You are on page 1of 1

นายมั่​น โสภาวงษ์

หมวดหมู่ ประเพณี

ชื่​อ นายมั่​น โสภาวงษ์ประวัติส่วนตัวนายมั​น ่ โสภาวงษ์ เกิดวันที​่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๘๕ อายุ ๗๐ ป​อ ี ยู่บ้านเลขที​่ ๑๐๓หมู่ที​่ ๓
บ้านหนองบก ตำบลหนองบก อำเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี จบการศึกษาประถมศึกษาป​ีที​่ ๔
ประกอบอาชีพเกษตรกรรมนายมั​น ่ โสภาวงษ์เป​น ็ ชาวบ้านหนองบก ตำบลหนองบก อำเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี
เป​็นผู้มีความเชี่​ยวชาญในการรักษาผู้ที​ป่ ​ว่ ยที่​เป​็นโรคต่าง ๆ ด้วยวิธีทางไสยศาสตร์ เรียกว่า “อาถรรพเวทย์”
(เป​็นคัมภีร์ประกอบด้วยเวทย์มนต์คาถาเรียกผีสาง เทวดาให้ช่วยป​้องกันอันตรายให้ และให้มีการแก้อาถรรพ์
ทำพิธีสาปแช่งให้เป​็นอันตรายได้ด้วย) โดยได้รับการถ่ายทอดวิธีการรักษามาจากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น
จากการที​ไ่ ด้เห็นการรักษาอยู่บ่อยครั​ง้ จึงเกิดความสนใจและเห็นว่าสมารถรักษาให้หายได้จริง
จึงได้ศึกษาวิธีการรักษาและฝ​ึกฝนจนเกิดความเชี่​ยวชาญและสามารถรักษาผู้ป่​วยให้หายได้
จนได้รับการยอมรับจากประชาชนในพื​น ้ ที​่ คำว่า ไสย หมายถึง ลัทธิอันเนื่​องด้วยเวทย์มนต์ คาถา และวิทยาคม
ไสยนั้​นแบ่งออกเป​็นไสยขาว อันหมายถึงวิชชาอันลึกลับใช้เวทย์มนต์ไปในทางที​ด ่ ี เช่นการทำเครื​อ
่ งราง
ของขลังและวัตถุมงคลต่างๆ เพื่​อป​้องกันภัยอันตราย หรือเพื่​อเป​็นเมตตามหานิยม เมตตามหาเสน่ห์และอิทธิวิธี
ส่วนไสยดำหมายถึงวิชชาที่​กระทำคนให้เป​็นไปต่างๆนาๆเช่น ปล่อยคุณไสย ปล่อยตะปูเข้าท้องคนอื​น ่ ปล่อยหนังควายเข้าท้อง
บิดลำใส้ ปล่อยผีไปทำร้ายผู้อ่ื​นให้มีอันเป​็นไปต่างๆนาๆ นำบาตรวัดร้างไปฝ​ังเพื่​อทำให้บ้านแตกสาแหรกขาด เป​น ็ ต้นคำว่า ไสย
นี้​แปลความหมายอีกอย่างก็หมายถึงสิ​ง่ ที​ล ่ ึกลับที​ไ่ ม่สามารถมองเห็นด้วยตาเนื​อ ้ ได้นอกจากเมื​อ่ มันได้ออกมาเ
ป​็นผลลับแล้วเท่านั้​น ส่วนคำว่า ศาสตร์ หมายถึง ตำรา วิชา วิทยา คำสั​ง่ ข้อบังคับบัญชา ศาสนา รวมเข้ากับไสย เป​น ็ ไสยศาสตร์
อันหมายถึง ตำราทางไสยยาศาสตร์ลึกลับเกี่​ยวกับอิทธิฤทธิ์​ปาฎิหาร เวทย์มนต์ คาถา อำนาจจิต เป​น ็ ต้น ไสยเวทย์ ไสยศาสตร์
หมายถึงตำราทางไสย วิชาทางไสย ไสยศาสตร์ เป​็นวิชาว่าด้วยลัทธิเวทย์มนต์คาถาและวิยาคมเป​น ็ ศาสตร์ ๆ
่ ่
หนึ​งที​แยกย่อยมาจากศาสตร์ ๑๘ ประการของอินเดียโบราณไสยศาสตร์ ลัทธิไสยศาสตร์ คือการรวมอำนาจจิต
รวมพลังงานทางจิตซึ่​งได้ทำการอบรมจิตใจให้มีความยึดมั​น ่ เชื​อ
่ ถือ อย่างจริงจัง ดำเนินไปตามหลักทางไสยศาสตร์
ตามวิธีการนั้​น ๆ ก็จะสามารถแสดงฤทธิ์​ปาฎิหารย์ได้ด้วยกระแสคลื่​นแห่งพลังอำนาจจิตอันแรงกล้า ของ
มโนภาพสมาธิจิตตานุภาพทั้​งสามประการนี​้ จึงเป​น ็ บ่อเกิดแห่งอำนาจที​ป ่ ระหลาดมหัศจรรย์ขึ​น ้ ได้ ลัทธิไสยศาสตร์
ได้เกิดขึ้​นมาก่อนพุทธกาลในคัมภีร์ศักดิ์​สิทธิ์​ ไตรเพทในลัทธิของพราหมณ์ได้แบ่งออกเป​็น 4 ประเภทคือ ๑.ฤคเวทย์
เป​็นคำฉันท์ใช้สำหรับสวดมนต์และสรรเสริญพระเจ้า ๒.ยชุรเวทย์ เป​็นคำร้อยแก้วให้สำหรับท่องบ่นเวลาบวงสรวงบูชาพระเจ้า
๓.สามเวทย์ เป​็นคำฉันท์ใช้สำหรับสวดมนต์ทำพิธีถวายน้ำโสม ๔.อาถรรพเวทย์
เป​็นคัมภีร์ประกอบด้วยเวทยมนต์คาถาเรียกผีสาง เทวดาให้ช่วยป​้องกันอันตรายให้ และให้มีการแก้อาถรรพ์
ทำพิธีสาปแช่งให้เป​็นอันตรายได้ด้วย อาถรรพเวทย์ในคัมภีร์ไสยศาสตร์ แยกออกเป​็น 2 นิกาย คือ ๑.นิกายขาว (White
System) เป​็นวิชาที่​ใช้ในทางดี คือช่วยเหลือมนุษย์ให้มีสุขปลอดภัย ๒.นิกายดำ (Black System) เป​น ็ วิชาที​ใ่ ช้ในทางชั​ว่
่ ์ ์
คือทำให้เกิดอันตรายแก่ผู้อื​น คัมภีร์แสดงถึงความศักดิ​สิทธิ​ทางเวทมนตร์คาถามี 8 ประเภทคือ ๑.พระเวทย์แก้โรคต่าง ๆ
๒.พระเวทย์ประสาน ๓.พระเวทย์สะเดาะ เช่น สะเดาะกุญแจและโซ่ตรวน ๔.พระเวทย์ป้​องกันตัว เช่น คาถาแคล้วคลาด
๕.พระเวทย์แสดงปาฎิหาริย์ ๖.พระเวทย์ทำอันตรายผู้อ่ื​น ๗.พระเวทย์แก้ภูติผีปี​ศาจ เช่น คาถาสะกดวิญญาณ
๘.พระเวทย์ทำเสน่ห์ เช่น มนตร์เทพรำจวญ

ข้อมูลโดย : สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

You might also like