Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

Float Switch

Float Switch หรื อ สวิทซ์ลูกลอย คือ เซ็นเซอร์ ทีใช้วดั ระดับของนําในภาชนะ โดยแบบสายเคเบิ ล หรื อ Cable Type Float Switch จะเป็ น
สวิทช์ลูกลอยแบบสายเคเบิ ลทีราคาประหยัด ออกแบบมาใช้สาํ หรับหย่อน หรื อ จุ่มลงในบ่อหรื อถัง นํา หรื อ นําเสี ย หรื อ ของเหลวอืนๆ
เพือใช้ในการเตือน หรื อ ควบคุมระดับของเหลวนันๆ ร่ วมกับรี เลย์ หรื อ ส่ งสัญญาณทีเป็ นลักษณะของสวิทช์ไปเข้าระบบ PLC เพือ
ควบคุมปั ม ในปัจจุบนั Nivelco ได้ออกแบบ Float Switch ทีมีลูกลอยทีถูกออกแบบมาพิเศษ ซึ งจะมีระบบป้องกันเมือนํากระเพือม โดย
ทีลูกลอยจะยังไม่ทาํ งานจนกว่าจะลอยค้างทํามุม องศา ซึ งการกําหนดระดับทีจะให้สวิทช์ทาํ งาน จะใช้การเลือนตําแหน่งของตุม้ ถ่วง
(counterweight) ทีสวมอยูท่ ีสายเคเบิ ลดูโครงสร้ าง Float Switch เพิมแนวคิดการทํางาน
เราสามารถอธิบายโครงสร้างการทํางานของสวิทซ์ลูกลอยหรื อ Float Switch ได้เป็ นส่ วนต่างๆ ซึ งจะทําหน้าทีแตกต่างกันออกไป โดย
ส่ วนโครงสร้างทีมีความสําคัญในการทํางานมีดงั นี

Float ลูกลอย คือ ตัวทุ่นทีใช้สัมผัสกับตัวของเหลวโดยตรง ซึ งจะมีโครงสร้างเป็ นลักษณะกลม แบนหรื อทรงกระบอก ก็ได้ แต่จะต้องมี
ความหนาแน่น Density น้อยกว่าของเหลว เพือทําให้ตวั มันเองสามารถลอยอยูไ่ ด้ เนืองจากเป็ นส่ วนทีสัมผัสกับของเหลวโดยตรงจึ งมี
วัสดุทีใช้ทาํ หลากหลายชนิ ดขึนอยูก่ บั ความทนทาน ซึ งถ้าเป็ นแบบทัวๆ ไปก็อาจจะใช้ PVC (polyvinyl chloride) แต่ถา้ ต้องการความ
ทนทานก็จะนิยมใช้ลูกลอยทีทํามาจาก PP (Polypropylene) ซึ งขึนรู ปโดยใช้การฉี ด เพือให้มนใจได้
ั ว่าจะไม่มีการรั ว นอกจากวัสดุทีเป็ น
พลาสติกแล้ว ยังมีทีทําจากสเตนเลส หรื อโลหะประเภทอืนๆ ด้วย

รูปที 1 สวิทซ์ลูกลอยแบบ PP (Polypropylene)

รูปที 2 สวิทซ์ลูกลอยแบบ Stainless

Contact Switch

สวิทซ์ หน้ าคอนแทค คือ ส่ วนทีทําหน้าทีเป็ นสะพานไฟ ให้วงจรไฟฟ้าทํางานครบลูปหรื อครบวงจร ซึ งมีทงที


ั บรรจุอยูใ่ นตัวลูกลอย
หรื อติดตังภายในก้าน Stem โดยประเภทของ Switch ทีใช้ในตัวลูกลอยนันมีใช้กนั อยู่ 2 ประเภท
 Micro Switch เป็ น สวิทซ์ทีทํางานโดยอาศัยแรงกด ซึ งเป็ นแบบกลไก โดยมีหน้าคอนแทค เป็ นแบบ NO+NC ทนกระแสและ
แรงดันได้ 10A, 250VAC

รูปที 3 วงจรสวิทซ์ลูกลอยทีใช้ Limit Switch

Lead Switch
เป็ น สวิทซ์ทีทํางานโดยสนามแม่เหล็ก ซึ งเป็ นแบบแม่เหล็ก โดยมีหน้าคอนแทค เป็ นแบบ NO ทนกระแสและแรงดันได้ 0.5A,
300VAC

รูปที 4 โครงสร้างสวิทซ์ลูกลอยทีใช้ Lead Switch

Electrical Cable / Lead Wire


สายไฟฟ้ า เป็ นส่ วนทีใช้เชือมต่อวงจรไฟฟ้าภายนอกกับวงจรของ Contact Switch ตัววัสดุทีใช้ทาํ จะต้องทนต่อสภาพแวดล้อมในการ
ติดตัง วัสดุทีมีขายในท้องตลาดส่ วนใหญ่ จะเป็ น PVC (polyvinyl chloride) หรื อ Neopren ซึ งจะทนกว่า นอกจากชนิดของวัสดุทีใช้ทาํ
แล้ว ยังมีเรื องของขนาดและความยาวสาย ซึ งขึนอยูก่ บั กระแสและแรงดันทีใช้ แต่สาํ หรับความยาวควรเลือกให้ครอบคลุมความยาวทีใช้
งานไม่ควรต่อสาย เนืองจากอาจทําให้เกิดการรั วไหลของกระแสไฟฟ้า จนเกิดอันตรายขึนได้

Counter Weight
ตุ้มถ่ วง ในกรณี ทีติดตังตัว Float หรื อ ลูกลอย ในลักษณะถ่วงนําจําเป็ นต้องใช้ตวั Counter Weight ตุม้ ถ่วง เพือทําให้ตวั ลูกลอยจมอยู่
และทําให้สามารถทํางานได้ตรงตามฟังก์ชนั แต่สาํ หรับลูกลอยทีมีการติดตังแบบแนวตังหรื อแนวนอน ทีมีแกนหรื อ Stem เป็ นตัว
ประคอง จะไม่จาํ เป็ นต้องใช้ตวั Counter Weight ตุม้ ถ่วง เนืองจากใช้การจับยึดทีตัวเกลียวของ Stem เอง

รูปที 5 Counter Weight ตุม้ ถ่วงทีใช้กบั Float Switch

และทังหมดนีก็คือ 5 ส่ วนประกอบสําคัญ ทีรวมกันเป็ น Float Switch ทีช่วยวัดระดับนําให้เราได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

Float Switch มีหลักใดในการวัดระดับนํา?


Float Switch หรื อ สวิทซ์ ลูกลอย มีหลักการทํางานโดยใช้แรงลอยตัวทีให้ตวั ลูกลอยนัน เกิดการเอียงหรื อพลิกตัว ซึ งโดยทัวๆ ไปจะใช้
มุมเอียงอยูท่ ีประมาณ 45 องศา ก็จะทําให้ตวั สวิทซ์ทีอยูภ่ ายในทํางาน ซึ งถ้าเป็ นสวิทซ์ลูกลอยทีใช้ในอุตสาหกรรม หรื อทีทํางานบ่อยๆ
ครัง ภายในโครงสร้างจะเป็ นไมโครสวิทซ์ Micro Switch ซึ งจะมีอายุการใช้งานมากกว่า 10 ล้าน ครัง ซึ งจะมีความปลอดภัยมากกว่า
แบบทีมีราคาถูก ซึ งภายในจะทําจากสวิทซ์ปรอท ซึ งมีอายุการใช้งานสัน และมีอนั ตรายถ้าเกิดการแตกหรื อรัว

วีดีโอแสดงการทํางานของสวิทซ์ลูกลอย

ทฤษฎีหรื อกฎทางฟิ สิ กส์ ทีเกียวข้ องกับ Float Switch


ซึ งถ้าเราเข้าใจทฤษฎีเหล่านีจะสามารถทําให้เลือกใช้เซ็นเซอร์ วดั ระดับประเภทนีได้อย่างถูกต้อง และยังเป็ นการลดต้นทุนในการ
เลือกใช้เซ็นเซอร์ ได้อีกด้วย ทฤษฎีทีเกียวข้องได้แก่ หลักของอาร์ คิมีดิส (Archimedes Principle) และ แรงพยุง หรื อแรงลอยตัว
(Buoyant Force)

หลักการของอาร์ คิมีดิส (Archimedes Principle)


ได้กล่าวไว้ว่า เมือหย่อนก้อนวัตถุลงในนํา ปริ มาตรของนําส่ วนทีเพิมขึนมาจะมีค่าเท่ากับปริ มาตรของก้อนวัตถุนนั ทีเข้าไปแทนทีนํา
โดยสามารถสรุ ปหลักการของอาร์ คิมีดิส ดังนี

 ปริ มาตรของเหลวทีถูกแทนที จะเท่ากับปริ มาตรของวัตถุส่วนทีจมลงในของเหลว

 นําหนักของวัตถุทีชังในของเหลว จะมีค่าน้อยกว่านําหนักของวัตถุทีชังในอากาศ เนืองจากแรงพยุง หรือแรงลอยตัว (Buoyant


Force) ของของเหลวมีมากกว่าของอากาศ

 นําหนักของวัตถุทีหายไปจากการชังนําหนักวัตถุในของเหลว จะเท่ากับนําหนักของของเหลวทีถูกวัตถุแทนที ซึ งคํานวณได้จาก


ผลต่างของนําหนักของวัตถุทีชังในอากาศกับนําหนักของวัตถุทีชังในของเหลว

 นําหนักของของเหลวทีถูกแทนที จะเท่ากับนําหนักของของเหลวทีมีปริ มาตรเท่ากับวัตถุเฉพาะส่ วนทีจม

รูปที 1 Archimedes Thoughtful by Fetti (1620)

แรงพยุง หรื อ แรงลอยตัว (Buoyant Force)


จะเป็ นแรงทีให้วตั ถุสามารถลอยอยูใ่ นของเหลวได้โดยไม่จม ซึ งจะต้องอาศัยปัจจัยทีเกียวข้องดังนี

 ความหนาแน่นของวัตถุแต่ละชนิด ซึ งจะมีความหนาแน่นแตกต่างกัน เช่น เหล็ก ไม้ พลาสติก โฟม ทองคํา ทีมีมวลเท่ากัน ซึ ง


ทองคําจะมีความหนาแน่นมากทีสุ ดคือ 19300kg/m3 โดยวัตถุทีมีความหนาแน่นมากจะจมลงไปในของเหลวมาก

 ความหนาแน่นของของเหลวแต่ละชนิด ซึ งชนิ ดของเหลวแต่ละชนิ ดมีความหนาแน่นแตกต่างกัน ของเหลวทีมีความหนาแน่นมาก


จะมีแรงพยุงมาก

 แรงพยุง หรื อแรงลอยตัว (Buoyant Force) จะมีค่ามากหรื อน้อยนัน จะขึนอยูก่ บั ขนาดของวัตถุ ซึ งถ้าวัตถุมีขนาดใหญ่จะทําให้แรง
พยุง หรื อแรงลอยตัวมีค่ามาก
เราสามารถคํานวณหาค่าแรงพยุง หรื อ แรงลอยตัว (Buoyant Force) ของลูกลอยทีมีลกั ษณะเป็ นทรงกระบอกได้จากสมการด้านล่าง

รูปที 2 แรงพยุง หรื อแรงลอยตัว (Buoyant Force)

สาเหตุทีจําเป็ นต้องรู ้วิธีการคํานวณหา ค่าแรงพยุง หรื อ แรงลอยตัว (Buoyant Force) นันก็เพราะว่า ในการติดตังใช้งานตัว Float Switch
หรื อ
สวิทซ์ลูกลอยนัน อาจมีการติดตังทีจุดด้านล่างของถังเพือคอยควบคุมให้ปัมนําทํางานเพือเติมนําหรื อของเหลวอืนๆ เขามาในถัง ซึ ง
จําเป็ นต้องใช้ตมุ ้ นําหนักถ่วงเพือเอาชนะแรงลอยตัวของลูกลอยให้ได้ โดยนําหนักทีนํามาถ่วงนีจะต้องมีค่ามากกว่า แรงลอยตัวของทัง
ตุม้ นําหนักรวมกับแรงลอยตัวของลูกลอย

การประยุกต์ ใช้ Float Switch วัดระดับแบบประทับใจ

สําหรับใน การวัดระดับเพือการควบคุมแบบจุดเดียว หรื อ Single Point นัน สามารถนําไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ น


การควบคุมระดับนํา การป้องกันนําล้น การเติมนําเข้าในถัง สามารถดูรูปตัวอย่างการติดตังแลการใช้งานสวิทซ์ลูกลอยได้ดงั นี
รูปที 1 การติดตังสวิทซ์ลูกลอยเพือควบคุมระดับนําในถัง

รูปที 2 การติดตังสวิทซ์ลูกลอยในการผลิตนําประปา

รูปที 3 การติดตังสวิทซ์ลูกลอยในรถยนต์

จะเห็นได้ว่า Float Switch นัน สามารถประยุกต์ใช้งานได้อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะคุมระดับนําในถัง จนไปถึงการผลิตนําประปา ก็


สามารถทําได้ โดยทางเราหวังว่าตัวอย่างการใช้งานจากบทความนี จะสามารถช่วยให้ท่านผูอ้ า่ นมีความเข้าใจถึงหน้าทีหลักๆ ของ Float
Switch คืออะไร? และช่วยให้ท่านตัดสิ นใจเลือกใช้ กลุ่มสิ นค้าของ Float Switch ได้อย่างถูกต้องเพือส่ งเสริ มคุณภาพการทํางานทีดี
ให้กบั ท่านได้ในโอก

You might also like