You are on page 1of 217

สําน

ักค
ุ้มค
รอ
งภ
ูมิป
ัญญา
การ
แพ
ทย
์แผน
ไทย
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
ฉบับอนุรักษ

ตำราแผนนวดของไทย

ไทย
ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)

ผน
เลม ๑

์แ
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข

สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
ISBN : 978-616-11-2012-2 [1]
ตำราแผนนวดของไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ไทย
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ผน
ISBN : 978-616-11-2012-2

์แ
ทย
ที่ปรึกษา :
ผศ.(พิเศษ) ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม
อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
นายแพทยปภัสสร เจียมบุญศรี
ร แพ
ากา
รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
ัญญ

นายแพทยณัฐวุฒิ ประเสริฐสิริพงศ
รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
ูมิป
งภ

ผูรวบรวม :
รอ

สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
ุ้มค

พิมพครั้งที่ มิถุนายน 2557


ักค

จำนวน 1,000 เลม


สําน

จัดพิมพโดย :
สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
สนับสนุนการพิมพโดย :
กองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
พิมพที่ : โรงพิมพองคการสงเคาระหทหารผานศึก ในพระบรมราชูปถัมภ

[2]
¤Ó¹Ó
ประเทศไทยมีความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปญญาทองถิ่นอันเปนมรดกทางวัฒนธรรม
สำคัญของชาติ และมีมาตรการจัดการเชิงระบบในการรวบรวม อนุรักษ คุมครองใหดำรงคงอยู อยางยั่งยืนสามารถ

ไทย
นำมาใช ป ระโยชนไดอยางถูกตอง เหมาะสม โดยประกาศใช พ ระราชบั ญ ญั ติ คุ ม ครองและส ง เสริ ม ภู มิ ป ญ ญา
การแพทย แ ผนไทย พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่ ง เป น ระบบกฎหมายเฉพาะ (sui-generis systems) ฉบั บ ต น ๆ นั บ เป น

ผน
นวัตกรรมใหมในสาขากฎหมายทรัพยสินทางปญญา ใหเกิดการคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
สมุนไพร ทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปญญาทองถิ่น ที่เกี่ยวของสูการใชประโยชนอยางยั่งยืน

์แ
สำหรับภารกิจการอนุรักษ คุมครองและใชประโยชนดังกลาว ตองอาศัยกลไกเชิงบูรณาการรวมกับภาคีเครือขาย

ทย
ทุกภาคสวนทุกระดับ ผานกลไกระดับชาติ ไดแก คณะกรรมการคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
แพ
โดยกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ไดดำเนินการและประสานการรวบรวม การจัดทำ
ทะเบียน การสังคายนา ปริวรรต ศึกษาวิจัยพัฒนาตอยอด สูการอนุรักษ คุมครอง และใชประโยชนทั้งในระดับ

ากา
ชุมชน สถานบริการสาธารณสุข หรือระบบเศรษฐกิจ
ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) นับเปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมอันทรงคุณคา
ัญญ

จนองคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) ไดประกาศรับรองขึ้นทะเบียนเปน


มรดกความทรงจำแหงโลก (Memory of the World) เมื่อป ๒๕๕4 สรางความภาคภูมิใจแกประชาชนชาวไทย
ูมิป

อย า งยิ่ ง ในด า นภู มิ ป ญ ญาการแพทย แ ผนไทยเกี่ ย วกั บ ตำรั บ ยา ตำรานวด หรื อ ตำราทางวิ ช าการแพทย ใ น
งภ

สมัยโบราณ ไดรับการบันทึกและจารึกไวบนแผนศิลาตามศาลารายของวัดดังกลาว
รอ

กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ไดขออนุญาตบันทึกภาพศิลาจารึกตำรายา ตาม


ศาลาราย จำนวน 521 แผน นำไปปริวรรต จากภาษาไทยโบราณเปนภาษาไทยปจจุบัน โดยไดรับการพิจารณาให
ุ้มค

ประกาศเปนตำรับยาแผนไทยหรือตำราการแพทยแผนไทยของชาติ และในลำดับแรกไดจัดพิมพเปนหนังสือชุด
ักค

“ศิลาจารึกตำรายา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)” จำนวน ๓ เลม ไดแก


สําน

เลม ๑ วาดวยตำรานวด ในแผนจารึกแสดงภาพรูปรางคน ทั้งดานหนาและดานหลัง พรอมเสนโยงบอก


จุดตำแหนงของเสนเอ็นในรางกาย ตลอดจนระบุชื่อเสน จุดแกอาการโรคตางๆ
เลม ๒ วาดวยตำรายา ใชบำบัดรักษาโรคตางๆ เนื้อหาของเรื่องราวที่จารึก กลาวถึง ตำราวาดวย
สมุฎฐานโรค ตำราวาดวยโรคตางๆ และยารักษาโรคเกี่ยวกับแมและเด็ก ตำราวาดวยชื่อยา ชื่อโรค
เลม ๓ วาดวยตำรายา ใชบำบัดรักษาโรคตางๆ เนื้อหาของเรื่องราวที่จารึก กลาวถึง ตำราวาดวย
สมุฏฐานโรค ตำราวาดวยชื่อยา ชื่อโรค รวมทั้งตำราวาดวยสรรพคุณยา และอภิธานศัพททั้งชื่อโรค ชื่อสมุนไพร
ทั้งพืชวัตถุ สัตววัตถุ และธาตุวัตถุ

[3]
หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพน
วิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ทั้งสามเลมดังกลาว จะเปนประโยชนในการอนุรักษ คุมครองภูมิปญญาการแพทย
แผนไทย รวมทั้งการขับเคลื่อนภารกิจดานการแพทยแผนไทย และเปนแนวทางดำเนินงานสำหรับผูมีบทบาท
เกี่ยวของ ไดแก นายทะเบียนกลาง นายทะเบียนจังหวัด ตลอดจนเปนแหลงอางอิงทางวิชาการ ศึกษาวิจัยพัฒนา
หรือนำไปเผยแพรและใชประโยชนตอไป

ไทย
(ผศ. (พิเศษ) ดร.นพ. ธวัชชัย กมลธรรม)
อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

[4]
ÊÒúÒÞ
คำนำ [3]
สารบาญ [5]
บทนำ [7]

ไทย
ความสำคัญของตำราแผนนวดของไทย [7]
แหลงขอมูลที่ปรากฏเรื่อง ตำราแผนนวดของไทย [9]

ผน
ลักษณะอักขรวิธีและเครื่องหมายโบราณในตนฉบับตำราแผนนวดของไทย [9]
จารึกแผนที่ ๑ แผนนวดหงาย ๑

์แ
จารึกแผนที่ ๑ แผนนวดคว่ำ ๔

ทย
จารึกแผนที่ ๒ แผนนวดหงาย ๗
จารึกแผนที่ ๒ แผนนวดคว่ำ
จารึกแผนที่ ๓ แผนนวดหงาย
จารึกแผนที่ ๓ แผนนวดคว่ำ
ร แพ ๑๐
๑๓
๑๖
ากา
จารึกแผนที่ ๔ แผนนวดหงาย ๑๙
จารึกแผนที่ ๔ แผนนวดคว่ำ ๒๒
ัญญ

จารึกแผนที่ ๕ แผนนวดหงาย ๒๕
จารึกแผนที่ ๕ แผนนวดคว่ำ ๒๘
ูมิป

จารึกแผนที่ ๖ แผนนวดหงาย ๓๑
จารึกแผนที่ ๖ แผนนวดคว่ำ ๓๔
งภ

จารึกแผนที่ ๗ แผนนวดหงาย ๓๗
รอ

จารึกแผนที่ ๗ แผนนวดคว่ำ ๔๐
จารึกแผนที่ ๘ แผนนวดหงาย ๔๓
ุ้มค

จารึกแผนที่ ๘ แผนนวดคว่ำ ๔๖
ักค

จารึกแผนที่ ๙ แผนนวดหงาย ๔๙
จารึกแผนที่ ๙ แผนนวดคว่ำ ๕๒
สําน

จารึกแผนที่ ๑๐ แผนนวดหงาย ๕๕
จารึกแผนที่ ๑๐ แผนนวดคว่ำ ๕๘
จารึกแผนที่ ๑๑ แผนนวดหงาย ๖๑
จารึกแผนที่ ๑๑ แผนนวดคว่ำ ๖๔
จารึกแผนที่ ๑๒ แผนนวดหงาย ๖๗
จารึกแผนที่ ๑๒ แผนนวดคว่ำ ๗๐
จารึกแผนที่ ๑๓ แผนนวดหงาย ๗๓
จารึกแผนที่ ๑๓ แผนนวดคว่ำ ๗๖
จารึกแผนที่ ๑๔ แผนนวดหงาย ๗๙
จารึกแผนที่ ๑๔ แผนนวดคว่ำ ๘๒
[5]
ÊÒúÒÞ (µ‹Í)
จารึกแผนที่ ๑๕ แผนนวดหงาย ๘๕
จารึกแผนที่ ๑๕ แผนนวดคว่ำ ๘๘
จารึกแผนที่ ๑๖ แผนนวดหงาย ๙๑
จารึกแผนที่ ๑๖ แผนนวดคว่ำ ๙๔
จารึกแผนที่ ๑๗ แผนนวดหงาย ๙๗

ไทย
จารึกแผนที่ ๑๗ แผนนวดคว่ำ ๑๐๐
จารึกแผนที่ ๑๘ แผนนวดหงาย ๑๐๓

ผน
จารึกแผนที่ ๑๘ แผนนวดคว่ำ ๑๐๖
จารึกแผนที่ ๑๙ แผนนวดหงาย ๑๐๙

์แ
ทย
จารึกแผนที่ ๑๙ แผนนวดคว่ำ ๑๑๒
จารึกแผนที่ ๒๐ แผนนวดหงาย ๑๑๕
จารึกแผนที่ ๒๐ แผนนวดคว่ำ
จารึกแผนที่ ๒๑ แผนนวดหงาย
แพ ร ๑๑๘
๑๒๑
ากา
จารึกแผนที่ ๒๑ แผนนวดคว่ำ ๑๒๔
จารึกแผนที่ ๒๒ แผนนวดหงาย ๑๒๗
จารึกแผนที่ ๒๒ แผนนวดคว่ำ ๑๓๐
ัญญ

จารึกแผนที่ ๒๓ แผนนวดหงาย ๑๓๓


จารึกแผนที่ ๒๓ แผนนวดคว่ำ ๑๓๖
ูมิป

จารึกแผนที่ ๒๔ แผนนวดหงาย ๑๓๙


งภ

จารึกแผนที่ ๒๔ แผนนวดคว่ำ ๑๔๒


จารึกแผนที่ ๒๕ แผนนวดหงาย ๑๔๕
รอ

จารึกแผนที่ ๒๕ แผนนวดคว่ำ ๑๔๘


ุ้มค

จารึกแผนที่ ๒๖ แผนนวดหงาย ๑๕๑


จารึกแผนที่ ๒๖ แผนนวดคว่ำ ๑๕๔
ักค

จารึกแผนที่ ๒๗ แผนนวดหงาย ๑๕๗


จารึกแผนที่ ๒๗ แผนนวดคว่ำ ๑๖๐
สําน

จารึกแผนที่ ๒๘ แผนนวดหงาย ๑๖๓


จารึกแผนที่ ๒๘ แผนนวดคว่ำ ๑๖๖
จารึกแผนที่ ๒๙ แผนนวดหงาย ๑๖๙
จารึกแผนที่ ๒๙ แผนนวดคว่ำ ๑๗๒
จารึกแผนที่ ๓๐ แผนนวดหงาย ๑๗๕
จารึกแผนที่ ๓๐ แผนนวดคว่ำ ๑๗๘
อภิธานศัพท ๑๘๑
บรรณานุกรม ๒๐1

[6]
º·¹Ó
¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹à¡ÕèÂǡѺ
µŒ¹©ºÑºµÓÃÒá¼¹¹Ç´¢Í§ä·Â

ไทย
ความสำคัญของตำราแผนนวดของไทย

ผน
การนวดไทยนับเปนภูมิปญญาอันล้ำคาที่สืบทอดกันมาชานานของคนไทย เปนภูมิปญญาในการ รักษาโรคที่

์แ
ใชไดผลดี และมีความสำคัญมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยเชื่อวาการนวดมีจุดเริ่มตนมาจาก การชวยเหลือกันเอง

ทย
ภายในครอบครัว เชน สามีนวดใหภรรยา ลูกหลานนวดใหพอแม หรือปูยาตายาย มีการใชอวัยวะตางๆ เชน มือ
แพ
ศอก เขา และเทา นวดใหผูอื่นหรือนวดใหตัวเอง จากหลักฐานพบวา มีการบันทึกเกี่ยวกับการนวดเปนลายลักษณ
อักษรเกาแกที่สุด คือ ศิลาจารึกสมัยสุโขทัยที่ขุดพบที่วัดปามะมวง ตรงกับสมัยพอขุนรามคำแหง มีรอยจารึกเปน

ากา
รูปการรักษาดวยการนวด
สมัยกรุงศรีอยุธยาปรากฏการบันทึกใน ๒ รัชสมัยคือ ในรัชสมัยของพระบรมไตรโลกนาถ ในกฎหมาย
ัญญ

ตราสามดวง กลาวถึงการแบงสวนราชการนาพลเรือนใหหมอนวด จำแนกตามตำแหนงเปน หลวง ขุน หมื่น พัน


และมีศักดินาเชนเดียวกับขาราชการสมัยนั้น และรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช การแพทยแผนไทยเจริญ
ูมิป

รุงเรืองมาก จนปรากฏในทำเนียบศักดินา ขาราชการฝายหารและพลเรือนที่ตราขึ้นในป พ.ศ. ๑๙๙๘ มีการแบง


งภ

กรมหมอนวดเปนฝายขวา-ซาย เปนกรมฯ ที่คอนขางใหญ มีหนาที่รับผิดชอบมากและตองใชหมอมากกวากรมอื่นๆ


หลักฐานจากจดหมายเหตุของราชทูต ลา ลู แบร ประเทศฝรั่งเศส ไดบันทึกเรื่องผูนวด ในแผนดินสยามมีความวา
รอ

“ในกรุงสยามนั้นถาใครปวยไขลง ก็จะเริ่มทำเสนสายยืดโดยใหผูชำนาญในทางนี้ ขึ้นไปบนรางกายของคนไข แลวใช


ุ้มค

เทาเหยียบ กลาวกันวาหญิงมีครรภมักใหเด็กเหยียบเพื่อใหคลอดบุตรงาย ไมพักเจ็บปวย


ักค

สมัยรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงใหปฏิสังขรณวัดโพธาราม หรือ


วัดโพธิ์ขึ้นเปนพระอารามหลวง และทรงโปรดใหรวบรวมตำรายา รูปปนฤๅษีดัดตน ตำราการนวดใหเก็บแสดง
สําน

ไว ต ามศาลาราย เพื่ อ ให ป ระชาชนได ศึ ก ษาโดยทั่ ว กั น และในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล า เจ า อยู หั ว
ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหบูรณะวัดโพธิ์ใหม ทรงโปรดใหหลอรูปฤๅษีดัดตนดวยสังกะสีผสมดีบุก ๘๐ ทา
รวบรวมตำราการนวด และจารึกสรรพวิชาการนวดไทยลงบนแผนหินออนจำนวน ๖๐ ภาพ แสดงถึงจุดนวดอยาง
ละเอียดประดับบนผนังศาลารายและบนเสาภายในวัดโพธิ์ เพื่อเผยแพรใหประชาชนทั่วไปไดศึกษาและสามารถนำ
ไปใชรักษาตนเองยามเจ็บปวยได ศิลาจารึกดังกลาวเปนเอกสารตนฉบับในการจัดทำชุดตำราภูมิปญญาการแพทย
แผนไทย ฉบับอนุรักษ ตำราแผนนวดของไทยฉบับนี้
นอกจากนี้ยังมีเสนประธาน ๑๐ ที่เปนหลักสำคัญของวิชาการนวดไทย ตามที่บูรพาจารยไดมีการถายทอด
สืบตอกันมา เชื่อกันวาภายในรางกายประกอบดวยเสนทั้งปวงถึง ๒๗,๐๐๐ เสน แตเสนที่เปนเสนประธานหลักของ

[7]
เสนทั้งปวงมีเพียง ๑๐ เสนเทานั้น เสนประธานเปนทางเดินของลม ซึ่งเปนพลังภายใน ที่หลอเลี้ยงรางกายให
สามารถทำงานไดตามปกติ เสนประธาน ๑๐ มีความสำคัญตอการบำบัดรักษาโรค ดวยวิธีการนวดรักษา เพราะเปน
โครงสรางในการนำมาใชอธิบายถึงอาการปกติและอาการผิดปกติของรางกาย โดยเฉพาะความผิดปกติที่มีสาเหตุมา
จากการติดขัด หรือการกำเริบของลม จึงสามารถนำหลักของทางเดิน เสนประธาน ๑๐ มาใชในการตรวจวินิจฉัยหา
สาเหตุของความผิดปกติ อาการที่เกิดจากความผิดปกติ มีความสัมพันธกับเสนประธานเสนใด รวมทั้งสามารถ
กำหนดวิธีการนวดรักษาที่สอดคลองสัมพันธกับ เสนประธานนั้นไดอยางมีหลักการ และในตำราโรคนิทานคำฉันท
๑๑ ของพระยาวิชยาบดี (กลอม) พรรณนาลักษณะจุดกำเนิดของเสนประธาน ๑๐ ไวดังนี้
“เสนสิบทานพรรณนา ในครรภาเปนนิไสย

ไทย
ลอมสูญพระเมรุไว สถิตลึกสักสองนิ้ว
ลอมเปนจักรทราสูนย ดูไพบูลยไมแพลงพลิ้ว

ผน
ดุจสายบรรทัดทิว เปนแนวแถวทอดเรียงกัน”

์แ
แสดงใหเห็นวา เสนประธานทั้ง ๑๐ นั้น มีศูนยกลางออกมาจากโดยรอบสะดือ ลึกลงไป ๒ นิ้วมือ ลักษณะ

ทย
การทอดออกจากศูนยกลางออกมาเปนแนวแถวเรียงกันอยางเปนระเบียบนอกจากนี้ยังพรรณนาลักษณะ ของ
เสนประธาน ๑๐ และอาการผิดที่เกิดจากเสนประธาน ๑๐ วา
“เสนเอ็นยอมเปนรู
ร แพ
ลมเลือดชูใหฟูฟอน
ากา
กำเริบมักรุมรอน ใหศุขทุกขทุกราตรี”
ัญญ

บงบอกถึงอาการผิดปกติของรางกายที่มีสาเหตุเชื่อมโยงกับเสนประธาน ๑๐ จึงสามารถนำองคความรูเกี่ยวกับ
เสนประธาน ๑๐ มาใชในการนวดรักษาอาการผิดปกติได
ูมิป

ภาพศิลาจารึกแผนนวด ๖๐ ภาพ ประกอบดวยองคความรูเกี่ยวกับแผนนวดหงาย ๓๐ ภาพ และ แผนนวด


งภ

คว่ำ ๓๐ ภาพ ซึ่งเปนหลักฐานบงบอกใหทราบถึงความแพรหลายและความชำนาญในการรักษาโรคหรืออาการ


ตางๆ ดวยการนวดรักษา เชน โรคตา โรคอัมพฤกษ อัณฑพฤกษ สันนิบาต และอาการผิดปกติตางๆ ที่เกิดจากลม
รอ

เปนสาเหตุ เชน ลมสรรนิบาต ลมมีพิษ ลมบาทจิต ลมมหาสนุก ฯลฯ ซึ่งจุดแกอาการตางๆ เหลานี้จะอยูบนจุดที่ใช


ุ้มค

นวดรักษาอาการ เชน คนไขมีอาการปวดศีรษะตอนเชา กดจุดแนวกึ่งกลางหนาผากบริเวณไรผม มีอาการขอมือตาย


เคลื่อนไหวขอมือไมได กดจุดบริเวณกึ่งกลางขอมือ (ภาพตนฉบับจารึกแผนที่ ๑๗ แผนนวดหงาย) เปนตน
ักค

ปจจุบันการแพทยแผนไทยเปนที่นิยมเพิ่มขึ้นทั้งในประเทศและตางประเทศ สงผลใหมีการนำ องคความรูไป


สําน

ศึกษาวิจัยถึงประโยชนของการรักษาดวยการนวดแผนไทย สำหรับประเทศไทยไดมีการใหบริการดายการนวด
หลายรูปแบบ ทั้งการนวดแบบหมอพื้นบาน และการนวดแผนไทยจากผูที่ผานการเขาอบรม จึงมีการนำไปใชตาม
ความถนัดและประสบการณของผูนวดสงผลใหมีความแตกตางกัน การรวบรวมและจัดพิมพชุดตำราภูมิปญญาการ
แพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ เรื่อง ตำราแผนนวดของไทย ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของการนวดแผนไทยทุกรูปแบบ เพื่อให
ผู ป ระกอบวิ ช าชี พ การแพทย แ ผนไทย นั ก วิ ช าการ และผู ที่ ส นใจ ให เ กิ ด การเรี ย นรู ห ลั ก ทางวิ ช าการ และ
ประสบการณจากการรักษาดวยการนวดตามหลักการแพทยแผนไทย เพื่อพัฒนาและ ตอยอดนำไปสูการใช
ประโยชนจากตำราแผนนวดของไทยอยางมีประสิทธิภาพ และเปนทางเลือกในการดูแลสุขภาพที่ปลอดภัยตอไป

[8]
แหลงขอมูลที่ปรากฏเรื่อง ตำราแผนนวดของไทย
ตำราแผนนวดของไทยเปนตำราการแพทยแผนโบราณของไทย ในปจจุบันปรากฏขอมูลเปนหลักฐานชัดเจน
อยูในเอกสารโบราณประเภทศิลาจารึก ซึ่งปรากฏในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และ ศิลาจารึกวัดราช
โอรสารามราชวรมหาวิหาร

ลักษณะอักขรวิธีและเครื่องหมายโบราณในตนฉบับตำราแผนนวดของไทย
เนื่องจากการเขียนหนังสือของคนไทยสมัยกอนที่มิไดรับราชการในกรมอาลักษณ มักมีลักษณะเฉพาะเปน

ไทย
เอกลักษณของแตละบุคคล และเปนยุคสมัยที่คนไทยยังไมมีการประกาศใชพจนานุกรมเพื่อกำหนดหลักเกณฑเปน
มาตรฐานใหสะกดคำที่มีความหมายเดียวกันเหมือนกันทั่วประเทศ ดังนั้นการผสมคำเพื่อ การอานจึงเปนไปอยาง

ผน
อิ ส ระ มี รู ป แบบแตกต า งกั น ตามแตส ำนั ก ที่ เรี ย นแต ล ะแห ง นิ ย ม หากสำนั ก เรี ย นนั้ น อยู ใ กล ค วามเจริ ญ เช น
พระราชวัง หรือวัดในกรุงการเขียนหนังสือก็จะมีแบบแผนที่ชัดเจนและถูกตอง มากกวา๑ ดวยเหตุดังกลาวการใช

์แ
ทย
รูปอักษรเขียนคำ เพื่อสื่อความหมายใหอานออกเสียงไดเขาใจตามภาษาพูด ที่ใชกันในทองถิ่น จึงมีความสำคัญมาก
ทำใหเกิดผลกระทบตอการใชรูปพยัญชนะ รูปสระสำหรับสะกดคำ ไดหลากหลายรูปแบบ แมจะมีความหมาย
ร แพ
เชนเดียวกันก็ตาม เชนคำวา กระษัย กษัย กระไสย เปนตน เห็นไดชัดเจนวา การเขียนหนังสือของคนไทยสมัยกอน
เขียนตามเสียงพูด เพื่อใหสามารถอานออกเสียง และเขาใจความหมายไดโดยไมใหความสำคัญกับการเขียน
ากา

อักขรวิธีพิเศษ ที่ปรากฏในตนฉบับมีลักษณะดังนี้
ัญญ

1. มีการเขียนรูปอักษรใหเชื่อมตอกัน เพื่อใหเขียนไดรวดเร็ว เพราะไมตองยกอุปกรณการเขียนหลายครั้ง


ูมิป

หากเปนตัวอักษรที่มีหางยาวก็จะมาเขียนเพิ่มเติมภายหลัง เชน
งภ

= ขมปาก
รอ

= รุชำ
ุ้มค

= ปตตะรคน
ักค

= ฝาเทา
สําน

= ฝายขวา

2. เขียนคำตางๆ ไมมีกฎเกณฑ แตสามารถเขียนใหสื่อความหมายไดโดยไมคำนึงถึงความถูกตองของ


รูปศัพท เชน
อาเจียร เขียนเปน อาเจียน
ศีศะ ” ศีรษะ
หัทไทย ” หทัย


กองแกว วีระประจักษ, “ลักษณะอักขรวิธีตนฉบับหนังสือกฎหมายตราสามดวง”, กฎหมายตราสามดวงฉบับราชบัณฑิตยสถาน,
กรุงเทพ : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐, หนา ๒๗. [9]
ธวาร ” ทวาร
พิศ ” พิษ
อะติสาร ” อติสาร
ฤศดวง ” ริดสีดวง
พิกาน ” พิการ
สอื้น ” สะอื้น
สะคริว ” ตะคริว

ไทย
3. พยัญชนะตนบางตัว เชน ด ท ส อาจมีการใชตัว ต เขียนแทนตามความนิยมของผูบันทึก เชน
เสียต - เสียด

ผน
อินตนู - อินธนู

์แ
ตะโพก - สะโพก

ทย
4. ใชไมมวน ในคำที่เขียนดวย สระไอ และ ใอ เชน
ใข -
ร ไข
แพ
ากา
ไนย - ใน
ัญญ

5. ไมมีการเขียนไมไตคู (–็) แทนสระเสียงสั้นลดรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด เชน


ูมิป

เปน - เปน
งภ

แขง - แข็ง
เคม - เค็ม
รอ

เหนบ - เหน็บ
ุ้มค
ักค

เครื่องหมายวรรคตอนโบราณ
สําน

ขนบในการบันทึกขอมูลของบรรพชนไทย มักใชเครื่องหมายโบราณแบบตางๆ แสดงหนาที่และฐานะของ


ขอความที่มีเครื่องหมายตางๆ ประกอบอยูดังนี้
1. ๏ เรียกวา ฟองมัน ฟองดัน ตาโค หรือ ตาไก ใชสำหรับเริ่มตนเรื่อง หรือขึ้นตนขอความใหม ไดทั้งที่เปน
วรรค บรรทัด หรือบท เชน
“๏ ปงคะลาสุริยกลา ...”
“๏ จันทภูสัง ...”
2. ๚, ฯ เรียกวา อังคั่น ใชสำหรับคั่นขอความแตละตอน หรือแตละหัวขอ และใหจบขอความยอยก็ได เชน
“๏ สุขุมังรากทวารหนัก ๚ ”
๏ เสนนี้สมะเตโช ๚ะ เจือในประชุมสาม ๚ะ ”
[10]
3. ๛ เรียกวาโคมูตร และ ๚ะ๛ อังคั่น วิสรรชนีย โคมูตร ใชสำหรับแสดงวา จบขอความตอนนั้น บรรทัด
นั้น หรือ วรรคนั้นเรื่องนั้น เชน
๒๓
“๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้บอกกำเหนิดอสุริณฑัณญาณธาตุ เกิดแตกองเตโชพิบัด๚ะ๛
4. ะ เรียกวา ละสุด ใชเขียนไวทายขอความแตละบรรทัดที่ยังมีพื้นที่วางที่เหลืออยู เพื่อจัดกรอบหลังของ
หนาสมุดใหเสมอกัน เชน
“๏ เสนนี้สมะเตโช ะ
แลนออกมาดั่งนี้๚ะ ”

ไทย
5. เรียกวา เครื่องหมายปกกา ใชประกอบนามบุคคล คำศัพท หรือตัวเลข เพื่อประหยัดพื้นที่ในการเขียน

ผน
ขอความที่ซ้ำกับขอความขางหนา เชน ลม
“๏ เสนนี้สันทะฆาตซายระคนดวย โลหิต ...”

์แ
ทย
มังษ
มือ
“๏ กาละทารีนิ้ว
เทา
๒๐ ๚ ” ร แพ
ากา
มรดกภูมิปญญาการแพทยแผนโบราณนั้น ยังมีสาระนารูอีกมากที่ปรากฏเปนหลักฐานอยู สันนิษฐานวา ตอง
เปนศาสตรที่ใชไดสัมฤทธิ์ผลในสังคมมาชานานแลว จึงมีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษรเพื่อสืบตอความรูเหลา
ัญญ

นั้นใหคงอยู หากมีความรูและความเขาใจในอักษรวิธีโบราณเปนอยางดีและมีการศึกษาวิจัยอยางละเอียดแลว อาจ


นำกลับมาใชในสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพในอนาคตได
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

[11]
[12]
สําน
ักค
ุ้มค
รอ
งภ
ูมิป
ัญญ
ากา
ร แพ
ทย
์แผน
ไทย
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 1 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

1
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 1 แผนนวดหงาย
1
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกกำเหนิดเสนทั้ง ๑๐ อันเปนประทานแกเสนทังหลายดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แผน
ทย
๏ อิทาจันทกลาซาย ๚
๏ ปงคะลาสุริยกลาขวา ๚

๏ กาละทารีนิว มือ
ร แพ ๏ สุมนารากชิวะหา ๚
เทา ๒๐๚
ากา
ัญญ

๏ หัศรังษีรากจักษุซาย ๚
๏ ทวารีรากจักษุขวา ๚
ูมิป

๏ จันทภูสังรากโสตซาย ๚
งภ

๏ รุชำรากโสตขวา ๚
รอ

๏ สุขุมังรากทวารหนัก ๚
ุ้มค

๏ สิขินีทวารเบา ๚
ักค

๏ ชีวะหาสะดมทังหา ๚
สําน

๏ กาลอำมพฤกษ ๚

๏ อะนันทะจักระหวัด ๚
๏ พิตคุณ ๚

2
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 1 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกกำเนิดเสนทั้ง ๑๐ อันเปนประธานแกเสนทั้งหลายดังนี้

ไทย
์แ ผน
ทย
อิทา จันทกลาซาย
ปงคลา สุริยะกลาขวา

กาลทารี นิ้วมือนิ้วเทา ๒๐
ร แพ สุมนา รากชิวหา
ากา
ัญญ

สหัสสรังษี รากจักษุซาย
ทวารี รากจักษุขวา
ูมิป

จันทภูสัง รากโสตซาย
งภ

รุชำ รากโสตขวา
รอ

สุขุมัง รากทวารหนัก
ุ้มค

สิขินี ทวารเบา
ักค

ชิวหาสดมภทั้งหา
สําน

กาลอัมพฤกษ

อนันทะจักรวรรดิ
พิตตะคุณ

3
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 1 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

4
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 1 แผนนวดคว่ำ
2
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนทั้ง ๑๐ ฝายหลังออกเปนประทานแกเสนทังหลายดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ อิทาแลนออกดังนี้ ๚ ๏ ปงคลาแลนออกดั่งนี้ ๚

ทย
๏ สุมนาแลนออกดังนี้ ๚
ร แพ ๏ กาลทารีแลนออกดั่งนี้ ๚
ากา

๏ ทวารีแลนออกดั่งนี้ ๚
ัญญ

๏ หัศรังษีแลนออกดังนี้ ๚
ูมิป

๏ รุซำแลนออกดั่งนี้ ๚
๏ จันทภูสังออกดังนี้ ๚
งภ

๏ สิขินีออกดั่งนี้ ๚
รอ

๏ สุขุมังออกดังนี้ ๚
ุ้มค
ักค

๏ กาละอำพฤกษ ๚
สําน

๏ ชีวหาสะดมทังหา ๚

แลนออกดั่งนี้ฝายซาย ๚ แลนออกดั่งนี้ฝายขวา ๚

5
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 1 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนทั้ง ๑๐ ฝายหลังออกเปนประธานแกเสนทั้งหลายดังนี้

ไทย
ผน
อิทา แลนออกดังนี้ ปงคลา แลนออกดังนี้

์แ
ทย
สุมนา แลนออกดังนี้ ร แพ กาลทารี แลนออกดังนี้
ากา
สหัสสรังษี แลนออกดังนี้ ทวารี แลนออกดังนี้
ัญญ

รุชำ แลนออกดังนี้
ูมิป

จันทภูสัง ออกดังนี้
สิขินี ออกดังนี้
งภ
รอ

สุขุมัง ออกดังนี้
ุ้มค

กาลอัมพฤกษ
ักค

ชิวหาสดมภทั้งหา
สําน

แลนออกดังนี้ ฝายซาย แลนออกดังนี้ ฝายขวา

6
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 2 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

7
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 2 แผนนวดหงาย
3
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกเสนอิทธาฝายซาย ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางตางดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ แกนาสิกตึง ๚

์แ
๏ แกปวดกะมับ ๚ะ

ทย
๏ แกหาวคางคาง ๚ ร แพ ๏ แกลมดูดสะบัก ๚ะ
ากา
๏ แกหูตึง ๚
๏ แกเนื้อเหน็ดชา ๚ะ
ัญญ

๏ แกนมมิออก ๚
๏ แกฟองดันบวม ๚ะ
ูมิป

๏ แกเมื่อยตนขา ๚
๏ แกขัดอุจาระ ๚ะ
งภ

๏ แกขัดเขา ๚
รอ

๏ แกลมเบงใหเกิด ๚ะ
ุ้มค

๏ แกเมื่อยแคง ๚
๏ แกเทาเย็น ๚ะ
ักค

๏ แกลมขัง ๚
สําน

๏ แกสะคริวเพลิง ๚ะ

๏ แกรอนฝาเทา ๚
๏ แกชักเทา ๚ะ

8
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 2 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเสนอิทาฝายซาย ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ ดังนี้

ไทย
ผน
แกนาสิกตึง

์แ
แกปวดขมับ

ทย
แกหาวคางคาง ร แพ แกลมดูดสะบัก
ากา
แกหูตึง
แกเนื้อเหน็บชา
ัญญ

แกนมมิออก
แกฟองดันบวม
ูมิป

แกเมื่อยตนขา
แกขัดอุจจาระ
งภ

แกขัดเขา
รอ

แกลมเบงใหเกิด
ุ้มค

แกเมื่อยแขง
แกเทาเย็น
ักค

แกลมขัง
สําน

แกตะคริวเพลิง

แกรอนฝาเทา
แกชักเทา

9
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 2 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

10
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 2 แผนนวดคว่ำ
4
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนอิทาฝายซาย ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ แกปวดกมอม ๚ะ

ทย
๏ แกปวดหนาผาก ๚ะ ร แพ
ากา
๏ แกมัวจักษุ ๚ะ
ัญญ

๏ แกรอนตัว ๚ะ
๏ แกคลื่นเหียน ๚ะ
๏ แกจับใหรอน ๚ะ
ูมิป

๏ แกหายใจขัด ๚ะ ๏ แกจับใหหนาว ๚ะ
งภ

รอน
๏ แกสะทาน ๚ะ
รอ

๏ แกเสียดชายโครง ๚ะ หนาว
ุ้มค

๏ แกเมื่อยเอว ๚ะ
ักค

๏ แกแนนอก ๚ะ ๏ แกขัดเขา ๚ะ
สําน

๏ แกรอนฝาเทา ๚ะ
๏ แกรอนอก ๚ะ
๏ แกสะคริวฝาเทา ๚ะ
๏ แกจุกอก ๚ะ ๏ แกลมใหเดินตลอด ๚ะ

11
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 2 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนอิทาฝายซาย ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
์แผน
แกปวดกระหมอม

ทย
แกปวดหนาผาก ร แพ
ากา
แกมัวจักษุ
ัญญ

แกรอนตัว
แกคลื่นเหียน
แกจับใหรอน
ูมิป

แกหายใจขัด แกจับใหหนาว
งภ

แกสะทานรอนสะทานหนาว
รอ

แกเสียดชายโครง
ุ้มค

แกเมื่อยเอว
ักค

แกแนนอก แกขัดเขา
สําน

แกรอนฝาเทา
แกรอนอก
แกตะคริวฝาเทา
แกจุกอก แกลมใหเดินตลอด

12
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 3 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

13
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 3 แผนนวดหงาย
5
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกเสนปงคลาฝายขวา ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางตางกัน ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แผน
๏ แกกลอนลงฝก ๚ะ

ทย
ร แพ ๏ แกเตโชใหออก ๚ะ
ากา
๏ แกเมื่อยสันนาแขง ๚ะ
ัญญ

๏ แกปวดกะหมับ ๚ะ ๏ แกเทาสทก ๚ะ
๏ แกสบักจม ๚ะ
ูมิป

๏ แกหาวเรอ ๚ะ ๏ แกกลอนลงแขง ๚ะ
๏ แกหูหนักขางขวา ๚ะ
งภ

๏ แกขัดจมูก ๚ะ
รอ

๏ แกสะคริวชัก ๚ะ
ุ้มค

๏ แกนมหลง ๚ะ
๏ แกกลอนหลง ๚ะ
ักค

๏ แกฝในนม ๚ะ
สําน

๏ แกอะโทคมาวาตใหออน ๚ะ
๏ แกน้ำนมไมมี ๚ะ
๏ แกเมื่อยขา ๚ะ ๏ แกไหวตัวมิได ๚ะ

14
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 3 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเสนปงคลาฝายขวา ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
์แ ผน
แกกลอนลงฝก

ทย
ร แพ แกเตโชใหออก
ากา
แกเมื่อยสันหนาแขง
ัญญ

แกปวดขมับ แกเทาสะทก
แกสะบักจม
ูมิป

แกหาวเรอ แกกลอนลงแขง
แกหูหนักขางขวา
งภ

แกคัดจมูก
รอ

แกตะคริวชัก
ุ้มค

แกนมหลง
แกกลอนหลง
ักค

แกฝในนม
สําน

แกอโธคมาวาตาใหออน
แกน้ำนมไมมี
แกเมื่อยขา แกไหวตัวมิได

15
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 3 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

16
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 3 แผนนวดคว่ำ
6
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนปงคลาฝายขวา ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางตาง ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ แกจับใหรอน ๚ะ

์แ
๏ แกปวดหากผาก ๚ะ

ทย
๏ แกสทาน รอน
๏ แกมัวจักษุ ๚ะ ร แพ หนาว
๚ะ
ากา
๏ แกคลื่นเหียน ๚ะ ๏ แกเมื่อยเอว ๚ะ
ัญญ

๏ แกขัดเขา ๚ะ
๏ แกหายใจขัด ๚ะ
ูมิป

๏ แกเมื่อยสันนาแขง ๚ะ
๏ แกแนนอก ๚ะ
งภ

๏ แกสคริวชักกลางเทา ๚ะ
รอ

๏ แกรอนอก ๚ะ
ุ้มค

๏ แกจุกอก ๚ะ ๏ แกลมขัดเทา ๚ะ
ักค
สําน

๏ แกลมปศขาศ ๚ะ ๏ แกรอนหลังเทา ๚ะ

๏ แกจับใหหนาว ๚ะ ๏ แกขัดเบา ๚ะ

17
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 3 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนปงคลาฝายขวา ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ ดังนี้

ไทย
ผน
แกจับใหรอน

์แ
แกปวดหนาผาก

ทย
แกสะทานรอนสะทานหนาว
แกมัวจักษุ ร แพ
ากา
แกคลื่นเหียน แกเมื่อยเอว
ัญญ

แกขัดเขา
แกหายใจขัด
ูมิป

แกเมื่อยสันหนาแขง
แกแนนอก
งภ

แกตะคริวชักกลางเทา
รอ

แกรอนอก
ุ้มค

แกจุกอก แกลมขัดเทา
ักค
สําน

แกลมปตคาด แกรอนหลังเทา

แกจับใหหนาว แกขัดเบา

18
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 4 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

19
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 4 แผนนวดหงาย
7
๏ ลักษณ แผนหงายรูปนี้ บอกเสนสุมะนาทามกลาง ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางตางกัน ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แผน
๏ แกเชื่อมมึน ๚ะ ๏ แกชีวหาสดม ๚ะ

ทย
๏ แกจิตรระสำระสาย ๚ะ ร แพ ๏ แกอาหารไมมีรศ ๚ะ
ากา
๏ แกเคลิ้มคลั่ง ๚ะ ๏ แกหวานปาก ๚ะ
ัญญ

๏ แกสะอื้นลมปะทะ ๚ะ ๏ แกขมปาก ๚ะ
ูมิป

๏ แกมะเมอเภอภก ๚ะ ๏ แกเคมปากเลือกปาก ๚ะ
งภ
รอ

๏ แกลิ้นแขงกระดาง ๚ะ
๏ แกมือแลเทาเพลีย ๚ะ
ุ้มค

๏ แกนอนมิหลับ ๚ะ ๏ แกลิ้นใหญคับปาก ๚ะ
ักค
สําน

๏ แกลมจิตรคุณ ๚ะ ๏ แกลิ้นหดยืดมิออก ๚ะ

๏ แกลมมะหาสนุก ๚ะ ๏ แกสุมรณันติ ๚ะ

20
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 4 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเสนสุมนาทามกลาง ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
์แ ผน
แกเชื่อมมึน แกชิวหาสดมภ

ทย
แกจิตระส่ำระสาย ร แพ แกอาหารไมมีรส
ากา
แกเคลิ้มคลั่ง แกหวานปาก
ัญญ

แกสะอื้นลมปะทะ แกขมปาก
ูมิป

แกละเมอเพอพก แกเค็มปากเลือกปาก
งภ
รอ

แกลิ้นแข็งกระดาง
แกมือแลเทาเพลีย
ุ้มค

แกนอนมิหลับ แกลิ้นใหญคับปาก
ักค
สําน

แกลมจิตรคุณ แกลิ้นหดยืดมิออก

แกลมมหาสนุก แกสุมรณันติ

21
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 4 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

22
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 4 แผนนวดคว่ำ
8
๏ ลักษณ แผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนสุมะนาทามกลาง ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางตางกัน ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ แกลมหัศดม ๚ะ

ทย
๏ แกเชื่อมมึน ๚ะ ร แพ
ากา
๏ แกสวิงสวาย ๚ะ
ัญญ

๏ แกมะหาสดม ๚ะ
๏ แกหายใหขัด ๚ะ
๏ แกลมใหหิว ๚ะ
ูมิป

๏ แกใจลอย ๚ะ ๏ แกลมกะทบใจ ๚ะ
งภ
รอ

๏ แกนอนมิหลับ ๚ะ ๏ แกระหวยใจ ๚ะ
ุ้มค

๏ แกน้ำเขละใส ๚ะ
๏ แกลมมะหาสนุก ๚ะ
ักค

๏ แกคลื่นเหียน ๚ะ
สําน

๏ แกบาทลักษ ๚ะ ๏ แกรากเพื่อพิศ ๚ะ
๏ แกบาตจักร ๚ะ
๏ แกบาทยักษ ๚ะ ๏ แกรำโหยจิตร ๚ะ

23
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 4 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนสุมนา ทามกลางตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
์แผน
แกลมหัศดมภ

ทย
แกเชื่อมมึน ร แพ
ากา
แกสวิงสวาย
ัญญ

แกมหาสดมภ
แกหายใหขัด
แกลมใหหิว
ูมิป

แกใจลอย แกลมกระทบใจ
งภ
รอ

แกนอนมิหลับ แกระหวยใจ
ุ้มค

แกน้ำเขฬะใส
แกลมมหาสนุก
ักค

แกคลื่นเหียน
สําน

แกบาทลักษณ แกรากเพื่อพิษ
แกบาทจักร
แกบาดทะยัก แกรำโหยจิต

24
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 5 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

25
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 5 แผนนวดหงาย
9
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกเสนกาละทารี ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ แกขัดไหลใหยอก ๚ะ

์แ
ทย
๏ แกไหลลดยกมิได ๚ะ
ร แพ ๏ แกมือตายใหเย็น ๚ะ
ากา
๏ แกตลอดปลายมือ ๚ะ
ัญญ

๏ แกขบไหลใหหิว ๚ะ
๏ แกเมื่อยไหล ๚ะ ๏ แกอะโตคมาวาต ๚ะ
ูมิป

๏ แกรอนฝามือยิ่งนัก ๚ะ
งภ

๏ แกขัดศอกงอมิได ๚ะ
๏ แกปลายมือเหน็ด ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ แกปฎวีธาตุใหผูก ๚ะ ๏ แกเทาตายยกมิขึ้น ๚ะ
ักค

๏ แกขัดขอมือขอศอก ๚ะ
๏ แกอำมะภาทธิ์ ๚ะ
สําน

๏ แกอาโปพิกาน ๚ะ
๏ แกเทาตาย ๚ะ ๏ แกใหเตโชออก ๚ะ
๏ แกอันทภาหธิ์ ๚ะ

26
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 5 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเสนกาลทารี ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
ผน
แกขัดไหลใหยอก

์แ
ทย
แกไหลลดยกมิได
ร แพ แกมือตายใหเย็น
ากา
แกตลอดปลายมือ
ัญญ

แกขบไหลใหหิว
แกเมื่อยไหล แกอโธคมาวาตา
ูมิป

แกรอนฝามือยิ่งนัก
งภ

แกขัดศอกงอมิได
แกปลายมือเหน็บ
รอ
ุ้มค

แกปถวีธาตุใหผูก แกเทาตายยกไมขึ้น
ักค

แกขัดขอมือขอศอก
แกอัมพาต
สําน

แกอาโปพิการ
แกเทาตาย แกใหเตโชออก
แกอัณฑพาต

27
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 5 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

28
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 5 แผนนวดคว่ำ
10
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนกาละทารี ตามไนยอาจารยกลาวไวที่แกตางตางกัน ดังนี้๚ ะ๛

ไทย
ผน
๏ แกลมใหไหลตาย ๚ะ ๏ แกสันนิบาตโลหิต ๚ะ

์แ
ทย
๏ แกลมตูดสบัก ๚ะ ๏ แกแขน ซาย ตาย ๚ะ

๏ แกลมสบักตาย ๚ะ
ร แพ ขวา
๏ แกปฎวีธาตุพิกาน ๚ะ
ากา

๏ แกอาโปธาตุถอย ๚ะ
ัญญ

๏ แกเจ็บหลัง ๚ะ
ูมิป

๏ แกลมใหแสบอก ๚ะ ๏ แกตะโพกตาย ๚ะ
งภ

๏ แกวาโยธาตุพิการ ๚ะ ๏ แกลมเจ็บเอว ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ แกเตโชธาตุถอย ๚ะ ๏ แกลมอันทพทธิ์ ๚ะ
ักค
สําน

๏ แกลมใหแขนตาย ๚ะ ๏ แกนองสั่นมิหยุด ๚ะ

๏ แกงอยูเพื่อสะคริว ๚ะ
๏ แกอันฑพฤกษ ๚ะ

29
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 5 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนกาลทารี ตามนัยอาจารยกลาวไวที่แกตาง ๆ กัน ดังนี้

ไทย
ผน
แกลมใหไหลตาย แกสันนิบาตโลหิต

์แ
ทย
แกลมดูดสะบัก แกแขนซายแขนขวาตาย
ร แพ แกปถวีธาตุพิการ
ากา
แกลมสะบักตาย
แกอาโปธาตุถอย
ัญญ

แกเจ็บหลัง
ูมิป

แกลมใหแสบอก แกสะโพกตาย
งภ
รอ

แกวาโยธาตุพิการ แกลมเจ็บเอว
ุ้มค

แกเตโชธาตุถอย แกลมอัณฑพาต
ักค
สําน

แกลมใหแขนตาย แกนองสั่นมิหยุด

แกงออยูเพื่อตะคริว
แกอัณฑพฤกษ

30
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 6 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

31
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 6 แผนนวดหงาย
11
หัศรังสีจักษุซาย
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกเสน ตามไนยอาจารยกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้ ๚ะ๛
ทวารีจักษุขวา

ไทย
ผน
๏ แกปกังมีพิศขางขวา ๚ะ

์แ
๏ แกลมผิวจักษุแหง ๚ะ

ทย
๏ แกลมจักษุเก็ง ๚ะ

๏ แกลมลืมจักษุมิขึ้น ๚ะ
ร แพ ๏ แกลมปกังมีพิศขางซาย ๚ะ
ากา
๏ แกลมปวดหวางคิ้ว ๚ะ
ัญญ

๏ แกลมแสบจักษุ ๚ะ
๏ แกลมปวดหลังจักษุ ๚ะ
ูมิป

๏ แกลมเคืองจักษุ ๚ะ
งภ

๏ แกลมจักษุแดง ๚ะ
๏ แกลมเขมนจักษุ ๚ะ
รอ

๏ แกลมเกิดแตปอด ๚ะ
ุ้มค

๏ แกลมเกิดแตตับ ๚ะ
ักค

๏ แกอุธรวาตา ๚ะ
สําน

๏ แกลมมิใหนอนหลับ ๚ะ
๏ แกจักษุเพื่อเตโช ๚ะ
๏ แกลมขึ้นจักษุเพื่อกลอน ๚ะ
๏ แกลมในจักษุเพื่อซ้ำ ๚ะ

32
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 6 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้บอกเสนสหัสสรังษีจักษุซาย ทวารีจักษุขวา ตามนัยอาจารยกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
ผน
แกปะกังมีพิษขางขวา

์แ
แกลมผิวจักษุแหง

ทย
แกลมจักษุเกร็ง

แกลมลืมจักษุมิขึ้น
ร แพ แกลมปะกังมีพิษขางซาย
ากา
แกลมปวดระหวางคิ้ว
ัญญ

แกลมแสบจักษุ
แกลมปวดหลังจักษุ
ูมิป

แกลมเคืองจักษุ
งภ

แกลมจักษุแดง
แกลมเขมนจักษุ
รอ

แกลมเกิดแตปอด
ุ้มค

แกลมเกิดแตตับ
ักค

แกอุทรวาตา
สําน

แกลมมิใหนอนหลับ
แกจักษุเพื่อเตโช
แกลมขึ้นจักษุเพื่อกลอน
แกลมในจักษุเพื่อช้ำ

33
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 6 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

34
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 6 แผนนวดคว่ำ
12 หัศรังสีจักษุซาย
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้บอกเสน ทวารีจักษุขวา ตามในอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ แกลมเคืองจักษุ ๚ะ

์แ
ทย
๏ แกลมทำใหน้ำจักษุไหล ๚ะ
๏ แกลมใหแสบจักษุ ๚ะ
๏ แกลมใหแสบจักษุ ๚ะ
ร แพ ๏ แกลมใหเวียนจักษุ ๚ะ
ากา
๏ แกลมใหจักษุวิง ๚ะ
ัญญ

๏ แกลมจักษุเปนกุงยิง ๚ะ
๏ แกลมจักษุเปนกุงยิง ๚ะ
ูมิป

๏ แกลมใหจักษุพราง ๚ะ
งภ

๏ แกลมเบื้องต่ำกำเริบ ๚ะ
๏ แกลมใหนอนหลับ ๚ะ
รอ

๏ แกลมนอนมิหลับ ๚ะ
ุ้มค

๏ แกลมหลับไมมีสติ ๚ะ
ักค

๏ แกลมกระทำใหหลับ ๚ะ
สําน

๏ แกลมใหแทงจักษุ ๚ะ
๏ แกลมใหเสียวจักษุ ๚ะ
๏ แกจักษุเพื่ออันทพฤก ๚ะ
๏ แกลมขึ้นจักษุเพื่อกลอน ๚ะ

๏ เสนนี้แกสอึกเพื่อกระไสยวา
โย กระทำนอกจากหัศรังษีทวารี

35
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 6 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้บอกเสนสหัสสรังสีจักษุซาย ทวารีจักษุขวา ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กันดังนี้

ไทย
ผน
แกลมเคืองจักษุ

์แ
ทย
แกลมทำใหน้ำจักษุไหล
แกลมใหแสบจักษุ
แกลมใหแสบจักษุ ร แพ แกลมใหเวียนจักษุ
ากา
แกลมใหจักษุวิง
ัญญ

แกลมจักษุเปนกุงยิง
แกลมจักษุเปนกุงยิง
ูมิป

แกลมใหจักษุพราง
แกลมเบื้องต่ำกำเริบ
งภ

แกลมใหนอนหลับ
รอ

แกลมนอนมิหลับ
ุ้มค

แกลมหลับไมมีสติ
ักค

แกลมกระทำใหหลับ
สําน

แกลมใหแทงจักษุ
แกลมใหเสียวจักษุ
แกจักษุเพื่ออัณฑพฤกษ
แกลมขึ้นจักษุเพื่อกลอน

เสนนี้แกสะอึกเพื่อกระษัยวา
โยกระทำนอกจากสหัสสรังษีทวารี

36
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 7 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

37
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 7 แผนนวดหงาย
13
จันทภูสังโสติซาย
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกเสน ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้ ๚ะ๛
รุชำโสติขวา

ไทย
์แผน
๏ แกลมใหโสตตึง ๚ะ

ทย
๏ แกลมใหโสตหนัก ๚ะ

๏ แกลมปวดในโสต ๚ะ ร แพ ๏ แกลมใหปวดในโสต ๚ะ
ากา
๏ แกลมฮึงในโสต ๚ะ
๏ แกลมโสตดั่งมะมี่ ๚ะ
ัญญ

๏ แกลมคันในโสต ๚ะ ๏ แกลมออกโสตใหคัน ๚ะ
ูมิป

๏ แกลมนอนมิหลับ ๚ะ
งภ

๏ แกลมใหนอนมิหลับ ๚ะ
รอ

๏ แกลมใหเบื่ออาหาร
ุ้มค

๏ แกลมใหบริโภคอา
ยิ่งนักหารศมิได ๚ะ
ักค

หารไมมีรศ ๚ะ
สําน

๏ แกลมใหเมื่อย
๏ แกลมใหเมื่อยให
จำหระเบื้องซาย ๚ะ
เสียวจำหระเบื้องขวา ๚ะ

38
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 7 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเสนจันทภูสังโสตซาย รุชำโสตขวา ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
์แ ผน
แกลมใหโสตตึง

ทย
แกลมใหโสตหนัก

แกลมปวดในโสต ร แพ แกลมใหปวดในโสต
ากา
แกลมฮึงในโสต
แกลมโสตดั่งมะมี่
ัญญ

แกลมคันในโสต แกลมออกโสตใหคัน
ูมิป

แกลมนอนมิหลับ
งภ

แกลมใหนอนมิหลับ
รอ

แกลมใหเบื่ออาหาร
ุ้มค

แกลมใหบริโภคอา
ยิ่งนักหารสมิได
ักค

หารไมมีรส
สําน

แกลมใหเมื่อยขบ
แกลมใหเมื่อยให
จำหระเบื้องซาย
เสียวจำหระเบื้องขวา

39
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 7 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

40
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 7 แผนนวดคว่ำ
14
จันทภูสังโสติซาย
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้บอกเสน ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ๚ะ๛
รุชำโสติขวา

ไทย
์แ ผน
๏ แกลมใหโสตตึง ๚ะ

ทย
๏ แกลมปวดในโสต ๚ะ
ร แพ
ากา
๏ แกลมฮึงในโสต ๚ะ
ัญญ

๏ แกลมคันในโสต ๚ะ ๏ แกลมใหโสตหนัก ๚ะ
ูมิป

๏ แกลมใหปวดในโสต ๚ะ
งภ

๏ แกลมนอนมิหลับ ๚ะ
๏ แกลมใหฮึงในโสต ๚ะ
รอ

๏ แกลมใหคันในโสต ๚ะ
ุ้มค

๏ แกลมใหบริโภคอา
๏ แกลมใหนอนมิหลับ ๚ะ
หารไมมีรศ ๚ะ
ักค

๏ แกลมใหฅอแหง
สําน

หาน้ำเขละมิได ๚ะ
๏ แกลมใหเมื่อย ๏ แกลมใหเมื่อย
จำหระเบื้องซาย ๚ะ จำหระเบื้องขวา ๚ะ

41
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 7 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้บอกเสนจันทภูสังโสตซาย รุชำโสตขวา ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน

ไทย
์แผน
ทย
แกลมใหโสตตึง

แกลมปวดในโสต
ร แพ
ากา
แกลมฮึงในโสต
ัญญ

แกลมคันในโสต แกลมใหโสตหนัก
ูมิป

แกลมใหปวดในโสต
งภ

แกลมนอนมิหลับ
แกลมใหฮึงในโสต
รอ

แกลมใหคันในโสต
ุ้มค

แกลมบริโภคอา
แกลมใหนอนมิหลับ
ักค

หารไมมีรส
แกลมใหคอแหง
สําน

หาน้ำเขฬะมิได
แกลมใหเมื่อย แกลมใหเมื่อยขบ
จำหระเบื้องซาย จำหระเบื้องขวา

42
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 8 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

43
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 8 แผนนวดหงาย
15
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกเสนสุขุมัง ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ๚ะ๛

ไทย
์แผน
ทย
๏ แกลมอาเจียร ๚ะ
ร แพ ๏ แกมือบวม ๚ะ
ากา
๏ แกลมอุจารมีกลิ่นราย ๚ะ
ัญญ

๏ แกไอเพื่อเสมหะ ๚ะ ๏ แกลมใหปวดอุจาระ ๚ะ
ูมิป

๏ แกลมทำใหหอบ ๚ะ
๏ แกลมกองอุจารธาตุ ๚ะ
งภ

๏ แกลมทำใหเหนื่อย ๚ะ
รอ

๏ แกลมเพื่อลง ๚ะ ๏ แกบวมเขาเพื่อลม ๚ะ
ุ้มค

๏ แกลมสอึก ๚ะ
ักค

๏ แกลมทำใหสอื้น ๚ะ ๏ แกลมเมื่อยเบื้องต่ำ ๚ะ
สําน

๏ แกอาโปกำเริบ ๚ะ ๏ แกลมบวมเทา ๚ะ
๏ แกลมใหลงทอง ๚ะ
๏ แกลมเทาเย็น ๚ะ ๏ แกลมกองอะติสาร ๚ะ

44
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 8 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเสนสุขุมัง ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน

ไทย
์แ ผน
ทย
แกลมอาเจียน
ร แพ แกมือบวม
ากา
แกลมอุจจาระมีกลิ่นราย
ัญญ

แกไอเพื่อเสมหะ แกลมใหปวดอุจจาระ
ูมิป

แกลมทำใหหอบ
แกลมกองอุจจาระธาตุ
งภ

แกลมทำใหเหนื่อย
รอ

แกลมเพื่อลง แกบวมเขาเพื่อลม
ุ้มค

แกลมสะอึก
ักค

แกลมทำใหสะอื้น แกลมเมื่อยเบื้องต่ำ
สําน

แกอาโปกำเริบ แกลมบวมเทา
แกลมใหลงทอง
แกลมเทาเย็น แกลมกองอติสาร

45
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 8 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

46
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 8 แผนนวดคว่ำ
16
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้บอกเสนสุขุมัง ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กันดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ แกลมหายใจขั้ง ๚ะ ๏ แกลมใหเหนื่อย ๚ะ

๏ แกลมใหเรอ ๚ะ
ร แพ ๏ แกลมสอึก ๚ะ
ากา
๏ แกลมใหหอบ ๚ะ ๏ แกราก ๚ะ
ัญญ

๏ แกโสภะโรค ๚ะ ๏ แกลงโลหิต ๚ะ
ูมิป

๏ แกมูกเลือด ๚ะ ๏ แกปวดเปนบิด ๚ะ
งภ
รอ

๏ แกอุจารธาตุพิการ ๚ะ ๏ แกลงอะติสารโรค ๚ะ
ุ้มค
ักค

๏ แกบวมอะติสาร ๚ะ ๏ แกบวมเทาทังสอง ๚ะ
สําน

๏ แกกระหายน้ำ ๚ะ ๏ แกลมคูธทวารตึง ๚ะ

๏ แกรอนเกินกำหนด ๚ะ ๏ แกปวดทองสุขุมัง ๚ะ

47
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 8 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนสุขุมัง ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กันดังนี้

ไทย
์แ ผน
ทย
แกลมหายใจคลั่ง แกลมใหเหนื่อย

แกลมใหเรอ
ร แพ แกลมสะอึก
ากา
แกลมใหหอบ แกราก
ัญญ

แกโสภะโรค แกลงโลหิต
ูมิป

แกมูกเลือด แกปวดเปนบิด
งภ
รอ

แกอุจจาระธาตุพิการ แกลงอติสารโรค
ุ้มค
ักค

แกบวมอติสาร แกบวมเทาทั้งสอง
สําน

แกกระหายน้ำ แกลมคูถทวารตึง

แกรอนเกินกำหนด แกปวดทองสุขุมัง

48
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 9 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

49
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 9 แผนนวดหงาย
17
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกเสนสิกขีนี ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางตาง กันดั่งนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แผน
ทย
๏ แกลมมุตกฤจน ๚ะ ๏ แกลมสำรับบุรุษ ๚ะ

๏ แกลมแสบลำปะสาวะ ๚ะ
ร แพ ๏ แกลมอะติสารมูต ๚ะ
ากา
๏ แกขบลำปะสาวะ ๚ะ ๏ แกลมรัตฆาต ๚ะ
ัญญ

๏ แกคันลำปะสาวะ ๚ะ ๏ แกลมปศฆาต ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ แกปะสาวะขาวขุน ๚ะ ๏ แกลมสันทฆาต ๚ะ
รอ

๏ แกปะสาวะแดง ๚ะ ๏ แกลมมุตฆาต ๚ะ
ุ้มค
ักค

๏ แกลมถวงลำปะสาวะ ๚ะ ๏ แกลมองคสูต ๚ะ
สําน

๏ แกลมกระไสยกลอน ๚ะ ๏ แกลมเสียวปะสาวะ ๚ะ

๏ แกลมใหเสียว ๚ะ ๏ แกลมใหแสยงขน ๚ะ

50
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 9 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเสนสิขินี ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
์แ ผน
ทย
แกลมมุตกิด แกลมสำหรับบุรุษ

แกลมแสบลำปสสาวะ
ร แพ แกลมอติสารมูตร
ากา
แกขบลำปสสาวะ แกลมรัตฆาต
ัญญ

แกคันลำปสสาวะ แกลมปตคาด
ูมิป
งภ

แกปสสาวะขาวขุน แกลมสันฑฆาต
รอ

แกปสสาวะแดง แกลมมุตฆาต
ุ้มค
ักค

แกลมถวงลำปสสาวะ แกลมองคสูตร
สําน

แกลมกระษัยกลอน แกลมเสียวปสสาวะ

แกลมใหเสียว แกลมใหแสยงขน

51
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 9 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

52
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 9 แผนนวดคว่ำ
18
๏ ลักษณแผนขว้ำรูปนี้บอกเสนสิกขีนี ตามไนยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางตางกัน ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ แกลมทุรนทุราย ๚ะ

ทย
๏ แกลมคลุมคลัง ๚ะ

๏ แกลมเบื่ออาหาร ๚ะ
ร แพ ๏ แกลมกาละมุด
ากา
อันบังเกิดแตขั้วดี
๏ แกลมใหเสียตราวขาง ๚ะ
แลตับแลดวงหัทไทย ๚ะ
ัญญ

๏ แกลมบวมนาเหนา
ูมิป

๏ แกลมถวงนาเหนา ๚ะ
งภ

ในกองปะระเมหะ ๚ะ
รอ

๏ แกลมเสียดโครง ๚ะ
ุ้มค

๏ แกลมอันบังเกิด
๏ แกลมขัดปะสาวะ ๚ะ
ักค

ขึ้นในกองทุราวะสา ๚ะ
สําน

๏ แกเมื่อยปะระเหมะ ๚ะ
๏ แกลมปวดบุบโพ ๚ะ

๏ แกลมปะสาวะเหลือง ๚ะ
๏ แกลมปะสาวะดำ ๚ะ

53
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 9 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกเสนสิขินี ตามนัยอาจารยทานกลาวไวที่แกตางๆ กัน ดังนี้

ไทย
์แ ผน
แกลมทุรนทุราย

ทย
แกลมคลุมคลั่ง

แกลมเบื่ออาหาร
ร แพ แกลมกาฬมูตร

อันบังเกิดแตขั้วดี
ากา
แกลมใหเสียดราวขาง
แลตับแลดวงหทัย
ัญญ

แกลมบวมหนาเหนา
ูมิป

แกลมถวงหนาเหนา
ในกองประเมหะ
งภ
รอ

แกลมเสียดโครง
ุ้มค

แกลมอันบังเกิด
แกลมขัดปสสาวะ
ักค

ขึ้นในกองทุราวะสา
สําน

แกเมื่อยประเมหะ
แกลมปวดบุพโพ

แกลมปสสาวะเหลือง
แกลมปสสาวะดำ

54
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 10 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

55
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 10 แผนนวดหงาย
19 กำเริบ
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกกำเหนิดเสนในกองสมุถาน หยอน ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛
พิกาล

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้เตโชกำเริบ ๚ะ ๏ เสนนี้อาโปพิกาน ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้ปถวีหยอน ๚ะ
ร แพ ๏ เสนนี้วาโยหยอน ๚ะ
ากา
๏ เสนนี้วาโยพิกาน ๚ะ ๏ เสนนี้ปถวีกำเริบ ๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้อาโปกำเริบ ๚ะ ๏ เสนนี้เตโชพิกาน ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้เตโชหยอน ๚ะ
งภ

๏ เสนนี้อาโปหยอน ๚ะ
รอ

๏ เสนนี้ปถวีธาตุ ๏ เสนนี้วาโยกำเริบ ๚ะ
ุ้มค

พิกานตางตาง ๚ะ
ักค

๏ ซายขวาดุจกันใหเพท
สําน

๏ บอกเสนชั้นกลาง พึงรูวิธีจะนวดนั้นใหนวด

ดุจอาจารยกลาวไว๚ะ ตามสมุถานกลาวไว ๚ะ

56
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 10 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกกำเนิดเสนในกองสมุฏฐานกำเริบ - หยอน – พิการ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
เสนนี้เตโชกำเริบ เสนนี้อาโปพิการ

ทย
เสนนี้ปถวีหยอน
ร แพ เสนนี้วาโยหยอน
ากา
เสนนี้วาโยพิการ เสนนี้ปถวีกำเริบ
ัญญ

เสนนี้อาโปกำเริบ เสนนี้เตโชพิการ
ูมิป

เสนนี้เตโชหยอน
งภ

เสนนี้อาโปหยอน
รอ

เสนนี้ปถวีธาตุ เสนนี้วาโยกำเริบ
ุ้มค

พิการตางๆ ซายขวาดุจกันใหแพทย
ักค
สําน

พึงรูวิธีจะนวดนั้นใหนวด
บอกเสนชั้นกลาง
ตามสมุฏฐานกลาวไว
ดุจอาจารยกลาวไว

57
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 10 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

58
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 10 แผนนวดคว่ำ
20 กำเริบ
๏ ลักษณแผนขว้ำรูปนี้บอกเสนฝายหลังในกองสมุถาน หยอน ตามอาจารยกลาวไว ๚ะ๛
พิกาน

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้เตโชแลนมาดังนี้ ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้อาโปแลนมาดั่งนี้ ๚ะ

๏ เสนนี้ปถวีแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
ร แพ
ากา
๏ เสนนี้วาโยแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้วาโยแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
๏ เสนนี้ปถวีแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้อาโปแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
งภ

๏ เสนนี้เตโชแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
รอ

๏ เสนนี้เตโชแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
ุ้มค

๏ เสนนี้อาโปแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
ักค

๏ เสนนี้ปถวีแลนมาดั่งนี้ ๚ะ
สําน

๏ เสนนี้วาโยแลนมาดั่งนี้ ๚ะ

๏ บอกเสนชั้นกลาง ๚ะ
๏ ซายขวาดุจกัน ๚ะ

59
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 10 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกกำเนิดเสนฝายหลังในกองสมุฏฐานกำเริบ – หยอน – พิการ ตามอาจารยกลาวไว

ไทย
์แ ผน
เสนนี้เตโชแลนมาดังนี้

ทย
เสนนี้อาโปแลนมาดังนี้

เสนนี้ปถวีแลนมาดังนี้
ร แพ
ากา
เสนนี้วาโยแลนมาดังนี้
ัญญ

เสนนี้วาโยแลนมาดังนี้
เสนนี้ปถวีแลนมาดังนี้
ูมิป

เสนนี้อาโปแลนมาดังนี้
งภ

เสนนี้เตโชแลนมาดังนี้
รอ

เสนนี้เตโชแลนมาดังนี้
ุ้มค

เสนนี้อาโปแลนมาดังนี้
ักค

เสนนี้ปถวีแลนมาดังนี้
สําน

เสนนี้วาโยแลนมาดังนี้

บอกเสนชั้นกลาง
ซายขวาดุจกัน

60
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 11 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

61
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 11 แผนนวดหงาย
21
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกกำเหนิดเสนที่ตั้งแหงระดูธาตุสมุถาน ตามอาจารยไนยกอนที่กลาวไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เตโชธาตุสมุถาน ๚ะ ๏ ปถวีธาตุสมุถาน ๚ะ
ร แพ ๏ สรรนิปาตะระดู ๚ะ
ากา
๏ คฤมหรรตระดู ๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้อำมะพาทธิ ๚ะ ๏ เสนนี้อำมะพฤกษ ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ อาโปธาตุสมุถาน ๚ะ ๏ วาโยธาตุสมุถาน ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ เหมรรตระดู ๚ะ ๏ วัศสรรตระดู ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้ปศฆาตขวา ๚ะ ๏ เสนนี้ปศฆาตซาย ๚ะ

๏ อัศฏากาศหลาง ๚ะ ๏ ตรีกูฏวาตา ๚ะ

62
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 11 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกกำเนิดที่ตั้งแหงฤดูธาตุสมุฏฐาน ตามอาจารยนัยกอนกลาวไว

ไทย
์แ ผน
ทย
เตโชธาตุสมุฏฐาน ปถวีธาตุสมุฏฐาน
ร แพ สันนิบาตฤดู
ากา
คิมหันตฤดู
ัญญ

เสนนี้อัมพาต เสนนี้อัมพฤกษ
ูมิป
งภ

อาโปธาตุสมุฏฐาน วาโยธาตุสมุฏฐาน
รอ
ุ้มค

เหมันตฤดู วสันตฤดู
ักค
สําน

เสนนี้ปตคาดขวา เสนนี้ปตคาดซาย

อัศฎากาศลาง ตรีกูฏวาตา

63
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 11 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

64
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 11 แผนนวดคว่ำ
22
๏ ลักษณแผนขว้ำรูปนี้บอกกำเหนิดที่ตั้งแหงระดูธาตุสมุถานฝายหลัง ตามอาจารยกลาวไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เตโชธาตุสมุถานออกดั่งนี้ ๚ะ

๏ คฤมหรรตะระดูออกดั่งนี้ ๚ะ
ร แพ
ากา
ัญญ

๏ อำมภาทธิออกดั่งนี้ ๚ะ ๏ อาโปธาตุสมุถานออกดั่งนี้ ๚ะ
ูมิป

๏ เหมรรตระดูออกดั่งนี้ ๚ะ
งภ

๏ ปถวีธาตุสมุถานออกดั่งนี้ ๚ะ
๏ อำพฤกษออกดั่งนี้ ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ สรรนิปาตระดูออกดั่งนี้ ๚ะ ๏ วาโยธาตุสมุถานออกดั่งนี้ ๚ะ
ักค

๏ วัศสรรตระดูออกดั่งนี้ ๚ะ
สําน

๏ ปศฆาตซายออกดั่งนี้ ๚ะ
๏ ปศฆาตขวาออกดั่งนี้ ๚ะ

๏ อัศฎากาษหลางออกดั่งนี้ ๚ะ
๏ ตรีกูฏออกดั่งนี้ ๚ะ

65
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 11 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกกำเนิดที่ตั้งแหงฤดูธาตุสมุฏฐานฝายหลัง ตามอาจารยกลาวไว

ไทย
์แ ผน
ทย
เตโชธาตุสมุฏฐานออกดังนี้

คิมหันตฤดูออกดังนี้
ร แพ
ากา
ัญญ

อัมพาตออกดังนี้ อาโปธาตุสมุฏฐานออกดังนี้
ูมิป

เหมันตฤดูออกดังนี้
งภ

ปถวีธาตุสมุฏฐานออกดังนี้
อัมพฤกษออกดังนี้
รอ
ุ้มค

สันนิบาตฤดูออกดังนี้ วาโยธาตุสมุฏฐานออกดังนี้
ักค

วสันตฤดูออกดังนี้
สําน

ปตคาดซายออกดังนี้
ปตคาดขวาออกดังนี้
อัศฎากาศลางออกดังนี้
ตรีกูฏออกดังนี้

66
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 12 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

67
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 12 แผนนวดหงาย
23
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกกำเหนิดอสุริณฑัณญาณธาตุ เกิดแตกองเตโชพิบัด ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้สุมระนันติ ๚ะ
ร แพ ๏ เสนนี้สมะเตโช ๚ะ
ากา

เจือในประชุมสาม ๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้อัศฎากาษบน ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้กะติกะเตโช ๚ะ ๏ เสนนี้วิศมะเตโช ๚ะ
งภ
รอ

เจือดวยสรรพพิศม ๚ะ เจือดวยสรรพวาตะธาตุ ๚ะ
ุ้มค

๏ เสนนี้มันทะเตโช ๚ะ
ักค

เจือดวยเสมหะ ๚ะ
สําน

๏ เสนนี้รัตฆาตซาย ๚ะ
๏ เสนนี้รัตฆาตขวา ๚ะ
เจือดวยพิศมทั้งสอง ๚ะ
เจือดวยทวิพิศม ๚ะ

68
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 12 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกกำเนิดอสุรินทัญญาณธาตุเกิดแตกองเตโชพิบัติ

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้ สุมะระณันติ
ร แพ เสนนี้สมะเตโช
ากา

เจือในประชุมสาม
ัญญ

เสนนี้อัศฎากาศบน
ูมิป

เสนนี้กติกะเตโช เสนนี้ วิสมะเตโช


งภ
รอ

เจือดวยสรรพพิษ เจือดวยสรรพวาตธาตุ
ุ้มค

เสนนี้มันทะเตโช
ักค

เจือดวยเสมหะ
สําน

เสนนี้รัตฆาตซาย
เสนนี้รัตฆาตขวา
เจือดวยพิษทั้งสอง
เจือดวยทวิพิษ

69
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 12 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

70
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 12 แผนนวดคว่ำ
24
๏ ลักษณแผนคว่ำ บอกกำเหนิดอสุริณฑัณญาณธาตุ เกิดแตกองเตโชพิบัด ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้อัศฏากาศบน ๚ะ
๏ เสนนี้สุมระนันติ ๚ะ
ร แพ
ากา
๏ เสนนี้กะติกะเตโช ๚ะ ๏ เสนนี้สมะเตโช ๚ะ
ัญญ

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้มันทะเตโช ๚ะ ๏ เสนนี้วิสมะเตโช ๚ะ
รอ
ุ้มค

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้รัตฆาตซาย ๚ะ ๏ เสนนี้รัตฆาตขวา ๚ะ

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ

71
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 12 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำ บอกกำเนิดอสุรินทัญญาณธาตุ เกิดแตกองเตโชพิบัติ

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้อัศฎากาศบน
เสนนี้สุมะระณันติ
ร แพ
ากา
เสนนี้กติกะเตโช เสนนี้สมะเตโช
ัญญ

แลนออกมาดังนี้ แลนออกมาดังนี้
ูมิป
งภ

เสนนี้มันทะเตโช เสนนี้วิสมะเตโช
รอ
ุ้มค

แลนออกมาดังนี้ แลนออกมาดังนี้
ักค
สําน

เสนนี้รัตฆาตซาย เสนนี้รัตฆาตขวา

แลนออกมาดังนี้ แลนออกมาดังนี้

72
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 13 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

73
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 13 แผนนวดหงาย
25
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกกำเหนิดอสุริณฑัณญาณธาตุ เกิดแตกองอาโปพิบัด ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้หัทยวาต ๚ะ ๏ เสนนี้สักกวาต ๚ะ
ร แพ
๏ เสนนี้สมะอาโป
ากา
๏ เสนนี้กะติกะอาโป ๚ะ
ัญญ

เจือในประชุม ๖ ๚ะ
เจือในกองโลหิต ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้วิสมะอาโป
๏ เสนนี้มันทอาโป ๚ะ
รอ
ุ้มค

เจือในกองลมเปนกำลัง ๚ะ
เจือในเสมหสมุถาน ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้มุตฆาตซาย
๏ เสนนี้มุตฆาตขวา ๚ะ
เจือในสมุถานประชุม ๚ะ
เจือในกองโลหิตเสมห ๚ะ

74
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 13 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกกำเนิดอสุรินทัญญาณธาตุ เกิดแตกองอาโปพิบัติ

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้หทัยวาต เสนนี้สัตถกวาต
ร แพ
เสนนี้สมะอาโป
ากา
เสนนี้กติกะอาโป
ัญญ

เจือในประชุม ๖
เจือในกองโลหิต
ูมิป
งภ

เสนนี้วิสมะอาโป
เสนนี้มันทะอาโป
รอ
ุ้มค

เจือในกองลมเปนกำลัง
เจือในเสมหะสมุฏฐาน
ักค
สําน

เสนนี้มุตฆาตซาย
เสนนี้มุตฆาตขวา
เจือในสมุฏฐานประชุม
เจือในกองโลหิตเสมหะ

75
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 13 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

76
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 13 แผนนวดคว่ำ
26
๏ ลักษณแผนขว้ำรูปนี้บอกกำเหนิดอสุริณฑัณญาณ เกิดแตกองอาโปพิบัด ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้สกกะวาตออกดั่งนี้ ๚ะ ๏ เสนนี้หทัยวาตออกดั่งนี้ ๚ะ
ร แพ ๏ เสนนี้กะติกะอาโป
ากา
๏ เสนนี้สมะอาโป
ัญญ

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้มันทะอาโป
๏ เสนนี้วิสมะอาโป
รอ

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
ุ้มค

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้มุตฆาตขวา
๏ เสนนี้มุตฆาตซาย
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ

77
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 13 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้บอกกำเนิดอสุรินทัญญาณธาตุ เกิดแตกองอาโปพิบัติ

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้สัตถกวาตออกดังนี้ เสนนี้หทัยวาตออกดังนี้
ร แพ
ากา
เสนนี้กติกะอาโป
เสนนี้สมะอาโป
ัญญ

แลนออกมาดังนี้
แลนออกมาดังนี้
ูมิป
งภ

เสนนี้มันทะอาโป
รอ

เสนนี้วิสมะอาโป
แลนออกมาดังนี้
ุ้มค

แลนออกมาดังนี้
ักค
สําน

เสนนี้มุตฆาตขวา
เสนนี้มุตฆาตซาย
แลนออกมาดังนี้
แลนออกมาดังนี้

78
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 14 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

79
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 14 แผนนวดหงาย
27
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกกำเหนิดอสุริณฑัณญาณ เกิดแตกองวาโยพิบัด ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้พะหิวาตะหัทไทย ๚ะ ๏ เสนนี้วิหกะวาตะพัค
ร แพ
ากา
๏ เสนนี้กะติกะวาโย ๏ เสนนี้สมะวาโย
ัญญ

ระคนดวยกำเดา ๚ะ รคนในประชุม ๙ ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้มันทะวาโย ๏ เสนนี้วิสมะวาโย
รอ
ุ้มค

ระคนดวยเสมหะ ๚ะ รคนดวยลมเปนกำลัง ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้ปศฆาตขวา ๏ เสนนี้ปศฆาตซาย

รคนดวยอุทังคมาวาต ๚ะ รคนดวยอะโทคะมาวาต ๚ะ

80
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 14 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกกำเนิดอสุรินทัญญาณธาตุ เกิดแตกองวาโยพิบัติ

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้พหิวาตะหทัย เสนนี้วิหควาตพัค
ร แพ
ากา
เสนนี้กติกะวาโย เสนนี้สมะวาโย
ัญญ

ระคนดวยกำเดา ระคนในประชุม ๙
ูมิป
งภ

เสนนี้มันทะวาโย เสนนี้วิสมะวาโย
รอ
ุ้มค

ระคนดวยเสมหะ ระคนดวยลมเปนกำลัง
ักค
สําน

เสนนี้ปตคาดขวา เสนนี้ปตคาดซาย

ระคนดวยอุทธังคมาวาตา ระคนดวยอโธคมาวาตา

81
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 14 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

82
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 14 แผนนวดคว่ำ
28
๏ ลักษณแผนขว้ำรูปนี้ บอกกำเหนิดอสุริณฑัณญาณธาตุ เกิดแตกองวาโยพิบัด ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้พะหิวาตะหทัย ๚ะ
๏ เสนนี้วิหกวาตะพัต ๚ะ
ร แพ ๏ เสนนี้กะติกะวาโย
ากา
๏ เสนนี้สมะวาโย
ัญญ

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้มันทะวาโย
รอ

๏ เสนนี้วิสมะวาโย
ุ้มค

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้ปศฆาตขวา
๏ เสนนี้ปศฆาตซาย
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ

83
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 14 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกกำเนิดอสุรินทัญญาณธาตุ เกิดแตกองวาโยพิบัติ

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้พหิวาตะหทัย
เสนนี้วิหควาตพัค
ร แพ
ากา
เสนนี้กติกะวาโย
เสนนี้สมะวาโย
ัญญ

แลนออกมาดังนี้
แลนออกมาดังนี้
ูมิป
งภ

เสนนี้มันทะวาโย
รอ

เสนนี้วิสมะวาโย
ุ้มค

แลนออกมาดังนี้
แลนออกมาดังนี้
ักค
สําน

เสนนี้ปตคาดขวา
เสนนี้ปตคาดซาย
แลนออกมาดังนี้
แลนออกมาดังนี้

84
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 15 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

85
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 15 แผนนวดหงาย
29
๏ ลักษณแผนหงายบอกกำเหนิดอะสุริณ ฑัณญาณธาตุ เกิดแตกองปถวีพิบัด ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้พยัติวาโยมรรค ๚ะ ๏ เสนนี้วิปศนะวาตะ ๚ะ
ร แพ
ากา
๏ เสนนี้สมะปถวี
๏ เสนนี้กะติกะปถวี
ัญญ

ระคนในมะหาสรรนิบาต ๚ะ
ระคนดวยอชิรณธาตุ ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้วิสมะปถวี
รอ

๏ เสนนี้มันทะปถวี
ุ้มค

ระคนดวยอังคาระวาต ๚ะ
ระคนดวยเสมหะ ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้สันทะฆาตซาย
๏ เสนนี้สันทะฆาตขวา
ลม
ระคนดวย โลหิต ประชุม ๚ะ
ระคนดวยวิทราธิประชุม ๚ะ
มังษ

86
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 15 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงาย บอกกำเนิดอสุรินทัญญาณธาตุ เกิดแตกองปถวีพิบัติ

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้พยัติวาโยมรรค ๏ เสนนี้วิปสสนวาตะ
ร แพ
ากา
เสนนี้สมะปถวี
เสนนี้กติกะปถวี
ัญญ

ระคนในมหาสันนิบาต
ระคนดวยอชิรณธาตุ
ูมิป
งภ

เสนนี้วิสมะปถวี
รอ

เสนนี้มันทะปถวี
ุ้มค

ระคนดวยอังคารวาต
ระคนดวยเสมหะ
ักค
สําน

เสนนี้สัณฑฆาตซาย
เสนนี้สัณฑฆาตขวา
ระคนดวยลม-โลหิต-มังสะประชุม
ระคนดวยวิทราธิประชุม

87
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 15 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

88
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 15 แผนนวดคว่ำ
30
๏ ลักษณแผนขว้ำรูปนี้ บอกกำเหนิดอะสุริณฑัณญาณธาตุ เกิดแตกองปถวีพิบัติ ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้วิปศนะวาตะ ๚ะ
ร แพ
ากา
๏ เสนนี้สมะปถวี
ัญญ

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ ๏ เสนนี้พยัติโยมรรค ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้กะติกะปถวี
งภ

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
รอ

๏ เสนนี้วิสมะปถวี
ุ้มค

๏ เสนนี้มันทะปถวี
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
ักค

แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
สําน

๏ เสนนี้สันทะฆาตขวา
๏ เสนนี้สันทะฆาตซาย
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ
แลนออกมาดั่งนี้ ๚ะ

89
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 15 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกกำเนิดอสุรินทัญญาณธาตุ เกิดแตกองปถวีพิบัติ

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้วิปสสนวาตะ
ร แพ
ากา
เสนนี้สมะปถวี
ัญญ

แลนออกมาดังนี้ เสนนี้พยัติโยมรรค
ูมิป

เสนนี้กติกะปถวี
งภ

แลนออกมาดังนี้
รอ

เสนนี้วิสมะปถวี
ุ้มค

เสนนี้มันทะปถวี
แลนออกมาดังนี้
ักค

แลนออกมาดังนี้
สําน

เสนนี้สัณฑฆาตขวา
เสนนี้สัณฑฆาตซาย
แลนออกมาดังนี้
แลนออกมาดังนี้

90
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 16 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

91
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 16 แผนนวดหงาย
31
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกไนยกองสมุเตโชประชุมในสมุถาณตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ แกไหลตายทังสองขาง ๚ะ
ร แพ ๏ แกเสียดขางทังสอง ๚ะ
ากา
ัญญ

๏ แกปศฆาตซาย ๚ะ
๏ แกปวดปกังก็ได ๚ะ
ูมิป

๏ แกลมมหาสนุก ๚ะ
งภ

๏ แกฤศดวงไอ ๚ะ
รอ

๏ แกชิวหาสดม ๚ะ
ุ้มค

๏ แกสอึกเพื่อพิศ ๚ะ ๏ แกเมื่อยขบทังสองขาง ๚ะ
ักค

๏ แกสคริวเพลิง ๚ะ
สําน

๏ แกสคริวชักมือ ๚ะ
๏ แกปศฆาตขวา ๚ะ
๏ แกประวาตะคุณ ๚ะ
๏ แกสรรพลมทังปวง ๚ะ

92
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 16 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองสมุเตโช ประชุมในสมุฏฐาน ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
แกไหลตายทั้งสองขาง
ร แพ แกเสียดขางทั้งสอง
ากา
ัญญ

แกปตคาดซาย
แกปวดปะกังก็ได
ูมิป

แกลมมหาสนุก
งภ

แกริดสีดวงไอ
รอ

แกชิวหาสดมภ
ุ้มค

แกสะอึกเพื่อพิษ แกเมื่อยขบทั้งสองขาง
ักค

แกตะคริวเพลิง
สําน

แกตะคริวชักมือ
แกปตคาดขวา
แกประวาตะคุณ
แกสรรพลมทั้งปวง

93
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 16 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

94
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 16 แผนนวดคว่ำ
32
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกไนยกองสมุเตโชประชุมไนยสมุถาน ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ แกโสตโรค ๚ะ ๏ แกศีศะโรค ๚ะ

๏ แกไหลตายที่หนึ่ง ๚ะ
ร แพ ๏ แกไหลตายทีหนึ่ง ๚ะ
ากา
ัญญ

๏ แกยกมือมิขึ้น ๚ะ ๏ แกไหวตัวมิได
ูมิป

ใหเสียดแทง ๚ะ
งภ

๏ แกปศฆาตนอก ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ แกรัตฆาตนอก ๚ะ ๏ แกจะโปง ๚ะ
ักค
สําน

๏ แกสันทฆาตนอก ๚ะ ๏ แกเขาคูเยียดมิออก ๚ะ

๏ แกขัดเขา ๚ะ ๏ แกชักเทาสทก ๚ะ

95
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 16 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองสมุเตโช ประชุมในสมุฏฐาน

ไทย
์แ ผน
ทย
แกโสตโรค แกศีรษะโรค

แกไหลตายที่หนึ่ง
ร แพ แกไหลตายที่หนึ่ง
ากา
ัญญ

แกยกมือมิขึ้น แกไหวตัวมิได
ูมิป

ใหเสียดแทง
งภ

แกปตคาดนอก
รอ
ุ้มค

แกรัตฆาตนอก แกจับโปง
ักค
สําน

แกเขาคูเหยียดมิออก
แกสัณฑฆาตนอก

แกขัดเขา แกชักเทาสะทก

96
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 17 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

97
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 17 แผนนวดหงาย
33
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะเตโชประชุมในกองวาตะโรคตามอาจารยแนะไวดังนี้๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
เชา ๏ แกปากเบี้ยวเพื่อ

ทย
๏ แกปวดศีศะ ๚ะ
ค่ำ

๏ แกกระหายน้ำ ๚ะ
ร แพ กำเดาแลลมรคนกัน ๚ะ
ากา
ัญญ

๏ แกเจ็บหลัง ๚ะ
๏ แกวิงเวียนจักษุ ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ แกปศฆาตตึง ๚ะ
๏ แกหนักหลังจักษุ ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ แกขอมือตาย ๚ะ
ักค

๏ แกสรรนิบาตปวด
สําน

๏ แกเขาเคล็ดแคลง ๚ะ
ศีศะน้ำตาตก ๚ะ

๏ แกลมเหน็ดชา ๚ะ
๏ แกลมสะทานดั่งพิศงู ๚ะ

98
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 17 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะเตโช ประชุมในกองวาตโรค ตามอาจารยแนะไวดังนี้

ไทย
์แ ผน
แกปากเบี้ยวเพื่อ

ทย
แกปวดศีรษะ เชา, ค่ำ

แกกระหายน้ำ
ร แพ กำเดาแลลมระคนกัน
ากา
ัญญ

แกเจ็บหลัง
แกวิงเวียนจักษุ
ูมิป
งภ

แกปตคาดตึง
แกหนักหลังจักษุ
รอ
ุ้มค

แกขอมือตาย
ักค

แกสันนิบาตปวด
สําน

แกเขาเคล็ดแพลง
ศีรษะน้ำตาตก

แกลมเหน็บชา
แกลมสะทานดั่งพิษงู

99
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 17 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

100
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 17 แผนนวดคว่ำ
34
๏ ลักษณแผนคว่ำ บอกที่แกวิสมะเตโช ประชุมในกองวาตะโรค ตามอาจารแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ แกจักษุมัวหมอก ๚ะ ๏ แกลมใหเวียรศีศะ๚ะ

ทย
๏ แกจักษุโรคให
วิง
ร แพ ๏ แกลมไหลตาย ๚ะ
ากา
เวียน
ัญญ

เจ็บในกระบอกจักษุ ๚ะ
๏ แกลมแทงสีขาง
ูมิป

๏ แกโสตตึง ๚ะ เกิดแตกองปศฆาต ๚ะ
งภ
รอ
ุ้มค

๏ แกปวดกระบอกจักษุ ๚ะ
๏ แกลมใหขาตาย ๚ะ
ักค
สําน

๏ แกโลหิตตีขึ้น ๚ะ
๏ แกลมขึ้นสูงตลอด

๏ แกเสียดตะโพก ๚ะ กะมอมทังสองขาง ๚ะ

101
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 17 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำ บอกที่แกวิสมะเตโช ประชุมในกองวาตะโรค ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
แกจักษุมัวหมอก แกลมใหเวียนศีรษะ

ทย
แกจักษุโรคใหวิง ใหเวียน
ร แพ แกลมไหลตาย
ากา
ัญญ

เจ็บในกระบอกจักษุ
แกลมแทงสีขาง
ูมิป

แกโสตตึง เกิดแตกองปตคาด
งภ
รอ
ุ้มค

แกปวดกระบอกจักษุ
แกลมใหขาตาย
ักค
สําน

แกโลหิตตีขึ้น
แกลมขึ้นสูงตลอด

แกเสียดสะโพก กระหมอมทั้งสองขาง

102
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 18 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

103
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 18 แผนนวดหงาย
35
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองกะติกะเตโช ประชุมในสรรพพิศตามอาจารแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ แกจับสรรนิบาต ๚ะ ๏ แกลมใหตาวิง ๚ะ

๏ แกสรรนิบาตสทาน ๚ะ
ร แพ ๏ แกลมปากเบี้ยว๚ะ
ากา
ัญญ

๏ แกตามืดแลหูหนัก ๚ะ
๏ แกลมใหน้ำตาตก ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ แกกำเดาปดตะรคน ๚ะ
๏ แกลิ้นกดางคางเขง ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ แกจุกอกทังสองขาง ๚ะ
๏ แกลมมีพิศ ๚ะ
ักค
สําน

๏ แกลมอัศฎากาษ ๚ะ
๏ แกลมสรรนิบาต ๚ะ

๏ แกลมจับนิ่งไป ๚ะ
๏ แกเจ็บสันหลัง ๚ะ

104
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 18 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองกติกะเตโช ประชุมในสรรพพิษ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
แกจับสันนิบาต แกลมใหตาวิง

แกสันนิบาตสะทาน
ร แพ แกลมปากเบี้ยว
ากา
ัญญ

แกตามืดแลหูหนัก
แกลมใหน้ำตาตก
ูมิป
งภ

แกกำเดาปตตะระคน
แกลิ้นกระดางคางแข็ง
รอ
ุ้มค

แกจุกอกทั้งสองขาง
แกลมมีพิษ
ักค
สําน

แกลมอัศฎากาศ
แกลมสันนิบาต

แกลมจับนิ่งไป
แกเจ็บสันหลัง

105
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 18 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

106
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 18 แผนนวดคว่ำ
36
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองกะติกะเตโช ประชุมในสรรพิศตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ แกราชยักษ ๚ะ

ทย
๏ แกลมใหกรน ๚ะ

๏ แกชักปากเบี้ยว ๚ะ
ร แพ ๏ แกลมชิวะหาสดม๚ะ
ากา
ัญญ

๏ แกจักษุเหลือก ๚ะ ๏ แกจักษุพราง ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ แกตัวรอนสดุง ๚ะ ๏ แกพิศอันทพฤกษ ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ แกเสมหะทน ๚ะ ๏ แกบวมมีพิศ ๚ะ
ักค
สําน

๏ แกสคริ้วเพลิง ๚ะ ๏ แกรอนปลายมือ ๚ะ

๏ แกบาทเพลิง ๚ะ ๏ แกรอนปลายเทา ๚ะ

107
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 18 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองกติกะเตโช ประชุมในสรรพพิษ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
แกราชยักษ แกลมใหกรน

ทย
แกชักปากเบี้ยว
ร แพ แกลมชิวหาสดมภ
ากา
ัญญ

แกจักษุเหลือก แกจักษุพราง
ูมิป

แกตัวรอนสะดุง แกพิษอัณฑพฤกษ
งภ
รอ
ุ้มค

แกเสมหะทน แกบวมมีพิษ
ักค
สําน

แกตะคริวเพลิง แกรอนปลายมือ

แกบาทเพลิง แกรอนปลายเทา

108
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 19 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

109
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 19 แผนนวดหงาย
37
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะเตโช ประชุมในกองเสมหะตามอาจารยแนะไวดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ แกเสมหะประอก ๚ะ

ทย
๏ แกปวดศีศะฤศดวง๚ะ
ร แพ ๏ แกเสียดราวขาง ๚ะ
ากา
๏ แกตนลิ้นกระดาง
ัญญ

๏ แกสอึกเพื่อเสมหะ ๚ะ
เจรจามิชัด ๚ะ
ูมิป

๏ แกแขนตาย ๚ะ
งภ

๏ แกมือตายทังสอง ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ แกอันทะภาทธิ์ ๚ะ ๏ แกลงใหปวดมวน
ักค

เสมหะมีพิศ ๚ะ
สําน

๏ แกปศฆาตขวา ๚ะ

๏ แกกลอนน้ำ ๚ะ
๏ แกกลอนแหง ๚ะ

110
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 19 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะเตโช ประชุมในกองเสมหะ ตามอาจารยแนะไวดังนี้

ไทย
์แ ผน
แกเสมหะประอก

ทย
แกปวดศีรษะริดสีดวง
ร แพ แกเสียดราวขาง
ากา
แกตนลิ้นกระดาง
ัญญ

แกสะอึกเพื่อเสมหะ
เจรจามิชัด
ูมิป

แกแขนตาย
งภ

แกมือตายทั้งสอง
รอ
ุ้มค

แกอัณฑพาต แกลงใหปวดมวน
ักค

เสมหะมีพิษ
สําน

แกปตคาดขวา

แกกลอนน้ำ
แกกลอนแหง

111
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 19 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

112
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 19 แผนนวดคว่ำ
38
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในมันทะเตโช ประชุมในกองเสหะตามอาจารกลาวไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ แกขบศีศะเปนกำลัง ๚ะ
ร แพ
๏ แกปลายปศฆาต
ากา
ัญญ

เบือนฅอมิไดใหปวดขบ ๚ะ ๏ แกเสมหะเหนียว ๚ะ
ูมิป

๏ แกมวนเสมหะ ๚ะ
๏ แกขอมือเคล็ด ๚ะ
งภ

๏ แกสอึกเพื่อเสมหะ ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ แกมือเหน็ดชา ๚ะ
๏ แกอำภาทธิ์มีพิศ
ักค

๏ แกปวดเสมหะ ๚ะ
สําน

ใหเสโทตก ๚ะ
๏ แกกลอนน้ำใหไป

๏ แกโสภะโรค ๚ะ ปสาวะบอยบอย ๚ะ

113
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 19 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะเตโช ประชุมในกองเสมหะ ตามอาจารยกลาวไว

ไทย
์แ ผน
ทย
แกขบศีรษะเปนกำลัง
ร แพ
ากา
แกปลายปตคาด
ัญญ

เบือนคอมิไดใหปวดขบ แกเสมหะเหนียว
ูมิป

แกมวนเสมหะ
แกขอมือเคล็ด
งภ

แกสะอึกเพื่อเสมหะ
รอ
ุ้มค

แกมือเหน็บชา
แกอัมพาตมีพิษ
ักค

แกปวดเสมหะ
สําน

ใหเสโทตก
แกกลอนน้ำใหไป

แกโสภะโรค ปสสาวะบอยๆ

114
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 20 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

115
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 20 แผนนวดหงาย
39
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองสมะอาโป ประชุมในสมุถาณตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้แกลมจับมีพิศ ๚ะ
ร แพ ๏ เสนนี้แกตาวิงกลางคืน
ากา

แกเจ็บจักษุแลไขจับ ๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้แกจับเจลียง ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้แกสรรนิบาต
งภ

๏ เสนนี้แกลมชักใหปาก
รอ

ปกังมักจับเพลาเชา ๚ะ
ุ้มค

เบี้ยวแลจักษุมืด ๚ะ
๏ เสนนี้แกลมจับทำ
ักค

ใหจักษุแหกน้ำตาตก ๚ะ
สําน

๏ เสนนี้แกลมมีพิศ
๏ เสนนี้แกชีวะหาสดม
จับดังพิศไขเหนือ ๚ะ
จับตนลิ้นเจรจามิชัด ๚ะ

116
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 20 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองสมะอาโป ประชุมในสมุฏฐาน ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้แกลมจับมีพิษ
ร แพ เสนนี้แกตาวิงกลางคืน
ากา

แกเจ็บจักษุแลไขจับ
ัญญ

เสนนี้แกจับเจลียง
ูมิป

เสนนี้แกสันนิบาต
งภ

เสนนี้แกลมชักใหปาก
รอ

ปะกังมักจับเพลาเชา
ุ้มค

เบี้ยวแลจักษุมืด
เสนนี้แกลมจับทำ
ักค

ใหจักษุแหกน้ำตาตก
สําน

เสนนี้แกลมมีพิษ
เสนนี้แกชิวหาสดมภ
จับดังพิษไขเหนือ
จับตนลิ้นเจรจามิชัด

117
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 20 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

118
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 20 แผนนวดคว่ำ
40
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองสมะอาโป ประชุมในสมุถาณตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้แกชักไขเจลียง ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้แกตอเกิดในจักษุ ๚ะ
ร แพ ๏ เสนนี้แกอันทะพฤกษ
ากา
๏ เสนแกลมใหหูหนัก
มีพิศแลลมวิไสยคุณ ๚ะ
ัญญ

ทังสองขาง ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้แกจักษุเปน
งภ

๏ เสนนี้แกลมจับให
รอ

หมอกดวยกำลังลม ๚ะ
ุ้มค

จักษุมืดทังสองขาง ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้แกปวดศีศะให
๏ เสนนี้แกลมจับชัก
จักษุวิงเปนน้ำหมอก ๚ะ
สะทกใหเจบอก๚ะ

119
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 20 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองสมะอาโป ประชุมในสมุฏฐาน ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
เสนนี้แกชักไขเจลียง

ทย
เสนนี้แกตอเกิดในจักษุ
ร แพ เสนนี้แกอัณฑพฤกษ
ากา
เสนแกลมใหหูหนัก
มีพิษแลลมวิไสยคุณ
ัญญ

ทั้งสองขาง
ูมิป
งภ

เสนนี้แกจักษุเปน
เสนนี้แกลมจับให
รอ

หมอกดวยกำลังลม
ุ้มค

จักษุมืดทั้งสองขาง
ักค
สําน

เสนนี้แกปวดศีรษะให
เสนนี้แกลมจับชัก
จักษุวิงเปนน้ำหมอก
สะทกใหเจ็บอก

120
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 21 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

121
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 21 แผนนวดหงาย
41
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะอาโปประชุมในกองวาตะโรคดังอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้แกชักเขมนจักษุ ๚ะ ๏ เสนนี้แกลมจุกลำฅอ ๚ะ
ร แพ
ากา
๏ เสนนี้แกลมสรรนิบาต
๏ เสนนี้แกฤศดวงกระ
ัญญ

ขึ้นสูงปวดศีศะ ๚ะ
ทำใหไอมิหยุด ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้แกลมกระทำให ๏ เสนนี้แกลมใหคัน
รอ
ุ้มค

เจรจามิได ใหลิ้นหด ๚ะ กมอมมักเกิดรังแค ๚ะ


ักค
สําน

๏ เสนนี้แกลมมือตาย
๏ เสนนี้แกลมรัตคุณให
แลจุกอกแลเจ็บในอก ๚ะ
มือตายแลเหน็ดชา ๚ะ

122
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 21 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะอาโป ประชุมในกองวาตะโรค ดังอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้ แกชักเขมนจักษุ เสนนี้ แกลมจุกลำคอ
ร แพ
ากา
เสนนี้ แกลมสันนิบาต
เสนนี้ แกริดสีดวงกระ
ัญญ

ขึ้นสูงปวดศีรษะ
ทำใหไอมิหยุด
ูมิป
งภ

เสนนี้แกลมกระทำให เสนนี้แกลมใหคัน
รอ
ุ้มค

เจรจามิได ใหลิ้นหด กระหมอมมักเกิดรังแค


ักค
สําน

เสนนี้ แกลมมือตาย
เสนนี้แกลมรัตตคุณให
แลจุกอกแลเจ็บในอก
มือตายแลเหน็บชา

123
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 21 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

124
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 21 แผนนวดคว่ำ
42
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะอาโป ประชุมในกองวาตะโรค ตามอาจารยทานแนะไว ดั่งนี้ ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้แกจักษุมืด ๚ะ ๏ เสนนี้แกไหลตาย ยกมิได ๚ะ
ร แพ
ากา
๏ เสนนี้แกเถาปศฆาตนอก
๏ เสนนี้แกเจ็บแกวโสต
ัญญ

ใหเจ็บสันหลังตลอดตนฅอ ๚ะ
มักเปนน้ำหนวก ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้แกโลหิตตีขึ้นโดย
รอ

๏ เสนนี้แกเจ็บกระบอก
ุ้มค

กำลังลมกลานัก ๚ะ
จักษุดั่งมดตะนอยตอย ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้แกลมใหเปน
๏ เสนนี้แกลมชักใหแขน
เหน็ดแลเสนตายใหมึน ๚ะ
ลั่นทังสองขางดุจกัน ๚ะ

125
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 21 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะอาโป ประชุมในกองวาตะโรค ตามอาจารยทานแนะไว ดังนี้

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้ แกจักษุมืด เสนนี้แกไหลตาย ยกมิได
ร แพ
ากา
เสนนี้ แกเถาปตคาดนอก
เสนนี้ แกเจ็บแกวโสต
ัญญ

ใหเจ็บสันหลังตลอดตนคอ
มักเปนน้ำหนวก
ูมิป
งภ

เสนนี้ แกโลหิตตีขึ้นโดย
รอ

เสนนี้ แกเจ็บกระบอก
ุ้มค

กำลังลมกลานัก
จักษุดั่งมดตะนอยตอย
ักค
สําน

เสนนี้แกลมใหเปน
เสนนี้ แกลมชักใหแขน
เหน็บแลเสนตายใหมึน
ลั่นทั้งสองขางดุจกัน

126
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 22 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

127
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 22 แผนนวดหงาย
43
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองกะติกะอาโป ประชุมในกองพิศ ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้แกนอนมิหลับ ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้แกปวดศีศะเพื่อ

โลหิตสมุถาน ๚ะ
ร แพ ๏ เสนนี้แกกระหายน้ำ
ากา

ใหหอบเปนกำลัง ๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้แกฅอแกง ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้แกสคริวเพลิง ๚ะ
รอ

๏ เสนนี้แกเปนเหน็ด
ุ้มค

หยิกมิเจ็บใหชา ๚ะ ๏ เสนนี้แกบาทเพลิง ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้แกอันทะพฤกษ
๏ เสนนี้แกใขใหตัวรอน
เกิดเพื่อเตโชมีพิศ ๚ะ
นักมักใหเมื่อย ๚ะ

128
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 22 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองกติกะอาโป ประชุมในกองพิษ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
เสนนี้ แกนอนมิหลับ

ทย
เสนนี้ แกปวดศีรษะเพื่อ

โลหิตสมุฏฐาน
ร แพ เสนนี้ แกกระหายน้ำ
ากา

ใหหอบเปนกำลัง
ัญญ

เสนนี้ แกคอแหง
ูมิป
งภ

เสนนี้ แกตะคริวเพลิง
รอ

เสนนี้ แกเปนเหน็บ
ุ้มค

หยิกมิเจ็บ ใหชา เสนนี้ แกบาทเพลิง


ักค
สําน

เสนนี้แกอัณฑพฤกษ
เสนนี้ แกไขใหตัวรอน
เกิดเพื่อเตโชมีพิษ
นักมักใหเมื่อย

129
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 22 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

130
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 22 แผนนวดคว่ำ
44
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองกะติกะอาโป ประชุมในกองสรรพิศ ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ เสนนี้แกปศฆาตมีพิศ ๚ะ

์แ
๏ เสนนี้แกเชื่อมมึน ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้แกใขกระทำ
ร แพ ๏ เสนนี้แกเจ็บกระดูก
ากา
สันหลังเพื่อพิศทังปวง ๚ะ
ัญญ

ใหรอนเปนกำลัง ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้แกอาเจียร
งภ

๏ เสนนี้แกแสยง
รอ

กระทำใหเหม็นอาหาร ๚ะ
ุ้มค

เทาทังสองดุจกัน ๚ะ
ักค

๏ เสนนี้แกสุมระณันติให
สําน

๏ เสนแกตัวรอน แพทยพึงยึดใหอยู ๚ะ
เทาเย็นยิ่งนัก ๚ะ

131
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 22 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองกติกะอาโป ประชุมในกองสรรพพิษ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
ผน
เสนนี้ แกปตคาดมีพิษ

์แ
เสนนี้ แกเชื่อมมึน

ทย
เสนนี้ แกไขกระทำ
ร แพ เสนนี้ แกเจ็บกระดูก
ากา
สันหลังเพื่อพิษทั้งปวง
ัญญ

ใหรอนเปนกำลัง
ูมิป

เสนนี้แกอาเจียน
งภ

เสนนี้ แกแสยง
รอ

กระทำใหเหม็นอาหาร
ุ้มค

เทาทั้งสองดุจกัน
ักค

เสนนี้แกสุมะระณันติให
สําน

เสน แกตัวรอน แพทยพึงยึดใหอยู


เทาเย็นยิ่งนัก

132
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 23 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

133
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 23 แผนนวดหงาย
45
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกที่แกในกองมันทะอาโปประชุมในกองเสมหะ ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้แกลมมหาสดม ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้แกสลักอก ๚ะ

๏ เสนนี้แกสรรนิบาต
ร แพ ๏ เสนนี้แกจับใหจักษุ ๚ะ
ากา

แขงดังตาเนื้อ ๚ะ
ัญญ

พุทธยักษมิพิศ ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้แกนอนมิหลับ ๚ะ ๏ เสนนี้แกลมกามะจร ๚ะ
รอ
ุ้มค

เพื่อเสมหะ ๚ะ กลายเปนลมวิหก ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้แกลมบาทา ๚ะ ๏ เสนนี้แกลมใหเสียว ๚ะ

ชักใหเสียวใหเย็น ๚ะ เสียดไหวตัวมิได ๚ะ

134
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 23 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะอาโป ประชุมในกองเสมหะ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
เสนนี้ แกลมมหาสดมภ

ทย
เสนนี้ แกสลักอก

เสนนี้ แกสันนิบาต
ร แพ เสนนี้ แกจับใหจักษุ
ากา

แข็งดังตาเนื้อ
ัญญ

พุทธยักษมีพิษ
ูมิป
งภ

เสนนี้ แกนอนมิหลับ เสนนี้ แกลมกามจร


รอ
ุ้มค

เพื่อเสมหะ กลายเปนลมวิหค
ักค
สําน

เสนนี้ แกลมบาทา เสนนี้ แกลมใหเสียว

ชักใหเสียวใหเย็น เสียดไหวตัวมิได

135
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 23 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

136
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 23 แผนนวดคว่ำ
46
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้บอกที่แกในกองมันทะอาโปประชุมในกองเสมหะ ตามอาจาริยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้แกลมราชยักษ ๚ะ
ร แพ
๏ เสนนี้แกปวดสลักอก
ากา

๏ เสนนี้แกใหสำรอก ๚ะ
ัญญ

แลไหลก็ดีเพื่อเสมหะ ๚ะ
๏ เสนนี้แกกระไสยดาน
ูมิป

เกิดแตกองวุทฒิโรค ๚ะ
งภ

๏ เสนนี้แกปวดทอง
รอ

๏ เสนนี้แกชิวะหาสดม
ุ้มค

ตลอดกระดูกสันหลัง ๚ะ
ักค

จับใหนิ่งไป ๚ะ
สําน

๏ เสนนี้แกลมสรรนิบาต
๏ เสนนี้แกสอึกเพื่อ
ขึ้นสูงมักใหอาเจียรลง ๚ะ
เสมหะสมุถาน ๚ะ

137
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 23 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะอาโป ประชุมในกองเสมหะ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้ แกลมราชยักษ
ร แพ
เสนนี้ แกปวดสลักอก
ากา

เสนนี้แกใหสำรอก
ัญญ

แลไหลก็ดีเพื่อเสมหะ
เสนนี้แกกระษัยดาน
ูมิป

เกิดแตกองวุฒิโรค
งภ

เสนนี้ แกปวดทอง
รอ

เสนนี้แกชิวหาสดมภ
ุ้มค

ตลอดกระดูกสันหลัง
ักค

จับใหนิ่งไป
สําน

เสนนี้แกลมสันนิบาต
เสนนี้ แกสะอึกเพื่อ
ขึ้นสูงมักใหอาเจียนลง
เสมหะสมุฏฐาน

138
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 24 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

139
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 24 แผนนวดหงาย
47
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกที่แกในกองสมะวาโยประชุมในกองสมุถาณตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ เสนนี้ชื่อทิพจักษุขึ้นศีศะ
ร แพ จับใหจักษุมืด ๚ะ
ากา
ัญญ

๏ เสนนี้แกลมใหจักษุพราง ๚ะ ๏ เสนนี้แกลมเปลียวดำ ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้ชื่อทักขิณคุณ
งภ

๏ เสนนี้ชิวะหาสดมจับ
รอ

จับใหศีศะสั่นเจรจามิได ๚ะ
ตนลิ้นเจรจามิได ๚ะ
ุ้มค

๏ เสนนี้ชื่อรัตคุณจับให
ักค

เหื่อตกสทกทังตัว ๚ะ
สําน

๏ เสนนี้แกสลักเพ็ชให
๏ เสนนี้อำภาทธิ์จับให
จับสลักอกยอกอก ๚ะ
จักษุมืดมัวยิ่งนัก ๚ะ

140
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 24 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองสมะวาโย ประชุมในกองสมุฏฐานตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้ชื่อทิพจักษุขึ้นศีรษะ
ร แพ จับใหจักษุมืด
ากา
ัญญ

เสนนี้แกลมใหจักษุพราง เสนนี้แกลมเปลี่ยวดำ
ูมิป

เสนนี้ชื่อทักขิณคุณ
งภ

เสนนี้ชิวหาสดมภจับ
รอ

จับใหศีรษะสั่น เจรจามิได
ตนลิ้นเจรจามิได
ุ้มค

เสนนี้ชื่อรัตตคุณ จับให
ักค

เหงื่อตกสะทกทั้งตัว
สําน

เสนนี้แกสลักเพชร ให
เสนนี้อัมพาตจับให
จับสลักอกยอกอก
จักษุมืดมัวยิ่งนัก

141
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 24 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

142
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 24 แผนนวดคว่ำ
48
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้บอกที่แกในกองสมะวาโยประชุมในกองสมุถาณตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้แกอาเจียรมิออก ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้แกคลื่นเหียร ๚ะ
ร แพ ๏ เสนนี้แกยอกตะโภก
ากา
๏ เสนนี้แกลมมักกระ ถึงสันหลังใหตึงตัว ๚ะ
ัญญ

ทำใหขยอนราก ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้แกลมจับกระทำ
งภ
รอ

๏ เสนนี้แกลมพัดกอง ใหเปนเหน็ด ๚ะ
ุ้มค

เสมหะใหเฟอง ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้แกองคกำเหนิด

๏ เสนนี้แกลมแนน ตายปสาวะมิไดโชน ๚ะ
หนาอกใหตึงตัว ๚ะ

143
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 24 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองสมะวาโย ประชุมในกองสมุฏฐาน ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้แกคลื่นเหียน เสนนี้แกอาเจียนมิออก
ร แพ เสนนี้แกยอกสะโพก
ากา
เสนนี้แกลมมักกระ ถึงสันหลังใหตึงตัว
ัญญ

ทำใหขยอนราก
ูมิป

เสนนี้แกลมจับกระทำ
งภ
รอ

เสนนี้แกลมพัดกอง ใหเปนเหน็บ
ุ้มค

เสมหะใหเฟอง
ักค
สําน

เสนนี้แกองคกำเนิด

เสนนี้แกลมแนน ตายปสสาวะมิไดโชน
หนาอกใหตึงตัว

144
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 25 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

145
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 25 แผนนวดหงาย
49
๏ ลั ก ษณแผนหงายรู ป นี้ บ อกที่ แ ก ใ นกองวิ ส มะวาโยเกิ ด แต อ ะนั น ทะจั ก ระหวั ต ตามอาจารย
ทานแนะไว ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ ชื่อพะหิวาตาจับกระทำ

์แ
๏ ชื่อเพรำพะวาตาจับใหใจ

ทย
พิศรายนักดั่งสรับปะพิศ ๚ะ
หมุนดั่งกังหันใหเหนื่อย ๚ะ ร แพ ๏ ชื่อสักกะวาตจับใหเจ็บ
ากา
๏ ชื่อหัทยะวาตจับใหมึน
ทุกชิ้นเนื้อทั่วทังกาย ๚ะ
ัญญ

ตึงใหใจลอยอยูเปนนิจ ๚ะ
ูมิป

๏ ชื่อสุมะนาจับใหอั้นไป
งภ

๏ ชื่ออัศฎากาษจับหาสติ
ทังกายมิไดรูสึกตน ๚ะ
รอ

มิไดเขมนทังกายใหชา
ุ้มค

๏ ชื่อวิปศณวาตะจับใน
ักค

ไปทังตัวใหแสยง ๚ะ
สําน

รวางที่ตั้งแหง
๏ ชื่อพยัติวาโยมรรคะ
นิมิตรทังปวง ๚ะ
จับในที่รวางใจสงัด ๚ะ

146
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 25 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะวาโยเกิดแตอนันทจักรวรรดิ ตามอาจารยทานแนะ


ไว ดังนี้

ไทย
ผน
ชื่อพหิวาตาจับกระทำ

์แ
ชื่อเพรำพะวาตาจับใหใจ

ทย
พิษรายนักดังสรรพพิษ
หมุนดังกังหันใหเหนื่อย ร แพ ชื่อสักวาตจับใหเจ็บ
ากา
ชื่อหทัยวาตะจับใหมึน
ทุกชิ้นเนื้อทั่วทั้งกาย
ัญญ

ตึงใหใจลอยอยูเปนนิจ
ูมิป

ชื่อสุมนาจับใหอั้นไป
งภ

ชื่ออัศฎากาศจับหาสติ
ทั้งกายมิไดรูสึกตน
รอ

มิไดเขมนทั้งกายใหชา
ุ้มค

ชื่อวิปสสนวาตาจับใน
ักค

ไปทั้งตัวใหแสยง
สําน

ระหวางที่ตั้งแหง
ชื่อพยัติวาโยมรรคะ
นิมิตรทั้งปวง
จับในที่ระหวางใจสงัด

147
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 25 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

148
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 25 แผนนวดคว่ำ
50
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะวาโย ประชุมในกองวาตะโรค ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้แกปวดเสมหะ ๚ะ ๏ เสนนี้แกจุกอก ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้แกบริโภกอา
ร แพ ๏ เสนนี้แกมือแลเทา
ากา
ตายทังสองขาง ๚ะ
หารมิไดไมมีรศ ๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้แกรากลมเปลา ๚ะ ๏ เสนนี้แกหิวหาแรงมิได ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้แกปวดสีขาง ๏ เสนนี้แกคางทูมแล
รอ

แลชายโครงทังสอง ๚ะ หายใจขัดอกสอื้น ๚ะ
ุ้มค
ักค

๏ เสนนี้แกตัวโกงอยู ๏ เสนนี้แกหอบเปนกำ
สําน

ลังมักเกิดลมมีพิศ ๚ะ
มิใหตึงตัวได ๚ะ

๏ เสนนี้แกตัวแขง ๚ะ ๏ เสนนี้แกรอนในอก ๚ะ

149
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 25 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะวาโย ประชุมในกองวาตะโรค ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
เสนนี้แกปวดเสมหะ เสนนี้แกจุกอก

ทย
เสนนี้แกบริโภคอา
ร แพ เสนนี้แกมือแลเทา
ากา
ตายทั้งสองขาง
หารมิได ไมมีรส
ัญญ

เสนนี้แกรากลมเปลา เสนนี้แกหิวหาแรงมิได
ูมิป
งภ

เสนนี้แกปวดสีขาง เสนนี้แกคางทูมแล
รอ

แลชายโครงทั้งสอง หายใจขัดอกสะอื้น
ุ้มค
ักค

เสนนี้แกตัวโกงอยู เสนนี้แกหอบเปนกำ
สําน

ลังมักเกิดลมมีพิษ
มิใหตึงตัวได

เสนนี้แกตัวแข็ง เสนนี้แกรอนในอก

150
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 26 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

151
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 26 แผนนวดหงาย
51
๏ ลักษณ แผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองกะติกะวาโย เกิดในกองเพรำพะวาตะ ตามอาจารยแนะไว ดังนี้ ๚ะ๛

ไทย
ผน
์แ
๏ ชื่อชิวะหาสดมจับใหนิ่งไป

ทย
๏ ชื่อวายุกาลสิงคลีจับให

หนาเขียวใหใจสั่นใหผุด
ร แพ ดวยหลับแกมิฟน ๚ะ
ากา

ดำ
ัญญ

แดง ๏ ชื่อมะหาสดมจับใหหาวนอน ๚ะ
เปนวง ก็มี ๚ะ
ขาว
ูมิป

เหลือง
งภ

๏ ชื่อจับปราบจับดั่งตองป
รอ

๏ ชื่อทักขิณโรศจับดิ้น
ศาจใหตัวสั่น ๚ะ
ุ้มค

ยึดมิอยูเจรจามิได ๚ะ
ักค
สําน

๏ ชื่อบาทยักษจับ
๏ ชื่อตะดิยาวิโรศจับแตแมเทา
สะทกใหทองแขง ๚ะ
ขึ้นมาหัวใจใหตายไปทังตัว ๚ะ

วิหกะวาตจับใหตัวเยนให
ลิ้นกะดางใหหิว

152
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 26 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองกติกะวาโย เกิดในกองเพรำพะวาตะ ตามอาจารยแนะไว ดังนี้

ไทย
์แ ผน
ชื่อชิวหาสดมภจับใหนิ่งไป

ทย
ชื่อวายุกาลสิงคลีจับให
ร แพ ดวยหลับแกมิฟน
ากา
หนาเขียวใหใจสั่นใหผุด
ัญญ

ชื่อมหาสดมภจับใหหาวนอน
เปนวงดำ-แดง-ขาว-เหลืองก็มี
ูมิป
งภ

ชื่อจับปราบจับดังตองป
ชื่อทักขิณโรธจับดิ้น
รอ

ศาจใหตัวสั่น
ุ้มค

ยึดมิอยูเจรจามิได
ักค
สําน

ชื่อบาดทะยักษจับ
ชื่อตติยาวิโรธจับแตแมเทา
สะทกใหทองแข็ง
ขึ้นมาหัวใจใหตายไปทั้งตัว

วิหกะวาตจับใหตัวเย็นใหลิ้นกระดางใหหิว ฯ

153
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 26 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

154
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 26 แผนนวดคว่ำ
52
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองกะติกะวาโย ประชุมในสรรพิศ ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้แกพิศทำใหรอน๚ะ

ทย
๏ เสนนี้แกกระทำพิศม
ร แพ
ากา
ัญญ

ใหเจ็บไปทุกขุมขน ๚ะ ๏ เสนนี้แกลิ้นแขง ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้แกลมกระทำ
งภ

๏ เสนนี้แกกระทำพิศ
รอ

มิใหรูสึกตนแนไป ๚ะ
ุ้มค

ใหรองคราง ๚ะ ๏ เสนนี้แกเขมนสั่นไป
ักค

ทังตัวใหเสียว ๚ะ
สําน

๏ เสนนี้แกเสียวไป ๏ เสนนี้แกชักสดุง

ทังกายใหตึง๚ะ รองไหเหื่อตก ๚ะ

155
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 26 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองกติกะวาโย ประชุมในสรรพพิษ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
เสนนี้แกพิษทำใหรอน

ทย
เสนนี้แกกระทำพิษ
ร แพ
ากา
ัญญ

ใหเจ็บไปทุกขุมขน เสนนี้แกลิ้นแข็ง
ูมิป

เสนนี้แกลมกระทำ
งภ

เสนนี้แกกระทำพิษ
มิใหรูสึกตนแนไป
รอ
ุ้มค

ใหรองคราง เสนนี้แกเขมนสั่นไป
ักค

ทั้งตัวใหเสียว
สําน

เสนนี้แกเสียวไป เสนนี้แกชักสะดุง

ทั้งกายใหตึง รองไหเหงื่อตก

156
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 27 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

157
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 27 แผนนวดหงาย
53
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะวาโย เกิดแตพะหิวาตะสรรนิบาต ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
ทย
๏ ชื่อลมงุมขณะเมื่อจับ
ร แพ ใหงอไปขางหนา ๚ะ
ากา
ัญญ

๏ ชื่อบาทจิตรจับให ๏ ชื่อลมแหงนงอไปหลัง ๚ะ
ูมิป

เภอคลั่งไมมีสะติ ๚ะ
งภ

๏ ชื่ออินตนูจับโทษเสมหะ
รอ

๏ ชื่อพุทธยักษจับขบฟน ๚ะ มีพิศมตอตายผุดขึ้น ๚ะ
ุ้มค

๏ ชื่อราชยักษจับ
ักค
สําน

มือ
ให กำคางแขง ๚ะ
เทา ๏ ชื่ออัคมุขีจับดิน

๏ ชื่อกุมพันทยักษ รองแลวแนนิ่งไป ๚ะ

จับใหชักเทากำมือ ๚ะ

158
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 27 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะวาโย เกิดแตพหิวาตะสันนิบาต ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
ชื่อลมงุมขณะเมื่อจับ
ร แพ ใหงอไปขางหนา
ากา
ัญญ

ชื่อบาทจิตจับให ชื่อลมแหงนงอไปหลัง
ูมิป

เพอคลั่งไมมีสติ
งภ

ชื่ออินธนูจับโทษเสมหะ
รอ

ชื่อพุทธยักษจับขบฟน มีพิษตอตายผุดขึ้น
ุ้มค

ชื่อราชยักษจับ
ักค
สําน

ใหมือเทากำ คางแข็ง
ชื่ออัคมุขีจับดิ้น

จับใหชักเทากำมือ รองแลวแนนิ่งไป

ชื่อกุมภัณฑยักษ

159
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 27 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

160
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 27 แผนนวดคว่ำ
54
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะวาโยประชุมในกองเสมหะ ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
์แ ผน
๏ เสนนี้แกคลั่งใหสงบ ๚ะ

ทย
๏ เสนนี้แกลมหลังโกง ๚ะ

๏ เสนนี้แกฟนชิดคัดมิ
ร แพ ๏ เสนนี้แกตึงตัวยอตัวลง
ากา

มิไดใหแนนอก ๚ะ
ัญญ

ขึ้นใหนิ่งไปใหตัวเย็น ๚ะ
ูมิป
งภ

๏ เสนนี้แกชักเทากำ ๏ เสนนี้แกพิศมให
รอ
ุ้มค

มือกำทังสองขาง ๚ะ รอนตัวเปนเปลว ๚ะ
ักค

๏ เสนนี้แกจับใหนิ่ง
สําน

๏ เสนนี้แกแขง

กะดางทังตัว แนไปใหสมปะดี ๚ะ

161
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 27 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองมันทะวาโย ประชุมในกองเสมหะ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
์แ ผน
ทย
เสนนี้แกคลั่งใหสงบ เสนนี้แกลมหลังโกง
ร แพ เสนนี้แกตึงตัวยอตัวลง
ากา
เสนนี้แกฟนชิดคัดมิ
ัญญ

ขึ้นใหนิ่งไปใหตัวเย็น มิไดใหแนนอก
ูมิป
งภ

เสนนี้แกชักเทากำ เสนนี้แกพิษให
รอ
ุ้มค

มือกำทั้งสองขาง รอนตัวเปนเปลว
ักค
สําน

เสนนี้แกจับใหนิ่ง
เสนนี้แกแข็ง

กระดางทั้งตัว แนไปใหสมประดี ๚ะ

162
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 28 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

163
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 28 แผนนวดหงาย
55
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้บอกที่ในกองสมะปถวีเกิดแตอะนันทะจักระหวัตตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ เสนนี้แกอำมะพฤกษ

์แ
ทย
๏ เสนนี้อำมะภาทธิลมเดิน
เดินเปนอะโทมักกระทำ
เปนอุทังมักจับใหตายไป
ร แพ ใหเทารอนเปนพิศม ๚ะ
ากา
จำหระหนึ่งใหลิ้นหด๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้แกแสยงเทา ๚ะ
๏ เสนนี้แกคางแขง ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้แกจับเพื่อพิศไข
งภ

๏ เสนนี้แกเจรจามิออก รอน
เจลียงสทาน ๚ะ
รอ

หนาว
แลมักลืมหลง ๚ะ
ุ้มค

๏ เสนนี้แกหิวบริโภคอา
ักค

๏ เสนนี้แกลมกามจรหา
สําน

หารมิไดมักใหราก ๚ะ
กำลังมิไดใหมีกำลัง ๚ะ

๏ เสนนี้แกหอบยิ่งนัก ๚ะ
๏ เสนนี้แกองคชาติตาย ๚ะ

164
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 28 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่ในกองสมะปถวีเกิดแตอนันทจักรวรรดิ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
ผน
เสนนี้แกอัมพฤกษ

์แ
ทย
เสนนี้อัมพาตลมเดิน
เดินเปนอโธมักกระทำ
เปนอุทธังมักจับใหตายไป
ร แพ ใหเทารอนเปนพิษ
ากา
จำหระหนึ่งใหลิ้นหด
ัญญ

เสนนี้แกแสยงเทา
เสนนี้แกคางแข็ง
ูมิป

เสนนี้แกจับเพื่อพิษไข
งภ

เสนนี้แกเจรจามิออก
เจลียงสะทานรอนสะทานหนาว
รอ

แลมักลืมหลง
ุ้มค

เสนนี้แกหิวบริโภคอา
ักค

เสนนี้แกลมกามจรหา
สําน

หารมิไดมักใหราก
กำลังมิไดใหมีกำลัง

เสนนี้แกหอบยิ่งนัก
เสนนี้แกองคชาติตาย

165
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 28 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

166
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 28 แผนนวดคว่ำ
56
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองสมะปถวี เกิดแตอะนันทะจักระหวัด ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ เสนนี้แกศีศะสั่น ๚ะ

์แ
ทย
๏ เสนนี้แกไหลลด ๚ะ
๏ เสนนี้แกไหลตาย ๚ะ
๏ เสนนี้แกสบักจม ๚ะ
ร แพ
ากา
๏ เสนนี้แกยอกสบัก ๚ะ
๏ เสนนี้แกยกแขนมิขึ้น ๚ะ
ัญญ

๏ เสนนี้แกมือชาใหเย็น ๚ะ
ฃาตาย
๏ เสนนี้แก เพลีย ๚ะ
ูมิป

๏ เสนนี้แกนิ้วกะดิกมิได ๚ะ
งภ

๏ เสนนี้แกรอน ๚ะ
รอ

๏ เสนนี้แกขาทังสองตึง ๚ะ
ุ้มค

๏ เสนนี้แกหลังแขง ๚ะ
ักค

๏ เสนนี้แกเทาเย็นเปนเหน็ด ๚ะ
๏ เสนนี้แกเสียดตลอดศีศะ ๚ะ
สําน

๏ เสนนี้แกลมหลังโกง ๚ะ
๏ เสนนี้แกฅอแขง ๚ะ ๏ เสนนี้แกเสียดชายโครง ๚ะ
๏ เสนนี้แกเบือนฅอมิได ๚ะ

167
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 28 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองสมะปถวี เกิดแตอนันทจักรวรรดิ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
ผน
เสนนี้แกศีรษะสั่น

์แ
ทย
เสนนี้แกไหลลด ร แพ เสนนี้แกไหลตาย
ากา
เสนนี้แกสะบักจม
เสนนี้แกยอกสะบัก
ัญญ

เสนนี้แกยกแขนมิขึ้น
เสนนี้แกมือชาใหเย็น
ูมิป

เสนนี้แกขาตาย แกเพลีย
งภ

เสนนี้แกนิ้วกระดิกมิได
รอ

เสนนี้แกรอน
ุ้มค

เสนนี้แกขาทั้งสองตึง
เสนนี้แกหลังแข็ง
ักค

เสนนี้แกเทาเย็นเปนเหน็บ
สําน

เสนนี้แกเสียดตลอดศีรษะ
เสนนี้แกลมหลังโกง
เสนนี้แกคอแข็ง เสนนี้แกเสียดชายโครง
เสนนี้แกเบือนคอมิได

168
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 29 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

169
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 29 แผนนวดหงาย
57
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะปถวี เกิดแตกองตรีกุฏวาต ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ เสนนี้อันทะพฤกษ

์แ
แกวุทธิโรคสมมุติวา

ทย
๏ เสนนี้อันทะภาทธิแกลม ร แพ กลอนแลอุงเดินไกล
ากา
ถวงฝกใหปวดสมมุติ มิไดใหตึงถวง ๚ะ
ัญญ

วาใสเลื่อนโดยกำลัง
๏ เสนนี้แกปวดฝก
ูมิป
งภ

เสนนั้นพองขึ้น ๚ะ ใหเสียวถึงองคชาต ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ เสนนี้แกฝกฟกใหเจ็บ ๏ เสนนี้แกปสาวะเดิน
ักค

ระบมมีพิศม ๚ะ มิไดสะดวกแลปสาวะ
สําน

๏ เสนนี้แกลมใหหต ดำ แดง ขาว เหลือง ๚ะ


ขึ้นใหหยอนฝกแลแก
เมื่อยตะโภคแลตนฃา ๚ะ

170
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 29 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะปถวี เกิดแตกองตรีกุฏวาต ตามอาจารยแนะไว

ไทย
ผน
เสนนี้แกอัณฑพฤกษ

์แ
แกวุทธิโรคสมมติวา

ทย
เสนนี้อัณฑพาตแกลม ร แพ กลอนแลอุงเดินไกล
ากา
ถวงฝกใหปวดสมมติ มิไดใหตึงถวง
ัญญ

วาไสเลื่อนโดยกำลัง
เสนนี้แกปวดฝก
ูมิป
งภ

เสนนั้นพองขึ้น ใหเสียวถึงองคชาต
รอ
ุ้มค

เสนนี้แกฝกฟกใหเจ็บ เสนนี้แกปสสาวะเดิน
ักค

ระบมมีพิษ มิไดสะดวกแลปสสาวะ
สําน

เสนนี้แกลมใหหด ดำแดงขาวเหลือง
ขึ้นใหหยอนฝกแลแก
เมื่อยสะโพกแลตนขา

171
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 29 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

172
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 29 แผนนวดคว่ำ
5๘
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะปถวี เกิดแตกองตรีกุฏวาต ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ เสนนี้แกลมขึ้นสูงกระ ๏ เสนนี้แกลมใหจักษุมัว ๚ะ

์แ
ทย
ทำใหจักษุมัวไป ๚ะ
๏ เสนนี้แกลมใหยอก

๏ เสนนี้แกลมยืดตัวมิ
ร แพ ไหลแลใหมือชาใหเย็น
ากา
ถึงขอสอกเปนเหน็ด ๚ะ
ขึ้นใหยอกสันหลัง ๚ะ
ัญญ
ูมิป

๏ เสนนี้แกสันหลังเหน็ด ๏ เสนนี้แกฅอแขง
งภ

แลชาไปทั้งตัว ๚ะ เบือนฅอมิไดใหเจ็บ ๚ะ
รอ
ุ้มค

๏ เสนนี้แกหนักตะโพก
ักค
สําน

๏ เสนนี้แกเทากาวมิ ไหวตัวขึ้นมิไดใหแขง
ออกใหตึงใหแขงให
กะดางใหเมื่อยยิ่งนัก ๚ะ
เมื่อยขบเปนกำลัง ๚ะ

173
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 29 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองวิสมะปถวี เกิดแตกองตรีกุฏวาต ตามอาจารยแนะไว

ไทย
ผน
เสนนี้แกลมขึ้นสูงกระ เสนนี้แกลมใหจักษุมัว

์แ
ทย
ทำใหจักษุมัวไป
เสนนี้แกลมใหยอก

เสนนี้แกลมยืดตัวมิ
ร แพ ไหลแลใหมือชาใหเย็น
ากา
ถึงขอศอกเปนเหน็บ
ขึ้นใหยอกสันหลัง
ัญญ
ูมิป

เสนนี้แกสันหลังเหน็บ เสนนี้แกคอแข็ง
งภ

แลชาไปทั้งตัว เบือนคอมิไดใหเจ็บ
รอ
ุ้มค

เสนนี้แกหนักสะโพก
ักค
สําน

เสนนี้แกเทากาวมิ ไหวตัวขึ้นมิไดใหแข็ง
ออกใหตึงใหแข็งให
กระดางใหเมื่อยยิ่งนัก
เมื่อยขบเปนกำลัง

174
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 30 แผนนวดหงาย

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

175
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 30 แผนนวดหงาย
59
๏ ลักษณแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองกะติกะปถวี เกิดแตกองอำมพฤกษ ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
ผน
๏ เสนนี้มุตฆาตซายแก
๏ เสนนี้มุตฆาตขวา

์แ
ทย
ปสาวะบอยบอย ๚ะ
แกปสาวะหยดยอย ๚ะ

๏ เสนนี้แกสันตฆาตขวา
ร แพ ๏ เสนนี้สันทฆาตซาย
ากา

แกยอกอกสลักอก ๚ะ แกเจ็บอกดังเปนหนอง๚ะ
ัญญ
ูมิป

๏ เสนนี้ปศฆาตขวา ๏ เสนนี้ปศฆาตซาย
งภ

แกครั่นตัวตึงตัว ๚ะ
รอ

แกยอตัวมิลงใหแขง ๚ะ
ุ้มค

๏ เสนนี้รัตฆาตซาย
ักค

๏ เสนนี้รัตฆาตขวา
สําน

แกเอี้ยวตัวมิไดแกจับ
แกเสียดราวขางแล
สรรนิบาตมีพิศ ๚ะ
แกจับเจรียงมีพิศ ๚ะ

176
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 30 แผนนวดหงาย

ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกที่แกในกองกติกะปถวี เกิดแตกองอัมพฤกษ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
ผน
เสนนี้มุตฆาตซายแก
เสนนี้มุตฆาตขวา

์แ
ทย
ปสสาวะบอยๆ
แกปสสาวะหยดยอย

เสนนี้แกสัณฑฆาตขวา
ร แพ เสนนี้สัณฑฆาตซาย
ากา

แกยอกอกสลักอก แกเจ็บอกดังเปนหนอง
ัญญ
ูมิป

เสนนี้ปตคาดขวา เสนนี้ปตคาดซาย
งภ

แกครั่นตัวตึงตัว
รอ

แกยอตัวมิลงใหแข็ง
ุ้มค

เสนนี้รัตฆาตซาย
ักค

เสนนี้รัตฆาตขวา
สําน

แกเอี้ยวตัวมิไดแกจับ
แกเสียดราวขางแล
สันนิบาตมีพิษ
แกจับเจลียงมีพิษ

177
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพตนฉบับ
จารึกแผนที่ 30 แผนนวดคว่ำ

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

178
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

คำปริวรรต
จารึกแผนที่ 30 แผนนวดคว่ำ
60
๏ ลักษณแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองกะติกะปถวี เกิดแตกองอำมพฤกษ ตามอาจารยแนะไว ๚ะ๛

ไทย
๏ เสนนี้แกปวดศีศะ ๚ะ

ผน
๏ เสนนี้แกลมเบื้องบนใหออก ๚ะ

์แ
ทย
๏ เสนนี้แกปวดปสาวะ๚ะ
๏ เสนนี้แกมูตอะติสาร ๚ะ

๏ เสนนี้แกตึงสันหลัง
ร แพ ๏ เสนนี้แกเสียบสันหลัง
ากา

ตลอดหนาอก ๚ะ ใหเจ็บดั่งเอาเข็มแทง ๚ะ
ัญญ
ูมิป

๏ เสนแกหลังยืดมิขึ้น ๚ะ ๏ เสนนี้แกฅอแกงใหปวด ๚ะ
งภ
รอ

๏ เสนแกหลัง ๏ เสนนี้แกเกลียวฅอ
ุ้มค

แขงดั่งเสียบ ๚ะ เบือนมิไดใหปวดขบ๚ะ
ักค
สําน

๏ เสนนี้แกลมเขาเสน
๏ เสนนี้ตึงราว
ใหเสนพองขึ้นใหบวม ๚ะ
ขางใหยอกเสียด ๚ะ

179
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานปจจุบัน
จารึกแผนที่ 30 แผนนวดคว่ำ

ลักษณะแผนคว่ำรูปนี้ บอกที่แกในกองกติกะปถวี เกิดแตกองอัมพฤกษ ตามอาจารยแนะไว

ไทย
เสนนี้แกปวดศีรษะ

ผน
เสนนี้แกลมเบื้องบนใหออก

์แ
ทย
เสนนี้แกปวดปสสาวะ
เสนนี้แกมูตรอติสาร

เสนนี้แกตึงสันหลัง
ร แพ เสนนี้แกเสียบสันหลัง
ากา

ตลอดหนาอก ใหเจ็บดั่งเอาเข็มแทง
ัญญ
ูมิป

เสนแกหลังยืดมิขึ้น เสนนี้แกคอแข็งใหปวด
งภ
รอ

เสนแกหลัง เสนนี้แกเกลียวคอ
ุ้มค

แข็งดังเสียบ เบือนมิไดใหปวดขบ
ักค
สําน

เสนนี้แกลมเขาเสน
เสนนี้แกตึงราว

ขางใหยอกเสียด ใหเสนพองขึ้นใหบวม

180
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

อภิธานศัพท
กระหายน้ำ อาการไข ทำใหรูสึกคอแหง อยากดื่มน้ำบอย ๆ
กระหมอม น. สวนของกะโหลกอยูตรงแนวศีรษะแตต่ำกวาสวนสูงสุดลงมาใกลหนาผาก ในเด็กแรก
เกิดจนถึง ๒ ขวบสวนนี้จะมีเนื้อเยื่อออนปดรอยประสานกะโหลกที่ยังเปดอยู หลังจากนั้น
เนื้อเยื่อออนนี้จะกลายเปนกระดูก, โดยปริยายหมายรวม ๆ วา หัว เชน เปากระหมอม
ลงกระหมอม, ขมอม ก็วา

ไทย
กลอน โรคกระษัยชนิดหนึ่ง เรียกวา กระษัยกลอน ก็มี อาการของ โรค เกิดแตสมุฏฐานธาตุ ๔ มี
๕ ชนิด คือ

ผน
๑. กระษัยกลอนดิน หรือกระษัยดิน หรือกลอนดิน เกิดขึ้นเพราะปถวีธาตุ หรือธาตุดินใน
รางกายผันแปรผิดปกติ ทำใหเกิดอาการตาง ๆ เชน ทำใหทองอืด เสนทองตึง เจ็บสะเอว

์แ
ทย
จุก เสียด ทองผูกมากจนเปนพรรดึก มือเทาชา นัยนตาฟาง เปนตน
๒. กระษัยกลอนน้ำ หรือกระษัยน้ำ หรือกลอนน้ำ เกิดขึ้นเพราะอาโปธาตุ หรือธาตุน้ำใน
ร แพ
รางกายผิดปกติ ทำใหเกิดอาการตาง ๆ เชน ทำใหมีอาการปวดขัดยอก จุกเสียดแนนใน
ทองถึงยอดอก และทางเดินอาหาร น้ำปสสาวะผิดปกติ เปนตน
ากา
๓. กระษัยกลอนไฟ หรือกระษัยไฟ หรือกระษัยเพลิง เกิดขึ้นเพราะเตโชธาตุ หรือธาตุไฟ
ในรางกายผิดปกติ ทำใหเกิดอาการจุกแนนขึ้นในทรวงอก ภายในกายรอนรุมมีเหงื่อออก
ัญญ

ทุกขุมขน เปนตน
๔. กระษัยกลอนลม หรือกระษัยลม หรือกลอนลม เกิดขึ้นเพราะวาโยธาตุ หรือธาตุลมใน
ูมิป

รางกายผิดปกติ ทำใหเกิดอาการตางๆ เชน ทำใหมีอาการจุกเสียด ทองลั่น เจ็บปวดในทอง


งภ

เปนลมแนนขึ้นในอก เปนตน
๕. กระษัยเถา เกิดเปนลมขึ้นในกายอยางตอเนื่อง เสียดไปตามชายโครงถึงยอดอก เสียว
รอ

ตลอดขึ้นไปถึงลำคอ ทำใหเจ็บปวดแนนในอกกระทบไปถึงระบบขับถาย ทำใหน้ำปสสาวะ


ุ้มค

ขุนเปนตะกอนเปนตน
ักค

กลอนลงฝก น.โรคเกิดเพราะเสนเลื่อนลงสูอัณฑะ ทำใหถุงอัณฑะโต ปสสาวะขัด เปนตน ดังตำรายา


ศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม [๔/๑๔๐] ตอนหนึ่งวา “...โรคนั้นบังเกิดขึ้นดวย
สําน

โทษดานและกระษัยกลอน มักบังเกิดแตสะดือลงมาหนาเหนา เดิมใหขัดปสสาวะ คือ


กลอนลงฝกถึงองคกำเนิดใหองคกำเนิดบวม แลวกระทำใหแสบรอน ใหปสสาวะมิไดโชน
และออนไปหยดยอย...”.
กษัย (กระษัย) ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากความเสื่อมหรือความผิดปรกติของรางกาย จากความเจ็บปวยที่ไม
ไดรับการรักษาหรือรักษาแลวไมหาย ทำใหรางกายซูบผอม กลามเนื้อและเสนเอ็นรัดตึง
โลหิตจาง ผิวหนังซีดเหลือง ไมมีแรง มือเทาชา เปนตน ตำราการแพทยแผนไทยแบงโรค
กษัยออกเปน ๒ กลุมใหญ ๆ ตามสาเหตุของการเกิดโรค คือ กษัยที่เกิดจากธาตุสมุฏฐาน
(มี ๘ ชนิด ไดแก กษัยกลอน ๕ ชนิด กษัยน้ำ กษัยลม และกษัยไฟ) กับกษัยที่เกิดจาก

181
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

กษัย (กระษัย) (ตอ) อุ ป ปติ ก ะโรค (มี ๑๘ ชนิ ด ได แ ก กษั ย ล ม กษั ย ราก กษั ย เหล็ ก กษั ย ปู กษั ย จุ ก
กษัยปลาไหล กษัยปลาหมอ กษัยปลาดุก กษัยปลวก กษัยลิ้นกระบือ กษัยเตา กษัยดาน
กษัยทน กษัยเสียด กษัยเพลิง กระษัยน้ำ กระษัยเชือก และกษัยลม) ดังคัมภีรกระษัย
[๑/๑๕-๑๖] ตอนหนึ่งวา “...จะกลาวลักษระกระไสยโรค ซึ่งพระอาจารยเจา ประมวนไวมี
ประเภท ๒๖ จำพวก แต ก ระไสย ๘ จำพวกนั้ น คื อ กระไสยกล อ น ๕ กระไสยน้ ำ ๑
กระไสยลม ๑ กระไสยเพลิง ๑ ทั้ง ๘ จำพวกนี้ เกิดแตกองสมุฏฐานธาตุ แจงอยูในคัมภีร
วุฒิโรค กลาวคือ กรอน ๕ ประการโนนเสรจแลว ในที่นี้จะกลาวแตกระไสยอันบังเกิด
เปนอุปาติกะโรค ๑๘ จำพวกนี้ คือกระไสยลน กระไสยราก กระไสยเหลก กระไสยปู

ไทย
กระไสยจุก กระไสยปลาไหล กระไสยปลาหมอ กระไสยปลาดุก กระไสยปลวก กระไสยลิ้น
กระบือ กระไสยเตา กระไสยดาน กระไสยทน กระไสยเสียด กระไสยเพลิง กระไสยน้ำ

ผน
กระไสยเชือก กระไสยลม ประมวนเปน ๑๘ จำพวกดวยกันดังกลาวมานี้...”.

์แ
กษัยกลอนน้ำ น. กษัยกลอนชนิดหนึ่ง เกิดจากความผิดปรกติของธาตุน้ำ ไดแก เลือด น้ำเหลือง หรือ

ทย
เสมหะ อยางใดอยางหนึ่ง หรือทั้ง ๓ อยาง เปนไดทั้งผูชายและผูหญิง รักษายาก ผูปวยมัก

แพ
มีอาการเจ็บปวดมากบริเวณยอดอก อาจลามถึงตับและหัวใจได ดังคัมภีรกระษัย [๑/๕๓]
ตอนหนึ่งวา “...จะกลาวดวยลักษณกระไสยโรคอนึ่ง อันบังเกิดเพื่อ อาโปธาตุวิบัดนั้นเปน

เคารบ ๒๑ แลเมื่อลักษณจะบังเกิดนั้น มีประเภท ๓ ประการ ประการหนึ่งเกิดเพื่อโลหิต
ากา
ประการหนึ่งเกิดเพื่อน้ำเหลือง ประการหนึ่งเกิดเพื่อเสมหะ แลกำเนิดซึ่งกลาวมานี้ จะ
ัญญ

เปนแตประการใด ประการหนึ่งก็ดี แลเปนทั้ง ๓ ประการนี้ก็ดีทานเรียกวากระไสยโลหิต


ถาสัตรีเกิดใตสะดือ ๓ นิ้ว ลักษณดังนี้อยูในคัมภีรโรคนิทานโนนแลว ถาบุรุษยตั้งเหนือ
ูมิป

สะดือ ๓ นิ้ว ดุจจะกันกับสตรีอันนี้ วิถารอยูในคัมภีรมุจฉาปกขันทิกาโนน ในทีนี้อาจาริย


เจา ยกกลาวแตลักษณกระไสยโรคนั้นอยางเดียว ถาแลกระไสยจำพวกนี้บังเกิดขึ้นแกบุทคล
งภ

ผูใดแลว กระทำใหปวดขบถึงยอดอกใหเจบปวดดังจะขาดใจตาย บางทีตั้งลามขึ้นไปตับแล


รอ

หัวใจ ดุจฝมะเรงทรวงแล ฝปลวก ตามอาจารยกลาวไวดังนี้...”, กษัยเลือดหรือ กษัยโลหิต


ก็เรียก.
ุ้มค

กษัยดาน น.กษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิดหนึ่ง เกิดที่ยอดอก ทำใหกลามเนื้อตั้งแตยอดอกถึง


ักค

หนาทองแข็งมาก ผูปวยมีอาการปวด จุกเสียดแนน กินขาวไมได ถาลามลงถึงทองนอย


สําน

ทำใหปวดอยูตลอดเวลา ถูกความเย็นไมได แตถาลามลงไปถึงหัวหนาวจะรักษาไมได ดัง


คั ม ภี ร ก ระษั ย [๑/๓๔-๓๕] ตอนหนึ่ ง ว า “...จะกล า วลั ก ษณกระไสยโรคอั น บั ง เกิ ด ขึ้ น
เปนอุปาติกะ คือกระไสยดานอันเปนเคารบ ๑๒ ตั้งอยูยอดอกแขงดังแผนสินลา ถาตั้งลาม
ลงไปถึงทองนอยแลวเมื่อใด กระทำใหรองครางอยูทั้งกลางวันกลางคืน ถูกเยนเขามิได ถา
ถูกรอนคอยสงบลงนอยหนึ่ง แลวกลับปวดมาเลากระทำใหจุกเสียดแนนนาอก บริโภค
อาหารมิได ถาลามลงไปถึงหัวเหนาแลวเมื่อใด เปน อะติสยะโรค แพทยจะรักษามิไดเลย
ถาจะรักษารักษาแตยังมิลงหัวเหนาดุจกลาวไวดังนี้...”.

182
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

กำเดา อาการที่เกิดจากลมและกำเดาใหโทษ คือลักษณะหนึ่งโสด เพื่อทุวันโทษลมกำเดา จับหนาว


สะทานเลาใหรอนเรากระหายชล เหงื่อตกระส่ำระสาย ไมสบายในกายตน วิงเวียนเปน
สาละวน ปวดสูงพนจะทนทาน
กำเริบ ลักษณะอาการของโรคที่เกิดจากสมุฏฐานใดสมุฏฐานหนึ่ง มีความรุนแรงมากขึ้นกวาปกติ
จำแนกได ๒ ชนิด คือ
๑. ธาตุใดธาตุหนึ่งในรางกายมาการผิดปกติ เกิดเปนพิษ ขึ้นเรียกวา ธาตุกำเริบ
๒. อาการไขที่เปนอยูแลว แตมีสิ่งที่ทำใหอาการไขนั้นทวีความรุนแรงขึ้นอยางรวดเร็ว เชน
รับประทานอาหาร ผิดสำแดงเขาไป ทำใหอาการไขหนักมากขึ้น เรียกวา ไขกำเริบ

ไทย
ไขดัน น. ตอมน้ำเหลืองที่อยูใตผิวหนังของบริเวณขาหนีบทั้ง ๒ ขาง ซึ่งเปนแนวตอระหวางลำตัว
กับตนขา ทำหนาที่กักและทำลายเชื้อโรคที่อาจผานเขามาในรางกายทอนบน, ฟองดัน

ผน
ก็เรียก.

์แ
ไข ๑. น. ความเจ็บปวยทางกายหรือทางจิต เชน ไขพิษ ไขกาฬ ไขเหนือ ไขหวัด นอกจากนี้

ทย
ในทางการแพทยแผนไทยยังมีไขตัวเย็นอันเกิดจากธาตุไฟพิการ ๒. ก. อาการครั่นเนื้อ
แพ
ครั่นตัว สะบัดรอนสะทานหนาว ปวดเมื่อย. โดยทั่วไปหมายถึงอาการที่มีอุณหภูมิของ
รางกายสูงขึ้นผิดจากระดับปรกติ เนื่องจากความเจ็บปวย

ากา
ไขเจลียง น.โรคกลุมหนึ่ง ผูปวยมีอาการไขวันเวนวัน ในทางการแพทยแผนไทย มีหลายชนิด เชน
ไขเจลียงอากาศ ไขเจลียงพระสมุทร ไขเจลียงไพร.
ัญญ

ครั่งตัวตึงตัว อาการของโรคทำใหมีอาการรอนๆ หนาวๆ หรือที่เรียกวา สะบัดรอน สะบัดหนาว


คลื่นเหียน ก. มีอาการคลื่นไส จะอาเจียน.
ูมิป

คางคาง อาการของโรคชนิดหนึ่ง ทำใหอวัยวะสวนขากรรไตร เคลื่อนไหวไมได


งภ

คางทูม อาการของโรคชนิดหนึ่ง ทำใหมีการอักเสบ บวมขากรรไกรทั้งสองขาง บางทีบวมขางเดียว


รอ

คูถทวาร น. ทวารหนัก
ุ้มค

เคลิ้มคลั่ง อาการผิดปกติ กระวนกระวาย เสียสติ ของรางกายและจิตใจ มี ๒ ชนิด คือ โรคที่เกิดขึ้น


ในจิตใจ อารมณแปรปรวน ทำใหฟุงซาน คลั่งขึ้น กับเกิดอาการคลั่งเพราะพิษไขในรางกาย
ักค

อันอาจมาจากการถูกพิษ หรือที่เรียกวา โรคทางกายทำใหคลั่ง


สําน

จับโปง (ลมจับโปง) น.โรคชนิดหนึ่ง ทำใหมีอาการปวดบวมตามขอมีน้ำใสในขอ โดยเฉพาะขอเขา และขอเทา


แบงออกเปน ๒ ชนิด คือ จับโปงน้ำ และจับโปงแหง ดังคัมภีรตักกศิลา [๒/๙๖] ตอนหนึ่ง
วา “...ถาแลใหเจบทั่วสารพางค แลใหทองแขงเปนดานใหแกรอบสดือ ชื่อวาลมอันตคุณก็
วา ถาแลใหเสียดเขาชื่อวาลมจะโปงสะคริวก็วา...”, จะโปง ลมจับโปง หรือ ลมจะโปง
ก็เรียก
จำหระ น. แถบ ซีก (ใชกับรางกาย) เชน จำหระเบื้องซาย จำหระเบื้องขวา, ตำหระ ก็เรียก.
เตโชกำเริบ ให มี อ าการฟ น แห ง ปากแห ง ไม นึ ก อยากอาหาร นอนแล ว ขี้ เ กี ย จลุ ก ขึ้ น ปวดศี ร ษะ
ตามืดมัว น้ำตาไหล ไอแหง พอใจอยูในที่สงัดแตผูเดียว มีสติหลงลืม พูดแลววาไมไดพูด
เจ็บระบมไปทั่วทั้งกาย
183
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

เตโชธาตุถอย หยอนไปใหโทษมา ใหขัดในอุรา ใหแสบไสใหตัวเย็น จะนอนไมสบาย พลิกขวาซายวิบัติ


(หยอน) เห็น ตางๆ เพื่อใหเปน มิใครหลับสนิทนาน ครั้นหลับสะดุงไหว กายนั้นมักใหรำคาญ
มักอยากกินอาหาร ของสดคาวเปนนานา อาหารกินนอย หิวบอยๆ หลายเพลา อาการสิบ
นี้นา เรงรูไวใหชัดเจน
เตโชธาตุสมุฐาน ในที่นี้บอกสาเหตุการเกิดโรคจากธาตุไฟ กำหนดไว ๔ คือ
๑. ปรินามัคคี คือ ไฟธาตุยอยอาหาร
๒. ปริทัยหัคคี คือ ไฟทำใหรอนภายนอก
๓. ชรัคคี คือ ไฟเผาใหรางกายแก

ไทย
๔. สันตัปปคคี คือ ไฟทำใหรางกายอบอุน
เตโชพิการ อาการของธาตุไฟทั้ง 4 พิการมีดั้งนี้

ผน
๑. ปรินามัคคี ใหรอนในอกในใจ ใหบวมมือและเทา ใหไอเปนมองครอ ใหทองขึ้น เฟอ

์แ
พะอืดพะอม

ทย
๒. ปริ ทั ย หั ค คี ให มื อ เท า เย็ น ชี พ จรไม เ ต น ชี พ จรเดิ น ๆ หยุ ด ๆ ให ตั ว เย็ น เป น น้ ำ
แตภายในรอน ใหเหงื่อเม็ดโตออกมาก
แพ
๓. ชั ค คี หน า ผากตึ ง จั ก ษุ ม องเห็ น บ า งไม เ ห็ น บ า ง หู ตึ ง ไม ไ ด ยิ น เลย เดี๋ ย วได ยิ น บ า ง

ากา
ไมไดยินบาง จมูกไดกลิ่นบางไมไดกลิ่นบาง ลิ้นรูรสบางไมรูรสบาง กายรูสึกสัมผัสบาง
ไมรูสึกบาง
ัญญ

๔. สันตัปปคคี ใหเย็นในอก ใหวิงเวียนในอก รับประทานอาหารไมได ถาบริโภคอาหารอิ่ม


มักใหจุกเสียดขัดในอก
ูมิป

เตโชหยอน เมื่อหยอนไปใหโทษมา ใหขัดในอุรา ใหแสบไสใหตัวเย็น จะนอนไมสบาย พลิกขวาซายวิบัติ


เห็น ตางๆ เพื่อใหเปน มิใครหลับสนิทนาน ครั้นหลับสะดุงไหว กายนั้นมักใหรำคาญ มัก
งภ

อยากกินอาหาร ของสดคาวเปนนานา อาหารกินนอย หิวบอยๆ หลายเพลา อาการสิบนี้


รอ

นา เรงรูไวใหชัดเจน
ุ้มค

เตโชออก เตโชออกจากกาย ใหรอนปลายเทาหัตถา เจ็บปวดเปนพิษมา ดังเขี้ยวงาจนตลอดตน แปร


ไปใหบวมเลา หลังมือเทาปวดสุดทน แปรไปผุดทั้งตน เปนเม็ดแดงแลดำมี แลวจมลงทำ
ักค

ทอง อกเลือดหนองแกจงดี มือเทาทั้งสองนี้ ใหเปนเหน็บขาตายไป โรคนี้ใหเรงแก


สําน

ทุราวสา น. ๑. ความผิดปรกติของน้ำปสาวะพวกหนึ่ง เกิดกับผูชาย ผูปวยมีอาการปวดหัวหนาว


เจ็บขัดแสบองคชาตเวลาถายปสสาวะ น้ำปสสาวะอาจมีสีและลักษณะตางกันได ๔ แบบ
คือ สีขาวขุนคลายน้ำขาวเช็ด สีเหลืองคลายน้ำขมิ้นสด สีแดงคลายน้ำฝาง และสีดำคลาย
น้ำครำ ดังคัมภีรมุจฉาปกขันทิกา [๒/๒๙๔] ตอนหนึ่งวา “...ทีนี้จะวาดวยทุลาวะสา ๔
ประการ คือวาดวยน้ำปศสาวะ ๔ ประการ คือน้ำมูตรเมื่อออกมานั้นขาวขนดังน้ำเขาเชด
ถาเหลืองดังน้ำขมิ้นสด ถาเปนโลหิตสด ๆ ก็ดีแดง ดังน้ำฝางตมก็ดี ดำดังน้ำครามก็ดี ยอม
ใหปวดหัวเหนาใหแสบองคชาติ ใหสบัดรอนสะบัดหนาวเปนเวลา...” เขียนวา ทุราวสา
หรือ ทุราวะสา ก็ดี.

184
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ธาตุกำเริบ น. ภาวะที่ธาตุใดธาตุหนึ่งทำหนาที่มากผิดปรกติ จนทำใหเกิดโทษขึ้น เชน ธาตุไฟกำเริบ


(สันตัปปคคีกำเริบ) จะทำใหเกิดอาการตัวรอน มีไข.
ธาตุพิการ น. ภาวะที่ธาตุใดธาตุหนึ่งสูญเสียหนาที่การทำงานไปมากจนเกิดความผิดปรกติอยางรุนแรง
ดังคัมภีรโรคนิทาน [๒/๓๒๙] ตอนหนึ่งวา “...เดือน ๑๑, ๑๒, ๑, ๓ เดือนนี้กินผักแล
อาหารทั้งปวงผิดสำแลงอาโปธาตุคือดีพิการมักขึ้งโกรธมักสะดุงใจ คือเสมหะพิการ กิน
อาหารไมรูจักรศ หนองพิการมักใหเปนหืดไอ โลหิตพิการ ใหคลั่งเพอพกใหรอน เหื่อพิการ
มักใหเชื่อมซึม มันขนพิการ มักใหตัวชาสากไป น้ำตาพิการมักใหปวดศีศะเจบตา มันเหลว
พิการมักใหบวมมือเทาเปนน้ำเหลืองตกมักใหผอมแหงไป น้ำฬายพิการมักใหเปนไขมักให

ไทย
ฅอแหงฟนแหง น้ำมูตรพิการ มักใหปวดศีศะ ไขขอพิการมักใหเมื่อยทุกขอทุกกระดูก คือ
มูตรพิการใหปสสาวะแดง ขัดปสสาวะๆ เปนโลหิตปวดเจบเนืองๆ แล ธาตุน้ำ ทั้งนี้ประมวล

ผน
เขาดวยกันทั้ง ๑๒ จำพวกนั้น จึ่งเรียกวาธาตุพิการ แพทยพึงรูเถิด...”, ตำราการแพทย

์แ
แผนไทยบางเลมวาธาตุพิการมีความหมายเดียวกับธาตุแตก.

ทย
ธาตุหยอน น. ภาวะที่ธาตุใดธาตุหนึ่งทำหนาที่นอยผิดปรกติจนทำใหเกิดโทษขึ้น เชน ธาตุไฟหยอน

น้ำเขฬะใส
แพ
(ปริณามัคคีหยอน) จะทำใหอาหารไมยอย เกิดอาการทองอืดเฟอ.
น้ำลาย เปนองคประกอบ ๑ ใน ๑๒ สิ่งของธาตุน้ำ

ากา
บุพโพ(บุบโพ) ในที่นี้หมายถึง หนองในที่นี้หมายน. น้ำหนอง เปนองคประกอบ ๑ ใน ๑๒ สิ่งของธาตุน้ำ.
ปรเมหะ (ปะระ-) น. ๑. ตำราการแพทยแผนไทยฉบับหนึ่งไมปรากฏชื่อผูแตง มีเนื้อหาสำคัญกลาวถึงโรคที่
ัญญ

เกิดจากน้ำปสสาวะ. ๒. เมือกมันหรือเปลวแข็ง ซึ่งมีลักษณะขุนขนคลายหนอง คัมภีรมุจฉา


ปกขันทิกาวา มี ๒๐ ประการ ไดแก สันทฆาต ๔, องคสูตร ๔, อุปทม ๔, ช้ำรั่ว ๔ และไส
ูมิป

ดวน ๔.
งภ

ปถวีธาตุพิการ ธาตุดินพิการแบงออกไดดังนี้
๑. ผม ถาพิการ ใหเจ็บหนังศีรษะ ใหเจ็บรากผม ใหคันศีรษะ ศีรษะมักหงอก มักเปนรังแค
รอ

๒. ขน ถาพิการ ใหเจ็บทุกเสนขนทั่วสรรพางคกาย
ุ้มค

๓. เล็บ ถาพิการ ใหตนเล็บเจ็บช้ำดำเขียว ช้ำโลหิต เจ็บเสียว ๆ นิ้วมือนิ้วเทา


ักค

๔. ฟน ถาพิการ ใหเจ็บไรฟน บางทีเปนรำมะนาด บางทีใหเปนโลหิตออกตามไรฟน


ใหฟนหัก ฟนคลอน
สําน

๕. หนัง ถาพิการ ใหแสบและรอนเปนกำลัง บางทีใหเปนผื่นคันที่ตัวดังเปนผด


๖. เนื้อ ประมาณ 500 ชิ้น ถาพิการมักทำใหนอนสะดุงไมสมประดี มักใหฟกขึ้นที่นั้น
บวมขึ้นที่นี้ บางทีใหผุดขึ้นเปนสีแดง สีเขียวทั้งตัว เปนลมพิษ สมมุติวาเปนประดง เปน
เหือด หัดตาง ๆ
๗. เอ็น ถาพิการใหเสนประธาน 10 เสน และเสนบริวาร 2,700 เสน ใหหวาดหวั่นไปสิ้น
ทั้งนั้น ที่กลาก็กลา ที่แข็งก็แข็ง ที่ตั้งดานก็ตั้งดาน ที่ขอดก็ขอดเขาเปนกอนเปนเถาไป ที่จะ
เปนโทษหนักนั้น แตเสนอันชื่อวาสุมนา และอัมพฤกษ เสนสุมนานั้นผูกดวงใจมีแตจะให
สวิงสวายทุรนทุราย หิวโหยหาแรงมิได อันวาเสนอัมพฤกษนั้นมีแตจะใหกระสับกระสาย
ใหรอน ใหเย็น ใหเมื่อย ใหเสียวไปทุกเสนทุกเอ็นทั่วทั้งตัว ตั้งแตศีรษะตลอดลงไปถึงที่สุด
185
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ปถวีธาตุพิการ (ตอ) จนเทา บางทีใหเจ็บเปนเวลา แตเสนอัมพฤกษนั้นใหโทษ 11 ประการ ถาใหโทษพรอมกัน


2,700 เสนแลวก็ตายแล ถาเปนแต 1,2,3,4,หรือ 5 เสนยังแกได
๘. กระดูก กระดูกแหงเราทานทั้งหลายมี 300 ทอน เมื่อพิการก็ดี แตกออกก็ดี ซึ่งจุกอยู
ในขอนั้นละลายออกแลวใหเจ็บปวดกระดูก ดุจดังวาจะเคลื่อนคลาดออกจากกันทั้ง 300
ทอน โทษดังนี้จะแกเปนอันยากนัก แตทานไวยาใหแกตามบุญเถิด
๙. สมองกระดูกพิการ ใหปวดศีรษะเปนกำลัง
๑๐. มามพิการ ทำใหมามหยอน
๑๑. หัวใจ ถาพิการก็ดี แตกก็ดี มักใหคนนั้นเปนบา ถายังออนอยูใหคุมดีคุมราย มักขึง

ไทย
โกรธ บางทีใหระส่ำระสาย ใหหิวโหย หาแรงมิได ใหเปนไปตางๆ นานา
๑๒. ตับ แตก หรือพิการก็ดี เปนโทษ 4 ประการ ลวงเขาลักษณะอติสาร คือกาฬผุดขึ้นใน

ผน
ตับ ใหตับหยอนและทรุด บางทีเปนฝขึ้นในตับ ยอมใหลงเปนเลือดสดๆ ออกมา อันนี้คือ

์แ
กาฬมูตรผุดขึ้นตนลิ้นกินอยูในตับ ใหลงเสมหะและโลหิตเนา ปวดมวนเปนกำลัง ใหลงวัน

ทย
ละ 20 หรือ 30 หน ใหตาแข็งและแดงเปนสายเลือดผานตาไป แพทยไมรูสึงสำคัญวาเปน
บิด โทษกาฬมูตรกระทำตาง ๆ ยอมนั่งกมหนาอยูมิไดดูคน สมมุติวาปศาจกระสือเขา
ร แพ
ปลอมกิน เพราะคนไขนั้นมักใหเพอหาสติมิได ยอมเจรจาดวยผี มิใชปศาจและกระสือเลย
โรคหมูนี้มันหากเปนเอง เปนเพราะโทษปถวีธาตุแตก มันใหระส่ำระสายเปนกำลัง บริโภค
ากา
อาหารมิได ใหหายใจไมถึงทองนอย ลักษณะทั้งนี้คือปถวีธาตุแตกใหโทษ 4 ประการดัง
กลาวมานี้ ถาพรอมกันแลว แพทยผูจะแกเปนอันยาก เปนโรคตัดแล
ัญญ

๑๓. พังผืดพิการ มักใหอกแหง กระหายน้ำ อยางนี้ คือ โรคริดสีดวงแหงนั้นแล


๑๔. พุงพิการ ใหขัดอก ใหทองขึ้นทองพอง ใหแนนในอกในทอง กินอาหารมิได
ูมิป

๑๕. ปอด ถาพิการ กระทำอาการดุจดังไขพิษ กาฬขึ้นในปอดจึงใหรอนในอก กระหายน้ำ


งภ

ใหหอบดุจดังสุนัขหอบแดดจนโครงลด ใหกินน้ำจนปอดลอยจึงหายอยากแล บางทีกินจน


รอ

อาเจียนน้ำออกมาจึงหายอยาก
๑๖. ไสนอย ถาพิการ ใหกินอาหารผิดสำแลง ใหปวดทองใหขัดอก บางทีใหลง ใหอาเจียน
ุ้มค

อันนี้คือลมกรรมมัชวาต พัดเอาแผนเสมหะใหเปนดาน กลัดเขาในทองในทรวงอก ก็ตัด


ักค

อาหาร ทานวาไสตีบไป
๑๗. ไสใหญ ถาพิการ ใหวิงเวียนหนาตา จะลุกขึ้นใหหาวใหเรอ ใหขัดอกและเสียดขาง ให
สําน

เจ็บหลังเจ็บเอว ใหไอเสมหะขึ้นคอ ใหรอนคอรอนทองนอย มักใหเปนลมเรอโอก ใหตก


เลือดตกหนอง
๑๘. อาหารใหม ถาพิการนั้น คือกินขาวเขาไปอิ่มแลว เมื่อใด มักใหรอนทองนัก บางทีลง
ดุจกินยารุ บางทีใหสะอึกขัดหัวอก แลวใหจุกเสียดตามชายโครง พะอืดพะอม สมมติวา
ไฟธาตุนั้นหยอนโรค ทั้งนี้ยอมใหโทษ เพราะอาหารมิเคยบริโภคนั้นอยาง 1 กินอาหารดิบ
อยาง 1 ลมในกุจฉิสยาวาตพัดไมตลอดมักแปรเปนตาง ๆ บางทีใหลงทอง บางทีใหผูกเปน
พรรดึก ใหแดกขึ้นแดกลงกินอาหารมิได
๑๙. อาหารเกา ถาพิการ คือซางขโมยกินลำไส ถาพนกำหนดซางแลว คือเปนริดสีดวงนั้น
เองแล
186
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ปถวีธาตุพิการ (ตอ) ๒๐. เยื่อในสมองศีรษะ ถาพิการ ใหเจ็บกระบาล ศีรษะดังจะแตก ใหตามัวหูตึง ปากและ


จมูกใหชักขึ้นเฟดไป ใหลิ้นกระดางคางแข็ง และลักษณะดังนี้เดิม เมื่อจะเปนเพราะโทษ
แหงลมปะกัง ใหปวดหัวเปนกำลัง ถาแกมิฟงตาย
ปตฆาต (ปดตะคาด) น. ๑. เสนที่มีจุดเริ่มตนบริเวณขอบเชิงกรานดานหนา แลนถึงตาตุม เสนดานบนจะแลนไป
ทางด า นหลั ง ขึ้ น ข า งกระดู ก สั น หลั ง (ถั ด ออกมาจากเส น รั ต ตฆาต) ถึ ง บริ เวณต น คอ
ทายทอย ขึ้นศีรษะ แลวลงมาที่แขน เสนที่อยูดานขวา เรียก เสนปตฆาตขวา เสนที่อยูดาน
ซาย เรียก เสนปตฆาตซาย สวนเสนดานลางจะเริ่มจากบริเวณหนาขา แลนลงมาถึงตาตุม
ดานใน เรียก เสนปตฆาตใน สวนดานนอกเริ่มจากบริเวณสะโพก แลนลงมาถึงตาตุมดาน

ไทย
นอก เรียก เสนปตฆาตนอก. ๒. โรคลมชนิดหนึ่งผูปวยมักจะมีอาการปวดเมื่อยตามแนว
เสนปตฆาต เคลื่อนไหวไมสะดวก ดังคัมภีรแผนนวด [๒/๙๖] ตอนหนึ่งวา “... ชื่อวาลมปต

ผน
ฆาฏก็วาผูนั้นมักนั่งนัก ลุกนั่งมิไดก็ดี ใหแกเสนเอนทั้ง ๒ แลแกเสนแถวหลังทั้ง ๒ แล

์แ
แกเสนบั้นเอวทั้ง ๒ ขาง ชื่อวาลมแถกกลออมนั้น ใหแกหัวเหนาแลทอง แลรอบสดือ

ทย
แลบั้ น เอวแลสั น หลั ง นั้ น คลายแล...”. ลมป ต ฆาต ก็ เรี ย ก, เขี ย นว า ป ต คาด ป ฏ ฆาต

แผนนวด
ปตะฆาฎ หรือ ปตฆาฏ ก็มี.
แพ
น. ภาพแสดงเสนตางๆบนรางกาย พรอมทั้งจุดหรือตำแหนงบนเสน สำหรับใชในการนวด

ากา
ถาเปนภาพแสดงตำแหนงเสนและจุดดานหนาของรางกายมนุษย เรียก แผนหงาย ถาเปน
ภาพแสดงตำแหนงเสนและจุดดานหลังของรางกายมนุษย เรียก แผนคว่ำ ภาพแสดงแผน
ัญญ

นวดเหลานี้พบในศิลาจารึกตำรายาในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) หมวดวิชา


หัตถศาสตร , แผนหมอนวด หรือแผนการนวด ก็เรียก.
ูมิป

ฝก น. สิ่งหุม ถุง อาจเปนสิ่งหุมเมล็ดของพืชบางอยาง โดยมากรูปยาวๆ กลมบาง แบนบาง


เชน ฝคูน ฝกเพกา ฝกมะรุม, หรือถุงหุมอวัยวะหรือของเหลวบางอยางของรางกาย เชน ถุง
งภ

อัณฑะ ถุงน้ำดี.
รอ

พุทธยักษ ในทีนี้หมายถึงลมชนิดหนึ่ง มีอาการใหชักกระสับกระสาย ใหขบฟน เหลือกตา ใหมือกำ


ุ้มค

เทางอ ปากเบี้ยว จักษุแหก แยกแขงแยกขา ไมมีสติ ลมจำพวกนี้รักษายาก เปนปจฉิมที่สุด


โรค การรักษาใหพิจารณาทวารหนัก ทวารเบา ถายังอุนอยูใหแกตอไป ประการหนึ่ง ใหดู
ักค

ผิวเนื้อ นิ้วมือกดลง แลวยกขึ้นดูหาโลหิตมิได รอยนิ้วที่กดยกขึ้นเปนรอยเขียว ซีด


สําน

ฟองดันบวม น. จุดนวดบนเสนอิทา ใชแกไสเลื่อน หรือไขดันบวม.


มุตกิด, มุตรกิจฉ น.โรคชนิดหนึ่ง เกิดกับผูหญิง ผูปวยมักมีระดูขาว ปสสาวะขุนขน บางครั้งบริเวณขอบทวาร
(มุด-ตะ-กิด) เบาอาจเปนเม็ดหรือแผล คัน เปอย แสบ เหม็นคาว มีอาการแสบอก กินอาหารไมรูรส
ปวดหลัง เสียวมดลูก เปนตน ตำราการแพทยแผนไทยหลายเลมแบงมุตกิดออกเปน ๔
จำพวก คือ ๑.) ปสสาวะเปนช้ำเลือดมีกลิ่นเหมือนปลาเนา ๒) ปสสาวะเปนเลือดจางๆ สี
เหมือนน้ำชานหมาก ๓) ปสสาวะเปนหนองจางๆ เหมือนน้ำซาวขาว และ ๔) ปสสาวะเปน
เมือกหยดลงเหมือนน้ำมูกไหล, เขียนวา มุตรกฤต มุตระกฤต หรือ มุตรกฤจฉ ก็มี.

187
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

มุตฆาต, มุตตฆาต น. โรคชนิดหนึ่งที่ทำใหเกิดความผิดปรกติของน้ำปสสาวะ ตำราการแพทยแผนไทยวาเกิด


(มุดตะคาด) จากการกระทบกระทั่ง เชน จากอุบัติเหตุ เพศสัมพันธ ผูปวยมีอาการปวดมากเวลาถาย
ปสสาวะ ปสสาวะกะปริบกะปรอย ปวดขัดบริเวณสีขาง จุกเสียดบริเวณหนาอก อาเจียน
เป น ลมเปล า เบื่ อ อาหาร เป น ต น ดั ง คั ม ภี ร มุ จ ฉาป ก ขั น ทิ ก า [๒/๒๙๖] ตอนหนึ่ ง ว า
“...มุตรฆาฎ ๔ ประการ วาเมื่อจะถายปศสาวะออกมานั้น ใหปวด ใหขัดเจบเปนกำลัง
ใหโลหิตช้ำเปน หนองขนขุนดำดุจน้ำครามนั้น ชื่อมุตรฆาฎ อันนี้เกิดดวยกระทบชอกช้ำ
จึ่งสำแดงโทษเปนดังนี้ กระทำใหขัดราวคางดุจเสนปตฆาฎ แลใหเสียดแทงในอก จะไหวไป
มามิสะดวก บริโภคอาหารมิไดใหอาเจียนเปนลมเปลา รูมิถึงวาเปนเมดยอดภายใน...”.

ไทย
เขียนวา มุตรฆาฏ หรือ มุตระฆาฎ ก็มี.
มหาสันนิบาต น. สันนิบาตที่มีอาการรุนแรงอันเกิดจากกองธาตุทั้ง ๔ รวมกันกระทำใหเกิดโทษ, สันนิบาต

ผน
กองใหญ ก็เรียก.

์แ
รัตตฆาต น. ๑.เสนเลือดแดงใหญบริเวณขาหนีบเสนขางขวา เรียก รัตตฆาตขวา เสนขางซาย เรียก

ทย
(รัดตะคาด) รัตตฆาตซาย. ๒. เสนบริวารของเสนอิทา และเสนปงคลา แลนจากบริเวณขอบกระดูกเชิง
แพ
กราน ตรงขึ้นไปถึงบริเวณตนคอ มี ๒ เสน แนบขนานไปกับกระดูกสันหลัง เสนขางขวา
เรียก รัตตฆาตขวา เสนขางซาย เรียก รัตตฆาตซาย, รัตฆาต หรือ รัตฆาฏ ก็เรียก.

ากา
รัตนคุณ ลมที่ทำใหมือตาย และเหน็บชา แกโดยกดจุดที่ทรวงอกต่ำจากไหปลาราลงมา
ริดสีดวง น.โรคกลุมหนึ่ง เกิดไดกับอวัยวะตางๆ ของรางกาย เชน ตา จมูก ลำไส ทวารหนัก ตำรา
ัญญ

การแพทยแผนไทยวามี ๑๘ ชนิด แตละชนิดมีอาการและชื่อเรียกแตกตางกันไป บางชนิด


อาจมีติ่งหรือกอนเนื้อเกิดขึ้นที่อวัยวะนั้น เชน ริดสีดวงตา ริดสีดวงทวารหนัก ดังตำรายา
ูมิป

ศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม [๔/๒๖๔] ตอนหนึ่งวา “...ลำดับนี้จะกลาวดวย


นัยหนึ่งใหม วาดวยลักษณะหฤศโรค กลาวคือริดสีดวงอันบังเกิดเนื่องมาแตกุมารโรคอัน
งภ

อาจารยในกอนสืบๆ กันมา รจนาลงไวในคัมภีรทั้งหลายตางๆ นั้นมากกวามากนัก เหลือที่


รอ

จะกำหนด ในที่นี้จะยกวาแตที่ทานสงเคราะหไวเปนหมวด แลวมีนามบัญญัติสมมติวา


ุ้มค

คัมภีรริดสีดวงตางๆ ๑๘ จำพวก คือริดสีดวงอันชื่อวา ปาลติญาณะโรค, วิตานะโรค, ฆานะ


โรค, พริณะโรค, โรหินีโรค, วิชิกามะโรค, อุระปศโรค, อันตะริศโรค, อันตคุณโรค, ตาระสกะ
ักค

โรค, อัคนีโชตโรค, วาตะสุตะโรค, อระวัณณโรค, สักเคระโรค, สุวิชิกาโรค, สกะถานะโรค,


สําน

บานทะโรค, สุกระโรค, ริดสีดวงทั้ง ๑๘ จำพวก ซึ่งวามาทั้งนี้ พึงรูตามในคัมภีรทานกลาว


ไว...”. หฤศโรค ก็เรียก, เขียนวา ฤศดวง หรือ ฤษดวง ก็มี.
ฤดู ๓ น. การกำหนดฤดูกาลในรอบ ๑ ปเปน ๓ ฤดู ฤดูละ ๔ เดือน ตามหลักวิชาการการแพทย
แผนไทยไดแก คิมหันตฤดู (ฤดูรอน) นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘
วสันตฤดู (ฤดูฝน) นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ และเหมันตฤดู
(ฤดูหนาว) นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๒ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ฤดูเปนที่ตั้งแหงการเกิด
โรคอันเกิดจากสมุฏฐานตางๆ ที่ประจำในแตละฤดู เชน คิมหันตฤดู มักทำใหเกิดความเจ็บ
ปวยเนื่องจากสมุฏฐานเตโช

188
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ฤดู ๔ น. การกำหนดฤดูกาลในรอบ ๑ ปเปน ๔ ฤดู ฤดูละ ๓ เดือน ตามหลักวิชาการแพทยแผน


ไทย ซึ่งอาจกำหนดไวตางกัน ตำราเวชศึกษาแบงเปน ฤดูที่ ๑ นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๔
ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗ ฤดูที่ ๒ นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๗ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ฤดู
ที่ ๓ นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนอาย และฤดูที่ ๔ นับตั้งแตแรม ๑
ค่ำ เดือนอาย ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ สวนคัมภีรธาตุวิวรณ แบงเปน คิมหันตฤดู นับตั้งแต
เดือน ๕ ถึงเดือน ๗ วสันตฤดู นับตั้งแตเดือน ๘ ถึงเดือน ๑๐ วสันตเหมันตฤดู นับตั้งแต
เดือน ๑๑ ถึงเดือน อาย และเหมันตคิมหันตฤดู นับตั้งแตเดือนยี่ ถึงเดือน ๔ ฤดูเปนที่ตั้ง
แหงการเกิดโรคอันเกิดจากสมุฏฐานตาง ๆ ที่ประจำในแตละฤดู เชน วสันตเหมันตฤดู มัก

ไทย
ทำใหเกิดความเจ็บปวยเนื่องจากสมุฏฐานอาโป.
ฤดู ๖ น. การกำหนดฤดูกาลในรอบ ๑ ป เปน ๖ ฤดู ฤดูละ ๒ เดือนตามหลักวิชาการแพทยแผน

ผน
ไทย ไดแก ฤดูที่ ๑ (คิมหันตฤดู) นับตั้งตาแรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ฤดูที่

์แ
๒ (วสันตฤดู) นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๖ ถึง ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ ฤดูที่ ๓ (วัสสานฤดู) นับตั้ง

ทย
แตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ฤดูที่ ๔ (สารทฤดู) นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ

แพ
เดือน ๑๐ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ฤดูที่ ๕ (เหมันตฤดู) นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึง
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนยี่ และฤดูที่ ๖ (ศิศิรฤดู) นับตั้งแตแรม ๑ ค่ำ เดือน ๒ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ

เดือน ๔ ฤดูเปนที่ตั้งแหงการเกิดโรค อันเกิดจากสมุฏฐานตางๆ ที่ประจำในแตละฤดู เชน
ากา
วัสสานฤดู มักทำใหเกิดความเจ็บปวยอันเนื่องมาจากลมและเสมหะ
ัญญ

ลงฝก น. โรคเกิดเพราะเสนเลื่อนลงสูถุงอัณฑะทำใหถุงอัณฑะโต เรียกวา กระษัยลงฝก.


ลมกาฬสิงคลี น.โรคลมอันมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีหนาและขอบตาเขียว ใจสั่น ผิวหนังผุดเปนวงสีดำ สีแดง
ูมิป

หรือสีเหลือง โบราณวาถารักษาไมไดภายใน ๓ วัน อาจถึงแกความตายได ดังคัมภีรชวดาร


[๔๑/๓๐๕] ตอนหนึ่งวา “...ลมกาฬสิงคลีนั้น ถาจับใหหนา เขียวใหขอบตาเขียว ลางก็จับ
งภ

หัวใจใหใจสั่น ลางที่ใหถอนหายใจฮึดฮัด ลางทีใหดิ้นดุจตีปลา ใหผุดเปนวงดำ วงแดง วง


รอ

เหลือง วงขาว เทาใบพุทรา เทาแวนน้ำออย กำหนด ๓ วัน...”.


ุ้มค

ลมกุมภัณฑยักษ น. โรคลมมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการชักมือกำเทางอ หมดสติ โบราณวาถารักษาไมได


(-กุมพันทะยัก) ภายใน ๑๑ วัน อาจถึงแกความตาย ดังคัมภีรชวดาร [๔๑/๓๐๕] ตอนหนึ่งวา “...ลมกุม
ักค

ภัณฑยักษนั้น ถาลมไขลงดุจอยางสันนิบาต เมื่อจับนั้นใหชักมือกำชักเทางอ มิไดลมปฤดี


สําน

มิเรียกมิรูสมปฤดีเลย กำหนด ๑๑ วัน...”.


ลมชิวหาสดม, น. โรคลมอันมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการหาว เรอ คลื่นเหียน ขากรรไกรแข็งอาแลวหุบไม
ลมชิวหาสดมภ ลง พูดไมชัด ลิ้นกระดางคางแข็ง มักเกิดแทรกลมอัมพาต หากรุนแรงจะทำใหไมรูสึกตัว
(-ชิวหาสะดม) ปลุกไมตื่น กำหนด ๓ วัน ๗ วัน ดังคัมภีรชวดาร [๑๔/๔๒๙] ตอนหนึ่งวา “...ลมชิวหาสดม
เมื่อแรกจับใหหาวใหเรอแลใหเหียน แลขากรรไกรแข็งอาขบลงมิได ใหนิ่งแนไปมิรูสึก ปลุก
มิตื่น กำหนด ๓ วัน ๗ วัน...”.
ลมดูดสะบัก น. อาการปวดเมื่อยบริเวณสะบัก บา และไหลขางซาย เชน จากการนอนตะแคงดานซาย
นานๆ ทำใหเลือดลมตามแนวเสนอิทา และเสนกาลทารีเดินไมสะดวก.

189
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ลมตติยาวิโรธ น. โรคลมอันมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการมือเทาเย็น มีลมเปนกอน กลิ้งอยูในชองทอง


(-ตะติยาวิโรด) ทำใหปวดมาก บางครั้งปวดตั้งแตปลายเทาถึงหัวใจ หมดสติ เปนตน ดังคัมภีรชวดาร [๔๑/
๓๐๕] ตอนหนึ่งวา “...ลมตติยาวิโรธนั้น ใหมือใหเทาเย็น เปนลูกกลิ้งอยูในทองใหจุกรองดัง
สัตวตอดสัตวกัด บางทีปวดแตแมเทาขึ้นมาจนถึงหัวใจ นิ่งแนไปดุจดังพิษงูเหา...”.
ลมทักขิณโรธ น. โรคลมอันมีพิษชนิดหนึ่งมักเกิดตอเนื่องจากโรคอื่น โบราณวาเปนลมในกองไข ผูปวยมี
(-ทักขินะโรด) อาการมือเทาเย็น ตามัว ลิ้นกระดางคางแข็ง ดังคัมภีรชวดาร [๔๑/๓๐๕] ตอนหนึ่งวา
“...ลมทักขิณโรธ เปนไขอันใดๆ กอน ใหมือใหเทาเย็นให จักษมัวหามมิให วางยาผายใหจับ
ดิ้นรน ยุดมิไดอยู เจรจามิได ลิ้นกระดางคางแขงแพทยจะแก ๆ ใหจงดี...”

ไทย
ลมบาทจิตร น. โรคลมมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีไขสูง เพอ ชัก เปนตน โบราณวาถารักษาไมไดภายใน ๑
(ลมบาดทะจิต) ๐ วัน อาจถึงแกความตาย ดังคัมภีรชวดาร [๔๑/๓๐๖] ตอนหนึ่งวา “...ลมบาทจิตต เมื่อ

ผน
ลมไขลงดุจอยาสันนิบาต แรกจับใหละเมอเพอพกวานั่นวานี่ทำอาการดุจปศาจเขาอยู ลางที

์แ
วาบาสันนิบาตก็ถูก เพราะเหตุจิตตระส่ำระสาย กำหนด ๑๐ วัน...”.,เขียนวา บาทจิตร ก็มี.

ทย
ลมประกัง น. โรคชนิดหนึ่ง ผูปวยมี อ าการปวดศี ร ษะมาก อาจจะปวดข า งเดี ย วหรื อ ๒ ข า งก็ ไ ด
(ประกัง)
แพ
บางตำราวามักเปนเวลาเชา ผูปวยอาจมีอาการอื่นรวมดวย เชน ตาพรา วิงเวียน อาเจียน,
ลมตะกัง หรือ สันนิบาตลมปะกัง ก็เรียก.

ากา
ลมปตฆาต โรคลมชนิดหนึ่ง ผูปวยมักมีอาการปวดเมื่อยตามแนวเสนปตฆาต เคลื่อนไหวไมสะดวก
ดังคัมภีรแผนนวด [๒/๙๖] ตอนหนึ่งวา “...ชื่อลมปตฆาฎก็วาผูนั้นมักนั่งนัก ลุกนั่งมิไดก็ดี
ัญญ

ใหแกเสนเอนทั้ง ๒ แลแกเสนแถวหลังทั้ง ๒ แลแกเสนบั้นเอวทั้ง ๒ ขาง ชื่อวาลมแถกกล


ออมนั้น ใหแกหัวเหนาแลทองแลรอบสดือ แลบั้นเอวแลสันหลังนั้นคลายแล...”. ลมปตฆาต
ูมิป

ก็เรียก, เขียนวา ปตคาด ปฏฆาต ปตะฆาฏ หรือ ปตฆาฏ ก็มี.


งภ

ลมเปลี่ยวดำ น. โรคลมชนิดหนึ่ง ตำราการแพทยแผนไทยบางเลมวา เกิดจากการกระทบกับความเย็น


มากจนเปนตะคริว ผูปวยมีอาการกลามเนื้อเกร็งอยางรุนแรง กระตุก ทำใหเจ็บปวดบริเวณ
รอ

ที่เปนมาก มักแกโดยการนวดจุดบริเวณใตตาตุมดานใน หรืออาจรักษาดวยยาสังขวิไชย


ุ้มค

หรือยาทำลายพระสุเมรุ, ลมเกี่ยวดำ ลมเกลี่ยวดำ เปลี่ยวดำ หรือ ลมเปรี้ยวดำ ก็เรียก.


ักค

ลมพหิ น. โรคชนิดหนึ่ง ผูปวยจะมีอาการปวดมากตามกระดูกสันสันหลัง ดังคัมภีรแผนนวด [๒/


๗๘] ตอนหนึ่งวา “...เสนนี้ชื่อปงคลามันกลายเปนลมพหิเมื่อแรกจับดังพิศมงูทับสมิงคลา
สําน

ขบยอมขึ้นตามกระดูกสันหลังทั้งซายขวา...”, พหิวาตา หรือ พหิวาตาหทัย ก็เรียก.


ลมเพรำพะวาตา ในทีนี้หมายถึงลมชนิดหนึ่ง มีอาการใหใจหมุนดั่งกังหัน ใหเหนื่อย
ลมพุทธยักษ, น. โรคลมชนิดหนึ่งผูปวยมักมีอาการชัก กระสับกระสาย ขบฟนตาเหลือก ตาเบิกกวาง
ลมพุทยักษ ปากเบี้ยว มือกำเทางอ แยกแขงแยกขา ไมมีสติ เปนตน ดังคัมภีรชวดาร [๑๔/๔๓๒] ตอน
(-พุดทะยัก) หนึ่งวา “...ลมพุทธยักษชักกระสับกระสาย ใหขบฟนเหลือกตาใหมือกำเทางอปากเบี้ยว
จักษุแหก แยกแขงแยกขาหาสมปฤดีมิได ลมจำพวกเหลานี้เยียวยายากนัก เปนปจฉิมที่สุด
โรคแลวพิจารณาดูทวารหนักทวารเบา ถายังอุนอยูใหแกตอไป ประการหนึ่งใหดูผิวเนื้อ นิ้ว
มือกดลงแลวยกขึ้นดูหาโลหิตมิได รอยนิ้วกดแลวยกขึ้นเปนรอยเขียวซีด อาการตัดแล...”.
ลมสันนิบาตพุทธยักษ ก็เรียก.
190
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ลมมหาสดมภ น.โรคลมอันมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการหาวนอนมาก จิตใจสับสนหมดสติ ดังคัมภีร


ชวดาร [๔๑/๓๐๕] ตอนหนึ่งวา “...ลมมหาสดมจับนั้น ใหหาวนอนเปนกำลัง ใหหวาดหวั่น
ไหวอยูแตในใจ ใหนอนนิ่งแน ใหมิรูสึกกายแล...”.
ลมมีพิษ น. โรคลมกลุมหนึ่ง ผูปวยมีอาการรุนแรงมากนอยตามชนิดของโรคลมนั้นๆ อาจรักษาได
หรือรักษายาก เชน ลมอินทรธนู ลมกุมภัณฑยักษ หากเปนลมที่มีอาการรุนแรงรักษายาก
เรี ย ก ลมอั น มี พิ ษ หรื อ ลมมี พิ ษ มาก ดั ง คั ม ภี ร ช วดาร [๔๑/๓๐๔-๓๐๕] ตอนหนึ่ ง ว า
“...อันวาลมอันมีพิษนั้น มีหกจำพวก...นอกกวา ลม ๖ จำพวก นี้ก็มี คือ ลมอินทรธนู ๑ คือ
ลมกุมภัณฑยักษ ๑ คือ ลมอัศข ๑ ลมราทธยักษ ๑ ลมบาทจิตต ๑ ลมพุทธยักษ ๑ แล ลม

ไทย
จำพวกเหลานี้ บังเกิ ด แก มนุ ษ ย ผู ใ ด มนุ ษ ย ผู นั้ น ตกเข า อยู ใ นเนื้ อ มื อ พระยามั จ จุ ร าช
เยียวยาปนอันยากนัก...”. ลมราย ก็เรียก

ผน
ลมราทยักษ น.โรคลมชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการเปนไขตัวรอน ชัก มือเทากำงอ ลิ้นกระดางคางแข็ง

์แ
คอแข็ง ตาเหลือง เปนตน ดังคัมภีรแผนนวด [๒/๙๒] ตอนหนึ่งวา “...ลมจำพวกหนึ่งชื่อ

ทย
ราทยักษจับยอมใหชักทั่วทั้งกายใหยักไปมาใหสะบัดตนคอแลปากใหแกตนคางแลกระบอก

ลมอัษฎากาศ
แพ
จักษุจงไดรูสึกตัวแล...”. ลมราชยักษ หรือ ราทยักษวาโย ก็เรียก.
น. โรคชนิดหนึ่ง ผูปวยมักมีอาการชาทั้งตัวขยับแขนขาไมได เชื่อมมึน เปนตน ตำราการ

ากา
แพทยแผนไทยวาเกิดจากความผิดปรกติของลมในเสนอัษฎากาศ ดังคำอธิบายภาพแผน
นวด [๔/๙๙] ตอนหนึ่งวา “...อัศฎากาศจับหาสติมิได เขมนทั่วกายชาไปทั้งตัวใหแสยง...”.
ัญญ

ลมอินทรธนู น. โรคลมมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการเหมือนไขรากสาด ผิวหนังตั้งแตบริเวณชายโครงถึง


(-อินทะนู) หนาผากเปนวงๆ สะดือเปนสีดำ สีแดง สีเขียว หรือสีเหลือง มีอาการเพอ เปนตน โบราณ
ูมิป

วาผูหญิงที่เปนดานซายหรือผูชายที่เปนดานขวา อาการจะรุนแรง รักษาไมหาย ดังคัมภีร


ชวดาร [๔๑/๓๐๕] ตอนหนึ่งวา “...ลมอินทรธนู เมื่อลมไขเหมือนลากสาก เปนวง ลอม
งภ

สะดือดำ สะดือแดง สะดือเขียว สะดือเหลือง เทาวงน้ำออยงบ แตชายโครงตลอดจนหนา


รอ

ผาก พิษนั้นใหอื้ออึงคะนึงอยูในใจ ใหเพอพกดังผีเขาอยู ถาหญิงเปนซายชายเปนขวา


ุ้มค

อาการตัด...”.
ลมอีงุมอีแอน น.โรคลมอันมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการชักตัวงอหลังแอน โบราณวาถาชักจนหลังหัก ก็
ักค

จะถึงแกความตาย ดังคัมภีรชวดาร [๔๑/๓๐๕-๓๐๖] ตอนหนึ่งวา “...ลมอีงุมอีแอนนั้น


สําน

เมื่อลมไขเหมือนสันนิบาต เมื่อจับนั้นอีงุมงอไปขางหนา อีแอนงมไปขางหลัง ถาลั่นเสียง


เผาะเมื่อใดตายเมื่อนั้น...”.
วาโยกำเริบ วาโยกำเริบแรง เพราะอาหารอันชุมมัน ใหเกิดโรคผอมเหลือง มักครั้นตัวหายใจสั้น ในทอง
ใหรองลั่นอยูโครก ๆ แดกขึ้นลง หนึ่งเลาใหหาวเรอ ทั้งหนาตาวิงเวียนวง อาหารอันบรรจง
ที่จะกินบรูรส หูหนักปากเหม็นหวาน บังเกิดกาลเลือดไหลหยด โสตฆานโอษฐออกหมด
โทษวาโยเขาย่ำยี

191
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

วาโยธาตุพิการ วาโยพิการนั้น ใหหูตึงเปนกำเนิด น้ำหนวกอันไหลเหม็น ไมเห็นไฟนัยนตาฟาง เมื่อยมือ


และเมื่อยเทา สันหลังฟกก็ดูพาง ฝเอ็นกำเริบลาง บางก็อวกอาเจียนลม บางลงจนสิ้นแรง
อาหารแดงในอาจม สิ้นไสก็เพื่อลม ในลำไสจะหนีกาย ครั้นหนวงดวยคุณยา ที่ลงมาคอย
หางหาย กลับรากลำบากกาย เปนดังนี้ดวยแรงกรรม อาการที่กลาวมา เจ็ดวันวาจงควรจำ
ยายากจะยายำ โทษนี้แทกำหนดตาย
วาโยธาตุสมุถาน ธาตุลม มี ๖ ประการ คือ
๑. อุทธังคมาวาตา คือลมพัดขึ้นเบื้องบน นับตั้งแตปลายเทา บางทานกลาววา พัดตั้งแต
กระเพาะอาหารถึงลำคอ ไดแก เรอ เปนตน

ไทย
๒. อโธคมาวาตา คื อ ลมพั ด ลงเบื้ อ งต่ ำ นั บ แต ศี ร ษะถึ ง ปลายเท า บางท า นกล า วว า
พัดตั้งแตลำไสนอยถึงทวารหนัก ไดแก ผายลม เปนตน

ผน
๓. กุจฉิสยาวาตา คือลมพันในทอง แตพัดนอกลำไส

์แ
๔. โกฐฐาสยาวาตา คือลมพัดในลำไสและกระเพาะอาหาร

ทย
๔. อังคมังคานุสารีวาตา คือลมพัดทั่วสรีระกาย แพทยไทยเชื่อวาหมายถึงระบบไหลเวียน
ของโลหิต
๕. อัสสาสะปสสาสะวาตา คือลมหายใจเขาออก
ร แพ
ากา
วาโยหยอน จักกลาววาโยไซร เมื่อหยอนไปใหโทษมา สิบสามตามสังขยา คือวาตาวิบัติไป มักถอนใจ
ใหญนักหาวเรอมักผายลมใน เปนลมทนทองให กระบัดไปรอนหนาวนา ใหรอนในทรวงอก
ัญญ

กายสั่นงกเทาหัตถา ลมแลนทั่วกายา เทาหัตถานั้นตายไป ลมพัดตองดวงจิต ลมทำพิษให


คลั่งไคล สิบสามโทษนี้ให วาโยไซรรูผอนหยอนลง
ูมิป

วิหกวาตพัค, น. เสนที่มีทางเดินเริ่มจากมุมขอบสะบักดานใน แลนไปตามสะบักบนถึงขอไหล ทำหนาที่


วิหควาตพัค, ยึดหัวไหล ถาถูกกระทบอยางแรง ทำใหหัวไหลหลุดอยูตรงหัวดุมไหล.
งภ

วิหควาตภักดิ์
รอ

สัตถกวาตะ น. ที่ตั้งหรือที่แรกเกิดของโรคอันเกิดจากลมแบงออกเปน ๓ อยาง ไดแก หทัยวาตะ(ลมใน


ุ้มค

หัวใจอันทำใหหัวใจทำงานเปนปรกติ) สัตถกวาตะ (ลมที่ทำใหเกิดอาการเสียดแทงตามสวน


ตางๆ ของรางกาย) และสุมนาวาตะ (ลมในเสน อันทำใหเกิดอาการปวดเมื่อย)
ักค

สันนิบาต น. ๑.ความเจ็บปวยอันเกิดจากกองสมุฏฐานปตตะ วาตะ และเสมหะ รวมกันกระทำใหเกิด


สําน

โทษเต็มกำลัง ในวันที่ ๓๐ ของการเจ็บปวย ๒.ไขประเภทหนึ่ง ผูปวยมีอาการสั่นเทิ้ม ชัก


กระตุก และเพอ เชน ไขสันนิบาตลูกนก ไขสันนิบาตหนาเพลิง.
สลักเพชร น. โครงสรางของกระดูกบริเวณขอบางขอ ที่เมื่อสวมเขาดวยกันแลวทำใหเคลื่อนไหวได
เชน ขอตอขอบกระดูกเชิงกรานตรงสะโพกกับหัวกระดูกตนขาทำใหขากางออกได เรียก
ตะโพกสลักเพชร, ขอตอขากรรไกรบนและลาง ทำใหอาปาก และกินอาหารได เรียกขา
กรรไกรสลักเพชร
สวิงสวาย ก.อาการที่รูสึกใจหวิว วิงเวียน คลื่นไส ตาพราจะเปนลม

192
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

สัณฑฆาต น. ๑. เสนที่มีจุดเริ่มตนบริเวณขอบเชิงกรานดานหนา แลนถึงตาตุม เสนดานบนจะแลนไป


ทางดานหลัง ขึ้นขางกระดูกสันหลัง ถึงบริเวณตนคอ ทายทอย ขึ้นศีรษะ แลวลงมาที่แขน
เส น ที่ อ ยู ด า นขวา เรี ย กเส น สั น ฑฆาตขวา เส น ที่ อ ยู ด า นซ า ย เรี ย ก เส น สั น ฑฆาตซ า ย
๒.โรคเกี่ยวกับเสนชนิดหนึ่ง ทำใหมีอาการจุกเสียดหนาอก ดังคำอธิบายภาพแผนนวด
[๔/๑๑๙] ตอนหนึ่งวา “...๓. เสนนี้ สันทฆาตขวา แกยอกอก สลักอก ๗. เสนนี้ สันทฆาต
ซาย แกเจ็บดังเปนหนอง...”. ๓.โรคชนิดหนึ่งเกิดจากการกระทบกระแทกชอกซ้ำอยางแรง
เชน ตกตนไม ถูกทุบถองโบยตี ทำใหเกิดเลือดออก เปนลิ่ม เปนกอนแหง หรือเนาเสียอยู
ภายใน เรียก โลหิตตองพิฆาต ในสตรี อาการอาจรุนแรงหากเกิดขณะมีระดู แบงเปน

ไทย
๔ ชนิดตามความรุนแรงของโรค ไดแก เอกสันฑฆาต โทสันฑฆาต ตรีสันฑฆาต และอาสันฑ
ฆาต

ผน
สมุฏฐานปตตะ น. ที่ตั้งหรือที่แรกเกิดของโรคอันเกิดจากดี แบงออกเปน ๓ อยาง ไดแก พัทธะปตตะ

์แ
(น้ำดีที่อยูในฝกหรือในถุงน้ำดี) อพัทธะปตตะ (น้ำดีที่อยูนอกฝกหรือนอกถุงน้ำดี) และ

ทย
กำเดา (เปลวแหงความรอน หรือความรอนที่ไดจากการเผาผลาญในรางกาย).
สมุฏฐานวาตะ
แพ
น. ที่ตั้งหรือที่แรกเกิดของโรคอันเกิดจากลม แบงออกเปน ๓ อยาง ไดแก หทัยวาตะ
(ลมในหัวใจ อันทำใหหัวใจทำงานเปนปรกติ) สัตถกวาตะ (ลมที่ทำใหเกิดอาการเสียดแทง

ากา
ตามสวนตางๆ ของรางกาย) และสุมนาวาตะ (ลมในเสน อันทำใหเกิดอาการปวดเมื่อย)
สมุฏฐานเสมหะ น. ที่ตั้งหรือที่แรกเกิดของโรคอันเกิดจากเสลด แบงออกเปน ๓ อยาง ไดแก ศอเสมหะ
ัญญ

(เสมหะในลำคอ) อุระเสมหะ (เสมหะในอก) และคูถเสมหะ (เสมหะในสวงทวาร).


เสโท น. เหงื่อ เปนองคประกอบ ๑ ใน ๑๒ สิ่งของธาตุน้ำ
ูมิป

เสน น. สิ่งที่มีลักษณะเปนแนว ไมกำหนดความยาว แนวที่มีลักษณะของธาตุดินจะจับตองได


งภ

เชน เสนเลือด เสนเอ็น เสนประสาท ในแนวเหลานี้อาจเปนทางขับเคลื่อนของธาตุน้ำ ธาตุ


ไฟ หรือธาตุลม. คัมภีรแผนนวดในตำราเวชศาสตรฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ วามี ๗๒,๐๐๐
รอ

เสน ดังที่กลาวไวในคัมภีรแผนนวด [๒/๙๓] ตอนหนึ่งวา “...แลวจึ่งมีเอนเกี่ยวกระหวัดอยู


ุ้มค

ในนาถีนั้นเปน อันมากถึง ๗๒๐๐๐ เสน...” หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑ [๓๔/๗๙]


ตอนหนึ่งวา “...เสนเอ็นยอมเปนรู ลมเลือดชูใหฟูฟอน กำเริบมักรุมรอนใหศุขทุก ๆ ราตรี
ักค

เมื่อสบายเลือดลมเสมอ จึงราเรอกระเษมสียังหะทัยใหเปรมปรี เพราะเสนเอ็นไมกอการ...”


สําน

แตในคัมภีรโรคนิทาน ตามตำราเวชศาสตรฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ วามี ๒,๗๐๐ เสน ดังที่


กลาวไว [๒/๓๔๘] ตอนหนึ่งวา “...สวนวาเสนประธาน ๑๐ เสน มีบริวาร ๒๗๐๐ เสนนั้นก็
หวาดไหวไปสิ้นทั้งนั้น ที่กลาก็กลาที่แขงก็แขงที่ตั้งดานก็ตั้งดานที่ขอดก็ขอดเขาเปนกอน
เปนเถาไป เปนเหตุแตจะใหโทษนักถาพรอมกันทั้ง ๒๗๐๐ เสนแลวก็ตายแล ถาเปนแต ๒
๓ ๔ เสนยังแกไดแล...”, เอ็น หรือเสนเอ็น ก็เรียก.
เสนกาลทารี, น. เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบ มีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือแลวแยกออกเปน
เสนกาลธารี ๔ เสน ๒ เสนบนแลนขึ้นไปตามชายโครงทั้ง ๒ ขาง แลวไปสะบักใน กำดน และศีรษะ แลว
(-กาละทารี) วกกลับมาตนแขนลงมาตามแนวหลังแขนทั้งสอง และ แยกออกไปตามนิ้วมือทั้ง ๒ ขาง
สวน ๒ เสนลางแลนลงไปตามหนาแขงจนถึงขอเทา แลวแตกออกไปตามนิ้วเทาทั้ง ๒ ขาง
193
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

เสนกาลทารี, ดังคัมภีรแผนนวด [๒/๙๓] ตอนหนึ่งวา “...เอนเสนหนึ่ง ชื่อวากาลทารีนั้น แลนออกมาแต


เสนกาลธารี นาภี แลวแตกออกเปน ๔ เสน สองเสนนั้นแลนขึ้นไปโดยทั้งสองแลว ไปเอาลำแขนทั้ง ๒
(-กาละทารี) (ตอ) ตลอดลงไปถึงนิ้วมือทั้ง ๑๐ นั้นแล เสนนั้นเลาแลนลงไปตนขาทั้ง ๒ ลงไปตามลำแคงทั้ง ๒
ตลอดลงไปถึ ง นิ้ ว เท า ทั้ ง ๑๐ นั้ น แล...” หรื อ ตำราโรคนิ ท านคำฉั น ท ๑๑ [๓๕/๙๑]
ตอนหนึ่ ง ว า “...ในเส น เอ็ น ชื่ อ ทารี อาจารย ท า นพรรณนา แล น ออกมาแต น าพี กลั บ
แตกแยกเปนสี่ สองเสนนี้ผานขึ้นไปตามโครงสุดขางละเสน รอยขึ้นเปนสบักใน ทั้งซายขวา
ตามนิสัย แลนขึ้นไปกำดนครัน ตลอดเศียรเวียนกระหลบแลนทวนทบจรจัล โดยหลังแขน
ทั้งสองนั้น ออกไปงันที่ขอมือแตกแยกเปนหาแถวตามแนวนิ้วใหยึดถือ สองขางทุกนิ้วมือให

ไทย
ยึดถือทำตาง ๆ สองเสนเบื้องใตนั้นแลนผกผันลงเบื้องลางตามหนาขาสองขางวางลงไปหนา
แขงพลัน หยุดพอเพียงขอทาว แตกออกเหลาละหาอัน เอ็นหนึ่งทั้งหานั้น ทั้งสองขาง

ผน
ดังกลาวมา...”, เสนฆานทารี เสนกาลทวารี หรือเสนทารี ก็เรียก.

์แ
เสนจันทภูสัง, น. เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบ มีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือ แลนขึ้นไปราว

ทย
เสนจันทะภูสัง) นมขางซาย ผานไปที่คอ คาง และไปสิ้นสุดที่หูขางซาย ดังคำอธิบายภาพแผนนวด [๔/๓]

แพ
ตอนหนึ่งวา “...๑ ๒. จันทะภูสัง รากโสตซาย...” หรือคัมภีรแผนนวด [๒/๙๔] ตอนหนึ่งวา
“...เอนเสนหนึ่งวาลาวุสังนั้นแลนออกมาแตนาภี ขึ้นไปราวนมซาย แลนไปขางซายแลวไปหู

ซายออกเปนรากหูซายนั้นแล...” หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑ [๓๕/๙๕] ตอนหนึ่งวา
ากา
“...หนึ่งเสนอุรัง ภูสำพวังนั้นก็วา สัมปะสาโสนามปรากฎชื่อวาเปนสามอยาง เสนนี้แลน
ัญญ

ออกมา แตนาภีวิถีทาง ขึ้นไปไมขัดขวาง ตามราวนมเบื้องซายหมาย ไปเนาเอาขางซาย


หมายหูซายดังอธิบาย เปนรากโสตประสาทหมาย ดังบรรยายฉนิ้มา...”, เสนลาวุสัง เสน
ูมิป

อุรัง เสนภูสำพวัง หรือ เสนสัมปะสาโส ก็เรียก.


เสนทวารี, น.เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบมีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือ แลนลงไปตนขา
งภ

เสนทะวารี ขวา แขงขวาดานใน ผานฝาเทา โคนนิ้วเทาขวาทั้ง ๕ นิ้ว แลวกลับยอนขึ้นมาตามหนาแขง


รอ

ขวา ขึ้นไปนมขางขวา ไปใตคาง ลอดขากรรไกรขางขวา แลวไปสิ้นสุดที่ตาขางขวาดังคัมภีร


ุ้มค

แผนนวด [๒/๙๔] ตอนหนึ่งวา “...เอนเสนหนึ่งชื่อวาทวารีนั้นแลนออกมาจากนาภีแลว


ตลอดลงไปเอาเทาขวาแลวกลับขึ้นมาตามแคงผานขึ้นไปตามนมขวา แลนเขาไปใตคางขวา
ักค

แลวแตกออก เปนรากจักขุขวาแล...” หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑ [๓๕/๙๓] ตอนหนึ่ง


สําน

วา “...หนึ่งเสนทะวาคะตา บางตำรากลาวพิปลาย ทะวารีกำหนดหมาย บางอธิบายทะ


วาระจันทร เสนนี้มีนามสาม ตามผูแพทยเคยสำคัญวิถีดำเนินนั้น เสนเดียวกันอยากังขา
แลนออกแตนาภี ขางขวานี้แลนลงมา ตามแนวแหงขาขวา สูหนาแขงจนฝาทาวตลอดนิ้วทั้ง
หานิ้ว พลิ้วกลับขึ้นตามแขงเขา หนาขาขึ้นไปเอาชายโครงสุดจนเตานม ขึ้นคางแลนตลอด
เขา เอาลูกตาโดยนิยม เปนรากจักษุสม ใหกรอกกลับหลับลืมแล เปนเสนจักษุขวา...”, เสน
ทะวาคะตา เสนทะวาระจันทร หรือเสนรากตาขวา ก็เรียก.
เสนประธานสิบ น. แนวหลักในการขับเคลื่อนธาตุทั้ง ๔ ในรางกาย ๑๐ แนว ทุกแนวมีจุดเริ่มตนบริเวณ
รอบๆ สะดือ แลวแยกกันไปตามสวนตางๆ ของรางกาย ไปสิ้นสุดที่อวัยวะตางๆ ประกอบ
ดวย เสนอิทา เสนปงคลา เสนสุมนา เสนกาลทารี เสนสหัศรังสี เสนทวารี เสนจันทะภูสัง

194
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

เสนประธานสิบ เสนรุชำ (สุตัง) เสนสุขุมัง และเสนสิขินี ในหลักวิชานวดไทยจัดวาเสนประธานสิบมีความ


(ตอ) สำคัญมากกวาเสนอื่นๆ ในรางกาย ดังคัมภีรแผนนวด [๒/๙๓] ตอนหนึ่งวา “...แลมีเอน
๑๐ เสนเปนประธานแกเอนทั้งหลายแล...”, เสนสิบหรือเอ็น ๑๐ ประการ ก็เรียก
เสนปงคลา, น. เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบ มีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือ แลนลงไป
เสนปงคะลา บริเวณหัวหนาวแลวแลนไปตามตนขาขางขวา แลวเลี้ยวขึ้นไปแนบแนวกระดูกสันหลังดาน
ขวา แลนขึ้นไปบนศีรษะแลวกลับลงมาสิ้นสุดที่จมูกดานขวา มีลมประจำเสนชื่อสูรยกาลา,
สูญทกลา, ศุญทะกาลา. ดังคัมภีรแผนนวด [๒/๙๓] ตอนหนึ่งวา “...เอนเสนหนึ่งชื่อวา
ปงคลานั้นแลนออกมาแตนาภีแลวลงไปเอาตนขาเบื้องขวา แลวเกี่ยวกระหวัดไปเอาสันหลัง

ไทย
แฝงแนบขึ้นไปตามกระดูกสันหลังเบื้องขวา แลวแลนขึ้นไปเกี่ยวเอาศีศะแลวลงมาเอานาสิก
ขวาอยูประจำลมอันชื่อวาสูญทกลาอยูเบื้องขวานั้นแล...” หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑

ผน
[๓๕/๘๓] ตอนหนึ่งวา “...เสนปงคะบาเบื้องขวาไป ปงคะลาทีฆายาว กลาว ดังเสนอิทาไซ

์แ
จากครรภาขวาไป แลนลงในหัวเหนาขา เลี้ยวลอดตลอดหลังสุดศรีสังลงนาศา ประจำลม

ทย
สูรยกาลา ซีกขางขวาเปนสำคัญ...”.
เสนมุตฆาตขวา
แพ
น. เสนที่มีทางเดินจากทองนอย บริเวณอุงเชิงกรานดานขวา แลนไปที่ปลายองคชาต
ปรากฏในตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามวา ใชนวดแกปสสาวะกะปริบ

ากา
กะปรอย
เสนมุตฆาตซาย น. เสนที่มีทางเดินจากทองนอย บริเวณอุงเชิงกรานดานซาย แลนไปที่ทวารหนักปรากฏใน
ัญญ

ตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามวา ใชนวดแกปสสาวะบอย.
เสนรุชำ, เสนรุทัง น. เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบมีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือ แลนขึ้นไปราวนม
ูมิป

ขางขวา ผานไปที่คอ คาง และไปสิ้นสุดที่หูขางขวา ดังคำอธิบายภาพแผนนวด [๔/๓] ตอน


หนึ่งวา “...๕. รุชำ รากโสตขวา...” หรือคัมภีรแผนนวด [๒/๙๔] ตอนหนึ่งวา “...เอนเสน
งภ

หนึ่งชื่อวาอุลังกนั้นออกมาแตนาภีขางขวาขึ้นไปราวนมขวาแลนเขาไป ใตคางแลวออก เปน


รอ

รากหูขวาแล...” หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑ [๓๕/๙๕] ตอนหนึ่งวา “...หนึ่งโสตเสน


ุ้มค

ชื่อสุขุม อุสะมานามกรแท ออกจากนาภีแผ ขึ้นไปจับราวนมขวา ขึ้นไปราวฅอคาง วางไป


เอาหูขวานา เปนรากโสตประสาทหนา...”, เสนสุตัง เสนอุลลังกะ หรือ เสนสุขุมอุสะมา ก็
ักค

เรียก.
สําน

เสนสหัสสรังสี น. เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบ มีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือ แลนลงไปตนขา


ซาย แขงซายดานใน ผานฝาเทา โคนนิ้วเทาซายทั้ง ๕ นิ้ว แลวกลับยอนขึ้นมาตามหนาแขง
ซาย ขึ้นไปหัวนมซาย ไปใตคาง ลอดขากรรไกรขางซายแลวไปสิ้นสุดที่ตาขางซาย ดังคัมภีร
แผนนวด [๒/๙๔] ตอนหนึ่งวา “...เอนเสนหนึ่งชื่อ สหัศรังสีนั้น แลนออกมาแตนาภีนั้นแลว
ก็แลนลงไปตามตนขาไปตลอดเทาทั้ง ๒ ขาง ซายแลวก็กลับยอนขึ้นมาตามแคงซาย แลว
ขึ้นไปเอาหัวนมซายแลวแลนเขาไปใตคาง แลวขึ้นไปแตกออกเปนรากจักษุเบื้องซายแล...”
หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑ [๓๕/๙๓] ตอนหนึ่งวา “...หนึ่งหัสรังสีเอ็น อันเสนนี้
ทานพิปรายในอุทรขางซายหมาย แลนลงไปโดยตนขา ตลอดลงฝาเทาเลา แลนผานเอานิ้ว
บาทา ตนนิ้วสิ้นทั้งหา ยอนขึ้นมาขางซายพลัน ตลอดทอดเตานมซาย แลนผันผายขางฅอ
195
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

เสนสหัสสรังสี (ตอ) นั้น ลอดขากันไกลพลัน สุดเสนนั้นเปนรากตา บังคับใหกลับกรอกหลับลืมออกเปนธรรมดา


ประจำตาขางซายหนา...”, เสนหัสรังสี เสนรากตาซาย หรือเสนรากจักษุ ก็เรียก
เสนสิขินี น. เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบ มีทางเดินเริ่มจากใตสะดือ แลนลงไปที่หัวหนาว
ทวารเบา และสิ้นสุดที่อวัยวะเพศ ดังอธิบายภาพแผนนวด [๔/๓] ตอนหนึ่งวา “...๖. สิขินี
ทวารเบา...” หรื อ คั ม ภี ร แ ผนนวด [๒/๙๔] ตอนหนึ่ ง ว า “...เอนเส น หนึ่ ง ชื่ อ ว า คิ ช นั้ น
ออกแตนาภีแลนไปเอาหัวเหนาลงไปลำลึงนั้นแล...”และ “...เอนชื่อสิกขินี แลนแตนาภีออก
ไปเบื้ององคชาตแล...” หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑ [๓๕/๙๖] ตอนหนึ่งวา “...หนึ่งเสน
อันชื่อวารัตคีนีหนานามพิปราย สังคินีก็บรรยาย เสนเดียวหมายมีสองนาม เสนนี้แลนออก

ไทย
มาแตนาภีใตสูญงาม ตลอดตรงไมเข็ดขาม เปนลึงคะชาติมุตมัก...”, เสนนี้ในผูหญิงเรียก
เสนสิขินี ในผูชายเรียก เสนคิช, เสนสิกขินี เสนสิกขิณี เสยคิช เสนคิชฌะ เสนรัตคีนี

ผน
หรือ เสนสังคินี ก็เรียก.

์แ
เสนสุขุมัง น. เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบ มีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือ แลนไปสิ้นสุดที่

ทย
ทวารหนัก ดังคำอธิบายภาพแผนนวด [๔/๓] ตอนหนึ่งวา “...๑๓. สุขุมัง รากทวารหนัก...”
แพ
หรือคัมภีรแผนนวด [๒/๙๔] ตอนหนึ่งวา “...เอนเสนหนึ่งชื่อนันทกระหวัดนั้นออกมาแต
นาภีนั้นไปเกี่ยวเอาปากเภาะทวารคูธทวารมูตรนั้นแล...” หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑

ากา
[๓๕/๙๗] ตอนหนึ่งวา “...หนึ่งเสนกังขุงนั้น แลนจรจัลจากนาภี กระหวัดรอบทวานมี
คูตมักคะพนักงาน...”, เสนนันทกระหวัด เสนกุขุง หรือ เสนกังขุง ก็เรียก.
ัญญ

เสนสุมนา น. เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบมีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือ แลวแลนตรงขึ้น


(-สุมมะนา) ไปในทรวงอก ขั้วหัวใจ ขึ้นไปตามลำคอ สิ้นสุดที่โคนลิ้น ดังคัมภีรแผนนวด [๒/๙๓] ตอน
ูมิป

หนึ่งวา “...เอนเสนหนึ่งชื่อวาสุมนานั้นแลนมาแตนาภีแลว ก็เขาไปในพายในอกตามลำฅอ


ขึ้นไปเปนลิ้นแล...” หรือตำราโรคนิทานคำฉันท ๑๑ [๓๕/๘๔] ตอนหนึ่งวา “...สุมะนา
งภ

พลัน ที่อยูสุมะนานั้น ตรงกลางสูญนะนาภี แลนเลยตรงขึ้นไป ขั้วหัวใจอุระนี้ แนบฅอหอย


รอ

วิถีตลอดลิ้นสิ้นทุกเสน...”, เสนสุมะนา หรือ เสนสุสุมนา ก็เรียก.


ุ้มค

เสนอัษฏากาศ น. เสนในรางกายที่ทำงานสัมพันธกับเสนสุมนา มีทางเดินอยูระหวางขั้วหัวใจ ตำราการ


แพทยแผนไทยแบงเปน ๒ สวน สวนบนไปที่ศีรษะ เรียก เสนอัษฎากาศบน กับสวนลางไป
ักค

ที่แขนทั้ง ๒ ขาง เรียก เสนอัษฎากาศลาง


สําน

เสนอิทา น.เสนประธานเสนหนึ่งในเสนประธานสิบ มีทางเดินเริ่มจากบริเวณสะดือแลนลงไปบริเวณ


หัวหนาว แลวแลนไปตามตนขาขางซายจนถึงหัวเขา แลวเลี้ยวขึ้นไปแนบแนวกระดูกสัน
หลังดานซาย แลนขึ้นบนศีรษะ แลวกลับลงมาสิ้นสุดที่จมูกดานซาย มีลมประจำเสนชื่อ
จันทกระลา จันทกลา หรือจันทะกาลา ดังคัมภีรแผนนวด [๒/๙๓] ตอนหนึ่งวา “...เอนเสน
หนึ่งชื่อวา อิทานั้น แลนออกมาแตนาภีแลวไปเอาหัวเหนา ไปเอาตนขาเบื้องซายแลวไปเอา
สันหลัง แนบขึ้นไปตามกระดูกสันหลังซายแลว แลนผานกระหวัดขึ้นไปบนศีศะแลวกลับลง
มาเอานาสิกซายอยูประจำลมจมูกอันวาจันทกลาเบื้องซายนั้นแล...” หรือตำราโรคนิทาน
คำฉั น ท ๑๑ [๓๕/๗๙] ตอนหนึ่ ง ว า “...เกิ ด เปนเส น อิ ท า ให ศิ ล าน ก ำเริ บ ราญ เส น นี้
วิถีผานแตนาภีพาดหัวเหนา แลนตลอดลงตนขา เลี้ยวตลอดนาสันหลังกลาวแนบกระดูก
196
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

เสนอิทา (ตอ) สันหลังราว ผานขึ้นไปจนสุดเศียรแลวเกี่ยวเลี้ยวตลบลง นาศิกตรงซายจำเนียร ประจำลม


สถิตเสถียร จันทะกาลา ทุกราตรี...”.
ไสเลื่อน น. โรคที่ลำไสออกไปจากชองทอง ไดแก ลงมาที่ถุงอัณฑะ (ในผูชาย) ที่แคมใหญ (ในผู
หญิง) หรือเลื่อนลงมาทางหนาขา หรือเลื่อนออกไปทางหนาทอง สะดือ หรือเลื่อนผานกระ
บังลมเขาไปในชองอก (อ.hernia)
โสภะโรค โรคตัวเหลือง
สูญทกลา น. ลมประจำเสนปงคลา, สูรยกาลา ก็เรียก.
(สูนทะกะลา)

ไทย
หทัยวาต โรคลมชนิดหนึ่ง ผูปวยมักจะมีอาการมึนตึง ไมคอยพูดคุยใจลอยบอย ๆ ชอบอยูคนเดียว

ผน
ใจนอย โกรธงาย เบื่ออาหาร บางครั้งหัวเราะ บางครั้งรองไห ถาจะรักษาใหรักษาเมื่อเริ่มมี
อาการ หากทิ้งไวนานจะรักษายาก ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

์แ
[๔/๓๒๔] ตอนหนึ่งวา “...ในที่นี้จะวาแตลมอันชื่อวาหทัยวาตนั้นกอนเปนปฐม อันบังเกิด

ทย
ขึ้นแกบุคคลผูใด มักกระทำใหมึนตึง มิใครจะเจรจา ใหหนักปาก ใหใจนั้นลอยอยูเปนนิจ
แพ
มักจะอยูที่สงัดแตผูเดียวใหใจนอยมักโกรธ มิไดรูสึกอยากอาหารใหอิ่มไป บางทีกระทำให
หัวเราะระริกซิกซี้ บางทีกระทำใหรองไห ดุจดังคนกำพราหาคณาญาติมิได ถาจะแกใหแก

ากา
แตยังมึนตึงอยูนั้น ครั้นแกเขามักกลายเปนดังโรค สมมติวาลมบาดทะจิตเปนอสาทยโรค
แพทยจะรักษาเปนอันยากยิ่งนัก...”.
ัญญ

องคสูตร น. โรคทางเดินปสสาวะและอวัยวะสืบพันธุกลุมหนึ่งเกิดกับผูชาย ผูปวยมีอาการแตกตาง


กันไปตามฤดูที่ปวย ตำราการแพทย แ ผนไทยแบ ง เป น ๔ ประเภท ได แ ก ๑) ผู ที่ ป ว ย
ูมิป

ในฤดู ร อ น อั ณ ฑะข า งขวาจะบวมแดง ปวดแสบปวดร อ นเสี ย ดแทงร า วไปถึ ง ราวข า ง


งภ

มีเลือดไหลซึมในชองปสสาวะทำใหมีอาการปวดแสบรอนมาก ปสสาวะขัด ทองผูกมากอาจ


มี อ าการปวดเสี ย วลงไปตามเท า ถ า นอนลงกล า มเนื้ อ จะกระตุ ก เต น เบาๆ เป น ต น
รอ

๒) ผูที่ปวยในฤดูฝนจะมีอาการเจ็บและปวดบริเวณหนาอก กระดูกสันหลัง บาทั้ง ๒ ขาง


ุ้มค

ราวไปถึงราวนมและขาทั้ง ๒ ขาง ปวดแสบปวดรอนเวลาถายปสสาวะ ครั่นเนื้อครั่นตัว


วิงเวียน ถายอุจจาระเปนมูกเลือดและอาจชักได ๓) ผูที่ปวยในฤดูหนาว จะมีอาการปวดใน
ักค

องคชาติ ปสสาวะหยดยอย เจ็บเอว กินไมได ถาเปนนานจะทำใหองคชาตขาด และตายได


สําน

และ ๔) ผูที่ปวยในฤดูแหงสันนิบาต จะมีอัณฑะบวมและผิวเปนสีดำ ปวดแสบปวดรอน


ถายปสสาวะไมออก หรือปสสาวะเปนเลือดปนหนองปวดเสียดตามราวขางและหนาอก
กิ น ข า วไม ไ ด คอแห ง เป น ต น ดั ง ตำรายาศิ ล าจารึ ก ในวั ด พระเชตุ พ นวิ ม ลมั ง คลาราม
[๔/๑๔๓] ตอนหนึ่งวา “...องคสูตรเกิดในคิมหันตฤดูนั้น เมื่อจะบังเกิดในอัณฑะขางขวานั้น
ฟกแดงดังผลตำลึงสุก ใหแสบใหรอน เปนกำลัง และมักใหโลหิตหยดลงตามชองปสสาวะ
ใหปวดใหรอน แลวแลนไปตามเสนตามเอ็นทั้งปวง จับเอาสองราวขางใหเสียดแทง และให
อุจจาระผูกเปนพรรดึก และใหขัดปสสาวะมิไดสะดวก โทษทั้งนี้เกิดเพื่อโลหิต ๓ สวน วาโย
ระคน ๒ สวน ฯ...องคสูตรอันบังเกิดในวสันตฤดู คือ เดือน ๘ เดือน ๙ เดือน ๑๐ เปน
คำรบ ๒ มีอาการและประเภท กระทำใหเจ็บอดและขาทั้ง ๒ ขาง ใหเจ็บเสียวขึ้นมาตาม
197
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

องคสูตร กระดูกสันหลัง กระวัดมาราวนม แลนลงไปปลายเทาทั้ง ๒ ใหขบตอดดุจมดตะนอยตอย


ใหสะทานหนาวสะทานรอน ใหวิงเวียน ไปปสสาวะใหแสบรอนในองคชาต ไปอุจจาระให
เปนมูกเลือดสดออกมา โทษทั้งนี้เกิดเพื่อวาโย ๓ สวน เพื่อโลหิตสวน ๑ บังเกิดแตลำไส...
องคสูตรอันบังเกิดในเหมันตฤดู คือ เดือน ๑๑ เดือน ๑๒ เดือน ๑ นั้น เปนคำรบ ๓ มี
อาการและประเภทกระทำเมื่อจะบังเกิดนั้นใหปวดในองคชาตใหปสสาวะเล็ดออกมาแลว
ใหเจ็บเอวเปนกำลัง บริโภคอาหารมิได โทษบังเกิดเพื่อเสมหะ ๓ สวน เพื่อโลหิต ๒ สวน
ครั้นแกเขากระทำใหไสแกออกขาดออกมา...องคสูตรอันบังเกิดในกองสันนิบาตฤดู คือ
เดือน ๒ เดือน ๓ เดือน ๔ นั้น เปนคำรบ ๔ มีอาการและประเภทเมื่อจะบังเกิดนั้น กระทำ

ไทย
ใหผิวอัณฑะดำ และใหอัณฑะนั้นบวมขึ้น มีพิษใหแสบรอนเปนกำลัง และใหขัด ใหปสสาวะ
เปนบุพโพโลหิตเจือกันออกมา และใหแสบตามชองปสสาวะและใหเสียดสองราวขาว และ

ผน
หนาอกขึ้นมาตามเกลียวปตคาด ใหจับเปนเพลา บริโภคอาหารมิได ใหอาเจียนเปนลมเปลา

์แ
ใหคอตัน ใหคอแหง ใหน้ำลายเหนียว ใหตกเสมหะโลหิตทางทวารหนัก ดุจเปนบิด ใหรอน

ทย
ในอก ใหสวิงสวายเปนกำลัง โทษทั้งนี้เกิดในกองสันนิบาตฤดูทั้ง ๓ นั้น ประชุมพรอมกันหา
กำหนดมิได...”
อชิรณธาตุ แพ
โรคชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสาเหตุการเกิดโรคมาจากการรับประทานอาหารที่ไมถูกกับธาตุ

ากา
อติสาร น.โรคที่ผูปวยมีอาการทองเสียอยางรุนแรง ถายอุจจาระเปนน้ำ เปนมูก เปนเลือด อุจจาระ
มีกลิ่นผิดปรกติ ตำราการแพทยแผนไทยแบงเปน ๒ ประเภท คือ โบราณกรรมอติสาร และ
ัญญ

ปจจุบันกรรมอติสาร ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม [๔/๑๕๖] ตอน


หนึ่งวา “...จะกลาวลักษณะอติสารวรรค วาดวยอติสารอันเปนโบราณกรรม ๕ ปจจุบัน
ูมิป

กรรม ๖ เปน ๑๑ วรรค...”. นอกจากนี้ ในบางตำรายังพบ ปกวาตอติสาร ซึ่งไมไดระบุวา


เปนโบราณกรรมอติสาร หรือปจจุบันกรรมอติสาร.
งภ

อสุรินทัณญาธาตุ กองธาตุผิดปกติแบงออกเปน ๔ ประการ แตละประการ มีอาการดังนี้


รอ

๑. สมาธาตุ ลักษณะสมาธาตุนั้น ยิ่งไปดวยสรรพธาตุ มีอาการทำใหเจ็บเปนเพลา (เวลา)


ุ้มค

บางทีกระทำใหตัวรอน เทาเย็น บางทีใหสวิงสวาย ใหเจ็บในอก รับประทานอาหารไมมีรส


บางทีใหมึนใหมัว โทษทั้งนี้เปนเพราะเสมหะสมุฏฐาน ปตตะสมุฏฐาน และวาตะสมุฏฐาน
ักค

ประชุมพรอมกันในกองปถวีธาตุทั้ง 20 ประการ ใหเปนวีสติปถวี


สําน

๒. มันทรธาตุ ลักษณะมันทรธาตุนั้นยิ่งไปดวยเสมหะมีกำลัง คือ ไฟธาตุหยอน เผาอาหาร


มิไดยอย กระทำใหลงไปวันละ 3-4 เวลา ใหสวิงสวาย ถอยแรงยิ่งนัก กระทำใหทองขึ้น
มิรูวาย อุจจาระเปนเมือกมันเปนเปลวหยาบละเอียดระคนกัน ใหปวดมวนทองมากโทษ
ทั้งนี้เกิดแตกองทวาทศอาโปใหเปนเหตุ
๓. วิสมาธาตุ ลักษณะวิสมาธาตุนั้นยิ่งไปดวยวาโยมีกำลัง กระทำใหทองลั่นอยูเปนนิจ
บางวันก็ผูก บางวันก็ลง บางวันใหอยากอาหาร บางวันใหคับทอง แนนอกคับใจ ไฟธาตุมิได
เสมอ (วาโยเดินมิสะดวกโทษทั้งนี้เกิดแตกองวาโยใหเปนเหตุ)
๔. กติกธาตุ ลักษณะกติกธาตุนั้นยิ่งไปดวยสรรพพิษทั้งปวง มีพิษดี พิษเสมหะ พิษวาตะ
เปนอาทิ พิษอันแสบเปนที่สุด คือไฟธาตุนั้นแรง เผาอาหารฉับพลันยิ่งนัก กระทำใหจับ

198
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

อสุรินทัณญาธาตุ เชื่อมมัว กลางวันกลางคืน ไมไดเวนเวลา ใหปวดศีรษะ ผิวเนื้อและตาแดง อุจจาระปสสาวะ


(ตอ) เดินไมสะดวก ผูกเปนพรรดึก พิษทั้งนี้เกิดแกกองจตุกาลเตโชใหเปนเหตุ
อโธคมาวาตา น.ลมพัดตั้งแตศีรษะถึงปลายเทา บางตำราวาพัดตั้งแตลำไสนอยถึงทวารหนัก เชน ลมที่
เกิดจากการผายลม อโธคมาวาตาเปนประกอบ ๑ ใน ๖ ชนิดของธาตุลม
อัคมุขี โรคลมมีพิษชนิดหนึ่ง เปนไดทั้งเด็กและผูใหญ มีอาการใหดิ้น ใหรอง แลวชักใหหมดสติ
อัณฑพฤกษ ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง มีอาการอวัยวะเพศชายตายแข็งเคลื่อนไหวไมได
อัมพฤกษ น. ๑. เสนเหนือสะดือที่ตอเนื่องจากเสนสุมนา การทำงานและความผิดปรกติของเสนนี้จะ

ไทย
สัมพันธกับเสนสุมนา ดังคัมภีรธาตุวิภังค [๑/๑๔๙] ตอนหนึ่งวา “...ที่จะเปนโทษหนักนั้น
แตเสนอันชื่อสุมนา อำมพฤก เสนสุมนานั้นผูกดวงใจมีแตจะใหสวิง ใหสวาย ทุรนทุราย

ผน
หิวโหยหาแรงมิได อันวาเสนอัมพฤกษนั้น มีแตจะใหกระสับกระสาย ใหรอนใหเย็นใหเมื่อย
ใหเสียวไปทุกเสนทุกเอ็นทั่วทั้งตัวตั้งแตศีศะตลอดลงไปถึงที่สุดจนเทา บางทีใหเจ็บเปน

์แ
เวลา...” ๒. ลมที่พัดจากปลายเทาขึ้นไปทั่วตัว ทำใหอวัยวะตางๆ ออนแรงเคลื่อนไหวไม

ทย
สะดวก ดังคัมภีรสรรพลักษณะสรรพคุณ [๒/๓๘๒] ตอนหนึ่งวา “...โกฎกระดูกแกลมอำ
แพ
มพฤกกระทำใหคลื่นเหียนใหจุกเสียดใหหูตึงใหตามืด...”. ๓. โรคชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการ
อวัยวะบางสวน เชน แขน ขา ออนแรง เปนโรคที่คลายคลึงกับอัมพาตแตอาการนอยกวา.

ากา
อัมพาต น. ๑. ลมที่พัดจากปลายเทาขึ้นไปทั่วตัว ทำใหอวัยวะบางสวน เชน แขนขาตาย ลิ้นกระดาง
คางแข็ง. ๒.โรคชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการอวัยวะบางสวน เชน แขนขาตาย ไมมีความรูสึก ดัง
ัญญ

คัมภีรสรรพลักษณะสรรพคุณ [๒/๓๗๙] ตอนหนึ่งวา “...เปลือกมะรุมแกลมอำมพาต ให


มือตายเทาตายหูตึงลิ้นกระดางคางแขง...”, เขียนวา อัมพาธิ อำมพาด อำมพาต อำมพาธ
ูมิป

อำมพาธิ หรือ อำมะพาธ ก็มี. (ส.อม+ วาต).


งภ

อาโปธาตุสมุฐาน ที่เกิดแหงโรคตามอาการของธาตุน้ำ อันมีอยูในรางกาย ซึ่งผันแปรผิดปกติไปตางๆ ดูเพิ่ม


เติมที่ ธาตุ และสมุฏฐาน
รอ

อาโปพิการ อาโปธาตุพิการ คือดีพิการมักขึ้งโกรธ มักใหสะดุงตกใจใหหวาด คือเสมหะพิการ กินอาหาร


ุ้มค

ไมรูจักรส คือหนองพิการมักใหไอเปนโลหิต คือโลหิตพิการ ใหเพอพกใหรอน คือเหงื่อ


ักค

พิการ มักใหซูบผอม คือมันขนพิการ มักใหปวดศีรษะ ใหเจ็บจักษุ ใหขาสั่นไป จักษุนั้นเปน


ดังเยื่อลำไย คือมันเหลวพิการ ใหแลนออกทั่วตัว ใหจักษุเหลือง ตัวเหลือง มูตรแลคูถ
สําน

เหลือง ลางทีไขสูง ใหอาเจียน กลายเปนปวงลม คือเขฬะพิการ ใหปากเปอยคอเปอย ลางที


เปนยอดเปนเม็ดขึ้นในคอ ลางทีเปนไขมักปากแหง คือน้ำมูกพิการ ใหปวดศีรษะเปนหวัด
ใหปวดสมอง ใหน้ำมูกตก จักษุมัว ใหเวียนศีรษะ คือไขขอพิการ ใหเมื่อยทุกขอทุกกระดูก
ใหขัดใหตึงทุกขอ คือมูตรพิการ ใหปสสาวะแดง ขัดปสสาวะ ปสสาวะเปนโลหิต เจ็บปวด
อาโปหยอน อาโปธาตุหยอน อาการสิบเอ็ดให ดีพลุงไซรและเสมหะ บุพโพก็ลามไหล โลหิตไซรบังเกิด
มา ขนชันทั่วกายา เกิดน้ำตาใหลามไหล เสโทและน้ำเบา เขฬะเลาเกิดมาไป กำเดามักตก
ไหล มักเปนไขเกิดพิการ

199
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

อุจจาระธาตุพิการ น. อาการที่ธาตุทั้ง ๔ ของรางกายกำเริบ หยอน หรือพิการ ทำใหเกิดความผิดปรกติทาง


อุจจาระ คือ สีขาว สีดำ หรือสีแดง มีกลิ่นหญาเนา กลิ่นขาวบูด กลิ่นปลาเนา หรือกลิ่น
ซากศพ และมีลักษณะเป น เมื อ ก เป น มั น เป น เปลว หรื อ เป น ไต นอกจากนี้ อาจถ า ย
อุจจาระบอย เกิดอุจจาระลามก เปนตน. ดู อุจจาระธาตุลามกประกอบ
อุจจาระมีกลิ่นราย อาการของธาตุ ที่ ผิ ด ปกติ ทำให อุ จ จาระกลิ่ น เหม็ น ผิ ด ปกติ เช น กลิ่ น เหมื อ นหญ า เน า
เนื่องจากธาตุไฟพิการ กลิ่นเหมือนขาวบูด เนื่องจากกองวาโยธาตุพิการ กลิ่นเหมือน
ปลาเนา เกิดแตกองอาโปสมุฏฐาน
อุทธังคมาวาตา น. ลมพัดตั้งแตปลายเทาถึงศีรษะ บางตำราวาพัดตั้งแตกระเพาะอาหารถึงลำคอแลวออก

ไทย
(อุดทังคะมาวาตา) ทางปาก เชน ลมที่เกิดจากการเรอ อุทธังคมาวาตาเปนองคประกอบ ๑ ใน ๖ ชนิดของธาตุ
ลม.

ผน
อุธรวาตา ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง เปนโรคลมประจำวันของเด็กที่เกิดวันอังคาร เปนโรคลมที่ติดมากับเด็ก

์แ
(ลมอุทรวาต) ตั้งแตแรกเกิด เรียกวา ลมกำเนิด มีอาการรองไหในเวลาเย็นเปนนิจ(ทุกวัน) ตั้งแตอยูใน

ทย
เรือนไฟจนถึงอายุ ๓ เดือน อาการของโรคก็จะหายไปเอง หรือรองไห อาการเชนนี้พื้นบาน
แพ
รองไห ๓ เดือน เปนเด็กเลี้ยงยาก เมื่อมีอาการลมจะบังคับขึ้นในทอง ทำใหทองขึ้น จับ
เชื่อมมัวและหอบเปนตน ถาอายุเกิน ๓ เดือนขึ้นไปแลว ยังรักษาไมหาย จะมีอาการซูบ

ากา
หอม ทองขึ้น อาเจียน จุก เสียด ในที่สุดจะชักมือกำเทางอ ตาชอนขึ้นสูง เรียกวา โรค
ตะบองราหูบาง ตะพั้นไฟบาง ดูเพิ่มเติมที่ แมซาง
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

200
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

บรรณานุกรม

กรมพั ฒ นาการแพทยแผนไทยและการแพทย ท างเลื อ ก. พจนานุ ก รม ศั พ ท แ พทย แ ละเภสั ช กรรมแผนไทย


ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : สำนักกิจการโรงพิมพ องคการสงเคราะหทหารผานศึก
ในพระบรมราชูปภัมภ, ๒๕๕๖.

ไทย
กลุมงานฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรดานการแพทยแผนไทย สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทย
แผนไทยและการแพทยทางเลือก. ตำราการนวดไทยเพื่อสุขภาพ 150 ชั่วโมง แบบทั่วไป. พิมพครั้งที่ ๑.

ผน
กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก ในพระบรมราชูปภัมภ, ๒๕๕๓.

์แ
คณะแพทย แ ผนโบราณท า พระจั น ทร ชมรมพั ฒ นาการสาธารณสุ ข แบบแผนไทย. ตำรายาวั ด โพธิ์ กดจุ ด

ทย
นวดไทย ฤๅษีบำบัดโรค, ๒๕๐๕

(วัดโพธิ์) พระนคร. นนทบุรี, ๒๕๓๗.


ร แพ
โครงการประสานงานพัฒนาเครือขายสมุนไพร (ปพส.). ตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ากา
นันทวัน บุณยะประภัศร, บรรณาธิการ. ศัพทแพทยไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท ประชาชน จำกัด, ๒๕๓๕.
ัญญ

สมาคมแพทยแผนไทยแหงประเทศไทย. คูมือการนวดไทย แบบมาตรฐาน. นนทบุรี.


สำนั ก คุ ม ครองภูมิป ญญาการแพทยแผนไทย กรมพั ฒ นาการแพทย แ ผนไทยและการแพทย ท างเลื อ ก. ตำรา
ูมิป

แผนปลิงของไทย. พิมพครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก ในพระบรม


งภ

ราชูปภัมภ, ๒๕๕๔.
รอ

สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก. คัมภีร


ุ้มค

ธาตุพระนารายณ ฉบับใบลาน (ตำราพระโอสถพระนารายณ). พิมพครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ


องคการสงเคราะหทหารผานศึก ในพระบรมราชูปภัมภ, ๒๕๕๕.
ักค
สําน

201
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ไทย
์แผน
ทย
แพ ร
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

202
ตำราแผนนวดไทย ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เลม 1

ไทย
์แ ผน
ทย
ร แพ
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

203
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ไทย
์แผน
ทย
แพ ร
ากา
ัญญ
ูมิป
งภ
รอ
ุ้มค
ักค
สําน

204

You might also like