Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 55

Blood

 protein  

Patarabutr  Masaratana  
Blood protein: Outline
§  Structure & Function

§  Classification

§  Metabolism

§  Abnormalities
Blood protein

Plasma protein
Plasma
Lipoprotein

Erythrocytes Haemoglobin
Plasma protein
§  หน้าที่โดยรวม

§  การจําแนกประเภท

§  Plasma protein ชนิดที่สําคัญ 


(คุณสมบัติที่สําคัญ, หน้าที่ และความผิดปกติ)

§  Plasma protein ที่ผิดปกติ


Plasma protein
§  6.5-8.3 g/dL (67% of protein in whole blood)

§  Diversity of proteins in plasma: diverse function

§  หน้าที่โดยรวมที่สําคัญ 


- รักษาปริมาณน้ําภายในหลอดเลือด 
(oncotic pressure)
- ควบคุม pH ของเลือด (buffer): 
ความสามารถในการให้/รับ electron 
- ขนส่งสารหรือโมเลกุลต่างๆไปตามกระแสเลือด
Classification of plasma protein
1.  จําแนกตามภาวะที่พบ
- พบในภาวะปกติ
- พบเฉพาะในภาวะที่ผิดปกติ

2.  จําแนกตามแหล่งสังเคราะห์
- สังเคราะห์โดยตับ
- สังเคราะห์โดยเซลล์อื่นนอกจากตับ

3.  จําแนกตามองค์ประกอบของ protein
- simple protein
- conjugated protein (apoprotein+prosthetic group)
Classification of plasma protein
4.  จําแนกตามการเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้า
(plasma protein electrophoresis)

Principle: โปรตีนต่างชนิดใน buffer เดียวกัน


จะมี net charge แตกต่างกัน
จึงเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้าได้ระยะทางต่างกัน

pH 8.6: plasma protein ส่วนใหญ่ จะมี net charge เป็นลบ


แต่จะมี net charge ต่างกัน
: เคลื่อนที่ไปทางขั้วบวก
: แยก plasma protein เป็นแถบๆ ตามการเคลื่อนที่
ได้เป็น 5 กลุ่ม (แถบ) ใหญ่ๆ
Classification of plasma protein
Serum protein electrophoresis

5 major bands

§  albumin
§  α1
§  α2
§  β
§  γ
γ-band movement toward cathode

§  electroendosmosis

§  electrolytes ที่เป็น cations (e.g. Na+) จํานวน


มากล้อมรอบ protein และอุ้มน้ําไว้ด้วย

§  เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน cations และน้ําที่


ล้อมรอบจะวิ่งไปยังขั้วลบ จึงดึงโปรตีนที่มีประจุ
ลบไม่มาก ไปด้วย
§  water migration
Albumin
คุณสมบัติที่สําคัญ

§  มีปริมาณมากที่สุดใน plasma 


(60% ของ total plasma protein)

§  simple protein

§  สังเคราะห์ที่ตับ

§  มี polar group และประจุลบสุทธิมาก จึงละลายน้ําได้ดี

§  มี pI ต่ํากว่า plasma protein อื่นๆ

§  electrophoresis: เคลื่อนที่ไปได้ไกลที่สุด


Albumin

หน้าที่สําคัญ

§  รักษา osmotic pressure ของเลือด

§  ขนส่งสารต่างๆในเลือด

§  ทําหน้าที่ buffer

Wong F. Nature Reviews Gastroenterology and Hepatology 4, 43-51


หน้าที่สําคัญของ albumin
การรักษา osmotic pressure ของเลือด

§  oncotic pressure: osmotic pressure ที่เกิดจาก


plasma protein (25 mmHg)

§  albumin: 80% of oncotic pressure

§  ปริมาณสูงสุด, net charge มาก à อุ้มน้ําได้ดี

§  albumin ในเลือดต่ํา à ภาวะบวมน้ํา (oedema)

§  ระดับ plasma protein ที่ต่ําที่สุด ที่ยังไม่ทําให้เกิดอาการ


บวมน้ําเรียกว่า oedema level
(5.5 g plasma protein หรือ 2.5 g albumin)
หน้าที่สําคัญของ albumin
arteriole! venule !
CHP 32! 25 POP! 15 CHP! 25 POP!
intravascular!

interstitial space!
IFOP 10! IFHP 8! IFOP 10! IFHP 8!

Net filtration pressure Net absorption pressure


(32 + 10) – (25 + 8) = 9 mmHg (25 + 8) – (10 + 15) = 8 mmHg

Remaining fluid à Lymphatic system

CHP capillary hydrostatic pressure


POP plasma oncotic pressure
IFHP interstitial fluid hydrostatic pressure
IFOP interstitial fluid oncotic pressure
!
หน้าที่สําคัญของ albumin

Causes of oedema

§  oedema: filtration pressure > absorption pressure

§  high filtration pressure


- increased venous pressure

§  low absorption pressure


- low oncotic pressure: low albumin levels

§  obstructed drainage

§  impaired filter: capillary leakage


หน้าที่สําคัญของ albumin
การขนส่งสารต่างๆในเลือด

- solubility of hydrophobic substances: MCFA


- detoxify toxic substances: unconjugated bilirubin
- transport: hormones, drugs

Albumin-unconjugated bilirubin à Liver


Free unconjugated bilirubin à Brain à kernicterus

การรักษา pH ของเลือด
- สามารถจับกับ H+ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย
- ช่วยลดความเป็นกรดในเลือดได้
ความสําคัญทางคลินิกของ albumin

§  มี half life ประมาณ 20 วัน

§  ระดับ albumin จึงบ่งชี้ถึงภาวะทางโภชนาการของร่างกาย


ในระยะยาว

§  การเปลี่ยนแปลงระดับ plasma albumin ในระยะสั้น อาจ


เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของเลือด ซึ่งส่งผลให้ความ
เข้มข้นของโปรตีนเปลี่ยนแปลง ในขณะที่ปริมาณสุทธิของ
โปรตีนไม่เปลี่ยนแปลง

§  ค่าเฉลี่ยของ plasma albumin ในผู้ใหญ่ปกติ: 3.5-5.5 g/dL


ความผิดปกติของ albumin ในเลือด

1.  analbuminaemia: absence (or very low level)

2.  hypoalbuminaemia: low level

3.  hyperalbuminaemia: high level


ความผิดปกติของ albumin ในเลือด

Analbuminaemia

- genetic disorder

- autosomal recessive

- พบได้น้อย

- เกิดความบกพร่องในการสังเคราะห์ albumin

- ไม่สามารถตรวจพบ albumin ในเลือดได้หรือพบใน
ระดับที่ต่ํามาก
ความผิดปกติของ albumin ในเลือด

Hypoalbuminaemia: ระดับ albumin ในเลือดต่ํากว่าปกติ




- การสังเคราะห์ที่ตับลดลง (ขาด protein, liver failure)

- สูญเสีย albumin ออกนอกร่างกาย (ปัสสาวะ, ผิวหนัง, ลําไส้)

โรคไตบางชนิด burn ความผิดปกติของเยื่อบุผนังลําไส้บางชนิด



- การสลาย albumin ที่เพิ่มมากขึ้น (thyrotoxicosis)
ความผิดปกติของ albumin ในเลือด

Hyperalbuminaemia: ระดับ albumin ในเลือดสูงกว่าปกติ

- dehydration

- ความเข้มข้นของ albumin สูงขึ้น

- ปริมาณสุทธิของ albumin ไม่เปลี่ยนแปลง


α1-globulins
ตัวอย่างโปรตีนที่สําคัญ

§  α1-acid glycoprotein (orosomucoid)


§  α1-antitrypsin

§  α1-antichymotrypsin

§  thyroxine-binding protein

§  α1-fetoprotein

§  α1-lipoprotein (HDL)

§  retinol-binding protein


α1-antitrypsin
§  ATT, α1-trypsin inhibitor, α1-protease inhibitor

§  90% ของโปรตีนทั้งหมดในกลุ่ม α1-globulin

§  neutralise เอนไซม์ในกลุ่ม trypsin-like proteases


(trypsin, chymotrypsin, collagenase, elastase )

§  ป้องกันไม่ให้เอนไซม์กลุ่มดังกล่าวย่อยสลายโปรตีนที่เป็น
โครงสร้างของเนื้อเยื่อ
ATT
inflammation

proteases
ความสําคัญทางคลินิกของ α1-antitrypsin

Low α1-antitrypsin level

Tissue damage by proteases


secreted from macrophages

Liver Lung

การทํางานของตับผิดปกติ
ตับแข็ง (เด็ก) ถุงลมโป่งพอง
ความผิดปกติของ α1-antitrypsin ในเลือด

1.  α1-antitrypsin deficiency


- genetic disorder
- ตับไม่สามารถหลั่ง α1-antitrypsin ออกมาสู่
กระแสเลือดได้

2.  α1-antitrypsin สูงกว่าปกติ


- inflammation/infection
- pregnancy, oral contraceptives

Acute phase reactant


α1-antitrypsin deficiency
Acute phase reactant

Positive acute phase reactant

- มีปริมาณเพิ่มขึ้นเมื่อมีการอักเสบ

- e.g. α1-antitrypsin, C-reactive protein, haptoglobin

Negative acute phase reactant



- มีปริมาณลดลงเมื่อมีการอักเสบ

- e.g. albumin, transferrin


α1-globulins
ตัวอย่างโปรตีนที่สําคัญ

§  α1-acid glycoprotein (orosomucoid)


§  α1-antitrypsin

§  α1-antichymotrypsin

§  thyroxine-binding protein

§  α1-fetoprotein

§  α1-lipoprotein (HDL)

§  retinol-binding protein


α1-fetoprotein (AFP)

§  สังเคราะห์ที่ yolk sac, ลําไส้ และเซลล์ตับ ใน foetus

§  มีระดับต่ํามากในผู้ใหญ่ปกติ ยกเว้นหญิงตั้งครรภ์

(โปรตีนจากทารกจะถูกส่งผ่านรกเข้าสู่มารดา)

§  ยังไม่ทราบบทบาทหน้าที่แน่ชัด
α1-fetoprotein (AFP)

Foetal serum Amniotic fluid

Maternal serum

Habib A. Acta Obstet Gynecol Scand (1977);Suppl61:14.


ความสําคัญทางคลินิกของ α1-fetoprotein

§  การตรวจวัดระดับ AFP ในเลือด

§  ใช้ตรวจคัดกรองโรคหลายชนิด โดยเฉพาะใช้เป็น


tumour marker ในตรวจกรองมะเร็ง

§  ระดับสูงกว่าปกติ: มะเร็งตับชนิด hepatocellular


carcinoma, germ cell tumours หรือ มะเร็งที่กระจาย
ไปที่ตับ

§  ตรวจคัดกรองความผิดปกติของทารกในครรภ์
(อายุครรภ์ 15-20 สัปดาห์)
AFP in Maternal serum
ภาวะที่มีการเคลื่อนที่ของโปรตีนจากทารก
เข้าสู่น้ําคร่ําเพิ่มขึ้น
High (e.g. spina bifida, neural tube defects,
fetal distress, twin)

Low Down’s syndrome และ Trisomy 18

Rose NC, Mennuti MT. Alpha-Fetoprotein and Neural Tube Defects. In: Sciarra JJ, ed. Gynecology & Obstetrics. Lippincott Williams & Wilkins, 2004.
α2-globulins

ตัวอย่างโปรตีนที่สําคัญ

§  haptoglobin

§  ceruloplasmin

§  angiotensinogen

§  α2-macroglobulin
Haptoglobin

§  glycoprotein ที่สังเคราะห์โดยตับเป็นหลัก

§  มีหน้าที่จับกับ free haemoglobin ในเลือดเมื่อเกิดการ


แตกของเม็ดเลือดแดง

§  haptoglobin-haemoglobin complex


- ถูกกําจัดโดย reticuloendothelial cells
- ขนาดใหญ่, ไม่สามารถขับออกทางไตได้
- ป้องกันการสูญเสีย haemoglobin ทางปัสสาวะ
ความผิดปกติของ haptoglobin ในเลือด

1.  ระดับ haptoglobin ต่ํากว่าปกติ



- ภาวะที่มีการแตกของเม็ดเลือดแดงภายใน
หลอดเลือด (intravascular haemolysis)

2.  ระดับ haptoglobin สูงกว่าปกติ

- inflammation/infection
- positive acute phase reactant
α2-globulins

ตัวอย่างโปรตีนที่สําคัญ

§  haptoglobin

§  ceruloplasmin

§  angiotensinogen

§  α2-macroglobulin
Ceruloplasmin

§  glycoprotein ที่มีทองแดงเป็นส่วนประกอบ

§  apoceruloplasmin + 6 atoms of Cu+ and/or Cu2+

§  oxidase activity- iron mobilisation

§  การเคลื่อนย้ายธาตุเหล็กจากแหล่งสะสมเข้าสู่ plasma

§  antioxidant
ความผิดปกติของ ceruloplasmin ในเลือด
1.  ระดับ ceruloplasmin ต่ํากว่าปกติ
- aceruloplasminaemia

•  genetic disorder (autosomal recessive)


•  loss of oxidase activity
•  ธาตุเหล็กสะสมในเนื้อเยื่อต่างๆ

- การสังเคราะห์ที่ตับลดลง

•  copper deficiency, malnutrition


•  severe liver diseases

- abnormal copper metabolism

•  Wilson’s disease (เรียนในหัวข้อ ‘เกลือแร่’)


ความผิดปกติของ ceruloplasmin ในเลือด

2.  ระดับ ceruloplasmin สูงกว่าปกติ

- inflammation/infection

- positive acute phase reactant

- cancer, pregnancy, oral concentraceptives


β-globulins
ตัวอย่างโปรตีนที่สําคัญ

§  transferrin

§  haemopexin

§  C-reactive protein

§  fibrinogen

§  pre-β-lipoprotein (VLDL)

§  β-lipoprotein (LDL)


Transferrin
§  glycoprotein, สังเคราะห์โดยตับเป็นหลัก

§  หน้าที่หลัก: ขนส่งธาตุเหล็กในเลือด

§  apotransferrin + Fe3+ = mono-/diferric transferrin

§  transferrin-bound iron: การสังเคราะห์ haemoglobin

§  ป้องกันพิษที่เกิดจาก free iron

§  ป้องกันการสูญเสียธาตุเหล็กทางปัสสาวะ

§  ปริมาณเหล็กที่จับกับ transferrin: indicator ของ iron


status
ความผิดปกติของ transferrin ในเลือด
1.  ระดับ transferrin ในเลือดต่ํา Anaemia

- congenital atransferrinaemia: พบน้อยมาก


- ภาวะที่ร่างกายมีการสังเคราะห์โปรตีนโดยรวมต่ํา
(malnutrition, liver diseases)
- ภาวะที่ร่างกายมีการสูญเสียโปรตีน (โรคไตบางชนิด)
- การอักเสบ: negative acute phase reactant

2.  ระดับ transferrin ในเลือดสูง

- iron deficiency, pregnancy


Haemopexin

§  สังเคราะห์โดยตับ

§  หน้าที่หลัก: จับกับหมู่ฮีมอิสระในเลือดเพื่อนําไปกําจัดที่ตับ

§  ฮีมอิสระในเลือด: การสลายของ haemoglobin,

myoglobin หรือ haem proteins อื่นๆ เช่น ในภาวะ

intravascular haemolysis

§  สามารถจับกับ porphyrins ได้ด้วย

§  ระดับ haemopexin ในเลือดต่ํากว่าปกติ: intravascular

haemolysis
C-reactive protein (CRP)

§  glycoprotein

§  สังเคราะห์โดยตับ

§  บทบาทหน้าที่: จับกับ phosphatidylcholine บนผิวเซลล์ที่เกิด


พยาธิสภาพ, จุลชีพหลายชนิด นําไปสู่การกําจัดเซลล์หรือจุลชีพ
นั้น โดย immune system

§  positive acute phase reactant

§  ใช้ระดับ CRP ในเลือด ในการวินิจฉัยและติดตามการอักเสบ


หรือติดเชื้อบางชนิดในร่างกาย
γ-globulins
γ-globulins

§  ส่วนใหญ่มีบทบาทเป็น antibody

§  antibody บางชนิดอยู่ใน β-band

§  immunoglobulin: protein ทุกชนิดที่ทําหน้าที่


เป็น antibody

§  glycoprotein, สังเคราะห์โดย plasma cells

§  การสังเคราะห์จะถูกกระตุ้นเมื่อมีสิ่งแปลกปลอมหรือ
จุลชีพเข้ามาในร่างกาย
Structure of immunoglobulin
§  Y-shaped

§  4 polypeptides: heavy (H) & light (L) chain

§  2 identical H chains + 2 identical L chains

Variable region

Constant region
Structure of immunoglobulin

§  H chain classification (amino acid sequence in


constant region)
- γ, α, µ, δ and ε

§  L chain classification- κ and λ

§  immunoglobulin (Ig) classification


- Ig G, Ig A, Ig M, Ig D, Ig E
Immunoglobulin
§  Ig G
มีปริมาณมากที่สุด
ผ่านรกจากมารดาสู่ทารกได้

§  Ig A
Ig สําคัญในน้ําคัดหลั่งต่างๆ (dimer)
ต่อต้านการติดเชื้อที่ mucosa

§  Ig M

Ig ชนิดแรกที่เพิ่มขึ้น เมื่อได้รับ antigen (pentamer)


Ig ชนิดเดียวที่ foetus สังเคราะห์ได้ (intrauterine infection)
ความผิดปกติของ immunoglobulin ในเลือด

§  ภาวะที่ Ig ทุกชนิดมีระดับต่ํากว่าปกติ


(hypogammaglobulinaemia)

§  ภาวะที่ Ig เพียงบางชนิดมีระดับต่ํากว่าปกติ


(dysgammaglobulinaemia)

§  ภาวะที่มีระดับ Ig ในเลือดสูงกว่าปกติ


(hypergammaglobuminaemia)
- monoclonal Ig: plasma cell cancer (myeloma)
- polyclonal Ig: infection, allergy
Abnormal plasma proteins

§  ตรวจไม่พบ หรือพบในปริมาณต่ํามากในภาวะปกติ

§  Cryoglobulin
- abnormal Ig (monoclonal/polyclonal)
- ละลายใน plasma ที่อุณหภูมิร่างกาย
- ตกตะกอนที่อุณหภูมิต่ํา: อุดตันหลอดเลือดได้ 
- cryoglobulinaemia: SLE, rheumatoid arthritis, etc.

§  Myeloma protein


- monoclonal Ig/fragments of Ig synthesised by
plasma cells
- multiple myeloma
Abnormal plasma proteins
Abnormal plasma proteins

§  Bence-Jones protein


- L chain of monoclonal Ig or fragments
- plasma or urine
- multiple myeloma

Fresh urine 3-5 ml จะตกตะกอนเมื่อต้มที่ 40-50๐C

ถ้าต้มต่อที่ 85-100๐C จะสามารถละลายได้

You might also like