Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 76

25 กรกฎาคม 2560

บรรยายโดย
พ.ต.ท.หญิง ทิพวรรณ โยมา
รอง ผกก. 2 บก.ตม.1
กองบังคับการตรวจคนเข้ าเมือง 1
สานักงานตรวจคนเข้ าเมือง
กฎหมายและระเบียบที่เกีย่ วข้ อง
การเข้ามาในราชอาณาจักรเป็ นการชัว่ คราว
`
หมวด 4 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522
คนต่ างด้ าวเดินทางเข้ ามา เจ้ าบ้ าน/สถานประกอบการ
ในราชอาณาจักร แจ้ งรับคนต่ างด้ าวเข้ าพัก
( มีวซี ่ า / ไม่ มวี ซี ่ า ) ตาม ม.38

เดินทางออกนอก ยื่นคาร้ องขออยู่ต่อ + ได้ รับ


ราชอาณาจักร ไม่ มี อนุญาตให้ อยู่ต่อในราชอาณาจักร
ลักษณะต้ องห้ าม
ตาม ม.12

ทา RE-ENTRY
PERMIT ก่อน
แจ้ งทีพ่ กั อาศัย
เดินทางออก ทุก 90 วัน

20/09/60
ลักษณะบุคคลต้ องห้ าม

๑) ไม่ มีหนังสื อเดินทางหรื อเอกสารใช้ แทนหนังสื อเดินทางอันถูกต้ องและยังสมบูรณ์ อยู่


หรื อมีแต่ ไม่ ได้ รับ การตรวจลงตราในหนังสื อเดินทาง หรื อเอกสารใช้ แทนหนังสื อเดินทางเช่ นว่ านั้น
จากสถานทูต หรื อสถานกงสุ ลไทยในต่ างประเทศ หรื อจากกระทรวงการต่ างประเทศ เว้ นแต่ กรณีที่
ไม่ ต้องมีการตรวจลงตราสาหรับคนต่ างด้ าวบางประเภทเป็ นกรณีพเิ ศษ
- การตรวจลงตราและการยกเว้ นการตรวจลงตราให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
การตรวจลงตราตาม ๑) ให้ เสี ยค่ าธรรมเนียมตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

Immigration Bureau,
Royal Thai Police
ลักษณะบุคคลต้ องห้ าม

๓ ) เข้ ามาเพื่อมีอาชี พเป็ น


กรรมกร หรื อเข้ ามาเพื่อรับจ้ าง
๒ ) ไม่ มีปัจจัยในการยัง ๔ )วิ ก ลจริ ต หรื อ มี โ รค
ทางานด้ วยกาลังกาย โดยไม่ ได้
ชีพตามสมควรแก่ กรณีที่ อย่ างใดอย่ างหนึ่งตามที่
อาศั ย วิ ช าความรู้ การฝึ กทาง
เข้ ามาในราชอาณาจักร กาหนดในกฎกระทรวง
วิชาการ หรื อเข้ ามาเพื่อทางาน
อื่ นอันเป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมาย
ว่ าด้ วยก ารท างานขอ งคน
ต่ างด้ าว

Immigration Bureau,
Royal Thai Police
ลักษณะบุคคลต้ องห้ าม

๕ ) ยังไม่ ได้ ปลูกฝี ป้ องกันไข้ ๖ )เคยได้ รับโทษจาคุกโดยคา ๗ ) มีพฤติการณ์ เป็ นทีน่ ่ าเชื่ อ
ทรพิ ษ หรื อฉี ด วั ค ซี น หรื อ พิพ ากษาของศาลไทย หรื อ ว่ าเป็ นบุ ค คลที่ เ ป็ นภั ย ต่ อ
ปฏิ บั ติ ก า ร อย่ า ง อื่ นต า ม ค าสั่ ง ที่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย สั ง คมหรื อ จะก่ อ เหตุ ร้ า ยให้
วิ ช าการแพทย์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น หรื อค าพิ พ ากษาของศาล เกิดอันตรายต่ อความสงบสุ ข
โรคติ ด ต่ อตามที่ ก ฎหมาย ต่ างประเทศ เว้ นแต่ เป็ นโทษ หรื อความปลอดภั ย ของ
บัญญัติ และไม่ ยอมให้ แพทย์ หรั บ ความผิ ด ลหุ โ ทษหรื อ ประชาชนหรื อ ความมั่น คง
ตรวจคนเข้ าเมืองกระทาการ ความผิ ด อั น ได้ ก ระท าโดย แห่ งาชอาณาจักร หรื อบุคคล
เช่ นว่ านั้น ประมาท หรื อความผิ ด ที่ ซึ่ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ รั ฐ บ า ล
ยกเว้ นไว้ ในฎกระทรวง ต่ างประเทศได้ ออกหมายจับ
Immigration Bureau,
Royal Thai Police
ลักษณะบุคคลต้ องห้ าม

๘ ) มีพฤติการณ์ เป็ นที่น่าเชื่ อว่ าเข้ ามาเพื่ อ ๙ ) ไม่ มีเงินติดตัวหรื อไม่ มีประกัน
การค้ าประเวณี การค้ าหญิงหรื อเด็ก การค้ ายา
ตามทีร่ ัฐมนตรีประกาศตาม ม. ๑๔
เสพติด การลักลอบหนีภาษีศุลกากร หรื อเพื่อ
ประกอบกิ จ การอื่ นที่ ขั ด ต่ อความสงบ
เรียบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน

Immigration Bureau,
Royal Thai Police
ลักษณะบุคคลต้ องห้ าม

๑๐ ) รั ฐ มนตรี ไ ม่ อ นุ ญ าตให้ เ ข้ า มาในอาณาจั ก รตาม ม. ๑๖ “ ในกรณี ที่มี พ ฤติ ก ารณ์ ซึ่ ง


รั ฐมนตรี เห็นว่ าเพื่อประโยชน์ แก่ ประเทศ หรื อเพื่อความสงบเรี ยบร้ อยวัฒนธรรม หรื อศี ลธรรมอันดี
หรื อความผาสุ กของประชาชนไม่ สมควรอนุญาตให้ คนต่ างด้ าวผู้ใด หรื อจาพวกใดเข้ ามาในราชอาณาจักร
รัฐมนตรีมอี านาจสั่ งไม่ อนุญาตให้ คนต่ างด้ าวผู้น้ ัน หรื อจาพวกนั้นเข้ ามาในราชอาณาจักรได้ ”

Immigration Bureau,
Royal Thai Police
ลักษณะบุคคลต้ องห้ าม

๑๑ ) ถูกรั ฐบาลไทยหรื อรั ฐบาลต่ างประเทศเนรเทศ หรื อถู กเพิกถอนสิ ทธิ การอยู่อาศั ยใน
ราชอาณาจักร หรื อในต่ างประเทศมาแล้ ว หรื อถูกพนักงานเจ้ าหน้ าที่ส่งกลับออกไปนอกราชอาณาจักร
โดยรัฐบาลไทยเสี ยค่ าใช้ จ่าย ทั้งนีเ้ ว้ นแต่ รัฐมนตรีได้ พจิ ารณายกเว้ นให้ เป็ นกรณีพเิ ศษเฉพาะราย
การตรวจวินิจฉัยโรค ร่ างกาย หรื อจิต ตลอดจนการปฏิบัติการเพื่อป้ องกันโรคติดต่ อให้ ใช้
แพทย์ ตรวจคนเข้ าเมือง

Immigration Bureau,
Royal Thai Police
ผูท้ ี่จะเดินทางเข้าราชอาณาจักร จะต้องมี
1. หนังสือเดินทาง (PASSPORT) หรือ
2. เอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางหรือที่เรียกว่า
TRAVEL DOCUMENT , Laissez-Passer
3. ได้รบั การตรวจลงตราจากสถานทูต หรือสถาน
กงสุลไทยในต่างประเทศ หรือจาก กต. หรือได้รบั
การยกเว้นการตรวจลงตรา
วีซ่า ( VISA ) คือ การตรวจลงตราในหนังสื อเดินทาง หรื อเอกสารใช้
แทนหนังสื อเดินทาง เพื่อแสดงการอนุมตั ิให้ ผ่านเข้ าประเทศได้

สถานทีใ่ นการขอวีซ่า ( VISA )


๑.สถานฑูต หรื อสถานกงสุ ลไทยในต่ างประเทศ
๒.ด่ านตรวจคนเข้ าเมือง ณ ช่ องทางอนุญาต

Immigration Bureau,
Royal Thai Police
ประเภทของการตรวจลงตรา(VISA)
1. ประเภททูต (Diplomatic Visa)
2. ประเภทราชการ (Official Visa)
3. ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
4. ประเภทนักท่องเที่ยว ได้แก่
- Tourist Visa
- Visa On Arrival
- Acmes Single Visa
5. ประเภทคนเดินผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
6. ประเภทเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร(Immigrant Visa)
7. ประเภทคนเข้าเมืองนอกกาหนดจานวนคนต่างด้าวซึ่งเข้ามามี
ถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรเป็นรายปี ( Non-Quota Immigrant Visa)
8. ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
9. Special Entry Visa (SE)
10. Privilege Entry Visa (PE)
11. NON L-A Visa
12. NON – O (L-A) Visa
13. NON – O - X
VISA แผ่นปะ จำนวนครั้ง
รหัส VISA

ประเภทVISA

หมำยเลขหนังสื อเดินทำง
อำยุ VISA
จำนวนบุตร
แบบตราประทับ (ตรายาง)
ประเภท Visa

วันทีท่ าVisa
จานวนครั้งทีข่ อ

อายุ Visa
VISA แผ่นปะ จำนวนครั้ง
รหัส VISA

ประเภทVISA

หมำยเลขหนังสื อเดินทำง จำนวนบุตร


20/09/60 อายุ VISA
รูปแบบวีซ่า

วีซ่าประเภท NON-B

วีซ่าประเภท NON-B
แบบ Sticker visa
แบบประทับ
รูปแบบวีซ่า

วีซ่าประเภท NON-ED
แบบ Sticker visa

วีซ่าประเภท NON-ED
แบบ Sticker visa

20/09/60
รหัส Visa

ชื่ อด่ าน
วันเดินทางเข้า
รายชื่ อประเทศทีส่ ามารถขอ VISA ON ARRIVAL
1.ภูฎำน 8.มอริ เชียส 15.บัลกำเลีย
2.จีนและไต้หวัน 9.อุสเบกิสถำน 16.เอธิโอเปี ย
3.ไซปรัส 10.ยูเครน 17.มัลต้ำ
4.อินเดีย 11.สำธำรณรัฐลัตเวีย 18.โรมำเนีย
5.คำซัคสถำน 12.สำธำรณรัฐลิทวั เนีย 19.ซำนมำริ โน
6.มัลดีฟส์ 13.สำธำรณรัฐเอสโตเนีย 20.ปำปัวนิวกินี
7.ซำอุดิอำระเบีย 14.สำธำรณรัฐแอนดอรำ
ประเทศที่ได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา (VISA)
1. โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย
1.1 ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร 30 วัน เพื่อการท่องเที่ยว
(ผ.30) ปัจจุบันมี 49 ประเทศ
1.2 ได้รับอนุญาตให้อยู่ให้อยู่ในราชอาณาจักร 90 วัน เพื่อรับการ
รักษาพยาบาล และผู้ติดตามไม่เกิน 4 คน (MT-90) ปัจจุบันมี กลุ่ม GCC ,
CLMV , จีน
2. โดยความตกลงระหว่างประเทศ (ผผ.)
2.1 ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร ได้ 30 วัน (ผผ.30) ได้แก่
เขตปกครองพิเศษฮ่องกง, มาเก๊า, รัสเซีย, ลาว, เวียดนาม, มองโกเลีย
2.2 ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร ได้ 90 วัน (ผผ.90) ได้แก่
อาร์เจนตินา, บราซิล, ชิลี, เปรู, เกาหลีใต้
2.3 ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ 14 วัน (ผผ.14) ได้แก่
กัมพูชา
รายชื่อประเทศที่คนชาติได้รับสิทธิ ผ.๓๐
ออสเตรเลีย เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก แอฟริกาใต้ ไอซ์แลนด์
ออสเตรีย เฮเลนิก (กรีซ) มาเลเซีย สวีเดน โมนาโก
เบลเยียม ฮ่องกง เนเธอร์แลนด์ สวิสเซอร์แลนด์ เช็ก
บราซิล อินโดนีเซีย นิวซีแลนด์ ตุรกี ฮังการี
บาห์เรน ไอร์แลนด์ นอร์เวย์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ลิกเตนสไตน์
บรูไน อิสราเอล เปรู อังกฤษ โปแลนด์
แคนาดา อิตาลี ฟิลิปปินส์ อเมริกา สโลวัก
เดนมาร์ก ญี่ปุ่น โปรตุเกส เวียดนาม สโลวีเนีย
ฟินแลนด์ เกาหลี สิงคโปร์ กาตาร์ เอสโตเนีย
ฝรั่งเศส คูเวต สเปน โอมาน
การเข้ามาในราชอาณาจักร
ตราประทับขาเข้า
รหัส VISA

ชื่ อด่าน

วันที่เดินทางเข้า

วันอนุ ญาตสิ้นสุด

รหัสประจาตราประทับ
อนุญาตให้ เข้ ามาและอยู่ในราชอาณาจักรตามประเภทการตรวจลงตรา (VISA)
ระยะเวลาทีไ่ ด้ รับอนุญาต
ประเภทของวีซ่า เมื่อเดินทางเข้ า
1. ประเภททูต / ราชการ (DIPLOMATIC / OFFICIAL VISA) 90 วัน นับแต่ วนั เดินทางเข้ า
2. ประเภทท่ องเทีย่ ว (TOURIST VISA) 60 วัน นับแต่ วนั เดินทางเข้ า
3. ประเภทคนเดินทางผ่ าน (TRANSIT VISA) 30 วันนับแต่ วนั เดินทางเข้ า
4. ประเภทอัธยาศัยไมตรี (COURTESY VISA) 90 วัน นับแต่ วนั เดินทางเข้ า
5. ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (NON-IMMIGRANT VISA) 90 วัน นับแต่ วนั เดินทางเข้ า
6. ประเภท VISA ON ARRIVAL 15 วัน นับแต่ วนั เดินทางเข้ า
7. ประเภท Special Entry Visa (SE) 90 วัน นับแต่ วนั เดินทางเข้ า
8. ประเภท Privelage Entry Visa (PE) 1 ปี นับแต่ วนั เดินทางเข้ า
9. ประเภท NON – L-A 2 ปี นับแต่ วนั เดินทางเข้ า
Visa On Arrival

ได้รบั อนุญาตให้อยู่ 15 วัน


ได้รบั การยกเว้นการตรวจลงตรา(VISA)

ได้รบั อนุญาตให้อยู่ 30 วัน


คนเดินทางผ่าน(Transit Visa)

ได้รบั อนุญาตให้อยู่ 30 วัน


ทัศนาจร Tourist Visa

ได้รบั อนุญาตให้อยู่ 60 วัน


คนอยู่ชวั ่ คราว ( Non-Immigrant Visa)

ได้รบั อนุญาตให้อยู่ 90 วัน


NON-IMMIGRANT มีรหัสกำกับ ตำมวัตถุประสงค์

รหัส B (Business)  ทางาน


รหัส ED (Education)  ศึกษา
รหัส RS (Research)  วิจัย
รหัส EX (Expert)  ผู้เชี่ยวชาญ
รหัส M (Mass Media)  สื่ อมวลชน
รหัส F (Official)  ปฏิบัติราชการ

20/09/60
NON – IMMIGRANT VISA (B, ED)

เดินทางเข้ ามาได้ รับอนุญาต 90 วัน

ยื่นคาร้ องขออยู่ต่อ อนุญาตครั้งละไม่ เกิน 1 ปี

20/09/60
การขออยู่ต่อใน
ราชอาณาจักร

20/09/60
เอกสารประกอบการยื่ นคาร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักร

1 แบบคาขอ ตม.7
2 รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จานวน 1 รูป

3 หนังสือเดินทางของผูย้ ื่นคาขอ

4 ค่าธรรมเนี ยม 1,900 บาท

5 เอกสารประกอบการพิจารณาตามหลักเกณฑ์
เอกสารประกอบการยื่นคาร้ องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรประเภทส่ วนราชการรับรอง

กรณีเป็ นครู หรื อ อาจารย์ หรื อ ผู้เชี่ยวชาญในสถานศึกษาของรัฐ

1. แบบคำขอ ตม.7 รู ปถ่ำย ขนำด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รู ป และ ค่ำธรรมเนียม 1,900.- บำท
2. สำเนำหนังสื อเดินทำงของผูย้ นื่ คำขอ
3. สำเนำใบอนุญำตทำงำน
4. หนังสื อรับรองและร้องขอให้อยูต่ ่อจำกสถำนศึกษำนั้น โดยระบุตำแหน่ง อัตรำเงินเดือน และระยะเวลำกำรจ้ำง
5. สัญญำจ้ำง

หมายเหตุ ให้นำหลักฐำนเอกสำรตัวจริ งมำแสดง และถ่ำยเอกสำรพร้อมรับรองสำเนำถูกต้อง ด้วยลำยมือชื่อ


ของผูย้ นื่ คำขอ

20/09/60
เอกสารประกอบการยื่นคาร้ องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรประเภทส่ วนราชการรับรอง
กรณีเพื่อศึกษา ในสถานศึกษาของรัฐ

1. แบบคำขอ ตม.7 รู ปถ่ำย ขนำด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รู ป และ ค่ำธรรมเนียม 1,900.- บำท
2. สำเนำหนังสื อเดินทำงของผูย้ นื่ คำขอ
3. หนังสื อรับรองและขอให้อยูต่ ่อจำกสถำนศึกษำนั้น
โดยให้ปรำกฏรำยละเอียดเกี่ยวกับจำนวนปี กำรศึกษำ ระดับหลักสู ตรและ
ผลกำรศึกษำของผูย้ นื่ คำขอ

หมายเหตุ ให้นำหลักฐำนเอกสำรตัวจริ งมำแสดง และถ่ำยเอกสำรพร้อมรับรองสำเนำถูกต้อง


ด้วยลำยมือชื่อของผูย้ นื่ คำขอ

20/09/60
เอกสารประกอบการยื่นคาร้ องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรประเภทส่ วนราชการรับรอง
กรณีเพื่อฝึ กสอน หรื อค้ นคว้ าวิจัยในสถาบันการศึกษา หรื อสถาบันวิจัย

1. แบบคำขอ ตม.7, รู ปถ่ำยขนำด 4 x 8 ซม. รู ป และค่ำธรรมเนียม


1,900 บำท
2. สำเนำหนังสื อเดินทำงของผูย้ นื่ คำขอ
3. หนังสื อรับรอง และขอให้อยูต่ ่อจำกหัวหน้ำสถำบันกำรค้นคว้ำ หรื อ
สถำบันวิจยั วิจยั นั้นๆ
4. หนังสื อรับรอง และร้องขอให้อยูต่ ่อจำกหัวหน้ำสถำบันกำรศึกษำ
ในรำชอำณำจักรนั้น (กรณี ฝึกสอน)

20/09/60
ตัวอย่างแบบฟอร์ม ตม.7
ตัวอย่างแบบฟอร์ม สตม.2

20/09/60
หนังสื อรับรอง และร้ องขอให้ อยู่ต่อจากสถาบันอุดมศึกษา
ตัวอย่ างตราประทับต่ างๆ
 ตัวอย่ างตราประทับอนุญาต
ตัวอย่ างตราประทับต่ างๆ
• ตัวอย่ างตราประทับไม่ อนุญาต
ม.39
การขออนุญาตเพื่อกลับเข้ ามาในราชอาณาจักรอีก
(RE - ENTRY PERMIT)
การรักษาสิ ทธิวซี ่ า
ก่ อนเดินทางออกนอกราชอาณาจักร
ตาม พ.ร.บ.คนเข้ า เมื อ ง พ.ศ.2522 ม.39 สรุ ป ว่ า
หากคนต่ า งด้ า วที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ อ ยู่ ใ นราชอาณาจั ก ร
เดิ น ทางออกไปนอกราชอาณาจั ก รถื อ ว่ า การอนุ ญ าตให้
สิ้ นสุ ดลง แต่ ถ้าก่ อนเดินทางออก ผู้น้ันได้ รับอนุญาตจาก
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ให้ กลับเข้ ามาในราชอาณาจักรอีก ก็ยัง
สามารถเดินทางกลับเข้ ามาในวีซ่าเดิมได้ อกี
เอกสารที่ใช้ในการยื่นคาขอ RE - ENTRY PERMIT

1 แบบฟอร์ม ตม.8 พร้อมรูปถ่าย

2 หนังสือเดินทาง

ค่าธรรมเนี ยม - Single Entry = 1,000 บาท


3 - Multiple Entry = 3,800 บาท
ตัวอย่างแบบฟอร์ม ตม.8
การตรวจลงตรา
การเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา
ในอานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
สานักงานตรวจคนเข้าเมือง
การตรวจลงตรา
 การตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั ่วคราว ให้กับคนต่างด้าวที่
ได้รบั ยกเว้นการตรวจลงตรา
หมายถึง
การตรวจลงตราในหนังสือเดินทาง หรือเอกสารใช้แทนหนังสือ
เดินทางให้แก่คนต่างด้าวที่ได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา
ตาม ข้อ 13 แห่งกฎกระทรวง กาหนด หลักเกณฑ์ วิ ธีการ
และเงื่อนไขในการตรวจ ยกเว้น และการเปลี่ยนประเภทการ
ตรวจลงตรา
การเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา
การขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (VISA)
หมายถึง
การเปลี่ยนการตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรื อเอกสารใช้
แทนหนัง สือเดิน ทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสื อเดินทาง จาก
ประเภทนักท่องเที่ยว (TOURIST VISA) หรือประเภทคนเดิน
ทางผ่านราชอาณาจักร (TRANSIT VISA) แล้วแต่กรณี เป็ น
ประเภทคนอยูช่ ั ่วคราว (NON-IMMIGRANT)
การตรวจลงตราและเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา

1. การตรวจลงตรา

ประเภทยกเว้นการตรวจลงตรา
ผ.30 และ ผผ.90 Non-Immigrant Visa

2.การเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา

Tourist Visa Non-Immigrant Visa


Transit Visa
ต ัวอย่างรอยตรา NON-
IMMIGRANT VISA

ระบุประเภทของกำร
ตรวจลงตรำ/เปลี่ยน
ประเภทกำรตรวจลงตรำ
ตรา STAY PERMIT
แผนภูมิข้นั ตอนการยื่นคาร้ องขอรับ/เปลีย่ นประเภทการตรวจลงตรา
คนต่ำงด้ำวยืน่ คำร้อง (ทางาน)
1. คนต่ำงด้ำวที่ได้รับ กำร
รับคำร้องตรวจสอบเอกสำรประกอบกำร
ยกเว้นกำรตรวจ ลงตรำ
ยืน่ และหนังสื อเดินทำง
2. วันอนุญำต ต้องเหลือ
อย่ำงน้อย ๑๕ วัน
ตรวจสอบรำยชื่อบุคคลต้องห้ำม และ อนุญาต ไม่ อนุญาต
ควำมถูกต้อง ควำมน่ำเชื่อถึงของ
เอกสำรหลักฐำน

ประทับตรำ แจ้งเหตุผลให้
ประกอบธุรกิจ/ทางาน คนต่ำงด้ำวทรำบ
ออกใบเสร็ จค่ำธรรมเนียม 2,000 Non-Immigrant และแนะนำ
ส่งรำยชื่อตรวจสอบตำแหน่ง
บำท กับ สำนักบริ หำรแรงงำนต่ำง และ ให้ยนื่ คำร้องขออยูต่ ่อ
ด้ำวกระทรวงแรงงำนฯ Stay Permit หรื อเดินทำงออก
ประมวลเรื่ องเสนอผูม้ ีอำนำจพิจำรณำ
อนุญำต
ตำมคำสัง่ สตม.ที่ 43/2549 และ 57/2549
ลงนำมในตรำประทับ
และคืนหนังสื อให้
อนุญำต ไม่อนุญำต คนต่ำงด้ำว
ข้อควรจา
1. ตม.86 ใชกั้ บ TOURIST – TRANSIT
2. ตม.87 ใชกั้ บ ยกเว ้นการตรวจลงตรา(ผ.30 และ
ผผ.90)
3. ระหว่ า งรอฟั งผลการพิจ ารณาการขอรั บ และการ
เปลีย่ นประเภทการตรวจลงตรา ห ้ามเดินทางออก
นอกประเทศ หากประสงค์จะเดินทาง จะต ้องทา
RE-ENTRY PERMIT
4. คนต่างด ้าวทีอ ิ ธิย น
่ ยู่เ กินก าหนดอนุ ญ าต ไม่ม ีสท ื่
คาร ้องขอรับและขอเปลีย ่ นประเภทการตรวจลงตรา
เอกสารประกอบการยื่นขอรับหรื อการขอเปลีย่ นประเภทการตรวจลงตรา
เพื่อเป็ นอาจารย์ (NON-B)
1. แบบคาร้ อง ตม.86 หรื อ ตม.87
2. สาเนาหนังสื อเดินทาง
3. รู ปถ่ าย ขนาด 4X6 ซม.
4. ค่ าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. การปฏิบัติหน้ าที่ครู หรื ออาจารย์ ในสถานศึกษาของรัฐ
5.1 หนังสื อรับรองการขอเปลีย่ นประเภทการตรวจลงตราจากคณบดีในสถาบันอุดมศึกษา
5.2 หนังสื อรับรองการขอเปลีย่ นประเภทการตรวจลงตราจากส่ วนราชการระดับกรม
ในสั งกัดกระทรวงศึกษาธิการหรื อผู้ว่าราชการจังหวัด ในระดับต่ากว่ าอุดมศึกษา
5.3 แบบหนังสื อรับรองการจ้ าง, สาเนาสั ญญาว่ าจ้ าง
5.4 คุณวุฒิการศึกษา ของผู้ยื่นคาขอ
เอกสารประกอบการยื่นขอรับหรื อการขอเปลีย่ นประเภทการตรวจลงตรา
เพื่อศึกษา (NON-ED)
1. แบบคาร้ อง ตม.86 หรื อ ตม.87
2. สาเนาหนังสื อเดินทาง
3. รู ปถ่ าย ขนาด 4X6 ซม.
4. ค่ าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. ระดับอุดมศึกษาหรื อระดับต่ากว่ าอุดมศึกษาในสถาบันของรัฐ
1. หนังสื อรับรองการขอเปลีย่ นประเภทการตรวจลงตราจากคณบดีในสถาบันอุดมศึกษาหร

2. หนังสื อรับรองการขอเปลีย่ นประเภทการตรวจลงตราจากส่ วนราชการระดับ


กรมในสั งกัดกระทรวงศึกษาธิการหรื อผู้ว่าราชการจังหวัด ในระดับต่ากว่ า
อุดมศึกษา
3. คุณวุฒิการศึกษา ของผู้ยื่นคาขอ
กก.3 บก.ตม.1

62
กก.3 บก.ตม.1

63
คนต่ างด้ าว ซึ่งได้ รับอนุญาตให้ อยู่ในราชอาณาจักร เป็ นการชั่วคราว
แล้ ว ถ้ าอยู่ ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน คนต่ างด้ าวคนนั้น มีหน้ าที่ต้อง
รายงานตัวแจ้ งที่พกั อาศัยต่ อพนักงาน สานักงานตรวจคนเข้ าเมือง ทุก 90 วัน
(เว้ นแต่ ทไี่ ด้ รับอนุญาตตาม ม.15 แห่ ง พ.ร.บ.คนเข้ าเมือง พ.ศ.2522)
หากท้ อ งที่ใ ดมี ที่ท าการตรวจคนเข้ า เมื อ งตั้งอยู่ จะแจ้ ง ต่ อพนั ก งาน
เจ้ า หน้ า ที่ ณ ที่ ท าการแห่ ง นั้ น ก็ ไ ด้ ทั้ ง นี้ใ ห้ เ ป็ นไปตามมาตรา 37(5) แห่ ง
พ.ร.บ.คนเข้ าเมือง พ.ศ. 2522

กก.3 บก.ตม.1

64
คนต่ างด้ าวซึ่งได้ รับอนุญาตให้ อยู่ในราชอาณาจักรเป็ นการ
ชั่วคราวต้ องปฏิบัติดังต่ อไปนี้
(5) ถ้ าอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน คนต่ างด้ าวผู้น้ ันต้ อง
มีหนังสื อแจ้ งให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ ณ กองตรวจคนเข้ าเมือง
ทราบถึงที่พกั อาศัยของตนโดยมิชักช้ า เมื่อครบระยะ 90 วัน
และต่ อไปให้ กระทาเช่ นเดียวกัน ทุกระยะ 90 วัน ถ้ าท้ องที่ใดมี
ที่ทาการตรวจคนเข้ าเมืองตั้งอยู่ จะแจ้ งต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่
ณ ที่ทาการตรวจคนเข้ าเมืองแห่ งนั้นก็ได้ กก.3 บก.ตม.1

65
1 หนังสือเดินทาง
2 แบบฟอร์มการแจ้งทีพ่ กั อาศัย (ตม.47)

3 ใบรับแจ้งการอยู่เกิน 90 วัน
(กรณีทีไ่ ม่มีการเดินทางออกนอกประเทศ)
กก.3 บก.ตม.1

66
กก.3 บก.ตม.1

67
กก.3 บก.ตม.1

68
กก.3 บก.ตม.1

69
กก.3 บก.ตม.1

70
การแจ้งที่พกั อาศัยทุก 90 วัน สามารถทาได้ดงั นี้
1. แจ้งด้วยตนเอง
2. ให้ผูอ้ ื่นดาเนินการแทน
3. แจ้งทางไปรษณียล์ งทะเบียน
4. แจ้งทางอิเล็กทรอนิกส์
กก.3 บก.ตม.1

71
1. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
2. ดาเนินการรับแจ้ง
- กรณีทพ
ี่ บว่ าเกินกาหนดที่จะต้ องแจ้ งฯ ดาเนินการ
เปรียบเทียบปรับ 2,000 บาท

3. ออกใบรับแจ้ง พร้อมประทับตรานัดแจ้งฯ 90 วัน


ครั้งต่อไป กก.3 บก.ตม.1

72
1. การขออยู่ต่อในราชอาณาจักรครั้งแรก ถือว่ าเป็ นการแจ้ งอยู่เกิน 90 วันครั้งแรก โดยอนุโลม
2. กรณีเกินกาหนดทีต่ ้ องแจ้ ง ต้ องถูกดาเนินการเปรียบเทียบปรับ 2,000 บาท

3. การแจ้ งทีพ่ กั อาศัย ไม่ ใช่ การอนุญาตให้ อยู่ต่อในราชอาณาจักร

4. กรณีคนต่ างด้ าวเดินทางออกนอกราชอาณาจักร ก่อนครบกาหนดแจ้ ง 90 วัน


ครั้งต่ อไป เมื่อเดินทางกลับเข้ ามาในราชอาณาจักรใหม่ ให้ ถือว่ าครบกาหนด
90 วัน นับแต่ วนั เดินทางเข้ ามาครั้งสุ ดท้ าย

5. การแจ้ งอยู่เกิน 90 วัน สามารถมาดาเนินการแจ้ งได้ ก่อน15 วันหรื อหลังได้ ไม่ เกิน 7 วัน
นับจากวันครบกาหนด
กก.3 บก.ตม.1

73
อยูเ่ กินวันทีไ่ ด้รบ
ั อนุญาตให้อยู่ ใน วันละ 500 บาท
ราชอาณาจักร (ไม่เกิน 20,000 บาท)
อยูใ่ นราชอาณาจักรเกิน 90 วัน
2,000 บาท
แล้วไม่แจ้งทีพ่ กั อาศัย

กก.3 บก.ตม.1

74
กก.3 บก.ตม.1

75
ขอบคุณค่ะ
กก.3 บก.ตม.1
76

You might also like