Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

-1-

เสนขนาน
1. เสนขนานและมุมภายใน
การขนานกันของเสนตรงมีบทนิยามดังนี้

บทนิยาม เสนตรงสองเสนที่อยูบนระนาบเดียวกัน ขนานกันก็ตอเมื่อ


เสนตรงทั้งสองเสนนั้นไมตดั กัน

S T เมื่อ ST และ XY ขนานกัน อาจกลาววา ST ขนานกับ XY

T
หรือ XY ขนานกับ ST

DE
X Y อาจเขียนแทนดวยสัญลักษณ ST // XY หรือ XY // ST

เราสามารถกลาววา สวนของเสนตรงหรือรังสีขนานกัน เมื่อสวนของเสนตรง หรือรังสีนั้นเปนสวนหนึ่งของเสนตรง


CA
ที่ขนานกัน เชน
N O P
P S E
Q R
AI

M V
O T
MN// OP OP// QR ST// UV
TH

ระยะหางระหวางเสนขนาน
A E X B

C F Y D
ในกรณีทั่วไป ถาเสนตรงสองเสนขนานกันแลว ระยะหางระหวางเสนตรงคูนั้นจะเทากันเสมอ และในทางกลับกัน ถา
เสนตรงสองเสนมีระยะหางระหวางเสนตรงเทากันเสมอแลว เสนตรงคูน ั้นจะขนานกัน
-2-

มุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด
พิจารณารูปตอไปนี้
B
E EF ตัดเสนตรง AB และ CD
A 3 1 เรียกมุม 1 และ 2 วา มุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัด
และ เรียกมุม 3 และ 4 วา มุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดเชนกัน
4 2
C F และ สังเกตวา 1̂ และ 2̂ วา มีคามากกวา 180°
D
รูปที่ 1 3̂ และ 4̂ วา มีคานอยกวา 180°
K 1̂ และ 2̂ เปนมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด
1H
J
3 3̂ และ 4̂ เปนมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดเชนกัน
2
4 L จะสังเกตไดวา 1̂ + 2̂ = 3̂ + 4̂ = 180°

T
G I ทําให GH // IJ

DE
รูปที่ 2

จึงสรุปเปนบทนิยามไดวา
CA
เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกันก็ตอเมื่อขนาดของมุมภายใน
ที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดรวมกันเทากับ 180 องศา
AI

ตัวอยางที่ 1 กําหนดให KL // MN จงหาคา x ในแตละขอตอไปนี้

1.) L N วิธีทํา เนื่องจาก KL // MN ทําให 120° + x = 180°


TH

ดังนั้น x = 180° + 120° = 60°


120° x°
จะไดมุม x กาง 60 องศา ตอบ
K M

2.) วิธีทํา เนื่องจาก KL // MN ทําให (50°+x) + (x+15°) = 180°


K L
(50+x°) 50 + x + x + 15 = 180
(x+15°) 2x + 65 = 180
M N 2x = 180 – 65 = 115
115
x = = 57.5°
2
จะไดมุม x = 57.5° ตอบ
-3-

2. เสนขนานและมุมแยง
พิจารณารูปตอไปนี้

จากรูป เรียก â และ b̂ วาเปนมุมแยง


c b และ เรียก ĉ และ d̂ วาเปนมุมแยงเชนกัน
a d

ทฤษฎีบท ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัดแลว


มุมแยงมีขนาดเทากัน

T
ตัวอยางที่ 2

DE
R
จากรูป 1̂ + 3̂ = 180°
Q 3 1 4
เพราะเปนมุมที่ประกอบกันเปนเสนตรง
2 T 2̂ + 4̂ = 180°
ถา QR // ST แลว 1̂ = 2̂
CA
S เพราะเปนมุมแยง
แลว 3̂ = 4̂
ตัวอยางที่ 3

1.) A จากรูป จงหาขนาดของ AĈD + DĈE


55° D
AI

วิธีทํา จากรูป AB // CD ทําให BÂC = AĈD เพราะเปนมุมแยงกัน


45°
B C E เมื่อ BÂC = 55° แลวทําให AĈD = 55° เชนกัน
จาก ∆ABC ผลรวมของมุมภายในของ ∆ ตองเทากับ 180 องศา
TH

ทําให AB̂C + BĈA + CÂB = 180°


45° + BĈA + 55° = 180°
ดังนั้น BĈA = 180° – 45° – 55°
BĈA = 80°
จาก BE ; BĈA + AĈD + DĈE = 180°
80° + 55° + DĈE = 180°
ดังนั้น DĈE = 180° – 80° – 55°
DĈE = 45°
ทําใหทราบวาขนาดของ AĈD + DĈE = 55° + 45° = 100° ตอบ
-4-

2.) B A จากรูป จงหาขนาดของ CD̂E


120°
วิธีทํา เราสรางเสนสมมติที่ขนานกับ BA โดยมีจุดเริ่มตนที่จุด C
C 108° B A
ดังนี้ 120°

E D C 108
x
°–x
F

E D
จากรูป จะได AB̂C และ BĈF เปนมุมที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด
เมื่อ AB // CF จะได 120°+ (108°– x)° = 180°
120°+ 108° – x° = 180°

T
ดังนั้น x = 120° + 108° - 180°

จะได x̂ หรือ FĈD = 48°


DE
เนื่องจาก CF // DE ทําให FĈD = CD̂E
CA
ดังนั้น CD̂E = FĈD = 48° ตอบ
การใชมุมแยงเพื่อยืนยันการขนานกันของเสนตรงคูใด ๆ เปนตามทฤษฎีบทดังนี้

ทฤษฎีบท เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกันก็ตอเมื่อ


AI

มุมแยงมีขนาดเทากัน
TH

3.) M R S N จากรูป จงหาขนาดของ x̂ + ŷ



วิธีทํา จาก OP จะได 38° + x° + 62° = 180°
38° x 62° ทําใหได x° = 180° – 38° – 62°
O Q P = 80°
จากรูป MN // OP ทําให y° และ 62° เปนมุมที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด
จะได y° + 62° = 180°
y° = 180° – 62°
y° = 118°
ดังนั้น x̂ + ŷ = 80 + 118 = 198 องศา ตอบ
-5-

3. เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
พิจารณารูปตอไปนี้

1 2 จากรูป เรียก 1̂, 2̂, 7̂ และ 8̂ วามุมภายนอก


3 4 และ เรียก 3̂, 4̂, 5̂ และ 6̂ วามุมภายใน
56 ในทํานองเดียวกัน เรียก 1̂ และ 5̂ , 2̂ และ 6̂ และมุมคูอื่น ๆ
78
ในลักษณะนี้วา มุมภายนอกและมุมภายใน ที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดดวย
รูปที่ 1

A 12 B จากรูป AB // CD จะได 1̂ = 5̂, 2̂ = 6̂, 3̂ = 7̂ และ 4̂ = 8̂

T
34
โดยแตละคูเปนมุมภายนอก ที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดดวย

DE
5 6 จะไดทฤษฎีบทตอไปนี้
C 78 D
รูปที่ 2
CA
ทฤษฎีบท ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัดแลวมุมภายในและมุมภายนอก
ที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด มีขนาดเทากัน

ซึ่งจากทฤษฎีบทขางตน จะมีวิธีพิสูจนมากมาย และมีทฤษฎีบทกลับดวย แตนอง ๆ สามารถอานเพียงทฤษฎีบทขางตน


AI

ใหเขาใจ ก็สามารถแกปญหาโจทยเกีย่ วกับเสนขนานไดแลวครับ

4. เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
TH

จากที่เราทราบมาแลววา “ ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยม รวมกันเทากับ 180° ”


D C E จากรูป BÂC = AĈD
เพราะเปนมุมแยง
และ AB̂C = BĈE
จะได AĈD + AĈB + BĈE = 180° เพราะมุมทั้งสามประกอบกันเปน DE
A B
ทําใหเราไดผลลัพธไดวา BÂC + AĈB + AB̂C = 180° เชนกัน
-6-

มีอีกมุมหนึ่งทีน่ าสนใจครับ
B
2 จากรูป 1̂ + 2̂ + 3̂ = 180° (ผลรวมของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม)
จะได 3̂ = 180° – ( 1̂ + 2̂ ) ---------- ①
1 3 4 และ 3̂ + 4̂ = 180° เพราะทั้งสองมุมประกอบกันเปนสวนของเสนตรง
A C D
จะได 3̂ = 180° – 4̂ ---------- ②
เมื่อ ① =② ; 180° – ( 1̂ + 2̂ ) = 180° – 4̂
จะได 1̂ + 2̂ = 4̂

จากการพิสูจนตาง ๆ ขางตนทําใหเราไดทฤษฎีบทตอไปนี้

T
ทฤษฎีบท ถาตอดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป

DE
มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเทากับผลบวกของขนาดของมุมภายใน
ที่ไมใชมุมประชิดของมุมภายนอกนั้น
CA
จงตอบคําถามตอไปนี้

1.) C B จากรูป กําหนดให AB // CD จงหาคา x°


42° 65°

วิธีทํา จาก ∆ ABC จะได Â + B̂ + Ĉ = 180°
AI

D A Â + 65° + 42° = 180°


 = 180° – (65° + 42°)
= 73°
TH

โดยที่ Â และ x̂ เปนมุมแยง


ดังนั้น x̂ = Â = 73° ตอบ

2.) A D จากรูป กําหนดให AB เปนฐานของ ∆ หนาจัว่ ABC จงหาคาของ x̂ − ŷ


E วิธีทํา จากรูป AĈB = EĈF



B 25° C 35°
จะได AĈB = 35°
G F จาก DG จะได x̂ + AĈB + 25° = 180°
x̂ + 35° + 25° = 180°
x̂ = 180° – (35° + 25°)
x̂ = 120°
-7-

จาก ∆ หนาจัว่ ABC เมื่อ AĈB เปนมุมยอดมีขนาด 35°


ทําใหมุมที่ฐานของ ∆ มีขนาดเทากัน
จะได CÂB + AB̂C + AĈB = 180° โดยที่ CÂB = AB̂C
2 CÂB + 35° = 180°
2 CÂB = 180° – 35° = 145°
145°
CÂB หรือ ŷ = = 72.5°
2
ดังนั้น x̂ − ŷ = 120° – 72.5° = 47.5° ตอบ
E
3.) จากรูป กําหนดให AB // CD มี CĜF = (2x + 2y)° และ DĤF = (5y – 8)°
A 132° B
จงหาคาของ x + 2y
100° F

T
วิธีทํา พิจารณา AB จะได AF̂E + EF̂B = 180°

DE
(2x + 2y°) (5y – 8°)
AF̂E + 132° = 180°
C G H D
AF̂E = 180° – 132° = 48°
AF̂E = BF̂H ทําให BF̂H = 48° เชนกัน
CA
จากเรื่องขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด รวมกันเทากับ 180°
ทําใหได BF̂H + FĤD = 180°
48° + (5y – 8) ° = 180°
5y – 8 = 180° – 48° = 132°
AI

132° + 8°
y =
5
140
= = 28
TH

5
และจากหลักการเดียวกัน ทําใหได AF̂G + FĜC = 180°
100° + (2x+2y) = 180°
แทนคา y = 28 ในสมการ ;
100 + (2x + 2 (28)) = 180°
100 + 2x + 56 = 180°
2x = 180° – (100 + 56)
2x = 24
24
2x = = 12
2
ดังนั้น x + 2y = 12 + 2 (28) = 68 ตอบ
ÌÌÌ

You might also like