Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

ข้อสอบปลายภาค

วิทยาลัยสารพัดช่างสงขลา
ชื่อรายวิชา (2100-1006) งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ปีการศึกษา 2561
ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่างสงขลา เวลา 60 นาที
ระดับชั้น สาขางานยานยนต์ ปวช.1/1-4 , สาขางานยานยนต์ทวิภาคี ปวช.1/1-3
คาชี้แจง
1. ข้อสอบฉบับนี้เป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ 40 ข้อ และข้อสอบอัตนัย 5 ข้อ
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบ ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. การเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้ามาใช้งานอย่างไรถูกต้องที่สุด 8. ถ้าจะวัดแรงดันไฟตรงจะต้องตั้งย่านวัดย่านใด
ก. สินค้านาเข้า ข. มียี่ห้อ ก. ACV ข. DCV
ค. มีเครื่องหมาย มอก. ง. มีราคาถูก ค. Ω ง. DCmA
2. การปฏิบัติงานด้านไฟฟ้าที่ปลอดภัยข้อใดถูกต้องที่สุด 9. ถ้าจะวัดความต้านทานจะต้องตั้งย่านวัดย่านใด
ก. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้ าแต่ละครั้งควรทาคนเดียว ก. ACV ข. DCV
โดยลาพัง ค. Ω ง. DCmA
ข. อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าชารุดเพียงเล็กน้อยยัง 10. น ามั ล ติ มิ เ ตอร์ ไ ปวั ด ค่ า แรงดั น ของไฟบ้ า นต้ อ งตั้ ง
สามารถใช้งานได้ปกติ มิเตอร์ย่านใด
ค. การปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าทาได้ทันทีโดยไม่ต้อง ก. DCmA ข. DCV
ตรวจสอบไฟฟ้าและในระบบ ค. ACV ง. Ω
ง. การปฏิบั ติ งานเกี่ย วกับ ไฟฟ้า เมื่อ รู้ สึ ก อ่อนเพลี ย 11. ภายในอะตอมของวัต ถุ ห รื อสสาร ส่ ว นที่ เคลื่ อนที่
เหนื่อย หรือ ง่วงนอนไม่ควรทา ตลอดเวลาคืออะไร
3. ข้อควรคานึงเป็นอันดับแรกในการใช้ไฟฟ้าคืออะไร ก. นิวเคลียส ข. โปรตอน
ก. ความประหยัด ค. นิวตรอน ง. อิเล็กตรอน
ข. เกิดประโยชน์สูงสุด 12. อุปกรณ์ที่ให้กาเนิดไฟฟ้าจากความร้อนคืออะไร
ค. ความปลอดภัย ก. ผลึกแร่ควอตซ์ ข. เทอร์โมคัปเปิล
ง. ความคุ้มค่า ค. โวลตาอิเซลล์ ง. โซล่าเซลล์
4. หน่วยวัดของโวลต์มิเตอร์คืออะไร 13. สาเหตุที่ทาให้เกิดฟ้าผ่าคืออะไร
ก. A ข. V ก. การถ่ายเทประจุไฟฟ้าจากก้อนเมฆลงสู่พื้นดิน
ค. Ω ง. W ข. เกิดความต่างศักดิ์ไฟฟ้าระหว่าง 2 จุด
5. มัลติมิเตอร์ไม่สามารถวัดค่าอะไรได้ ค. การถ่ายเทประจุไฟฟ้าระหว่างก้อนเมฆ
ก. กระแสไฟฟ้า ข. แรงดันไฟฟ้า ง. เกิดความไม่สมดุลของประจุไฟฟ้า
ค. ความต้านทาน ง. กาลังไฟฟ้า 14. การหมุ น ของกั ง หั น ลมผลิ ต ไฟฟ้ า ใช้ ห ลั ก การผลิ ต
6. มัลติมิเตอร์มีกี่แบบ ไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้าชนิดใด
ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ ก. ความร้อน ข. แรงกดดัน
ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ ค. การเสียดสี ง. สนามแม่เหล็ก
7. ถ้าจะวัดกระแสไฟตรงจะต้องตั้งย่านวัดย่านใด 15. ถ่านไฟฉายใช้หลั กการผลิ ตไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิด
ก. ACV ข. DCV ไฟฟ้าชนิดใด
ค. Ω ง. DCmA ก. ความร้อน ข. แรงกดดัน
ค. ปฏิกิริยาเคมี ง. สนามแม่เหล็ก
จากรูปจงตอบคาถาม ข้อ 16 – 18 24. วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมคุณสมบัติในการทางานเป็นอย่างไร
ก. มีแรงดันตกคร่อมภาระทุกตัวเท่ากัน
ข. มีกระแสไหลผ่านภาระทุกตัวเท่ากัน
ค. มีความต้านทานที่ภาระทุกตัวเท่ากัน
ง. มีกาลังไฟฟ้าเกิดขึ้นที่ภาระทุกตัวเท่ากัน
25. วงจรไฟฟ้าแบบขนานคุณสมบัติในการทางานเป็นอย่างไร
16. จากรูป ข้อใดคือสมการของการหาค่าความต้านทาน ก. มีแรงดันตกคร่อมภาระทุกตัวเท่ากัน
I
ก. E ข. IE ข. มีกระแสไหลผ่านภาระทุกตัวเท่ากัน
E
ค. I
E
ง. R ค. มีความต้านทานที่ภาระทุกตัวเท่ากัน
ง. มีกาลังไฟฟ้าเกิดขึ้นที่ภาระทุกตัวเท่ากัน
17. จากรูป ข้อใดคือสมการของการหาค่าแรงดันไฟฟ้า
I 26. แดง เหลื อ ง เขี ย ว ทอง จากค่ า ที่ ก าหนดให้
ก. E ข. IR ตัวต้านทานตัวนี้มีค่าเท่ากับเท่าไร
E
ค. I ง. IE ก. 3,400,000 Ω ± 5%
18. จากรูป ข้อใดคือสมการของการหาค่ากระแสไฟฟ้า ข. 5,400,000 Ω ± 5%
I
ก. E ข. IE ค. 2,400,000 Ω ± 5%
ง. 1,400,000 Ω ± 5%
E E
ค. I ง. R 27. เขี ยว ด า น้ าตาล ทอ ง จากค่ า ที่ ก าหนดให้
19. ประจุไฟฟ้าคืออะไร ตัวต้านทานตัวนี้มีค่าเท่ากับเท่าไร
ก. การเก็บปริมาณไฟฟ้าไว้ ก. 500 Ω ± 5% ข. 50 Ω ± 5%
ข. ขัว้ ของไฟฟ้าที่มีความแตกต่างกัน ค. 400 Ω ± 5% ง. 40 Ω ± 5%
ค. ความจุของไฟฟ้า 28. ตัวต้านทานแบบรหัส 4 แถบสี แถบสีที่ 1 เป็นค่าอะไร
ง. ปริมาณไฟฟ้าแสดงค่าออกมา ก. ค่าความผิดพลาด ข. ค่าตัวคูณ
20. เครื่ อ งมื อ วั ด พลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ติ ด ตั้ ง ใช้ ง านตาม ค. ค่าตัวเลข ง. ค่าเป็นศูนย์
บ้านเรือนเรียกว่าอะไร 29. ตัวต้านทานแบบรหัส 4 แถบสี แถบสีที่ 3 เป็นค่าอะไร
ก. วัตต์มิเตอร์ ข. เพาเวอร์มิเตอร์ ก. ค่าความผิดพลาด ข. ค่าตัวคูณ
ค. วัตต์อาวร์มิเตอร์ ง. เพาเวอร์วัตต์มิเตอร์ ค. ค่าตัวเลข ง. ค่าเป็นศูนย์
21. ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าส่วนใด ที่เมื่อทางานจะ 30. ตัวต้านทานแบบรหัส 4 แถบสี แถบสีที่ 4 เป็นค่าอะไร
ก. ค่าความผิดพลาด ข. ค่าตัวคูณ
เกิดแรงดันไฟฟ้าขึ้นมา
ค. ค่าตัวเลข ง. ค่าเป็นศูนย์
ก. สวิตซ์ ข. สายไฟ
31. ตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติในการทางานอย่างไร
ค. หลอดไฟ ง. แหล่งจ่ายไฟฟ้า
ก. ให้กาเนิดประจุไฟฟ้าออกมา
22. การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมเกิดผลอย่างไร ข. ทาหน้าที่ผลิตประจุไฟฟ้าขึ้นมา
ก. กระแสรวมลดลงตามจานวนเซลล์ที่ต่อ ค. ทาหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้าไว้ในตัว
ข. แรงดันลดลงตามจานวนเซลล์ที่ต่อ ง. ทาหน้าที่รักษาระดับประจุไฟฟ้าให้คงที่
ค. กระแสรวมเพิ่มตามจานวนเซลล์ที่ต่อ 32. ค่าความจุของตัวเก็บประจุจะเพิ่มขึ้นตามคุณสมบัติใน
ง. แรงดันเพิ่มขึ้นตามจานวนเซลล์ที่ต่อ ข้อใด
23. การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนานเกิดผลอย่างไร ก. เพิ่มพื้นที่แผ่นโลหะทั้งสองให้มากขึ้น
ก. กระแสรวมลดลงตามจานวนเซลล์ที่ต่อ ข. วางแนวแผ่นโลหะทั้งสองให้ขนานกัน
ข. แรงดันลดลงตามจานวนเซลล์ที่ต่อ ค. เพิ่มระยะห่างระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองให้มากขึ้น
ค. กระแสรวมเพิ่มตามจานวนเซลล์ที่ต่อ ง. ให้ฉนวนคั่นกลางแผ่นโลหะทั้งสองมีค่าคงตัวความ
ง. แรงดันเพิ่มขึ้นตามจานวนเซลล์ที่ต่อ เป็นฉนวนต่า
33. ตัวเก็บประจุแบบค่าคงที่ชนิดใดที่ผลิตมาใช้งานให้ค่า 40. วาริแอกคือหม้อแปลงชนิดใด
ความจุได้สูงที่สุด ก. ชนิดออโต
ก. เซรามิก ข. แทนทาลัม ข. ชนิดทอรอยด์
ค. ฟิล์มพลาสติก ง. อิเล็กโตรไลติก ค. ชนิดเพิ่มแรงดัน
34. ตั ว เก็ บ ประจุ ช นิ ด ใดที่ มี โ ครงสร้ า งและคุ ณ สมบั ติ ง. ชนิดปรับเปลี่ยนแรงดันได้
เช่นเดียวกับตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลติก
ก. ไมก้า ข. เซรามิก
ค. แทนทาลัม ง. ฟิล์มพลาสติก
35. ตัวเก็บประจุแบบปรับเปลี่ยนค่าได้ การปรับค่าลักษณะ
ใดให้ค่าความจุน้อยที่สุด
ก. แผ่นโลหะ 2 ชุดวางชิดปรับแยกกันหมด
ข. แผ่นโลหะ 2 ชุดวางห่างปรับแยกกันหมด
ค. แผ่นโลหะ 2 ชุดวางชิดปรับซ้อนทับกันหมด
ง. แผ่นโลหะ 2 ชุดวางห่างปรับซ้อนทับกันหมด
36. คุณสมบัติของตัวเหนี่ยวนาข้อใดกล่าวไว้ถูกต้อง
ก. มีการยุบตัวพองตัวของสนามแม่เหล็กตามจังหวะ
การจ่ายแรงดันไฟสลับ
ข. เกิ ด แรงเคลื่ อ นไฟฟ้ า เหนี่ ย วน าขึ้ น มาเมื่ อ มี
สนามแม่เหล็กตัดผ่าน
ค. เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นมาเมื่อจ่ายแรงดันให้
ง. ถูกทุกข้อ
37. สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในขดลวดมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ก. แกนเล็ ก เกิ ด สนามแม่ เ หล็ ก มาก แกนใหญ่ เ กิ ด
สนามแม่เหล็กน้อย
ข. พันรอบน้อยเกิดสนามแม่เหล็กมาก พันรอบมาก
เกิดสนามแม่เหล็กน้อย
ค. กระแสไหลน้อยสนามแม่เหล็ก เกิดน้อย กระแส
ไหลมากสนามแม่เหล็กเกิดมาก
ง. แกนอากาศเกิดความเข้มสนามแม่ เหล็กมาก แกน
เฟอร์โรแมกเนติกเกิดความเข้มสนามแม่เหล็กน้อย
38. ตัวเหนี่ยวนาชนิดใดมีคุณสมบัติให้ค่าความเหนี่ยวนา
น้อยที่สุด
ก. แกนอากาศ ข. แกนเฟอร์ไรต์
ค. แกนผงเหล็กอัด ง. แกนเหล็กแผ่นบาง
39. หม้อแปลงชนิดใดที่มีขดลวดเพียงชุดเดียว แต่แยกจุด
ใช้งานออกเอาต์พุตหลายตาแหน่ง
ก. ชนิดกาลัง ข. ชนิดออโต
ค. ชนิดทอรอยด์ ง. ชนิดลดแรงดัน
ตอนที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. จงอ่านค่าความต้านทาน ของตัวต้านทานแบบรหัส 4 แถบสี ดังต่อไปนี้
ลาดับที่ แถบสีที่ 1 แถบสีที่ 2 แถบสีที่ 3 แถบสีที่ 4 ค่าความต้านทานที่อ่านได้
1 เทา แดง ส้ม ทอง
2 แดง แดง แดง -
3 ส้ม ดา น้าตาล ทอง
4 น้าตาล เหลือง แดง เงิน
5 น้าตาล ดา ทอง ทอง
2. จงอ่านค่าความต้านทาน ของตัวต้านทานแบบรหัส 5 แถบสี ดังต่อไปนี้
ลาดับที่ แถบสีที่ 1 แถบสีที่ 2 แถบสีที่ 3 แถบสีที่ 4 แถบสีที่ 5 ค่าความต้านทานที่อ่านได้
1 ส้ม น้าเงิน เขียว ส้ม เงิน
2 เหลือง ส้ม แดง น้าตาล ทอง
3 แดง เทา เหลือง แดง ทอง
4 แดง ดา ดา ทอง แดง
5 เขียว ม่วง น้าเงิน แดง น้าตาล
3. จงวาดรูปสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ต่อไปนี้
ลาดับที่ รายการ สัญลักษณ์
1 ตัวต้านทาน

2 ตัวเก็บประจุ

3 ตัวเหนี่ยวนา

4 ตัวต้านทานปรับค่าได้

5 ตัวเก็บประจุปรับค่าได้
4. จงคานวณหาค่าความต้านทานรวมของวงจรตามรูป
R1 R2 R3

220 W 470 W 100 W

5. จงคานวณหาค่าความจุรวมของวงจรตามรูป
C1 C2 C3

10mF 125 mF 15mF

You might also like