2010-09-27 สรุปมาตราหนี้

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

1

สรุปเฉพาะมาตราตามเอกสารการเรียน – กฎหมายลักษณะหนี:้ หลักทั่วไป (อ.จุณวิทย์ )


ภาคบัณฑิต ๑/๒๕๕๓ สอบวันพฤหัสบดีท่ ี ๗ ต.ค. ๕๓ (๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐)
หัวเรื่อง มาตรา สาระสาคัญ / องค์ ประกอบ / องค์ ประกอบและผล ผล หมายเหตุ / ความเชื่อมโยง ม. อื่น
ชีทชุดที่ ๑ – ความหมายทั่วไป / วัตถุแห่ งหนี ้ / ทรัพย์ ซ่ งึ เป็ นวัตถุแห่ งการชาระหนี ้ / วัตถุแห่ งการชาระหนีเ้ ป็ นเงินตรา / การอันพึงกระทาเพื่อชาระหนีม้ ีหลายอย่ าง
บ่อเกิดแห่งหนี ้ ๑๙๔  ด้ วยอํานาจแห่งมูลหนี ้ เจ้ าหนี ้ย่อมมีสท ิ ธิจะเรี ยกให้ ลกู หนี ้ชําระหนี ้ นิตเิ หตุของบ่อเกิดแห่งหนี ้ ได้ แก่
(วัตถุแห่งหนี ้ คือ เนือ้ หาสาระ  อนึ่งการชําระหนี ้ด้ วยงดเว้ นการอันใดอันหนึ่งก็ย่อมมีได้  ละเมิด (๔๒๐)

ความผูกพันระหว่างเจ้าหนี ้  จัดการงานนอกสัง่ (๓๙๕ , ๔๐๑)

กับลูกหนี ้ ได้แก่ หนีก้ ระทา  ลาภมิควรได้ (๔๐๖)

การ หนีง้ ดเว้นกระทาการ ตามบทบัญญัตแิ ห่ง กม. เช่น บุตรจําต้ อง


และหนีส้ ่งมอบทรัพย์สิน) อุปการะเลี ้ยงดูบดิ ามารดา (๑๕๖๓)
ทรัพย์ ซึงเป็ นวัตถุแห่ งหนี ้ ๑๙๕ ว.๑  ทรัพย์ซึ่งเป็ นวัตถุแห่งการชําระหนี ้ ระบุไว้ แต่เพียงประเภท (quality) และ ลูกหนี ้ต้ องส่งมอบทรัพย์ชนิด กรณีที่อาจสันนิษฐานเจตนาของคูก่ รณีได้ แล้ ว
 ไม่อาจกําหนดได้ ว่าเป็ นทรั พย์ชนิดใด ตามสภาพแห่งนิตก ิ รรม หรื อ ปานกลาง เช่น ในครัง้ ก่อนๆ นันได้
้ สง่ มอบของชนิดที่ดีที่สดุ
เจตนาของคูก่ รณี เสมอมา จะส่งมอบชนิดปานกลางไม่ได้
การทําที่ทําให้ ทรัพย์ ๑๙๕ ว.๒  ลูกหนี ้ได้ กระทําการอันตนจะพึงต้ องกระทําเพื่อส่งมอบทรัพย์สงิ่ นันทุ ้ ก ทรัพย์นนเป็ ั ้ นวัตถุแห่งหนี ้ ผลทาง กม. เกี่ยวกับ - การโอนกรรมสิทธิ์ (๔๕๘,
กลายเป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่ ประการแล้ ว หรื อ จําเดิมแต่เวลานันไป ้ ๔๖๐) ภัยพิบตั ิ (๓๗๐) การชําระหนี ้กลายเป็ น
 ลูกหนี ้ได้ เลือกกําหนดทรั พย์ที่จะส่งมอบแล้ วด้ วยความยินยอมของเจ้ าหนี ้ พ้ นวิสยั (๒๑๘, ๒๑๙) การดูแลรักษาและส่ง
มอบทรัพย์ (๓๒๓) สถานที่ชําระหนี ้ (๓๒๔)
วัตถุแห่ งการชาระหนีเ้ ป็ น ๑๙๖  วัตถุแห่งการชําระหนี ้เป็ นเงินตรา จะส่งใช้ เป็ นเงินไทยก็ได้ โดย
เงินตรา  ถ้ าหนี ้เงินได้ แสดงไว้ เป็ นเงินต่างประเทศ คิดตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ
สถานที่และในเวลาที่ใช้ เงิน
หนี ้เงินตราที่เลิกใช้ แล้ ว ๑๙๗  ระบุวา ่ เป็ นเงินตราชนิดในชนิดหนึ่งโดยเฉพาะซึ่งเป็ นชนิดที่ยกเลิกไม่ใช้ ถือเสมือนว่าไม่มีการระบุไว้
แล้ วในเวลาที่จะต้ องส่งเงินใช้ ให้ ใช้ เป็ นเงินตราชนิดนัน้
สิทธิในการเลือกชาระหนี ้ ๑๙๘  การอันพึงกระทําเพื่อการชําระหนี ้มีหลายอย่าง สิทธิในการเลือกเป็ นของ
(การอันพึงกระทํามีหลาย  ลูกหนี ้จะต้ องกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งแต่อย่างเดียว ลูกหนี ้
อย่าง ต้ องเลือกอย่างเดียว)  ถ้ าไม่ได้ ตกลงกําหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


2

วิธีการเลือกการชําระหนี ้ ๑๙๙  กระเลือกกระทําโดยแสดงเจตนาต่อคูก่ รณีอีกฝ่ ายหนึ่ง สิง่ นันเป็


้ นวัตถุแห่งการชําระ ต้ องดูวา่ เป็ นการแสดงเจตนาต่อผู้อยู่เฉพาะหน้ า
และผลของการเลือก  เมื่อได้ เลือกการชําระหนี ้เป็ นอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ ว หนี ้มาแต่ต้น หรื ออยู่ห่างโดยระยะทางด้ วย
สิทธิในการเลือกกรณีมี ๒๐๐ ว.๑  ถ้ ามีกําหนดเวลา ฝ่ ายมีสทิ ธิเลือกต้ องต้ องใช้ สทิ ธิเลือกภายในเวลาที่ สิทธิเลือกตกไปอยู่กบั อีกฝ่ าย
กําหนดเวลา กําหนด แต่ถ้าถึงกําหนดเวลาแล้ วฝ่ ายมีสทิ ธิเลือกไม่ใช้ สทิ ธิเลือก
กรณีไม่ได้ กําหนดเวลา ๒๐๐ ว.๒  ถ้ าไม่มีกําหนดเวลา และเมื่อหนี ้ถึงกําหนดชําระแล้ ว ฝ่ ายไม่มีสทิ ธิเลือกอาจกําหนดเวลาพอสมควร
แล้ วบอกกล่าวให้ ฝ่ายมีสทิ ธิเลือกทําการเลือกภายในกําหนด
บุคคลภายนอกเป็ นผู้เลือก ๒๐๑ ว.๑  ในกรณีที่กําหนดให้ บุคคลภายนอกเป็ นผู้มีสทิ ธิเลือก บุคคลภายนอกต้ องแสดงเจตนาเลือกต่อลูกหนี ้
และลูกหนี ้ต้ องแจ้ งความนันแก่
้ เจ้ าหนี ้
๒๐๑ ว.๒  ถ้ าบุคคลภายนอกไม่ประสงค์จะเลือกหรื อไม่เต็มใจเลือกภายใน สิทธิที่จะเลือกนันตกเป็
้ นของฝ่ ายลูกหนี ้
ระยะเวลาที่กําหนดไว้
การชําระหนี ้บางอย่างตกเป็ น ๒๐๒  การอันพึงกระทําเพื่อชําระหนี ม ้ ีหลายอย่าง ๑) จํากัดการเลือกชําระหนี ้  ถ้ าเจ้ าหนี ้ (ผูซ้ ื ้อ) มีสทิ ธิเลือก และเลือก
พ้ นวิสยั (ก่อนการเลือก)  การพึงอันกระทําอย่างใดอย่างหนึ่งตกเป็ นพ้ นวิสย ั แต่ต้นหรื อภายหลัง เฉพาะเท่าที่เหลืออยู่ ทรัพย์ที่พ้นวิสยั ไปแล้ ว ดู ๒๑๘
(ถ้าหลังการเลือกเข้า ม.๒๑๘ ๑) ถ้ าเป็ นความผิดของฝ่ ายไม่มีสทิ ธิเลือก (ผูซ้ ื ้อ หรื อเจ้าหนี )้ ๒) ไม่มีการจํากัดการเลือก  ถ้ าลูกหนี ้ (ผูซ้ ื ้อ) มีสทิ ธิเลือก และเลือก
หรื อ ม.๒๑๙) ๒) ถ้ าเป็ นความผิดของฝ่ ายมีสทิ ธิเลือก (ลูกหนี ้ในการส่งมอบทรัพย์ ) (เลือกสิง่ ที่พ้นวิสยั ก็ได้ ) ทรัพย์ที่พ้นวิสยั ไปแล้ ว ดู ๒๑๙
ชีทชุดที่ ๒ – การชาระหนีก้ ลายเป็ นพ้ นวิสัย / ผลของการชาระหนีก้ ลายเป็ นพ้ นวิสัย / หลักทั่วไปของการชาระหนีส้ ัญญาต่ างตอบแทน / หลักเกณฑ์ เรื่องการรับความเสี่ยงภัยพิบัติ
การชะหนี ้กลายเป็ นพ้ นวิสยั ๒๑๘ ว.๑  การชําระหนี ้กลายเป็ นพ้ นวิสยั ลูกหนี ้จะต้ องใช้ คา่ สินไหม ดูวา่ ลูกหนีใ้ ช้ ความระมัดระวังตํ่ากว่าที่ กม.
เพราะพฤติการณ์ที่ลกู หนี ้ต้ อง  เพราะพฤติการณ์ อน ั ใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี ้ต้ องรับผิดชอบ ทดแทนให้ แก่เจ้ าหนี ้เพื่อ กําหนดหรื อไม่ (ดู ๓๒๓ ว.๒ ประกอบ)
รับผิดชอบ ค่าเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิด  ถ้ าลูกหนี ้เป็ นฝ่ ายวางมัดจํา เจ้ าหนี ้ริบมัดจํา
แต่การไม่ชําระหนี ้นัน้ ได้ (๓๗๘(๒))
๒๑๘ ว.๒  กรณีพ้นวิสยั แต่เพียงบางส่วน เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิปฏิเสธไม่  ถ้ าเจ้ าหนี ้เป็ นฝ่ ายวางมัดจํา เจ้ าหนี ้มีสท
ิ ธิ
 หากส่วนที่ยงั เป็ นวิสยั เป็ นการไร้ ประโยชน์แก่เจ้ าหนี ้ ยอมรับชําระหนี ้และเรี ยกค่า เรี ยกให้ สง่ มัดจําคืน (๓๗๘(๓))
สินไหมทดแทนเพื่อการไม่  เจ้ าหนี ้มีสท ิ ธิเลิกสัญญา (๓๘๙)
ชําระหนี ้ทังหมดก็
้ ได้  เจ้ าหนี ้มีสท ิ ธิในช่วงทรัพย์ (๒๒๘)

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


3

การชะหนี ้กลายเป็ นพ้ นวิสยั ๒๑๙ ว.๑  การชําระหนี ้กลายเป็ นพ้ นวิสยั จะทําได้ ลูกหนี ้หลุดพ้ นจากการชําระ นอกจากนัน้ เจ้ าหนี ้ยังมีสทิ ธิในช่วงทรัพย์ (๒๘๘)
เพราะพฤติการณ์ที่ลกู หนี ้ไม่  เพราะพฤติการณ์อนั ใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี ้ไม่ต้องรับผิดชอบแล้ ว หนี ้ รวมถึงหลุดพ้ นจากการรับ
ต้ องรับผิดชอบ ๒๑๙ ว.๒  ถ้ าภายหลังที่ได้ ก่อหนี ้ขึ ้นแล้ ว ลูกหนี ้กลายเป็ นคนไม่สามารถจะชําระหนี ้ ผิดใดๆ อันเกิดจากการไม่อาจ ๒๑๙ ว.๒ กรณีที่ลกู หนี ้ต้ องชําระหนี ้ด้ วยตนเอง
ได้ ให้ ถือเสมือนว่าเป็ นพฤติการณ์ที่ทําให้ การชําระหนี ้ตกเป็ นอันพ้ นวิสยั ชําระหนี ้ได้ (สินไหมทดแทน) อาทิ หนี ้กระทําการใช้ ความสามารถเฉพาะ
กรณีลกู หนี ้ใช้ ตวั แทนชําระ ๒๒๐  ลูกหนี ้ต้ องรับผิดชอบในความผิดของตัวแทนแห่งตนกับทังของบุ ้ คคลที่ตน ม. ๓๗๓ ความตกลงทําไว้ ลว่ งหน้ าเป็ นข้ อความ
หนี ้ ใช้ ในการชําระหนี ้นันโดยขนาดเสมอกั
้ บว่าเป็ นความผิดของตนเองฉะนัน้ ยกเว้ นมิให้ ลกู หนี ้ต้ องรับผิดเพื่อกลฉ้ อฉล หรื อ
 แต่บทบัญญัตแิ ห่ง ม.๓๗๓ หาใช้ บงั คับแก่กรณีเช่นนี ้ด้ วยไม่ ความประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรงของตนนัน้
ท่านว่าเป็ นโมฆะ
ผลของสัญญาต่ างตอบ ๓๖๙ ในสัญญาต่างตอบแทนนัน้ คูส่ ญ
 ั ญาฝ่ ายหนึ่งมีสทิ ธิที่จะไม่ชําระหนี ้ ขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้ อาทิ มีเงินพร้ อมจะชําระ
แทน (บทหลัก) จนกว่าอีกฝ่ ายหนึ่งจะชําระหนี ้ หรื อขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้ หนี ้แล้ ว / การปรับ ม.๓๖๙ ต้ องดูบทยกเว้ นใน
 เว้ นแต่หนี ้ของอีกฝ่ ายหนึ่งยังไม่ถึงกํ าหนด ม.๓๗๐ – ๓๗๒ ก่อน
สัญญาต่างตอบแทนมี ๓๗๐ ว.๑ หลักเกณฑ์ การสูญหายหรื อเสียหายตก  จะเข้ า ม.๓๗๐ ได้ นนั ้ ต้ องครบองค์ประกอบ
วัตถุประสงค์โอนทรัพย์ (บทยกเว้ น)  สัญญาต่างตอบแทน เป็ นพับแก่เจ้ าหนี ้  เจ้ าหนี ้ (ผูซ ้ ื ้อ) ต้ องไม่ผดิ ด้ วย
เฉพาะสิง่  มีวต ั ถุประสงค์เป็ นการก่อให้ เกิดหรื อโอนทรัพย์สทิ ธิ กรณีท่ ีไม่ ใช่ ม.๓๗๐ หากโทษลูกหนีไ้ ด้ ผลคือ
 ในทรั พย์ เฉพาะสิ่ง (เจ้าหนีต้ อ้ งรับชาระหนีเ้ ต็ม)  ลูกหนี ้ต้ องรับผิดชดใช้ ค่าสินไหมทดแทน
 ทรัพย์นนสูั ้ ญหายหรื อเสียหายไป (เกิ ดภัยพิบตั ิ ทาให้การชาระหนี ห้ รื อส่ง ตาม ม.๒๑๘
มอบทรัพย์ของลูกหนี ้ คือ ผูข้ าย กลายเป็ นพ้นวิสยั ) (ลูกหนี ้หลุดพ้ นจากการชําระ  ลูกหนี ้ไม่มีสทิ ธิได้ รับชําระหนี ้ตอบแทน (หรื อ
 ด้ วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษลูกหนี ้ไม่ได้ หนี ้ ตาม ม.๒๑๙ โดยไม่ต้อง เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิปฏิเสธไม่รับชําระหนี ้ ม.๓๖๙)
ชําระค่าเสียหายอย่างอื่น  เจ้ าหนี ้มีสท ิ ธิเลิกสัญญา ตาม ม.๓๘๙ และ
ทดแทนด้ วย) เรี ยกค่าเสียหายได้ ตาม ม.๓๙๑ ว.ท้ าย
๓๗๐ ว.๒  ถ้ าไม่ใช่ทรัพย์เฉพาะสิง่ ใช้ บทบัญญัตทิ ี่กล่าวมาในวรรคก่อนนี ้บังคับแต่ ถ้ าไม่ใช่ทรัพย์เฉพาะสิง่ ก็ไม่เข้ า ม.๓๗๐ ว.๑
(บทยกเว้ น) เวลาที่ทรัพย์นนกลายเป็
ั้ นทรัพย์เฉพาะสิง่ ตาม ม.๑๙๕ ว.๒ นันไป้

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


4

สัญญาต่างตอบแทน ๓๗๑ ว.๑ หลักเกณฑ์ ไม่ให้ นําบทบัญญัตขิ อง ม.  หากเงื่อนไขบังคับก่อนสําเร็จแล้ ว และถ้ า


มีเงื่อนไขบังคับก่อน (บทยกเว้ น)  สัญญาต่างตอบแทน ๓๗๐ มาใช้ บงั คับ ผลคือ ภัยพิบตั ไิ ม่ได้ เกิดจากความผิดของลูกหนี ้
 มีวต
ั ถุประสงค์เป็ นการก่อให้ เกิดหรื อโอนทรัพย์สทิ ธิ ภัยพิบตั ไิ ม่ตกเป็ นพับแก่ กลับไปใช้ ม.๓๗๐ว.๑ ผลคือ ลูกหนี ้หลุดพ้ น
 ในทรั พย์ เฉพาะสิ่ง เจ้ าหนี ้ จากการชําระหนี ้ โดยผลของ ม.๒๑๙
มาตรา ๑๘๓ ว.๑ “นิติกรรม  สัญญาอยู่ภายใต้ เงื่อนไขบังคับก่อน มาตรา ๑๘๒ “ข้อความใดอันบังคับไว้ให้นิติ
ใดมีเงือ่ นไขบังคับก่อน นิติ  ทรัพย์อน ั เป็ นวัตถุแห่งสัญญาที่อยู่ภายใต้ เงื่อนไขบังคับก่อนนันสู
้ ญหาย (ลูกหนีไ้ ม่มีสิทธิ ได้รบั ชาระ กรรมเป็ นผลหรื อสิ้นผลต่อเมือ่ มีเหตุการณ์ อนั ไม่
กรรมนัน้ ย่อมเป็ นผลต่อเมือ่ หรือถูกทาลายไปทัง้ หมด (ไม่มีทรัพย์เหลืออยู่) หนีต้ อบแทนจากเจ้าหนี )้ แน่นอนว่าจะเกิ ดขึ้นหรื อไม่ในอนาคต ข้อความ
เงือ่ นไขนัน้ สาเร็จแล้ว”  ความสูญหายหรื อถูกทําลายเกิดขึ ้นระหว่างเงื่อนไขยังไม่สําเร็ จ (กรรม นัน้ เรี ยกว่าเงือ่ นไข”
สิทธ์ ยงั ไม่โอน)
๓๗๑ ว.๒ หลักเกณฑ์ เมื่อเงื่อนไขสําเร็จแล้ ว เจ้ าหนี ้ ม.นี ้บอกว่าเมื่อเงื่อนไขสําเร็จ สัญญาจะเกิด
(บทยกเว้ น)  สัญญาต่างตอบแทน มีสทิ ธิเลือก ๒ ประการ คือ ดังนัน้ เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิ/ลูกหนีม้ ีหน้ าที่อะไรบ้ าง
 มีวตั ถุประสงค์เป็ นการก่อให้ เกิดหรื อโอนทรัพย์สทิ ธิ ๑) เรี ยกให้ ชําระหนี ้โดยลด
 ในทรั พย์ เฉพาะสิ่ง ส่วนที่ตนต้ องชําระลง มาตรา ๑๘๗ “ถ้าเงือ่ นไขสาเร็จแล้วในเวลาทา
 สัญญาอยู่ภายใต้ เงื่อนไขบังคับก่อน ตามสัดส่วนความเสีย นิติกรรม หากเป็ นเงือ่ นไขบังคับก่อนให้ถือว่านิติ
 ทรัพย์อน ั เป็ นวัตถุแห่งสัญญาที่อยู่ภายใต้ เงื่อนไขบังคับก่อนนันเสี
้ ยหาย หายของตัวทรัพย์ หรื อ กรรมนัน้ ไม่มีเงือ่ นไข”
(ทรัพย์คงมีอยู่แต่เสียหาย -- ต่างจาก ว.๑ ซึ่งเป็ นกรณี ทรัพย์สูญหาย) ๒) เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิบอกเลิก
 ความเสียหายเกิดขึ ้นระหว่างเงื่อนไขยังไม่สําเร็ จ (กรรมสิ ทธ์ ยงั ไม่โอน) สัญญา
 ความเสียหายเกิดจากเหตุอน ั โทษเจ้ าหนี ้ไม่ได้
 นอกจากนัน้ หากความเสียหายที่เกิดขึ ้นสามารถโทษลูกหนี ้ได้ แล้ ว เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิเรี ยกค่าสินไหม
ทดแทนเพิ่มเติมจากความ
เสียหายที่เกิดขึ ้นได้ อีกด้ วย
การชําระหนี ้ตกเป็ นพ้ นวิสยั ๓๗๒ ว.๑ หลักเกณฑ์ ลูกหนี ้ไม่มีสทิ ธิได้ รับชําระหนี ้
โดยโทษใครไม่ได้ (บททัว่ ไป)  สัญญาต่างตอบแทน ตอบแทน
 ต้ องไม่ใช่กรณี ที่กําหนดไว้ ตาม ม.๓๗๐ และ ม.๓๗๑

 การชําระหนี ้ของลูกหนี ้ตกเป็ นพ้ นวิสย


ั โดย
 โทษฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่ได้

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


5

การชําระหนี ้ตกเป็ นพ้ นวิสยั ๓๗๒ ว.๒ หลักเกณฑ์  ลูกหนี ห ้ ลุดพ้นจากการชาระหนี ้ ตาม ม.๒๑๙
โดยโทษเจ้ าหนี ้ได้  สัญญาต่างตอบแทน ลูกหนี ้มีสทิ ธิรับชําระหนี ้ตอบแทน (เนือ่ งจากเกิ ดจากความผิดของเจ้าหนี )้ แต่อาจ
 ต้ องไม่ใช่กรณี ที่กําหนดไว้ ใน ม.๓๗๐ และ ม.๓๗๑ (ไม่มีวต ั ถุประสงค์ใน ไม่ได้ รับชําระหนี ้เต็มจํานวน เพราะต้ องหักสิง่ ที่ลกู หนี ้ควรได้ มา (ถ้ ามี) คือ
การก่อให้เกิ ดหรื อโอนทรัพยสิทธิ ทีเ่ ป็ นทรัพย์เฉพาะสิ่ง) ๑) ได้ มาเพราะการปลดหนี ้ หรื อได้ มาเพราะไม่ต้องชําระหนี ้ (ไม่ตอ้ งเสียค่ารถ
 การชําระหนี ้ขอลูกหนี ้ตกเป็ นพ้ นวิสย ั โดย เดินทางมาทาสี / ไม่เสียค่าอุปกรณ์ ทาฟัน)
 โทษเจ้ าหนี ้ได้ ๒) ได้ มาเพราะใช้ ความสามารถไปหาประโยชน์อย่างอื่นในขณะไม่ต้องชําระหนี ้
 ถือว่ าโทษเจ้ าหนี ้ได้ เพราะเจ้ าหนี ้ผิดนัด ๓) ไม่ได้ มาเพราะแกล้ งละเลยไม่ขวนขวายเอาอะไรที่สามารถจะทําได้
ชีทชุดที่ ๓ – หลักเกณฑ์ ในการบังคับให้ ลูกหนีช้ าระหนี ้ / กาหนดเวลาชาระหนี ้ / ลูกหนีผ้ ิดนัด + ผล + ข้ อแก้ ตัว / เจ้ าหนีผ้ ิดนัด + ผล + ข้ อแก้ ตัว
การเรี ยกให้ ชําระหนี ้กรณี ๒๐๓ ว.๑  ถ้ ากําหนดเวลาชําระหนี ้ไม่ได้ ตกลงไว้ แน่นอน หรื อ เจ้ าหนี ้เรี ยกให้ ลกู หนี ้ชําระได้
ไม่ได้ กําหนดเวลา  อนุมานจากพฤติการณ์ ทงปวงไม่ ั้ ได้ โดยพลัน ลูกหนี ้ก็ย่อมจะ
ชําระหนี ้ของตนดุจพลันกัน
กําหนดเวลาชําระหนี ้ไว้ แต่ ๒๐๓ ว.๒  ถ้ าได้ กําหนดเวลาชําระหนี ้ไว้ แต่หากกรณีเป็ นที่สงสัย เจ้ าหนี ้ไม่สามารถเรี ยกให้
เป็ นที่สงสัย ลูกหนี ้ชําระหนี ้ก่อนได้ แต่ลกู
หนี ้สามารถชําระหนี ้ก่อนได้
หนี ้มูลละเมิด ๒๐๖  ในกรณี หนี ้อันเกิดแต่มล ู ละเมิด ลูกหนี ้ได้ ขึ ้นชื่อว่าผิดนัดตังแต่

ได้ มีการทําละเมิด
ลูกหนี ้ขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้ ๒๐๘ ว.๑  ลูกหนี ้จะต้ องขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้ต่อเจ้ าหนี ้โดยตรง การชําระหนี ้จะให้ เสร็จผล การขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้ต้ องชอบด้ วย กม.
๒๐๘ ว.๒  กรณีที่คําบอกกล่าวของลูกหนี ้ถือเสมือนกับการขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้ คําบอกกล่าวของลูกหนี ้ถือ ทุกประการ เช่น ตามกําหนดเวลา สถานที่ และ
โดยลูกหนี ้ไม่ต้องขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้โดยตรง ได้ แก่ เสมือนคําขอปฏิบตั กิ ารชําระ ชําระให้ บคุ คลผู้มีสทิ ธิรับชําระแทนเจ้ าหนี ้
๑) เจ้ าหนี ้แสดงว่าจะไม่รับชําระหนี ้ หนี ้
๒) เจ้ าหนี ้ต้ องกระทําการบางอย่างเพื่อให้ ลกู หนี ้สามารถชําระหนี ้ได้
แต่เจ้ าหนี ้ไม่ทํา
การขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้ ๒๐๙  ถ้ าได้ กําหนดเวลาไว้ แน่นอนเพื่อให้ เจ้ าหนี ้กระทําการอันใด การขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้
กรณีเจ้ าหนี ้มีหน้ าที่กระทํา จะต้ องทําก็ตอ่ เมื่อเจ้ าหนี ้ได้
การบางอย่าง กระทําการนันภายในกํ
้ าหนด

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


6

ลูกหนีผ้ ิดนัด ๒๐๔ ว.๑  กรณีหนี ้ถึงกําหนดเวลาชําระแล้ ว และหลังจากนันเจ้


้ าหนี ้ได้ ให้ คําเตือน ลูกหนี ้ได้ ชื่อว่าผิดนัด เพราะ ลูกหนี ้ผิดนัด Checklist
(ต้ องเตือน) ลูกหนี ้แล้ ว หากลูกหนี ้ยังไม่ชําระหนี ้ เขาเตือนแล้ ว ๑) หากําหนดเวลาชําระหนี ้ (ตามปฏิทินหรื อไม่)
๒๐๔ ว.๒  หนี ้มีกําหนดเวลาตามปฏิทิน หรื อมีกําหนดเวลาชําระโดยสามารถ ลูกหนี ้ตกเป็ นลูกหนีผ้ ดิ นัด ๒) หนี ้ถึงกําหนดหรื อไม่
(ไม่เตือน) คํานวณตามปฏิทินจากวันบอกกล่าว หากลูกหนี ้ไม่ชําระหนี ้ตามกําหนด โดยมิพกั ต้ องเตือน ๓) ต้ องเตือนหรื อไม่
๔) มีข้อแก้ ตวั หรื อไม่
๕) แล้ วจึงวินิจฉัยว่าลูกหนี ้ผิดนัดหรื อไม่
ข้ อแก้ ตวั ของลูกหนี ้ ๒๐๕  ตราบใดการชําระหนี ้นันยั ้ งมิได้ กระทําลง ตราบนันลู ้ กหนี ้ยังได้ หาชื่อว่า อาทิ เหตุสดุ วิสยั ภัยธรรมชาติ ตัวเจ้ าหนี ้เอง (ไม่
 เพราะพฤติการณ์อนั ใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี ้ไม่ต้องรับผิดชอบ ผิดนัดไม่ อยู่รับชําระหนี ้) หรื อบุคคลภายนอก
ผลของลูกหนี ้ผิดนัด ๒๑๕  เมื่อลูกหนี ้ไม่ชําระหนีใ้ ห้ ต้องตามความประสงค์อนั แท้ จริงแห่งมูลหนี ้ เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิเรี ยกค่าสินไหม ม.นี ้เป็ นรากฐานในการรับผิดทางสัญญาทังหมด ้
ทดแทนเพื่อความเสียหายอัน
เกิดจากการนันได้ ้
ลูกหนี ้ผิดนัดทําให้ การชําระ ๒๑๖  โดยเหตุผดิ นัด ทําให้ การชําระหนี ้กลายเป็ นอันไร้ ประโยชน์แก่เจ้ าหนี ้ เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิบอกปั ดไม่รับ  กรณี หนี ้ไม่ใช่หนี ้เงิน และต้ องดูด้วยว่า

หนี ้ไร้ ประโยชน์ (โดยมี ชําระหนี ้ และเรี ยกสินไหม กําหนดเวลาเป็ นสาระสําคัญด้ วย


ประเด็นของกาหนดเวลาเป็ น ทดแทนจากการไม่ชําระหนี ้  แต่ถ้าเจ้ าหนี ้สามารถรับชําระหนี ้แล้ วยังใช้
สาระสาคัญ) ประโยชน์ได้ กม.ก็บงั คับให้ รับก่อน แล้ วจึง
เรี ยกค่าสินไหมทดแทน
ความรับผิดของลูกหนี ้ใน ๒๑๗ ระหว่างผิดนัดลูกหนี ้จะต้ อง เป็ นลักษณะการลงโทษลูกหนี ้ที่ผิดนัด ส่งมอบ/
ระหว่างตนที่ผดิ นัด  รับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่เกิดแต่ความประมาทเลินเล่อของตน ชําระหนี ้ไม่ตรงเวลา แม้ ไม่ใช่ความผิดของลูกหนี ้
 ต้ องรับผิดชอบในการที่การชําระหนี ้กลายเป็ นพ้ นวิสย ั เพราะอุบตั เิ หตุ แต่ลกู หนี ้ก็ต้องรับผิด
 เว้ นแต่ว่าความเสียหายนัน ้ ถึงแม้ วา่ ลูกหนี ้จะได้ ชําระหนี ้ภายใน
กําหนดเวลา ก็ยงั เกิดอยู่นนั่ เอง อาทิ โรคระบาด ภัยธรรมชาติ
การคิดดอกเบี ้ยหนี ้เงินกรณี ๒๒๔ ว.๑  หนี ้เงินต้ องเสียดอกเบี ้ยผิดนัด กรณี ที่ไม่ได้ ตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น ลูกหนี ้เสียดอกเบี ้ยผิดนัด  ดอกเบี ้ยผิดนัดคิดเฉพาะช่วงผิดนัดเท่านัน้

ลูกหนี ้ผิดนัด  เจ้ าหนี ้อาจจะเรี ยกดอกเบี ้ยได้ สงู กว่านันโดยอาศั


้ ยเหตุอย่างอื่นอันชอบ ร้ อยละ ๗.๕  หากเรี ยกดอกเบี ้ยเกิน ๑๕% ตามกําหนดไว้

ด้ วย กม. ก็คงให้ สง่ ดอกเบี ้ยต่อไปตามนัน้ ใน กม. ให้ ถือสัญญาส่วนดอกเบี ้ยเป็ นโมฆะ
๒๒๔ ว.๒  ห้ ามมิให้ คดิ ดอกเบี ้ยซ้ อนดอกเบี ้ยระหว่างดอกเบี ้ยผิดนัด
๒๒๔ ว.๓  อนุญาตให้ พส ิ จู น์คา่ เสียหายอย่างอื่นนอกเหนือไปกว่านันได้ ้ (ถ้ ามี) ถ้ าคูก่ รณีไม่ร้ ู ก็ไม่สามารถเรี ยกร้ องเพิม่ ได้
สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53
7

การเรี ยกดอกเบี ้ย ๒๒๕ กรณีที่ลกู หนี ้ต้ องชดใช้ คา่ สินไหมทดแทนเพื่อ เจ้ าหนี ้เรี ยกดอกเบี ้ยในค่าสินไหมทดแทนนันได้

ในหนี ้ค่าสินไหมทดแทน  ราคาวัตถุอน ั ได้ เสื่อมไป โดยคํานวณจากเวลาอันเป็ นฐานที่ตงแห่ ั ้ งการกะประมาณราคานัน้
กรณีลกู หนี ้ผิดนัด  ราคาวัตถุอน ั ไม่อาจส่งมอบได้ ระหว่างผิดนัด
 ราคาวัตถุที่ตกตํ่าเพราะวัตถุนน ั ้ เสื่อมเสียลง
การเลิกสัญญาโดยการบอก ๓๘๗  ถ้ าคูส ่ญ
ั ญาฝ่ ายหนึ่งไม่ชําระหนี ้ อีกฝ่ ายหนึ่งจะกําหนดระยะเวลา อีกฝ่ ายหนึ่งจะเลิกสัญญา ม. ๓๘๗ ให้ โอกาสลูกหนี ้แก้ ตวั ในการชําระหนี ้
กล่าว พอสมควร แล้ วบอกกล่าวให้ ฝ่ายนันชํ ้ าระหนี ้ภายในระยะเวลานันก็ ้ ได้ เสียก็ได้ (กม.ให้สิทธิ เจ้าหนีบ้ อกเลิกสัญญากรณี ลูกหนี ้
ถ้ าและฝ่ ายนันไม่ ้ ชําระหนี ้ภายในระยะเวลาที่กําหนดแล้ ว ผิดนัด / ไม่ชาระหนีต้ ามประสงค์มูลหนี )้
การเลิกสัญญาโดยไม่ต้อง ๓๘๘  ถ้ าวัตถุประสงค์แห่งสัญญานัน้ โดยสภาพหรื อโดยเจตนาที่คส ู่ ญ
ั ญาได้ อีกฝ่ ายหนึ่งจะเลิกสัญญานัน้ ม.๓๘๘ ไม่ให้ โอกาสลูกหนี ้
บอกกล่าวก่อน แสดงไว้ จะเป็ นผลสําเร็จได้ ก็แต่ด้วยการชําระหนี ้ ณ เวลามีกําหนด หรื อ เสียก็ได้ โดยไม่ต้องบอก
ภายในระยะเวลาอันใดอันหนึ่งซึ่งกําหนดไว้ และกําหนดเวลาหรื อ กล่าวดังว่าไว้ ในมาตราก่อน (ทัง้ นี ้ ม.๓๘๗ และ ๓๘๘ เป็ นสิทธิ ของเจ้าหนีซ้ ึ่ง
ระยะเวลานันได้ ้ ลว่ งพ้ นไปโดยฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมิได้ ชําระหนี แ้ ล้ ว เจ้าหนีจ้ ะเลือกใช้หรื อไม่ก็ได้)
เจ้ าหนีผ้ ิดนัด ๒๐๗  ถ้ าลูกหนี ้ขอปฏิบต ั กิ ารชําระหนี ้ และ เจ้ าหนี ้ตกเป็ นผู้ผิดนัด ม.๒๗๐ เจ้าหนี ้ไม่รบั ชาระหนี ้ แต่
 เจ้ าหนี ้ไม่รับชําระหนี ้โดยไม่มีมล ู เหตุจะอ้ างตาม กม. ได้ ม.๒๑๐ เจ้าหนีไ้ ม่เสนอชาระหนีต้ อบแทน
เจ้ าหนี ้ผิดนัดกรณีไม่เสนอ ๒๑๐  ในกรณี ของสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งลูกหนี ้จะต้ องชําระหนี ้ส่วนของตน เจ้ าหนี ้เป็ นอันได้ ชื่อว่าผิดนัด หลักกรณีสญ ั ญาต่างตอบแทน อยู่ในม.๓๖๙ คือ
ชําระหนี ้ตอบแทน ต่อเมื่อเจ้ าหนี ้ชําระหนี ้ตอบแทนด้ วยนัน้ คูส่ ญ
ั ญาฝ่ ายหนึ่งจะไม่ยอมรับชําระหนี ้จนกว่า
 แม้ เจ้ าหนี ้จะได้ เตรี ยมพร้ อมที่จะรั บชําระหนี ้ตามที่ลก ู หนี ้ขอปฏิบตั กิ าร อีกฝ่ ายหนึ่งจะชําระหนี ้หรื อขอปฏิบตั กิ ารชําระ
(เหตุแห่งการผิดนัด) ชําระหนี ้แล้ ว แต่หากเจ้ าหนี ้ไม่เสนอที่จะทําการชําระหนี ้ตอบแทนตามที่ หนี ้ (เว้ นแต่หนี ้ของคูส่ ญ
ั ญาฝ่ ายหนึ่งยังไม่ถึง
พึงต้ องทําแล้ ว กําหนด)
ข้ อแก้ ตวั ของเจ้ าหนี ้ ๒๑๒  กรณี ที่ไม่ได้ กําหนดเวลา หรื อลูกหนี ้มีสท ิ ธิที่จะชําระหนีไ้ ด้ ก่อนกําหนด เจ้ าหนี ้ยังไม่เป็ นเจ้ าหนีผ้ ดิ นัด
 ลูกหนี ้ขอปฏิบต ั กิ ารชําระหนีต้ อ่ เจ้ าหนี ้
 เจ้ าหนี ้มีเหตุขด ั ข้ องชัว่ คราวไม่สามารถรับชําระหนี ้ได้
 เว้ นแต่ลก ู หนีไ้ ด้ บอกกล่าวการชําระหนี ้ไว้ ลว่ งหน้ าโดยเวลาอันควร

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


8

ผลของการที่เจ้ าหนี ้ผิดนัด ๒๒๑ กรณีหนี ้เงิน เจ้ าหนี ้ไม่มีสทิ ธิคิดดอกเบี ้ยในระหว่างเจ้ าหนี ้ผิดนัด
 ลูกหนี ้สามารถนําเหตุเรื่ องเจ้ าหนี ้ผิดนัดมาอ้ าง
๓๒๓ ว.๒  ลูกหนี ้ยังมีหน้ าที่ ในการใช้ ความระมัดระวังเช่นวิญญูชนพึงสงวนรักษา หนี ้ไม่ระงับ ลูกหนี ้ยังคงมี เพื่อไม่ให้ ตวั เองกลายเป็ นลูกหนี ้ผิดนัด
(เป็ นคุณแก่ลกู หนี ้ แต่ไม่ได้ ทรัพย์ของตนเอง จนกว่าจะได้ สง่ มอบทรัพย์นนั ้ หน้ าที่ต้องชําระหนี ้ ความรับผิดที่ปลดเปลื ้อง ม.๒๑๕,๒๑๖, ๒๑๗
ลงโทษเจ้ าหนี ้) ๓๓๐  ความรับผิดอันเกิดจากการไม่ชําระหนี ้ปลดเปลื ้องไป นับตังแต่ ้ ขอ
ปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้นัน้
๓๓๑  ลูกหนี ้มีสท ิ ธิชําระหนี ้โดยการวางทรัพย์ ซึ่งมีผลให้ ลกู หนี ้หลุดพ้ นจากหนี ้
๓๒๕  เจ้ าหนี ้ต้ องรั บผิดในค่าใช้ จ่ายของลูกหนี ้ที่เพิม ่ ขึ ้นกว่าปกติ
๓๗๒ ว.๒  กรณีสญ ั ญาต่างตอบแทน ถ้ าการชําระหนี ้กลายเป็ นอันพ้ นวิสยั โดยไม่ได้
เกิดจากพฤติการณ์ที่ลกู หนี ้ต้ องรับผิดชอบ ลูกหนี ้มีสทิ ธิได้ รับชําระหนี ้
ตอบแทนแต่อาจไม่ได้ รับเต็มจํานวน เพราะต้ องหักสิง่ ต่อไปนี ้
 สิง ่ ที่ลกู หนี ้ได้ มาเนื่องจากการที่ตนไม่ต้องชําระหนี ้
 สิง ่ ที่ลกู หนี ้ได้ มาเพราะเอาโอกาสที่ไม่ต้องชําระหนี ้ไปหาประโยชน์อื่น
 สิง ่ ที่ลกู หนี ้ไม่ได้ มา แต่ควรได้ มา (ไม่ได้ มาเพราะแกล้ งละเลยไม่
ขวนขวายเอาอะไรที่สามารถจะทําได้ )
ชีทชุดที่ ๔ – การบังคับชาระหนี ้ / การรับช่ วงสิทธิ / การช่ วงทรัพย์
การบังคับชําระหนี ้ ๒๑๓ ว.๑  หนี ้ถึงกําหนดชําระ เจ้ าหนี ้ร้ องขอต่อศาลให้ สงั่  การบังคับชําระหนี ้โดยเฉพาะเจาะจง
 ลูกหนี ้ละเลยไม่ชําระหนี ้ (ละเลย = fail to perform หรื อชาระหนี ไ้ ม่ บังคับชําระหนี ้  การบังคับชําระหนี ้โดยค่าสินไหมทดแทน
ถูกต้องหรื อไม่สาเร็จตามประสงค์ แห่งมูลหนี ้)
 สภาพแห่งหนี ้เปิ ดช่อง

๒๑๓ ว.๒  เมื่อสภาพหนี ้ไม่เปิ ดช่อง การบังคับชําระหนี ้ v.s. การเลิกสัญญา เมื่อ


 ถ้ าวัตถุแห่งหนี ้เป็ นอันให้ กระทําการอันหนึ่งอันใด -- เจ้าหนี จ ้ ะร้องขอ เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ วก็ไม่มีสิทธิเลือกอีก
ต่อศาลเพือ่ ให้การอันนัน้ ได้กระทาโดยบุคคลภายนอก โดยลูกหนีเ้ สีย อย่างหนึ่ง
ค่าใช้จ่าย
 ถ้ าวัตถุแห่งหนี ้เป็ นอันให้ กระทํานิตก ิ รรมอย่างใดอย่างหนึ่ง – ศาลจะ
สัง่ ให้ถือเอาตามคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนีก้ ็ได้

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


9

๒๑๓ ว.๓  หนี ้ซึ่งมีวตั ถุเป็ นการงดเว้ นการกระทํา เจ้ าหนี ้เรี ยกร้ องให้ รือ้ ถอนการที่ได้ ทําลงไปแล้ ว
และให้ ลกู หนี ้เสียค่าใช้ จ่าย และจัดการอันควรเพื่อการภายหน้ าก็ได้
๒๑๓ ว.๔  บทบัญญัตวิ รรค ๑ – ๓ ไม่กระทบสิทธิเจ้ าหนี ้ที่จะเรี ยกร้ องค่าเสียหาย
สิทธิที่จะได้ รับชําระหนี ้จาก ๒๑๔ เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิเรี ยกร้ องให้ ลกู หนี ้ชําระหนี ้ของตนจาก หากลูกหนี ้ไม่ชําระหนี ้ กองทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้เป็ นหลักประกันในการ
กองทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้  ทรัพย์สน ิ ของลูกหนี ้จนสิ ้นเชิง เจ้ าหนี ้ชอบที่จะฟ้องร้ องต่อ ชําระหนี ้
 เงินและทรัพย์ สน ิ อื่นๆ ซึ่งบุคคลภายนอกค้ างชําระแก่ลกู หนี ้ด้ วย ศาลขอให้ ศาลบังคับคดีให้
ความเสียหายที่ลกู หนี ้ ๒๒๒ ว.๑  การเรี ยกเอาค่าเสียหายนัน้ ได้ แก่ เรี ยกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความ หัวใจหลักในการเรียกค่ าเสียหาย
ต้ องรับผิด เสียหายเช่นที่ตามปกติย่อมเกิดขึ ้นแต่การไม่ชําระหนี ้นัน้ การใช้ ม.๒๒๒ ต้ องใช้ ประกอบกับมาตราที่ให้
๒๒๒ ว.๒  หากว่าคูก ่ รณีที่เกี่ยวข้ องได้ คาดเห็นหรื อควรจะได้ คาดเห็นพฤติการณ์ เจ้ าหนี ้จะเรี ยกค่าสินไหม สิทธิแก่เจ้ าหนี ้ที่จะเรี ยกให้ ลกู หนี ้ชดใช้
เช่นนันล่ ้ วงหน้ าก่อนแล้ ว (ลูกหนีไ้ ด้รับการบอกกล่าวจากเจ้าหนีแ้ ล้ว) ทดแทนเพื่อความเสียหายอัน ค่าเสียหายในกรณีที่เกิดขึ ้น อาทิ ม.๒๑๕, ๒๑๖,
เกิดแต่พฤติการณ์ พิเศษได้ ๒๑๗, ๒๑๘
สิทธิของผู้รับช่วงสิทธิ ๒๒๖ ว.๑  การช่ วงสิทธิ คือ บุคคลผู้มีสว่ นได้ เสียที่ กม. กําหนดเข้ าชําระหนี ้แก่ (ม.๒๒๖ ว.๑ เป็ นผลของการ การรับช่วงสิทธิเป็ นการเปลี่ยนตัวเจ้ าหนี ้โดยผล
(ช่วงสิทธิ) เจ้ าหนี ้แทนลูกหนี ้ ส่งผลให้ บุคคลนันเข้
้ าสวมสิทธิ (ช่วงสิทธิ) ทังปวงที
้ ่ รับช่วงสิทธิ โดย ม.๒๒๗ ของ กม. โดยสาเหตุที่ทําให้ เกิดช่วงสิทธิและการ
เจ้ าหนี ้มีอยู่ในมูลหนี ้ เป็ นเหตุ) ช่วงทรัพย์ ได้ แก่
๒๒๖ ว.๒  การช่ วงทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์สนิ อันหนึ่งเข้ าแทนที่ทรัพย์สนิ อีก การช่วงสิทธิ อยู่ใน ม.๒๒๗, ๒๒๙, ๒๓๐
(ช่วงทรัพย์) อันหนึ่ง ในฐานะนิตนิ ยั อย่างเดียวกันกับทรัพย์สนิ อันก่อน การช่วงทรัพย์ อยู่ใน ม.๒๒๘, ๒๓๑, ๒๓๒
การช่ วงสิทธิ ๒๒๗  เมื่อเจ้ าหนี ้ได้ รับค่าสินไหมทดแทนความเสียหายเต็มราคาทรัพย์หรื อสิทธิ ลูกหนี ้ย่อมเข้ าสูฐ่ านะเป็ น  เป็ นกรณี ที่มีลก ู หนี ้ ๒ มูล (มูลหนี ้เดิมและมูล
ซึ่งเป็ นวัตถุแห่งหนี ้นันแล้
้ ว ผู้รับช่วงสิทธิของเจ้ าหนี ้อัน หนี ้ละเมิด)
(กรณีลกู หนี ้เป็ นผู้รับช่วงสิทธิ เกี่ยวกับทรัพย์หรื อสิทธินนๆ ั้  ลูกหนี ้ต้ องมีความรั บผิด (ตาม ม.๒๑๕,
ของเจ้ าหนี ้) ด้ วย กม. ๒๑๗, ๒๑๘ อาทิ ลูกหนี ้ผิดนัด ไม่รักษาดูแล
ทรัพย์สนิ ตาม กม.กําหนด) ถ้ าไม่มีความรับ
ผิด ลูกหนี ้หลุดพ้ นจากการชําระหนี ้ ม.๒๑๙

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


10

การรับช่วงสิทธิด้วยอํานาจ ๒๒๙ การรับช่วงสิทธิย่อมมีขึ ้นโดยอํานาจของ กม. และย่อมสําเร็จเป็ นประโยชน์แก่


กฎหมาย บุคคลต่อไปนี ้
๒๒๙(๑) (๑) หลักเกณฑ์ (กรณี ทรัพย์ติดจานาจานองและมีเจ้าหนีห้ ลายราย) เจ้ าหนี ้คนที่มาชําระหนี ้
 ลูกหนี ้มีเจ้ าหนี ้หลายคนในมูลหนี ้ต่างกัน (เจ้าหนีท้ ีม่ ีสิทธิ ลาดับหลัง)
 เจ้ าหนี ้บางรายมีสท ิ ธิได้ รับชําระหนี ้ก่อน ได้ รับช่วงสิทธิในหนี ้และ
 เจ้ าหนี ้ที่ได้ รับชําระหนี ้ก่อนต้ องเป็ นเจ้ าหนี ้บุริมสิทธิ์ หรื อเจ้ าหนี ้ที่มี หลักประกันที่ลกู หนี ้ได้ ให้ ไว้
สิทธิจํานองหรื อสิทธิจํานํา
 เจ้ าหนี ้ที่มีสท ิ ธิลําดับหลังได้ เข้ าชําระหนี ้ให้ เจ้ าหนี ้ที่มีสิทธิลําดับก่อน
๒๒๙(๒) (๒) บุคคลผู้ได้ ไปซึ่งอสังหาริมทรัพย์ใด และเอาเงินราคาค่าซื ้อใช้ ให้ แก่ผ้ รู ับ ทรัพย์หลุดจากจํานองรายนัน้
จํานองทรัพย์นนเสร็ ั ้ จไป (กรณี ซื้อขายอสังหาริ มทรัพย์ที่ติดจานอง) ผู้ซื ้อรับช่วงสิทธิเหนือจํานอง
อันนัน้
๒๒๙(๓) (๓) บุคคลผู้มีความผูกพันร่วมกับผู้อื่น (ลูกหนีร้ ่วม) หรื อเพื่อผู้อื่น (ผูค้ ้า ม.๒๒๙ ว.๓ ใช้ ร่วมกับ ม.๒๙๖ สําหรับการรับ
ประกัน) ในอันจะต้ องใช้ หนี ้มีสว่ นได้ เสียด้ วยในการใช้ หนี ้นัน้ และเข้ าใช้ ช่วงสิทธิของเจ้ าหนี ้มาไล่เบี ้ยระหว่างลูกหนี ้ร่วม
หนี ้นัน้ ด้ วยกันเอง
สิทธิของบุคคลผู้เสี่ยงภัยเสีย ๒๓๐ บุคคลภายนอกผู้ต้องเสี่ยงภัยเสียสิทธิในทรัพย์ของลูกหนี ้เพราะคําสัง่ ยึด บุคคลภายนอกมีสทิ ธิเข้ า  กรณี ม.๒๓๐ บุคคลภายนอกต้ องเป็ นผู้มี

สิทธิในทรัพย์ที่ถกู ยึด ทรัพย์ของศาล ชําระหนี ้แทนลูกหนี ้แล้ วก็จะ ส่วนได้ เสียที่เกี่ยวข้ องกับทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้
(เพราะคาสัง่ ยึดทรัพย์ของ หลักเกณฑ์ เข้ ารับช่วงสิทธินนั ้ ซึ่งเจ้ าหนี ้นําบังคับยึดทรัพย์
ศาล)  มีหนี ้ระหว่างเจ้ าหนี แ้ ละลูกหนี ้

 บุคคลภายนอกมีสท ิ ธิในทรัพย์ของลูกหนี ้ หรื อมีสทิ ธิครองทรัพย์ของลูกหนี ้


 เจ้ าหนี ้ได้ นําบังคับยึดทรัพย์นนั้
 บุคคลภายนอกเสี่ยงภัยเสี ยสิทธิในทรั พย์ นัน ้ หรื อ
เสี่ยงภัยเสียสิทธิครองทรัพย์ นั้น
การช่ วงทรัพย์ ๒๒๘ ว.๑  ถ้ าพฤติการณ์ ที่ทําให้ การชําระหนี ้อันเป็ นพ้ นวิสย ั นัน้ ทําให้ ลกู หนี ้ได้ มาซึ่ง เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิให้ ลกู หนี ้ส่งมอบ
ของแทนก็ดี หรื อได้ สทิ ธิเรี ยกร้ องค่าสินไหมทดแทนเพื่อทรัพย์อนั จะพึง ของแทนที่ได้ รับไว้ หรื อเรี ยก
ได้ แก่ตนนันก็
้ ดี เอาค่าสินไหมทดแทนก็ได้

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


11

๒๒๘ ว.๒  ถ้ าเจ้ าหนี ้มีสทิ ธิเรี ยกร้ องค่าสินไหมทดแทนเพราะการไม่ชําระหนี ้ ค่าสินไหมทดแทนอันจะพึงใช้ กรณีช่วงทรัพย์หากรับของแทน มี ๒ ความเห็น
 และถ้ าใช้ สทิ ธิดงั กล่าวดังได้ ระบุไว้ ในวรรคต้ น แก่เจ้ าหนี ้ย่อมลดจํานวนลง  ได้ ของแทน (เรี ยกรับผิดใดๆ เพิม่ ไม่ได้ )
เสมอราคาแห่งของแทนซึ่ง  ได้ ของแทน + ค่าสินไหมทดแทนราคาต่าง

ลูกหนี ้ได้ รับไว้ หรื อเสมอค่า ของของที่ได้ แทนมา ตาม ม.๒๑๗


สินไหมทดแทนที่ลกู หนี ้พึงจะ หากไม่ใช้ ช่วงทรัพย์ กรณี ลกู หนี ้ผิดนัด ก็เรี ยกให้
เรี ยกได้ ลูกหนี ้ชดใช้ คา่ สินไหมตาม ม.๒๑๗ ได้
๒๓๑ 

๒๓๒ 

ชีทชุดที่ ๕ – การใช้ สิทธิเรียกร้ องของลูกหนี ้ / การเพิกถอนการฉ้ อฉล / สิทธิยดึ หน่ วง (มาตรการคุ้มครองกองทรัพย์ สินของลูกหนี)้
ความนํา ๒๑๓  เมื่อหนี ้ถึงกําหนดชําระ และลูกหนี ้ไม่ชําระหนี ้ เจ้ าหนี ้มีสท ิ ธิเรี ยกบังคับ การคุ้มครองกองทรัพย์ สินของลูกหนี ้ กรณีที่เจ้ าหนี ้เสียเปรี ยบ เพื่อ
ชําระหนี ้  ให้ ทรัพย์สน ิ ของลูกหนี ้เพิม่ ขึ ้น
๒๑๔  กองทรัพย์สน ิ ของลูกหนี ้เป็ นหลักประกันการชําระหนี ้  เพื่อมิให้ กองทรัพย์สน ิ ของลูกหนี ้ลดลง
การใช้ สิทธิเรียกร้ องของ ๒๓๓  สิทธิเรี ยกร้ องต้ องไม่เป็ นการส่วนตัวของลูกหนี ้โดยแท้ เจ้ าหนี ้สามารถใช้ สทิ ธิ “เจ้ าหนี ้เสียประโยชน์” คือ การที่ ลูกหนี ้มีกอง
ลูกหนี ้  สิทธิเรี ยกร้ องของลูกหนี ้ถึงกําหนดชําระแล้ ว เรี ยกร้ องนันในนามของ
้ ทรัพย์สนิ ไม่เพียงพอต่อการชําระหนี ้ หาก
 ลูกหนี ้ขัดขืนหรื อเพิกเฉยไม่ใช่สท ิ ธิเรี ยกร้ อง (จงใจไม่ใช้สิทธิ เรี ยกร้อง) ตนเองแทนลูกหนี ้เพื่อป้องกัน ทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้เพียงพอแล้ ว เจ้ าหนี ้ก็ไม่
 เจ้ าหนี ้เสียประโยชน์ สิทธิของตนในมูลหนี ้นัน้ สามารถใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องได้
สิทธิเฉพาะตัว ได้ แก่
(การใช้สิทธิ ในนามของ  สิทธิที่ไม่เกี่ยวกับทรัพย์ สน ิ อาทิ สิทธิสถานะ
ตนเองแทนลูกหนี ้ คือ เจ้าหนี ้ ของบุคคล สิทธิในครอบครัว
สามารถฟ้ องคดีได้เอง โดยไม่  สิทธิที่เกี่ยวกับทรัพย์สนิ แต่เป็ นเรื่ อง
ต้องไปขอความยินยอมจาก เฉพาะตัวระหว่างลูกหนี ้กับบุคคลภายนอก
ลูกหนี)้ อาทิ การเพิกถอนเพราะเหตุเนรคุณ สิทธิคา่
อุปการะเลี ้ยงดูระหว่างบิดามารดา-บุตร
วิธีการใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องของ ๒๓๔  เจ้ าหนี ้ผู้ใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องของลูกหนี ้นัน้ จะต้ องขอหมายเรี ยกลูกหนี ้มาใน เจ้ าหนี ้ ก. ฟ้อง ค. บุคคลภายนอกเป็ นจําเลย
ลูกหนี ้ คดีนนด้
ั ้ วย ต้ องเรี ยก ข. ลูกหนี ้ของตนเข้ ามาในคดีด้วย

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


12

เจ้ าหนี ้ใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องเต็ม ๒๓๕ ว.๑  เจ้ าหนี ้จะใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องของลูกหนี ้เรี ยกเงินเต็มจํานวนที่ยงั ค้ างชําระแก่ หลัก เจตนารมณ์ ที่มงุ่ คุ้มครองกองทรัพย์สนิ ของ
จํานวน ลูกหนี ้ โดยไม่ต้องคํานึงถึงจํานวนที่ค้างชําระแก่ตนก็ได้ ลูกหนี ้ ดังนัน้ ทรัพย์สนิ ใดๆ ที่ได้ มาจากการใช้
 ถ้ าจําเลยยอมใช้ เงินเพียงเท่าจํานวนที่ลกู หนี ้เดิมค้ างชําระแก่เจ้ าหนี ้ คดีเป็ นอันเสร็จกันไป สิทธิเรี ยกร้ องจะเข้ าสูก่ องทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้
 แต่ถ้าลูกหนี ้เดิมได้ เข้ าชื่อเป็ นโจทก์ด้วย ลูกหนี ้เดิมผู้เป็ นเจ้ าของสิทธิ ข้ อยกเว้ น หากหนี้ท้งั ๒ มูล (ระหว่ าง ก-ข
เรี ยกร้ องจะขอให้ ศาลพิจารณาพิพากษาต่อไปในส่วนจํานวนเงินที่ยงั และ ข-ค) ถึงกาหนดชาระแล้ ว ดังนั้น ค.
เหลือติดค้ างอยู่ก็ได้ ชาระหนี้ให้ ก. ได้ โดยตรง โดยไม่ ต้องนา
ทรัพย์ สินที่ได้ จากใช้ สิทธิเรียกร้ องจาก ค.
๒๓๕ ว.๒  กม. ไม่ให้ เจ้ าหนี ้ได้ รับชําระหนีม้ ากไปกว่าจํานวนที่ค้างแก่เจ้ าหนี ้
กลับเข้ าไปยังกองทรัพย์ สินของ ข. อีก
จําเลย (ลูกหนี ้ของลูกหนี ้) มี ๒๓๖  จําเลย (ลูกหนี ข้ องลูกหนี)้ มีข้อต่อสู้ลกู หนี ้อย่างไร และ จําเลยสามารถยกขึ ้นต่อสู้  ค. ยกข้ อต่อสู้วา ่ ข. ได้ ปลดหนีใ้ ห้ ตน ตน
ข้ อต่อสู้ลกู หนี ้เดิม  ข้ อต่อสู้ต้องเกิดขึ ้นก่อนเจ้ าหนี ้ฟ้องคดีแล้ ว เจ้ าหนี ้ได้ ทงนั
ั ้ น้ ชําระหนี ้แล้ ว หรื อหนี ้ ข-ค ขาดอายุความ
 ค. ยกข้ อต่อสู้วา ่ มูลหนี ้ระหว่าง ก-ข เป็ น
โมฆะ ทําให้ ก. ไม่มีสทิ ธิเรี ยกร้ อง
การเพิกถอนการฉ้ อฉล ๒๓๗ หลักเกณฑ์ เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิเพิกถอนนิติ  นิตก ิ รรมที่มีวตั ถุแห่งทรัพย์เป็ นทรัพยสิทธิ
 ลูกหนี ้ทํานิตก ิ รรม กรรมที่ลกู หนี ้ได้ กระทําลงไป เช่น กู้ยืม ขาย ให้ จํานอง
 เป็ นนิตก ิ รรมที่มีวตั ถุแห่งสิทธิเป็ นทรัพยสิทธิ  หากเป็ นนิตก ิ รรมที่มีผลเป็ นโมฆะ อาทิ เกิด
 การฉ้อฉลเป็ นเรื ่องการที ่  ขณะทํานิตก ิ รรม ลูกหนี ้รู้วา่ นิตกิ รรมนันทํ
้ าให้ เจ้ าหนี ้เสียเปรี ยบ (ต้องทา จากเจตนาลวง ย่อมเป็ นความเสียเปล่ามา
ไม่สจุ ริ ตในการชาระหนี ้ ให้กองทรัพย์สินของลูกหนีล้ ดลงถึงขึ้นไม่พอทีจ่ ะชาระหนี )้ แต่ต้น ไม่มีผลทาง กม. อยู่แล้ ว จึงไม่ต้อง
 การฉ้อฉลทาให้เจ้าหนี ้  หากบุคคลผู้ได้ ลาภงอก ฟ้องร้ องขอให้ เพิกถอนการฉ้ อฉล
เสียเปรี ยบ  รู้วา่ นิตกิ รรมดังกล่าวเป็ นทางให้ เจ้ าหนี ้เสียเปรี ยบ แม้ ว่าจะเสีย  การให้ โดยเสน่หา เช่น การปลดหนี ้ /การโอน
 การฉ้อฉลเพิกถอนโดย
ค่าตอบแทน (กม. คุม้ ครอง ผู้ได้ลาภงอกทีไ่ ด้ทรัพย์หรื อประโยชน์ มา ทรัพย์โดยให้ เปล่า
การฟ้ องคดี
โดยสุจริ ต + เสียค่าตอบแทน -- เจ้าหนีเ้ พิกถอนนิติกรรมไม่ได้)  การทําให้ ลก ู หนี ้เสียเปรี ยบรวมถึงการขาย
 ถ้ าเป็ นการให้ โดยเสน่ห์หา ไม่ต้องดูถึงความรู้หรื อไม่ร้ ู ของบุคคลผู้ได้ ทรัพย์สนิ ตํ่ากว่าราคาตลาด
ลาภงอก (กม. ไม่คุ้มครองผูไ้ ด้ลาภงอกได้มาโดยเสน่หา)
ผลของการเพิกถอนกับสิทธิ ๒๓๘ ว.๑  หากบุคคลภายนอกได้ รับโอนทรัพย์สน ิ จากผู้ได้ ลาภงอกมาโดย บุคคลภายนอกได้ รับการ ** การจะเข้ า ม.๒๓๘ (บุคคลภายนอก) ได้ ต้อง
ของบุคคลภายนอก  สุจริต + เสียค่ าตอบแทน + ได้ สท ิ ธิมาก่อนเริ่มฟ้องคดีขอเพิกถอน คุ้มครอง ครบองค์ประกอบของ ม.๒๓๗ (การเพิกถอนการ
๒๓๘ ว.๒  หากบุคคลภายนอกได้ รับโอนทรัพย์สน ิ /สิทธิมาโดยเสน่ หา กม.ไม่ค้ มุ ครอง ฉ้ อฉล) ก่อน
ผลการเพิกถอนต่อเจ้ าหนี ้ ๒๓๙  การเพิกถอนการฉ้ อฉล เจ้ าหนี ้ทุกคนได้ ประโยชน์
สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53
13

อายุความฟ้องร้ องเพิกถอน ๒๔๐  เจ้ าหนี ้ต้ องฟ้องร้ องเพิกถอนการฉ้ อฉล การเพิกถอนการฉ้ อฉลต้ องฟ้องภายในอายุความ
การฉ้ อฉล  ภายใน ๑ ปี นับแต่เจ้ าหนี ไ้ ด้ ร้ ูต้นเหตุอน ั เป็ นมูลให้ เพิกถอน (เช่นเดียวกับการบอกล้ างโมฆียกรรม)
 แต่ต้องไม่เกิน ๑๐ ปี นับแต่ได้ ทํานิตก ิ รรมอันเป็ นการฉ้ อฉลนัน้
กรณีท่ ีมีสิทธิยดึ หน่ วง ๒๔๑ หลักเกณฑ์ เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิยึดหน่วง  ลูกหนี ้มอบโฉนดหรื อที่ดนิ ให้ เจ้ าหนี ้เงินกู้ยึด
 เจ้ าหนี ้ครองครองทรัพย์สน ิ ของผู้อื่น ทรัพย์สนิ นันไว้้ จนกว่าจะ ไว้ เป็ นประกันเงินกู้ ไม่ถือเป็ นสิทธิยึดหน่วง
เป็ นมาตรการคุม้ ครองสิทธิ  การครอบครองเริ่ มมาแต่การอันชอบด้ วย กม. ได้ รับการชําระหนี ้ ตาม ม.๒๔๑ (สิทธิยึดหน่วงเกิดขึ ้นตาม กม.
ของเจ้าหนีอ้ ย่างหนึ่ง โดย  มีหนี ้อันเป็ นคุณประโยชน์แก่เจ้ าหนี ้ด้ วยทรั พย์สน ิ ซึ่งครอบครองนัน้ (เป็ น ไม่ใช่สญ ั ญา และต้ องเกี่ยวกับตัวทรัพย์นนั ้
อ.จุณวิทย์ มองว่าสิทธิ ยึด สิทธิ ทีจ่ ากัดอยู่เฉพาะหนีท้ ีเ่ กี ่ยวกับทรัพย์สินทีเ่ จ้าหนี ้ครอบครองเท่านัน้ )  ตัวอย่าง ก. ยืมรถ ข. มาใช้ และ ข. กู้ยืมเงิน
หน่วงเหนือกว่ากรรมสิทธิ์  หนี ้ถึงกําหนดชําระแล้ ว (เว้นแต่กรณี ทีล ่ ูกหนีเ้ ป็ นคนมีหนีส้ ินล้นพ้นตัวไม่ ก. มา เมื่อถึงกําหนด ข. ไม่ชําระหนี ้เงินกู้
สามารถใช้หนี ้ เจ้าหนี ้มีสิทธิ ยึดหน่วงแม้หนีย้ งั ไม่ถึงกาหนด ดู ม.๒๔๓) ก. จะอ้ างสิทธิยึดหน่วงรถยนต์ของ ข. ไม่ได้
กรณีไม่สามารถมีสทิ ธิยึด ๒๔๒ สิทธิยึดหน่วงอันใดหาก สิทธิยึดหน่วงเช่นนันถื
้ อว่าหา
หน่วง  ไม่สมกับลักษณะที่เจ้ าหนี ้รับภาระในมูลหนี ้ มีไม่
 ไม่สมกับคําสัง่ อันลูกหนี ้ได้ ให้ ไว้ ก่อน หรื อให้ ในเวลาที่ส่งมอบทรัพย์สน ิ นัน้
 ขัดกับความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน

สิทธิยึดหน่วงกรณี ๒๔๓  ในกรณี ลก ู หนี ้เป็ นคนมีหนี ้สินล้ นพ้ นตัว ไม่สามารถใช้ หนี ้ เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิยึดหน่วง
ลูกหนี ้มีหนี ้สินล้ นพ้ นตัว  แม้ หนี ้ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ทรัพย์สนิ ไว้ ได้
 การที่ลก ู หนี ้ไม่สามารถใช้ หนี ้ได้ นนเกิ
ั ้ ดขึ ้น หรื อเจ้ าหนี ้รู้ในภายหลังเวลาที่
ได้ สง่ มอบทรัพย์สนิ
 แม้ ไม่สมกับลักษณะที่เจ้ าหนี ้รับภาระในมูลหนี ้ไว้ เดิม หรื อไม่สมกับคําสัง่

อันลูกหนี ้ได้ ให้ ไว้


สิทธิของผู้ทรงสิทธิยดึ ๒๔๔  หากผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงยังไม่ได้ รับชําระหนี ้โดยสิ ้นเชิง สามารถใช้ สทิ ธิของตน สิทธิตา่ งๆ ได้ แก่
หน่ วง แก่ทรัพย์สนิ ทังหมดที
้ ่  สิทธิในดอกผล ม.๒๔๕

ยึดหน่วงไว้ ได้  สิทธิใช้ สอยทรัพย์ที่ยึดหน่วงในกรณี ที่

จําเป็ นต้ องรักษาทรัพย์สนิ นัน้ ม.๒๔๖


 สิทธิที่เรี ยกให้ ใช้ คา
่ ใช้ จ่ายที่จําเป็ น ม.๒๔๗

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


14

ดอกผลแห่งทรัพย์สนิ ที่ได้ ยึด ๒๔๕ ว.๑  ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะเก็บดอกผลแห่งทรัพย์สนิ ที่ยึดหน่วงไว้ และจัดสรร


หน่วงไว้ เอาไว้ เพื่อการชําระหนีแ้ ก่ตนก่อนเจ้ าหนี ้คนอื่นได้
๒๔๕ ว.๒  ดอกผลนี ้จะต้ องจัดสรรเอาชําระดอกเบี ้ยแห่งหนี ้นันก่ ้ อน ถ้ ามีเหลือจึงให้
จัดสรรใช้ เงินต้ น
หน้ าที่ของผู้ทรงยึดหน่วง ๒๔๖ ว.๑  ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงมีหน้ าที่จดั การดูแลรักษาทรัพย์สนิ ที่ยึดหน่วงไว้ นนั ้
เกี่ยวกับทรัพย์สนิ ที่ยึดไว้ ตามสมควร เช่นจะพึงคาดหมายได้ จากบุคคลในฐานะเช่นนัน้
๒๔๖ ว.๒  ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงมีสทิ ธิใช้ สอยทรัพย์ที่ยึดหน่วงในกรณีที่จําเป็ นต้ อง
ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงหาอาจจะ
รักษาทรัพย์สนิ นัน้ ใช้ สอย หรื อให้ เช่า หรื อเอาไป
 ถ้ ามิได้ รับความยินยอมของลูกหนี ้ ทําเป็ นหลักประกันได้ ไม่
๒๔๖ ว.๓  หากผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงกระทําการฝ่ าฝื นบทบัญญัตใิ ดที่กล่าวมานี ้ ลูกหนี ้เรี ยกร้ องให้ ระงับสิทธิ
ยึดหน่วงได้
สิทธิที่จะเรี ยกให้ ใช้ ๒๔๗  หากผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงต้ องเสียค่าใช้ จ่ายไปตามที่จําเป็ นเกี่ยวด้ วย ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงสามารถ
ค่าเสียหาย ทรัพย์สนิ ที่ตนยึดไว้ เพียงใด เรี ยกให้ เจ้ าทรัพย์ชดใช้ ให้ ได้
การใช้ สทิ ธิยึดหน่วงกับอายุ ๒๔๘  ภายใต้ บทบัญญัตข ิ อง ม.๑๙๓/๒๗ การใช้ สทิ ธิยึดหน่วงไม่มีอายุ มาตรา๑๙๓/๒๗ “ผูท้ รงสิทธิ ยึดหน่วงยังคงมี
ความแห่งหนี ้ ความและไม่ทําให้ อายุความ สิทธิ บงั คับชาระหนีจ้ ากทรัพย์สินทีจ่ านอง จานา
แห่งหนี ้สะดุดหยุดลง หรื อทีไ่ ด้ยึดถือไว้ แม้ว่าสิทธิ เรี ยกร้องส่วนทีเ่ ป็ น
ประธานจะขาดอายุความแล้วก็ตาม”
ลูกหนี ้เรี ยกร้ องให้ ระงับสิทธิ ๒๔๙  ถ้ าลูกหนี ้ได้ จด ั หาประกันแห่งหนี ้ตามสมควรแล้ ว ลูกหนี ้สามารถเรี ยกร้ องให้
ยึดหน่วง ระงับสิทธิยึดหน่วงได้
กรณีสทิ ธิยึดหน่วงระงับ ๒๕๐  หากการครอบครองทรัพย์ของเจ้ าหนี ้สูญสิ ้นไป สิทธิยึดหน่วงเป็ นอันระงับไป
 เว้ นแต่เจ้ าหนี ้นําทรัพย์นนไปให้
ั้ เช่าหรื อจํานําโดยความยินยอมของลูกหนี ้ ด้ วย
ชีทชุดที่ ๖ – ความระงับแห่ งหนี ้ (การชาระหนี ้ / การปลดหนี ้ / การหักกลบลบหนี ้ / การแปลงหนีใ้ หม่ / หนีเ้ กลื่อนกลืนกัน
การชาระหนี ้ ความนํา  กําหนดเวลาชําระหนี ้ ม.๒๐๓ และ ม.๒๐๔

๑๙๑ ว.๑  ถ้ าหนี ้ยังไม่ถึงกําหนดเวลา ลูกหนี ้ย่อมได้ ประโยชน์จากเงื่อนเวลา


๑๙๓  กรณี ลก ู หนี ้ไม่ได้ ประโยชน์จากเงื่อนเวลา คือ สภาพของลูกหนี ้มีความสามารถในการชําระหนีแ้ ย่หรื อไม่น่าไว้ วางใจ
๑๙๒ ว.๒ ลูกหนี ้อาจสละประโยชน์จากเงื่อนเวลาโดยขอชําระหนีก้ ่อนเวลาได้ หากไม่กระทบกระเทือนถึงประโยชน์อนั เจ้ าหนี ้พึงจะได้ รับจากเงื่อนเวลานัน้
สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53
15

ผู้มีสทิ ธิชําระหนี ้ ๓๑๔  บุคคลภายนอกอาจเป็ นผู้ชําระหนี ้ก็ได้ และทําให้ หนี ้ระงับไปได้ เว้ นแต่  “ส่วนได้ เสีย” หมายถึง ผลประโยชน์ในทาง
 สภาพแห่งหนี ้ไม่เปิ ดช่อง (กรณี อาศัยความสามารถเฉพาะตัวลูกหนี ้) ทรัพย์สนิ
 ขัดกับเจตนาของคูก ่ รณี  ถ้ าขืนใจลูกหนี ้ เจ้ าหนี ้ก็ยกขึ ้นเป็ นเหตุบอก

 บุคคลผู้ไม่มีสว่ นได้ สว่ นเสียเข้ าชําระหนี ้โดยขืนใจลูกหนี ้ ปั ดการรับชําระหนีไ้ ด้


ผู้รับชําระหนี ้ ๓๑๕  การชําระหนี ้ต้ องกระทําแก่ การชําระหนี ้มีผลสมบูรณ์ ผู้มีอํานาจรับชําระหนี ้ อาจเป็ นได้ ทงั ้
 เจ้ าหนี ้  ผู้ได้ รับมอบอํานาจจากเจ้ าหนี ้

 ผู้มีอํานาจรับชําระหนี แ้ ทนเจ้ าหนี ้ หรื อ  ผู้มีอํานาจรับชําระหนี ้ตาม กม. เช่น ผู้แทน

 บุคคลอื่น ซึ่งหากต่อมาเจ้ าหนี ้ให้ สต ั ยาบัน โดยชอบธรรม หรื อผู้อนุบาล


การชําระหนี ้ให้ ผ้ คู รอบครอง ๓๑๖ หลักเกณฑ์ การชําระหนี ้มีผลสมบูรณ์ ผู้ครองตามปรากฏแห่งสิทธิ คือ ผู้ที่ไม่ได้ มีสทิ ธิ
ตามปรากฏแห่งสิทธิ  ถ้ าการชําระหนี ้ได้ ทําให้ แก่ ผ้ ค
ู รองตามปรากฏแห่งสิทธิในมูลหนี ้ และ ในการรับชําระหนี ้อย่างแท้ จริง แต่การกระทําบ่ง
 การชําระหนี ้กระทําไปโดยสุจริ ต ให้ เห็นว่าเป็ นผู้ครองทรัพย์อยู่ขณะมีการละเมิด
ผลการชําระหนี ้แก่ผ้ ไู ม่มีสทิ ธิ ๓๑๗  นอกจากกรณี ที่กล่าวไว้ ใน ม.๒๑๖ การชําระหนี แ้ ก่ผ้ ไู ม่มีสท ิ ธิได้ รับนัน้ การชําระหนี ้มีผลสมบูรณ์ เจ้ าหนี ้ได้ ประโยชน์จากการชําระหนีไ้ ปเท่าใด หนี ้
ได้ รับ เพียงแค่เท่าที่เจ้ าหนี ้ได้ รับไป ก็ระงับไปเพียงแต่เท่าที่เจ้ าหนีไ้ ด้ รับประโยชน์ไป
การชําระหนี ้ต่อผู้ถือใบเสร็จ ๓๑๘  ผู้ถือใบเสร็จเป็ นสําคัญถือว่าเป็ นผู้มีสทิ ธิในการรับชําระหนี ้ ** หมายเหตุ
 การชําระหนี ้ให้ ผ้ ถู ือใบเสร็จจะมีผลสมบูรณ์ต้องอาศัยหลัก ๒ ประการ การชําระหนี ้สมบูรณ์ หากผู้ชําระหนี ้รู้ว่าผู้ถือใบเสร็จไม่มีสทิ ธิที่จะ
 ผู้รับชําระหนี ้เป็ นผู้ถือใบเสร็ จ และ นําใบเสร็จมารับชําระหนี ้ หรื อไม่ร้ ูเท่าถึงสิทธินนั ้
 ผู้ชําระหนี ้เชื่อโดยสุจริ ตว่าผู้ถือใบเสร็ จมีสทิ ธิที่จะถือใบเสร็จมารับ เพราะความประมาทเลินเล่อของตน ผลคือ
ชําระหนี ้ได้ การชาระหนีไ้ ม่สมบูรณ์
ลูกหนี ้คนที่สามชําระหนี ้ขัด ๓๑๙ ว.๑  ถ้ าศาลสัง่ ให้ ลกู หนี ้คนที่สามงดเว้ นการชําระหนี ้ เจ้ าหนี ้ผู้ร้องขอให้ อายัดทรัพย์ หากศาลสัง่ ให้ ค. ห้ ามชําระหนีใ้ ห้ ข. (หรื อสัง่
คําสัง่ ศาล  แล้ วลูกหนีค้ นที่สามยังขืนชําระหนีใ้ ห้ กบั เจ้ าหนี ้ของตน จะเรี ยกให้ ลกู หนี ้คนที่สาม อายัดทรัพย์ ค.) แต่ ค. ฝ่ าฝื นคําสัง่ ศาลชําระหนี ้
ชําระหนี ้ตามที่ตนเสียหายได้ ให้ ข. ดังนี ้ ก. ผู้ร้องขอให้ อายัดทรัพย์สามารถ
(การชาระหนีก้ รณี ลูกหนี ้ ๓๑๙ ว.๒  เมื่อลูกหนี ้คนที่สามได้ ชําระหนีใ้ ห้ แก่เจ้ าหนี ผ้ ้ ทู ี่ขออายัดทรัพย์แล้ ว ลูกหนี ้คนที่สามมีสทิ ธิไล่เบี ้ย เรี ยกให้ ค. ชําระหนี ้ให้ ตนตามที่ ก. เสียหายได้
ได้รบั คาสัง่ อายัดจากศาล) เอาแก่เจ้ าหนี ้ของตน

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


16

การบังคับให้ เจ้ าหนี ้รับชําระ ๓๒๐  การจะบังคับให้ เจ้ าหนีร้ ับชําระหนี ้เพียงบางส่วน หรื อ เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิปฏิเสธการ ทังนี
้ ้ ต้ องคํานึงถึงการใช้ สทิ ธิของเจ้ าหนี ้โดย
บางส่วน (หลักทัว่ ไป)  บังคับให้ เจ้ าหนี ้รับชําระหนี ้เป็ นอย่างอื่นที่ผดิ ไปจากที่ต้องชําระ ชําระหนี ้ที่ไม่ถกู ต้ องได้ สุจริตด้ วย โดย อ. มองว่า ม.นี ้น่าจะยังใช้ กบั
กรณีที่ยงั ชําระหนี ้ได้ อยู่แต่ชําระไม่ครบ ซึ่งเจ้ าหนี ้
ต้ องรับชําระหนี ้ แล้ วไปเรี ยกค่าเสียหาย ม.๒๑๘
เจ้ าหนี ้ยอมรับชําระหนี ้เป็ น ๓๒๑ ว.๑  ถ้ าเจ้ าหนี ้รับชําระหนี ้อย่างอื่นแทนการชําระหนี ้ที่ได้ ตกลงกันไว้ หนี ้นันระงั
้ บสิ ้นไป การชําระหนี ้ด้ วยตัว๋ เงินหรื อประทวนสินค้ า
อย่างอื่น ๓๒๑ ว.๒  ถ้ าลูกหนี ้ได้ รับภาระเป็ นหนีใ้ หม่ตอ่ เจ้ าหนี ้ เพื่อที่จะทําให้ เจ้ าหนี ้พอใจ แต่ ไม่ให้ สนั นิษฐานว่าลูกหนี ้กระ  หนี ้ระงับไปเมื่อมีการใช้ เงินตามตัว๋ เงินหรื อ
หากเป็ นกรณีที่สงสัยแล้ ว ทําการนันแทนการชํ
้ าระหนี ้ ประทวนสินค้ า
(บทยกเว้ น ม.๓๒๐) ๓๒๑ ว.๓  การชําระหนี ้โดยการออก โอน หรื อสลักตัว๋ เงินหรื อประทวนสินค้ า หนี ้ระงับสิ ้นไป  ถ้ ายังไม่มีการใช้ เงิน เจ้ าหนี ้จะเรี ยกร้ องตาม

 เมื่อตัว๋ เงินหรื อประทวนสินค้ าได้ นําไปขึ ้นเงินแล้ ว (เมือ่ เช็คขึ้นเงิน หนีก้ ็ระงับ) หนี ้เดิม หรื อตามตัว๋ เงิน/ประทวนสินค้ าก็ได้
การให้ สงิ่ อื่นแทนการชําระหนี ้ ๓๒๒  ถ้ าลูกหนี ้เอาทรัพย์ หรื อสิทธิเรี ยกร้ องจากบุคคลภายนอก หรื อสิทธิอย่าง ลูกหนี ้ต้ องรับผิดอันเกิดจาก ตัวอย่าง หาก ก. เอา TV มาชําระหนี ้แทนเงินให้
อื่น มาให้ แทนการชําระหนี ้ การชํารุดบกพร่อง และเพื่อ ข. และ ข. รับไว้ หนี ้ระงับ แต่เกิด TV เสีย ดูไม่ได้
การรอนสิทธิทํานองเดียวกับ ก. ลูกหนี ้ก็ต้องรับผิดเหมือนกับเป็ นผู้ขาย TV
ผู้ขาย เครื่ องนัน้
การชําระหนี ้ด้ วยการส่งมอบ ๓๒๓ ว.๑  ถ้ าวัตถุแห่งหนี ้เป็ นอันให้ สง่ มอบทรัพย์เฉพาะสิง่ บุคคลผู้ชําระหนี ้จะต้ อง
ทรัพย์เฉพาะสิง่ ส่งมอบทรัพย์ตามสภาพที่เป็ นอยู่ในเวลาที่จะพึงส่งมอบ
๓๒๓ ว.๒  ลูกหนี ้จําต้ องรักษาทรัพย์นนไว้ ั ้ ด้วยความระมัดระวังเช่นอย่างวิญญูชน
จะพึงสงวนทรัพย์สนิ ของตนเอง จนกว่าจะได้ สง่ มอบทรัพย์นนั ้
สถานที่ชําระหนี ้ ๓๒๔  การชําระหนี ้ที่เป็ นการส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิง่ ต้ องส่งมอบ ณ สถานที่ซึ่ง
ทรัพย์นนได้ั ้ อยู่ในเวลาเมื่อก่อให้ เกิดหนี ้ เว้ นแต่จะได้ ตกลงกันเป็ นอย่างอื่น
 การชําระหนี ้โดยประการอื่นต้ องชําระที่ภมู ลิ ําเนาปั จจุบนั ของเจ้ าหนี ้
ค่าใช้ จ่ายในการชําระหนี ้ ๓๒๕  ถ้ าไม่ได้ มีการตกลงค่าใช้ จ่ายในการชําระหนี ้ (และไม่มี กม.พิเศษ) ลูกหนี ้ออกค่าใช้ จ่าย ค่าใช้ จ่ายในการชําระหนี ้ หากได้ ตกลงกันไว้ ก็จะ
 ถ้ ามีคา่ ใช่จ่ายที่เพิม่ ขึ ้นเพราะเจ้ าหนี ้ย้ ายภูมิลําเนาหรื อเพราะการอื่นใดที่ ค่าใช้ จ่ายที่เพิ่มขึ ้นเจ้ าหนี ้เป็ น เป็ นไปตามที่ตกลง
เจ้ าหนี ้ได้ กระทํา (ขอให้ส่งของด้วยวิธีพิเศษ หรื อเจ้าหนี ้ผิดนัด) ผู้ออก

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


17

สิทธิของผู้ชําระหนี ้ ๓๒๖ ว.๑  บุคคลผู้ชําระหนี ้ชอบที่จะได้ รับใบเสร็จเป็ นสําคัญจากผู้รับชําระหนี ้  ผู้ชําระหนี ้ชอบที่จะขอเวนคืนเอกสารอันเป็ นหลักฐานสําคัญแห่งหนี ้
(หลักฐานแห่งการชําระหนี ้) และถ้ าหนีม้ ีการชําระโดยสิ ้นเชิงแล้ ว หรื อให้ ขีดฆ่าเอกสารนัน้
 ถ้ าเอกสารนันหาย
้  ผู้ชําระหนี ้ชอบที่จะให้ จดแจ้ งความข้ อระงับหนี ้ลงในใบเสร็ จหรื อเอกสาร

อีกฉบับหนึ่งต่างหากก็ได้
๓๒๖ ว.๒  ถ้ าหนี ้มีการชําระบางส่วน หรื อ ลูกหนี ้ชอบแต่ที่จะได้ รับใบเสร็จไว้ เป็ นคูม่ ือและให้ จดแจ้ งการชําระหนี ้นันลงไว้
้ ใน
 เอกสารนันยั ้ งให้ สทิ ธิบางส่วนแก่เจ้ าหนี ้อยู่ เอกสาร
ข้ อสันนิษฐานการชําระหนี ้กับ ๓๒๗ ว.๑  ในกรณีชําระดอกเบี ้ย หรื อชําระหนี ้อย่างอื่นอันมีกําหนดชําระเป็ น สันนิษฐานว่าเจ้ าหนี ้ได้ รับ
หลักฐานการชําระหนี ้ ระยะเวลานัน้ ถ้ าเจ้ าหนี ้ออกใบเสร็จให้ เพื่อระยะเวลาหนึ่งโดยไม่อิดเอื ้อน ชําระหนี ้เพื่อระยะก่อนๆ แล้ ว
๓๒๗ ว.๒  ถ้ าเจ้ าหนี ้ออกใบเสร็จให้ เพื่อการชําระเงินต้ น สันนิษฐานว่าเจ้ าหนี ้ได้ รับ
ดอกเบี ้ยแล้ ว
๓๒๗ ว.๓  ถ้ าเจ้ าหนี ้ได้ คืนเอกสารหลักฐานสําคัญในการชําระหนีใ้ ห้ แก่ลกู หนี ้แล้ ว หนี ้เป็ นอันระงับ
การชําระหนี ้เป็ นอย่าง ๓๒๘ ว.๑  กรณีมลู หนี ้หลายราย (แต่มีเจ้าหนีล้ ูกหนีร้ ายเดียวกัน) และลูกหนี ้ชําระไม่ หนี ้รายนันระงั
้ บไป
เดียวกันในมูลหนี ้หลายราย เพียงพอทีจะให้ หนี ้ระงับทุกราย ถ้ าลูกหนี ้ระบุวา่ ชําระหนี ้รายใด
๓๒๘ ว.๒  ถ้ าไม่ระบุ กม. กําหนดให้ ลําดับการระงับของหนี ้เป็ น ดังนี ้
 หนี ้ที่ถึงกําหนดชําระก่อน

 หนี ้ที่มีประกันน้ อยที่สด ุ


 หนี ้ที่ตกเป็ นภาระหนักที่สด ุ แก่เจ้ าหนี ้
 หนี ้ที่เกิดขึ ้นก่อน (หนี ้รายที่เก่าที่ สด
ุ)
 เฉลี่ยตามสัดส่วน

ลําดับการชําระหนี ้กรณี ๓๒๙  กรณีหนี ้แต่ละรายซึ่งมีทงหนีั ้ ้ประธาน และต้ องชําระดอกเบี ้ย และเสียค่า หักค่าฤชาธรรมเนียมก่อน
ดอกเบี ้ยและค่าฤาชาธรรม ฤชาธรรมเนียม กม.กําหนดให้ แล้ วจึงใช้ ดอกเบี ้ย
เนียม แล้ วจึงใช้ หนี ้อันเป็ นประธาน

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


18

ผลของการขอปฏิบตั กิ าร ๓๓๐  เมื่อขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้โดยชอบแล้ ว บรรดาความรับผิดชอบอัน  ความรับผิดที่ปลดเปลื ้องไป คือ ความรับผิด
ชําระหนี ้โดยชอบ เกิดจากการไม่ชําระหนี ้เป็ น อันเกิดจากการที่ลกู หนี ้ไม่ชําระหนี ้ (ความรับ
อันปลดเปลื ้องไป นับตังแต่
้ ผิดกรณีลกู หนี ้ผิดนัด)
เวลาที่ขอปฏิบตั กิ ารชําระหนี ้  ความรับผิดที่ปกติที่ลก ู หนี ้ต้ องมีอยู่แล้ ว
(ไม่ปลดเปลื ้องไป) อาทิ หน้ าที่ในการดูแล
รักษาทรัพย์ ลูกหนี ้ยังต้ องมีหน้ าที่นนอยู
ั้ ่
การวางทรัพย์ ๓๓๑  ถ้ าเจ้ าหนี ้บอกปั ดไม่ยอมรับชําระหนี ้ (ลูกหนี ้ขอปฏิ บตั ิการชาระหนีแ้ ล้ว) ลูกหนี ้สามารถวางทรัพย์อนั ผลของการวางทรัพย์ ได้ แก่
 เจ้ าหนี ้ไม่สามารถรับชําระหนี ้ (ไม่มีความสามารถทาง กม.) เป็ นวัตถุแห่งหนี ้เพื่อประโยชน์  ลูกหนี ้หลุดพ้ นจากหนีน้ นั ้ (๓๓๑)
 กรณีลกู หนี ้ไม่สามารถหยัง่ รู้ถึงสิทธิ หรื อไม่ร้ ูตวั เจ้ าหนี ้แน่นอน โดยไม่ใช่ แก่เจ้ าหนี ้ แล้ วก็จะหลุดพ้ น  เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิรับทรัพย์ที่วางภายใน ๑๐ ปี นบั
ความผิดของลูกหนี ้ (เช่น เจ้าหนีต้ ายไป หรื อสาบสูญ) จากหนี ้นัน้ แต่ได้ รับคําบอกกล่าวการวางทรัพย์ (๓๓๙)
 เจ้ าหนี ้อื่นไม่อาจยึดทรัพย์ที่วางได้ (๓๓๕)

 ความเสี่ยงภัยและความเสียหายในทรัพย์ตก

แก่เจ้ าหนี ้
 เจ้ าหนี ้ต้ องรับผิดชอบค่าฤชาธรรมเนียมเว้ น

แต่ลกู หนี ้ถอนทรัพย์ (๓๓๘)


การถอนทรัพย์ที่วางไว้ ๓๓๔ ว.๑ ลูกหนี ้มีสทิ ธิถอนทรัพย์ที่วางไว้ และถ้ าลูกหนี ้ถอนทรัพย์นนั ้
 ถือเสมือนมิได้ มีการวางทรัพย์
๓๓๔ ว.๒  ถ้ าลูกหนี ้แสดงต่อสํานักงานวางทรัพย์ว่าตนยอมละสิทธิที่จะถอน หรื อ สิทธิในการถอนทรัพย์ของ
 ถ้ าเจ้ าหนี ้แสดงต่อสํานักงานวางทรั พย์วา ่ จะรับเอาทรัพย์นนั ้ หรื อ ลูกหนี ้หมดไป
 ถ้ าการวางทรั พย์นนได้ั ้ เป็ นไปโดยคําสัง่ หรื ออนุมตั ขิ องศาลและได้ บอก
กล่าวความนันแก่ ้ สํานักงานวางทรัพย์
การปลดหนี้ – การที่เจ้ าหนี้แสดงเจตนาฝ่ ายเดียวต่ อลูกหนี้ว่าตนเองยอมสละสิทธิเรียกร้ องที่มีต่อลูกหนี้นั้นทั้งหมดหรือบางส่ วนโดนปราศจากค่ าตอบแทน
การปลดหนี ้ ๓๔๐ ว.๑  ถ้ าเจ้ าหนี ้แสดงเจตนาต่อลูกหนี ้ว่าจะปลดหนีใ้ ห้ หนี ้เป็ นอันระงับสิ ้นไป การปลดหนี ้เป็ นการแสดงเจตนาฝ่ ายเดียวต่อ
๓๔๐ ว.๒  ถ้ าหนี ้มีหนังสือเป็ นเอกสารแล้ ว การปลดหนี ้ต้ อง  ทําเป็ นหนังสือ หรื อ ลูกหนี ้ ซึ่งต้ องไปดูหลักการแสดงเจตนาต่อบุคคล
 เวนคืนเอกสารอันเป็ น ผู้อยู่เฉพาะหน้ า และอยู่ห่างโดยระยะทางด้ วย
หลักฐานให้ แก่ลกู หนี ้ หรื อ
 ขีดฆ่าเอกสารนัน้

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


19

การหักกลบลบหนี้ -- การที่บุคคลสองคนต่างมีสิทธิเรียกร้ องผูกพันซึ่งกันและกัน ในมูลหนี้ที่มีวัตถุแห่ งหนี้เป็ นอย่ างเดียวกัน บุคคลฝ่ ายหนึ่งสามารถแสดงเจตนาฝ่ ายเดียวนาสิทธินั้นมาหักลบ
กับหน้ าที่ต่อบุคคลอีกฝ่ ายเพื่อให้ สิทธิและหน้ าที่ในจานวนที่ตรงกันนั้นระงับไป
การหักกลบลบหนี ้ ๓๔๑ หลักเกณฑ์ หนี ้ระงับเท่าจํานวนที่ตรง กัน หนี ้ที่ไม่ต้องห้ ามหักกลบลบกัน กรณีอื่น ได้ แก่
 มีบค ุ คล ๒ คน ต่างเป็ นเจ้ าหนี ้และลูกหนี ้ซึ่งกันและกัน (ในมูลหนี ้ ๒ ราย) ในมูลหนี ้ทังสองฝ่้ ายที่มาหัก  สิทธิเรี ยกร้ องยังมีข้อต่อสู้อยู่ (๓๔๔)
 หนี ้ทังสองรายต้
้ องมีวตั ถุแห่งหนี ้เป็ นอย่างเดียวกัน กลบลบหนี ้กัน  หนี ้เกิดจากการอันมิชอบด้ วย กม. (๓๔๕)

 หนี ้ที่จะหักกลบทังสองรายต้
้ องถึงกําหนดชําระแล้ ว  สิทธิที่ศาลสัง่ ยึดไม่ได้ (๓๔๖)

 หนี ้นันไม่
้ ต้องห้ ามหักกลบลบกัน  หนี ้ที่ศาลห้ ามลูกหนี ้ชําระ (๓๔๗)

 สภาพแห่งหนี ้ไม่เปิ ดช่อง (๓๔๑ ว.๑)

 ขัดกับเจตนาของคูก ่ รณี (๓๔๑ ว.๒)


วิธีการและผลของการหัก ๓๔๒ ว.๑  การหักกลบลบหนี ้ทําได้ ด้วยคูก่ รณีฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาแก่อีกฝ่ ายหนึ่ง ความระงับแห่งหนี ้มีผลย้ อนหลังถึงเวลาที่หนี ้ทังสองฝ่ ้ ายอาจหักกลบลบหนี ้กันได้
กลบลบหนี ้  การแสดงเจตนาต้ องไม่มีเงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลาเริ่ มต้ นหรื อสิ ้นสุด เป็ นครัง้ แรก (ม.๒๔๒ ว.๒)
การแปลงหนี้ใหม่ -- การที่ค่ ูกรณีท่เี กี่ยวข้ องได้ ทาสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็ นสาระสาคัญแห่ งหนี้ เพื่อระงับหนี้เดิมที่มีอยู่ต่อกัน และตกลงผูกพันกันตามหนี้ใหม่ ซ่งึ ได้ ก่อให้ เกิดขึน้ แทนหนี้เดิมนั้น
การแปลงหนีใ้ หม่ ๓๔๙ หลักเกณฑ์ หนี ้นันระงั
้ บไปด้ วยการแปลง สิง่ ที่ไม่ถือเป็ นสาระสําคัญของหนี ้เดิม (แม้
 มีหนี ้เดิมที่ประสงค์ต้องการให้ ระงับ หนี ้ใหม่ เปลีย่ นแปลงก็ไม่ถือเป็ นการแปลงหนี ้ใหม่) ได้ แก่
 คูส่ญ
ั ญาทําสัญญาแปลงหนี ้เดิมเป็ นหนี ้ใหม่ (มีเจตนา)  วันและเวลาแห่งการชําระหนี ้

 มีการเปลี่ยนสาระสําคัญของหนี ้เดิม ได้ แก่  สถานที่ชําระหนี ้

 การเปลี่ยนวัตถุแห่งหนี ้ (อาทิ เปลี ย ่ นหนีส้ ่งมอบเงินเป็ นหนีก้ ระทาการ)  วิธีการชําระหนี ้

 การเปลี่ยนตัวทรัพย์ซึ่งเป็ นวัตถุแห่งการชําระหนี ้  หลักประกันแห่งหนี ้

 การเปลี่ยนตัวเจ้ าหนี ้ (ใช้หลักการโอนสิ ทธิ เรี ยกร้อง คื อ ต้องมี การทา  อื่นๆ เช่น ดอกเบี ้ย การรับสภาพหนี ้

สัญญาเป็ นหนังสือโดยตกลงกันสามฝ่ าย)


 การเปลี่ยนตัวลูกหนี ้

 การเปลี่ยนเงื่อนไขของหนี ้

 มีหนี ้ใหม่เกิดขึ ้นแทนหนี เ้ ดิม

วิธีการแปลงหนี ้ใหม่ด้วยการ ๓๕๐  การแปลงหนี ใ้ หม่ด้วยการเปลี่ยนตัวลูกหนี ้ ลูกหนี ้เดิมไม่จําเป็ นต้ องร่วมในการทําสัญญา


เปลี่ยนตัวลูกหนี ้  จะทําเป็ นสัญญาระหว่างเจ้ าหนี แ้ ละลูกหนี ใ้ หม่ก็ได้

 ทังนี
้ ้ ต้ องไม่ขืนใจลูกหนี ้เดิม

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


20

กรณีหนี ้เดิมไม่ระงับ ๓๕๑  หนี ้อันพึงจะเกิดขึ ้นเพราะแปลงหนีใ้ หม่ไม่ได้ เกิดขึ ้น หรื อ หนี ้เดิมยังไม่ระงับ ตัวอย่าง ก. เป็ นลูกหนี ้เงินกู้ ข. แล้ วตกลงกันว่า
 ได้ ยกเลิกเสียเพราะมูลหนี ้ไม่ชอบด้ วย กม. หรื อ แทนที่จะชําระเงิน ก. จะเปลี่ยนเป็ นให้ แหวน
 เพราะเหตุอนั ใดอันหนึ่งอันมิร้ ูถึงคูก่ รณี (เป็ นมูลหนี ้ซื ้อขายแหวน) ก. หลอกเอาแหวน
เพชรปลอมมาให้ โดยที่ ข. ไม่ร้ ู ดังนัน้ มูลหนี ้ใหม่
ไม่เกิดขึ ้น ข. ยังคงบังคับเอาจากหนีเ้ ดิมได้
หนี ้เดิมมีจํานําหรื อจํานอง ๓๕๒ คูก่ รณีอาจตกลงโอนสิทธิจํานําหรื อจํานองที่ได้ ให้ ไว้ เป็ นประกันหนี ้เดิม

ไปเป็ นประกันหนี ้รายใหม่ได้ เพียงเท่าที่เป็ นประกันวัตถุแห่งหนี ้เดิม


 ถ้ าหลักประกันของบุคคลภายนอกได้ ให้ ไว้ ต้ องได้ รับความยินยอมจาก

บุคคลภายนอกด้ วย จึงจะโอนได้
หนี้เกลื่อนกลืนกัน – การที่สิทธิและหน้ าที่ในหนี้รายหนึ่งๆ นั้น มาตกอยู่แก่ บุคคลคนเดียวกัน
หนีเ้ กลื่อนกลืนกัน ๓๕๓  หลัก เมื่อสิทธิและความรับผิดในหนี ้รายใดตกอยู่กบ ั บุคคลคนเดียวกัน หนี ้รายนันเป็
้ นอันระงับสิ ้นไป ตัวอย่างข้ อยกเว้ น ก. เอาสิทธิเรี ยกร้ องไปประกัน
 เว้ นแต่เมื่อหนี ้นันตกไปอยู
้ ่ในบังคับแห่งสิทธิของบุคคลภายนอก หรื อ หนี ้บุคคลภายนอก ต่อมา ก. ตาย แม้ ข. ลูกหนี ้
เมื่อสลักหลังตัว๋ เงินกลับคืน ตามความในมาตรา ๙๑๗ ว.๓ ตามสิทธิเรี ยกร้ องจะได้ รับมรดกของเจ้ าหนี ้ ก. ก็
ไม่ทําให้ สทิ ธิเรี ยกร้ องระงับไป บุคคลภายนอก
อาจบังคับตามสิทธิเรี ยกร้ องนันได้ ้ อยู่
ชีทชุดที่ ๗ – การโอนสิทธิเรียกร้ อง / เจ้ าหนีร้ ่ วม / ลูกหนีร้ ่ วม
การโอนสิทธิเรียกร้ อง ๓๐๓  สิทธิเรี ยกร้ องนัน้ กม.ว่าพึงโอนกันได้ เว้ นแต่ สิทธิเรี ยกร้ องที่ศาลยึดไม่ได้ อาทิ สิทธิที่จะได้ รับ
 สภาพแห่งสิทธิไม่เปิ ดช่อง บําเหน็จบํานาญ เบี ้ยหวัดของราชการ เงินเดือน
 คูก ่ รณีมีข้อตกลงห้ ามโอนกันไว้ ค่าจ้ าง เป็ นต้ น
 สิทธิเรี ยกร้ องที่ ศาลยึดไม่ได้ (ม.๓๐๔)

ผลต่อสิทธิอปุ กรณ์ ๓๐๕  เมื่อมีการโอนสิทธิเรี ยกร้ อง สิทธิจํานองหรื อจํานําที่มีอยู่เกี่ยวพันกับสิทธิ ม.๓๐๕ เป็ นผลของการโอนสิทธิเรี ยกร้ อง
เรี ยกร้ อง สิทธิอนั เกิดขึ ้นแต่การคํ ้าประกันที่ให้ ไว้ เพื่อสิทธิเรี ยกร้ อง ย่อม
ตกไปอยู่กบั ผู้รับโอน

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


21

การโอนหนี ้ที่ต้องชําระแก่ ๓๐๖ ว.๑  การโอนหนี ้ที่ต้องชําระแก่เจ้ าหนี ้โดยเฉพาะเจาะจงต้ องทําเป็ นหนังสือ  การโอนสมบูรณ์  การโอนสิทธิเรี ยกร้ องเกิดจากสัญญา
เจ้ าหนี ้โดยเฉพาะเจาะจง  การโอนสิทธิเรี ยกร้ องเมื่อได้ มีการบอกกล่าว (โดยเจ้าหนีเ้ ดิมหรื อเจ้าหนี ้  เจ้ าหนี ้สามารถยกขึ ้น (แต่การรับช่วงสิทธิ/ทรัพย์ เป็ นผลของ กม.)
ใหม่) เป็ นหนังสือแก่ลกู หนี ้ หรื อ ลูกหนี ้ได้ ยินยอมด้ วยในการโอนโดยทํา เป็ นข้ อต่อสู้ตอ่ ลูกหนี ้หรื อ  การโอนสิทธิเรี ยกร้ องต้ องรู้ตวั เจ้ าหนี ้แน่นอน

เป็ นหนังสือแล้ ว บุคคลภายนอกได้ และต้ องทําเป็ นหนังสือจึงจะสมบูรณ์


๓๐๖ ว.๒  หากลูกหนี ้ทําให้ พอใจแก่ผ้ โู อนด้ วยการชําระเงิน หรื อด้ วยประการอื่น ลูกหนี ้หลุดพ้ นจากหนี ้ เป็ นมาตรการคุ้มครองลูกหนี ้ที่ไม่ร้ ูถึงการ
ก่อนได้ รับการบอกกล่าว หรื อก่อนได้ ตกลงให้ โอน (ตามจานวนทีไ่ ด้ชาระไป) เปลี่ยนตัวของเจ้ าหนี ้
การอ้ างสิทธิการโอนสิทธิ ๓๐๗  ถ้ ามีการอ้ างพิพาทสิทธิในการโอนต่างราย การโอนรายใดได้ บอกกล่าว การโอนรายนันมี ้ สทิ ธิดีกว่า
เรี ยกร้ องต่างราย หรื อตกลงกันก่อน การโอนรายอื่น
การยกข้ อต่อสู้ที่มีตอ่ ผู้โอนขึ ้น ๓๐๘ ว.๑  ถ้ าลูกหนี ้ได้ ให้ ความยินยอมเกี่ยวกับการโอนสิทธิเรี ยกร้ องโดยมิได้ ลูกหนี ้ไม่สามารถยกข้ อต่อสู้ที่ ถือว่าลูกหนี ้สละข้ อต่อสู้ที่มีอยู่กบั เจ้ าหนี ้เดิมจน
ต่อสู้ผ้ รู ับโอน อิดเอื ้อน (ไม่มีข้อสงวนหรื อข้ อแม้ ) มีกบั ผู้โอนขึ ้นต่อสู้ได้ หมดสิ ้น ดังนัน้ ลูกหนี ้ ข. แม้ ชําระหนี ้ให้ ผ้ โู อน ก.
 แต่ถ้าลูกหนี ้ได้ ชําระหนี ้ให้ กับ ผู้โอนแล้ ว ลูกหนี ้มีสทิ ธิเรี ยกเงินคืนจาก ไปแล้ ว แต่จะอ้ างกับ ค. ว่าชําระหนี ้ให้ ก. ไปแล้ ว
ผู้โอนได้ หรื อ รับภาระเป็ นหนี ้ ไม่ได้ ต้ องชําระหนี ้ให้ ค. ไปก่อน แล้ วจึงไปเรี ยก
ขึ ้นใหม่ตอ่ ผู้โอน คืนจาก ก. อีกที
๓๐๘ ว.๒  ถ้ าลูกหนี ้เพียงแค่ได้ รับคําบอกกล่าวการโอนเป็ นหนังสือ และถ้ าลูกหนี ้มี ลูกหนี ้สามารถยกข้ อต่อสู้กบั
ข้ อต่อสู้ใดๆ ที่มีมาก่อนได้ รับคําบอกกล่าว ผู้รับโอนซึ่งเป็ นเจ้ าหนี ้ใหม่ได้
การโอนสิทธิเรี ยกร้ องในหนี ้ ๓๐๙  การโอนหนี ้อันพึงชําระตามเขาสัง่ เมื่อการโอนได้ สลักหลังไว้ ในตราสาร การโอนสิทธิเรี ยกร้ องสมบูรณ์ การชําระหนี ้ตามเขาสัง่ คือ ลูกหนี ้รับว่าจะใช้ หนี ้
อันพึงต้ องชําระตามที่เขาสัง่ และตราสารนันได้ ้ สง่ มอบให้ แก่ผ้ รู ับโอน ให้ แก่ผ้ ทู ี่เจ้ าหนีส้ งั่ ให้ ชําระ
สิทธิของลูกหนี ้ในการ ๓๑๐  ในมูลหนี ้อันพึงชําระตามเขาสัง่ ลูกหนี ้มีสทิ ธิ (แต่ก็ไม่จําเป็ นต้ องกระทํา) การชําระหนี ้ไม่สมบูรณ์
ตรวจสอบ  สอบสวนถึงตัวผู้ทรงสาร หรื อ

 สอบสวนความถูกต้ องแท้ จริ งของลายมือชื่อ /ดวงตราของผู้ทรงสาร

 แต่ถ้าลูกหนี ้ทําการโดยทุจริต หรื อ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง


ข้ อต่อสู้ของลูกหนี ้ต่อผู้รับโอน ๓๑๒  ในมูลหนี ้อันพึงชําระตามเขาสัง่ ลูกหนี ้จะยกข้ อต่อสู้ซึ่งมีตอ่
 เว้ นแต่ ข้ อต่อสู้ที่ปรากฏในตัวตราสาร หรื อ ข้ อต่อสู้ที่มีขึ ้นเป็ นธรรมดาสืบ เจ้ าหนี ้เดิมขึ ้นเป็ นข้ อต่อสู้ตอ่
จากลักษณะแห่งตราสารนัน้ ผู้รับโอนโดยสุจริตไม่ได้

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


22

ลูกหนีแ้ ละเจ้ าหนีห้ ลายคน ๒๙๐  ถ้ าการชําระหนี ้เป็ นการอันจะแบ่งกันชําระได้ ลูกหนี ้แต่ละคนจะต้ อง ในระหว่างลูกหนี ้/เจ้ าหนี ้หลายคนต้ องไม่มี

หนี ้แบ่งชําระได้ และมีบคุ คล (ไม่ถือเป็ น  มีบค ุ คลหลายคนเป็ นลูกหนี ้ หรื อ รับผิดเป็ นส่วนเท่าๆ กัน ความสัมพันธ์หรื อ ข้ อตกลงที่จะผูกพัน
หลายคนเป็ นเจ้ าหนี ้หรื อ ลูกหนี ้ร่วม /  มีบค ุ คลหลายคนเป็ นเจ้ าหนี ้ เจ้ าหนี ้แต่ละคนมีสทิ ธิได้ รับ ระหว่างกัน
ลูกหนี ้ เจ้ าหนี ้ร่วม)  เมื่อกรณีเป็ นที่สงสัย (ว่าแต่ละคนรับผิดหรื อชอบเท่าไหร่ ) ชําระหนี ้เป็ นส่วนเท่าๆ กัน  “สงสัย” หมายถึง สงสัยว่าลูกหนี ้/เจ้ าหนี ้แต่

ละคนจะต้ องรับผิดหรื อชอบเท่าไหร่


ลูกหนีร้ ่ วมในสัญญา ๒๙๗  สัญญามีลกู หนี ้หลายคนร่ วมกันผูกพันกันในอันจะทําการชําระหนี ้ สันนิษฐานว่าบุคคลเหล่านัน้  “สงสัย” หมายถึง สงสัยว่าที่ผก ู พันกันนัน้
เดียวกัน (ลูกหนี ้ร่วม)  แม้ ถึงว่าเป็ นการอันจะแบ่งกันชําระหนี ้ได้ จะต้ องรับผิดเช่นอย่างเป็ น เป็ นการผูกพันในลักษณะลูกหนี ้ร่วมหรื อไม่
 หากกรณีเป็ นที่สงสัย (สงสัยว่าที ่ผูกพันกันนัน้ เป็ นลูกหนีร้ ่วมกันหรื อไม่) ลูกหนี ้ร่วมกัน ** ม.๒๙๗ อ.จุณวิทย์ไม่ค่อยออก
การรับผิดระหว่างลูกหนี ้ร่ วม ๓๐๑  ถ้ าบุคคลหลายคนเป็ นหนี ้ ซึ่งสภาพแห่งหนี ้ไม่สามารถแบ่งกันชําระได้ ทุกคนต้ องรับผิดร่วมกันอย่าง ให้ นําบทบัญญัติ ม.๒๙๑ – ๒๙๕ มาบังคับใช้
ลูกหนี ้ร่วม
ผลของการเป็ นลูกหนี ้ร่วม ๒๙๑  เจ้ าหนี ้มีสทิ ธิเรี ยกร้ องให้ ลกู หนี ้คนใดคนหนึ่งชําระหนี ้ได้ สิ ้นเชิง หรื อโดย ลูกหนีร้ ่ วมต้ อง “รับผิดร่ วมกันและแทนกัน”
ส่วนก็ได้ ตามแต่จะเลือก (เรี ยกให้ลูกหนี ้คนเดียวชาระทัง้ หมดก็ได้) หัวใจของความสัมพันธ์ ระหว่ างเจ้ าหนี้กับ
 ลูกหนี ้ร่วมทุกคนต้ องผูกพันกันอยู่จนกว่าหนี ้จะระงับ ลูกหนี้ร่วม
ลูกหนี ้ร่วมคนหนึ่งชําระหนี ้ ๒๙๒ ว.๑  การที่ลกู หนี ้ร่วมคนใดคนหนึ่งชําระหนี ้ หรื อ กระทําแทนการชําระหนี ้ หรื อ เป็ นประโยชน์แก่ลกู หนี ้ร่ วม ม.๒๙๒ – ม.๒๙๔ เป็ นเหตุท่สี ่ งผลถึงลูกหนี้
วางทรัพย์สนิ แทนชําระหนี ้ หรื อ หักลบกลบหนี ้ คนอื่นๆ ด้ วย ร่ วมทุกคน
๒๙๒ ว.๒  ถ้ าลูกหนี ้ร่วมคนหนึ่งมีสทิ ธิเรี ยกร้ องอย่างไร ลูกหนี ้คนอื่นไม่อาจเอาสิทธิ
นันไปใช้
้ หกั กลบลบหนี ้ได้
ผลการปลดหนี ้ให้ ลกู หนี ้ร่วม ๒๙๓  การที่เจ้ าหนี ้ปลดหนีใ้ ห้ แก่ลกู หนี ้คนหนึ่ง เป็ นประโยชน์ตอ่ ลูกหนี ้คน
คนหนึ่ง  เว้ นแต่ตกลงเป็ นอย่างอื่น (ซึ่งต้องตกลงกันระหว่างเจ้าหนีแ้ ละลูกหนีร้ ่ วม อื่นๆ เพียงเท่าส่วนของลูกหนี ้
ทุกคน) ที่ได้ ปลดให้
เจ้ าหนี ้ผิดนัดลูกหนี ้ร่ วม ๒๙๔  การที่เจ้ าหนี ้ผิดนัดต่อลูกหนี ้ร่วมคนใดคนหนึ่ง เป็ นประโยชน์แก่ลกู หนี ้คนอื่น ตัวอย่าง หนี ้เงินทําให้ เจ้ าหนี ้เรี ยกดอกเบี ้ยผิดนัด
ด้ วย ตาม ม.๒๒๔ กับลูกหนี ้ทุกคนไม่ได้ เลย

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


23

ความรับผิดระหว่างลูกหนี ้ ๒๙๖  ในระหว่างลูกหนี ้ร่วมด้ วยกัน เว้ นแต่ได้ มีการกําหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น ลูกหนี ้ร่วมต้ องรับผิดเป็ นส่วน หัวใจความสัมพันธ์ ระหว่ างลูกหนี้ร่วมกันเอง
ร่วม (ด้ วยกันเอง) เท่าๆ กัน  การใช้ สท ิ ธิไล่เบี ้ยโดยการรับช่วงสิทธิของ
 ถ้ าลูกหนี ้ร่วมคนใดไม่สามารถรับชําระหนี ้ในส่วนของตนได้ ลูกหนี ้ร่วมคนอื่นต้ องเฉลี่ย ลูกหนี ้ร่วม ม.๒๙๖ ต้ องอ้ าง ม.๒๒๙ ด้ วย
ความรับผิดในส่วนที่ขาด  การปรับใช้ ม.๒๙๖ กรณี ที่เป็ นคุณหรื อโทษ

 หากเจ้ าหนี ้ปลดหนีใ้ ห้ ลกู หนี ้ร่ วมคนหนึ่ง ส่วนของลูกหนี ้ที่ได้ รับการ เฉพาะตัวแก่ลกู หนีร้ ่วมบางคน ตาม ม.๒๙๕
ปลดหนี ้ตกเป็ นพับแก่เจ้ าหนี ้ จะนําหลักแบ่งส่วนความรับผิดของ ม.๒๙๖
มาใช้ ไม่ได้ (ลูกหนี ้ร่ วมที่ผิดนัดเท่านันต้
้ องรับ
ผิดในดอกเบี ้ยผิดนัด)
กรณีที่เป็ นการเฉพาะตัวของ ๒๙๕ ว.๑  ข้ อความอื่นใดนอกเหนือจาก ม.๒๙๒ – ๒๙๔ เมื่อท้ าวถึงลูกหนี ้ร่วมคน การนันเป็
้ นคุณหรื อโทษแก่ ม.๒๙๕ เป็ นเหตุเฉพาะตัวของลูกหนี้ร่วม
ลูกหนี ้ร่วม ใด เว้ นแต่ขดั กับสภาพแห่งหนี ้ เฉพาะลูกหนี ้คนนัน้
๒๙๕ ว.๒  กรณีตาม ม.๒๙๕ ว.๑ ได้ แก่
 การให้ การบอกกล่าว

 ลูกหนี ้ผิดนัด

 การหยิบยกอ้ างความผิด

 กําหนดอายุความหรื ออายุความสะดุดหยุดลง

 หนี ้เกลื่อนกลืนกัน (กรณี ที่สท ิ ธิและหน้ าที่ตกอยู่กบั คนๆ เดียวกัน)


เจ้ าหนีร้ ่ วม ๒๙๘  เจ้ าหนี ้ร่วมแต่ละคนมีสทิ ธิเรี ยกร้ องให้ ลกู หนี ้ชําระหนี ้แก่ตนได้ โดยสิ ้นเชิง ลูกหนี ้มีสทิ ธิเลือกชําระหนี ้กับ เจ้ าหนีร้ ่ วม มีสิทธิร่วมกันและแทนกัน”
(ผลของการเป็ นเจ้ าหนี ้ร่วม) (เจ้ าหนี ้ร่วม) แม้ วา่ เจ้ าหนีค้ นหนึ่งจะได้ ยื่นฟ้องเรี ยกชําระหนี ้จากลูกหนี ้ไว้ แล้ ว เจ้ าหนี ้คนใดก็ได้ เจ้ าหนี ้ร่วมเกิดได้ โดย
๑) นิตกิ รรมสัญญา และ ๒) ผลของ กม.
เจ้ าหนี ้ร่วมคนหนึ่งผิดนัด ๒๙๙ ว.๑  การที่เจ้ าหนี ้ร่วมคนใดคนหนึ่งผิดนัด ย่อมเป็ นโทษแก่เจ้ าหนี ้คน
(ผลระหว่างเจ้าหนีร้ ่วม) อื่นๆ ด้ วย
๒๙๙ ว.๒  ถ้ าสิทธิเรี ยกร้ องและหนีส้ นิ นันเป็
้ นอันเกลื่อนกลืนกันไปในเจ้ าหนี ้ร่วมคน สิทธิของเจ้ าหนี ้คนอื่นๆ อันมีตอ่ ลูกหนี ้ก็ย่อมระงับสิ ้นไป ทังนี
้ ้ หาตัดสิทธิของ
ใดคนหนึ่งแล้ ว เจ้ าหนี ้ร่วมคนอื่นๆ ในการเรี ยกร้ องกันเองระหว่างเจ้ าหนี ้ไม่
ผลระหว่างเจ้ าหนี ้ร่วมด้ วยกัน ๓๐๐  ในระหว่างเจ้ าหนี ้ร่ วมนัน้ เจ้ าหนี ้ร่วมแต่ละคนชอบที่จะ
เอง  เว้ นแต่จะกําหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น ได้ รับชําระหนี ้เป็ นส่วนเท่ากัน

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53


24

การชําระหนี ้ให้ เจ้ าหนี ้หลาย ๓๐๒ ว.๑ หลักเกณฑ์


คนในหนี ้แบ่งชําระไม่ได้  ถ้ าการชําระหนี ้เป็ นการอันจะแบ่งชําระกันไม่ได้ ลูกหนี ้ต้ องชําระหนี ้ให้ ได้
 มีบค ุ คลหลายคนเป็ นเจ้ าหนี ้ และบุคคลเหล่านันไม่ ้ ได้ เป็ นเจ้ าหนี ้ร่วมกัน ประโยชน์แก่เจ้ าหนี ้ทังหมด

 เจ้ าหนี ้แต่ละคนมีสท ิ ธิ ร่วมกัน
 เรี ยกให้ ชําระหนี ้ได้ เพื่อให้ เจ้ าหนี ้ได้ ประโยชน์ด้วยกันทุกคน

 เรี ยกให้ ลก ู หนี ้วางทรัพย์ที่เป็ นหนี ้กันไว้ เพื่อประโยชน์แห่งเจ้ าหนี ้ทุกคน


 ให้ สง ่ ทรัพย์แก่ผ้ พู ทิ กั ษ์ทรัพย์ที่ศาลจะได้ ตงขึ ั ้ ้นในกรณีที่ทรัพย์ไม่ควร
แก่การจะวาง
๓๐๒ ว.๒  สิง่ ที่เกิดขึ ้นกับเจ้ าหนี ค้ นหนึ่งมีผลเฉพาะตัวกับเจ้ าหนี ้คนนันๆ ้

@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

สรุ ปประมวล กม.ลักษณะหนี้ LA200 โดย Cookingpond TULAW 53

You might also like