Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 65

คูมือ แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อน

ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community: PLC)
ฉบับเผยแพร 7 มกราคม 2562

ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน
ศึกษานิเทศก
กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
คํานํา
PLC หรือ ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ เปนเรื่องที่หลาย ๆ ทานคงเคยไดยิน ไดฟงและไดรับการอบรม
กันมามากในชวงสองปที่ผานมา นอกจาก PLC จะมีความสําคัญในการเปนกระบวนการหนึ่งที่ใชเพื่อพัฒนาวิชาชีพ
ครูที่สงผลตอคุณภาพผูเรียนแลว PLC ยังมีความเกี่ยวของกับความกาวหนาในวิชาชีพครูไมวาจะเปนเรื่องของ
วิทยฐานะ ตามเกณฑ ว21/2560 และการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของครู ตามเกณฑ ว20/2561 ในดานที่ 3
การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ตลอดจนเกี่ยวของกับมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ในมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญอีกดวย ดังนั้น PLC จึงเปนสิ่งที่ครูทุก
คนตองทํา! แต ที่ ผ านมาแต ละโรงเรียนหรือคุณครูแตละทาน อาจมีความเขาใจและการปฏิบัติเกี่ยวกับ PLC
แตกตางกันไปตามสถาบันหรือแหลงขอมูลอางอิงที่ไดศึกษาคนควากันมา ซึ่งอาจทําใหผูบริหารและคุณครูหลายๆ
ทานยังสับสน หรือขาดความเขาใจและแนวปฏิบัติที่ถูกตอง ชัดเจน ที่จะนําไปสูการปฏิบัติไดจริง
แมวาในปจจุบันการทํา PLC ของแตละโรงเรียนจะมีรูปแบบที่แตกตางกันไปตามบริบทของโรงเรียนและ

at
ยังไมมีการกําหนดรูปแบบที่ชัดเจนออกมาจากหนวยงานที่เกี่ยวของ แตอยางไรครูก็ตองทํา PLC ดวยเหตุนี้จึงได

aw
เรี ยบเรี ยงเอกสารคู มื อแนวทางการดํ าเนิ นการขั บ เคลื่ อ นชุ ม ชนการเรี ยนรู ท างวิ ชาชี พ (PLC) ฉบั บ นี้ ขึ้ น
โดยพัฒนาขึ้นจากแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study) ที่นํามาสูแนวทางที่งายตอ
riy
การนําไปปฏิบัติจริงในบริบทของโรงเรียนและมีความสอดคลองกับหลักเกณฑตางๆ พรอมแบบฟอรมและตัวอยาง
อยางละเอียด เพื่อเปนแนวทางที่จะเปนประโยชนตอผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูที่สนใจตอไป
Pi

ขอขอบพระคุ ณ รศ.ดร. สิ ริ พั น ธุ สุ ว รรณมรรคา และคณาจารย คณะครุศ าสตร จุ ฬ าลงกรณ


มหาวิทยาลัย ที่ไดกรุณาใหความรู ความเขาใจและคําแนะนําเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson
Study) ผานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ และชวยพิจารณาเอกสารฉบับนี้ใหมคี วามถูกตองและสมบูรณมากขึน้
it

ขอขอบพระคุณ ผูอํานวยการจุฑาธินี สิงหรัญ รองผูอํานวยการ ดร.รัตนจําเรียง เพชรแกว และ


w

คณะครูโรงเรียนพุทธจักรวิทยา ที่ไดใหโอกาสในการไปศึกษา เยี่ยมชมการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson


ob

Study) ผานชุม ชนการเรียนรูทางวิชาชีพของโรงเรียนพุท ธจักรวิทยา โดยความรวมมือกับคณะครุศาสตร


จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทําใหไดเห็นถึงการนําไปสูการปฏิบัติจริงในหองเรียนมากยิ่งขึ้น ตลอดจนรวมวิพากษ
r.K

แบบฟอรมตางๆ ในการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพในเอกสารฉบับนี้ใหสมบูรณมากยิ่งขึ้น
ขอขอบพระคุณ ดร.พิ รุ ณ ศิ ริ ศัก ดิ์ ผูชวยผูอํานวยการฝายวิชาการ โรงเรียนราชินีบน ผูที่มีความ
D

เชี่ยวชาญและประสบการณตรงในดาน PLC ที่ไดกรุณาตรวจสอบความถูกตองและเหมาะสมของเอกสารฉบับนี้


ขอขอบคุณคณะครูโ รงเรียนนนทรีวิท ยา โรงเรียนกุนนทีรุท ธารามวิท ยาคม โรงเรียนศรีพ ฤฒา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี และโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม ที่ไดให
ความรวมมือในการทดลองใช ชวยสะทอนผลและใหคําแนะนําในการนําแนวทางตามเอกสารนี้ไปใช
ขอขอบคุณ ครูสุพรรณวดี ประสงค โรงเรียนสุราษฏรพิทยา 2 ครูจินดา พราหมณชู โรงเรียนทุงใหญ
เฉลิมราชอนุสรณ รัชมังคลาภิเษฏ และครูณัชกฤต เกื้อทาน โรงเรียนอํานาจเจริญ ที่ไดรวมแบงปนความรูและ
ประสบการณในการทํา PLC จากประสบการณตรงตามบริบทของโรงเรียน
ขอขอบคุณ ดร.รัตติมา พานิชอนุรักษ ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 และ
ผอ.วีระศักดิ์ ศรี สั งข ผูอํานวยการกลุมนิเทศฯ สพม.2 ที่ ไดกรุณาใหแนวคิดและคําแนะนํ า ตลอดจนสงเสริม
และสนับสนุนในการจัดทําเอกสารฉบับนี้ขึ้นจนเสร็จสมบูรณ
หากมีขอบกพรอง หรือผิดพลาดประการใดตองขออภัยไว ณ ที่นี้
ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน
6 มกราคม 2562
สารบัญ

เรื่อง หนา
PLC คืออะไร? 1
ทําไมครูถึงตองทํา PLC? 1
PLC มีหลักการอยางไร? 2
PLC มีองคประกอบอะไรบาง? 3
การทํา PLC มีวิธีการอยางไร? 5
บันทึกหลักฐาน รองรอยที่ตอ งมีในการทํา PLC ตามเกณฑตา งๆ มีอะไรบาง? 10
จะนํา PLC ไปสูการปฏิบัตจิ ริงไดอยางไร? 13

at
ขั้นตอนที่ 1 สรางระบบกิจกรรม PLC ในโรงเรียน 14
ขั้นตอนที่ 2 การรวมกลุม PLC และขอจัดตั้งกลุม PLC 20

aw
ขั้นตอนที่ 3 การคนหาปญหา สาเหตุของปญหาและรวมกัน
หาแนวทางในการแกปญ  หาของกลุม PLC 26
riy
ขั้นตอนที่ 4 จัดทําปฏิทินการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC 28
ขั้นตอนที่ 5 ดําเนินการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC ตามปฏิทิน 31
Pi

ขั้นตอนที่ 6 รายงานจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมใน PLC ของสมาชิก 37


ขั้นตอนที่ 7 รายงานผลการสรางและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู
it

จากการสวนรวมใน PLC 40
w

บรรณานุกรม 43
ภาคผนวก 44
ob

ตัวอยางการสรางชุมชนแหงการเรียนรูท างวิชาชีพ 45
r.K

***************************************************
D

หาคําตอบไดจากเอกสารฉบับนี้ !
แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
1

PLC คืออะไร?

PLC ย อ มาจากคํ า ว า Professional Learning Community หรื อ แปลเป น ภาษาไทยได ว า


ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ หมายถึง การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง รวมทํา และรวมเรียนรูรวมกันของครู
ผูบริหาร และนักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธแบบกัลยาณมิตร สูคุณภาพการจัดการเรียนรู
ที่เนนความสําเร็จหรือประสิทธิผลของผูเรียนเปนสําคัญ และความสุขของการทํางานรวมกันของสมาชิกในชุมชน
(กระทรวงศึกษาธิการ: 2560)

ทําไมครูถึงตองทํา PLC

at
1. เพื่อเปนเครือ่ งมือที่ชวยใหการแลกเปลี่ยนเรียนรูทมี่ ีประสิทธิภาพ

aw
2. เพื่อเสริมสรางวัฒนธรรมการทํางานแบบรวมมือ รวมพลังของทุกฝายในการพัฒนาการเรียน
riy
การสอนสูคุณภาพของผูเรียน
Pi

3. เพื่อใหเกิดการพัฒนาวิชาชีพครูดวยการพัฒนาผูเ รียนของตนเองอยางตอเนื่องและสถานศึกษา
กลายเปนองคการแหงการเรียนรู
it
w

4. เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ
ob

เรียนรู ตามมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเ รียนเปนสําคัญ สูผ ลลัพธตาม


มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน ของมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
r.K

5. เพื่อเปนสวนหนึ่งของการประเมินวิทยฐานะตามหลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากร
D

ทางการศึกษา ตําแหนงครูมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21


ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ในดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ซึ่งไดกําหนดไววา ในชั่วโมงการ
ปฏิบัติงานต องมี ชั่วโมงการมี สวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพในแตละปไมนอยกวา 50 ชั่วโมง
นอกจากนี้ยังกําหนดวาครูตองเขารับการพัฒนาในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนาใหการรับรอง จํานวนไมนอย
กวา 12 ชั่ วโมง แต ไม เกิ น 20 ชั่วโมงตอป รวมภายในระยะเวลา 5 ป จํานวน 100 ชั่วโมง กรณีมีชั่วโมง
การพัฒนาไมครบ 100 ชั่ วโมง ให นําชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional
Learning Community : PLC) สวนที่เกินจาก 50 ชั่วโมงในแตละปมานับรวมได

6. เพื่อ เป นส วนหนึ่ ง ของหลัก เกณฑ และวิธีก ารประเมินผลการปฏิบัติง านของขาราชการครูและ


บุคลากรทางการศึกษา ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/ว 20 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2561
ซึ่งไดมีการกําหนดเปนตัวชี้วัดหนึ่งของการประเมินที่ครูจะตองมีผลการสงเสริมการเรียนรูทางวิชาชีพ
และเปนผูมีสวนรวมการเรียนรูทางวิชาการในชุมชนแหงการเรียนรู
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
2

PLC มีหลักการอยางไร?

คุรุสภาไดใชหลักการของชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพในการสงเสริมคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพ
ครูในชวง 3 ป ที่ ผ านมา (พ.ศ. 2559-2561) คือ การใหความสําคัญ กับ การสงเสริม ชุมชนแหงการเรียนรู
ทางวิชาชีพ (PLC) ผานกิจกรรมสงเสริมสนับสนุนเงินอุดหนุนแกผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา หนวยงาน
ทางการศึกษา และกลุมสมาชิกวิชาชีพครู ใน “โครงการสงเสริมสนับสนุนเครือขายพัฒนาวิชาชีพและบุคลากร
ทางการศึ ก ษาแบบชุ ม ชนแห ง การเรี ย นรู ท างวิ ช าชี พ (Professional Learning Community: PLC)
โดยมีหลักการ 5 ประการ ดังนี้
1. Shared values and norms คื อ การสร า งโอกาสให เ กิด การแลกเปลี่ย นเรีย นรูกันและกัน
ในเรื่องคุณคา อุดมการณและวิสัยทัศน และการปฏิบัติที่ดี
2. Collective focus on student learning คือ การรวมมือรวมพลังมุงสูการเรียนรูของผูเรียน

at
3. Collaboration คือ การทํางานแบบรวมมือรวมพลังชวยเหลือเกื้อกูลกันของทุกคนในการเรียนรู

aw
และสรางสรรคการปฏิบัติงาน
4. Expert advice and study visit คือ การเรียนรูของครูและชุมชนที่ตองใจกวาง เปดรับคําชี้แนะ
จากผูเชี่ยวชาญ ซึ่งอาจจะเปนคณาจารยจากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก หรือคนในชุมชนที่เชี่ยวชาญ และ
riy
มีการปฏิบัติที่ดี และมีการศึกษาชั้นเรียนหรือมีการเยี่ยมชมการปฏิบัติง านจริง ในหองเรียนโดยเฉพาะหอ ง
ของเพื่อนครูในโรงเรียนเดียวกัน
Pi

5. Reflection dialogue คื อ การมีสุนทรียสนทนาเพื่อ สะทอ นผลการปฏิบัติง าน เนนหลัก การ


การสื่อสารแบบสองทางเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูเกื้อกูลระหวางกัน
it
w
ob

Shared values and norms


r.K

Reflection dialogue
Collective focus on
D

student learning

Expert advice
and study visit Collaboration

ภาพแสดง 5 องคประกอบพื้นฐานของชุมชนแหงการเรียนรูท างวิชาชีพ


ปรับจาก คุณลักษณะ 5 ประการในการพัฒนาเครือขาย PLC โดย คุรุสภา
(สิริพันธุ สุวรรณมรรคา, ม.ป.ป.)

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
3

PLC มีองคประกอบอะไรบาง?

ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการศึกษามีองคประกอบ 2 ลักษณะ คือ องคประกอบ


ของสมาชิกและองคประกอบของกิจกรรม ดังนี้ (สิริพันธุ สุวรรณมรรคา, ม.ป.ป.)
1. องคประกอบของสมาชิก PLC
สมาชิกในชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ ประกอบดวย บุคคลที่เกี่ยวของกัน 5 กลุม ดังนี้
1) ครูผูสอน (Model teacher) คือ ครูผูเขียนและพัฒนาบทเรียนของตน
2) ครู เ พื่ อนร วมเรี ย นรู (Buddy teacher) คือ เพื่อ นครูผูรวมพัฒนาบทเรียนโดยการชี้แนะและ
เปนพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) และรวมมือรวมพลังเรียนรูกับครูผูสอนทั้งกอนและหลังสอน
3) ครูพี่เลี้ยง (Mentor) เชน หัวหนากลุมสาระ ครูเชี่ยวชาญและครูภูมิปญญาของโรงเรียน เปนตน
4) ผู บริ หารสถานศึ กษา (Administrator) เชน ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ และกรรมการ

at
สถานศึกษา เปนตน

aw
5) ผู เ ชี่ ย วชาญ (Expert) เช น ศึ ก ษานิ เ ทศก คณาจารย ม หาวิ ท ยาลั ย ปราชญ ช าวบ า น หรือ
เปนผูปกครองที่มีความเชี่ยวชาญในดานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการศึกษา เปนตน
riy
Pi
it
w
ob
r.K
D

ในการทําแตละกิจกรรมเพื่อสรางความเขมแข็งของความเปนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
ไมจําเปนวาสมาชิกตองครบทั้ง 5 กลุมจึงจะทํากิจกรรมได สําหรับกิจกรรมการพัฒนาบทเรียนรวมกันตองมี
บุคคลสําคัญอยางนอย 2 กลุม คือ ครูผูสอน (Model teacher) และครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy Teacher)
โดย 2 กลุ ม นี้ คื อ กั ล ยาณมิ ต รร ว มเรี ย นรู กั น และกั น ความแตกต า งของ 2 กลุ ม นี้ จ ะเป น ต น ทุ น และ
สภาพแวดลอมที่ดีในการเกื้อกูลการรวมมือรวมพลังกันเรียนรูทางวิชาชีพ ความแตกตางในระดับชั้น อายุ และ
ประสบการณ หรือกลุมสาระที่สอน มีคุณคาประโยชนเอื้อการเรียนรูกันและกัน เพื่อใหเขาใจองคประกอบและ
บทบาทการเกื้อกูลของสมาชิกกลุมตาง ๆ มากยิ่งขึ้น

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
4

2. องคประกอบของกิจกรรม PLC
กิจกรรมสําคัญที่สมาชิกในชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพตองดําเนินการ ไดแก

1) สุนทรียสนทนา/สื่อสารสรางสรรคสังคมอุดมการณ
สมาชิกในชุมชนตองเคารพ ใหเกียรติ รับฟงกัน “การสื่อสารแบบ
พูดจาปฏิสัมพันธ (Interactive Communication)” เปนพื้นฐานของการสื่อสาร
ประชาสัมพันธ คือการสรางความสัมพันธที่รับฟงและเรียนรูกันและกัน ทั้งใน
ห องเรี ยน ห องพั กครู และในโรงเรียน รวมถึ งระหว างโรงเรียนกั บทองถิ่น
“การรับฟงเสียงของผูอื่น” นับเปนจุดเริ่มตนของการเรียนรู และเปนพื้นฐาน
ของระบอบประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นจากการสื่อสารแบบพูดจาปฏิสัมพันธแบบให
เกียรติกันและกันวาทุกคนลวนมีความสําคัญ (ซาโต มานาบุ, 2559, น. 29)

at
2) การชี้แนะ (Mentoring) และการเปนพี่เลี้ยง (Coaching)
บทบาทของสมาชิก ในชุม ชนตอ งทํ าหนาที่ ชี้ แนะ (Mentoring)

aw
และเปนพี่เลี้ยง (Coaching) ใหแกกันและกัน ซึ่งการชี้แนะที่มีคุณคาในการ
เสริมสรางความคิดสรางสรรคนั้น ไมควรทํา 3 สิ่ง ไดแก “ไมสั่ง ไมสอน ไม
riy
บอกคําตอบ” แตควรกระทํา 3 สิ่งไดแก “ใหกําลังใจโดยการรับฟงกันอยาง
เขาใจ ชวนใหคิดอยางมีเหตุผลและเปนระบบ และเชียรใหลงมือทําเพื่อ
Pi

เรียนรูและพัฒนา”
it

3) การสะทอนคิด (Reflect) และการจดบันทึกการเรียนรูจากการ


w

ปฏิบัติ (Learning logs หรือ Learning journeys)


ob

การพูดคุยแลกเปลี่ยนสะทอนผลการปฏิบัติงานรวมกัน เปนการ
สะทอนผลการปฏิบัติงานและถอดบทเรียนที่สมาชิกในชุมชนจะไดเรียนรู
r.K

และนําไปปรับใชหรือตอยอดในการปฏิบัติงานของตน การสะทอนคิดในที่นี้
อาจทํ า ในรู ป แบบของการทบทวนผลการปฏิ บั ติ ง าน (After Action
D

Review: AAR) ตัวอยางประเด็นที่มีคุณคาและประโยชนตอไป ในการนํามา


สะทอนคิดรวมกัน คือ
(1) สิ่งทีท่ ํามีอะไรบาง
(2) ผลที่เกิดมีอะไรบาง
(3) บทเรียนทีเ่ กิดขึ้นมีอะไรบาง
(4) การนําบทเรียนและหรือประสบการณไปใชประโยชนตอไปจะทําอยางไร
(5) เกิดคําถามและขอเสนอแนะอะไรบาง
ซึ่งในการสะทอนคิดทุกครั้ง สมาชิกทีร่ วมกิจกรรมควรมีการบันทึกการเรียนรูแ ละบทเรียนที่ไดจากการ
ปฏิบัติงานเพื่อการพัฒนาการปฏิบัติงานรวมทั้งการสรางนวัตกรรมในการแกปญหาและการพัฒนาทางวิชาชีพ
อันจะเปนการเพิ่มความชํานาญและความเชี่ยวชาญใหกับวิชาชีพของตนเองตอไป

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
5

การทํา PLC มีวิธีการอยางไร?

วิ ธี ก ารพั ฒ นาบทเรี ย นร ว มกั น (Lesson study) มี แ นวคิ ด และกระบวนการพั ฒ นาครู วิ ช าชี พ
(Professional development) ที่มุง เนนการทํางานศึก ษาวิจัยรวมกันของกลุมครูและผูที่เ กี่ยวของในการ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรูของนักเรียนในบริบทการทํางานจริงในชั้นเรียนและในโรงเรียน
ของตนอยางเปนระบบและตอเนื่องในระยะยาว ทั้ง นี้ เพื่อ พัฒ นาตนเองใหสามารถและเชี่ยวชาญในการ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอน สูการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนทุกคนไปพรอมกัน (ชาริณี ตรีวรัญู, 2558:
29-48) กระบวนการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson study) ประกอบดวยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอนที่มีลักษณะ
การดําเนินงานตอเนื่อง เชื่อมโยง และเกื้อกูลกันเปนวงจร คือ “PLAN – DO- SEE” ซึ่งอธิบายพอสังเขป ดังนี้

at
aw
riy
Pi
it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
6

ขั้นที่ 1 พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (PLAN)

ครูผสู อน (Model teacher) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรูของตนเอง


(แผนเริ่มตนที่ครูผสู อนคิดคนเดียวขอเรียกวา แผน A)

ครูผสู อน (Model teacher) นําแผน A มาเลาใหครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ฟง

ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) สะทอนคิดอยางเปนระบบและสรางสรรค


ในลักษณะของสุนทรียสนทนา อยางนอย 5 ประเด็น ไดแก
(1) วัตถุประสงคการเรียนรู
(2) เนื้อหาสาระการเรียนรู

at
(3) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู และสื่อ
(4) การวัดและประเมินการเรียนรู

aw
(5) การบริหารจัดการชั้นเรียน riy
ครูผูสอน (Model teacher) นําประเด็นที่ไดรับการชี้แนะและแลกเปลี่ยนเรียนรูกับครูเพื่อนรวมเรียนรู
Pi

(Buddy teacher) ไปปรับปรุงประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรูของตนเองกอนนําไปใชจริง


(แผนที่ครูผสู อนปรับปรุงหลังการชี้แนะของครูเพื่อนรวมเรียนรูนี้ เรียกวาแผน B)
it
w
ob

1
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
7

ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรูของนักเรียน (DO)

ครูผสู อน (Model teacher) ไดนําแผนทีป่ รับปรุงพัฒนารวมกับครูเพื่อนรวมรู (Buddy


teacher) แลว (แผน B) มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

ครูผสู อน (Model teacher) เปดหองเรียนของตนใหครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher)


ไดรวมเรียนรูโดยการสังเกตชั้นเรียนเนนการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเปนสําคัญ

ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ยืนสังเกตอยูม ุมดานหนา ขณะสังเกตควร


หรือดานขางของหองเรียนโดยไมรบกวนการจัดกิจกรรม จดบันทึก บันทึกภาพ
การเรียนรูของครูผูสอน (Model teacher) หรือวิดีโอบรรยากาศ

at
โดยใหความสําคัญกับประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้ ปฏิสัมพันธในหองและ
1) อะไรคือสิง่ ที่เราอยากใหเด็กเรียนรูหรือพยายามจะแกไข การเรียนรูของนักเรียน

aw
2) พฤติกรรมการเรียนรูทสี่ งสัญญาณวานักเรียนกําลังเรียนรู ในเพื่อนํามาสะทอนผล
หรือจะรูไดอยางไรวา ผูเรียนกําลังหรือไดเรียนรูเรื่องนั้น ๆ แลว และแลกเปลี่ยนเรียนรู
riy
3) ถาผูเรียนเรียนรูแลว จะทําอยางไรตอ กับครูผูสอน (Model
4) ผูเรียนที่ไมเกิดการเรียนรูจะทําอยางไรตอ teacher) ในขั้นตอไป
Pi
it
w
ob

2
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
8

ขั้นที่ 3 สะทอนคิดผลการปฏิบัติงาน (SEE)

ครูผสู อน (Model teacher) สะทอนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูของตนเอง

ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) สะทอนพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเพิ่มเติม จากการสังเกต


และการบันทึกภาพและวิดีโอการจัดกิจกรรมการเรียนรูของ ครูผสู อน (Model teacher)

ครูผสู อน (Model teacher) เกิดแนวคิดและแนวปฏิบัติในการปรับปรุงพัฒนาการออกแบบ


แผนการจัดการเรียนรูของตนเอง (Redesign) แผนปรับปรุงหลังการสะทอนผลการปฏิบัตงิ านนี้
(แผนที่ครูผสู อนปรับปรุงหลังการสะทอนคิดของครูเพื่อนรวมเรียนรูนี้ เรียกวาแผน C)

at
ครูผสู อน (Model teacher) พัฒนาการเรียนรูของนักเรียนใหดียงิ่ ขึ้นในการจัดการเรียนรูของครูตอไป

aw
riy
Pi

3
it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
9

ตารางแสดง บทบาทและกิจกรรมของครูผสู อน (Model teacher) และครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher)


ในการพัฒนาบทเรียนรวมกันในแตละขั้นตอนของ 1วงจรการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (สิริพันธุ สุวรรณมรรคา, ม.ป.ป.)
ขั้นตอน PLAN DO SEE
บทบาท
MT (1) เขียนแผน (แผน A) สอน (ตามแผนB) สะทอนผลการ
(2) เลาแผน A กับ BT ปฏิบัติงานและ
การเรียนรูของนักเรียน
BT (1) ฟง MT เลา แผน A สังเกตการเรียนรู (1) ฟง MT สะทอนผล
(2) ชี้แนะและเปนพี่เลี้ยง ของนักเรียน (2) สะทอนผลเพิม่ เติม
(Coaching and Mentoring) MT และชี้แนะและเปนพีเ่ ลีย้ ง
MT (1) ฟง BTแลวพิจารณาเลือก ปรับปรุงแผน (แผน C)
ประเด็นทีจ่ ะพัฒนาแผนฉบับ

at
ปรับปรุง (แผน B) ของตน
(2) ปรับแผน A ใหเปนแผน

aw
ฉบับปรับปรุง (แผน B)
บันทึก (1) สิ่งที่ทํา (2) ผลที่เกิด (3) บทเรียนที่ไดเรียนรู (4) การนําบทเรียนที่ไดไปใช
riy
สําหรับ ครูพี่เลี้ยง (Mentor) เปนผูที่มีความรู ความสามารถเปนที่ยอมรับ ที่สามารถใหคําปรึกษาและ
Pi

แนะนําชวยเหลือ ครู ใหพัฒนาศักยภาพสูงขึ้น เพื่อสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ มีบทบาท


ในการสอนงาน(Coaching) และการเปนพี่เลี้ยง (Mentoring) ดังนี้ (อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. 2552)
1. Guide Mentor ตั้งคําถามกระตุนใหสมาชิกในกลุม PLC หาคําตอบที่จะทําใหสมาชิกสามารถมองเห็น
it

กลยุทธและเทคนิคใหมที่จะนําไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ ได
w

2. Ally Mentor เปนพันธมิตรที่คอยใหขอมูลแกสมาชิกในกลุม PLC แตละคนในกลุมเกี่ยวกับจุดออน


ob

จุดแข็งของสมาชิกในกลุม PLC แตละคน โดยวิธีการใหเลาถึงปญหาของตน Mentor จะฟงอยางตั้งใจ เห็นอก


เห็นใจ และใหขอมูลความเห็นทั้งดานดีและดานไมดีอยางตรงไปตรงมา และเปนมิตร
r.K

3. Catalyst Mentor เป น ผู ก ระตุ น ให สมาชิ กในกลุ ม PLC มองภาพวิ สั ย ทั ศ น แ ละอนาคตของ
สถานศึกษา วาจะไปทิศทางใดในอนาคต สถานศึกษาถึงจะดี พันธกิจ เปาหมาย และกลยุทธ และจะมีการ
D

ขับเคลื่อนใหบรรลุเปาหมายของการจัดการศึกษา
4. Savvy Insider Mentor เปนผูมีความรู ทักษะ และประสบการณในการจัดการศึกษา ทําใหมี
แนวทางในการจัดการศึกษาใหประสบความสําเร็จ และสามารถใหแนวทางแกสมาชิกในกลุม PLC ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรูใ หบรรลุตามเปาหมายของสถานศึกษาที่กําหนดไว และจะเปนผูทําหนาที่เชื่อมโยง Mentee
กับ บุคลากรผูป ฏิ บัติงานในสถานศึก ษา และเครือ ขายที่เกี่ยวขอ งในการจัดการศึก ษาที่จะสามารถชวยให
Mentee เกิดการเรียนรูในการปฏิบัติงานได
5. Advocate ในขณะที่สมาชิกในกลุม PLC เกิดการเรียนรูนั้น สมาชิก จะเริ่ม มองเห็นวา ตนเอง
สามารถผลักดันความเจริญกาวหนาและแผนพัฒนาความกาวหนาดวยตนเอง Mentor จะทําหนาที่ชวยให
สมาชิกในกลุม PLC ไดมีโอกาสแสดงความสามารถใหเห็นเปนที่ประจักษ (Visibility)

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
10

บันทึกหลักฐาน รองรอยที่ตองมีในการทํา PLC ตามเกณฑตางๆ มีอะไรบาง?

จากหลักเกณฑและวิ ธี การใหข าราชการครูและบุคลากรทางการศึ กษา ตํ าแหนงครู


มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21 ครูผูสอนควรพิจารณารายละเอียด
ตัวชี้วัดการประเมินผลงานทีเ่ กิดจากการปฏิบัติหนาที่ ตําแหนงครู สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จําแนกตามระดับคุณภาพ ในดานที่ 3 ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ โดยจัดทําแฟมเอกสารหลักฐาน
การพัฒนาวิชาชีพ และมีผลงานอยูในระดับคุณภาพที่ตองการยื่นขอวิทยฐานะ ตามรายละเอียดตอไปนี้
ดานที่ 3 ดานการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพ หมายถึง กระบวนการพัฒนาสมรรถนะและวิชาชีพครู
โดยมีแผนการพัฒ นาตนเอง และดําเนินการพัฒ นาตนเองตามแผนอยางเปนระบบ สอดคลอ งกับ สภาพ
การปฏิบัติง านความต อ งการจําเปน องค ความรูใหม นโยบาย แผนกลยุท ธของหนวยงานการศึก ษาหรือ
สวนราชการตนสังกัด มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันในระดับสถานศึกษา หรือระดับเครือขาย หรือระดับชาติ

at
แ ล ะ แ ส ด ง บทบา ท ใน ชุ ม ชนก า รเรี ย น รู ท า งวิ ชา ชี พ ( Professional Learning Community: PLC)
ดวยความสัมพันธแบบกัลยาณมิตร ที่มีวิสัยทัศน คุณคา เปาหมาย และภารกิจรวมกันซึ่งสงผลตอคุณภาพ

aw
ผูเรียน เพื่อใหเกิดเปนวัฒนธรรมองคกร และสรางนวัตกรรมจากการเขารวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
3.2 การพัฒนาวิชาชีพ หมายถึง กระบวนการพัฒนาวิชาชีพครู โดยการมีสวนรวมแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกันในระดับสถานศึกษา
riy
หรือระดับเครือขาย หรือระดับชาติ และแสดงบทบาท ในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community:
PLC) ดวยความสัมพันธแบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน คุณคา เปาหมาย และภารกิจรวมกัน เพื่อใหเกิดเปนวัฒนธรรมองคกร และ
Pi

สรางนวัตกรรมจากการเขารวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ โดยนําความรู ความสามารถ ทักษะที่ไดจากการพัฒนาวิชาชีพ


มาพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู ที่สงผลตอคุณภาพผูเรียน
ระดับคุณภาพ หลักฐาน
ตัวชี้วดั
it

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รองรอย


3.2 เขารวม 1. เขารวมในชุมชน 1. เขารวมในชุมชนการ 1. เขารวมในชุมชนการ 1. เขารวมในชุมชนการ แฟมเอกสาร
w

การ ในชุมชน การเรียนรูท างวิชาชีพ เรียนรูทางวิชาชีพ เรียนรูทางวิชาชีพ เรียนรูทางวิชาชีพ หลักฐาน


ob

พัฒนา การเรียนรู 2. นําองคความรูที่ 2. นําองคความรูท ี่ได 2. นําองคความรูท ี่ไดจาก 2. นําองคความรูท ี่ไดจาก การพัฒนา
วิชาชีพ ทาง ไดจากการเขารวม จากการเขารวมใน การเขารวมในชุมชนการ การเขารวมในชุมชนการ วิชาชีพ
วิชาชีพ ในชุมชนการเรียนรู ชุมชนการเรียนรูทาง เรียนรูทางวิชาชีพไปใชใน เรียนรูทางวิชาชีพไปใชใน
r.K

ทางวิชาชีพไปใชใน วิชาชีพไปใชในการ การจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน


การจัดการเรียนการ จัดการเรียนการสอน
สอน 3. สรางนวัตกรรมที่ได 3. สรางนวัตกรรมที่ไดจาก 3. สรางนวัตกรรมที่ไดจาก
D

จากการเขารวมใน การเขารวมในชุมชนการ การเขารวมในชุมชนการ


ชุมชนการเรียนรูทาง เรียนรูทางวิชาชีพ เรียนรูทางวิชาชีพ
วิชาชีพ
4. สรางเครือขาย 4. สรางเครือขายชุมชน 4. สรางเครือขายชุมชนการ
ชุมชนการเรียนรูทาง การเรียนรูทางวิชาชีพ เรียนรูทางวิชาชีพ
วิชาชีพ 5. สรางนวัตกรรมทางการ 5. สรางนวัตกรรมทางการ
เรียนรูในสถานศึกษา เรียนรูในสถานศึกษา
6. เปนผูนําการ 6. เปนผูนําการ
เปลี่ยนแปลงที่สงผลตอ เปลี่ยนแปลงที่สงผลตอ
เพื่อนรวมวิชาชีพ เพื่อนรวมวิชาชีพ
7. เปนแบบอยางที่ดี 7. เปนแบบอยางที่ดีและ
เปนผูนํา

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
11

นอกจากนี้จากหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการครูและบุคลากรทาง
การศึก ษา ซึ่ง ไดป ระกาศใชตามหนังสือ สํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/ว 20 ลงวันที่ 30 ตุล าคม 2561
ที่ไดกําหนดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานใหดําเนินการประเมินปละ 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 ประเมินผลการปฏิบัติงาน ระหวางวันที่ 1 ต.ค. – 31 มี.ค. ของปถัดไป
ครั้งที่ 2 ประเมินผลการปฏิบัติงาน ระหวางวันที่ 1 เม.ย – 30 ก.ย. ของปเดียวกัน
องคประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน มี 2 องคประกอบ คะแนนรวม 100 คะแนน
องคประกอบที่ 1 การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 70 คะแนน
องคประกอบที่ 2 การประเมินการปฏิบัติตนในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ
30 คะแนน
ซึ่ง จะเห็ นได วาในการประเมิ นประสิท ธิ ภาพและประสิท ธิผ ลในการปฏิบัติง าน 70 คะแนนของ
องคประกอบที่ 1 นั้น เปนการประเมิน 3 ดาน รวม 13 ตัวชี้วัดเชนเดียวกันกับหลักเกณฑ ว21/2560 ตามที่ได
กลาวมาแลว ดังนั้นจึงสามารถใชเอกสาร หลักฐานและรองรอยในการประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติ
หนาที่ ตําแหนงครูรวมกันได รวมถึงในสวนของบันทึกหลักฐาน รองรอยที่ตองมีในการพัฒนาวิชาชีพในชุมชน

at
การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ดวย ซึ่งมีรายละเอียดตามตาราง ดังนี้

aw
riy
Pi
it
w
ob
r.K
D

ดังนั้นเพื่อใหเห็นภาพรวมของบันทึกหลักฐาน รองรอยที่ตองมีในการพัฒนาวิชาชีพในชุมชนการเรียนรู
ทางวิชาชีพ (PLC) ตามตัวอยางเอกสารที่ไดกลาวมาแลว ซึ่งสัมพันธกับระดับคุณภาพทั้ง 5 ระดับตามเกณฑ
ว21/2560 และ ว20/2561 จึงขอสรุปเปนตารางดังนี้

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
12

ระดับคุณภาพ รายละเอียด บันทึกหลักฐาน รองรอยที่ตอ งมี รหัสอางอิงเอกสาร


ระดับ 1 1. เขารวมในชุมชนการเรียนรูทาง คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน แบบ PLC 01
วิชาชีพ ชุ มชนการเรี ย นรู ท
 างวิ ชาชี พ (PLC)
ในสถานศึกษา
บันทึกการคนหาปญหา สาเหตุของ แบบ PLC 05
ปญหาและรวมกันหาแนวทาง
ในการแกปญหาของกลุม PLC
ปฏิทินการพัฒนาบทเรียนรวมกัน แบบ PLC 06
ผานชุมชนแหงการเรียนรูทาง
วิชาชีพ (PLC)
บันทึกขอความ รายงานจํานวน แบบ PLC 08
ชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการ
เรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) ของสมาชิก
ระดับ 2 2. นําองคความรูที่ไดจากการเขา แบบบันทึกการพัฒนาบทเรียน แบบ PLC 07

at
รวมในชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ รวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรู
ไปใชในการจัดการเรียนการสอน ทางวิชาชีพ พรอมแนบหลักฐาน

aw
แผนการจัดการเรียนรู A, B และ C
ระดับ 3 3. สรางนวัตกรรมที่ไดจากการเขา
รวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
riy
4. สรางเครือขายชุมชนการเรียนรู แบบคํารองขอจัดตั้งกลุมชุมชน แบบ PLC 02
ทางวิชาชีพ การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
Pi

บันทึกขอความขอเชิญบุคลากร แบบ PLC 03


เปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุม
ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
it

หนังสือราชการเชิญบุคลากร แบบ PLC 04


w

เปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุม


ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
ob

ระดับ 4 5. สรางนวัตกรรมทางการเรียนรู บันทึกขอความ รายงานผลการสราง แบบ PLC 09


ในสถานศึกษา และพัฒนานวัตกรรมการเรียนการรู
r.K

จากการสวนรวมในชุมชนการเรียนรู
ทางวิชาชีพ (PLC)
D

6. เปนผูนําการเปลี่ยนแปลง บันทึกขอความ ขอเชิญบุคลากร แบบ PLC 03


ที่สงผลตอเพือ่ นรวมวิชาชีพ เปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุม
ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
พรอมแบบตอบรับ
7. เปนแบบอยางที่ดี คําสั่ง และรองรอยการเปนพี่เลี้ยง -
ระดับ 5 7. เปนแบบอยางที่ดีและเปนผูนํา และใหคําแนะนําในดานตางๆ ของ
กลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
ทั้งนี้รูปแบบการบันทึกหลักฐาน รองรอยที่ตองมีในการพัฒนาวิชาชีพในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
(PLC) ตามตัวอยางดังกลาว เปนเพียงแนวทางในการนําไปใชเทานั้น สามารถปรับเปลีย่ นไดตามความเหมาะสม
ใหเหมาะกับบริบทของโรงเรียน โดยจะขอนําเสนอแนวทางการนํา PLC ไปสูการปฏิบัติจริงพรอมทั้งตัวอยาง
เอกสาร แบบฟอรมตางๆ ดังตอไปนี้

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
13

จะนํา PLC ไปสูก ารปฏิบตั ิจริงไดอยางไร?


สรุปเปนแผนภาพไดดังนี้

at
aw
riy
Pi
it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
14

ขั้นตอนที่ 1 สรางระบบกิจกรรม PLC ในโรงเรียน

ในการสรางระบบกิจกรรม PLC ในโรงเรียน ใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรมและมีความยั่งยืนเปนวงจร


อยางตอเนื่องกันไปในแตละปการศึกษา ตลอดจนสอดคลองกับการประเมินวิทยฐานะตามหลักเกณฑและวิธีการ
ใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครูมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะตามหนังสือสํานักงาน
ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ในดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ มีรายละเอียด
การสรางระบบกิจกรรม PLC ในโรงเรียน ดังนี้ (ปรับปรุงจาก สิริพันธุ สุวรรณมรรคา, ม.ป.ป.)
แนวทางการดําเนินงาน กิจกรรม เอกสารหลักฐาน
1. แตงตั้งคณะกรรมการ แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC - คําสั่งแตงตั้ง
ขับเคลื่อนกระบวนการ ของโรงเรียน ประกอบดวย คณะกรรมการฯ

at
PLC ระดับสถานศึกษา 1) ผูอ ํานวยการ รองผูอ ํานวยการ มีบทบาทเปน - หนังสือเชิญและ

aw
ผูบริหารสถานศึกษา (Administrator) แบบตอบรับเปน
2) ศึกษานิเทศก คณาจารยมหาวิทยาลัย ปราชญ ผูเชี่ยวชาญ
ชาวบาน หรือเปนผูป กครองที่มีความเชี่ยวชาญในดาน
riy
ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการศึกษา มีบทบาทเปน
ผูเชี่ยวชาญ (Expert) (โรงเรียนควรมีหนังสือเชิญและ
Pi

แบบตอบรับเปนผูเชี่ยวชาญ)
3) หัวหนากลุม สาระการเรียนรู ครูเชี่ยวชาญหรือครูที่
it

มีความรู ความสามารถเชี่ยวชาญในดานตางๆ
w

มีบทบาทเปนครูพเี่ ลี้ยง (Mentor)


ob

4) ครูทุกคน แบงตามกลุมสาระการเรียนรูหรือระดับชั้นที่
สอน มีบทบาทเปนครูผูสอน (Model teacher) และเปน
r.K

ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher)


2. จัดทําแผนปฏิบัติการ จัดทําแผนงานการขับเคลือ่ นกระบวนการ PLC - แผนปฏิบัติการ
กิจกรรมตาง ๆ ของ สูสถานศึกษา ซึ่งเปนแผนปฏิบัติการกิจกรรมตาง ๆ - โครงการ
D

โรงเรียนเพื่อสงเสริม ของโรงเรียนเพื่อสงเสริมความเขมแข็งของการเปน - ตารางสอนที่มกี าร


ความเขมแข็งของการ ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ ไดแก กําหนดชั่วโมง PLC
เปนชุมชนแหงการเรียนรู 1) กําหนดชั่วโมง PLC ลงในตารางสอนในทุกสัปดาห
ทางวิชาชีพ (สัปดาหละ 1-2 ชั่วโมง)
2) กิจกรรมประชุมปฏิบัติการ (Workshop)
สรางความรูความเขาใจในการทํา PLC
3) กิจกรรมการพัฒนาบทเรียนรวมกันของครูทกุ คน
4) กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูในลักษณะตาง ๆ
5) กิจกรรมการจัดประชุม Symposium
เมื่อสิ้นปการศึกษา ฯลฯ

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
15

แนวทางการดําเนินงาน กิจกรรม เอกสารหลักฐาน


3. การประชุม - เปนการสรางโอกาสใหสมาชิกทุกฝายไดมาสื่อสาร - แบบเสนอขอจัดตั้ง
เตรียมการ แลกเปลี่ยนเรียนรูและรวมสรางความเขาใจในคุณคา กลุม PLC
อุดมการณ วิสัยทัศน เปาหมาย รวมทั้งรวมกันวาง - แผนปฏิบัติการของ
หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติ และแผนปฏิบัติการใน กิจกรรมการพัฒนา
การเพิม่ คุณภาพและความเสมอภาคใหกบั นักเรียน บทเรียนรวมกันของ
ทุกคนในภาคการศึกษานี้ ครูทุกคน
- เปนการสื่อสารสรางความเขาใจเตรียมความพรอมใน - ปฏิทินกําหนดการ
“ระบบงาน – คน – กิจกรรม- การสนับสนุนตาง ๆ” ตามแผนปฏิบัตกิ ารฯ
- ควรจัดในลักษณะของการประชุมปฏิบัติการ
(Workshop) 1-2 วันกอนเปดภาคเรียน
- ผลที่เกิดขึ้นจากการประชุมเตรียมการคือ
(1) คุณครูทุกคนในโรงเรียน จะตกลงจับคูเปน Buddy

at
team ที่จะเปนครูผูสอน (Model teacher) และครู

aw
เพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ใหแกกันและกัน
ในการพัฒนาบทเรียนของแตละคนรวมกัน
(2) มีแผนปฏิบัติการของกิจกรรมการพัฒนาบทเรียน
riy
รวมกันของครูทุกคน
Pi
(3) มีปฏิทินกําหนดการตามแผนปฏิบัติการกิจกรรม
ตาง ๆ ของโรงเรียนเพื่อสงเสริมความเขมแข็งของการ
เปนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ
it

4. การลงมือปฏิบัติงาน - ผูบริหารสถานศึกษา (Administrator) ผูเ ชี่ยวชาญ - แบบบันทึกการ


w

และพัฒนาบทเรียน (Expert) ครูพเี่ ลี้ยง (Mentor) ครูผสู อน (Model พัฒนาบทเรียนรวมกัน


ob

รวมกัน teacher) และเปนครูเพือ่ นรวมเรียนรู (Buddy ผานชุมชนแหงการ


teacher) ดําเนินการจัดการเรียนการสอนไปพรอม ๆ เรียนรูทางวิชาชีพ
r.K

กับการพัฒนาบทเรียนรวมกัน
- ในแตละภาคเรียนครูแตละคนในแตละกลุม PLC
ตองพัฒนาบทเรียนรวมกันคนละ 3 บทเรียน โดยควร
D

ทํากิจกรรมพัฒนาบทเรียนรวมกันเพียง 1 บทเรียนใน
แตละเดือน ทัง้ นี้เพื่อใหเกิดความพอเพียงในการเรียนรู
และมีความตอเนือ่ งของการเรียนรูอยางเปนระบบครบ
วงจรของครูทงั้ กลุม PLC
- กิจกรรมสําคัญในการพัฒนาบทเรียนรวมกัน
(Lesson study) แบงเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1
พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (PLAN) ขั้นที่ 2
ปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรูของนักเรียน
(DO) และ ขั้นที่ 3 สะทอนคิดผลการปฏิบัตงิ าน (SEE)

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
16

แนวทางการดําเนินงาน กิจกรรม เอกสารหลักฐาน


5. การแลกเปลี่ยนเรียนรู - ในแตละเดือนหลังการพัฒนาบทเรียนรวมกันของครู - บันทึกการประชุม
ประสบการณ ทุกคนในแตละระดับชั้นแลว ควรมีการประชุมระดับ ระดับ กลุมสาระ หรือ
เพื่อใหครูในแตละระดับไดแลกเปลี่ยนเรียนรู การประชุมโรงเรียน
ประสบการณและบทเรียนจากการพัฒนาบทเรียน
รวมกันในวงจรนั้นและแผนการพัฒนาในวงจรตอไป
นอกจากการประชุมระดับแลวอาจมีการประชุมกลุม
สาระ และการประชุมโรงเรียน
6. การจัดประชุม - เปนการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูบ ทเรียนและ - รายงานการจัด
แลกเปลี่ยนเรียนรูแบบ การวางแผนปฏิบัติการในภาคการศึกษาตอไปรวมกัน ประชุมแลกเปลี่ยน
Symposium เพื่อสรางโอกาสใหผูบริหารและคุณครูทุกคนไดนํา เรียนรูแบบ
ประสบการณการปฏิบัติที่ดีและบทเรียนที่ไดจากการ Symposium
พัฒนาบทเรียนรวมกันในภาคการศึกษานั้นมา

at
แลกเปลี่ยนเรียนรู และใชเปนพื้นฐานในการวางแผน

aw
ปฏิบัติการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนในภาค
การศึกษาตอไปรวมกัน
- ควรจัดในชวงปลายภาคการศึกษาหลังจากครูได
riy
ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใน
Pi

ภาคการศึกษานั้นแลว
- โรงเรียนอาจเชิญเพื่อนครู ผูบริหารจากโรงเรียนอื่น
รวมทั้งนักการศึกษาจากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
it

ที่มีความสนใจรวมเรียนรูเพื่อขยายเครือขายการ
w

รวมมือรวมพลังการพัฒนาการศึกษาในลักษณะชุมชน
ob

แหงการเรียนรูทางวิชาชีพในพื้นที่ใหกวางขวางและ
มั่นคงยั่งยืนตอไป
r.K

7. การบันทึกการทํา - เมื่อไดดําเนินการบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกัน - แบบบันทึกการ


กิจกรรมชุมชนการ ผานชุมชนแหงการเรียนรูท างวิชาชีพของแตละวงจร พัฒนาบทเรียนรวมกัน
D

เรียนรูวิชาชีพ (PLC) ลงในแบบบันทึกและเสนอใหผูบริหารสถานศึกษา ผานชุมชนแหงการ


และการรับรองของ ลงนามเรียบรอยแลว สมาชิกในกลุม PLC สําเนา เรียนรูทางวิชาชีพ
ผูบริหารสถานศึกษา บันทึกนั้นไวเปนหลักฐานทุกฉบับ
- สิ้นปการศึกษา ประธานกลุม PLC เสนอรายงาน
จํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูท าง
วิชาชีพ (PLC) ของสมาชิกให ผอ. รับทราบ
- ผอ. รับรองการจัดทํากิจกรรม PLC ในแตละรายการ
ที่ครูไดปฏิบัติจริงในปการศึกษา

*หมายเหตุ ระบบกิจกรรม PLC ในโรงเรียนอาจมีรูปแบบและวิธีการที่แตกตางกันไปตามบริบทของแตละ


โรงเรียนตามความเหมาะสม

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
17

แบบ PLC 01

คําสั่งโรงเรียน................................
ที.่ ........ /…….……
เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพในสถานศึกษา
ประจําปการศึกษา………………………..
--------------------------------------------------------------------
ตามที่ สํ า นั ก งาน ก.ค.ศ. ได มี ก ารกํ าหนดการประเมิน วิ ท ยฐานะตามหลัก เกณฑแ ละวิ ธีก ารให
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ตามหนังสือสํานักงาน
ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ซึ่งไดกําหนดเกณฑขอหนึ่งที่ครูจะตองมีผลงานที่เกิด

at
จากการปฏิบัติหนาที่ส ายงานการสอน ในชวงระยะเวลายอ นหลัง 5 ปก ารศึก ษาติดตอ กัน ที่จะตองมีการ
ประเมิน 3 ดาน รวม 13 ตัวชี้วัด คือ ดานการจัดการเรียนการสอน (8 ตัวชี้วัด) ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน

aw
(3 ตัวชี้วัด) และดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ (2 ตัวชี้วัด) เปนปกติทุกปการศึกษา ซึ่งการมีสวนรวม
ในชุ ม ชนการเรี ย นรู ท างวิ ช าชี พ (Professional Learning Community) เป น ส ว นหนึ่ ง ที่ มี ค วามสําคัญ
riy
ตามหลักเกณฑดังกลาวในดานที่ 3 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
เพื่อ ใหก ารดําเนินงานรวมกันวางแผนการขับเคลื่อ นกระบวนการ PLC (Professional Learning
Pi

Community) บรรลุตามวัตถุประสงคเปนรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๙


แห ง พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ.๒๕๔๗ และมาตรา ๒๗
แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม
it
w

(ฉบับ ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๑ จึ ง แต ง ตั้ ง คณะกรรมการขับ เคลื่อ นกระบวนการชุม ชนการเรียนรูท างวิชาชีพ
ในสถานศึกษา ประจําปการศึกษา……………………….. ดังตอไปนี้
ob

1. คณะกรรมการอํานวยการ
r.K

1.1 ………………………………………………… ผูอํานวยการ ประธานกรรมการ


1.2 ………………………………………………… รองผูอํานวยการ รองประธานกรรมการ
1.3 ………………………………………………… ครู กรรมการ
D

1.4 ………………………………………………… ครู กรรมการและเลขานุการ


1.5 ………………………………………………… ครู กรรมการและผูชวยเลขานุการ
มีหนาที่ สรางความเขาใจ ความตระหนัก ใหคําปรึกษา ชี้แนะ ติดตอ ประสานงาน และอํานวยความ
สะดวกในการดําเนินงาน ใหคําแนะนําปรึกษาในการปฏิบัติงาน อํานวยความสะดวก แกไขปญหาในการ
ปฏิบัติงานใหสําเร็จลุลวงและเปนไปดวยความเรียบรอย

2. คณะกรรมการดําเนินงาน
2.1 ………………………………………………… ครู ประธานกรรมการ
2.2 ………………………………………………… ครู รองประธานกรรมการ
2.3 ………………………………………………… ครู กรรมการ

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
18

2.4 ………………………………………………… หัวหนากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กรรมการ


2.5 ………………………………………………… หัวหนากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร กรรมการ
2.6 ………………………………………………… หัวหนากลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กรรมการ
2.7 ………………………………………………… หัวหนากลุมสาระการเรียนรูส ังคมศึกษาฯ กรรมการ
2.8 ………………………………………………… หัวหนากลุมสาระการเรียนรูส ุขศึกษาฯ กรรมการ
2.9 ………………………………………………… หัวหนากลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ กรรมการ
2.10 ………………………………………………… หัวหนากลุมสาระการเรียนรูก ารงานอาชีพฯ กรรมการ
2.11 ………………………………………………… หนากลุม สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ กรรมการ
2.12 ………………………………………………… หัวหนางานกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กรรมการ
2.13 ………………………………………………… ครู กรรมการและเลขานุการ
มีหนาที่ 1. วางแผน/ออกแบบการดําเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สูสถานศึกษา ใหสอดคลองกับ
บริบทของสถานศึกษา
2. เสนอโครงการสงเสริมคุณภาพการศึกษาดวยกระบวนการ PLC ตลอดจนเสริมสรางความรู

at
ความเขาใจ และแนวทางการปฏิบัติใหกับบุคลากรในสถานศึกษา (พาดู พาคิด พาทํา)

aw
3. กําหนดปฏิทินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ประสานงานกับกลุม สาระการเรียนรู ฝาย/งานตางๆ
ในสวนที่เกี่ยวของ เพื่อสงเสริมการพัฒนาครูและแกไขปญหาอุปสรรคทีเ่ กิดขึ้น ใหบรรลุวัตถุประสงคตามนโยบาย
4. จัดทําแบบนิเทศ แบบประเมิน และสรุปผลการดําเนินงาน นิเทศ กํากับ ติดตาม
riy
3. คณะกรรมการดําเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
3.1 ………………………………………………… ครู ประธานกรรมการ
Pi

3.2 ………………………………………………… ครู รองประธานกรรมการ


3.3 คณะครู จําแนกตามกลุม กรรมการ
it

3.4 ………………………………………………… ครู กรรมการและเลขานุการ


w

มีหนาที่ 1. ประสานงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ในแตละกลุม


ob

2. ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC /จดบันทึก PLC


3. สรุปและรายงานผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
r.K

4. ดําเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรูในกลุม /ระดับ/งาน
5. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมาย
D

4. คณะกรรมการดําเนินงานจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู (Show&Share) ประกอบดวย


4.1 ................................................... ครู ประธานกรรมการ
4.2 ................................................... ครู รองประธานกรรมการ
4.3 ................................................... ครู กรรมการ
4.4 ................................................... ครู กรรมการ/เลขานุการ
มีหนาที่ 1. สํารวจการสรุปและรายงานผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ของทุกกลุม
2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู (Show&Share)
3. ตัดสินผลงาน/นวัตกรรมทีป่ ระสบผลสําเร็จ

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
19

5. คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม PLC


5.1 ................................................... ครู ประธานกรรมการ
5.2 ................................................... ครู รองประธานกรรมการ
5.3 ................................................... ครู กรรมการ
5.4 ................................................... ครู กรรมการ/เลขานุการ
มีหนาที่ 1. ประสานงานในแตละกลุม สาระการเรียนรู เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหครูในกลุม สาระการ
เรียนรู มีความรู ความเขาใจ ในกระบวนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning
Community) “ชุมชนแหงการเรียนรู ทางวิชาชีพ” สูสถานศึกษา ตลอดจนการดําเนินการในรูปแบบ PLC
ที่จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งดานวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน
2. ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC /พรอมทัง้ บันทึกการมีสว นรวมใน PLC
3. เรงรัด กํากับ ติดตาม ดูแล และสนับสนุนในการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ในสถานศึกษา
ใหประสบความสําเร็จ สรุปรายงานผลการดําเนินการเปนรายบุคคลตอผูบ ริหารสถานศึกษาเพื่อใหเกิดผลดีตอ

at
ครูผสู อนและตอนักเรียน

aw
6. คณะกรรมการสรุป กํากับ ติดตาม และประเมินผล
6.1 ................................................... ครู ประธานกรรมการ
riy
6.2 ................................................... ครู รองประธานกรรมการ
6.3 ................................................... ครู กรรมการ
Pi

6.4 ................................................... ครู กรรมการ/เลขานุการ


มีหนาที่ 1. จัดทําแผนและเครื่องมือ / สรุป กํากับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อน
it

กระบวนการ PLC
w

2. รายงานผลการดําเนินการติดตามและขับเคลื่อนกระบวนการ PLC / จัดทํารูปเลม พรอมเสนอ


ob

ตอผูบริหารสถานศึกษา
3. จัดทําเกียรติบัตรใหกบั ครูผูที่มผี ลงานระดับดีเยี่ยม ดีมาก และดี
r.K

ใหคณะกรรมการที่ไดรับแตงตั้งคําสัง่ ปฏิบัตหิ นาทีท่ ี่ไดรับมอบหมายอยางเต็มกําลังความรู


ความสามารถและดวยความเอาใจใส เพือ่ ใหการดําเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพและ
D

เกิดประโยชนสงู สุดกับนักเรียนและทางราชการอยางแทจริง

ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้ เปนตนไป

สั่ง ณ วันที่ ……… เดือน …………………. พ.ศ. …………………

(………………………………………….)
ผูอํานวยการโรงเรียน……………………………………………………………

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
20

ขั้นตอนที่ 2 การรวมกลุม PLC และขอจัดตั้งกลุม PLC

การรวมกลุม PLC และขอจั ดตั้ งกลุ ม PLC มีแนวทางการรวมตัวกันของครูที่มีความตองการจําเปน


ความสนใจ คานิยม และมีความเชื่อในทิศทางเดียวกัน พรอมจะรวมพลังแกปญหาคุณภาพผูเรียน เปาหมายเดียวกัน
โดยมีการรวมสมาชิกใน PLC แตละกลุมประมาณ 6-8 คน ประกอบดวย บุคคลที่เกี่ยวของกัน 5 กลุม ดังนี้
1) ครูผูสอน (Model teacher) คือ ครูผูเขียนและพัฒนาบทเรียนของตน
2) ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) คือ เพื่อนครูผูรวมพัฒนาบทเรียนโดยการชี้แนะและเปน
พี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) และรวมมือรวมพลังเรียนรูกับครูผูสอนทั้งกอนและหลังสอน
3) ครูพี่เลี้ยง (Mentor) เชน หัวหนากลุมสาระ ครูเชี่ยวชาญและครูภูมิปญญาของโรงเรียน เปนตน
4) ผู บริ หารสถานศึ กษา (Administrator) เชน ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ และกรรมการ
สถานศึกษา เปนตน

at
5) ผู เ ชี่ ย วชาญ (Expert) เช น ศึ ก ษานิ เ ทศก คณาจารย ม หาวิ ท ยาลั ย ปราชญ ช าวบ า น หรือ

aw
เปนผูปกครองที่มีความเชี่ยวชาญในดานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการศึกษา เปนตน

ในการทําแตละกิจกรรมเพื่อสรางความ
riy
เขมแข็งของความเปนชุมชนแหงการเรียนรูทาง
วิชาชีพ (PLC) ไมจําเปนวาสมาชิกตองครบทั้ง 5
Pi

กลุม จึง จะทํากิจ กรรมได สําหรับ กิจ กรรมการ


พัฒนาบทเรียนรวมกันตองมีบุคคลสําคัญ อย าง
it

น อ ย 2 กลุ ม คื อ ครู ผู ส อน (Model teacher)


w

และครู เ พื่ อ นร ว มเรี ย นรู (Buddy Teacher)


ob

โดย 2 กลุมนี้คือกัลยาณมิตรรวมเรียนรูกันและ
กัน ความแตกตางของ 2 กลุม นี้จ ะเปนตนทุน
r.K

และสภาพแวดลอมที่ดีในการเกื้อกูลการรวมมือ
รวมพลัง กันเรียนรูท างวิ ชาชี พ ความแตกตางในระดับ ชั้น อายุ และ ประสบการณ หรือ กลุม สาระที่สอน
มีคณ
ุ คาประโยชนเอื้อการเรียนรูกันและกัน เพื่อใหเขาใจองคประกอบและ บทบาทการเกื้อกูลของสมาชิกกลุม
D

ตาง ๆ มากยิ่งขึ้น (สิริพันธุ สุวรรณมรรคา, ม.ป.ป.)


แนวทางการรวมตัวกันของครู อาจเปนไปได 4 แบบ ดังนี้
แบบที่ 1 ครูจากกลุมสาระการเรียนรูเดียวกัน สอนอยูในสถานศึกษาเดียวกัน
แบบที่ 2 ครูมาจากกลุมสาระการเรียนรูตางกัน สอนระดับเดียวกัน อยูในสถานศึกษาเดียวกัน
แบบที่ 3 ครูมาจากสถานศึกษาที่แตกตางกัน ตั้งแต 2 แหง ขึ้นไปรวมทีม PLC ทําใหการติดตอสื่อสาร
อาจตองใชการสื่อสารผานระบบออนไลนมาเปนสื่อกลาง
แบบที่ 4 ครูม าจากกลุม สาระการเรียนรู แตกตางกัน แตส อนในระดับ เดียวกัน และอาจมาจาก
หลากหลายสถานศึกษา การติดตอสื่อสารอาจตองใชการสื่อสารผานระบบออนไลนมาเปนสื่อกลาง
ในการขอจัดตั้งกลุม PLC นั้น อาจใชแนวทางในการจัดทําเอกสาร ดังนี้

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
21

แบบ PLC 02
บันทึกขอความ
สวนราชการ โรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………..
ที่ ……………..……. วันที่…….............................................................................................................................
เรื่อง ขอจัดตั้งกลุมชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ประจําภาคเรียนที่ ....... ปการศึกษา …………..

เรียน ผูอํานวยการโรงเรียน
ดวยขาพเจา...................................................................................... ตําแหนง …………..…………………..
กลุมสาระการเรียนรู..................................... มีความประสงคขอจัดตั้งกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
ประจําภาคเรียนที่ ....... ปการศึกษา ………….. โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ชื่อกลุมกิจกรรม …………………………………………………………………………………....…………………….
2. จํานวนสมาชิกทั้งหมด ………………………… คน ดังนี้

at
1) ครูผูสอน (Model teacher) และครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) จํานวน ………….. คน

aw
ที่ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง กลุมสาระการ ระดับชั้น รายวิชา ที่ หนาที่
เรียนรู ที่สอน สอน
riy
ประธานกลุม
รองประธาน
สมาชิก
Pi

สมาชิก
เลขานุการ
it

2) ครูพี่เลี้ยง (Mentor)
w

ชื่อ ……………………………………………………………………………. ตําแหนง ………………………….…….……………………..


 หัวหนากลุมสาระการเรียนรู …………………………………..  ครูที่มีความเชี่ยวชาญดาน …………………………
ob

 ครูที่มผี ลงานดีเดนดาน ………………….………………………  อื่นๆ (ระบุ) ……….…………………………………….


3) ผูบริหารสถานศึกษา (Administrator)
r.K

ชื่อ ……………………………………………………………………………. ตําแหนง ………………………….…….…………………….


 ผูอํานวยการโรงเรียน  รองผูอํานวยการโรงเรียน  อื่นๆ (ระบุ) ……………………………..
D

4) ผูเชี่ยวชาญ (Expert)
ชื่อ ……………………………………………………………………………. ตําแหนง ………………………….…….…………………….
 ศึกษานิเทศก สังกัด ……………………………………  อาจารยมหาวิทยาลัย สังกัด…………………………………
 อื่นๆ (ระบุ) …………………………………………………………………………………………………………………………………
3. สถานที่ประชุมกลุม หอง ...................... อาคาร ............................................................
4. วันเวลาประชุมกลุม วัน .......................................... เวลา..............................................
โดยไดแนบหลักฐานบันทึกเชิญบุคลากรเปนครูพเี่ ลี้ยงและหนังสือเชิญเปนผูเชี่ยวชาญมาพรอมกับบันทึกนี้
จึงเรียนมาเพื่อทราบและพิจารณา
ลงชื่อ ประธานกลุม PLC
(….............................................)

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
22

แบบ PLC 03
บันทึกขอความ
สวนราชการ โรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………..
ที่ ……………..……. วันที่…….............................................................................................................................
เรื่อง ขอเชิญบุคลากรเปนครูพเี่ ลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC)

เรียน ผูอํานวยการโรงเรียน
เนื่องดวยในภาคเรียนที่ ……...... ปการศึกษา …………………………….. ครูผูสอน (Model teacher) และ
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) จํานวน ………………………………... คน มีความประสงคขอจัดตั้ง กลุม
ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุมกิจกรรม …..…………………………………………………...………………………
โดยกําหนดวันเวลาประชุมกลุม ในวัน .......................................... เวลา .................................... ของทุกสัปดาห
ณ หอง ...................... อาคาร ............................................................

at
ในการนี้จึงขอความอนุเคราะห ครู………………………………………………………. ตําแหนง ………………………

aw
ซึ่งเปนผูที่มีความรู ความสามารถและประสบการณในดาน …….…………………………………………………………………
เปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ดังกลาวตลอดภาคเรียน เพื่อพัฒนา
riy
การจัดการเรียนการสอน และการเรียนรูของนักเรียนโดยใชกระบวนการพัฒ นาบทเรียนรวมกัน (Lesson
study) ตามบริบทการทํางานจริงในชั้นเรียนและในโรงเรียนอยางเปนระบบและตอเนื่องตอไป
Pi

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา
it
w

ลงชื่อ
ob

(….............................................)
ประธานกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)……………………………
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
23

แบบตอบรับเปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)

ตามที่กลุม ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุม กิจกรรม …..………………………………………………..


โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ไดขอความอนุเคราะห ขาพเจา ………………………………………………………………. ตําแหนง ………………………………
เปนครูพเี่ ลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในภาคเรียนที…่ ... ปการศึกษา………..นั้น
ขาพเจา  ยินดีเปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ได
 ไมสามารถเปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ได
เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………………

at
ลงชื่อ
aw
riy
(….............................................)
ตําแหนง ………………….……………………………
Pi

วันที่ ……….. เดือน ………………….. พ.ศ. ……………..


it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
24

แบบ PLC 04

ที่ ศธ …………………………… โรงเรียน…………………………………………………….


ตําบล…………… อําเภอ………….. จังหวัด………..
วันที่……….. เดือน……………….. พ.ศ. ………….

เรื่อง ขอเชิญเปนผูเ ชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)


เรียน ……………………………………………………………………………
สิ่งทีส่ งมาดวย แบบตอบรับเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) จํานวน ๑ ฉบับ
เนื่องดวยในภาคเรียนที่ ……...... ปการศึกษา …………………………….. ครูผูสอน (Model teacher) และ

at
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) จํานวน ………………………………... คน มีความประสงคขอจัดตั้ง กลุม

aw
ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุมกิจกรรม …..…………………………………………………...………………………
โดยกําหนดวันเวลาประชุมกลุม ในวัน .......................................... เวลา .................................... ของทุกสัปดาห
ณ หอง ...................... อาคาร ............................................................
riy
ในการนี้จึงขอความอนุเคราะห ….………………………………………………………. ตําแหนง ………………………
Pi

ซึ่งเปนผูที่มีความรู ความสามารถและมีความเชี่ยวชาญในดาน …….……………………………………………………………


เปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ดังกลาวตลอดภาคเรียน เพื่อพัฒนา
การจัดการเรียนการสอน และการเรียนรูของนักเรียนโดยใชกระบวนการพัฒ นาบทเรียนรวมกัน (Lesson
it
w

study) ตามบริบทการทํางานจริงในชั้นเรียนและในโรงเรียนอยางเปนระบบและตอเนื่องตอไป
ob

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา
r.K

ขอแสดงความนับถือ
D

(…………………………………….)
ผูอํานวยการโรงเรียน …………………………………..

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
25

แบบตอบรับเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)

ตามที่กลุม ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุม กิจกรรม …..………………………………………………..


โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ไดขอความอนุเคราะห ขาพเจา ………………………………………………………………. ตําแหนง ………………………………
เปนผูเ ชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุม ชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ในภาคเรียนที…่ …... ปการศึกษา………..…..นั้น
ขาพเจา  ยินดีเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ได
 ไมสามารถเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ได
เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………………

at
ลงชื่อ
aw
riy
(….............................................)
ตําแหนง ………………….……………………………
Pi
it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
26

ขั้นตอนที่ 3 การคนหาปญหา สาเหตุของปญหาและรวมกัน


หาแนวทางในการแกปญหาของกลุม PLC

หลังจากที่ไดมีการรวมกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) โดยมีบุคคลที่เกี่ยวของครบทั้ง 5 กลุม


ครูผูสอน (Model teacher) ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ครูพี่เลี้ยง (Mentor) ผูบริหารสถานศึกษา
(Administrator) และผูเชี่ยวชาญ (Expert) โดยผูอํานวยการโรงเรียนไดอนุมัติการจัดตั้งกลุม PLC เรียบรอยแลว
ในขั้ น ตอนต อ ไป สมาชิ ก ในกลุ ม PLC โดยเฉพาะครู ผู ส อน (Model teacher) และครู เ พื่ อ นร วมเรี ยนรู
(Buddy teacher) จะตองรวมกันดําเนินการ ดังนี้

1. คนหาปญหา ความตองการ
สมาชิกในกลุม PLC จะรวมกันเสนอปญหาหรือความตองการที่พบจากการจัดการเรียน
การสอนที่ผานมา โดยมุงเนนที่การเรียนรูของนักเรียน ซึ่งสมาชิกในกลุม PLC จะรวมกันจัดกลุมปญหา

at
และจัดลําดับความจําเปนเรงดวน จากนั้นจะพิจารณารวมกันเลือกปญหาเพียง 1 ปญหา

aw
riy
2. วิเคราะหสาเหตุของปญหา
จากปญหาที่เลือกมา 1 ปญหา สมาชิกในกลุม PLC จะรวมกันวิเคราะหสาเหตุของปญหา
Pi

โดยเนนสาเหตุ ที่ เ กี่ ยวกั บ การเรี ยนรู ของนัก เรียน ที่เ ปนผลมาจากการสอนของครูซึ่ง เปนสาเหตุที่
ครูผูสอนสามารถแกไขสาเหตุนั้นได
it
w
ob

3. หาแนวทางในการแกปญหา
สมาชิกในกลุม PLC จะรวมกันหาแนวทางในการแกปญหา จากสาเหตุที่รวมกันวิเคราะห
r.K

โดยสมาชิกในกลุม PLC จะรวมกันบอกเลาถึงประสบการณที่แกปญหาไดสําเร็จ คนหาตัวอยางหรือ


รู ป แบบที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ ตลอดจนคํ า แนะนํ า จากครู พี่ เ ลี้ ยง (Mentor) ผู บ ริ ห ารสถานศึกษา
D

(Administrator) และผูเชี่ยวชาญ (Expert) แลวสมาชิกในกลุม PLC จึง รวมกันตัดสินใจเลือกรูปแบบ/


วิธีการ/นวัตกรรมในการแกปญหาเพื่อนําไปสูการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study) ผานชุมชน
การเรียนรูทางวิชาชีพตอไป

ในการการคนหาปญหา สาเหตุของปญหาและรวมกันหาแนวทางในการแกปญหาของกลุม PLC นั้น


อาจใชแนวทางในการจัดทําเอกสาร ดังนี้

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
27

บันทึกการคนหาปญหา สาเหตุและรวมกันหาแนวทางในการแกปญหาของกลุม PLC แบบ PLC 05


โรงเรียน ……………………………………………………………………………………
ชื่อกลุมกิจกรรม…………………………… จํานวนสมาชิก…………………… คน ภาคเรียนที่ …… ปการศึกษา …………
ตอนที่ 1 ศึกษาปญหา ความตองการพัฒนา
สมาชิกในกลุ ม PLC ร ว มกั น เสนอปญ หาหรือ ความต อ งการที่พ บจากการจัดการเรียนการสอน
ที่ผานมา โดยมุงเนนที่การเรียนรูของนักเรียน ซึ่งใหสมาชิกในกลุม PLC รวมกันจัดกลุมปญหาและจัดลําดับ
ความจําเปนเรงดวน จากนั้นจะพิจารณารวมกันเลือกปญหาเพียง 1 ปญหา
ลําดับที่ 1 ปญหา ..................................................................................................................
ลําดับที่ 2 ปญหา ..................................................................................................................
ลําดับที่ 3 ปญหา ..................................................................................................................
ลําดับที่ 4 ปญหา ..................................................................................................................
ลําดับที่ 5 ปญหา ..................................................................................................................

at
รวมกันพิจารณาเลือกปญหาหรือความตองการพัฒนาที่กลุมสนใจ 1 ปญหา คือ

aw
………....................................................................................................................................................................
ตอนที่ 2 วิเคราะหสาเหตุของปญหา
riy
จากปญหาที่เลือกมา 1 ปญหา สมาชิกในกลุม PLC รวมกันวิเคราะหสาเหตุของปญหาโดยเนนสาเหตุที่
เกี่ยวกับการเรียนรูของนักเรียน ที่เปนผลมาจากการสอนของครู ซึ่งเปนสาเหตุที่ครูผูสอนสามารถแกไขสาเหตุนั้นได
Pi

สาเหตุที่ 1 …………………………………………………………………………………………………………
สาเหตุที่ 2 …………………………………………………………………………………………………………
สาเหตุที่ 3 …………………………………………………………………………………………………………
it

สาเหตุที่ 4 …………………………………………………………………………………………………………
w

สาเหตุที่ 5 …………………………………………………………………………………………………………
ob

รวมกันพิจารณาเลือกสาเหตุของปญหาทีส่ มาชิกในกลุม PLC สามารถแกไขหรือพัฒนาไดมา 1 สาเหตุ คือ


…………………………….............................................................................................................................................
r.K

ตอนที่ 3 หาแนวทางในการแกปญหา
สมาชิ กในกลุม PLC ร วมกั นหาแนวทางในการแกปญหา จากสาเหตุ ที่รวมกันวิ เคราะห โดยสมาชิก
D

ในกลุม PLC รวมกันบอกเลาถึงประสบการณที่แกปญหาไดสําเร็จ คนหาตัวอยางหรือรูปแบบที่ประสบความสําเร็จ


ตลอดจนคําแนะนําจากครูพี่เลี้ยง (Mentor) ผูบริหารสถานศึกษา (Administrator) และผูเชี่ยวชาญ (Expert)
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 1 ………………..………………………………………………………………
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 2 ………………..………………………………………………………………
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 3 ………………..………………………………………………………………
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 4 ………………..………………………………………………………………
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 5 ………………..………………………………………………………………
รวมกันพิจารณาเลือกรูป แบบ/วิธีก าร/นวัตกรรมที่สมาชิกในกลุม PLC จะใชในการแกปญหาเพื่อ
นําไปสูการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study) ผานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ คือ
…………………………….............................................................................................................................................
ลงชื่อ ประธานกลุม PLC ลงชื่อ ผูบันทึก
(….............................................) (….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
28

ขั้นตอนที่ 4 จัดทําปฏิทินการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC

หลังจากที่สมาชิกในกลุม PLC ได พิ จารณาเลือกรูปแบบ/วิธีก าร/นวัตกรรมที่จะใชในการแกปญหา


เพื่อ นําไปสูก ารพั ฒ นาบทเรี ยนร วมกั น (Lesson Study) ผานชุม ชนการเรียนรูท างวิชาชีพแลว ขั้นตอไป
เปนการจัดทําปฏิทินการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC ซึ่งประกอบดวยกิจกรรมสําคัญในการพัฒนา
บทเรียนรวมกัน (Lesson study) แบงเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (PLAN) ขั้นที่ 2
ปฏิ บั ติ ก ารสอนและสัง เกตการเรียนรูของนัก เรียน (DO) และ ขั้ นที่ 3 สะท อ นคิ ดผลการปฏิ บัติ งาน (SEE)
ซึ่งปฏิทินนี้จะเปนการวางแผนระยะยาวในการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC ในแตละภาคเรียน นอกจากนี้
ยังเปนหลักฐาน รองรอยที่แสดงใหเห็นถึงการเขารวมและการแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูอีกดวย
ในการจัดทําปฏิทิ นการพั ฒ นา
บทเรียนผานกระบวนการ PLC นี้ โรงเรียน

at
ควรมี ก ารกํ า หนดชั่ ว โมง PLC ลงใน

aw
ตารางสอนในทุกสัปดาห (สัปดาหละ 1-2
ชั่วโมง) หรือกลุม PLC แตละกลุมอาจมี
การกํ าหนดชั่ วโมง PLC ในช วงเวลาที่
riy
สมาชิกในกลุม PLC สะดวกเขารวมกลุม
Pi
ขึ้ นเอง โดยได รั บการอนุ มั ติ ขอ ง
ผู อํ า นวยการโรงเรี ยนก็ ได เพื่ อ ให
ผูอํานวยการโรงเรียนสามารถหมุนเวียน
it

เขารวมกลุ ม PLC ไดทุกกลุม โดยในการ


w

ทํ าปฏิ ทิ นการพัฒนาบทเรี ยนร วมกันนี้


ob

ตองมีบุคคลสําคัญอยางนอย 2 กลุม คือ


ครูผูสอน (Model teacher: MT) และ
r.K

ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher:


BT) ครูที่เปนสมาชิกในกลุม PLC จะตอง
พัฒนาบทเรียนของตนเอง โดยมีบทบาท
D

ผลัดกันเปนครูผูสอน (Model teacher)


และครูเพื่อนรวมเรียนรู(Buddy teacher)

ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดผลการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องครูทุกคนควรนําแผนรายคาบของตน มาทําการพัฒนา


บทเรียนรวมกันเดือนละ 1 แผน ( 1 วงจร Plan-Do-see) และไดภาคเรียนละ 3 แผน ( 3 วงจร Plan-Do-see)
เพื่อเปนการสรางโอกาสในการพัฒนาความชํานาญและเชี่ยวชาญของการปฏิบัติงานทางวิชาชีพครูของทุกคน
มากยิ่ งขึ้ นจนสุดทายไดเป นนวั ตกรรมที่ผานการวิ จัยเชิ งปฏิ บัติก ารในชั้ นเรียนจริ งอย างต อเนื่อ ง (สิ ริพันธุ
สุวรรณมรรคา, ม.ป.ป.)

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
29

แนวทางในการลงวันที่ในปฏิทิน
ในชั่ ว โมง PLC ของแต ล ะสั ป ดาห จ ะเริ่ม ต น ขั้น Plan ด ว ยการมี Model teacher 1 คนที่ จ ะมา
นําเสนอแผนการจัดการเรียนรูของตนเอง (แผน A) ให Buddy teacher สะทอนคิด แลวนําประเด็นที่ไดรับการ
ชี้แนะและแลกเปลี่ยนเรียนรูไปปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูของตนเองกอนนําไปใชจริง (แผน B) โดย Model
teacher กับ Buddy teacher จะนัดหมายกันวา Model teacher จะนําแผน B ไปใชสอนจริงในวันใดและ
คาบเรี ย นใดของสัป ดาหที่ 2 เพื่ อ เปด หอ งเรียนให Buddy teacher ไปสั ง เกตการสอนจริง ตามวันเวลา
ที่กําหนดไวเปนขั้น Do จากนั้นในชั่วโมง PLC ของสัปดาหที่ 3 Model teacher จะสะทอนผลการจัดกิจกรรม
การเรียนรูของตนเองแลวให Buddy teacher สะทอนพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเพิ่มเติม จากการสังเกต
แลวนําประเด็นที่ไดรับการชี้แนะและแลกเปลี่ยนเรียนรูไ ปพัฒนาการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูของตนเอง
(Redesign) เปนแผน C ซึ่งก็คือขั้น See ก็จะจบ 1 วงจร Plan-Do-see ของ Model teacher 1 คน
ยกตัวอยางเชน ถามีสมาชิกในกลุม PLC เปน Model teacher และ Buddy teacher จํานวน 5 คน
ครูที่เปนสมาชิกในกลุม PLC จะตองพัฒนาบทเรียนของตนเอง โดยมีบทบาทผลัดกันเปน Model teacher และ
Buddy teacher ซึ่งจะเห็นไดวา ตลอดระยะเวลา 1 ภาคเรียน ระยะเวลาประมาณ 20 สัปดาห สมาชิกในกลุม PLC

at
แตล ะคนจะไดเ ปน Model teacher เดือนละประมาณ 1 แผน ( 1 วงจร Plan-Do-see) และได เปน Model

aw
teacher ภาคเรียนละ 3 แผน ( 3 วงจร Plan-Do-see) สวนสัปดาหอื่นๆ นอกเหนือจากนั้นจะเขารวม PLC
ในบทบาทของ Buddy teacher ดังตาราง สวนครูพี่เลี้ยง (Mentor) สามารถเขารวม PLC และนับจํานวนชั่วโมง
ไดทุกครั้งตามที่เขารวมจริง แตก็ควรไดมีโอกาสในการเปน Model teacher ดวย
riy
Pi
it
w
ob
r.K

ทั้งนี้สัปดาหและครั้งที่ในการทํา PLC แตละสัปดาหอาจเปลี่ยนแปลงไปตามจํานวนสมาชิกในกลุม


PLC ที่เปน Model teacher และ Buddy teacher {ครูพี่เลี้ยง (Mentor) ผูบริหารสถานศึกษา (Administrator)
D

และผู เชี่ ยวชาญ (Expert) ไม จํ าเปนต อ งเข ารวม PLC ทุ ก ครั้ ง} ซึ่ ง แนะนํ า ว า จํ า นวนสมาชิ ก ในกลุ ม PLC
ที่ เ ป น Model teacher และ Buddy teacher ควรมี ไ ม น อ ยกว า 2 คน และไม ค วรเกิ น 6 คน เพราะ
จะสัมพันธกับจํานวนชั่วโมง PLC และเวลาในการวนรอบของวงจร Plan-Do-see ดังนี้
จํานวน 1 วงจร Plan-Do-see 3 วงจร Plan-Do-see
สมาชิก จํานวนสัปดาห จํานวนชั่วโมง (โดยประมาณ) จํานวนสัปดาห จํานวนชั่วโมง (โดยประมาณ)
ในกลุม PLC
2 คน 2 สัปดาห 12 ชั่วโมง 6 สัปดาห 36 ชั่วโมง
3 คน 3 สัปดาห 18 ชั่วโมง 9 สัปดาห 54 ชั่วโมง
4 คน 4 สัปดาห 24 ชั่วโมง 12 สัปดาห 72 ชั่วโมง
5 คน 5 สัปดาห 30 ชั่วโมง 15 สัปดาห 90 ชั่วโมง
6 คน 6 สัปดาห 36 ชั่วโมง 18 สัปดาห 108 ชั่วโมง

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
30

ปฏิทินการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) แบบ PLC 06


โรงเรียน ……………………………………………………………………………………
ชื่อกลุมกิจกรรม…………………………… จํานวนสมาชิก…………………… คน ภาคเรียนที่ …… ปการศึกษา …………
LS ครูผสู อน (Model Teacher)
ขั้น กําหนดการ
วงจรที่ 1) 2) 3) 4) 5)
สัปดาหที่ 1 2 3 4 5
Plan1 ครั้งที่ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5
ว/ด/ป.
เวลา
LS1 สัปดาหที่ 2 3 4 5 6
Do1 ว/ด/ป.

at
เวลา
สัปดาหที่ 3 4 5 6 7

aw
See1 ว/ด/ป.
เวลา
riy
สัปดาหที่ 6 7 8 9 10
Plan2 ครั้งที่ ครั้งที่ 6 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 ครั้งที่ 9 ครั้งที่ 10
Pi

ว/ด/ป.
เวลา
it

LS2 สัปดาหที่ 7 8 9 10 11
w

Do2 ว/ด/ป.
ob

เวลา
สัปดาหที่ 8 9 10 11 12
r.K

See2 ว/ด/ป.
เวลา
สัปดาหที่ 11 12 13 14 15
D

Plan3 ครั้งที่ ครั้งที่ 11 ครั้งที่ 12 ครั้งที่ 13 ครั้งที่ 14 ครั้งที่ 15


ว/ด/ป.
เวลา
LS3 สัปดาหที่ 12 13 14 15 16
Do3 ว/ด/ป.
เวลา
สัปดาหที่ 13 14 15 16 17
See3 ว/ด/ป.
เวลา
ลงชื่อ ประธานกลุม PLC ลงชื่อ ผูบันทึก
(….............................................) (….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
31

ขั้นตอนที่ 5 ดําเนินการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC ตามปฏิทิน

ขั้นตอไปเปนการดําเนินการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC ตามปฏิทินที่กําหนดไว ในแตละ


สัป ดาห โดยผูบ ริห ารสถานศึก ษา (Administrator) ผูเ ชี่ยวชาญ (Expert) ครูพี่เ ลี้ยง (Mentor) ครูผูส อน
(Model teacher) และครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ดําเนินการจัดการเรียนการสอนไปพรอม ๆ กับ
การพัฒนาบทเรียนรวมกัน ซึ่งในแตละภาคเรียนครูแตละคนในแตละกลุม PLC ตองพัฒนาบทเรียนรวมกัน
คนละ 3 บทเรี ย น ( 3 วงจร Plan-Do-see) โดยควรทํ า กิจ กรรมพั ฒ นาบทเรียนรว มกั นเพี ยง 1 บทเรียน
( 1 วงจร Plan-Do-see) ในแตละเดือน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความพอเพียงในการเรียนรูและมีความตอเนื่องของ
การเรียนรูอยางเปนระบบครบวงจรของครูทั้งกลุม PLC
กิจกรรมสําคัญในการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson study) แบงเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 พัฒนา

at
แผนการจัดการเรียนรู (PLAN) ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรูของนักเรียน (DO) และ ขั้นที่ 3

aw
สะทอนคิดผลการปฏิบัติงาน (SEE) มีรายละเอียด ดังนี้
riy
Pi
it
w
ob

โดยในการดําเนินการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC ตามปฏิทินที่กําหนดไวทุกครั้ง จะตองมี


r.K

การบันทึก ไวเปนรองรอย หลัก ฐาน ซึ่ง อาจบันทึกลงใน แบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชน


การเรียนรูทางวิชาชีพ ตามตัวอยางที่กําหนดให โดยผูบันทึกอาจเปนเลขานุการของกลุม PLC หรืออาจให
Model Teacher ในแตละครั้งเปนผูบันทึก ทั้งในรูปแบบของการเขียนหรือการพิมพ ที่มีการกรอกขอมูลตางๆ
D

ตามแบบฟอรมใหครบถวนและลงชื่อไวเปนหลักฐาน
จากนั้นเสนอแบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ แตละครั้งที่เสร็จ
สมบูรณแนบพรอมหลักฐานอื่นๆ เชน ภาพกิจกรรม แผนการจัดการเรียนรู (ทั้งแผน A แผน B และ แผน C)
ให ผู อํ า นวยการโรงเรี ย นพิ จ ารณารับ รอง แล ว จึ ง นํ า มาสํ า เนาให กั บ สมาชิ ก ในกลุม PLC ทุ ก คนเก็ บ ไว
เปนหลักฐาน
ทั้งนี้ แบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ตามรูปแบบที่กําหนดให
ไมมีรูปแบบตายตัว สามารถปรับเปลี่ยนไดตามบริบทของสถานศึกษา

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํ า นั กงานเขตพื น
้ ที ก
่ ารศึ กษามั ธยมศึ กษา เขต 2
32 แบบ PLC 07
แบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ
1. ชื่อกลุมกิจกรรม ……………………………………………………………………… 2. จํานวนสมาชิก …………………… คน 3. ชื่อกิจกรรม ………………………………………………………………
4. ครั้งที่ …….… 5. วัน/เดือน/ปที่จัดกิจกรรม ……………….……… 6. ภาคเรียนที่ …….… 7. ปการศึกษา/ปงบประมาณ …………………… 8. จํานวนชั่วโมง …..........……… ชั่วโมง
9. บทบาทของสมาชิกในกลุม PLC 10. จํานวนสมาชิกที่เขารวมกิจกรรมในครัง้ นี้ ……...........… คน
บทบาท
ที่ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง ลงชื่อ
MT BT Mentor Admin Expert

at
w
ri ya
Pi
ปฏิทินการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ  วงจรที่ 1  วงจรที่ 2  วงจรที่ 3

it
ขั้นตอน Lesson Study 14. กิจกรรมทีท่ ํา วัน/เวลา สถานที่ จํานวนชั่วโมง

w
ขั้นที่ 1 พัฒนาแผนการ 1. Model Teacher วิเคราะหหลักสูตร และความตองการ/ปญหาที่เกี่ยวกับการเรียนรูของนักเรียนในวิชา
จัดการเรียนรู (PLAN) ที่ตนเองสอน เพื่อจัดทําแผนการจัดการเรียนรู (แผน A)
ob
2. Model Teacher นําเสนอแผนการจัดการเรียนรู (แผน A) ใหสมาชิกในกลุม PLC รวมกันสะทอนคิด
3. Model Teacher ปรับแผนการจัดการเรียนรู (แผน A) ตามที่สมาชิกกลุม PLC แนะนําไดเปนแผน B
r.K

ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการสอน(DO) 4. Model Teacher นําแผน B ไปใชปฏิบัติการสอน


5. สมาชิกในกลุม PLC สังเกตการเรียนรูของนักเรียนในขณะ Model Teacher กําลังสอน บันทึกและรวบรวมขอมูล
D

ขั้นที่ 3 สะทอนคิด 6. Model Teacher สะทอนผลการสอนของตนเอง


ผลการปฏิบัติงาน (SEE) 7. สมาชิกกลุม PLC สะทอนผลเพิ่มเติม ชี้แนะและเปนพี่เลี้ยงตอการปฏิบัติการสอนของ Model Teacher
8. Model Teacher ปรับแผนการจัดการเรียนรู (แผน B) ตามที่สมาชิกกลุม PLC แนะนําไดเปนแผน C แลว
สรุปผลการพัฒนาบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน
รวมจํานวนชั่วโมงในวงจรนี้
*หมายเหตุ จํานวนชั่วโมงในแตละขั้นและกิจกรรมสามารถลงตามเวลาที่ดําเนินการจริงไดตามความเหมาะสม

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
33
ขั้นที่ 1 พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (PLAN) วันที่ …………………………………………… เวลา …………………………………………………….. รวมเวลา …………………………. ชั่วโมง
11. ประเด็นปญหา/สิง่ ที่ตองการพัฒนา (พิจารณาจากปญหาดานการเรียนรูหรือจุดเนนของการเรียนรูของนักเรียนเปนสําคัญ)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
12. สาเหตุ (ความตองการจําเปนของการพัฒนาบทเรียนนีร้ วมกันโดยผูสอน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จากประเด็นปญหา/สิง่ ที่ตองการพัฒนา และสาเหตุดังกลาว ครูผูสอน (Model teacher) ไดพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (แผน A) เรื่อง ……………………………………………………

at
รหัสวิชา ………………….. รายวิชา ………………………….. ระดับชั้น ………………………. ซึ่งจะใชสอนกับนักเรียนชั้น …………… วันที่ ……………………….. คาบที่ ……… เวลา…………….น.
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) สะทอนคิดในลักษณะของสุนทรียสนทนาตอแผนการจัดการเรียนรูของครูผสู อน (Model teacher)

w
ขอเสนอแนะจากการวางแผนบทเรียนโดยสมาชิกในกลุม PLC

ya
ที่ ชื่อสมาชิกในกลุม PLC บทบาท 1) จุดประสงค 2) เนื้อหาสาระ (3) การออกแบบกิจกรรม (4) การวัดและ (5) การบริหารจัดการ ลงชื่อ
การเรียนรู การเรียนรู การเรียนรูและสื่อ ประเมินการเรียนรู ชั้นเรียน

ri
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......

Pi
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... (….…/……./……..)

it
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......

w
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... (….…/……./……..)
ob
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......
r.K

…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... (….…/……./……..)


…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......
D

…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... (….…/……./……..)


…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………......
…………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... …………………………...... (….…/……./……..)

13. ความรู/หลักการที่นํามาใช เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรูของครูผูสอน (Model teacher) กอนนําไปใชจริง ลงชื่อ ผูบันทึก


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
34

ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรูของนักเรียน (DO) วันที่ ……………………………………… เวลา …………………………………………….. รวมเวลา ……………… ชั่วโมง
ครูผสู อน (Model teacher) นําแผนที่ปรับปรุงพัฒนารวมกับครูเพือ่ นรวมรู (Buddy teacher) (แผน B) มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
โดยเปดหองเรียนของตนใหครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ไดรวมเรียนรูโดยการสังเกตชั้นเรียนเนนการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเปนสําคัญ
แผนการจัดการเรียนรู (แผน B) เรื่อง …………………………………………………… รหัสวิชา ………………….. รายวิชา ………………………….. ระดับชั้น ………………… หอง ……………………..
วันที่สังเกต ………………………………………….…….. คาบที่ …………………… เวลา………………………….………………………….น. สถานที่ …………………………………………………………………….

at
ที่ ชื่อสมาชิกในกลุม PLC บทบาท ขอมูลที่ไดจากการสังเกตโดยสมาชิกในกลุม PLC เนนการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเปนสําคัญ ลงชื่อ

w
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ya
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)

ri
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Pi
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

it
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

w
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ob
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
r.K

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
D

*หมายเหตุ
- ขณะสังเกตควรจดบันทึก บันทึกภาพหรือวิดีโอบรรยากาศ ปฏิสัมพันธในหองและการเรียนรูของนักเรียนในเพื่อนํามาสะทอนผลและแลกเปลี่ยนเรียนรูกับครูผูสอน (Model teacher)ในขั้นตอไป
- ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ยืนสังเกตอยูมุมดานหนาหรือดานขางของหองเรียนโดยไมรบกวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูผูสอน (Model teacher) โดยใหความสําคัญกับประเด็นตาง ๆ
ดังตอไปนี้ 1) อะไรคือสิ่งที่เราอยากใหเด็กเรียนรูหรือพยายามจะแกไข 2) พฤติกรรมการเรียนรูที่สงสัญญาณวานักเรียนกําลังเรียนรู หรือจะรูไดอยางไรวา ผูเรียนกําลังหรือไดเรียนรูเรื่องนั้น ๆ แลว
3) ถาผูเรียนเรียนรูแลวจะทําอยางไรตอ 4) ผูเรียนที่ไมเกิดการเรียนรูจะทําอยางไรตอ
ลงชื่อ ผูบันทึก
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
(….............................................)
แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
35

ขั้นที่ 3 สะทอนคิดผลการปฏิบัติงาน (SEE) วันที่ …………………………………………… เวลา …………………………………………………….. รวมเวลา …………………………. ชั่วโมง
สมาชิกในกลุม PLC รวมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปญหา อุปสรรคและแนวทางการแกปญหาดานการเรียนรูของนักเรียน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ
เรียนรูของครูผสู อน โดยเริ่มจากใหครูผูสอน (Model teacher) สะทอนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูของตนเอง
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรู (แผน B) เรื่อง ……………………………………………… รหัสวิชา ………………….. รายวิชา ………………………….ระดับชั้น ………
ซึ่งใชสอนกับนักเรียนชั้น ……………..… ในวันที่ ……………………….. คาบที่ …………………… เวลา………………………….………………………….น. สถานที่ …..……………………………………….

at
พบวา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

w
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) สะทอนพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเพิ่มเติม จากการสังเกตและการบันทึกภาพและวิดีโอการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูผสู อน

ya
ที่ ชื่อสมาชิกในกลุม PLC บทบาท ผลการสะทอนคิดจากการปฏิบัติการสอนของครูผสู อน (Model teacher) ลงชื่อ

ri
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Pi
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

it
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

w
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
ob
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
r.K

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
D

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (….…/……./……..)
*หมายเหตุ ครูผสู อน (Model teacher) ทบทวนผลการสะทอนคิดรวมกับกลุม PLC รวมกัน Redesign
เพื่อระบุแนวทางการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู (แผน C) ในครั้งตอไป ลงชื่อ ผูบันทึก
(….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
36

สรุปผลการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ
ที่ ชื่อสมาชิกในกลุม PLC บทบาท 15. ผลที่ไดจากกิจกรรม 16. การนําผลที่ไดไปใช 17. อื่นๆ ลงชื่อ
………………………………………………………... ………………………………………………………... ……………………………………………….
………………………………………………………… ………………………………………………………… ……………………………………………….
………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………. (….…/……./……..)
………………………………………………………... ………………………………………………………... ……………………………………………….

at
………………………………………………………… ………………………………………………………… ……………………………………………….

w
………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………. (….…/……./……..)
………………………………………………………... ………………………………………………………... ……………………………………………….

ya
………………………………………………………… ………………………………………………………… ……………………………………………….
………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………. (….…/……./……..)

ri
………………………………………………………... ………………………………………………………... ……………………………………………….

Pi
………………………………………………………… ………………………………………………………… ……………………………………………….
………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………. (….…/……./……..)
………………………………………………………... ………………………………………………………... ……………………………………………….

it
………………………………………………………… ………………………………………………………… ……………………………………………….

w
…………………………………………………………
ob ………………………………………………………… ………………………………………………. (….…/……./……..)

*หมายเหตุ การรับรองของประธานกลุม PLC


- สําเนาแบบบันทึกการพัฒนาบทเรียน ขาพเจาขอรับรองวาขอมูลดังกลาวขางตนถูกตองและตรงตามความเปนจริงทุกประการ พรอมนี้ไดแนบเอกสารหลักฐานมาดวยแลว
r.K

รวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทาง ลงชื่อ ประธานกลุม PLC


วิชาชีพในครั้งนี้ใหสมาชิกในกลุม PLC
ทุกคน พรอมลงลายมือชื่อรับรอง (….............................................)
D

สําเนาถูกตอง เพื่อเปนหลักฐาน ตําแหนง ครู วิทยฐานะ...................................


- แนบภาพถายหลักฐานการพัฒนา การรับรองของผูอํานวยการสถานศึกษา
บทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการ ขอรับรองวาขอมูลทีบ่ ันทึกถูกตองและตรงตามความเปนจริงทุกประการ
เรียนรูทางวิชาชีพและแผน A, B
และ C ในภาคผนวก ลงชื่อ
(….............................................)
ตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียน............................
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 37
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

ขั้นตอนที่ 6 รายงานจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมใน PLC ของสมาชิก

เมื่อ สิ้ นสุ ดหนึ่งภาคเรียน ประธานกลุม PLC จัดทํารายงานจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชน


การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสมาชิก เสนอใหผูอํานวยการโรงเรียนรับทราบและรับ รองจํานวนชั่วโมง
การมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสมาชิก
ทั้งนี้ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการประเมินวิทยฐานะตามหลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากร
ทางการศึ กษา ตํ าแหน งครู มี วิ ทยฐานะและเลื่ อนวิ ทยฐานะตามหนั งสื อสํานั กงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21
ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ในดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ซึ่งไดกําหนดไววา ในชั่วโมงการปฏิบัติงาน
ตองมีชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพในแตละปไมนอยกวา 50 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังกําหนดวา
ครูตองเขารับการพัฒนาในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนาใหการรับรอง จํานวนไมนอยกวา 12 ชั่วโมง แตไมเกิน

at
20 ชั่ วโมงต อป รวมภายในระยะเวลา 5 ป จํ านวน 100 ชั่ วโมง กรณี มี ชั่ วโมงการพั ฒนาไม ครบ 100 ชั่ วโมง
ให นํ า ชั่ ว โมงการมี ส ว นร ว มในชุ ม ชนการเรี ย นรู ท างวิ ช าชี พ (Professional Learning Community : PLC)

aw
สวนที่เกินจาก 50 ชั่วโมงในแตละปมานับรวมได
นอกจากนี้ จากหลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ 2)
riy
ตามหนังสือ สํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ. 0206.7/ว 14 ลงวันที่ 25 กันยายน 2561 ซึ่ง ไดแกไขหลักเกณฑและ
วิธีก ารพัฒ นาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึก ษา สายงานการสอน ตามหนัง สือ สํานัก งาน ก.ค.ศ.
Pi

ที่ ศธ. 0206.7/ว 22 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ดังนี้


it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 38
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

at
aw
riy
อี ก ทั้ ง การมี ส ว นร ว มในชุ ม ชนการเรี ย นรู ท างวิ ชาชี พ (Professional Learning Community : PLC)
Pi

ยัง เปนสวนหนึ่ ง ของหลั กเกณฑ และวิ ธีก ารประเมินผลการปฏิบัติง านของขาราชการครูและบุคลากรทาง


การศึกษา ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/ว 20 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2561 ซึ่งไดมีการกําหนด
it

เปนตัวชี้วัดหนึ่งของการประเมินที่ครูจะตองมีผลการสงเสริมการเรียนรูทางวิชาชีพและเปนผูมีสวนรวมการ
w

เรียนรูทางวิชาการในชุมชนแหงการเรียนรู อีกดวย
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


แนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 39
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

แบบ PLC 08
บันทึกขอความ
สวนราชการ โรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………..
ที่ ……………..……. วันที่…….............................................................................................................................
เรื่อง รายงานจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสมาชิก
ภาคเรียนที่ …….. ปการศึกษา ……………………
เรียน ผูอํานวยการโรงเรียน
ตามที่ กลุมชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุมกิจกรรม …..………………………………………………
ไดดําเนินการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรูของนักเรียนโดยใชกระบวนการพัฒนาบทเรียน

at
รวมกัน (Lesson study) ผานชุมชนแหงการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ตามบริบทการทํางานจริงในชั้นเรียน
และในโรงเรียนอยางเปนระบบและตอเนื่อง ในภาคเรียนที่ ……….. ปการศึกษา ………………………………………….

aw
โดยกําหนดวันเวลาประชุมกลุม ในวัน .......................................... เวลา .................................... ของทุกสัปดาห
ณ หอง ...................... อาคาร ..................................................... ระหวางวันที่ ……… เดือน …………………
riy
พ.ศ. ………… ถึงวันที่ ……… เดือน ………………… พ.ศ. ………… รวมทั้งหมด ……….. ครั้ง เปนทีเ่ รียบรอยแลวนั้น
ในการนี้ กลุมชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุมกิจกรรม …..……………………………………………
Pi

จึงขอรายงานจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในภาคเรียนที่ …….


ปการศึกษา …………………… ของสมาชิก และไดแนบรายละเอียดหลักฐานมาดวยแลวนี้
it

จํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมใน PLC
w

ที่ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง Model Buddy Mentor รวม


ob

teacher teacher
r.K
D

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา

ลงชื่อ
(….............................................)
ประธานกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)………………………

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
40

ขั้นตอนที่ 7 รายงานผลการสรางและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู
จากการสวนรวมใน PLC

หลังจากที่สมาชิกในกลุม PLC ไดมีสวนรวมในชุมชน


การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ตลอดภาคเรียนแลว ครูควรมีการสราง
นวัตกรรมที่ไดจากการเขารวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ซึ่งได
จากการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study) 3 วงจร Plan-Do-see
ที่มีความสอดคลองกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ที่มีลักษณะ
เปน 3 วงรอบตอเนื่องเปนวงจร P-A-O-R
สุวิมล วองวาณิช (2547) ไดอธิบาย ลักษณะเดน
ของการวิจัยในชั้นเรียนและการวิจัยปฏิบัติการไว สรุปไดวา

at
การวิจัยในชั้นเรียนและการวิจัยปฏิบัติการจะมีลักษณะเปนวงจร
เรียกวา วงจรการปฏิบัติการในชั้นเรียน เปนหลักการวิจัยและ

aw
พัฒนาที่ทําอยางเปนระบบและตอเนื่อง โดยครูผูสอนพัฒนา
การพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study) 3 วงจร Plan-Do-see
นวัตกรรมไปทดลองใช ประเมินและพัฒนานําไปใชทดลอง
riy
ประเมินและพัฒนากลับไปทดลองซ้ําใหม โดยเปาหมายของครูผูทําวิจัยคือพัฒนาคุณภาพการเรี ยนการสอน
ให มี ประสิทธิ ภาพสูงสุดวงจรการปฏิบัติ การในชั้ นเรียน มี ขั้ นตอนสําคั ญ 4 ขั้ นตอน เรี ยกย อว า PAOR ไดแก
Pi

ขั้นวางแผน (Plan) ขั้นลงมือปฏิบัติ (Act) ขั้นสังเกต (Observe) และขั้นสะทอนผล (Reflecting) อธิบายได ดังภาพ
it
w
ob
r.K

วงจรปฏิบัติการการทําวิจัยในชั้นเรียน : PAOR
D

ขอบเขตการทําวิจัยในชั้นเรียน/การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ครูควรใหความสําคัญกับการคิดคนพัฒนานวัตกรรมเพื่อการแกปญหาและพัฒนาการเรียนการสอน
อยางเหมาะสม แบงไดเปน 2 ประเภท คือ
1. สื่อการเรียนการสอนที่เปนสิ่งประดิษฐ (Invention)ไดแก เอกสารประกอบการสอน บทเรียน
สําเร็จรูป ชุดการเรียนการสอน รายงานการศึกษาคนควา CAI เปนตน
2. กิจกรรมการพัฒนาหรือเทคนิควิธีสอน (Instruction) ไดแก การสอนแบบนักเรียนเปนศูนยการ
เรียน การสอนดวยการแสดงบทบาทสมมุติ การสอนแบบรวมมือ การสอนแบบโครงการ เปนตน
ดังนั้นจะเห็นไดวา ครูผูสอนสามารถเชื่อมโยงการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study) 3 วงจร Plan-Do-see
ที่เขากับการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ที่มีลักษณะเปน 3 วงรอบตอเนื่องเปนวงจร P-A-O-R ได

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
41

โดยครูผสู อนควรจัดทํารายงานผลการสรางและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรูจ ากการสวนรวมในชุมชน


การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ซึง่ อาจประกอบดวยหัวขอตางๆ ดังนี้
• บทคัดยอ
• คํานํา / กิตติกรรมประกาศ
• สารบัญเนือ้ เรื่อง ตาราง และแผนภาพ
1) แนวคิดและเหตุผล
2) คําถามวิจัย
3) วิธีดําเนินการวิจัย

3.1) กลุมเปาหมาย บริบทและชวงเวลา
3.2) สารสนเทศ / ขอมูลที่จะเก็บรวบรวม
3.3) แหลงขอมูล เครือ่ งมือ (ตัวอยางเครื่องมือในภาคผนวก ข) และแผนปฏิบัติการ
ในการจัดเก็บขอมูล
3.4) การวิเคราะหขอมูล

at
4) ประโยชนที่เกิดขึ้นจากการวิจัย

aw
5) ผลการวิเคราะหขอมูล
6) สรุปผลการวิจัย (คําตอบของคําถามวิจัยทุกขอ)
riy
7) ขอเสนอแนะเพือ่ การแกไขปรับปรุง พัฒนาและ/หรือขยายผลแผนการจัดการเรียนรู
8) บทเรียน ความคิดใหม และแรงบันดาลใจทีเ่ กิดขึ้นจากการวิจัย
Pi

• ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แผนการจัดการเรียนรูฉบับปรับปรุง
ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
it
w

ซึ่งในการเสนอใหผูอํานวยการรับทราบ อาจทําเปนบันทึกขอความรายงานผลการสรางและพัฒนา
ob

นวัตกรรมการเรียนรูจากการสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ตามตัวอยาง ดังนี้


r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
42

แบบ PLC 09
บันทึกขอความ
สวนราชการ โรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………..
ที่ ……………..……. วันที่…….............................................................................................................................
เรื่อง รายงานผลการสรางและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรูจ ากการสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)

เรียน ผูอํานวยการโรงเรียน
ตามที่ ขาพเจา………………………………………………………………. ตําแหนง ………………………………………….
กลุมสาระการเรียนรู ………………………………………………………ไดเขารวมกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
ชื่อกลุมกิจกรรม …..…………………….……………………… ในภาคเรียนที่ ……….. ปการศึกษา ………………………………

at
ในบทบาทของครูผูสอน (Model Teacher) ซึ่งไดดําเนินการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู

aw
ของนั ก เรี ย นในรายวิ ช า …………………………………................ ระดั บ ชั้ น …………………………………… โดยใช
กระบวนการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson study) ครบวงจร Plan-Do see ทั้ง 3 รอบ ผานการมีสวนรวม
ในชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ตามบริบทการทํางานจริงในชั้นเรียนและในโรงเรียนอยางเปนระบบ
riy
และตอเนื่องนั้น
Pi

ในการนี้ ข า พเจ า จึ ง ขอรายงานผลการสร างและพัฒนานวั ตกรรมการเรียนการรู จากการสวนรวม


ในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ตามเอกสารดังแนบ
it

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา
w
ob

ลงชื่อ
r.K

(….............................................)
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
43

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). คูมือการขับเคลื่อนกระบวนการ


PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ”สูสถานศึกษา
สําหรับศึกษานิเทศก. เอกสารอัดสําเนา

กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ


เรื่องใหใชมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานศูนยการศึกษาพิเศษ. ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2561.

ชาริณี ตรีวรัญู. (2558). ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional learning community: PLC).


ใน บังอร เสรีรัตน ชาริณี ตรีวรัญู และเรวดี ชัยเชาวรัตน (บ.ก.), 9 วิถีสรางครูสูศิษย
เอกสารประมวลแนวคิดและแนวทางพัฒนาวิชาชีพครู (น. 13-27). กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาระบบ

at
กลไกและแนวทางการหนุน เสริมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผูเ รียน สํานักงานสงเสริม

aw
สังคมแหงการเรียนรูและพัฒนา คุณภาพเยาวชน (สสค.)

สิริพันธุ สุวรรณมรรคา. (ม.ป.ป.). ชุดวิชา 23728 นวัตกรรมการบริหารการศึกษาและภาวะผูนํา


riy
หนวยที่ 6 ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพเพื่อการพัฒนาการศึกษา.
Pi
นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุวิมล วองวาณิช. (2547). การวิจัยปฎิบัติการในชั้นเรียน = Classroom action research.


it

กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
w
ob

สํานักงาน ก.ค.ศ. (2560). หลักเกณฑและวิธีการใหขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครู


มีวิทยะฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ. ที่ ศธ 0206.7/ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560. หนังสือเวียน
r.K

สํานักงาน ก.ค.ศ. (2560). หลักเกณฑและวิธีการใหขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครู


มีวิทยะฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ. ที่ ศธ 0206.7/ว 22 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560. หนังสือเวียน
D

สํานักงาน ก.ค.ศ. (2561). หลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา


สายงานการสอน (ฉบับที่ 2) . ที่ ศธ 0206.7/ว 14 ลงวันที่ 25 กันยายน 2561. หนังสือเวียน

สํานักงาน ก.ค.ศ. (2561). หลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการครูและบุคลากร


ทางการศึกษา. ที่ ศธ 0206.7/ว 20 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2561. หนังสือเวียน

อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. (2552). เทคนิคการนิเทศ: ระบบพี่เลี้ยงและการใหคําปรึกษา (Mentoring).


สืบคนจาก https://panchalee.wordpress.com/2009/07/28/mentoring (ออนไลน)

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
44

at
aw
ภาคผนวก
ตัวอยางการสรางชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ
riy
Pi
it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
45

ตัวอยางการสรางชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ
จากแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning
Community: PLC) ตามที่ไดกลาวมาแลวในขางตน เพื่อใหผูบริหารและคุณครูไดมีความเขาใจและเห็นภาพ
ชัดเจนในการนํ าไปใช ในโรงเรี ยน จึ ง ขอยกตัวอยางการสรางชุม ชนแหง การเรียนรูท างวิ ชาชีพ พรอ มทั้ ง
การบันทึกการมีสวนรวมในการชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ ดังนี้ ผอ.สมชาย
โรงเรียนสมมุติวิทยา เปนโรงเรียนมัธยมศึกษาแหงหนึ่ง มี ผอ.สมชาย
เปนผูอํานวยการโรงเรียน โดยกลุมบริหารวิชาการไดกําหนดชั่วโมง PLC
ในตารางสอนทุกวันพฤหัสบดี เวลา 15.00-16.00 น. สัปดาหละ 1 ชั่วโมง
ในภาคเรี ย นที่ 2 ป ก ารศึ ก ษา 2561 ครู ก ลุ ม สาระการเรี ยนรูวิ ท ยาศาสตร ที่ สอนในระดั บ ม.ต น
ไดรวมกลุมกัน 5 คน โดยตั้งชื่อกลุมวา “กลุม PLC ครูวิทย ม.ตน” ซึ่งไดแบงตําแหนงกัน ดังนี้

at
ครูสมพล ครูสมใจ ครูสมศักดิ์ ครูสมศรี ครูสมหมาย

aw
riy
Pi

สมาชิกกลุม PLC สมาชิกกลุม PLC รองประธานกลุม PLC ประธานกลุม PLC เลขานุการกลุม PLC
it

ครูสมหวัง
w

ครูสมศรี ประธานกลุม PLC ไดทําบันทึกขอความ ตามแบบฟอรม


ob

PLC 03 เชิญครูสมหวัง ซึ่งเปนหัวหนากลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร


มาเปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุม PLC ให ผอ.สมชาย เห็นชอบและ
r.K

แจงใหครูสมหวังทราบเพื่อตอบรับเขารวมกลุม PLC ครูวิทย ม.ตน


ศน.สมสิริ
D

แลว ครูสมศรี ประธานกลุม PLC ยังไดใหโรงเรียนทําหนังสือ


ราชการ ตามแบบฟอรม PLC 04 เชิญ ศน.สมสิริ ศึกษานิเทศกของ สพม.99
มาเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุม PLC แลวให ศน.สมสิริ ตอบรับ
เขารวมกลุม PLC ครูวิทย ม.ตน

จากนั้น ครูสมศรี ประธานกลุม PLC และสมาชิกไดรวมกันกําหนดสถานที่ในการทํา PLC แตละครั้งที่


หองพักครูวิทยาศาสตร อาคาร 3 ชั้น 2 แลวจัดทําบันทึกขอความ ตามแบบฟอรม PLC 02 เพื่อขอจัดตั้งกลุม
PLC เสนอให ผอ.สมชาย เห็นชอบและอนุญ าตจัดตั้งกลุม PLC เมื่อ ผอ. ลงนามเรียบรอ ยแลว ครูส มศรี
ถายเอกสารใหสมาชิกในกลุม PLC ทุกคนไวเปนหลักฐาน

ตัวอยางของเอกสารเปนดังนี้

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
46

บันทึกขอความ แบบ PLC 02

สมมุติวิทยา
สวนราชการ โรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………..
30 ตุลาคม 2561
ที่ ……………..……. วันที่…….............................................................................................................................
เรื่อง ขอจัดตั้งกลุมชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ประจําภาคเรียนที่ ....... 2 ปการศึกษา ………….. 2561

เรียน ผูอํานวยการโรงเรียน
นางสมศรี
ดวยขาพเจา...................................................................................... ครู คศ.2
ตําแหนง …………..…………………..
วิทยาศาสตร
กลุมสาระการเรียนรู..................................... มีความประสงคขอจัดตั้งกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)
2 ปการศึกษา …………..
ประจําภาคเรียนที่ ....... 2561 โดยมีรายละเอียดดังนี้
PLC ครูวิทย ม.ตน
1. ชื่อกลุมกิจกรรม …………………………………………………………………………………....…………………….
8

at
2. จํานวนสมาชิกทั้งหมด ………………………… คน ดังนี้
1) ครูผูสอน (Model teacher) และครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) จํานวน ………….. 5 คน

aw
ที่ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง กลุมสาระการ ระดับชั้น รายวิชาที่สอน หนาที่
เรียนรู ที่สอน
riy
1 นางสมศรี ครู คศ. 2 วิทยาศาสตร ม.1 ว 21102 ประธานกลุม
2 นายสมศักดิ์ ครู คศ. 2 วิทยาศาสตร ม.2 ว 22102 รองประธาน
Pi

3 นายสมพล ครู คศ. 1 วิทยาศาสตร ม.3 ว 23102 สมาชิก


4 นางสาวสมใจ ครูผูชวย วิทยาศาสตร ม.2 ว 21102 สมาชิก
5 นายสมหมาย ครู คศ. 1 วิทยาศาสตร ม.1 ว 22102 เลขานุการ
it

2) ครูพี่เลี้ยง (Mentor)
w

นายสมหวั ง
ชื่อ ……………………………………………………………………………. ครู คศ.3
ตําแหนง ………………………….…….……………………..
ob


 หัวหนากลุมสาระการเรียนรู ………………………………….. วิทยาศาสตร  ครูที่มีความเชี่ยวชาญดาน …………………………
 ครูที่มผี ลงานดีเดนดาน ………………….………………………  อื่นๆ (ระบุ) ……….…………………………………….
r.K

3) ผูบริหารสถานศึกษา (Administrator)
นายสมชาย
ชื่อ ……………………………………………………………………………. ผูอํานวยการชํานาญการพิเศษ
ตําแหนง ………………………….…….…………………….

 ผูอํานวยการโรงเรียน  รองผูอํานวยการโรงเรียน  อื่นๆ (ระบุ) ……………………………..
D

4) ผูเชี่ยวชาญ (Expert)
นางสาวสมสิ ริ
ชื่อ ……………………………………………………………………………. ศึกษานิเทศกชํานาญการ
ตําแหนง ………………………….…….…………………….

 ศึกษานิเทศก สังกัด ……………………………………สพม.99  อาจารยมหาวิทยาลัย สังกัด…………………………………
 อื่นๆ (ระบุ) …………………………………………………………………………………………………………………………………
พักครูวิทย อาคาร ............................................................
3. สถานที่ประชุมกลุม หอง ...................... 3 ชั้น 2
พฤหัสบดี
4. วันเวลาประชุมกลุม วัน .......................................... 15.00-16.00 น.
เวลา..............................................
โดยไดแนบหลักฐานบันทึกเชิญบุคลากรเปนครูพเี่ ลี้ยงและหนังสือเชิญเปนผูเชี่ยวชาญมาพรอมกับบันทึกนี้
จึงเรียนมาเพื่อทราบและพิจารณา
ลงชื่อ ประธานกลุม PLC
นางสมศรี
(….............................................)

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
47

แบบ PLC 03
บันทึกขอความ
สมมุติวิทยา
สวนราชการ โรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………..
30 ตุลาคม 2561
ที่ ……………..……. วันที่…….............................................................................................................................
เรื่อง ขอเชิญบุคลากรเปนครูพเี่ ลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC)

เรียน ผูอํานวยการโรงเรียน
2 ปการศึกษา ……………………………..
เนื่องดวยในภาคเรียนที่ ……...... 2561 ครูผูสอน (Model teacher) และ
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) จํานวน ………………………………... 5 คน มีความประสงคขอจัดตั้ง กลุม
PLC ครูวิทย ม.ตน
ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุมกิจกรรม …..…………………………………………………...………………………
พฤหัสบดี
โดยกําหนดวันเวลาประชุมกลุม ในวัน .......................................... 15.00-16.00 น. ของทุกสัปดาห
เวลา ....................................

at
พักครูวิทย อาคาร ............................................................
ณ หอง ...................... 3 ชั้น 2

aw
นายสมหวัง
ในการนี้จึงขอความอนุเคราะห ครู………………………………………………………. ครู คศ.3
ตําแหนง ………………………
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร
ซึ่งเปนผูที่มีความรู ความสามารถและประสบการณในดาน …….…………………………………………………………………
riy
เปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ดังกลาวตลอดภาคเรียน เพื่อพัฒนา
การจัดการเรียนการสอน และการเรียนรูของนักเรียนโดยใชกระบวนการพัฒ นาบทเรียนรวมกัน (Lesson
Pi

study) ตามบริบทการทํางานจริงในชั้นเรียนและในโรงเรียนอยางเปนระบบและตอเนื่องตอไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา
it
w
ob

ลงชื่อ
นางสมศรี
(….............................................)
r.K

ประธานกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)…………………………… PLC ครูวิทย ม.ตน


D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
48

แบบตอบรับเปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)

PLC ครูวิทย ม.ตน


ตามที่กลุม ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุม กิจกรรม …..………………………………………………..
สมมุติวิทยา
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
นายสมหวัง
ไดขอความอนุเคราะห ขาพเจา ………………………………………………………………. ครู คศ.3
ตําแหนง ………………………………
เปนครูพเี่ ลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในภาคเรียนที…่ 2... ปการศึกษา………..นั
2561 ้น
ขาพเจา 
 ยินดีเปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ได

 ไมสามารถเปนครูพี่เลี้ยง (Mentor) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ได


เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………………

at
aw
riy
ลงชื่อ
นายสมหวัง
(….............................................)
Pi
ครู คศ.3
ตําแหนง ………………….……………………………
วันที่ ……….. เดือน ………………….. พ.ศ. ……………..
it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
49

แบบ PLC 04

ที่ ศธ ๐๔๒๓๒ / สมมุติวิทยา


โรงเรียน…………………………………………………….
สมมุติ อําเภอ…………..
ตําบล…………… สมมุติ จังหวัด………..
สมมุติบุรี
30 ตุลาคม 2561

เรื่อง ขอเชิญเปนผูเ ชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)


เรียน นางสาวสมสิ
ริ
……………………………………………………………………………
สิ่งทีส่ งมาดวย แบบตอบรับเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) จํานวน ๑ ฉบับ

at
2 ปการศึกษา ……………………………..
เนื่องดวยในภาคเรียนที่ ……...... 2561 ครูผูสอน (Model teacher) และ
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) จํานวน ………………………………... 5 คน มีความประสงคขอจัดตั้ง กลุม

aw
PLC ครูวิทย ม.ตน
ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุมกิจกรรม …..…………………………………………………...………………………
พฤหัสบดี
โดยกําหนดวันเวลาประชุมกลุม ในวัน .......................................... 15.00-16.00 น. ของทุกสัปดาห
เวลา ....................................
riy
พักครูวิทย อาคาร ............................................................
ณ หอง ...................... 3 ชั้น 2
นางสาวสมสิริ
ในการนี้จึงขอความอนุเคราะห ….…………………………………………… ศึกษานิเทศกชํานาญการ
ตําแหนง ………………………..…………
Pi

การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร
ซึ่งเปนผูที่มีความรู ความสามารถและมีความเชี่ยวชาญในดาน …….……………………………………………………………
เปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ดังกลาวตลอดภาคเรียน เพื่อพัฒนา
it

การจั ด การเรี ย นการสอน และการเรี ย นรู ข องนั ก เรี ย นโดยใช ก ระบวนการพั ฒ นาบทเรี ย นร ว มกั น
w

(Lesson study) ตามบริบทการทํางานจริงในชั้นเรียนและในโรงเรียนอยางเปนระบบและตอเนื่องตอไป


ob

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา
r.K

ขอแสดงความนับถือ
D

นายสมชาย
(…………………………………….)
สมมุติวิทยา
ผูอํานวยการโรงเรียน …………………………………..

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
50

แบบตอบรับเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)

PLC ครูวิทย ม.ตน


ตามที่กลุม ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุม กิจกรรม …..………………………………………………..
สมมุติวิทยา
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
นางสาวสมสิริ
ไดขอความอนุเคราะห ขาพเจา ……………………………………………… ศึกษานิเทศกชํานาญการ
ตําแหนง …………………………….…………………
2 ปการศึกษา………..…..นั
เปนผูเ ชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุม ชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ในภาคเรียนที…่ …... 2561 ้น
ขาพเจา 
 ยินดีเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ได

 ไมสามารถเปนผูเชี่ยวชาญ (Expert) ของกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ได


เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………………

at
aw
riy
ลงชื่อ
นางสาวสมสิริ
(….............................................)
Pi

ศึกษานิเทศกชํานาญการ
ตําแหนง ………………….……………………………
it
w
ob

ครูสมศรี จากนั้นครูสมศรี ประธานกลุม PLC ไดนําสมาชิกในกลุม PLC รวมกัน


คนหาปญหา สาเหตุของปญหาและรวมกันหาแนวทางในการแกปญหาของกลุม PLC
r.K

ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 ตามแบบฟอรมที่ PLC 05 โดยมีขั้นตอนดังนี้


1. คนหาปญหา ความตองการ
D

2. วิเคราะหสาเหตุของปญหา
3. หาแนวทางในการแกปญหา
จากนั้นสมาชิกในกลุม PLC รวมกันตัดสินใจเลือกรูปแบบ/วิธีก าร/นวัตกรรมในการแกปญ หา
เพื่อนําไปสูการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study) ผานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพตอไป

ตัวอยางของเอกสารเปนดังนี้

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
51

บันทึกการคนหาปญหา สาเหตุและรวมกันหาแนวทางในการแกปญหาของกลุม PLC แบบ PLC 05


สมมุ ตว
ิ ท
ิ ยา
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………
PLC ครูวิทย ม.ตน จํานวนสมาชิก……………………
ชื่อกลุมกิจกรรม…………………………… 8 2 ปการศึกษา …………
คน ภาคเรียนที่ …… 2561
ตอนที่ 1 ศึกษาปญหา ความตองการพัฒนา
สมาชิกในกลุ ม PLC ร ว มกั น เสนอปญ หาหรือ ความต อ งการที่พ บจากการจัดการเรียนการสอน
ที่ผานมา โดยมุงเนนที่การเรียนรูของนักเรียน ซึ่งใหสมาชิกในกลุม PLC รวมกันจัดกลุมปญหาและจัดลําดับ
ความจําเปนเรงดวน จากนั้นจะพิจารณารวมกันเลือกปญหาเพียง 1 ปญหา
นักเรียนขาดความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร
ลําดับที่ 1 ปญหา ..................................................................................................................
นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ลําดับที่ 2 ปญหา ..................................................................................................................
นักเรียนขาดทักษะการใชเครื่องมือทางวิทยาศาสตรอยางถูกตอง
ลําดับที่ 3 ปญหา ..................................................................................................................
นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรค
ลําดับที่ 4 ปญหา ..................................................................................................................
นักเรียนขาดความรับผิดชอบตอการเรียนวิทยาศาสตร
ลําดับที่ 5 ปญหา ..................................................................................................................

at
รวมกันพิจารณาเลือกปญหาหรือความตองการพัฒนาที่กลุมสนใจ 1 ปญหา คือ

aw
นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรค
………....................................................................................................................................................................
ตอนที่ 2 วิเคราะหสาเหตุของปญหา
riy
จากปญหาที่เลือกมา 1 ปญหา สมาชิกในกลุม PLC รวมกันวิเคราะหสาเหตุของปญหาโดยเนนสาเหตุที่
เกี่ยวกับการเรียนรูของนักเรียน ที่เปนผลมาจากการสอนของครู ซึ่งเปนสาเหตุที่ครูผูสอนสามารถแกไขสาเหตุนั้นได
Pi

นักเรียนมีพื้นฐานทักษะกระบวนการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรคตางกัน
สาเหตุที่ 1 …………………………………………………………………………………………………………
การสอนของครูยงั ไมคอยเนนกิจกรรมที่พฒ
สาเหตุที่ 2 ………………………………………………………………………………………………………… ั นาทักษะกระบวนการคิด
เนื้อหาและกิจกรรมตามหนังสือเรียนยังไมคอยสงเสริมทักษะการคิด
สาเหตุที่ 3 …………………………………………………………………………………………………………
it

เวลาในการสอนของครูไมเพียงพอตอการจัดกิจกรรมสงเสริมทักษะการคิด
สาเหตุที่ 4 …………………………………………………………………………………………………………
w

ครูขาดแนวทางในการออกแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิด
สาเหตุที่ 5 …………………………………………………………………………………………………………
ob

รวมกันพิจารณาเลือกสาเหตุของปญหาทีส่ มาชิกในกลุม PLC สามารถแกไขหรือพัฒนาไดมา 1 สาเหตุ คือ


การสอนของครูยงั ไมคอยเนนกิจกรรมที่พฒ ั นาทักษะกระบวนการคิด
…………………………….............................................................................................................................................
r.K

ตอนที่ 3 หาแนวทางในการแกปญหา
สมาชิ กในกลุม PLC ร วมกั นหาแนวทางในการแกปญหา จากสาเหตุ ที่รวมกันวิ เคราะห โดยสมาชิก
D

ในกลุม PLC รวมกันบอกเลาถึงประสบการณที่แกปญหาไดสําเร็จ คนหาตัวอยางหรือรูปแบบที่ประสบความสําเร็จ


ตลอดจนคําแนะนําจากครูพี่เลี้ยง (Mentor) ผูบริหารสถานศึกษา (Administrator) และผูเชี่ยวชาญ (Expert)
การจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู โดยใช 5E
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 1 ………………..………………………………………………………………
การจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 2 ………………..………………………………………………………………
การจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 3 ………………..………………………………………………………………
การจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 4 ………………..………………………………………………………………
การจัดการเรียนรูโดยบูรณาการสื่อเทคโนโลยี
รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่ 5 ………………..………………………………………………………………
รวมกันพิจารณาเลือกรูป แบบ/วิธีก าร/นวัตกรรมที่สมาชิกในกลุม PLC จะใชในการแกปญหาเพื่อ
นําไปสูการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study) ผานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ คือ
การจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
…………………………….............................................................................................................................................
ลงชื่อ ประธานกลุม PLC ลงชื่อ ผูบันทึก
นางสมศรี
(….............................................) นายสมหมาย
(….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
52

ครูสมศรี
หลังจากรวมกันพิจารณาเลือกรูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมที่สมาชิกในกลุม
PLC จะใชในการแกปญหาเพื่อนําไปสูการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson Study)
ผานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ เปนการจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษาแลว

ครูสมศรี ประธานกลุม PLC ไดนําสมาชิกในกลุม PLC รวมกันจัดทําปฏิทินการพัฒนาบทเรียนรวมกัน


ผ า นชุ ม ชนแห ง การเรี ย นรู ท างวิ ช าชี พ (PLC) ตามแบบฟอร ม ที่ PLC 06 โดยผลั ด กั นเป นครู ผู สอน
(Model teacher) และครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ในแตละสัปดาห เมื่อเสร็จเรียบรอยแลว ครูสมศรี
ลงนามแลวถายเอกสารใหสมาชิกในกลุม PLC ทุกคนไวเปนหลักฐาน

at
aw
riy
Pi

ตัวอยางของปฏิทินการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) เปนดังนี้


it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
53

ปฏิทินการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) แบบ PLC 06


สมมุติวิทยา
โรงเรียน ……………………………………………………………………………………
PLC ครูวิทย ม.ตน จํานวนสมาชิก……………………
ชื่อกลุมกิจกรรม…………………………… 8 2 ปการศึกษา …………
คน ภาคเรียนที่ …… 2561
LS ครูผสู อน (Model Teacher)
ขั้น กําหนดการ
วงจรที่ 1) ครูสมหมาย 2) ครูสมศักดิ์ 3) ครูสมใจ 4) ครูสมพล 5) ครูสมศรี
สัปดาหที่ 1 2 3 4 5
Plan1 ครั้งที่ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5
ว/ด/ป. 1 พ.ย. 61 8 พ.ย. 61 15 พ.ย. 61 22 พ.ย. 61 29 พ.ย. 61
เวลา 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น.
LS1 สัปดาหที่ 2 3 4 5 6
Do1 ว/ด/ป. วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง
เวลา เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง

at
สัปดาหที่ 3 4 5 6 7
See1 ว/ด/ป. 15 พ.ย. 61 22 พ.ย. 61 29 พ.ย. 61 6 ธ.ค. 61 13 ธ.ค. 61

aw
เวลา 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น.
สัปดาหที่ 6 7 8 9 10
riy
Plan2 ครั้งที่ ครั้งที่ 6 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 ครั้งที่ 9 ครั้งที่ 10
ว/ด/ป. 6 ธ.ค. 61 13 ธ.ค. 61 20 ธ.ค. 61 27 ธ.ค. 61 3 ม.ค. 62
Pi

เวลา 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น.


LS2 สัปดาหที่ 7 8 9 10 11
it

Do2 ว/ด/ป. วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง


w

เวลา เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง


ob

สัปดาหที่ 8 9 10 11 12
See2 ว/ด/ป. 20 ธ.ค. 61 27 ธ.ค. 61 3 ม.ค. 62 10 ม.ค. 62 17 ม.ค. 62
r.K

เวลา 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น.


สัปดาหที่ 11 12 13 14 15
Plan3 ครั้งที่ ครั้งที่ 11 ครั้งที่ 12 ครั้งที่ 13 ครั้งที่ 14 ครั้งที่ 15
D

ว/ด/ป. 10 ม.ค. 62 17 ม.ค. 62 24 ม.ค. 62 31 ม.ค. 62 7 ก.พ. 62


เวลา 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น.
LS3 สัปดาหที่ 12 13 14 15 16
Do3 ว/ด/ป. วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง วันที่สอนจริง
เวลา เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง เวลาที่สอนจริง
สัปดาหที่ 13 14 15 16 17
See3 ว/ด/ป. 24 ม.ค. 62 31 ม.ค. 62 7 ก.พ. 62 14 ก.พ. 62 21 ก.พ. 62
เวลา 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น. 15.00-16.00 น.

ลงชื่อ ประธานกลุม PLC ลงชื่อ ผูบันทึก


นางสมศรี
(….............................................) นายสมหมาย
(….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
54

ขั้นต อ ไปสมาชิก ในกลุม PLC ครู วิท ย ม.ตน จะดําเนินการพัฒ นาบทเรียนผานกระบวนการ PLC
ตามปฏิทินการพั ฒนาบทเรี ยนร วมกั นผานชุม ชนแหงการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ที่กําหนดไวในขางตน
โดยจะขอยกตัวอยางการดําเนินการและการบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุม ชนแหง การเรียนรู
ทางวิชาชีพ ใน 1 วงจร Plan-Do-see ตามแบบฟอรมที่ PLC 07 ดังนี้
สั ป ดาห ที่ 1 ตรงกั บ วั น ที่ 1 พฤศจิ ก ายน 2561 เป น ครั้ ง ที่ 1 ของการทํ า PLC ในภาคเรี ย นที่ 2
ป ก ารศึ ก ษา 2562 โดยในชั่ ว โมง PLC เวลา 15.00 – 16.00 น. ครู ส มหมาย รั บ บทบาทเป น ครู ผู ส อน
(Model teacher) สวนครูสมศรี ครูสมพล ครูสมใจ และครูสมศักดิ์ รับบทบาทเปน ครูเพื่อนรวมเรียนรู
(Buddy teacher) ซึ่ ง วั น นี้ มี ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา (Administrator) ผอ.สมชาย ผู เ ชี่ ย วชาญ (Expert)
ศน.สมสิริ และครูพี่เลี้ยง (Mentor) ครูสมหวัง เขารวม PLC ดวย
ครูสมพล ครูสมใจ ครูสมศักดิ์ ครูสมศรี ครูสมหมาย

at
aw
riy
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ครูผูสอน (Model teacher)
Pi

ครูสมหวัง ศน.สมสิริ ผอ.สมชาย


it
w
ob

ครูพี่เลี้ยง (Mentor) ผูเชี่ยวชาญ (Expert) ผูบริหารสถานศึกษา (Administrator)


r.K

สําหรับสัปดาหที่ 1 ถือเปนครั้งที่ 1 ของการทํา PLC เปนขั้นที่ 1 พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (PLAN)


ที่ครูสมหมาย ที่มีบทบาทเปนครูผูสอน (Model teacher) นําแผนการจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
D

ที่ตนเองจัดทําขึ้น (แผน A) มาเลาใหครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) และสมาชิกในกลุม PLC รวมกัน


ฟง แลวรวมกันสะทอนคิดอยางเปนระบบและสรางสรรคในลักษณะของสุนทรียสนทนา เพื่อใหขอเสนอแนะ
จากการวางแผนบทเรียนโดยสมาชิกในกลุม PLCใน 5 ประเด็น คือ 1) วัตถุประสงคการเรียนรู 2) เนื้อหาสาระ
การเรียนรู 3) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูและสือ่ 4) การวัดและประเมินการเรียนรู 5) การบริหารจัดการ ชั้น
เรียน โดยแนะนําความรู/หลักการที่นํามาใชเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรูของครูสมหมาย
เปนแผน B กอนนําไปใชจริง ตลอดจนนัดหมายวันที่ คาบสอบและหองเรียนที่ครูสมหมายจะนําแผนนี้ไปใชสอน
จริงในสัปดาหตอไปเพื่อเปดหองเรียนใหสมาชิกในกลุม PLC ไดรวมเรียนรูโดยการสังเกตชั้นเรียน
ระหวางนี้ ครูสมหมายควรมีการบันทึกขอคิดเห็นของสมาชิกในกลุม PLC ลงในแบบบันทึกการพัฒนา
บทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูท างวิชาชีพ ขั้นที่ 1 พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (PLAN) หรืออาจใหสมาชิก
ในกลุม PLC แตละคนเขียนขอคิดเห็นตาง ๆ ลงในแบบบันทึกดวยลายมือตนเองแลวลงนามในบันทึกนั้นก็ได

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
55

ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรูของนักเรียน
(DO) ครูสมหมายนําแผนที่ปรับปรุงพัฒนารวมกับสมาชิกในกลุม
PLC (แผน B) ไปใช ใ นการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ต ามวั น ที่
คาบสอบและหอ งเรีย นที่นั ด หมายกัน ไว โดยเป ดหอ งเรียนให
สมาชิ ก ในกลุ ม PLC ได ร ว มเรี ย นรู โ ดยการสั ง เกตชั้ น เรี ย น
ซึ่งในวันนี้มี ครูสมศรี ครูสมพล ครูสมใจ และครูสมศักดิ์ ซึ่งเปน
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) เขารวมสังเกตชั้นเรียน โดย
ยืน สั ง เกตอยู ดา นขา งของหอ งเรียนและจดบันทึ ก บั น ทึก ภาพ
บรรยากาศในหองและการเรียนรูของนักเรียน เพื่อนําขอมูลที่ได
จากการสัง เกตมาบัน ทึก ลงในแบบบัน ทึก การพัฒ นาบทเรียน
รวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการ
สอนและสังเกตการเรียนรูของนักเรียน (DO) แลวลงนามในบันทึก
สําหรับสัปดาหที่ 3 ซึ่งยังถือเปนครั้งที่ 1

at
ในการทํา PLC ของครูสมหมาย เปนขั้นที่ 3

aw
สะทอนคิดผลการปฏิบัติงาน (SEE) ครูสมศรี
ประธานกลุม PLC จะใหครูสมหมายจะสะทอนผล
การจัดกิจกรรมการเรียนรูของตนเอง แลวเปดโอกาส
riy
ใหสมาชิกในกลุม PLC ชวยสะทอนพฤติกรรม
การเรียนรูของนักเรียนเพิ่มเติมจากการสังเกตและ
Pi

การบันทึกภาพและวิดีโอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ของครูสมหมาย จากนั้นครูสมหมาย จะนําสิ่งที่สมาชิก
it

ในกลุม PLC รวมกันสะทอนไปปรับปรุงพัฒนา


w

การออกแบบแผนการจัดการเรียนรูของตนเอง
ob

ไดเปน แผน C ตอไป


ระหว างนี้ ครู สมหมายควรมี การบันทึกขอคิดเห็นของสมาชิกในกลุม PLC ลงในแบบบันทึกการพัฒนา
r.K

บทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ ขั้นที่ 3 สะทอ นคิดผลการปฏิบัติง าน (SEE) หรืออาจให


สมาชิกในกลุม PLC แตละคนเขียนขอคิดเห็นตาง ๆ ลงในแบบบันทึกดวยลายมือตนเองแลวลงนามในบันทึกนั้นก็ได
D

โดยในการดําเนินการพัฒนาบทเรียนผานกระบวนการ PLC ตามปฏิทินที่กําหนดไวทุกครั้ง จะตองมี


การบันทึก ไวเปนรองรอย หลัก ฐาน ซึ่ง อาจบันทึกลงใน แบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชน
การเรียนรูทางวิชาชีพ ตามตัวอยางที่กําหนดให โดยผูบันทึกอาจเปนเลขานุการของกลุม PLC หรืออาจให
Model Teacher ในแตละครั้งเปนผูบันทึก ทั้งในรูปแบบของการเขียนหรือการพิมพ ที่มีการกรอกขอมูลตางๆ
ตามแบบฟอรมใหครบถวนและลงชื่อไวเปนหลักฐาน
จากนั้น ครูสมศรี จะเสนอแบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุม ชนการเรียนรูทางวิช าชีพ
แตละครั้งที่เสร็จสมบูรณแนบพรอมหลักฐานอื่นๆ เชน ภาพกิจกรรม แผนการจัดการเรียนรู (ทั้งแผน A แผน B
และ แผน C) ให ผอ.สมชาย พิจ ารณารับรอง แลวจึง นํามาสําเนาใหกับสมาชิกในกลุม PLC ทุก คนเก็บไว
เปนหลักฐาน
ตัวอยางของแบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ เปนดังนี้

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํ า นั กงานเขตพื น
้ ที ก
่ ารศึ กษามั ธยมศึ กษา เขต 2
56 แบบ PLC 07
แบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ
PLC ครูวิทย ม.ตน
1. ชื่อกลุมกิจกรรม ……………………………………………………………………… 2. จํานวนสมาชิก ……………………8 การจัดการเรียนรูต ามแนวคิดสะเต็มศึกษา
คน 3. ชื่อกิจกรรม ………………………………………………………………
1 5. วัน/เดือน/ปที่จัดกิจกรรม ……………….………
4. ครั้งที่ …….… 1 พ.ย. 2561 6. ภาคเรียนที่ …….…
2 7. ปการศึกษา/ปงบประมาณ ……………………
2561 6
8. จํานวนชั่วโมง …..........……… ชั่วโมง
9. บทบาทของสมาชิกในกลุม PLC 6
10. จํานวนสมาชิกที่เขารวมกิจกรรมในครัง้ นี้ ……...........… คน
บทบาท
ที่ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง ลงชื่อ
MT BT Mentor Admin Expert
1 นายสมหวัง ครู คศ. 3  ÊÁËÇѧ

at
2 นายสมหมาย ครู คศ. 1  ÊÁËÁÒÂ
 ÊÁÈÃÕ

w
3 นางสมศรี ครู คศ. 2
4 นายสมศักดิ์ ครู คศ. 2  ÊÁÈÑ¡´Ôì

ya
5 นายสมพล ครู คศ. 1  ÊÁ¾Å
6 นางสาวสมใจ ครูผูชวย  สมใจ

ri
Pi
ปฏิทินการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ 
 วงจรที่ 1  วงจรที่ 2  วงจรที่ 3
ขั้นตอน Lesson Study 14. กิจกรรมทีท่ ํา วัน/เวลา สถานที่ จํานวนชั่วโมง

it
ขั้นที่ 1 พัฒนาแผนการ 1. Model Teacher วิเคราะหหลักสูตร และความตองการ/ปญหาที่เกี่ยวกับการเรียนรูของนักเรียนในวิชา 29 ต.ค. 61 บานพัก 1

w
จัดการเรียนรู (PLAN) ที่ตนเองสอน เพื่อจัดทําแผนการจัดการเรียนรู (แผน A)
ob
2. Model Teacher นําเสนอแผนการจัดการเรียนรู (แผน A) ใหสมาชิกในกลุม PLC รวมกันสะทอนคิด 1 พ.ย. 61 หองพักครูวิทย 1
3. Model Teacher ปรับแผนการจัดการเรียนรู (แผน A) ตามที่สมาชิกกลุม PLC แนะนําไดเปนแผน B 2 พ.ย. 61 บานพัก 1
ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการสอน(DO) 4. Model Teacher นําแผน B ไปใชปฏิบัติการสอน 7 พ.ย. 61 หอง 435 1
r.K

5. สมาชิกในกลุม PLC สังเกตการเรียนรูของนักเรียนในขณะ Model Teacher กําลังสอน บันทึกและรวบรวมขอมูล (ม.1/3)


ขั้นที่ 3 สะทอนคิด 6. Model Teacher สะทอนผลการสอนของตนเอง 15 พ.ย. 61 หองพักครูวิทย 1
D

ผลการปฏิบัติงาน (SEE) 7. สมาชิกกลุม PLC สะทอนผลเพิ่มเติม ชี้แนะและเปนพี่เลี้ยงตอการปฏิบัติการสอนของ Model Teacher


8. Model Teacher ปรับแผนการจัดการเรียนรู (แผน B) ตามที่สมาชิกกลุม PLC แนะนําไดเปนแผน C แลว 16 พ.ย. 61 หองพักครูวิทย 1
สรุปผลการพัฒนาบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน
รวมจํานวนชั่วโมงในวงจรนี้ 6
*หมายเหตุ จํานวนชั่วโมงในแตละขั้นและกิจกรรมสามารถลงตามเวลาที่ดําเนินการจริงไดตามความเหมาะสม

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
57
1 พ.ย. 2561
ขั้นที่ 1 พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (PLAN) วันที่ …………………………………………… 15.00 – 16.00 น.
เวลา …………………………………………………….. 3
รวมเวลา …………………………. ชั่วโมง
11. ประเด็นปญหา/สิง่ ที่ตองการพัฒนา (พิจารณาจากปญหาดานการเรียนรูหรือจุดเนนของการเรียนรูของนักเรียนเปนสําคัญ)
นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
12. สาเหตุ (ความตองการจําเปนของการพัฒนาบทเรียนนีร้ วมกันโดยผูสอน)
การสอนของครูยงั ไมคอยเนนกิจกรรมที่พฒ
ั นาทักษะกระบวนการคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การบอกทิศทางลม
จากประเด็นปญหา/สิง่ ที่ตองการพัฒนา และสาเหตุดังกลาว ครูผูสอน (Model teacher) ไดพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู (แผน A) เรื่อง ……………………………………………………
ว 21102 รายวิชา …………………………..
วิทยาศาสตร 2 ระดับชั้น ……………………….
ม.1 ม.1/3 วันที่ …………………
7 พ.ย. 61 คาบที่ ………
5 เวลา………..………….น.
11.50-12.40

at
รหัสวิชา ………………….. ซึ่งจะใชสอนกับนักเรียนชั้น ……………
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) สะทอนคิดในลักษณะของสุนทรียสนทนาตอแผนการจัดการเรียนรูของครูผสู อน (Model teacher)

w
ขอเสนอแนะจากการวางแผนบทเรียนโดยสมาชิกในกลุม PLC

ya
ที่ ชื่อสมาชิกในกลุม PLC บทบาท 1) จุดประสงค 2) เนื้อหาสาระ 3) การออกแบบกิจกรรม 4) การวัดและประเมิน 5) การบริหารจัดการ ลงชื่อ
การเรียนรู การเรียนรู การเรียนรูและสื่อ การเรียนรู ชั้นเรียน

ri
1 นายสมหวัง ครูพี่เลี้ยง จุดประสงคมีครบทั้ง ตรงตามมาตรฐาน เพิ่มการอธิบาย ในการวัดความรูโดยใช นําเทคนิคกระบวน

Pi
(Mentor) ดาน K P A ชัดเจน การเรียนรูและตัวชี้วัด กระบวนการทาง แบบทดสอบใหลด การกลุมมาใช เชน ÊÁËÇѧ
และครอบคลุมดี วิศวกรรมฯให นร. เขาใจ จํา นวนขอไมใหมากไป การแขงขันใหคะแนน (1/11/61)
2 นางสมศรี ครูเพื่อน มีความสอดคลองกับ เนื้อหาสาระชัดเจนดี กิจกรรมมีความ ปรับแบบประเมินผล ควรมีการจัดกลุม

it
รวมเรียนรู ตัวชี้วัด ครอบคลุม ตรงตามตัวชี้วัด นาสนใจถูกตองตาม งานของนักเรียนใหมี โดยคละความรูความ ÊÁÈÃÕ

w
(Buddy teacher) ทั้ง K P A แนวคิดสะเต็มศึกษา เกณฑที่ชัดเจนขึ้น สามารถของนักเรียน (1/11/61)
ob
3 นายสมศักดิ์ ครูเพื่อน ปรับจุดประสงคให เนื้อหาสาระชัดเจนดี กิจกรรมตองใชเวลา มีการวัดและ ควรจัดเตรียมอุปกรณ
รวมเรียนรู เนนทักษะการคิด ตรงตามตัวชี้วัดของ คอนขางมาก อาจไม ประเมินผลสอดคลอง ไวเปนชุดๆ เพื่อความ ÊÁÈÑ¡´Ôì
r.K

(Buddy teacher) ขั้นสูงใหมากขึ้น ระดับชั้น ม.1 ทันในเวลาเรียน กับจุดประสงค สะดวกในการทํากิจกรรม (1/11/61)


4 นายสมพล ครูเพื่อน เพิ่มจุดประสงค อาจปรับเนื้อหา เพิ่มสถานการณที่เปน เพิ่มแบบประเมิน ควรมีปายบอกชื่อกลุม
รวมเรียนรู ดานเจตคติโดยเพิ่ม สําหรับนักเรียนบาง ปญหาใหชัดเจนเพื่อ ทักษะการคิดวิเคราะห ตั้งโตะไวเพื่อความ ÊÁ¾Å
D

(Buddy teacher) เรื่องจิตวิทยาศาสตร หองที่พรอมใหลึกขึ้น นําเขาสูกิจกรรมสะเต็ม คิดสรางสรรค สะดวกในการทํากิจกรรม (1/11/61)


5 นางสาวสมใจ ครูเพื่อน จุดประสงคชัดเจนดี เนื้อหาสาระถูกตอง เพิ่มการใชสื่อ ICT ใชวิธีการประเมินผลที่ อาจนําสื่อ ICT มาชวย
รวมเรียนรู สามารถนําไปสูการสอน เหมาะสมกับระดับชัน้ เชน VDO Clip มา หลากหลาย อาจเพิ่มให ในการจัดกลุมและสุม สมใจ
(Buddy teacher) และประเมินผลไดงาย ของนักเรียน ชวยสรางความเขาใจ นักเรียนประเมินตนเอง นักเรียนเพื่อนําเสนอ (1/11/61)
13. ความรู/หลักการที่นํามาใช เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรูของครูผูสอน (Model teacher) กอนนําไปใชจริง ลงชื่อ ผูบันทึก
การจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษา, การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรค, การประเมินทักษะการคิด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… นายสมหมาย
(….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
58

7 พ.ย. 2561
ขั้นที่ 2 ปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรูของนักเรียน (DO) วันที่ ……………………………………… 11.50 – 12.40 น.
เวลา …………………………………………….. รวมเวลา ………………1 ชั่วโมง
ครูผสู อน (Model teacher) นําแผนที่ปรับปรุงพัฒนารวมกับครูเพือ่ นรวมรู (Buddy teacher) (แผน B) มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
โดยเปดหองเรียนของตนใหครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ไดรวมเรียนรูโดยการสังเกตชั้นเรียนเนนการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเปนสําคัญ
การบอกทิศทางลม
แผนการจัดการเรียนรู (แผน B) เรื่อง …………………………………………………… ว 21102 รายวิชา …………………………..
รหัสวิชา ………………….. วิทยาศาสตร 2 ระดับชั้น …………………
ม.1 หอง ……………………..
ม.1/3
7 พ.ย. 61
วันที่สังเกต ………………………………………….…….. 5
คาบที่ …………………… 11.50-12.40
เวลา………………………….………………………….น. หอง 435
สถานที่ …………………………………………………………………….

at
ที่ ชื่อสมาชิกในกลุม PLC บทบาท ขอมูลที่ไดจากการสังเกตโดยสมาชิกในกลุม PLC เนนการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเปนสําคัญ ลงชื่อ

w
1 นายสมหวัง ครูพี่เลี้ยง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู นักเรียนสวนใหญมีสวนรวมในกิจกรรมดีมาก สามารถประดิษฐ
(Mentor) อุปกรณบอกทิศทางลมตามสถานการณที่ครูกําหนดไวได จะเห็นไดวานักเรียนกลุมที่ 1 ทุกคนรวมมือกันดีมากทําใหผลงานที่ ÊÁËÇѧ

ya
ไดมีคุณภาพมาก สวนกลุมที่ 5 มีนักเรียนทําเพียง 2-3 คน คนอื่นๆ ยังไมคอยมีสวนรวมเทาที่ควร (7/11/61)
2 นางสมศรี ครูเพื่อน ในขั้นนําเขาสูบทเรียน นักเรียนสวนใหญใหความสนใจและตอบคําถามดีมาก พยายามแสดงถึงประสบการณเดิมของตนเอง

ri
รวมเรียนรู ครูมีการตั้งคําถามไดดี ดูแลนักเรียนทั่วถึง แตชวงทํากิจกรรมนักเรียนบางกลุมยังมีสวนรวมในการทํากิจกรรมไมเต็มที่ ÊÁÈÃÕ

Pi
(Buddy teacher) และดวยเวลานอยจึงอาจทําใหนักเรียนไมมีโอกาสไดปรับปรุงแกไขผลงานอีกครั้ง (7/11/61)
3 นายสมศักดิ์ ครูเพื่อน นักเรียนใหความสนใจและใหความรวมมือในการทํากิจกรรมดีมาก ดูตั้งใจฟงและทําภารกิจของกลุม ครูมีการกระตุนความ
รวมเรียนรู สนใจของนักเรียนตลอดเวลาดี แตก็มีนักเรียนบางคนที่ไมคอยมีสวนรวมกับเพื่อนๆ ในกลุม จะรอใหนักเรียนที่เกงเปนคนทํา ÊÁÈÑ¡´Ôì

it
(Buddy teacher) มากกวา

w
(7/11/61)
4 นายสมพล ครูเพื่อน นักเรียนสวนใหญทํากิจกรรมแบบลองผิดลองถูก ยังไมไดนําความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและ
ob
รวมเรียนรู วิศวกรรมศาสตรในการแกปญหาเทาที่ควร แตก็สามารถทําผลงานออกมาไดดี นักเรียนกลุมที่ 2 คอนขางมีปญหา ÊÁ¾Å
(Buddy teacher) ในการทํางานเนื่องจากไมยอมรับฟงความคิดเห็นของกันและกัน สวนกลุมที่ 5 ก็มีนักเรียนที่ทําอยูเพียงไมกี่คน (7/11/61)
r.K

5 นางสาวสมใจ ครูเพื่อน ครูสอนตามแผนและตามขั้นตอนที่กําหนดไว ตอนที่ครูอธิบายโดยใชคลิปวีดิโอดูนักเรียนสนใจและตั้งใจดูมาก โดยสามารถ


รวมเรียนรู ตอบคําถามของครูไดอยางถูกตอง ตอนที่ใหนักเรียนนําเสนอก็ทําไดดีโดยเฉพาะกลุมที่ 1 แตนักเรียนบางกลุมที่ไมมีโอกาส สมใจ
(Buddy teacher) ออกมานําเสนอบางก็ดูมีปฏิกิริยาที่อยากออกมา มีบางกลุมที่ทํางานเสร็จไมทันเวลาเนื่องจากเวลาคอนขางนอย (7/11/61)
D

*หมายเหตุ
- ขณะสังเกตควรจดบันทึก บันทึกภาพหรือวิดีโอบรรยากาศ ปฏิสัมพันธในหองและการเรียนรูของนักเรียนในเพื่อนํามาสะทอนผลและแลกเปลี่ยนเรียนรูกับครูผูสอน (Model teacher)ในขั้นตอไป
- ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) ยืนสังเกตอยูมุมดานหนาหรือดานขางของหองเรียนโดยไมรบกวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูผูสอน (Model teacher) โดยใหความสําคัญกับประเด็นตาง ๆ
ดังตอไปนี้ 1) อะไรคือสิ่งที่เราอยากใหเด็กเรียนรูหรือพยายามจะแกไข 2) พฤติกรรมการเรียนรูที่สงสัญญาณวานักเรียนกําลังเรียนรู หรือจะรูไดอยางไรวา ผูเรียนกําลังหรือไดเรียนรูเรื่องนั้น ๆ แลว
3) ถาผูเรียนเรียนรูแลวจะทําอยางไรตอ 4) ผูเรียนที่ไมเกิดการเรียนรูจะทําอยางไรตอ ลงชื่อ ผูบันทึก
นายสมหมาย
(….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
59

ขั้นที่ 3 สะทอนคิดผลการปฏิบัติงาน (SEE) 15 พ.ย. 2561


วันที่ …………………………………………… 15.00 – 16.00 น.
เวลา …………………………………………………….. 3
รวมเวลา …………………………. ชั่วโมง
สมาชิกในกลุม PLC รวมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปญหา อุปสรรคและแนวทางการแกปญหาดานการเรียนรูของนักเรียน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ
เรียนรูของครูผสู อน โดยเริ่มจากใหครูผูสอน (Model teacher) สะทอนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูของตนเอง
การบอกทิศทางลม
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรู (แผน B) เรื่อง ……………………………………………… ว 21102 รายวิชา ………………………….ระดั
รหัสวิชา ………………….. วิทยาศาสตร 2 ม.1
บชั้น ………
ม.1/3 ในวันที่ ………………………..
ซึ่งใชสอนกับนักเรียนชั้น ……...………… 7 พ.ย. 61 คาบที่ ……………………5 11.50-12.40
เวลา………………………….………………………….น. หอง 435
สถานที่ …..……………………………………….
พบวา การจั ดกิจกรรมการเรียนการสอนเปนไปตามแผนการจัดการเรียนรูทกี่ ําหนดไว แตเวลาไมคอยพอ นักเรียนใหความรวมมือกับการทํากิจกรรมดีมาก สามารถสรางเครื่องมือ

at
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
วั………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ดทิศทางลมโดยใชแนวคิดสะเต็มศึกษาในการอธิบายได สามารถทําแบบทดสอบไดมากกวารอยละ 80 และมีผลการประเมินทักษะการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรคอยูในระดับ ดี ขึ้นไป

w
ครูเพื่อนรวมเรียนรู (Buddy teacher) สะทอนพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนเพิ่มเติม จากการสังเกตและการบันทึกภาพและวิดีโอการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูผสู อน

ya
ที่ ชื่อสมาชิกในกลุม PLC บทบาท ผลการสะทอนคิดจากการปฏิบัติการสอนของครูผสู อน (Model teacher) ลงชื่อ

ri
1 นายสมหวัง ครูพี่เลี้ยง ครูผูสอน สามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนไดดี นาสนใจและถูกตองตามแนวคิดสะเต็มศึกษา และสอนไดตามแผน ระหวาง

Pi
(Mentor) สอนก็ดูแลนักเรียนไดอยางทั่วถึง มีการตั้งคําถามและเสริมแรงดวยการใหคําชมและใหคะแนนกลุมเปนระยะ อาจเพิ่มเติมในเรื่อง ÊÁËÇѧ
ของการนํานักเรียนรวมกันสะทอนคิดวาในการสรางชิ้นงานนี้ไดมีการใชความคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรคอยางไรบาง (15/11/61)
2 นางสมศรี ครูเพื่อน คุณครูมีการตั้งคําถามไดดี ตื่นตัวตลอดเวลา กิจกรรมที่ออกแบบมาก็นาสนใจ สอดคลองกับตัวชี้วัดและจุดประสงคการเรียนรู

it
รวมเรียนรู ครูผูสอนบริหารจัดการชั้นเรียนไดดี ทั่วถึง แตสําหรับนักเรียนบางคนที่สังเกตเห็นวา ยังมีสวนรวมในการทํากิจกรรมนอย ÊÁÈÃÕ

w
(Buddy teacher) ครูผูสอนควรเขาไปกระตุนโดยอาจจะใชเปนคําถามหรือคะแนนกลุมก็จะชวยใหนักเรียนทุกคนไดมีสวนรวมมากยิ่งขึ้น
ob (15/11/61)
3 นายสมศักดิ์ ครูเพื่อน กิจกรรมสะเต็มศึกษาที่ครูผูสอนออกแบบไวมีความสนุกสนาน ทาทายความสามารถของนักเรียน และเชื่อมโยงกับมาตรฐาน
รวมเรียนรู การเรียนรูและตัวชี้วัดไดดี การแบงกลุมที่คละความสามารถของนักเรียนอาจจะมีขอดีในการทํางานกลุมที่ใหนักเรียน ÊÁÈÑ¡´Ôì
(Buddy teacher) ชวยเหลือกัน แตก็ควรสังเกตวาถานักเรียนบางคนไมไดมีสวนรวมในการทํากิจกรรมครูก็ตองเขาไปกระตุนและสงเสริมทันที (15/11/61)
r.K

4 นายสมพล ครูเพื่อน กิจกรรมสะเต็มศึกษาที่ครูผูสอนออกแบบมีความแปลกใหม ทาทายความสามารถของนักเรียนดีมาก แตในขั้นแรกตอนที่ครู


รวมเรียนรู นําเสนอสถานการณอยากใหครูผูสอนใชคําถามนําที่เชื่อมโยงไปสูการนําความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและ ÊÁ¾Å
D

(Buddy teacher) วิศวกรรมศาสตรมาใชในการแกปญหา และเวลาสรุปก็พยายามนํานักเรียนอภิปรายสะทอนคิดตามแนวคิดสะเต็มศึกษาใหได (15/11/61)


5 นางสาวสมใจ ครูเพื่อน ครูสอนไดตามแผนและตามขั้นตอนที่กําหนดไว การใชสื่อ ICT ของครูทําใหชวยสรางความสนใจของนักเรียนไดมาก และยัง
รวมเรียนรู ชวยใหงายตอความเขาใจของนักเรียนอีกดวย ในการประเมินผลใชเครื่องมือไดหลากหลายมีทั้งการประเมินตามสภาพจริงและ สมใจ
(Buddy teacher) การประเมินความรูความเขาใจของนักเรียนจากการทําแบบทดสอบ และมีการประเมินความคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรคดวย (15/11/61)
*หมายเหตุ ครูผสู อน (Model teacher) ทบทวนผลการสะทอนคิดรวมกับกลุม PLC รวมกัน Redesign
เพื่อระบุแนวทางการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู (แผน C) ในครั้งตอไป ลงชื่อ ผูบันทึก
นายสมหมาย
(….............................................)
ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562
คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
60

สรุปผลการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ
ที่ ชื่อสมาชิกในกลุม PLC บทบาท 15. ผลที่ไดจากกิจกรรม 16. การนําผลที่ไดไปใช 17. อื่นๆ ลงชื่อ
1 นายสมหวัง ครูพี่เลี้ยง ไดเรียนรูการออกแบบและจัดการเรียนรูตาม นําแนวทางการออกแบบและจัดกิจกรรมการสอน ใหพัฒนาตอ ÊÁËÇѧ
(Mentor) แนวคิดสะเต็มศึกษา ของครูผูสอนไปแนะนําและนิเทศครูในกลุมสาระฯ ในวงจรที่ 2 ตอไป (15/11/61)
2 นายสมหมาย ครูผูสอน ไดเรียนรูเทคนิคและวิธีการสอนที่จะชวยพัฒนา นําผลการสะทอนคิดจากสมาชิกในกลุม PLC - ÊÁËÁÒÂ
(Model Teacher) แผนการจัดการเรียนรูและการสอนใหดีขึ้น ไปปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูใหสมบูรณยิ่งขึ้น (15/11/61)

at
3 นางสมศรี ครูเพื่อน ไดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนว นําแนวทางการออกแบบและจัดกิจกรรมการสอน ลองนําไปใชใน ÊÁÈÃÕ

w
รวมเรียนรู สะเต็มศึกษาและการบริหารจัดการชั้นเรียน ของครูผูสอนไปใชในการออกแบบการสอนของตนเอง เนื้อหาสาระอื่นๆ (15/11/61)
4 นายสมศักดิ์ ครูเพื่อน ไดเรียนรูเทคนิคการตั้งคําถามและวิธีการสราง นําเทคนิคและวิธีการสอนของครูผูสอนไปปรับใช - ÊÁÈÑ¡´Ôì

ya
รวมเรียนรู ความสนใจแกนักเรียน ในการออกแบบและปฏิบัติการสอนของตนเอง (15/11/61)
5 นายสมพล ครูเพื่อน ไดเห็นถึงความสําคัญของการใชสถานการณนํา นําแนวทางการออกแบบและจัดกิจกรรมการสอน - ÊÁ¾Å

ri
รวมเรียนรู เพื่อเชื่อมโยงไปสูกิจกรรมสะเต็มศึกษา ของครูผูสอนไปใชในการออกแบบการสอนของตนเอง (15/11/61)

Pi
6 นางสาวสมใจ ครูเพื่อน ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูกับครูผูสอนที่สอนใน นําแผนของครูผูสอนไปใชสอนในหองที่ตนเอง ลองนําเทคโนโลยี สมใจ
รวมเรียนรู ระดับชั้นและวิชาเดียวกันทําใหไดแนวทางใหมๆ รับผิดชอบเพราะสอนในระดับชั้นและเนื้อหาเดียวกัน ใหมๆ มาใช (15/11/61)

it
*หมายเหตุ การรับรองของประธานกลุม PLC

w
- สําเนาแบบบันทึกการพัฒนาบทเรียน ขาพเจาขอรับรองวาขอมูลดังกลาวขางตนถูกตองและตรงตามความเปนจริงทุกประการ พรอมนี้ไดแนบเอกสารหลักฐานมาดวยแลว
รวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทาง ลงชื่อ ประธานกลุม PLC
ob
วิชาชีพในครั้งนี้ใหสมาชิกในกลุม PLC
ทุกคน พรอมลงลายมือชื่อรับรอง
นางสมศรี
(….............................................)
r.K

สําเนาถูกตอง เพื่อเปนหลักฐาน ชํานาญการ


ตําแหนง ครู วิทยฐานะ...................................
- แนบภาพถายหลักฐานการพัฒนา การรับรองของผูอํานวยการสถานศึกษา
บทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการ ขอรับรองวาขอมูลทีบ่ ันทึกถูกตองและตรงตามความเปนจริงทุกประการ
D

เรียนรูทางวิชาชีพและแผน A, B
และ C ในภาคผนวก ลงชื่อ
นายสมชาย
(….............................................)
สมมุติวิทยา
ตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียน............................

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
61

ครูสมศรี เมื่อสิ้นสุดหนึ่งภาคเรียน ครูสมศรี ในฐานะของประธานกลุม PLC จะจัดทํา


บันทึกขอความรายงานจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
(PLC) ของสมาชิก ตามแบบฟอรมที่ PLC 08 พรอมแนบหลักฐานตางๆ เสนอให
ผูอํานวยการโรงเรียนรับ ทราบและรับรองจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชน
การเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสมาชิก

ตัวอยางของแบบบันทึกการพัฒนาบทเรียนรวมกันผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ เปนดังนี้

at
aw
riy
Pi
it
w
ob
r.K
D

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562


คูมือแนวทางการดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
โดย ดร.กอบวิทย พิริยะวัฒน ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
62

แบบ PLC 08
บันทึกขอความ
สมมุติวิทยา
สวนราชการ โรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………..
30 ตุลาคม 2561
ที่ ……………..……. วันที่…….............................................................................................................................
เรื่อง รายงานจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสมาชิก
2 ปการศึกษา ……………………
ภาคเรียนที่ …….. 2561

เรียน ผูอํานวยการโรงเรียน
ตามที่ กลุมชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุมกิจกรรม …..……………………………………………… PLC ครูวิทย ม.ตน
ไดดําเนินการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรูของนักเรียนโดยใชกระบวนการพัฒนาบทเรียน

at
รวมกัน (Lesson study) ผานชุมชนแหงการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ตามบริบทการทํางานจริงในชั้นเรียน
และในโรงเรียนอยางเปนระบบและตอเนื่อง ในภาคเรียนที่ ……….. 2 ปการศึกษา ………………………………………….
2561

aw
พฤหัสบดี
โดยกําหนดวันเวลาประชุมกลุม ในวัน .......................................... 15.00-16.00 น. ของทุกสัปดาห
เวลา ....................................
พักครูวิทย อาคาร .....................................................
ณ หอง ...................... 3 ชั้น 2 ระหวางวันที่ ……… 1 เดือน ………………… พฤศจิกายน
riy
2561 ถึงวันที่ ……
พ.ศ. …………… 17 เดือน …………………
กุมภาพันธ พ.ศ. …………… 2562 รวมทั้งหมด …… 17 ครั้ง เปนที่เรียบรอยแลวนั้น
ในการนี้ กลุมชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ชื่อกลุมกิจกรรม …..…………………………………………… PLC ครูวิทย ม.ตน
Pi

จึงขอรายงานจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในภาคเรียนที่ ……. 2


ปการศึกษา …………………… 2561 ของสมาชิก และไดแนบรายละเอียดหลักฐานมาดวยแลวนี้
it

จํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมใน PLC
w

ที่ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง Model Buddy Mentor รวม


ob

teacher teacher
1 นายสมหวัง ครู คศ. 3 - - 90 90
r.K

2 นายสมหมาย ครู คศ. 1 18 72 - 90


3 นางสมศรี ครู คศ. 2 18 72 - 90
D

4 นายสมศักดิ์ ครู คศ. 2 18 72 - 90


5 นายสมพล ครู คศ. 1 18 72 - 90
6 นางสาวสมใจ ครูผูชวย 18 72 - 90

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา

ลงชื่อ
นางสมศรี
(….............................................)
ประธานกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ……………….…………… PLC ครูวิทย ม.ตน

ฉบับเผยแพรครั้งที่ 1 วันที่ 7 มกราคม 2562

You might also like