Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 90

การเขียนอ้างอิง

• ความหมาย
• ความสาคัญ
• รูปแบบการอ้างอิง
• การอ้างอิงในเนื้อหา
• การอ้างอิงแยกจากเนื้อหา
• การเขียนอัญประภาษหรืออัญพจน์
• การเขียนรายการอ้างอิง
ความหมายของการอ้างอิง (Citation)
หมายถึง การแสดงแหล่งที่มาของข้อมูลหรือหลักฐานที่นามาใช้
ประกอบการเขียน (พูลสุข เอกไทยเจริญ, 2550: 169)

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 2


ความสาคัญของการอ้างอิง

• ให้ทราบว่าได้ข้อมูลจากที่ใด
ระบุที่มาของข้อความในเนื้อเรื่อง
• เพิ่มความน่าเชื่อถือให้รายงาน ตรวจสอบหลักฐานเดิมได้

• แสดงความเคารพในความรู้ความสามารถของเจ้าของข้อมูล
ให้เกียรติแก่เจ้าของข้อมูล
• เพื่อไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์

• ให้ผู้อ่านที่สนใจศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่นามากล่าวใน
แนะนาแหล่งสารสนเทศ
รายงานนั้น

• ให้ผู้อ่านเห็นว่าผู้เขียนมีการศึกษาค้นคว้า รวบรวมและเรียบเรียงอย่าง
แสดงถึงการศึกษาค้นคว้าของผู้เขียน
เป็นระบบและมีหลักฐาน

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 3


รูปแบบการอ้างอิง*

การอ้างอิงในเนื้อหา การอ้างอิงแยกจากเนื้อหา

• แบบนาม-ปี • เชิงอรรถอ้างอิง
• เชิงอรรถเสริมความ
• เชิงอรรถโยง

* อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมใน http://www.grad.chula.ac.th/download/thesis.pdf
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 4
การอ้างอิงในเนื้อหา
• นาม-ปี

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 5


นาม-ปี
เป็นวิธีการเขียนอ้างอิงในเนื้อความที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
ประกอบด้วย ชื่อและนามสกุลของผู้แต่ง และปีที่พิมพ์
(ชื่อ นามสกุล, ปีที่พิมพ์: เลขหน้า)
กรณีที่เป็นการอ้างอิงเนื้อหา หรือข้อความบางส่วนมาโดยตรง ควรระบุ
เลขหน้าที่อ้างอิงนั้นมาด้วย
หากอ้างอิง โดยสรุปเนื้อหาหรือแนวคิดทั้งหมดของงาน ไม่จาเป็นต้องระบุ
เลขหน้า
ให้รวบรวมรายการอ้างอิงแบบนาม-ปี ทุกรายการไปเขียนไว้ในรายการอ้างอิงท้ายงาน
อีกครั้ง
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 6
ตาแหน่งของการอ้างอิงแบบนาม-ปี
• ก่อนข้อความ
สุจิตรา บรูมินเหนทร์ (2509) ศึกษาว่า ในภาษาไทยมีคาในหมวดใดบ้าง และคา
อะไรบ้างที่นามาใช้เป็นคาซ้าได้ ผลการศึกษาพบว่าคาทุกหมวดในจานวน 11 หมวด สามารถ
นามาใช้เป็นคาซ้าได้…
• ท้ายข้อความ
…ในขณะที่การใช้ผลการวิจัยทางสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่อยู่ในวงแคบ จากัดเฉพาะในกลุ่ม
สาขาวิชาของตนเท่านั้น (จรรยา สุวรรณทัต, 2520: 159)

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 7


• กรณีที่มีผู้เขียนหลายคนและมีการอ้างอิงซ้าในหน้าเดียวกัน
คณิต มีสมมนต์, แสวง โพธิ์เงิน และสนอง ค้านสิทธิ์ (2502: 25) ได้กล่าวถึง
คุณสมบัติของแม่เหล็กว่า………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
คณิต มีสมมนต์ และคณะ (2502: 27) กล่าวสรุปไว้ดังนี้…...............

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 8


ไม่สามารถหาต้นฉบับได้ ต้องนามาจากเอกสารอื่น
…แท้จริงประโยชน์ที่หอพระสมุดสาหรับพระนครจะทาให้แก่บ้านเมืองได้ ไม่ใช่แต่รวมหนังสือ
เก็บไว้เป็นสมบัติของบ้านเมืองอย่างเดียว ถ้าหากสามารถตรวจสอบหนังสืออันเป็นเหตุให้เกิด
วิชาความรู้ พิมพ์ให้แพร่หลายได้ ยังเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้นเหมือนกับแจกจ่ายสมบัตินั้นไปให้ถึง
มหาชนอีกชั้นหนึ่ง กรรมการจึงเห็นเป็นข้อสาคัญมาแต่แรกตั้งหอพระสมุดสาหรับพระนคร ซึ่ง
หอพระสมุดควรเอาเป็นธุระในเรื่องพิมพ์หนังสือด้วย (สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ,
2495: 110 อ้างถึงใน แม้นมาส ชวลิต, 2509: 38)
ข้อมูลมาจากการสัมภาษณ์
……………………….(กระมล ทองธรรมชาติ, สัมภาษณ์, 5 กันยายน 2529)
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 9
หลักการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า ที่มา http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download/exam.pdf 10


ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า ที่มา http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download/exam.pdf 11
การอ้างอิงแยกจากเนื้อหา
• เชิงอรรถอ้างอิง
• เชิงอรรถเสริมความ
• เชิงอรรถโยง

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 12


1. เชิงอรรถอ้างอิง
บอกให้ทราบว่า ข้อความหรือแนวคิดนั้นมาจากที่ใด
ช่วยให้ผู้อ่านรายงานได้ตรวจสอบหรือค้นคว้าเพิ่มเติม

หมายเหตุ ให้ผู้เขียนเลือกใช้วิธีการอ้างอิงแบบนาม-ปี หรือเชิงอรรถอ้างอิง


เพียงแบบใดแบบหนึ่งตลอดเล่ม

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 13


ตัวอย่างเชิงอรรถอ้างอิง

สาหรับสังคมไทยนั้นเราแบ่ง ประเภทของการแบ่งชนชั้นทางสังคม ดังนี้


1. การแบ่งชนชั้นทางสังคมตามระบบวรรณะเป็นผลสืบเนื่องมาจาก…….
2. ………..
3. ………. เป็นต้น 1
1 อานนท์ อาภาภิรม, สังคมและวัฒนธรรมไทย (พระนคร: บารุงนุกูล, 2515), หน้า 178.

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 14


วิธีการเขียนเชิงอรรถอ้างอิง
เขียนหมายเลขกากับเป็นตัวเลขยกลอยเหนือข้อความเล็กน้อย ใส่ไว้ท้ายข้อความ

หากใน 1 หน้ามีการอ้างอิงหลายแห่งให้เขียนตัวเลขเรียงตามลาดับเริ่มจากเลข 1 ไปจนจบเนื้อความ หรือขึ้นต้น


ลาดับเลขใหม่ในแต่ละหน้า
เขียนเชิงอรรถอ้างอิงไว้ท้ายหน้า โดยให้อยู่ในหน้าเดียวกันกับหมายเลขที่เขียนกากับไว้ และต้องให้หมายเลขใน
เชิงอรรถตรงกับเนื้อความ
เขียนแยกจากเนื้อเรื่อง โดยขีดเส้นคั่นขวางจากแนวเขียน/พิมพ์ด้านซ้ายของกระดาษยาวประมาณ 5 เซนติเมตร
แล้วเขียน/พิมพ์เชิงอรรถใต้เส้น ห่างจากเส้นประมาณ 1.5 เซนติเมตร

เขียนเชิงอรรถเยื้องเข้าไปให้ตรงกับย่อหน้าในเนื้อความ

หากเชิงอรรถมีความยาวเกินกว่า 1 บรรทัด บรรทัดต่อมาให้เขียนตรงแนวพิมพ์ด้านซ้ายทุกบรรทัดจนจบรายการ


ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 15
2. เชิงอรรถขยายความ /เสริมความ
เชิงอรรถที่อธิบายคาหรือข้อความเพิ่มเติมจากเนื้อหาในตอนนั้น
เขียนหรือพิมพ์ไว้ท้ายหน้า เพราะถ้าหากเขียนหรือพิมพ์ไปในเนื้อหาอาจทาให้
การเรียงลาดับข้อมูลเกิดความสับสนไม่ต่อเนื่อง

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 16


ตัวอย่างเชิงอรรถขยายความ / เสริมความ
……………………….
แหล่งผลิตเครื่องมือเครื่องใช้โลหะโดยเฉพาะอย่างยิ่งสาริด* ที่สาคัญซึ่ง
แสดงให้เห็นเทคนิค และวิธีการที่ชาญฉลาดของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ใน
ภาคอีสาน ……..………………...

*สาริด (Bronze) เป็นโลหะผสมชนิดหนึ่งระหว่างทองแดง (Copper) และดีบุก (Tin)


และมักมีตะกั่วและโลหะอื่นๆ ผสมอยู่บ้างเล็กน้อย

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 17


วิธีการเขียนเชิงอรรถเสริมความ

ในแต่ละหน้าให้ใช้สัญลักษณ์ดอกจัน (*) หรือตัวเลขเรียงตามลาดับไป

ใช้ในการอ้างอิงได้ทั้งแบบนาม-ปี และแบบเชิงอรรถ

แต่ถ้าในรายงานมีการอ้างอิงแบบเชิงอรรถควรใช้สัญลักษณ์เป็นเครือ่ งหมายดอกจัน เพื่อไม่ให้เกิด


ความสับสน

หากใช้เครื่องหมายดอกจัน ไม่ควรเขียนจานวนเกิน 3 ดอกจัน (***) ใน 1 หน้า

หากมีการเสริมความลาดับที่ 4 และ5 ให้ใช้เครื่องหมายกริช (†) และ (††) ตามลาดับ

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 18


3. เชิงอรรถโยง
เชิงอรรถที่บอกให้ผู้อ่านไปดูรายละเอียดของคา ข้อความ หรือเรื่องตอนนั้นจาก
หน้าอื่นหรือบทอื่นในงานฉบับเดียวกัน
เขียนหรือพิมพ์ไว้ท้ายหน้าที่ต้องการโยงข้อความนั้น ๆ

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 19


ตัวอย่างเชิงอรรถโยง

อย่างไรก็ตามการหล่อโลหะเป็นสาริดคงทาสืบต่อกันเรื่อยมาในดินแดนของ
ภาคอีสานจนถึงสมัยประวัติศาสตร์ เพราะในสมัยลพบุรีประมาณพุทธศตวรรษที่
12-18 ได้พบประติมากรรมสาริดจานวนมากตามแบบอย่างของศิลปะลพบุรี หรือ
*
ศิลปะขอม กระจัดกระจายอยู่ในถิ่นต่าง ๆ ของภาคอีสาน
* ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่หน้า 6

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 20


การเขียนอัญประภาษ หรืออัญพจน์

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 21


อัญประภาษ หรืออัญพจน์ (Quotation)

คือ ข้อความที่คัดลอกมาจากคาพูดหรือข้อเขียนจากแหล่งที่มาต่าง ๆ ที่ผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้ามา


เขียนเพื่อเน้นความสาคัญของข้อความที่ยกมา และเพื่อสนับสนุนข้อเท็จจริง ตลอดจน
ความคิดเห็นของตน
เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเรื่อง และต้องมีรูปแบบการเขียนและการอ้างอิงแหล่งที่มาอย่างถูกต้อง
จะเขียนอัญประภาษ เมื่อผู้เขียนพิจารณาว่า ข้อมูลนั้นจาเป็นต้องคัดลอกมาโดยไม่แก้ไขตัดทอน
ข้อความที่ควรคัดลอก ได้แก่ คาจากัดความ คาพูด คาคม สุภาษิต กฎ หรือข้อความที่ไม่อาจเขียน
สรุปความได้ดีเท่าของเดิม
ไม่ควรเป็นข้อความที่ยาวมากเกินไป
การคัดลอกต้องคัดให้เหมือนเดิมทุกประการ
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 22
วิธีการเขียนอัญประภาษ

กล่าวนาในเนื้อความก่อนแทรกคาพูด/ข้อเขียน

หากใช้วิธีการอ้างอิงแบบเชิงอรรถอ้างอิง
• ให้ใช้เลขกากับท้ายข้อความที่คัดมา
• ให้ตัวเลขในเนื้อความตรงกับเชิงอรรถซึ่งอยู่ท้ายหน้า
ถ้าเป็นการประมวลความคิด สรุปและเรียบเรียงความโดยไม่ได้คัดลอกมาทุกตัวอักษร
(โดยอ้อม) ให้เขียนอ้างอิง (แบบนาม-ปี หรือเชิงอรรถอ้างอิง) กากับไว้ด้วย
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 23
วิธีการเขียนอัญประภาษ

ถ้าข้อความไม่เกิน 3 บรรทัดให้เขียนต่อเนื่องจากเนื้อความโดยใส่อยู่ระหว่าง
เครื่องหมายอัญประกาศ “……………..”

เอื้อน ปิ่นเงิน และบังอร กลับบ้านเกาะ (2542: 259) ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ


ห้องสมุดดิจิตอลไว้ว่า “ห้องสมุดดิจิตอลคือแหล่งเก็บข้อมูลที่มีลักษณะเป็นดิจิตอลออบเจ็กต์
(Digital object) ห้องสมุดดิจิตอลนี้อาจเรียกว่าห้องสมุดเสมือนหรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
ก็ได้ เพราะก็คือสิ่งเดียวกัน เพียงแต่คาว่าห้องสมุดดิจิตอลเป็นคาที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน”

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 24


ถ้าข้อความเกิน 3 บรรทัด ให้ขึ้นย่อหน้าใหม่

• ให้ย่อหน้าข้อความเข้ามา
• ให้ข้อความห่างจากขอบหลังเข้ามาเล็กน้อย
• ไม่ต้องใส่เครื่องหมายอัญประกาศ
• เขียนอ้างอิงข้อความโดยเขียนตัวเลขกากับไว้ท้ายข้อความ (เชิงอรรถอ้างอิง)
หรือเขียนนาม-ปี กากับไว้

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 25


พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงษ์ประพันธ์ (2504: 231-234) ทรงกล่าวถึง
จุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนวรรณคดีว่า
ความมุ่ง หมายในการเรียนการสอนวรรณคดีมีอยู่ หลายประการ เช่น
อ่า นเพื่ อ ความบั น เทิ ง ในยามว่ า ง อ่ า นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ ที่ จ ะน าไป
สนทนากับบุคคลอื่นได้ เป็นประโยชน์ทางวัฒนธรรม เพราะวรรณคดี
เป็นส่วนหนึ่งทางวัฒนธรรม…......................………….....

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 26


ถ้าคัดลอกร้อยกรองมามากกว่า 2 บรรทัด ให้วางไว้กลางหน้ากระดาษ โดยไม่ต้อง
ใส่เครื่องหมายอัญประกาศ

หากต้องการละข้อความบางตอนของข้อความที่คัดลอกมา ควรใช้จุดไข่ปลา
3 จุด แทนไว้ (…) แต่ต้องระวังไม่ให้เสียความ

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 27


การเขียนรายการอ้างอิง

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 28


รายการอ้างอิง (References)
รายชื่อเอกสารทั้งหมดที่ผู้เขียนใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการค้นคว้า และได้อ้างอิงไว้
ในส่วนเนื้อความ
ปรากฏอยู่ในส่วนท้ายของงานเขียน
หมายรวมถึงแหล่งข้อมูลอื่น ๆ เช่น บุคคลผู้ให้สัมภาษณ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 29


บรรณานุกรม (Bibliography)
หนังสือหรือเอกสารต่าง ๆ ที่ผู้เขียนใช้ในการศึกษาค้นคว้า และรวบรวมมาใช้เป็น
ข้อมูลในงานเขียน โดยไม่ได้คัดลอกข้อความทุกตัวอักษรมาไว้ในเนื้อความ
เป็นการนาข้อมูลที่ได้ศึกษามาสรุปความหรือเรียบเรียงใหม่ หรืออ่านประกอบ
การทารายงาน
ให้พิมพ์ต่อจากรายการอ้างอิงโดยขึ้นหน้าใหม่

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 30


รูปแบบการเขียนรายการอ้างอิง (เลือกใช้แบบใดแบบหนึ่ง)

แบบที่ 1 ปีพิมพ์อยู่ท้ายรายการ ก่อนเลขหน้า (ถ้ามี)


• ชื่อผู้แต่ง. ชื่อหนังสือ. เล่มที่หรือจานวนเล่ม (ถ้ามี), ครั้งที่พิมพ์. ชื่อชุดหนังสือและลาดับที่ (ถ้ามี).
สถานที่พิมพ์: สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์.
• ขจร สุขพานิช. ฐานันดรไพร่. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร, 2519.
แบบที่ 2 ปีพิมพ์ ตามหลังชื่อผู้แต่ง (นิยมใช้แบบที่ 2 มากกว่าแบบที่ 1)
• ชื่อผู้แต่ง. ปีที่พิมพ์. ชื่อหนังสือ. เล่มที่หรือจานวนเล่ม (ถ้ามี), ครั้งที่พิมพ์. ชื่อชุดหนังสือและลาดับที่
(ถ้ามี). สถานที่พิมพ์: สานักพิมพ์.
• ขจร สุขพานิช. 2519. ฐานันดรไพร่. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า * ชื่อหนังสือใช้การขีดเส้นใต้ หรือทาตัวหนา 31
รูปแบบการเขียนรายการอ้างอิง

แบบ APA

• ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ. เล่มที่หรือจานวนเล่ม (ถ้ามี), ครั้งที่พิมพ์. ชื่อชุดหนังสือและลาดับที่


(ถ้ามี). สถานที่พิมพ์: สานักพิมพ์.
• ขจร สุขพานิช. (2519). ฐานันดรไพร่. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 32


รูปแบบการเขียนรายการอ้างอิง

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า ที่มา http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download/exam2.pdf 33


ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า ที่มา http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download/exam2.pdf 34
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า ที่มา http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download/exam2.pdf 35
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า ที่มา http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download/exam2.pdf 36
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า ที่มา http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download/exam2.pdf 37
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า ที่มา http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download/exam2.pdf 38
วิธีการเขียนรายการอ้างอิง

เรียงตามลาดับตัวอักษร

เขียนรายการอ้างอิงที่เป็นภาษาไทยให้จบ แล้วต่อด้วยรายการอ้างอิงภาษาต่างประเทศ

ไม่ต้องแยกประเภทของเอกสารที่นามาใช้อ้างอิง

บรรทัดแรกของรายการให้เขียน/พิมพ์ชิดด้านซ้ายของกระดาษ หากยังไม่หมดรายการใน
บรรทัดต่อไปให้เว้นเข้าไปประมาณ 8 ตัวอักษร แล้วเริ่มเขียน/พิมพ์ตัวที่ 9
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 39
ชื่อหนังสือให้ทาเป็นตัวหนา หรือขีดเส้นใต้ (เลือกเพียงแบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น)

หลังเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) ให้เคาะ space bar 2 ครั้ง

หลังเครื่องหมายจุลภาค ( , ) ทวิภาค ( : ) ให้เคาะ space bar 1 ครั้ง

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 40


ตัวอย่างการเรียงลาดับรายการอ้างอิง
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. 2527. ข้าวไกลนา. สยามรัฐ (12 มกราคม): 3.
ชมเพลิน จันทร์เรืองเพ็ญ, สมคิด แก้วสนธิ และทองอินทร์ วงศ์โสธร. 2519.
การสอนแบบต่างๆ ในระดับอุดมศึกษา วารสารครุศาสตร์
6 (พฤษภาคม-มิถุนายน): 34-49.
เทียนฉาย กีระนันทน์. 2 มิถุนายน 2539. อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สัมภาษณ์.

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 41


บรรเจอดพร รัตนพันธุ์. 2546. สอนบูรณาการ…ทาอย่างไร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:
http//www.moe.go.th/cgi-script/csArticle/articles/000002/
000232.htm [3 สิงหาคม 2548]
สุมิตร คุณานุกร. 2520. การวางแผนการสอน. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ), คู่มือ
อาจารย์ด้านการเรียนการสอน, หน้า 58-69. กรุงเทพฯ: หน่วยพัฒนาคณาจารย์
ฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อานนท์ อาภาภิรม. 2515. สังคมและวัฒนธรรมไทย. พระนคร: บารุงนุกูล.

* อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมใน http://www.grad.chula.ac.th/download/thesis.pdf
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 42
การเขียนความเรียงวิชาการ
• ความหมาย
• ประเภท
• ขั้นตอนการเขียน
• การใช้ภาษา
• ลักษณะของงานเขียนทีด่ ี
ความหมายของการเขียนงานวิชาการ (Academic writing)

การเขียนงานวิชาการ (Academic writing) การเรียบเรียง


ความรู้ และความคิดที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า วิจัย หรือประสบการณ์
การทางาน โดยมีการนาเสนออย่างเป็นระบบ การอ้างอิงแหล่งข้อมูลอย่าง
ถูกต้อง จัดพิมพ์เป็นบทความ ตารา หนังสือ เอกสารวิชาการอื่น หรือเป็น
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้
(ราชบัณฑิตยสถาน, 2555: 6)

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 44


ความหมายของความเรียงวิชาการ (Academic essay)

An academic essay is a written text, rarely


fewer than 500 words or more than 5000
words in length, on a topic related to a
course that is taught at a school, college, or
university. (Soles, 2005: 6)
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 45
ประเภท

แบ่งตามวิธีการ/วัตถุประสงค์ของ แบ่งตามรูปแบบของ
การเขียน งานเขียน

• ความเรียงแบบอธิบาย • ตารา
(expository/informative essay) • หนังสือวิชาการ
• ความเรียงแบบเปรียบเทียบ/เปรียบต่าง • หนังสืออ้างอิง
(compare/contrast essay) • บทความวิชาการ
• ความเรียงแบบโน้มน้าวชักจูง • รายงานวิชาการ
(persuasive/argumentative essay)
• รายงานวิจัย

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 46


แบ่งตามวิธีการเขียน

แบบอธิบาย • อธิบาย/ให้ข้อมูล ความรู้ แนวคิด ทฤษฎี

• เปรียบเทียบสองสิ่งหรือมากกว่าในส่วนที่เหมือน
แบบเปรียบเทียบ/เปรียบต่าง
และ/หรือต่างกัน

• โน้มน้าวให้ผู้อ่านเห็นด้วยกับประเด็นของผู้เขียน
• มีเหตุผลที่พิสูจน์ได้ มีการอ้างอิงหลักฐานที่ถูกต้อง
แบบโน้มน้าวชักจูง • มีการหาข้อมูลมาสนับสนุนการโต้แย้งในบางสิ่งหรือสนับสนุนด้วย
ความจริงที่เกิดขึ้น

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 47


แบ่งตามรูปแบบงานเขียน
• เรียบเรียงจากผลการศึกษาค้นคว้า วิจัย และประสบการณ์การสอน
• ตาราและหนังสือ • ให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องทางวิชาการสาขาต่าง ๆ
วิชาการ • มีการประมวลความรู้ แยกประเด็นและเสนอแนะแนวคิดเพื่อกระตุน้ ให้เกิดการแสวงหาความรู้
• เช่น ตาราพื้นฐาน ตาราเฉพาะด้าน เฉพาะเรื่อง หนังสืออ่านประกอบ

• รวบรวมความรู้หรือข้อมูลต่าง ๆ
• หนังสืออ้างอิง • ใช้เพื่อหาความรู้
• เช่น พจนานุกรม สารานุกรม บรรณานุกรม อักขรานุกรม นามานุกรม

• มีการประมวลข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ข้อสรุป ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ


• บทความวิชาการ • ได้จากการศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์เรื่องทางวิชาการอย่างมีระบบ
• ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 48


• เสนอผลการศึกษา ค้นคว้าหรือวิจัยเรื่องทางวิชาการ
• รายงานวิชาการ • เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับต่าง ๆ

• เสนอผลการศึกษา การหาคาตอบหรือข้อสรุปเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
รายงานวิจัย • มีวิธีการศึกษาทีเ่ ป็นระบบ การวิเคราะห์และสรุปผลใช้หลักการและเหตุผลทางวิชาการ
• มีขั้นตอนและรูปแบบการนาเสนอที่เป็นหลักสากล

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 49


ขั้นตอนการเขียน
1. เลือกหัวข้อเรื่อง 6. อ่านเพื่อจดบันทึก
2. กาหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตของเรื่อง 7. เรียบเรียงเนื้อหา และเขียนอ้างอิง
3. รวบรวมข้อมูล 8. เขียนรายการอ้างอิง/บรรณานุกรม
4. อ่านเบื้องต้น 9. ทบทวนและตรวจทานเนื้อหา
5. วางโครงเรื่อง 10.จัดทาเป็นรูปเล่ม

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 50


ขั้นตอนการเขียน
2. กาหนด
1. เลือกหัวข้อเรื่อง จุดมุ่งหมายและ 3. รวบรวมข้อมูล 4. อ่านเบื้องต้น
ขอบเขตของเรื่อง

7. เรียบเรียงเนื้อหา 8. เขียนรายการ
5. วางโครงเรื่อง 6. อ่านเพื่อจดบันทึก
และเขียนอ้างอิง อ้างอิง/บรรณานุกรม

9. ทบทวนและ 10. จัดทาเป็นฉบับ


ตรวจทานเนื้อหา สมบูรณ์

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 51


1. เลือกหัวข้อเรื่อง
• เป็นเรื่องที่ตนเองสนใจ
• หาข้อมูลหรือเอกสารประกอบการค้นคว้าได้เพียงพอ
• มีเนื้อหาสาระชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ

2. กาหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตของเรื่อง
• กาหนดจุดมุ่งหมายเฉพาะว่า จะเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร เพื่ออะไร
(อธิบาย เปรียบเทียบ โน้มน้าว)
• กาหนดขอบเขตว่ามีอะไรบ้าง
• ขอบเขตเนื้อหาไม่กว้างเกินไป
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 52
3. รวบรวมข้อมูล
• รวบรวมข้อมูลให้ได้มากที่สุด
• ข้อมูลทันสมัยจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ

4. อ่านเบื้องต้น
• อ่านข้อมูลที่รวบรวมมาคร่าวๆ เพื่อสารวจว่า มีหัวข้อที่ต้องการหรือไม่
• ดูเฉพาะหัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อยของแต่ละบท

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 53


5. วางโครงเรื่อง
• โครงเรื่อง คือ เค้าโครงของเนื้อหาสาระที่จะเขียน
• ประกอบด้วย หัวข้อต่าง ๆ ที่แสดงความสาคัญมากและสาคัญรองลงมาตามลาดับ
• ไม่ควรแบ่งเป็นหัวข้อย่อย ๆ มากเกินไป
• แต่ละหัวข้อมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามลาดับ
• อาจใช้หมายเลขกากับเรียงตามลาดับหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อย

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 54


โครงสร้างของงานเขียน

(Oshima & Hogue, 2007: 147)


ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 55
ขั้นตอนการวางโครงเรื่อง
• รวบรวมความคิด แล้วจึงพิจารณาว่าเรื่องที่เขียนควรมีเนื้อหาอะไรบ้าง ตามจุดมุ่งหมาย
1. ระดมความคิด ของการเขียน เช่น เพื่ออธิบายความรู้หรือให้ข้อมูล เพื่อเปรียบเทียบ เพื่อโน้มน้าวชักจูง
• บันทึกเป็นข้อความสั้น ๆ ไว้ทุกประเด็น

2. เลือกสรรและจัด • เลือกสรรแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะเขียน
หมวดหมู่แนวคิด • แยกแยะจัดหมวดหมู่แนวคิด โดยตั้งเป็นหัวข้อหรือประเด็นให้ชัดเจน

• พิจารณาแนวคิดและจัดลาดับตามเนื้อความ
3. จัดลาดับแนวคิด • วิธกี ารจัดลาดับความคิด เช่น ตามเหตุผล ตามเหตุการณ์หรือตามเวลา ตามความสาคัญ
ตามทิศทางหรือสถานที่ จากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย จากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม

• พิจารณาว่า โครงเรื่องมีประเด็นครบถ้วนแล้วหรือไม่
4. ขยายแนวคิด • หากพบว่า ยังไม่เพียงพอ ให้เพิ่มเติมหรือเสริมความคิดให้ครบถ้วน
• ให้รายละเอียดหรือขยายความแนวคิดที่ยังเห็นว่ามีข้อมูลไม่เพียงพอโดยสังเขป
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 56
ตัวอย่างการระดมความคิด ในงานเขียนความเรียงแบบอธิบาย
หุ่นกระบอกไทย
1. วิธีทาหุ่นกระบอกไทย
2. ประวัติการแสดงหุ่นกระบอกไทย
3. วิธีการเชิดหุ่นกระบอกไทย
4. คุณสมบัติของผู้เชิดหุ่นกระบอกไทย
5. คุณค่าของหุ่นกระบอกไทย
6. ความแพร่หลายของการแสดงหุ่นกระบอกไทยในปัจจุบัน
7. เรื่องที่นามาแสดง
8. เพลงที่ใช้ร้อง
9. เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลง
10. ลักษณะของโรงหุ่น
11. ความสัมพันธ์ของหุ่นกระบอกไทยกับศิลปะแขนงอื่น

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 57


ตัวอย่างการเลือกสรรและจัดหมวดหมู่แนวคิด
หุ่นกระบอกไทย
1. วิธีการทาหุ่นกระบอกไทย
2. ประวัติการแสดงหุ่นกระบอกไทย
3. วิธีการแสดงหุ่นกระบอกไทย
3.1 วิธีการเชิดหุ่นกระบอกไทย
3.2 ลักษณะของโรงหุ่น
3.3 เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลง
3.4 เพลงที่ใช้ร้อง
3.5 คุณสมบัติของผู้เชิดหุ่นกระบอกไทย
3.6 เรื่องที่นามาแสดง
4. คุณค่าของหุ่นกระบอกไทย
5. ความสัมพันธ์ของหุ่นกระบอกไทยกับศิลปะแขนงอื่น
6. ความแพร่หลายของการแสดงหุ่นกระบอกไทยในปัจจุบัน
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 58
ตัวอย่างการจัดลาดับแนวคิด
หุ่นกระบอกไทย
1. ประวัติการแสดงหุ่นกระบอกไทย
2. วิธีการทาหุ่นกระบอกไทย
3. วิธีการแสดงหุ่นกระบอกไทย
3.1 ลักษณะของโรงหุ่น
3.2 วิธีการเชิดหุ่นกระบอกไทย
3.3 คุณสมบัติของผู้เชิดหุ่นกระบอกไทย
3.4 เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลง
3.5 เพลงที่ใช้ร้อง
3.6 เรื่องที่นามาแสดง
4. ความสัมพันธ์ของหุ่นกระบอกไทยกับศิลปะแขนงอื่น
5. คุณค่าของหุ่นกระบอกไทย
6. ความแพร่หลายของการแสดงหุ่นกระบอกไทยในปัจจุบัน
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 59
ประเภทของโครงเรื่อง

1. แบบหัวข้อ 2. แบบประโยค

• ประกอบด้วยหัวข้อหรือประเด็น • ประกอบด้วยหัวข้อหรือประเด็น
สาคัญ สาคัญในรูปแบบประโยคที่สมบูรณ์
• ใช้ถ้อยคาหรือวลีสั้น ๆ เพื่อเสนอ • เสนอแนวคิดหรือระบุประเด็นอย่าง
แนวคิดอย่างกว้าง ๆ ชัดเจน
• อาจใช้ตัวเลขหรือตัวอักษรช่วยใน • โดยมากประโยคเหล่านี้จะเป็น
การลาดับหัวข้อต่าง ๆ ให้เป็นระเบียบ ประโยคใจความสาคัญในแต่ละ
ย่อหน้า

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 60


ตัวอย่างการวางโครงเรื่องแบบหัวข้อ

ปัญหาการจราจร
1. คานา: ปัญหาจราจรเป็นปัญหาที่มีมานาน
2. ปัญหาเรื่องถนน
2.1 ด้านปริมาณ
2.1.1 มีถนนน้อยเกินไป
2.2 ด้านคุณภาพ
2.2.1 ถนนแคบ
2.2.2 ถนนขรุขระ
2.2.3 ถนนขาดป้ายสัญญาณ
3. ปัญหาเรื่องรถ
3.1 ด้านปริมาณ
3.1.1 …...
4. สรุป: ………………………
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 61
ตัวอย่างการวางโครงเรื่องแบบหัวข้อ (เฉพาะส่วนเนื้อหา)
หุ่นกระบอกไทย
1. ประวัติการแสดงหุ่นกระบอกไทย
2. วิธีการทาหุ่นกระบอกไทย
3. วิธีการแสดงหุ่นกระบอกไทย
3.1 ลักษณะของโรงหุ่น
3.2 การไหว้ครู
3.3 วิธีการเชิดหุ่น
3.4 คุณสมบัติของผู้เชิด
3.5 เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลง
3.6 เพลงที่ใช้ร้อง
3.7 เรื่องที่นามาแสดง
4. ความสัมพันธ์ของหุ่นกระบอกไทยกับศิลปะแขนงอืน่
5. คุณค่าของหุ่นกระบอกไทย
6. ความแพร่หลายของการแสดงหุ่นกระบอกไทย

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 62


ตัวอย่างการวางโครงเรื่องแบบประโยค
ปัญหายาเสพติดในสังคมไทย
1. คานา: ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่ยังคงมีอยู่ในสังคมไทย
2. สาเหตุของการติดยาเสพติดมี 2 ประการ
2.1 การติดยาเสพติดเกิดจากการอยากรู้อยากลอง
2.2 การติดยาเสพติดเพราะกลุ้มใจ แก้ปัญหาไม่ได้
3. ยาเสพติดมีการออกฤทธิ์ต่างกัน
3.1 ……
3.2 ……
4. สรุป: ………………………
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 63
ตัวอย่างการวางโครงเรื่องแบบประโยค (เฉพาะส่วนเนื้อหา)
หุ่นกระบอกไทย
1. หุ่นกระบอกไทยมีกาเนิดมาตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี ม.ร.ว.เถาะ พยัคฆเสนาเป็นผู้คิด
การแสดง
2. หุ่นกระบอกไทยเป็นหุ่นตัวเล็กทาเลียนแบบของจริงเฉพาะส่วนหัวและมือทั้งสอง
3. หุ่นกระบอกไทยมีวิธีการแสดงดังต่อไปนี้
3.1 การเล่นหุ่นกระบอกต้องปลูกโรงเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส
3.2 ก่อนการเล่นหุ่นกระบอก ผู้เชิดหุ่นจะต้องทาพิธีไหว้ครู
3.3 การเชิดหุ่นนั้นผู้เชิดจะต้องใช้มือทั้งสองข้างบังคับตัวหุ่น
3.4 ..........
4. .......................

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 64


ตัวอย่างโครงเรื่องแบบประโยค
ของความเรียงแบบเปรียบเทียบ

ที่มา https://www.sbcc.edu/clrc/files/wl/
downloads/WritingaCompareContrastEssay.pdf
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 65
6. อ่านเพื่อจดบันทึก
• อ่านอย่างละเอียดในหัวข้อที่ได้คัดเลือกไว้ในโครงเรื่อง
• ใช้หลักการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ

7. เรียบเรียงเนื้อหา และเขียนอ้างอิง
• เขียนเรียบเรียงเนื้อหาตามหัวข้อในโครงเรื่องเป็นฉบับร่าง
• เขียนด้วยภาษาที่เป็นทางการ
• หากมีการอ้างคาพูดผู้อื่นมาต้องเขียนอัญประภาษ และเขียนอ้างอิง

8. เขียนรายการอ้างอิง/บรรณานุกรม
• เขียนให้ถูกต้องตามรูปแบบการเขียน และประเภทของข้อมูล
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 66
9. ทบทวนและตรวจทานเนื้อหา
• ตรวจสอบงานเขียนในด้านเนื้อหา การเรียบเรียง การใช้ภาษา ไวยากรณ์ และกลไกการเขียน
(การสะกดคา การเรียงลาดับหัวข้อ การย่อหน้า การตัดคา)
• ปรับปรุงแก้ไขฉบับร่าง

10. จัดทาเป็นฉบับสมบูรณ์
• รวมทุกส่วนประกอบเข้าด้วยกัน และตรวจสอบว่า
• ส่วนประกอบครบถ้วนหรือไม่
• แต่ละส่วนประกอบเรียงลาดับถูกต้องหรือไม่
• ปรับปรุงแก้ไขฉบับร่างให้เป็นฉบับสมบูรณ์
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 67
การใช้ภาษาในการเขียนงานเชิงวิชาการ

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 68


การใช้ภาษาในงานเขียนเชิงวิชาการ (นภาลัย สุวรรณธาดา, 2548: 31-56)

1. การใช้คา

2. การใช้ประโยค

3. การเขียนย่อหน้า

4. การลาดับย่อหน้าและการเชื่อมโยงย่อหน้า

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 69


1. การใช้คา
1.1 การใช้คาและศัพท์ทางวิชาการ
• ใช้คาสามัญหรือคาธรรมดา
• ใช้คาที่เป็นภาษาทางการหรือภาษาเขียน
• ใช้คาให้เหมาะสมกับเนื้อหา

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 70


1.2 การใช้คาและการถอดคาภาษาต่างประเทศ
1) วิธีการเขียน
• บัญญัติศัพท์ขึ้นใช้แทน (ดูศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิต)
• ทับศัพท์ (ดูหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิต)
• ใช้คาแปลเทียบให้ตรงตามความหมายของคาเดิม
• หากเป็นศัพท์ที่มีใช้อยู่หลายคา ควรเลือกให้เหมาะกับการนาคามาใช้
• ใช้ศัพท์ภาษาไทยที่มีอยู่แล้ว ไม่ต้องบัญญัติใหม่

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 71


2) คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ควรเขียนคาไทยแล้ววงเล็บภาษาต่างประเทศไว้
ข้างท้าย เฉพาะครั้งแรกที่ปรากฏ ครั้งต่อไปใช้ภาษาไทยได้ตลอด
3) ศัพท์วิชาการที่รู้จักแพร่หลายแล้วควรใช้ภาษาไทยตลอด โดยไม่ต้องวงเล็บ
ภาษาอังกฤษ
4) การแปลข้อความจากตาราต่างประเทศมาอ้างอิง มีวิธีดังนี้
• แปลคาต่อคา
• แปลประโยคต่อประโยคแล้วเรียงคาพูดให้อ่านสะดวก
• แปลแบบเก็บความแล้วเรียบเรียงใหม่
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 72
1.3 การใช้คาผิดความหมาย
• ลักษณะของความผิดพลาด
1) เขียนผิดเพราะเป็นคาคล้ายกัน
2) เขียนผิดเพราะใช้สับสน
การใช้ การ และ ความ
• การ ใช้กับกิริยาทางกาย และวาจา
• ความ ใช้กับกิริยาทางใจ
ใช้ตัวเลขและตัวหนังสือผิดที่
ใช้คาสับสน เช่น ควรใช้ ให้แก่ ไม่ใช้ ให้กับ
ใช้คาที่คล้ายกัน แต่วิธีการใช้แตกต่างกัน
• เช่น อาทิ ได้แก่
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 73
ใช้คาที่คล้ายกัน แต่วิธีใช้ต่างกัน
เช่น ใช้ยกตัวอย่างซึ่งตัวอย่างดังกล่าวไม่ได้อยู่ในชุด กลุ่มของเรื่องเดียวกัน และไม่ต้องเรียง
ตามลาดับ
o“มีสัตว์เลี้ยงอยู่ที่บ้าน เช่น สุนัข แมว เป็ด ไก่ ฯลฯ”
o เครื่องหมายไปยาลใหญ่ ฯลฯ นั้น จะใช้ปิดท้ายตัวอย่างนั้นหรือจะไม่ใช้ก็ได้
เป็นต้น อยู่ท้ายตัวอย่างคาที่อยู่ในชุดเดียวกัน ซึ่งเรียงลาดับจากลาดับแรกเป็นต้นไป แต่ไม่ต้องแสดง
ตัวอย่างทั้งหมด
o“อริยสัจ 4 มี ทุกข์ สมุทัย เป็นต้น”
อาทิ มีความหมายเช่นเดียวกับคาว่า "เป็นต้น" (ตัวอย่างเป็นคาในชุดเดียวกัน)
oคาว่า “อาทิ” ตามด้วยตัวอย่างในลาดับแรก
เช่น “อริยสัจ 4 อาทิ ทุกข์”
oคาว่า “อาทิ” ที่อยู่ท้ายตัวอย่างก็มี ซึ่งตัวอย่างนั้นต้องเป็นตัวอย่างลาดับแรก
เช่น “อริยสัจ 4 มีทุกข์เป็นอาทิ”
ได้แก่ ใช้ระบุถึงสิ่งที่อยู่ในชุดเดียวกับครบทั้งชุด
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า o“อริยสัจ 4 ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค” 74
การใช้คาผิดพลาดในลักษณะต่าง ๆ และหลักการใช้
ใช้คาขึ้นต้นที่ไม่จาเป็นของประโยค (ซึ่ง โดย สาหรับ)
หลักการใช้
ซึ่ง
เป็นประพันธสรรพนาม ใช้แทนนามหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้า เช่น เธอเดินข้ามสะพานลอยซึ่งอยู่หน้า
มหาวิทยาลัย
เป็นบุพบท ใช้นาหน้าคานามที่เป็นผู้ถูกกระทา เช่น รักษาไว้ซึ่งความยุติธรรม
โดย
เป็นบุพบท ใช้นาหน้าคาอื่น ๆ มีความหมายคล้ายคาว่า ด้วย หรือ ตาม เช่น กล่าวโดยสัตย์จริง
นาหน้าคากริยาในวลีที่อธิบายขยายความข้อความข้างหน้า เช่น ผู้วิจัยจะวิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้อง โดยใช้หลัก
วิทยาศาสตร์
สาหรับ
เป็นคาวิเศษณ์ ใช้ขยายคาอื่นเพื่อแสดงความหมายว่า คู่ หรือ ควร เช่น ช้อนกับส้อมเป็นของสาหรับกัน
เป็นคาบุพบท มีความหมายคล้ายคาว่า เพื่อ เช่น ของสาหรับถวายพระ
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 75
ใช้คาบุพบท “กับ” “แก่” “ต่อ” ไม่ถูกต้อง
หลักการใช้
กับ
• เชื่อมคานามที่หมายถึงคน 2 คนหรือมากกว่านี้ เพื่อ
แสดงการทากิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยกันหรือทาซึ่งกันและกัน เช่น นายไปกับบ่าว
แสดงว่าเกี่ยวข้องกันหรือเข้าคู่กัน เช่น บุตรกับธิดา
• ใช้เมื่อคานามข้างหลังบุพบทเป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ประกอบในการทากิริยา เช่น เห็นกับตา
แก่
• ใช้แสดงกิริยาจากผู้กระทาไปสู่ผู้รับการกระทาที่มีฐานะเสมอกันหรือต่ากว่า เช่น ให้แก่ พระราชทานแก่
แด่
• ใช้แสดงกิริยาจากผู้กระทาไปสู่ผู้รับการกระทาที่มีฐานะสูงกว่า เช่น ถวายของแด่เจ้านาย
ต่อ
• ใช้แสดงกิริยาที่เป็นการเฉพาะหรือหันหน้าเข้าประจันกัน โดยเฉพาะเมื่อคนหรือสิ่งที่รับการกระทามีศักดิ์สูง
กว่าผู้กระทา เช่น รายงานต่อที่ประชุม

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 76


1.4 ศัพท์เทคนิคหรือศัพท์วิชาการ
• วงวิชาการหรือวงวิชาชีพแต่ละสาขาบัญญัตใิ ช้เฉพาะสาขาวิชาของตน
• วงวิชาการที่มีสถาบันวิชาชีพเป็นหลัก มีการบัญญัติศัพท์ใช้เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
• บางสาขาไม่มีสถาบันวิชาชีพควบคุม สถาบันการศึกษาจึงบัญญัตศิ ัพท์ขึ้นใช้ใน
สถาบัน เช่น
• Concept มีใช้หลายคา
• กระทรวงศึกษาธิการ ใช้ ความคิดรวบยอด
• มสธ. ใช้ มโนมติแนวคิด
• ครุศาสตร์ จุฬาฯ ใช้ มโนทัศน์
• มศว. ใช้ สังกัป

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 77


2. การใช้ประโยค
1) ใช้ประโยคทั้ง 3 ประเภท
2) ควรใช้ประโยคความเดียวให้มาก
3) ส่วนขยายไม่ควรยาวมาก
4) ประโยคที่แปลจากภาษาต่างประเทศ ควรตัดทอนให้เป็นประโยคสั้นๆ ด้วย
สานวนภาษาไทย
5) ควรเรียบเรียงประโยคยาวให้เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อนเกินไปจนผู้อ่านสับสน

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 78


3. การเขียนย่อหน้า
1) มีลักษณะย่อหน้าที่ดี
• เอกภาพ
• สัมพันธภาพ ทั้งภายในและระหว่างย่อหน้า
• สารัตถภาพ
2) ประเภทของย่อหน้า
• ประโยคใจความสาคัญอยู่ต้นย่อหน้า
• ประโยคใจความสาคัญอยู่ท้ายย่อหน้า
• ประโยคใจความสาคัญอยู่ต้นและท้ายย่อหน้า
• ประโยคใจความสาคัญอยู่กลางย่อหน้า
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 79
3) วิธีการขยายประโยคใจความสาคัญ เช่น
• การอธิบายให้รายละเอียด
• การยกตัวอย่าง
• การเปรียบเทียบ
• การให้เหตุผล

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 80


การขึ้นต้นย่อหน้า
• ขึ้นต้นย่อหน้าใหม่เมื่อเปลี่ยนหัวข้อ หรือเปลี่ยนประเด็น
• ขึ้นต้นด้วยนามหรือสรรพนาม
• ขึ้นต้นด้วยคาแสดงเวลาหรือลาดับที่

การตัดคาข้ามบรรทัด
• ไม่เขียนฉีกคาหรือตัดคาข้ามบรรทัด
• ควรขึน้ ต้นคานั้นในบรรทัดใหม่ทั้งคา
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 81
การเว้นวรรคตอน
• ควรเว้นวรรคให้ถกู ต้อง และชัดเจน

การใช้เครื่องหมายต่างๆ
• จุลภาค ( , )
• ใช้เขียนคั่นตัวเลขต่างๆ เช่น 1,000
• ไม่ใช้คั่นระหว่างคา แต่ให้ใช้การเว้นวรรคแทน
ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 82
4. การลาดับย่อหน้าและการเชื่อมโยงย่อหน้า
1) จานวนย่อหน้า
• มีกี่ย่อหน้าก็ได้ แต่ส่วนใหญ่มีไม่น้อยกว่า 3 ย่อหน้า (ส่วนนา เนื้อหา ส่วนสรุป)
2) การลาดับย่อหน้า
ตามเวลา
ตามความสาคัญหรือตามขั้นตอน
ตามเหตุผล
3) การเชื่อมโยงย่อหน้า
• ใช้คาหรือกลุ่มคาเชื่อม
• การเท้าความหรือการขยายความจากย่อหน้าที่ผ่านมา

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 83


ลักษณะของงานเขียนเชิงวิชาการที่ดี

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 84


ลักษณะของงานเขียนเชิงวิชาการที่ดี (นภาลัย สุวรรณธาดา, 2548: 23-29)

1. ใช้ภาษาดี

2. มีเนื้อหาสาระถูกต้องและเหมาะสม

3. เรียงลาดับเนื้อหาอย่างเป็นระบบ

4. อ้างอิงแหล่งที่มาอย่างชัดเจน

5. รูปแบบการเขียนและการพิมพ์เหมาะสม

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 85


1. ใช้ภาษาดี
ถูกต้องและเข้าใจง่าย
• ใช้ภาษาที่เป็นทางการหรือค่อนข้างเป็นทางการ
• เข้าใจง่ายสาหรับกลุ่มเป้าหมาย

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 86


2. มีเนื้อหาสาระถูกต้องและเหมาะสม
ถูกต้อง
• ข้อมูลต่างๆ ถูกต้อง เช่น สูตร ตัวเลข ชื่อคน ข้อความที่
ยกมาอ้างอิง
• ข้อค้นพบหรือหลักการใหม่ๆ มีเหตุผลสนับสนุนอย่างเชื่อถือได้
เหมาะสม
• เหมาะสมกับผู้อ่านกลุ่มเป้าหมาย
• เป็นเรื่องที่ทันสมัย อยู่ในความสนใจ สอดคล้องกับเหตุการณ์และความก้าวหน้าของวิทยาการ
• เหมาะสมแก่ภูมิปัญญาของผู้เขียน แสดงความรู้ที่ลึกซึ้ง
มีความคิดสร้างสรรค์และเป็นกลาง

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 87


3. เรียงลาดับเนื้อหาอย่างเป็นระบบ
ระบบการแบ่งหัวข้อเหมือนกันตลอดเล่ม
• ระบบตัวอักษร
• กาหนดตัวอักษรให้เป็นระบบเดียวกันตลอดเล่ม
• หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย ชื่อคน ข้อความสาคัญ ควรใช้ตัวอักษรพิเศษที่ผู้อ่านสามารถสังเกตได้ว่า
ตัวอักษรลักษณะนี้หมายความว่าอย่างไร
• ระบบการเขียน
• การเลือกใช้วิธีการเขียน
• เขียนแบบนิรนัย: เริ่มจากหลักการไปสู่สถานการณ์
• เขียนแบบอุปนัย: เริ่มจากสถานการณ์ไปสู่หลักการ
• สม่าเสมอตลอดเล่ม เขียนเป็นระบบเดียวกัน

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 88


4. อ้างอิงแหล่งที่มาอย่างชัดเจน
ต้องอ้างอิงผลงานที่นามาใช้ในงานเขียน โดยใช้รูปแบบการเขียนอ้างอิงตามที่แต่ละ
สถาบันการศึกษากาหนดไว้
การอ้างอิงนิยามหลายๆ แหล่ง ผู้เขียนต้องเสนอส่วนที่เป็นความคิดของตนด้วย
เลือกข้อมูลมาอ้างอิงเฉพาะที่จาเป็น เป็นข้อความที่ผู้เขียนไม่อาจเขียนเองได้หรือเขียนได้
ไม่ดีเท่า

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 89


5. รูปแบบการเขียนและการพิมพ์เหมาะสม
ทั่วไปเขียนเป็นความเรียงในลักษณะบรรยายโวหาร
มีการแยกแยะประเด็นให้กระจ่างชัดเจน
หากมีหลายประเด็นอาจแยกเป็นหัวข้อ แต่ต้องไม่มีหัวข้อย่อยมากเกินไป
อาจมีการจัดกลุ่มข้อมูลให้ครอบคลุมประเด็นย่อยทั้งหมด
ใช้สื่อประกอบให้เหมาะแก่เนื้อหา เช่น ภาพประกอบ แผนภูมิ กราฟ ตาราง ตัวเลขสถิติ
ต่างๆ และควรมีคาอธิบายประกอบให้เพียงพอ
รูปแบบการพิมพ์สวยงาม คงทนถาวร

ผศ. ดร.วิภาวรรณ วงษ์สุวรรณ์ คงเผ่า 90

You might also like