2559 PHD Arunee

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

การสร้างตัวแบบโรงพยาบาลนวัตกรรม: ระเบียบวิธีทฤษฏี ฐานราก

อรุณี ไพศาลพาณิชย์กลุ

วิทยานิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสูตร


ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (พัฒนาสังคมและการจัดการสิ่งแวดล้อม)
คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2559
บทคัดย่อ

ชื่อวิ ทยานิ พนธ์ การสร้างตัวแบบโรงพยาบาลนวัตกรรม: ระเบียบวิธ ี


ทฤษฏีฐานราก
ชื่อผูเ้ ขียน นางอรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล
ชื่อปริ ญญา ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (พัฒนาสังคมและการจัดการสิง่ แวดล้อม)
ปี การศึกษา 2559

การวิจยั นี้เป็ นการเชิงคุณภาพ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อ 1) สร้างตัวแบบโรงพยาบาล


นวัตกรรม 2) ระบุมโนทัศน์ และความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ ท่เี กี่ยวข้องกับการพัฒนา
โรงพยาบาลให้เป็ นองค์การนวัตกรรม 3) ศึกษาวัฒนธรรมองค์การของโรงพยาบาลนวัตกรรม 4)
ศึกษากระบวนการจัดการความรูข้ องโรงพยาบาลนวัตกรรม และ 5) ศึกษาคุณลักษณะในการ
เป็นองค์การเรียนรูข้ องโรงพยาบาลนวัตกรรม
วิธกี ารศึกษาดําเนินการตามระเบียบวิธที ฤษฎีฐานรากและระเบียบวิธกี รณีศกึ ษา โดย
ศึกษาองค์การ 4 แห่ง คือ 1) โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน 2) โรงพยาบาล
สมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย 3) โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ และ 4) โรงพยาบาลสมเด็จ
พระยุพราชตะพานหิน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร การสังเกตแบบไม่มสี ่วนร่วม และ
การสัมภาษณ์เชิงลึกผูใ้ ห้ขอ้ มูลทีส่ ําคัญ จํานวนทัง้ สิน้ 40 ราย ประกอบด้วย 1) ผู้นําองค์การ
บุคลากรระดับบริหาร และระดับปฏิบตั กิ ารของโรงพยาบาล จํานวน 28 ราย และ 2) ผูม้ สี ่วนได้
ส่วนเสีย จํานวน 12 ราย
ผลการศึกษา ประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ ผลจากระเบียบวิธกี รณีศึกษา และผลจาก
ระเบียบวิธที ฤษฎีฐานราก ดังนี้ 1) ผลจากกรณีศกึ ษา พบวิธกี ารพัฒนาสู่โรงพยาบาลนวัตกรรม
ของกรณีศกึ ษา 4 แห่ง และ 2) ผลจากทฤษฎีฐานราก คือ ตัวแบบโรงพยาบาลนวัตกรรม และ
ตัวแบบทีเ่ กีย่ วข้องกับโรงพยาบาลนวัตกรรม 4 ตัวแบบ ได้แก่ ตัวแบบองค์ประกอบโรงพยาบาล
นวัตกรรม ตัวแบบวัฒนธรรมองค์การของโรงพยาบาลนวัตกรรม ตัวแบบการจัดการความรูข้ อง
โรงพยาบาลนวัตกรรม และตัวแบบองค์การเรียนรูข้ องโรงพยาบาลนวัตกรรม ดังนี้ (1) ข้อค้นพบ
จากตัวแบบโรงพยาบาลนวัตกรรม คือ องค์การเรียนรู้ การจัดการความรู้ และวัฒนธรรมองค์การ
ส่ ง เสริม การเป็ น โรงพยาบาลนวัต กรรม โดยองค์ ก ารเรีย นรู้เ ป็ น เงื่อ นไขหลัก ของการเป็ น
โรงพยาบาลนวัตกรรม (2) ข้อค้นพบจากตัวแบบองค์ประกอบโรงพยาบาลนวัตกรรม คือ
(4)

โรงพยาบาลนวัตกรรม ประกอบด้วยมิตทิ ส่ี าํ คัญ 6 มิติ ได้แก่ คุณลักษณะขององค์การนวัตกรรม


การนํ าองค์การเพื่อนวัตกรรม การบริหารจัดการนวัตกรรม ความเป็ นเลิศด้านลูกค้า สินทรัพย์
ด้านทุนมนุ ษย์ และนวัตกรรมองค์การ (3) ข้อค้นพบจากตัวแบบวัฒนธรรมองค์การของ
โรงพยาบาลนวัตกรรม คือ วัฒนธรรมองค์การของโรงพยาบาลนวัตกรรม ประกอบด้วยมิตทิ ่ี
สําคัญ 3 มิติ ได้แก่ สภาพแวดล้อมเชิงวัฒนธรรมขององค์การ รูปแบบวัฒนธรรมองค์การ และ
การจัดการวัฒนธรรมองค์การ โดยทีส่ ภาพแวดล้อมเชิงวัฒนธรรมขององค์การนําไปสู่รูปแบบ
วัฒนธรรมองค์การ ในขณะทีร่ ปู แบบวัฒนธรรมองค์การ และการจัดการวัฒนธรรมองค์การ ทํา
ให้เกิดผลพวงของวัฒนธรรมองค์การใน 3 เรื่อง ได้แก่ ความผูกพันต่อองค์การ ความผาสุกของ
องค์การ และจิตสํานึกทางสังคมของบุคลากร (4) ข้อค้นพบจากตัวแบบการจัดการความรูข้ อง
โรงพยาบาลนวัตกรรม คือ กระบวนการจัดการความรู้เป็ นสิง่ สําคัญในการดําเนินการจัดการ
ความรูข้ องโรงพยาบาลนวัตกรรม โดยสมรรถวิสยั การจัดการความรูข้ ององค์การเป็ นตัวผลักดัน
กระบวนการจัด การความรู้ และการประเมิน การจัด การความรู้เ ป็ น กิจ กรรมคู่ ข นานของ
กระบวนการจัดการความรู้ และ (5) ข้อค้นพบจากตัวแบบองค์การเรียนรู้ของโรงพยาบาล
นวัตกรรม คือ มิตสิ าํ คัญในการเป็ นองค์การเรียนรูข้ องโรงพยาบาลนวัตกรรมประกอบด้วย 7 มิติ
ได้แก่ คุณลักษณะองค์การเรียนรู้ บทบาทขององค์การเรียนรู้ การมีวสิ ยั ทัศน์ร่วม รูปแบบการ
เรียนรูอ้ งค์การ การพัฒนาความเชีย่ วชาญเฉพาะบุคคล การประเมินการเรียนรู้ และพลังอํานาจ
การเรียนรู้
ABSTRACT

Title of Dissertation Model Building of Innovative Hospital: Grounded Theory


Approach
Author Mrs. Arunee Paisanpanichkul
Degree Doctor of Philosophy (Social Development and
Environmental Management)
Year 2016

This research is a qualitative research with the aims to: 1) build model of
innovative hospital; 2) specify concepts, and the relationship between concepts that
related to development of innovative hospital; 3) study organizational culture of
innovative hospital; 4) study knowledge management process of innovative hospital;
and 5) study characteristics of innovative hospital’s learning organization.
The methodology employed was based on grounded theory, and case study
approaches. Four Crown Prince Hospitals were selected as main case studies. They
were: 1) Sawangdandin Crown Prince Hospital; 2) Dansai Crown Prince Hospital; 3)
Thabo Crown Prince Hospital; and 4) Taphanhin Crown Prince Hospital. Data were
collected using related documents, non-participatory observation, in-depth interview of
40 key informants: 28 persons were the directors of the selected hospitals, leaders, and
operational staff members; and 12 persons were hospital’s stakeholders.
The results consisted of two parts based on the research approaches adopted:
1) the results of case study approach showed the means to developing innovative
hospital of four hospitals. The results of grounded theory approach indicated the model
of innovative hospital and four relevant innovative hospital models: componential model;
organizational culture model; knowledge management model; and learning organization
(6)

model. These could be summarized as follows: (1) model of innovative hospital founded
innovative hospital was promoted by learning organization, knowledge management,
and organizational culture. Learning organization was a crucial condition of innovative
hospital; (2) componential model indicated that there were six key dimensions of
innovative hospital, namely; characteristic of organization, innovative leadership,
innovative management, customer-driven excellence, human capital asset, and
organizational Innovation; (3) organizational culture model was composed of three
dimensions of organizational culture, namely; cultural environment of organization,
patterns of organizational culture, and organizational culture management. Cultural
environment supported patterns of organizational culture, as patterns and organizational
culture management leaded to workforce engagement, organizational well-being, and
social consciousness of workforce members; (4) knowledge management model
showed that the knowledge management process was critical that pushed by
organizational capacity of knowledge management whereas knowledge management
evaluation was a parallel activity of knowledge management process; (5) learning
organization model indicated that there were seven key dimensions of innovative
hospital, namely; characteristic of learning organization, role of learning organization,
shared vision, lifestyle of organizational learning, development of personal mastery,
assessment of learning, and empowerment learning.

You might also like