ภัยพิบัติในทวีปเอเชีย

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

ภัยพิบต

ั ใิ นทวีปเอเชีย : พายุไซโคลน Coringa ประเทศอินเดีย


ใ น ปี 1 8 3 9
ได เ้ กิ ด เหตุ ก ารณ์พ ายุ ถ ล่ ม ที่ บริเ วณตะวัน ออกเฉี ยงใต ข ้ องประเทศอิ น เดี ย
่ ้โจมตีเมืองทีชื
ซึงได ่ อว่
่ า Coringa เป็ นเมืองทีอยู ่ ่ตด ิ กับแม่น้าโกดาวารี(Godavari
River) ท า ใ ห้ เ มื อ ง Coringa
เสี ย หายอย่ า งรุ น แรงมากจากการที่ พายุ ไ ด น ้ าพาคลื่ นยัก ที่ สู ง ถึ ง 12 เมตร
ท า ใ ห ้ เ รื อ บ ริ เ ว ณ นั้ น เ สี ย ห า ย แ ล ะ ส า บ สู ญ ไ ป ถึ ง 2 0 , 0 0 0 ล า
รวมถึงได ้ทาให ้มีผูเ้ สียชีวต ิ สูงถึง 300,000 ราย

ภาพที่ 1 บริเวณสถานทีที
่ เกิ
่ ดพายุ
่ ดว่าเกิดจากสาเหตุอะไร
วิเคราะห ์ปั ญหาทีเกิ
พ า ยุ ที่ เ กิ ด นี ้ เ ป็ น พ า ยุ ที่ เ รี ย ก ว่ า พ า ยุ ไ ซ โ ค ล น ( Cyclone)
จะถูกใช ้กับพายุทเกิ ี่ ดในมหาสมุทธอินเดีย โดยอินเดียนั้ นเป็ นประเทศทีประมาณ ่
6 0 %จ ะ ติ ด อ ยู่ กั บ ท ะ เ ล
ซึ่ ง อ ย่ า ง ที่ ท ร า บ กั น ดี ว่ า ท ะ เ ล นั้ น จ ะ เ ป็ น จุ ด เ ริ่ ม ต ้ น ข อ ง ก า ร เ กิ ด พ า ยุ
โดยปัจจัยทีท ่ าให ้เกิดพายุน้ันได ้แก่

 อากาศมีความชืนที ้ สู
่ ง
 มีความไม่เสถียรของสภาพอากาศ(มีแรงดันอากาศสูงและต่าเกิดพร ้อมกั
น)
่ าให ้อากาศลอยตัวขึน(Lifting
 เกิดแรงทีท ้ Action)
จ า ก ภ า พ ที่ 2
จะเห็ น ว่ า สภาพของพื นที ้ ่ ที่ ถู ก ผลกระทบนั้ นจะมี แ ค่ บ ริเ วณชายฝั่ งเท่ า นั้ น
เ พ ร า ะ ว่ า เ มื่ อ พ า ยุ ไ ด ้ เ ริ่ ม ก่ อ ตั ว ขึ ้ น ที่ บ ริ เ ว ณ ก ล า ง ท ะ เ ล
มันจะสะสมพลังงาน(สะสมความแรงของพายุ)และพลังงานทีสะสมมาก็ ่ ่
จะเริมลดลงเ
มื่ อ พ า ยุ ถึ ง บ ริ เ ว ณ ช า ย ฝั่ ง
ดั ง นั้ น ท า ใ ห ้ บ ริ เ ว ณ ช า ย ฝั่ ง ท ะ เ ล จ ะ ไ ด ้ ร บ ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ รุ น แ ร ง ที่ สุ ด
แต่บริเวณแผ่นดินก็ยงั จะได ้ร ับผลกระทบจากคพายุทสร ่ี ้างขึนไว
้ น้ ้ันคลืนน
่ ้าจากทะ
่ ง้ 2 สาเหตุนีท
เล ซึงทั ้ าให ้บริเวณเมือง Coringa ได ้ร ับผลกระทบอย่างหนัก

วิธก
ี ารแก้ไขปั ญหา
ด ้ ว ย ค ว า ม ที่ พ า ยุ นั้ น เ ป็ น สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ ้ น เ อ ง

ในอดีตไม่สามารถทีจะทราบล่ วงหน้าได ้ว่าจะเกิดพายุวน
ั ไหนเวลาใดและมีความรุน
แรงขนาดไหน

1. ในปัจจุบนั ไดม้ ีองค ์กรทีตรวจสอบสภาพภู มิอากาศของแต่ละประเทศไว ้
ท า ใ ห ้พ อ ที่ จ ะ ร ับ รู ไ้ ด ว้ ่ า บ ริ เ ว ณ ใ ด อ า จ จ ะ เ สี่ ย ง ต่ อ ก า ร เ กิ ด พ า ยุ
และสามารถทราบได ้ทันทีเมือเกิ ่ ดเหตุการณ์
2. สามารถสร ้างสถานี หลบภัยในบริเวณทีเสี ่ ยงต่
่ อการเกิดพายุโจมตีไวใ้ นจุ
่ ผูค้ นอาศัยเยอะและทนต่อความรุนแรงของแรงดันน้าได ้
ดทีมี
3. ต ้องปรบั สภาพความเป็ นอยู่ในบริเวณชายฝั่งใหส้ ามารถรบั มือกับพายุห
รื อ ค ลื่ น น้ า ท ะ เ ล เ ช่ น
บ ้ า น พั ก นั้ น ส า ม า ร ถ ล อ ย อ ยู่ เ ห นื อ น้ า ไ ด ้ แ ล ะ มี ก า ร ท อ ด ส ม อ
คล ้ายทอดสอมเรือเพือป้ ่ องกันบ ้านถูกพัดไปตามกระแสน้า

วิธก
ี ารรีบมือกับพายุ
1. ่ ดตามการพยากรณ์อากาศ
หมันติ
2. ้
ติดตังสายล่ อฟ้ าและเก็บของทีมี ่ ความเสียงต่
่ อการปลิวตามแรงลม
3. ไม่ควรอยู่บริเวณทีโล่ ่ งแจ ้ง เช่น ดาดฟ้ า
4. ไ ม่ ค ว ร อ ยู่ ใ ก ล ้ห รื อ ใ ต ้ต ้น ไ ม ้ห รื อ ที่ ที่ มี ส่ิ ว แ ห ล่ ม ๆ ข น า ด ใ ห ญ่
เพราะสิงนั ่ ้นเปรียบเสมือนตัวล่อไฟฟ้ า
5. งดการใช ้อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิ ก
6. เ มื่ อ ท ร า บ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ก า ร ล่ ว ง ห น้ า
ทางทีดี ่ ควรอบยพออกจากบริเวณนั้นเป็ นทีดี ่ ทสุ ่ี ด

อ้างอิง
 กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(ปภ.),(2018),วิธเี ตรียมพร ้อมร ับมือพายุฤดูร ้อน
่ นตรายจากอากาศแปรปรวน,สืบค ้นเมือ
ลดเสียงอั ่ 2 ม.ค. 2019,จาก
www.home.kapook.com/view191238
๋ ญญา,(2011),การเกิดพายุ,สืบค ้นเมือ
 ธราร ัตน์ จิวปั ่ 2 ม.ค. 2019,จาก
https://sites.google.com/site/praktkarnbnlok/kar-keid-phayu
 Wikipedia,(2016),พายุหมุนเขตร ้อน,สืบค ้นเมือ ่ 2 ม.ค. 2019,จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/พายุหมุนเขตร ้อน
 แมวหง่าว,(2015),11ภัยพิบต ั ท
ิ างธรรมชาติ
ทีร่ ้ายแรงทีสุ
่ ดในประวัตศ ่ 2 ม.ค. 2019,
ิ าสตร ์โลก,สืบค ้นเมือ
http://travel.trueid.net/detail/g9ZOQVQ0GVA

You might also like