ยงหวังทีจะช่วยให้ท่านผูใ้ ฝ่ ธรรม สะดวกในการ
อ่านจึงได้รวบรวมมาเรี ยงร้อยเป็ นเล่ม ซึ งมีหลายเล่มด้วยกัน
ซึ งผูเ้ รี ยบเรี ยงจะทําเป็ นรายละเอียดแต่ละเล่มอย่างเรี ยบร้อย
เพือความปลอดโปร่ งและง่ายในการอ่านนะคะ

หน้า 2 จาก 2
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ชาดก เลม 2
สารบัญ
11. ลักขณชาดก ว่าด้ วย ผู้มศี ีล หน้ า 5
12. นิโครธมิคชาดก ว่าด้ วย การเลือกคบ หน้ า 12
13. กัณฑินชาดก ว่าด้ วย ผู้ตกอยู่ในอํานาจหญิง หน้ า 33
14. วาตมิคชาดก ว่าด้ วย อํานาจของรส หน้ า 39
15. ขราทิยชาดก ว่าด้ วย ผู้ล่วงเลยโอวาท หน้ า 48
16. ติปัลลัตถมิคชาดก ว่าด้ วย เล่ห์กลลวงพราน หน้ า 52
17. มาลุตชาดก ว่าด้ วย ความหนาวเกิดแก่ลม หน้ า 63
18. มตกภัตตชาดก ว่าด้ วย สัตว์ไม่ควรฆ่าสัตว์ หน้ า 66
19. อายาจิตภัตตชาดก ว่าด้ วย การเปลืองตน หน้ า 73
20. นฬปานชาดก ว่าด้ วย การพิจารณา หน้ า 77
21.กุรุงคมิคชาดก ว่าด้ วย กวางกุรุงคะ หน้ า 85
22. กุกกุรชาดก ว่าด้ วย สุ นัขทีถูกฆ่า หน้ า 90
23. โภชาชานียชาดก ว่าด้ วย ม้าสินธพอาชาไนย หน้ า 99
24. อาชัญญชาดก ว่าด้ วย ม้าอาชาไนยกับม้ากระจอก หน้ า 106
25. ติตถชาดก ว่าด้ วย การเบือเพราะซําซาก หน้ า 109
26. มหิฬามุขชาดก ว่าด้ วย การเสียมสอน หน้ า 118
27. อภิณหชาดก ว่าด้ วย การเห็นกันบ่อยๆ หน้ า 127

หน้า 3 จาก 3
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
28. นันทิวสิ าลชาดก ว่าด้ วย การพูดดี หน้ า 133
29. กัณหชาดก ว่าด้ วย ผู้เอาการเอางาน หน้ า 140
30. มุณกิ ชาดก ว่าด้ วย ลักษณะของผู้มอี ายุยนื หน้ า 147

หน้า 4 จาก 4
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

11.ลักขณชาดก
ว่าด้วย ผูม้ ีศีล
พระศาสดา เมือเสด็จเข้าไปอาศัยพระนครราชคฤห์
ประทับอยูใ่ นพระเวฬุวนั มหาวิหาร ทรงปรารภพระเทวทัต จึง
ตรัสพระธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า โหติ สี ลวตํ อตฺ โถ ดังนี
เรื องพระเทวทัตจนถึงการประกอบกรรมคือ
การฆ่าอย่างหนัก จักมีแจ้งใน กัณฑหาลชาดก
เรื องการปล่อยช้างธนปาลกะ จักมีแจ้งใน จุลลหัง
สชาดก
และการถูกแผ่นดินสูบ จักมีแจ้งใน สมุททพาณิ ช
ชาดก ในทวาทสนิบาต.
สมัยหนึง พระเทวทัตทูลขอวัตถุ ๕ ประการ เมือไม่ได้
จึงทําลายสงฆ์ พาภิกษุ ๕๐๐ ไปอยูท่ ี คยาสี สประเทศ. ครังนัน
ญาณของภิกษุเหล่านันได้ถึงความแก่กล้าแล้ว พระศาสดาทรง
ทราบดังนัน จึงตรัสเรี ยกพระอัครสาวกทังสอง มาว่า ดูก่อน
สารี บุตรและโมคคัลลานะ ภิกษุ ๕๐๐ ผูเ้ ป็ นนิสิตของพวกเธอ
ชอบใจลัทธิของเทวทัตไปกับพระเทวทัตแล้ว ก็บดั นี ญาณ

หน้า 5 จาก 5
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ของภิกษุเหล่านันถึงความแก่กล้าแล้ว พวกเธอจงไปทีนัน
พร้อมกับภิกษุจาํ นวนมาก แสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านันให้
ภิกษุเหล่านันตรัสรู้มรรคผล แล้วจงพามา.
พระอัครสาวกทังสองนันจึงไปทีคยาสี สประเทศนัน
นันแหละ แสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านัน ให้ตรัสรู้ธรรมด้วย
มรรคผลแล้ว. วันรุ่ งขึน เวลาอรุ ณขึน จึงพาภิกษุเหล่านันมายัง
พระเวฬุวนั วิหารนันเทียว. ก็แล ในเวลาทีพระสารี บตุ รเถระมา
ถวายบังคมพระผูม้ ีพระภาคเจ้า แล้วยืนอยู.่
ภิกษุทงหลายพากั
ั นสรรเสริ ญพระเถระแล้ว กราบทูล
พระผูม้ ีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ พระธรรม
เสนาบดี พีชายใหญ่ของข้าพระองค์ทงหลายอั
ั นภิกษุ ๕๐๐
แวดล้อมมาอยู่ งดงามเหลือเกิน ส่วนพระเทวทัตเป็ นผูม้ ี
บริ วารเสือมแล้ว.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลายั สารี บุตรอัน
หมู่ญาติแวดล้อมมา ย่อมงดงาม แต่ในบัดนีเท่านันก็หามิได้
แม้ในกาลก่อนก็งดงามเหมือนกัน. ฝ่ ายพระเทวทัตเสื อมจาก
หมู่ญาติ ในบัดนีเท่านันหามิได้ แม้ในกาลก่อนก็เสื อมมาแล้ว
เหมือนกัน.

หน้า 6 จาก 6
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ภิกษุทงหลายทู
ั ลอ้อนวอนพระผูม้ ีพระภาคเจ้า เพือให้
ทรงประกาศเรื องนันให้แจ่มแจ้ง
พระผูม้ ีพระภาคเจ้าได้ทรงกระทําเหตุ อันระหว่างภพ
ปกปิ ดไว้ให้ปรากฏ ดังต่อไปนี
ในอดีตกาล พระเจ้ามคธพระองค์หนึงครองราช
สมบัติในนครราชคฤห์ ในแคว้นมคธ. ในกาลนัน พระ
โพธิสตั ว์ทรงถือปฏิสนธิในกําเนิดมฤคชาติ พอเติบโต มีเนือ
หนึงพันเป็ นบริ วารอยูใ่ นป่ า พระโพธิสตั ว์นนมี
ั ลูก ๒ ตัวคือ
ลักขณะ และกาฬะ. ในเวลาทีตนแก่ พระโพธิสตั ว์นนกล่ ั าวว่า
ลูกพ่อทังสอง บัดนี พ่อแก่แล้ว เจ้าทังสองจงปกครองหมู่เนือ
นี แล้วให้บุตรแต่ละคน รับมอบเนือคนละ ๕๐๐. ตังแต่นนั
เนือแม้ทงสองก็
ั ปกครองหมู่เนือ.
ก็ในแคว้นมคธ ในสมัยข้าวกล้าอันเต็มไปด้วยข้าวกล้า
อันตรายย่อมเกิดแก่เนือทังหลายในป่ า เนืองจากพวกมนุษย์
ต้องการฆ่าพวกเนือทีมากินข้าวกล้า จึงขุดหลุมพราง ปักขวาก
ห้อยหิ นยนต์ [ฟ้ าทับเหว] ดักบ่วงมีบ่วงลวง เป็ นต้น เนือเป็ น
อันมากพากันถึงความพินาศ พระโพธิสตั ว์รู้คราวทีเต็มไปด้วย
ข้าวกล้า จึงให้เรี ยกลูกทังสองมากล่าวว่า พ่อทังสอง สมัยนี
หน้า 7 จาก 7
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เป็ นสมัยทีเต็มแน่นไปด้วยข้าวกล้า เนือเป็ นอันมากพากันถึง
ความพินาศ เราแก่แล้วจักยับยังอยูใ่ นทีแห่งหนึง ด้วยอุบาย
อย่างหนึง พวกเจ้าจงพา หมู่เนือของพวกเจ้าเข้าไปยังเชิงเขา
ในป่ าในเวลาเขาถอนข้าวกล้าแล้ว จึงค่อยมา. บุตรทังสองนัน
รับคําของบิดาแล้ว พร้อมด้วยบริ วารพากันออกไป.
ก็พวกมนุษย์ทงหลายย่
ั อมรู้หนทางทีพวกเนือเหล่านัน
ไปและมาว่า ในเวลานี พวกเนือกําลังลงจากภูเขา ในเวลานี
กําลังขึนภูเขา มนุษย์เหล่านันพากันนังในทีกําบัง ณ ทีนัน
แทงเนือเป็ นอันมากให้ตาย
ฝ่ ายเนือกาฬะ เพราะความทีตัวโง่ จึงไม่รู้ว่า เวลาชือนี
ควรไป จึงพาหมูเ่ นือไปทางประตูบา้ น ทังในเวลาเช้าและเวลา
เย็น ทังเวลาพลบคําและเวลาใกล้รุ่ง พวกมนุษย์ยืนและนังตาม
ปรกติ นันแล อยูใ่ นทีนันๆ ยังเนือเป็ นอันมากให้ถึงความ
พินาศ เนือกาฬะนันให้เนือเป็ นอันมาก ถึงความพินาศ เพราะ
ความทีตนเป็ นผูโ้ ง่เขลาอย่างนี จึงเข้าป่ าด้วยเนือมีประมาณ
น้อยเท่านัน.
ส่วนเนือลักขณะเป็ นบัณฑิตมีปัญญา ฉลาดในอุบาย รู้
ว่า เวลานีควรไป เนือลักขณะนันไม่ไปทางประตูบา้ น ไม่ไป

หน้า 8 จาก 8
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

เวลากลางวันบ้าง ไม่ไปเวลาพลบคําบ้าง เวลาใกล้รุ่งบ้าง พา


หมู่เนือไปเวลาเทียงคืนเท่านัน เพราะฉะนัน เนือลักขณะจึงไม่
ทําเนือแม้ตวั หนึง ให้พินาศเข้าป่ าไปแล้ว เนือเหล่านันอยูใ่ น
ป่ านัน ๕ เดือน เมือพวกมนุษย์ถอนข้าวกล้าแล้ว จึงพากันลง
จากภูเขา.
เนือกาฬะ แม้ไปภายหลังก็ทาํ แม้เนือทังหมดให้ถึง
ความพินาศ โดยนัยก่อนนันแหละ ผูเ้ ดียวเท่านันมาแล้ว ส่วน
เนือลักขณะ แม้เนือตัวเดียวก็ไม่ให้พินาศ อันเนือ ๕๐๐ ตัว
แวดล้อมมายัง สํานักของบิดามารดา.
ฝ่ ายพระโพธิสตั ว์เห็นบุตรทังสองมา เมือปรึ กษาหารื อ
กับนางเนือ จึงกล่าวคาถาว่า
ความเจริ ญย่อมมีแก่ชนทังหลายผูม้ ีศีล ประพฤติใน
ปฏิสนั ถาร ท่านจงดูลูกเนือชือลักขณะ ผูอ้ นั หมู่แห่งญาติ
แวดล้อมกลับมาอยู่ อนึง ท่านจงดูลูกเนือชือกาฬะนี ผูเ้ สื อม
จากพวกญาติ กลับมาแต่ผเู้ ดียว.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า สี ลวตํ ความว่า ชือว่าผูม้ ีศีล
คือสมบูรณ์ดว้ ยอาจาระ เพราะมีความสุขเป็ นปรกติ.
บทว่า อตฺ โถ ได้แก่ ความเจริ ญ.
หน้า 9 จาก 9
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
(บทว่า) ปฏิสนฺ ถารวุตฺตินํ ชือว่า ผูม้ ีปรกติประพฤติใน
ปฏิสนั ถาร เพราะมีปรกติประพฤติในธรรมปฏิสนั ถารและ
อามิสปฏิสนั ถารนันแก่ชนเหล่านัน ผูม้ ีปรกติประพฤติใน
ปฏิสนั ถาร ก็ในทีนี พึงทราบธรรมปฏิสนั ถาร เช่นห้ามทําบาป
การโอวาทและอนุศาสน์ เป็ นต้น พึงทราบอามิสปฏิสนั ถาร
เช่นการให้ได้ทีหากิน การบํารุ งเฝ้ าไข้ และการรักษาอัน
ประกอบด้วยธรรม ท่านกล่าวคําอธิบายนีไว้ว่า ชือว่ ความ
เจริ ญย่อมมีแก่ชนผูเ้ ป็ นบัณฑิต ผูเ้ พียบพร้อมด้วยอาจาระ ผู้
ตังอยูใ่ นปฏิสนั ถาร ๒ เหล่านี
บัดนี พระโพธิสตั ว์เมือจะเรี ยกมารดาของเนือเพือจะ
แสดงความเจริ ญนัน จึงกล่าวคํามีอาทิว่า ท่านจงดูเนือชือ
ลักขณะ ดังนี ในคําทีกล่าวนันมีความสังเขป ดังนี :-
เธอจงดูบุตรของตน ผูส้ มบูรณ์ดว้ ยอาจาระและ
ปฏิสนั ถาร ไม่ทาํ แม้เนือตัวหนึงให้พินาศ อันหมู่ญาติกระทํา
ไว้ขา้ งหน้า คือห้อมล้อมมาอยู่
แต่เออ ก็เธอจงดูเนือชือกาฬะนี ผูม้ ีปัญญาเขลา ผูล้ ะ
เว้นจากสัมปทา คืออาจาระและปฏิสนั ถาร ผูเ้ สื อมจากญาติ
ทังหลาย ไม่เหลือญาติแม้สกั ตัว มาแต่ผเู้ ดียว.

หน้า 10 จาก 10
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ก็พระโพธิสตั ว์ชืนชมบุตรอย่างนีแล้ว ดํารงอยูช่ วอายุ



ได้ไปตามยถากรรมแล้ว.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั สารี บุตรอัน
หมู่ญาติห้อมล้อมย่อมงดงาม ในบัดนีเท่านัน ก็หามิได้ แม้ใน
กาลก่อน ก็งดงามเหมือนกัน. พระเทวทัตเสื อมจากหมู่คณะ
ในบัดนีเท่านัน ก็หามิได้ แม้ในกาลก่อน ก็เสื อมแล้ว
เหมือนกัน.
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาแสดงแล้ว ตรัสเรื อง
๒ เรื องสื บอนุสนธิต่อกัน แล้วทรงประชุมชาดก ว่า
เนือกาฬะในครังนันได้เป็ น พระเทวทัต
แม้บริ ษทั ของเนือกาฬะนัน ในกาลนัน ได้เป็ น บริ ษทั
ของพระเทวทัต
เนือชือลักขณะในกาลนัน ได้เป็ น พระสารี บุตร
แม้บริ ษทั ของเนือลักขณะในกาลนัน ได้เป็ น พุทธ
บริ ษทั
มารดาในครังนัน ได้เป็ น พระมารดาพระราหุล
ส่วนบิดาในครังนัน ได้เป็ น เรา แล.
จบอรรถกถาปาตาลสูตร
หน้า 11 จาก 11
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
12. นิโครธมิคชาดก
ว่ าด้ วย การเลือกคบ
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภภิกษุณีผเู้ ป็ นมารดาของพระกุมารกัสสปเถระ จึ งตรัส
พระธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า นิโคฺ รธเมว เสเวยฺย ดังนี.
ได้ยินว่า ภิกษุณีนนได้
ั เป็ นธิดาของเศรษฐีผมู้ ีทรัพย์
มาก ในนครราชคฤห์ มีกุศลมูลหนาแน่น มีสงั ขารอันยํายีแล้ว
เป็ นปัจฉิ มภวิกสัตว์ (สัตว์ผมู้ ีภพสุดท้าย) อุปนิสยั แห่งพระ
อรหัตโพลงอยูใ่ นหทัยของนาง เหมือนประทีปโพลงอยู่
ภายในหม้อ ฉะนัน.
ครังนัน จําเดิมแต่กาลทีรู้จกั ตนแล้ว ธิดาของเศรษฐี
นันไม่ยินดีในเรื อน มีความประสงค์จะบวช จึงกล่าวกะบิดา
มารดาว่า ข้าแต่คุณพ่อและคุณแม่ จิตใจของข้าพเจ้าไม่ยินดีใน
ฆราวาส ข้าพเจ้ามีความประสงค์จะบวชในพระพุทธศาสนา
อันเป็ นเครื องนําออกจากทุกข์ ท่านทังหลายจงให้ขา้ พเจ้าบวช
เถิด. บิดามารดากล่าวว่า แม่ เจ้าพูดอะไร ตระกูลนีมีทรัพย์
สมบัติมาก และเจ้าก็เป็ นธิดาคนเดียวของเราทังหลาย เจ้าไม่
ควรจะบวช. นางแม้จะอ้อนวอนอยูบ่ อ่ ยๆ ก็ไม่ได้การบรรพชา
หน้า 12 จาก 12
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

จากสํานักของบิดามารดา. จึงคิดว่า ช่างเถอะ เราไปตระกูล


สามียงั สามีให้โปรดปรานแล้วจักบวช.
นางเจริ ญวัยแล้วไปยังตระกูลสามี เป็ นผูม้ ีศีลมีกลั ยาณ
ธรรม ครองเหย้าเรื อน. ลําดับนัน เพราะอาศัยการอยูร่ ่ วม นาง
ก็ตงครรภ์
ั . นางไม่รู้ว่าตังครรภ์. ครังนัน เขาโฆษณางานนักขัต
ฤกษ์ในพระนคร ชาวพระนครทังสิ น พากันเล่นงานนักขัต
ฤกษ์. พระนครได้มีการประดับตกแต่ง เหมือนดังเทพนคร ก็
เมือการเล่นนักขัตฤกษ์ แม้จะใหญ่ยิ งเพียงนัน เป็ นไปอยู.่ นาง
ก็ไม่ลูบไล้ร่างกายของตน ไม่ประดับประดา เทียวไปด้วยเพศ
ตามปรกติ นันเอง.
ลําดับนัน สามีกล่าวกะนางว่า นางผูเ้ จริ ญ นครทังสิ น
อาศัยนักขัตฤกษ์ แต่เธอไม่ปฏิบตั ิร่างกาย ไม่ทาํ การตกแต่ง
เพราะเหตุไร.
นางจึงกล่าวว่า ข้าแต่ลูกเจ้า ร่ างกายเต็มด้วยซากศพ
๓๒ ประการทีเดียว ประโยชน์อะไรด้วยร่ างกายนีทีประดับ
แล้ว เพราะกายนี เทวดา พรหมไม่ได้นิรมิต ไม่ใช่สาํ เร็ จด้วย
ทองด้วยแก้วมณี ด้วยจันทน์เหลือง ไม่ใช่เกิดจากห้องแห่ง
ดอกบุณฑริ ก ดอกโกมุท และดอกอุบลเขียว แต่เต็มไปด้วยคูถ
หน้า 13 จาก 13
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ไม่สะอาด ไม่ใช่เต็มด้วยอมฤตโอสถ
โดยทีแท้ เกิดในซากศพ มีมารดาบิดาเป็ นแดนเกิด มี
การขัดสี และการนวดฟันเป็ นนิตย์ และมีการแตกทําลายและ
การกระจัดกระจายไป เป็ นธรรมดา
รกป่ าช้า อันตัณหายึดจับ เป็ นเหตุแห่งความโศก เป็ น
วัตถุทีตังแห่งความรําไร เป็ นทีอยูอ่ าศัยแห่งโรคทังปวง เป็ นที
รับเครื องกรรมกรณ์ ของเสี ยภายในไหลออกภายนอกเป็ น
นิตย์ เป็ นทีอยูข่ องหมู่หนอนหลายตระกูล จะไปยังป่ าช้า มี
ความตายเป็ นทีสุด แม้จะเปลียนแปลงไปในคลองจักษุของ
ชาวโลกทังปวง
กายประกอบด้วยกระดูกและเอ็น ฉาบทาด้วยหนัง
และเนือ เป็ นกายทีถูกผิวหนังปกปิ ดไว้ ไม่ปรากฏตามความ
เป็ นจริ ง เต็มด้วยลําใส้ใหญ่ เต็มด้วยท้อง ด้วยตับ หัวไส้ เนือ
หัวใจ ปอด ไต ม้าม นํามูก นําลาย เหงือ มันข้น เลือด ไขข้อ ดี
และมันเหลว
เมือเป็ นเช่นนัน ของไม่สะอาดย่อมไหลออกจากช่อง
ทัง ๙ ของกายนันทุกเมือ คือ ขีตาไหลออกจากตา ขีหูไหลออก
จากหู และนํามูกไหลออกจากจมูก บางคราวออกทางปาก ดี

หน้า 14 จาก 14
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

และเสมหะย่อมไหลออกจากกายเป็ นหยดเหงือ
เมือเป็ นอย่างนัน ศีรษะของกายนันเป็ นโพรงเต็มด้วย
มันสมอง คนพาลถูกอวิชชาห่อหุ้ม จึงสําคัญโดยความเป็ น
ของงดงาม กายมีโทษอนันต์ เปรี ยบเสมอด้วยต้นไม้พิษเป็ นที
อยูข่ องสรรพโรค ล้วนเป็ นกองทุกข์ ถ้ากลับเอาภายในของ
กายนีออกข้างนอก ก็จะต้องถือท่อนไม้ คอยไล่กาและสุนขั
เป็ นแน่.
กายไม่สะอาด มีกลิ นเหม็น เป็ นดังซากศพ เปรี ยบ
เหมือนส้วม ผูม้ ีจกั ษุติเตียน แต่คนเขลาเพลิดเพลิน อันหนังสด
ปกปิ ดไว้ มีทวาร ๙ มีแผลใหญ่ ของไม่สะอาด มีกลิ นเหม็น
ไหลออกรอบด้าน
ก็ในกาลใด กายนันนอนตายขึนพองมีสีเขียวคลํา ถูก
ทอดทิ งไว้ในสุสาน ในกาลนัน ญาติทงหลายย่ั อมไม่ห่วงอาลัย
สุนขั บ้าน สุ นขั จิ งจอกย่อมเคียวกินกายนัน และนกตะกรุ ม
หนอน กา แร้ง และสัตว์ทงปวงอื ั นๆ ย่อมเคียวกิน
ก็ภิกษุผมู้ ีญาณในศาสนานี นันแล ได้ฟังพระพุทธพจน์
แล้ว ย่อมรู้แจ้งกายนัน ย่อมเห็นตามเป็ นจริ งแลว่า ร่ างกายนี
ฉันใด ร่ างกายนันก็ฉันนัน ร่ างกายนันฉันใด ร่ างกายนีก็ฉนั
หน้า 15 จาก 15
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
นัน ข้าพเจ้าคายความเพลิดเพลินใน กายทังภายในและ
ภายนอกเสี ยแล้ว.

ข้าแต่พระลูกเจ้า ข้าพเจ้าจักประดับประดาร่ างกายนี


ทําอะไร การกระทําความประดับกายนี ย่อมเป็ นเหมือน
กระทําจิตรกรรมภายนอกหม้อ ซึ งเต็มด้วยคูถ.
เศรษฐีบุตรได้ฟังคําของนางดังนัน จึงกล่าวว่า นางผู้
เจริ ญ เธอเห็นโทษทังหลายอย่างนีแห่งร่ างกายนี เพราะเหตุไร
จึงไม่บวช.
นางกล่าวว่า ข้าแต่พระลูกเจ้า ข้าพเจ้าเมือได้บวช จะ
บวชวันนีแหละ.
เศรษฐีบุตรกล่าวว่า ดีแล้ว ฉันจักให้เธอบวช. แล้ว
บําเพ็ญมหาทาน กระทํามหาสักการะ แล้วนําไปสํานักของ
ภิกษุณีดว้ ยบริ วารใหญ่ เมือจะให้นางบวช ได้ให้บวชในสํานัก
ของภิกษุณี ผูเ้ ป็ นฝักฝ่ ายของพระเทวทัต. นางได้บรรพชาแล้ว
มีความดําริ เต็มบริ บูรณ์ ดีใจแล้ว.
ครังนัน เมือครรภ์ของนางแก่แล้ว ภิกษุณีทงหลายเห็
ั น
ความทีอินทรี ยท์ งหลายแปรเป็
ั นอืนไป ความทีหลังมือและเท้า

หน้า 16 จาก 16
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

บวม และความทีพืนท้องใหญ่ จึงถามนางว่า แม่เจ้า เธอ


ปรากฏเหมือนมีครรภ์ นีอะไรกัน?
ภิกษุณีนนกล่
ั าวว่า แม่เจ้าทังหลาย ข้าพเจ้าก็ไม่รู้ว่า
เหตุชือนี แต่ศีลของข้าพเจ้ายังบริ บรู ณ์อยู.่
ลําดับนัน ภิกษุณีเหล่านันจึงนํานางภิกษุณีนนไปยั
ั ง
สํานักของพระเทวทัต ถามพระเทวทัตว่า ข้าแต่พระผูเ้ ป็ นเจ้า
กุลธิดานียังสามีให้โปรดปรานได้โดยยาก จึงได้บรรพชา. ก็
บัดนี ครรภ์ของนางปรากฏ ข้าพเจ้าทังหลายย่อมไม่รู้ว่า
กุลธิดานีได้ตงครรภ์
ั ในเวลาเป็ นคฤหัสถ์ หรื อในเวลาบวชแล้ว
บัดนี ข้าพเจ้าทังหลายจะกระทําอย่างไร.
เพราะความทีตนไม่รู้ และเพราะขันติ เมตตา และ
ความเอ็นดูไม่มี พระเทวทัตจึงคิดอย่างนีว่า ความครหานินทา
จักเกิดแก่เราว่า ภิกษุณีผอู้ ยูใ่ นฝ่ ายของพระเทวทัตมีครรภ์. แต่
พระเทวทัตกลับเพิกเฉยเสี ย เราให้ภิกษุณีนีสึ ก จึงจะควร. พระ
เทวทัตนันไม่พิจารณา แล่นออกไปเหมือนกลิ งก้อนหิ น กล่าว
ว่า พวกท่านจงให้ภิกษุณีนนสึ ั ก. ภิกษุณีเหล่านันฟังคําของ
พระเทวทัตแล้ว ลุกขึนไหว้ แล้วไปยังสํานัก.
ลําดับนัน ภิกษุณีสาวนันกล่าวกะภิกษุณีทงหลายว่
ั า
หน้า 17 จาก 17
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
แม่เจ้าทังหลาย พระเทวทัตเถระไม่ใช่พระพุทธเจ้า การ
บรรพชาของเราในสํานักของพระเทวทัตนัน ก็หามิได้ ก็
บรรพชาของเราในสํานักของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผูเ้ ป็ น
บุคคลเลิศในโลก. อนึง บรรพชานัน เราได้โดยยาก ท่าน
ทังหลายอย่าทําให้การบรรพชานัน อันตรธานหายไปเสี ยเลย
มาเถิดท่านทังหลาย จงพาเราไปยังพระเชตวัน ในสํานักของ
พระศาสดา ภิกษุณีทงหลายจึ
ั งพาภิกษุณีสาวนันไปจากกรุ งรา
ชคฤห์ สิ นหนทาง ๔๕ โยชน์ ถึงพระเชตวันมหาวิหาร โดย
ลําดับ ถวายบังคมพระศาสดา แล้วกราบทูลเรื องนันให้ทรง
ทราบ.
พระศาสดาทรงพระดําริ ว่า ภิกษุณีนีตังครรภ์ ในเวลา
เป็ นคฤหัสถ์โดยแท้ แม้เมือเป็ นอย่างนัน พวกเดียรถียจ์ กั ได้
โอกาสว่า พระสมณโคดมพาภิกษุณีทีพระเทวทัตทิ งแล้ว เทียว
ไปอยู่ เพราะฉะนัน เพือจะตัดถ้อยคํานี ควรจะวินิจฉัยอธิกรณ์
นีในท่ามกลางบริ ษทั ซึ งมีพระราชา. ในวันรุ่ งขึน จึงให้ทูล
เชิญพระเจ้าโกศล และเชิญมหาอนาถบิณฑิกเศรษฐี จูฬอนาถ
บิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิ กา และตระกูลใหญ่ๆ
อืนๆ ทีมีชือเสี ยง ในเวลาเย็น เมือบริ ษทั ทัง ๔ ประชุมกันแล้ว

หน้า 18 จาก 18
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

จึงตรัสเรี ยกพระอุบาลีเถระมาว่า เธอจงไปชําระกรรมของ


ภิกษุณีสาวนี ในท่ามกลางบริ ษทั ๔.
พระเถระทูลรับพระดํารัสแล้ว จึงไปยังท่ามกลาง
บริ ษทั นังบนอาสนะทีเขาตกแต่งไว้เพือตน แล้วให้เรี ยกนาง
วิสาขาอุบาสิ กามาตรงเบืองพระพักตร์ ของพระราชา ให้รับ
อธิกรณ์นีว่า ดูก่อนวิสาขา ท่านจงไป จงรู้โดยถ่องแท้ว่า
ภิกษุณีสาวนีบวชในเดือนโน้น วันโน้น แล้วจงรู้ว่า เธอได้มี
ครรภ์นีก่อน หรื อหลังบวช.
มหาอุบาสิ การับคําแล้ว จึงให้วงม่าน ตรวจดูทีสุดมือ
เท้า สะดือและท้องของภิกษุณีสาวภายในม่าน นับเดือนและ
วัน รู้ว่า นางได้ตงครรภ์
ั ในภาวะเป็ นคฤหัสถ์โดยถ่องแท้ จึงไป
ยังสํานักของพระเถระแล้วบอกเนือความนัน. พระเถระได้
กระทําภิกษุณีนนให้
ั เป็ นผูบ้ ริ สุทธิในท่ามกลางบริ ษทั ๔.
ภิกษุณีนนเป็
ั นผูบ้ ริ สุทธิ แล้วไหว้ภิกษุสงฆ์ และถวายบังคม
พระศาสดา แล้วไปยังสํานักนันแล พร้อมกับภิกษุณีทงหลาย ั
ภิกษุณีนนอาศั
ั ยครรภ์แก่แล้ว ได้คลอดบุตรมีอานุภาพมาก ผู้
ตังความปรารถนาไว้แทบบาทมูลของพระพุทธเจ้า พระนาม
ว่า ปทุมุตตระ.
หน้า 19 จาก 19
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ครันวันหนึง พระราชาเสด็จไปโดยใกล้ๆ สํานักของ
ภิกษุณี ได้ทรงสดับเสี ยงทารก จึงตรัสถามอํามาตย์ทงหลาย.

อํามาตย์ทงหลายรู
ั ้เหตุนนั จึงกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ
ภิกษุณีสาวนันคลอดบุตรแล้ว นันเสี ยงของบุตรภิกษุณีสาวนัน
นันเอง. พระราชาตรัสว่า แน่ะพนาย ชือว่า การปรนนิบตั ิ
ทารก เป็ นเครื องกังวลสําหรับภิกษุณีทงหลาย
ั พวกเราจัก
ปรนนิบตั ิทารกนัน. พระราชาทรงให้มอบทารกนันแก่หญิง
ฟ้ อนทังหลาย ให้เติบโตโดยการบริ หารดูแลอย่างกุมาร. ก็ใน
วันตังชือกุมารนัน ได้ตงชืั อว่ากัสสป
ครังนัน คนทังหลายรู้กนั ว่า กุมารกัสสป เพราะ
เจริ ญเติบโต ด้วยการบริ หารอย่างกุมาร ในเวลามีอายุได้ ๗
ขวบ กุมารกัสสปนันบวชในสํานักของพระศาสดา พอมีอายุ
๒๐ ปี บริ บูรณ์ก็ได้อปุ สมบท เมือกาลเวลาล่วงไป ได้เป็ นผู้
กล่าวธรรมอันวิจิตร ในบรรดาพระธรรมกถึกทังหลาย.
ลําดับนัน พระศาสดาทรงตังพระกุมารกัสสปนันไว้
ในตําแหน่งเอตทัคคะ ด้วยพระดํารัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย ั
กุมารกัสสปนีเป็ นเลิศแห่งสาวกทังหลายของเรา ผูก้ ล่าวธรรม
อันวิจิตร

หน้า 20 จาก 20
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ภายหลัง พระกุมารกัสสปนันบรรลุพระอรหัต ใน
เพราะวัมมิกสูตร. แม้ภิกษุณีผเู้ ป็ นมารดาของพระกุมารกัสสป
นัน เห็นแจ้งแล้วบรรลุพระอรหัต. พระกุมารกัสสปเถระ
ปรากฏในพระพุทธศาสนา ประดุจพระจันทร์เพ็ญใน
ท่ามกลางท้องฟ้ า ฉะนัน.
อยูม่ าวันหนึง พระตถาคตเสด็จกลับจากบิณฑบาต
ภายหลังภัต ประทานโอวาทแก่ภิกษุทงหลาย ั แล้วเสด็จเข้า
พระคันธกุฎี ภิกษุทงหลายรั
ั บพระโอวาทแล้ว ให้ภาคกลางวัน
หมดไป ในทีเป็ นทีพักกลางคืน และทีพักกลางวันของตนๆ
ในเวลาเย็น ประชุมกันในโรงธรรมสภา นังพรรณนาพระ
พุทธคุณว่า ดูก่อนอาวุโสทังหลาย พระเทวทัตทําคนทังสอง
คือพระกุมารกัสสปเถระและพระเถรี ให้พินาศ เพราะความที
ตนไม่รู้ และเพราะความไม่มีขนั ติและเมตตาเป็ นต้น แต่พระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็ นปัจจัยแก่ท่านทังสองนัน เพราะ
พระองค์เป็ นพระธรรมราชา และเพราะทรงถึงพร้อมด้วยพระ
ขันติ พระเมตตา และความเอ็นดู.
พระศาสดาเสด็จมายังโรงธรรมสภา ด้วยพุทธลีลา
ประทับนังบนอาสนะทีเขาปูลาดไว้ แล้วตรัสถามว่า ดูก่อน
หน้า 21 จาก 21
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ภิกษุทงหลาย
ั บัดนีพวกเธอนังสนทนากันด้วยเรื องอะไร
หนอ? ภิกษุทงหลายกราบทู
ั ลว่า ด้วยเรื องพระคุณของ
พระองค์เท่านัน แล้วกราบทูลเรื องทังปวงให้ทรงทราบ.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลายั ตถาคตเป็ น
ปัจจัยและเป็ นทีพึงแก่ชนทังสองนี ในบัดนีเท่านันหามิได้ แม้
ในกาลก่อนก็ได้เป็ นแล้วเหมือนกัน.
ภิกษุทงหลายจึ
ั งทูลอ้อนวอนพระผูม้ ีพระภาคเจ้า เพือ
ต้องการให้เรื องนันแจ่มแจ้ง.
พระผูม้ ีพระภาคเจ้าได้ทรงกระทําเหตุอนั ระหว่างภพ
ปกปิ ดไว้ให้ปรากฏ ดังต่อไปนี .
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
นครพาราณสี ฝ่ ายพระโพธิสตั ว์ทรงถือปฏิสนธิในกําเนิดมฤค
ชาติ. พระโพธิสตั ว์ เมือออกจากท้องของมารดา ได้มีสีเหมือน
ดังสี ทอง นัยน์ตาทังสองของเนือนันได้เป็ นเช่นกับลูกแก้วมณี
กลม เขาทังคู่มีวรรณะดังเงิน หน้ามีวรรณะดังกองผ้ากัมพล
แดง ปลายเท้าหน้าและเท้าหลัง เหมือนทําบริ กรรมด้วยรสนํา
ครั ง ขนหางได้เป็ นเหมือนขนจามรี ก็ร่างกายของเนือนันใหญ่
มีขนาดเท่าลูกม้า เนือนันมีบริ วาร ๕๐๐. โดยชือ มีชือ

หน้า 22 จาก 22
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ว่า นิโครธมิคราช สําเร็ จการอยูใ่ นป่ า. ก็ในทีไม่ไกลแห่งพระ


ยาเนือนิโครธนัน มีเนือแม้อืนซึ งมีเนือ ๕๐๐ เป็ นบริ วาร มีชือ
ว่า สาขะ อาศัยอยู่ แม้เนือสาขะก็มีวรรณะดุจสี ทอง.
สมัยนัน พระเจ้าพาราณสี ทรงขวนขวายในการฆ่าเนือ
เว้นเนือไม่เสวย ทรงกระทําพวกมนุษย์ให้ขาดการงาน ยังชาว
นิคมและชนบททังปวงให้ประชุมกัน แล้วเสด็จไปฆ่าเนือทุก
วัน. พวกมนุษย์คิดกันว่า พระราชานีทรงทําพวกเราให้ขาดการ
งาน ถ้ากระไร พวกเราวางเหยือของเนือไว้ในพระราชอุทยาน
จัดนําดืมไว้ให้พร้อม ต้อนเนือเป็ นอันมากให้เข้าไปยังพระราช
อุทยาน แล้วปิ ดประตูมอบถวายพระราชา
มนุษย์เหล่านันทังหมดจึงปลูกผักทีเป็ นเหยือของเนือ
ไว้ในพระราชอุทยาน จัดนําดืมไว้ให้พร้อม แล้วประกอบ
ประตู ถือบ่วง มือถืออาวุธนานาชนิด มีคอ้ นเป็ นต้น เข้าป่ า
แสวงหาเนือ คิดว่า พวกเราจักจับเนือทังหลายทีอยูต่ รงกลาง
จึงล้อมทีประมาณ ๑ โยชน์ เมือร่ นเข้ามาได้ลอ้ มทีเป็ นทีอยู่
ของเนือนิโครธและเนือสาขะไว้ตรงกลาง ครันเห็นหมู่เนือนัน
จึงเอาไม้คอ้ นตีตน้ ไม้ พุ่มไม้เป็ นต้น และตีพืนดิน ไล่หมู่เนือ
ออกจากทีรกชัฏ พากันเงืออาวุธทังหลายมีดาบ หอกและธนู
หน้า 23 จาก 23
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เป็ นต้น บันลือเสี ยงดัง ต้อนหมู่เนือนันให้เข้าพระราชอุทยาน
แล้วปิ ดประตู พากันเข้าไปเฝ้ าพระราชา แล้วกราบทูลว่า ข้าแต่
สมมติเทพ เมือพระองค์เสด็จไปทรงฆ่าเนือเป็ นประจํา ทรงทํา
การงานของข้าพระองค์ทงหลายให้ั เสี ยหาย พวกข้าพระองค์
ต้อนเนือทังหลายมาจากป่ า เต็มพระราชอุทยานของพระองค์
ตังแต่นีไป พระองค์จะได้เสวยเนือของมฤคเหล่านัน แล้วทูล
ลาพระราชาพากันหลีกไป.
พระราชาได้ทรงสดับคําของมนุษย์เหล่านันแล้ว เสด็จ
ไปพระราชอุทยาน ทอดพระเนตรเนือทังหลาย ทรงเห็นเนือสี
ทอง ๒ ตัว จึงได้พระราชทานอภัยแก่เนือทังสองนัน ก็ตงแต่ ั
นันมา บางคราวเสด็จไปเอง ทรงฆ่าเนือตัวหนึงแล้วนํามา บาง
คราว พ่อครัวของพระองค์ไปฆ่า แล้วนํามา.
เนือทังหลายพอเห็นธนูเท่านัน ถูกความกลัวแต่ความ
ตายคุกคาม พากันหนีไป ได้รับการประหาร ๒-๓ ครัง ลําบาก
ไปบ้าง ป่ วยไปบ้าง ถึงความตายบ้าง หมู่เนือจึงบอกประพฤติ
เหตุนนแก่
ั พระโพธิสตั ว์ พระโพธิสตั ว์ให้เรี ยกเนือสาขะ
มาแล้วกล่าวว่า ดูก่อนสหาย เนือเป็ นอันมากพากันฉิ บหาย
เมือเนือมีอนั จะต้องตายโดยส่วนเดียว ตังแต่นีไป ผูจ้ ะฆ่าจง

หน้า 24 จาก 24
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

อย่าเอาลูกศรยิงเนือ วาระของเนือทังหลายจงมีในทีแห่งค้อน
ของผูพ้ ิพากษา วาระจงถึงแก่บริ ษทั ของเราวันหนึง จงถึงแก่
บริ ษทั ของท่านวันหนึง เนือตัวทีถึงวาระจงไปนอนพาดหัวที
ไม้คอ้ นของผูพ้ ิพากษา แม้เมือเป็ นอย่างนัน เนือทังหลายจักไม่
กลัว เนือสาขะรับคําแล้ว.
ตังแต่นนมา
ั เนือทีถึงวาระ จะไปนอนพาดคอทีไม้
ค้อนพิพากษา พ่อครัวมาจับเอาเนือตัวทีนอนอยู่ ณ ทีนัน นัน
แหละไป.
อยูม่ าวันหนึง วาระถึงแก่แม่เนือผูม้ ีครรภ์ตวั หนึง ซึ ง
เป็ นบริ ษทั ของเนือสาขะ แม่เนือนันเข้าไปหาเนือสาขะ แล้ว
กล่าวว่า เจ้านาย ข้าพเจ้ามีครรภ์ คลอดลูกแล้ว พวกเราทังสอง
จะไปตามวาระ ท่านจงให้ขา้ มวาระของข้าพเจ้าไปก่อน. เนือ
สาขะกล่าวว่า เราไม่อาจทําวาระของเจ้าให้ถึงแก่เนือตัวอืนๆ
เจ้าเท่านันจักรู้ว่า เจ้ามีบุตร เจ้าจงไปเถอะ. แม่เนือนัน เมือ
ไม่ได้ความช่วยเหลือจากสํานักของเนือสาขะ จึงเข้าไปหาพระ
โพธิสตั ว์บอกเนือความนัน พระโพธิสตั ว์นนได้ ั ฟังคําของแม่
เนือนัน จึงคิดว่า ก็พระโพธิสตั ว์ทงหลายในกาลก่
ั อน เห็น
ทุกข์ของคนอืน ย่อมไม่ห่วงใยชีวิตของตน ประโยชน์ของ
หน้า 25 จาก 25
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ผูอ้ ืนจากประโยชน์ตนนันแล เป็ นสิ งทีหนักกว่าสําหรับพระ
โพธิสตั ว์เหล่านัน.
เหล่านก ปศุสตั ว์ มฤคในป่ าทังหมดย่อมเป็ นอยูด่ ว้ ย
ตนเอง นักปราชญ์ทงหลายผู
ั ส้ งบ ยินดีแล้วในประโยชน์
เกือกูลแก่สตั ว์ ย่อมยังผูอ้ ืนให้เป็ นอยู่ ก็นกั ปราชญ์เหล่านัน
สละทรัพย์ อวัยวะและชีวิต เพือประโยชน์เกือกูล เรานันเป็ นผู้
สามารถจักยังเหล่าสัตว์เป็ นอันมาก พร้อมทังเทวโลกให้ขา้ ม
ได้ดว้ ย ก็ความไม่มีบุญ เพราะกายอันไร้สาระนี เราจักได้ลาภ
ของท่านอันยังยืนด้วยตนเองแน่.

ครันคิดดังนีแล้วจึงกล่าวว่า เจ้าจงไปเถอะ เราจักให้


วาระของเจ้าข้ามไป ครันกล่าวแล้ว ตนเองก็ไปนอนกระทํา
ศีรษะไว้ทีไม้คอ้ นพิพากษา พ่อครัวเห็นดังนัน จึงคิดว่า พระยา
เนือผูไ้ ด้รับพระราชทานอภัย นอนอยูท่ ีไม้คอ้ นพิพากษา เหตุ
อะไรหนอ จึงรี บไปกราบทูลแด่พระราชา
พระราชาเสด็จขึนทรงรถในทันใดนันเอง เสด็จไป
ด้วยบริ วารใหญ่ เห็นพระโพธิสตั ว์ จึงตรัสว่า พระยาเนือผู้
สหาย เราให้อภัยแก่ท่านไว้แล้วมิใช่หรื อ เพราะเหตุไร ท่านจึง

หน้า 26 จาก 26
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

นอนอยู่ ณ ทีนี
พระยาเนือกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช แม่เนือผูม้ ีครรภ์
มากล่าวว่า ขอท่านจงยังวาระของฉันให้ถึงแก่เนือตัวอืน ก็ขา้
พระบาทไม่อาจโยนมรณทุกข์ของเนือตัวหนึงไปเหนือเนือตัว
อืนได้ ข้าพระบาทนันจึงให้ชีวิตของตนแก่แม่เนือนัน ถือเอา
ความตายอันเป็ นของแม่เนือนันแล้ว จึงนอนอยู่ ณ ทีนี ข้าแต่
มหาราช ขอพระองค์อย่าได้ทรงระแวงเหตุอะไรๆ อย่างอืน
เลย
พระราชาตรัสว่า ดูก่อนสุวรรณมิคราชผูเ้ ป็ นนาย แม้
ในหมู่มนุษย์ทงหลาย
ั เราก็ไม่เคยเห็นคนผูเ้ พียบพร้อมด้วย
ขันติ เมตตาและความเอ็นดูเช่นกับท่าน ด้วยเหตุนนั เราจึง
เลือมใสท่าน ลุกขึนเถิดเราให้อภัยแก่ท่าน และแก่แม่เนือนัน.
พระยาเนือกล่าวว่า ข้าแต่พระผูจ้ อมคน เมือข้าพระ
บาททังสองได้อภัยแล้ว เนือทีเหลือนอกนัน จักกระทํา
อย่างไร.
พระราชาตรัสว่า นาย เราให้อภัยแม้แก่เนือทีเหลือ
ด้วย
พระยาเนือกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช แม้เมือเป็ นอย่าง
หน้า 27 จาก 27
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
นัน เนือทังหลายในพระราชอุทยานเท่านัน จักได้อภัย เนือที
เหลือจักทรงกระทําอย่างไร
พระราชาตรัสว่า นาย เราให้อภัยแก่เนือ แม้เหล่านัน
พระยาเนือกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช เบืองต้น เนือ
ทังหลายได้รับอภัย สัตว์ ๔ เท้าทีเหลือจักกระทําอย่างไร
พระราชาตรัสว่า นาย เราให้อภัยแก่สตั ว์ ๔ เท้า แม้
เหล่านัน
พระยาเนือกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช สัตว์ ๔ เท้า
ได้รับพระราชทานอภัยก่อน หมู่นกจักกระทําอย่างไร
พระราชาตรัสว่า นาย แม้หมู่นกเหล่านันเราก็ให้อภัย
พระยาเนือกราบทูลว่า เบืองต้น หมู่นกจักได้รับ
พระราชทานอภัย พวกปลาทีอยูใ่ นนํา จักกระทําอย่างไร
พระราชาตรัสว่า นาย แม้หมู่ปลาเหล่านัน เราก็ให้
อภัย
พระมหาสัตว์ทูลขออภัยแก่สรรพสัตว์กะพระราชา
อย่างนีแล้ว ได้ลุกขึนยืน ให้พระราชาดํารงอยูใ่ นศีล ๕ แล้ว
แสดงธรรมแก่พระราชา ด้วยลีลาของพระพุทธเจ้า ว่า
ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงประพฤติธรรมในพระ

หน้า 28 จาก 28
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ชนกชนนี ในพระโอรสพระธิดา ในพราหมณ์คฤหบดี ในชาว


นิคมและชาวชนบท เมือทรงประพฤติธรรม ประพฤติสมํา
เสมออยู่ เบืองหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลก
สวรรค์ ดังนีแล้วอยูใ่ นอุทยาน ๒-๓ วัน ให้โอวาทแก่
พระราชาแล้ว อันหมู่เนือแวดล้อมเข้าป่ าแล้ว
แม่เนือนม แม้นนตกลู
ั กออกมาเช่นกับช่อดอกไม้ ลูก
เนือนัน เมือเล่นได้ จะไปยังสํานักของเนือสาขะ. ลําดับนัน
มารดาเห็นลูกเนือนันกําลังจะไปยังสํานักของเนือสาขะนัน จึง
กล่าวว่า ลูกเอ๋ ย ตังแต่นีไปเจ้าอย่าไปยังสํานักของเนือสาขะ
นัน เจ้าพึงไปยังสํานักของเนือนิโครธเท่านัน
เมือจะโอวาท จึงกล่าวคาถาว่า
เจ้าหรื อคนอืนก็ตาม พึงคบหาแต่พระยาเนือชือว่า
นิโครธเท่านัน ไม่ควรเข้าไปอาศัยอยูก่ บั พระยาเนือชือว่าสาขะ
ความตายในสํานักของพระยาเนือชือว่านิโครธ ประเสริ ฐกว่า
การมีชีวิตอยูใ่ นสํานักพระยาเนือสาขะ จะประเสริ ฐอะไร.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า นิโคฺ รธเมว เสเวยฺย ความว่า
ดูก่อนพ่อ เจ้าหรื อคนอืนก็ตาม ผูใ้ คร่ ต่อประโยชน์เกือกูลแก่
ตน ควรเสพหรื อควรคบหา แต่พระยาเนือ ชือว่านิโครธ นัน.
หน้า 29 จาก 29
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
บทว่า น สาขํ อุปสํวเส ความว่า แต่เนือชือว่าสาขะไม่ควรเข้า
ไปอยูร่ ่ วม คือไม่ควรเข้าไปใกล้แล้วอยูร่ ่ วม ได้แก่ไม่ควรอาศัย
เนือสาขะนันเลียงชีวิต. บทว่า นิโคฺ รธสฺ มึ มตํ เสยฺโย ความว่า
แม้การตายอยูแ่ ทบเท้าของพระยาเนือ ชือว่านิโครธ ประเสริ ฐ
กว่า คือยอดเยียมสูงสุด. บทว่า ย ฺ เจ สาขสฺ มิ ชีวิต ํ ความว่า ก็
ความเป็ นอยูใ่ นสํานักของเนือ ชือว่าสาขะนัน ไม่ประเสริ ฐ คือ
ไม่ยอดเยียมไม่สูงสุดเลย.
ก็จาํ เดิมแต่นนั พวกเนือทีได้อภัย พากันกินข้าวกล้า
ของพวกมนุษย์ มนุษย์ทงหลายไม่ ั อาจตีหรื อไล่เนือทังหลาย
ด้วยคิดว่า เนือเหล่านีได้รับพระราชทานอภัย จึงพากันประชุม
ทีพระลานหลวง กราบทูลความนันแด่พระราชา พระราชา
ตรัสว่า เรามีความเลือมใสให้พรแก่พระยาเนือชือว่านิโครธ
เราถึงจะละราชสมบัติ ก็จะไม่ทาํ ลายปฏิญญานัน ท่าน
ทังหลายจงไปเถิด ใครๆ ย่อมไม่ได้เพือจะประหารเนือ
ทังหลายในแว่นแคว้นของเรา
พระยาเนือนิโครธได้สดับเหตุการณ์นนั จึงให้หมู่เนือ
ประชุมกัน โอวาทเนือทังหลายว่า จําเดิมแต่นีไป ท่าน
ทังหลายอย่าได้กินข้าวกล้าของคนอืน ดังนีแล้ว บอกแก่มนุษย์

หน้า 30 จาก 30
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ทังหลายว่า ตังแต่นีไป มนุษย์ทงหลายผู


ั ก้ ระทําข้าวกล้า จงอย่า
ทํารัวเพือจะรักษาข้าวกล้า แต่จงผูกสัญญาด้วยใบไม้ปักนาไว้
ได้ยินว่า จําเดิมแต่นนั จึงเกิดสัญญาในการผูกใบไม้ขึนในนา
ทังหลาย จําเดิมแต่นนั ชือว่าเนือผูล้ ่วงละเมิดสัญญา ในการผูก
ใบไม้ ย่อมไม่มี. ได้ยินว่า ข้อนีเป็ นโอวาททีพวกเนือเหล่านัน
ได้จากพระโพธิสตั ว์ พระโพธิสตั ว์โอวาทหมู่เนืออย่างนีแล้ว
ดํารงอยูต่ ลอดชัวอายุ. พร้อมกับเนือทังหลายได้ไปตาม
ยถากรรมแล้ว. ฝ่ ายพระราชาทรงตังอยูใ่ นโอวาทของพระ
โพธิสตั ว์ ทรงกระทําบุญทังหลาย ได้เสด็จไปตามยถากรรม
แล้ว.
พระศาสดาตรัสว่า ภิกษุทงหลายั เราเป็ นทีพึงอาศัย
ของพระเถรี และพระกุมารกัสสป ในบัดนีเท่านัน ก็หามิได้ แม้
ในกาลก่อน ก็ได้เป็ นทีพึงอาศัยแล้วเหมือนกัน
ก็ครันทรงนําพระธรรมเทศนานี มาแล้ว จึงทรงหมุน
กลับเทศนา ว่าด้วยสัจจะทัง ๔ ตรัสเรื อง ๒ เรื องสื บต่อ
อนุสนธิกนั แล้วทรงประชุมชาดกว่า
เนือชือสาขะในครังนัน ได้เป็ น พระเทวทัต
แม้บริ ษทั ของเนือสาขะนัน ก็ได้เป็ น บริ ษทั ของพระ
หน้า 31 จาก 31
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เทวทัต นันแหละ
แม่เนือนมในครังนัน ได้เป็ น พระเถรี
ลูกเนือในครังนัน ได้เป็ น พระกุมารกัสสป
พระราชาได้เป็ น พระอานนท์
ส่วนพระยาเนือชือว่านิโครธ ได้เป็ น เราเอง แล.

จบอรรถกถานิโครธมิคชาดก

หน้า 32 จาก 32
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

13. กัณฑินชาดก
ว่ าด้ วย ผู้ตกอยู่ในอํานาจหญิง
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภภิกษุถูกภรรยาเก่าประเล้าประโลม จึงตรัสพระ
ธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า ธิรตฺ ถุ กณฺ ฑินํ สลฺ ล ํ ดังนี.
การประเล้าประโลมนัน จักมีแจ้งใน อินทริ ย
ชาดก อัฏฐกนิบาต.
ก็พระผูม้ ีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระดํารัสนีกะภิกษุนนว่ ั า
ดูก่อนภิกษุ แม้ในกาลก่อน เธออาศัยมาตุคามนี ถึงความ
สิ นชีวิต ร้องเรี ยกอยูท่ ีพืนถ่านเพลิง อันปราศจากเปลว.
ภิกษุทงหลายทู
ั ลอ้อนวอนพระผูม้ ีพระภาคเจ้า เพือ
ทรงประกาศเรื องนันให้แจ่มแจ้ง
พระผูม้ ีพระภาคเจ้าได้ทรงกระทําเหตุ อันระหว่างภพ
ปกปิ ด ให้ปรากฏแล้ว.
ก็เบืองหน้าแต่นีไป เราจักไม่กล่าวถึง การทีภิกษุ
ทังหลายทูลอ้อนวอน และความทีเหตุถูกระหว่างภพปกปิ ด
จักกล่าวเฉพาะคํามีประมาณเท่านี ว่า อตีต ํ อาหริ แปลว่า ทรง

หน้า 33 จาก 33
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
นําอดีตนิทานมาว่าดังนี เท่านัน.
แม้เมือกล่าวคํามีประมาณเท่านี ก็พึงประกอบ
เหตุการณ์นีทังหมด คือการทูลอาราธนา การเปรี ยบเทียบ
เหมือนนําพระจันทร์ ออกจากกลุ่มเมฆ และความทีเหตุถูก
ระหว่างภพปกปิ ดไว้ โดยนัยดังกล่าวไว้ในหนหลังนันแหละ
แล้วพึงทราบไว้.
ในอดีตกาล เมือพระเจ้ามคธครองราชสมบัติอยูใ่ น
พระนครราชคฤห์ แคว้นมคธ. ในสมัยข้าวกล้าของชนชาว
มคธ พวกเนือทังหลายมีอนั ตรายมาก เนือเหล่านันจึงเข้าไปยัง
เนินเขา. เนือภูเขาทีอยูใ่ นป่ าตัวหนึง ทําความสนิทสนมกับลูก
เนือตัวเมียชาวบ้านตัวหนึง ในเวลาทีพวกเนือเหล่านันลงจาก
เชิงเขา กลับมายังชายแดนบ้านอีก ได้ลงมากับเนือเหล่านันนัน
แหละ เพราะมีจิตปฏิพทั ธ์ในลูกเนือตัวเมียนัน.
ลําดับนัน ลูกเนือตัวเมียนัน จึงกล่าวกะเนือภูเขานันว่า
ข้าแต่เจ้า ท่านแลเป็ นเนือภูเขาทีเขลา. ก็ธรรมดา ชายแดนของ
บ้าน น่าระแวง มีภยั เฉพาะหน้า ท่านอย่าลงมากับพวกเราเลย.
เนือภูเขานันไม่กลับเพราะมีจิตปฏิพทั ธ์ต่อลูกเนือตัวเมียนัน
ได้มากับลูกเนือตัวเมียนัน นันแหละ. ชนชาวมคธรู้ว่า บัดนี

หน้า 34 จาก 34
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

เป็ นเวลาทีพวกเนือลงจากเนินเขา จึงยืนในซุ้มอันมิดชิดใกล้


หนทาง ในหนทางทีเนือทังสองแม้นนเดิ ั นมา มีพรานคนหนึง
ยืนอยูใ่ นซุ้มอันมิดชิด.
ลูกเนือตัวเมียได้กลิ นมนุษย์ จึงคิดว่า จักมีพรานคน
หนึงยืนอยู่ จึงทําเนือเขลาตัวนัน ให้อยูข่ า้ งหน้า ส่วนตนเองอยู่
ข้างหลัง. นายพรานได้ทาํ เนือตัวนันให้ลม้ ลงตรงนันนันเอง
ด้วยการยิงด้วยลูกศรครังเดียว เท่านัน. ลูกเนือตัวเมียรู้ว่า เนือ
นันถูกยิง จึงโดดหนีไปโดยการไป ด้วยกําลังเร็วปานลม.
นายพรานออกจากซุ้มชําแหละเนือก่อไฟ ปิ งเนืออร่ อยบนถ่าน
ไฟอันปราศจากเปลว เคียวกินแล้วดืมนํา หาบเนือทีเหลือไป
ด้วยไม้คานมีหยาดเลือดไหล ได้ไปยังเรื อน ให้พวกเด็กๆ ยินดี
แล้ว.
ในกาลนัน พระโพธิสตั ว์บงั เกิดเป็ นเทวดาอยูใ่ นป่ าชัฏ
แห่งนัน พระโพธิสตั ว์นนเห็ ั นเหตุการณ์นนั จึงคิดว่า เนือโง่
ตัวนีตาย เพราะอาศัยมารดา เพราะอาศัยบิดาก็หาไม่ โดยทีแท้
ตายเพราะอาศัยกาม.
จริ งอยู่ เพราะกามเป็ นนิมิตเหตุ สัตว์ทงหลายจึ
ั งถึง
ทุกข์นานัปการ มีการตัดมือเป็ นต้นในสุคติ และการจองจํา ๕
หน้า 35 จาก 35
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ประการเป็ นต้นในทุคติ ชือว่าการทําทุกข์ คือความตายให้
เกิดขึนแก่ผอู้ ืน ก็ถูกติเตียนในโลกนี. แม้ชนบทใด มีสตรี เป็ น
ผูน้ าํ จัดแจงปกครอง ก็ถูกติเตียน. เหล่าสัตว์ผตู้ กอยูใ่ นอํานาจ
ของมาตุคาม ก็ถูกติเตียนเหมือนกัน. แล้วแสดงเรื องสําหรับติ
เตียน ๓ ประการด้วยคาถา ๑ คาถา. เมือเทวดาทังหลายในป่ า
ให้สาธุการ แล้วบูชาด้วยของหอม และดอกไม้เป็ นต้น.
เมือจะยังไพรสณฑ์นนั ให้บนั ลือขึนด้วยเสี ยงอัน
ไพเราะ จึงแสดงธรรมด้วยคาถานีว่า
เราติเตียนบุรุษผูม้ ีลูกศรเป็ นอาวุธ ผูย้ ิงไปเต็มกําลัง.
เราติเตียนชนบททีมีหญิงเป็ นผูน้ าํ . อนึง สัตว์เหล่าใดตกอยูใ่ น
อํานาจของหญิงทังหลาย สัตว์เหล่านัน บัณฑิตก็ติเตียนแล้ว
เหมือนกัน.
ศัพท์ว่า ธิรตฺ ถุ ในคาถานัน เป็ นศัพท์นิบาต ใช้ใน
ความหมายว่า ติเตียน. ในทีนี ศัพท์ว่า ธิรัตถุ นีนัน พึงเห็นว่า
ใช้ในการติเตียน ด้วยอํานาจความสะดุง้ และความหวาดเสี ยว.
จริ งอยู่ พระโพธิสตั ว์เป็ นผูท้ งสะดุ
ั ง้ และหวาดเสียว จึง
กล่าวอย่างนัน. คนทีชือว่า กัณฑี เพราะมีลูกศร. ซึ งคนผูม้ ี
ลูกศรนัน ก็ลูกศรนันเขาเรี ยกว่า สัลละ เพราะอรรถว่าเสี ยบเข้า

หน้า 36 จาก 36
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ไป เพราะฉะนัน ในคําว่า กณฺ ฑินํ สลฺ ล ํ นี จึงมีความหมายว่า ผู้


มีลูกศร. อีกอย่างหนึง ชือว่าผูม้ ีสลั ละ เพราะมีลูกศร. ผูม้ ีลูกศร
นันชือว่า คาฬหเวธี ผูย้ ิงไปเต็มแรง เพราะเมือจะให้การ
ประหารอย่างแรง จึงยิงอย่างเต็มที โดยกระทําให้มีปากแผล
ใหญ่ ผูย้ ิงไปอย่างเต็มทีนัน. ในข้อนีมีอธิบายดังนีว่า เราติ
เตียนคนผูป้ ระกอบด้วยอาวุธมีประการต่างๆ ชือว่า สัลละ
ลูกศร เพราะวิ งไปตรงๆ โดยมีสนั ฐานดังใบโกมุทเป็ นผล ผูย้ ิง
ไปอย่างเต็มแรง. บทว่า ปริ ณายิกา ได้แก่ เป็ นใหญ่ คือเป็ นผู้
จัดแจง. บทว่า ธิกฺกิตา แปลว่า ติเตียนแล้ว. คําทีเหลือในคาถา
นีง่ายทังนัน. ก็เบืองหน้าแต่นีไป ข้าพเจ้าจักไม่กล่าวคําแม้มี
ประมาณเท่านี จักพรรณนาคําทีไม่ง่ายนันๆ เท่านัน.
พระโพธิสตั ว์ ครันแสดงเรื องสําหรับติเตียน ๓
ประการ ด้วยคาถาเดียวอย่างนีแล้ว ทําป่ าให้บนั ลือขึนแล้ว
แสดงธรรมด้วยการเยืองกรายดังพระพุทธเจ้า.
พระศาสดา ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาแล้ว จึง
ทรงประกาศสัจจะทังหลาย
ในเวลาจบสัจจะ ภิกษุผกู้ ระสันจะสึก ตังอยูใ่ นโสดา
ปัตติผล. พระศาสดาตรัสเรื อง ๒ เรื อง สื บต่ออนุสนธิกนั แล้ว
หน้า 37 จาก 37
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ทรงประชุมชาดก.
ก็เบืองหน้าแต่นีไป ข้าพเจ้าจะไม่กล่าวคําว่า ตรัสเรื อง
สองเรื องนี จะกล่าวเฉพาะคํามีประมาณเท่านีว่า ทรงสื บต่อ
อนุสนธิ. ก็คาํ นีแม้จะไม่กล่าวไว้ ก็พึงประกอบถือเอา โดยนัย
ดังกล่าวไว้ในหนหลัง นันแล.
เนือภูเขาในครังนัน ได้เป็ น ภิกษุผกู้ ระสันจะสึ ก ใน
บัดนี
ลูกเนือตัวเมียในครังนัน ได้เป็ น ภรรยาเก่า ในบัดนี
ส่วนเทวดาผูเ้ ห็นโทษในกามทังหลายในครังนัน ได้
เป็ น เรา แล.

จบอรรถกถากัณฑินชาดก

หน้า 38 จาก 38
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

14. วาตมิคชาดก
ว่ าด้ วย อํานาจของรส
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภพระจูฬปิ ณฑปาติกติสสเถระ จึงตรัสพระธรรม
เทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า น กิรตฺ ถิ รเสหิ ปาปิ โย ดังนี.
ได้ยินว่า เมือพระศาสดาทรงอาศัยพระนครราชคฤห์
ประทับอยูใ่ นพระวิหารเวฬุวนั
วันหนึง บุตรของตระกูลเศรษฐีผมู้ ีทรัพย์มากชือ
ว่า ติสสกุมาร ไปพระวิหารเวฬุวนั ฟังพระธรรมเทศนาของ
พระศาสดา แล้วประสงค์จะบวช จึงทูลขอบรรพชา แต่บิดา
มารดายังไม่อนุญาต จึงถูกปฏิเสธ ได้กระทําการอดอาหาร ๗
วัน แล้วให้บิดามารดาอนุญาต เหมือนดังพระรัฐบาลเถระได้
บวชในสํานักของพระศาสดาแล้ว.
พระศาสดา ครันทรงให้ติสสกุมารนันบวชแล้ว
ประทับอยูใ่ นพระวิหารเวฬุวนั ประมาณกึงเดือน แล้วได้เสด็จ
ไปพระวิหารเชตวัน.
ในพระเชตวันนัน กุลบุตรนีสมาทานธุดงค์ ๑๓ เทียว

หน้า 39 จาก 39
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ไปบิณฑบาตตามลําดับตรอก ในนครสาวัตถี ยังกาลเวลาให้
ล่วงไป. ใครๆ เรี ยกว่า พระจูฬบิณฑปาติกติสสเถระ ได้เป็ นผู้
ปรากฏรู้กนั ทัวไปในพระพุทธศาสนา เหมือนพระจันทร์ เพ็ญ
ในพืนท้องฟ้ า ฉะนัน.
ในกาลนัน เมือกาลเล่นนักขัตฤกษ์ยงั ดําเนินไป ใน
นครราชคฤห์. บิดามารดาของพระเถระ เก็บสิ งของอันเป็ น
เครื องประดับอันมีอยูใ่ นครังพระเถระเป็ นคฤหัสถ์ ไว้ในผอบ
เงิน เอามาวางไว้ทีอก ร้องไห้ พลางพูดว่า ในการเล่นนักขัต
ฤกษ์อืนๆ บุตรของพวกเรานีประดับด้วยเครื องประดับนี เล่น
นักขัตฤกษ์. พระสมณโคดมพาเอาบุตรน้อยนันของพวกเรา
ไปยังพระนครสาวัตถี. บัดนี บุตรน้อยของเราทังหลายนัน นัง
ทีไหนหนอ ยืนทีไหนหนอ.
ลําดับนัน นางวัณณทาสี คนหนึงไปยังตระกูลนัน เห็น
ภรรยาของเศรษฐีกาํ ลังร้องไห้อยู่ จึงถามว่า แม่เจ้า ท่านร้องไห้
ทําไม? ภรรยาของเศรษฐีนนจึ ั งบอกเนือความนัน.
นางวัณณทาสี กล่าวว่า แม่เจ้า ก็พระลูกเจ้ารักอะไร?
ภรรยาเศรษฐีกล่าวว่า รักของสิ งโน้นและสิ งโน้น.
นางวัณณทาสี กล่าวว่า ถ้าท่านจะให้ ความเป็ นใหญ่

หน้า 40 จาก 40
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ทังหมดในเรื อนนีแก่ดิฉนั ไซร้ ดิฉนั จักนําบุตรของท่านมา.


ภรรยาท่านเศรษฐีรับคําว่าได้ แล้วให้เสบียง ส่งนาง
วัณณทาสี นนไปด้
ั วยบริ วารใหญ่ โดยพูดว่า ท่านจงไปนําบุตร
ของเรามา ด้วยความสามารถของตน. นางวัณณทาสี นนนั ั งใน
ยานน้อยอันปกปิ ด ไปยังนครสาวัตถี ถือเอาการอยูอ่ าศัยใกล้
ถนนทีพระเถระเทียวภิกขาจาร. ไม่ให้พระเถระเห็นพวกคน
ทีมาจากตระกูลเศรษฐี แวดล้อมด้วยบริ วารของตนเท่านัน.
เมือพระเถระเข้าไปบิณฑบาต ได้ถวายยาคูหนึง
กระบวยและภิกษามีรส ผูกพันด้วยความอยากในรสไว้แต่
เบืองต้น แล้วให้นงในเรื
ั อนถวายภิกษา โดยลําดับ. รู้ว่า พระ
เถระตกอยูใ่ นอํานาจของตน จึงแสดงการว่า เป็ นไข้นอนอยู่
ภายในห้อง.
ฝ่ ายพระเถระเทียวไปตามลําดับตรอก ในเวลา
ภิกขาจาร ได้ไปถึงประตูเรื อน ชนทีเป็ นบริ วารรับบาตรของ
พระเถระ แล้วนิมนต์พระเถระให้นงในเรื ั อน.
พระเถระนังแล้วถามว่า อุบาสิ กาไปไหน?
ชนบริ วารกล่าวว่า ท่านผูเ้ จริ ญ อุบาสิ กาเป็ นไข้
ปรารถนาจะเห็นท่าน.
หน้า 41 จาก 41
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
พระเถระถูกตัณหาในรสผูกพัน ทําลายการสมาทาน
วัตรของตน เข้าไปยังที ทีนางวัณณทาสี นนนอนอยูั .่ นางวัณณ
ทาสี รู้เหตุแห่งการมาเพือตน จึงประเล้าประโลมพระเถระนัน
ผูกด้วยตัณหาในรส ให้สึกแล้วให้ตงอยู ั ใ่ นอํานาจของตน ให้
นังในยาน ได้ไปยังนครราชคฤห์นนเอง ั ด้วยบริ วารใหญ่.
ข่าวนันได้ปรากฏแล้ว.
ภิกษุทงหลายนั
ั งประชุมกันในโรงธรรมสภา สนทนา
กันขึนว่า ได้ยินว่า นางวัณณทาสี คนหนึง ผูกพระจูฬบิณฑปา
ติกาติสสเถระ ด้วยตัณหาในรส แล้วพาไปแล้ว.
พระศาสดาเสด็จเข้าไปยังโรงธรรมสภา ประทับบน
อาสนะทีเขาตกแต่งไว้ แล้วตรัสถามว่า ภิกษุทงหลาย ั บัดนี
พวกเธอนังสนทนากันด้วยเรื องอะไร?
ภิกษุเหล่านันได้กราบทูลเรื องราวนัน.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ภิกษุนีติดใน
รสตัณหา ตกอยูใ่ นอํานาจของนางวัณณทาสี นนั ในบัดนี
เท่านัน ก็หามิได้ แม้ในกาลก่อน ก็ตกอยูใ่ นอํานาจของนาง
เหมือนกัน.
แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ว่า

หน้า 42 จาก 42
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ในอดีตกาล ในพระนครพาราณสี ได้มีนายอุยยานบาล


ของพระเจ้าพรหมทัต ชือว่า สัญชัย.
ครังนัน เนือสมันตัวหนึงมายังอุทยานนัน เห็นนาย
อุยยานบาลคนเฝ้ าอุทยาน จึงหนีไป. ฝ่ ายนายสัญชัยมิได้ขู่
คุกคามเนือสมันนัน ให้ออกไป. เนือสมันนันจึงมาเทียวใน
อุทยานนันนันแลบ่อยๆ. นายอุยยานบาลนําเอาดอกไม้และ
ผลไม้มีประการต่างๆ มาจากอุทยานแต่เช้าตรู่ นําไปเฉพาะ
พระราชา ทุกวันๆ.
ครันวันหนึง พระราชาตรัสถามนายอุยยานบาลนันว่า
ดูก่อนสหายอุยยานบาล เธอเห็นความอัศจรรย์อะไรๆ ใน
อุทยานบ้างไหม? นายอุยยานบาลกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ
ข้าพระบาทไม่เห็นสิ งอืน แต่ว่า เนือสมันตัวหนึงมาเทียวอยูใ่ น
อุทยาน ข้าพระบาทได้เห็นสิ งนี.
พระราชาตรัสถามว่า ก็เธอจักอาจจับมันไหม?
นายอุยยานบาลกราบทูลว่า ข้าพระบาท เมือได้นาํ ผึง
หน่อยหนึง จักอาจนําเนือสมันนี มา แม้ยงั ภายในพระราช
นิเวศน์ พระเจ้าข้า.
พระราชาได้ให้นาํ ผึงแก่นายอุยยานบาลนัน.
หน้า 43 จาก 43
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
นายอุยยานบาลนันรับนําผึงนัน แล้วไปยังอุทยาน
แอบเอานําผึงทาหญ้าทังหลาย ในทีทีเนือสมันเทียวไป. เนือ
สมันมากินหญ้าทีทาด้วยนําผึง ติดในรสตัณหา ไม่ไปทีอืน มา
เฉพาะอุทยานเท่านัน.
นายอุยยานบาลรู้ว่า เนือสมันนันติดหญ้าทีทาด้วยนํา
ผึง จึงแสดงตนให้เห็นโดยลําดับ.
เนือสมันนัน ครันเห็นนายอุยยานบาลนัน ๒-๓ วัน
แรกก็หนีไป แต่พอเห็นเข้าบ่อยๆ จึงคุน้ เคย ถึงกับกินหญ้าที
อยูใ่ นมือของนายอุยยานบาลได้ โดยลําดับ.
นายอุยยานบาลรู้ว่า เนือสมันนันคุน้ เคยแล้ว จึงเอาเสือ
ลําแพนล้อมถนน จนถึงพระราชนิเวศน์ แล้วเอากิ งไม้หกั ปัก
ไว้ในทีนันๆ สะพายนําเต้าบรรจุนาํ ผึง หนีบกําหญ้า แล้วโปรย
หญ้าทีทาด้วยนําผึงลงข้างหน้าเนือ. ได้ไปยังภายในพระราช
นิเวศน์ทีเดียว. เมือเนือเข้าไปภายในแล้ว คนทังหลายจึงปิ ด
ประตู เนือเห็นมนุษย์ทงหลายก็
ั ตวั สัน กลัวแต่มรณภัย วิ งมาวิ ง
ไป ณ พระลานในภายในพระราชนิเวศน์.
พระราชาเสด็จลงจากปราสาท ทอดพระเนตรเห็นเนือ
นันตัวสัน จึงตรัสว่า ธรรมดา เนือย่อมไม่ไปยังทีทีคนเห็น

หน้า 44 จาก 44
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ตลอด ๗ วัน ย่อมไม่ไปยังทีทีถูกคุกคามตลอดชีวิต เนือสมันผู้


อาศัยป่ าชัฏอยู่ เห็นปานนี นัน ถูกผูกด้วยความอยากในรส มาสู่
ทีเห็นปานนี ในบัดนี. ผูเ้ จริ ญทังหลาย ชือว่า สิ งทีลามกกว่า
ความอยากในรส ย่อมไม่มีในโลกหนอ แล้วทรงเริ มตังธรรม
เทศนา ด้วยคาถานีว่า
ได้ยินว่า สิ งอืนทีจะเลวยิงไปกว่ารสทังหลาย ย่อมไม่
มี. รสเป็ นสภาพเลวแม้กว่าถิ นทีอยู่ แม้กว่าความสนิ ทสนม.
นายสัญชัยอุยยานบาลนําเนือสมันซึ งอาศัยอยูใ่ นป่ าชัฏ มาสู่
อํานาจของตนได้ ด้วยรสทังหลาย.
ศัพท์ว่า กิระ ได้ยินว่า ในคาถานัน เป็ นนิบาตใช้ใน
อรรถว่า ได้ยินได้ฟัง. บทว่า รเสหิ กว่ารสทังหลาย ความว่า
กว่ารสหวานและรสเปรี ยวเป็ นต้น ทีพึงรู้ดว้ ยลิ น.
บทว่า ปาปิ โย แปลว่า เลวกว่า.
บทว่า อาวาเสหิ วา สนฺ ถเวหิ วา แม้กว่าถิ นทีอยู่ แม้
กว่าความสนิทสนม
ความว่า ความกําหนัดด้วยอํานาจความพอใจในถิ นที
อยู่ กล่าวคือ สถานทีอยูป่ ระจําก็ดี ในความสนิทสนมด้วย
อํานาจความเป็ นมิตรก็ดี ลามกแท้ แต่รสในการบริ โภคที
หน้า 45 จาก 45
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เป็ นไปกับด้วยฉันทราคะ นันแหละ เป็ นสภาพเลวกว่า แม้กว่า
ถิ นทีอยู่ แม้กว่าความสนิทสนมด้วยความเป็ นมิตร ซึ งมีการ
บริ โภคด้วยฉันทราคะเหล่านี โดยร้อยเท่าพันเท่า เพราะอรรถ
ว่า ต้องเสพเฉพาะเป็ นประจํา และเพราะเว้นอาหาร การรักษา
ชีวิตินทรี ย ์ ก็ไม่ม.ี
ก็พระโพธิสตั ว์ทรงกระทําเนือความนีให้เป็ นเสมือน
เนือทีตามมาด้วยดี จึงตรัสว่า ได้ยินว่า สภาพทีเลวกว่ารส
ทังหลายย่อมไม่มี รสเป็ นสภาพเลวกว่า แม้กว่าถิ นทีอยู่ แม้
กว่าความสนิทสนม. บัดนี พระโพธิสตั ว์ เมือจะแสดงว่า รส
เหล่านันเลว จึงตรัสคํามีอาทิว่า วาตมิค ํ ดังนี
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า คหนนิสฺสิต ํ แปลว่า อาศัยที
เป็ นป่ ารกชัฏ.
ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ท่านทังหลายจงดูความทีรส
ทังหลายเป็ นสภาพเลว นายสญชัยอุยยานบาลนําเนือสมันชือนี
ซึ งอาศัยอยูใ่ นป่ าชัฏ ในราวป่ า มาสู่อาํ นาจของตนด้วยรสนํา
ผึง สิ งอืนทีเลวกว่า คือลามกกว่า ชือว่าเลวกว่ารสทังหลายซึ งมี
การบริ โภคด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่มี แม้โดยประการทังปวง.
พระโพธิสตั ว์ตรัสโทษแห่งตัณหาในรส ด้วยประการ

หน้า 46 จาก 46
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ดังนี ก็แหละครันตรัสแล้ว จึงทรงให้ส่งเนือนันไปยังป่ า


นันเอง.

พระศาสดาตรัสว่า ภิกษุทงหลาย
ั นางวัณณทาสี นนผู
ั ก
ภิกษุนนด้
ั วยตัณหาในรส กระทําไว้ในอํานาจของตน ในบัดนี
เท่านันก็หามิได้ แม้ในกาลก่อนก็ได้กระทําแล้วเหมือนกัน.
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาสื บต่ออนุสนธิแล้ว
ทรงประชุมชาดกว่า
นายสัญชัยในครังนัน ได้เป็ น นางวัณณทาสี คนนี
เนือสมันในครังนัน ได้เป็ น พระจูฬบิณฑปาติกภิกษุ
ส่วนพระเจ้าพาราณสี ได้เป็ น เรา แล.

จบอรรถกถาวาตมิคชาดก

หน้า 47 จาก 47
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
15. ขราทิยชาดก
ว่ าด้ วย ผู้ล่วงเลยโอวาท
พระศาสดา เมือประทับอยูท่ ีพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภ ภิกษุว่ายากรู ปหนึง จึงตรัสพระธรรมเทศนานี มีคาํ
เริ มต้นว่า อฏฺ ฐขุรํ ขราทิเย ดังนี.
ได้ยินว่า ภิกษุนนว่
ั ายากไม่รับโอวาท. ลําดับนัน พระ
ศาสดาได้ตรัสถามภิกษุนนว่ ั า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่า เธอว่ายาก
ไม่รับโอวาทจริ งหรื อ? ภิกษุนนกราบทูั ลว่า ข้าแต่พระผูม้ ีพระ
ภาคเจ้า จริ ง พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า แม้ในกาลก่อน เธอก็ไม่รับโอวาท
ของบัณฑิตทังหลาย เพราะความเป็ นผูว้ ่ายาก จึงติดบ่วงถึง
ความสิ นชีวิต แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ว่า
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
พระนครพาราณสี . พระโพธิสตั ว์เป็ นมฤคแวดล้อมด้วยหมู่
เนืออยูใ่ นป่ า. ลําดับนัน เนือผูเ้ ป็ นน้องสาวมฤคนันแสดงบุตร
น้อย แล้วให้รับเอา ด้วยคําพูดว่า ข้าแต่พีชาย นีเป็ นหลานของ
พี พีจงให้เรี ยนมายาเนืออย่างหนึง. มฤคนันกล่าวกะหลานนัน
ว่า ในเวลาชือโน้น เจ้าจงมาเรี ยนเอา เนือผูห้ ลานไม่มาตาม
หน้า 48 จาก 48
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

เวลาทีพูดไว้.
เมือล่วงไป ๗ วันเหมือนดังวันเดียว เนือผูเ้ ป็ นหลาน
นันไม่ได้เรี ยนมายาของเนือ ท่องเทียวไป จึงติดบ่วง. ฝ่ าย
มารดาของเนือนันเข้าไปหามฤคผูพ้ ีชาย แล้วถามว่า ข้าแต่พี พี
ให้หลานเรี ยนมายาของเนือแล้วหรื อ?
พระโพธิสตั ว์กล่าวว่า เจ้าอย่าคิดเสี ยใจต่อบุตรผูไ้ ม่รับ
โอวาทสังสอนนัน บุตรของเจ้าไม่เรี ยนเอามายาของเนือเอง
เป็ นผูไ้ ม่มีความประสงค์จะโอวาทเนือนันเลย ในบัดนี จึง
กล่าวคาถานีว่า
ดูก่อนนางเนือขราทิยา ฉันไม่สามารถจะสังสอนเนือ
ตัวนัน ผูม้ ี ๘ กีบ มีเขาคดแต่โคนเขาจนถึงปลายเขา ผูล้ ่วงเลย
โอวาทเสี ยตัง ๗ วันได้.
บรรดาบทเหล่านี บทว่า อฏฺ ฐขุรํ ได้แก่ มีกีบ๘ กีบ
โดยเท้าข้างหนึงๆ มี ๒ กีบ. พระโพธิสตั ว์เรี ยกนางเนือนัน
โดยชือว่า ขราทิยา. บทว่า มิค ํ เป็ นคํารวมถือเอาเนือทุกชนิด.
บทว่า วงฺ กาติวงฺ กินํ ได้แก่ คดยิ งกว่าคด คือ คดตังแต่ทีโคนเขา
คดมากขึนไปถึงปลายเขา ชือว่าผูม้ ีเขาคดแต่โคนจนถึงปลาย
เขา เพราะเนือนันมีเขาเป็ นเช่นนัน. จึงชือว่า เขาคดแต่โคน
หน้า 49 จาก 49
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
จนถึงปลายเขา คือ มีเขาคดแต่โคนเขา จนถึงปลายเขานัน .
บทว่า สตฺ ตกาเลหติกฺกนฺ ต ํ ได้แก่ ผูล้ ่วงเลยโอวาท โดยเวลา
เป็ นทีให้โอวาท ๗ วัน. ด้วยบทว่า น นํ โอวทิตุสฺสเห นี ท่าน
แสดงว่า เราไม่อาจให้โอวาทเนือผูว้ ่ายากนี แม้ความคิดเพือจะ
โอวาทเนือนี ก็ไม่เกิดขึนแก่เรา.
ครังนัน นายพรานฆ่าเนือทีว่ายากตัวนันซึ งติดบ่วง
ถือเอาแต่เนือ แล้วหลีกไป.
ฝ่ ายพระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอเป็ นผูว้ ่ายากแต่
ในบัดนีเท่านัน ก็หามิได้ แม้ในกาลก่อน ก็เป็ นผูว้ ่ายาก
เหมือนกัน.
ครันทรงนําพระเทศนานี มาสื บต่ออนุสนธิกนั แล้ว
ทรงประชุมชาดก ว่า
เนือผูเ้ ป็ นหลานในกาลนัน ได้เป็ น ภิกษุผวู้ ่ายาก ใน
บัดนี
แม่เนือผูเ้ ป็ นน้องสาวในกาลนัน ได้เป็ น พระ
อุบลวรรณา ในบัดนี
ส่วนเนือผูใ้ ห้โอวาทในกาลนัน ได้เป็ น เรา
ตถาคต แล.

หน้า 50 จาก 50
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

จบอรรถกถาขราทิยชาดก

หน้า 51 จาก 51
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
16. ติปัลลัตถมิคชาดก
ว่ าด้ วย เล่ ห์กลลวงพราน
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพทริ การาม นครโกสัม
พี ทรงปรารภพระราหุลเถระผูใ้ คร่ ต่อการศึกษา จึงตรัสพระ
ธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า มิค ํ ติปลฺ ลตฺ ถ ํ ดังนี.
ความพิศดารว่า กาลครังหนึง เมือพระศาสดาเสด็จเข้า
ไปอาศัยเมืองอาฬวี ประทับอยูใ่ นอัคคาฬวเจดีย ์ อุบาสก
อุบาสิ กา ภิกษุ และภิกษุณี จํานวนมากไปวิหารเพือฟังธรรม
ตอนกลางวัน มีการฟังธรรม.
ก็แล เมือกาลเวลาล่วงไป อุบาสิ กาและภิกษุณีทงหลาย ั
ไม่ไป. มีแต่พวกภิกษุและอุบาสกทังหลาย ตังแต่นนั จึงเกิดมี
การฟังธรรมตอนกลางคืน ในเวลาเสร็ จสิ นการฟังธรรม ภิกษุ
ทังหลายผูเ้ ป็ นพระเถระพากันไปยังทีอยูข่ องตนๆ ภิกษุหนุ่ม
กับพวกอุบาสก นอนทีอุปัฏฐานศาลา คือโรงฉัน
เมือพวกภิกษุหนุ่มและพวกอุบาสกเหล่านัน เข้าถึง
ความหลับ บางคนนอนกรนเสี ยงครื ดๆ นอนกัดฟัน บางคน
นอนครู่ เดียวแล้วลุกขึน พวกอุบาสกเห็นประการอันแปลก
ของภิกษุหนุ่ม จึงกราบทูลแด่พระผูม้ ีพระภาคเจ้า.
หน้า 52 จาก 52
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ก็ภิกษุใด


นอนร่ วมกับอนุปสัมบัน ภิกษุนนต้ ั องอาบัติปาจิตตีย ์ ดังนีแล้ว
ได้เสด็จไปยังนครโกสัมพี ในข้อทีทรงบัญญัติสิกขาบทนัน
ภิกษุทงหลายจึ
ั งกล่าวกะท่านราหุลว่า อาวุโสราหุล พระผูม้ ี
พระภาคเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แล้ว บัดนี ท่านจงรู้ทีอยู่
ของตน. ก็เมือก่อน ภิกษุทงหลายได้
ั สงเคราะห์ท่านราหุลนันผู้
มายังทีอยูข่ องตนๆ เป็ นอย่างดี เพราะอาศัยความเคารพใน
พระผูม้ ีพระภาคเจ้า และความทีท่านราหุลนันเป็ นผูใ้ คร่ ต่อ
การศึกษา ได้ลาดเตียงเล็ก ให้จีวรเพือหนุนศีรษะ แต่วนั นัน
แม้ทีอยูก่ ็ไม่ได้ให้แล้ว เพราะกลัวต่อสิ กขาบท.
ฝ่ ายพระภัทรราหุลก็ไม่ไปยังสํานักของพระทศพล
ด้วยคิดว่าเป็ นพระบิดาของเรา หรื อของพระธรรมเสนาบดี
ด้วยคิดว่าเป็ นอุปัชฌาย์ของเรา หรื อของพระมหาโมคคัลลานะ
ด้วยคิดว่าเป็ นอาจารย์ของเรา หรื อของท่านพระอานนท์ ด้วย
คิดว่าเป็ นอาของเรา ได้เข้าไปยังเวจกุฏีสาํ หรับถ่ายของพระทศ
พล ประดุจเข้าไปยังวิมานของพรหม สําเร็ จการอยูแ่ ล้ว.
ก็ประตูกุฏีสาํ หรับใช้ของพระพุทธเจ้าทังหลายทีปิ ด
สนิทนัน กระทําการประพรมด้วยธูปหอม มีพวงของหอมและ
หน้า 53 จาก 53
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
พวงดอกไม้ห้อย ตามประทีปตลอดคืนยังรุ่ ง.
ก็พระภัทรราหุลอาศัยสมบัตินีของกุฏีนนั จึงเข้าไปอยู่
ในกุฏีนนั อนึง เพราะภิกษุทงหลายกล่
ั าวว่า ท่านจงรู้ทีอยู่ และ
เพราะความเป็ นผูใ้ คร่ ต่อการศึกษา โดยเคารพในโอวาท จึงเข้า
ไปอยูใ่ นกุฏีนนั ก็ในระหว่างๆ ภิกษุทงหลายเห็
ั นท่านผูม้ ีอายุ
นันมาแต่ไกล เพือต้องการจะทดลองท่านผูม้ ีอายุนนั จึงทิ งกํา
ไม้กวาดหรื อภาชนะสําหรับทิ งหยากเยือไว้ขา้ งใน. เมือท่านผู้
มีอายุนนมาถึ
ั ง จึงกล่าวว่า อาวุโส ใครทิ งสิ งนี ในการกระทํา
นัน เมือภิกษุบางพวกกล่าวว่า ท่านราหุลมาทางนี. แต่ท่าน
ราหุลนันไม่กล่าวว่า ท่านผูเ้ จริ ญ ผมไม่รู้เรื องนี กลับเก็บงําสิ ง
นัน แล้วขอขมาว่า ท่านผูเ้ จริ ญ ขอท่านทังหลายจงอดโทษแก่
กระผม แล้วจึงไป. ท่านราหุลนีเป็ นผูใ้ คร่ ต่อการศึกษาอย่างนี
ท่านราหุลนันอาศัยความเป็ นผูใ้ คร่ ต่อการศึกษานัน นันเอง จึง
เข้าไปอยูใ่ นกุฏีนน.ั
ครันเวลาก่อนอรุ ณทีเดียว พระศาสดาประทับยืนที
ประตูเวจกุฏี แล้วทรงพระกาสะ(ไอ) ขึน ส่วนท่านผูม้ ีอายุนนั
ก็ไอขึน.
พระศาสดาตรัสถามว่า ใครนัน?

หน้า 54 จาก 54
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ท่านพระราหุลกราบทูลว่า ข้าพระองค์ราหุล แล้ว


ออกมาถวายบังคม.
พระศาสดาตรัสถามว่า ราหุล เพราะเหตุไร เธอจึง
นอนทีนี ?
พระราหุลกราบทูลว่า เพราะไม่มีทีอยู่ ข้าแต่พระองค์ผู้
เจริ ญ ด้วยว่า เมือก่อน ภิกษุทงหลายกระทํ
ั าความสงเคราะห์
แก่ขา้ พระองค์ บัดนีไม่ให้ทีอยู่ เพราะกลัวตนต้องอาบัติ ข้า
พระองค์นนคิ ั ดว่า ทีนีเป็ นทีไม่เบียดเสี ยดผูอ้ ืน ด้วยเหตุนีจึง
นอนในทีนี .
ลําดับนัน พระผูม้ ีพระภาคเจ้าเกิดธรรมสังเวชขึนว่า
เบืองต้น ภิกษุทงหลายสละราหุ
ั ลได้อย่างนี (ต่อไป) ให้เด็กใน
ตระกูลทังหลายอืนบวชแล้ว จักกระทําอย่างไร.
ลําดับนัน พระผูม้ ีพระภาคเจ้าให้ภิกษุทงหลายประชุ
ั ม
กันแต่เช้าตรู่ แล้วตรัสถามพระธรรมเสนาบดี ว่า สารี บุตร ก็
เธอรู้ไหมว่า วันนี ราหุลอยูท่ ีไหน?
พระสารี บุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ ข้า
พระองค์ไม่ทราบ พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า สารี บุตร วันนี ราหุลอยูท่ ีเวจกุฏี.
หน้า 55 จาก 55
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ดูก่อนสารี บุตร ท่านทังหลาย เมือละราหุลได้อย่างนี
(ต่อไปภายหน้า) ให้เด็กในตระกูลทังหลายเหล่าอืนบวชแล้ว
จักกระทําอย่างไร แม้เมือเป็ นอย่างนัน กุลบุตรผูบ้ วชในพระ
ศาสนานี จักเป็ นผูไ้ ม่มีทีพึง บัดนีตังแต่นีไป ท่านทังหลายจง
ให้อนุปสัมปันทังหลายอยูใ่ นสํานักของตนวันหนึง สองวัน
ในวันทีสามรู้ทีเป็ นทีอยูข่ องอนุปสัมปันเหล่านัน แล้วจงให้อยู่
ภายนอก ดังนี แล้วทรงบัญญัติสิกขาบทอีก ทรงกระทําให้เป็ น
อนุบญั ญัติขอ้ นี.
สมัยนัน ภิกษุทงหลายนั
ั งประชุมกันในโรงธรรมสภา
แล้วกล่าวคุณของพระราหุล ว่า ดูเอาเถิดท่านผูม้ ีอายุทงหลายั
ราหุลนีใคร่ ต่อการศึกษาเป็ นกําหนด ชือว่าผูถ้ ูกภิกษุทงหลาย

กล่าวว่า ท่านจงรู้ทีอยูข่ องท่าน ก็ไม่โต้ตอบ แม้ภิกษุรูปหนึงว่า
เราเป็ นโอรสของพระทศพล ท่านทังหลายเป็ นใคร พวกท่าน
นันแหละจงออกไป ดังนีแล้ว ได้สาํ เร็ จการอยูใ่ นเวจกุฏี. เมือ
ภิกษุเหล่านันพากันกล่าวอยูอ่ ย่างนี. พระศาสดาเสด็จเข้าไปยัง
โรงธรรมสภา ประทับนังบนอาสนะทีตกแต่งไว้แล้ว ตรัสว่า
ภิกษุทงหลาย
ั บัดนี พวกเธอนังสนทนากัน ด้วยเรื องอะไร
หนอ.

หน้า 56 จาก 56
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ภิกษุทงหลายกราบทู
ั ลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ พวก
ข้าพระองค์นงสนทนากั
ั นด้วยสิ กขากามกถา ว่าด้วย ความใคร่
ต่อการศึกษาของพระราหุล มิใช่ดว้ ยเรื องอืน พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย ั ราหุลเป็ นผู้
ใคร่ ต่อการศึกษา ในบัดนีเท่านันหามิได้ แม้ในกาลก่อน แม้
บังเกิดในกําเนิดเดียรัจฉาน ก็เป็ นผูใ้ คร่ ต่อการศึกษาเหมือนกัน
แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี.
ในอดีตกาล พระเจ้ามคธราชพระองค์หนึงครองราช
สมบัติอยูใ่ นพระนครราชคฤห์ ในกาลนัน พระโพธิสตั ว์
บังเกิดในกําเนิดมฤค อันหมู่มฤคแวดล้อมอยูใ่ นป่ า.
ครังนัน แม่เนือผูเ้ ป็ นน้องสาวของพระโพธิสตั ว์นนั
นําบุตรน้อยของตนเข้าไป แล้วกล่าวว่า ข้าแต่พี ท่านจงให้
หลานของท่านนี ศึกษามารยาของเนือ. พระโพธิสตั ว์รับคํา
แล้วกล่าวว่า ดูก่อนพ่อ เจ้าจงไป ในเวลาชือโน้น เจ้าจงมา
ศึกษา. เนือผูเ้ ป็ นหลานนันไม่ล่วงเลยเวลาทีลุงบอก เข้าไปหา
ลุงนัน แล้วศึกษามารยาของเนือ.
วันหนึง เนือนันเทียวไปในป่ า ติดบ่วงจึงร้องบอกให้รู้
ว่า ติดบ่วง หมู่เนือพากันหนีไปบอกแก่มารดาของเนือนันว่า
หน้า 57 จาก 57
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
บุตรของท่านติดบ่วง. แม่เนือนันจึงไปยังสํานักของพีชายแล้ว
ถามว่า พีท่านให้หลานศึกษามารยาของเนือแล้วหรื อ? พระ
โพธิสตั ว์กล่าวว่า เจ้าอย่ารังเกียจกรรมอันลามกอะไรๆ ของ
บุตร เราให้บุตรของเจ้านันศึกษามารยาของเนืออย่างดีแล้ว
บัดนี บุตรของเจ้านันละทิ งบ่วงนันแล้วหนีไป จักกลับมา
แล้วกล่าวคาถานีว่า

ดูก่อนน้องหญิง ฉันยังเนือหลานชายผูม้ ี ๘ กีบ นอน


โดยอาการ ๓ ท่า มีเล่ห์กลมารยาหลายอย่าง ดืมกินนําในเวลา
เทียงคืน ให้เล่าเรี ยนมารยาของเนือดีแล้ว โดยประการทีเนือ
หลานชายกลันลมหายใจได้ โดยช่องนาสิ กข้างหนึงแนบติด
อยูก่ บั พืนดิน ทําเล่ห์กลลวงนายพราน ด้วยอุบาย ๖ ประการ
ฉะนัน.

บรรดาบทเหล่านัน บทว่า มิค ํ ได้แก่ เนือผูเ้ ป็ นหลาน.


บทว่า ติปลฺ ลตฺถ ํ ความว่า การนอน เรี ยกว่า ปัลลัตถะ ชือว่าผูม้ ี
การนอน ๓ ท่า เพราะมีการนอนโดยอาการ ๓ อย่างคือ โดย
ข้างทังสอง และโดยอาการอย่างโคนอนตรงอีกอย่างหนึง

หน้า 58 จาก 58
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

เพราะมีการนอน ๓ ท่า. ซึ งเนือนันผูม้ ีการนอน ๓ ท่า. บทว่า


อเนกมายํ ได้แก่ มีมารยามาก คือมีการลวงมาก. บทว่า
อฏฺ ฐาขุรํ ได้แก่ ผูป้ ระกอบด้วยกีบ๘ กีบ โดยเท้าข้างหนึงๆ มี
๒ กีบ. บทว่า อฑฺฒรตฺ ตาปปายึ ความว่า เนือชือว่าดืมนําใน
เวลาเทียงคืน เพราะเลยยามแรกไปแล้ว ในเวลามัชฌิยาม จึงมา
จากป่ าแล้วดืมนํา เพราะเหตุนนั จึงชือว่า ผูด้ ืมนําในเวลาเทียง
คืน. ซึ งเนือนัน. อธิบายว่า เนือผูด้ ืมนําในเวลาเทียงคืน.
เราให้เนือหลานชายของเราเรี ยนมารยาของเนือดี
แล้ว.
ถามว่า ให้เรี ยนอย่างไร?
ตอบว่า ดูก่อนน้องหญิง เราให้เรี ยนโดยประการทีเนือ
หลานชายหายใจทีพืนดิน โดยช่องนาสิ กข้างหนึง ลวง
นายพรานด้วยเล่ห์กล ๖ ประการ. ท่านกล่าวคําอธิบายนีไว้ว่า
ก็เราให้บุตรของเจ้าเรี ยนเอาแล้ว โดยประการทีเนือหลานชาย
กลันลมในช่องจมูกด้านบนข้างหนึง แล้วหายใจทีพืนดินนัน
นันแหละ โดยช่องจมูกด้านล่างข้างหนึงซึ งแนบติดดิน จึง
ครอบงํา อธิบายว่า จึงลวงนายพรานด้วยเล่ห์กล ๖ ประการ
คือโดยส่วน ๖ ส่วน. เล่ห์กล ๖ ประการเป็ นไฉน ?
หน้า 59 จาก 59
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เล่ห์กล ๖ ประการ คือ โดยการเหยียด ๔ เท้านอน
ตะแคง ๑ โดยใช้กีบทังหลายตะกุยหญ้าและดินร่ วน ๑ โดยทํา
ลิ นห้อยออกมา ๑ โดยกระทําท้องให้พอง ๑ โดยการปล่อย
อุจจาระ ๑ ปัสสาวะ ให้ลาดออกมา ๑ โดยการกลันลม ๑
อีกนัยหนึง ท่านแสดงว่า ดูก่อนน้องหญิง เราให้เนือ
หลานชายนันเรี ยนมารยาของเนือโดยประการทีเขาจะลวงทํา
ให้นายพรานเกิดความหมายรู้ว่า เนือนีตายแล้วโดยเล่ห์
กล ๖ ประการนี คือ
โดยตะกุยเอาดินร่ วนมาไว้ตรงหน้า ๑ โดยการโน้มตัว
ไป ๑ โดยการเทียวรนไปทังสองข้าง ๑ โดยการทําท้องให้พอง
ขึน ๑ โดยการทําท้องให้แฟบลง ๑
อีกนัยหนึง เราให้เนือหลานชายนันเรี ยนเอาแล้ว โดย
ประการทีเนือหลานชายนันหายใจทีพืนดิน โดยช่องจมูกข้าง
หนึง ทํากลด้วยเล่ห์กล ๖ ประการ คือ ทําเล่ห์กลด้วย
เหตุ ๖ ประการซึ งได้แสดงไว้ในนัยแม้ทงสอง ั อธิบายว่า จัก
กระทําเล่ห์กล คือจักลวงนายพราน.
พระโพธิสตั ว์เรี ยกเนือผูเ้ ป็ นน้องสาวว่า โภติ นางผู้
เจริ ญ. ด้วยบทว่า ภาคิเนยฺโย นี พระโพธิสตั ว์หมายถึงเนือ

หน้า 60 จาก 60
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

หลานชายผูล้ วงด้วยเหตุ ๖ ประการด้วยประการอย่างนี .

พระโพธิสตั ว์ เมือแสดงความทีเนือหลานชายเรี ยน
มารยาของเนือดีแล้ว จึงปลอบโยนเนือผูน้ อ้ งสาวให้เบาใจ
ด้วยประการอย่างนี . ลูกเนือ แม้นนติ ั ดบ่วง ไม่ดิ นรนเลย นอน
เหยียดเท้าทัง ๔ ไปทางด้านข้างทีผาสุกมาก ณ ทีพืนดิน เอา
กีบทังหลายนันแหละคุย้ ในทีทีใกล้ๆ เท้าทัง ๔ ทําดินร่ วนและ
หญ้าให้กระจุยขึน ปล่อยอุจจาระปัสสาวะออกมา ทําให้หวั ตก
ลิ นห้อย กระทําสรี ระให้เปรอะเปื อนด้วยนําลาย ทําให้ตวั พอง
ขึนด้วยการอันลม ทํานัยน์ตาทังสองให้เหลือก ทําลมให้
เดินทางช่องนาสิ กล่าง กลันลมทางช่องนาสิ กบน ทําหัวให้
แข็ง แสดงอาการของเนือทีตายแล้ว.
ฝ่ ายแมลงวันหัวเขียวก็ตอมเนือนัน กาทังหลายพากัน
แอบอยูใ่ นทีนันๆ นายพรานมาเอามือดีดท้อง คิดว่า เนือจักติด
บ่วงแต่เช้าตรู่ นกั จึงเกิดจะเน่า(ขึนมา) จึงแก้เชือกทีผูกเนือนัน
ออก คิดว่า บัดนี เราจักแล่เนือนันในทีนีแหละ เอาแต่เนือไป
เป็ นผูไ้ ม่สงสัย เริ มเก็บเอากิ งไม้และใบไม้.
ฝ่ ายลูกเนือลุกขึนยืนด้วยเท้าทัง ๔ สลัดกายเหยียดคอ
หน้า 61 จาก 61
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
แล้วได้ไปยังสํานักของมารดาโดยเร็ ว ประดุจเมฆฝนถูกลม
พายุใหญ่พดั ขาดไป ฉะนัน.
ฝ่ ายพระบรมศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย ั ราหุล
เป็ นผูใ้ คร่ ต่อการศึกษา ในบัดนีเท่านันก็หามิได้ แม้ในกาล
ก่อน ก็เป็ นผูใ้ คร่ ต่อการศึกษาเหมือนกัน.
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานี มาสื บต่ออนุสนธิแล้ว
จึงทรงประชุมชาดก ว่า
ลูกเนือผูเ้ ป็ นหลานในครังนัน ได้เป็ น พระราหุล ใน
บัดนี
ฝ่ ายมารดาในครังนัน ได้เป็ น ภิกษุณีอุบลวรรณา ใน
บัดนี
ส่วนเนือผูเ้ ป็ นลุงในครังนัน ได้เป็ น เรา แล.

จบอรรถกถาติปัลลัตถมิคชาดก

หน้า 62 จาก 62
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

17. มาลุตชาดก
ว่ าด้ วย ความหนาวเกิดแก่ ลม
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภบรรพชิตผูบ้ วชเมือแก่ ๒ รู ป จึงตรัสพระธรรมเทศนา
นี มีคาํ เริ มต้นว่า กาเฬ วา ยทิ วา ชุณฺเห ดังนี.
ได้ยินว่า บรรพชิตทังสองรู ปนันอยูใ่ นป่ าแห่งหนึง ใน
โกศลชนบท. รู ปหนึงชือ กาฬเถระ รู ปหนึงชือ ชุณหเถระ. อยู่
มาวันหนึง พระชุณหะถามพระกาฬะว่า ท่านกาฬะผูเ้ จริ ญ
ธรรมดาว่า ความหนาวมีในเวลาไร? พระกาฬะนันกล่าวว่า
ความหนาวมีในเวลาข้างแรม. อยูม่ าวันหนึง พระกาฬะถาม
พระชุณหะว่า ท่านชุณหะผูเ้ จริ ญ ธรรมดาว่า ความหนาวย่อม
มีในเวลาไร? พระชุณหะนันกล่าวว่า มีในเวลาข้างขึน. พระแม้
ทังสองรู ปนัน เมือไม่อาจตัดความสงสัยของตนได้ จึงพากัน
ไปยังสํานักของพระบรมศาสดา ถวายบังคม แล้วทูลถามว่า
ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ ธรรมดาว่า ความหนาวย่อมมีในกาลไร
พระเจ้าข้า?
พระศาสดาทรงสดับถ้อยคําของภิกษุทงสองนั ั น แล้ว

หน้า 63 จาก 63
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั แม้ในกาลก่อน เราก็ตอบปัญหานี
แก่เธอทังสองแล้ว แต่เธอทังหลายกําหนดไม่ได้ เพราะอยูใ่ น
สังเขปแห่งภพ แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี
ในอดีตกาล ณ เชิงเขาแห่งหนึง มีสตั ว์ผเู้ ป็ นสหายกัน
สองตัว คือ ราชสี ห์ตวั หนึง เสื อโคร่ งตัวหนึง อยูใ่ นถําเดียวกัน
นันเอง. ในกาลนัน แม้พระโพธิสตั ว์ก็บวชเป็ นฤาษี อยูท่ ีเชิง
เขานันเหมือนกัน. ภายหลังวันหนึง ความวิวาทเกิดขึนแก่
สหายเหล่านัน เพราะอาศัยความหนาว. เสื อโคร่ งกล่าวว่า
ความหนาวย่อมมีเฉพาะในเวลาข้างแรม. ราชสี ห์กล่าวว่า มี
เฉพาะในเวลาข้างขึน. สหายแม้ทงสองนัั น เมือไม่อาจตัด
ความสงสัยของตน จึงถามพระโพธิสตั ว์.
พระโพธิสตั ว์จึงกล่าวคาถานีว่า
ข้างขึนหรื อข้างแรมก็ตาม สมัยใดลมย่อมพัดมา สมัย
นันย่อมมีความหนาว เพราะความหนาวเกิดแต่ลม ในปัญหา
ข้อนีท่านทังสอง ชือว่าไม่แพ้กนั .
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า กาเฬ วา ยทิ วา ชุณฺเห
ได้แก่ ในปักษ์ขา้ งแรม หรื อในปักษ์ขา้ งขึน. บทว่า ยทา วายติ
มาลุโต ความว่า สมัยใด ลมอันต่างด้วยลมทิศตะวันออกเป็ น

หน้า 64 จาก 64
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ต้น ย่อมพัดมา สมัยนันความหนาวย่อมมี. เพราะเหตุไร?


เพราะความหนาวเกิดแต่ลม. อธิบายว่า เพราะเหตุที เมือลมมี
อยูน่ นแหละ
ั ความหนาวจึงมี. ในข้อนีปักษ์ขา้ งแรมหรื อปักษ์
ข้างขึน ไม่เป็ นประมาณ. บทว่า อุโภตฺ ถมปราชิตา ความว่า
ท่านแม้ทงสองไม่
ั แพ้กนั ในปัญหาข้อนี.
พระโพธิสตั ว์ให้สหายเหล่านันยินยอมกัน ด้วย
ประการอย่างนี .

ฝ่ ายพระศาสดาจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั แม้ในกาล
ก่อน เราก็ตอบปัญหานีแก่เธอทังหลายแล้ว
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาแล้ว จึงทรงประกาศสัจจะ
ทังหลาย
ในเวลาจบสัจจะ พระเถระแม้ทงสองเหล่
ั านัน ก็ดาํ รงอยูใ่ น
พระโสดาปัตติผล.
แม้พระศาสดาก็ทรงสืบอนุสนธิ แล้วประชุมชาดก ว่า
เสือโคร่ งในครังนัน ได้เป็ น พระกาฬะ
ราชสีห์ในครังนัน ได้เป็ น พระชุณหะ
ส่วนดาบสผูแ้ ก้ปัญหาในครังนัน ได้เป็ น เรา แล.
จบอรรถกถามาลุตชาดก
หน้า 65 จาก 65
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
18. มตกภัตตชาดก
ว่ าด้ วย สั ตว์ ไม่ ควรฆ่าสั ตว์
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภมตกภัต จึงตรัสพระธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า เอว ฺ
เจ สตฺ ตา ชาเนยฺยุ ◌ํ ดังนี.
ความพิสดารว่า ในกาลนัน มนุษย์ทงหลายฆ่
ั าแพะ
เป็ นต้นเป็ นอันมาก ให้มตกภัตอุทิศญาติทงหลายที
ั ตายไป
แล้ว. ภิกษุทงหลายเห็
ั นมนุษย์เหล่านันกระทําอย่างนัน จึงทูล
ถามพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ บัดนี มนุษย์ทงหลาย ั
ทําสัตว์มีชีวิตเป็ นอันมาก ให้ถึงความสิ นชีวิตแล้วให้ชือว่า
มตกภัต ความเจริ ญในการให้มตกภัตนีมีอยูห่ รื อ พระเจ้าข้า?
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ชือว่าความ
เจริ ญอะไรๆ ในปาณาติบาต แม้ทีเขากระทําด้วยคิดว่า พวกเรา
จักให้มตกภัตดังนี ย่อมไม่มี. แม้ในกาลก่อน บัณฑิตทังหลาย
นังในอากาศ แสดงธรรมกล่าวโทษในการทําปาณาติบาตนี ให้
ชนชาวชมพูทวีปทังสิ น ละกรรมนัน แต่บดั นี กรรมนันกลับ
ปรากฏขึนอีก เพราะสัตว์ทงหลายเหล่
ั านันเป็ นผูอ้ ยูใ่ นสังเขป
แห่งภพ
หน้า 66 จาก 66
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี.
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
นครพาราณสี . มีอาจารย์ทิศาปาโมกข์ผสู้ ําเร็ จไตรเพทคนหนึง
คิดว่าจักให้มตกภัต จึงให้จบั แพะมาตัวหนึง กล่าวกะอันเตวา
สิ กทังหลายว่า พ่อทังหลาย พวกท่านจงนําแพะตัวนีไปยัง
แม่นาํ เอาระเบียบดอกไม้สวมคอ เจิมประดับประดา แล้ว
นํามา.
อันเตวาสิ กทังหลายรับคําแล้ว พาแพะนันไปยังแม่นาํ
ให้อาบนํา ประดับแล้ว พักไว้ทีฝั งแม่นาํ . แพะนันเห็นกรรม
เก่าของตน เกิดความโสมนัสว่า เราจักพ้นจากทุกข์ ชือเห็น
ปานนี ในวันนี จึงหัวเราะลัน ประดุจต่อยหม้อดิน. กลับคิดว่า
พราหมณ์นีฆ่าเราแล้ว จักได้ความทุกข์ทีเราได้แล้ว เกิดความ
กรุ ณาพราหมณ์ จึงร้องไห้ดว้ ยเสี ยงอันดัง.
ลําดับนัน มาณพเหล่านันจึงถามแพะนันว่า ดูก่อน
แพะผูส้ หาย ท่านหัวเราะและร้องไห้เสี ยงดังลัน เพราะเหตุไร
หนอ ท่านจึงหัวเราะ และเพราะเหตุไร ท่านจึงร้องไห้?
แพะกล่าวว่า ท่านทังหลายพึงถามเหตุนีกะเรา ใน
สํานักแห่งอาจารย์ของท่าน.
หน้า 67 จาก 67
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
มาณพเหล่านันจึงพาแพะนันไป แล้วบอกเหตุนีแก่
อาจารย์ อาจารย์ได้ฟังคําของมาณพเหล่านัน แล้วถามแพะว่า
ดูก่อนแพะ เพราะเหตุไร ท่านจึงหัวเราะ เพราะเหตุไร ท่านจึง
ร้องไห้?
แพะหวนระลึกถึงกรรมทีตนกระทําด้วยญาณเครื อง
ระลึกชาติ ได้กล่าวแก่พราหมณ์ว่า
ดูก่อนพราหมณ์ เมือก่อน เราเป็ นพราหมณ์ผสู้ าธยาย
มนต์เช่นท่านนันแหละ คิดว่า จักให้มตกภัต จึงได้ฆ่าแพะตัว
หนึง แล้วให้มตกภัต เพราะเราฆ่าแพะตัวหนึง เรานันจึงถึง
การถูกตัดศีรษะใน ๔๙๙ อัตภาพ นีเป็ นอัตภาพที ๕๐๐ ของ
เรา ซึ งตังอยูใ่ นทีสุด. เรานันเกิดความโสมนัสว่า วันนี เราจัก
พ้นจากทุกข์เห็นปานนี ด้วยเหตุนี จึงหัวเราะ แต่เราเมือร้องไห้
ได้ร้องไห้เพราะความกรุ ณาท่าน ด้วยคิดว่า เบืองต้น เราฆ่า
แพะตัวหนึง ถึงความทุกข์ คือการถูกตัดศีรษะถึง ๕๐๐ ชาติ
จักพ้นจากทุกข์นนในวัั นนี. ส่วนพราหมณ์ฆ่าเราแล้ว จักได้
ทุกข์ คือการถูกตัดศีรษะถึง ๕๐๐ ชาติ เหมือนเรา.
พราหมณ์กล่าวว่า ดูก่อนแพะ ท่านอย่ากลัวเลย เราจัก
ไม่ฆ่าท่าน.

หน้า 68 จาก 68
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

แพะกล่าวว่า พราหมณ์ ท่านพูดอะไร เมือท่านจะฆ่าก็


ดี ไม่ฆ่าก็ดี วันนี เราไม่อาจพ้นจากความตายไปได้.
พราหมณ์กล่าวว่า ดูก่อนแพะ ท่านอย่ากลัว เราจักถือ
การอารักขาท่าน เทียวไปกับท่าน เท่านัน.
แพะกล่าวว่า พราหมณ์ อารักขาของท่านมีประมาณ
น้อย ส่วนบาปทีเรากระทํามีกาํ ลังมาก.
พราหมณ์ให้ปล่อยแพะ แล้วกล่าวว่า เราจักไม่ให้แม้
ใครๆ ฆ่าแพะตัวนี จึงพาพวกอันเตวาสิ กเทียวไปกับแพะ นัน
แหละ. แพะพอเขาปล่อยเท่านัน ก็ชะเง้อคอเริ มจะกินใบไม้
ซึ งอาศัยหลังแผ่นหิ นแห่งหนึงเกิดอยู.่ ทันใดนันเอง ฟ้ าก็ผา่ ลง
ทีหลังแผ่นหิ นนัน สะเก็ดหิ นชิ นหนึงแตกตกลงทีคอแพะ ซึ ง
ชะเง้ออยู่ ตัดศีรษะขาดไป มหาชนประชุมกัน
ในกาลนัน พระโพธิสตั ว์บงั เกิดเป็ นรุ กขเทวดาอยูใ่ นที
นัน พระโพธิสตั ว์นนั เมือมหาชนเห็นอยูน่ นแล ั นังขัดสมาธิ
ในอากาศด้วยเทวานุภาพ กล่าวว่า สัตว์เหล่านันรู้ผลของบาป
อยูอ่ ย่างนี ชือแม้ไฉนไม่ควรกระทําปาณาติบาต.
เมือจะแสดงธรรมด้วยเสี ยงอันไพเราะ จึงกล่าวคาถานี
ว่า
หน้า 69 จาก 69
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ถ้าสัตว์ทงหลายพึ
ั งรู้อย่างนีว่า ชาติสมภพนีเป็ นทุกข์
สัตว์ไม่ควรฆ่าสัตว์ เพราะว่า ผูม้ ีปกติฆ่าสัตว์ ย่อมเศร้าโศก.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า เอว ฺ เจ สตฺ ตา ชาเนยฺ
ยุ ◌ํ ความว่า สัตว์เหล่านี พึงรู้อย่างนี. พึงรู้อย่างไร? พึงรู้ว่า
ชาติสมภพนีเป็ นทุกข์.
อธิบายว่า ถ้าว่า พึงรู้ว่าความเกิดในภพนันๆ และความ
สมภพ กล่าวคือความเจริ ญของผูท้ ีเกิด โดยลําดับนี ชือว่าเป็ น
ทุกข์ เพราะเป็ นวัตถุทีตังแห่งทุกข์ทงหลายมี
ั ชรา พยาธิ มรณะ
ความประจวบกับสิ งอันไม่เป็ นทีรัก ความพลัดพรากจากสิ ง
อันเป็ นทีรัก และการถูกตัดมือตัดเท้าเป็ นต้น.
บทว่า น ปาโณ ปาณิ นํ ห ฺ เญ ความว่า สัตว์ไรๆ รู้อยู่
ว่า ชาติสมภพ ชือว่าเป็ นทุกข์ เพราะเป็ นทีตังแห่งทุกข์ว่า ผูท้ าํ
สัตว์อืนให้เจริ ญ ย่อมได้ความเจริ ญในชาติสมภพ. เมือ
เบียดเบียนสัตว์อืน ย่อมได้รับการเบียดเบียนดังนี จึงไม่ควรฆ่า
สัตว์อืน.
อธิบายว่า สัตว์ไม่ควรฆ่าสัตว์ เพราะเหตุไร? เพราะผูม้ ี
ปกติฆ่าสัตว์ ย่อมเศร้าโศก.
อธิบายว่า เพราะบุคคลผูม้ ีปกติฆ่าสัตว์ ด้วยการเข้าไป

หน้า 70 จาก 70
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ตัดชีวิตินทรี ยข์ องสัตว์อืน ด้วยประโยคอย่างใดอย่างหนึง ใน


บรรดาประโยคทัง ๖ มีสาหัตถิกประโยคเป็ นต้น เสวยมหันต
ทุกข์ อยูใ่ นอบายทัง ๔ นี คือในมหานรก ๘ ขุม ในอุสสทนรก
๑๖ ขุม ในกําเนิดสัตว์เดียรัจฉาน มีประการต่างๆ ในเปรตวิสยั
และในอสุรกาย. ชือว่า ย่อมเศร้าโศกด้วยความเศร้าโศก อันมี
ความเผาไหม้ในภายใน เป็ นลักษณะ ตลอดกาลนาน.
อีกอย่างหนึง สัตว์รู้ว่า แพะนีเศร้าโศกแล้ว เพราะ
มรณภัย ฉันใด ผูม้ ีปกติฆ่าสัตว์ยอ่ มเศร้าโศกตลอดกาลนาน
แม้ฉนั นัน ดังนี แล้วไม่ควรฆ่าสัตว์. อธิบายว่า ใครๆ ไม่ควร
กระทํากรรม คือปาณาติบาต ก็บุคคลผูห้ ลงเพราะโมหะ เมือ
อวิชชากระทําให้เป็ นคนบอดแล้ว ไม่เห็นโทษนี ย่อมกระทํา
ปาณาติบาต.
พระโพธิสตั ว์แสดงธรรม โดยเอาภัยในนรกมาขู่ ด้วย
ประการอย่างนี . มนุษย์ทงหลายฟั
ั งธรรมเทศนานันแล้ว กลัว
ภัยในนรก พากันงดเว้นจากปาณาติบาต.
ฝ่ ายพระโพธิสตั ว์ ครันแสดงธรรมแล้ว ยังมหาชนให้
ตังอยูใ่ นเบญจศีล แล้วไปตามยถากรรม. ฝ่ ายมหาชนตังอยูใ่ น
โอวาทของพระโพธิสตั ว์ กระทําบุญมีทานเป็ นต้น ทําเทพ
หน้า 71 จาก 71
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
นครให้เต็มแล้ว.
พระศาสดา ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาแล้ว
ทรงสื บต่ออนุสนธิ
ทรงประชุมชาดกว่า ภิกษุทงหลาย
ั สมัยนัน เราได้เป็ น
รุ กขเทวดา แล.

จบอรรถกถามตกภัตตชาดก

หน้า 72 จาก 72
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

19. อายาจิตภัตตชาดก
ว่ าด้ วย การเปลืองตน
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภพลีกรรมอ้อนวอนเทวดาทังหลาย จึงตรัสพระธรรม
เทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า สเจ มุ ฺ เจ ดังนี.
ได้ยินว่า ในกาลนัน มนุษย์ทงหลาย ั เมือจะไปค้าขาย
ได้ฆ่าสัตว์ทาํ พลีกรรมแก่เทวดาทังหลาย อ้อนวอนว่า ข้าพเจ้า
ทังหลายถึงความสําเร็ จประโยชน์โดยไม่ขดั ข้องมาแล้ว จัก
กระทําพลีกรรมแก่ท่านทังหลายอีก ดังนีแล้วจึงพากันไป.
ในกาลนัน พวกมนุษย์ได้ถึงความสําเร็ จประโยชน์
โดยไม่มีอนั ตรายมาแล้ว สําคัญว่า ผลนีเกิดด้วยอานุภาพของ
เทวดา จึงฆ่าสัตว์เป็ นอันมากกระทําพลีกรรม เพือปลดเปลือง
การอ้อนวอน.
ภิกษุทงหลายเห็
ั นดังนัน จึงทูลถามพระผูม้ ีพระภาคเจ้า
ว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ ประโยชน์ในการอ้อนวอนนี มีอยู่
หรื อ?
พระผูม้ ีพระภาคเจ้าจึงทรงนําอดีตนิทานมา

หน้า 73 จาก 73
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ดังต่อไปนี.
ในอดีตกาล มีกุฏ ุ มพีคนหนึงในบ้านแห่งหนึงใน
แคว้นกาสี ปฏิญญาการพลีกรรมแก่เทวดาผูส้ ิ งอยูท่ ีต้นไทร ซึ ง
ตังอยูใ่ กล้ประตูบา้ น แล้วกลับมาโดยไม่มีอนั ตราย จึงฆ่าสัตว์
เป็ นอันมาก แล้วไปยังโคนต้นไทร ด้วยตังใจว่า จักเปลืองการ
อ้อนวอน.
รุ กขเทวดายืนอยูท่ ีค่าคบของต้นไม้ กล่าวคาถานีว่า
ถ้าท่านปรารถนาจะเปลืองตนให้พน้ ท่านละโลกนีไป
แล้ว ก็จะพ้นได้ ก็ท่านเปลืองตนอยูอ่ ย่างนี กลับจะติดหนักเข้า
เพราะนักปราชญ์หาได้เปลืองตน ด้วยอาการอย่างนีไม่. การ
เปลืองตนอย่างนี เป็ นเครื องติดของคนพาล.

บรรดาบทเหล่านัน บทว่า สเจ มุ ฺ เจ เปจฺ จ มุ ฺ เจ


ความว่า ดูก่อนบุรุษผูเ้ จริ ญ ถ้าท่านจะเปลืองตน คือท่าน
ปรารถนาจะเปลืองตน ท่านละโลกนีไปแล้ว ก็จะพ้นได้ คือจง
พ้น โดยประการทีติดพันโลกหน้า.
บทว่า มุจฺจมาโน หิ พชฺ ฌสิ ความว่า ก็ท่านเมือปลด
เปลืองโดยประการทีปรารถนา เพือฆ่าสัตว์ปลดเปลือง ชือว่า

หน้า 74 จาก 74
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ยังติดพันด้วยกรรมอันลามก.
เพราะเหตุไร?
เพราะนักปราชญ์ทงหลายหาได้
ั เปลืองตน ด้วยอาการ
อย่างนีไม่.
อธิบายว่า ก็บุรุษผูเ้ ป็ นบัณฑิตเหล่านัน ย่อมไม่ปลด
เปลืองตนด้วยคํามันสัญญาอย่างนี.
เพราะเหตุไร?
เพราะการเปลืองตน เห็นปานนี เป็ นเหตุติดพันของ
คนพาล คือธรรมดา การเปลืองตนเพราะกระทําปาณาติบาตนี
ย่อมเป็ นเหตุติดหนักของคนพาล.
รุ กขเทวดาแสดงธรรมด้วยประการดังกล่าวนี.
ตังแต่นนั มนุษย์ทงหลายงดเว้
ั นจากกรรม คือ
ปาณาติบาตเห็นปานนัน พากันประพฤติธรรม ยังเทพนครให้
เต็มแล้ว.

พระศาสดา ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาสื บต่อ


อนุสนธิแล้ว

หน้า 75 จาก 75
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ทรงประชุมชาดกว่า สมัยนัน เราได้เป็ นรุ กขเทวดา
แล.

จบอรรถกถาอายาจิตชาดก

หน้า 76 จาก 76
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

20. นฬปานชาดก
ว่ าด้ วย การพิจารณา
พระศาสดา เมือเสด็จจาริ กไปในโกศลชนบท ถึงบ้าน
นฬกปานคาม ประทับอยูใ่ นเกตกวัน ใกล้นฬกปานโบกขรณี
ทรงปรารภท่อนไม้ออ้ ทังหลาย จึงตรัสพระธรรมเทศนานี
มีคาํ เริ มต้นว่า ทิสฺวา ปทมนุตฺติณฺณํ ดังนี.
ได้ยินว่า ครังนัน ภิกษุทงหลายอาบนํ
ั าในสระ
โบกขรณี ชือว่า นฬกปานะ แล้วให้พวกสามเณรเอาท่อนไม้ออ้
มา เพือต้องการทํากล่องเข็ม เห็นท่อนไม้ออ้ เหล่านันทะลุ
ตลอด จึงเข้าไปเฝ้ าพระศาสดา แล้วทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้
เจริ ญ พวกข้าพระองค์ให้ถือเอาท่อนไม้ออ้ ทังหลายมา เพือ
ต้องการทํากล่องเข็ม ท่อนไม้ออ้ เหล่านันเป็ นรู ทะลุตลอด
ตังแต่โคนจนถึงปลาย นีเหตุอะไรหนอ พระเจ้าข้า?
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย ั นีเป็ นการ
อธิษฐานเดิมของเรา.
แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี.
ได้ยินว่า ในอดีตกาลแม้ในกาลก่อน ป่ าชัฏนันเป็ นป่ า

หน้า 77 จาก 77
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
มีผีเสื อนําตนหนึงเคียวกินคนผูล้ งไปๆ ในสระโบกขรณี แม้
นัน.
ในกาลนัน พระโพธิสตั ว์เป็ นพระยากระบีมีขนาดเท่า
เนือละมัง แวดล้อมด้วยหมู่วานรแปดหมืนตัว บริ หารฝูงอยูใ่ น
ป่ านัน. พระยากระบีนันได้ให้โอวาทแก่หมู่วานรว่า พ่อ
ทังหลาย ในป่ านีมีตน้ ไม้พิษบ้าง สระโบกขรณี ทีเกิดเองอัน
อมนุษย์หวงแหนบ้าง มีอยูใ่ นป่ านันนันแหละ ท่านทังหลาย
เมือจะเคียวกินผลไม้นอ้ ยใหญ่ทียังไม่เคยเคียวกิน หรื อเมือจะ
ดืมนําทียังไม่เคยดืม ต้องสอบถามเราก่อน. หมู่วานรเหล่านัน
รับคําแล้ว.
วันหนึง ไปถึงทีทีไม่เคยไป เทียวไปในทีนันหลายวัน
ทีเดียว เมือจะแสวงหานําดืม เห็นสระโบกขรณี สระหนึง ยัง
ไม่ดืมนํา นังคอยการมาของพระโพธิสตั ว์.
พระโพธิสตั ว์มาถึงแล้ว จึงกล่าวว่า พ่อทังหลาย ทําไม
จึงยังไม่ดืมนํา.
พวกวานรกล่าวว่า พวกข้าพเจ้าคอยการมาของท่าน.
พระโพธิสตั ว์กล่าวว่า พ่อทังหลาย พวกท่านทําดีแล้ว.
จึงเดินวนเวียนสระโบกขรณี นนั กําหนดรอยเท้าเห็นแต่

หน้า 78 จาก 78
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

รอยเท้าลงไม่เห็นรอยเท้าขึน. พระโพธิสตั ว์นนรู ั ้ว่าสระ


โบกขรณี นี อมนุษย์หวงแหนโดยไม่ตอ้ งสงสัย จึงกล่าวว่า พ่อ
ทังหลาย ท่านทังหลายไม่ดืมนํา ทําดีแล้ว สระโบกขรณี นี
อมนุษย์หวงแล้ว.
ฝ่ ายผีเสื อนํารู้ว่า วานรเหล่านันไม่ลง จึงแปลงเป็ นผูม้ ี
ท้องเขียว หน้าเหลือง มือเท้าแดงเข็ม รู ปร่ างน่ากลัว ดูน่า
เกลียด แยกนําออกมากล่าวว่า เพราะเหตุไร พวกท่านจึงนังอยู่
จงลงสระโบกขรณี นี ดืมนําเถิด.
ลําดับนัน พระโพธิสตั ว์ถามผีเสื อนํานันว่า ท่านเป็ น
ผีเสื อนําเกิด อยูใ่ นสระนีหรื อ?
ผีเสื อนํากล่าวว่า เออ เราเป็ นผูเ้ กิดแล้ว.
พระโพธิสตั ว์ถามว่า ท่านย่อมได้คนทีลงไปๆ ยังสระ
โบกขรณี หรื อ?
ผีเสื อนํากล่าวว่า เออ เราได้ เราไม่ปล่อยใครๆ จนชัน
ทีสุด นกทีลงในสระโบกขรณี นี. แม้ท่านทังหมด เราก็จกั กิน.
พระโพธิสตั ว์กล่าวว่า พวกเราจักไม่ให้ท่านกินตัวเรา.
ผีเสื อนํากล่าวว่า ก็ท่านทังหลายจักดืมนํา มิใช่หรื อ?
พระพระโพธิสตั ว์กล่าวว่า เออ พวกเราจักดืมนํา และ
หน้า 79 จาก 79
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
จักไม่ตกอยูใ่ นอํานาจของท่าน.
ผีเสื อนํากล่าวว่า เมือเป็ นเช่นนัน พวกท่านจักดืมนํา
อย่างไร.
พระโพธิสตั ว์กล่าวว่า ก็ท่านย่อมสําคัญหรื อว่า จักลง
ไปดืม ด้วยว่า พวกเราจะไม่ลงไป เป็ นวานรทังแปดหมืน ถือ
ท่อนไม้ออ้ คนละท่อน จักดืมนําในสระโบกขรณี ของท่าน
เหมือนดืมนําด้วยก้านบัว เมือเป็ นอย่างนี ท่านจักไม่อาจกิน
พวกเรา.
พระศาสดา ครันทรงรู้แจ้งความนี เป็ นพระอภิ
สัมพุทธเจ้าผูต้ รัสรู้พร้อมยิ ง ได้ตรัส ๒ บทแรกแห่งคาถานีว่า
พระยากระบีไม่เห็นรอยเท้าขึน เห็นแต่รอยเท้าลง จึง
กล่าวว่า พวกเราจักดืมนําด้วยไม้ออ้ ท่านจักฆ่าเราไม่ได้.
เนือความแห่งคําอันเป็ นคาถานันว่า ดูก่อนภิกษุ
ทังหลาย พระยากระบีนันเป็ นมหาบุรุษ ไม่ได้เห็นรอยเท้าขึน
แม้แต่รอยเดียวในสระโบกขรณี นนั ได้เห็นแต่รอยเท้าลง
เท่านัน ครันเห็นอย่างนัน คือไม่เห็นรอยเท้าขึน เห็นแต่
รอยเท้าลง จึงรู้ว่า สระโบกขรณี นี อมนุษย์หวงแหนแน่แท้
เมือจะเจรจากับผีเสื อนํานัน จึงกล่าวว่า พวกเราจักดืมนําด้วย

หน้า 80 จาก 80
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ไม้ออ้ . อธิบายความของคํานันว่า พวกเราจักดืมนําในสระ


โบกขรณีของท่านด้วยไม้ออ้ . พระมหาสัตว์กล่าวสืบไปว่า
ท่านจักฆ่าเราไม่ได้ อธิบายว่า เราพร้อมทังบริ ษทั ดืมนําด้วย
ไม้ออ้ อย่างนี แม้ท่านก็จกั ฆ่าไม่ได้.
ก็พระโพธิสตั ว์ครันกล่าวอย่างนีแล้ว จึงให้นาํ ท่อนไม้
อ้อมาท่อนหนึง รําพึงถึงบารมีทงหลาย ั แล้วกระทําสัจกิริยา
เอาปากเป่ า ไม้ออ้ ได้เป็ นโพรงตลอดไป ไม่เหลือปล้องอะไรๆ
ไว้ภายใน พระโพธิสตั ว์ให้นาํ ท่อนไม้ออ้ แม้ท่อนอืนมา แล้ว
ได้เป่ าให้ไปโดยทํานองนี ก็เมือเป็ นดังกล่าวมาฉะนี ไม่อาจให้
เสร็ จลงได้ เพราะฉะนัน ไม่ควรเชืออย่างนัน ฝ่ ายพระ
โพธิสตั ว์ได้อธิษฐานว่า ไม้ออ้ แม้ทงหมดที
ั เกิดรอบสระ
โบกขรณี นี จงเป็ นรู ตลอด ก็เพราะอุปจารแห่งประโยชน์ของ
พระโพธิสตั ว์ทงหลาย ั เป็ นสภาพยิ งใหญ่ การอธิษฐานย่อม
สําเร็ จ. ตังแต่นนมา
ั ไม้ออ้ ทีเกิดรอบสระโบกขรณี แม้ทุกต้น
เกิดเป็ นรู เดียวตลอด.
จริ งอยู่ ในกัปนี ชือว่าปาฏิหาริ ยอ์ นั ตังอยูต่ ลอดกัปมี ๔
ประการเป็ นไฉน?
เครื องหมายกระต่ายบนดวงจันทร์ จักตังอยูต่ ลอดกัป
หน้า 81 จาก 81
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
นี แม้ทงสิ
ั น๑
ทีทีไฟดับในวัฏฏกชาดก ไฟจักไม่ไหม้ตลอดกัปนี แม้
ทังสิ น ๑
สถานทีเป็ นทีอยูข่ องฆฏิการช่างหม้อ ฝนไม่รั วรดจัก
ตังอยูต่ ลอดกัปนี แม้ทงสิ ั น๑
ไม้ออ้ ทีตังอยูร่ อบสระโบกขรณี นี จักเป็ นรู เดียว(ไม่มี
ข้อ) ตลอดกัปนี แม้ทงสิ ั น๑
ชือว่าปาฏิหาริ ยอ์ นั ตังอยูช่ วกั
ั ป ๔ ประการนี ดัง
พรรณนามาฉะนี .
พระโพธิสตั ว์ ครันอธิษฐานอย่างนีแล้ว จึงนังถือไม้
อ้อลําหนึง ฝ่ ายวานรแปดหมืนตัวแม้เหล่านัน ก็ถือไม้ออ้ ลํา
หนึงๆ นังล้อมสระโบกขรณี. ในเวลาทีพระโพธิสตั ว์เอาไม้ออ้
สูบนํามาดืม วานรแม้เหล่านันทังหมดนังอยูท่ ีฝั งนันแหละ ดืม
นําแล้ว. เมือวานรเหล่านันดืมนําอย่างนี ผีเสื อนําไม่ได้วานร
ตัวไรๆ ก็เสียใจ จึงไปยังนิเวศน์ของตน นันเอง. ฝ่ ายพระ
โพธิสตั ว์พร้อมทังบริ วาร ก็เข้าป่ าไปเหมือนกัน.
ส่วนพระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย ั ชือว่า
ความทีไม้ออ้ ทังหลายเหล่านี เป็ นไม้มีรูเดียวนัน เป็ นการ

หน้า 82 จาก 82
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

อธิษฐานอันมีในกาลก่อนของเราเอง.
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาสื บต่ออนุสนธิแล้ว
จึงทรงประชุมชาดก ว่า
ผีเสื อนําในครังนัน ได้เป็ น พระเทวทัต ในบัดนี
วานรแปดหมืนในครังนัน ได้เป็ น พุทธบริ ษทั ใน
บัดนี
ส่วนพระยากระบีผูฉ้ ลาดในอุบายในครังนัน ได้
เป็ น เรา แล.

จบ นฬปานชาดกที ๒๐.
จบ สี ลวรรคที ๒.
-----------------------------------------------------
รวมชาดกทีมีในวรรคนี คือ
๑. ลักขณชาดก ว่าด้วย ผูม้ ีศีล
๒. นิโครธมิคชาดก ว่าด้วย การเลือกคบ
๓. กัณฑินชาดก ว่าด้วย ผูต้ กอยูใ่ นอํานาจหญิง
๔. วาตมิคชาดก ว่าด้วย อํานาจของรส
๕. ขราทิยชาดก ว่าด้วย ผูล้ ่วงเลยโอวาท
หน้า 83 จาก 83
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
๖. ติปัลลัตถมิคชาดก ว่าด้วย เล่ห์กลลวงพราน
๗. มาลุตชาดก ว่าด้วย ความหนาวเกิดแก่ลม
๘. มตกภัตตชาดก ว่าด้วย สัตว์ไม่ควรฆ่าสัตว์
๙. อายาจิตภัตตชาดก ว่าด้วย การเปลืองตน
๑๐. นฬปานชาดก ว่าด้วย การพิจารณา
-----------------------------------------------------

.. อรรถกถา นฬปานชาดก จบ.

อ่าน เนือความในพระไตรปิ ฎก
http://www.84000.org/tipitaka/atita100/v.php?B=27&A=129&Z=14
2
- -- ---- ----------------------------------------------------------------------
ดาวน์โหลด พระไตรปิ ฎกฉบับธรรมทาน
บันทึก ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
หากพบข้อผิดพลาด กรุ ณาแจ้งได้ที DhammaPerfect@yahoo.com

หน้า 84 จาก 84
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

21.กุรุงคมิคชาดก
ว่ าด้ วย กวางกุรุงคะ
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเวฬุวนั ทรง
ปรารภพระเทวทัต จึงตรัสพระธรรมเทศนานี คําเริ มต้นว่า
ญาตเมตํ กุรุงฺคสฺ ส ดังนี
ความพิศดารว่า สมัยหนึง ภิกษุทงหลายนั
ั งประชุมกัน
ในโรงธรรมสภา นังกล่าวโทษของพระเทวทัตว่า ดูก่อน
อาวุโสทังหลาย พระเทวทัตประกอบนายขมังธนู เพือต้องการ
ปลงพระชนม์พระตถาคต กลิ งศิลา ปล่อยช้างธนปาลกะ
ตะเกียกตะกายเพือจะปลงพระชนม์ของพระทศพล แม้ในกาล
ทังปวง.
พระศาสดาเสด็จมา แล้วประทับนังบนอาสนะที
ตกแต่งไว้ แล้วตรัสถามว่า ภิกษุทงหลาย
ั บัดนี พวกเธอนัง
สนทนากันด้วยเรื องอะไรหนอ? ภิกษุทงหลายกราบทู
ั ลว่า ข้า
แต่พระองค์ผเู้ จริ ญ ข้าพระองค์ทงหลายนั
ั งสนทนากันด้วย
เรื องการกล่าวโทษของพระเทวทัต ว่า พระเทวทัตตะ
เกียกตะกาย เพือปลงพระชนม์ของพระองค์.

หน้า 85 จาก 85
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
พระศาสดาตรัสว่า ภิกษุทงหลายั พระเทวทัตตะ
เกียกตะกายเพือจะฆ่าเรา ในบัดนีเท่านัน หามิได้. แม้ในกาล
ก่อน ก็ตะเกียกตะกายเหมือนกัน ก็แต่ว่า ไม่สามารถจะฆ่าเรา
ได้ แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี.
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติ ใน
พระนครพาราณสี
โพธิสตฺ โต กุรุงฺคมิโค หุตฺวา เอกสฺ มึ อร ฺ ญายตเน ผลา
ผลานิ ขาทนฺ โต วสติ ฯ
เป็ นกวางเคียวกินผลาผลทังหลายในราวป่ าแห่งหนึง.
ในคราวหนึง กวางนันกินผลมะรื นทีต้นมะรื น อันมีผล
สะพรั ง.
ลําดับนัน มีพรานนังห้างชาวบ้านคนหนึง พิจารณา
รอยเท้าเนือทังหลายแล้ว จึงผูกห้างบนต้นไม้แล้วนังบนห้าง
นัน เอาหอกแทงพวกเนือทีมากินผลไม้ แล้วขายเนือของเนือ
เหล่านันเลียงชีวิต วันหนึง พรานนันเห็นรอยเท้าของพระ
โพธิสตั ว์ทีโคนต้นไม้นนั จึงผูกห้างบนต้นมะรื นนัน แล้ว
บริ โภคอาหารแต่เช้าตรู่ แล้วถือหอกเข้าป่ า ขึนไปยังต้นไม้นนั
แล้วนังห้าง.

หน้า 86 จาก 86
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ฝ่ ายพระโพธิสตั ว์กอ็ อกจากทีอยูแ่ ต่เช้าตรู่ มา ด้วยหวัง


ว่า จักกินผลมะรื น แต่ไม่ได้ผลุนผลัน เข้าไปทีโคนต้นไม้นนั
คิดว่า บางคราว พวกพรานนังห้างจะผูกห้างบนต้นไม้
อันตรายเห็นปานนี มีไหมหนอ จึงได้ยืนพิจารณาอยูแ่ ต่
ภายนอก. ฝ่ ายนายพรานรู้ว่า พระโพธิสตั ว์ไม่มา นังอยูบ่ นห้าง
นันแหละ โยนผลมะรื นให้ตกลงข้างหน้าพระโพธิสตั ว์นน. ั
พระโพธิสตั ว์คิดว่า ผลเหล่านีมาตกลงข้างหน้าเรา
เบืองบนต้นไม้นนั มีนายพรานหรื อหนอ เมือแลดูบ่อยๆ ก็เห็น
นายพราน แต่ทาํ เป็ นไม่เห็น พูดว่า ต้นไม้ผเู้ จริ ญ เมือก่อน
ท่านให้ผลไม้ทงหลายตกลงตรงๆ
ั เหมือนเขย่าผลทีห้อยอยู่
ฉะนัน บัดนี ท่านละทิ งรุ กขธรรมเสี ยแล้ว เมือท่านละทิ งรุ กข
ธรรมเสี ยอย่างนี เราจักเข้าไปยังโคนต้นไม้แม้ตน้ อืน แสวงหา
อาหารของเรา แล้วจึงกล่าวคาถานีว่า
แน่ะไม้มะรื น การทีท่านปล่อยผลไม้ให้กลิ งมานัน เรา
ผูเ้ ป็ นกวางรู้แล้ว เราจะไปสู่ไม้มะรื นต้นอืน เพราะเราไม่ชอบ
ใจผลของท่าน.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า ญาตํ ได้แก่ ปรากฏ คือเกิด
แล้ว. บทว่า เอตํ โยคว่า กรรมนี. บทว่า กุรุงฺคสฺ ส แปลว่า เนือ
หน้า 87 จาก 87
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ชนิดกวาง. บทว่า ยํ ตฺ ว ํ เสปณฺ ณิ เสยฺยสิ ความว่า ดูก่อนต้นไม้
มะรื นผูเ้ จริ ญ การทีท่านปล่อยให้ผลกลิ งตกลงข้างหน้า คือได้
เป็ นผูม้ ีผลกระจายมานัน ทังหมดเกิดเป็ นสิ งลามกสําหรับเนือ
กวาง. ด้วยบทว่า น เม เต รุ จฺจเต นี กวางกล่าวว่า เราไม่ชอบใจ
ผลของท่านผูใ้ ห้ผลอยูอ่ ย่างนี ท่านจงหยุดเถิด เราจักไปทีอืน
ดังนี ได้ไปแล้ว.
ลําดับนัน นายพรานทังทีนังอยูบ่ นห้างนันแล พุ่งหอก
ไปเพือพระโพธิสตั ว์นนั แล้วกล่าวว่า ท่านจงไปเถิด บัดนี เรา
เป็ นคนผิดหวังท่าน. พระโพธิสตั ว์หนั กลับมา ยืนกล่าวว่า
บุรุษผูเ้ จริ ญ แม้บดั นี ท่านผิดหวังเราก็จริ ง แต่ถึงกระนัน ท่าน
จะไม่ผิดหวังมหานรก ๘ ขุม อุสสทนรก ๑๖ ขุม และ
กรรมกรณ์ทงหลายมี ั การจองจํา ๕ ประการเป็ นต้น ก็แหละ
ครันกล่าวอย่างนีแล้ว ก็ได้ไปตามชอบใจ ฝ่ ายนายพรานลง
มาแล้ว ไปตามความชอบใจ.
แม้พระศาสดาก็ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลายั เทวทัตตะ
เกียกตะกายเพือจะฆ่าเรา ในบัดนีเท่านันก็หามิได้ แม้ในกาล
ก่อนก็ตะเกียกตะกายแล้วเหมือนกัน.
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาสื บอนุสนธิ แล้วทรง

หน้า 88 จาก 88
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ประชุมชาดก ว่า
นายพรานนังห้างในครังนัน ได้เป็ น พระเทวทัต
ส่วนกวางในครังนัน ได้เป็ น เราผูต้ ถาคต แล.

จบอรรถกถากุรุงคมิคชาดก

หน้า 89 จาก 89
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
22. กุกกุรชาดก
ว่ าด้ วย สุ นัขทีถูกฆ่า
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระเชตวันวิหาร ทรง
ปรารภการประพฤติประโยชน์แก่พระญาติ จึงตรัสพระธรรม
เทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า เย กุกฺกุรา ดังนี
การประพฤติประโยชน์แก่พระญาตินนั จักมีแจ้ง
ในภัททสาลชาดก ทวาทสนิบาต.
ก็พระศาสดาทรงตังเรื องนี แล้วทรงนําอดีตนิทานมา
ดังต่อไปนี.
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
นครพาราณสี พระโพธิสตั ว์ทรงอาศัยกรรมเห็นปานนัน
บังเกิดในกําเนิดสุนขั ห้อมล้อมด้วยสุนขั มิใช่นอ้ ย อยูใ่ น
สุสานใหญ่.
อยูม่ าวันหนึง พระราชาเสด็จขึนทรงรถเทียมม้าสิ นธพ
ขาว ประดับด้วยเครื องประดับทังปวง เสด็จไปยังพระอุทยาน
ทรงเล่นในพระอุทยานนัน ตลอดส่วนภาคกลางวัน เมือพระ
อาทิตย์อสั ดง จึงเสด็จเข้าพระนคร. ราชบุรุษทังหลายวางสาย
เชือกหนังรถนันตามทีผูกไว้นนแหละทีั พระลานหลวง เมือฝน
หน้า 90 จาก 90
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ตกตอนกลางคืน รถนันก็เปี ยกฝน. พวกสุนขั ทีเลียงไว้ในราช


ตระกูล ลงจากปราสาทชันบน กัดกินหนังและชะเนาะของรถ
นัน.
วันรุ่ งขึน พวกราชบุรุษจึงกราบทูลพระราชาว่า ข้าแต่
สมมติเทพ สุนขั ทังหลายเข้าไปทางท่อนํา กัดกินหนังและ
ชะเนาะของรถนัน พระเจ้าข้า. พระราชาทรงกริ วสุนขั จึงตรัส
ว่า พวกท่านจงฆ่าพวกสุนขั ในทีทีได้เห็นแล้วๆ.
ตังแต่นนมาั ความพินาศใหญ่หลวง จึงเกิดขึนแก่พวก
สุนขั . สุ นขั เหล่านัน เมือถูกฆ่าในทีทีพบเห็น จึงหนีไปป่ าช้า
ได้พากันไปยังสํานักของพระโพธิสตั ว์. พระโพธิสตั ว์ถามว่า
ท่านทังหลายเป็ นอันมาก พากันมาประชุม เหตุอะไรหนอ?
สุนขั เหล่านันกล่าวว่า พระราชาทรงกริ วว่า นัยว่า สุนขั กิน
หนังและชะเนาะของรถภายในพระราชวัง จึงทรงสังให้ฆ่า
สุนขั สุนขั เป็ นอันมากพินาศ มหาภัยเกิดขึนแล้ว.
พระโพธิสตั ว์คิดว่า ในทีทีมีการอารักขา สุนขั
ทังหลายในภายนอก ย่อมไม่มีโอกาส กรรมนีจักเป็ นกรรม
ของพวกสุนขั เลียง ในภายในพระราชนิเวศน์นนเอง. ั ก็ภยั
อะไรๆ ย่อมไม่มีแก่พวกโจร ส่วนพวกทีไม่ใช่โจร กลับได้
หน้า 91 จาก 91
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ความตาย ถ้ากระไร เราจะแสดงพวกโจรแก่พระราชา แล้วให้
ทานชีวิตแก่หมู่ญาติ.
พระโพธิสตั ว์นนปลอบโยนญาติ
ั ทงหลายให้
ั เบาใจ
แล้วกล่าวว่า ท่านทังหลายอย่ากลัว เราจักนําความไม่มีภยั มา
ให้แก่ท่านทังหลาย พวกท่านจงอยูท่ ีนีแหละ จนกว่าเราจะได้
เฝ้ าพระราชา แล้วรําพึงถึงบารมี กระทําเมตตาภาวนาให้เป็ น
ปุเรจาริ กไปในเบืองหน้า แล้วอธิษฐานว่า ใครๆ อย่าได้
สามารถขว้างก้อนดิน หรื อไม้คอ้ นเบืองบนเรา ผูเ้ ดียวเท่านัน
เข้าไปภายในพระนคร.
ครังนัน แม้สตั ว์ตวั หนึงเห็นพระโพธิสตั ว์ แล้วชือว่า
โกรธแล้วแลดู มิได้มี. ฝ่ ายพระราชาทรงสังฆ่าสุนขั แล้ว
ประทับนังในทีวินิจฉัย ด้วยพระองค์เอง. พระโพธิสตั ว์ไปใน
ทีวินิจฉัยนันนันแล แล้ววิ งเข้าไปภายใต้อาสน์ของพระราชา.
ลําดับนัน พวกราชบุรุษ เริ มเพือจะนําพระโพธิสตั ว์นนออกมา

แต่พระราชาทรงห้ามไว้.
พระโพธิสตั ว์นนพั ั กอยูห่ น่อยหนึง แล้วออกจาก
ภายใต้อาสน์ ถวายบังคมพระราชา แล้วทูลถามว่า ได้ยินว่า
พระองค์ทรงให้ฆ่าสุนขั จริ งหรื อ พระเจ้าข้า.

หน้า 92 จาก 92
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

พระราชาตรัสว่า เออ เราให้ฆ่า.


พระโพธิสตั ว์ทลู ถามว่า ข้าแต่พระจอมคน สุนขั
เหล่านันมีความผิดอะไร?
พระราชาตรัสว่า สุนขั ทังหลาย มันกินหนังหุ้มและ
ชะเนาะแห่งรถของเรา.
พระโพธิสตั ว์ทลู ถามว่า พระองค์ทรงรู้จกั สุนขั ตัวที
กินแล้วหรื อ.
พระราชาตรัสว่า ไม่รู้.
พระโพธิสตั ว์ทลู ว่า ข้าแต่สมมติเทพ การไม่ทรงทราบ
โดยถ่องแท้ว่า โจรทีกินหนังชือนี แล้วทรงให้ฆ่าในทีทีได้พบ
เห็นทันที ไม่สมควร พระเจ้าข้า.
พระราชาตรัสว่า เพราะพวกสุนขั มักกัดกินหนังหุ้มรถ
เราจึงสังฆ่าสุนขั ว่า พวกท่านจงฆ่าสุนขั ทีได้พบเห็นทังหมด
เลย.
พระโพธิสตั ว์ทลู ว่า ก็มนุษย์ทงหลายเหล่
ั านันฆ่าสุ นขั
ทังหมดทีเดียวหรื อ หรื อว่า สุนขั แม้ไม่ได้ความตาย ก็มีอยู.่
พระราชาตรัสว่ามี. สุนขั เลียงในตําหนักของเรา ไม่ได้
การถูกฆ่าตาย.
หน้า 93 จาก 93
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
พระมหาสัตว์ทูลว่า ข้าแต่มหาราช พระองค์ได้ตรัสใน
บัดนีทีเดียวว่า เพราะพวกสุนขั มักกัดกินหนังหุ้มรถ เราจึงสัง
ฆ่าสุนขั ว่า พวกท่านจงฆ่าสุนขั ทุกตัวทีได้พบเห็น แต่บดั นี
พระองค์ตรัสว่า สุนขั เลียงในตําหนักของเรา ไม่ได้การถูกฆ่า
ตาย. เมือเป็ นอย่างนัน พระองค์ยอ่ มลุอคติ เช่นฉันทาคติ เป็ น
ต้น. ก็ชือว่า การลุอคติไม่สมควร และไม่เป็ น (ทศพิธ)
ราชธรรม.
ธรรมดา พระราชาผูแ้ สวงหาเหตุและมิใช่เหตุ เป็ นเช่น
กับตาชัง จึงจะควร บัดนี สุนขั เลียงในราชสกุลไม่ได้การตาย
สุนขั ทีทุรพลเท่านันจึงจะได้ เมือเป็ นเช่นนัน อันนีไม่เป็ นการ
ฆ่าสุนขั ทุกตัว แต่อนั นี ชือว่า เป็ นการฆ่าสุนขั ทีทุรพล.
ก็แหละครันทูลอย่างนีแล้ว จึงเปล่งเสียงอันไพเราะ
กราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช สิ งทีพระองค์ทรงกระทํานันไม่เป็ น
ธรรม.
เมือจะแสดงธรรมแก่พระราชา จึงกล่าวคาถานีว่า
สุนขั เหล่าใด อันบุคคลเลียงไว้ในราชสกุล เจริ ญใน
ราชสกุล สมบูรณ์ดว้ ยสี สนั และกําลัง สุนขั เหล่านีนันไม่ถูกฆ่า
พวกเรากลับถูกฆ่าโดยไม่แปลกกัน หามิได้ กลับชือว่า การฆ่า

หน้า 94 จาก 94
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

แต่สุนขั ทังหลายทีทุรพล.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า เย กุกฺกุรา ได้แก่ สุนขั เหล่า
ใด.
เหมือนอย่างว่า ปัสสาวะ แม้ยงั มีนาํ อุ่น ก็เรี ยกว่ามูตร
เน่า. สุ นขั จิ งจอก แม้เกิดในวันนัน ก็เรี ยกว่า สุนขั จิ งจอกแก่.
เถาหัวด้วน แม้ยงั อ่อน ก็เรี ยกว่า เถาหัวเน่า. กายแม้จะมีสี
เหมือนทอง ก็เรี ยกว่า กายเปื อยเน่า ฉันใด. สุนขั แม้มีอายุ ๑๐๐
ปี ก็เรี ยกว่า กุกกุระ ลูกสุนขั ฉันนันเหมือนกัน. เพราะฉะนัน
สุนขั เหล่านันแก่ แต่สมบูรณ์ดว้ ยกําลังกาย ก็เรี ยกว่า กุกกุระ
เหมือนกัน.
บทว่า วฑฺฒา แปลว่า เจริ ญเติบโต. บทว่า โกเลยฺยกา
ได้แก่ เกิดแล้ว มีแล้ว เจริ ญแล้วในราชสกุล. บทว่า วณฺ ณ
พลูปปนฺ นา ได้แก่ สมบูรณ์ดว้ ยสี ร่างกายและกําลังกาย. บทว่า
เตเม น วชฺ ฌา ความว่า สุ นขั เหล่านีนันมีเจ้าของ มีการอารักขา
จึงไม่ถูกฆ่า. บทว่า มยมสฺ ส วชฺ ฌา ความว่า เราทังหลายไม่มี
เจ้าของ ไม่มีการอารักขา เป็ นสุนขั ทีถูกฆ่า. บทว่า นายํ สฆจฺ จา
ความว่า เมือเป็ นอย่างนัน อันนีย่อมไม่ชือว่า มีการฆ่าโดยไม่
แปลกกัน.
หน้า 95 จาก 95
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
บทว่า ทุพฺพลฆาติกายํ ความว่า ส่วนอันนี ย่อมชือว่า
เป็ นการฆ่าอันทุรพล เพราะฆ่าเฉพาะสุนขั ทุรพลทังหลาย.
อธิบายว่า ธรรมดา พระราชาทังหลายควรข่มพวกโจร พวกที
ไม่เป็ นโจรไม่ควรข่ม แต่ในเหตุการณ์นี โทษอะไรๆ ไม่มีแก่
พวกโจร พวกทีไม่ใช่โจรกลับได้ความตาย โอ! ในโลกนี สิ งที
ไม่ควรย่อมเป็ นไป โอ! อธรรมย่อมเป็ นไป.
พระราชาได้ทรงสดับคําของพระโพธิสตั ว์ แล้วจึง
ตรัสว่า ดูก่อนบัณฑิต ก็ท่านรู้หรื อว่า สุนขั ชือโน้นกินหนังหุ้ม
รถ.
พระโพธิสตั ว์กล่าวว่า รู้ พระเจ้าข้า.
พระราชาตรัสว่า สุนขั พวกไหนกิน.
พระโพธิสตั ว์ทลู ว่า พวกสุนขั เลียงทีอยูใ่ นตําหนักของ
พระองค์กิน พระเจ้าข้า.
พระราชาตรัสว่า ท่านต้อง (พิสูจน์) รู้ว่า สุ นขั เหล่านัน
กินอย่างไร.
พระโพธิสตั ว์ทลู ว่า ข้าพระบาทจักแสดงความทีสุนขั
เหล่านันกิน.
พระราชาตรัสว่า จงแสดงเถิด บัณฑิต.

หน้า 96 จาก 96
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

พระโพธิสตั ว์ทลู ว่า พระองค์จงให้นาํ พวกสุนขั เลียง


ในตําหนักของพระองค์มา แล้วให้นาํ เปรี ยงและหญ้าแพรก มา
หน่อยหนึง. พระราชาได้ทรงกระทําอย่างนัน.
ลําดับนัน พระโพธิสตั ว์ให้ขยําหญ้ากับเปรี ยง แล้วทูล
กะพระราชานันว่า ขอพระองค์จงให้สุนขั เหล่านีดืม พระราชา
ทรงให้ทาํ อย่างนันแล้วให้ดืม สุนขั ทังหลายทีดืมแล้วๆ ก็ถ่าย
ออกมา พร้อมกับหนังทังหลาย. พระราชาทรงดีพระทัยว่า
เหมือนพยากรณ์ของพระสัพพัญ ูพุทธเจ้า จึงได้ทรงทําการ
บูชาพระโพธิสตั ว์ ด้วยเศวตฉัตร.
พระโพธิสตั ว์จึงแสดงธรรมแก่พระราชา ด้วยคาถาว่า
ด้วยการประพฤติธรรม ๑๐ ประการอันมาในเตสกุณชาดก มี
อาทิว่า ข้าแต่มหาราชผูบ้ รมกษัตริ ย ์ พระองค์จงประพฤติธรรม
ในพระชนกและชนนี ดังนี แล้วทูลว่า ข้าแต่มหาราช จําเดิม
แต่นีไป พระองค์จงเป็ นผูไ้ ม่ประมาท แล้วให้พระราชาดํารง
อยูใ่ นศีล ๕ จึงได้ถวายคืนเศวตฉัตรแด่พระราชา.
พระราชาได้ทรงสดับธรรมกถาของพระมหาสัตว์
แล้วทรงให้อภัยแก่สตั ว์ทงปวง
ั ทรงเริ มตังนิตยภัต เช่นกับ
โภชนะของพระองค์แก่สุนขั ทังปวง มีพระโพธิสตั ว์เป็ นต้น
หน้า 97 จาก 97
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ทรงตังอยูใ่ นโอวาทของพระโพธิสตั ว์ ทรงกระทําบุญมีทาน
เป็ นต้น ตลอดชัวพระชนมายุ สวรรคตแล้วเสด็จอุบตั ิในเทว
โลก.
กุกกุโรวาทได้ดาํ เนินไปถึงหมืนปี .
ฝ่ ายพระโพธิสตั ว์ดาํ รงอยูต่ ราบชัวอายุ แล้วได้ไปตาม
ยถากรรม.

พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลายั ตถาคต


ประพฤติประโยชน์แก่พระญาติทงหลาย ั ในบัดนีเท่านัน ก็หา
มิได้ แม้ในกาลก่อน ก็ได้ประพฤติแล้วเหมือนกัน.
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาสื บต่ออนุสนธิ แล้ว
จึงทรงประชุมชาดกว่า
พระราชาในกาลนัน ได้เป็ น พระอานนท์
บริ ษทั ทีเหลือนอกนี ได้เป็ นพุทธบริ ษทั
ส่วนกุกกุรบัณฑิต คือ เรา แล.

จบอรรถกถากุกกุรชาดก

หน้า 98 จาก 98
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

23. โภชาชานียชาดก
ว่ าด้ วย ม้ าสิ นธพอาชาไนย
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภภิกษุผลู้ ะความเพียรรู ปหนึง จึงตรัสพระธรรมเทศนานี
มีคาํ เริ มต้นว่า อปิ ปสฺ เสน เสมาโน ดังนี.
ความพิศดารว่า สมัยนัน พระศาสดาตรัสเรี ยกภิกษุนนั
มา แล้วตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตทังหลาย แม้ในกาลก่อน
ได้กระทําความเพียร แม้ในทีอันมิใช่ทีอยู่ แม้ได้รับบาดเจ็บ ก็
ไม่ละความเพียร ดังนีแล้ว ทรงนําอดีตนิทานมา ว่า
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติ อยู่
ในนครพาราณสี พระโพธิสตั ว์บงั เกิดในตระกูลม้าสิ นธพ
ชือ โภชาชานียะ สมบูรณ์ดว้ ยอาการทังปวง ได้เป็ นม้ามงคล
ของพระเจ้าพาราณสี .
พระโพธิสตั ว์นนบริ
ั โภคโภชนะ ข้าวสาลีมีกลิ นหอม
อันเก็บไว้ ๓ ปี ถึงพร้อมด้วยรสเลิศต่างๆ ในถาดทองอันมี
ราคาแสนหนึง ยืนอยูใ่ นภาคพืน อันไล้ทาด้วยของหอมมี
กําเนิด ๔ ประการเท่านัน สถานทียืนนัน วงด้วยม่านผ้ากัมพล

หน้า 99 จาก 99
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
แดง เบืองบนดาดเพดานผ้าอันวิจิตรด้วยดาวทอง ห้อยพวง
ของหอมและพวงดอกไม้ ตามประทีปนําหอม.
ก็ขึนชือว่า พระราชาทังหลายผูไ้ ม่ปรารถนาราชสมบัติ
ในนครพาราณสี ย่อมไม่มี คราวหนึง พระราชา ๗ พระองค์พา
กันล้อมนครพาราณสี ทรงส่งหนังสื อแก่พระเจ้าพาราณสี ว่า
จะให้ราชสมบัติแก่เราทังหลายหรื อจะรบ. พระเจ้าพาราณสี
ให้ประชุมอํามาตย์ทงหลาย
ั แล้วตรัสบอกข่าวนัน แล้วตรัส
ถามว่า ดูก่อนพ่อทังหลาย บัดนี พวกเราจะกระทําอย่างไร?
อํามาตย์ทงหลายกราบทู
ั ลว่า ข้าแต่สมมติเทพ เบืองต้น
พระองค์ยงั ไม่ตอ้ งออกรบก่อน พระองค์จงส่งทหารม้าชือ
โน้นให้กระทําการรบ เมือทหารม้านันไม่สามารถ ข้าพระบาท
ทังหลายจักรู้ในภายหลัง.
พระราชารับสังให้เรี ยกทหารม้านันมา แล้วตรัสว่า
ดูก่อนพ่อ เธอจักอาจกระทํา การรบกับพระราชา ๗ องค์
หรื อไม่.
นายทหารม้ากราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ถ้าข้าพระ
บาทได้มา้ สิ นธพ ชือโภชาชานียะไซร้ พระราชา ๗ พระองค์
จงยกไว้ ข้าพระบาทจักอาจรบกับพระราชาทัวทังชมพูทวีป.

หน้า 100 จาก 100


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

พระราชาตรัสว่า ดูก่อนพ่อ ม้าสิ นธพโภชาชานียะ


หรื อม้าอืนก็ช่างเถิด.
นายทหารม้านันรับพระดํารัสแล้ว ถวายบังคม
พระราชาลงจากปราสาท ให้นาํ ม้าสิ นธพโภชาชานียะมา แม้
ตนก็ผกู สอดเกราะทุกอย่าง เหน็บพระขรรค์ ขึนหลังม้าสิ นธพ
ตัวประเสริ ฐ ออกจากพระนครไปประดุจฟ้ าแลบ ทําลายกอง
พลที ๑ จับเป็ นพระราชาได้องค์หนึง พามามอบให้แก่พลใน
นครแล้วกลับไปอีก ทําลายกองพลที ๒ กองพลที ๓ ก็
เหมือนกัน จับเป็ นพระราชาได้ ๕ องค์อย่างนี ด้วยประการ
ฉะนี แล้วทําลายกองพลที ๖
ในคราวจับพระราชาองค์ที ๖ ม้าสิ นธพโภชาชานียะ
ได้รับบาดเจ็บ เลือดไหล เวทนากล้าเป็ นไป นายทหารม้านันรู้
ว่า ม้าสิ นธพนันได้รับบาดเจ็บ จึงให้มา้ สิ นธพโภชาชานียะ
นอนทีประตูพระราชวัง เริ มทําเกราะให้หลวม เพือจะผูก
เกราะม้าตัวอืน พระโพธิสตั ว์ ทังทีนอนทางข้างทีมีความผาสุก
มาก ลืมตาขึนเห็นนายทหารม้า (ทําอย่างนัน) จึงคิดว่า
นายทหารม้านีจะหุ้มเกราะม้าตัวอืน และม้าตัวนีจักไม่สามารถ
ทําลายกองพลที ๗ จับพระราชาองค์ที ๗ ได้ และกรรมทีเรา
หน้า 101 จาก 101
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ทําไว้แล้ว จักพินาศหมด แม้นายทหารม้าซึ งไม่มีผเู้ ปรี ยบก็จกั
พินาศ แม้พระราชาก็จกั ตกอยูใ่ นเงือมมือของพระราชาอืน
เว้นเราเสี ย ม้าอืนชือว่า สามารถเพือทําลายกองพลที ๗ แล้ว
จับพระราชาองค์ที ๗ ได้ยอ่ มไม่มี ทังๆ ทีนอนอยูน่ นแล ั ให้
เรี ยกนายทหารม้ามา แล้วกล่าวว่า ดูก่อนนายทหารม้าผูส้ หาย
เว้นเราเสี ย ชือว่า ม้าอืนผูส้ ามารถเพือทําลายกองพลที ๗ แล้ว
จับพระราชาองค์ที ๗ ได้ยอ่ มไม่มี เราจักไม่ทาํ กรรมทีเรา
กระทําแล้วให้เสี ยหาย ท่านจงให้เราแลลุกขึนแล้วผูกเกราะ
เถิด
ครันกล่าวแล้ว จึงกล่าวคาถานีว่า
ม้าสิ นธพอาชาไนยถูกลูกศรแทงแล้ว แม้นอนตะแคง
อยูข่ า้ งเดียว ก็ยงั ประเสริ ฐกว่าม้ากระจอก ดูก่อนนายสารถี
ท่านจงประกอบฉันออกรบเถิด.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า อปิ ปสฺ เสน เสมาโน ได้แก่
แม้นอนโดยข้างๆ เดียว. บทว่า สลฺ เลภิ สลฺ ลลีกโต ความว่า
เป็ นผูแ้ ม้ถูกศรทังหลายแล้ว. บทว่า เสยฺโยว วฬวา โภชฺ โฌ
ความว่า ม้ากระจอกซึ งไม่ได้เกิดในตระกูลม้า ม้าสิ นธพ ชือว่า
วฬวะ ม้าโภชาชานียสิ นธพ ชือว่า โภชฌะ ดังนัน ม้าโภชา

หน้า 102 จาก 102


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ชานียสิ นธพนันแหละ แม้ถูกลูกศรแทงแล้ว ก็ยงั ประเสริ ฐ คือ


เลิศ อุดมกว่าม้ากระจอกนัน. ด้วยบทว่า ยุ ฺ ช ม ฺ เว สารถี นี
พระโพธิสตั ว์กล่าวว่า เพราะเหตุทีเราแล แม้จะไปด้วยอาการ
อย่างนี ก็ยงั ประเสริ ฐกว่า ฉะนัน ท่านจงประกอบเราเถิด อย่า
ประกอบม้าตัวอืนเลย.
นายทหารม้าพยุง พระโพธิสตั ว์ให้ลุกขึน พันแผลแล้ว
ผูกสอดเรี ยบร้อย นังบนหลังของพระโพธิสตั ว์นนั ทําลายกอง
พลทับที ๗ จับเป็ นพระราชาองค์ที ๗ แล้วมอบให้แก่พลของ
พระราชา คนทังหลายนํา แม้พระโพธิสตั ว์มายังประตู
พระราชวัง พระราชาเสด็จออก เพือทอดพระเนตรพระ
โพธิสตั ว์นน.ั
พระมหาสัตว์ทูลพระราชาว่า ข้าแต่มหาราช พระองค์
อย่าทรงฆ่าพระราชาทัง ๗ เลย จงให้กระทําสบถแล้วปล่อยไป
พระองค์จงประทานยศทีจะพึงประทานแก่ขา้ พระบาทและ
นายทหารม้า ให้เฉพาะแก่นายทหารม้าเท่านัน การจับ
พระราชา ๗ องค์ได้แล้ว ทําทหารผูก้ ระทําการรบให้พินาศ
ย่อมไม่ควร แม้พระองค์ก็จงทรงบําเพ็ญทาน รักษาศีล ทรง
ครองราชสมบัติโดยธรรม
หน้า 103 จาก 103
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เมือพระโพธิสตั ว์ให้โอวาทแก่พระราชาอย่างนีแล้ว
คนทังหลายจึงถอดเกราะของพระโพธิสตั ว์ออก เมือเกราะสัก
ว่าถูกถอดออกเท่านัน พระโพธิสตั ว์นนดั
ั บไปแล้ว. พระราชา
ทรงให้ทาํ ฌาปนกิจสรี ระของพระโพธิสตั ว์นนได้
ั ประทานยศ
ใหญ่แก่นายทหารม้า ทรงให้พระราชาทัง ๗ พระองค์ ทรง
กระทําสบถเพือไม่ประทุษร้ายพระองค์อีก แล้วทรงส่งไปยังที
ของตน ทรงครองราชสมบัติโดยธรรมโดยสมําเสมอ
ในเวลาสุดสิ นพระชนมายุ ได้เสด็จไปตามยถากรรม.

พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั บัณฑิต
ทังหลายในปางก่อนได้กระทําความเพียร แม้ในทีอันมิใช่บ่อ
เกิดอย่างนี แม้ได้รับบาดเจ็บเห็นปานนีก็ไม่ละความเพียร
ส่วนเธอบวชในศาสนาอันเป็ นเครื องนําออกจากทุกข์เห็นปาน
นี เพราะเหตุไรจึงละความเพียรเสีย แล้วทรงประกาศสัจจะ
ทัง ๔
ในเวลาจบสัจจะ ภิกษุผลู้ ะความเพียรตังอยูใ่ นพระ
อรหัตผล.
ฝ่ ายพระศาสดา ครันทรงนําพระธรรมเทศนานี มาสื บ

หน้า 104 จาก 104


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ต่ออนุสนธิแล้ว จึงทรงประชุมชาดกว่า
พระราชาในครังนัน ได้เป็ น พระอานนท์
นายทหารม้าในครังนัน ได้เป็ น พระสารี บุตร
ส่วนโภชาชานียสิ นธพในครังนัน ได้เป็ น เรา แล.

จบอรรถกถาโภชาชานียชาดก

หน้า 105 จาก 105


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
24. อาชัญญชาดก
ว่ าด้ วย ม้ าอาชาไนยกับม้ ากระจอก
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภภิกษุผลู้ ะความเพียรเหมือนกัน จึงตรัสธรรมเทศนานี มี
คําเริ มต้นว่า ยทา ยทา ดังนี.
ก็พระศาสดาตรัสเรี ยกภิกษุนนมา
ั แล้วตรัสว่า ดูก่อน
ภิกษุ บัณฑิตทังหลายในปางก่อน เป็ นผูแ้ ม้ได้การประหาร ทัง
ในทีอันมิใช่บ่อเกิด ก็ได้กระทําความเพียร แล้วทรงนําอดีต
นิทานมา ดังต่อไปนี
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
นครพาราณสี พระราชา ๗ องค์พากันล้อมพระนครไว้ โดยนัย
มีในเรื องก่อน นันแหละ.
ลําดับนัน นักรบประจํารถคันหนึง เทียมรถมีมา้ สิ นธพ
พีน้อง ๒ ตัวออกจากพระนคร ทําลายกองพล ๖ กองพล ได้
จับพระราชา ๖ องค์ไว้. ขณะนัน ม้าผูพ้ ีได้รับบาดเจ็บ. สารถี
จึงส่งรถมายังประตูพระราชวัง ปลดม้าผูพ้ ีชาย ออกจากรถ ทํา
เกราะให้หลวม แล้วให้นอนตะแคงข้างหนึง เริ มจะสวมเกราะ

หน้า 106 จาก 106


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ม้าตัวอืน. พระโพธิสตั ว์เห็นดังนัน จึงคิดโดยนัยเรื องก่อนนัน


แหละ แล้วให้เรี ยกสารถีมา ทังทีนอนอยูน่ นแล ั ได้กล่าวคาถา
นีว่า
ไม่ว่าเมือใด ทีใด ขณะใด ณ ทีใดๆ ณ เวลาใดๆ ม้า
อาชาไนยใช้กาํ ลังความเร็ ว ม้ากระจอกย่อมถอยหนี .
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า ยทา ยทา ได้แก่ ในกาลใดๆ
ในบรรดาเวลาเช้า เป็ นต้น. บทว่า ยตฺ ถ ได้แก่ ในทีใด คือใน
หนทาง หรื อในสนามรบ. บทว่า ยทา คือ ในขณะใด. บทว่า
ยตฺ ถ ยตฺ ถ ได้แก่ ในสนามรบเป็ นอันมาก เช่นกองพล ๗ กอง.
บทว่า ยทา ยทา ได้แก่ ในกาลใดๆ คือ ในกาลทีได้รับบาดเจ็บ
หรื อไม่ได้รับ. บทว่า อาช ฺ โญ กุรุเต เวคํ ความว่า ม้า
อาชาไนย คือม้าสิ นธพตัวประเสริ ฐ ผูม้ ีสภาวะรู้ทวถึ
ั ง เหตุที
จิตของสารถีชอบใช้กาํ ลังความเร็ ว คือพยายาม ปรารภความ
เพียร. บทว่า หายนฺ ติ ตตฺ ถ วาฬวา ความว่า เมือม้าอาชาไนยนัน
ใช้กาํ ลังความเร็ ว ม้ากระจอก กล่าวคือม้าตัวเมีย นอกนีย่อม
ถอยหนี คือย่อมล่าถอยไป เพราะฉะนัน ท่านจงเทียมเฉพาะ
เราเท่านัน ในรถคันนี.
สารถีประคองพระโพธิสตั ว์ให้ลุกขึน เทียมแล้ว
หน้า 107 จาก 107
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ทําลายกองพลที ๗ พาเอาพระราชาองค์ที ๗ มา. ขับรถมายัง
ประตูพระราชวัง แล้วปลดม้าสิ นธพ.
พระโพธิสตั ว์นอนตะแคงข้างหนึงถวายโอวาทแก่
พระราชา โดยนัยเรื องก่อนนันแลแล้วดับไป. พระราชารับสัง
ให้กระทําฌาปนกิจสรี ระของพระโพธิสตั ว์นนั แล้วกระทํา
สัมมานะแก่สารถีประจํารถ ทรงครองราชสมบัติโดยธรรม
โดยเสมอ เสด็จไปตามยถากรรม.
พระศาสดา ครันทรงนําพระธรรมเทศนานี
มาแล้ว ทรงประกาศสัจจะ ในเวลาจบสัจจะ ภิกษุนนตั ั งอยูใ่ น
พระโสดาปัตติผล. พระศาสดาทรงประชุมชาดก ว่า
พระราชาในกาลนัน ได้เป็ น พระอานนท์
สารถีได้เป็ น พระสารี บุตร
ส่วนม้าได้เป็ น เรา คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล.

จบอรรถกถาอาชัญญชาดก

หน้า 108 จาก 108


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

25. ติตถชาดก
ว่ าด้ วย การเบือเพราะซําซาก
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระเชตวันวิหาร ทรง
ปรารภภิกษุผเู้ คยเป็ นช่างทองรู ปหนึง ซึ งเป็ นสัทธิวิหาริ กของ
พระธรรมเสนาบดี จึงตรัสพระธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า
อ ฺ ญม ฺ เญหิ ติฏฺ เฐหิ ดังนี.
ก็อาสยานุสยญาณย่อมมีแก่พระพุทธเจ้าทังหลาย
เท่านัน ย่อมไม่มีแก่คนอืน เพราะฉะนัน พระธรรมเสนาบดีจึง
ไม่รู้อาสยะคืออัธยาศัย และอนุสยั คือกิเลสอันเนืองอยูใ่ น
สันดานของสัทธิวิหาริ ก เพราะความทีตนไม่มีอาสยานุสย
ญาณ จึงบอกเฉพาะอสุภกรรมฐานเท่านัน อสุภกรรมฐานนัน
ไม่เป็ นสัปปายะแก่สทั ธิวิหาริ กนัน.
เพราะเหตุไร ?
เพราะได้ยินว่า สัทธิวิหาริ กของพระธรรมเสนาบดีนนั
ถือปฏิสนธิในเรื อนของช่างทองเท่านัน ถึง ๕๐๐ ชาติ เมือเป็ น
เช่นนัน อสุภกรรมฐานจึงไม่เป็ นสัปปายะแก่สทั ธิวิหาริ กนัน
เพราะเป็ นผูเ้ คยชินต่อการเห็นทองคําบริ สุทธิเท่านัน เป็ น

หน้า 109 จาก 109


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เวลานาน สัทธิวิหาริ กนันไม่อาจทํา แม้มาตรว่า นิมิตให้
เกิดขึนในกรรมฐานนัน ให้เวลาสิ นไป ๔ เดือน. พระธรรม
เสนาบดี เมือไม่อาจให้พระอรหัตแก่สทั ธิวิหาริ กของตน จึง
คิดว่า ภิกษุนีจักเป็ นพุทธเวไนยแน่นอน เราจักนําไปยังสํานัก
ของพระตถาคต จึงพาสัทธิวิหาริ กนันไปยังสํานักของพระ
ศาสดาด้วยตนเอง แต่เช้าตรู่.
พระศาสดาตรัสถามว่า สารี บุตร เธอพาภิกษุรูปหนึง
มาหรื อหนอ.
พระสารี บุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ ข้า
พระองค์ได้ให้กรรมฐานแก่ภิกษุนี แต่ภิกษุนีไม่อาจทําแม้
มาตรว่านิมิตให้เกิดขึน โดยเวลา ๔ เดือน ข้าพระองค์นนคิ ั ดว่า
ภิกษุนีจักเป็ นพุทธเวไนย ผูท้ ีพระพุทธเจ้าจะพึงทรงแนะนํา จึง
ได้พามายังสํานักของพระองค์ พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสถามว่า สารี บุตร เธอให้กรรมฐาน
ชนิดไหนแก่สทั ธิวิหาริ กของเธอ?
พระสารี บุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระผูม้ ีพระภาคเจ้า ข้า
พระองค์ให้อสุภกรรมฐาน พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า สารี บุตร เธอไม่มีญาณเครื องรู้

หน้า 110 จาก 110


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

อัธยาศัยและอนุสยั ของสัตว์ทงหลาย ั เธอไปก่อนเถิด เวลาเย็น


เธอมา พึงพาสัทธิวิหาริ กของเธอมาด้วย.
พระศาสดาทรงส่งพระเถระไปอย่างนีแล้ว ได้ให้
ผ้านุ่งและจีวรอันน่าชอบใจแก่ภิกษุนนั แล้วทรงพาภิกษุนนั
เข้าไปบิณฑบาตยังบ้าน ให้ของเคียวของฉันอันประณี ต
แวดล้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ กลับมายังพระวิหารอีก ทรง
ยังเวลาส่วนกลางวัน ให้สิ นไปในพระคันธกุฎี พอเวลาเย็น
ทรงพาภิกษุนนเทีั ยวจาริ กไปในวิหาร แล้วทรงนิรมิตสระ
โบกขรณี สระหนึงในอัมพวัน แล้วทรงนิรมิตกอปทุมใหญ่ใน
สระโบกขรณี นนั และทรงนิรมิตดอกปทุมใหญ่ดอกหนึงใน
กอปทุม แม้นนั แล้วรับสังให้นงลงด้ ั วยพระดํารัสว่า ภิกษุ เธอ
จงนังแลดูดอกปทุมนี แล้วเสด็จเข้าพระคันธกุฏี.
ภิกษุนนแลดู
ั ดอกปทุมนันบ่อยๆ. พระผูม้ ีพระภาคเจ้า
ทรงให้ดอกปทุมนันเหี ยว. ดอกปทุมนัน เมือภิกษุนนแลดู ั อยู่
นันแหละ ได้เหี ยวเปลียนสี ไป. ก็เมือเป็ นเช่นนัน กลีบของ
ดอกปทุมนันก็ร่วงไปตังแต่รอบนอก ได้ร่วงไปหมดโดยครู่
เดียว. แต่นนั เกสรก็ร่วงไป เหลืออยูแ่ ต่ฝักบัว.
ภิกษุนนเห็
ั นอยูด่ งั นันจึงคิดว่า ดอกปทุมนีได้งดงาม
หน้า 111 จาก 111
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
น่าดูอยูเ่ ดียวนี เมือเป็ นเช่นนัน สี ของมันก็แปรไป กลีบและ
เกสรร่ วงไป คงอยูแ่ ต่เพียงฝักบัวเท่านัน ความชราถึงแก่ดอก
ปทุมชือเห็นปานนี อย่างไรจักไม่ถึงร่ างกายของเรา สังขาร
ทังหลายไม่เทียงหนอ จึงเริ มเจริ ญวิปัสสนา
พระศาสดาทรงทราบว่า จิตของภิกษุนนขึ ั นสู่
วิปัสสนาแล้ว ประทับอยูใ่ นพระคันธุฎีนนแล ั ทรงเปล่ง
โอภาสแสงสว่างไป แล้วตรัสพระคาถานีว่า
เธอจงตัดความสิ เนหาของตนเสี ย เหมือนคนตัดดอก
โกมุทอันเกิดในสารทกาล เธอจงพอกพูนทางแห่งความสงบ
เพราะพระนิพพาน ตถาคตแสดงไว้แล้ว.

ในเวลาจบคาถา ภิกษุนนบรรลุั พระอรหัต แล้วคิดว่า


เราเป็ นผูพ้ น้ แล้วหนอจากภพทังปวง จึงเปล่งอุทานด้วยคาถา
ทังหลาย มีอาทิว่า
เรานันมีธรรมเครื องอยูอ่ นั อยูจ่ บแล้ว มีฉนั ทะในใจ
บริ บูรณ์แล้ว มีอาสวะสิ นไปแล้ว ทรงไว้ซึงร่ างกายครังสุดท้าย
มีศีลบริ สุทธิ มีอินทรี ยต์ งมั
ั นด้วยดี หลุดพ้นแล้ว เหมือน
พระจันทร์ พน้ จากปากของราหู ฉะนัน.

หน้า 112 จาก 112


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

เราบรรเทามลทินทังปวงอันกระทําความมืด ซึ งมืดมน
อนธการ เพราะโมหะได้เด็ดขาด เหมือนพระอาทิตย์มีรัศมีตงั
พัน ผูส้ ร้างแสงสว่าง ทําความโชติช่วง ด้วยแสงสว่างใน
ท้องฟ้ า ฉะนัน.

ก็แหละครันเปล่งอุทานแล้ว จึงมาถวายบังคมพระผูม้ ี
พระภาคเจ้า ฝ่ ายพระเถระก็มาถวายบังคมพระศาสดา แล้วได้
พาสัทธิวิหาริ กของตนไป.
ข่าวนีเกิดปรากฏในระหว่างภิกษุทงหลาย
ั ภิกษุ
ทังหลายนังพรรณนาพระคุณของพระทศพลอยูใ่ นโรง
ธรรมสภาว่า อาวุโสทังหลาย พระสารี บุตรเถระไม่รู้อธั ยาศัย
ของสัทธิวิหาริ กของตน เพราะไม่มีอาสยานุสยญาณ แต่พระ
ศาสดาทรงทราบ ได้ประทานพระอรหัต พร้อมด้วย
ปฏิสมั ภิทาแก่ภิกษุนนั โดยวันเดียวเท่านัน โอ! ชือว่า
พระพุทธเจ้าทังหลายทรงมีอานุภาพมาก.
พระศาสดาเสด็จมาแล้ว ประทับนังบนอาสนะทีปูลาด
แล้วตรัสถามว่า ภิกษุทงหลาย
ั บัดนี พวกเธอนังสนทนากัน
ด้วยเรื องอะไร?
หน้า 113 จาก 113
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ภิกษุทงหลายกราบทู
ั ลว่า ข้าแต่พระผูม้ ีพระภาคเจ้า
พวกข้าพระองค์นงสนทนากั
ั น ด้วยเรื องอืนหามิได้ แต่นงั
สนทนากัน ด้วยเรื องพระญาณ เครื องรู้อธั ยาศัย และอนุสยั
แห่งสัทธิวิหาริ กของพระธรรมเสนาบดี เฉพาะของพระองค์
เท่านัน.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ข้อนีไม่น่า
อัศจรรย์ บัดนี เรานันเป็ นพระพุทธเจ้าแล้ว ย่อมรู้อธั ยาศัยของ
ภิกษุนนั แม้ในกาลก่อน เราก็รู้อธั ยาศัยของภิกษุนนั
เหมือนกัน.
แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
นครพาราณสี ในกาลนัน พระโพธิสตั ว์อนุศาสน์อรรถและ
ธรรมกะพระราชาพระองค์นน. ั ในกาลนัน พวกคนเลียงม้าให้
ม้ากระจอกขาเขยก อาบก่อนกว่าม้าอืน ณ ท่าทีม้ามงคลของ
พระราชาอาบ. ม้ามงคลถูกให้ลงท่าทีม้ากระจอกอาบ จึง
เกลียดไม่ปรารถนาจะลง. คนเลียงม้ามากราบทูลแด่พระราชา
ว่า ข้าแต่สมมติเทพ ม้ามงคลไม่ปรารถนาจะลงท่านํา พระเจ้า
ข้า.

หน้า 114 จาก 114


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

พระราชาทรงสังพระโพธิสตั ว์ไปว่า ดูก่อนบัณฑิต


ท่านจงไป จงรู้ว่าเพราะเหตุไร ม้าถูกเขาให้ลงท่านําจึงไม่ลง.
พระโพธิสตั ว์ทลู รับพระบัญชา แล้วไปยังฝั งแม่นาํ
ตรวจดูมา้ ก็รู้ว่า ม้าไม่มีโรค จึงใคร่ ครวญว่า เพราะเหตุไรหนอ
ม้านีจึงไม่ลงท่านี จึงคิดว่า ม้าอืนจักถูกอาบทีท่านีก่อน ด้วย
เหตุนนั ม้านันเห็นจะรังเกียจจึงไม่ลงท่า แล้วถามพวกคนเลียง
ม้าว่า ท่านผูเ้ จริ ญ ทีท่านีท่านทังหลายให้มา้ อะไรอาบก่อน.
พวกคนเลียงม้ากล่าวว่า ข้าแต่นาย ให้มา้ กระจอกอาบ
ก่อนกว่าม้าอืน.
พระโพธิสตั ว์รู้อธั ยาศัยของม้านันว่า ม้านีรังเกียจจึง
ไม่ปรารถนาจะอาบทีท่านี เพราะตนเป็ นสัตว์มี (คุณ)สมบัติ
การให้มา้ นีอาบในท่าอืนจึงจะควร จึงกล่าวว่า ท่านผูเ้ ลียงม้าผู้
เจริ ญ แม้ขา้ วปายาสทีปรุ งด้วยเนยใส นําผึง และนําอ้อย เมือ
บุคคลบริ โภคบ่อยๆ ก่อน ย่อมมีความเบือ ม้านีอาบทีท่านี
หลายครัง เบืองต้นพวกท่านจงให้มา้ นันลงยังท่าแม้อืน แล้ว
ให้อาบและดืม จึงกล่าวคาถานีว่า
ดูกรนายสารถี ท่านจงยังม้าให้อาบและดืมนําทีท่า
โน้นบ้าง ท่านีบ้าง แม้ขา้ วปายาสทีบริ โภคบ่อยครัง คนก็ยงั
หน้า 115 จาก 115
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เบือได้.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า อ ฺ ญม ฺ เญหิ แยกศัพท์
ออกเป็ น อ ฺ เญหิ อ ฺ เญหิ แปลว่า อืนๆ. บทว่า ปาเยหิ
(แปลว่าจงให้ดืม) นี เป็ นหัวข้อเทศนา อธิบายว่า จงให้อาบ
และให้ดืม. บทว่า อจฺ จาสนสฺ ส นีเป็ นฉัฏฐีวิภตั ิใช้ในอรรถ
แห่งตติยาวิภตั ิ อธิบายว่า กินยิ ง คือบริ โภคยิ ง. บทว่า
ปายาสสฺ สปิ ตปฺปติ ความว่า ย่อมอิ ม คือเป็ นผูอ้ ิ ม เป็ นผูท้ ีเขา
เลียงดูอิ มแล้ว แม้ดว้ ยข้าวมธุปายาสทีปรุ งด้วยเนยใสเป็ นต้น
ย่อมไม่ถึงความเป็ นผูต้ อ้ งการบริ โภคอีก เพราะฉะนัน ม้าแม้นี
ก็จกั ถึงความพอ เพราะการอาบประจําทีท่านี ท่านจงให้อาบที
ท่าอืนเถิด.
คนเลียงม้าเหล่านัน ได้ฟังคําของพระโพธิสตั ว์นนั
แล้ว จึงให้มา้ ลงท่าอืน ให้ดืมและให้อาบ ในเวลาทีม้าดืมนํา
แล้วอาบ พระโพธิสตั ว์ได้มายังสํานักของพระราชา.
พระราชาตรัสถามว่า ดูก่อนพ่อ ม้าอาบและดืมแล้ว
หรื อ
พระโพธิสตั ว์กราบทูลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่สมมติเทพ.
พระราชาตรัสถามว่า ทีแรก เพราะเหตุไร ม้าจึงไม่

หน้า 116 จาก 116


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ปรารถนา?
พระโพธิสตั ว์กราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ เพราะเหตุ
ชือแม้นี แล้วกราบทูลเหตุทงปวงั พระราชาตรัสว่า โอ! ท่าน
บัณฑิตย่อมรู้อธั ยาศัยชือแม้ของสัตว์เดียรัจฉาน เห็นปานนี
แล้วประทานยศใหญ่แก่พระโพธิสตั ว์ ในเวลาสิ นอายุ ได้เสด็จ
ไปตามยถากรรมแล้ว
ฝ่ ายพระโพธิสตั ว์ก็ไปตามยถากรรมเหมือนกัน.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลายเรารู
ั ้อธั ยาศัย
ของภิกษุนีในบัดนีเท่านันก็หามิได้ แม้ในกาลก่อนก็รู้
เหมือนกัน ครันทรงนําพระธรรมเทศนานี มาสื บต่ออนุสนธิ
แล้ว.
จึงทรงประชุมชาดกว่า
ม้ามงคลในกาลนัน ได้เป็ น ภิกษุรูปนี
พระราชาในกาลนัน ได้เป็ น พระอานนท์
ส่วนอํามาตย์ผเู้ ป็ นบัณฑิตในกาลนัน ได้
เป็ น เราผูต้ ถาคต แล.

จบอรรถกถาติฏฐชาดก
หน้า 117 จาก 117
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
26. มหิฬามุขชาดก
ว่ าด้ วย การเสี ยมสอน
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเวฬุวนั ทรง
ปรารภพระเทวทัต จึงตรัสพระธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า
โปราณโจราน วโจ นิสมฺ ม ดังนี
ความพิศดารว่า พระเทวทัตทําให้อชาตศัตรู กุมาร
เลือมใสแล้ว ยังลาภสักการะให้เกิดขึน อชาตศัตรู กุมารให้
สร้างวิหาร ทีตําบลคยาสี สะเพือพระเทวทัต แล้วนําไปเฉพาะ
โภชนะข้าวสาลีมีกลิ นหอม ซึ งเก็บไว้ ๓ ปี วันละ ๕๐๐ สํารับ
โดยรสเลิศต่างๆ เพราะอาศัยลาภสักการะ บริ วารของพระ
เทวทัต จึงใหญ่ขึน พระเทวทัตพร้อมทังบริ วารอยูใ่ นวิหาร นัน
แหละ.
สมัยนัน มีสหาย ๒ คนผูเ้ ป็ นชาวเมืองราชคฤห์ ใน
สองสหายนัน คนหนึงบวชในสํานักของพระศาสดา คนหนึง
บวชในสํานักของพระเทวทัต สหายทังสองนันย่อมเห็นกัน
และกัน แม้ในทีนันๆ แม้ไปวิหารก็ยงั เห็นกัน
อยูม่ าวันหนึง ภิกษุผเู้ ป็ นนิสิตของพระเทวทัตกล่าวกะ
ภิกษุนอกนีว่า ผูม้ ีอายุ ท่านจะเทียวบิณฑบาตมีเหงือไหลอยู่
หน้า 118 จาก 118
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ทุกวันๆ ทําไม ท่านนังในวิหารทีตําบลคยาสี สะเท่านัน จะได้


บริ โภคโภชนะดีดว้ ยรสเลิศต่างๆ ข้าวปายาสเห็นปานนี ไม่มี
ในวิหารนี ท่านจะมัวเสวยทุกข์อยูท่ าํ ไม ประโยชน์อะไรแก่
ท่าน. การมายังคยาสี สะแต่เช้าตรู่ แล้วดืมข้าวยาคู พร้อมด้วย
แกงอ่อม เคียวของควรเคียว ๑๘ ชนิด แล้วบริ โภคโภชนะดี
ด้วยรสเลิศต่างๆ ไม่ควรหรื อ.
ภิกษุนนถู
ั กพูดบ่อยๆ เป็ นผูป้ ระสงค์จะไป.
จําเดิมแต่นนั จึงไปยังคยาสี สะบริ โภคแล้ว ก็มายังพระ
เวฬุวนั ต่อเมือเวลาสาย ภิกษุนนไม่
ั อาจปกปิ ดไว้ได้ตลอดไป
ไม่ชา้ นัก ข่าวก็ปรากฏว่า ภิกษุนนไปคยาสี
ั สะบริ โภคภัตทีเขา
อุปัฏฐากพระเทวทัต.
ลําดับนัน สหายทังหลายพากันถามภิกษุนนว่ ั า ผูม้ ีอายุ
ได้ยินว่าท่านบริ โภคภัตทีเขาอุปัฏฐากแก่พระเทวทัต จริ ง
หรื อ? ภิกษุนนกล่
ั าวว่า ใครกล่าวอย่างนี. สหายเหล่านันกล่าว
ว่า คนโน้นและคนโน้นกล่าว. ภิกษุนนกล่ ั าวว่า ผูม้ ีอายุ
ทังหลาย ผมไปยังคยาสี สะบริ โภคจริ ง แต่พระเทวทัตไม่ได้ให้
ภัตแก่ผม คนอืนๆ ให้. ภิกษุผสู้ หายกล่าวว่า ผูม้ ีอายุ พระ
เทวทัตเป็ นเสี ยนหนามต่อพระพุทธเจ้า เป็ นผูท้ ุศีล ยังพระเจ้า
หน้า 119 จาก 119
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
อชาตศัตรู ให้เลือมใส แล้วยังลาภสักการะให้เกิดแก่ตนโดยไม่
ชอบธรรม ท่านบวชในศาสนาอันเป็ นเครื องนําออกจากทุกข์
เห็นปานนี แล้วบริ โภคโภชนะอันเกิดขึนแก่พระเทวทัต โดย
ไม่ชอบธรรมเลย มาเถอะ เราทังหลายจักนําท่านไปยัง สํานัก
ของพระศาสดา แล้วพาภิกษุนนมายั ั งโรงธรรมสภา.
พระศาสดาพอทรงเห็นภิกษุนนเท่ ั านัน จึงตรัสถามว่า
ภิกษุทงหลาย
ั พวกเธอพาภิกษุนี ผูไ้ ม่ปรารถนา มาแล้วหรื อ?
ภิกษุทงหลายกราบทู
ั ลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่พระองค์ผู้
เจริ ญ ภิกษุนีบวชในสํานักของพระองค์ แล้วบริ โภคโภชนะ
อันเกิดขึนแก่พระเทวทัต โดยไม่ชอบธรรม.
พระศาสดาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่าเธอ
บริ โภคโภชนะอันเกิดแก่พระเทวทัตโดยไม่ชอบธรรม จริ ง
หรื อ?
ภิกษุนนกราบทู
ั ลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ พระเทวทัต
ไม่ได้ให้ภตั แก่ขา้ พระองค์ คนอืนๆ ให้แก่ขา้ พระองค์ ข้า
พระองค์จึงบริ โภคภัตนัน.
พระศาสดาตรัสว่า ภิกษุ เธออย่ากระทําการหลีกเลียง
ในเรื องนี พระเทวทัตเป็ นผูไ้ ม่มีอาจาระ เป็ นผูท้ ุศีล เธอบวช

หน้า 120 จาก 120


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ในศาสนานี แล้ว คบหาศาสนาของเราอยูน่ นแล ั ยังบริ โภคภัต


ของพระเทวทัตได้อย่างไรเล่า เธอมีปกติคบหาอยูแ่ ม้เป็ นนิตย
กาล ก็ยงั คบหาพวกคนทีเห็นแล้วๆ
ครันตรัสแล้ว จึงทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่
ในนครพาราณสี พระโพธิสตั ว์ได้เป็ นอํามาตย์ของพระเจ้า
พรหมทัตนัน ในกาลนัน ช้างมงคลของพระเจ้าพรหมทัต ชือ
ว่ามหิ ลามุข เป็ นช้างมีศีล สมบูรณ์ดว้ ยอาจาระ มารยาท ไม่
เบียดเบียนใครๆ.
อยูม่ าวันหนึง โจรทังหลายมา ณ ทีใกล้โรงช้างนัน ใน
ลําดับกาลอันเป็ นส่วนราตรี นังปรึ กษาการลัก อยูใ่ นทีไม่ไกล
ช้างนัน ว่า ต้องทําลายอุโมงค์อย่างนี ต้องกระทําการตัดช่อง
ย่องเบาอย่างนี การกระทําอุโมงค์ และการตัดช่องย่องเบา ให้
ปราศจากรกชัฏ ให้ปราศจากพุ่มไม้ เช่นกับหนทาง เช่นกับ
ท่านํา แล้วลักเอาสิ งของไป จึงจะควร บุคคลผูเ้ มือจะลัก ต้อง
ฆ่า และต้องประหารแล้วจึงลัก เมือเป็ นอย่างนี ชือว่าผู้
สามารถเพือจะลุกขึน (ต่อสู)้ จักไม่มี. อันธรรมดาว่า โจรต้อง
เป็ นผูไ้ ม่ประกอบด้วยศีลและอาจาระ ต้องเป็ นคนกักขฬะ
หน้า 121 จาก 121
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
หยาบช้า ป่ าเถือน. ครันปรึ กษากันอย่างนีแล้ว จึงให้กนั และ
กัน เรี ยนเอาแล้วได้พากันไป พวกโจรพากันมาปรึ กษาในที
นัน โดยนัยนี นันแหละหลายวัน คือแม้ในวันรุ่ งขึน แม้ใน
วันรุ่ งขึน.
ช้างได้ฟังคําของโจรเหล่านัน สําคัญว่า ให้เรา
สําเหนียก จึงคิดว่า บัดนี เราต้องเป็ นผูก้ กั ขฬะ หยาบช้า ป่ า
เถือน จึงได้เป็ นผูเ้ ห็นปานนัน เอางวงจับคนเลียงช้าง ผูม้ าแต่
เช้าตรู่ ฟาดทีพืนดินให้ตาย ฆ่าคนทีมาแล้วๆ คือ แม้คนหนึงๆ
พวกราชบุรุษจึงกราบทูลแด่พระราชาว่า ช้างมหิ ลามุขเป็ นบ้า
ฆ่าคนทีพบเห็นแล้วๆ พระเจ้าข้า.
พระราชาทรงส่งพระโพธิสตั ว์ไป ด้วยพระดํารัสว่า
ดูก่อนบัณฑิต เธอจงไป จงรู้ว่า ช้างนันดุร้าย เพราะเหตุไร.
พระโพธิสตั ว์ไปแล้ว รู้ว่า ช้างนันไม่มีโรคในร่ างกาย จึงคิดว่า
เพราะเหตุไรหนอ ช้างนีจึงเกิดเป็ นช้างดุร้าย เมือใคร่ ครวญไป
จึงสันนิษฐานว่า ช้างนีได้ฟังคําของใครๆ ในทีไม่ไกล สําคัญ
ว่า คนเหล่านีให้เราสําเหนียก จึงเป็ นช้างดุร้ายแน่นอน จึงถาม
พวกคนเลียงช้างว่า คนบางพวกเคยกล่าวคําอะไรในตอน
กลางคืน ณ ทีใกล้ชา้ ง มีอยูห่ รื อหนอ?

หน้า 122 จาก 122


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

พวกคนเลียงช้างกล่าวว่า ขอรับ นาย พวกโจรพากัน


มากล่าว.
พระโพธิสตั ว์จึงไปกราบทูลแด่พระราชาว่า ข้าแต่
สมมติเทพ ความพิการไม่มีในร่ างกายแห่งช้างของหลวง ช้าง
นันเกิดเป็ นช้างดุร้าย เพราะได้ฟังถ้อยคําของพวกโจร พะย่ะ
ค่ะ. พระราชาตรัสถามว่า บัดนี ควรจะทําอย่างไร? พระ
โพธิสตั ว์กราบทูลว่า นิมนต์สมณพราหมณ์ผมู้ ีศีลให้นงในโรง ั
ช้าง แล้วกล่าวถึงศีลและอาจาระ จึงจะควร พะย่ะค่ะ.
พระราชาตรัสว่า จงกระทําอย่างนันเถิด พ่อ.
พระโพธิสตั ว์จึงนิมนต์สมณพราหมณ์ทงหลาย ั ผูม้ ีศีล
ให้นงในโรงช้
ั าง แล้วกล่าวว่า ท่านผูเ้ จริ ญ ขอท่านทังหลายจง
กล่าวศีลกถา ว่าด้วยเรื องศีล สมณพราหมณ์เหล่านันนังในที
ไม่ไกลช้าง พากันกล่าวศีลกถาว่า ไม่พึงปรามาสจับต้อง ไม่พึง
ด่าใครๆ ควรเป็ นผูเ้ พียบพร้อมด้วยศีลและอาจาระ เป็ นผู้
ประกอบด้วยขันติ เมตตา และความเอ็นดู
ช้างนันได้ฟังดังนันคิดว่า สมณพราหมณ์เหล่านีให้เรา
ศึกษาสําเหนียก จําเดิมแต่บดั นีไป เราควรเป็ นผูม้ ีศีล แล้วได้
เป็ นผูม้ ีศีล.
หน้า 123 จาก 123
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
แล้วหรื อ? [ ราชา โพธิสตฺ ต ํ ปุจฺฉิ กึ ตาต สี ลวา ชาโตติ
ฯ]
พระโพธิสตั ว์กราบทูลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่สมมติเทพ.
พระราชาตรัสว่า ช้างดุร้ายชือเห็นปานนี อาศัยบัณฑิต
ทังหลาย จึงตังอยูใ่ นธรรมอันเป็ นของเก่าได้ แล้วได้กล่าว
คาถานีว่า
พระยาช้างชือมหิ ลามุข ได้เทียวทุบตีคน เพราะได้ฟัง
คําของพวกโจรมาก่อน พระยาช้างผูอ้ ุดมตังอยูใ่ นคุณทังปวง
ก็เพราะได้ฟังคําของท่านผูส้ าํ รวมดีแล้ว.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า โปราณโจรานํ ได้แก่ พวก
โจรรุ่ นเก่าก่อน.
บทว่า นิสมฺ ม ได้แก่ เพราะฟัง อธิบายว่า เพราะได้ฟัง
คําของพวกโจรมาก่อน.
บทว่า มหิ ลามุโข แปลว่า มีหน้าเช่นกับหน้าช้างพัง
อีกอย่างหนึง ช้างพัง เมือแลดูขา้ งหน้าจึงจะงาม แลดูขา้ งหลัง
ไม่งาม ฉันใด ช้างแม้นนั ก็ฉันนัน เมือแลดูขา้ งหน้า จึงจะงาม
เพราะฉะนัน ชนทังหลายจึงตังชือช้างนันว่า มหิ ลามุข.
บทว่า โปถยมานุจารี ความว่า เทียวติดตามโบยอยู่ คือ

หน้า 124 จาก 124


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ฆ่าอยู่ อีกอย่างหนึง พระบาลีก็อย่างนีแหละ.


บทว่า สุส ฺ ญตานํ ได้แก่ ผูส้ าํ รวมด้วยดี คือมีศีล.
บทว่า คชุตฺตโม ได้แก่ ช้างอุดม คือช้างมงคล.
บทว่า สพฺ พคุเณสุ อฏฺ ฐ ได้แก่ ตังอยูเฉพาะในคุ
่ ณเก่า
ทังปวง.
พระราชาทรงพระดําริ ว่า พระโพธิสตั ว์รู้อธั ยาศัยแม้
ของสัตว์เดียรัจฉานทังหลาย จึงได้พระราชทานยศใหญ่ให้
พระราชานันทรงดํารงอยูต่ ราบชัวพระชนมายุ ได้ไปตาม
ยถากรรมพร้อมกับพระโพธิสตั ว์.

พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ แม้ในกาลก่อน เธอก็


คบหาคนทีพบเห็นแล้วๆ เหมือนกัน เพราะได้ฟังถ้อยคําของ
สมณพราหมณ์ผตู้ งอยู
ั ใ่ นธรรม จึงได้คบหาท่านผูต้ งอยู ั ใ่ น
ธรรม
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาสื บต่ออนุสนธิแล้ว
จึงทรงประชุมชาดกว่า
ช้างมหิ ลามุขในครังนัน ได้เป็ นภิกษุผซู้ ่องเสพฝ่ ายตรง
ข้าม ในบัดนี
หน้า 125 จาก 125
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
พระราชาในครังนัน ได้เป็ น พระอานนท์ ในบัดนี
ส่วนอํามาตย์ในครังนัน ได้เป็ น เราคือพระสัมมาสัม
พุทธเจ้า แล.

จบอรรถกถามหิ ลามุขชาดก

หน้า 126 จาก 126


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

27. อภิณหชาดก
ว่ าด้ วย การเห็นกันบ่ อยๆ
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระเชตวันวิหาร ทรง
ปรารภอุบาสกคนหนึงกับพระเถระแก่ จึงตรัสพระธรรม
เทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า นาลํ กพลํ ปทาตเว ดังนี.
ได้ยินว่า ในนครสาวัตถี มีสหาย ๒ คน บรรดาสหาย
ทังสองนันคนหนึงบวชแล้วได้ ไปยังเรื อนของสหายนอกนี
ทุกวัน สหายนันได้ถวายภิกษาแก่ภิกษุผสู้ หายนัน แม้ตนเองก็
บริ โภคแล้ว ได้ไปวิหารพร้อมกับภิกษุผสู้ หายนัน นันแหละ.
นังสนทนาปราศัยอยูจ่ นพระอาทิตย์อสั ดง จึงกลับเข้าเมือง.
ฝ่ ายภิกษุผสู้ หายนอกนี ก็ตามสหายนันไปจนถึงประตูเมือง
แล้วก็กลับ. ความคุน้ เคยของสหายทังสองนัน เกิดปรากฏใน
ระหว่างภิกษุทงหลาย.

อยูม่ าวันหนึง ภิกษุทงหลายนั
ั งกล่าวถึง ความคุน้ เคย
ของสหายทังสองนัน ในโรงธรรมสภา.
พระศาสดาเสด็จมา แล้วตรัสถามว่า ภิกษุทงหลาย

บัดนี พวกเธอนังสนทนากันด้วยกถาเรื องอะไรหนอ? ภิกษุ

หน้า 127 จาก 127


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
เหล่านันกราบทูลว่า ด้วยกถาเรื องชือนี พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า ภิกษุทงหลาย
ั สหายทังสองนีเป็ นผู้
คุน้ เคยกัน แต่ในบัดนีเท่านัน หามิได้ แม้ในกาลก่อน ก็ได้เป็ น
ผูค้ นุ้ เคยกันเหมือนกัน แล้วทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี.
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
นครพาราณสี ในกาลนัน พระโพธิสตั ว์ได้เป็ นอํามาตย์ของ
พระเจ้าพรหมทัตนัน. ในกาลนัน สุนขั ตัวหนึงไปยังโรงช้าง
มงคล กินเมล็ดข้าวสุกแห่งภัต ทีตกอยูใ่ นทีทีช้างมงคลบริ โภค
สุนขั นันเติบโตด้วยโภชนะนัน นันแล. จึงเกิดความคุน้ เคยกับ
ช้างมงคล บริ โภคอยูใ่ นสํานักของช้างมงคล นันเอง. สัตว์แม้
ทังสองไม่อาจเป็ นไป เว้นจากกัน. ช้างนันเอางวง จับสุนขั นัน
ไสไปไสมาเล่น ยกขึนวางบนกระพองบ้าง.
อยูม่ าวันหนึง มนุษย์ชาวบ้านคนหนึงให้มูลค่าแก่คน
เลียงช้าง แล้วได้พาเอาสุนขั นัน ไปบ้านของตน. ตังแต่นนั ช้าง
นัน เมือไม่เห็นสุ นขั ก็ไม่กิน ไม่ดืม ไม่อาบ. พวกคนเลียงช้าง
จึงกราบทูลเรื องนันแก่พระราชา. พระราชาทรงสังพระ
โพธิสตั ว์ไป ด้วยพระดํารัสว่า บัณฑิต ท่านจงไป จงรู้ว่า
เพราะเหตุไร ช้างจึงกระทําอย่างนัน.

หน้า 128 จาก 128


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

พระโพธิสตั ว์ไปยังโรงช้าง รู้ว่า ช้างเสี ยใจ คิดว่า โรค


ไม่ปรากฏในร่ างกายของช้างนี ก็ความสนิทสนมฐานมิตรกับ
ใครๆ จะพึงมีแก่ชา้ งนัน ช้างนันเห็นจะไม่เห็นมิตรนัน จึงถูก
ความโศกครอบงํา ครันคิดแล้ว จึงถามพวกคนเลียงช้างว่า
ความคุน้ เคยกับใครๆ ของช้างนี มีอยูห่ รื อ?
พวกคนเลียงช้างกล่าวว่า มีจะ้ นาย ช้างนีถึง
ความคุน้ เคยกันมากกับสุนขั ตัวหนึง.
พระโพธิสตั ว์ถามว่า บัดนี สุ นขั ตัวนันอยูท่ ีไหน? พวก
คนเลียงช้างกล่าวว่า ถูกมนุษย์คนหนึงนําไป. พระโพธิสตั ว์
ถามว่า ก็ทีเป็ นทีอยูอ่ าศัยของมนุษย์คนนัน พวกท่านรู้จกั
ไหม? พวกคนเลียงช้างกล่าวว่า ไม่รู้จกั ดอกนาย.
พระโพธิสตั ว์ได้ไปยังสํานักของพระราชา แล้วกราบ
ทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ อาพาธไรๆ ของช้างไม่มี แต่ชา้ งนันมี
ความคุน้ เคยอย่างแรงกล้า กับสุนขั ตัวหนึง ช้างนันเห็นจะไม่
เห็นสุนขั นัน จึงไม่บริ โภค แล้วกล่าวคาถานีว่า
พระยาช้างไม่สามารถจะรับเอาคําข้าว ไม่สามารถจะ
รับเอาก้อนข้าว ไม่สามารถจะรับเอาหญ้า ไม่สามารถจะขัดสี
กาย. ข้าพระบาทมาสําคัญว่า พระยาช้างตัวประเสริ ฐได้ทาํ
หน้า 129 จาก 129
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ความรักใคร่ ในสุนขั เพราะได้เห็นกันเนืองๆ.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า นาลํ แปลว่า ไม่สามารถ.
บทว่า กพลํ ได้แก่ คําข้าวทีให้เฉพาะทีแรก ในเวลาบริ โภค.
บทว่า ปทาตเว แปลว่า เพือรับเอา. พึงทราบการลบ อา อักษร
เนืองด้วยวิธีสนธิการเชือมศัพท์. อธิบายว่า เพือถือเอา. บทว่า
น ปิ ณฺ ฑํ ได้แก่ ไม่สามารถเพือรับเอาแม้กอ้ นภัตทีเขาปันให้.
บทว่า น กุเส ได้แก่ ไม่สามารถรับเอา แม้หญ้าทังหลายทีเขา
ให้กิน. บทว่า น ฆํสิตุ ความว่า ให้อาบอยู่ ก็ไม่สามารถจะขัดสี
แม้ร่างกาย. พระโพธิสตั ว์กราบทูลแด่พระราชา ถึงเหตุทงปวง ั
ทีช้างนันไม่สามารถจะกระทํา อย่างนีแล้ว เมือจะกราบทูลถึง
เหตุทีตนกําหนด ในเพราะช้างนันไม่สามารถ จึงกราบทูลคํา
มีอาทิว่า ม ฺ ญามิ ข้าพระบาท สําคัญว่า ดังนี.
พระราชาทรงสดับคําของพระโพธิสตั ว์นนแล้ ั ว จึง
ตรัสถามว่า ดูก่อนบัณฑิต บัดนี ควรกระทําอย่างไร? พระ
โพธิสตั ว์กราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ได้ยินว่า มนุษย์ผหู้ นึง
พาเอาสุนขั ผูเ้ ป็ นสหายของช้างมงคลแห่งข้าพระบาททังหลาย
ไป. ขอพระองค์จงให้คนเทียวตีกลอง ประกาศว่า ชนทังหลาย
แม้เห็นสุนขั นันในเรื อนของคนใด คนนันจะมีสินไหมชือนี

หน้า 130 จาก 130


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ดังนี พระเจ้าข้า. พระราชาทรงให้กระทําอย่างนัน. บุรุษนันได้


สดับข่าวนัน จึงปล่อยสุนขั . สุนขั นันรี บไป ได้ไปยังสํานักของ
ช้างทีเดียว. ช้างเอางวงจับสุนขั นันวางบนกระพอง ร้องไห้รํา
ไร แล้วเอาลงจากกระพอง เมือสุนขั นันบริ โภค ตนจึงบริ โภค
ภายหลัง.
พระราชาทรงพระดําริ ว่า พระโพธิสตั ว์รู้อธั ยาศัยของ
สัตว์เดียรัจฉาน จึงได้ประทานยศใหญ่แก่พระโพธิสตั ว์.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ภิกษุสองรู ปนี
เป็ นผูค้ นุ้ เคยกัน ในบัดนีเท่านัน หามิได้ แม้ในกาลก่ อน ก็ได้
เป็ นผูค้ นุ้ เคยกันมาแล้ว.
ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีมาแล้ว ทรงเปลียน
แสดงด้วย กถาว่าด้วยอริ ยสัจ ๔ ทรงสื บอนุสนธิ แล้วทรง
ประชุมชาดก. ชือว่าการเปลียนมาแสดง กถาว่าด้วย สัจจะ ๔
นี ย่อมมีแม้ทุกชาดกทีเดียว แต่เราทังหลายจักแสดงการ
เปลียนกลับมาแสดง กถาว่าด้วย อริ ยสัจ ๔ เฉพาะในชาดก ที
ปรากฏอานิสงส์แก่บุคคลนัน เท่านันแล.
สุนขั ในกาลนัน ได้เป็ น อุบาสก ในบัดนี
ช้างในกาลนัน ได้เป็ น พระเถระแก่ ในบัดนี
หน้า 131 จาก 131
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
พระราชาในกาลนัน ได้เป็ น พระอานนท์ ในบัดนี
ส่วนบัณฑิตผูเ้ ป็ นอํามาตย์ได้เป็ น เรา แล.

จบอรรถกถาอภิณหชาดก

หน้า 132 จาก 132


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

28. นันทิวิสาลชาดก
ว่ าด้ วย การพูดดี
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภการพูดเสียดแทงให้เจ็บใจของพวกภิกษุฉพั พัคคีย ์ จึง
ตรัสพระธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า มนุ ฺ ญเมว ภา
เสยฺย ดังนี.
ความพิศดารว่า สมัยนัน พวกภิกษุฉพั พัคคีย ์ เมือ
กระทําการทะเลาะ ย่อมขู่ ย่อมตะเพิด ย่อมทิ มแทง ย่อมด่า
ด้วย เรื องสําหรับด่า ๑๐ ประการ.
ภิกษุทงหลายจึ
ั งกราบทูลแด่พระผูม้ ีพระภาคเจ้า
พระผูม้ ีพระภาคเจ้ารับสังให้เรี ยกภิกษุฉพั พัคคียม์ า
แล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ได้ยินว่า พวกเธอกระทํา
การทะเลาะ จริ งหรื อ? เมือพวกภิกษุฉพั พัคคียก์ ราบทูลว่า จริ ง
พระเจ้าข้า. จึงทรงติเตียน แล้วตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ชือ
ว่าวาจาหยาบ กระทําแต่ความฉิ บหายให้ ไม่เป็ นทีพอใจแม้
แห่งสัตว์เดียรัจฉาน แม้ในกาลก่อน สัตว์เดียรัจฉานตัวหนึง
ย่อมยังคนผูร้ ้องเรี ยกตนด้วยคําหยาบ ให้พ่ายแพ้ดว้ ยทรัพย์พนั

หน้า 133 จาก 133


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
หนึง แล้วจึงทรงนําอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี.
ในอดีตกาล มีพระราชาพระนามว่า คันธา
ระ ครองราชสมบัติอยูใ่ นเมืองตักกสิลา แคว้นคันธาระ พระ
โพธิสตั ว์บงั เกิดในกําเนิดโค. ครังในกาลทีพระโพธิสตั ว์เป็ น
ลูกโคหนุ่มนันเอง. พราหมณ์คนหนึงได้พระโพธิสตั ว์นนั จาก
สํานักของทายกผูใ้ ห้ทกั ษิณา ตังชือว่า นันทิวิสาล แล้วตังไว้
ในฐานะบุตร รักใคร่ มาก ให้ขา้ วยาคูและภัตเป็ นต้น บํารุ งเลียง
แล้ว.
พระโพธิสตั ว์เจริ ญวัยแล้ว คิดว่า พราหมณ์นีปรนนิ บตั ิ
เราได้โดยยาก ชือว่า โคอืน ผูม้ ีธุระเสมอเช่นกับเรา ย่อมไม่มี
ในชมพูทวีปทังสิ น. ถ้ากระไร เราพึงแสดงกําลังของตน แล้ว
พึงให้ค่าเลียงดูแก่พราหมณ์.
วันหนึง พระโพธิสตั ว์นนกล่
ั าวกะพราหมณ์ว่า
พราหมณ์ท่านจงไป จงเข้าไปหาโควินทกเศรษฐีนนั แล้ว
กล่าวว่า โคพลิพทั ของเรายังเกวียนร้อยเล่มซึ งผูกติดๆ กันให้
เคลือนไปได้ ท่านจงกระทําการเดิมพันด้วยทรัพย์พนั
กหาปณะ พราหมณ์นนจึ ั งไปยังสํานักของเศรษฐี สังสนทนา
ขึนว่า ในนครนี โคของใครเพียบพร้อมด้วยเรี ยวแรง.

หน้า 134 จาก 134


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ลําดับนัน เศรษฐีจึงกล่าวกะพราหมณ์นนว่ ั า ของคน


โน้น และของคนโน้น แล้วกล่าวว่า ก็ทวทั ั งนคร โคชือว่าเช่น
กับด้วยโคทังหลายของเรา ย่อมไม่มี. พราหมณ์กล่าวว่า โค
ของเราตัวหนึงสามารถให้เกวียนร้อยเล่มผูกติดๆ กันเคลือน
ไปได้ มีอยู.่ เศรษฐีกล่าวว่า คฤหบดี โคเห็นปานนี จะมีแต่
ไหน. พราหมณ์กล่าวว่า มีอยูใ่ นเรื อนของเรา. เศรษฐีกล่าวว่า
ถ้าอย่างนัน ท่านจงกระทําเดิมพัน.
พราหมณ์กล่าวว่า ดีละ ข้าพเจ้าจะทํา แล้วได้กระทํา
เดิมพันด้วยทรัพย์พนั กหาปณะ พราหมณ์นนยั ั งเกวียนร้อยเล่ม
ให้เต็มด้วยทราย กรวด และหิ นเป็ นต้น แล้วจอดไว้ตามลําดับ
กัน แล้วผูกเกวียนทุกเล่มเข้าด้วยกัน ด้วยเชือกสําหรับผูกเพลา
แล้วให้โคนันทิวิสาลอาบนํา แล้วเจิมด้วยของหอม ประดับ
พวงมาลาทีคอ แล้วเทียมเฉพาะตัวเท่านันทีทูบเกวียนเล่มแรก
ตนเองนังทีทูบเกวียน เงือปฏักขึน แล้วกล่าวว่า เจ้าโคโกง จง
ลากไป เจ้าโคโกง จงนําไป.
พระโพธิสตั ว์คิดว่า พราหมณ์นีร้องเรี ยกเราผูไ้ ม่โกง
ด้วยวาทะว่าโกง จึงได้ยืนทําเท้าทัง ๔ ให้นิ ง เหมือนเสา.
ทันใดนัน เศรษฐีจึงให้พราหมณ์นาํ ทรัพย์พนั
หน้า 135 จาก 135
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
กหาปณะมา.
พราหมณ์แพ้ (พนัน) ด้วยทรัพย์พนั กหาปณะ จึงปลด
โคแล้วไปเรื อน ถูกความโศกครอบงํา จึงได้นอน. โคนันทิ
วิสาลเทียวไปแล้วกลับมา เห็นพราหมณ์ถูกความโศกครอบงํา
จึงเข้าไปหา แล้วกล่าวว่า พราหมณ์ ท่านนอนหลับหรื อ.
พราหมณ์กล่าวว่า เราแพ้พนันด้วยทรัพย์พนั กหาปณะ
จะมีความหลับมาแต่ไหน.
โคนันทิวิสาลกล่าวว่า ท่านพราหมณ์ ฉันอยูใ่ นเรื อน
ของท่านมาตลอดกาล มีประมาณเท่านี เคยทําภาชนะอะไรๆ
แตก เคยเหยียบใครๆ หรื อเคยถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ในทีอัน
ไม่ควร มีอยูห่ รื อ.
พราหมณ์กล่าวว่า ไม่มดี อกพ่อ.
ลําดับนัน โคนันทิวิสาลกล่าวว่า เมือเป็ นเช่นนัน
เพราะเหตุไร ท่านจึงเรี ยกฉัน ด้วยวาทะว่าโคโกง นันเป็ นโทษ
ของท่านเท่านัน โทษของฉันไม่มี ท่านจงไป จงทําเดิมพันด้วย
ทรัพย์ ๒,๐๐๐ กหาปณะกับเศรษฐีนนั ขออย่างเดียว ท่านอย่า
เรี ยกฉันผูไ้ ม่โกง ด้วยวาทะว่าโคโกง.
พราหมณ์ได้ฟังคําของโคนันทิวิสาลนันแล้ว ไป

หน้า 136 จาก 136


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

กระทําเดิมพันด้วยทรัพย์ ๒,๐๐๐ กหาปณะ แล้วผูกเกวียนร้อย


เล่มติดกัน โดยนัยอันมีแล้วในก่อน ประดับโคนันทิวิสาล แล้ว
เทียมเกวียนเล่มแรกเข้าทีทูบเกวียน.
ถามว่า เทียมอย่างไร?
ตอบว่า พราหมณ์ผกู แอกให้แน่นทีทูบเกวียน แล้ว
เทียมโคนันทิวิสาลเข้าทีปลายแอกข้างหนึง แล้วเอาเชือกทีทูบ
เกวียน พันปลายแอกข้างหนึง แล้วใส่ไม้คาํ ยันปลายแอก เพลา
และเชิงเกวียน เอาเชือกนันผูกให้แน่นแล้วจอดไว้ ก็เมือ
กระทําอย่างนี แอกย่อมไม่เคลือนไปทางโน้นทางนี โคตัว
เดียวเท่านัน อาจลากไปได้.
ลําดับนัน พราหมณ์นงบนทูั บเกวียน ลูบหลังโคนันทิ
วิสาลนัน พลางกล่าวว่า โคผูเ้ จริ ญ พ่อจงไป โคผูเ้ จริ ญ พ่อจง
ลากไป. พระโพธิสตั ว์ลากเกวียนร้อยเล่มทีผูกติดกัน ด้วยกําลัง
แรงครังเดียวเท่านัน ให้เกวียนเล่มทีตังอยูข่ า้ งหลังไปตังอยูใ่ น
ทีของเกวียนซึ งตังอยูข่ า้ งหน้า โควินทกเศรษฐีแพ้ แล้วได้ให้
ทรัพย์ ๒,๐๐๐ กหาปณะแก่พราหมณ์ มนุษย์แม้อืนๆ ก็ได้ให้
ทรัพย์เป็ นอันมากแก่พระโพธิสตั ว์ ทรัพย์ทงหมดนั
ั นได้เป็ น
ของพราหมณ์ทงนั ั น พราหมณ์นนอาศั ั ยพระโพธิสตั ว์ จึงได้
หน้า 137 จาก 137
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ทรัพย์เป็ นอันมาก ด้วยประการอย่างนี .
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ชือว่าคําหยาบ
ไม่เป็ นทีชอบใจของใครๆ แล้วทรงติเตียนพวกภิกษุฉพั พัค
คีย ์ แล้วทรงบัญญัติสิกขาบท เป็ นพระผูต้ รัสรู้พร้อมเฉพาะ
แล้ว จึงตรัสพระคาถานีว่า
บุคคลพึงกล่าวแต่คาํ ทีน่าพอใจเท่านัน ไม่พึงกล่าวคํา
ทีไม่น่าพอใจ ในกาลไหนๆ เมือพราหมณ์กล่าวคําทีน่าพอใจ
โคนันทิวิสาลได้ลากเอาภาระหนักไปได้ ทําพราหมณ์ผนู้ นให้ ั
ได้ทรัพย์ดว้ ย ตนเองก็เป็ นผูป้ ลืมใจเพราะการช่วยเหลือนัน
ด้วย.

บรรดาบทเหล่านัน บทว่า มนุ ฺ ญเมว ภาเสยฺย ความ


ว่า บุคคลเมือจะกล่าวกับคนอืน พึงกล่าวเฉพาะปิ ยวาจาอัน
อ่อนหวานอ่อนโยน เป็ นทีน่าพอใจไพเราะ เว้นจากโทษ ๔
ประการ.
บทว่า ครุ ภารํ อุททฺ ธริ ความว่า โคนันทิวิสาล เมือ
พราหมณ์กล่าวคําทีไม่น่าพอใจ ก็ไม่ลากภาระ เมือพราหมณ์
กล่าวคําเป็ นทีรัก น่าพอใจในภายหลัง จึงลากภาระหนักไปให้

หน้า 138 จาก 138


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ถึง. ก็ ท อักษร ในบทว่า อุททฺ ธริ นันในคาถานี เป็ นอักษรทํา


การเชือมบท โดยการเชือมพยัญชนะแล.

พระศาสดา ครันทรงนําพระธรรมเทศนานีว่า มนุ ฺ ญ


เมว ภาเสยฺย มาด้วยประการฉะนีแล้ว จึงทรงประชุมชาดกว่า
พราหมณ์ในกาลนัน ได้เป็ น พระอานนท์
ส่วนโคนันทิวิสาลได้เป็ น เราคือพระสัมมาสัมพุทธ
เจ้า แล.
จบอรรถกถานันทิวิสาลชาดก

หน้า 139 จาก 139


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
29. กัณหชาดก
ว่ าด้ วย ผู้เอาการเอางาน
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภยมกปาฏิหาริ ย ์ จึงตรัสพระธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้น
ว่า ยโต ยโต ครุ ธุรํ ดังนี.
ยมกปาฏิหาริ ยน์ นพร้
ั อมกับการเสด็จลงจากเทวโลก
จักมีแจ้งในสรภังคชาดก เตรสนิบาต.
ก็เมือพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกระทํายมกปาฏิหาริ ย ์
แล้วเสด็จอยูใ่ นเทวโลก ในวันมหาปวารณาเสด็จลงทีประตู
เมืองสังกัสสะ แล้วเสด็จเข้าไปยังพระเชตวันมหาวิหาร พร้อม
ด้วยบริ วารใหญ่.
ภิกษุทงหลายประชุ
ั มกันในโรงธรรมสภา นังกล่าวถึง
พระคุณของพระศาสดา ว่า อาวุโสทังหลาย ชือว่าพระตถาคต
มีธุระไม่มีผเู้ สมอ คนอืนชือว่าผูส้ ามารถเพือจะนําเอาธุระที
พระตถาคตนําไปแล้ว ย่อมไม่มี. ครู ทงั ๖ กล่าวว่า พวกเรา
เท่านันจักกระทําปาฏิหาริ ย ์ พวกเราเท่านันจักกระทํา
ปาฏิหาริ ย ์ แม้ปาฏิหาริ ยอ์ ย่างหนึ งก็ไม่ได้ทาํ . น่าอัศจรรย์ พระ
ศาสดาทรงมีธุระไม่มีผเู้ สมอ.
หน้า 140 จาก 140
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

พระศาสดาเสด็จมา แล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ


ทังหลาย บัดนี พวกเธอนังสนทนากันด้วยเรื องอะไรหนอ?
ภิกษุทงหลายกราบทู
ั ลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ พวก
ข้าพระองค์นงสนทนากั
ั นด้วยเรื องอืนหามิได้ นังสนทนากัน
ด้วยเรื องพระคุณเฉพาะของพระองค์ชือเห็นปานนี .
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ใครๆ จัก
ไม่ได้นาํ ไปซึ งธุระทีเรานําไปแล้ว ในบัดนีเท่านัน ก็หามิได้
แม้ในกาลก่อน เราแม้บงั เกิดในกําเนิดเดียรัจฉาน ก็ไม่ได้
ใครๆ ผูม้ ีธุระเสมอกับตน แล้วทรงนําอดีตนิทานมา
ดังต่อไปนี
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
นครพาราณสี พระโพธิสตั ว์ถือปฏิสนธิในกําเนิดโค ครันใน
เวลาทียังเป็ นลูกโคหนุ่มนันแล เจ้าของทังหลายอยูใ่ นเรื อน
ของหญิงแก่คนหนึง กําหนดค่าเช่าทีอยูอ่ าศัย จึงได้ให้ลูกโค
นัน. หญิงแก่นนปฏิั บตั ิลูกโคหนุ่มนันด้วยข้าวยาคูและภัตเป็ น
ต้น ตังไว้ในฐานะบุตร ให้เติบโตแล้ว. ลูกโคนันปรากฏชือ
ว่า อัยยิกากาฬกะ. ก็โคนันเจริ ญวัยแล้ว เป็ นผูม้ ีสีเหมือนดอก
อัญชัน เทียวไปกับโคบ้าน ได้เป็ นผูถ้ ึงพร้อมด้วยศีลและอาจา
หน้า 141 จาก 141
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ระ. พวกเด็กชาวบ้านจับทีเขาบ้าง ทีหูบา้ ง ทีคอบ้าง โหนบ้าง
จับทีหางเล่นบ้าง ดึงมาบ้าง นังบนหลังบ้าง.
วันหนึง โคนันคิดว่า มารดาของเรายากจน ตังเราไว้
ในฐานเป็ นบุตร เลียงดูมาโดยลําบาก ถ้ากระไร เราทําการ
รับจ้าง ปลดเปลืองมารดานีให้พน้ จากความยากจน.
จําเดิมแต่นนั โคนันเทียวทําการรับจ้าง.
อยูม่ าวันหนึง บุตรพ่อค้าเกวียนคนหนึงมีเกวียน ๕๐๐
เล่ม ไปประจวบเอาท่าทีไม่ราบเรี ยบ โคทังหลายของพ่อค้า
เกวียนนัน ไม่สามารถจะยังเกวียนทังหลายให้ขา้ มขึนได้ โค
ทังหลายในเกวียน ๕๐๐ เล่ม ทีเจ้าของเอาแอกมาเทียมต่อๆ
กัน ก็ไม่ได้อาจเพือจะให้เกวียน แม้เล่มเดียวข้ามขึนไปได้.
ฝ่ ายพระโพธิสตั ว์กบั พวกโคชาวบ้าน เทียวไป ณ ทีใกล้ท่า.
ฝ่ ายบุตรพ่อค้าเกวียนก็เป็ นผูร้ ู้สูตรโค เขาใคร่ ครวญอยู่
ว่า ในระหว่างโคเหล่านี โคอุสภอาชาไนยผูส้ ามารถยังเกวียน
เหล่านีให้ขา้ มพ้น มีอยูห่ รื อหนอ? ได้เห็นพระโพธิสตั ว์แล้ว
คิดว่า นีโคอาชาไนยจักอาจยังเกวียนทังหลายของเราให้ขา้ ม
พ้นได้ ใครหนอเป็ นเจ้าของโคตัวนี จึงถามพวกคนเลียงโคว่า
ท่านผูเ้ จริ ญ ใครหนอเป็ นเจ้าของโคตัวนี เราจักเทียมโคนีใน

หน้า 142 จาก 142


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

เกวียนทังหลาย เมือเกวียนทังหลายอันโคนีให้ขา้ มขึนได้ จัก


ให้ค่าจ้าง.
พวกคนเลียงโคเหล่านันกล่าวว่า ท่านทังหลายจงจับ
มันเทียมเถิด เจ้าของโคตัวนีในทีนีไม่มี บุตรพ่อค้าเกวียนนัน
จึงเอาเชือกผูกพระโพธิสตั ว์นนที
ั จมูกแล้วดึง ไม่ได้อาจแม้จะ
ให้เคลือนไหวได้.
ได้ยินว่า พระโพธิสตั ว์ไม่ได้ไปด้วยคิดว่า เมือบอก
ค่าจ้าง เราจักไป. บุตรพ่อค้าเกวียนรู้ความประสงค์ของพระ
โพธิสตั ว์นนั จึงกล่าวว่า นาย เมือท่านให้เกวียน ๕๐๐ เล่มข้าม
ขึนแล้ว เราจักเก็บเกวียนละ ๒ กหาปณะให้เป็ นค่าจ้างแล้วจัก
ให้ ๑,๐๐๐ กหาปณะ. ในกาลนัน พระโพธิสตั ว์ได้เดินไปเอง
ทีเดียว.
ลําดับนัน บุรุษทังหลายจึงเทียมพระโพธิสตั ว์นนทีั
เกวียนทังหลาย. ทีนนั พระโพธิสตั ว์ยกเกวียนนันขึนโดยกําลัง
แรงครังเดียวเท่านัน ให้เกวียนไปตังอยูบ่ นบก ยังเกวียน
ทังหมดให้ขา้ มขึน โดยอุบายนี. บุตรพ่อค้าเกวียนเก็บ
กหาปณะหนึงต่อเกวียนเล่มหนึงๆ กระทําทรัพย์ ๕๐๐
กหาปณะให้เป็ นห่อมีภณั ฑะ แล้วผูกทีคอของพระโพธิสตั ว์
หน้า 143 จาก 143
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
นัน.
พระโพธิสตั ว์นนคิ
ั ดว่า บุตรพ่อค้าเกวียนนีไม่ให้
ค่าจ้างแก่เรา ตามทีกําหนดไว้. บัดนี เราจักไม่ให้บุตรพ่อ
เกวียนนันไป จึงได้ไปยืนขวางทางข้างหน้าเกวียนเล่มแรกสุด
คนทังหลาย แม้จะพยายามเพือให้หลีกไป ก็ไม่ได้อาจเพือจะ
ให้พระโพธิสตั ว์นนหลี
ั กไป. บุตรพ่อค้าเกวียนคิดว่า โคนีเห็น
จะรู้ว่า ค่าจ้างของตนหย่อนไป จึงเก็บ ๒ กหาปณะในเกวียน
เล่มหนึงๆ ผูกทรัพย์ ๑,๐๐๐ กหาปณะ ให้เป็ นห่อมีภณ ั ฑะ
แล้วคล้องทีคอ โดยกล่าวว่า นีเป็ นค่าจ้างในการยังเกวียนให้
ข้ามขึนของท่าน.
พระโพธิสตั ว์นนพาเอาห่
ั อทรัพย์พนั หนึง ได้ไปยัง
สํานักของมารดา พวกเด็กชาวบ้านได้ไปยังสํานักของพระ
โพธิสตั ว์ ด้วยคิดกันว่า นีชืออะไรทีคอของโคอัยยิกากาฬกะ.
พระโพธิสตั ว์นนถูั กเด็กชาวบ้านติดตาม จึงหนีไปไกลได้ไป
ยังสํานักของมารดา. ก็เพราะให้เกวียน ๕๐๐ เล่มข้ามขึน จึง
ปรากฏเป็ นผูเ้ หน็ดเหนือย มีตาทังสองข้างแดง.
ยายเห็นถุงทรัพย์ ๑,๐๐๐ ทีคอของพระโพธิสตั ว์นนั
จึงกล่าวว่า พ่อ นี เจ้าได้มา ณ ทีไหน แล้วถามพวกเด็ก

หน้า 144 จาก 144


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ชาวบ้าน ได้ฟังเนือความนันแล้ว จึงกล่าวว่า พ่อ เราต้องการ


เลียงชีวิต ด้วยค่าจ้างทีเจ้าได้มาหรื อ เพราะเหตุไร เจ้าจึงเสวย
ทุกข์เห็นปานนี จึงให้พระโพธิสตั ว์อาบนําอุ่น เอานํามันทาทัว
ร่ างกาย ให้ดืมนํา ให้บริ โภคโภชนะอันเป็ นสัปปายะ ในเวลา
สิ นชีวิต ได้ไปตามยถากรรมพร้อมกับพระโพธิสตั ว์.
ฝ่ ายพระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย
ั ตถาคต
เป็ นผูม้ ีธุระไม่มีผเู้ สมอ ในบัดนีเท่านัน ก็หามิได้ แม้ในกาล
ก่อน ก็เป็ นผูม้ ีธุระไม่มีผเู้ สมอเหมือนกัน ครันทรงนําพระ
ธรรมเทศนานี มาแล้ว จึงทรงสื บต่ออนุสนธิ เป็ นพระผูต้ รัสรู้
พร้อมเฉพาะแล้ว ตรัสพระคาถานีว่า
ในทีใดๆ มีธุระหนัก ในทีใดมีร่องทางลุ่มลึก ในกาล
นัน ชนทังหลายย่อมเทียมโคดําทีเดียว โคดํานันก็นาํ เอาธุระ
นันไปได้ โดยแท้.
บรรดาบทเหล่านัน บทว่า ยโต ยโต ครุ ธุรํ ความว่า
ในทีใดๆ มีธุระหนัก คือหยาบ โคพลิพทั อืนๆ ไม่อาจยกขึน
ได้.
บทว่า ยโต คมฺ ภีรวตฺ ตนี ความว่า ชือว่า วตฺ ตนิ ทาง
เพราะเป็ นทีไปของคน คําว่า วัตตนิ นี เป็ นชือของหนทาง.
หน้า 145 จาก 145
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
อธิบายว่า ในทีใดมีหนทาง ชือว่าลึก เพราะมีนาํ และโคลนมาก
หรื อเพราะความเป็ นทางขรุ ขระและชัน.
ศัพท์ว่า อสฺ สุ. ในบทว่า ตทาสฺ สุ กณฺ หํ ยุ ฺ ชนฺ ติ นี เป็ น
เพียงนิบาต. อธิบายว่า ในกาลนัน ย่อมเทียมโคดํา ท่านกล่าว
คําอธิบายไว้ว่า ในกาลใดมีธุระหนัก และมีหนทางลึก ในกาล
นัน ชนทังหลายจึงเอาโคพลิพทั ตัวอืนออกไป แล้วเทียมโคดํา
เท่านัน.
ศัพท์ว่า อสฺ สุ แม้ในบทว่า สฺ วาสฺ สุ ตํ วหเต ธุรํ นี ก็เป็ น
ศัพท์นิบาตเหมือนกัน. อธิบายว่า โคดํานันย่อมนําธุระนันไป.
พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงแสดงว่า ดูก่อนภิกษุทงหลาย ั
ในกาลนัน โคดําเท่านันนําธุระนันไป ดังนี ด้วยประการอย่าง
นีแล้ว ทรงสื บต่ออนุสนธิ ประชุมชาดกว่า
หญิงแก่ในครังนัน ได้เป็ น ภิกษุณีอุบลวรรณา
ส่วนโคอัยยิกากาฬกะได้เป็ น เรา แล.

จบอรรถกถากัณหชาดก

หน้า 146 จาก 146


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

30. มุณิกชาดก
ว่ าด้ วย ลักษณะของผู้มีอายุยืน
พระศาสดา เมือประทับอยูใ่ นพระวิหารเชตวัน ทรง
ปรารภการประเล้าประโลมของเด็กหญิงอ้วน จึงตรัสพระ
ธรรมเทศนานี มีคาํ เริ มต้นว่า มา มุณิกสฺ ส ดังนี.
เรื องการประเล้าประโลมนันจักมีแจ้งในจุลลนา
รทกัสสปชาดก เตรสนิบาต.
ก็พระศาสดาตรัสถามภิกษุนนว่ ั า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่า
เธอเป็ นผูก้ ระสันจะสึ กจริ งหรื อ?
ภิกษุนนทู
ั ลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริ ญ. พระ
ศาสดาตรัสถามว่า เพราะอาศัยอะไร? ภิกษุนนกราบทู ั ลว่า
เพราะอาศัยการประเล้าประโลมของเด็กหญิงอ้วน พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เด็กหญิงอ้วนนัน
กระทําความพินาศแก่เธอ ในบัดนีเท่านันก็หามิได้ แม้ในกาล
ก่อน ในวันวิวาห์ของเด็กหญิงอ้วนนี เธอก็ถึงความสิ นชีวิต ถึง
ความเป็ นแกงอ่อมของมหาชน แล้วทรงนําอดีตนิทานมา
ดังต่อไปนี

หน้า 147 จาก 147


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ในอดีตกาล เมือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
นครพาราณสี พระโพธิสตั ว์บงั เกิดในกําเนิดโค ในบ้านของ
กุฏ ุ มพีคนหนึง ในหมู่บานแห่
้ งหนึง โดยมีชือว่า มหา
โลหิ ต ฝ่ ายน้องชายของพระโพธิสตั ว์ ได้เป็ นผูช้ ือว่า จูฬ
โลหิ ต ธุระการงานในตระกูลนันนันแล ย่อมดําเนินไปได้
เพราะอาศัยโค ๒ ตัวพีน้องนัน นันเอง.
ก็ในตระกูลนัน มีเด็กหญิงคนหนึง. กุลบุตรชาวเมือง
คนหนึง ขอเด็กหญิงนันเพือบุตรของตน. บิดามารดาของ
เด็กหญิงนัน ให้ขา้ วยาคูและภัตเลียงดูสุกร ชือว่า มุณิกะ ด้วย
หวังว่า แกงอ่อมจักมีเพือแขกทังหลายผูม้ าในวันวิวาห์ของ
เด็กหญิง.
โคจูฬโลหิ ตเห็นดังนัน จึงถามพีชายว่า ธุระการงานใน
ตระกูลนี เมือจะดําเนินไป ก็อาศัยเราพีน้องทังสอง จึงดําเนิน
ไปได้ แต่คนเหล่านีให้เฉพาะแต่หญ้าและใบไม้แก่พวกเรา
กลับปรนเปรอสุกรด้วยข้าวยาคูและภัต ด้วยเหตุไรหนอ สุกร
นีจึงได้ยาคูและภัตนัน.
ลําดับนัน โคผูพ้ ีจึงกล่าวแก่โคจูฬโลหิ ตผูน้ อ้ งว่า
ดูก่อนพ่อจูฬโลหิ ต เจ้าอย่าริ ษยาโภชนะของสุกรนันเลย สุกร

หน้า 148 จาก 148


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

นีกําลังบริ โภคภัตเป็ นเหตุตาย ในวันวิวาห์ของกุมาริ กา สุกรนี


จักเป็ นแกงอ่อมสําหรับแขกผูม้ า เพราะเหตุนนั ชนเหล่านีจึง
เลียงดูสุกรนี โดยล่วงไป ๒-๓ วันแต่นีไป คนทังหลายจักพา
กันมา เมือเป็ นอย่างนัน เจ้าจักได้เห็นสุกรนัน ถูกจับทีเท้า
ทังหลาย ดึงออกมาจากใต้เตียง ถูกเขาฆ่ากระทําแกงและ
กับข้าว เพือแขกทังหลาย แล้วกล่าวคาถานีว่า
ท่านอย่าริ ษยาหมูมุณิกะเลย มันกินอาหาร อันเป็ นเหตุ
ให้เดือดร้อน ท่านจงเป็ นผูม้ ีความขวนขวายน้อย กินแต่แกลบ
เถิด นีเป็ นลักษณะแห่งความเป็ นผูม้ ีอายุยืน.

บรรดาบทเหล่านัน บทว่า มา มุณิกสฺ ส ปิ หยิ ความว่า


ท่านอย่ายังความริ ษยาให้เกิดขึนในโภชนะของหมูมุณิกะ คือ
อย่าริ ษยาต่อหมูมุณิกะ ว่า หมูนีบริ โภคโภชนะดี ได้แก่อย่า
ปรารถนาเป็ นอย่างหมูมุณิกะว่า เมือไรหนอ แม้เราก็จะมี
ความสุขอย่างนี เพราะหมูมุณิกะนีบริ โภคอาหาร อันเป็ นเหตุ
เดือดร้อน.
บทว่า อาตุรนฺ นานิ ได้แก่ โภชนะเป็ นเหตุให้ตาย.
บทว่า อปฺโปสฺ สุโก ภุสงฺ ขาท ความว่า ท่านจงเป็ นผูม้ ี
หน้า 149 จาก 149
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
ความขวนขวายน้อยในโภชนะของหมูมุณิกะนัน จงบริ โภค
แกลบทีตนได้เถิด.
บทว่า เอตํ ทีฆายุลกฺขณํ ความว่า นีเป็ นเหตุแห่งความ
เป็ นผูม้ ีอายุยืน.

แต่นนั ไม่นานนัก คนเหล่านันก็พากันมา ฆ่าหมูมุณิ


กะแล้วแทงโดยประการต่างๆ พระโพธิสตั ว์กล่าวกะโคจูฬ
โลหิ ตว่า พ่อ เจ้าเห็นหมูมุณิกะแล้วหรื อ.
โคจูฬโลหิ ตกล่าวว่า ข้าแต่พี ผลแห่งการบริ โภคของ
หมูมุณิกะฉันเห็นแล้ว ของสักว่าหญ้า ใบไม้และแกลบเท่านัน
ของพวกเรา อุดม ไม่มีโทษ และเป็ นลักษณะแห่งความเป็ นผูม้ ี
อายุยืน กว่าภัตของหมูมุณิกะ โดยร้อยเท่า พันเท่า.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ แม้ในกาลก่อน เธอก็
อาศัยกุมาริ กานีถึงความสิ นชีวิต แล้วถึงความเป็ นแกงอ่อม
ของมหาชน ด้วยประการอย่างนีแล. ครันทรงนําพระธรรม
เทศนานีมาแล้ว จึงทรงประกาศสัจจะทังหลาย. ในเวลาจบ
สัจจะ ภิกษุผกู้ ระสันอยากสึก ดํารงอยูใ่ นโสดาปัตติผล. แม้
พระศาสดาก็ทรงสื บอนุสนธิ แล้วทรงประชุมชาดกว่า

หน้า 150 จาก 150


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

มุณิกสุกรในครังนัน ได้เป็ น ภิกษุผกู้ ระสันจะสึ ก


กุมาริ กานีแหละได้เป็ น กุมาริ กาอ้วน
โคจูฬโลหิ ตได้เป็ น พระอานนท์
ส่วนโคมหาโลหิ ตได้เป็ น เรา แล.

จบอรรถกถามุณิกชาดกที๓๐.
จบ กุรุงควรรคที ๓.
-----------------------------------------------------

รวมชาดกทีมีในวรรคนี คือ
๑. กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วย กวางกุรุงคะ
๒. กุกกุรชาดก ว่าด้วย สุนขั ทีถูกฆ่า
๓. โภชาชานียชาดก ว่าด้วย ม้าสิ นธพอาชาไนย
๔. อาชัญญชาดก ว่าด้วย ม้าอาชาไนยกับม้ากระจอก
๕. ติตถชาดก ว่าด้วย การเบือเพราะซําซาก
๖. มหิ ฬามุขชาดก ว่าด้วย การเสียมสอน
๗. อภิณหชาดก ว่าด้วย การเห็นกันบ่อยๆ
๘. นันทิวิสาลชาดก ว่าด้วย การพูดดี
หน้า 151 จาก 151
ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา
๙. กัณหชาดก ว่าด้วย ผูเ้ อาการเอางาน
๑๐. มุณิกชาดก ว่าด้วย ลักษณะของผูม้ ีอายุยืน
-----------------------------------------------------
อ่าน เนือความในพระไตรปิ ฎก
http://www.84000.org/tipitaka/atita100/v.php?B=27&A=197&Z=21
1
ดาวน์โหลด พระไตรปิ ฎกฉบับธรรมทาน
บันทึก ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
หากพบข้อผิดพลาด กรุ ณาแจ้งได้ที DhammaPerfect@yahoo.com

หน้า 152 จาก 152


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

ขอขอบคุณทุกท่านทีติดตามผลงานของพีเจียบ ไม่วา่ กี
เล่มทีวางขายในรู ปแบบ ebook และในรู ปเล่มของหนังสื อ
ขอขอบคุณจากใจ ไม่มีสิ งใดจะมอบให้นอกจากจะ
พยายามนําเสนอแต่สิ งทีดีเพือเป็ นเพือนคลายเหงาให้กบั ทุก
ท่านค่ะ
ขอขอบคุณทุกการดาวโหลดนะคะ สามารถติดต่อ
พูดคุยกับพีได้ เพียงแค่เข้าไปใน google แล้วคียค์ าํ ว่า “คีตะ
ธารา” ก็จะสามารถติดตามผลงานและเข้าไปพูดคุยกันใน เฟส
บุคได้แล้วค่ะ

https://www.facebook.com/keetatara
https://www.facebook.com/fukukorean
https://www.facebook.com/khainiyai

หน้า 153 จาก 153


ชาดก เล่ม 2
เรี ยบเรี ยงโดย คีตะธารา / ฉัตรราชา

หน้า 154 จาก 154

You might also like