You are on page 1of 88

การจําแนกชนิดพืชในบัญชีแนบทายอนุสัญญาไซเตส

สุคิด เรืองเรื่อ

สํานักงานหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพชื


อนุสัญญาไซเตส (CITES) คืออะไร
• อนุสญ ั ญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึง่ ชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ
(Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and
Flora)
• เปนที่รูจกั ในชือ่ อนุสญ
ั ญากรุงวอชิงตัน (Washington Convention) ซึ่งเริ่มใชบังคับ
ตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2518
• ปจจุบันมีสมาชิก 175 ประเทศ
• มีเจตนารมณ ในการอนุรักษทรัพยากรสัตวปาและพืชปาทีใ่ กลจะสูญพันธุ
• กําหนดมาตรการในการควบคุมการคาแบบยั่งยืน
• ควบคุมเฉพาะ การคาระหวางประเทศ เทานั้น
อนุสัญญาไซเตส กับประเทศไทย
• ประเทศไทยเขารวมประชุม ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา พ.ศ.
2516
• เปนสมาชิกอนุสัญญาฯ ลําดับที่ 78 ป พ.ศ. 2526
• ตองมีกฎหมายภายในประเทศที่จะตองบังคับใช
• มีดานตรวจ อนุญาตการนําเขา-สงออกระหวางประเทศ
• มีเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ และฝายวิชาการ
• รายงานสถิติการคาระหวางประเทศของชนิดพืชและสัตวที่กาํ หนดทุกป
สัญลักษณอนุสัญญาไซเตส (Logo)
หนวยงานที่รับผิดชอบอนุสัญญาไซเตสในประเทศไทย

พ.ร.บ. สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535

พ.ร.บ. สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535

พ.ร.บ. พันธุพืช พ.ศ. 2518 แกไขเพิ่มเติม (2) พ.ศ. 2535


ชนิดพันธุในบัญชีแนบทายอนุสัญญาไซเตส
ชนิดพันธุในบัญชีแนบทายที่ 1
(Appendix I)

หมายถึง
ชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม อยูในภาวะใกลสูญพันธุ มาจากปาธรรมชาติโดยตรงหามทํา
การคาโดยเด็ดขาด
ยกเวน เพื่อการศึกษาวิจัยหรือทดลองทางวิทยาศาสตร
หากไดมาจากการขยายพันธุเทียม อนุญาตใหทําการคาได
ตัวอยางพืชที่อยูในบัญชี 1 ของประเทศไทย ไดแก กลวยไมรองเทานารี (ทุกชนิด) และ
เอื้องปากนกแกว
ตัวอยางพืชที่อยูในบัญชี 1 ของประเทศไทย

ûƒæä ææä ´ó œõ เหลืองกระบี่ เมืองกาญจน


เอื้องปากนกแกว

เหลืองเลย อินทนนท สุขะกุล คางกบ

เหลืองปราจีน เหลืองตรัง ฝาหอย ชาวชุมพร ขาวสตูล


ชนิดพันธุในบัญชีแนบทายอนุสัญญาไซเตส
ชนิดพันธุในบัญชีแนบทายที่ 2 (Appendix II)

หมายถึง
ชนิดพันธุที่เหลืออยูคอนขางนอย หรือกําลังถูกคุกคาม แตยังไมถึงกับสูญพันธุ สามารถ
ทําการคาได ภายใตการควบคุม เพื่อหลีกเลี่ยงมิใหชนิดพันธุดังกลาว ตกอยูในภาวะใกล
สูญพันธุ
ตัวอยางพืชที่อยูในบัญชี 2 ของประเทศไทย ไดแก กลวยไมทุกชนิด (นอกเหนือจาก
บัญชีแนบทายที่ 1) กฤษณา หมอขาวหมอแกงลิง ปรง และกระบองเพชร เปนตน
ชนิดพันธุในบัญชีแนบทายอนุสัญญาไซเตส

ชนิดพันธุในบัญชีแนบทายที่ 3 (Appendix III)

หมายถึง
ชนิดพันธุที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่งและรองขอให
ภาคีสมาชิกอื่นชวยควบคุมการคาชนิดพันธุนั้นดวย
ตัวอยางพืชที่อยูในบัญชี 2 เชน มะเมื่อย (Gnetum montanum Markgr.) ของประเทศ
เนปาล
หากตองการนําเขา สงออก นําผานพืชอนุรักษ ตองทําอยางไร ?
ประเภทหนังสืออนุญาตพืชอนุรักษ มี 4 ประเภท คือ
1. หนังสืออนุญาตสงออก (Export Permit)
2. หนังสืออนุญาตนําเขา (Import Permit)
3. หนังสืออนุญาตนําผาน (Re-Export Permit)
4. หนังสือรับรองอืน่ ๆ (Other Certificate)

กรณีพืชลูกผสม (ไมจัดเปนพืชอนุรักษ)
การสงออกใหปฏิบัติตามเงื่อนไขของประเทศปลายทาง
การนําเขาไมตองขอหนังสืออนุญาตนําเขา แตตองปฏิบัติตามหลัก
กฎหมายและวิชาการดานการกักกันพืช
“พืชอนุรักษ”
คือ พืชชนิดที่กําหนดไวในบัญชีแนบทายอนุสัญญาวาดวยการคา
ระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ (CITES) ซึ่ง
รัฐมนตรีประกาศกําหนดในพระราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 3, มาตรา
29 ทวิ)

บทลงโทษ
ผูใดฝาฝนมาตรา 29 ตรี (นําเขา สงออก โดยไมมีหนังสืออนุญาตไซเตส)
มาตรา 29 จัตวา (ไมยื่นขอจดทะเบียนสถานที่เพาะเลี้ยงพืชอนุรักษเพื่อการคา)
ตองโทษ
จําคุกไมเกิน 3 เดือน หรือปรับไมเกิน 3,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
พืชในบัญชีแนบทายอนุสัญญาไซเตส
56 families

- บัญชีที่ 1 301 spp. + 4 sspp.

- บัญชีที่ 2 29,592 spp. (incl. 162 popns)

- บัญชีที่ 3 12 spp. (incl. 2 popns) + 1 var.


การจําแนกชนิดในบัญชีแนบทาย
การจําแนกพืชออกเป็ นหมวดหมู่ (Plant Classification)
เป็ นการนําพืชที่มีลักษณะเหมือนกันมาจัดไว้ ในกลุ่มหรือหมู่
เดียวกัน และมีการแบ่ งพืชออกเป็ นลําดับต่ างๆ
อาณาจักร (Kingdom)
ดิวิช่ ัน (Division)
คลาส (Class)
อันดับ (Order)
วงศ์ (Family)
สกุล (Genus)
ชนิด (Species)
อาณาจักร (Kingdom) Plantae
ดิวชิ ่ ัน (Division) Magnoliophyta
คลาส (Class) Magnoliopsida
อันดับ (Order) Ranales
วงศ์ (Family) Lauraceae
สกุล (Genus) Cinnamomum
ชนิด (Species) Cinnamomum iners
ชื่อพฤกษศาสตร (Botanical Name)
หรือชือ่ วิทยาศาสตร (Scientific Name)

- พรรณไมแตละชนิดในโลกนี้มีชื่อพฤกษศาสตรที่ถูกตองเปนที่เขาใจทัว่ โลก
เพียงชื่อเดียว
- การตั้งชื่อพฤกษศาสตรของพืชมีกฏเกณฑที่วางไวเปนสากล
ทําไมตองใชชอื่ พฤกษศาสตร?

- ชื่อพื้นเมืองและชื่อสามัญไมสามารถนําไปใชใน
การสื่อความหมายทางวิชาการทีถ่ กู ตองได
- ชื่อพื้นเมืองใชอยูเฉพาะทองที่ใดทองที่หนึ่ง
ไมเปนภาษาสากล
- พืชหลายชนิดมีชื่อพื้นเมืองหรือสามัญเดียวกันหรือ
พืชบางชนิดมีชื่อพื้นเมืองหรือชื่อสามัญหลายชื่อ
- พืชบางชนิดไมมีชื่อพื้นเมืองหรือชื่อสามัญใหเรียก
ชื่อพฤกษศาสตร หรือชื่อวิทยาศาสตร ตองเปนภาษาลาตินหรือคําที่มาจาก
ภาษาอื่นแตถกู แปลงใหเปนลาตินแลว
เหตุผล?

- ภาษาลาตินเปนภาษาเกาแก เปนรากภาษาของชาติตาง ๆ
ในยุโรป
- ภาษาลาตินไมมีการเคลื่อนไหวเปลีย่ นแปลงอีกตอไปแลว
- ไมมีการใชเปนภาษาพูดประจําชาติใดชาติหนึ่งในปจจุบนั
ทําใหผูใชเกิดความเต็มใจ ไมเกิดอคติเวลาใช
ชื่อพฤกษศาสตรหรือชื่อวิทยาศาสตรประกอบดวย
ชื่อสกุล (generic name)
คําระบุชนิด (specific epithet)

ชื่อพฤกษศาสตรของรัง Shorea siamensis Miq.


ชื่อสกุล Shorea
ชื่อคําระบุชนิด siamensis
การเขียนใหสมบูรณควรมีชื่อผูตั้งชื่อไมชนิดนั้น ๆ ดวย
Miq. (ยอมาจาก Miquel)
การเขียนชื่อพฤกษศาสตร
ชื่อสกุลใหเขียนขึ้นตนดวยตัวใหญ ชื่อคําระบุชนิดใหเขียนขึ้นตนดวยตัวเล็ก
อาจเขียนไดหลายแบบ เชน
ชื่อพฤกษศาสตรของยางนา
-ขีดเสนใต Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don
-พิมพเปนตัวหนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don
-พิมพเปนตัวเอน Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don

บุคคลผูตั้งชื่อใหเปนไปตามปกติ
• โดยทั่วไปแลวทางอนุกรมวิธาน “ชนิด” หรือ (species) ถือเปนลําดับ
เล็กสุด แต เนื่องจากพืชมีความหลากหลายทางพันธุกรรมมาก อาจแบง
หนวยอนุกรมวิธานต่ํากวาชนิด (Infrspecific taxa) เชน
• ชนิดยอย (subspecies; subsp. หรือ ssp.)
• ชนิดยอยลักษณะก้ํากึง่ ,โดดเดน อาจแยกเปนพันธุ (variety; var.)
• ถาประชากรมีลักษณะที่ตางออกไป เชน ดอกสีเผือก ก็ระบุเปน “แบบ”
(form; f.)
• การคัดเลือกสานพันธุ (clone) โดยมนุษย จะระบุ “พันธุปลูก”
(cultivar; cv.)
เชน กลวยไม Rhynchostylis gigantea ‘Prem’s Peach’
• อนุสัญญา ฯ กําหนดชนิดพันธุลูกผสม (hybrids) เสมือนวาอยูในบัญชี
แนบทาย
• ไมไดประกาศไวในประกาศกระทรวงเกษตรฯ เรื่องพืชอนุรักษ ออก
หนังสือรับรอง Other Certificate แทนหนังสืออนุญาต หรือ Permit

• ชนิดพันธุลูกผสมในบัญชีแนบทายอนุสญั ญาฯ ไดแก


- หมอขาวหมอแกงลิงลูกผสม (Nepenthes hybrids)
- วงศพืชกินแมลง (Sarracenia hybrids)
- กระบองเพชรลูกผสม (Cactus hybrids)
- กลวยไมลูกผสม (Orchid hybrids)
ลักษณะประจําวงศ์ พรรณไม้ ในอนุสัญญาฯ ที่สาํ คัญ
ลักษณะที่ใช้ ในการจัดจําแนกในแต่ ละวงศ์ ได้ แก่

•วิสัยการเจริญเติบโต การเรี ยงตัวของใบ


•ลักษณะของดอก ชนิดช่ อดอก สมมาตรดอก จํานวนกลุ่มของเกสร
เพศผู้ จํานวนและการเชื่อมติดกันของเกสรเพศเมีย ตําแหน่ งรังไข่
ตําแหน่ งไข่ อ่อน
•ชนิดของผล และการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ
วงศและจํานวนชนิดพันธุพชื ตามอนุสัญญาฯ ของประเทศไทย
Row Labels จํานวน
APOCYNACEAE 1
CACTACEAE 12
CYATHEACEAE 9
CYCADACEAE 12
DICKSONIACEAE 1
EUPHORBIACEAE 5
GNETACEAE 1
LEGUMINOSAE (FABACEAE) 1
MAGNOLIACEAE 1
MELIACEAE 1
NEPENTHACEAE 15
ORCHIDACEAE 1270
THYMELAEACEAE 5
Grand Total 1,334
วงศ์ โมก (Apocynaceae)

ทุกส่ วนเมื่อตัดมีนํา้ ยางสีขาว


ใบเดี่ยว เรี ยงตรงข้ าม หรือติดเป็ นวงรอบข้ อ
ดอก ออกเป็ นช่ อตามซอกใบ หรื อตามปลายยอด กลีบเลีย้ ง
และกลีบดอกมีอย่ างละ 5 กลีบ
ผลเป็ นฝั กคู่ เมื่อแก่ แตก เมล็ด มีขนกระจุกที่ปลาย

เช่ น โมก สัตบรรณ ทุ้งฟ้า ลั่นทม


พืชอนุรักษบัญชี 2
ตัวอยางพืชวงศ APOCYNACEAE

ระยอม
Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz
ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557
วงศกระบองเพชร (Cactaceae)

พบในที่แลง ลําตนอวบน้ํา ทรงกระบอก ปุมปม สัน หรือเปนขอตอ


ใบลดรูปเปนหนามหรือหลุดรวงเร็ว
มีน้ําเลี้ยงใสหรือเหนียว
ดอกเดี่ยว ขาดใหญ เกิดเหนือหรือใกลขุมหนาม ดอกสมบูรณเพศตามรัศมี
กลีบรวมจํานวนมาก โคนเชื่อมติดกันเปนรูปถวย เกสรเพศผูจํานวนมาก
ผลมีเนื้อหลายเมล็ด (Berry)

วงศที่ใกลเคียง-ลักษณะที่แตกตาง
วงศ Euphorbiaceae เชน โปยเชียนและสลัดได (สกุล Euphorbia) ชอดอกรูปถวย
(Cyathium) ยอดเกสรเพศเมียมี 3 แฉก มี 1 ออวุลใน 1 ชองรังไข
พืชอนุรักษบัญชี 2 ตัวอยางพืชวงศ Cactaceae
เสมา Opuntia elatior Mill.

กระบองเพชร
Cereus hexagonus (L.) Mill.
ที่มา: http://caribfruits.cirad.fr/fruits_cactus ที่มา: http://violapinnata.blogspot.com

กุหลาบพุกาม Pereskia bleo (Kunth) DC.

มังกรคาบแกว
Schlumbergera truncata (Haw.) Moran

ที่มา: http://tuetamclinic.blogspot.com ที่มา : http://filocactus.blogspot.com


วงศเฟรนตน (Cyatheaceae)
ลักษณะทั่วไป
เฟนขนาดใหญ อาจสูงถึง 20 เมตร มีเกล็ดปกคลุม
ใบเปนใบประกอบขนาดใหญ เรียกวา fronds อาจมีขนาดใหญถึง 3-4 เมตร
กลุมของอับสปอรเรียก sori รูปกลม เกิดใตใบ
ภายในลําตนมีเสนใย ทําใหลําตนเหนียวแนนคงทน

เปนพืชอนุรักษบัญชี 2 เชน Cyathea australis, Cyathea cooper, Cyathea


dregei, Cyathea dealbata, กูดตนดอยปุย (Cyathea spinulosa), กูดตนดอย
อางขาง (Cyathea chinensis), กูดตนดอยสุเทพ,กูดพราว (Cyathea
latebrosa), เฟนหัวอายเปด (Cyathea contaminans), มหาสแดง (Cyathea
gigantea), มหาสดํา (Cyathea podophylla), กูดโยง (Cyathea glabra), กูดตน
(Cyathea borneensis)
ตัวอยางพืชวงศ Cyatheaceae

กูดตนดอยอางขาง (Cyathea chinensis Copel.)

กูดหัวอายเปด (Cyathea contaminans (Wall. ex


Hook.) Copel.)
กูดดอยปุย (Cyathea spinulosa Wall. ex Hook.)
ğŇ
·ůŀ: http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/factsheets/index.php
เฟิ นต้ น บ ัญช ี 2

Cyathea spp.
ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557
วงศปรง (Cycadaceae)
•ลักษณะทั่วไป
•พืชใบเลี้ยงเดี่ยวทีไ่ มมีดอกแท Gymnosperm
•แยกเพศอยูตา งตน ลําตนลักษณะคลายตนปาลม
•สวนขยายพันธุทั้งเพศผูเพศเมีย เกิดอยูบริเวณสวนกลางยอดที่ปลายลํา
ตนหรือ จากซอกใบใกลปลายลําตน เรียกวา Cone
•ผลของปรงมักมีทรงคอนขางกลม เปลือกแข็ง ภายในมีเมล็ดเดียว

เปนพืชอนุรักษบัญชี 1 มีเพียงชนิดเดียว คือ Cycas beddomei Dyer


เปนพืชอนุรักษบัญชี 2 ไดแก ปรงชนิดอื่น ๆ (Cycas spp.)
พืชอนุรักษบญ
ั ชี 1 ตัวอยางพืชวงศ Cycadaceae

ğŇ
·ůŀ: http://bsienvis.nic.in/viewPhotos.aspx?Cat_Id=15
พืชอนุรักษบัญชี 2 ตัวอยางพืชวงศ Cycadaceae
ปรงทุกชนิด (cycas spp.)
วงศเฟรนลูกไกทอง (Dicksoniaceae)
ลักษณะทั่วไป
มีเหงาใหญแข็งแรง ฝงลึกแนนอยูในดิน ลําตนตั้งตรง ไมแตกกิ่ง
ปลายยอดปกคลุมดวยขนยาวสีเหลืองทองเปนมัน
กานใบใหญ มีขนที่สวนโคน ใบขนาดใหญยาวกวา 3 เมตร
กลุมของอับสปอรรูปทรงคลายกระเปาชัดเจน

เปนพืชอนุรักษบัญชี 2 พืชทุกชนิดในสกุล Dickasonia spp. ในประเทศไทยพบ 1


ชนิด คือ วานลูกไก หรือละอองไฟฟา (Cibotium barometz (L.) J. Sm.)
พืชอนุรักษบัญชี 2 ตัวอยางพืชวงศ Dicksoniaceae

เฟนลูกไกทอง (Cibotium barometz (L.) J. Sm.)


ğŇ
·ůŀ: http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/factsheets/index.php
DICKSONIACEAE

วานลูกไกทอง (Cibotium barometz (L.) J. Sm.) บัญชี 2

ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557


วงศ์ เปล้ า (Euphorbiaceae)
- นํา้ ยาง สีขาว สีแดง หรือใส บางครั ง้ ไม่ พบ
-ใบเดี่ยว หรื อใบประกอบแบบนิว้ มือ เรี ยงสลับหรื อเรี ยง
เวียน
บางครัง้ พบต่ อมที่โคนใบ ขอบใบ หรือแผ่ นใบ
ดอก ออกเป็ นช่ อแบบช่ อแยกแขนง มีขนาดเล็ก ดอกแยกเพศ
ผลแห้ งแตก ผลมีเนือ้ หนึ่งถึงหลายเมล็ด ผลมี 3 พู

เช่ น เปล้ า มะยม มะขามป้อม ยางพารา


พืชอนุรักษบัญชี 2 ตัวอยางพืชวงศ Euphorbiaceae
สลัดไดปา (Euphorbia antiquorum L.)

พญาไรใบ (Euphorbia tirucalli L.) สลัดได (Euphorbia trigona Mill.)


วงศเมื่อย (Gnetaceae)
ลักษณะทั่วไป
•ไมเถาเลื้อยเนื้อแข็ง หรือไมยืนตน กิ่งเปนขอตอกันและตามขอจะโปงพอง
•ใบเดี่ยวติดเรียงแบบตรงกันขาม
•ชอดอกตัวผูมีลักษณะรวมกันเปนหลอด กานชอยาวเปนขอๆ ตามขอมีดอกตัวผูเรียงอยู
โดยรอบ ดอกหนึ่งๆ มีกาบรอง 2 อัน ซึ่งเชื่อมติดกันเปนขอบคลายกลีบดอกมี sporangia
อันเดียวตอนปลาย
•ผลมีเมล็ดเดี่ยวแข็ง รูปกลมรี

ชนิดพืชอนุรักษและกฏระเบียบทางการคา
ประเทศเนปาลไดขอบรรจุชนิดพันธุ มะเมื่อย (Gnetum montanum Markgr.) เปนพืช
อนุรักษบัญชี 3 ดังนี้ ถาชนิดพันธุดังกลาวมาจากประเทศเนปาลจะตองมีหนังสืออนุญาต
สงออก (CITES Export permit) แตถาชนิดพันธุนี้มาจากประเทศอื่นจะตองมีหนังสือรับรอง
ถิ่นกําเนิด (Certificate of origin) วาไดมาจากประเทศทีไ่ มไดระบุไวในบัญชี 3
พืชอนุรักษบัญชี 3 ตัวอยางพืชวงศ Gnetaceae

เมื่อย (Gnetum montanum Markgr.)


วงศ์ ถ่ วั (Leguminosae)
ใบเดี่ยว หรื อใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ หรื อเรี ยงเวียน
มักมีหใู บ
ดอก กลีบเลีย้ งเชื่อมกันเป็ นหลอด กลีบดอกส่ วนใหญ่ มี 5
กลีบ แยกกัน เกสรเพศผู้ส่วนใหญ่ มี 10 อัน หรื อมากกว่ า รั งไข่
อยู่เหนือวงกลีบ
ผล เป็ นฝั กแบบถั่ว หรือเป็ นฝั กหักข้ อ
การแบ่ งวงศ์ ย่อยของพืชวงศ์ ถั่ว
1. ดอกสมมาตรตามรัศมี Mimosoideae

2. ดอกสมมาตรดานขาง

2.1 กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกัน


Caesalpinioideae

2.2 กลีบดอก 5 กลีบ แบงเปน กลีบกลาง กลีบคูขาง และกลีบคูล าง


มักเชือ่ มติดกันดานขาง
Papilionoideae
1. Leguminosae-Mimosoideae
ใบประกอบแบบขนนกชัน้ เดียวและ 2 ชัน้ เรี ยงเวียน
ดอกขนาดเล็กออกรวมกันเป็ นช่ อดอก แบบช่ อเชิงลด
ช่ อกระจะหรื อช่ อกระจุก กลีบเลีย้ งและกลีบดอกโคนเชื่อม
ติดกันเป็ นหลอด ปลายแยก เกสรเพศผู้ มี 4-10 อัน หรื อ
มากกว่ า
ผล เป็ นฝั กแบบถั่ว

www.google.co.th/search?hl=th&biw=1280&bih=880&noj=1&site=imghp&tbm

เช่ น จามจุรี กระถินณรงค์ สะตอ มะขามเทศ


2. Leguminosae-Caesalpinioideae
ใบเดี่ยว หรื อใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ
ดอกแบบสมมาตรด้ านข้ างช่ อดอกแบบช่ อกระจะ หรื อ
ช่ อแยกแขนง บางครั ง้ แยกเพศ กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ กลีบดอก
0-5 กลีบ เกสรเพศผู้ 1-10 อัน มักมีเกสรเพศผู้ท่ ลี ดรู ป
ผล แบบฝั กถั่วหรือฝั กหักข้ อ มี 1 ถึงหลายเมล็ด

เช่ น ราชพฤกษ์ ขีเ้ หล็ก หางนกยูงไทย เสีย้ วดอกขาว


2. Leguminosae-Papilionoideae
ใบเดี่ยว หรื อใบประกอบแบบขนนก เรียงเวียน
ดอกสมมาตรด้ านข้ าง (แบบดอกถั่ว) ออกเป็ นช่ อ กลีบเลีย้ งโคน
เชื่อมติดกันเป็ นหลอด ปลายแยกเป็ น 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ
ประกอบด้ วยกลีบกลาง (standard) กลีบคู่ข้าง (wing) และกลีบคู่
ล่ าง (keel) เกสรเพศผู้ 9(1) อัน
ผล แบบผลปี กเดียว หรือเป็ นฝั ก เมื่อแห้ งแตกตามรอยตะเข็บ

เช่ น ทองกวาว ประดู่ แคบ้ าน


čý
ŐĹŞő
ăłĿĘş
ź−Ŀ ýŇ 2 č ľ ĂŔ
Ð (Dalbergia cochinchinensis Pierre)
วงศ์ จาํ ปา (Magnoliaceae)
ใบเดี่ยว เรี ยงสลับ หูใบมีขนาดใหญ่ ห้ มุ ปิ ดส่ วนปลายยอด
หลุดร่ วงง่ าย เหลือรอยแผลเป็ นไว้ บนกิ่งและโคนก้ านใบ

http://topicstock.pantip.com
ดอก มีขนาดใหญ่ ออกบริเวณปลายกิ่ง ดอกสมบูรณ์ เพศ
กลีบรวมมีหลายชัน้ เกสรเพศผู้จาํ นวนมาก
ผล แบบผลกลุ่ม

เช่ น จําปา มณฑาดอย ยี่หุบปลี


พืชอนุรักษบัญชี 3 ของประเทศเนปาล ตัวอยางพืชวงศ Magnoliaceae

ตองแข็ง (Magnolia liliifera (L.) Baill.var. obovata (Korth.) Govaerts)


ğŇ
·ůŀ: http://www.magnoliathailand.com
วงศ์ เลี่ยน (Meliaceae)
ใบ ส่ วนใหญ่ เป็ นใบประกอบแบบขนนก ไม่ มีหใู บ

http://www.biogang.net
ช่ อดอกแบบ ช่ อกระจุกแยกแขนง กลีบเลีย้ งและกลีบดอก มี
4-5 กลีบ เกสรเพศผู้ 8-10 อัน เชื่อมติดกันเป็ นหลอดรอบ ๆ
ฐานของจานฐานดอก ยอดเกสรเพศเมียบวมพอง
ผล แบบผลแห้ งแตก หรือผลมีเนือ้ หนึ่งถึงหลายเมล็ด

http://www.manager.co.th

เช่ น สะเดา ตาเสือ เลี่ยน กัดลิน้ กระท้ อน


พืชอนุรักษบญ
ั ชี 2 ตัวอยางพืชวงศ Meliaceae

มะฮอกกานีใบใหญ (Swietenia macrophylla King)


วงศหมอขาวหมอแกงลิง (Nepenthaceae)
ลักษณะทั่วไป
•เลื้อยเนื้อแข็งหรือไมพุมขนาดเล็กเปนพืชกินแมลง
•ปลายใบดัดแปลงเปนกระเปาะดักแมลง ภายในมีน้ํายอยเพื่อยอยแมลง มี 2 แบบ

ชนิดพืชอนุรักษและกฏระเบียบทางการคา
พืชอนุรักษบัญชี 1 ไดแก Nepenthes khasiana และ Nepenthes rajah
พืชอนุรักษบัญชี 2 ไดแก พืชทุกชนิดในสกุล Nepenthes spp. ยกเวนที่อยูในบัญชี 1 เชน
หมอแกงลิง (Nepenthes ampullaria), Nepenthes rafflesiana, น้ําเตาพระฤๅษี
(Nepenthes kampotiana), เขนงนายพราน (Nepenthes mirabilis), น้ําเตาลม
(Nepenthes thorelii), กระดึงพระราม (Nepenthes distillatoria)
พืชอนุรักษบัญชี ตัวอยางพืชวงศ Nepenthaceae

ที่มา: นางสายสุดใจ ชุนเชาวฤทธิ์ และคณะม, 2555


โครงสรางภายในของหมอดักแมลง

ตอมน้ําหวาน
(Nectar glands)
สวนลอแมลง(Conductive nectar
zone) สวนทีม่ ีไขฉาบ
(Wax zone)

ริมฝปากหมอ
(peristome) BB

สวนยอยอาหาร
(Digestive zone) ตอมน้ํายอย
(Digestive glands) CC
AA

ที่มา: นางสายสุดใจ ชุนเชาวฤทธิ์ และคณะม,


2555
NEPENTHACEAE บ ัญช ี 2
หมอขาวหมอแกงลิง (Nepenthes spp.)
NEPENTHACEAE บ ัญช ี 2

หมอขาวหมอแกงลิง (Nepenthes spp.)


วงศกลวยไม
ORCHIDACEAE

ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557


กลวยไมปา กลวยไมปลูกเลี้ยง

ä ˆ‹î œ: í Œ
ä ñõï̂ ´ë ñî æŒ
ø
การจําแนกพืชวงศ์ กล้วยไม้

การจําแนกพืชวงศ์ กล้วยไม้

ลักษณะการดํารงชีพ สิ่ งยึดอาศัยในธรรมชาติ ลักษณะการเจริญเติบโต ทางวิชาการ

กล้ วยไม้ ที่สามารถ กล้ วยไม้ ดนิ การเจริญทางด้ านข้ าง Apostasioideae


สร้ างอาหารเอง (Pridgeon et.al, 1999) (Pridgeon et.al, 1999)
(Pridgeon et.al, 1999) Cypripedioideae
กล้ วยไม้ ขนึ้ บนหิน
(อบฉันท์, 2543)
การเจริญทางด้ านยอด Neottioideae
กล้ วยไม้ ที่ไม่ สามารถ กล้ วยไม้ องิ อาศัย (Pridgeon et.al, 1999)
สร้ างอาหารเอง Orchidiodeae
(Pridgeon et.al, 1999)
(Berliocchi, 2000)
Epidendroideae
กล้ วยไม้ อาศัยในนํ้า
(สลิล, 2549) Vandoideae
(อบฉันท์, 2543)
ที่มา: ออพร เผือกคลาย. 2556
โครงองประกอบสรางดอกกลวยไม

dorsal sepal
staminal column

lip

lateral petal

ที่มา: ออพร เผือกคลาย. 2556 lateral sepal


ตัวอยางพืชที่อยูในบัญชี 1 ของประเทศไทย

อินทนนทลาว เหลืองกระบี่ เมืองกาญจน


เอื้องปากนกแกว

เหลืองเลย อินทนนท สุขะกุล คางกบ

เหลืองปราจีน เหลืองตรัง ฝาหอย ชาวชุมพร ขาวสตูล


บ ัญช ี 2

กล ้วยไม ้ชนิดอืน
่ ๆ
(นอกเหนือจากบัญช ี 1)

Vanda coerulea
THYMELAEACEAE

กฤษณา

Aquilaria spp.
Gyrinops spp.ที่มา สุมาลี ทองดอนแอ
: . 2557
กฤษณา

ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557


ต้นกฤษณา บ ัญช ี 2

ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557


ิ้ ไม้กฤษณา
ชน บ ัญช ี 2

ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557


การดําเนินการกับพืชของกลางตามกฎหมายพันธุพืช

Please help me..!

ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557


ขั้นตอนการดําเนินงาน

พนักงานเจาหนาที่จับกุม จําแนกและทําบัญชีของกลาง
และ ประสานงานสงมอบของกลาง
กักยึดของกลาง

Rescue Center ดูแลรักษาระหวาง


(18 แหง)
ดําเนินคดี/หลังคดี
5 ป สิ้นสุด
คดีสิ้นสุด
ไมปรากฏเจาของ
90 วัน
สงกลับคืนประเทศ
ตกเปนของกรม
ตนทาง ประเทศตนทางไมรับคืน วิชาการเกษตร ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557
CITES Rescue Centre for Plants

ศูนย์ฟ้ื นฟูพช
ื อนุร ักษ์ และพืชทีใ่ กล้จะสูญพ ันธุ ์

18 แหง
ที่มา: สุมาลี ทองดอนแอ. 2557

You might also like