Inspection-documents-of-Cold-rolled-Stainless-steels-SS EN10204 PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

Inspection documents of Cold rolled Stainless steels

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิม
ทรงแบนรีดเย็น
www.siamstainless.com
By Tachyon

2014

เ ห ล็ ก ก ล า ไ ร ส นิ ม เ พื่ อ ค น ไ ท ย
เอกสารการตรวจสอบผลิตภัณฑเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น
(Inspection documents of Cold rolled Stainless steels)
1. บทนํา

ในธุรกิจการคาเหล็กกลาไรสนิม นอกจากราคาเปนสิง่ ที่สําคัญแลวคุณลักษณะของเหล็กกลาไรสนิมที่สั่งซื้อก็มีความสําคัญไมนอย


ราคาเหล็กกลาไรสนิมมักขึ้นกับหลายปจจัย แนนอนทัง้ นี้ยอมขึน้ กับชนิดของเหล็กกลาไรสนิม ชนิดผิว มิติ และคุณภาพความเงา
งามของผิวเหล็กกลาไรสนิมดวย ในตลาดการคาทราบดีวาเหล็กกลาไรสนิมที่มาจากแหลงผลิตตางกันแมจะเปนชนิดเดียวกัน ผลิต
โดยอาศัยมาตรฐานเดียวกัน แตราคามีความตางกัน

อะไรที่ทําใหราคาแตกตาง ทั้งๆ ที่เปนเหล็กกลาไรสนิมชนิดเดียวกัน อาจกลาวไดวา สําหรับเหล็กกลาไรสนิมรีดเย็นแลวคุณภาพ


ของเหล็กกลาไรสนิมนั้นยอมขึ้นกับคุณภาพของผิว และคุณสมบัติเชิงกลเปนสองคุณลักษณะหลัก และแหลงผลิตตางกันมักมี
คุณภาพของผิวและคุณสมบัติเชิงกลตางกัน ดังนัน้ ความแตกตางของราคาเหล็กกลาไรสนิมชนิดเดียวกันจึงแขงขันกันดวยสอง
คุณลักษณะดังกลาวเปนสําคัญ

เหล็กกลาไรสนิมเปนผลิตภัณฑเชิงโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงโลหะวิทยาบางอยางไมสามารถมองไดดวยสายตา จําเปนตองมีการ


ทดสอบในหองปฏิบัติการ และตองใชอุปกรณการทดสอบที่มีราคาสูง เชน องคประกอบทางเคมี และคุณสมบัติเชิงกล ดังนั้นผูคา
เหล็กกลาไรสนิมสวนใหญจะไมมอี ุปกรณเครื่องมือเหลานี้ แมจะมีเครื่องมือทดสอบก็จําเปนตองอาศัยผูเชี่ยวชาญในดานนีเ้ พือ่ ทํา
การทดสอบ การดูแลเครื่องไมเครื่องมือเปนเปนสิง่ ที่จําเปน

ดัวยเหตุผลดังกลาว ในการซื้อขายเหล็กกลาไรสนิมจําเปนที่ผูผลิตจะตองระบุคาเหลานี้ดวย เพื่อเปนการรับรองเชิงคุณภาพของ


สินคา และเอกสารที่ระบุคาเหลานี้บางครั้งจะเรียกวา ใบรับรองการทดสอบจากโรงงาน (Mill Test Certificate : MTC) หรืออาจ
เรียกในอีกหลายชื่อ ซึง่ ลวนเปนประเภทหนึ่งของเอกสารการตรวจสอบผลิตภัณฑที่ผูสงมอบอาจทําขึ้นดวยตนเองหรือภายใต
ขอกําหนดของมาตรฐาน ทัง้ นี้ผูรบั เอกสารควรที่จะมีความรูความเขาใจในเอกสารเหลานี้เพื่อประโยชนในการคา

เอกสารใบรับรองการตรวจสอบจากโรงงาน (Inspection documents) จะเรียกชื่อใบอะไรก็แลวแต ลวนเปนเอกสารที่มี


ความสําคัญมาก ถือเปนเอกสารทางการสําหรับรับรองความเปนผลิตภัณฑที่ใชอางอิงไดในทางการคา และเปนที่ยอมรับของ
หนวยงานทางราชการ ธุรกิจ องคกรทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อใชเปนเอกสารอางอิงในการจําแนกประเภทของเหล็กกลา
ไรสนิม เปนประโยชนตอการตรวจสอบพิกัดการนําเขาและกําหนดอัตราภาษีการนําเขาเหล็กกลาไรสนิม ในประเทศที่มกี ารดําเนิน
มาตรการทางการคา เชนการตั้งกําแพงภาษีหรือมาตรฐานโตตอบการทุมตลาดเปนตน

ในบทความนี้ จะไดพูดถึงความเปนมาของเอกสารการตรวจสอบซึ่งเปนประเภทหนึ่งของเอกสารทางการคา จะเจาะลึกถึงเนื้อหา


ตางๆ ในเอกสารการตรวจสอบ ทั้งขอมูลทางการคาและขอมูลเชิงเทคนิคสําหรับเหล็กกลาไรสนิมโดยเฉพาะ จะทําความเขาใจ
มาตรฐานวาดวยเอกสารการตรวจสอบ การกําหนดนิยาม การแบงประเภทของใบรับรอง แนวทางการเลือกใช และที่สําคัญใคร
และองคกรใดสามารถออกเอกสารใบรับรองเหลานั้นไดภายใตเงือ่ นไขใด

ในบทสุดทาย เปนเนื้อหาเชิงประยุกตที่ผูเขียนไดทําการวิเคราะหและตีความเพื่อใหเกิดความเขาใจมากขึ้นในมุมมองของผูเ ขียน


เพื่อหวังจะเปนประโยชนตอผูศึกษาและผูป ฎิบัติในหลายประเด็น ทั้งนี้การตีความเนื้อหาอาจแตกตางกันได ดังนั้นมุมมองและ
ประเด็นขอสรุปจากผูเขียนจึงเปนเพียงแนวทางหนึง่ เทานั้น ทั้งนีค้ วามตกลงในเอกสารการตรวจสอบไมวาจะเปนไปตามมาตรฐาน
อางอิงหรือไมเปนไปตามมาตรฐาน ลวนขึน้ กับขอตกลงทางธุรกิจการคา มาตรการทางการคา และกฎระเบียบทางราชการใน
ประเทศตางๆ ดวย

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 2 / 15


2. เอกสารทางการคาเหล็กกลาไรสนิม (Commercial document for stainless steel)

ธุรกิจการซื้อขายเหล็กกลาไรสนิมทั่วโลก มีเอกสารที่สําคัญอยู 2 ประเภทเฉกเชนเดียวกับการซื้อขายทั่วไป ไดแก เอกสารทาง


การเงิน (Financial documents) และเอกสารทางการคา (Commercial document)

2.1 เอกสารทางการเงิน (Financial documents) คือเอกสารที่เกี่ยวของกับการชําระเงิน ไดแก ตั๋วแลกเงิน (Bill of


Exchange) สําหรับผูขายใชเพื่อเรียกเก็บเงินคาสินคาจากผูซื้อ และ เช็ค (Cheque) สําหรับผูซื้อใชชําระคาสินคาแกผูขาย

2.2 เอกสารทางการคา (Commercial document) คือ เอกสารที่ใชประกอบในการซื้อขายสินคาที่ไมใชการเงินทั้งนี้รวมถึง


เอกสารที่กําหนดใหมีตามกฏหมายทางการคาหรือเอกสารขอตกลงระหวางคูคา

อันไดแก

 คําสั่งซื้อหรือสัญญาทางการคา (Purchase Order/Sales Contract)


 ใบรับรองการคา (Order Acknowledgement)
 ใบกํากับราคาสินคา (Invoice)
 ใบกํากับรายการสินคา (Packing List)
 เอกสารทางประกันภัย (Insurance Policy/Certificate)
 เอกสารการขนสงทางเรือ (Bill of Lading)
 เอกสารรับรองแหลงกําเนิดสินคา (Certificate of Origin)
 เอกสารการตรวจสอบสินคา (Inspection documents)
 เอกสารใบรับรองระบบคุณภาพ ความปลอดภัย สุขอนามัยและสิง่ แวดลอม (ISO9001 , ISO14000, OHSAS 18001)
 เอกสารรับรองสินคาจําเพาะของกลุมประเทศยุโรป (RoHS, REACH, PED, AD2000 W0-W2-W10)
 เอกสารรับรองสินคาทางกัมมันตรังสี (Radioactivity)
 เอกสารขอมูลความปลอดภัยทางเคมีภัณฑ (MSDS : Material Safety Data Sheet)
 เอกสารการตรวจสอบ (Inspection Documents)
 เอกสารความตองการเชิงคุณภาพอื่นๆ ตามขอตกลงของคูคา

ในบรรดาเอกสารทางการคาดังกลาวดานบนมีเอกสารหนึง่ ที่เปนเอกสารเชิงเทคนิค คือ เอกสารการตรวจสอบสินคา (Inspection


documents) เอกสารนี้มีความสําคัญในการบงชี้ชนิดสินคาและคุณภาพสินคาทีเ่ ปนทางการ เอกสารนี้มักออกโดยผูสงมอบสินคา
หรือผูผลิตพรอมลายเซ็นตและตราประทับจากโรงงาน เพื่อรับรองความถูกตองของขอมูลในเอกสารที่ผานการตรวจสอบความ
ถูกตองแลว

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 3 / 15


3. เอกสารการตรวจสอบ (Inspection documents)

เอกสารการตรวจสอบอาจเรียกไดหลากหลายชื่อแลวแตประเทศและระดับของเอกสารการตรวจสอบ ที่มักพบบอยไดแกชื่อ
ตอไปนี้

 ใบรายงานผลการทดสอบจากโรงงานผูผลิต (MTR : Mill Test Report)


 ใบรับรองการทดสอบจากโรงงงานผูผลิต (MTC : Mill Test Certificate)
 ใบรับรองการตรวจสอบ (Inspection Certificate)

เอกสารเหลานี้มักออกโดยโรงงานผูผลิต เนื้อหาในเอกสารประกอบดวย 2 สวนหลัก ไดแก เนื้อหาทางการคา และเนื้อหาทาง


เทคนิค

3.1 เนื้อหาทางการคา คือเนื้อหาที่กลาวถึงชื่อผูผลิตและผูคา หมายเลขอางอิงและวันเวลาของเอกสาร โดยหลักจะมีเนื้อหาทาง


การคาหลักสอดรับกับเอกสารรายการสินคา (Packing list) เพื่ออางอิงการได

3.2 เนื้อหาทางเทคนิค คือเนื้อหาวาดวยคุณลักษณะของสินคาที่ไดจากผลการตรวจสอบและจากหองปฏิบัติการทดสอบ เชน


องคประกอบทางเคมี สมบัติเชิงกล วิธีการทดสอบ เงื่อนไขการทดสอบ เงื่อนไขการผลิต และมาตรฐานอางอิงในสินคาดังกลาว
โดยมีลักษณะสําคัญดังนี้

องคประกอบทางเคมี (Chemical composition) การแสดงสวนผสมทางเคมีที่ถูกตองมักแสดงคาสองสวน ไดแกคาตาม


ขอกําหนดการซื้อขายและคาจริงจากการทดสอบ โดยตัวเลขในเอกสารอาจเขียนเปนตัวเลขที่สื่อคาจริง หรืออาจเขียนในรูปแบบ
ลําลองก็ได เชน ปริมาณกํามะถันหากมีอยูจริง 0.015% โดยน้ําหนัก ในเอกสารอาจแสดงคาตัวเลขเปน 15 และบริเวณใกลเคียง
อาจบอกวาตองนําไปคูณกับ 10-3 หรือ เปนตัวเลขที่ผานการคูณ 103 แลว หรือบอกแคตัวเลขกําลัง 3 หรือ -3 ก็ได ซึง่ การเขียน
ลักษณะนี้มักเกิดกับเอกสารรับรองที่มีพื้นที่แสดงสวนผสมทางเคมีจํากัด การเขียนในลักษณะนีม้ ักทําใหบุคคลทั่วไปอานไมเขาใจ
แตเอกสารเชนนี้ก็มักเขียนในลักษณะนี้บอยๆ และก็เปนที่ยอมรับได อาจเนื่องจากบุคคลที่ใหความสนใจดูขอมูลเหลานี้มักเปน
ผูเชี่ยวชาญอยูแลว ซึง่ ก็จะเขาใจลักษณะการเขียนแบบนี้ไดไมยาก

1) คาตามขอกําหนดการซื้อขาย ไดแก มาตรฐานที่ใชอางอิงของคําสัง่ ซื้อ เชน อางอิงมาตรฐาน ASTM JIS TIS EN หรือ
มาตรฐานของผูผลิตเองก็ได หรือ มาตรฐานที่ตกลงกันระหวางคูคาก็ได โดยมักจะแสดงในลักษณะคามากสุดและนอย
สุดหรือเปนชวง
2) คาจริงจากการทดสอบ โดยคาจากการทดสอบอาจเปนคาที่ไดจากการวิเคราะหสวนผสมทางเคมีจากเบาหลอม (Heat
analysis) หรือ เปนคาทีไ่ ดจากการวิเคราะหผลิตภัณฑ (Product analysis) ก็ได ทั้งนี้ในวงการเหล็กกลาไรสนิม คา
องคประกอบทางเคมีที่ใชในเอกสารการตรวจสอบแทบทุกชนิดจะใชสว นผสมทางเคมีจากเบาหลอมเปนหลัก

นอกจากนี้สวนผสมเคมีในเอกสารจะใชชื่อสัญญลักษณทางเคมีเทานั้น ไมมีการใชชื่อเต็ม ดังนั้นผูด ูจะตองมีความรูใ นสัญญลักษณ


ทางเคมีดวยเชน C หมายถึง คารบอน Ni หมายถึง นิกเกิลเปนตน

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 4 / 15


ตาราง 3.2 แสดงสัญญลักษทางเคมีและชื่อเต็ม

ลําดับ ชื่อธาตุอังกฤษ ชื่อธาตุไทย สัญญลักษณ


1 Carbon คารบอน C
2 Manganese แมงกานิส Mn
3 Chromium โครเมียม Cr
4 Nickel นิกเกิล Ni
5 Silicon ซิลิกอน Si
6 Nitrogen ไนโตรเจน N
7 Sulfur ซัลเฟอร หรือ กํามะถัน S
8 Titanium ไททาเนียม Ti
9 Niobium หรือ Columbium ไนโอเบียม หรือ โคลัมเบียม Nb หรือ Cb
10 Aluminum อลูมิเนียม Al
11 Copper ทองแดง Cu
12 Molybdenum โมลิบดีนัม MO
13 Phosphorus ฟอสฟอรัส P
14 Tungsten ทังสเตน W
15 Tantalum แทนทาลัม Ta
16 Cobalt โคบอลท Co
17 Cerium ซีเรียม Ce
18 Vanadium วาเนเดียม V
19 Tin ดีบุก Sn

จํานวนทศนิยมในการกํากับคาของธาตุเคมีในเอกสารการตรวจสอบมีความหมายสําคัญมาก การแสดงจํานวนตําแหนงของจุด
ทศนิยมยอมแสดงถึงระดับความแมนยําของการทดสอบดวย ในการแสดงจุดทศนิยมเพื่อบงบอกถึงระดับความแมนยํานั้นอยาง
นอยตองไมนอยกวาระดับความแมนยํา (ทศนิยม) ของมาตรฐานอางอิง โดยเฉพาะอยางยิง่ คาจริงจากการทดสอบนั้นตองมี
จํานวนทศนิยมสื่อความแมนยําสอดรับกับมาตรฐานอางอิงดวยเชนกัน

มีประเด็นหนึ่งที่สําคัญในการกําหนดคาสูงสุดต่ําสุดของธาตุเคมีบางตัวจะไมกําหนดในรูปตัวเลขชัดเจน แตจะกําหนดเปนสูตร
สัมพันธกับธาตุอื่น ตัวเลขธาตุทมี่ ักกําหนดคาเชิงสูตรไดแก ธาตุไททาเนียม (Ti) และไนโอเบียม (Nb) ยกตัวอยางในเหล็กกลาไร
สนิมชนิด AISI 439 กําหนดคาดังนี้ “Ti [0.20+4(C+N)] min, 1.10 max” หมายถึงกําหนดคาสูงสุดเทากับ 1.10 และคาต่ําสุด
เทากับ [0.20+4(C+N)] คาต่ําสุดตามสูตรนี้หมายถึงอะไรและหาอยางไรละ ในวงเล็บตัว C และ N เปนสัญญลักษณธของธาตุ
คารบอนและไนโตรเจนตามลําดับ ในสูตรตองเอาปริมาณของธาตุคารบอนบวกกับปริมาณของธาตุไนโตรเจนรวมกันแลวไปคูณ
กับ 4 ไดตัวเลขเทาไหรนาํ ไปบวกกับ 0.20 ผลลัพทที่ไดกค็ ือขอกําหนดคาต่ําสุดของไททาเนียมนัน่ เอง แนนอนตองมีคําถามแนวา
ทําไมตองกําหนดเชนนี้ การกําหนดเชนนี้มเี หตุผลเชิงโลหะวิทยาครับ เนื่องจากการเติมธาตุไททาเนียมเขาไปเพื่อใหไปทําหนาที่
กําจัดธาตุคารบอนและธาตุไนโตนเจนสวนเกิน ดังนั้นธาตุไททาเนียมตองมีในปริมาณที่เพียงพอถึงจะทําหนาที่ตองนี้ ผลของการ
ทําหนาที่ตรงนี้ทําใหไมเหลือธาตุคารบอนและไนโตรเจนสวนเกินที่อิสระ ซึ่งจะสงผลดีตอการเชื่อมและการทนตอการกัดกรอนของ
เหล็กกลาไรสนิม

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 5 / 15


สมบัติทางกล (Mechanical properties) สมบัติเชิงกลเปนอีกขอมูลที่สําคัญที่ตองมีในเอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิม
ทรงแบนรีดเย็นรองจากสวนผสมทางเคมี สมบัติเชิงกลก็เฉกเชนเดียวกับสวนผสมทางเคมีคือจะประกอบดวยขอมูล 2 สวน ไดแก
คาตามขอกําหนดการซื้อขายและคาจริงการการทดสอบ ดังนี้

1) คาตามขอกําหนดการซื้อขาย ไดแก มาตรฐานที่ใชอางอิงของคําสัง่ ซื้อ เชน อางอิงมาตรฐาน ASTM JIS TIS EN หรือ
มาตรฐานของผูผลิตเองก็ได หรือ มาตรฐานที่ตกลงกันระหวางคูคาก็ได โดยมักจะแสดงในลักษณะคามากสุดและนอย
สุดหรือเปนชวง
2) คาจริงจากการทดสอบ โดยคาจากการทดสอบมักเปนผลการทดสอบแบบเจาะจงจากโรงงานผูผลิต การทดสอบเชิงกล
มาตรฐานสวนใหญมักกําหนดใหตัดชิ้นงานทดสอบตําแหนงหัวมวนและปลายมวน แตในทางปฏิบัติหลายโรงงานผูผลิต
อาจตัดแคตําแหนงเดียว โดยอาจเปนหัวมวน กลางมวน ปลายมวนก็ได และผลที่หลายงานมักไมบอกตําแหนงของ
ชิ้นงานทดสอบดวย

รายการสมบัติเชิงกลในเอกสารมีหลายมาตรฐานไดกําหนดไววาตองมีอะไรบาง แตทั้งนี้ก็ขึ้นกับขอตกลงระหวางผูซื้อและผูขาย
เปนสําคัญ เชน ความเคนแรงดึง (Tensile strength) ความเคนจํานนท (Yield strength) ความยืดตัว (Elongation) และความ
แข็ง (Hardness) เปน 4 รายการที่มักมีในเอกสารการตรวจสอบ

 ความเคนแรงดึง (Tensile strength) หมายถึง ความเคน (Stress) ที่เกิดขึ้นเมื่อมีแรงดึง (Tensile force) มากระทําตั้ง
ฉากกับพื้นที่ภาคตัดขวาง โดยพยายามจะแยกเนื้อวัสดุใหแยกขาดออกจากกัน อาจเรียกวา ความแข็งแรงในการรับแรงดึง
อธิบายไดวา เมื่อทําการดึงเหล็กกลาไรสนิมจะสงผลใหเหล็กกลาไรสนิมเกิดการเสียรูปในลักษณะยืดหยุนอยางตอเนื่อง และ
เมื่อเพิ่มแรงดึงจนความเคนที่เกิดในเหล็กกลาไรสนิมมีคาเกินขีดจํากัดความยืดหยุนก็จะเกิดการเสียรูปแบบพลาสติก และ
เมื่อความเคนในเหล็กกลาไรสนิมเพิ่มขึ้นจนถึงคาความแข็งแรงในการรับแรงดึง วัสดุจะมีความเคนลดลงเอง และระยะยืด
ตัวจะเพิ่มขึ้น เหล็กกลาไรสนิมกลุมเฟอรริติกจะมีการเกิดคอคอด (Necking) เมื่อการทดสอบผานเลยจุดคาความแข็งแรง
ในการรับแรงดึง สวนเหล็กกลาไรสนิมกลุมออสเทนนิติกจะไมเกิดคอคอด

 ความเคนจํานน (Yield strength) หมายถึง ระดับแรงเคนที่เปนจุดแบงระหวางพฤติกรรมการคืนรูปกับพฤติกรรม


การคงรูป จะเปนคาความแข็งแรงสูงสุดที่ยังคงใชประโยชนไดโดยไมเกิดการเสียหายจากแรงเคนทีก่ ระทําตอเหล็กกลาไร
สนิม อธิบายไดวา เมื่อเราเพิ่มแรงกระทําไปจนเกินพิกัดสัดสวน เหล็กกลาไรสนิมบางชนิดจะยังคงแสดงพฤติกรรมการ
คืนรูปไดอีกเล็กนอยจนถึงจุดพิกัดยืดหยุน (Elastic limit) ซึ่งเมื่อผานจุดนีไ้ ปแลวเหล็กกลาไรสนิมจะมีการเปลี่ยนรูป
อยางถาวร (Plastic Deformation) ลักษณะการเริ่มตนของความเครียดแบบพลาสติกนีเ้ ปลี่ยนแปลงไปตามชนิด
เหล็กกลาไรสนิม เชน เหล็กกลาไรสนิมกลุมเฟอรริติก (Ferritic stainless steel) จะเกิดการเปลีย่ นรูปอยางรวดเร็ว โดย
ไมมีการเพิ่มความเคน ซึ่งเปนจุดที่เกิดการเปลี่ยนรูปแบบพลาสติก เรียกวาจุดจํานน (Yield Point) และคาของความ
เคนที่จุดนีเ้ รียกวา ความเคนจํานน (Yield Strength) คานีม้ ีประโยชนกับวิศวกรมาก เพราะเปนจุดแบงระหวาง
พฤติกรรมการคืนรูปกับพฤติกรรมการคงรูป และในกรณีของโลหะจะเปนคาความแข็งแรงสูงสุดที่เราคงใชประโยชนได
โดยไมเกิดการเสียหาย

เหล็กกลาไรสนิมกลุมออสเทนนิติก (Austenitic stainless steel) จะไมแสดงจุดครากอยางชัดเจน แตเราก็มีวิธีที่จะหาไดโดย


กําหนดความเครียดที่ 0.10 - 0.20% ของความยาวกําหนดเดิม (Original Gage Length) แลวลากเสนขนานกับกราฟชวงแรกไป

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 6 / 15


จนตัดเสนกราฟที่โคงไปทางดานขวา คาความเคนที่จุดตัดนี้จะนํามาใชแทนคาความเคนจุดจํานนได ความเคนที่จุดนี้บางครั้ง
เรียกวา ความเคนพิสูจน (Proof Stress)
งใน
ทั้งความเคนแรงดึง และความเคนจํานน มักรายงานในหนวยเปนนิวตันตอตารางมิลลิเมตร (N/mm2) หรือ เปนหนวย แมกกะ
พาสคาล (Mpa) หรือ ปอนดตอตารางนิว้ (PSI) โดยมีความสัมพันธเชิงสูตรดังนี้ 1 MPa = 1 N/mm2 =145 psi =102 kg/mm2

 ความยืดตัว (Elongation) หมายถึง เปนคาทีบ่ อกถึงความเหนียว (Ductile) ของเหล็กกลาไรสนิมจะแสดงเปนคา


เปอรเซ็นตความยืด (percent elongation) โดยหากมีคาเปอรเซ็นตความยืดมากแสดงวาเหล็กกลาไรสนิมนั้น เปลี่ยนรูป
ไดมาก % elongation ณ จุด ที่ขาดมีความสําคัญ ทางดานวิศวกรรมมาก

ขอมูลชิ้นงานทดสอบในเอกสารการตรวจสอบ ปกติจะบอกชนิดของเหล็กกลาไรสนิม และสวนผสมทางเคมีเปนรอยละโดยน้ําหนัก


นอกจากนี้ยังตองบงบอกกระบวนการที่สําคัญเชิงโลหะวิทยาดวยเชน เปนเหล็กกลาไรสนิมที่ผานการอบออนมา หรือเปนเหล็กกลา
ไรสนิมผานการรีดเทานัน้ เพราะกระบวนการที่แตกกตางจะสงผลตอคุณสมบัติเชิงกลของเสตนเลสดวย นอกจากนี้ชนิ้ งานทดสอบ
จําเปนตองระบุถึง ทิศทางการทดสอบ ทิศทางของชิน้ งานที่นํามาทดสอบมีความสําคัญมาก ในการดึงชิ้นงาน หากดึงชิ้นงานตาม
แนวขนานกับทิศทางการรีดเย็น จะใหคาที่แตกตางจากทิศทางตัง้ ฉากกับการรีดเย็น ซึ่งมาตรฐานสามารถทําไดทั้ง 2 วิธีแตจะตอง
มีการรายงานในเอกสารใหชัดแจง

นอกจากนี้ตองระบุขนาดชิน้ งานทดสอบดวย เพราะขนาดของชิน้ งานทดสอบก็สงผลตอความแตกกตางของสมบัติเชิงกลเชนกัน

 ความแข็ง (Hardness) หมายถึง ความตานทานตอแรงกด การขัดสีและการกลึงของวัสดุ สําหรับเหล็กกลาไรสนิม


กระบวนการทดสอบความแข็งนิยมทํา 3 แบบไดแก แบบบริเนลล (Brinell Hardness, HBN หรือฺ HB) แบบวิคเกอร
(Vickers Hardness, HV) และ แบบรอคเวลล (Rockwell Hardness, HRB หรือ HRC) โดยแบบรอคเวลล เปนการวัด
ความแข็งจากความลึกของรอยกดจากหัวกดดวยแรงคงที่ ซึ่งจะแตกตางจากกระบวนการแบบบริเนลล และแบบวิคเกอร
ที่วัดจากแรงกดตอหนึ่งหนวยพื้นที่

สําหรับเหล็กกลาไรสนิมแผนรีดเย็น ในปจจุบันกระบวนการทดสอบแบบรอคเวลลนิยมใชมากที่สุดในหนวยสเกลบี (HRB)


โดยเฉพาะกับเหล็กกลาไรสนิมแผนที่มีความหนาตัง้ แต 2 มิลลิเมตรขึ้นไป รองมาไดแก วิคเกอร นิยมใชกับเหล็กกลาไรสนิมแผน
ความหนาสองมิลลิเมตรลงมา

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 7 / 15


4. มารตรฐานวาดวยเอกสารการตรวจสอบ

ในประเทศเยอรมัน เอกสารการตรวจสอบ (Inspection documents) เริ่มมีกําหนดในมาตรฐาน DIN 50049 และมีการพัฒนา


ประเด็นนิยามการทดสอบ (Material testing) และประเภทของเอกสารการรับรอง (Certificate types) ขึ้นมาเปนมาตรฐานยุโรป
EN 10204 ในป ค.ศ. 1991 โดยกําหนดประเภทใบรับรองเปน 7 ชนิด ไดแก ใบรับรองชนิด 2.1, 2.2, 2.3, 3.1A, 3.1B, 3.1C
และ 3.2 สวนฉบับปจจุบันที่ใชอยูแกไขในป 2004 ไดปรับปรุงและลดประเภทใบรับรองเหลือเพียง 4 ชนิด ไดแกใบรับรอง 2.1,
2.2, 3.1 และ 3.2. โดย ยกเลิกชนิด 2.3 ทดแทนชนิด 3.1B ดวย 3.1 ทดแทนชนิด 3.1A 3.1C และ 3.2 ดวย 3.2 ทั้งนี้ การลด
จํานวนของชนิดใบรับรองทําใหงา ยตอความเขาใจมากขึ้น

ชื่อเต็มของมาตรฐานยุโรป EN10204: 2004 ผลิตภัณธโลหะ – ชนิดของเอกสารการตรวจสอบ (Metallic products- Type of


inspection documents) เอกสารนี้กําหนดแบงเอกสารการตรวจสอบออกเปน 2 แบบ ไดแก เอกสารการตรวจสอบแบบไมเจาะจง
และเอกสารการตรวจสอบแบบเจาะจง พรอมใหความหมายนิยามคําศัพทเฉพาะไวอยางชัดเจนดังนี้

4.1 นิยามคําศัพท

1) การตรวจสอบแบบไมเจาะจง (Non-specific inspection)

การตรวจสอบโดยโรงงานผูผลิตตามระเบียบการปฏิบัติงาน (Work procedure) ของตัวเอง เพื่อประเมินวานิยามของ


ผลิตภัณฑเหลานัน้ มีขอกําหนดคุณลักษณะผลิตภัณฑเหมือนกันและผลิตดวยกระบวนการผลิตเดียวกัน สอดคลองกับ
ความตองการของคําสัง่ ซื้อหรือไม

ผลิตภัณฑที่ทําการตรวจสอบไมจําเปนตองเปนผลิภัณฑจริงที่ไดสง มอบใหลูกคา

2) การตรวจสอบแบบเจาะจง (Specific inspection)

การตรวจสอบกอนสงมอบตามคุณลักษณะของผลิตภัณฑ โดยการตรวจสอบกับผลิตภัณฑเหลานัน้ กอนสงมอบ หรือ การ


ทดสอบบางสวนของผลิตภัณฑเหลานั้น เพื่อที่จะประเมิลวาผลิตภัณฑเหลานี้มีความสอดคลองกับความตองการของ
คําสั่งซื้อ

3) โรงงานผูผลิต (Manufacturer)

องคกรผูผลิตสินคาจําเพาะตามความตองการของคําสัง่ ซื้อ และคุณสมบัตทิ ี่ระบุสอดคลองกับเอกสารอางอิงดาน


คุณลักษณะของผลิตภัณฑ

4) คนกลาง (Intermediary)
องคกรผูซึ่งรับสินคามาจากโรงงานผูผลิต (Manufacturer) แลวขายตอโดยไมมีการผานกระบวนการผลิตเพิ่มเติม หรือ
ผานกระบวนการผลิตเพิ่มเติม แตไมมีผลตอการเปลีย่ นแปลงคุณสมบัติจําเพาะตามคําสั่งซื้อและเอกสารอางอิง
คุณลักษณะของผลิตภัณฑ
เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 8 / 15
5) คุณลักษณะของผลิตภัณฑ (Product specification)

รายละเอียดความตองการทางเทคนิคสมบูรณตามคําสั่งซื้อ ระบุในรูปแบบเปนทางการ ยกตัวอยางเชน การอางอิง


ขอกําหนด มาตรฐาน และ เอกสารคุณลักษณะอื่น

4.2 เอกสารการตรวจสอบตามการตรวจสอบแบบไมเจาะจง

1) ใบประกาศสอดรับกับคําสั่งซื้อ “ชนิด 2.1”

เอกสารซึ่งประกาศโดยโรงงานผูผ ลิตวา ผลิตภัณฑที่สงมอบมีความสอดคลองกับความตองการของคําสั่งซื้อ โดย


ปราศจากผลการทดสอบ

2) ใบรายงานการทดสอบ “ชนิด 2.2”

เอกสารซึ่งประกาศโดยโรงงานผูผ ลิตวา ผลิตภัณฑที่สงมอบมีความสอดคลองกับความตองการของคําสั่งซื้อ และไดสง


มอบผลการทดสอบจากการตรวจสอบแบบไมเจาะจง

4.3. เอกสารการตรวจสอบตามการตรวจสอบแบบเจาะจง

1) ใบรับรองการตรวจสอบ 3.1 “ชนิด 3.1”

เอกสารที่ออกโดยโรงงานผูผลิตซึ่งไดประกาศวาผลิตภัณฑที่สงมอบมีความสอดคลองกับความตองการของคําสั่งซื้อและ
มีการสงมอบผลการทดสอบ

หนวยการทดสอบและการทดสอบกระทําโดยเปนไปตามนิยามของคุณลักณษณะของผลิตภัณฑ (Product specification)


กฏระเบียบอยางเปนทางการ และ กฏระเบียบที่เกี่ยวของ และหรือ คําสั่งซื้อ

เอกสารรับรองโดยตัวแทนผูมีอํานาจตรวจสอบจากโรงงานผูผลิต มีความอิสระจากฝายผลิตของโรงงาน

โรงงานมีการอนุญาติใหมีการสงมอบใบรับรองการตรวจสอบ 3.1 พรอมผลการทดสอบดวยการตรวจสอบแบบเจาะจง


ตั้งแตแรก หรือ ผลิตภัณฑตั้งตน พรอมกฏระเบียบการปฏิบัติงานในโรงงานในการตรวจสอบยอนกลับ และ สามารถ
จัดเตรียมเอกสารการตรวจสอบที่เกีย่ วของไดหากตองการ

2) ใบรับรองการตรวจสอบ 3.2 “ชนิด 3.2”

เอกสารที่จัดเตรียมโดย ทั้งตัวแทนผูมีอํานาจตรวจสอบจากโรงงานผูผลิต มีความอิสระจากฝายผลิตของโรงงาน และ


ตัวแทนผูมีอํานาจตรวจสอบจากผูซื้อ หรือ ผูตรวจสอบที่แตงตัง้ โดยตามระเบียบของทางการ และ มีการประกาศวา
ผลิตภัณฑที่สงมอบสอดคลองกับความตองการของคําสัง่ ซื้อและพรอมสงมอบผลการทดสอบดวย

4.4 การรับรองและการสงมอบเอกสารการตรวจสอบ

เอกสารการตรวจสอบตองรับรองโดยบุคคลหรือกลุมบุคคลที่รับผิดชอบโดยตรง (ชื่อและตําแหนง)

การจัดเก็บและการสงมอบเอกสารจะตองเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือกระดาษอยางใดอยางหนึง่

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 9 / 15


4.5 การสงมอบเอกสารการตรวจสอบโดยคนกลาง

คนกลางตองเพียงสงผานเอกสารตนฉบับหรือสําเนาของเอกสารการตรวจสอบที่จัดเตรียมใหจากโรงงานโดยไมมีการ
ดัดแปลง เอกสารเหลานี้จะตองกํากับโดยเครื่องมือที่เหมาะสมเพื่อบงชี้ผลิตภัณฑ เพื่อใหเกิดความมั่นใจการตรวจสอบ
ยอนกลับระหวางผลิตภัณฑและเอกสาร

การสําเนาเอกสารตนฉบับอนุญาตใหทําได เพื่อความประสงคดังนี้

 ระเบียบการทํางานตรวจสอบยอนกลับและการทําการ
 พรอมที่จะมอบเอกสารตนฉบับใหหากการรองขอ

เมื่อไดสําเนาเอกสารแลว เอกสารฉบับสําเนานัน้ อนุญาตใหแกไขขอมูลของปริมาณการสงมอบในตนฉบับดวยปริมาณการสงมอบ


จริงบางสวน

ตาราง 4.5 สรุปเอกสารการตรวจสอบ

อางอิง EN
ประเภทเอกสาร เนื้อหา เอกสารรับรองโดย
10204
ชนิด 2.1 ใบประกาศความ คําแถลงสอดคลองกับคําสั่งซื้อ โรงงานผูผลิต
(Type 2.1) สอดคลองกับคําสั่งซื้อ
ชนิด 2.2 ใบรายงานการ คําแถลงความสอดคลอกับคําสั่งซื้อ โรงงานผูผลิต
(Type 2.2) ทดสอบ พรอมผลการตรวจสอบแบบไม
เจาะจง
ชนิด 3.1 ใบรับรอบการ คําแถลงความสอดคลองกับคําสั่งซื้อ ตัวแทนผูมีอํานาจ
(Type 3.1) ตรวจสอบ 3.1 พรอมผลการตรวจสอบแบบเจาะจง ตรวจสอบจากโรงงาน
ผูผลิต มีความอิสระจาก
ฝายผลิตของโรงงาน
ชนิด 3.2 ใบรับรอบการ คําแถลงความสอดคลองกับคําสั่งซื้อ ตัวแทนผูมีอํานาจ
(Type 3.2) ตรวจสอบ 3.2 พรอมผลการตรวจสอบแบบเจาะจง ตรวจสอบจากโรงงาน
ผูผลิต มีความอิสระจาก
ฝายผลิตของโรงงาน และ
ตัวแทนผูมีอํานาจ
ตรวจสอบจากผูซื้อ หรือ ผู
ตรวจสอบที่แตงตั้งโดยตาม
ระเบียบของทางการ

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 10 / 15


ตัวอยางเอกสารการตรวจสอบ

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 11 / 15


เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 12 / 15
5. แนวทางการประยุกตใชเอกสารการตรวจสอบ

5.1 ชื่อเรียกเอกสารการตรวจสอบ

เอกสารการตรวจสอบจะเรียกเอกสารนั้นวาใบอะไรก็ตาม ในหลายประเทศ หลายผูผลิต มักใชชื่อเรียกเอกสารตางกันออกไป ทั้งนี้


อาจขึ้นกับมาตรฐานการอางอิงเอกสารเหลานัน้ ดวยและรายการตอไปนี้ อาจใชเปนชื่อเรียกเอกสารการตรวจสอบ อันไดแก

 ใบรายงานผลการทดสอบจากโรงงานผูผลิต (MTR : Mill test report)


 ใบรายงานการทดสอบ (Test report)
 ใบรับรองการทดสอบจากโรงงงานผูผลิต (MTC : Mill test certificate)
 ใบรับรองการตรวจสอบ (Inspection Certificate)
 ใบประกาศความสอดคลองกับคําสั่งซื้อ (Declaration of compliance with the order)
 ใบรับรองรายงานการทดสอบจากโรงงาน (Certified Mill Test Report)
 ใบรับรองรายงานการทดสอบวัสดุ (Certified Material Test Report)
 ใบรับรองการทดสอบ (Certificate of Test)
 ใบรับรองคุณภาพ (Quality certificate)
 ใบรับรองคุณภาพสินคา (Certificate of product quality)

จุดประสงคของเอกสารเหลานี้มีเปาหมายเพื่อแสดงขอมูลทางเทคนิคของเหล็กกลาไรสนิม ตามขอตกลงทางการคาระหวาง
ผูขายกับผูซื้อ โดยผูขายกับผูซื้อควรจะเปนองคกรเชนไร และขอมูลในเอกสารควรเปนเชนไรนัน้ อาจจําแนกไดเปนสอง
ประเด็นคือ
1) ในกรณีเปนเอกสารการตรวจสอบ (Inspection document) เปนไปตามมาตรฐาน ขอมูลในเอกสาร ชื่อเรียกเอกสารและ
ผูออกเอกสารตองสอดคลองกับขอกําหนดในมาตรฐาน
2) ในกรณเปนเอกสารการตรวจสอบไมอางอิงมาตรฐาน ขอมูลในเอกสาร ชื่อเรียกเอกสาร ผูออกเอกสารแลวแตขอตกลง
ระหวางคูคา

5.2 เอกสารการตรวจสอบตาม EN 10204 :2004


ใน EN 10204 ไดกําหนดผูเ กีย่ วของกับเอกสารการตรวจสอบ 5 ราย โดยแตละรายไดกําหนดขอบเขตใหสามารถออกชนิด
ของเอกสารการตรวจสอบและแกไขเอกสารการตรวจสอบไดดังตอไปนี้

ตัวผูผลิต (Manufacturer) เอกสารการตรวจสอบทีส่ ามารถออกไดแก ใบประกาศความสอดคลองกับคําสั่งซื้อ


(Declaration of compliance with the order) ใบรายงานการทดสอบ (Test report)

ตัวแทนผูมีอาํ นาจตรวจสอบจากโรงงานผูผลิตมีความอิสระจากฝายผลิตของโรงงาน (Manufacturer’s authorized


representative) เอกสารการตรวจสอบที่สามารถออกไดแก ใบประกาศความสอดคลองกับคําสั่งซื้อ (Declaration of
compliance with the order) ใบรายงานการทดสอบ (Test report) และ ใบรับรองการตรวจสอบ 3.1 (Inspection
เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 13 / 15
certificate 3.1) สวนใบรับรองการตรวจสอบ 3.2 (inspection certificate 3.2) ตองออกรวมกับ ตัวแทนผูมีอํานาจตรวจสอบ
จากผูซื้อ หรือ ผูตรวจสอบที่แตงตั้งโดยตามระเบียบของทางการ ผูใดผูหนึ่งรวมดวย

ตัวแทนผูมีอาํ นาจตรวจสอบจากผูซื้อ (Purchaser’s authorized representative) เอกสารการตรวจสอบที่สามารถออก


ไดแก ใบรับรองการตรวจสอบ 3.2 (Inspection certificate 3.2) โดยออกรวมกับ ตัวแทนผูมีอํานาจตรวจสอบจากโรงงาน
ผูผลิตมีความอิสระจากฝายผลิตของโรงงาน (Manufacturer’s authorized representative)

ผูตรวจสอบที่แตงตัง้ โดยตามระเบียบของทางการ (Inspector designated by official regulations) เอกสารการ


ตรวจสอบที่สามารถออกไดแก ใบรับรองการตรวจสอบ 3.2 (Inspection certificate 3.2) โดยออกรวมกับ ตัวแทนผูมีอํานาจ
ตรวจสอบจากโรงงานผูผลิตมีความอิสระจากฝายผลิตของโรงงาน (Manufacturer’s authorized representative)

คนกลาง (Intermediary) ไมสามารถออกเอกสารการตรวจสอบดวยตนเองได ทําไดเพียง สงผานเอกสารการตรวจสอบ


ตนฉบับหรือฉบับสําเนาใหลูกคาของตนเองไดโดยหามทําการดัดแปลงออกสารใดๆ ยกเวนปริมาณการสงมอบที่อนุญาติให
แกไขไดตามจํานวนที่สง มอบจริง

5.3 ขอบเขตของผูผลิต (Manufacturer) และคนกลาง (Intermediary) ตามมาตรฐาน EN 10204 : 2004

1) ผูผลิต(Manufacturer)
“องคกรผูผลิตสินคาจําเพาะตามความตองการของคําสัง่ ซื้อ และคุณสมบัตทิ ี่ระบุสอดคลองกับเอกสารอางอิงดาน
คุณลักษณะของผลิตภัณฑ (Product specification)”

จากนิยามดานบน ผูผลิต (Manufacturer) จึงสามารถตีความนิตบิ ุคคลตอไปนี้

 โรงงานผูผลิตเหล็กกลาไรสนิม (Stainless steel manufacture) ซึ่งมักเรียกเอกสารโดยมีคําวาโรงงาน (Mill) อยู


ดวย เชน ใบรายงานผลการทดสอบจากโรงงานผูผลิต (MTR : Mill test report)
 ศูนยบริการ (Stainless steel service center) ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของผลิตภัณฑ (Product
specifcation) อันไดแก ศูนยบริการดานตัดแบงความกวาง (Slitting) ตัดตามยาว (Cut to length) ตกแตงผิว
(polishing) เปนตน และเอกสารเหลานั้นจะไมมีคําวา โรงงาน (Mill) อยูดวย เชน ใบรายงานการทดสอบ (Test
report)

2) คนกลาง (intermediary)

“องคกรผูซึ่งรับสินคามาจากโรงงานผูผลิต (Manufacturer) แลวขายตอโดยไมมีการผานกระบวนการผลิตเพิ่มเติม หรือ


ผานกระบวนการผลิตเพิ่มเติม แตไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติจําเพาะตามคําสั่งซื้อ และเอกสารอางอิง
คุณลักษณะของผลิตภัณฑ (Product specification)”

จากนิยามดังกลาว สามารถตีความหมายไดวา คนกลาง หมายถึงบุคคลดังตอไปนี้

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 14 / 15


 ผูคา (Trader)
 ตัวแทนจําหนาย (Agent)
 สตอกคิส (Stockiest)
 รานขายปลีก (retailer)

6. บทสรุป
เอกสารการตรวจสอบเปนเอกสารทางการคา ลักษณะรูปแบบและเนื้อหาของเอกสารยอมขึ้นกับขอตกลงระหวางคูคา
และหากเปนเอกสารออกโดยการอางอิงมาตรฐาน ก็ตองมีเนือ้ หาและวิธีทางเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานนัน้ ๆ
ดวย

ในกรณีของเอกสารการตรวจสอบตามมาตรฐาน EN 10204 นั้น จะเปนเอกสารการตรวจสอบที่เปนที่ยอมรับทั่วไป


สําหรับเหล็กกลาไรสนิม โดยโรงงานผูผลิตมักออกเปน ใบรับรองการตรวจสอบจากโรงงาน ชนิด 3.1 เปนหลัก

แมเอกสารการตรวจสอบจะเปนเอกสารทางการคาเชนเดียวกับเอกสารทางการคาอื่นๆ อีกหลายอยาง หากแตเอกสาร


การตรวจสอบกับมีความสําคัญมากกวา ในทุกประเทศหนวยงานราชการจะถือวาเอกสารการตรวจสอบเปนเอกสาร
ทางการ มีความถูกตอง นาเชื่อถือ และใชเพื่อการยืนยันและตรวจสอบในมาตรการทางการคาตางๆ เชน มาตรฐานตอบ
โตการทุมตลาด เปนตน

เอกสารการตรวจสอบเหล็กกลาไรสนิมทรงแบนรีดเย็น | Tachyon หนา 15 / 15

You might also like