การวิเคราะห์เชิงตัวเลข (Numerical Analysis)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.

รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
4094407 การวิเคราะห์เชิงตัวเลข (Numerical Analysis)
2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต 3(3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
ครุศาสตรบัณฑิต
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อาจารย์ปวีณา ขันธ์ศิลา
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ปวีณา ขันธ์ศิลา
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 1/2558 / ชั้นปีที่ 4
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
-
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
20 กรกฎาคม 2558

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคานวณ
1
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.3

1.2 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถหาผลเฉลยของสมการไม่เป็นเชิงเส้นในรูปแบบต่างๆ ได้


1.3 เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเส้นในรูปแบบต่างๆ ได้ พร้อมกับสามารถ
ประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจาวัน
1.4 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประมาณค่าในรูปแบบต่างๆ พร้อมแสดงวิธีทาได้อย่าง
ถูกต้อง
1.5 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ และจาแนกรูปแบบการหาอนุพั นธ์และการอินทิเกรตเชิงตัวเลข
พร้อมกับหาผลเฉลยในทั้งสองรูปแบบได้อย่างถูกต้อง
2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับการคานวณ และหาผลเฉลยในรูปแบบต่างๆ พร้อมกับเสริม
ประสบการณ์เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และสติปัญญา ประยุกต์เนื้อหาที่ได้ศึกษาไปแก้ปัญหาที่
เกิดขึ้นในงานต่างๆ ได้ด้วยตนเอง

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ความคลาดเคลือ่ น ผลเฉลยของสมการไม่เป็นเชิงเส้น ผลเฉลยของระบบสมการเชิงเส้น การประมาณค่า
ในช่วง การประมาณค่าโดยวิธีกาลังสองน้อยสุด การหาอนุพันธ์และปริพันธ์เชิงตัวเลข ปัญหาค่าเริ่มต้นของ
สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
การฝึกปฏิบัติ/งาน
บรรยาย สอนเสริม การศึกษาด้วยตนเอง
ภาคสนาม/การฝึกงาน
1. บรรยาย 42 ชั่วโมง สอนเสริมตามความต้องการ 1. มอบหมายให้มีการฝึก มอบหมายหัวข้อให้
ต่อภาคเรียน ของนักศึกษาที่ลงทะเบียน ทักษะ โดยการทา นักศึกษาไปทาการศึกษา
2. สอบ 2 ครั้งๆ ละ และให้นักศึกษาสอบถามได้ แบบฝึกหัด สัปดาห์ละ ด้วยตนเอง 6 ชั่วโมงต่อ
3.00 ชั่วโมง ต่อภาค หลังเลิกคาบสอน 3 ชั่วโมง (นอกเวลาเรียน สัปดาห์
เรียน ปกติ)
2. มอบหมายงานกลุ่มให้
โดยต้องมีการพรีเซนต์
สัปดาห์ละครั้ง
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชา จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1
ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์ประจารายวิชาประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านบอร์ดสาขา หรือแจ้งให้ทราบภายในคาบสอน

2
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.3

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้รับมอบหมาย, สามารถทางานเป็นทีมได้ เคารพในสิทธิส่วน
บุคคล โดยพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรมและ จริยธรรมตามคุณสมบัติ ดังนี้
1. การมีจิตสานึกและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เช่น การตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน
3. เคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรือข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
4. เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
5. มีภาวะทั้งการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี สามารถทางานเป็นทีมได้อย่างราบรื่น
6. มีใจใฝ่ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจากบทเรียนในชั้นเรียน
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2. วิธีการสอน
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
2. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
3. มอบหมายให้นักศึกษาทางานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นา สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ
1.3. วิธีการประเมินผล
1. ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้า
ร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
2. ความรู้
2.1. ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้เกี่ยวกับความคลาดเคลื่อน ผลเฉลยของสมการไม่เป็นเชิงเส้น ผลเฉลยของระบบสมการเชิง
เส้นการประมาณค่าในช่วง การประมาณค่าโดยวิธีกาลังสองน้อยสุด การหาอนุพันธ์และปริพันธ์เชิงตัวเลข
ปัญหาค่าเริ่มต้นของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ

2.2. วิธีการสอน
1. บรรยายประกอบสื่อ/ยกตัวอย่าง
2. อภิปราย การทางานกลุ่ม
3. การทาแบบฝึกหัด การนาเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
4. การค้นคว้าและการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้
2.3. วิธีการประเมินผล
1. การตอบคาถามและการให้ความร่วมมือในชั้นเรียน

3
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.3

2. การสอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค และการสอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ


และทฤษฎี
3. ประเมินจากแบบฝึกหัดหรืองานที่ได้รับมอบหมาย
3. ทักษะทางปัญญา
3.1. ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
1. สามารถบูรณการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม
2. สามารถสืบค้นและประเมินข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
3. สามารถวิเคราะห์โจทย์และปัญหาที่มีความซับซ้อน เพื่อหาคาตอบและเสนอแนวทางในการแก้ไข
ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างสร้างสรรค์
3.2. วิธีการสอน
1. มอบหมายให้นักศึกษาทาแบบฝึกหัด และวิเคราะห์โจทย์เพื่อแก้ปัญหาทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้น
เรียน
2. อภิปรายกลุ่ม
3. เสริมสร้างและเน้นการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถนาไปใช้ได้จริง
3.3. วิธีการประเมินผล
1. การตอบคาถามและการให้ความร่วมมือในชั้นเรียน
2. สอบกลางภาค การสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
3. ประเมินจากแบบฝึกหัดหรืองานที่ได้รับมอบหมาย
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
1. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้นาหรือสมาชิกของกลุ่ม
2. สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นาและ
สมาชิกของกลุ่ม
3. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและบุคคลทั่วไป
4. สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
5. รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
4.2. วิธีการสอน
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทางานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีป ฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษย์สัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ
4.3. วิธีการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาขณะทากิจกรรมกลุ่ม
2. การนาเสนอผลงานเป็นกลุ่ม
3. ประเมินความสม่าเสมอของการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

4
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.3

5. ประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
พิจารณาตามหลักการต่อไปนี้
1. สามารถใช้หลักการและทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ในงานที่ได้รับมอบหมายได้ถูกต้อง
2. สามารถใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการจัดการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้
3. สามารถระบุ เข้าถึง สืบค้นและคัดเลือกแหล่งข้อมูลที่เหมาะสมและเชื่อถือได้
4. สามารถสรุปความสาคัญ หรือประเด็นต่างๆ และสามารถสื่อสารทั้งการพูด การเขียน หรือเลือก
รูปแบบการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
5. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
5.1.วิธีการสอน
1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน
ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ
2. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หลากหลายและเหมาะสม
3. จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนาเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางคณิตศาสตร์
5.2.วิธีการประเมินผล
1. ทักษะการพูดในการนาเสนอผลงาน
2. ทักษะการเขียนรายงาน
3. ทักษะการนาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ความสามารถในการใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์อธิบาย อภิปรายผลงานได้อย่างเหมาะสม
5. เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาเชิงตัวเลข

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ จานวน
หัวข้อ/รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้ ผู้สอน
ที่ ชั่วโมง
- ชี้แจงเกี่ยวกับการเรียนการสอน 3 อาจารย์ผู้สอนแนะนาตัว ชี้แจง อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
รายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
1 จุดประสงค์ เป้าหมาย เกณฑ์การวัด
และการประเมินผล แนะนาหนังสือ
ที่ใช้ประกอบการสอน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
2
การคานวณ อภิปรายกลุ่ม
5
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.3

1.1 เลขฐานต่างๆ
1.2 ความคลาดเคลื่อน
1.3 วิธีวัดค่าความคลาดเคลื่อน
บทที่ 2 การหาผลเฉลยของสมการ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
ไม่เป็นเชิงเส้น อภิปรายกลุ่ม
2.1 การหาค่าประมาณของราก
3
สมการ
2.2 การตรวจสอบสาหรับการลู่เข้า
2.3 ระเบียบวิธีการแบ่งครึ่งช่วง
บทที่ 2 (ต่อ) 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
2.4 ระเบียบวิธีการวางผิดตาแหน่ง อภิปรายกลุ่ม
4
2.5 ระเบียบวิธีนิวตัน – ราฟสัน
2.6 ระเบียบวิธีเชแดนท์
บทที่ 2 (ต่อ) 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
2.7 ระเบียบวิธีของการทาซ้า อภิปรายกลุ่ม
2.8 การลู่ข้าวของระเบียบวิธีการ
5 ทาซ้า
2.9 ค่าขอบเขตของความ
คลาดเคลื่อนของระเบียบวิธีของการ
ทาซ้า
บทที่ 3 การหาผลเฉลยของระบบ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
สมการเชิงเส้น อภิปรายกลุ่ม
6
3.1 ระบบสมการเชิงเส้น
3.2 ระเบียบวิธีโดยตรง
บทที่ 3 (ต่อ) 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
3.3 ความคลาดเคลื่อนในการแก้ อภิปรายกลุ่ม
7
ระบบสมการเชิงเส้น
3.4 ระเบียบวิธีการทาซ้า
8 สอบกลางภาค 3 สอบข้อเขียน -
บทที่ 4 การประมาณค่าในช่วงเชิง 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
ตัวเลข อภิปรายกลุ่ม
9 4.1 พหุนามประมาณค่าในช่วงแบบ
เชิงเส้นและแบบลากรองจ์
4.2 พหุนามนิวตัน
4.3 ผลต่างจากัด
6
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.3

บทที่ 4 (ต่อ) 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา


10 4.4 การประมาณค่าในช่วงผกผัน อภิปรายกลุ่ม
4.5 ค่าคลาดเคลื่อนของการ
ประมาณค่าในช่วง
11 บทที่ 5 การประมาณแบบกาลังสอง 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
น้อยสุด อภิปรายกลุ่ม
บทที่ 6 การหาอนุพันธ์และการ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
อินทิเกรตเชิงตัวเลข อภิปรายกลุ่ม
12
6.1 การหาอนุพันธ์เชิงตัวเลข
6.2 การอินทิเกรตเชิงตัวเลข
บทที่ 7 การหาผลเฉลยเชิงตัวเลข 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
ของสมการเชิงอนุพันธ์ อภิปรายกลุ่ม
13
7.1 ระเบียบวิธีของออยเลอร์
7.2 ระเบียบวิธีของฮุน
บทที่ 7 (ต่อ) 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
14 7.3 ระเบียบวิธีของเทย์เลอร์ อภิปรายกลุ่ม
7.4 ระเบียบวิธีของรุงเง – คุตตา
บทที่ 7 (ต่อ) 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปวีณา ขันธ์ศิลา
7.5 ระเบียบวิธีแบบตัวทานายค่า – อภิปรายกลุ่ม
15 ตัวแก้ไขค่า
ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
16 สอบปลายภาค 3 สอบข้อเขียน -

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ สัดส่วนของการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
ประเมิน ประเมินผล
สอบกลางภาค 8 30 %
1
สอบปลายภาค 16 40 %
2 เข้าเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 งาน ตลอดภาคการศึกษา 20 %

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
7
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.3

1. เอกสารและตาราหลัก
1. ภัทรา โรจนไพบูลย์. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข. ตาราประกอบการสอน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2537.
2. สุณี อัษฎายุธ. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข1. ตาราประกอบการสอน. มหาวิทยาลัยขอนแก่น . 2542.
3. ธีระพล สลีวงศ์ และ ชื่นชม พงษ์ชวลิต. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข. เอกสารประกอบการเรียนการสอน.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 2548.
4. เสนอ คุณประเสริฐ. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข 1 และโปรแกรม. กรุงเทพ: ห้างหุ้นส่วนจากัด วี.เจ.พริ้นติ้ง.
2551.
5. อาพล ธรรมเจริญ. วิธีการคานวณและการวิเคราะห์เชิงตัวเลข. กรุงเทพ: โรงพิมพ์พิทักษ์การพิมพ์.
2553.
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
ไม่มี
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
www.gegapedia.com

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดทากิจกรรมโดยการนาแนวคิดและ
ความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. สังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
3. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
4. ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
2. ผลการสอบ
3. ตรวจแบบฝึกหัด/รายงาน
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน

8
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ มคอ.3

2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามทีค่ าดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการ
ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน
และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ
4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา
ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์

You might also like