Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 332

ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย

ฉบับอนุรักษ

จารึกตำรายา
วัดราชโอรสารามราชวรวิห้าาร
ไน ทย

้ ื บ
ละ พ
ไทยแ
ผ น
ย ์แ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข

สนับสนุนงบประมาณจากกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
ISBN : 978-616-11-2271-3 [1]
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ISBN : 978-616-11-2271-3
ไ ท ย
บ ้าน
ื้น
ที่ปรึกษา :
พระมหาโพธิวงศาจารย (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต)
ละ พ
เจาอาวาสวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ย แ
ผศ. (พิเศษ) ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม
น ไท
อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
ย ์แผ
นายแพทยปภัสสร เจียมบุญศรี
รแพท
ากา
รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
นายประสาท ตราดธารทิพย
ัิปญญ
ภ ม

รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

ค ร อง
ผูรวบรวม :
ง ค มุ้

สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย

พิมพครั้งที่ มกราคม 2558
จำนวน 1,000 เลม
จัดพิมพโดย :
สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
สนับสนุนการพิมพโดย :
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

พิมพที่ : โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก ในพระบรมราชูปถัมภ

[2]
¤Ó¹Ó

พระราชบัญญัติคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ กำหนดให


กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกมีหนาที่รวบรวมขอมูลภูมิปญญาการแพทยแผนไทยเกี่ยวกับ
ตำรับยาแผนไทยและตำราการแพทยแผนไทยทั่วราชอาณาจักร เพื่อจัดทำทะเบียนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
เกี่ยวกับตำรับยาแผนไทยและตำราการแพทยแผนไทยใชประโยชนในการอางอิงทางวิชาการศึกษา วิจัย พัฒนาและ
มาตรา ๑๗ กำหนดให รั ฐ มนตรี มี อ ำนาจประกาศกำหนดตำรั บ ยาแผนไทยหรื อ ตำราการแพทย แ ผนไทย
ไ ท ย
ที่มีประโยชนหรือมีคุณคาในทางการแพทยหรือการสาธารณสุขเปนพิเศษ ใหเปนตำรับยาแผนไทยของชาติหรือ
บ ้าน

ตำราการแพทยแผนไทยของชาติแลวแตกรณี การประกาศตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ
ะ ื้น
กำหนดในกฎกระทรวง
แ ล
ย ๑ ใน ๔ รายการ ของตนสาแหรก
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหารเปนตำราการแพทยแไท
น มครองตำรับยาแผนไทยและตำราการแพทย
ผนไทย


ของตำราการแพทยแผนไทยดั้งเดิม ซึ่งใชเปนฐานขอมูลอางอิงในการคุ
์แ ผ
แผนไทย โดยการเตรียมประกาศกำหนดใหเปนตำรับยาแผนไทยของชาติ ท
พ ่วไป ในป ๒๕๔๓ กรมศิลปากร ไดสำรวจและศึกษา
หรือตำราการแพทยแผนไทยของชาติ
รแ
กา าง ยาว ดานละ ๓๓ เซนติเมตร จำนวน ๕๐ แผน แตละ
และตำรับยาแผนไทยทั่วไปหรือตำราการแพทยแผนไทยทั

ญ จำนวน ๑๗ บรรทัด เหมือนกันทุกแผน จารึกเหลานี้ติด
ขอมูลเบื้องตน พบวามีจารึกรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว


ิปโบสถ ๒ ศาลา
แผนมีอักษรจารึกดานเดียว จัดเรียงบรรทัดทางแหลม
ประดับบนผนังศาลาศาลารายหนาพระอุ
งภ ม

กรมพั ฒ นาการแพทยรแอผนไทยและการแพทย
คกตำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหาร เนื่องจากเปนตำราแพทยแผนไทยที่มีความสำคัญ
ท างเลื อ ก จึ ง ได จั ด พิ ม พ ชุ ด ตำราภู มิ ป ญ ญาการแพทย

ง ม
้ ุ
คดทรุดโทรมเสียหายไปตามกาลเวลา ควรไดรับการอนุรักษ คุมครองและนำมาใชประโยชน
แผนไทย ฉบับอนุรักษ จารึ
ก อ
อยางยิ่ง แตมีสภาพชำรุ
โดยการถายภาพ ปริวรรตถายถอด และเรียบเรียงเปนคำอานปจจุบันเปนแหลงขอมูลในการเรียนรูของอนุชน
รุ น หลั ง สื บ ต อ ไปตามพระราชปณิ ธ านของบู ร พมหากษั ต ริ ย ที่ ท รงโปรดเกล า ฯ ให เ หล า นั ก ปราชญ ร าชบั ณ ฑิ ต
สรางสรรคขึ้นจึงเปนสวนหนึ่งของการอนุรักษสืบทอดมรดกภูมิปญญาดานการแพทยแผนไทยใหคงอยู คูประเทศ
ชาติตราบนานเทานาน

(ผศ. (พิเศษ) ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม)


อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
[3]
ÊÒúÒÞ
คำนำ [3]
สารบาญ [4]
บทนำ [7]
ความสำคัญจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหารในทางการแพทยแผนไทย [8]
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว [18]
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ไ ท ย
้าน
จารึกแผนที่ ๑ 1
จารึกแผนที่ ๒
ื้นบ ๔
จารึกแผนที่ ๓
ละ พ ๗
จารึกแผนที่ ๔
ย แ 1๐

ไท
จารึกแผนที่ ๕ 1๓
ผ น
์แ
จารึกแผนที่ ๖ 1๖

พท
จารึกแผนที่ ๗ 1๙


จารึกแผนที่ ๘ ๒๒
า ร
าก
จารึกแผนที่ ๙ ๒๕

ัิปญญ
จารึกแผนที่ ๑๐ ๒๘
จารึกแผนที่ ๑๑ ๓๑
จารึกแผนที่ ๑๒
ภ ม
ู ๓๔
จารึกแผนที่ ๑๓
ค ร อง ๓๗

มุ้
จารึกแผนที่ ๑๔ ๔๐
จารึกแผนที่ ๑๕
อง ค ๔๓
จารึกแผนที่ ๑๖
จารึกแผนที่ ๑๗
ก ๔๖
๔๙
จารึกแผนที่ ๑๘ ๕๒
จารึกแผนที่ ๑๙ ๕๕
จารึกแผนที่ ๒๐ ๕๘
จารึกแผนที่ ๒๑ ๖๒
จารึกแผนที่ ๒๒ ๖๕
จารึกแผนที่ ๒๓ ๖๘
จารึกแผนที่ ๒๔ ๗๑
จารึกแผนที่ ๒๕ ๗๔
จารึกแผนที่ ๒๖ ๗๗
จารึกแผนที่ ๒๗ ๘๐
จารึกแผนที่ ๒๘ ๘๓
[4]
จารึกแผนที่ ๒๙ ๘๖
จารึกแผนที่ ๓๐ ๘๙
จารึกแผนที่ ๓๑ ๙๒
จารึกแผนที่ ๓๒ ๙๕
จารึกแผนที่ ๓๓ ๙๘
จารึกแผนที่ ๓๔
ไ ท ย 1๐๑

้าน
จารึกแผนที่ ๓๕ 1๐๔
จารึกแผนที่ ๓๖
ื้นบ 1๐๗
จารึกแผนที่ ๓๗
ละ พ 1๑๐
จารึกแผนที่ ๓๘
ย แ 1๑๓

ไท
จารึกแผนที่ ๓๙ 1๑๖
ผ น
์แ
จารึกแผนที่ ๔๐ 1๑๙

พท
จารึกแผนที่ ๔๑ 1๒๒


จารึกแผนที่ ๔๒ 1๒๕
า ร
าก
จารึกแผนที่ ๔๓ 1๒๘

ัิปญญ
จารึกแผนที่ ๔๔ 1๓๑
จารึกแผนที่ ๔๕ 1๓๔
จารึกแผนที่ ๔๖
ภ ม
ู 1๓๗
จารึกแผนที่ ๔๗
ค ร อง 1๔๐

มุ้
จารึกแผนที่ ๔๘ 1๔๓
จารึกแผนที่ ๔๙
อง ค 1๔๖

จารึกแผนที่ ๕๐
จารึกแผนที่ ๕๑
1๔๙
1๕๒
จารึกแผนที่ ๕๒ 1๕๕
จารึกแผนที่ ๕๓ 1๕๘
จารึกแผนที่ ๕๔ 1๖๑
จารึกแผนที่ ๕๕ ๑๖๔
อภิธานศัพท 167
บรรณานุกรม 266
ดัชนีตำรับยา 267
ดัชนีโรคและอาการ 268
ดัชนีเครื่องยา 284
ภาคผนวก 308

[5]
ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

[6]
ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
º·¹Ó
ทย ์แ ผ
รแ พ
า กา


ูปิ ัญ
อง ภ
ค ร
ง ค มุ้
ก อ

[7]
¤ÇÒÁÊÓ¤Ñޢͧ¨ÒÃÖ¡
µÓÃÒÂÒÇÑ´ÃÒªâÍÃÊÒÃÒÁÃÒªÇÃÇÔËÒÃã¹·Ò§¡ÒÃᾷἹä·Â

วัดราชโอรสาราม เปนพระอารามหลวงชั้นเอกชนิด “ราชวรวิหาร” และ เปนวัดประจำรัชกาลที่ ๓ แหง


พระบรมราชจักรีวงศ ปจจุบันตั้งอยูริมคลองสนามไชยฝงตะวันตก และมีคลองบางหวาสกัดอยูดานเหนือ ติดเนื้อที่
ของวัด ในทองที่เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เลขประจำวัด ๒๕๘ เปนวัดโบราณ มีมาแตสมัยกรุงศรีอยุธยา เปน

ท ย
ราชธานี มีชื่อเรียกแตเดิมวา วัดจอมทอง สันนิษฐานวาคงจะเพี้ยนมาจากคำวา วัดเจาทอง หรือ วัดกองทอง

้าน
เนื่องจากอดีตเจาอาวาสซึ่งมีนามวา พระสุธรรมเทพเถร เลากันสืบมาวาชื่อ ทอง และการเรียกพระภิกษุสงฆใน

ะ พ ื้น
ยุคนั้น ชาวบานก็นิยมเรียกวา “ทานเจา” เมื่อนำคำวา ทานเจา มารวมกับคำวา ทอง ก็จะเปน “ทานเจาทอง”

แล
ภายหลังหดสั้นลง เรียกสั้นๆ วา วัดเจาทอง ตอมาพระเจาลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทรพระองคทรงอยูใน

ไท
ฐานะจอมทัพเคยนำไพรพลผานมาประทับแรม และปฏิสังขรณวัดนี้ ชาวบานจึงนำคำวา “จอม” จากคำวา

ผ น
“จอมทัพ” รวมกันเปนวัดจอมทอง ซึ่งเปนวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร โบราณคดี และศิลปกรรม
ย ์แ
พท
มูลเหตุที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ ทรงสถาปนาวัดราชโอรสารามนั้น คงจะเนื่องมา

า รแ
จากบริ เวณนี้ เ ป น นิ ว าสสถานข า งพระญาติ ฝ า ยพระบรมราชชนนี ข องพระองค คื อ กรมสมเด็ จ พระศรี สุ ล าลั ย
าก
(เจาจอมมารดาเรียม) ธิดาของพระยานนทบุรี (บุญจัน) ซึ่งมีจวน อยูริมแมน้ำเจาพระยาอันเปนที่ตั้งวัดเฉลิม

ัิปญญ
พระเกียรติในปจจุบัน กับคุณหญิงเพ็ง ซึ่งเปนธิดาของพระยาราชวังสัน (หวัง) บานอยูขางวัดหงสรัตนาราม และ

ภ ม

ทานชู เปนพระปยยิกา (ยายทวด) ของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว กลาวกันวาเปนธิดาของคหบดี

ร อง
ชาวสวน มีนิวาสสถานอยูแถววัดหนัง ซึ่งอยูทางทิศเหนือของวัดจอมทอง โดยมีคลองบางหวาคั่นอยู บริเวณสอง

ง ค มุ้
ฝากคลองดาน และคลองบางหวา ซึ่งมีวัดอยู ๓ วัด คือ วัดจอมทอง วัดหนัง และวัดนางนอน จึงมีพวกชาวสวน


ผูเปนวงศาคณาญาติของทานชูอยูจำนวนมาก และกลาวไดวาบุคคลเหลานี้ ลวนเปนพระประยูรญาติขางฝาย

พระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทั้งสิ้น
ทานเจาอาวาสวัดจอมทอง ซึ่งตอมาเมื่อสรางขึ้นเปนวัดราชโอรสารามแลวทาน มีสมณศักดิ์เปนพระสุธรรม
เทพเถรนั้น สันนิษฐานตามสมณศักดิ์ของทานคงจะเปนผูทรงคุณในทางวิปสสนาธุระ ทั้งมีผูเลาวา ทานชำนาญใน
การพยากรณยามสามตาดวย ทานเจาอาวาสองคนี้คงจะเปนที่ทรงรูจักมักคุนกับ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยู
หัวมาตั้งแตยังทรงดำรงพระราชอิสริยยศเปนพระเจาลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ใน รัชกาลที่ ๒ แลว ครั้น
มาเมื่อเดือน ๑๑ ปมะโรง พ.ศ. ๒๓๖๓ ในรัชกาลที่ ๒ มีขาววา พมาตระเตรียมกำลังทัพ จะยกเขาประเทศสยามอีก
แพรเขามาถึงกรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย จึงไดโปรดเกลา ฯ ใหพระเจาลูกยาเธอ
กรมหมื่นเจษฎาบดินทร (รัชกาลที่ ๓) ทรงเปนแมทัพคุมพลหมื่นหนึ่งเสด็จไปตั้งขัดตาทัพอยู ณ ตำบลปากแพรก
เมืองกาญจนบุรี พระองคไดเสด็จยาตราทัพออกจากกรุงเทพมหานคร ทางเรือเมื่อวันศุกร เดือนอาย ขึ้น ๑๐ ค่ำ
ปมะโรง

[8]
เสนทางยาตราทัพในวันแรกไดผานคลองบางกอกใหญเขาคลองดาน เมื่อเสด็จถึงวัดจอมทอง ซึ่งเปนวัด
โบราณ ก็เสด็จหยุดประทับแรมที่หนาวัด และไดทรงกระทำพิธีเบิกโขลนทวาร ตามลักษณะพิชัยสงคราม ณ ที่วัดนี้
ดังมี ความในหนังสือนิราศตามเสด็จทัพลำแมน้ำนอยที่พระยาตรัง กวีเอกผูโดยเสด็จราชการทัพครั้งนี้บรรยายถึง
การกระทำพิธีนี้ไววา

“อาดาลอาหุดิหอม โหมสนาน
ถึกพฤฒิพราหมณ โสรจเกลา
ชีพอเบิกโขลนทวาร ทวีเทวศ วายแล
ลารูปพระเจาปน แปดมือ”

ไ ท ย
้าน
ในพิธีดังกลาวนี้ไดทรงอธิษฐานขอใหเสด็จไปราชการทัพคราวนี้ประสบความสำเร็จ และเสด็จกลับมาโดย
ื้นบ
สวั ส ดิ ภ าพ และเล า กั น มาว า ท า นเจ า อาวาสวั ด จอมทองได จั บ ยามสามตาดู แ ล ว ได พ ยากรณ ไว ว า จะประสบ
ละ พ
ความสำเร็จและไดเสด็จกลับ ซึ่งเปนเหตุใหพระเจาลูกยาเธอทรงเลื่อมใส และประทานพรไววาหากเปนเชนนั้นจริง
ย แ
ไท
จะสรางวัดถวายใหใหม

ผ น
์แ
เมื่อไดยาตราทัพไปตั้งอยู ณ เมืองกาญจนบุรีจนยางเขาสูปมะเส็งในป พ.ศ. ๒๓๖๔ แลว ก็ยังไมมีวี่แวววา

พท
พมาจะยกทัพมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยจึงโปรดเกลา ฯ ใหพระเจาลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎา

รแ
บดินทรเลิกกองทัพ เสด็จกลับพระนคร เมื่อราวเดือน ๖-๗ ในปมะเส็งนั้น ครั้นเสด็จกลับถึงพระนครแลว ก็ทรง

าก
เริ่มปฏิสังขรณวัดจอมทองใหมทั้งหมด ไดเสด็จมาประทับคุมงานและตรวจตราการกอสรางดวยพระองคเอง แลว

ัิปญญ
ถวายเปนพระอารามหลวง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยไดโปรดเกลา ฯ พระราชทาน นามใหมวา

ภ ม

“วัดราชโอรส” หมายถึงวา เปนวัดที่พระราชโอรสทรงสถาปนา
ศิลปกรรมไทยที่มีอยูในวัอดงนี้ตกแตงดวยศิลปกรรมแบบจีน พระองคไดสรรสรางนฤมิตกรรมใหกลมกลืน
งดงามยิ่งนักอยางหาที่ติมิไดคเชรน เสี้ยวกางไทย ซึ่งเปนรูปปนที่บานหนาตาง และประตู พระวิหารพระพุทธไสยาสน
ง ค ุ้ม ที่มีการประยุกตศิลปกรรมไดอยางประณีตยิ่งนัก เชน รูปทรงหลังคาพระอุโบสถ

พระวิหารพระพุทกธไสยาสนตลอดถึงกุฏิ และนับเปนครั้งแรกอีกเชนกันที่มีการสรางโบสถวิหารที่ไมตองใชชอฟา
นับเปนครั้งแรกของสยามประเทศ

ใบระกา หางหงส แตก็ยังคงรูปสิ่งเหลานั้นไว ใหเปนสัญลักษณแหงศาสนสถานไดอยางสงาและงดงาม ซึ่งสมเด็จ


กรมพระยาดำรงราชานุภาพไดทรงมีลายพระหัตถทูลสมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศวา “หมอมฉันเคยเห็น
กลอนหรือโคลงซึ่งพระยาไชยวิชิต (เผือก) แตงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว จารึกศิลาไวที่
ในโบสถหนาพระเมรุ มีความแหงหนึ่งกลาวถึงทรงสรางวัดราชโอรส ชมพระปญญาวาชางแกไขยักเยื้อง มิใหมีชอฟา
ใบระกา อันเปนของหักพังงายไมถาวร ก็วัดราชโอรสนั้นสรางในรัชกาลที่ ๒ ความที่พระไชยวิชิตกลาวถึงนั้นสอวา
เปนวัดแรกคิดสรางออกนอกแบบอยางวัดซึ่งสรางกันอยางเปนสามัญ จะเรียกตอไปในจดหมายนี้วา “วัดนอก
อยาง” พิจารณาดูวัดราชโอรสเห็นไดวา วัดนอกอยางนั้นไมใชแตเอาชอฟาใบระกาออกเทานั้นถึงสิ่งอื่น เชน
ลวดลายและรูปภาพ เปนตน ก็แผลงไปเปนอยางอื่นหมดคงไวแตสิ่งอันเปนหลักของวัดอันจะเปลี่ยนแปลงไมได เชน
โบสถ วิหาร เปนตน นอกจาก ทรงสรางตามพระราชหฤทัย ไมเกรงใจใครจะ ติเตียนแตตั้งพระราชหฤทัยประจงให
งามอยางแปลก มิใชสรางแตพอเปนกิริยาบุญ”

[9]
ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แ ผ
รแพท
ากา
แผนผังของวัดราชโอรสก็เหมือนกับวัดทั่ว ๆ ไป เชน พระอุโบสถ ตั้งอยูกลางพระวิหารพระยืนอยูดานซาย

ัิปญญ
ศาลาการเปรียญ อยูดานขวา พระวิหารพระพุทธไสยาสนอยูดานหลัง แผนผังหลักที่พรอมสรรพ เชนนี้ก็เห็นมีแต



วัดพระเชตุพน ฯ วัดอื่นที่คลายกัน หายาก วัดนี้แมดูจากภายนอกจะเปนแบบจีนทั่วบริเวณก็ตาม แตภายในเปน

อง ภ
ไทยแททุกประการ เชน รูปเสี้ยวกางไทยที่กลาวแลว แมพระเจดียยอมุมไมสิบสองที่เรียงรายอยูภายในรอบวิหาร
ค ร
พระพุทธไสยาสน หรือพระพุทธรูปที่พระดิษฐานอยูภายในพระวิหาร หรือพระอุโบสถ ลวนเปนพุทธศิลปแบบสยาม

ง ค มุ้
แท ไมมีพระพุทธรูปองคใดมีรูปอยางพระพุทธรูปจีน นอกจากพระพุทธรูปหินสลักนูน จากแผนศิลาในเกงจีนเรือไฟ
ก อ
หินหรือที่เรียกกันวา “สุสานพระธรรม” ซึ่งตั้งอยูขางดานทิศเหนือหลังพระอุโบสถเทานั้น

“พระพุทธรูปในวัดราชโอรสทุกองคสรางดวยสวนสัดที่งดงามมาก จะไปเปรียบเทียบกับสมัยใดก็ยาก เพราะทรง


พยายาม ที่จะใหงามเปนพิเศษ”

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชศรัทธาในพระบวรพุทธศาสนาเปนอยางยิ่ง ไดทรงสราง


และปฏิสังขรณพระอาราม ไวเปนจำนวนมากในรัชกาลของพระองค ถึงกับกลาวกันวา ในรัชกาลที่ ๓ ถาใครใจบุญ
ชอบสรางวัดวาอารามก็เปนคนโปรด แตวัดที่ทรง สรางดวยฝมือประณีต มีแบบอยางศิลปกรรมที่แปลก และงดงาม
เปนพิเศษ จนเปนที่เลื่องลือกลาวขวัญกันมาก เห็นจะไมมีวัดไหนเสมอ วัดราชโอรสาราม เหตุนี้ นายมี มหาดเล็ก
บุตรพระโหราธิบดี เมื่อแตงเพลงยาวสรรเสริญพระเกียรติทูลเกลาฯ ถวายพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว
ไดกลาวถึงวัดราชโอรสารามไววา

[10]
“วัดไหนไหนก็ไมลือระบือยศ
เหมือนวัดราชโอรสอันสดใส
เปนวัดเดิมเริ่มสรางไมอยางใคร
ลวนอยางใหมทรงคิดประดิษฐทำ
ทรงสรางดวยพระมหาวิริยาธึก
โอฬารึกพรอมพริ้งทุกสิ่งขำ
ลวนเกลี้ยงเกลาเพราะเพริศดูเลิศล้ำ
ฟงขาวคำลือสุดอยุธยา
จะรำพันสรรเสริญก็เกินสมุด
ขอยกหยุดพองามตามเลขา
กำหนดสรางอาวาสโดยมาตรา
ไ ท ย
ประมาณชานับไดสิบสี่ป
บ ้าน
จึงเสร็จการอาวาสราชโอรส
ะ พ ื้น
อันเลื่องยศเฟองฟุงทั่งกรุงศรี
ย แล
ไท
แลวสมโภชโปรดปรานการทวี


การที่มีเหลือลนคณนาน
ย ์แ
พท
เพลงยาวนี้ไดเนนวาสรางถึง ๑๔ ปจึงสำเร็จ ทั้งนี้คงหมายความวา ตอนที่ทูลเกลา ฯ ถวายเปนพระอาราม

า รแ
หลวงนั้นสวนใหญของวัดได สำเร็จลงแลว เวนแตการกอสรางเล็ก ๆ นอย ๆ เทานั้น ที่ไดสรางเพิ่มเติมเรื่อยมา
าก
จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดเสวยราชยแลวหลายป จึงไดหยุดการกอสราง นับเวลาตั้งแต
ัิปญญ
เริ่มแรกลงมือสรางจนเสร็จบริบูรณคงรวมเวลา ๑๔ ป ดังเพลงยาวเฉลิมพระเกียรติที่นายมีพรรณนาไว

ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

[11]
ในดานจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร เปนตำราการแพทยแผนไทย ๑ ใน ๔ รายการ ของ
ตนสาแหรกของตำราการแพทยแผนไทยดั้งเดิม ลักษณะเปนแผนหินออนสีเทา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดกวางยาว
ดานละ ๓๓ เซนติเมตร ติดประดับอยูที่ผนังดานนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน จำนวน ๔๒ แผน
และผนังศาลารายหนาพระอุโบสถวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร จำนวน ๒ ศาลาๆ ละ ๔ แผน มีจำนวนทั้งหมด
๕๐ แผน ซึ่งจากเดิมมีจำนวน ๙๒ แผน โดยกอปูนเปนกรอบบัวประดับจารึกแตละแผนใหเห็นเดนชัดและงดงาม
ยิ่ ง ขึ้ น การบันทึกเนื้อหาของจารึกตำรายาวั ด ราชโอรสารามราชวรวิ ห าร ใช อั ก ษรไทยบั น ทึ ก เนื้ อ ความเพี ย ง
ดานเดียว โดยจัดเรียงบรรทัดทางมุมแหลมทุกแผน สวนใหญบันทึกเนื้อความแผนละ ๑๗ บรรทัด ยกเวน ๓ แผนที่
เปนแผนปลิงและแผนนวด มักมีจำนวนบรรทัดนอยกวา เพราะวาดโครงรางมนุษยกอน แลวกำหนดจุดสำคัญแตละ
จุด ทั้งซีกซายและซีกขวาของรางกาย สำหรับรักษาโรค โดยลากเสนโยงจากจุดเหลานั้นออกมาบันทึกคำอธิบาย
วิธีการรักษาในบริเวณที่วางดานซายและขวา ตามลำดับบรรทัด ซึ่งแผนที่ ๑๖ เปนแผนปลิงคว่ำ มีจำนวนบรรทัด
๑๕ บรรทัด และแผนที่ ๑๙ แผนปลิงหงาย มีจำนวนบรรทัดเพียง ๑๓ บรรทัด เทานั้น เนื้อหาในจารึกตำรายา
ไ ท ย
้าน
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กลาวถึงเรื่อง โรคเด็ก โรคไขตางๆ โรคสำหรับบุรุษ โรคลม โรคตา โรคเลือด

พ ื้น
โรคระบบทางเดินปสสาวะ โรคปวง แผนปลอยปลิงหงายและคว่ำ และแผนนวดคว่ำ เปนตน และตอมานายศุภชัย

แล
ติยวรนันท และศ.ดร. ชยันต พิเชียรสุนทร,ราชบัณฑิต ไดศึกษาและวิจัย เรื่อง “ศิลาจารึกตำรายาวัดราชโอรสาราม

ไท
ราชวรวิหารที่สูญหาย” จำนวน ๕ แผน โดยมีแบบคัดลอกเหมือนศิลาจารึกจริง คำจารึกที่ถอดอักษรดวยอักษรไทย

ผ น
ปจจุบัน กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย จึงขอ
ย ์แ
พท
ความอนุเคราะหภาพถายศิลาจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหารที่สูญหาย จำนวน ๕ แผน (แผนที่ ๕๑-

รแ
๕๕) จากศ.ดร. ชยันต พิเชียรสุนทร,ราชบัณฑิต มาจัดพิมพเปนชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

าก
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร โดยตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษคุมครองภูมิปญญาการแพทย


ั ญ
แผนไทย ในฐานะเปนภูมิปญญาการแพทยแผนไทยของชาติ
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิิปหาร ที่นำมาปริวรรตจัดพิมพในครั้งนี้ เปนตำราที่เปนองคความรูเกี่ยว
ูม
กับการแพทยแผนไทย เนื่องจากกรมพังฒภนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกพิจารณาเห็นวา จารึกตำรา
ยาวัดราชโอรสฯ เปนมรดกทางภูคมริปอญญาอันเปนองคความรู ที่บรรพบุรุษไดจารึกไวใหอนุชนรุนหลังไดศึกษา อีกทั้ง
ุ้ม ่ง ถึงแมจะมีการจัดพิมพเปนหนังสือหลายฉบับ ตางกรรม ตางวาระ และจารึก
จะเปนการอนุรักษตนฉบับงอีคกทางหนึ
กอ ไมสามารถจะนำมาครบทุกแผนได เนื่องจากบางสวน สูญหายไป นอกจากนั้น
จริงจะมีการชำรุดไปตามกาลเวลา
ลักษณะทางกายภาพของจารึกที่เหลืออยูยังเปนอุปสรรคตอการปริวรรตทั้งเสนอักษร ไมชัดเจน ลบเลือน มีรอย
ขูดขีดจากวัสดุตางๆ ตลอดถึงแผนจารึกแตกราวหรือบิ่นแหวงบางสวน ผูปริวรรตไดนำมารวบรวมไว โดยไมไดยึด
เนื้อหาหมวดหมู แตยึดสถานที่ตั้งเปนหลัก การจัดลำดับเรื่องจะจัดตามแผนจารึกที่ติดประดับอยูที่ผนังศาลาราย
หนาพระอุโบสถ ดายซายไปขวา จำนวน ๒ ศาลาๆ ละ ๔ แผน และที่ระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน เรียงไป
ทางขวา วนรอบพระวิหาร จำนวน ๔๒ แผน

[12]
ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

[13]
ในการจัดทำชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ประกอบดวย
๑. ถอดความตัวอักษรไทยโบราณจากจารึก เปนการถายถอดตัวอักษรวิธีแบบโบราณตามตนฉบับเดิม
๒. จัดทำคำอานจารึก ตามคำศัพทสมัยปจจุบันตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อ
จะไดสะดวกสำหรับผูอานที่ตองการเขาถึงสาระเกี่ยวกับตำรายาเปนประการสำคัญ สามารถอานเขาใจเนื้อหาและ
นำไปใชประโยชนได
๓. คำศัพทโบราณที่ไมสามารถสืบคนหาความหมายได จะคงไวตามอักขรวิธีเดิม และนำไปสูการสังคายนา
อนุรักษ คุมครอง และใชประโยชนอยางเหมาะสมในโอกาสตอไป

ลักษณะอักขรวิธีและเครื่องหมายโบราณในจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
เนื่องจากการเขียนหนังสือของคนไทยสมัยกอนที่มิไดรับราชการในกรมอาลักษณ มักมีลักษณะเฉพาะเปน
ไ ท ย
เอกลักษณของแตละบุคคล และเปนยุคสมัยที่คนไทยยังไมมีการประกาศใชพจนานุกรมเพื่อกำหนดหลักเกณฑเปน
บ ้าน
พ ื้น
มาตรฐานใหสะกดคำที่มีความหมายเดียวกันเหมือนกันทั่วประเทศ ดังนั้นการผสมคำเพื่อการอานจึงเปนไปอยาง

แล
อิ ส ระ มี รู ป แบบแตกต า งกั น ตามแตส ำนั ก ที่ เรี ย นแต ล ะแห ง นิ ย ม หากสำนั ก เรี ย นนั้ น อยู ใ กล ค วามเจริ ญ เช น

ไท
พระราชวัง หรือวัดในกรุง การเขียนหนังสือก็จะมีแบบแผนที่ชัดเจนและถูกตองมากกวา๑ ดวยเหตุดังกลาวการใชรูป

์แ ผ
อักษรเขียนคำ เพื่อสื่อความหมายใหอานออกเสียงไดเขาใจตามภาษาพูดที่ใชกันในทองถิ่น จึงมีความสำคัญมาก

พท
ทำใหเกิดผลกระทบตอการใชรูปพยัญชนะ รูปสระสำหรับสะกดคำไดหลากหลายรูปแบบ แมจะมีความหมายเชน

รแ
เดียวกันก็ตาม เชนคำวา ฤษดวง ฤศดวง ริดสีดวง เปนตน เห็นไดชัดเจนวา การเขียนหนังสือของคนไทยสมัยกอน

าก
เขียนตามเสียงพูด เพื่อใหสามารถอานออกเสียง และเขาใจความหมายไดโดยไมใหความสำคัญกับวิธีการเขียน

ัิปญญ
นอกจากนั้นสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ยังไดอธิบายถึงลักษณะการเขียน
ขอความลงในหนังสือสมุดไทยวามี ๓ ลักษณะ๒ คือ
ภ ม

ร อง
๑. ลักษณะการเขียนหนังสืออยางอาลักษณ ไดแก หนังสือที่ผูเขียนเปนผูมีความรู ฝกหัดงานเขียนจาก

ค มุ้
ขาราชการในกรมอาลักษณหรือจากผูรูหลัก ผูรูเหลานี้จะมีความรูความสามารถในทางอักษรศาสตร จึงเขียน

ก อ
หนังสือไดถูกตอง สวยงาม เปนระเบียบตามแบบฉบับ
๒. ลักษณะการเขียนอยางหนังสือเสมียน ไดแก หนังสือที่ผูเขียนหัดเขียนแตหนังสือหวัด เพื่อการเขียนใหเร็ว
และขอความไมตกหลนเปนหลัก สวนอักขรวิธีนั้นไมถือเปนเรื่องสำคัญ เนนเฉพาะเพื่อการอานเขาใจในความหมาย
ของขอความที่ตองการสื่อสารเทานั้น
๓. ลักษณะการเขียนอยางหนังสือหวัด ไดแก หนังสือที่เขียนใหมีลักษณะคลายตัวบรรจง แตไมกวดขันใน
ทางอักษรศาสตร ไมมีรูปแบบแหงการเขียนอันเปนแบบฉบับที่แนนนอน มีความประสงคเพียง เพื่อใหสามารถอาน
ไดรูเรื่องเทานั้น การเขียนเชนนี้ จึงมีทั้งการเขียนตกหลน และเพิ่มเติมขอความตามความประสงคของผูเขียนเปน
สำคัญ

๑ กองแกว วีระประจักษ, “ลักษณะอักขรวิธีตนฉบับหนังสือกฎหมายตราสามดวง”, กฎหมายตราสามดวงฉบับราชบัณฑิตยสถาน,


กรุงเทพ : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐, หนา ๒๗.
๒ “สาสนสมเด็จเลม ๒๖”, กรุงเทพ : คุรุสภา, ๒๕๒๕, หนา ๑๕๘-๑๖๒

[14]
อักขรวิธีพิเศษ ที่ปรากฏในตนฉบับมีลักษณะดังนี้
1. มีการเขียนรูปอักษรใหเชื่อมตอกัน เพื่อใหเขียนไดรวดเร็ว เพราะไมตองยกอุปกรณการเขียนหลายครั้ง หากเปน
ตัวอักษรที่มีหางยาวก็จะมาเขียนเพิ่มเติมภายหลัง เชน

= ฝน

= มะขามเปยก

= รัตตะปตตะ

= หญาปากควาย
ไ ท ย
บ ้าน
ื้น
2. เขียนคำตางๆ ไมมีกฎเกณฑ แตสามารถเขียนใหสื่อความหมายไดโดยไมคำนึะงพถึงความถูกตองของรูปศัพท เชน
ย แ ล
เมดในมะนาว เขียนเปน เม็ดในมะนาวนไท
มหาหิงคุ์แ ผ
มหาหิง ”
ริพ

ดสีทดวง
” ารแการบูร
ฤษดวง ”
การะบูน
า ก บริโภค
บริโภก ญ กำแพงเจ็ดชั้น
กำแพงเจดชั้นิปัญ ”

สะฆาน ภูม
รอ ง ” สะคาน

บระเพช
ุ้มสทาน
” บอระเพ็ด

ง ค ” สะทาน
กอ ปะสาวะสรรนิบาท


ปสสาวะ
สันนิบาต
ใบซมปอย ” ใบสมปอย
สมูลแวง ” สมุลแวง
ขั้ว ” คั่ว
ทาว ” เทา
แซก ” แทรก
กูมารกูมารี ” กุมารกุมารี
ญาหนวดแมว ” หญาหนวดแมว
สีสะ ” ศีรษะ

[15]
3. พยัญชนะตนบางตัว เชน ด ท ส อาจมีการใชตัว ต เขียนแทนตามความนิยมของผูบันทึก เชน
ตะโพก - สะโพก

4. ใชไมมลาย ในคำที่เขียนดวย สระไอ และ ใอ เชน


รังปลวกไตดิน - รังปลวกใตดิน
ไบ - ใบ
กระทุมไหญ - กระทุมใหญ

5. ไมมีการเขียนไมไตคู (–็) แทนสระเสียงสั้นลดรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด เชน


ขี้เหลก - ขี้เหล็ก
ไ ท ย
้าน
ผักเปด - ผักเปด
ฝเอน - ฝเอ็น
ื้นบ
เจบปวด - เจ็บปวด
ละ พ
คางแขง - คางแข็ง
ย แ
เขาเยน - ขาวเย็น
น ไท
มเรง - มะเร็ง
ย ์แ ผ
เบญจกเมง -
แ พท
เบญจกะเม็ง

ากา
ัิปญญ
เครื่องหมายวรรคตอนโบราณ
ขนบในการบันทึกขอมูลของบรรพชนไทย มักใชเครื่องหมายโบราณแบบตางๆ แสดงหนาที่และฐานะของ
ภ ม

อง
ขอความที่มีเครื่องหมายตางๆ ประกอบอยูดังนี้

ค ร
1. ๏ เรียกวา ฟองมัน ฟองดัน ตาโค หรือ ตาไก ใชสำหรับเริ่มตนเรื่อง หรือขึ้นตนขอความใหม ไดทั้งที่เปน
วรรค บรรทัด หรือบท เชน
ง ค มุ้
ก อ
“๏ สิทธิการิยะ ...”
“๏ แผนปลิงคว่ำ ๚ะ”
“๏ แผนปลิงหงาย ๚ะ”
“๏ แผนนวดคว่ำ ๚ะ”

2. ๚, ฯ เรียกวา อังคั่น ใชสำหรับคั่นขอความแตละตอน หรือแตละหัวขอ และใหจบขอความยอยก็ได เชน


“ ...ใหแกดูตามบุญ ๚ ”
“...แกตานโจรตกเสมหะโลหิตก็หาย ๚ ”

3. ๛ เรียกวาโคมูตร และ ๚ะ๛ อังคั่น วิสรรชนีย โคมูตร ใชสำหรับแสดงวา จบขอความตอนนั้น บรรทัด


นั้น หรือ วรรคนั้นเรื่องนั้น เชน

[16]
“...แกจุกเสียด แกฤษดวงสำหรับอยูเพลิงมิได ดีนักแล ๚ะ๛
“...แกหืดนั้นก็หายมามาก วิเสศนัก ๚ะ๛

4. เรี ย กว า เครื่ อ งหมายป ก กา ใช ป ระกอบนามบุ ค คล คำศั พ ท หรื อ ตั ว เลข เพื่ อ ประหยั ด พื้ น ที่ ใ น
การเขียนขอความที่ซ้ำกับขอความขางหนา เชน
เนื้อ
“ ...ใสตากัดตอ
สาย

แพะ
“... กดูก

งูเหลือม
ไ ท
ขอด
บ ้าน
“...แลเปนเหนบไปทังตัว แลเสน
ตึง
ะ พ ื้น
ย แล
เลา
น ไท
“...ครึ่ง ตม ๓ เอา ๑ ใหกิน
น้ำ
ย ์แ ผ
พ ท ่งน้ำหนักแบบไทยโบราณ โดยเฉพาะสำหรับ

ร ้งสองสิ่งละ ๑ เฟอง
5. + เรียกวา ตีนครุ หรือ ตีนกา ใชสำหรับเขียนแสดงมาตราชั
เครื่องยาไทย เชน สีเสียดทังสอง ๑ อานวา สีเสียาดทั
า ก

ิูมปัญ ้น ยังมีสาระนารูอีกมากที่ปรากฏเปนหลักฐานอยู สันนิษฐานวา

มรดกภูมิปญญาการแพทยแผนโบราณนั

รแอละความเขาใจในอักษรวิธีโบราณเปนอยางดีและมีการศึกษาวิจัยอยางละเอียดแลว
ตองเปนศาสตรที่ใชไดสัมฤทธิ์ผลในสั งคมมาชานานแลว จึงมีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษรเพื่อสืบตอความรู

ุ้มอยางมีประสิทธิภาพในอนาคตได
เหลานั้นใหคงอยู หากมีความรู
ง ค
กอ
อาจนำกลับมาใชในสังคมได

[17]
¾ÃÐÃÒª»ÃÐÇѵÔ
¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃйÑè§à¡ÅŒÒ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มีพระนามเดิมวา หมอมเจาชายทับ เสด็จพระราชสมภพในสมัยรัชกาล


ที่ 1 เมื่อ วันจันทร แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปมะแม เวลาค่ำ 10.30 นาฬกา (สี่ทุมครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม
พ.ศ. 2330 เป น พระราชโอรสในพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล า นภาลั ย และเจ า จอมมารดาเรี ย ม
ไ ท ย
้าน
ภายหลังดำรงพระยศเปนสมเด็จพระศรีสุราลัย พระบรมราชชนนีพันปหลวงในรัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จ พระนั่ง
เกลาเจาอยูหัว บ
ื้น ปราช กรมพระราชวัง
ล ะ พ

เมื่อป พ.ศ. ๒๓๔๙ สมเด็จพระบรมชนกนาถทรงไดรับการสถาปนาขึ้นเปน พระมหาอุ
บวรสถานมงคล จึงไดรับเลื่อนพระยศตามพระบิดาขึ้นเปน พระเจาลูกยาเธอ
ไท ย พระองคเจาชายทับ ตอมาเมื่อ
ผ น าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระอัยยิกา
ธิราชจึงโปรดเกลาฯ จัดพิธีผนวชให ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามย์แและทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จออกใน
พระชนมายุครบผนวชตามพระราชประเพณี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ

พิธีผนวชครั้งนี้ดวยแมจะมีพระชนมายุถึง ๗๒ พรรษาแลวก็พ ท เมื่อทรงผนวชแลวพระองคก็เสด็จไปจำพรรษา


า รแ ตาม
ณ วัดราชสิทธาราม
า ก
ตอมาในป พ.ศ. ๒๓๕๖ ขณะพระชนมายุญ
ิูมปาัญลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ดวยมีพระปรีชาสามารถ ในหลาย
ได ๒๖ พรรษาสมเด็จพระบรมชนกนาถทรงสถาปนาขึ้น ดำรง
พระยศเจาตางกรม มีพระนามกรมวา พระเจ

แขนงวิ ช า ไม ว า จะเป น ด า นพระพุ ทงธศาสนา

ร อั ก ษรศาสตร รั ฐ ประศาสนศาสตร นิ ติ ศ าสตร สถาป ต ยกรรม
โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานพาณิคชยศาสตรและเศรษฐศาสตร ทำใหเปนที่วางพระราชหฤทัยจากสมเด็จพระบรม
ง ค ุ้ม

ชนกนาถ ใหกำกับราชการโดยดำรงตำแหน งสำคัญๆ ในกรมตางๆ เชน กรมทา กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมตำรวจ
และยังทรงทำหนาที่พกิจารณาพิพากษาคดีความแทนพระองคอยูเสมอ จึงทำใหทรงรอบรูงานราชการตางๆ ของแผน
ดินเปนอยางดี
เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล า นภาลั ย เสด็ จ สวรรคต และมิ ไ ด ท รงมอบพระราชสมบั ติ ใ ห แ ก
พระราชโอรสพระองคใด เจานายและขุนนางชั้นผูใหญจึงประชุมหารือแลวลงมติกันวา ควรถวายพระราชสมบัติให
แกพระเจาลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร สืบราชสมบัติแทน เปนพระมหากษัตริยรัชกาลที่ ๓ แหงราชวงศจักรี
ดวยทรงมีความรูความชำนาญทางดานการปกครองเปนอยางดี เนื่องดวยสนองพระเดชพระคุณในรัชกาลสมเด็จ
พระพุทธเลิศหลานภาลัยมาเปนเวลานาน และทรงออกพระนามเต็มตามพระสุพรรณบัฏ วา “พระบาทสมเด็จ
พระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ
องคปรมาธิเบศร ตรีภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวไสย สมุทัยดโรมน สากลจักรวาลาธิเบนทร สุริเยนท
ราธิบดินทร หริหรินทราธาธิบดี ศรีสุวิบูลย คุณอถพิษฐ ฤทธิราเมศวร ธรรมิกราชาธิราช เดโชชัย พรหมเทพาดิเทพ
นฤบดินทร ภูมินทรปรมาธิเบศร โลกเชษฐวิสุทธิ มงกุฏประเทศคตา มหาพุทธางกูร บรมบพิตร พระพุทธเจาอยูหัว”
[18]
ขึ้นเสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปวอก ตรงกับวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ขณะนั้นมี
พระชนมายุ ๓๗ พรรษา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มิไดทรงสถาปนาผูใดขึ้นเปนพระบรมราชินี คงมีแต
เพียงเจาจอมมารดาและสนมเอกเทานั้น และมีพระราชโอรสกับพระราชธิดารวมทั้งสิ้น ๕๑ พระองค โดยประสูติ
กอนบรมราชาภิเษก 38 พระองค และประสูติหลังจากบรมราชาภิเษก 13 พระองค
ภายหลั ง พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว ได เ ฉลิ ม พระปรมาภิ ไ ธยใหม เป น “พระบาทสมเด็ จ
พระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร สยามินทรวิโรดม บรมธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระนั่งเกลา
เจาอยูหัว” ออกพระนามโดยยอวา “พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว”
พระราชกรณียกิจดานเศรษฐกิจในขณะที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครองราชยสมบัติ
เปนเวลาที่ประเทศไทยตกอยูในภาวะยากจนเปนอยางมาก เนื่องจากเมื่อครั้งสถาปนากรุงรัตนโกสินทรตองใชเงิน


จำนวนมหาศาลเพื่อทำนุบำรุงบานเมืองขึ้นมาใหม ประกอบกับการที่กรุงศรีอยุธยาสูญเสียทรัพยสินจากการพายแพ
ไ ท
้าน
สงคราม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึงทรงตั้งระบบการจัดเก็บภาษีขึ้นหลายอยางเพื่อหาเงิน เขาทอง

ื้น กขาดไปเรียกเก็บภาษี จาก
พระคลังหลวง เชน จังกอบ อากร ฤชา สวย ภาษีเงินคาราชการจากไพร เงินคาผูกปขอมือจีน เปนตน
ะ พ
แลลได การเก็บภาษีดวยวิธีนี้ทำใหเกิด
การเก็บภาษีอากรนี้ทรงตั้งระบบการเก็บภาษีโดยใหเอกชนประมูลรับเหมาผู
ราษฎรเอง เรียกวา เจาภาษีหรือนายอากร ซึ่งสวนใหญชาวจีนจะเปนผูปยระมู
ผลดีหลายประการ กลาวคือนอกจากจะสามารถเก็บเงินเขาพระคลันงได ไทสูงแลวยังสงผลดีดานการเมือง คือ ทำให
์ยแผตริยและมีความผูกพันกับแผนดินไทยมากขึ้น
ท าขายกับชาวตางชาติ โดยไทยไดสงเรือสินคาเขาไป
ชาวจีนที่เปนเจาภาษีนายอากรนั้น มีความจงรักภักดีตอพระมหากษั
นอกจากนี้รายไดของรัฐอีกสวนหนึ่งยังไดมาจากการค แ พ
ร จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงสนพระราชหฤทัยและ
ก า
แตาครั้งดำรงยศเปนพระเจาลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร จนสมเด็จ
คาขายในประเทศตางๆ มากมาย เนื่องจากพระบาทสมเด็
เชี่ยวชาญการสงเรือสินคาออกไปคาขายมาตั้งญ
ิูมปัญาสัว” แหงกรุงสยาม ทรงแตงเรือสำเภาคาขาย พรรณนาไดดังนี้

พระบรมชนกนาถตรัสเรียกพระองควา “เจ

รอ เจาพระยาแมน้ำ

้ ุ ค
ค สำเภาเทศไทยแลนลอง
โคลงสี่สุภาพ เนืองนอง

ก อง ลวงล้ำ
ภาษีชักสำรอง คลังแนน เงินตรา
หลวงราษฎรกลาวถอยซื้อ “เซงลี้ฮอเหลือ”
กาพยยานีสิบหก เรือคา มาหลายอยาง ตกแตงบาน นานสัญจร
สำเนา แลนตะลอน กินนอนฟอน เคลาคลื่นลม
แจงจัด คัดสินคา ตั้งราคา ใหเหมาะสม
ซื้อถูก แพงระดม โสมมหาก มากกำไร
ผูกมิตร ชิดไมตรี เกิดศักดิ์ศรี ไวใจได
เกียรติศักดิ์ รักษาไว สำคัญให ไดเชื่อถือ
สินคา ควรมิควร สิ่งของลวน ชวนใหซื้อ
“เจษฎาบดินทร” นามระบือ วาทานคือ “เจาสัว” เอย

[19]
และเมื่อพระองคเสด็จขึ้นครองราชยสมบัติก็ไดทรงสนับสนุนการคากับตางประเทศมากขึ้น โดยโปรดเกลาฯ ใหตอ
เรือกำปนเพื่อใชในการคาจำนวนมาก รายไดจากการคาสำเภานี้นับเปนรายไดสำคัญของประเทศในขณะนั้น
โดยเฉพาะอยางยิ่งภายหลังการทำสนธิสัญญาเบอรนี เมื่อ พ.ศ. 2369 ที่ไทยอนุญาตใหชาวตางชาติเขามาคาขาย
ภายในประเทศอยางเสรี ยกเวนสินคาประเภทขาว อาวุธปน และฝน และ 6 ปตอมาก็ไดเปดสัมพันธไมตรี
กับสหรัฐอเมริกาและมีการทำสนธิสัญญาตอกันใน พ.ศ. 2375 นับเปนสนธิสัญญาฉบับแรกที่สหรัฐอเมริกาทำกับ
ประเทศทางตะวันออก สงผลใหไทยไดผลประโยชนทางเศรษฐกิจอยางมาก
เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศมีเสถียรภาพมั่นคงและรัฐมีรายไดมากขึ้น รายไดของแผนดินในรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวนี้จึงสูงขึ้นมาก โดยบางปมีจำนวนมากถึง ๒๕ ลานบาท เมื่อพระบาทสมเด็จ
พระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จสวรรคต เงินในทองพระคลังหลวงซึ่งรวมถึงเงินคาสำเภาที่เหลือจากการจับจายของแผน
ดิน มี ๔๐,๐๐๐ ชั่ง และดวยความที่พระองคมีพระราชหฤทัยหวงใยในดานการสรางและบูรณปฏิสังขรณ วัดวา
อารามตางๆ กอนที่จะเสด็จสวรรคต จึงทรงมีพระราชปรารภใหแบงเงินสวนนี้ไปทำนุบำรุงรักษาวัดที่ชำรุดเสียหาย
ไ ท ย
บ ้าน
และวัดที่สรางคางอยู ๑๐,๐๐๐ ชั่ง สวนที่เหลืออีก ๓๐,๐๐๐ ชั่ง ทรงโปรดเกลาฯ ใหรักษาไวเปนคาใชจายสำหรับ
แผนดินตอไป
ะ พ ื้น
เงินจำนวนนี้กลาวกันวาพระองคทรงโปรดเกลาฯ ใหใสถุงแดงเอาไว ซึแ่งตลอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
ไท ายงประเทศ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖)
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงนำมาใชจายเปนคาปรับในกรณีพิพาทระหว
ผ น ว พระองคก็ยังทรงมีสวนชวยเหลือ
์แ
ประเทศใหรอดพนวิกฤตการณทางการเมืองระหวางประเทศที่เกิทดขึย้น ดวยเงินถุงแดงที่พระองคทรงเก็บสะสมไว
จะเห็นไดวาแมพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจะเสด็จสวรรคตไปแล

ร แ พ
ดังปรากฏในพงศาวดาร ดังนี้
า ก า
เงินถุงแดงแผลงฤทธิ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖)

ั ญ

ู ิป่งเศสคลั่งครั้ง “รอยสิบสอง”
ฝรั่งยิงอเลืงอภดไทยนอง
เรือรบฝรั

ค ฝรั่งตามครรลอง
ทวมทน

ง ม
้ ุ
ค ไอฝรั่งบังคับปลน
ไทยสู การตอ สูนา

ก อ ปรับใชเงิน นอ
“เงินถุงแดง” หอไว เมื่อครั้ง “นั่งเกลา”
ตรัสสั่งใหระวัง เมื่อใช
เก็บเผื่อหากชาติพลั้ง หยิบยื่น ใชเอย
จริงดั่งดำรัสไว ชดใช “รอยสิบสอง”
พระราชกรณียกิจดานการปกครองที่สำคัญของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว คือ ทรงเอาพระทัยใส
ดูแลทุกขสุขของราษฎร ดวยมีพระบรมราชวินิจฉัยวา ไมทรงสามารถจะบำบัดทุกขใหราษฎรได หากไมเสด็จ
ออกนอกพระราชวัง เพราะราษฎรจะรองถวายฏีกาไดตอเมื่อเวลาพระคลังเสด็จออกนอกพระราชวังเทานั้น
ทรงโปรดเกล า ฯ ให น ำกลองใบใหญ ที่ เจ า พระยาพระคลั ง นำมาถวายไปตั้ ง ไว ที่ ทิ ม ดาบ กรมวั ง ลั่ น กุ ญ แจ
พระราชทานนามวา “วินิจฉัยเภรี” สำหรับใหประชาชนที่ตองการรองทุกขถวายฎีกามาตี แลวกรมวังก็จะไขกุญแจ
ให เมื่อตีกลองแลวตำรวจเวรก็จะรับตัวมาสอบถามเรื่องราวแลวนำความขึ้นกราบบังคมทูล จากนั้นจึงมอบหมาย

[20]
ใหขุนนางคอยดูแลชำระความ และคอยสอบถามอยูเสมอมิใหขาด ทำใหขุนนางไมอาจหลีกเลี่ยงตอหนาที่ได
ประชาชนจึงไดรับผลประโยชนเปนอยางมาก
พระราชกรณียกิจดานการปองกันประเทศ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว สงคราม
ระหว า งไทยกับพมาไดเบาบางและสิ้น สุ ด ลง เพราะพม า ติ ด พั น การทำสงครามอยู กั บ อั ง กฤษ แต ถึ ง กระนั้ น ก็
ยังมีสงครามเกิดขึ้นหลายครั้งในหลายรัชกาลนี้ โดยสงครามที่สำคัญมี ๒ ครั้ง ไดแก ๑. พ.ศ. ๒๓๑๖ สงครามกับ
เจาอนุวงศ แหงเมืองเวียงจันทน เดิมทีเมืองเวียงจันทนตกเปนเมืองขึ้นของไทยตั้งแตสมัยกรุงธนบุรี แตในขณะนั้น
เจาอนุวงศเริ่มมีอำนาจมากขึ้น จึงถือโอกาสชวงเปลี่ยนแผนดิน กอกบฏยกกองทัพเขามาตีไทยเพื่อประกาศตน
เปนอิสระ ทวาถูกกองทัพของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวขับไลออกไปไดหมดสิ้น ดินแดนแควนลาว
จึงยังคงอยูในอำนาจของไทยตอไปจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ๒. พ.ศ. ๒๓๗๖ –
พ.ศ. ๒๓๙๐ สงครามกับญวน สงครามครั้งนี้กินเวลายาวนานถึง ๑๕ ป เริ่มจากป พ.ศ. ๒๓๗๖ ญวนที่เมืองไซงอน

ไ ท
กอกบฏขึ้นพระเจาเวียดนามมินมาง จึงตองทำสงครามปราบปรามกบฏ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงมีย
บ ้าน
พระราชดำริวาเปนโอกาสที่จะแยงชิงเขมรกลับคืน และปราบญวนใหหายกำเริบ จึงโปรดเกลาฯ ใหเจาพระยา

ะ พ ื้น
บดินทรเดชาเปนแมทัพยกไปตีเมืองเขมร หัวเมืองญวนไปจนถึงไซงอน และโปรดเกลาฯ ใหเจาพระยาพระคลัง (ดิศ)
แล
ยกทัพเรือไปตีหัวเมืองเขมรและญวนตามชายฝงทะเล สงคราม ยืดเยื้อมาเปนเวลานานจนเปนอันเลิกรบ แตไทย

ก็ไดเขมรมาอยูในปกครองอีกครั้ง
น ไท
พระราชกรณี ย กิ จ ด า นความสั ม พั น ธ กั บ ต า งประเทศเหตุผก ารณ ค วามสั ม พั น ธ กั บ ต า งประเทศในรั ช สมั ย
ย ์แ
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวที่สำคัญมีดังนี้
พ ท

๑. สัมพันธไมตรีกับอังกฤษ ในวันที่ ๒๐ มิาถรุนายน พ.ศ.๒๓๖๙ ไทยไดทำสนธิสัญญาทางพระราชไมตรี
และพาณิชยกับอังกฤษ ชื่อวา สนธิสัญญาเบอรนากี เนื่องจากมีนายเฮนรี่ เบอรนี เปนผูทำการเจรจากับรัฐบาลไทย
ัิปญญใชระยะเวลา ๕ เดือน ประกอบดวยสนธิสัญญาทางพระราชไมตรี


เกี่ยวกับปญหาการคาและการเมืองในมลายู
ง ภ
รอ ยรัตนโกสินทร
๑๔ ขอ และสนธิสัญญาทางการพาณิ ชยแยกอีกฉบับรวม ๖ ขอ สนธิสัญญาเบอรนี ถือเปนสนธิสัญญาฉบับแรก
ที่ไทยทำกับประเทศตะวันตกในสมั

๒. สัมพันธไมตรีคกุ้มับสหรัฐอเมริกา ความสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯ เริ่มจากการทำการคาและมีการ
ทำสนธิสัญญาระหว อา

ก น โดยลงนามเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๗๕ มีนายเอ็ดมันส โรเบิรต เปนทูตเจรจาใช
งกั
ระยะเวลาในการเจรจา ๒๒ วัน โดยมีขอตกลงทางการเมืองและการคาอยูในฉบับเดียวกัน ๑๐ ขอ สำหรับบรรดา
ประเทศตางๆ ในเอเชียนั้น ประเทศจีนนับเปนประเทศที่มีความสัมพันธอันดีกับไทย ทั้งทางดานการทูตและ
การคา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไทยไดจัดสงราชทูตอัญเชิญพระราชสาสนและเครื่องราช
บรรณาการไปเจริญพระราชไมตรีกับประเทศจีนใน พ.ศ. ๒๓๖๘ การคาระหวางไทยกับจีนดำเนินไปไดดวยดี ตลอด
สมัยรัชกาลที่ ๓
พระราชกรณียกิจดานการศึกษาในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนยังไมมีการจัดตั้งโรงเรียนขึ้น ดังนั้น วัดจึงมี
บทบาทเปนสถาบันทางการศึกษาที่สำคัญมาก เชนเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยาที่มีพระสงฆเปนครูสอนหนังสือ
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดทรงสนับสนุนการศึกษาโดยโปรดเกลาฯ ใหผูมีความรูนำตำราตางๆ จารึก
ลงบนศิลาประดับไวตามฝาผนังอาคารตางๆ ของวัดราชโอรสาราม วัดสุทัศนเทพวราราม โดยเฉพาะอยางยิ่งที่
วั ด พระเชตุ พ นวิ ม ลมั ง คลาราม ความรู ต า งๆ ที่ โ ปรดเกล า ฯ ให จ ารึ ก ไว มี ทั้ ง วิ ช าอั ก ษรศาสตร แพทยศาสตร

[21]
พุทธศาสตร และโบราณคดี ตำราโคลง ฉันท กาพย กลอน ตำรายา ตำราโหรศาสตร พรอมกันนั้นก็โปรดเกลาฯ ให
ปนรูปฤๅษีดัดตน แสดงทาบำบัดโรคลม กับคำโคลงบอกชนิดของลม ตั้งไวในศาลารอบเขตพุทธาวาส เพื่อให
ประชาชนศึกษาความรูตางๆ ไดอยางแพรหลายและเทาเทียมกัน จนอาจเรียกไดวาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
เปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของเมืองไทย
พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล า เจ า อยู หั ว เสด็ จ สวรรคต ณ พระที่ นั่ ง จั ก รพรรดิ พิ ม าน องค ข า งตะวั น ตก
ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๔ รวมพระชนมายุได ๖๔ พรรษา ๒ วัน รวมระยะเวลา
ที่ทรงครองสิริราชสมบัติ ๒๖ ป ๘ เดือน ๑๒ วัน พระองคทรงมีพระปรีชาสามารถในศาสตรตางๆ หลายแขนง
โดยเฉพาะอยางยิ่งในดาน พาณิชยศาสตรและเศรษฐศาสตร เนื่องจากเปนพระราชโอรสพระองคใหญที่ทรง
พระปรีชาสามารถ ฉลาดหลักแหลมพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยจึงโปรดเกลาฯ ใหเขารับราชการตาง
พระเนตรพระกรรณมาตั้งแตยังทรงดำรงพระยศเปนพระเจาลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ครั้นเสด็จขึ้นครอง
ราชยสมบัติพระองคก็ไดทรงประกอบพระราชกรณียกิจดานตางๆ นำความมั่นคงกาวหนามาสูประเทศนานัปการ
ไ ท ย
และดวยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณปวงชนชาวไทยจึงรวมใจกันสรางพระบรมราชานุสาวรียขึ้นในบริเวณลาน
บ ้าน
เจษฎาบดินทร ถนนราชดำเนิน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แ ผ
รแ พท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

[22]
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 1

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

1
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 1

๑. ๏ ลมอนึ่ง
๒. จตุบาทวาโยเกิดในคอนั้น
๓. เปนคางทูมหายใจขัดอก ลมนี้เกิดแกใคร
๔. ๒ ป ๘ เดือน ใหเสียตาเอานอไมคาเตา ๑ การพลู ๑
๕. พัดแพวแดง ๑ ดีปลี ๑ ลูกจัน ๑ ดอกจัน ๑ พริกไทย ๑ เสมอภาค
ไ ท ย
๖. ทำผงลายน้ำผึ้งกินหาย๚ ลมหมูหนึ่งชื่ออัควารันตะ ใหเจบทั่วสาระภางมักให้าหนน (าว )

้ ื บ
๗. มักใหพรึงทังตัวใหคันทังตัวถาจะแกเอาตาเสือตน ๑ ผักเบี้ยหนูะพ
ย แล ๑ พุทรา ๑ กระทุมนา ๑

นไท ำผึ้งปนเปนลูกกอนกินหายฯ
หอมแดง ๑
๘. พรัรผักกาด ๑ แทงทวย ๑ โพพาย ๑ ลูกจัน ๑ ดีปลี ๑ผตำผงลายน้
ย์แ คันหนาตากินอาหารมิได เอาบุกหัวใหญ
๙. ลมหมูหนึ่งชื่อภูมรานี้เกิดในหัวใจขึ้นมาถึงสีสะ ทแลให
รแ พ
มาขุดเปนหลุมเอาเลาทนา
า กา

ลินทะเล ๑ เสมอภาคตำผงไสลิปงหััญว
๑๐. ลู ก จั น ๑ ดอกจั น ๑ ดองดึ ง ๑ สค า น ๑ ดี ป ลี ๑ กระวาน ๑ บั ต ะบุ ด ๑ ชั น ตะเคี ย น ๑

ภ ม

ง สุกแลวกินภอสมควรหาย๚ ลมหมุหนึ่งชื่อสัพวาโย ใหจับเปน
ร อ
๑๑. บุ ก ผนึ ก ให มั่ น มิ ด ไฟแกลบให
คราวๆ วัน ุ้มค
อ ง คงแลเกลียวคอหนัก เอาพรัรผักกาด ๑ หอมแดง ๑

๑๒. ทีหนึ่งใหเจบหลั
๑๓. มรุม ๑ ไพล ๑ ผักเบี้ยหนู ๑
๑๔. มนาว ๑ โรกแดง ๑ โกดเขมา ๑
๑๕. เทียนดำ ๑ สานซม ๑
๑๖. (ตำ) เปนผง ลายน้ำผึ้ง
๑๗. กินหาย

2
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ ๑

๏1 ลมอนึ่งจตุบาทวาโย เกิดในคอนั้นเปนคางทูม หายใจขัดอก ลมนี้เกิดแกใคร ๒ ป ๘ เดือน ใหเสีย


ตา เอาหนอไมคาเตา ๑ กานพลู ๑ ผักแพวแดง ๑ ดีปลี ๑ ลูกจันทน ๑ ดอกจันทน ๑ พริกไทย ๑ เสมอภาค
ทำผงละลาย1 น้ำผึ้งกินหาย ๚
๏2 ลมหมูหนึ่งชื่ออัควารันตะ ใหเจ็บทั่วสารพางค2 มักใหหนาว มักใหพรึงทั้งตัว ใหคันทั้งตัว ถาจะ

ไ ท ย
แกเอาตาเสือตน ๑ ผักเบี้ยหนู ๑ พุทรา ๑ กระทุมนา3 ๑ หอมแดง ๑ พันธุผักกาด ๑ แทงทวย ๑ โพบาย ๑
ลูกจันทน ๑ ดอกจันทน ๑ ดีปลี ๑ ตำผงละลาย น้ำผึ้งปนเปนลูกกลอนกินหาย ๚
บ า
้ น
๏ ลมหมูหนึ่งชื่อภุมรา นี้เกิดในหัวใจขึ้นมาถึงศีรษะแลใหคันหู คันหนาื้นตา กินอาหารมิได เอาบุกหัว
ใหญมาขุดเปนหลุม เอาเหลาทะนาน ลูกจันทน ๑ ดอกจันทน ๑ ดองดึงล๑ะพสะคาน ๑ ดีปลี ๑ กระวาน ๑
3 4

ย แกผนึกใหมั่น มิดไฟแกลบใหสุก แลว


น ไท
5
สัตตบุษย ๑ ชันตะเคียน ๑ ลิ้นทะเล ๑ เอาเสมอภาค ตำผงใสลงหั ว บุ
กินพอสมควรหาย ๚

์ ผ
ยนทีหนึ่ง ใหเจ็บหลังแลเกลียวคอหนัก เอาพันธุ
พ ท
ผักกาด ๑ หอมแดง ๑ มะรุม ๑ ไพล ๑ ผักเบี้ยหนูาร๑แ มะนาว ๑ โลดแดง ๑ โกฐเขมา ๑ เทียนดำ ๑ สารสม
๏4 ลมหมูหนึ่งชื่อสรรพวาโย ใหจับเปนคราวๆ
6
เว

๑ (ตำ) เปนผงละลายน้ำผึ้งกินหาย ๚ ญา

7

ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช ลาย แตในคำอานจารึกใชวา ละลาย ทุกแหง
2
คำจารึกใช สาระภาง
3
คำจารึกใช กระทุมนา
4
คำจารึกใช ภูมรา
5
คำจารึกใช บัตะบุด
6
คำจารึกใช สัพวาโย
7
คำจารึกใช โรกแดง
3
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 2

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

4
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ ๒

๑. ๏ สิทธิการิ (ย)
๒. ถาผูชายเปนโรคสำหรับบุ
๓. รุษไสดวนไสลามแลใหแดกอกเปนน้ำ
๔. เหลืองไหลเทราะอยูทังกลางคืนกลางวันใหเจบปวดดังจะ
๕. ขาดใจตายฯ ถาจะแกเอาหวัวกะทิสด ใบมะระ ใบเถาคัน เปลือกวา
ไ ท ย
๖. เปลือกโพบาย เปลือกพิกุน ใบตอไส ขะมิ้นออย ตำเอาน้ำจอก ๑ เอาน้ำ้ามันนงาจอกหุง

้ ื บ
๗. ใหคงแตน้ำมันจึ่งเอาสีผึ้งใสลงใหเหมือนสีผึ้งสีปาก เอาฝุนจีนใสเะคพ
ย ล ลาไปใหสบกันแลวจึ่งปดเถิด
แ ก เปลือกมะมวงกลอน ใบขัดมอน
๘. หายแล ๚ แลวใหตมยาชะ เปลือกโพบาย เปลือกวา เปลื
น ไท อ กจิ
ผักบุงรวม

์ ผ
๙. ผักบุงไท ผลในมกอก สับใหแลกใสตมเอาน้ทำไวยใหเย็น แลวชะแผลทุกวันหาย ๚ แลวจึ่งทำยา
รแ พ
โรยปากแผล เอาหวัวกลา
า กา

ิูมปัญ
๑๐. (ม)ะ พร า วคู ด เอาผง เมดในมะนาว เบญจะกานี สี เ สี ย ดทั้ ง สอง รากมะนาว ดิ น แดงเทษ
เอาเสมอภาก
๑๑. (ตํ)ากรองไหละเอียอดงให ภ เขาลายมือแลวโรยเถิด แลวชะเสียทุกวันใหโรยทุกวันหาย

๑๒. สีผึ้งขนานหนึุ้ม่งคเอา ชันรำโรง ๑ สีผึ้งแฃง ชันยอย ๑ ชันตเคียน
อ ง ค
๑๓. สีเสียกดทังสอง ๑ เบญจะกานี ๑ สีผึ้งแดง น้ำมันงาหุงเปนสี
๑๔. ผึ้งปดโรคสำหรับเปอยลามเปนหนองเปนน้ำ
๑๕. เหลืองไหลอยูศกศกหายแลได
๑๖. แลวประสิทธิอยาสน
๑๗. เทหเลย

5
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ ๒

๏ สิทธิการิยะ ถาผูชายเปนโรคสำหรับบุรุษ ไสดวนไสลามแลใหแตกออก1 เปนน้ำเหลืองไหลเซาะอยู


ทั้งกลางคืนกลางวันใหเจ็บปวด ดังจะขาดใจตาย ฯ
๏5 ถาจะแกเอาหัวกะทิสด ใบมะระ ใบเถาคัน เปลือกหวา เปลือกโพบาย เปลือกพิกุล ใบตอไส
ขมิ้นออย ตำเอาน้ำจอก ๑ เอาน้ำมันงาจอกหุงใหคงแตน้ำมัน จึงเอาสีผึ้งใสลงใหเหมือนสีผึ้งสีปาก เอาฝุนจีน
ใสเคลาไปใหสบกันแลวจึงปดเถิดหายแล ๚
ไ ท ย
๏ แลวใหตมยาชะ เปลือกโพบาย เปลือกหวา เปลือกจิก เปลือกมะมวงกะลอน ้าใบขั
6

ผักบุงไทย ผลในมะกอก สับใหแหลก ใสตมเอาน้ำไวใหเย็นแลวชะแผลทุกวันหาย ๚ื้นบ
ดมอน ผักบุงรวม

ล ะ พ
7
๏ แลวจึงทำยาโรยปากแผล เอาหัวกะลามะพราวขูดเอาผง เม็ดในมะนาว
ย แ เบญกานี สีเสียด ทั้งสอง

น ไท อแลวโรยเถิดแลวชะเสียทุกวันให
์ยแผ
รากมะนาว ดินแดงเทศ เอาเสมอภาคตำกรองใหละเอียด ใหเขาลายมื
โรยทุกวันหาย

๏8 สีผึ้งขนานหนึ่งเอา ชันรำโรง ๑ บาท สีผึ้งแข็งแชัพนยอย ๑ สลึง ชันตะเคียน สีเสียดทั้งสอง ๑ เฟอง
เบญกานี ๑ เฟอง สีผึ้งแดง น้ำมันงา หุงเปนสีผึ้งกปาดรโรคสำหรับเปอยลามเปนหนองเปนน้ำเหลืองไหลอยู

ซกๆ หายแล ไดแลวประสิทธิอยาสนเทหเลย ญ


ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช แดกอก
2
คำจารึกใช เบญจะกานี
6
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 3

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

7
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 3

๑. ๏สิทธิการิยะ
๒. อธิบายวา ทุราวสา ๔ ประการ
๓. นั้นคือ เบาเปนมันเจือกันกับปุบโพมีศรี
๔. เหลือง ๑ คือเปนมันเจือกันกับโลหิตมีศรีแดง ๑
๕. คือเบาเปนมันศรีดำ ๑ คือเบาเปนมันศรีขาว ๑ อันวาโรคทุราวสาทัง
ไ ท ย
๖. สี่ประการเมื่อเบาออกมาเปนมันศรีดำ เปนประมาณพระอาจารยสำแดงไวดัง้ากล
บ น าว
๗. มานี ๚1 ถาจะแกเอาการบูร เทียนดำ ลูกแตงแตว เปลือกไขเนา ลูกเอน ะ พ ื้นวานน้ำ แหวหมู ขีงแหง
แ ล
ย ง เจตมูล ดีปลี น้ำประสารทอง

2
๘. ทำเปนจุลลายน้ำผึ้งกินหาย ๚ ขนานหนึ่งเอาสมออัพยา มหาหิ
น ไ
โคกกะสูน สารสม
ย ์แ ผ
๙. สิ่งละ ๑ เทียนดำ ๑ ดอกคำ 2 เอาเสมอภากทำเปนจุ
พ ท

ลลายน้ำมนาวกินโรคเบาแดง
3
หายแล ๚ ขนานหนึ่ง เอาแหว
กา ร
๑๐. เทียนดำ รากมะตูม ใบเสดา รากเสนีญยดา ใบอังกาบ ลูกเอน โกดสอ เกลือสินเทา ทำเปนจุลลาย
๑๑. น้ำออยแดงกินอาจบำบัดเสียูมซึิป
ัญ
่งโรคเบาขาวเบาดำไหกินวินาศฉิบหาย ๚4 ขนานหนึ่งเอา
อง ภ
๑๒. โกดสอ อบเชย ลูกประคำดี ร
ค พิลังกาษา พริกลอน เปราะหอม จีงจอ
ควาย เจตมูล บรเพช โมกมัน ชมดตน มหา


๑๓. หิง โคกกะสูน คการพลู
ง ุ

๑๔. ทั้งสาม เทีกยนทั้งหา ทำเปนจุลลายน้ำผึ้งกินแก
๑๕. ทุราวสา ๑๒ ประการ แกเบาเปน
๑๖. หนองแลเลือดแลสำ
๑๗. ลาบหาย ๚ะ

8
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 3

๏ สิทธิการิยะ อธิบายวา ทุราวสา ๔ ประการนั้น คือ เบาเปนมัน เจือกันกับบุพโพมีสีเหลือง ๑ คือ


เบาเปนมันเจือกันกับโลหิตมีสีแดง ๑ คือ เบาเปนมันสีดำ ๑ คือเบาเปนมันสีขาว ๑ อันวาโรคทุราวสาทั้ง ๔
ประการ เมื่อเบาออกมาเปนมันสีดำเปนประมาณพระอาจารยสำแดงไวดังกลาวนี้
๏9 ถาจะแกเอาการบูร เทียนดำ ลูกแตงแตว เปลือกไขเนา ลูกเอ็น วานน้ำ แหวหมู ขิงแหง ทำเปนจุณ
ละลายน้ำผึ้งกินหาย
ไ ท ย
้าน
10
๏ ขนานหนึ่งเอาสมออัพยา มหาหิงคุ เจตมูล ดีปลี น้ำประสารทอง โคกกระสุน สารสม สิ่งละ ๑
ื้นบ
เฟอง เทียนดำ ๑ บาท ดอกคำ ๒ บาท เอาเสมอภาคทำเปนจุณละลายน้ำมะนาวกินโรคเบาแดงหายแล
ะ พ
๏ ขนานหนึ่ ง เอาแห ว เที ย นดำ รากมะตู ม ใบสะเดา รากเสนีล ย ด ใบอั ง กาบ ลู ก เอ็ น โกฐสอ

11

ไท ย
นล บอระเพ็ด โมกมัน ชะมดตน มหาหิงคุ
เกลือสินเธาว ทำเปนจุณละลายน้ำออยแดงกิน อาจบำบัดเสียซึ่งโรคเบาขาวเบาดำให กินวินาศฉิบหาย
12

๏ ขนานหนึ่งเอาโกฐสอ อบเชย ลูกประคำดีควาย เจตมู ์แ ผ
โคกกระสุน กานพลู พิลังกาสา พริกลอน เปราะหอม จิทงจอทั้ง ๓ เทียนทั้ง ๕ ทำเปนจุณละลายน้ำผึ้งกิน
รแพ หาย ฯ
แกทุราวสา ๑๒ ประการ แกเบาเปนหนองแลเลือาดแลลำลาบ

1


ัิปญญ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช สำลาบ

9
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 4

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

10
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 4

๑. สิทธิการิยะ
๒. กรอน ๕ ประการนั้น
๓. ชืออินท ๑ กลอมลม ๑ กลอนน้ำ ๑
๔. กลอนหิน ๑ กรอนเอน ๕ ประการแลกลอนเลือด ๑
๕. กลอนน้ำนั้นใหบังเกิดเพื่อเลือดแลน้ำเหลือง กลอนแหงนั้น
ไ ท ย
๖. ใหติดกะดูกอยู แลใหเจบทองแลเมื่อยแขงขาแลใหเจบอกขัดโครงแล ้าน

้ ื บ
๗. กลอน อนึ่งครั้นนวดรองดังจอๆ ใหปะโครงแลอกเสียดศรีขางทอะงแลหั
ล พ วเหนา เปนดั่งนี้
ย แอาเปลือกขี้เหลก 1 สมกุงทังสอง
๘. ถาจะแกใหนวดเสียกอนจึ่งใหกินยาขนานนี้เถิด ฯ ทานให
น ไท เ
สิ่งละ 3 กกโคก

์ ผ
๙. กะออม 1 1 รากชาพลู 2 2 รากตองแตกท5ย รากทรงบาดาน 1 1 รากเจตมูลเพลิง 2 2
รแ พ
ผักเสี้ยนไท 6 กระทกรก 1 2 แก
า กา2 น
แกนปรูญ
ิูมปัญ
๑๐. แสมทังสองสิ่งละ 4 2 4 แกนมหาด 4 2 แกนมเกลือ 4 2 แกนสักหิน 1 1
ยาเขา
๑๑. เย็นทังสองสิ่งละ อ7ง2ภ ถาจะดองสุราแตภอทวม ถาจะตมใสน้ำใหมากกวาดองแลว

๑๒. จึ่งเอามหาหิงุ้มค1 1 การบูร 1 1 ลูกจัน 1 พริกไท 1 1 ขิง 1 2 ดีปลี 1 2
อง ค
๑๓. สคานก 8 2 รำหัดเกลือแตนอยปรุงลง เมื่อจะกินเอาเทียร ๑
๑๔. เลม หมากตรวย ๑ เมี่ยงคำ ๑ ขนมสิ่ง ๑ แลวจึง
๑๕. กิน เอาเงินผูกคอมอ 1 ถาจะดองฝง
1
๑๖. เขาเปลือกสามวัน ยานี้คา
๑๗. ทองหนึ่ง ๚

11
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 4

๏ สิทธิการิยะ กลอน ๕ ประการนั้น ชื่อ อินท ๑ กลอนลม ๑ กลอนน้ำ ๑ กลอนหิน ๑ กลอนเอ็น ๕


ประการ แลกลอนเลือด ๑ กลอนน้ำนั้นใหบังเกิดเพื่อเลือดแลน้ำเหลือง กลอนแหงนั้น ใหติดกระดูกอยู
แลใหเจ็บทองแลเมื่อยแขงขา แลใหเจ็บอกขัดโครง แลกลอนอนึ่งครั้นนวดรองดังจอๆ ใหปะโครงแลอก
เสียดสีขาง1 ทองแลหัวหนาว2 เปนดังนี้
13
๏ ถาจะแกใหนวดเสียกอน จึงใหกินยาขนานนี้เถิดฯ ทานใหเอาเปลือกขี้เหล็ก ๑ ตำลึง สมกุงทั้งสอง
สิ่ ง ละ ๓ บาท กกโคกกระออม ๑ ตำลึง ๑ บาท รากชาพลู ๒ ตำลึง ๒ บาท รากตองแตก ๕ ตำลึง
ไ ท ย
บ ้าน
รากทรงบาดาล ๑ ตำลึง ๑ บาท รากเจตมูลเพลิง ๒ ตำลึง ๒ บาท ผักเสี้ยนไทย ๖ ตำลึง กระทกรก ๑ ตำลึง
ะ พ ื้น
๒ บาท แกนแสมทั้งสองสิ่งละ ๔ ตำลึง ๒ บาท แกนปรู ๔ ตำลึง ๒ บาท แกนมะหาด ๔ ตำลึง ๒ บาท
ย แล
แกนมะเกลือ ๔ ตำลึง ๒ บาท แกนสักหิน ๑ ตำลึง ๑ บาท ยาขาวเย็นทั้งสองสิ่งละ ๗ ตำลึง ๒ บาท ถาจะ
น ไท
ดองสุราแตพอทวม ถาจะตมใสน้ำใหมากกวาดอง แลวจึงเอามหาหิงค ๑ สลึง ๑ เฟอง การบูร ๑ สลึง ๑
ย ์แ ผ
เฟอง ลูกจันทน ๑ บาท พริกไทย ๑ สลึง ๑ เฟอง ขิง ๒ สลึง ๑ เฟอง ดีปลี ๒ สลึง ๑ เฟอง สะคาน ๒ สลึง

แพท
๘ เฟอง รำหัดเกลือแตนอยปรุงลง เมื่อจะกินเอาเทียน ๑ เลม หมากตรวย ๑ เมี่ยงคำ ๑ ขนมสิ่ง ๑ แลวจึง

ากา
กิน เอาเงินผูกคอหมอ ๑ บาท ถาจะดองฝงขาวเปลือก ๓ วัน ยานี้คา ๑ ชั่งทองหนึ่ง ๚

ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

1
คำจารึกใช ศรีขาง
2
คำจารึกใช หัวเหนา

12
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 5

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

13
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 5

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. แกอติสารใหระส่ำระสายให
๓. เชื่อมมัวหอบเปนตนเพราะลงทองเอาจัน
๔. แดง 11 จันขาว 11 ภิมเสน 11 เกสรบัวหลวง 11 เกสรบุญ
๕. นาก เกสรสาระภี ดอกฟกทอง บดลายน้ำดอกไมแกหอบอะ
ไ ท ย
๖. ติสารยานี้ชื่อพรหมภัก ฯ อยานี้สมุทเกลื่อน ใบน้ำดับไฟ ๑ ใบบรเพชด ๑ ้าน
11 11 11


้ ื บ
๗. ใบชาลี ๑ ใบตำลึงทัง ๒ ใบฉบาทัง ๒ หางตะเข ๑ ฆองสามยาน ๑ะพใบน้ำเตา ๑ เพชสังฆาฎ ๑
ย แ ล
ใบกทืบยอบ ๑
๘. หิงหาย ๑ ใบผักบุงขัน ๑ ใบมะระ ๑ ใบชุมเหดไท ๑ผขมิ ไท
น ้นออย ๑ ใบโคกสุน ๑ ขี้นกขี้ราบขั้ว
ย ์แ
ใหเหลือง ดินปลิว
พ ท
า รแ
สากตำให (ไฟดับ) แลวเอาแตยามาบดปากน
๙. (ขั้ว) ๑ ยาทังนี้ตำใหแหลกเอาเปลือกมพร าวซีก ๑ เผาใหไมใสลงในครกเอายาปดขางบนเอา

๑๐. แท ง ไว ล ายน้ ำ เซาเขากิ น แก พิปิ ศัญ
๑ วัน เหมนเนากทำ....งภูม
อตี ส ารแลฯ ยาแก อ ติ ส ารชื่ อ รั ต นธาตุ ล งเลื อ ดสดๆ ออการ

ค รอ
คุ้ม ๑ กฤศนา ๑ จันทัง ๒ สีเสียดทัง ๒ กำยาน ๑ ชันตเคียน ๑ พริก ๑ ขิง ๑


๑๑. ลูกจันทัง ๒อเบญกานิ
มาดเลืองก๑ บ(ด)
๑๒. ลายน้ำฝางกินแกลงเลือด ฯ ยาชื่อติสาร ผักเชด ๑ เทียมกรอบ ๑ กรุงเขมา ๑ เปลือกมูกมมัน ๑
๑๓. เปลือกทุมนา ๑ เปลือกคางกรวย ๑ ยางแตว ๑ ตานทัง ๕ กเทียม ๑ อุตพิด ๑
๑๔. ผลตูมออน ๑ โกดสอ ๑ ดีปลี ๑ จันทัง ๒ เอาเสมอภาก สังกรนี
๑๕. ผักเทายาทังหลายบดทำแทงเมื่อกินแทรกฝนแกลง
๑๖. ดวยธาตุแปรเปน ริศดวง สิ่งใดสุต
ไข
๑๗. แตเขาอติสารหาย

14
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 5

14
๏ สิทธิการิยะ แกอติสารใหระส่ำระสาย ใหเชื่อมมัวหอบเปนตน เพราะลงทอง เอาจันทนแดง ๑
สลึ ง ๑ เฟ อ ง จั น ทน ข าว ๑ สลึ ง ๑ เฟ อ ง พิ ม เสน ๑ สลึ ง ๑ เฟ อ ง เกสรบั ว หลวง ๑ สลึ ง ๑ เฟ อ ง
เกสรบุนนาค1 ๑ สลึง ๑ เฟอง เกสรสารภี ๑ สลึง ๑ เฟอง ดอกฟกทอง ๑ สลึง ๑ เฟอง บดละลายน้ำ
ดอกไมแกหอบอติสาร ยานี้ชื่อพรหมพักตร2 ๚


15
๏ ยานี้ชื่อสมุทรเกลื่อน3 ใบน้ำดับไฟ ๑ ใบบอระเพ็ด ๑ ใบชิงชาชาลี4 ๑ ใบตำลึงทั้ง ๒ ใบชบา5
ไ ท
้าน
ทั้ง ๒ วานหางจระเข ๑ ฆองสามยาน ๑ ใบน้ำเตา ๑ เพชรสังฆาต ๑ ใบกระทืบยอบ ๑ หิ่งหาย ๑ ผักบุงขัน ๑
ื้นบ
ใบมะระ ๑ ใบชุมเห็ดไทย ๑ ขมิ้นออย ๑ ใบโคกกระสุน ๑ ขี้นกพิราบ6 คั่วใหเหลือง ดินประสิวคั่ว ๑
ละ พ

ยาทั้งนี้ตำใหแหลก เอาเปลือกมะพราวซีก ๑ เผาใหไหมใสลงในครกเอายาปดขางบนเอาสากตำ ใหไฟดับ
แลวเอาแตยามาบด ปนแทงไวละลายน้ำซาวขาวกิน แกพิษอติสารแล ๚
ไทย
ผ น
์แ
16
๏ ยาแกอติสารชื่อรัตนธาตุ ลงเลือดสดๆ ออกกาฬ ๑ วัน ๒ วัน เหม็นเนากระทำศิฏ7 ลูกจันทนทั้ง ๒

พท
เบญกานี ๑ กฤษณา ๑ จันทนทั้ง ๒ สีเสียดทั้ง ๒ กำยาน ๑ ชันตะเคียน ๑ พริก ๑ ขิง ๑ มาศเหลือง8 ๑
บดละลาย9 น้ำฝางกินแกลงเลือด ๚
า รแ
า กมกรอบ ๑ กรุงเขมา ๑ เปลือกมูกมัน ๑ เปลือกกระทุมนา ๑
ัิปญ้ง ญ๕ กะเทียม ๑ อุตพิด ๑ ผลมะตูมออน ๑ โกฐสอ ๑ ดีปลี ๑
17 10
๏ ยาชื่อติสาร ผักกระเฉด ๑ กระเที ย
เปลือกคางกราย ๑ ยางแตว ๑ ตานทั
จันทนทั้ง ๒ เอาเสมอภาค สังงกรณี ภ ูม หนักเทายาทั้งหลาย บดทำแทง เมื่อกินแทรกฝน แกลงดวยธาตุแปร
รดอแตเขาอติสารหาย
11
12
ุ้ม ค
เปนริดสีดวง เปนไขสิ่งใดสุ
ง ค
กอ

1 8
คำจารึกใช บุญนาก คำจารึกใช มาดเลือง
2 9
คำจารึกใช พรหมภัก คำจารึกใช บดลาย
3 10
คำจารึกใช สมุทเกลื่อน คำจารึกใช ผักเชด
4 11
คำจารึกใช ใบชาลี คำจารึกใช เสมอภาก
5 12
คำจารึกใช ฉบา คำจารึกใช ริศดวง
6
คำจารึกใช ขี้นกขี้ราบ
7
ตำรายาวัดราชโอรสาราม ฯ ๒๕๒๒ หนา ๕๙ วา ดั่งอาศก
15
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 6

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

16
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 6

๑. ๏ อยากลอน
๒. ทังปวงทานใหเอาเบญ
๓. ขี้เหลก 1 มัดกาทังรากทังเปลือก 2

2 1 1
๔. รากโคกกระสุน 1 รากผักเสี้ยน รากผักเสี้ยนเรา
๕. รากชาพลู 1

หกสิ่งนี้ตม ๓ เอาหนึ่ง เมื่อกินเอาพริกขิงดีปลี สิ่งละ
ท ย
๖. ปรุงลงกินแกสาระพะกรอน แกเจบหลังเจบทองขัดหัวเหนาครันเนื้อครั่น้าตันว
2 1


้ ื บ
๗. เมื่อยขบหายแล ฯ แกกลอนเอน กำลังวัวเถลิง ๑ รากพังอาด
ละ พ ๑ ลูกฝายหีบ ๑ พริก 1
ย แ

๘. ดีปลี 1 กะทกรกตม ๓ เอาหนึ่งกินแกกลอนเอนผฯนไอยาแกกลอนหิน เอาขี่เหล็กทั้ง ๕ ตมแลว
ขิง 1

ย ์แ
เอาลูกฝาย
พ ท
า รแ

๙. หีบแลวขั้วใหเกรียม หัวแหวหมูตากให แหงตำเปนผงปรุงในน้ำขี้เหลกแลวเอาหัวอุตพิด ๑ ใบ
คนทีสอตำเอาน้ำ
ญ า
๑๐. ออก ๑ ใสน้ำขี้เหลกแลวิปอุัญ
ง ภ ม
ู นไฟใหรอน แลวจึ่งเอาการะบูน 1 ปรุงลงกวนใหสบกัน กิน
แกกลอน
ร อ
๑๑. แลพรรดึกขี้มุ้มิอคอก แลฯ อยาแกกลอนน้ำเอาลูกเขยตายทังรากทังเปลือก ๑ เบญคัดคาว ๑
อ ง ค

๑๒. หอมแดง ๑ พริก ๑ ขิง ๑ ดีปลี ๑ เอาตรีกะตุกแตนอยกวาอยาทังหลายตม ๓
๑๓. เอา ๑ เอาเกลือรำหัดนอยหนึ่ง กะทกรกปรุงลงกินหายแล ฯ อนึ่ง
2
๑๔. แกกลอนลม ลูกปะคำดีควาย 1 ขิงแหง 12 พริกเทา
๑๕. ทังหลาย ใบกะเมงเปนกระสายกินแกเจบ หลัง
ทอง
๑๖. ขัดหัวเหนา แลเหมื่อยตีน
๑๗. มือก็หาย ๚ะ

17
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 6

18
๏ ยากล อ นทั้ ง ปวง ท า นให เ อาเบญจขี้ เ หล็ ก 1 ๑ บาท มะกา 2 ทั้ ง รากทั้ ง เปลื อ ก ๒ บาท ราก
โคกกระสุน ๒ บาท ๑ สลึง รากผักเสี้ยนผี ๑ บาท รากผักเสี้ยนเรา ๑ บาท รากชาพลู ๑ บาท ๒ สลึง หกสิ่ง
นี้ตม ๓ เอา ๑ เมื่อกินเอาพริก ขิง ดีปลี สิ่งละ ๑ เฟอง ปรุงลงกินแกสารพัด3 กลอนแกเจ็บหลังเจ็บทอง
ขัดหัวหนาว ครั่นเนื้อครั่นตัวเมื่อยขบหายแล ฯ


19
๏ แกกลอนเอ็น กำลังวัวเถลิง ๑ รากพังอาด ๑ ลูกฝายหีบ ๑ พริก ๑ เฟอง ขิง ๑ เฟอง ดีปลี
นไ ท


๑ เฟอง กระทกรกตม ๓ เอา ๑ กินแกกลอนเอ็น ฯ

๏ ยาแกกลอนหิน เอาขี้เหล็กทั้ง ๕ ตม แลวเอาลูกฝายหีบแลวคั่วใหเกรียื้นม หัวแหวหมูตากใหแหง
ตำเปนผง ปรุงในน้ำขี้เหล็ก แลวเอาหัวอุตพิด ๑ ใบคนทีสอตำเอาน้ำออก ๑ลใสะพ
20


แลวจึงเอาการบูร ๑ เฟอง ปรุงลงกวนใหสบกัน กินแกกลอนแลพรรดึกขีท้มยิออกแล ฯ
น้ำขี้เหล็กแลวอุนไฟใหรอน

น ไ
21
์ยแผ ดเคา ๑ หอมแดง ๑ พริก ๑ ขิง ๑
๏ ยาแกกลอนน้ำ เอาลูกเขยตาย ทั้งรากทั้งเปลือก ๑ เบญจคั 4

ดีปลี ๑ เอาตรีกฏก แตนอยกวายาทั้งหลายตม ๓ เอาพ๑ท เอาเกลือรำหัดหนอยหนึ่งกระทกรกปรุงกิน


า รแ
หายแล ฯ
า ก
๏ อนึ่งแกกลอนลม ลูกประคำดีควาย ๒ญบาท ๑ เฟอง ขิงแหง ๑ ตำลึง ๒ บาท พริก เทาทั้งหลาย
ัญ
22

ใบกะเม็งเปนกระสาย กินแกเจ็บหลัง เจ็ูมบทิปอง ขัดหัวหนาว แลเมื่อยตีนมือก็หาย ๚ะ๛


ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช เบญขี้เหลก
2
คำจารึกใช มัดกา
3
คำจารึกใช สาระพะ
4
คำจารึกใช เบญคัดคาว

18
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 7

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

19
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 7

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ทานกลาวสันนิบาดทังหลาย
๓. ๗ ประการไวโปรดคนทังหลาย คือสันนิ
๔. บาดเพื่อเลือด ๑ เพื่อลม ๑ เพื่อสเลด ๑ แลดีพลุง ๑
๕. เพื่อน้ำเหลือง ๑ เพื่ออำมพฤก ๑ แลสันนิบาดสแกเวียน ๑
ไ ท ย
๖. สันนิบาดทัง ๗ ประการนี้ ถาจะแกใหเอาพริก ๑ ขิง ๑ หวานน้ำ ๑ โกดสอ ๑้าน

้ ื บ

๗. โกดขะเหมา ๑ โกดหัวบัว ๑ ทังนีเอาเทากันบดใหละเอียดเอาภิมเสนรำหั ะ พ ดกินจำเภาะ สันนิ
๘. บาดตาเหลื อ ง ๚ ยาต ม ภายในกิ น แก สั น นิ บ าดตาเหลื อ งทย แ กราชพฤก ๓ ฝก ใบปป ๑
น ไ เอาฝ
ใบสะเดา ๑

์ ผ
ย ๑ ตม ๓ เอา ๑ กินแกสินนิบาดตาเหลือง
พ ท

๙. บระเพช ๑ รากเจตมูลเพลิง ๑ จันทัง ๒ ขันทศกอน
แล ๚ ถาแล
กา ร

๑๐. ทานเอารากสะลอดน้ำ ๑ จันขาว ๑ญกระวาน ๑ ขิง ๑ ฝนดวยชะโลมแกสะทานแล ถารอนนัก
เอาผักเปด ๑ ิูมปัญ
๑๑. ใบสะเดา ๑ ใบสะหัศคุอณงภ๑ บระเพช ๑ เปลือกสะเดา ๑ ใบหมากผู ๑ ดินสอพอง ๑ ลายน้ำ
ค ร
ทราวเขา
ง ค ุ้ม
๑๒. ชะโลมแกรออนแล ๏ ถาสะอึกเอาหางนกยูงเผา ๑ ตาไมไผปาเผา ๑ บดดวย น้ำลลาย

๑๓. กินแกสอึก ฯ ถาใหรากเอาผักเสี้ยนผีเผา ๑ เปลือกมะกรุดเผา ๑ พริก ๑
๑๔. ขิง ๑ บดใหเลอียดเอาภิมเสนรำหัดลายน้ำซมซานกินแกราก
๑๕. ๏ ถานอนมิหลับเอาเปลือกมรุม ๑ รากสอม1 ๑ ส
๑๖. พรามอร ไพล ๑
ตม ๓ เอา ๑
ขมินออย ๑
๑๗. กินนอนหลับ ๚

1
นาจะเปน “สมอ”
20
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 7

๏ สิทธิการิยะ ทานกลาวสันนิบาตทั้งหลาย ๗ ประการไวโปรดคนทั้งหลาย คือ สันนิบาต เพื่อเลือด


๑ เพื่อลม ๑ เพื่อเสลด ๑ แลดีพลุง ๑ เพื่อน้ำเหลือง ๑ เพื่ออัมพฤกษ ๑ แลสันนิบาตสะแกเวียน ๑
สันนิบาตทั้ง ๗ ประการนี้
23
๏ ถาจะแกใหเอาพริก ๑ ขิง ๑ วานน้ำ ๑ โกฐสอ ๑ โกฐเขมา ๑ โกฐหัวบัว ๑ ทั้งนี้เอาเทากัน บดให
ละเอียด เอาพิมเสนรำหัดกินจำเพาะสันนิบาตตาเหลือง ฯ
ไ ท ย
้าน
24
๏ ยาตมภายในกินแกสันนิบาตตาเหลือง เอาฝกราชพฤกษ ๓ ฝก ใบปบ ๑ ใบสะเดา ๑ บอระเพ็ด ๑
ื้นบ
รากเจตมูลเพลิง ๑ จันทนทั้งสอง ขัณฑสกร ๑ ตม ๓ เอา ๑ กินแกสันนิบาตตาเหลืองแลฯ
ะ พ
๏ ถาแลสะทานเอารากสลอดน้ำ ๑ จันทนขาว ๑ กระวาน ๑ ขิง ล๑ ฝนดวยชโลมแกสะทานแล

25


ไท ด ๑ เปลือกสะเดา ๑ ใบหมากผู ๑

26
๏ ถารอนนักเอาผักเปด ๑ ใบสะเดา ๑ ใบสหัสคุณ ๑ บอระเพ็
ดินสอพอง ๑ ละลายน้ำซาวขาวชโลมแกรอนแล ์ยแผ
แ พ ๑ท บดดวยน้ำละลายกินแกสะอึก
การ ดเผา ๑ พริก ๑ ขิง ๑ บดใหละเอียด เอาพิมเสนรำหัด
27
๏ ถาสะอึก เอาหางนกยูงเผา ๑ ตาไมไผปาเผา
๏ ถาใหราก เอาผักเสี้ยนผีเผา ๑ เปลือากมะกรู
ัิปญญ
28

ละลายน้ำสมซากินแกราก
ูม ม ๑ รากสมอ ๑ สันพรามอญ ไพล ๑ ขมิ้นออย ๑ ตม ๓ เอา ๑
๏ ถานอนมิหลับ เอาเปลืงภอกมะรุ
รอ
29 1

กินนอนหลับ ฯ
ุ้ม ค
ง ค
กอ

1
คำจารึกใช สพรานอร
21
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 8

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

22
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 8
๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ถาแลกำลังลมกลานักใหตี
๓. ขึ้นไปไมสมประดีใหสลบตายไปลางทีให
เทา
๔. ชัก ปากมิออกใหลิ้นกระดางคางแขงทำใหคนทัง
มือ
๕. หลายกัลว อันวากำลังลมนี้กลากวากำลังเลือดทังหลายเปนไปตาง ๆ

ไ ท
๖. ดุจกลาวมาแลวนั้น ๆ ถาจะแกทานใหเอาไพล เปลือกกุมทังสอง ลำพันแดง รากละย
บ ้าน
ื้น
๗. หูงแดง ลูกกระวาร การพลู ขา ขมิ้นออย รากพานงูแดง รากอังกาบ ลูกสมอไท สมอพิเภก ลูกผักชี

ละ พ
๘. ทัง ๒ หัวตะใครหอม ลูกชาพลู ขิงแครง ขิงแหง รากเจตะมูล เปลือกราชพฤก รากพังโหมทังสอง
ย แ
ไท
ดีปลี สคาน เปลือกโล(ด)
หัวบัว
ผ น
สอ
ย ์แ
พท
๙. วานเปราะเทียนทัง ๕ โกด โกด โกดพูปลา เครื่องสมูนไพร
กะดูก
า รแ เขมา
าก
สิ่งละ 1 เครื่องเทศสิ่งละ 2 ตำบดเปนแทง
ัิปญญ
๑๐. ไวลายเลาก็ได น้ำขิงขาก็ได แกสรรพลมใบปดสาวะมักนั้นฯ ยาตมชื่อเบญขันแกเลือดเนาอนกลด
ภ ม

อง
ทวาร

ค ร สทอน

ง ค มุ้
๑๑. ใหเอาเปลือกมยมตัวผู เปลือก รากตองแตกใบสมอทะเล เอาเสมอภาคตม ๓ เอา ๑
ก อ มไฟ
ใหกินแต
๑๒. ภอกำลังแกสรรพเลือดเนาหาย ฯ ยาชื่อเบญขันแกเลือดตกหมกอยูเอาหัวหอม
๑๓. ขิงเจตมูลไพลในคนทีสอเทียรดำ ยาทังนี้ตำเอาน้ำสิ่งละจอกเลาเปนกะ
๑๔. สายตม ๓ เอา ๑ กินภอกำลังหาย ฯ ถาเลือดตีขึ้นเอาลำพัร
๑๕. กเทียม มหาหิง ตะใครหอม ยานี้เอาเทากันบด
ลิ้นหด
๑๖. กะน้ำมนาวกินแก ทาคาง
คางแขง
ออน
๑๗. แขงให แล
อาปากได 23
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 8

๏ สิทธิการิยะ ถาแลกำลังลมกลานักใหตีขึ้นไปไมสมประดีใหสลบตายไป ลางทีใหชักเทา ชักมือ


ปากมิออกใหลิ้นกระดางคางแข็ง ทำใหคนทั้งหลายกลัว อันวากำลังลมนี้กลากวากำลังเลือดทั้งหลายเปน
ไปตางๆ ดุจกลาวมาแลวนั้น ฯ
30
๏ ถาจะแกทานใหเอาไพล เปลือกกุมทั้งสอง ลำพันแดง รากละหุงแดง ลูกกระวาน กานพลู ขา
ขมิ้นออย รากพันงูแดง รากอังกาบ ลูกสมอไทย สมอพิเภก ลูกผักชีทั้ง ๒ หัวตะไครหอม ลูกชาพลู ขิงแครง
ไ ท ย
ขิงแหง รากเจตมูล เปลือกราชพฤกษ รากกระพังโหมทั้งสอง1 ดีปลี สะคาน เปลือกโลด วานเปราะ เทียนทั้ง
บ ้าน
๕ โกฐหัวบัว โกฐกระดูก โกฐสอ โกฐเขมา โกฐพุงปลา เครื่องสมุนไพรสิ่งละ ๑ บาท เครื่องเทศ สิ่งละ ๒ สลึง
ตำบดเปนแทงไวละลายเหลาก็ได น้ำขิงขาก็ได แกสรรพลมในปสสาวะมรรคนั้น ฯ
ะ พ ื้น
ย แล
ท งแกสรรพเลือดเนาหาย ฯ
31

มะไฟ รากตองแตก ใบสมอทะเล เอาเสมอภาคตม ๓ เอา ๑ ใหกินแตนพไอกำลั


๏ ยาตมชื่อเบญจขัน แกเลือดเนาอันกลัดทวาร ใหเอาเปลือกมะยมตั วผู เปลือกสะทอน เปลือก


์ ผ
๏ ยาชื่อเบญจขัน แกเลือดตกหมกอยู เอาหัวหอมทขิยง เจตมูล ไพล ใบคนทีสอ เทียนดำ ยาทั้งนี้
32

ตำเอาน้ำสิ่งละจอก เหลาเปนกระสาย ตม ๓ เอา ๑ กินรพอกำลัแ พ งหาย ฯ


า กา

33 2
๏ ถาเลือดตีขึ้นเอาลำพัน กระเทียม มหาหิ งคุ ตะไครหอม ยานี้เอาเทากันบดกับมะนาว กินแก
ัญ แล
ลิ้นหด แกคางแข็ง ทาคางแข็งใหออนใหอาิปปากได
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช รากพังโหมทั้งสอง
2
คำจารึกใช บดกะน้ำมะนาว
24
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 9

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

25
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 9

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ฤษดวงอนึ่งชื่อรุกฃชิวหาเกิด
๓. แตกองปถวิธาตุ มักตั้งบนลิ้นกระทำพิศ
๔. ใหปวดแสบเปนกำลังใหลิ้นเลือก คอเลือกใหบริโภก
๕. อาหารมิไดใหผิวเนื้อชาสากไปดุจหนามบัวฯ ถาจะแกเอาเจตมูล ๒
ไ ท ย
บ ้าน การพลู ะ
ื้นำผึ้งกินแกฤษดวงรุกข
๖. ฃิงแหง ๓ การะบูน ๔ กะดาดแดง ๕ รากจิ่งจอเหลี่ยม ลูกจัน ดอกจัน กระวาร
๗. เทียรทังหา สมูลแวง สิ่งละ ๘ สวน พริกไท ๗๘ สวน ทำเปนจุนบดลายน้
ละ พ
ย แ
ไท
๘. ชิวหาแกเนื้อชาสากนั้นหาย ฯ ขนานหนึ่งเอามหาหิง 1 ลำพั น ดี ป ลี ฃิ ง แห ง 1


2 3
เทียรเยาวะภานี 11 หัศคุณ
2 ย

์ ผ
1 1
พ ท

๙. เทษ 2 พัดแพวแดง 3 โกดสอ พริกไท 3 2 ทำเปนจุลบดลายน้ำผึ้ง กินหนัก
1 แกฤษดวงทังปวงแล รุคขชิวหาฤษดวงแล
กา ร
ญ า
แลบวมทังตัิปวัญ
มือ
๑๐. แกปวม
ง ภ ม
ู หายฯ ขนานหนึ่งเอาการะบูน อยาดำ พิมเสน ดอกจัน การพลู
ตีน
ค ร อ

้ ุ
เจตมูล พริกไทเสมอภาก
ค ำผึ้งกินหนัก 1 แกฤษดวงผอมเหลือง แกลมจุกเสียดแลมองครอ หืดไอ
๑๑. ทำเปนจุนบํอดงลายน้
แกฤษ ก
๑๒. ดวงรุคชิวหานั้นหาย ฯ ขนานหนึ่งเอา รากขอย รากคาง รากสมปอย รากเจตมูล
๑๓. รากไมสีสุก รังปลวกไตดิน เอาเสมอภากตม ๓ เอา ๑ ใหกินวัน
๑๔. ละ ๓ เพลา แกฤษดวงอันเกิดแตกองปถวีนั้นหาย
๑๕. แกฤษดวงใหไอ เปนโลหิตนั้นก็หาย :
๑๖. แกหืดนั้นก็หายมามาก
๑๗. วิเสศนัก ๚ ๛

26
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 9

๏ สิทธิการิยะ ริดสีดวง1 อนึ่งชื่อ รุกขชิวหา เกิดแตกองปถวีธาตุ2 มักตั้งบนลิ้น กระทำพิษใหปวด


แสบเปนกำลังลิ้นเลือก คอเลือกใหบริโภคอาหารมิได ใหผิวเนื้อชาสาก ไปดุจหนามบัว ฯ
34
๏ ถาจะแกเอาเจตมูล ๒ ขิงแหง ๓ การบูร ๔ กระดาดแดง ๕ รากจิงจอเหลี่ยม ลูกจันทน ดอกจันทน
กระวาน กานพลู เทียนทั้งหา สมุลแวง สิ่งละ ๘ สวน พริกไทย ๗๘ สวน ทำเปนจุณบดละลายน้ำผึ้ง3 กินแก
ริดสีดวงรุกขชิวหา แกเนื้อชาสากนั้นหาย๚
ไ ท ย
้าน
35
๏ ขนานหนึ่งเอามหาหิงคุ ๑ เฟอง ลำพัน ๒ สลึง ดีปลี ๓ สลึง ขิงแหง ๑ บาท เทียนเยาวภาณี
ื้นบ
๑ บาท ๑ สลึง หัสคุณเทศ ๑ บาท ๒ สลึง ผักแพวแดง4 ๑ บาท ๓ สลึง โกฐสอ ๒ บาท พริกไทย ๓ ตำลึง ๒
ละ พ
บาท ทำเปนจุณ บดละลายน้ำผึ้งกินหนัก ๑ สลึง แกริดสีดวงทั้งปวงแลรุกขชิวหาริดสีดวงแล แกบวมมือบวม
ย แ
ไท
ตีนแลบวมทั้งตัวหาย ๚
ผ น
์แ
36
๏ ขนานหนึ่งเอาการบูร ยาดำ พิมเสน ดอกจันทน กานพลู เจตมูล พริกไทยเสมอภาค ทำเปนจุณบด

พท
ละลายน้ำผึ้งกินหนัก ๑ สลึง แกริดสีดวงผอมเหลือง แกลมจุกเสียดแลมองครอ หืด ไอ แกริดสีดวงรุกขชิวหา
นั้นหาย ฯ
า รแ
๏ ขนานหนึ่งเอารากขอย รากคาง ญ
37 ากมปอย รากเจตมูล รากไมสีสุก รังปลวกใตดิน เอาเสมอภาค
รากส

ิ ัญริดสีดวงอันเกิดแตกองปถวีนั้นหาย แกริดสีดวง ใหไอเปนโลหิตนั้น


ตม ๓ เอา ๑ ใหกินวันละ ๓ เพลา แก
ง ภ
รอ
ก็หาย แกหืดนั้นก็หายมามากวิเศษนั ก ๚๛

ุ้ม ค
ง ค
กอ

1
คำจารึกใช ฤษดวง
2
คำจารกใช ปถวิธาตุ
3
คำจารึกใช บดลายน้ำผึเง
4
คำจารึกใช พัดแพวแดง
27
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 10

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

28
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 10

1. ๏ สิทธิการิยะ
2. ลักษณไขเจลี่ยงอากาศนั้น
3. ใหจับสะทานใหเทาเยนใหรอนในอก
4. เปนกำลัง ใหกระหายน้ำนักใหขัดอุจาระปะสาวะใหละ
5. อองตีนมือนั้นเฃียวใหตาฃลัวน้ำตาแหง โทษสรรนิบาทเปนกำลัง ฯ ถาจะ
ไ ท ย
น ง
6. แกเอาเบญจเหลก วันเปรียง แกนสน แกนสัก แกนสักขี แกนขนุน กำลัง้าโคเถลิ

ื้น
7. พญามือเหลก จันทังสอง ตรีผลา เบญกูล พริกไท เอาเสมอภาคตะมพ๓ เอา ๑ ใหกินแกจับสทานแล
8. ๏ ขนานหนึ่งเอากำแพงเจดชั้น แกนกันเตรา ฃาตัน ทเทพธาโร แล
ย สฆาน ชาพลู ตรีกะตุก เอา
น ไ
เสมอภาค วันเปรียงเทา
์แ ผ
9. ยาทังหลายตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกจับหายดีท แลย๚ ขนานหนึ่งเอารากไมไผ รากปบ รากมะกล่ำ
รแ พ
เครือ เอาเสมอภาค ตม ๓ เอา ๑ กินแก
า ก า จ บ

10. ดีนัก ๚ ขนานหนึ่งเอาเบญจชาญ
เสมอภาค ตม ๓ เอา ๑ ิปัญ
พลู เบญจเตาราง เบญจกะเพรา สะฆาน ดีปลี ฃิง เจดตะมูลเพลิง

ภ ม

งกนั้นหาย ฯ ขนานหนึ่งเอาเบญจขี้เหลก ตรีกะตุก เปลือกมะพูด บระเพช
11. ใหกินแกจับสทานนั
ค ร อ
ค ม

ชาพลู เอาเสมอ
ง ุ
ก อ ลูกจัน
12. ภาคตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกจับหาย ฯ ขนานหนึ่ง เอาโกดทังหา เทียรทังเจด กระวาร
ดอกจัน
กฤษนา
13. การพลู จันทังสอง ชะลูด แฝกหอม กะดอม บระเพช ไครหอม ตรี
กรลำภัก
14. ผลา เบญจกูล ฝกัราชพฤก เอาเสมอภาคตมกินแกจับจำ
15. เริญธาตุ ใหจำเริญอาหาร ถาจทุเลายาดำแทรก 2
2
16. ดีเกลือ 3 ดินประสิวขาว 1 ประจุ
17. พิศลงสะดวกดีแล ฯ
29
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 10

๏ สิทธิการิยะ ลักษณะไขเจลียงอากาศนั้นใหจับสะทาน ใหเทาเย็น ใหรอนในอกเปนกำลังใหกระหาย


น้ำนัก ใหขัดอุจจาระปสสาวะ1 ใหละอองตีนมือนั้นเขียว ใหตาขลัวน้ำตาแหง โทษสันนิบาต2 เปนกำลัง ฯ
38
๏ ถาจะแกเอาเบญจเหล็ก เถาวัลยเปรียง 3 แกนสน แกนสัก แกนสักขี แกนขนุน กำลังโคเถลิง
พญามือเหล็ก จันทนทั้งสอง ตรีผลา เบญจกูล พริกไทย เอาเสมอภาคตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกจับสะทานแล


39
๏ ขนานหนึ่งเอากำแพงเจ็ดชั้น แกนกันเกรา4 ขาตน เทพทาโร สะคาน ชาพลู ตรีกฏก เอาเสมอภาค
นไ ท


เถาวัลยเปรียงเทายาทั้งหลาย ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกจับหายดีแล ๚

๏ ขนานหนึ่งเอารากไมไผ รากปบ รากมะกล่ำเครือ เอาเสมอภาคตม ๓ เอาื้น๑ กินแกจับดีนัก ๚

40

ล ะ
๏ ขนานหนึ่งเอาเบญจชาพลู เบญจเตาราง เบญจกะเพรา สะคาน แดีปลี ขิง เจตมูลเพลิง เสมอภาค
ไน ทย
41

ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกจับสะทานนัก นั้นหาย ๚


์ยแผ ด ชาพลู เอาเสมอภาคตม ๓ เอา ๑ ให

42
๏ ขนานหนึ่งเอาเบญจขี้เหล็ก ตรีกฏก เปลือกมะพูด บอระเพ็
แ พ
าร
กินแกจับหายฯ
๏ ขนานหนึ่งเอาโกฐทั้งหา เทียนทั้งเจ็ด าลูกกจันทน ดอกจันทน กระวาน กานพลู จันทนทั้งสอง
ัิปญญบอระเพ็ด ไครหอม ตรีผลา เบญจกูล ฝกราชพฤกษ เอาเสมอ
43

กฤษณา กระลำพัก ชะลูด แฝกหอม กระดอม




ภาคตมกินแกจับ จำเริญธาตุ ใหจำเริญภอาหาร
งสลึง ดีเกลือ ๒ บาท ๓ สลึง ดินประสิวขาว ๑ สลึง ประจุพิษลงสะดวก
44
ค ร อ

้ ุ
๏ ถาจะทุเลา ยาดำแทรก ๒
ดีแล ฯ
อ ง ค

1
คำจารึกใช อุจาระปะสาวะ
2
คำจารึกใช สรรนิบาท
3
คำจารึกใช วันเปรียง
4
คำจารึกใช กันเตรา
30
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 11

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

31
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 11

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. อันวาลมบาทยักนั้นทำเพศดุจ
๓. สรรนิบาต ใหชักทาวกำมือลิ้นกระดางคางแขง
๔. พูดมิได ใหรอนระส่ำระสายขบฟนตาเหลือก ใหชักเขมนไปทัง
๕. กาย ทานกำหนดใหแกแตใน ๑๑ วัน พนนั้นเปนอาการตัด ๚ ถาจะแกเอาโกด
ไ ท ย
๖. สอ โกดเขมา เทียรดำ ลูกโหระภา ลูกผักชี น้ำปะสารทอง ใบพิมเสน ใบสรรพ้านรามอน ใบผัก

้ ื บ
๗. หวาน รากทองหลาง รากสะลอดน้ำ เมดในมะนาว หวายตะคา ลูกสรรพพิ
ล ะ พ ศ ใครเครือ ดอกพิกุน
ย แ
นไทอมเผา กระดูกงูทับทาเผา งาชางเผา
ดอก
๘. บุญนาก ดอกสาระภี คางปลาชอนขางลางเผา กระดูกผ
ย ์แ งูเหลื
กรามแรดเผา
พ ท
า รแ

๙. เอาเสมอภากทำเปนจุ ณ บทด ว ยน้ ำ ดอกไม ทำแท ง ไว ใ ห กิ น แก ล มบาทยั ก ให ชั ก ท า วกำมื อ

ัิปญญระยอม ใครเครือ ลูกปะคำดีควายขั้ว กะดูกงูเหลือมเผา
ลิ้นกะดางคางแฃงนั้นหายวิ
๑๐. เสศนัก ๚ ขนานหนึ่งเอา เพศนาฎ
ง ภ ม

เอาเสมอภากทำ
ร อ
๑๑. เปนจุณ บททำแทุ้มงคไวละลายน้ำดอกไมกินแกรอน แกลิ้นกระดางคางแฃงชักทาวกำมือ แลแก

๑๒. ชักเขมนไปทัองงตัวนั้นหายดีนัก ๚ ขนานหนึ่งเอา มหาสะดำ เนียระภูษี ใครเครือ วาน

๑๓. กีบแรต วานรอนทอง หวายดะคา หวายตะมอย ลูกราชดัด ลูกปะคำ
๑๔. ดีควายเผา ญาดำ เขากวางเผา งาชางเผา เอาเสมอภากทำ
๑๕. เปนจุนบททำแทงไวลลายน้ำทราวเขาใหกินแกลม
๑๖. บาทยักซึ่งชักเขมนไปทังตัวนั้น
๑๗. หายดีนัก ๚ะ

32
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 11

๏ สิทธิการิยะ อันวาลมบาดทะยัก นั้นทำเพทดุจสันนิบาต ใหชักเทา กำมือ ลิ้นกระดางคางแข็ง


พูดมิได ใหรอนระส่ำระสาย ขบฟนตาเหลือก ใหชักเขมนไปทั้งกาย ทานกำหนดใหแกแตใน ๑๑ วัน พนนั้น
เปนอาการตัด ๚
45
๏ ถาจะแกเอาโกฐสอ โกฐเขมา เทียนดำ ลูกโหระพา ลูกผักชี น้ำประสารทอง ใบพิมเสน ใบสันพรา
มอญ ใบผักหวาน รากทองหลาง รากสลอดน้ำ เม็ดในมะนาว หวายตะคา ลูกสรรพพิษ ไครเครือ ดอกพิกุล
ดอกบุญนาค ดอกสารภี คางปลาชอนขางลางเผา กระดูกงูเหลือมเผา กระดูกงูทับทางเผา งาชางเผา
ไ ท ย
บ ้าน
กรามแรดเผา เอาเสมอภาคทำเปนจุณ บดดวยน้ำดอกไมทำแทงไวใหกินแกลมบาดทะยัก ใหชักเทากำมือ
ลิ้นกระดางคางแข็งนั้นหายวิเศษนัก ๚
ะ พ ื้น
ย แ ล
ไาทงคางแข็ง ชักเทากำมือแลแกชักเขมนไป
46
๏ ขนานหนึ่งเอาพิษนาศน ระยอม ไครเครือ ลูกประคำดีควายคั ่ ว กระดูกงูเหลือมเผา เอาเสมอภาค

์ยแผ
ทำเปนจุณ บดทำแทงไวละลายน้ำดอกไมกินแกรอน แกลิ้นกระด


ทั้งตัวนั้นหายดีนัก ๚
๏ ขนานหนึ่งเอามหาสดำ เนระพูสี ไครเครืรแอ พวานกีบแรด วานรอนทอง หวายตะคา หวายตะมอย
กา งาชางเผา เอาเสมอภาคทำเปนจุณ บดทำแทงไวละลาย
47


เขมญ
ลูกราชดัด ลูกประคำดีควายเผา ยาดำ เขากวางเผา
น้ำซาวขาวใหกิน แกลมบาดทะยักซึ่งชักัญ
ิูมป
นไปทั้งตัวนั้นหายดีนัก ๚

ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช ลมบาทยัก
2
คำจารึกใช สรรพรามอน
3
คำจารึกใช งูทับทา
4
คำจารึกใช เพศนาฏ
33
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 12

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

34
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 12

๑. ๏สิทธิการิยะ
๒. อยาแกหืดเอา เปลือกประ
๓. ยงปา กุมเพลิง เจตมูลเพลิง เขา
๔. ขา บุกรอ กลอย กระดาษทังสอง พริกไท เอา
๕. เสมอภาก ดองดวยสุรา ฝงเขาเปลือกไว ๓ วัน เงินผูกฅอ
ไ ท ย
๖. หมอ 1 กินตามกำลัง ใหสำรอกเสมหะหืดใหตกสิ้น แกหอบหืดก็หายดี
บ ้านนัก ๚
๗. ๏ อนึ่งเอาเปลือกแมงดาเผาครึ่งเปลือก พัดแพวแดง 3 พริกะไท พ ื้นหัวยางสิ่งละ 1 อยาเขา
แล
ดองสุราไว ๓ วัน จึ่งพลีทกยินแกหืดหายฯ อนึ่งเอาพริกไท เกลือ
๘. เยน อยาสูบดี

1 2 2

ผ น
สมุทสิ่ง


๙. ละ ๗ เมด ขิงสด บวบขมสด สิ่งละ ๗ แวทนยกะเทียม ๗ กลีบ บดดวยสุรากินแตฝาหอย ๑
รแ พ
แตภอกำลัง จึ่งกิน
า กา
๑๐. ทวีขึ้นไปทุกวัน รุสรรพเสมหะหืญ
ิูมปัญ
ดทังปวงหาย ฯ อนึ่งเอารากสลอดกินลง รากเลบเยียว รากมะกรูด
ราก
อง ภ
๑๑. มะดู ก รากมะขามป
รากกะดังบายุ้มค ร อ ม รากไข เ น า รากข อ ยหยอง รากก า งปลาแดง รากเท า ยายม อ ม

อ ง ค ดองก็ไดตมก็ได กินจอกชา ๑ แกจับหืด แกหอบก็หายดีนัก ฯ



๑๒. เอาเสมอภาค
๑๓. ๏ อนึ่งเอารากสมกุงทังสอง รากนมแมวทังสอง ขอบชนาง
๑๔. ทังสอง ญาหนวดแมว พันงูแดง น้ำนมเสือ
๑๕. เอาเสมอภาค ดองดวยสุรา ๓ วัน จึ่งใหกิน
๑๖. แกหอบเสมหะหืดทังปวง แก
๑๗. จับก็หายดีนัก ฯะ๛

35
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 12

48
๏ สิทธิการิยะ ยาแกหืด เอาเปลือกประยงคปา กุมเพลิง เจตมูลเพลิง ขาวขา1 บุกรอ กลอย กระดาด
ทั้งสอง พริกไทย เอาเสมอภาค ดองดวยสุรา ฝงขาวเปลือกไว ๓ วัน เงินผูกคอหมอ ๑ บาท กินตามกำลัง
ใหสำรอกเสมหะหืดใหตกสิ้น แกหอบหืดก็หายดีนัก ฯ
49
๏ อนึ่ ง เอาเปลื อ กแมงดาเผาครึ่ ง เปลื อ ก ผั ก แพวแดง2 ๓ สลึ ง พริ ก ไทย หั ว ยั้ ง สิ่ ง ละ ๑ ตำลึ ง
ยาขาวเย็น ๑ ตำลึง ๒ บาท ยาสูบดี ๒ ตำลึง ดองสุราไว ๓ วัน จึงพลีกินแกหืดหาย ฯ
ไ ท ย
๏ อนึ่งเอาพริกไทย เกลือสมุทรสิ่งละ ๗ เม็ด ขิงสด บวบขมสด สิ่งละ ๗ แวน้านกระเทียม ๗ กลีบ
50


้ ื บ ฯ
ะ พ
บดดวยสุรากินแตฝาหอย ๑ แตพอกำลังจึงกินทวีขึ้นไปทุกวัน รุสรรพเสมหะหืดทั้งปวงหาย

๏ อนึ่งเอารากสลอดกินลง รากเล็บเหยี่ยว รากมะกรูด รากมะดูแก รากมะขามปอม รากไขเนา
ไน ทย ดองก็ไดตมก็ได กินจอกชา ๑
51

์ยแผ
รากขอยหยอง รากกางปลาแดง รากเทายายมอม รากกะดังบาย เอาเสมอภาค
แกจับหืด แกหอบก็หายดีนัก ฯ
พ ท
52

น้ำนมเสือ เอาเสมอภาคดองดวยสุรา ๓ วัน จึงใหกินกแก า แ


รหอบเสมหะหืดทั้งปวง แกจับก็หายดีนัก ฯะ๛
๏ อนึ่ ง เอารากส ม กุ ง ทั้ ง สอง รากนมแมวทั้ ง สอง ขอบชะนางทั้ ง สอง หญ า หนวดแมว พั น งู แ ดง

ญ า
ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช เขาขา
2
คำจารึกใช พัดแพวแดง
36
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 13

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

37
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 13

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. จะกลาวสรเภทโรค คือ ไอ เสียง
๓. แหบแหง บังเกิดเพื่อลมนั้น ใหเสมหะ
๔. ออกมามีศรีดำ ใหระคายลำฅอ ถาจะแกเอา สฆาน
๕. เจตมูลเพลิง การพลู กระวาร ตรีกะตุก เยื่อมะฃามเปยก กะเพราะแดง
ไ ท ย
๖. สะมอไท เอาเสมอภาค ทำเปนจุณแทรกน้ำมะนาวใหกินแกไอเสียงแหบแหง้าน

้ ื บ
๗. เพื่อลม แกกินอาหารมิไดไมมีรศ แกเสมหะแกฤษดวงก็หาย ๚ ขนานหนึ
ล ะ พ ่งเอาตรีกะ
ย แ ณบดละลายน้ำผึ้งก็ได น้ำตาน
๘. ตุก รากพรมมิ รากแมงลัก วานน้ำ ชเอม เอาเสมอภาค ทำเปนจุ
น ไท
กรวดก็ได

์ ผ
ย๚ ขนานหนึ่งเอากะเทียม ตรีกะตุก บรเพด
พ ท

๙. ใหกินแกไอแหงเสียงดังกะสาบ เกิดเพือลมนั้นหาย
เพชสังฆาฎ ไบราช
กา ร
ญ า
ัญ
๑๐. พฤกษ เจตมูลเพลิง เอาเสมอภาคทำเปนจุ ณบดลายน้ำผึ้ง ใหกินแกไอเพื่อลมเสียงแหบหาย ๚
๑๑. ๏ ขนานหนึ่งเอา ขา กะเทียูม ม ิปสฆาน เจตมูลเพลิง รากชาพลู ตรีกะตุก เกลือ
อง ภ

ค ทำเปนจุณ บดลายน้ำตาน
๑๒. สินเทา เกลือสุวษา เกลื อ เยาวกาษา มฃามปอม ลูกพิลังกาษา สมอ

ง ค ม
้ ุ

๑๓. ไท วานน้ำ เอาเสมอภาค
๑๔. กรวดก็ไดกน้ำชเอมตมก็ได น้ำรากมะกล่ำเครือ
๑๕. ก็ได ใหกินแกไอเสียงสูญไป แล
๑๖. ไอมิออก เพื่อวาโยสมุ
๑๗. ถานหาย ๚

38
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 13

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวสรเภทโรค คือ ไอเสียงแหบแหง บังเกิดเพื่อลมนั้น ใหเสมหะออกมา มีสีดำ1


ใหระคายลำคอ2
53
๏ ถาจะแกเอาสะคาน 3 เจตมูลเพลิง กานพลู กระวาน ตรีกฏก เยื่อมะขามเปยก กะเพราแดง
สมอไทย เอาเสมอภาค ทำเปนจุณแทรกน้ำมะนาวใหกิน แกไอเสียงแหบแหงเพื่อลม แกกินอาหารมิไดไมมี
รส แกเสมหะ แกริดสีดวง4 ก็หาย ๚
ไ ท ย
้าน
54
๏ ขนานหนึ่งเอาตรีกฏก รากพรมมิ รากแมงลัก วานน้ำ ชะเอม เอาเสมอภาค ทำเปนจุณ บดละลาย
ื้นบ
น้ำผึ้งก็ได น้ำตาลกรวดก็ได ใหกินแกไอแหงเสียงดังกะสาบ เกิดเพื่อลมนั้นหาย ๚
ละ พ

55
๏ ขนานหนึ่งเอากระเทียม ตรีกฏก บอระเพ็ด เพชรสังฆาต ใบราชพฤกษ เจตมูลเพลิง เอาเสมอภาค
ทำเปนจุณบดละลายน้ำผึ้งใหกินแกไอเพื่อลมเสียงแหบหาย ๚ ทย
น ไ
๏ ขนานหนึ่งเอา ขา กระเทียม สะคาน เจตมูลเพลิง์แผรากชาพลู ตรีกฏก เกลือสินเธาว เกลือสุวษา
ยำ เอาเสมอภาคทำเปนจุณบดละลายน้ำตาลกรวด
56


แกพินแกไอเสียงสูญไปและไอมิออก เพื่อวาโยสมุฏฐาน
เกลือเยาวกาษา มะขามปอม ลูกพิลังกาสา สมอไทย วานน้
ก ร
ก็ได น้ำชะเอมตมก็ได น้ำรากมะกล่ำเครือก็ได าให 5


ัิปญญ
หาย ๚

ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช ศรีคำ
2
คำจารึกใช ลำฅอ
3
คำจารึกใช สฆาน
4
คำจารึกใช ฤษดวง
5
คำจารึกใช วาโยสมุถาน
39
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 14

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

40
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 14

๑. ๏ สิทธิการิยะบุทคล
๒. ผูใดไขลงแลพนกำหนด ๓๐ วัน
๓. แลวเปนอำเพอแหงสรรนิบาต คือ เสมหะดีลมทัง
๔. ๓ นี้ ประชุมพรอมไปบอมิไดถอยแลคลายจน ๑๙ วัน เรียกวา สำมะ


๕. ชวน คือ ไขนั้นเสมอมิไดถอย เพราะเสมหะดีลมกลานัก ถาจะแกเอายานี้แกฯ ยาชื่อ
ท ย
๖. สุริยาวุทธิเอาปรอดสวน ๑ สุรรพณถัน ๒ สวน โหรา ๓ สวน มหาหิง ๔ ้าสนวน ผลสลอด ๕ สวน

้ ื บ
๗. ทำเปนจุลบดลายน้ำผึ้งปนเทา ๓ เมด พรรผักกาษใหกินบำรุะงพเพลิงธาตุ แกลม ๘๐ จำพวก
ย แล
แกพยาธิทังปวง
ไท
๘. ใหฉิบหาย ฯ ยาชื่อมหาสุริยาวุทธิเอาปรอดสวน ๑ผสุนพรรณถัน ๒ โหรา ๓ สวน มหาหิง ๔ สวน
ย ์แ
ดีปลี ๕ สวน กานพลู ๗ สวน
พ ท
า รแ
เปนยารุเกีดแตเตโชธาตุสมุฐารนั้น าฯก
๙. ผลสลอด ๒๑ สวน ทำเปนจุลกินดวยน้ ำผึ้งเพลาเชาเทา ๓ เมดพรรผักกาษ อาจจะงับโรคทังปวง

ัิปญญกะตุก ตรีผลา ปรอด เกลือสินเทา สุพรรณถัน น้ำประสารทอง


๑๐. ฯ ยาชื่อราชวิเรจนะโอสถเอาตรี
สิ่งละสวน ผลสลอด ง๑๐ ภ ูมสวน
ค รอำผึ้งกินตามกำลัง รุไขเจลี่ยงอันเปนมานานนั้นหายไนยหนึ่งใหเติมผลสลอด
๒๐ สวอนปงคน
๑๑. ทำเปนจุลบดลายนุ้้ม

๑๒. เทาผลมกล่ำตาชางใหกินเปนยารุลงเรวดีมีคุณมากนัก ฯ ยาชื่อศุกขวิเรจนะโอสถ เอาการะบูน
๑๓. น้ำประสารทองสิ่งละสวน กระวาร ๒ สวน โกดกานพราวสี่สวน ลูกจันดอกจัน สิ่งละ ๘
๑๔. สวนสมอเทษ ๑๖ สวน ผลสลอด ๓๒ สวนทำเปนนาบดลายน้ำ
๑๕. ขิงใหกินตามกำลังลงเรวสดวกกุไขเจลี่ยงอัน
๑๖. เปนนักแกพยาธิทังปวงก็หายา
๑๗. วิเศศหนัก ๚๛

41
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 14

๏ สิทธิการิยะ บุคคลผูใดไขลงแลพนกำหนด ๓๐ วัน แลวเปนอำเภอแหงสันนิบาต คือ เสมหะ ดี ลม


ทั้ง ๓ นี้ ประชุมพรอมไปบมิไดถอยแลคลายจน ๑๙ วัน เรียกวา สัมประชวร คือ ไขนั้นเสมอมิไดถอยเพราะ
เสมหะ ดี ลม กลานัก ถาจะแกเอายานี้แกฯ
57
๏ ยาชื่อสุริยาวุทธิ เอาปรอทสวน ๑ สุพรรณถัน ๒ สวน โหรา ๓ สวน มหาหิงคุ ๔ สวน ผลสลอด
๕ สวน ทำเปนจุณบดละลายน้ำผึ้งปนเทา ๓ เมล็ดพันธุผักกาด1 ใหกินบำรุงเพลิงธาตุ แกลม ๘๐ จำพวก
แกพยาธิทั้งปวงใหฉิบหาย ฯ
ไ ท ย

๏ ยาชื่อมหาสุริยาวุทธิ เอาปรอทสวน ๑ สุพรรณถัน ๒ โหรา ๓ สวน มหาหิงคุบ ้า๔ สวน ดีปลี ๕ สวน
ื้น
58

กานพลู ๗ สวน ผลสลอด ๒๑ สวน ทำเปนจุณกินดวยน้ำผึ้งเพลาเชาเทา ๓ เมล็ะดพพันธุผักกาด อาจระงับโรค


ย แล
ทั้งปวง เปนยารุเกิดแตเตโชธาตุสมุฏฐานนั้น ฯ
ไ ท
๏ ยาชื่อราชวิเรจนโอสถ เอาตรีกฏก ตรีผลา ปรอท เกลือสิผนนเธาว สุพรรณถัน น้ำประสารทอง สิ่งละ
์แง รุไขเจลียงอันเปนมานานนั้นหาย นัยหนึ่ง
59

ท ย
ใหเติมผลสลอด ๒๐ สวน ปนเทาผลมะกล่ำตาชาง ใหรกแินพ
สวน ผลสลอด ๑๐ สวน ทำเปนจุณบดละลายน้ำผึ้งกินตามกำลั

2
เปนยารุลงเร็วดี มีคุณมากนัก ฯ
๏ ยาชื่อศุกขวิเรจนะโอสถ เอาการบูร ญ
60 า ก
น้ำประสารทอง สิ่งละสวน กระวาน ๒ สวน โกฐกานพราว
๔ สวน ลูกจันทน ดอกจันทน สิ่งละ ๘ สิปวนัญสมอเทศ ๑๖ สวน ผลสลอด ๓๒ สวน ทำเปนน้ำ บดละลาย


3

น้ำขิงกินตามกำลังลงเร็ว สะดวกกุ ไขภเจลี


รอง
4
ยงอันเปนนักแกพยาธิทั้งปวงก็หาย ยาวิเศษหนัก ๚๛

ุ้ม ค
ง ค
กอ

1
คำจารึกใช พรรผักกาษ
2
คำจารึกใช ผลกล่ำตาชาง
3
นาละเปน จุณ
4
นาจะเปน รุ

42
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 15

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

43
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 15

๑. ๏ สิทธิการิยะ อนึ่ง
๒. จกลาวกูมารกูมารีเกิดวันพฤหัศ
๓. ทรางโคเปนเจาเรือน ทรางเขาเปลือกเปนทรางจร
๔. หละชื่อนิลกาล ลอองชื่อมหาเมฆ ลมชื่อหัศคินี จรประจำทราง
๕. โควันพฤหัศ ฯ ในอาการทรางโคนั้น มักใหพรึง ขึ้นทั้งตัวดั่งเปนผด ทำให
ไ ท ย
บ ้าน
ื้น กตกเลือดดังนี้ถาจะ
ลง
ใหกระหาย น้ำพตกมู
๖. ตัวรอนใหบิดตัว ครั้นจมลงไปก็ใหทำทองทัง
และ
ไน ทยนมโคขน ลูกจัน ดอกจัน พริกไท
ราก

์ยแผ
๗. แกเอาลูกจิ่งจอ ลูกหมอนอย ลูกยาใตใบ เนรภูศรี สมอเทด
เอาเสมอ

๘. ภาคทำเปนจุลบดทำแทงไวลายสุรากิน แกแพพิศทรางใหตัวรอนนั้นหาย ๚ อนึ่งเอา ใบสมสา
กา ร
ใบมกรูด ใบมเฟอง แหวหมู
ญ า
๙. ลูกเขยตาย สมอพิเภก รากชาพลูัญเอาเสมอภาคทำเปนจุล บดทำแทงไวลายสุราแซก ดีงูเหลือม

ู ิป่ง
กินแกพิศทรางโคนั้นหาย ๚
ง ภ อนึ
ค รอ ลูกพุมเรียง พริกไท ขมิ้นออย น้ำประสารทองเอา เสมอภาค ทำเปนจุล
ค ุ้มรากิน
๑๐. เอาลูกสลาหลกกระวาน
บดทำแทงไวงลายสุ
กอ ถาจะกวาดก็ได ๚ อนึ่งเอาลูกมกอกเทดเผา ลูกปคำดีควายเผา ลูกตานโขมย
๑๑. แกพิศทรางโคหาย
๑๒. ลูกมตูม เปลือกมรุม เบญกานี ดอกจัน การพลู รากหิ่งหาย ฃอนดอก ชลูด ะ
๑๓. เอาเสมอภาคทำเปนจุลบดทำแทงไว ลลายสุรากิน แกพิศ
๑๔. ทรางโค ถาจชโลมลายน้ำดอกไมแกทรางโค ซึ่งผุดออก
๑๕. มานั้นหาย อนึ่งเอาตรีกะตุก ชเอมกเทียม เกลือ
๑๖. ลลายน้ำมนาว หอมรำหัดกวาดแก
๑๗. ทรางโคหายแล ๚ะ

44
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 15

๏ สิทธิการิยะ อนึ่งจะกลาวกุมารกุมารีเกิดวันพฤหัส(บดี) ซางโคเปนเจาเรือนซางขาวเปลือกเปน


ซางจร หละชื่อนิลกาฬ ละอองชื่อมหาเมฆ ลมชื่อหัศคินีจรประจำซางโควันพฤหัสฯ ในอาการ ซางโคนั้น
มักใหพรึงขึ้นทั้งตัวดั่งเปนผด ทำใหตัวรอนใหบิดตัว ครั้นจมลงไปก็ใหทำทองทั้งลงทั้งราก ใหกระหายน้ำ
ตกมูกตกเลือดดังนี้
61
๏ ถ า จะแก เ อาลู ก จิ ง จ อ ลู ก หมอน อ ย 1 ลู ก หญ า ใต ใ บ เนระพู สี สมอเทศ นมโคข น ลู ก จั น ทน
ไ ท ย
ดอกจันทน พริกไทย เอาเสมอภาคทำเปนจุณ บดทำแทงไวละลายสุรากินแกพิษซางให ตัวรอนนั้นหาย ๚

๏ อนึ่งเอา ใบสมซา ใบมะกรูด ใบมะเฟอง แหวหมู ลูกเขยตาย สมอพิเภกบ้ารากชาพลู เอาเสมอภาค
ื้น
62

ทำเปนจุณบดทำแทงไวละลายสุราแทรกดีงูเหลือม กินแกพิษซางโคนั้นหาย ะ๚พ


แล
๏ อนึ่งเอา ลูกสลาหลก กระวาน ลูกพุมเรียง พริกไทย ขมิท้นยออย น้ำประสารทอง เอาเสมอภาค
ไ ได ๚
63

ผ น


ทำเปนจุณบดทำแทงไวละลายสุรากินแกพิษซางโคหาย ถาจะกวาดก็
ย ลูกตาลขโมย ลูกมะตูม เปลือกมะรุม เบญกานี

แพ
64
๏ อนึ่งเอา ลูกมะกอกเทศเผา ลูกประคำดีควายเผา

ดอกจันทน กานพลู รากหิ่งหาย ขอนดอก ชะลูดาเอาเสมอภาคทำเป

า่งผุดออกมานั้นหาย
นจุณบดทำแทงไว ละลายสุรากินแกพิษ
ซางโค ถาจะชโลมละลายน้ำดอกไมแกซางโคซึ ญ
65
ิูมปัญยม เกลือ ละลายน้ำมะนาว หอมรำหัดกวาดแกซางโคหายแล ๚

๏ อนึ่งเอา ตรีกฏก ชะเอม กระเที

รอง
ุ้ม ค
ง ค
กอ

1
คำจารึกใช จูกหมอนอย
45
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 16

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

46
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 16

๏ แผนปลิงคว่ำ ๚๛

ตามืดเปนตอ ตาหมอก
ฯ แก ฯ แก
วางปลิง ๕ ตัว ตามืดตามัว

ไ ท ย

้ น
ฯ แกหูตึง หูหนวก ฯ แก ตามืดนัดยาดวย


้ ื บ
ฯ แกปวดหัวเจบกระบอกตา
ะ พ
ฯ แกเจบศีศะให

นัดยาดวย

ย แ ฯ แกปตฆาฎดูดสบัก
นไท
ฯ แกเอนชักอก

ฯ แกไขจับไขตเลียง ตัวรอน
์ย ผ
แ ฯ แกรัตปตตะมักเจบเอวนัก

พท
ดั่งเอวจะหลุยหลุดแล

า รแ
ฯ แกเสมหะเปนที่สุดนัก
าก
ัปิ ญ

แลนถึงตะโภกแล ฯ แกตะโภกตายแล



ฯ แกลมรัตปตตะ หยิกมิเจบ

ฯ แกเปลี่ยวดำ อง


ฯ แกตีนตายหยิกมิเจบ

ุ้ม ค
ฯ แกลมจับงนคองสั่น
กอ แกเสนผูก ฯ แกนอนมิหลับ แก
ทวารทุกะสัตมิออ อัณฑพฦกแขงอยู

๏ แกไขตัวรอน แกไขใหกระหายน้ำ
แกทังสองเหมือนกันแล ๚

47
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 16

๏ แผนปลิงคว่ำ ๚๛

ตามืดเปนตอ ตาหมอก
ฯ แก ฯ แก
วางปลิง ๕ ตัว ตามืดตามัว

ไ ท ย

้ น
ฯ แกหูตึง หูหนวก ฯ แก ตามืดนัดยาดวย

ฯ แกเจ็บศีศะใหนื้นัดยาดวย
ฯ แกปวดหัวเจ็บกระบอกตา
ล ะ พ
ย แ ฯ แกปตคาด ดูดสบัก
นไท
ฯ แกเอ็นชักอก 1

ฯ แกไขจับไขเจลียง2 ตัวรอน
์ยแผ 3
ฯ แกรัตตปตตะ มักเจ็บเอวนัก

พท
ดั่งเอวจะรุยหลุดแล

า รแ
ฯ แกเสมหะเปนที่สุดนัก
าก
ัปิ ญ

แลนถึงสะโพกแล ฯ แกสะโพกตายแล



3
ฯ แกลมรัตตะปตตะ หยิกมิเจ็บ

อง ภ

ฯ แกตีนตายหยิกมิเจ็บ

ฯ แกเปลี่ยวดำ

ง ค มุ้
ก อ
ฯ แกลมจับนองสั่น แกเสนผูก
ทวารทุกะสัตมิออ
ฯ แกนอนมิหลับ แก
อัณฑพฦกษ4 แข็งอยู

๏ แกไขตัวรอน แกไขใหกระหายน้ำ
แกทั้งสองเหมือนกันแล ๚


คำจารึกใช ปตฆาฎ

คำจารึกใช ตเลียง

คำจารึกใช รัตปตตะ

คำจารึกใช อันทพฦก

48
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 17

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

49
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 17

๑ ๏ สิทธิการิยะ
๒. ถาวากำลังเลือดกลานักตีขึ้นไป
มือ
๓. ไมสมประดีใหสลบตายใหชัก กำปากมิ
ติน
๔. ออกลิ้นกระดางแขงทำใหคนทังหลายกลัวอันนี้ชื่อวาเลือด
ไ ท ย
้าน 2 เกลือ 1
12
๕. เหนาเปนใหญกวาลมทังหลายจึงใหมิโทษดังกลาวมานี้ ฯ ถาจะแกเอาสัง
๖. ดินประสิวขาว 1 ลูกจัน 1 ดอกจัน 1 เทียนดำ 2 เทียื้นนขาว บ
ล ะ พ
แ ลายน้ำซมซา
ขะมีนออย 1 ขิง 2

ไท ย

๗. กะชาย 2 ไพล 2 หัวหอม 2 กะเทียม 2 บดเปนแทง

์ ผ
มีใหตขึ้นไดเลยถาผูใดกินยา ทย
เหนา
แกเลือด
ร แ พ
ราย
า กา
1 ัญญ
1
๘. นี้ตัวอยูไฟไดเดือนหนึงอยาสนเทเลยฯ อย า ชื ่ อ ว า สั ง ขวิ ไชย เอารากภานงู แ ดง แหวหมู
ไพลแหง ิป


1 1
บระเพช

อ ง ภ
เปลือกกุมทังค2ร สิ่ง ล 2
๙. ขมิ้นออยแหง 1 รากมะตู ม 1 รากจิงจอ 1 รากปบ 1 ผิวมะกรูด 1 เอื้องพิศมา
ุ้ม
2

๑๐. ไฟเดือนหาอ ง ค
ฉเอมทัง ก2
2
สมูลแวง 2 กรุงเขมา 2 โกดทังเกาสิงล 1 เทียรทัง ๗ สิ่งละ 1

๑๑. สิงละ 1 รากทนดี 1


รากหนาด 1
พริกหอม 1
รากพุงดอ 1
รากชาพลู 1

รากซมกุง
2 1 11 2
๑๒. ทัง ๒ สิงล รากเจตพังดี การะบูน ลูกในกระวาน
2 1 2 2 1 1
๑๓. ลูกเอน รากมะรูม มแวงเครือ รากมะเขือขื่น ลูกจัน ดอกจัน
2 1 2 1
๑๔. การพลู รากเจตมูลเพลิง แกนแสมทัง 2 สนเทษ
2 2 2 1
๑๕. สคาน ยายองไฟ สังเผา สังหนาม
๑๖. ยานี้ตำเปนผงลายน้ำซมซาให
๑๗. หญิงกินหาย ๚๛
50
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 17

๏ สิทธิการิยะ ถาวากำลังเลือดกลานักตีขึ้นไปไมสมประดีใหสลบตายใหชักมือกำชักตีนกำ ปากมิออก


ลิ้นกระดางคางแข็ง ทำใหคนทั้งหลายกลัว อันนี้ชื่อวาเลือดเนาเปนใหญกวาลมทั้งหลาย จึงใหมีโทษดังกลาว
มานี้
66
๏ ถาจะแกเอาสังข ๑ ตำลึง ๒ บาท ดินประสิวขาว ๑ บาท ลูกจันทน ๑ สลึง ดอกจันทน ๑ สลึง
เทียนดำ ๒ สลึง เทียนขาว ๒ สลึง เกลือ ๑ สลึง ขมิ้นออย ๑ บาท ขิง ๒ สลึง กระชาย ๒ สลึง ไพล ๒ สลึง
ไ ท ย
หัวหอม ๒ สลึง กระเทียม ๒ สลึง บดเปนแทงละลายน้ำสมซา แกเลือดเนาเลือดราย มิใหตีขึ้นไดเลย ถาผูใด
กินยานี้ตั้งอยูไฟไดเดือน ๑ อยาสนเทหเลย
บ ้าน
พ ื้น ด ๑ ตำลึง ไพลแหง ๑
๏ ยาชื่อวาสังขวิไชย เอารากพันงูแดง ๑ ตำลึง แหวหมู ๑ ตำลึง ะบอระเพ็

67

ย แ
เพ็ดมา ๒ บาท เปลือกกุมทั้งสอง สิ่งละ ๒ บาท มะไฟเดือนหา น๒ไทบาท สมุลแวง ๒ บาท กรุงเขมา ๒ บาท
ตำลึง ขมิ้นออยแหง ๑ บาท รากมะตูม ๑ บาท รากจิงจอ ๑ บาท รากป บ ๑ บาท ผิวมะกรูด ๑ บาท เอื้อง

์ยแผ ้งสอง สิ่งละ ๑ บาท รากทนดี ๑ บาท


ทรากชาพลู ๑ บาท รากสมกุงทั้งสอง สิ่งละ ๒ บาท
โกฐทั้งเกา สิ่งละ ๑ บาท เทียนทั้งเจ็ด สิ่งละ ๑ บาท ชะเอมทั
แ พ
รากเจตพังคี ๑ ตำลึง การบูร ๑ ตำลึง ๑ บาทกลูากรในกระวาน ๒ ตำลึง ลูกเอ็น ๒ บาท รากมะรุม ๑ บาท
รากหนาด ๑ บาท พริกหอม ๑ ตำลึง รากพุงดอ ๑ บาท

ญ า ลูกจันทน ๑ บาท ดอกจันทน ๑ บาท กานพลู ๒ บาท


ัญ ๒ บาท ๒ สลึง สนเทศ ๑ ตำลึง สะคาน ๒ บาท หญายองไฟ
มะแว ง เครื อ ๒ บาท รากมะเขื อ ขื่ น ๒ บาท
รากเจตมูลเพลิง ๑ บาท แกนแสมทั้งิปสอง
ูม
๒ บาท สังขเผา ๒ บาท สังหนามงภ๑ ตำลึง ยานี้ตำเปนผงละลายน้ำสมซาใหหญิงกินหาย ฯ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

51
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 18

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

52
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 18

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๑๑
๒. จกลาวฝดาษเกิดในเดือน ๑๒


๓. ทัง ๓ เดือนนี้ เกิดเพื่ออาโปธาดุ มักใหเยน
นไ ท
๔. ในอกแลมักตกมูกตกเลือด ใหเสียแมแสลงพอ แสลงนุง
บ า

๕. ฃาวหมฃาว แลวทำบัดใปสงทิศอุดรแลอิสาร จึ่งจดี ๚ ถาจะแกเอาใบมอึ
พ น
้ ื
ะใบหมาก ใบทอง

๖. ใบผักบุงรวม ใบผักบุงฃัน ใบกางปลาทังสอง ใบพุงดอ ใบผักแฃวง ล
ไน ทย๚ ขนานหนึ่งเอากทิมะพราว น้ำคาว
๗. พันชั่ง เอาเสมอภาค ตำเอาน้ำพนดับพิศฝ เพื่อเสมหะหาย

๘. ปลาไหล ไฃเปดลูกหนึ่ง มูลโคดำ แกนปดู ทเอาเสมอภาคแ
์ ผ

บดพนฝเพื่อเสมหะที่ดานอยูนั้นขึ้น
ร แ
กงา น้ำมันงา น้ำมันหัวกุง น้ำรากถั่วภู เอาเสมอภาค พนฝเพื่อ
แลแปรฝราย

ัิปญญ
๙. ใหเปนดี ๚ ขนานหนึ่งเอา น้ำลูกตำลึ
เสมหะ ใหยอดขึ้น
ง ภ ม

รอ
๑๐. หนองงามดีนัก ๚ ขนานหนึ ่งเอา เหดมูลโค วานกิบแรต วานรอนทอง สังกระนี ชเอม ลูกปคำ
ดีควาย ค
ุ้ม กดูกเสือเผา มกล่ำเครือ ฃันทศกอร มฃามเปยก เอาเสมอ
อ ง ค

๑๑. หวายดค า เขากวางเผา
๑๒. ภาคทำเปนจุณ บดดวยน้ำมนาวทำแทงไว ลลายสุรา ดีงูเหลือมรำหัดกินแกฅอ
๑๓. แหบแหงแกฅอเครือหายดีนัก ๚ ขนานหนึ่งเอา ใบหิ่งหาย ใบโหระ
๑๔. ภา ใบผักคราด ใบมนาว พันงูแดง เอาเสมอภาค
๑๕. บดทำแทงไว ลลายสุรากิน แกพิศฝ
๑๖. เพื่อเสมหะใหคลั่งใหสลบ
๑๗. ไปก็ดีหายวิเสศแล ฯ

53
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 18

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวฝดาษเกิดในเดือน ๑๑ เดือน ๑๒ เดือน ๑ ทั้ง ๓ เดือนนี้ เกิดเพื่ออาโปธาตุ


มักใหเย็นในอกแลมักตกมูกตกเลือด ใหเสียแมแสลงพอ แสลงนุงขาวหมขาว แลวทำบัตรไปสง ทิศอุดรแล
อีสานจึงจะดี ๚
68
๏ ถาจะแก เอาใบมะอึก ใบผักบุงรวม ใบผักบุงขัน ใบกางปลาทั้งสอง ใบพุงดอ ใบผักขวง ใบหมาก
ใบทองพันชั่ง เอาเสมอภาค ตำเอาน้ำพน ดับพิษฝ เพื่อเสมหะหาย ๚
ไ ท ย
้าน
69
๏ ขนานหนึ่งเอา กะทิมะพราว น้ำคาวปลาไหล ไขเปดลูกหนึ่ง มูลโคดำ แกนประดู เอาเสมอภาค
บดพนฝเพื่อเสมหะที่ดานอยูนั้นขึ้นแลแปรฝรายใหเปนดี ๚
ื้นบ
ละ พ

70
๏ ขนานหนึ่งเอา น้ำลูกตำลึง น้ำมันงา น้ำมันหัวกุง น้ำรากถั่วพู เอาสมอภาค พนฝเพื่อเสมหะให
ไท ย

ยอดขึ้น หนองงามดีนัก ๚
๏ ขนานหนึ่งเอา เห็ดมูลโค วานกีบแรด วานรอนทอง ์แสัผงกรณี ชะเอม ลูกประคำดีควาย หวาย
ย ยก เอาเสมอภาคทำเปนจุณ บดดวย
71 1

ตะคา เขากวางเผา กระดูกเสือเผา มะกล่ำเครือ ขัณฑสกร ทมะขามเป


แพ ง แกคอเครือ หายดีนัก ๚
2

น้ำมะนาวทำแทงไวละลายสุรา ดีงูเหลือมรำหัด กินแกาครอแหบแห


าก
๏ ขนานหนึ่งเอา ใบหิ่งหาย ใบโหระพาญใบผักคราด ใบมะนาว พันงูแดง เอาเสมอภาค บดทำแทงไว
ใหัญ
72

ละลายสุรากิน แกพิษฝ เพื่อเสมหะใหคลัูม่งิป



สลบไปก็ดี หายวิเศษนัก ๚
ร อง

้ ุ ค
อ ง ค


คำจารึกใช สังกระนี

คำจารึกใช ฃันทศกอร

54
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 19

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

55
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 19

๏ แผนปลิงหงาย ๚ ะ

ฯ เมื่อยเสียบแทงวาง ฯ แกปวดหัวกลาง
ปลิงทีคางขางหนึ่ง เกาตัว กระหมอมทัดดอกไม ๓ ตัว ๚ะ
ไ ท ย
้าน๑๑ ตัว
สิบตัว
ลมอำภาษ

๑๑ ตัว
ื้น
ฯ แก ราทยักษ

แกเจบตัวแลไขนานหาย

หืดไอ

แ ล แกฤษดวง ๑๑ ตัว

ไน ทย
ฯ แกลมพิศ ๙ ตัว

์ย ผ
ฯ แกเปนฝกะแช ๓ ตัว
แ ฯ แกลมราทยักหืดไอ ๑๑ ตัว

พท
ฯ แกทองมาร แกรัตตะปตตะ ๙ ตัว

า รแ ฯ แกตะคริวแกรัตปตตะ ๑๑ ตัว
าก
ัิปญญ
ฯ แกลมกระไสย แกดานทคุณ ๙ ตัว
ฯ แกลมลำโฮก ๙ ตัว
ฯ แกตะคริว แกไขตัวรอน ๙ ตัว
ภ ม

อง
ฯ แกแขนขาตาย ๗ ตัว

ค ร
มุ้
ฯ แกกลอนแกอันทพฤก ๙ ตัว

ฯ แกอันทพฤษ ๙ ตัว

ก อง
ฯ แกเปนปวง ๙ ตัว
ฯ แกลมรัทวาต ๙ ตัว

ฯ แกไขใหครั่นตัว ๗ ตัว ๚ะ

ฯ แกลมปวง ๗ ตัว ๚ะ

56
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 19

๏ แผนปลิงหงาย ๚ ะ

ฯ เมื่อยเสียบแทงวาง ฯ แกปวดหัวกลาง
ปลิงที่คางขางหนึ่ง เกาตัว กระหมอมทัดดอกไม ๓ ตัว ๚ะ
ไ ท ย
้าน ๑๑ ตัว
สิบตัว
ลมอำพาต1
แกเจ็บตัวแลไขบนานหาย
๑๑ ตัว
ื้นแกริดสีดวง ๑๑ ตัว
ฯ แกราทยักษ
หืดไอ
ล ะ พ

2

ไน ทย
3
ฯ แกลมพิษ ๙ ตัว

์ย ผ
ฯ แกเปนฝกะแช ๓ ตัว
แ ฯ แกลมราทยักษ หืดไอ ๑๑ ตัว

พท
ฯ แกทองมาน แกรัตตะปตตะ ๙ ตัว

า รแ ฯ แกตะคริวแกรัตตปตตะ4 ๑๑ ตัว
า ก

ฯ แกลมกระษัย5 แกดานทะลุน6 ๙ ตัว

ปิ ัญ
ฯ แกลมลำโฮก ๙ ตัว
ฯ แกตะคริว แกไขตัวรอน ๙ ตัว
ภ ม

อง
ฯ แกแขนขาตาย ๗ ตัว

ค ร
มุ้
ฯ แกกลอนแกอันทพฤกษ ๙ ตัว

ฯ แกอันฑพฤกษ ๙ ตัว

ก อง
ฯ แกเปนปวง ๙ ตัว
ฯ แกลมรัทวาต ๙ ตัว

ฯ แกไขใหครั่นตัว ๗ ตัว ๚ะ

ฯ แกลมปวง ๗ ตัว ๚ะ

๑ 4
คำจารึกใช อำภาษ คำจารึกใช รัตปตตะ
๒ 5
คำจารึกใช ฤษดวง คำจารึกใช กระไส
๓ 6
คำจารึกใช ลมพิศ คำจารึกใช คานทคุณ
57
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 20

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

58
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 20
๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. จะกลาวดวยดานเถาเกิดเพื่อลํม
๓. ปศฆาด ทำใหลำเสนนั้นพองเทาขอแขนขวาง
๔. อยูหัวเหนาขึ้นมาจนเลียวขาง หญิงเปนซาย ชายเปนขวาแลว
๕. ใหเสียดชายโครงแลยอดอกตลอดถึงลำฅอใหอาเจียรอาการดุจฝปลวก
ดาน
๖. แลฝมะเรงทรวงตั้งเปน สำคัญ1ู ผิดกันแตมูดถาดานเถามูดแดงติจจะ
เถา
ไ ท ย
บ ้าน
ื้น
๑๒
๗. เหลืองถาฝมูด ดำถึง
ะ พ
ปแลวกลายเปนดานกระไส เรียกวาดานตคุนเปนอาการตัดถาจะ

๑๓
ย แ
แกใหแกแตยังออนนั้น ๚
น ไท
ย ์แผ
พท
๘. ทานใหเอากฤษนา กลำภัก ลูกจัน ดอกจัน กระวาร การพลู เทียรทังหา
สอ
า รแ
าก
โกด โกดกานพราว โกดกระดูก สิ่งละ 1

ัิปญญ
พุงปลา



๙. สมอทังสามสิ่งละ 2 ลูกสลอดประสะแลวเทาอยาทังหลายทำเปนจุล บดดวยน้ำผึ้งกิน ๕

ค ร อง
กล่ำลง ๕ ครั้ง อยานี้มีคุณมากแกดานเถาสรพ

ค มุ้
๑๐. โรคทั ง ปวงดี นั ก ฯ ขนานหนึ่ ง เอาตรี ก ะตุ ก แก น แสมทั ง สอง เจตมู ล เพลิ ง หั ศ คุ ณ ทั ง สอง


ฝกสมปอยขั้ว สิ่งละ 3 ลูกจัน

๑๑. ดอกจัน การพลู สิ่งล 1 สมูลแวง 1 2 ทำเปนจุลลายน้ำผึ้งน้ำกะเทียมก็ไดกินแกดานเถาให
เสียดชายโครง
๑๒. หายแกลมอำมภาษราชยัก ลายน้ำขิง น้ำขา น้ำกะเทียม ก็ไดหามแตน้ำมะนาว สิ่งเดียว ฯ ขนาน
๑๓. หนึ่งเอาลูกเอน 11 กระวาร 22 อบเชยเทษ 33 ดอกบุนนาก 1 ดีปลี 1 2 ฃีง
๑๔. แหง 1 1 ชเอมเทษ 1 12 พริกลอน 2 13 ลูกมะขามปอม 2 2
ดาน
11 3
๑๕. น้ำตานทราย 3 ทำจุลลายน้ำทากินแก
เถา
๑๖. เสียดชายโครงตลอดถึงลำคอใหอา
๑๗. เจียรนั้นหาย ฯะ-
59

คำจารึกใช “ญ” ไมมีเชิง
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 20

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวดวยดานเถาเกิดเพื่อลมปตคาด ทำใหลำเสนนั้นพองเทาขอแขนขวางอยู


หัวหนาว ขึ้นมาจนเลียวขาง หญิงเปนซายชายเปนขวา แลวใหเสียดชายโครงและยอดอกตลอดถึงลำคอให
อาเจียน อาการดุจฝปลวกและฝมะเร็งทรวงตั้งเปนดานเปนเถาสำคัญผิดกันแตมูตร ถาดานเถามูตรแดงติดจะ
เหลือง ถาฝมูตรดำถึง ๑๒ ป ๑๓ ป แลวกลายเปนดานกระษัย เรียกวา ดานทะลุน เปนอาการตัดถาจะแกให
แกแตยังออนนั้น ฯ
73
๏ ท านใหเอากฤษณา กระลำพัก ลูกจันทน ดอกจันทน กระวาน กานพลู เทียนทั้งหา โกฐสอ
ไ ท ย
บ ้าน
โกฐพุงปลา โกฐกานพราว โกฐกระดูก สิ่งละ ๑ สลึง สมอทั้งสามสิ่งละ ๒ สลึง ลูกสลอดประสะแลวเทายาทั้ง
ะ พ ื้น
หลายทำเปนจุณบดดวยน้ำผิ้งกิน ๕ กล่ำ ลง ๕ ครั้ง ยานี้มีคุณมากแกดานเถาสรรพโรคทั้งปวงดีนัก ฯ
๏ ขนานหนึ่งเอาตรีกฏก แกนแสมทั้งสอง เจตมูลเพลิง หัสคุณทั้งยสอง แล ฝกสมปอยคั่วสิ่งละ ๓ บาท
ไททำเปนจุณละลายน้ำผึ้ง น้ำกระเทียม
74


์ยแกผษ ละลายน้ำขิง น้ำขา น้ำกระเทียมก็ได
ลูกจันทน ดอกจันทน กานพลู สิ่งละ ๑ สลึง สมุลแวง ๑ ตำลึง ๒ บาท


ก็ไดกินแกดานเถาใหเสียดชายโครงหาย แกลมอัมพาต ราทยั
แ พ
าร ๒ บาท ๒ สลึง อบเชยเทศ ๓ บาท ๓ สลึง
หามแตน้ำมะนาวสิ่งเดียว ฯ
๏ ขนานหนึ่ง เอาลูกเอ็น ๑ บาท ๑ สลึงากกระวาน
75

ดอกบุนนาค ๑ ตำลึง ดีปลี ๑ ตำลึง ๒ บาทัญขิญ




งแหง ๑ ตำลึง ๑ บาท ชะเอมเทศ ๑ ตำลึง ๑ บาท ๒ สลึง
ภ ม

ทำจุณละลายน้ำทากิน แกดานแกรอเถาง เสียดชายโครงตลอดถึงลำคอ ใหอาเจียนนั้นหาย ฯ
พริกลอน ๒ ตำลึง ๑ บาท ๓ สลึง ลูกมะขามป อม ๒ ตำลึง ๒ บาท น้ำตาลทราย ๑๑ ตำลึง ๓ บาท ๓ สลึง


้ ุ ค
อ ง ค

60
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 21

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

61
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 21

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. พระอาจาริยะเจากลาวไววา :
๓. ถาผูใดเปนโรคสันะคาควาดวยโลหิตตกออก
๔. มาจากทวารเบานั้นเปนเหลือดสดเปนกอนแลวเนาเขาเปน
๕. น้ำลางเนื้อแลดั่งน้ำคาวปลา บุรุษแลสัตรีก็เหมือนกันทำใหเบาหยดหยดให
ไ ท ย
บ ้านเอาราก
ื้นำ เปลือกพุทรา ไสขนุน
๖. ปวดเปนกำลังเปนโลหิตเนาจางตกออกมาก็ดีโลหิตสุกตกออกมาก็ดี ฯ ถาจะแก


๗. ใครเครือ สคาน กะถินแดง เปลือกกุมบก เปลือกโลด เปลือกทองหลางน้ะ พ

ย ่งใหแซกน้ำผึ้งกินแกปวด
๘. ละมุด ตรีผลา รากเสนียด มูลแวง อยาทังนี้เอาเสมอภาคตมทสามเอาหนึ
น ไ
ดีนักแกทัง
ย ผ
์แ งสาม ผลโหระภา กระสานซมสะตุ
พ ท

๙. บุบโพโลหิตในสันทฆาตหายแลฯ ขนานหนึ่งเอา สมอทั
เทียรดำ ผลผักชี รากเจตพังคี :
กา ร
๑๐. ผลพิลังกะษา มะหาหิง พริกไท ๒ญดีาปลี ๖ น้ำประสานสะตุ ๘ ฝกซมปอยปง ๓ ดีนถนำ ๓
ฝาหอยเทด ๓ ิูมปัญ

๑๑. เกลือทังหา ๔ อยาทังอนีง้เอาเสมอภาคตำเปนผงลายน้
ค ร ำผึ้งกินเถิด โรคสันทฆาต ดังกลาวมานั้น
หาย ๚ะ
ค ม
้ ุ
๑๒. ๏ ขนานหนึอ่งงเอาเปลือกโลด หินประการังแดง ดีปลี น้ำประสานทองสะตุ อยาสี่สิ่งนี้

๑๓. บดลายน้ำซาวเขาน้ำออยแดงก็ไดกินแกสันทฆาตมุตกริดมุตฆาตหายแล ๚
๑๔. ๏ ขนานหนึ่ง เอาสมอเทด โคกกะสุน รากราชพฤก หินประ
๑๕. การัง โกดจุลาลำภา เสมอภาคตมสามเอา
๑๖. หนึ่งกินแกสันทฆาตมุตกริด
๑๗. หายแล ๚๛

62
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 21

๏ สิทธิการิยะ พระอาจาริยะเจากลาวไววา ถาผูใดเปนโรคสันทฆาต1 วาดวยโลหิตตกออกมาจาก


ทวารเบานั้นเปนเลือดสดเปนกอน แลวเนาเขาเปนน้ำลางเนื้อ แลดั่งน้ำคาวปลา บุรุษและสตรีก็เหมือนกัน
ทำใหเบาหยดใหปวดเปนกำลัง เปนโลหิตเนาจาง ตกออกมาก็ดี โลหิตสุกตกออกมาก็ดี ฯ
76
๏ ถาจะแกเอารากไครเครือ สะคาน กระถินแดง เปลือกกุมบก เปลือกโลด เปลือกทองหลางน้ำ
เปลือกพุทรา ไสขนุนละมุด ตรีผลา รากเสนียด สมุลแวง ยาทั้งนี้เอาเสมอภาค ตมสามเอาหนึ่งใหแทรกน้ำผึ้ง
กินแกปวดดีนัก แกทั้งบุพโพโลหิตในสันทฆาตหายแล ฯ
ไ ท ย
บ ้านผลผั ก ชี รากเจตพั ง คี
ื้น
77
๏ ขนานหนึ่ ง เอาสมอทั้ ง สาม ผลโหระพา กระสารส ม สะตุ เที ย นดำ
ผลพิลังกาสา มหาหิงคุ พริกไทย ๒ ดีปลี ๖ น้ำประสารทองสะตุ ๘ ฝกสมปะอพยปง ๓ ดินถนำ ๓ ฝาหอยเทศ
ย แล
ไท
๓ เกลือทั้งหา ๔ ยาทั้งนี้เอาเสมอภาค ตำเปนผงละลายน้ำผึ้งกินเถิด โรคสั นทฆาตดังกลาวมานั้นหาย ๚ะ
๏ ขนานหนึ่ง เอาเปลือกโลด หินประการังแดง ดีปผ ลี นน้ำประสารทองสะตุ ยาสี่สิ่งนี้ บดละลาย
์แ ๚
78

ทย

น้ำซาวขาว น้ำออยแดงก็ได กินแกสันทฆาต มุตกิด มุตฆาต หายแล
รแ
๏ ขนานหนึ่ง เอาสมอเทศ โคกกระสุน ารากราชพฤกษ

79

า๚๛
หินประการัง โกฐจุฬาลัมพา เสมอภาค
ตมสามเอาหนึ่งกินแกสันทฆาต มุตกิด หายแล ญ
ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ


คำจารึกใช สันะคาด

63
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 22

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

64
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 22

๑. ๏สิทธิการิยะ
๒. จกลาวกุมารกุมารีเกิดเสาร
๓. ทรางโจรเปนเจาเรือน ทรางนางรินเปนทราง
๔. จรหละ ชื่อ มหานีลกาล ลอองชื่อ ลอองทับทิม ลมชื่อ กุม
๕. ภัณฑยักษจรประจำทรางโจรวันเสาร ฯ ในอาการทรางโจรนั้นสำแดงออกมา
ไ ท ย
บ ้าน
ทรางจำพวกนี้มีตัวดั่งไรใหเจ็บพทัื้น่วสารพาง ทำใหเปอยออก
ลาง
๖. ทีปากกุมาร แลเหงือกขาง
แ ละ
บน
ท ย
๗. เปนขุมทั่วทังตัวใหลงทองมิหยุดเปนบิดปวดมวนใหนดไากแตกออกมาให
ย ์แ ผ ครานน้ำใหผอมเหลือง
ใหบังเกิด
พ ท
ร แ
ลูกปคำดีควาย ลูกจัน เมดในมะ ากา
๘. ลอองขึ้ น ดาดไปทั ง สิ้ น ให ข อบริ ม สี ป ากดั ่ ง ยวงฝ า ยดั่ ง นี้ ฯ ถ า จแก เ อาอั ค นิ ช วา ลู ก ราชดั ด

ัิปญญ ณบดทำแทงลายสุรากินแกพิศทรางโจร ถาสลบวันยังค่ำ


๙. นาว ฝน ดีงูเหลือม เสมอภาคทำเปนจุ
ก็ดีแทรก ทองคำเปลวให
ง ภ ม
ู กินฟนแลแก
๑๐. พิศทรางแดง ก็คไรดอดีนัก ฯ ยาชื่อเหลืองหรคุณเอารงทองปงใหสุก ลูกจัน ขมิ้นออย สิ่งละ 1
พิมเสน งคุ้ม หรดาลทอง 1 ทำ
ก อ 2
๑๑. เปนจุณบดทำแทงไวลายสุรากินแกทรางโจรลอองเพลิงหายกวาดก็ได ฯ ยาชื่อ ขาวกะบัง พิมเสน
ลูกจัน
2
๑๒. ดอกจัน สิ่งละ เบี้ยผูเผา จันขาวสิ่งละ กบัง 1 ทำเปนจุณบดทำแทงลายสุรากิน
1 1
๑๓. แกทรางโจร ลอองขาว หายกวาดก็ได ฯ ยาชื่อเขียวขี้ทอง ลูกจัน ดอกจัน กระ
๑๔. วาร การพลู การบูน โหราเดือยไกสิ่งละ เขียวขี้ทอง 1
1
๑๕. ทำเปนจุณบดทำแทงลายสุรากินแกทรางโจรลออง
๑๖. เขียวหาย ถาจะกวาดก็ได
๑๗. วิเศศนักแล ๚๛

65
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 22

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวกุมารกุมารีเกิดวันเสาร ซางโจรเปนเจาเรือน ซางนางริ้นเปนซางจร หละ


ชื่อมหานิลกาฬ ละอองชื่อละอองทับทิม ลมชื่อกุมภัณฑยักษ จรประจำซางโจรวันเสาร
ในอาการซางโจรนั้น สำแดงออกมาที่ปากกุมารและเหงือกขางลางขางบน ซางจำพวกนี้มีตัวดั่งไรให
เจ็บทั่วสรรพางคทำใหเปอยออกเปนขุมทั่วทั้งตัว ใหลงทองมิหยุดเปนบิดปวดมวน ใหดากแตกออกมาให
ครานน้ำ ใหผอมเหลือง ใหบังเกิดละอองขึ้นดาดไปทั้งสิ้น ใหขอบริมฝปากดั่งยวงฝายดังนี้ ฯ
ไ ท ย
้าน
80
๏ ถ า จะแก เ อาอั ค นี ช วา ลู ก ราชดั ด ลู ก ประคำดี ค วาย ลู ก จั น ทน เม็ ด ในมะนาว ฝ น ดี งู เ หลื อ ม
ื้นบ
เสมอภาค ทำเปนจุณบดทำแทงละลายสุรากินแกพิษซางโจร ถาสลบวันยังค่ำก็ดี แทรกทองคำเปลวใหกินฟน
แลแกพิษซางแดงก็ไดดีนัก ฯ
ละ พ

ย ๑ เฟอง พิมเสน ๒ ไพ หรดาล
๏ ยาชื่อเหลืองหรคุณ เอารงทองปงใหสุก ลูกจันทน ขมิ้นออย สิท่งละ

81

กลีบทอง ๑ บาท ทำเปนจุณบดทำแทงไวละลายสุรากินแกซางโจรผละอองเพลิ น งหาย กวาดก็ได ฯ


ย ์แ
๏ ยาชื่อขาวกะบัง พิมเสน ๒ ไพ ลูกจันทน ดอกจันททน สิ่งละ ๑ เฟอง เบี้ยผูเผา จันทนขาว สิ่งละ
แนพแกซางโจร ละอองขาวหายกวาดก็ได ฯ
82

๑ สลึง กะบัง ๑ บาท ทำเปนจุณบดทำแทง ละลายสุราากิ


ก ร
๏ ยาชื่อเขียวขี้ทอง ลูกจันทน ดอกจันญ



83
ทน กระวาน การพลู การบูร โหราเดือยไก สิ่งละ ๑ เฟอง

ู ิปงละลายสุรากินแกซางโจรละอองเขียวหาย ถาจะกวาดก็ไดวิเศษ

เขียวขี้ทอง ๑ บาท ทำเปนจุณบดทำแท
นักแล ๚ะ
รอง
ุ้ม ค
ง ค
กอ

66
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 23

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

67
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 23

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ถาบุทคลผูใดบังเกิดจักษุโรค
๓. เปนตอก็ดีเปนตาช้ำก็ดี เปนเพื่อลมขึ้นสูง
๔. ตาเปนหมอกมัวไปก็ดี ฯ ถาจะแกเอาเปลือกสมเสี้ยว
๕. เปลือกชางนาว เปลือกมะไฟ รากสมกุง หัวถั่วภู ลิ่งละ 1
ฝน
ไ ท ย
๖. ลิ้นทเล สีเสียดเทษ สิ่งละ 2 ดีงูเหลือม 2 ทำเปนจุณบดดวยน้ำแกน้าปะ
บ น
ะ พ ื้นขึ้นก็ดี ใสหายวิเศศนัก ๚
๗. ดูตมทำแทงไวใสตาฤษดวง ฝในตาเลือดหนองไหลออกมาก็ดีแล เลื่อมตามิ
ย แล
๘. ๏ ขนานหนึ่งเอา ดินถน้ำ ดินสีพอง สิ่งละ 1

เปราะหอม
น ท 2
พิมเสน ฝน ดีงูเหลือม
สิ่งละ 1 ทำเปนจุณบด
์แ ผ
๙. ดวยน้ำใบแมงลัก น้ำแกนปดูระคนกัน ทำแทงไวทใยสตา แกสรรพพิศตอ ทังปวงหาย ฯ อนึ่งเอา
รแ พ
โคนสัพรศ ยาเกลดหอย ยาดำ หัว
า กา
๑๐. หอม เอาเสมอภาคทำเปนจุณเอาน้ญ
ิูมปัญ
ำดีจรเข ดีงูเหลือม ดีตพาบน้ำเปนกระสายบดทำแทงไวใสตา
เนื้อ
ง ภ
รอ
กัดตอ
สาย ค
ุ้ม นัก ฯ ยาชื่อสังขรัศมีเอา สังข เบี้ยผู ตุกกะต่ำทอง ดินถน้ำ ยาทัง
อ ง ค

๑๑. ตอรำใย หายวิ เ สศดี
๑๒. นี้ชำระดวยไมสะแกใหบริสุทธิ์ สุพรรณถันแดง เอาเสมอภาคบดดวยน้ำมะ
๑๓. พราวนารีเก ทำแทงไวใสจักษุโรคทังปวง เกจใหแผวตอหมอกฝน
๑๔. ดวยน้ำดอกมะลิ ถาจะแกตาฤษดวง ฝนดวยน้ำมะนาว
๑๕. ถาจะใหดับพิศรอน ฝนดวยน้ำเถาตำลึง เปา
๑๖. เอาน้ำใสหาย วิเสศประ
๑๗. เสิรฐ ดีนัก ๚๛

68
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 23

๏ สิทธิการิยะ ถาบุคคลผูใดบังเกิดจักษุโรคเปนตอก็ดี เปนตาช้ำก็ดี เปนเพื่อลมขึ้นสูง ตาเปนหมอก


มัวไปก็ดี ฯ
84
๏ ถาจะแกเอาเปลือกสมเสี้ยว เปลือกชางนาว เปลือกมะไฟ รากสมกุง หัวถั่วพู สิ่งละ ๑ บาท ฝน
ลิ้นทะเล สีเสียดเทศ สิ่งละ ๒ สลึง ดีงูเหลือม ๒ สลึง ทำเปนจุณบดดวยน้ำแกนประดู ตมทำแทงไวใส
ตาริดสีดวง1 ฝในตา เลือดหนองไหล ออกมาก็ดีแล เลื่อมตามิขึ้นก็ดี ใสหายวิเศษนัก ฯ
ไ ท ย
้าน
85
๏ ขนานหนึ่งเอา ดินถนำ ดินสอพอง2 สิ่งละ ๑ บาท เปราะหอม ๒ บาท พิมเสน ฝน ดีงูเหลือม
ื้นบ
สิ่ ง ละ ๑ สลึ ง ทำเป น จุ ณ บดด ว ยน้ ำ ใบแมงลั ก น้ ำ แก น ประดู ร ะคนกั น ทำแท ง ไว ใ ส ต าแก ส รรพพิ ษ ต อ
ทั้งปวงหาย ฯ
ล ะ พ
๏ อนึ่งเอา โคนสับปะรด หญาเกล็ดหอย ยาดำ หัวหอมทเอาเสมอภาคทำเป ย แ

86 3

ดีงูเหลือม ดีตะพาบน้ำเปนกระสาย บดทำแทงไวใสตากัดตอเนืผ้อ นตอสาย ตอลำใย หายวิเศษดีนัก ฯ


นจุณเอาน้ำดีจระเข

ย ์แ
๏ ยาชื่อสังขรัศมีเอา สังข เบี้ยผู ตุกต่ำน้ำทอง ดิทนถนำ ยาทั้งนี้ชำระดวยไมสะแกใหบริสุทธิ์ สุพรรณ
แพงไวใสจักษุโรคทั้งปวง ถาจะใหแผวตอหมอกฝนดวย
87

ถันแดง เอาเสมอภาคบดดวยน้ำมะพราวนาฬเก าทำแท ร


น้ำดอกมะลิ ถาจะแกตาริดสีดวง ฝนดวยน้ำญมะนาว าก ถาจะใหดับพิษรอนฝนดวยน้ำเถาตำลึง เปาเอาน้ำใสหาย
วิเศษประเสริฐดีนัก ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ


คำจารึกใช ฤษดวง
2
คำจารึกใช ดินสีพอง
3
คำจารึกใช สัพรศ

69
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 24

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

70
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 24

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ถาวาโยธาตุกำเริบหยอน
๓. พิการก็ดีใหหูหนักทังสองขางใหหิ่งหอยตา
๔. กระจายออกใหเมื่อยตีนมือใหเปนตะคริวแลจะโปงให
๕. ชักหัวเขาใหเมื่อยสันหลังใหสองเกลียวฅอนั้น แขงสมมุติวาฝเอน
ไ ท ย
๖. ใหรากลมเปลาใหเจบอกใหเปนกอนอยูในทอง หายใจดังหืด ใหหนักหนา้าตา
บ น
ื้น
๗. โทษทังนี้ คือ วาโยธาตุ ถาจะแกเอาดีปลี ๑ แฝกหอมตะนาว ๑ ะพริพก ๑ วานเปราะ ๑ แหวหมู ๑
๘. วานน้ำ ๑ ตำเปนผงลายน้ำรอนกินแกวาโยธาตุแล ๚ทอนึ แ ล
ย ่งเอาเปลือกมูกมัน ๑ รากสลอด ๑
น ไ
วานน้ำ ๑ พริก ๑ แหว
์แ ผ
๙. หมู ๑ ยารังกา ๑ เจตมูล ๑ สมํอไท ๑ ใครเครืทอย๑ ทำผงลายเลาก็ไดมูด วัวก็ได กินแกวาโยธาตุ ฯ
อนึ่งเอามะหาหิง วานน้ำ ผลราช ารแ

า ก ใบญางทราย ขีง โกฎสอ กรุงเขมา ตำเปนผงลาย
ัิปญญ
๑๐. ดัด ผลสวาศ ดีปลี สคาน ชเอม โกฎเขมา
น้ำชะเอมก็ไดน้ำ
ภ ม

๑๑. ผึ้งก็ไดนมวัวก็ไดเลอางก็ไดแกวาโยธาตุ ฯ ภาคหนึ่งเอาชเอม เจตมูล ใบนาศ การบูร รากทํนตี
ค ร วานน้ำ พริก ดีปลี ตำเปนผงลายน้ำรอนก็ได น้ำมูดวัวก็ได
ง ค ุ้ม
๑๒. จิงจอ ฃีง ใบสลอด
๑๓. กินแกกวอาโยธาตุ ฯ ภาคหนึ่ง เอาเจดพังคี บรเพช สะหัศ
๑๔. คุณ เจตมูล ไพล ฃีง ดีปลี สังกรนี ะ
๑๕. ตำเปนผงละลายดวยน้ำมูตวัวก็ไดน้ำ
๑๖. ทราวเขาก็ได กินแกวา
๑๗. โยธาตุแล ๚๛

71
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 24

๏ สิทธิการิยะ ถาวาโยธาตุกำเริบหยอนพิการก็ดี ใหหูหนักทั้งสองขาง ใหหิ่งหอยตากระจายออก


ใหเมื่อยตีนมือ ใหเปนตะคริวและจับโปง1 ใหชักหัวเขา ใหเมื่อยสันหลัง ใหสองเกลียวคอนั้นแข็ง สมมุติวา
ฝเอ็น ใหรากลมเปลาใหเจ็บอก ใหเปนกอนอยูในทอง หายใจดังหืด ใหหนักหนาตา โทษทั้งนี้ คือ วาโยธาตุ
88
๏ ถาจะแกเอาดีปลี ๑ แฝกหอมตะนาว ๑ พริก ๑ วานเปราะ ๑ แหวหมู ๑ วานน้ำ ๑ ตำเปนผง
ละลายน้ำรอนกินแกวาโยธาตุแล ๚
ไ ท ย
้าน
89
๏ อนึ่ง เอาเปลือกมูกมัน ๑ รากสลอด ๑ วานน้ำ ๑ พริก ๑ แหวหมู ๑ หญารังกา ๑ เจตมูล ๑
สมอไทย ๑ ไครเครือ ๑ ทำผงละลายเหลาก็ได มูตรวัวก็ได กินแกวาโยธาตุ ๚
ื้นบ
ล ะ พ

90
๏ อนึ่ง เอามหาหิงคุ วานน้ำ ผลราชดัด ผลสวาด ดีปลี สะคาน ชะเอม โกฐเขมา ใบยางทราย ขิง
ย าก็ได แกวาโยธาตุ ๚
โกฐสอ กรุงเขมา ตำเปนผงละลายน้ำชะเอมก็ได น้ำผึ้งก็ได น้ำนมวัวก็ไดทเหล

ผ นจิงจอ ขิง ใบสลอด วานน้ำ พริก ดีปลี
91 2
๏ ภาคหนึ่ง เอาชะเอม เจตมูล ใบหนาด การบูร รากทนดี
ย ์แ
ตำเปนผงละลายน้ำรอนก็ได น้ำมูตรวัวก็ได กินแกวาโยธาตุ ฯท
รแ พ
๏ ภาคหนึ่งเอา เจตพังคี บอระเพ็ด หัสคุณกาเจตมูล ไพล ขิง ดีปลี สังกรณี ตำเปนผงละลายดวย

92

น้ำมูตรวัวก็ได น้ำซาวขาวก็ได กินแกวาโยธาตุแญ


ิูมปัญ
ล ๚ะ

ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ


คำจารึกใช จะโปง
2
คำจารึกใช ใบนาศ

72
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 25

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

73
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 25
๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ลักษณปวงลมนนกระทำให
๓. หาวใหทองขึ้น แตวาไมลงไมราก ถาวางยามิ
๔. ตอง ผิตกวันโรกจีงคง ถาลงไปแลวอยาวางยาปดจะตาย
๕. เสีย ถาปดเขาจะกระทำใหแดก ถึงจะเหนสวนสักเทาใดก็ไมไปจกินยา
๖. ก็มิฟงแลวใหรากแตเชาถึงเที่ยงตาย ๚ ถาจแกเอาสมอไท สมอพีเภก รากชาพลู
ลง
๗. รากมะตูม ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกสำแลงให
ท ย
ใหจำเริญธาตุแกใหสวางใจ ๚ ขนานหนึ่ง

ราก
บ ้าน
เอาลูกผัก
ะ พ ื้น
ย แล ลง

ไท
๘. ชี ฃิงแหง ดีปลี แหวหมู ลูกมะตูมออน สฆานตม ๓ เอา ๑ ใหแกกินสำแลงให แลให
ผ น ราก
จำเรีญเพลีงธาตุดวย
ย ์แ
รแพท
๙. ๏ ขนานหนึ่งเจตะมูลเพลิง มะหาหิง แหวหมู ฃิงแหง ลูกโมกมันตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกสำแลง
ยา
ากา
ัิปญญ
ธาตุวิปริดซึ่งบริโภก ผิดก็ดี
อาหาร
ภ ม

อง
ลง
๑๐. แกสรรพสำแลงทังปวงให
ค ร นั้นหาย ๚ ขนานหนึ่งเอาตรีกตุก มะหาหิง หวานน้ำ
ง ค มุ้ ราก
ก อ
เกลือสินเทา สมอไท สมอพิเภก มะขาม
๑๑. ปอม สะฆาน รากชาพลู ทำเปนจุลบดลายน้ำแหวหมูตมก็ได น้ำมะตูมตมก็ได น้ำดิปลีตมก็ใด
แกสำแลง
ลง
๑๒. ธาตุอันกลาให ใหจุกเสียดแนนอกใหปะภะขึ้นไปนั้น แกตัวใหอุนหายดี
ราก
๑๓. นัก ๚ ขนานหนึ่งเอา การพลู เทียนเยาวะภานี ดีปลี ฃิงแหงทำเปน
๑๔. จุลบดละลายน้ำรอนก็ได น้ำมะตูมตมก็ได
๑๕. แกสรรพสำแลงทังปวงซึ่งให
๑๖. ลงรากนั้นหายดี วิเสศ
๑๗. นักแล ๚ะ
74
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 25

๏ สิทธิการิยะ ลักษณะปวงลมนั้น กระทำใหหาว ใหทองขึ้น แตวาไมลงไมราก ถาวางยามิตอง ผิตก


วัณโรคจึงคง ถาลงไปแลวอยาวางยาปดจะตายเสีย ถาปดเขาจะกระทำใหแดก ถึงจะเห็นสวนสักเทาใดก็ไมไป
จะกินยาก็มิฟงแลวใหรากแตเชาถึงเที่ยงตาย ๚
93
๏ ถาจะแกเอาสมอไทย สมอพิเภก รากชาพลู รากมะตูม ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกสำแลงใหลง ใหราก
ใหจำเริญธาตุแกใหสวางใจ ๚
ไ ท ย
้าน
94
๏ ขนานหนึ่ง เอาลูกผักชี ขิงแหง ดีปลี แหวหมู ลูกมะตูมออน สะคาน ตม ๓ เอา ๑ ใหกิน แกสำแลง
ใหลงใหรากและใหจำเริญเพลิงธาตุดวย
ื้นบ
ะ พ
๏ ขนานหนึ่ง เจตมูลเพลิง มหาหิงคุ แหวหมู ขิงแหง ลูกโมกมัลน ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกสำแลง
แ รากนั้นหาย ๚
95

ไท ย

ธาตุวิปริตซึ่งบริโภคยา บริโภคอาหารผิดก็ดี แกสรรพสำแลงทั้งปวงให ล งให
๏ ขนานหนึ่ง เอาตรีกฏก มหาหิงคุ วานน้ำ เกลือสิน์แเธาว
96
ย ผ สมอไทย สมอพิเภก มะขามปอม สะคาน
รากชาพลู ทำใหเปนจุณบดละลายน้ำแหวหมูตมก็ได น้ำท
ใหลงใหราก ใหจุกเสียดแนนอก ใหปะทะขึ้นไปนั้นาแก แ พ มะตูมตมก็ได น้ำดีปลีตมก็ได แกสำแลง ธาตุอันกลา
ร ตัวใหอุนหายดีนัก ๚

า ดีปลี ขิงแหง ทำเปนจุณ บดละลายน้ำรอนก็ได น้ำมะตูม

ิูมปัญ้นหายดีวิเศษนักแล ๚ะ
97
๏ ขนานหนึ่ง เอากานพลู เทียนเยาวภาณี


ก็ได แกสรรพสำแลงทั้งปวงซึ่งใหลงรากนั
รอง
ุ้ม ค
ง ค
กอ

75
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 26

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

76
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 26

๑. ๏ ลมอนึง
๒. ชื่อสิตะมัคคะวาโยใหเยน
๓. กอนจึ่งใหตีนมือตายยกมือมิไดใหเยน
๔. ไปทังฝาเทาถาเกิดแกใครอายุมิยืนเลย ถาจะแกเอา
๕. การชา 1
เนย 1
ตรีผลา 1
น้ำตานทราย 1
ลูกจัน 2
ไ ท
ดีปลีย 2

2 2
บ น
้า ม
ื้น กใหเสียดโครงเจบ
๖. พริกไท หอมแดง ทำผงใสในน้ำมะพราวนาริเก เฃี้ยวใหเปนยางตู

ล ะ
๗. ปนเปนลูกกอนใหกินทุกวันหายแล ฯ ลมหมูหนึ่งชื่อพุทธะยักขะวาโยมัพ

ย ตามืด ลมนี้เปนถึงสามป ยายาก
ไท
๘. สันหลังแลกระดูกมิไดลุกนั่งขึ้นได มักใหเปนรำมะนาดแลทำให

นัก ถาอายุะ ผ
ย์แวหมู 1 พริกไท 1 ชเอมเทษ 3
๙. ยืนไปจะเสียจะริต ถาจะแกใหเอาขิง 1 ทแห

ครั่ง 2 น้ำนมราชสี 2 พานงูาแรดงแ 2 ลิ้นทเล 1

๑๐. บทดวยน้ำมนาวปนลูกกอนกินทุญกวัานหาย ฯ ลมอนึ่งชื่อริตะวาด มันใหบังเกิดในสะเอว ถาเปนขึ้น
มาใหชื่อ ิูมปัญ
อง ภ
กระวาร ุ้มค ร
๑๑. วาสันนิบาดเอาขิงแห ง สมอทังสาม ๑ วานน้ำ ๑ พริกไท ๑ มฃามปอม ๑ ลูกจัน ๑ ดอกจัน ๑

อ ง ค๑ เชอมทังสอง ๑ อบเชยทังสอง ๑ การะบูน ๑ ดอกกระดังงา ๑



๑๒. ๑ การพลู
1 7
๑๓. น้ำประสารทอง ๑ ทังนี้ทานใหเอาสิ่งละ ดีปลี
๑๔. ตำผงไว น้ำกะสายตามแตจะยักยายเอาตาม
๑๕. กระบวรโรคนั้น แกสรรพลม
๑๖. อันมีพิศมตางตางนั้น
๑๗. หายแล ๚๛

77
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 26

98
๏ ลมอนึ่งชื่อสิตะมัคคะวาโย ใหเย็นกอนจึงใหตีนมือตายยกมือมิได ใหเย็นไปทั้งฝาเทา ถาเกิดแกใคร
อายุมิยืนเลย ถาจะแกเอากัญชา ๑ ตำลึง เนย ๑ ตำลึง ตรีผลา ๑ ตำลึง น้ำตาลทราย ๑ ตำลึง ลูกจันทน
๒ บาท ดีปลี ๒ บาท พริกไทย ๒ บาท หอมแดง ๒ บาท ทำผงใสลงในน้ำมะพราวนาฬเก เคี่ยวใหเปน
ยางมะตูม1 ปนเปนลูกกลอนใหกินทุกวันหายแล ฯ
99
๏ ลมหมูหนึ่งชื่อพุทธยักขวาโย มักใหเสียดโครงเจ็บสันหลังแลกระดูก มิไดลุกนั่งขึ้นได มักใหเปน
ไ ท ย
้าน
รำมะนาดและทำใหตามืด ลมนี้เปนถึงสามปยายากนัก ถาอายุยืนไปจะเสียจริต ถาจะแกใหเอาขิง ๑ ตำลึง

แหวหมู ๑ ตำลึง พริกไทย ๑ ตำลึง ชะเอมเทศ ๓ บาท ครั่ง ๒ บาท น้ำนมราชสีห ๒ บาท พันงูแดง๒ ๒
ื้น
บาท ลิ้นทะเล ๑ บาท บดดวยน้ำมะนาวปนลูกกลอนกินทุกวันหาย ฯ
ละ พ
๏ ลมอนึ่งชื่อริตะวาต มันใหบังเกิดในเอว ถาเปนขึ้นมาใหชื่อวาสันยนิแบาตเอา ขิงแหง สมอทั้งสาม ๑
ไท ๑ กานพลู ๑ ชะเอมทั้งสอง ๑
100

ผ น
อบเชยทั้งสอง ๑ การบูร ๑ ดอกกระดังงา ๑ น้ำประสารทอง ๑ย์แทั้งนี้ทานใหเอาสิ่งละ ๑ บาท ดีปลี ๗ ตำลึง
วานน้ำ ๑ พริกไทย ๑ มะขามปอม ๑ ลูกจันทน ๑ ดอกจันทน ๑ กระวาน

แ พ้นทแกสรรพลมอันมีพิษตางๆ นั้นหายแล ๚
ตำผงไว น้ำกระสายตามแตจะยักยายเอาตามกระบวนโรคนั
กา ร
ญ า
ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ


คำจารึกใช ยางตูม
2
คำจารึกใช พานงูแดง

78
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 27

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

79
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 27

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. โรคอันชื่อวามุตกฤษมีลักษ
๓. ณะสี่ประการ คือ เบาฃาว ๑ เบาเปนน้ำคาว
๔. ปลา ๑ เบาเปนหนอง ๑ เบาดั่งน้ำเซาเขา ๑ ทัง ๔ ประการ
๕. นี้บังเกิดเพื่อโลหิตช้ำ ชื่อวามุตะกฤษช้ำรั่ว ฯ ถาจะแกเอาแหวหมูใหญ
ไ ท ย
๖. เทิยนดำใหญ มะตูม หวานน้ำ หวานเปราะ อังกาบ เทียนดำนอย โกฎพุงปลา้านราก

้ ื บ
๗. วันเหลก ยางงิ้ว การบูร ลูกเอน การพลู ดีปลี สิ่งละสวน สารสมครึ่งะสพ
ย ล วนทำเปนจุน
แ่งเอาเปลือกไขเหนา ขมิ้นทังสอง
๘. ละลายน้ำผึ้งกิน อาจบำบัดมุตกฤษ ใหวินาศฉิบหาย ๚ ขนานหนึ
น ไท
มเขือ

์ ผ
ย ดา เอาเสมอภากทำเปนจุน ลลายน้ำผึ้งกิน
พ ท

๙. หนาม เปลือกเพกา ปฤษนา เสือรองรัง เขาผวกนางสี
อาจะบำบัด
ก า ร
ญ า
ัญ
๑๐. ซึ่งมุตกฤษเบาขาวใหหาย ๚ ขนานหนึ ่ง เอาเปลือกไขเหนา เปลือกเพกา เปลือกกาหลง สะคาน
๑๑. กถินแดง ดีปลี ไสขนุนลมุด ูม เปลืิปอกกุมบก ทองหลางไบมล เบญจะ
อง ภ
๑๒. ตระแบก โพบาย โคกะสุ
ค ร น พุทรา เสนียด มะมวง
๑๓. ขมิ้น คาง กะทุคมุ้ม
อ ง ไหญ ใหตมแทรกน้ำผึ้ง ลงกิน
ก ลลายน้ำผึ้งกินอาจะบำบัดซึ่งมุตกฤษ
๑๔. ถาจะทำผง
๑๕. นี้แล ทุราวะสาอันขาวแล ช้ำรั่ว ะ
๑๖. เพื่อโลหิต ดั่งน้ำคาวปลา
๑๗. หายแล ๚๛

80
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 27

๏ สิทธิการิยะ โรคอันชื่อวา มุตกิด มีลักษณะ ๔ ประการ คือ เบาขาว ๑ เบาเปนน้ำคาวปลา ๑ เบา


เปนหนอง ๑ เบาดั่งน้ำซาวขาว ๑ ทั้งสี่ประการนี้ บังเกิดเพื่อโลหิตช้ำ ชื่อวา มุตกิดช้ำรั่ว ฯ
101
๏ ถ า จะแก เ อาแห ว หมู ใ หญ เที ย นดำใหญ มะตู ม ว า นน้ ำ ว า นเปราะ อั ง กาบ เที ย นดำน อ ย
โกฐพุงปลา รากวัลยเหล็ก ยางงิ้ว การบูร ลูกเอ็น กานพลู ดีปลี สิ่งละสวน สารสมครึ่งสวน ทำเปนจุณ
ละลายน้ำผึ้งกินอาจบำบัดมุตกิดใหวินาศฉิบหาย ๚
ไ ท ย
้าน
102
๏ ขนานหนึ่งเอาเปลือกไขเนา ขมิ้นทั้งสอง มะเขือหนาม เปลือกเพกา กฤษณา เสือรองรัง ขาวผวก
ื้น
นางสีดา เอาเสมอภาคทำเปนจุณละลายน้ำผึ้งกิน อาจจะบำบัดซึ่งมุตกิดเบาขาวใหหาย ๚ บ
ะ พ
๏ ขนานหนึ่งเอาเปลือกไขเนา เปลือกเพกา เปลือกกาหลง สะคาลน กระถินแดง ดีปลี ไสขนุนละมุด
แพุทรา เสนียด มะมวง ขมิ้น คาง
103

ไท ย
กระทุมใหญ ใหตมแทรกน้ำผึ้งลงกิน ถาจะทำผงละลายน้ำผึ้งผกินนอาจจะบำบัดซึ่งมุตกิดนี้แลทุราวสาอันขาว
เปลื อ กกุ ม บก ทองหลางใบมน เบญจตะแบก โพบาย โคกกระสุ น

ย ์แ
แลช้ำรั่วเพื่อโลหิต ดั่งน้ำคาวปลา หายแล ๚
พ ท
า รแ
า ก

ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ


คำจารึกใช มุตกฤษ
2
คำจารึกใช รากวันเหลก
3
คำจารึกใช ปฤษณา

81
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 28

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

82
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 28

1. ๏ สิทธิการิยะ
2. อยาแกมเรงทังปวงเอา อยา
3. ดำ รงทอง กำมถันทังสอง เทียรดำ
2 5
4. สิ่งละ เขาสารขั้วรแนงเอา หัวยาง เปลือกสรร
5. พรานางแอ 3
อยาเขาเยนทังสอง สิ่งละ 5
ดองดวยสุรา ๗ ทนาน
ไ ท ย
บ ้าน
ื้น
6. ใหกินแกมเรงคชราช แลไสดวนไสลาม ทังอุปทมก็หายสิ้นดีนัก ๚ อนึ่งเอา
7. พรรผักกาษ พริกไท สิ่งละ 1 อยาเขาเยนทังสอง สิ่งละ 2 ะ2พหัวยาง ไครหางนาก
แล
ยด มเรงเพลิง มเรงเปอยทังตัวก็ดี หาย
8. สิ่งละ 5
กเทิยม ๓ หัว ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกมเรงคุ
น ไท
สิ้นไดไชมา
ย ผ
์แ ใบผักไห ใบทุมราชา ปดลายน้ำฝาหอยโขง
พ ท

9. มากแลวอยาสนเทเลย ๚ อนึ่งเอาไครหางนาก
ทามเรงทังปวง กลาก
ก า ร
10. เกลื้อน เรื้อนเหลก มเรงไฟฟาก็ญ า นัก ๚ อนึ่ง เอาใบเทิยร ใบผักไห ใบถั่วแระ ตำเอาน้ำสิ่งละ
ิูมปัญ
หายดี
ถวย ะ
11. น้ำมันงาถวย ๑ หุงอใหงคภงแตน้ำมัน ขิผึ้งแขง 1 1 ใสลงหุง ทากดาษปดแผล มเรงเพลิงหาย ะ
ค รยกเนื้อดีนัก ๚ อนึ่งเอาใบมเกลือ ลูกสบา ใบมระ ใบปบ
ง ค ุ้ม
12. ทังดับพิศสมานเรี
13. ขมิ้นอกออย ตำเอาน้ำสิ่งลถวย น้ำมันงา น้ำมันพราว สิ่งละถวย
14. หุงใหคงแตน้ำมัน ใสแผลมเรงเพลิงแลฝปอย
15. เนา สรรพบาทแผลทังปวง แลกลาก
16. เกลื้อน ก็หายดีวิเสศประ
17. เสรีฐนัก ๚๛

83
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 28

104
๏ สิทธิการิยะ ยาแกมะเร็งทั้งปวง เอายาดำ รงทอง กำมะถันทั้งสอง เทียนดำ สิ่งละ ๒ บาท ขาวสาร
คั่วระแนง เอา ๓ บาท หัวยั้ง เปลือกสันพรานางแอ ๓ บาท ยาขาวเย็นทั้งสอง สิ่งละ ๕ ตำลึง ดองดวยสุรา
๗ ทะนาน ใหกินแกมะเร็งคชราชแลไสดวน ไสลามทั้งอุปทมก็หายสิ้นดีนัก ๚
105
๏ อนึ่ง เอาพันธุผักกาด พริกไทย สิ่งละ ๑ บาท ยาขาวเย็นทั้งสอง สิ่งละ ๒ ตำลึง ๒ บาท หัวยั้ง
ตะไครหางนาค สิ่งละ ๕ ตำลึง กระเทียม ๓ หัว ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกมะเร็งคุค มะเร็งเพลิง มะเร็งเปอยทั้ง
ไ ท ย
้างนทามะเร็งทั้งปวง
ตัวก็ดี หายสิ้นไดใชมามากแลวอยาสนเทหเลย ๚
106
๏ อนึ่ ง เอาตะไคร ห างนาค ใบผั ก ไห ใบทุ ม ราชา บดละลายน้ ำ ฝาหอยโข
ื้นบ
กลากเกลื้อน เรื้อนเหล็ก มะเร็งไฟฟา ก็หายดีนัก ๚
ละ พ

๏ อนึ่ง เอาใบเทียน ใบผักไห ใบถั่วแระ ตำเอาน้ำสิ่งละถวยทน้ยำมันงาถวย ๑ หุงใหคงแตน้ำมัน
ไ้งดับพิษสมานเรียกเนื้อดีนัก ๚
107

ผ น
ขี้ผึ้งแข็ง ๑ ตำลึง ๑ บาท ใสลงหุงทากระดาษปดแผลมะเร็งเพลิงหาย

์ ทั
ยขมิ้ น อ อ ย ตำเอาน้ ำ สิ่ ง ละถ ว ย น้ ำ มั น งา
108

พ งเพลิงแลฝเปอยเนา สรรพบาดแผลทั้งปวง

๏ อนึ่ ง เอาใบมะเกลื อ ลู ก สะบ า ใบมะระ ใบป บ
ก า ร

น้ ำ มั น มะพร า ว สิ่ ง ละถ ว ย หุ ง ให ค งแต น้ ำ มั น ใส แ ผลมะเร็
แลกลากเกลื้อนก็หายดีวิเศษประเสริฐนัก ๚ะ๛ญ
ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

84
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 29

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

85
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 29
๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒ ยาลงเลือดฝาง ๑ รากกลวย
๓. ตีบ ๑ ฝนตน ๑ ตม ๓ เอา ๑ กินหายแล ๚ แก
ฅอ
๔. บิดริศดวงเลือดตกใน บุก ๑ กลอย ๑ น้ำมนาว ๑ พริก ๑
อก
๕ ขิง ๑ สารสม ๑ เกลือ ๑ ตำมักไวคืน ๑ กินวันละชอนหอยหาย ๚ แกบิดลง
๖. เลือดเบญกเมง ๑ ตำเอาน้ำ ๑ เอาลูกชาพลู ๑ ดีปลี ๑ พริก ๑ กเทียม ๑ เทียนดำ ๑ ตำใสน้ำ
ไ ท ย
บ ้าน
๗. กเมงแล ว เผาสั พ คุ ณ ชุ บ เสกด ว ยกั ต วากิ น หาย ๚ ขนานหนึ่ ง เอาใบกท อ ม ๑ ขมิ้ น อ อ ย ๑
ไพล ๑ พรร
ะ พ ื้น
ย แล
๘. ผักกาษ ๑ กพังโหมทัง ๒ ตำใสกะบอกไมหลามใหสุก เอาเลาเปนกระสาย แซรก ฝนกินหาย ๚
แกริศดวงเลือดหนอง
น ไท
ย ์แ ผ
๙. สเลด เลือดเนา เอารากสมกุง ๑ ญานาง ๑ พริก ๑ ขิง ๑ กเทียม ๑ ดินประสิวขาว ๑ ดีปลี ๑
แดง
รแพท
หอม ๑ สารสม ๑ เทียนดำ ๑ เทียน
ขาว ากา
ยา

ัิปญญ
๑๐. ทังนี้สิ่งละ 1 เกลือ 2 บดลายน้ำขิงสด เมื่อกินลายน้ำมะนาว แซรกกะเทียมกรอบ
ภ ม

อง
ฝน ๑ ดีงูเหลือม ถาเปนริศดวงลายน้ำก

ค ร เลือด
ค มุ้
๑๑. ลำภัก จันแดงกินหาย ๚ แกบิด

เน า เอาลู ก จั น ๑ ครั่ ง ๑ ลู ก เบญกานี ๑ ฝ น ๑
ก อ
ขันทศกอร ๑ ดีงูเหา ๑
เสลด

๑๒. ดีงูเหลือม ๑ ดินกิน ๑ เปลือกมขามขบ ๑ ลูกสแก ๑ ชันตเคียน ๑ สีเสียดทัง ๒ เปลือกทับทิม ๑


บดลาย
๑๓. กินตามลักคณโรคนั้นเถิด ๚ ถามิฟง พริก ๑ ขิง ๑ กเทียม ๑ หอม ๑ ไพล
๑ ดินประสิว
๑๔. ฃาว ๑ สารสม ๑ กำมถัน ๑ หรดาน ๑ ลูก ๒ ดอก ๒ ลูกกราย ๑ ใบไมเทา
๑๕. ยายมอม ๑ ขมิ้นออย ๑ กัญชาเทายาทังหลายบด
มงั่ว
๑๖. ดวยน้ำมนาว แกสัพโรกบิด ออก
สาชู
86 ๑๗. ฝหัดกินหาย ๚ะ
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 29

109
๏ สิทธิการิยะ ยาลงเลือด ฝาง ๑ รากกลวยตีบ ๑ ฝนตน ๑ ตม ๓ เอา ๑ กินหายแล ๚
110
๏ แกบิดริดสีดวง เลือดตกในคอในอก บุก ๑ กลอย ๑ น้ำมะนาว ๑ พริก ๑ ขิง ๑ สารสม ๑
เกลือ ๑ ตำหมักไวคืน ๑ กินวันละชอนหอย1 หาย ๚
111
๏ แกบิดลงเลือด เบญจกะเม็ง 2 ๑ ตำเอาน้ำ ๑ เอาลูกชาพลู ๑ ดีปลี ๑ พริก ๑ กระเทียม ๑


เทียนดำ ๑ ตำใสน้ำกะเม็ง แลวเผาสรรพคุณชุบ เสกดวยสักกัตวา3 กินหาย ๚
ไ ท
้าน
112
๏ ขนานหนึ่ง เอาใบกระทอม ๑ ขมิ้นออย ๑ ไพล ๑ พันธุผักกาด ๑ กระพังโหมทั้ง ๒ ตำใสกระบอก
ื้นบ

ไมหลามใหสุก เอาเหลาเปนกระสาย แทรกฝนกินหาย ๚
๏ แกริดสีดวงเลือด หนอง เสลด เลือดเนา เอารากสมกุง ๑ ยาแนาง ละ
ไน ทเทีย ยนขาว ยาทั้งนี้ สิ่งละ ๑ บาท เกลือ
113
๑ พริก ๑ ขิง ๑ กระเทียม ๑
ดินประสิวขาว ๑ ดีปลี ๑ หอม ๑ สารสม ๑ เทียนดำ ๑ เทียนแดง
๒ ไพ บดละลายน้ำขิงสด เมื่อกินละลายน้ำมะนาวแทรกกระเที
ย แ
์ ผ ยมกรอบ ฝน ๑ ดีงูเหลือม ถาเปนริดสีดวง
พ ท

ละลายน้ำกระลำพัก จันทนแดง กินหาย ๚

๏ แกบิดเลือดเนา บิดเสลดเนา เอาลูกจักนาทน ๑ ครั่ง ๑ ลูกเบญกานี ๑ ฝน ๑ ขัณฑสกร ๑ ดีงูเหา ๑
๑ าลูกสะแก ๑ ชันตะเคียน ๑ สีเสียดทั้ง ๒ เปลือกทับทิม ๑
114

ดีงูเหลือม ๑ ดินกิน ๑ เปลือกมะขามขบ ญ


บดละลายกินตามลักษณะ โรคนั้นเถิิปดัญ
4



5



๏ ถามิฟง พริก ๑ ขิงอ๑ง กระเทียม ๑ หอม ๑ ไพล ๑ ดินประสิวขาว ๑ สารสม ๑ กำมะถัน ๑

115

หรดาล ๑ ลูก ๒ ดอก ุ้ม๒คลูกกราย ๑ ใบไมเทายายมอม ๑ ขมิ้นออย ๑ กัญชาเทายาทั้งหลาย บดดวย


น้ำมะนาว น้ำมะงั่วอน้งำคสายชู แกสรรพโรค บิด ออกฝหัด กินหาย ๚ะ

6 7


ชอนหอย ชอนถวยหรือชอนกระเบื้อง
2
เบญจกะเม็ง จารึกใช เบญกเมง
3
กัตตะวา บทสวดมีความดังนี้
# สกกตฺวา พุทฺธรตนํ โอสถํ อุตฺตมํ วรํ หิตํ เทวมนุสฺสานํ พุทฺธเตเชน โสตฺถินา นสฺสนฺตุปทฺทวา สพฺเพ ทุกฺขา วูปสเมนฺตุ เต
# สกฺกตฺวา ธมฺมรนตํ ฯลฯ ปธิฬาหูปสมนํธมฺมเตเชนฯ สพฺเพ ภยา วูปสเมนฺตุ เต
# สกฺกตฺตวา สงฺฆรตนํ ฯลฯ อาหุเนยฺยํ ปาหุเนยฺยํ สงฺฆเตเชน ฯ สพฺเพ โรคา วูปสเมนฺตุ เต
4
ชันตะเคียน ยางเปลือกตะเคียน
5
คำจารึกใช ลักคณ
6
คำจารึกใช สาชู
7
คำจารึกใช สัพโรก
87
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 30

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

88
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 30

1. ๏ สิทธิการิยะ
2. จะกลาวดวยดานพืดนั้น
3. ดั้งอยูหนาอกแขงดุจแผนเหลกจไหวตัว
4. ไปมาก็มิได ครั้นแกเขาตั้งแขงเปนหนากะดานลาม
5. ลงมาเอาทองนอยแลหัวเหนาใหบริโภคอาหารมิไดใหปวดขบ ดังจขาด

ไ ท ย

6. ใจตายกำหนดถาลงพนสดือแลวเมื่อใดตายเมื่อนั้น ถาจะแกใหแกแตยังมิถึงสะ
7. ดือจึงจรอดชิวิต ฯ ทานใหเอาขมิ้นออย เปลือกใขเปด เบิ้ยผูเผา เขบา้าเมาเหลก เอาเสมอภาค
ะ พ ื้น
ทำเปน
แ ล
ย ่งเอาใบกะเพรา ใบแมงลัก ผักเสี้ยนผี
8. จุณบดทำแทงไวลายน้ำมะนาวกินแกดานพืดหายฯ ขนานหนึ
น ไท
กชาย การชา
์แ ผ
9. พริกไท หอมแดง อยาไทร เกลือสมุท ลูกคัดทคายว ตำเอาน้ำสิ่งละทนาน น้ำมันงาทนานหนึ่งหุงคง
แตน้ำมันเอาลูกจัน กระวาร การ ารแ

า ก

การะบูริปสิัญ่งละ 1 บดปรุงลงในน้ำมัน จึ่งเอามาทาทองรีด เสียใหได ๓ วัน
ดำ

ขาว งภูม
10. พลู เทียร

กอนแลวจึงกินคน้ำรมัอนนี้ ๓
ง ค ุ้มน้ำมันชื่อสนั่นไตรภพครอบดานทุกประการ ฯ อยาชือเนาวหอย เอาหอยขม
กอ
11. วั น หายดี น ั ก
หอยแครง
๑๒. หอยตาวัว หอยภิมมการัง หอยนางรม หอยกาบ หอยจุบแจง หอยมุก หอยสังเผาเอา
เสือ แพะ
2 1 3
๑๓. สิ่งละ กดูก กดูก เผาเอาสิ่งละ รากทนดี เจตมูล
โค งูเหลือม
1 81
๑๔. หัศคุณสิ่งละ พริกไท ทำเปนจุณบดลายน้ำผึ้งกิน
๑๕. หนัก 1 แกดานพืดดานเถาเปนตน แล
๑๖. แกลมจุกเสียด แกสรรพลม
๑๗. หายดีนัก ๚ะ๛
89
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 30

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวดวย ดานพืชนั้น ตั้งอยูหนาอกแข็งดุจแผนเหล็ก จะไหวตัวไปมาก็มิได ครั้นแก


เขาตั้งแข็งเปนหนากระดานลามลงมาเอาทองนอยและหัวหนาว ใหบริโภคอาหารมิได ใหปวดขบ ดังจะ
ขาดใจตาย กำหนดถาลงพนสะดือแลวเมื่อใดตายเมื่อนั้น ถาจะแกใหแกแตยังไมถึงสะดือจึงจะรอดชีวิต ฯ
116
๏ ทานใหเอาขมิ้นออย เปลือกไขเปด เบี้ยผูเผา ขาวเมาเหล็ก เอาเสมอภาคทำเปนจุณ บดทำแทงไว
ละลายน้ำมะนาวกินแกดานพืชหาย ฯ
117
๏ ขนานหนึ่งเอาใบกะเพรา ใบแมงลัก ผักเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญาไซ
ไ ท ย
บ ้าน
เกลือสมุทร ลูกคัดเคา ตำเอาน้ำสิ่งละทะนาน น้ำมันงาทะนานหนึ่งหุงคงแตน้ำมัน เอาลูกจันทน กระวาน

ะ พ ื้น
กานพลู เทียนดำ เทียนขาว การบูร สิ่งละ ๑ สลึง บดปรุงลงในน้ำมัน จึงเอามาทาทองรีดเสียใหได ๓ วัน

ย แล
กอนแลวจึงกินน้ำมันนี้ ๓ วัน หายดีนัก น้ำมันชื่อ สนั่นไตรภพ ครอบดานทุกประการ ฯ
118
น ไท

๏ ยาชื่ อ เนาวหอย เอาหอยขม หอยแครง หอยตาวั ว หอยพิ ม พการั ง หอยนางรม หอยกาบ
ย ์แ
หอยจุบแจง หอยมุก หอยสังขเผา เอาสิ่งละ ๒ บาท กระดูกเสือ กระดูกโค กระดูกแพะ กระดูกงูเหลือม
แพท
เผาเอาสิ่งละ ๑ บาท รากทนดี ๓ บาท เจตมูล หัสคุณ สิ่งละ ๑ ตำลึง พริกไทย ๘ ตำลึง ๑ บาท ทำเปนจุณ

ากา
บดละลายน้ำผึ้งกินหนัก ๑ สลึง แกดานพืชดานเถา เปนตน แลแกลมจุกเสียด แกสรรพลมหายดีนัก ๚ะ๛

ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

90
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 31

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

91
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 31

1. ๏ สิทธิการิยะ
2. อันวาลมหทัยวาตกำเริบนั้น
3. คือพัดดวงหทัยใหรส่ำรสายคลุมดีคลุม
4. รายแลมักขึ้งโกรธ ใหหิวโหยหาแรงมิได ถาจะแกเอา
5. เอาลูกคนทิสอ หัสคุณ ลูกสะบาปง จันทังสอง ดีปลี เทียนเขา
ไ ท ย
6. เปลือก เทียนตักแตน เทพธาโร เอาเสมอภาคทำเปน จุณบดทำแทงไวลลายน้้าำน

้ ื บ
7. ดอกไมแทรกภิมเสนใหกินแกลมหทัยวาตกำเริบหาย ฯ ขนานหนึ่งเอาะพลูกมะแวงเครือ ๑ ชะ
แ ล
8. เอมเทษ ๒ ใบกระวาร ๓ ดอกบุ ญ นาก ๔ พริ ก ไท ๕ ทขิ งยแห ง ๖ ดี ป ลี ๗ อบเชยเทษ ๘
น ไ
รากน้ำใจใคร ๙ เกษรบัว

์ ผ
ยณบดทำแทงไวลายน้ำรอน กินก็ได น้ำดอกไม
พ ท

9. หลวง ๑๐ จันเทษ ๑๑ น้ำตาลทราย ๑๒ ทำเปนจุ
ก็ได แทรกพิมเสนกินแกลม
กา ร

10. กระทบหทัยใหคลั่งแกทุรนทุราย ฯญยาชื่อมหาสมมิตรเอาโกดทังหา เทียนทังหา บันลังสิลา สังข
แกวแกลบ ิูมปัญ
ภ กฤษนา กลำภัก ขอนดอก อบเชยเทษ แกนสน ใบผักโฉม
11. แฝกหอม บัวน้ำทังหา อสังตบงกด
ค รเสน ใบชมดตน ใบทองพันชั่ง วานกีบแรด วานรอนทอง
ง ค ุ้ม
12. ใบสันพราหอม ใบพิ ม
กอวานเพชโองการ เพศนาด รยอม ชมด พิมเสน ยาฝรั่น
13. วานซุมเพช
14. อำพัน กแจะตนาว เกลดหอยเทษ เสมอภาคทำเปนจุณบด
15. ทำแทงไวลายน้ำดอกไมเทษ แทรกน้ำตาลทราย
16. กินแกลมหทัยวาตกระทบหัวใจ
17. ใหรส่ำสายหาย ฯ

92
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 31

๏ สิทธิการิยะ อันวาลมหทัยวาตกำเริบนั้น คือ พัดดวงหทัยใหระส่ำระสายคลุมดีคลุมราย แลมักขึ้ง


โกรธ ใหหิวโหยหาแรงมิได
119
๏ ถาจะแกเอาลูกคนทีสอ หัสคุณ ลูกสะบาปง จันทนทั้งสอง ดีปลี เทียนขาวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน๒
เทพทาโร เอาเสมอภาค ทำเปนจุณบดทำแทงไวละลายน้ำดอกไมแทรกพิมเสนใหกินแกลมหทัยวาตกำเริบ
หาย ฯ
ไ ท ย
้าน
120
๏ ขนานหนึ่งเอา ลูกมะแวงเครือ ๑ ชะเอมเทศ ๒ ใบกระวาน ๓ ดอกบุนนาค ๔ พริกไทย ๕ ขิงแหง
ื้นบ
๖ ดีปลี ๗ อบเชยเทศ ๘ รากน้ำใจใคร ๙ เกสรบัวหลวง ๑๐ จันทนเทศ ๑๑ น้ำตาลทราย ๑๒ ทำเปนจุณบด
ล ะ พ
ทำแทงไวละลายน้ำรอนกินก็ได น้ำดอกไมก็ได แทรกพิมเสนกิน แกลมกระทบหทัยใหคลั่งแกทุรนทุราย ฯ

๏ ยาชื่อมหาสมมิตร เอาโกฐทั้งหา เทียนทั้งหา บัลลังกศิลาทสัยงข แกวแกลบ แฝกหอม บัวน้ำทั้งหา
นไกโฉม ใบสันพราหอม ใบพิมเสน ใบชะมด
121

สัตตบงกช กฤษณา กระลำพัก ขอนดอก อบเชยเทศ แกนสน ผใบผั


ตน ใบทองพันชั่ง วานกีบแรด วานรอนทอง วานซุมเพชรทวยา์แนเพชรโองการ พิษนาศน ระยอม ชะมด พิมเสน
แ พ
หญาฝรั่น อำพัน กระแจะตะนาว เกล็ดหอยเทศรเสมอภาคทำเป

แทรกน้ำตาลทราย กินแกลมหทัยวาตกระทบหัาวกใจใหระส่ำระสายหาย ฯ
นจุณบดทำแทงไวละลายน้ำดอกไมเทศ

ัิปญญ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ


คำจารึกใช เพศนาค
2
คำจารึกใช เทียนตั๊กแตน
93
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 32

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

94
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 32

1. ๏ สิทธิการิยะ
2. จกลาวกูมารกูมารีเกิดวนศุกรทราง
3. ชางเปนเจาเรือน หละชื่อแสงพระจัน ลอองชื่อ
4. เนียรกรรถี ลมชื่อลมอริศ จรประจำทรางชางวันศุกร ะ
5. ในอาการทรางชางนั้น เขมามักขึ้นในเรือนใฟนั้นหนาขึ้นหลายชั้น ขึ้นมาแต
ไ ท ย
เขา้าน
ลง
กระหายน้ำกิพน ื้น
บ มิไดดั่งนี้ ถาจะ
6. ลำฅอถึงลิ้น แลวดาษไปทังปากใหไอ แหงให
ล ะ
แ นม
ราก

ไท ลอองพระกฤษ เสมอภาคบดดวยน้ำ

์ยแผ
7. แกเอาใบชุมเหดเทด ใบสะวาด ใบผักขวง ใบกะเพรา
มูลมาสดทำ
พ ท
8. แทงไวลายสุรากินแกทรางชางหาย ๚ อนึ
า รแ ่งเอาผักคราด ขอบชนางทังสอง ผักเสี้ยนผี ขมิ้นออย
า ก

ลูกปคำดีกระบือ พริกไท
9. เอาเสมอภาคทำเปนจุลบดทำแท

ิ ัญ งไวลายสุรากินแกพิศทรางชาง แลทรางทังปวงหาย ฯ อนึ่งเอา
ยาไทรกำมือ ๑ ยอดเตภาูมรางกำมือ ๑ กทือ

10. ไพล ตานเสี้ยนครสิอ่งล 1 ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกมูกเลือด ทรางชางหาย ๚ อนึ่งเอาราก
ง ค ุ้มรากชมดตน ใบพิมเสน
กอ
สันพรามอน
11. ตุกกะโรหินี สังกระนี ลูกผักชีทังสอง พรรผักกาด ลูกพิลังกาสา ลูกจัน กลำภัก วานรอนทอง
ขิงแหง เอา
12. เสมอภาค ทำเปนจุล บดทำแทงไว ลายสุรากิน แกพิศทรางทังปวงหายแล ๚ะ
13. อนึ่งเอา นอแรด เขากวาง หนังกเบน ผมคน หวายตะคา รากมแวง
14. ยาทังนี้ฃั่ว ตรีกะตุก กเทียม เอาเสมอภาค ทำเปน
15. จุณบดลายสุรากวาด แกลอองแลแกทราง
16. ชางทังปวง หายอยาสนเทเลย
17. วิเสศนักแล ๚ะ

95
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 32

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวกุมารกุมารี๑ เกิดวันศุกร ซางชางเปนเจาเรือน หละชื่อแสงพระจันทร ละออง


ชื่อเนียรกรรถี ลมชื่อลมอริต จรประจำซางชางวันศุกรในอาการซางชางนั้น เขมามักขึ้นในเรือนไฟนั้นหนาขึ้น
หลายชั้น ขึ้นมาแตลำคอถึงลิ้น แลวดาดไปทั้งปาก ใหไอแหงใหลงใหราก กระหายน้ำ กินขาวกินนมมิไดดังนี้
122
๏ ถาจะแกเอาใบชุมเห็ดเทศ ใบสวาด ใบผักขวง ใบกะเพรา ละอองพระกฤษ เสมอภาคบดดวยน้ำมูล
มาสดทำแทงไวละลายสุรากินแกซางชางหาย ๚
ไ ท ย
้าน
123
๏ อนึ่ ง เอาผั ด คราด ขอบชะนางทั้ ง สอง ผั ก เสี้ ย นผี ขมิ้ น อ อ ย ลู ก ประคำดี ค วาย พริ ก ไทย เอา
เสมอภาคทำเปนจุณบดทำแทงไวละลายสุรากินแกพิษซางชาง แลซางทั้งปวงหาย ฯ
ื้นบ
ะ พ
๏ อนึ่ง เอาหญาไซกำมือ ๑ ยอดเตารางกำมือ ๑ กระทือ ไพล ตาลเสี้ยลน สิ่งละ ๑ บาท ตม ๓ เอา ๑

124 ๒

ไท ย

ใหกินแกมูกเลือดซางชางหาย ๚
125
ย ผ
๏ อนึ่ง เอารากสันพรามอญ รากชะมดตน ใบพิมเสน จุก์แโรหิ ณี สังกรณี ลูกผักชีทั้งสอง พันธุผักกาด
พ ท

ลูกพิลังกาสา ลูกจันทน กระลำพัก วานรอนทอง ขิงแหง เอาเสมอภาคทำเป นจุณ บดทำแทงไวละลายสุรากิน
กา ร
า ผมคน หวายตะคา รากมะแวง ยาทั้งนี้คั่ว ตรีกฏก
แกพิษซางทั้งปวงหายแล ๚ะ

ิูมปัญ รากวาด แกละอองแลแกซางชาง ทั้งปวงหายอยาสนเทหเลย
126
๏ อนึ่ ง เอานอแรด เขากวาง หนั ง กระเบน


กระเทียม เอาเสมอภาค ทำเปนจุณบดละลายสุ
วิเศษนักแล ๚
รอง
ุ้ม ค
ง ค
กอ


คำจารึกใช กูมารกูมารีฃ
2
คำจารึกใช ตานเสี้ยน
96
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 33

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

97
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 33

1. ๏ สิทธิการิยะ
2. อยาแกกลากทังปวง เอาเทียร
3. ทังหา สิ่งละ 1 ลูกจัน ดอกจัน กระวาร
4. สิ่งละ 1 แกนเหลก รากทองพันชั่ง วานน้ำ สิ่งละ
5. กำมือ แกนแสมทังสอง แกนสนเทษ สิ่งละ ๒ กำมือ ลูกชุม
ไ ท ย
6. เหดเทษครึ่งทนาน ดองดวยสุรา ๓ ทนาน ฝงเขาเปลือกไว ๗ วัน จึ่งกินแก ะ้าน

้ ื บ
7. สรรพกลากเกลื่อนทังปวงนั้นหายดีนัก ๚ อนึ่งเอา สานหนู 2 ลูะกพ
ย ล สลอดถานไมทราก กำม
แทังปวงหายดีนัก เปนอยาเผาฯ
8. ถันเหลือง สิ่งละ 1 บดดวยน้ำขิง ลลายน้ำมนาวทากลาก
น ไท
อนึ่งเอา จุล

์ ผ
ย ปูนผง ฝน เอาเสมอภาค บดดวยน้ำกะ
9. เหลก รากทองพันชั่ง สานแดง ลูกชุมเหดเทษ ลูกทในมนาว
รแ พ
ก า
า งปวง ซึ่งมี นั้น ใหตกสิ้นหายดีนัก ๚ อนึ่งเอา
แม

ิูมปัญ
10. เทียม ลลายน้ำมนาวทา แกสรรพกลากทั
ตัว
ง ภ
รอ ลูกในชุมเหด เบญเหลก เปลือกกเบา เปลือกกเบียน เปลือกเรี่ยน ราก
หางไหลแดง
ุ้ม ค

11. เอื้องเพชมา ลูกในมนาว

12. ทองพันชั่ง อรากทองหลาง ลูกมแวงเครือ ลูกมเขือขื่น ฝน พิมเสน หรดาลกลีบทอง

13. บันลังสีลา เอาเสมอภาค ทำเปนจุณน้ำมนาวเปนกระสายบด ทำแทง
14. ไว ลายน้ำจันแดง ทาแกคันกลากเกลือน แลสรรพพยา
15. ธิ ใหคันทังปวงนั้นก็หาย แกแดงเปนแผน
16. พองขึ้นทังตัว เปนมสุริกาโรค
17. อันหนักก็หาย ๚ะ

98
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 33

127
๏ สิทธิการิยะ ยาแกกลากทั้งปวง เอาเทียนทั้งหา สิ่งละ ๑ เฟอง ลูกจันทน ดอกจันทน กระวาน
สิ่งละ ๑ สลึง แกนเหล็ก รากทองพันชั่ง วานน้ำ สิ่งละกำมือ แกนแสมทั้งสอง แกนสนเทศ สิ่งละ ๒ กำมือ
ลูกชุมเห็ดเทศครึ่งทะนาน ดองดวยสุรา ๓ ทะนาน ฝงขาวเปลือกไว ๗ วัน จึงกินแกสรรพกลากเกลื้อน
ทั้งปวงนั้นหายดีนัก ๚


128
๏ อนึ่ง เอาสารหนู ๒ สลึง ลูกสลอด ถานไมซาก กำมะถันเหลือง สิ่งละ ๑ บาท บดดวยน้ำขิง ละลาย
น ไ ท


น้ำมะนาวทากลากทั้งปวงหายดีนัก เปนยาเผา ฯ

้ ื บ

129

บดดวยน้ำกระเทียม ละลายน้ำมะนาวทา แกสรรพกลากทั้งปวง ซึ่งมีแมมีตลัวะนั้นใหตกสิ้นหายดีนัก ๚


๏ อนึ่ง เอาจุณเหล็ก รากทองพันชั่ง สานแดง ลูกชุมเห็ดเทศ ลูกในมะนาว ปูนผง ฝน เอาเสมอภาค

ย แ
130
น ท มเห็ด เบญจเหล็ก เปลือกกระเบา
๏ อนึ่ ง เอาหางไหลแดง เอื้ อ งเพ็ ด ม า ลู ก ในมะนาว ลู กไในชุ
เปลือกกระเบียน เปลือกเลี่ยน รากทองพันชั่ง รากทองหลาง ์ยแผ ลูกมะแวงเครือ ลูกมะเขือขื่น ฝน พิมเสน
หรดาลกลี บ ทอง บั ล ลั ง ก ศิ ล า เอาเสมอภาค ทำเปพนทจุ ณ น้ ำ มะนาวเป น กระสาย บดทำแท ง ไว ล ะลาย
า รแใหคันทั้งปวงนั้นก็หาย แกแดงเปนแผนพองขึ้นทั้งตัว
น้ำจันทนแดงทาแกคันกลากเกลื้อน แลสรรพพยาธิ
า ก
ัิปญญ
เปนมสุริกาโรคอันหนักก็หาย ๚ะ

ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

99
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 34

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

100
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 34

1. ๏ สิทธิการิยะ
2. ไขอันใดถาลํมไขลงกระทำ
3. ใหเชื่อมมืนแลใหตัวรอนเปนเปลวใหกระ
4. หายน้ำนัก หามอยาใหแพทยวางอยาเผดรอนตองสุรา
5. แลน้ำมัน อยาใหตมน้ำอาบประคบนวดแลสับสีกอกปลิ่งกินแทงเอา
ไ ท ย
้าน
6. โลหิตออกจะตายเสียเพราะกระทำผิดดั่งนี้ ไขนี้ชอบแตอยาเยนจืดฝาดเฝอนขมฯ
ื้นบ

7. ถ า จะแก ไข เ พื่ อ ดี เ อากะเช า ผี ม ด หั ว คล า รากช า รากง ว นหมู ห ลวง รากส ม แสด รากเข า ไม
รากจิงจำ
และ
ไท ย

8. รากสวาด รากสะแก รากมะนาว รากยานาง รากผักเขา รากผักสาบ รากผักหวาน ทำเปนจุลบด
ทำแทงลายน้ำทราวเขา
ย ์แ ผ
แ พท
9. ใหกินแกไขออกดำแดงปกายดาบหงรทด ไฟเดือนหาลอองไฟฟามหาเมฆมหานินแกไดเหมือนกัน

ขนานหนึ่งเอาปูเจาลอยถาหัว
ากา
ัิปญญ
10. มหาการพิศนาด พจยารากขาวรากทงไช รากตุมกาทังสอง รากตับเตาทังสอง รากมกอกเผือก
รากหีบลม รากกะทกรก
ภ ม

ร อง
11. รากชางนาวดอกเหลือง รากแตงเถื่อน รากกระแจะรากนาดคำ รากคันทรง รากกางปลาแดง

ค มุ้
รากมเฟอง รากสวาด

ก อ
12. รากมดูก รากชาเลือด ทำเปนจุนบดทำแทงไวลายน้ำทราวเขากิน แกสรรพไขทังปวงแกพิศ
13. วิเสดนัก ฯ ขนานหนึ่งเอาตับเตาใหญ รากมะเกลือ รากคัดเคา รากลหุง ราก
14. ผักหนาม ทำเปนจุนบดทำแทงไวลายน้ำทราวเขากินแกพิศไข
มะเดือ
15. ทังปวงหาย ฯ ขนานหนึ่งเอาราก คนทา
ทาวยายมอม
ยานาง
16. ราก ตมกินแกไขทังปวง
ชิงชี่
17. หายแล ๚๛
101
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 34

๏ สิ ท ธิ ก าริ ย ะ ไข อั น ใดถ า ล ม ไข ล งกระทำให เชื่ อ มมึ น แลให ตั ว ร อ นเป น เปลว ให ก ระหายน้ ำ นั ก
หามอยาใหแพทยวางยาเผ็ดรอนตองสุราแลน้ำมัน อยาใหตมน้ำอาบประคบนวด แลสับสีกอกปลิงกินแทงเอา
โลหิตออก จะตายเสียเพราะกระทำผิดดังนี้ ไขนี้ชอบแตยาเย็น จืด ฝาด เฝอน ขม ๚
131
๏ ถาจะแกไขเพื่อดี เอากระเชาผีมด หัวคลา รากชา รากงวนหมูหลวง รากสมเสด รากขาวไหม 1
รากจิงจอ รากสวาด รากสะแก รากมะนาว รากยานาง2 รากฟกขาว3 รากผักสาบ รากผักหวาน ทำเปนจุณ
บดทำแทงละลายน้ำซาวขาว4 ใหกินแกไขออกดำแดง ประกายดาษ หงสระทด ไฟเดือนหา ละอองไฟฟา
ไ ท ย
มหาเมฆ มหานิล แกไดเหมือนกัน
บ ้าน
ะ พ ื้น รากตุมกา ทั้งสอง
แลาวดอกเหลือง รากแตงเถื่อน
132 5
๏ ขนานหนึ่ง เอาปูเจาลอยทา หัวมหากาฬ พิษนาศน พญารากขาว รากทงไชย
รากตับเตาทั้งสอง รากมะกอกเผือก รากหีบลม รากกระทกรก รากชยางน
รากกระแจะ รากหนาดคำ รากคันทรง รากกางปลาแดง รากมะเฟนอไงทรากสวาด รากมะดูก รากชาเลือด
์แผพิษวิเศษนัก ฯ
ทำเปนจุณบดทำแทงไวละลายน้ำซาวขาวกิน แกสรรพไขทั้งปวงยแก
พาทรากละหุง รากผักหนาม ทำเปนจุณ บดทำแทง
๏ ขนานหนึ่ง เอาตับเตาใหญ รากมะเกลือ รากคัรดแเค
ไวละลายน้ำซาวขาวกินแกพิษไขทั้งปวงหาย ฯ ากา
133

134
ัิปญญรากเทายายมอม รากยานาง รากชิงชี่ ตมกินแกไขทั้งปวง


๏ ขนานหนึ่ง เอารากมะเดื่อ รากคนทา
หายแล ๚ะ๛
อง ภ
ค ร
ง ค ม
้ ุ
ก อ


คำจารึกใช เขาไม
2
คำจารึกใช รายานาง
3
คำจารึกใช ฝกเขา
4
คำจารึกใช ทราวเขา
5
คำจารึกใช ตุมคา
102
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 35

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

103
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 35

1. ๏ สิทธิการิยะ
2. อันวาสรรนิบาตะ อุทรโรค คือทอง
3. มารเพือสรรนิบาตวิธีดุจอุธรโรค เพื่อลมนั้น
4. ถาจะแกอุทรโรค เพือสรรนิบาต เอาน้ำมันเนย ๒ ทนาน
5. นมโค ๑๖ ทนาน ยางสลัดใด 33 รากจิงจอหลวง 5 22 ทำเปนจุณเปยก
ไ ท ย
6. เปยกน้ำทาบริสุทธิ ทนาน ๑ หุงใหคงแตน้ำมันใหกินหนัก 1 3 แกสรรพอุทรโรค
บ ้าน
ะ พ ื้น

7. ทังปวงแกทองมาร เพือเสมหะหาย ๚ ขนานหนึ่งเอาขิง จีงจอหลวง รากตองแตก
ย แ
ไท
8. ฝกราชพฤกษ ตรีผลา ผักโหมหิน ยาทังนีเอาหนัก 3 ตม ๓ เอา ๑ น้ำขิงสด ทนาน ๑
ผ น
์แ
9. เบญจะดีปลี ขิง เทิยรสัตบุต ผักโหมหิน แกนสน ตองแตก จิงจอใหญ โคกกสุน สิ่งละ 1 3 น้ำมัน

แพท
10. เนย ๒ ทนาน หุงใหคงแตนำมัน แลวตรองเอาน้ำมันใหกินตามควร แกอุทรโรค เพือสรรนิบาตแก

ากา
11. โสภะโรค แกเปนกอนในทองนั้นหาย ๚ ขนานหนึ่งเอาปรอด ตุกกต่ำ นกยูง ดีปลี ผล

ัิปญญ
12. สลอด เอาเสมอภาค บดดวยน้ำยางสลัดใด น้ำฝกราชพฤกษ ปน
ภ ม

อง
13. เมดเทาเมดถั่วเฃียวเลก เอาเมดหนึ่งลลายน้ำสมมขามเปยกใหกินแกสรรพ

ค ร
มุ้
14. อุทรโรค แกกอนไนทอง แกบวม ถากินยานี้ใหกินน้ำสุกตาม ถา

อง ค
15. โรคนั้นมากใหลงมาก ยานี้ชื่อ ภานาชุณะฤๅษี

16. บอกไว ชื่อวา วิเรจะณะสุรรศประ
17. เสรีฐยิ่งอุดมนัก ฯ

104
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 35

135
๏ สิทธิการิยะ อันวา สันนิบาตอุทรโรค คือ ทองมาน เพื่อสันนิบาตวิธี ดุจอุทรโรคเพื่อลมนั้น ถาจะ
แกอุทรโรค เพื่อสันนิบาต เอาน้ำมันเนย ๒ ทะนาน นมโค ๑๖ ทะนาน ยางสลัดได ๓ บาท ๓ สลึง รากจิงจอ
หลวง ๕ ตำลึง ๒ บาท ๒ สลึง ทำเปนจุณเปยกๆ น้ำทาบริสุทธิ์ทะนาน ๑ หุงใหคงแตน้ำมันใหกินหนัก ๓ สลึง
๑ เฟอง แกสรรพอุทรโรคทั้งปวง แกทองมานเพื่อเสมหะหาย ฯ
136
๏ ขนานหนึ่ง เอาขิง จิงจอหลวง รากตองแตก ฝกราชพฤกษ ตรีผลา ผักโหมหิน ยาทั้งนี้เอาหนัก
ไ ท ย
้าน
๓ ตำลึง ตม ๓ เอา ๑ น้ำขิงสดทะนานหนึ่ง เบญจดีปลี ขิง เทียนสัตตบุษย ผักโหมหิน แกนสน ตองแตก

จิงจอใหญ โคกกระสุน สิ่งละ ๓ สลึง ๑ เฟอง น้ำมันเนย ๒ ทะนาน หุงใหคงแตน้ำมันแลวกรอง1 เอาน้ำมันให
ื้น
กินตามควร แกอุทรโรคเพื่อสันนิบาต แกโสภโรค แกเปนกอนในทองนั้นหาย ๚
ละ พ
ย แ
ไทำสมมะขามเปยกใหกินแกสรรพอุทรโรค
137
๏ ขนานหนึ่ ง เอาปรอท ตุ ก ต่ ำ นกยู ง ดี ป ลี ผลสลอด เอาเสมอภาคบดด ว ยน้ ำ ยางสลั ด ได

์แผ ลงมาก ยานี้ชื่อภานาชุณะฤๅษี บอกไว ชื่อ
น้ำฝกราชพฤกษปนเม็ดเทาเม็ดถั่วเขียวเล็ก เอาเม็ดหนึ่งละลายน้
แกกอนในทอง แกบวม ถากินยานี้ใหกินน้ำสุกตาม ถาโรคนัย้นมากให
พ ท
วิเรจะณะสุรรส ประเสริฐยิ่งอุดมนัก ๚
า รแ
า ก

ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ


คำจารึกใช ตรอง

105
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 36

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

106
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 36

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ลักษณไขเจลียง พระสมุท
๓. นั้นเมื่อจะจับใหเมื่อยขบทุกขอกระดูกให
๔. หนาวสทานใหหอบใหรอนกระหายใหตีนเย็นถึงนองให
๕. เสียวไปทังกายใหปวดสีสะเปนกำลังกินอาหารมิได ใหลอองตีนมือนั้น
ไ ท ย
๖.
บ ้าน
ขาวโทษเสมหเปนกำลัง ๚ ถาจแกเอาพริกไท ขิงแหง กเทียม ไพล ขา กชาย พริกเทด
ะ พ ื้น

๗. บระเพช ขมิ้นออย ฝกัราชพฤกษสิ่งลสวน ไบมัดกา ๒ สวน ตม ๓ เอา ๑ ถากินจใหลงแทรก
ย แ
ไท
ยาดำลง

ผ น
์แ
๘. กินเถีด แกจับทุกวันก็ดีเวนวันก็ดีกินยานี้หาย ๚ ขนานหนึ่ง เอาขมินออย ๑๐๘ แวน บระเพช

พท
๑๐๘ แวน กานสเดา

า รแ
๙. ๑๐๘ กาน ไบมนาว ๑๐๘ ไบ ฝกัราชพฤกษ ๓ ฝกัตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกไขเจลียง ใหจับ กินเขา
าก
ัิปญญ
มิไดใหเมื่อยขบทั่วสรรพางตัวนั้นหาย
๑๐. ดีนักแล ๚ ขนานหนึ่งเอา เบญราชพฤกษ เบญขี้เหลก สมอทังสาม ขมิ้นออย รากทนดี รากชาพลู
ภ ม

อง
ลูกมะตูมออน
ค ร
มุ้
๑๑. แหวหมู หญาปากควาย สิ่งละกำมือ ไพล ๗ แวน พริก ๗ เม็ด กเทียม ๗ กลีบ กานสเดา ๓๓ กาน
ตม ๓
อง ค

๑๒. เอา ๑ ใหกินแกไขจเลียง ไขจับครั่งเครือนั้นหายดีนัก ขนานหนึ่งเอาใบคนทีสอ ใบ
ขิง ขมิ้นออย
๑๓. มตูม ใบสเนียด ใบทองหลางมน กเทียม ดีปลี ไพล สาน
ขา ดินปสิวขาว

๑๔. สมเอาเสมอภาค ใบสลอดนึ่งเทายาทังหลาย ทำเปนจุล
ทา
๑๕. บดทำแทงลายน้ำ ก็ได ใหกินตามกำลัง
ขา
๑๖. ผายพิศไขเจลียงอันเกืดแต
๑๗. เสมหะแล ๚
107
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 36

๏ สิทธิการิยะ ลักษณะไขเจลียงพระสมุทรนั้น เมื่อจะจับใหเมื่อยขบทุกขอกระดูก ใหหนาวสะทาน ให


หอบใหรอนกระหาย ใหตีนเย็นถึงนอง ใหเสียวไปทั้งกาย ใหปวดศีรษะเปนกำลัง กินอาหารมิได ใหละอองตีน
มือนั้นขาว โทษเสมหะเปนกำลัง ฯ
138
๏ ถ า จะแก เ อาพริ ก ไทย ขิ ง แห ง กระเที ย ม ไพล ข า กระชาย พริ ก เทศ บอระเพ็ ด ขมิ้ น อ อ ย
ฝกราชพฤกษ สิ่งละสวน ใบมะกา1 ๒ สวน ตม ๓ เอา ๑ กิน ถาจะใหลงแทรกยาดำ ลงกินเถิด แกจับทุกวันก็
ดีเวนวันก็ดีกินยานี้หาย ๚
ไ ท ย
๏ ขนานหนึ่งเอาขมิ้นออย ๑๐๘ แวน บอระเพ็ด ๑๐๘ แวน กานสะเดา ๑๐๘ ก้าานน ใบมะนาว ๑๐๘
บ่วสรรพางคตัวนั้นหายดี
139

ะ พ น

ใบ ฝกราชพฤกษ ๓ ฝก ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกไขเจลียง ใหจับกินขาวมิไดใหเมื่อยขบทั ื
นักแล ๚
ย แ ล
๏ ขนานหนึ่งเอา เบญจราชพฤกษ เบญจขี้เหล็ก สมอทัน้งไสาม ท ขมิ้นออย รากทนดี รากชาพลู
์แผก ๗ เม็ด กระเทียม ๗ กลีบ กานสะเดา
140 ๒ ๓

ลูกมะตูมออน แหวหมู หญาปากควาย สิ่งลำมือ ไพล ๗ แวนยพริ


ท นัก ๚
๓๓ กาน ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกไขเจลียง ไขจับคลั่งเครือนั้นพหายดี
า แ
รยด ใบทองหลางใบมน กระเทียม ขิง ขา ดีปลี ไพล
141
า ก

๏ ขนานหนึ่ง เอาใบคนทีสอ ใบมะตูม ใบเสนี
ขมิ้นออย ดินประสิวขาว สารสม เอาเสมอภาค

ิ ญ
ั ใบสลอดนึ่งเทายาทั้งหลาย ทำเปนจุณบดทำแทง ละลาย
น้ำทา น้ำขาก็ได ใหกินตามกำลัง ผายพิษูมไขเจลียงอันเกิดแตเสมหะแล ๚
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช ไบมัดกา

คำจารึกใช เบญราชพฤกษ

คำจารึกใช เบญขี้เหล็ก
108
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 37

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

109
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 37

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. จกลาวกุมาระกุมารีทังหลายอัน
ยอย
๓. จบังเกิดโรค คือ ตับ ทรุด นั้นใหแจงโดยสังเขป


เรื้อย
ไ ท
้าน
๔. คือ กุมารผูใด ตองโอปกมิกาภาธิ ถึงซึ่งพิฆาตนักเหลือกำลัง
ื้นบ

๕. คือ ลมลงก็ดี ตกอูตกเปลแลฟดฟาดกุมารโดยความรักษไครนักก็ดี
และ

๖. แลเปนทรางแลหละ แลลออง แลลมมีพีศทังปวงเหลือกำลังนักก็ดีแลธาตุ สมุถารจึ่งวิปริต
น ไท

๗. โดยพิฆาตอันนั้นถีบตับตกลงมิอาการตางตางสมมุติวา ดานตก ถาตับตกขางขวาซายระไบออน
ชอนได
ย ์แ
รแพท
๘. ถาดานลมชายแขงชอนมิได ถาตกกลางดานเสมหะ ถาตกซายมาม อันนี้วาแตสังเขป วิถานอยู
ในปถมจินดาพลพยุหะ
ากา
ัิปญญ
๙. เฉทๆ นั้ น แลว ๚ ถ า จะแก เ อาสมอทั ง สาม มขามป อ ม ขี้ ก าแดงครึ่ ง ลู ก รากไฮ เ หนี ย ว
รากเลบมือนาง เปลือกไขเหนา เทิยรดำ
ภ ม

ค ร อง
๑๐. เทียรขาว แหวหมู น้ำปสารทอง ลูกมตูมออน เกสรบัวหลวง เกสรบุนนาก ขมิ้นออย ๓ ชิ้น
บรเพช ๓ องคุลี
ง ค มุ้
ก อ เลา
๑๑. ฝกราชพฤก ฝก ๑ ตมดวย ครึ้ง ใหกินแกทรางขึ้นหัวตับใหลง เปนโลหิตกอนแลวใหไอ
น้ำ
เปนกำลังตา
๑๒. เหลืองจับเปนเพลา ใหตับหยอนลงไปชายโครงขางซาย ยาอื่นแกมิฟง กินยานี้หาย ๚ะ
๑๓. ขนานหนึ่ง เอาหัวเตา ๓ หัว หัวเตาเกียด ลิ้นเสือทังตนทังราก ตา
๑๔. ไมไผปา เกสรษาระภี เกสรบุนนาก ปูนขาว ๓ หยิบ
๑๕. ตมใหกินแกตับยอยลงมา ทำใหจับ
๑๖. แลชักใหขึ้นนั้น ก็หายวิเสศ
๑๗. ประเสริฐนัก ๚ะ
110
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 37

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวกุมารกุมารีทั้งหลายอันจะบังเกิดโรค คือ ตับยอย ตับทรุด ตับเรื้อยนั้นใหแจง


โดยสังเขป คือ กุมารผูใดตองโอปกมิกาภาธิ ถึงซึ่งพิฆาตนักเหลือกำลังคือ ลมลงก็ดี ตกอูตกเปล แลฟดฟาด
กุมารโดยความรักใครนักก็ดี แลเปนซางแลหละแลละอองแลลมมีพิษทั้งปวงเหลือกำลังนักก็ดี และธาตุ
สมุฏฐานจึงวิปริตโดยพิฆาตอันนั้น ถีบตับตกลงมามีอาการตางๆ สมมุติวา ดานตก ถาตับตกขางขวาซาย
ระบาย1 ออนชอนได ถาดานลมชายแข็งชอนมิได ถาตกกลางดานเสมหะ ถาตกซายมามอันนี้ วาแตสังเขป
วิตถารอยูในปฐมจินดาพลพลุหะปริเฉทๆ นั้นแลว ๚
ไ ท ย
๏ ถาจะแกเอาสมอทั้งสาม มะขามปอม ขี้กาแดงครึ่งลูก รากอายเหนียว รากเล็นบมือนาง เปลือกไขเนา
้านนาค ขมิ้นออย ๓ ชิ้น
142

ื้นบ

เทียนดำ เทียนขาว แหวหมู น้ำประสารทอง ลูกมะตูมออน เกสรบัวหลวง เกสรบุ

บอระเพ็ด ๓ องคุลี ฝกราชพฤกษฝก ๑ ตมดวยเหลาครึ่งน้ำครึ่งใหกินแกลซางขึ้นหัวตับ ใหลงเปนโลหิตกอน
แ างซาย ยาอื่นแกมิฟง กินยานี้
แลวใหไอเปนกำลังใหตาเหลือง จับเปนเพลา ใหตับหยอนลงไปชายโครงข
ไท ย

หาย ๚ะ
์ยแผ
๏ ขนานหนึ่ง เอาหัวเตา ๓ หัว หัวเตาเกียด ลิ้นเสืทอทั้งตนทั้งราก ตาไมไผปา เกสรสารภี เกสรบุนนาค
แพกตับใหขึ้นนั้นก็หายวิเศษประเสริฐนัก ๚ะ๛
143

ปูนขาว ๓ หยิบ ตมใหกินแกตับยอยลงมา ทำใหจับารแลชั


า ก
ัิปญญ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช ระไบ

111
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 38

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

112
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 38

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ลักษณไขจะเลียงไพรนั้น
๓. กระทำอาการดุจปสาจ เขาสีงมักขึ้งโกรธ
๔. เมื่อจับนั้นใหสทานหนาวสั่นยิ่งนัก ใหรอนกระหายน้ำ
๕. นัก ใหปสาวะแดงเดีนมิไดสดวก ใหลอองตีนมือนั้นแดงโทษดีเปนกำ
ไ ท ย
๖. ลัง ๚ ถาจะแกเอาลูกกดอม ฝกราชพฤกษ มฃามเปยกหกฝก เปลือกสเดา เทียรทัง
บ ้าน
ะ พ ื้น

๗. หา จันทังสอง สมอเทด สมอไท ลูกจัน ดอกจัน ขมิ้นออย สิ่งละ 2 อยาดำ 1 เงินผูกคอ
หมอ 1 ตม ๓
ย แ
น ไท
์แ ผ
๘. เอาหนึ่ ง ให กิ น แก จั บ ไข จ เลี่ ย งเพื่ อ ดี นั้ น หาย ๚ ขนานหนึ่ ง เอาโกดทั ง ห า เที ย รทั ง ห า

พท
ลูกจัน ดอกจัน กระวาน การ

า รแ
๙. พลู จันทังสอง สมอทังสาม ฝกราชพฤกษ สิ่งลสวน ลูกกดอม ๒ สวน ตมดวยน้ำออยแดง ๒ สวน
าก
ัิปญญ
น้ำทาสวน ๑ ตมใหงวดใหคง
๑๐. แต น้ ำ อ อ ย ให กิ น แก จั บ ไข จ ะเลี ย ง ทำพิ ศ นั ก ให ส ท า นหนาวเปนกำลั ง แลแก ร อ น แก ค ลั่ ง
ภ ม

อง
มเมอเพอภกนั้นหาย
ค ร
มุ้
๑๑. วิเสศนัก ๚ ขนานหนึ่ง เอาเบญราชพฤกษ เบญเหลก เบญมักกา รากกางปลาแดง รากผักเสี้ยนผี

อง ค

๑๒. รากชาพลู แหวหมู แตงหนู ขาตาแดง จันแดง จันขาว ขมิ้นออย ไครหอม สมอ
๑๓. ทังสาม หอมแดง ลูกจัน ดอกจัน กระวาน การพลู ดีปลี
๑๔. เทียรทังหา เอาเสมอภาค ตมสามเอาหนึ่ง ใหกีน
๑๕. แกสรรพไขจเลียง ทังปวงแลแก
๑๖. คลั่งแกจับ เพื่อดี
๑๗. นั้นหาย ๚

113
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 38

๏ สิทธิการิยะ ลักษณะไขเจลียงไพรนั้น กระทำอาการดุจปศาจเขาสิง มักขึ้งโกรธเมื่อจับนั้น ใหสะทาน


หนาวสั่นยิ่งนัก ใหรอนกระหายน้ำนัก ใหปสสาวะแดงเดินมิไดสะดวก ใหละอองตีนมือนั้นแดง โทษดีเปน
กำลัง ๚
144
๏ ถาจะแกเอาลูกกระดอม ฝกราชพฤกษ มะขามเปยกหกฝก เปลือกสะเดา เทียนทั้งหา จันทนทั้งสอง
สมอเทศ สมอไทย ลูกจันทน ดอกจันทน ขมิ้นออย สิ่งละ ๒ สลึง ยาดำ ๑ บาท เงินผูกคอหมอ ๑ บาท ตม ๓
เอา ๑ ใหกินแกจับไขเจลียงเพื่อดีนั้นหาย ๚
ไ ท ย
145
๏ ขนานหนึ่ง เอาโกฐทั้งหา เทียนทั้งหา ลูกจันทน ดอกจันทน กระวาน กานพลู
บ ้าน จันทนทั้งสอง
สมอทั้งสาม ฝกราชพฤกษ สิ่งละสวน ลูกกระดอม ๒ สวน ตมดวยน้ำออยแดง ๒พสื้นวน น้ำทาสวน ๑ ตมให
แล ะ
ไน ทย
1
งวด ใหคงแตน้ำออย ใหกินแกจับไขเจลียงทำพิษนัก ใหสะทานหนาวเปนกำลั ง แลแกรอน แกคลั่ง ละเมอ
เพอพกนั้นหายวิเศษนัก ๚
์ยแผ รากกางปลาแดง รากผักเสี้ยนผี
ขทาว ขมิ้นออย ไครหอม สมอทั้งสาม หอมแดง
146 ๒ ๓ ๔
๏ ขนานหนึ่งเอาเบญจราชพฤกษ เบญจเหล็ก เบญจมะกา
รากชาพลู แหวหมู แตงหนู ขาตาแดง จันทนแดง จันทน
แ พ
ร้งหา เอาเสมอภาคตมสามเอาหนึ่ง ใหกินแกสรรพไข
ลูกจันทน ดอกจันทน กระวาน กานพลู ดีปลี เทียกนทั า
เจลียงทั้งปวง แลแกคลั่งแกจับเพื่อดี นั้นแล ๚ ญา
ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช มะเมอ

คำจารึกใช เบญราชพฤกษ

คำจารึกใช เบญเหล็ก

คำจารึกใช เบญมักกา

114
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 39

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

115
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 39

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. บุทคลผูใดบังเกิดลมขบ
๓. ในขอกะดูกทังปวงใหเมื่อยขบ แลเปน
ขอด
๔. เหนบไปทังตัว แลเสน แลเสน กดางใหขัดขอมือ
ไ ท ย
้าน
ตึง
ื้นบ

๕. ขอเทานั้น ๚ ถาจะแกเอา หัวเลาเขม น้ำขิง น้ำขา น้ำขมิ้นออย
และ

๖. น้ำใบผักเปด น้ำมะนาว น้ำใบรักขาว สิ่งละทนาน น้ำบระเพด ๔ ทนาน น้ำ
น ไท

๗. มันงา ๓ ทนาน ตวงดวยทนาน ๘๐๐ หุงใหคงแตน้ำมัน แลวจึ่งเอาลูกจัน ดอกจัน เทียร
ย ์แ
พท
๘. ดำ เทียรขาว เทียรสัตบุด ดีปลี พริกหอม สิ่งละ 1 กะเทียมทอก ๗ หัว ทำเปนจุณแลวปรุงลง

า รแ
๙. ในน้ำมันทาแกลมตีนตายมือตายลมเสียบแทงเมื่อยขบทั้งปวง แลเขดฝเอน ฝคันทมา ฝปะคำรอย
าก
ัิปญญ
ฝลูกหนู ใชไดทุก
๑๐. ประการวิ เ สศนั ก ฯ ขนานหนึ่ ง เอา น้ ำ ไฟเดื อ นห า น้ ำ ไบผั ก เปด น้ ำ ย า ไต ใ บ น้ ำ หอมแดง
ภ ม

อง
น้ำกเทียม น้ำ
ค ร
มุ้
๑๑. มันงา สิ่งละทนาน หุงใหคงแตน้ำมันแลวจึ่งเอา ลูกจัน ดอกจัน กระวาน การพลู โกดสอ

อง ค
๑๒. โกดเขมา เทียนทังหา สิ่งละ 1 ทำเปนจุณปรุงลงในน้ำมันนั้น ใหทาแกลมตีน

๑๓. ตายมือตายแลเสนเอนหดหอเสนเหนบชาเมื่อยขบทุกขอทุกกดุกกินก็ได
๑๔. ทาก็ไดยอนหูก็ได แกหูหนวกหูตึงแลหูดังอยูฮึงฮึง
๑๕. เปนนิจแกน้ำหนวกไหลเปนอัตรานั้นก็หาย
๑๖. แกเสนขอดตึงกดางแขงอยูก็
๑๗. หายวิเสศนัก ๚

116
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 39

๏ สิ ท ธิ ก าริ ย ะ บุ ค คลผู ใ ดบั ง เกิ ด ลมขบในข อ กระดู ก ทั้ ง ปวงให เ มื่ อ ยขบ แลเป น เหน็ บ ไปทั้ ง ตั ว
แลเสนขอด เสนตึง แลเสนกระดางใหขัดขอมือ ขอเทานั้น๚
147
๏ ถาจะแกเอาหัวเหลาเขม น้ำขิง น้ำขา น้ำขมิ้นออย น้ำใบผักเปด น้ำมะนาว น้ำใบรักขาว สิ่งละ
ทะนาน น้ำบอระเพ็ด ๔ ทะนาน น้ำมันงา ๓ ทะนาน ตวงดวยทะนาน ๘๐๐ หุงใหคงแตน้ำมัน แลวจึงเอาลูก
จันทน ดอกจันทน เทียนดำ เทียนขาว เทียนสัตตบุษย ดีปลี พริกหอม สิ่งละ ๑ บาท กระเทียมทอก ๗ หัว
ท ย
ทำเป น จุ ณ แล ว ปรุ ง ลงในน้ ำ มั น ทา แก ล มตี น ตายมื อ ตาย ลมเสี ย บแทง เมื่ อ ยขบทั้ ง ปวง แลเช็ ด ฝ เ อ็ น

ฝคัณฑมา1 (ลา) ฝประคำรอย ฝลูกหนูใชไดทุกประการวิเศษนัก ฯ
บ ้าน
148
๏ ขนานหนึ่งเอา น้ำไฟเดือนหา น้ำใบผักเปด น้ำหญาใตใบ น้ำหอมแดง
ะ พ ื้นน้ำกระเทียม น้ำมันงา สิ่งละ
แล
ไน ทยอตายแลเสนเอ็นหดหอ เสนเหน็บชา

ทะนาน หุงใหคงแตน้ำมันแลวจึงเอาลูกจันทน ดอกจันทน กระวาน กานพลู โกฐสอ โกฐเขมา เทียนทั้งหา
สิ่งละ ๑ บาท ทำเปนจุณปรุงลงในน้ำมันนั้น ใหทาแกลมตีนตายมื

เมื่อยขบทุกขอทุกกระดูก กินก็ได ทาก็ได ยอนหูก็ได แกหูห์แนวก
ยเศษนัก ๚ หูตึง แลหูดังอยูฮึงฮึงเปนนิจแกน้ำหนวก
ไหลเปนอัตรานั้นก็หาย แกเสนขอดตึงกระดางแข็งอยูก็หทายวิ
รแ พ
า กา
ัิปญญ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช ฝคันทมา

คำจารึกใช การพลู

117
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 40

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

118
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 40

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒ แพทผูใด จะรักษาษัตรีภาบ
๓. ไปเมื่อหนาถาแลหยิงจำพวกใดก็ไมมี
๔. ระดูมาก็ดี ลางทีมีระดูมาแลวกลับแหงไปก็ดี ถาแพทผู
๕.
ไ ท
ใดจะแก ทานใหแตงยาบำรุงธาตุเสียกอน ใหธาตุทังสี่บริบูรณจึ่งแตงยาบำ ย
๖.
บ ้าน
รุงเลือด ใหเลือดนั้นชุมออกแลว จึ่งแตงยาขับตอไปเถีด บำรุงธาตุนั้น ทานใหเอาเบญกูน
ะ พ ื้น

๗. สิ่งละ 1 ลูกผักชี วานน้ำ หัวแหวหมู ลูกภิลังกาสา บระเพช ผิวมะกรูด ยาหกสิ่งนี้เอาสิ่งละ
1
ย แ
ไท
ตำเปนผง

ผ น
์แ
๘. ลายน้ำซมซาบำรุงไฟธาตุ ใหบริบูรณแลวจึ่งแตงยาบำรุงเลือดตอไปนั้น ทานใหเอาเบญกูนหนัก

พท
สิ่งละ 1 โกด

า รแ
๙. ทัง ๕ เทียนทัง ๕ สิ่งละ 2 ลูกจัน 1 ดอกจัน 1 กระวาน 1 การพลู 1 เลือดแรด
1
ดอกคำไท 1 ฝางเสน 2 เกษร าก
ัิปญญ
๑๐. ดอกพิ กุ น ดอกบุ น นาก ดอกสาระภี บั ว หลวง ดอกมะลิ ดอกจำปา ดอกกระดั ง งา กริ ศ นา
ภ ม

อง
กะลำพัก ชะลูด ขอนดอก อบเชย
ค ร
มุ้
๑๑. ชะเอมเทด จันทัง ๒ ขมีนเครือ ยาทังนี้ เอาเสมอภาคตมใหกิน เลือดนั้นสุกงามดีอยาสนเทเลย ๚

อง ค

๑๒. ภาคหนึ่งเอาลูกชาพลู ๑ รากชาพลู ๑ รากเจตะมูนเพลิง ๑ วานน้ำ ๑ ฝกซมปอย ๑
๑๓. ลูกสะลอด ๑ หัสคุนเทด ยานี้เอาสิ่งละ 1 เปลานอย 2 1 พริกลอน 3
ผึ้ง
2 1
๑๔. กะเทียม หัวดองดึง ตำเปนผงละลายน้ำ ซมซา ก็ได ถาจแช
เลา
เหนา
๑๕. สุราฝงเขาเปลือกไวกินแกสาระพเลือด ทัง
ราย
๑๖. ปวงแกลมเสมหะ ริศดวงผอม
๑๗. เหลืองก็ได ๚ะ

119
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 40

๏ สิทธิการิยะ แพทยผูใดจะรักษาสตรีภาพไปเมื่อหนาถาแลหญิงจำพวกใดก็ไมมีระดูมาก็ดี ลางทีมี


ระดูมาแลวกลับแหงไปก็ดี ถาแพทยผูใดจะแกทานใหแตงยาบำรุงธาตุเสียกอน ใหธาตุทั้งสี่บริบูรณ จึงแตงยา
บำรุงเลือด ใหเลือดนั้นชุมออกแลว จึงแตงยาขับตอไปเถิดบำรุงธาตุนั้น
149
๏ ทานใหเอาเบญจกูล สิ่งละ ๑ บาท ลูกผักชี วานน้ำ หัวแหวหมู ลูกพิลังกาสา บอระเพ็ด ผิวมะกรูด
ยาหกสิ่งนี้เอาสิ่งละ ๑ บาท ตำเปนผงละลายน้ำสมซาบำรุงไฟธาตุใหบริบูรณแลว จึงแตง ยาบำรุงเลือดตอไป
นั้น
ไ ท ย
๏ ทานใหเอาเบญจกูลหนักสิ่งละ ๑ บาท โกฐทั้ง ๕ เทียนทั้ง ๕ สิ่งละ ๒ สลึง ลู้ากนจันทน ๑ สลึง ดอก

150

จันทน ๑ สลึง กระวาน ๑ สลึง กานพลู ๑ สลึง เลือดแรด ๑ บาท ดอกคำไทยพ๑ื้น ตำลึง ฝางเสน ๒ บาท
แ ละ
ไน ทย มใหกิน เลือดนั้นสุกงามดี
เกสรดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี บัวหลวง ดอกมะลิ ดอกจำปา ดอกกระดั งงา กฤษณา กระลำพัก
ชะลูด ขอนดอก อบเชย ชะเอมเทศ จันทนทั้ง ๒ ขมิ้นเครือ ยาทั้งนี้เอาเสมอภาคต
แล อยาสนเทหเลย ๚ แ
์ ผ
ย ง ๑ วานน้ำ ๑ ฝกสมปอย ๑ ลูกสลอด ๑
พ ท

151

๏ ภาคหนึ่ง เอาลูกชาพลู ๑ รากชาพลู ๑ รากเจตมู ล เพลิ
หัสคุณเทศ ยานี้เอาสิ่งละ ๑ บาท เปลานอย ๒ ตำลึ
า กา ง ๑ บาท พริกลอน ๓ ตำลึง กระเทียม ๒ ตำลึง
1

หัวดองดึง ๑ บาท ตำเปนผงละลายน้ำผึ้งน้ำสญ



ั มซา น้ำเหลาก็ได ถาจะแชสุราฝงขาวเปลือกไวกินแกสารพัด
เลือดเนา เลือดรายทั้งปวง แกลมเสมหะริดิปสีดวงผอมเหลืองก็ได ๚ะ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช พริกลอน

120
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 41

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

121
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 41

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. รัตตะปตตะโรคนั้น คือ โลหิต
๓. รคนกับดวยวาตะเสมหะดี พรอมกันทัง
๔. สามดังนี้แลว คือ กำเริบเพื่อสรรนีบาตดั่งนี้ เปนอติไสย
๕. วาโรคนั้นหนก แพทยอยาพึงรักษาเลยเปนอาการตัด ใหแกดู
ไ ท ย
๖. ตามบุญ ๚ ถาจะแกเอารากสามสิบ รากมทราง รากมฟอ รากคา จันทัง ๒
บ ้าน
ะ พ ื้น

๗. ขิงแหง ดีปลี เบญจะเสนียด ลูกจัน การพลู พิมเสน เอาเสมอภาค ทำเปนจุล เอาน้ำเปลือกฃอย
ย แ
ไท
๘. เปนกระสายบดทำแท ง ไว ล ายน้ ำ โกดหั ว บั ว ต ม กิ น แก รั ต ตะป ต ตะ เพื อ สรรนิ บ าดหาย ฯ
ผ น
์แ
ขนานหนึ่งเอาแฝกหอม

พท
๙. ใคร ห อม ใคร น้ ำ ใคร บ ก กระวาร บรเพช การบู น แก น กั น เตรา สุ ร ามฤท เจตมู ล เพลิ ง
เอาเสมอภาค ทำเปนจุน
า รแ
าก
ัิปญญ
๑๐. เอาน้ำขิง เปนกระสายบดทำแทงไวลายน้ำเทพธาโร ตมกินแกรัตตะปตตะ เพือสัรรนิบาตนั้นหาย
มหาวิเศศนัก
ภ ม

ค ร อง
๑๑. ๏ ขนานหนึ่งเอาเปลือกโลด เปลือกกันเดรา การพลู ขิงแหง หญามือเหลก เอาเสมอ

ค มุ้
๑๒. ภาค ตม ๓ เอา ๑ กินแกรตตะปตตะโรค เพิอสันนิบาตหาย ๚ ขนานหนึง

ก อ
๑๓. เอาบระเพด เจดพงดี เปลานอย กระวาร การพลู
๑๔. ขิงแหง เอาเสมอภาคย ตมสาม เอาหนึง
๑๕. กีนแกรัตตะปตตะ แลแกซึ่งโรคบังเกีด
๑๖. เพือสรรนิบาตนั้นหาย
๑๗. ดีนัก ๚๛

122
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 41

๏ สิทธิการิยะ รัตตะปตตะโรคนั้น คือ โลหิตระคนกับดวยวาตะเสมหะดี พรอมกันทั้งสามดังนี้แลว คือ


กำเริบเพื่อสันนิบาตดังนี้เปนอติไสย วาโรคนั้นหนัก แพทยอยาพึงรักษาเลยเปนอาการตัด ใหแกดูตามบุญ ๚
152
๏ ถาจะแกเอารากสามสิบ รากมะทราง รากมะฝอ รากคา จันทนทั้ง ๒ ขิงแหง ดีปลี เบญจเสนียด
ลูกจันทน กานพลู พิมเสน เอาเสมอภาค ทำเปนจุณเอาน้ำเปลือกขอยเปนกระสายบดทำแทงไวละลายน้ำ
โกฐหัวบัว ตมกิน แกรัตตะปตตะเพื่อสันนิบาตหาย ฯ
153

๏ ขนานหนึ่งเอาแฝกหอม ไครหอม ไครน้ำ ไครบก กระวาน บอระเพ็ด การบูร แกนกันเกรา1 ท ย
บ ้าน
สุรามฤต2 เจตมูลเพลิง เอาเสมอภาคทำเปนจุณ เอาน้ำขิงเปนกระสายบดทำแทงไวละลายน้ำเทพทาโรตม
กินแกรัตตะปตตะเพื่อสันนิบาตนั้นหายมหาวิเศษนัก
ะ พ ื้น
ย แล
ไท
154
๏ ขนานหนึ่งเอาเปลือกโลด เปลือกกันเกรา กานพลู ขิงแหง พญามื อเหล็ก เอาเสมอภาค ตม ๓ เอา
๑ กินแกรัตตะปตตะโรคเพื่อสันนิบาตหาย ๚
ผ น


๏ ขนานหนึ่ ง เอาบอระเพ็ ด เจตพั ง คี เปล า น อทย ยกระวาน กานพลู ขิ ง แห ง เอาเสมอภาคต ม ๓
155

เอา ๑ กินแกรัตตะปตตะ แลแกซึ่งโรคบังเกิดเพื่อสัรนแนิพ


า ก า บาตนั้นหายดีนัก ๚๛

ัิปญญ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช กันเตรา
2
คำจารึกใช สุรามฤท
123
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 42

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

124
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 42

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. จกลาวดวยกุมาระกุมารีอันมี
๓. อายุลว งพนกำหนดทรางเจาเรือนแลทรางจร

๔. นนั้แลวคือมีอายุแลว ขวบขึ้นไป แลวเปนลักษณแหง
ไ ท ย
้าน

ื้นบ

๕. ตานโจรนั้น ดวยบริโภคอาหารอันเปนอชิรณะ คือ สำแลง ที่มิไดเคยบริ
และ

๖. โภคมาแตกอน จึ่งใหบังเกิดซึ่งโรคตางตาง โดยจัตุธาตุแลตรีสมุถานใหวิปริตแลวก็
น ไท

๗. บังเกิดกิมิชาติ ๘๐ จำภวก อันจะใหเบียดเบียนทุกตัวสัตวมิไดเวน ซึ่งกลาวมานี้ เปนแตสังเขป
แจงวิ
ย ์แ
รแพท
๘. ถานอยู ใ นคำภี ร ป ถมจิ น ดาผู ก ๕ นั้ น เสรฐแล ว ๚ ถ า จะแก เ อาข า กชาย กทื อ ไพล หอม
เปลือกสนุน เปลือกไขเหนา
ากา
ัิปญญ
๙. ลูกขี้กา มกุรด รากเลบมือนาง ไครหอม พริก ๗ ขิง ๗ กเทียม ๗ ดีปลิ ๗ ขมิ้นออย ๗
เลา
ภ ม

บรเพช ๗
ค ร อง
ครึ่ง ตม ๓ เอา ๑ ใหกิน

ง ค มุ้
น้ำ

ก อ
๑๐. แกสรรพตานโจรหาย ๚ ขนานหนึ่งเอา ลูกขี้กาแดงเทาอายุกุมารเอาเลดออกเสีย มกุรด ๒ ลูก
ผาลูกละ ๔ ซีกทิ้ง
๑๑. เสียซีก ๑ เอาแต ๗ ซีก ไพล ขมิ้นออย รากเลบมือนาง เปลือกไขเหนา สิ่งละภอควรบรเพช ๗
๑๒. องคุลี ตม ๓ เอา ๑ ใหกิน ขับโทษรายตานโจรตกสิ้นเชิง แกตานโจรตกเสมหะโลหิต
๑๓. ก็หาย ๚ ขนานหนึ่งเอา บรเพช ๓ คานิวมือ ขมิ้นออย ๗ ชิ้น
๑๔. ใบกพังโหมกำมือหนึ่ง เปลือกลั่นทม ๓ คืบคนไข
๑๕. ตมสามเอาหนึ่ง ใหกินแกตานโจรใหลงแล
๑๖. ตกเสมหะโลหิต ก็หายวิเสศประ
๑๗. เสริฐดีนัก ๚ะ๛

125
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 42

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวดวยกุมารกุมารีอันมีอายุลวงพนกำหนดซาง1 เจาเรือนแลซางจร2 นั้นแลว คือ


มีอายุแต ๕ ขวบ ๖ ขวบ ขึ้นไปแลวเปนลักษณะแหงตานโจรนั้นดวยบริโภคอาหารอันเปนอชิรณะ คือ
สำแลงที่มิไดเคยบริโภคมาแตกอน จึงใหบังเกิดซึ่งโรคตางๆ โดยจตุธาตุแลตรีสมุฏฐานใหวิปริต แลวก็บังเกิด
กิมิชาติ ๘๐ จำพวก อันจะใหเบียดเบียนทุกตัวสัตวมิไดเวน ซึ่งกลาวมานี้เปนแตสังเขป แจงวิตถารอยูใน
คัมภีรปถมจินดาผูก ๕ นั้นเสร็จแลว ๚

ท ย
156
๏ ถ า จะแก เ อาข า กระชาย กระทื อ ไพล หอม เปลื อ กสนุ น เปลื อ กไข เ น า ลู ก ขี้ ก า มะกรู ด
้านไ
รากเล็บมือนาง ไครหอม พริก ๗ ขิง ๗ กระเทียม ๗ ดีปลี ๗ ขมิ้นออย ๗ บอระเพ็ด ๗ เหลาครึ่ง น้ำครึ่ง
ื้นบ

ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกสรรพตานโจรหาย ๚
และ
ทิ้งเสียซีก ๑ เอาแต ๗ ซีก ไพล ขมิ้นออย รากเล็บมือนาง เปลือกไขเนไทา ยสิ่งละพอควร บอระเพ็ด ๗ องคุลี
157
๏ ขนานหนึ่ ง เอาลู ก ขี้ ก าแดงเท า อายุ กุ ม าร เอาเมล็ ด ออกเสี ย มะกรู ด ๒ ลู ก ผ า ลู ก ละ ๔ ซี ก
น ตก็หาย ๚
3


ตม ๓ เอา ๑ ใหกิน ขับโทษรายตานโจรตกสิ้นเชิง แกตานโจรตกเสมหะโลหิ ์แ ผ
๏ ขนานหนึ่ง เอาบอระเพ็ด ๓ ขอนิ้วมือ ขมิ้นออยพ๗ท ชิ้น ใบกระพังโหมกำมือหนึ่ง เปลือกลั่นทม ๓
แ ตก็หายวิเศษ ประเสริฐดีนัก ๚ะ๛
158

กา ร

คืบคนไข ตม ๓ เอา ๑ ใหกินแกตานโจรใหลงแลตกเสมหะโลหิ
ัิปญญ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช ทราง
2
คำจารึกใช จาง
3
คำจารึกใช ไขเหนา
126
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 43

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

127
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 43

๑. ๏ ลมหมูหนึ่งชือ
๒. อัตพังคีวาโย มันยอมใหเจบกระ
๓. หมอม เจบหัวษารภางศีศะ ขึ้นแตฝาทาว
๔. ตะลอดถึงกะหมอม ถาเกีดผูใด ผูนั้นอายุไมยืนเลย
๕. ถาจแก เอาหอมแดง ๑ คนทีสอ ๑ คาเสือ ๑ พริกลอน ๑ กานชา ๑ ปบ ๑
ไ ท ย
๖. ทำผงน้ำษาชู เปนกะสาย ปนลูกกอนกินทุกวันหาย ๏ ลมอนึ่งชื่อ ภาหุรวาโยขึ้นมาแต
บ ้าน
ะ พ ื้น

๗. ชองทวารจนหัวเหนามันกลับลงมาจับเอาหลังทาว แลวจับเอาหลังมือแลนขึ้นมากะบานศีศะ
ย แ
ไท
และใหเสมหะมูก

ผ น
๘. ตกน้ำตาตก ถาเกีดแกผูใดถึงหาเดือนจะลูกขึ้นมิไดเลย เอาขิง 3 น้ำสมผอูม 2 ขี้วัว 1
ย ์แ
พท
น้ำมูดมา 1 1 น้ำดองดึง 1

า รแ
๙. น้ำใบพุด 2 น้ำเปลือกมวงคัน 2 น้ำผักไห 2 น้ำกะเทียมทอก 1 น้ำไฟเดือนหา 1
ลูกจัน 2 พิมเสน 2 ลิ้นเทล 2 าก
ัิปญญ
๑๐. การบู ร 1 ทั ง นี คุ ลี ก านเข า ด ว ยกั น น้ ำ ผึ้ ง เปนกระสายดองไว พ ลี จ งดี กิ น ทุ ก วั น หาย ฯ
ภ ม

อง
ลมชือพิรุศวาโย
ค ร
มุ้
๑๑. มันจับแกใครจะเบือนตัวมิไดเลย หยากแตของหวาน ถาเกีดแกผูใดยายากนักถาจะแกเอาไพล

อง ค
๑๒. 2 ดานน้ำ 2 มวงคัน 2 ตานหมอน 2 ซมกุง 2 พรรถัน 2 แทงทวย
2 ก
ทราก 2
๑๓. ปบ 2 กันชา 1 2 ผักแวน 1 ตีนเปด 1 ขอบชนางแดง 1 ชาพลู 1
๑๔. โปรงฟา 1 ตานดำ 1 ถั่วแระ 2 ใบสเดา 1 คนทิสอ 1
ลูกจัน 1
๑๕. พานงู 1 ลูกผักกาษ 1 ดีปลี 1
ดอกจัน 1
๑๖. ขีงแหง 1 ตำผงลายน้ำผึ้ง
๑๗. กินทุกวันหาย ๚

128
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 43

159
๏ ลมหมูหนึ่งชื่อ อัตพังคีวาโย มันยอมใหเจ็บกระหมอม เจ็บทั่วสารพางคศีรษะขึ้นแตฝาเทาตลอดถึง
กระหมอม ถาเกิดผูใด ผูนั้นอายุไมยืนเลย ถาจะแกเอาหอมแดง ๑ คนทีสอ ๑ ตาเสือ ๑ พริกลอน ๑
กัญชา ๑ ปบ ๑ ทำผงน้ำสมสายชูเปนกระสาย ปนลูกกลอนกินทุกวันหาย
160
๏ ลมอนึ่งชื่อ ภาหุรวาโย ขึ้นมาแตชองทวารจนหัวหนาวมันกลับลงมาจับเอาหลังเทาแลวจับเอา
หลังมือแลนขึ้นมากระบาลศีรษะและใหเสมหะ มูกตก น้ำตาตก ถาเกิดแกผูใดถึงหาเดือนจะลุกขึ้นมิไดเลย
ไ ท ย
้าน
เอาขิง ๓ บาท น้ำสมผอูน ๒ บาท ขี้วัว ๑ ตำลึง น้ำมูตรมา ๑ ตำลึง ๑ บาท น้ำดองดึง ๑ บาท น้ำใบพุด

ื้นบ
๒ บาท น้ำเปลือกมวงคัน ๒ บาท น้ำผักไห ๒ บาท น้ำกระเทียมทอก ๑ ตำลึง น้ำไฟเดือนหา ๑ ตำลึง
ะ พ
ลูกจันทน ๒ บาท พิมเสน ๒ บาท ลิ้นทะเล ๒ สลึง การบูร ๑ บาท ทั้งนี้คุลีการเขาดวยกัน น้ำผึ้งเปน

กระสายดองไวพลีจงดีกินทุกวันหาย ฯ
ย แ
น ไท

161

์แ
๏ ลมชื่อ พิรุศวาโย มันจับแกใครจะเบือนตัวมิไดเลย อยากแตของหวาน ถาเกิดแกผูใดยายากนัก

พท
ถาจะแกเอาไพล ๒ บาท ตาลน้ำ ๒ บาท มวงคัน ๒ บาท ตาลหมอน ๒ บาท สมกุง ๒ บาท พรรถัน ๒ บาท
รแ
แทงทวย ๒ บาท ทราก ๒ บาท ปบ ๒ บาท กัญชา ๑ ตำลึง ๒ บาท ผักแวน ๑ ตำลึง ตีนเปด ๑ ตำลึง

าก
ขอบชะนางแดง ๑ ตำลึง ชาพลู ๑ บาท โปรงฟา ๑ ตำลึง ตาลดำ ๑ ตำลึง ถั่วแระ ๒ บาท ใบสะเดา
ัิปญญ
๑ ตำลึง คนทีสอ ๑ ตำลึง พันงู ๑ ตำลึง ลูกผักกาด ๑ ตำลึง ลูกจันทน ๑ บาท ดอกจันทน ๑ บาท ดีปลี

ภ ม

๑ บาท ขิงแหง ๑ บาท ตำผงละลายน้ำผึ้งกินทุกวันหาย ๚

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

129
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 44

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

130
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 44

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. จกลาวลมบาหมูนั้น บังเกิด
๓. มาแตหทัยโรคกระทำใหน้ำจิตรนั้นดุจวา
๔. นร เมื่อจับใหชักปากเฟดน้ำลายฟดหาสติมิไดลมลง
๕. แหงใดดิ้นไปดุจตีปลา ฯ ถาจะแกเอาตรีกระตุก เบญกูล เขาขา โกด
ไ ท ย
๖.
บ ้าน
กานพราว ดอกจัน เกษรบุญนาก เอาเสมอภาคทำเปนจุณ บดลายน้ำสลัดใดก็ได
ะ พ ื้น

๗. น้ำคนทีสอก็ไดกินแกลมบาหมูแลลมใหหลังโกงก็ดี ลมขบใหปวดทองก็ดี ลมใหตายไปขาง
ย แ
ไท
๘. หนึ่งก็ดี ลมพุพองก็ดี แกสรรพลมทังปวงหาย ฯ ขนานหนึ่งเอากะเทียม หัศคุณ คนทีเขมา
ผ น
์แ
สรรพพิศ

พท
๙. เปราะหอม ตรีกะตุก จันเทษ เกษรบุนนาก โกดกานพราว โกดกักกรา อบเชย เอาเสมอภาค
ทำเปนจุณบดลายน้ำมงั่ว
า รแ
าก
ัิปญญ
๑๐. ใหกิน 1 แกลมบาหมูแลลมใหหลังโกง แลลมปตฆาฎใหตายจำหระขางหนึ่งก็ดี ลมสรรนิบาต
อันกลาก็ดี
ภ ม

ค ร อง
๑๑. บำบัดหายประเสริฐแทจริง ฯ ขนานหนึ่งเอาใบคนทีสอ เกลือสินเทา มะหาหิง ตรีกะตุก

ค มุ้
๑๒. เบญกูล เบญไฟเดือนหา กะเทียม เอาเสมอภาคทำเปนจุณนัดแกลมบาหมู

ก อ
๑๓. แลใหศีศะสั่น ใหปวดศีศะ ใหหูตึง และมองครอก็ดี ะ
๑๔. บำบัดไดทุกประการหาย ฯ ขนานหนึ่งเอา เขา
๑๕. สารขางครก ลอองบวบขม ผงลานแกสิ่งละ 2
๑๖. พริกไท ๗ เมด นัดแกลมบา
๑๗. หมูประเสริฐดี ๚

131
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 44

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวลมบาหมูนั้นบังเกิดมาแตหทัยโรค กระทำใหน้ำจิตนั้นดุจวานร เมื่อจับให


ชักปากเฟด น้ำลายฟดหาสติมิได ลมลงแหงใดดิ้นไปดุจตีปลา ฯ
162
๏ ถาจะแกเอาตรีกฏก เบญจกูล เขาคา1 โกฐกานพราว ดอกจันทน เกสรบุนนาค เอาเสมอภาคทำ
เปนจุณบดละลายน้ำสลัดได๒ ก็ได น้ำคนทีสอก็ได กินแกลมบาหมูแลลมใหหลังโกงก็ดี ลมขบใหปวดทองก็ดี
ลมใหตายไปขางหนึ่งก็ดี ลมพุพองก็ดี แกสรรพลมทั้งปวงหาย ฯ
ไ ท ย
้าน
163
๏ ขนานหนึ่งเอากระเทียม หัศคุณ คนทีเขมา สรรพพิษ เปราะหอม ตรีกฏก จันทนเทศ เกสรบุนนาค
ื้นบ
โกฐก า นพร า ว หั ส คุ ณ โกฐกั ก กรา อบเชย เอาเสมอภาคทำเป น จุ ณ บดละลายน้ ำ มะงั่ ว ให กิ น ๑ สลึ ง
ละ พ
แกลมบาหมูแลลมใหหลังโกง แลลมปตคาดใหตายจำหระขางหนึ่งก็ดี ลมสันนิบาตอันกลาก็ดี บำบัดหาย
ย แ
ไท
ประเสริฐแทจริง ฯ
ผ น
์แ
164
๏ ขนานหนึ่งเอาใบคนทีสอ เกลือสินเธาว มหาหิงคุ ตรีกฏก เบญจกูล เบญจไฟเดือนหา กระเทียม

พท
เอาเสมอทำเปนจุณนัตถุแกลมบาหมู แลใหศีรษะสั่น ใหปวดศีรษะ ใหหูตึง และ มองครอก็ดี บำบัดได
ทุกประการหาย ฯ
า รแ
า ก ผงลานแก สิ่งละ ๒ สลึง พริกไทย ๗ เม็ด นัตถุ
ัิปญญ
165
๏ ขนานหนึ่งเอาขาวสารขางครก ละอองบวบขม



แกลมบาหมูประเสริฐดีนัก ๚

อง ภ
ค ร
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช เขาขา
2
คำจารึกใช สลัดใด
132
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 45

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

133
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 45

๏ แผนปลิงคว่ำ ๚ ะ

ฯ แกปวดศีระศะปกัง
ฯ แกลมใหปากเบี้ยว
ไ ท ย
บ ้าน
ฯ แกปวดศีศะ
ื้น
ฯ แกปตฆาฎแขนตาย

ละ พ
ฯ แกภาหุนะวาดทืสุด
ย แ ฯ แกลมเสียดคาง

น ไท
ฯ แกสลักที่คาง
ย ์แ ผ ฯ แกรากเสลด

รแพท

ฯ แกกะใสตาน ฯ บอกใหรูทีตาย

า ก

ฯ แกปตฆาฎ

ู ปิ ัญ ฯ แกปตฆาฎ

อง ภ
ค ร
ุ้ม
ฯ แกโรหินีขึ้นตนขา ฯ แกโรหินีขึ้นถึงฅอ
ง ค
กอ
ฯ แกราก ฯ แกตะคริวทั้งสองหนาแขง๖

ฯ แปดแสนแกกลอน
ฯ แกรอนเหนบตะโภก ๚๛

134
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 45

๏ แผนปลิงคว่ำ ๚ ะ

ฯ แกปวดศีรษะปกัง1
ฯ แกลมใหปากเบี้ยว
ไ ท ย
ฯ แกปตคาด2 แขนตาย
บ ้าน
ฯ แกปวดศีรษะ

ะ พ ื้น
ฯ แกภาหุนะวาต3 ที่สุด
ย แล ฯ แกลมเสียดคาง

น ไท
ฯ แกสลักที่คาง
ย ์แ ผ ฯ แกรากเสลด

รแพท

ฯ แกกะษัยดาน4 ฯ บอกใหรูที่ตาย

า ก

ฯ แกปตคาด

ูปิ ัญ ฯ แกปตคาด2

อง ภ
ฯ แกโรหิณ5ี ขึ้นตนขา
ค ร
ง ค มุ้ ฯ แกโรหิณี5 ขึ้นถึงคอ

ก อ
ฯ แกราก ฯ แกตะคริวทั้งสองหนาแขง๖

ฯ แปดแสนแกกลอน
ฯ แกรอนเหน็บสะโพก7 ๚๛

๑ ๕
คำจารึกใช ศาะศะปกัง คำจารึกใช โรหินี
๒ ๖
คำจารึกใช ปตฆาฎ คำจารึกใช หนาแดง
๓ ๗
คำจารึกใช ภาหุนะวาด คำจารึกใช เหนบตะโภก

คำจารึกใช กะใสตาน
135
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 46

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

136
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 46

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ยาผายเลิอดเอารากขี้กาแดง ๑
๓. เบญขี้เหลก ใบมัดกา ใบมขาม ใบซมปอย
๔. หญาไซ ลูกคัดคาวตมใหงวดแลวตรองเอาน้ำขะยำใสลง
๕. อีกเขี้ยวใหขนปรุงยาดำ 1 1 ดีเกลือ 1 กินประจุเลือดรายทังปวงแกไข
ไ ท ย
๖.
บ ้าน
สันนิบาต ฝดาดดวย ๚ ยาผายเลือดเหนาทังปวง เอาใบมะขาม ใบซมปอยตำเอาสิ่งลทะ
ะ พ ื้น

๗. นาน เกลือ 1 เขี้ยวใหขนเมื่อจะกินเอามะฃามเปยกลาย จึ่งปรุงยาดำ 1 ดีเกลือ 1
ย แ
ไท
กินประจุ

ผ น
์แ
เหนา

พท
๘. เลือด ตกสิ้นแล ๚ ยาบำรุงเลือด เอาแกนแสมทะเล ๑ เปลือกมะซาง กานพลู กะสารซม
ราย
า รแ
าก
ัิปญญ
ดินประสิวขาว
๙. เทียนดำ เอาเสมอภาคตำผงลายเลากินไดทำแลว เลือดตกสิ้นดีแล ๚
ภ ม

ค ร อง
อนึ่งเอา หัศคุณเทศ แกนแสมทะเล หญายองไฟ ขะมิ่นออย

ง ค มุ้
๑๐. บดลายเล า กิ น ให ขั บ เลื อ ดดี แ ล ๚ ยากิ น อยู ไ ฟมิ ไ ด เ อาสานซ ม เกลื อ เที ย นดำสิ่ ง ละ 1

ก อ
ตำเปนผงกินก็ไดลายน้ำรอนก็ได
๑๑. ถาจะทำเปนลูกกอน เอามะนาว ๑๐ ลูก เอาแตน้ำไสกะทะตั้งไฟขึ้น เอายานั้นใสลงกวนไปให
ปนเปนกอนกินแกอยู
๑๒. ไฟไมไดดีแล ฯ ถาเลือดตกหมูลขังอยูที่ไนทองนอย ก็ดี ใหเจบทองหนัก เอาสารสมสะตุแลว
๑๓. หนัก 2 พริกไทบด 2 แชเลากลั่น ๒ ทนาน ผนึกฝงเขาเปลือก ๗ วัน เมื่อจะ
๑๔. ฝงเศกดวยมนนี้ ๚ โอมพิศๆ มหาพิศๆ กูจะเกดกานพิศนาๆ
๑๕. โอมตรีพยันตุภุนชันตุสวาหะ ผีกินเถีด
๑๖. หายปวดมวนในทองดีวิเศศ
๑๗. นักแล ๚๛

137
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 46

166
๏ สิทธิการิยะ ยาผายเลือด เอารากขี้กาแดง ๑ เบญจขี้เหล็ก1 ใบมะกา ใบมะขาม ใบสมปอย หญาไซ
ลูกคัดเคา ตมใหงวดแลวกรอง๒ เอาน้ำขยำใสลงอีกเคี่ยวใหขน ปรุงยาดำ ๑ สลึง ๑ เฟอง ดีเกลือ ๑ บาท
กินประจุเลือดรายทั้งปวง แกไขสันนิบาต ฝดาดดวย ๚
167
๏ ยาผายเลือดเนาทั้งปวง เอาใบมะขาม ใบสมปอย ตำเอาสิ่งละทะนาน เกลือ ๑ บาท เคี่ยวใหขน
เมื่อจะกินเอามะขามเปยกละลายลงจึงปรุงยาดำ ๑ สลึง ดีเกลือ ๑ บาท กินประจุเลือดเนา เลือดราย ตกสิ้น
ไ ท ย
แล ๚
บ า
้ น
๏ ยาบำรุงเลือด เอาแกนแสมทะเล ๑ เปลือกมะทราง กานพลู กะสารสมื้นดินประสิวขาว เทียนดำ

168

และ

เอาเสมอภาค ตำผงละลายเหลากินไดทำแลวเลือดตกสิ้น ดีแล ๚
169
น ไท

๏ อนึ่งเอา หัสคุณเทศ แกนแสมทะเล หญายองไฟ ขมิ้นออย บดละลายเหล ากิน ใหขับเลือดดีแล ๚
๏ ยากินอยูไฟมิได เอาสารสม เกลือ เทียนดำ สิ่งละ ๑ย์แบาท ตำเปนผงกินก็ได ละลายน้ำรอน ก็ได
ท ้งไฟขึ้น เอายานั้นใสลงกวนไปใหปน เปนกอน
170

ถาจะทำเปนลูกกลอน เอามะนาว ๑๐ ลูก เอาแตน้ำใสกแะทะตั


ร พ
กินแกอยูไฟไมไดดีแล ฯ
า ก า

๏ ถ า เลื อ ดตกหลุ ม ขั ง อยู ที่ ใ นท อ งนัญอ ยก็ ดี ให เจ็ บ ท อ งหนั ก เอาสารส ม สะตุ แ ล ว หนั ก ๒ ตำลึ ง
ิป ผนึกฝงขาวเปลือก ๗ วัน เมื่อจะฝงเสกดวยมนตนี้ ๚
171

พริกไทยบด ๒ ตำลึง แชเหลากลั่น ๒ ภทะนาน


ง ม

ค ร อ
ุ้ม
โอม พิษๆ มหาพิษๆ กูจะเสกการ
โอม ตรีพยันตุ ภุนอชังนคตุ สวาหะ ผีกินเถิด
พิษนาๆ


หายปวดมวนในทอง ดีวิเศษนักแล ๚๛

1
คำจารึกใช เบญขี้เหล็ก
2
คำจารึกใช ตรอง
138
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 47

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

139
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 47

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ลักษณปวงหีวนั้น กระทำ
ลง
๓. ให ใหตัวเยนเปนเหน็บแลวใหเหื่อ
ราก
๔. ตกเชดไมขาดมือ ใหสวิงสวายในใจดั่งบุทคลมา
๕. ควักเอาหัวใจไปก็เหมิอนกัน ถาแกมีตอง ๓ วัน มรณะ ฯ ถาจะแกเอา
๖. น้ำตานกรวด น้ำตานทราย น้ำตานโตนด สิ่งละสวน ใบบัวหลวง ใบขนุนละมุด ลูกมกอก
ไ ท ย
บ ้าน
ื้น
ลง
๗. เผาใหไหมเอาสิ่งละ ๔ สวน บดลายน้ำเขาเชดใหกินแก
ละ พ
ทังปวงหาย ๚

รากแ
ขนานหนึ่งเอาชาด
น ไท
ย ์แ ผ
๘. กอน 1 ถั่วเขียวขั้วเราะเปลือกเสีย 2 ขีง ๗ ชิ้น พริกไท ๗ เมด ดีปลี ๗ ดอก บดลาย
น้ำถั่วเขียวตมใหกิน
รแ พท
ลง
ากา
ัิปญญ
๙. แก แก ตั ว เยนให อุ น ขึ้ น แก พิ ศ ม วิ เ สศนั ก ๚ ขนานหนึ่ ง เอาดอกผั ก บุ ง ดอกมฃาม



ราก
ดอกผักปอด รยอม ไครเครือ
อง ภ
ค ร
มุ้
ลง
ง ค
๑๐. สิ่งละสวน ดอกมะเฟอง ๒ สวน ตำเปนจุล บดลายน้ำรากยอใหกินแกพิศม

แก พิ ศ การ

ทังปวงหาย
ก ราก

๑๑. ขนานหนึ่งเอา บันลังสิลลา บันลังสี บันลังคา รยอม มหาสดำ ดอกมเฟอง ะ


ราก
๑๒. ทำเปนจุล บดลายน้ำถัวเขียวตมก็ได น้ำดอกไมก็ได ใหกินแก
ลง
๑๓. เพื่อพิศมทังปวงหาย ถาจะแกลงละลายน้ำเปลือกมะเดือตม
๑๔. แกรากลายน้ำยอทังหาตมกินแกลงรากเพื่อพิศทัง
๑๕. ปวงหาย ฯ อนึ่งเอาดอกพิกุน ดอกมเฟอง
๑๖. รยอม ไครเครือ ตมกินแก
๑๗. ลงรากหาย
140
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 47

๏ สิทธิการิยะ ลักษณะปวงหิว1 นั้น กระทำใหลงใหรากใหตัวเย็นเปนเหน็บ แลวใหเหงื่อ ๒ ตก


เช็ดไมขาดมือ ใหสวิงสวายในใจดังบุคคลมาควักเอาหัวใจไปก็เหมือนกัน ถาแกมิตอง ๓ วันมรณะ ฯ
172
๏ ถาจะแกเอา น้ำตาลกรวด น้ำตาลทราย น้ำตาลโตนด สิ่งละสวน ใบบัวหลวง ใบขนุนละมุด
ลูกมะกอกเผาใหไหม เอาสิ่งละ ๔ สวน บดละลายน้ำขาวเช็ดใหกินแกลงแกรากทั้งปวงหาย ๚


173
๏ ขนานหนึ่งเอา ชาดกอน ๑ บาท ถั่วเขียวคั่วเลาะเปลือกเสีย ๒ ตำลึง ขิง ๗ ชิ้น พริกไทย ๗ เม็ด
น ไ ท


ดีปลี ๗ ดอก บดละลายน้ำถั่วเขียวตมใหกิน แกลงแกราก แกตัวเย็นใหอุนขึ้นแกพิษวิเศษนัก ๚

้ ื บ

174
๏ ขนานหนึ่งเอา ดอกผักบุง ดอกมะขาม ดอกผักปอด ระยอม ไครเครื อ สิ่งละสวน ดอกมะเฟอง
๒ สวน ตำเปนจุณบดละลายน้ำรากยอใหกินแกพิษลง พิษราก แกพิษกาฬทั
แล ะ
้งปวงหาย ฯ
๏ ขนานหนึ่งเอา บัลลังกศิลา บัลลังกสี บัลลังกคา ระยไทอมย มหาสดำ ดอกมะเฟอง ทำเปนจุณ
นลงเพื่อพิษทั้งปวงหาย ถาจะแกลงละลาย
175


บดละลายน้ำถั่วเขียวตมก็ได น้ำดอกไมก็ได ใหกินแกราก์แแก
ย ่อพิษทั้งปวงหาย ฯ
น้ำเปลือกมะเดื่อตม แกรากละลายน้ำยอทั้งหาตมกิน แกทลงรากเพื
ร แ พ
๏ อนึ่ง เอาดอกพิกุล ดอกมะเฟอง ระยอกมา ไครเครือ ตมกินแกลงรากหาย

176


ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช ปวงหีว
2
คำจารึกใช เหื่อ
141
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 48

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

142
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 48

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. จะกลาวดวยดานทักขิณคุณนั้น
๓. ตั้งเอายอดอกเปนดานลงไปแขงดังแผน
๔. สินลา ถาลามลงไปถึงทองนอยแลวเมื่อใด จะกระทำใหรอง


๕. อยูทังกลางวันกลางคืน ถูกเยนเขามิได ถูกรอนสงบลงนอยหนึ่งแลว
ไ ท
้าน
๖. กลับปวดมาเลาใหจุกเสียดใหแนนอกบริโภกอาหารมิได ถาลงถึงหัวเหนาแลวเมื่อ
ื้นบ

สมเสี้ยว
๗. ใดตายเมื่อนั้น ฯ ถาจะแกเอา
และ
ส ม เช า สลั ด ใด รากมตาดเครื อ เจตมู ล ฃิ ง แห ง
สมสันดาน
ไท ย
สิ่งละ 1
ผ น
ย ์แ
พท
๘. หัศคุนเทด 3 หัวเบญปด มดยอบ ขมิ้นเครือ พังอาด เทียรดำ เทียรขาว แกนปรู แกนมหาด
สิ่งละ 2 พริกลอน 2 2
า รแ
าก เชา
ัิปญญ
๙. แชสุรา ๕ ทนาน ฝงเขาเปลือกไว ๓ วัน ใหพลีจงดีกิน จอกชาหนึ่ง กินใหได ๗ วัน แลวจึ่ง

ภ ม
ู เยน

ค ร อง
ใหกินอยาประจุตอไป ฯ อยาประจุดาน

ค มุ้
๑๐. ทักขิณคุณ เอาเปลือกสทอน เปลือกราชพฤก เปลือกสน น้ำมนาว ตำเอาน้ำสิ่งละทนาน มพราว

ก อ
ไฟใบ ๑ ขูดคั้นเปนกะทิ
๑๑. ใหคนคุลิการกันเขาหุงใหคงแตน้ำมัน สลอด ๑๐๘ เมด เอาเมดละซีก บดทอดลงในน้ำมัน
ใหเกรียม
๑๒. กินแตชอนหนึ่งลงสิ้นเชิงแลว ๗ วัน กินวัน ๑ จึงใหกินอยานี้ตอไป ฯ อยาชือ ณรายพังคาย
๑๓. เอาหิง ๑ ลำพัน ๒ เจตมูล ๓ ผักชีลอม ๔ สคาน ๕ โกดสอ ๖ พริกไท ๗ มตูม
๑๔. ออน ๘ ลูกชาพลู ๙ ฃิงแหง ๑๐ สมอเทด ๑๑ เทียรดำ ๑๒ แกน
๑๕. บุนนาก ๑๓ เปลานอย ๑๔ ทนดี ๑๕ ทำเปนจุนลาย
๑๖. น้ำรอนกิน หนัก 1 แกดานทขิณ
ดานตะ
๑๗. คุณแล คุณ ๚
ประวาตะ
143
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 48

๏ สิทธิการิยะ จะกลาวดวยดานทักขิณคุณนั้นตั้งเอายอดอกเปนดาน ลงไปแข็งดังแผนศิลา ถาลามลง


ไปถึงทองนอยแลวเมื่อใด จะกระทำใหรองอยูทั้งกลางวันกลางคืน ถูกเย็นเขามิไดถูกรอนสงบลงหนอยหนึ่ง
แลวกลับปวดมาเลา ใหจุกเสียดใหแนนอกบริโภคอาหารมิได ถาลงถึงหัวหนาวแลวเมื่อใดตายเมื่อนั้น ฯ
177
๏ ถาจะแกเอาสมเสี้ยว สมสันดาน สมเชา สลัดได รากมะตาดเครือ เจตมูล ขิงแหง สิ่งละ ๑ ตำลึง
หัสคุณเทศ ๓ ตำลึง หัวเบญบัตร1 มดยอบ ขมิ้นเครือ พังอาด เทียนดำ เทียนขาว แกนปรู แกนมะหาด
ไ ท ย
สิ่งละ ๒ บาท พริกลอน ๒ ตำลึง ๒ บาท แชสุรา ๕ ทะนาน ฝงขาวเปลือกไว ๓ วัน ใหพลีจงดี กินจอกชา
หนึ่ง เชาเย็นกินใหได ๗ วัน แลวจึงใหกินยาประจุตอไป ฯ
บ ้าน
ะ พ ื้นน้ำมะนาว ตำเอาน้ำสิ่ง

178
๏ ยาประจุดานทักขิณคุณ เอาเปลือกสะทอน เปลือกราชพฤกษ เปลือกสน
ย แ
ละซีกบดทอดลงในน้ำมันใหเกรียม กินแตชอนหนึ่งลงสิ้นเชิงแลว ๗ วันนไกิทนวัน ๑ จึงใหกินยานี้ตอไป ฯ
ละทะนาน มะพราวไฟใบ ๑ ขูดคั้นเปนกะทิ ใหขนคุลีการกันเขาหุงใหคงแต น ้ำมัน สลอด ๑๐๘ เม็ด เอาเม็ด


์ ผ
๏ ยาชื่อนารายณพังคาย เอาหิงคุ ๑ ลำพัน ๒ เจตมูลทย
179

๗ มะตูมออน ๘ ลูกชาพลู ๙ ขิงแหง ๑๐ สมอเทศ ๑๑รแเทีพยนดำ ๑๒ แกนบุนนาค ๑๓ เปลานอย ๑๔ ทนดี


๓ ผักชีลอม ๔ สะคาน ๕ โกฐสอ ๖ พริกไทย

กา กขิณคุณแลดานตะคุณ ประวาตะคุณ ๚
๑๕ ทำเปนจุณละลายน้ำรอนกินหนัก ๑ สลึง แกดาานทั
ัิปญญ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช เบญปด
144
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 49

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

145
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 49

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. รัตตปตตะ โฆ นั้น คือ โลหิต
๓. มานกับดวยดีกำเริบแลแผไปในประเทษ
๔. เบื้องต่ำแลวนั้น บังเกิดเพื่อเสมหะมีศรีแดง เจือชาวมาก
๕. ขาวนอยก็ดี เปนมวกเปนยางก็ดี เปนยาปะยะดารจะรักษาหายโดยงาย
ไ ท ย
๖. ๏ ถาจะแกเอาออยแดง รากสัตบุด เกสรบังหลวง ยางงาว ชะเอม หัวบัวแดง รากไพรออน
บ ้าน
ะ พ ื้น

๗. ลู ก องุ น ซ อ งแมวใหญ เอาเสมอพากทำเปนจุ ล ลายน้ ำ ดอกไม แ ทรก น้ ำ ตานกรวดให กิ น
ย แ
ไท
แกรัดตะปดตะ

ผ น
์แ
๘. เสมหะโรคหาย ฯ ขนานหนึ่งเอาแฝกหอม จันเทพ เสนียด ชะเอม ดีปลี เอาเสมอพาก ตมสาม

พท
เอาหนึ่งแทรกน้ำผึ้งให

า รแ
๙. กิน แกรัตตะปตเสมหะโรคหาย ฯ ขนานหนึ่งเอา ขีงแหง กะเทียมเอาเสมอพาก ทำเปนจุล
าก
ัิปญญ
บดลายน้ำออยสดใหกิน แกตรีโทษรัตตะ
๑๐. ป ด ตเสมหะโรคหาย ฯ ขนานหนึ่ ง เอาจั น ขาว ประยง เปลื อ กโลด ขิ ง แห ง เอา เสมอภาค
ภ ม

อง
บดลายน้ำใบ
ค ร
มุ้
๑๑. เสนียดใหกินแกรัตตะปดตะเสมหะโรคหาย ๚ ขนานหนึ่ง ทานใหเอา ขัดมอน

อง ค

๑๒. บรเพช รากสามสิบ ขิงแหง ชเอม ดีปลี เปลือกอบเชย ลูกพิลังกาสา ราก
๑๓. อบเชย เอาเสมอพาก ทำเปนจุนบดลลาย น้ำกระสายอันควรแกโรคให
๑๔. กินแกรัตตะปดตะเสมหะโรคหาย ฯ ขนานหนึ่งเอา เสนียด ชเอม
๑๕. ดีปลี บกลายน้ำตานกรวด ใหกินแกรัตตะ
๑๖. ปดตะเสมหะโรคหาย วิเสศ
๑๗. ดีนักแล ๚ะ

146
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 49

๏ สิทธิการิยะ รัตตะปตตะโรคนั้น คือ โลหิตมานกับดวยดีกำเริบแลแผไปในประเทศเบื้องต่ำแลวนั้น


บังเกิดเพื่อเสมหะมีสีแดงเจือขาวมาก ขาวนอยก็ดี เปนมูกเปนยางก็ดี เปนยาปะยะดานจะรักษาหายโดยงาย
180
๏ ถาจะแกเอาออยแดง รากสัตตบุษย 1 เกสรบัวหลวง ยางงาว ชะเอม หัวบัวแดง รากไพลออน
ลูกองุน ซองแมวใหญ เอาเสมอภาคทำเปนจุณละลายน้ำดอกไมแทรกน้ำตาลกรวดใหกิน รัตตะปตตะเสมหะ
โรคหาย ฯ
ไ ท ย
้าน
181
๏ ขนานหนึ่ง เอาแฝกหอม จันทนเทศ เสนียด ชะเอม ดีปลี เอาเสมอภาค ตม ๓ เอา ๑ แทรกน้ำผึ้ง
ใหกินแกรัตตะปตตะเสมหะโรคหาย ฯ
ื้น บ
ละ พ

182
๏ ขนานหนึ่ง เอาขิงแหง กระเทียม เอาเสมอภาคทำเปนจุณบดละลายน้ ำออยสดใหกิน แกตรีโทษรัต
ไท ย

ตะปตตะเสมหะโรคหาย ฯ
๏ ขนานหนึ่ง เอาจันทนขาว ประยงค เปลือกโลด ์แขิผงแหง เอาเสมอภาคบดละลาย น้ำใบเสนียด

183

พ ท

ใหกินแกรัตตะปตตะเสมหะโรคหาย ฯ

กา ด รากสามสิบ ขิงแหง ชะเอม ดีปลี เปลือกอบเชย

184
๏ ขนานหนึ่ ง ท า นให เ อาขั ด มอน บอระเพ็
ลูกพิลังกาสา รากอบเชย เอาเสมอภาคทำเป

ั ญนจุณบดละลายน้ำกระสายอันควรแกโรคใหกิน แกรัตตะปตตะ

ู ิป

เสมหะโรคหาย ฯ
๏ ขนานหนึ่ง เอาเสนีรยอดง ชะเอม ดีปลี บดละลายน้ำตาลกรวด ใหกินแกรัตตะปตตะเสมหะโรคหาย
185


้ ุ ค
วิเศษดีนักแล ๚ะ
อง ค

1
คำจารึกใช สัตบุด
147
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 50

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

148
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 50

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. อยาชื่อบรมศุชีวิเรจะณะเอา
๓. สัตบุษ ๑ ลูกจัน ๑ ดอกจัน ๑ การพลู ๑ เทียร
๔. แดง ๑ ลูกกราย ๑ เอาสิ่ง 1 ขิงแหง ๑ บุก ๑ กลอย ๑ กะดาษ
๕. ทังสอง ๑ อุตพิศ ๑ สมูลแวง ๑ เอาสิงละ 2 แกนแสมทะเล ๑ จิงจอ ๑ พริก ๑
ไ ท ย
๖.

หอม ๑ น้ำประสานทอง ๑ เอาสิ่งละ 1 รากตองแตก 1 เจตมูล 12 สหัสคุณ ๑ ้าน
รากขี้หนอน ๑
ะ พ ื้น
ย แล
๗. รากขี้กาแดง ๑ สมอเทศ ๑ มะขามปอม ๑ สมอพิเภก ๑ เอาสิ่งละ 2 พริกหอม 1
มะหาหิง 1 อยาดำ 1 2
น ไท
ย ์แผ
พท
๘. บดดวยน้ำผึ้งแกฤษดวงลมจุกเสียด แกลมเปนกอนเปนเถาในทองแล บวมทังตัว แลทองมาร
ดวยแลว ๚ะ๛
า รแ
าก
ัิปญญ
๙. ๏ อยาชื่อมหาอะนันตคุณ เอาลูกผักชีทังสอง ๑ เทียนทัง ๕ เอาสิ่งละ 2 โกฎสอ ๑ โกฎเขมา
๑ โกฎกานพราว ๑ โกฎพุงปลา ๑ โกฎตัก
ภ ม

อง
๑๐. กะรา ๑ โกฎกระดูก ๑ บุกรอ ๑ อุตพิศ ๑ กะดาษทังสอง ๑ ดินประสิวขาว ๑ ผิวมะกรูด ๑ เอา
สิ่งละ 1
ค ร
ง ค มุ้
๑๑. ดองดึง ๑ สมูลแวง ๑ ลำพัน ๑ เอาสิ่งละ 1 ขิงแหง 12 ดีปลี 12 เจตมูล ๑ สคาน ๑
ก อ
ชาพลู ๑ แกนแสม
๑๒. ทังสอง ๑ เปลาทังสอง ๑ รากสมกุง ๑ จิ่งจอ ๑ สหัศคุณเทศ ๑ การะบูน ๑
๑๓. สานสม ๑ ตองแตก ๑ มะรุม ๑ กุมทังสอง ๑ กะทือ ๑
๑๔. ไพล ๑ ขา ๑ กะชาย ๑ ทรัพะอยาทังปวงนี้ เอา
๑๕. สิ่งละ 2 พริกหลอน 1 แกจุกเสียด แก
๑๖. ฤษดวงสำหรับอยูเพลิงมิได
๑๗. ดีนักแล ๚ะ๛

149
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 50

186
๏ สิทธิการิยะ ยาชื่อบรมสุขีวิเรจะณะ เอาสัตตบุษย ๑ ลูกจันทน ๑ ดอกจันทน ๑ กานพลู ๑
เทียนแดง ๑ ลูกกราย ๑ เอาสิ่ง ๑ สลึง ขิงแหง ๑ บุก ๑ กลอย ๑ กระดาดทั้งสอง ๑ อุตพิด ๑ สมุลแวง ๑
เอาสิ่ ง ละ ๒ สลึ ง แก น แสมทะเล ๑ จิ ง จ อ ๑ พริ ก ๑ หอม ๑ น้ ำ ประสารทอง ๑ เอาสิ่ ง ละ ๑ บาท
รากตองแตก ๑ สลึง เจตมูล ๑ บาท ๒ สลึง สหัสคุณ ๑ รากขี้หนอน ๑ รากขี้กาแดง ๑ สมอเทศ ๑
มะขามปอม ๑ สมอพิเภก ๑ เอาสิ่งละ ๒ บาท พริกหอม ๑ ตำลึง มหาหิงคุ ๑ บาท ยาดำ ๑ ตำลึง ๒ บาท

ไ ท ย
บดด ว ยน้ ำ ผึ้ ง แก ริ ด สี ด วง ลมจุ ก เสี ย ด แก ล มเป น ก อ นเป น เถาในท อ งแลบวมทั้ ง ตั ว แลท อ งมาน
ดวยแลว ๚ะ๛
บ ้าน
187
ะ พ
๏ ยาชื่อมหาอนันตคุณ เอาลูกผักชีทั้งสอง ๑ เทียนทั้งหา เอาสิ่งละ ๒ สลึ ื้นง โกฐสอ ๑ โกฐเขมา ๑
โกฐกานพราว ๑ โฏฐพุงปลา ๑ โกฐกักกรา ๑ โกฐกระดูก ๑ บุกรอ ๑แลอุตพิต ๑ กระดาดทั้งสอง ๑
ยง ๑ ลำพัน ๑ เอาสิ่งละ ๑ สลึง
1

ดินประสิวขาว ๑ ผิวมะกรูด ๑ เอาสิ่งละ ๑ บาท ดองดึง ๑ สมุลไแว


น ท
ขิงแหง ๑ บาท ๒ สลึง ดีปลี ๑ บาท ๒ สลึง เจตมูล ๑ สะคาน ๑์แผชาพลู ๑ แกนแสมทั้งสอง ๑ เปลาทั้งสอง
๑ รากสมกุง ๑ จิงจอ ๑ สหัสคุณเทศ ๑ การบูร ๑ สารสม ๑ทยตองแตก ๑ มะรุม ๑ กุมทั้งสอง ๑ กระทือ ๑

ไพล ๑ ขา ๑ กระชาย ๑ สรรพยาทั้งปวงนี้เอาสิ่งละาร๒แ บาท พริกลอน ๑ ตำลึง แกจุกเสียด แกริดสีดวง
า ก
ัิปญญ
สำหรับอยูเพลิงมิได ดีนักแล ๚ะ๛

ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช โกฎตักกะรา
150
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 51

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

151
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 51

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ถาบุทคลผูใดเปนไขเพือเสม
ปตะ
๓. หะ สมุถานก็ดี ทำใหหิวโหยหาแรงมิได
วาตะ
๔. ใหระหวยไป ใหใจขุนหมองมีไดชื่น ใหสวิงสวายหากำลังมีได
ไ ท ย
๕. ถาจะแกเอายานี้แก ยาชื่อมหาสมมิตรเอา โกดทังหา เทียรทังหา ตรีผลา จัน
บ ้าน
ะ พ ื้น
๖. ทั ง สอง ลู ก จั น ดอกจั น กระวาน การพู ล ขิ ง แห ง ดี ป ลี แห ว หมู ไค ร เครื อ เกษรบั ว หลวง
เกษรสารภี
ย แล
น ไท

๗. เกษรบัวเผื่อน เกษรบัวขม ดอกคำ ดอกผักตบ ดอกพิกุน เกษรบุนนาก ดอกสลิด สักขี ชลูด
ย ์แ
พท
อบเชย ชเอม กฤษนา

า รแ
๘. ชมดเชียง พิมเสน เอาเสมอภาคทำเปนจุณ เอาดีงูเหลือมแชน้ำดอกไมเปนกระสาย บดทำแทงไว
ละลายน้ำดอกไมก็ได น้ำตาลทราย
าก
ัิปญญ เชื่อม
ภ ม

อง
๙. ก็ได น้ำแรมคืนก็ได กินแกรส่ำรสายแลดับพิศไขทังปวงทำใหคลั่งใหเพอ ให แกลิ้น

ค ร มัว
ค มุ้
กระดางคางแขง แลชูกำลังยีงนักฯ ยาชื่อหอม

ก อ
๑๐. แทงทองเอาจันชมด จันเทษ จันแดง กฤษนา กระลำภัก ชะลูด ขอนดอก อบเชย สมุลแวง
โกดเชียง โกดกระดูก โกดหัวบัว เทียรดำ
๑๑. เที ย รฃาว ดอกพิ กุ น เกสรบุ น นาก เกสรสาระภี เกสรบั ว หลวง สิ่ ง ละ 1 พิ ม เสน 2
ขมดเชียง 1
๑๒. ชมดสด 1 อำพัน 1 ยาฝรั่น 1 ทองคำเปลว ๔๐ แผน ทำเปนจุณบทดวยน้ำ
๑๓. น้ำดอกไม ทำแทงไวปดทองทุกแทง ถาแกลมมีพิศใหเอาโกดกดูก
๑๔. กับขิงมาตมดวยกันเอาน้ำลายยากิน แกเลือดมีพิศน้ำ
๑๕. เทียรดำขิงตมดวยกัน แกเสมหะมิพิศน้ำมกล่ำ
๑๖. เครือ ชเอมตมดวยกัน ใหกินชูกำ
๑๗. ลังยิ่งนักแล ๚๛
152
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 51

๏ สิทธิการิยะ ถาบุคคลผูใดเปนไขเพื่อเสมหะ ปตตะ วาตะ สมุฏฐานก็ดี ทำใหหิวโหยหาแรงมิได


ใหระหวยไป ใหใจขุนหมองมิไดชื่น ใหสวิงสวายหากำลังมิได ถาจะแกเอายานี้แก
188
๏ ยาชื่อมหาสมมิตร เอาโกฐทั้งหา เทียนทั้งหา ตรีผลา จันทนทั้งสอง ลูกจันทน ดอกจันทน กระวาน
กานพลู ขิงแหง ดีปลี แหวหมู ไครเครือ เกสรบัวหลวง เกสรสารภี เกสรบัวเผื่อน เกสรบัวขม ดอกคำ
ดอกผักตบ ดอกพิกุล เกสรบุนนาค ดอกสลิด สักขี ชะลูด อบเชย ชะเอม กฤษณา ชะมดเชียง พิมเสน
ไ ท ย
เอาเสมอภาคทำเป น จุ ณ เอาดี งู เ หลื อ มแช น้ ำ ดอกไม เ ป น กระสาย บดทำแท ง ไว ล ะลายน้ ำ ดอกไม ก็ ไ ด
บ ้าน
น้ำตาลทรายก็ได น้ำแรมคืนก็ได กินแกระส่ำระสาย แลดับพิษไขทั้งปวง ทำใหคลั่ง ใหเพอ ใหเชื่อม ใหมัว
แกลิ้นกระดางคางแข็ง แลชูกำลังยิ่งนัก ฯ
ะ พ ื้น
๏ ยาชื่อหอมแทงทอง เอาจันทนชะมด จันทนเทศ จันทนแดงยกฤษณา แล กระลำพัก ชะลูด ขอนดอก
ไท ดอกพิกุล เกสรบุนนาค เกสรสารภี
189

อบเชย สมุลแวง โกฐเชียง โกฐกระดูก โกฐหัวบัว เทียนดำ เทียนนขาว


เกสรบัวหลวง สิ่งละ ๑ บาท พิมเสน ๒ สลึง ชะมดเชียง ๑ยสลึ ์แผง ชะมดสด ๑ เฟอง อำพัน ๑ เฟอง หญาฝรั่น
๑ เฟอง ทองคำเปลว ๔๐ แผน ทำเปนจุณ บดดวยน้ำพดอกไม ท ทำแทงไวปดทองทุกแทง ถาแกลมมีพิษใหเอา

นรแกเลือดมีพิษ น้ำเทียนดำ ขิง ตมดวยกัน แกเสมหะมีพิษ


น้ำมะกล่ำเครือ ชะเอม ตมดวยกัน ใหกินชูกญำลัางยิ่งนักแล ๚๛
โกฐกระดูกกับขิงมาตมดวยกัน เอาน้ำละลายยากิ

ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

153
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 52

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

154
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 52

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ยาไขสันนิบาตใหหนาวนัก
๓. เอาโลด ๑ หัศคุณไท ๑ จันขาว ๑ ฝนดวย
๔. น้ำชะโลมแกหนาว ฯ ถารอนนักเอาผักบุงเทศ ๑ ผักบุง
๕. ไท ๑ ใบบัวหลวง ๑ ใบชิงชี่ ๑ ตำใหละเอียด ดินสอพองใสสะนอย ลาย
ไ ท ย
๖. น้ำซาวเขาชะโลมแกรอน ฯ ถาแลคลั่งเอาขมิ้นออย หวานกีบแรด ๑ หวานรอนทอง ๑
บ ้าน
ะ พ ื้น

๗. จันแดง ๑ จันฃาว ๑ แกนมหาด ๑ แกนประดู ๑ ทังนี้เอาเทากัน บดใหละเอียดลายน้ำดอกไม
ย แ
ไท
๘. ทั ง กิ น ทั ง ทาแก ค ลั่ ง ถ า กิ น เข า มิ ไ ด เ อาใบสเดา ๑ บรเพช ๑ ขมิ้ น อ อ ย ๑ ตำเป น ผงเอา
ผ น
์แ
น้ำตานทรายรำหัด เอา

พท
๙. น้ำขิงเปนกระสาย ปนเปนแทงเทาปลายกอย ฝนดวยน้ำตานทรายกินแตแทงหนึ่ง กินเชาค่ำ
ทุกวันแกสันนิบาตดำ
า รแ
าก
ัิปญญ
๑๐. แดง อั น กิ น เข า มิ ไ ด แลจั บ ทั ง ปวงครั้ น กิ น ยานี้ ก็ ถ อยแล ฯ ถ า จะทำยานี้ ใ ห ตั้ ง มนทน ๓ ชั้ น
เอาผา
ภ ม

ค ร อง
๑๑. ฃาวดาดเพดาน เทียรหนัก 1 ขาวตอกดอกไมบูชา แลยานี้ชื่อภพวินาศ ฯ ยาปะคบเอาใบ

ค มุ้
๑๒. ชิงชี่ทัง ๒ ใบชะเหลา ๑ ใบมะกรูด ๑ ใบมะนาว ๑ ใบสมปอย ๑ ทังนี้

ก อ
๑๓. เอาแตใบ กะทือ ๑ ไพล ๑ กุมทัง ๒ ทองหลาง มะรุม เอา
๑๔. เทากันตมกระสายน้ำสมซา อุนไฟใหรอน หอ
๑๕. ผาประคบ สันนิบาตดำแดง แต
๑๖. หัวจนตีน สามวัน
๑๗. ก็หายแล ๚ะ

155
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 52

190
๏ สิทธิการิยะ ยาไขสันนิบาตใหหนาวนัก เอาโลด ๑ หัสคุณไทย ๑ จันทนขาว ๑ ฝนดวยน้ำ ชโลม
แกหนาว ฯ
191
๏ ถารอนนักเอาผักบุงเทศ ๑ ผักบุงไทย ๑ ใบบัวหลวง ๑ ใบชิงชี่ ๑ ตำใหละเอียด ดินสอพองใส
สักหนอย ละลายน้ำซาวขาวชโลมแกรอน ฯ


192
๏ ถาแลคลั่ง เอาขมิ้นออย วานกีบแรด ๑ วานรอนทอง ๑ จันทนแดง ๑ จันทนขาว ๑ แกนมะหาด
น ไ ท


๑ แกนประดู ๑ ทั้งนี้เอาเทากัน บดใหละเอียด ละลายน้ำดอกไม ทั้งกินทั้งทาแกคลั่ง

๏ ถ า กิ น ข า วมิ ไ ด เ อาใบสะเดา ๑ บอระเพ็ ด ๑ ขมิ้ น อ อ ย ๑ ตำเป น ผงื้นเอาน้ ำ ตาลทรายรำหั ด
พแทงหนึ่ง กินเชาค่ำทุกวัน
193

เอาน้ำขิงเปนกระสาย ปนเปนแทงเทาปลายกอย ฝนดวยน้ำตาลทรายกินลแต


แ ะ
แกสันนิบาตดำแดง อันกินขาวมิได แลจับทั้งปวง ครั้นกินยานี้ก็ถอยแลทฯย ถาจะทำยานี้ใหตั้งมณฑล ๓ ชั้น
น ไ ื่อภพวินาศ ฯ
เอาผาขาวดาดเพดาน เทียนหนัก ๑ บาท ขาวตอกดอกไมบูชา แลยานี

์ ผ
ย๑ ใบมะนาว ๑ ใบสมปอย ๑ ทั้งนี้เอาแตใบ

พ ท
กระทือ ๑ ไพล ๑ กุมทั้ง ๒ ทองหลาง มะรุม เอาเทาารกัแนตมกระสายน้ำสมซา อุนไฟใหรอน หอผาประคบ
194
๏ ยาประคบ เอาใบชิงชี่ทั้ง ๒ ใบชะเหลา ๑ ใบมะกรู ด

า ก
ัิปญญ
สันนิบาตดำแดงแตหัวจนตีน สามวันก็หายแล ๚ะ

ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

156
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 53

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

157
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 53

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. ลักษณมุตฆาฏนั้นคือไปเบา
๓. บอยๆ คือเบาฃาว ๑ คือเบาแดง ๑ คือเบา
๔. เหลือง คือเบาดำ ๑ ทังสี่ประการนี้ แตวามิไดเปนมันดั่ง
๕. ทุราวะสา ถาจะแกเทียรทัง ๕ โกดทัง ๕ การพลู การบูน ลูกเอน บรเพช
ไ ท ย
๖. เกลือสินเทา แหวหมู รากละหูง รากแตงหนู รากเสนียด สเดา ไพล น้ำประสารทอง
บ ้าน
ะ พ ื้น

๗. วานน้ำ ตรีกระตุก ขมิ้น รากมะตูม ชมด ภิมเสน ทำเปนจุลลายน้ำผึ้ง น้ำมนาว ก็ไดใหกินอาจ
ย แ
ไท
๘. บำบัดเสียซึ่งมุตฆาฏใหวินาศฉิบหาย ฯ ขนานหนึ่งเอา รากพันงูแดง รากมตูม ขิงแหง ขิ้กาแดง
ผ น
์แ
เกลือสินทวะ สะ

พท
๙. มอห า เหลี่ ย ม การพลู โกดสอ รากมรุ ม ทำเปนจุ ล ลายน้ ำ มนาวกิ น อาจกำจั ด ซึ่ ง มุ ต ฆาฏ
ใหฉิบหาย ฯ ขนานหนึ่ง โกดทัง ๕
า รแ
าก
ัิปญญ
๑๐. ภิมเสน ชมด ดอกจัน แหวหมู ขิงแหง ขี้กาแดง การบูน รากขัดมอน สมอทังสาม เทียรดำ
น้ำประสาร
ภ ม

ค ร อง
๑๑. ทอง ทำเปนจุล ละลายน้ำสมอก็ได น้ำผึ้งก็ได ใหกินอาจบำบัด ซึ่งมุตฆาฏ

ค มุ้
๑๒. ใหวินาศฉิบหายขาด ฯ ขนานหนึ่งเอา โกดสอ อบเชย ประคำดี

ก อ
๑๓. ควาย เจตมูล บรเพช โมกมัน ลูกผักชี มหาหิง
๑๔. โกฏกานพราว ตุกะโรหินี กานพลู ดีปลี
๑๕. ทำเปนจุล ละลายน้ำผึ้ง กินแก
๑๖. มุตฆาฏ หายขาดยาสน
๑๗. เทหเลย ๚ะ

158
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 53

๏ สิทธิการิยะ ลักษณะมุตฆาตนั้นคือไปเบาบอยๆ คือเบาขาว ๑ คือเบาแดง ๑ คือเบาเหลือง ๑


คือเบาดำ ๑ ทั้งสี่ประการนี้ แตวามิไดเปนมั่นดั่งทุราวสา1
195
๏ ถาจะแกเทียนทั้ง ๕ โกฐทั้ง ๕ กานพลู การบูร ลูกเอ็น บอระเพ็ด เกลือสินเธาว แหวหมู รากละหุง
รากแตงหนู รากเสนียด สะเดา ไพล น้ำประสารทอง วานน้ำ ตรีกฏก ขมิ้น รากมะตูม ชะมด พิมเสน ทำเปน
จุณละลายน้ำผึ้ง น้ำมะนาว ก็ไดใหกินอาจบำบัดเสียซึ่งมุตฆาตใหวินาศฉิบหาย ฯ
196
ไ ท ย
๏ ขนานหนึ่งเอารากพันงูแดง รากมะตูม ขิงแหง ขี้กาแดง เกลือสินเธาว สมอหาเหลี่ยม กานพลู
โกฐสอ รากมะรุม ทำเปนจุณละลายน้ำมะนาวกิน อาจกำจัดซึ่งมุตฆาตใหฉิบหาย ฯ
บ ้าน
๏ ขนานหนึ่ง โกฐทั้ง ๕ พิมเสน ชะมด ดอกจันทน แหวหมู ขิงแหะงพขีื้น้กาแดง การบูร รากขัดมอน
สมอทั้งสาม เทียนดำ น้ำประสารทอง ทำเปนจุณ ละลายน้ำสมอก็ไดยน้แำลผึ้งก็ได ใหกินอาจบำบัดซึ่งมุตฆาต
197

น ไท
ใหวินาศฉิบหายขาด ฯ
198
ขนานหนึ่ง เอาโกฐสอ อบเชย ประคำดีทควาย แ
์ ผ
ย เจตมูล บอระเพ็ด โมกมัน ลูกผักชี มหาหิงคุ
พ ำผึ้ง กินแกมุตฆาต หายขาดอยาสนเทหเลย ๚ะ


โกฐกานพราว จุกโรหินี กานพลู ดีปลี ทำเปนจุณ รละลายน้
กา


ัิปญญ
ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช ทุราวะสา

คำจารึกใช ตุกะโรหินี
159
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ภาพจารึกแผนที่ 54

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

160
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำจารึกแผนที่ 54

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. อยาแกกลอนแหงซึ่ง
๓. กระทำใหจุกเสียดแลเปนพรดึก
๔. ใหเปนกอนในทอง ใหเจบทั่วสระพาง ใหมือกระดาง
๕. ใหเมื่อยขบขัด เขาแลนองคู ใหตามืดหูหนักใหเสียงแหบแหง
ไ ท ย
๖.
บ ้าน
ใหฃัดอก ใหทองขึ้นกินอาหารมิได เปนเหตุทังนี้เพราะเสมหะแหง บังเกิด
ะ พ ื้น

๗. แตบุรุษษตรีก็ดุจกัน ทานจึ่งประกอปอยานี้ไวใหแก เอาสคาน พัดแพวแดง ดองดึง
ย แ
ไท
๘. มหาหิง วานน้ำ โกดสอ โกดจุลาลำภา โกดพุงปลา การชา ศีศะอุดพิต ชเอม ดีปลี แกนแสมทะเล
ผ น
๙.
ย ์แ
ยาดำ เอาเสมอภาค พริกไทเทาอยาทังหลาย ทำเปนจุลลายน้ำผึ้งรวงกินหนัก 1 แกดั่งกลาว

พท
มาแตหลังวิเศศแล ๚ะ
า รแ
าก
๑๐. ๏ อยาแกสรรพกลอนทังปวง เอาใบมะตูม ๑ ใบสเดา ๑ ใบคนทีสอ ๑ หวานน้ำ ๑ บรเพช ๑

ัิปญญ
ขมิ้นออย ๑ ทังนี้เอาสิ่งละ 1



๑๑. พริกเทาอยาทังหลายตำเปนผงลายน้ำผึ้งกินทีละ 1 แกลมกลอนจุกเสียดทังปวงเปนมหา

วิเศศแล ๚ะ
ค ร อง
ง ค มุ้
๑๒. ๏ อยาแกลมกลอนสันดาน เอาหัศคุนหนัก 1 2 หิง 3 วานน้ำ 2 ดีปลี 21

กระเทียม 1

๑๓. ใบมกรูด 12 แกนแสมชะเล 1 แกนขี้เหลก 1 แกนปูนที่เผาไม
๑๔. สุก 1 รากพญามือเหลก 1 หอยขม 1 หอย
๑๕. แครง 1 ดินประสิวขาว 2 สานสม 12 ตำ
๑๖. เปนผงลายน้ำมกรูดซมสากิน
๑๗. ผายสองหน ๚ะ

161
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำอานจารึกแผนที่ 54

๏ สิทธิการิยะ ยาแกกลอนแหงซึ่งกระทำใหจุกเสียดแลเปนพรรดึก ใหเปนกอนในทอง ใหเจ็บทั่ว


สรรพางค ใหมือกระดาง ใหเมื่อยขบขัดเขาแลนองคู ใหตามืดหูหนักใหเสียงแหบแหง ใหขัดอก ใหทองขึ้นกิน
อาหารมิได เปนเหตุทั้งนี้เพราะเสมหะแหง บังเกิดแตบุรุษสตรีก็ดุจกัน
199
๏ ท า นจึ ง ประกอบยานี้ ไว ใ ห แ ก เอาสะค า น ผั ก แพวแดง ดองดึ ง มหาหิ ง คุ ว า นน้ ำ โกฐสอ
โกฐจุฬาลัมพา โกฐพุงปลา กัญชา1 หัวอุตพิด ชะเอม ดีปลี แกนแสมทะเล ยาดำ เอาเสมอภาค พริกไทย
เทายาทั้งหลาย ทำเปนจุณละลายน้ำผึ้งรวงกินหนัก ๑ สลึง แกดังกลาวมาแตหลังวิเศษแล ฯ
ไ ท ย
200
๏ ยาแกสรรพกลอนทั้งปวง เอาใบมะตูม ๑ ใบสะเดา ๑ ใบคนทีสอ ๑ วานน้
บ ้านำ ๑ บอระเพ็ด ๑
ขมิ้นออย ๑ ทั้งนี้เอาสิ่งละ ๑ บาท พริกเทายาทั้งหลาย ตำเปนผงละลายน้ำผึ้งกิพ นทีื้นละ ๑ สลึง แกลมกลอน
และ
จุกเสียดทั้งปวงเปนมหาวิเศษแล ฯ

๏ ยาแกลมกลอนสันดาน เอาหัสคุณหนัก ๑ ตำลึง ๒ บาทนไหิทงคุ ๓ บาท วานน้ำ ๒ บาท ดีปลี
๒ บาท ๑ สลึง กระเทียม ๑ ตำลึง ใบมะกรูด ๑ บาท ๒ สลึงยแก์แผ
201

ท ๑ บาท หอยแครง ๑ บาท ดินประสิวขาว


2
นแสมทะเล ๑ บาท แกนขี้เหล็ก ๑ บาท
แกนปูนที่เผาไมสุก ๑ บาท รากพญามือเหล็ก ๑ บาท หอยขม
แ พ
ร ดสมซากิน ๑ สลึง ผายสองหน ๚ะ
๒ บาท สารสม ๑ บาท ๒ สลึง ตำเปนผงละลายน้ำมะกรู
า กา

ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

1
คำจารึกใช การชา

คำจารึกใช ชะเล
162
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ภาพจารึกแผนที่ 55

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

163
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คำจารึกแผนที่ 55

๑. ๏ สิทธิการิยะ
๒. รัตตะปตตะโรคนั้น คือโลหิต
๓. รคนกับดวยดี แลวแผทรานไปในปรเทษทัง
บน
๔. สองคือเบือง แหงสริรรกายพรอมกันดังนี้แลวทังเกิดเพื่อดิ
ไ ท ย
้าน
ต่ำ
ื้นบ

๕. กำเริบ มีศรีดำเหลืองแดงดั่งนีเปนอะลาทิยะ คือแพทยจะรักษาเปนอันยาก
และ

๖. นัก ฯ ถาจะแกเอา แฝกหอม รากบัว รากสามสิบ กระวาน บรเพช เสมอภาคตม ๓ เอา ๑ ให
น ไท

๗. กินแกรัตตปตตะเพื่อดีหาย ฯ ขนานหนึ่งเอา จันขาว รากสามสิบ การบูน เปลือกกะทุมเหลือง
รากชาพลู เกษร
ย ์แ
รแพท
๘. บัวขาว เกษรบัวแดง เกษรสัตบุต ชเอม ดอกมทราง ขัดมอน มกล่ำเครือ ชมด พิมเสน เอา
เสมอภาค
ากา
ัิปญญ
๙. ทำเปนจุนบดลลายน้ำเขาขั้วกิน แกรัตตปดตะเพือดีหาย ฯ ขนานหนึ่งเอา เมดชมดตน ลูกจัน
เปลือกอบเชย
ภ ม

ค ร อง
๑๐. ใบพิมเสน หัวกลวยตะนี แฝกหอม ชมด พิมเสน เอาเสมอภาค ทำเปนจุนบดลลายน้ำมวกเขากิน
แก
ง ค มุ้
ก อ
๑๑. รัตตปดตะเพือดีหาย ฯ ขนานหนึ่งเอา กฤษนา กลำภัก เกษรบุนนาก เกษรสาระภี
๑๒. กจับบก ดอกสัตตะบัน จันฃาว กระวาน โกฏกะดก หยาฝรัน ชะ
๑๓. มดเชียง พิมเสน เอาเสมอภาค ทำเปนจุน บดใหละ
๑๔. เอียด ลลายน้ำดอกไมก็ได น้ำมวกเขาก็ได ปน
๑๕. เปนลูกกอนกิน แกรัตตะปดตะกำ
๑๖. เริบเพื่อปตตสมุถานโรคนั้น
๑๗. หายดีแล ๚ะ

164
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คำอานจารึกแผนที่ 55

๏ สิทธิการิยะ รัตตะปตตะโรคนั้น คือโลหิตระคนกับดวยดี แลวแผซาน 1 ไปในประเทศทั้งสอง


คือเบื้องบน เบื้องต่ำ แหงสรีระกาย๒ พรอมกันดังนี้แลว ทั้งเกิดเพื่อดีกำเริบ มีสีดำ ๓ เหลือง แดง ดังนี้
เปนอสาทิยะ๔ คือ แพทยจะรักษาเปนอันยากนัก ฯ
202
๏ ถาจะแกเอาแฝกหอม รากบัว รากสามสิบ กระวาน บอระเพ็ด เสมอภาคตม ๓ เอา ๑ ใหกิน
แกรัตตะปตตะเพื่อดีหาย ฯ
203
ไ ท
๏ ขนานหนึ่งเอา จันทนขาว รากสามสิบ การบูร เปลือกกระทุมเหลือง รากชาพลู เกสรบัวขาวย
บ ้าน
เกสรบัวแดง เกสรสัตตบุษย ชะเอม ดอกมะทราง ขัดมอน มะกล่ำเครือ ชะมด พิมเสน เอาเสมอภาค ทำเปน
จุณบดละลายน้ำขาวคั่ว๕ กินแกรัตตะปตตะเพื่อดีหาย ฯ
ะ พ ื้น
๏ ขนานหนึ่ง เอาเม็ดชะมดตน ลูกจันทน เปลือกอบเชย ใบพิยมแเสน
204 ล หัวกลวยตานี แฝกหอม ชะมด
พิมเสน เอาเสมอภาค ทำเปนจุณบดละลายน้ำมวกขาว กินแกรัตนตะป ไท ตตะเพื่อดีหาย ฯ



๏ ขนานหนึ่ง เอากฤษณา กะลำพัก เกสรบุนนาคทยเกสรสารภี กระจับบก ดอกสัตตบรรณ จันทนขาว
205

กระวาน โกฐกระดูก หญาฝรั่น ชะมดเชียง พิมรเสน แ พเอาเสมอภาคทำเปนจุณ บดใหละเอียด ละลายน้ำ


กนา แกรัตตะปตตะกำเริบ เพื่อปตตะสมุฏฐานโรค นั้นหายดี


ัิปญญ
ดอกไมก็ได น้ำมวกขาว ก็ได ปนเปนลูกกลอนกิ
แล ๚ะ

ง ภ ม

ค ร อ
ง ค ม
้ ุ
ก อ

1
คำจารึกใช แผทราน

คำจารึกใช สริรรกาย

คำจารึกใช ศรีดำ

คำจารึกใช อะลาทิยะ

คำจารึกใช เขาขั้ว
๖, ๘
คำจารึกใช มวกเขา

คำจารึกใช โกฏกะดก

165
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

166
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
อภิธานศัทย์แพท ผ
รแ พ
า กา


ูปิ ัญ
อง ภ
ค ร
ง ค มุ้
ก อ

167
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

โรคและอาการในจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

กระษัย ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากความเสื่อมหรือความผิดปรกติของรางกาย จากความเจ็บปวยที่


ไมไดรับการรักษาหรือรักษาแลวไมหาย ทำใหรางกายซูบผอม กลามเนื้อและเสนเอ็นรัดตึง
โลหิ ต จาง ผิ ว หนั ง ซี ด เหลื อ ง ไม มี แรง มื อ เท า ชา เป น ต น ตำราการแพทย แ ผนไทยแบ ง
โรคกษัยออกเปน ๒ กลุมใหญ ๆ ตามสาเหตุของการเกิดโรค คือ กษัยที่เกิดจากธาตุสมุฏฐาน
(มี ๘ ชนิด ไดแก กษัยกลอน ๕ ชนิด กษัยน้ำ กษัยลม และกษัยไฟ) กับกษัยที่เกิดจาก
อุปปาติกะโรค (มี ๑๘ ชนิด ไดแก กษัยลม กษัยราก กษัยเหล็ก กษัยปู กษัยจุก กษัยปลาไหล
กษั ย ปลาหมอ กษั ย ปลาดุ ก กษั ย ปลวก กษั ย ลิ้ น กระบื อ กษั ย เต า กษั ย ดาน กษั ย ท น


กษัยเสียด กษัยเพลิง กระษัยน้ำ กระษัยเชือก และกษัยลม) ดังคัมภีรกระษัย [๑/๑๕-๑๖]
ไ ย
้าน
ตอนหนึ่งวา “...จะกลาวลักษระกระไสยโรค ซึ่งพระอาจารยเจา ประมวนไวมีประเภท ๒๖
ื้นบ
จำพวก แตกระไสย ๘ จำพวกนั้นคือกระไสยกลอน ๕ กระไสยน้ำ ๑ กระไสยลม ๑ กระไสย

ละ พ
เพลิง ๑ ทั้ง ๘ จำพวกนี้ เกิดแตกองสมุฏฐานธาตุ แจงอยูในคัมภีรวุฒิโรค กลาวคือ กรอน ๕
ย แ
ไท
ประการโนนเสรจแลว ในที่นี้จะกลาวแตกระไสยอันบังเกิดเปนอุปาติกะโรค ๑๘ จำพวกนี้

ผ น
คือกระไสยลน กระไสยราก กระไสยเหลก กระไสยปู กระไสยจุก กระไสยปลาไหล กระไสย
ย ์แ
พท
ปลาหมอ กระไสยปลาดุก กระไสยปลวก กระไสยลิ้นกระบือ กระไสยเตา กระไสยดาน


กระไสยทน กระไสยเสียด กระไสยเพลิง กระไสยน้ำ กระไสยเชือก กระไสยลม ประมวนเปน
า ร
กดหนึ่ง เกิดที่ยอดอก ทำใหกลามเนื้อตั้งแตยอดอกถึงหนา

๑๘ จำพวกดวยกันดังกลาวมานี้...”.

ัิปญญ จุกเสียดแนน กินขาวไมได ถาลามถึงทองนอยทำใหปวดอยู


กระษัยดาน กษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิ


ทองแข็งมาก ผูปวยมีอาการปวด
ง ภ
รอ ่งวา “...จะกลาวลักษณะกระไสยโรคอันบังเกิดขึ้นเปนอุปาติกะ คือกระไสย
ตลอดเวลาถูกความเย็ นไมได แตถาลามลงไปถึงหัวหนาวจะรักษาไมได ดังคัมภีรกระษัย (๑/

ุ้ม ๑๒ ตั้งอยูยอดอกแขงดังแผนสินลา ถาตั้งลามลงไปถึงทองนอยแลวเมื่อใด
๓๔-๓๕) ตอนหนึ
ดานอันคเปนเคารบ

กอ รองครางอยูทั้งกลางวันกลางคืน ถูกเยนเขามิได ถาถูกรอนคอยสงบลงนอยหนึ่ง
กระทำให
แล ว กลั บ ปวดมาเล า กระทำให จุ ก เสี ย ดแน น น า อก บริ โ ภคอาหารมิ ไ ด ถ า ลามลงไปถึ ง
หัวเหนาแลวเมื่อใด เปน อะติสยะโรค แพทยจะรักษามิไดเลย ถาจะรักษารักษาแตยังมิลง
หัวเหนาดุจกลาวไวดังนี้...”.
กระหายน้ำ อาการไข ทำใหรูสึกคอแหง อยากดื่มน้ำบอย ๆ
กลอน โรคกระษัยชนิดหนึ่ง เรียกวา กระษัยกลอน ก็มี อาการของ โรค เกิดแต สมุฏฐานธาตุ ๔ มี
๕ ชนิด คือ
๑. กระษัยกลอน หรือกระษัยดิน หรือกลอนดิน เกิดขึ้น เพราะปถวีธาตุ หรือธาตุดินใน
รางกายผันแปรผิดปกติ ทำใหเกิดอาการตาง ๆ เชน ทำใหทองอืด เสนทองตึง เจ็บสะเอว
จุกเสียด ทองผูกมากจนเปนพรรดึก มือเทาชา นัยนตาฟาง เปนตน

168
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

กลอน (ตอ) ๒. กระษัยกลอนน้ำ หรือกระษัยน้ำ หรือกลอนน้ำ เกิดขึ้น เพราะอาโปธาตุ เชน ทำใหมี


อาการปวดขัดยอก จุก เสียดแนนในทองถึงยอดอก และทางเดินอาหาร น้ำปสสาวะผิดปกติ
เปนตน
๓. กระษัยกลอนไฟ หรือกระษัยไฟ หรือกระษัยเพลิง เกิดขึ้นเพราะเตชาตุ หรือธาตุไฟใน
รางกายผิดปกติ ทำใหเกิดอาการตาง ๆ เชน ทำใหมีอาการจุกแนนขึ้นในทรวงอก ภายใน
กายรอนรุมมีเหงื่อออกทุกขุมขน เปนตน
๔. กระษัยกลอนลม หรือกระษัยลม หรือกลอนลม เกิดขึ้นเพราะวาโยธาตุ หรือ ธาตุลมใน
รางกายผิดปกติ ทำใหเกิดอาการตางๆ เชน ทำใหมีอาการจุกเสียด ทองลั่น เจ็บปวดในทอง
เปนลมแนนขึ้นในอก เปนตน
๕. กระษัยเถา เกิดเปนลมขึ้นในกายอยางตอเนื่อง เสียดไปตามชายโครงถึงยอดอก เสียว

ไ ท ย
ตลอดขึ้นไปถึงลำคอ ทำใหเจ็บปวดแนนในอกกระทบไปถึงระบบขับถาย ทำใหน้ำปสสาวะ
ขุนเปนตะกอนเปนตน
บ ้าน
กลอน ๕ ดูที่ กลอน
ะ พ ื้น
ประการ
ย แล
น ไท

กลอนน้ำ ดูที่ กลอน
ย ์แ

กลอนลม ดูที่ กลอน
อาการของโรค มีเลือดเปนกอนอยูแดาพนขางในทอง ขนาดเทาไขเปด ไขหาน จะปวดทองกอน
กลอนเลือด
มีประจำเดือน ถากินยาขับเลือกดหรื า ร อกระจายโลหิต ทำใหมีเลือดออกมาเปนกอน
ญ า
ชื่อโรคกระษัยชนิดหนึัญ


กลอนหิน ่ง เกิดแตลมในทองนอยแนนอัดดุจแผนเหล็ก แผนหิน ทำใหเจ็บปวด
ทองแข็งลามขึ้นูม
กลอน อง
ภ ไปถึงยอด บริโภคอาหารไมได เปนตน กระษัยเหล็กก็เรียก ดูเพิ่มเติมที่

ค รดหนึ่ง มีอาการจุกเสียด ปวดเมื่อย ปวดถวงในทอง เจ็บในอก เสียวในกายหรือชา


กลอนแหง
ง ค ุ้ม
ชื่อโรคชนิ
กอเปนสวน เจ็บทอง
กลอนเอ็น ดูที่กลอน
กลอนเอ็น ๕ ดูที่ กลอน
ประการ
กลาก น.ชื่อโรคผิวหนังอยางหนึ่ง มีหลายชนิดเกิดจากเชื้อรา ขึ้นเปนวง มีอาการคัน, ขี้กลาก ก็วา.
กลากเกลื้อน อาการของโรคกลาก ซึ่งขึ้นเปนวงรายทั่วไปตามผิวกาย ดูเพิ่มเติมที่ กลาก
กำเริบ ลักษณะอาการของโรคที่เกิดจากสมุฏฐานใดสมุฏฐานหนึ่ง มีความรุนแรงมากขึ้นกวาปกติ
จำแนกได ๒ ชนิด คือ
๑. ธาตุใดธาตุหนึ่งในรางกายมาการผิดปกติ เกิดเปนพิษ ขึ้นเรียกวา ธาตุกำเริบ
๒. อาการไขที่เปนอยูแลว แตมีสิ่งที่ทำใหอาการไขนั้นทวีความรุนแรงขึ้นอยางรวดเร็ว เชน
รับประทานอาหารผิดสำแดงเขาไป ทำใหอาการไขหนักมากขึ้น เรียกวา ไขกำเริบ
169
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

กำลังลมกลานัก อาการของโรคอยางหนึ่ง ความรุนแรงของอาการโรคเกิดจากลมในรางกาย เคลื่อนไหว


รุนแรงและเร็วมาก
กินอาหารมิได ก.อาการรับประทานอาหารไมได
กิมิชาติ พยาธิ หรือหนอน ที่อาศัยอยูตามสวนอวัยวะภาพในรางกายคน หรือสัตว ทำใหเกิดโรคขึ้น
ตางๆ กิมิชาตินี้มี ๘๐ ชนิด แตละชนิดมีขื่อเรียกตาง ๆ ดังนี้
๑. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินภายในกระเพาะอาหารมี ๗ ชนิด คือ กะตะ โอตะกะ คันทุปา
ตาลหิระ สุจิมุขะ ปวัตนันตุ และ สุกะตะ
๒. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในสมอง กระดูก มี ๒ ชนิด คือ ยาวะ และโสภา
๓. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูที่มาม มี ๒ ชนิด คือ กะตะ และ ราตวัตถา


๔. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในหัวใจ มี ๔ ชนิด คือ ทะนันตะ มหาทะนันตะ โลหิตะ และ
ไ ท
้าน
มหาโลหิตะ

ื้นบ
๕. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในปตตะและในเสมหะ มี ๓ ชนิด คือ นิละกะ อุปวะ และ
สามุขะ
ละ พ
ย แ
๖. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในกระบอกตา มี ๓ ชนิด คือ มาณะ ตะกา และณะวะ

น ไท
๗. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในบุพโพ(น้ำเหลือง) มี ๓ ชนิด คือ มัญชุ มุขะ และมิกขะละ

ย ์แ ผ
๘. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในตับ มี ๓ ชนิด คือ วระณะ ตะณะ และสวะระ

พท
๙. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในพุง มี ๖ ชนิด คือ อะวิชา อะธิวิชา วัตธา สิธา ทสะหะ และ
มุนขะ
า รแ
าก
ัิปญญ
๑๐. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในมันเหลว มี ๒ ชนิด คือ ทิมันชา และ เลมขะ
๑๑. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในทวารเบื้องต่ำ(ทวารหนัก เบา) มี ๓ ชนิด คือ กิททา ภะยะ
ภ ม

อง
และ ปาลาตะ

๑๒. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูกลางลำตัว มี ๔ ชนิด คือ โลหะมุขะ มหาโลหะมุขะ มุนะชา

ค มุ้
และมหามุนะชา

ก อ
๑๓. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในปอด มี ๖ ชนิด คือ เสตะ โลหิตะ จะวะกาล สิวาจา อัคคะ
และมหาอัคคะ
๑๔. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูลำไสนอย และลำไสใหญ มี ๖ ชนิด คือ วะระสิมหา วะระนะ
ตา มหาวะระนะตา สิบปา มหาสิบปา และสันตะอันตา
๑๕. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในมันขน มี ๓ ชนิด คือ สุธาชะ สิเนหะชา และมหาสิเนหะชา
๑๖. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในบริเวณ สวนครึ่งลางของรางกาย ตั้งแตสะดือ ถึงปลายเทา
เรียกวา เบื้องต่ำ อโรธคะทวาร มี ๕ ชนิด คือ วิสระหา สิวาระ เตชันตะ สิวะรา และมหาสิ
วะรา
๑๗. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในผม มี ๒ ชนิด คือ มะละวา และมหามะละวา
๑๘. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินน้ำมูกอยูในจมูก มี ๓ ชนิด คือ ณะหาปตระ ฉละมุคะ และ
สัตมุคะ
๑๙. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในลิ้น มี ๓ ชนิด คือ กาละมุขา และมันนะเปละ
170
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

กิมิชาติ (ตอ) ๒๐. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูใตเล็บมือ เล็บเทา มี ๓ ชนิด คือ เลหะ ราคะ และ อะวัณณะ
๒๑. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในเนื้อ และเสนเอ็น มี ๓ ชนิด คือ กันนะ รัชชะกะ และโลหิต
๒๒. กิมิชาติ อาศัยเกาะกินอยูในคอ มี ๒ ชนิด คือ รัมมะหาและมหารัมมะหา
กิมิชาติ ๘๐ ดูที่ กิมิชาติ
จำพวก
เกลียวคอ น.กลามเนื้อที่คอ สำหรับทำใหเอี้ยวคอไดสะดวก.
ไมมี
แก ก.ทำใหหาย เชน แกไข แกจุกเสียด แกประจำเดือนไมปรกติ แกธาตุไมปรกติ แกลม แกรอน
ใน
ขัดโครง อาการของโรคอยางหนึ่ง ทำใหรูสึกวามีอาการผิดปกติบริเวณ กระดูกสีขาง
ไ ท ย
บ ้าน
ื้น
ขัดหัวหนาว โรคอยางหนึ่งมีอาการเจ็บปวดอวัยวะบริเวณใตทองนอยลงไป
ขัดอุจจาระ
ละ
โรคอยางหนึ่ง มีอาการอุจจาระ ปสสาวะไมออก ทำใหเจ็บทรมานมาก พ
ย แ

ปสสาวะ

นวนแขนและขา เคลื่อนไหวไมได
แขนขาตาย ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคอยางหนึ่ง อวัยวะส

ย์แยวะสวนแขน เคลื่อนไหวไมได
ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคอยางหนึท

แขนตาย ่ง อวั
๑. น. ความเจ็บปวยทางกายหรืรอแทางจิต เชน ไขพิษ ไขกาฬ ไขเหนือ ไขหวัด นอกจากนี้
ไข

ในทางการแพทยแผนไทยยัางมีกไขตัวเย็นอันเกิดจากธาตุไฟพิการ. ๒. ก. อาการครั่นเนื้อครั่น
ตัว สะบัดรอนสะทานหนาวัิปญญ ปวดเมื่อย, โดยทั่วไปหมายถึงอาการที่มีอุณหภูมิของรางกายสูง
ภ ม

งมีตัวรอนปวดศีรษะเปนตน ซึ่งแสดงถึงความเจ็บปวยเพราะพิษโรคตาง ๆ
ขึ้นผิดจากระดับปรกติ เนื่องจากความเจ็บปวย

ค ร อ

้ ุ
ไขจับ อาการของไข
ง ค
กอน.โรคกลุมหนึ่ง ผูปวยมีอาการไขวันเวนวัน ในทางการแพทยแผนไทย มีหลายชนิด เชน
ไขจับคลั่งเครือ อาการไข เกิดขึ้นเปนระยะ ๆ ไมหายขาด
ไขเจลียง
ไขเจลียงอากาศ ไขเจลียงพระสมุทร ไขเจลียงไพร
ไขเจลียง น. ไข เจลี ย งชนิ ด หนึ่ ง ผู ป ว ยมี อ าการเมื่ อ ยตามข อ กระดู ก หนาวสะท อ น หอบ ร อ นใน
พระสมุทร กระหายน้ำ เทาเย็น ขึ้นไปถึงนอง เสียวไปทั้งตัว ปวดศีรษะ กินอาหารอาหารไมได ดังจารึก
ตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร (๕/๑๔๖) ตอนหนึ่งวา “...ลักษณะไขเจลียงพระสมุทร
นั้นเมื่อจับใหเมื่อยขบทุกขอกระดูก ใหหนาวสะทานใหหอบใหรอนกระหาย ใหตีนเย็นถึงนอง
ใหเสียวไปทั้งกาย ใหปวดศีรษะเปนกำลัง กินอาหารมิได ใหละอองตีนมือนั้นขาว โทษเสมหะ
เปนกำลังฯ...”.
ไขเจลียงเพื่อดี อาการไขเกิดจากดีในรางกายผิดปกติ ดูเพิ่มเติมที่ ไขเจลียงไพร

171
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ไขเจลียงไพร น.ไขเจลียงชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการไข หนาวสั่น และรอน กระหายน้ำสลับไปมา ปสสาวะ


แดง มือแดง เดินไมสะดวก อารมณฉุนเฉียว โกรธงาย ดังจารึกตำรายาวัดราชโอรสาราม
วรวิหาร (๕/๑๕๒) ตอนหนึ่งวา “...ลักษณะไขเจลียงไพรนั้น กระทำอาการดุจปศาจเขาสิงมัก
ขึ้งโกรธ เมื่อจับนั้นใหสะทานหนาวสั่นยิ่งนัก ใหรอนกระหายน้ำนัก ใหปสสาวะแดงเดินมิได
สะดวก ใหละอองตีนมือนั้นแดงโทษดีเปนกำลัง...”.
ไขเจลียงอากาศ น.ไขเจลียงชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการหนาวสะทาน เทาเย็น รอนใน กระหายน้ำ อุจจาระ
ปสสาวะไมออก ดังจารึกตำรายาวัดราชโอรสาราม(๕/๖๕) ตอนหนึ่งวา “...ลักษณะไขเจลียง
อากาศนั้นใหจับสะทานใหเทาเย็น ใหรอนในอกเปนกำลังใหกระหายน้ำนัก ใหขัดอุจจาระ
ปสสาวะ ใหละอองตีนมือนั้นเขียว ใหตาขลัว น้ำตาแหง โทษสันนิบาต เปนกำลัง...”.
ไขเพื่อดี

ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เปนอาการไขที่เกิดขึ้น เพราะดีในรางกายผิดปกติ ทำใหตัวเหลือง ตาเหลือง
ไ ท

น.ไขที่มีอาการสั่นเทิ้มชักกระตุกและเพอ เชน ไขสันนิบาตลูกนก ไขสันบนิ้าบาตหนาเพลิง
เปนตน
ไขสันนิบาต
ะ พ ื้น
ไขออกดำแดง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการตัวรอนจัด แตมือเทาเย็น ปวดศีรษะมาก
แล ตาแดง กระหายน้ำ มีเม็ด
ผดขึ้นตามตัว หากขึ้นทั้งตัวมีสีแดงดั่งตำลึงสุก และดำดัท่งสียผลหวาสุก เปนตน
น ไ
อาการของโรคทำใหมีอาการรอน ๆ หนาว ๆ หรือผที่เรียกวา สะบัดรอน สะบัดหนาว
ครั่นตัว
ย ์แ
พ ท

ครั่นเนื้อครั่นตัว ดูที่ ครั่นตัว
อาการผิดปกติ กระวนกระวาย เสีกยาสติร ของรางกายและจิตใจ มี ๒ ชนิด คือ โรคที่เกิดขึ้นใน
คลั่ง
ญ าฟุงซาน คลั่งขึ้น กับเกิดอาการคลั่งเพราะพิษไขในรางกาย
อันอาจมาจากการถูกพิษิปัญ
จิตใจ อารมณแปรปรวน ทำให

ง ภ ม
ู หรือที่เรียกวา โรคทางกายทำใหคลั่ง
คัน

ก.อาการที่รูสึกให อ อ ยากเกา
ค แผนไทยฉบับหนึ่ง ผูแตงตำรานี้คือ หมอชีวกโกมารภัจจในตอนตนของ
คัมภีรปถมจินดา
ง ม
้ ุ
คา “...ซึ่งพระคัมภีรแพทยอันวิเศษ ชื่อประถมจินดา อันเปนหลักเปน ประธานแหง
น.ตำราการแพทย

ก มภีรฉันทศาสตรทั้งปวง อันพระอาจารยโกมารภัจ แตงไว...” มีเนื้อหาสำคัญ ไดแก
ตำราว
พระคั
การเกิดขึ้นของโลกและมนุษย การตั้งครรภ การดูแลครรภ การแทง การคลอดลูก วิธีการ
ฝงรก โรคที่เกิดขณะอยูไฟ การดูแลเด็ก โรคในวัยเด็กและตำรับยาที่ใชในโรคแมและเด็ก
เป น ต น , เขี ย นว า คั ม ภี ร ป ฐมจิ น ดา คั ม ภี ร ป ฐมจิ น ดาร คั ม ภี ร ป ถมจิ น ดา หรื อ คั ม ภี ร
ปถมจินดาร ก็มี.
คางแข็ง อาการของโรคชนิดหนึ่ง ทำใหอวัยวะสวนขากรรไตร เคลื่อนไหวไมได
คางทูม น.โรคติดตอที่เกิดจากเชื้อไวรัสทำใหตอมน้ำลายบริเวณใตหูอักเสบแลวบวม
จตุธาตุ ธาตุทั้งสี่ อันมีอยูในรางกาย ไดแก ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม และ ธาตุไฟ
จิตุบาทวาโย น.โรคลมจรชนิดหนึ่ง ตำราวาเกิดจากอโธคมาวาต เกิดบริเวณลำคอ ผูปวยมักจะเปนคางทูม
หายใจขัด หอบ สวิงสวาย ทองขึ้นอืดเฟอ หากเปนนานถึง ๒ ป กับ ๔ เดือน จะทำให
172
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

จิตุบาทวาโย ตาบอด ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (๔/๓๐๖) ตอนหนึ่งวา “...จะ


(ตอ) กลาวลักษณะกำเนิดแหงลมอันชื่อวา จิตุบาทวาโยเปนคำรบ ๔ นั้น เกิดแตอโธคมาวาต
ตลอดลำคอ มักเปนคางทูม ใหหายใจขัดอกและใหหายใจสะอื้น และกระทำใหหอบเปน
กำลัง มักเกิดเปนพิษใหรอนในอก ใหสวิงสวายใหทองขึ้นทองเฟอ ไปอุจจาระมิไดสะดวก ถา
เกิดขึ้นแกบุคคลใดครบถึง ๒ ปกับ ๔ เดือนจะใหเสียจักษุ...”.
จักษุโรค, น.กลุมโรคหรืออาการซึ่งเกิดขึ้นที่ตา ที่เรียกตามสมุฏฐานเบญจอินทรีย เชน ตาแดง ตาแฉะ
จักษุโรโค รืดสีดวงตา, จักขุโรโค ก็เรียก (มาจากคำ จักษุ หรือจักขุ แปลวา ตา และ โรโค แปลวา โรค).
จับโปง น.โรคชนิดหนึ่ง ทำใหมีอาการปวดบวมตามขอมีน้ำใสในขอ โดยเฉพาะขอเขา และขอเทา
แบงออกเปน ๒ ชนิด คือ จับโปงน้ำ และจับโปงแหง ดังคัมภีรตักกศิลา (๒/๙๖) ตอนหนึ่งวา

ไ ท ย
“...ถาแลใหเจบทั่วสารพางค แลใหทองแขงเปนดานใหแกรอบสดือ ชื่อวาลมอันตคุณก็วา ถา

้าน
แลใหเสียดเขาชื่อวาลมจะโปงสะคริวก็วา...”. จะโปง ลมจับโปงหรือลมจะโปง ก็เรียก

ื้นบ

จับเพื่อดี อาการไข หรืออาการของโรคเกิดขึ้นเพราะดีหรือถุงน้ำดีผิด
จับสะทาน ในที่นี้หมายถึง อาการของโรค หรืออาการไข ทำใหรางกาย
แ ล ะหนาวสั่น
จำเริญเพลิงธาตุ การทำใหไฟธาตุในรางกายสมบูรณ ดูเพิ่มเติมที่ ธาตุ ไน ทย
น. แถบ ซีก (ใชกับรางกาย) เชน จำหระเบื้อ์แงซผาย จำหระเบื้องขวา ตำหระ ก็เรียก
จำหระ
ท ย
จุกเสียด

ในที่นี้หมายถึง อาการของโรค มีอาการแนพ
รามเนื้อตามรางกายกระตุก
นในอกและเจ็บแทงอยูภายในรางกาย
า ก า

ชักเขมนไป อาการของโรคชนิดหนึ่ง ทำให ก ล
ทั้งกาย

ิ ัญ
ชักเทาชักมือ อาการของโรคชนิ
ภ ม

งอกขึ้นมองเหนือศีรษะ เปนตน
ดหนึ่ง ทำใหกลามเนื้อตามรางกายกระตุอยางแรงและถี่ เทางอ ตีนกำ
ร อ
ค ดหนึ่ง ทำใหกลามเนื้อตามรางกายกระตุอยางแรงและถี่ เทางอ ตีนกำ
มือกำ ตาเหลื

ง ม
้ ุ
คกำ ตาเหลือกขึ้นมองเหนือศีรษะ เปนตน
ชั ก มื อ กำชั ก ตี น อาการของโรคชนิ
กำ ก อมื อ
ช้ำรั่ว น.โรคทางเดินปสสาวะและอวัยวะสืบพันธุกลุมหนึ่ง เกิดกับผูหญิง ผูปวยมีอาการปวดแสบ
ปวดรอนภายในชอ งคลอดและช อ งทวารเบา กลั้ น ป ส สาวะไม อ ยู เจ็ บ และขั ด ถึ ง บริ เวณ
หัวหนาว ตำราการแพทยแผนไทยวา อาจเกิดจากสาเหตุ ๔ ประการไดแก ๑)เกิดจากการ
คลอดบุตร แลวอยูไฟไมได ทำใหเสมหะ โลหิตเดินไมสะดวก มดลูกเนา ๒)เกิดจากการมีเพศ
สัมพันธมากเกินไป ๓) เกิดจากฝในมดลูก ทำใหมีหนองหรือน้ำเหลืองไหลออกมา และ ๔)
น้ำเหลืองที่เกิดจากทางเดินปสสาวะอักเสบไหลออกมาทำใหเกิดแผลเปอยลามที่ทวารเบา
ปสสาวะไหลกะปริบกะปรอย ปวดแสบขัดหัวหนาว ตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมล
มังคลารามวา สาเหตุหลังนี้เกิดจาก “กิมิชาติ” ดังคัมภีรมุจฉาปกจันทิกา (๒/๓๐๕) ตอน
หนึ่งวา “...จะวาดวยโรคอันเกิดสำหรับสัตรีที่เรียกวาชำรั่วมีอยู ๔ ประการ คือเกิดเพราะ
คลอดบุตรมดลูกเนา ๑ คือเกิดเพราะสองเสพยกับดวยบุรุศเกินประมาณ ๑ คือเปนฝใน

173
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ช้ำรั่ว (ตอ) มดลูกแลเปนบุพโพจาง ๆ เปนน้ำเหลืองดังน้ำคาวปลา ๑ คือเปนเพราะน้ำเหลืองนั้นราย


จึ่งกัดทวารเบานั้นเปอยไฟ แลวใหปศสาวะนั้นหยด ๆ ยอย ๆ ใหปวดแสบนัก ใหขัดหัวหนาว
๑ รวมเปน ๔ ประการ...”.
เช็ด ในที่นี้หมายถึง วิธีการรักษาโดยใชยาที่ปรุงแลว ทำความสะอาดบริเวณที่เกิดอาการภายนอก
หรือตามผิวกาย ไมมี
เชื่อมมัว ๑.น.อาการอยางหนึ่งของผูปวยที่เปนโรคบางชนิดมีลักษณะอาการหนาหมอง ซึม มึนงง ตา
ปรือ คลายจะเปนไข หรือเปนอาการที่เกิดจากพิษไขหรือพิษของโรคบางชนิด
๒.ว.มีอาการเงื่องหงอยมึนซึมคลายเปนไข ตำราการแพทยแผนไทยมักใชคำนี้รวมกับคำอื่นที่
มีความหมายเกี่ยวของกับอาการที่แสดงออกใหเห็นเดนชัด ไดแก เชื่อมซึม เชื่อมมึน และ

ไ ท ย
เชื่อมมัว ดังคัมภีรตักกศิลา (๑๔/๕๑๔) ตอนหนึ่งวา “...ทีนี้จะวาดวยไขหงระทด ใหจับตัว

้าน
รอนเปนเปลว เทาเย็น มือเย็น ใหเชื่อมมัว ไมมีสติสมปฤดี ใหหอบให สอึก...”. คัมภีรประถม

ื้นบ
จินดา (๒/๖๘) ตอนหนึ่งวา”...กาลเกิดขึ้นแตหทัยลงไป ๔ ๕ เวลา ๙ ๑๐ เวลา ก็ดี ใหลง

ละ พ
เปนโลหิตสดสดออกมากอนแลว จึ่งลามลงมาถึงหัวตับ แลหัวตับนั้นขาดออกมาเปนลิ่ม แทง
ย แ
ไท
ใหดำดังถานไฟอุจจาระดังขี้เทา ใหระส่ำระสาย บางทีใหเชื่อมมึมใหมือเทาเยนใหเคลิบเคลิ้ม

ผ น
หาสติมิได แลคนสมมุติวาผีเขาอยูนั้นหามิไดเลย คือไขหมูนี้เองกระทำดุจผีตะกละเขาสิง...”
ย ์แ
และคัมภีรโรคนิทาน (๒/๓๓๐) ตอนหนึ่งวา “...โลหิตพิการใหคลั่งเพอพก ใหรอน เพื่อพิการ

แ พท
มักใหเชื่อมซึม มันขนพิการมักใหตัวชาสากไป...”.

เชื่อมมึน ดูที่ เชื่อมมัว
ากา
ซาง
ัิปญญ
น.โรคเด็กประเภทหนึ่ง มักเกิดในเด็กเล็ก ทำใหมีอาการตัวรอน เชื่อมซึม ปากแหง อาเจียน

ภ ม

กินอาหารไมได ทองเดินมีเม็ดขึ้นในปาก ในคอ ลิ้นเปนฝา เปนตน แบงเปน ๒ ประเภท คือ

ร อง
ซางเจาเรือน และซางจร ทั้งซางเจาเรือนและซางจรจะทำใหมีอาการแตกตางกันตามวันเกิด

ง ค มุ้
ของเด็ก,เขียนวา ทราง ก็มี.
ซางขาวเปลือก
ก อ
น.ซางจรชนิดหนึ่ง เกิดแทรกซางโคอันเปนซางเจาเรือนประจำเด็กเกิดวันพฤหัสบดี ซางชนิด
นี้จะมีแมซาง ๕ เม็ดขึ้นที่กระหมอม กลางหลัง ทองและรักแรทั้งสองขาง แมซางแตละเม็ดมี
บริวาร ๑๐ เม็ด รวม ๕๐ เม็ด ผูปวยมีอาการปากรอนและทองเสีย จากนั้นจะมีอาการมือ
เทาเย็น เมื่อแมซางทยอยเลื่อนไปที่ทองจนครบ ๕ เม็ด บริวารทั้ง ๕๐ ก็จะทยอยขึ้นทั้งตัว
ทำใหเกิดผื่นคันเหมือนคาบขาวเปลือก ผูปวยจะมีอาการทองเสีย อาเจียน ทองอืด มือกำ
เทางอ ลิ้นกระดาง คางแข็ง ดูดนมไมได ถาไมหายใน ๓-๗ วัน อาการจะรุนแรงถึงตายได ดัง
คัมภีรประถมจินดา (๑/๓๒๒) ตอนหนึ่งวา “...ทีนี้จะวาดวยลักขณทรางเขาเปลือก ซึ่งเปน
ทรางจรมาแซกทรางโคเจาเรือนสำรับกันนั้นตอไปใหแพทยทั้งหลายพึงรูโยสังเขปดังนี้ อันวา
ลักขณกำเนิดทรางเขาเปลือกนั้น มีแม ๕ ยอดมีบริวาร ๕๐ ยอด แมทรางขึ้นประจำอยู
กระหมอมนั้นยอด ๑ แมทรางขึ้นประจำอยูกลางหลังนั้นยอด ๑ แมทรางขึ้นประจำอยูนาภี
นั้นยอด ๑ แมทรางขึ้นประจำอยูรักแร ทั้ง ๒ ขางละยอด มีบริวารขึ้นประจำอยูแหงละสิบ ๆ
ยอด ทรางจำพวกนี้เกิดเพื่อกำเดาเมื่อจะบังเกิดนั้นใหปากรอนใหลงทองกอนทรางจำพวกนี้
174
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ซางขาวเปลือก จึ ง มาเกิ ด ขึ้ น มั น ให ตี น ให มื อ เยนแต เจบเปนดั ง นี้ ครั้ ง ๑ แม ท รางที่ อ ยู ใ นกระหม อ มนั้ น
(ตอ) จึ่งเลื่อนลงมาตั้งในนาภีอีกยอด ๑ เปน ๒ ยอดดวยกัน ใหกุมารจบลงอีกครั้ง ๑ แมทรางที่อยู
รักแรขางละยอดนั้น ก็ลงมาตั้งอยูนาภีเปน ๕ ยอดดวยกันขึ้นเปนดัง .....นี้เรียงกันลงมาไต
สดือถึงหัวหนาว อันวาทรางบริวาร ๕๐ ยอดนั้น ก็รายกันไปขึ้นทั้งตัวบางทีใหพรึงขึ้นดังคาย
เขาเปลือกใหคันสนอย ถารูมิถึงก็วาออกหัด บางทีผุดขึ้นดังปานดำปานแดงก็มี บางทีผุดขึ้น
ดังเอาหวายฟาด บางทีผุดขึ้นดังตีดวยนิ้วมือ ดำแดงเขียวก็มี รากนักมักใหลงทองใหทองขึ้น
ใหชักเทากำมือ ใหลิ้นกระดางคางแฃงใหดูดนมมิไดและใหเปนไปใน ๓ วัน ๗ วัน วันที่ ๑
พนกวานั้นเปนอาการทานตัด...”.
ซางโค น.ซางเจาเรือนประจำเด็กเกิดวันพฤหัสบดี เด็กที่ปวยเปนโรคนี้จะมีแมซาง ๔ เม็ด มีบริวาร


๕๐ เม็ด เกิดกับทารกตั้งแตอยูในเรือนไฟ ทารกจะมีไข มีผื่นเหมือนผดขึ้นทั้งตัว แมซางและ
ไ ท
้าน
บริวารจะกระจายขึ้นไปตามอวัยวะตาง ๆ ตามลำดับชวงอายุ ทำใหมีอาการแตกตางกันไป

เชน เมื่อขึ้นไปที่ปากและลิ้นจะทำใหลิ้นเปอย ปากเปอย ไอ ทองเสีย ฯลฯ ซางชนิดนี้อาจ
ื้น
ะ พ
รักษาใหหายไดใน ๑๕ วัน แตถารักษาไมหายอาจมีอาการรุนแรงถึงตายได ดังคัมภีรประถม

ย แ
จินดา (๑/๓๒๐) ตอนหนึ่งวา “...อันวาลักขณทรางโคนั้น มีแม ๔ ยอด บริวาร ๕๐ ยอด ใน

น ไท
เมื่อตั้งอยูในครรภมารดานั้น ขางขึ้นตั้งอยูเหนือสดือขางแรมตั้งอยูไตสดือ เมื่อคลอด จะมี

ย ์แ ผ
เขมาครั้นหลนลงไปทรางจึ่งเกิด ตัวกุมารจะพรึงขึ้นดังยอดผดจะใหปดตัวลงทอง เมื่อได ๓

พท
เดือน แมทราง ๔ ยอดนั้นก็รายกันไปขึ้น ขึ้นที่ปลายลิ้นยอด ๑ ขึ้นอยูตนลิ้นยอด ๑ ขึ้นอยู

า รแ
สองขางลิ้นขางละยอด จึ่งทำใหลิ้น ใหปาก เปอยแลวใหไอ ใหราก เปนกำลัง เมื่อไดหก
าก
ัิปญญ
เดือนทรางยอดเอกซึ่งตั้งอยูปลายลิ้นนั้น ก็เลื่อนลงไปตั้งอยูในนาภี ชายตับทรางบริวารก็ไป
ขึ้นในเภาะเขา ๑๐ ยอด ยัง ๔๐ ยอดนั้นก็ไปตั้งอยูปลายลิ้นแลเพดาน ทรางยอดเอกซึ่งลงไป

ภ ม

ตั้งอยูในนาภีชายตับนั้นก็ทำใหลง ใหราก ใหกระหายน้ำ ถาแพทยวางถูกไปไดถึง ๗ เดือน

ร อง
ทรางยอดเอกที่ตนลิ้นนั้น ก็เลื่นลงไปตั้งอยูริมสดือขางขวา ทรางบริวารก็ไปขึ้นในเภาะน้ำก็

ค มุ้
ทำใหลง ใหราก ใหกระหายน้ำ เมื่อได ๑๐ เดือนทรางเอกที่ขึ้นสองขางลิ้นนั้นก็เลื่อนลงไปตั้ง

ก อ
ในนาภีซาย ขวา ยอด ๑ ทรางบริวารซึ่งเหลืออยู ๓๐ ยอดนั้น ก็ไปขึ้นใสออน ๑๐ ยอดใสแก
๑๐ ยอด ขึ้นหัวเหนา ๑๐ ยอดก็กระทำใหกุมารปวยเจบครั้ง ๑ เมื่อไดขวบ ๑ กับ ๖ เดือน
จะใหตกมูกตกเลือด ใหเปนตาง ๆ...”,ซางวัว ก็เรียก. ดู ซางเจาเรือน ประกอบ
ซางจร น.๑. ซางที่เกิดแทรกขึ้นระหวางซางเจาเรือน ทำใหอาการรุนแรงขึ้น, ซางแทรก ก็เรียก.
๒. ซางที่เกิดตอเนื่องจากซางเจาเรือน ทำใหมีอาการรุนแรงขึ้น เชน ซางกราย เปนซางจรที่
อาจเกิดตอเนื่องจากซางเพลิง ดังคัมภีรประถมจินดา (๑/๒๙๓) ตอนหนึ่งวา “...เมื่อสิ้น
กำหนดทรางเพลิงเจาเรือนแลว ทรางกรายจึ่งผุดขึ้นมาจากกระดูกสันหลังจึ่งตั้งทราง...”.
ซางโจร น.ซางเจาเรือนประจำเด็กเกิดวันเสาร มีแมซาง ๘ ยอด มักเกิดกับเด็กตั้งแตอายุ ๓ วัน
ไปจนถึง ๑ ขวบกับ ๖ เดือน เด็กที่ปวยเปนโรคนี้จะมีอาการแสดงออกที่ปาก ลิ้นและเพดาน
ปากเปนเม็ดยอดสีเหลืองขอบแดง แลวเปอยลามไปทั้งตัว ผูปวยมีอาการทองเดินไมหยุด
อุจจาระมีสีและกลิ่นเหมือนน้ำไขเนา น้ำคาวปลา หรือน้ำลางเนื้อ อุจจาระอาจเปนมูกหรือ
เปนเลือดดวย ซึ่งอาจรักษาใหหายไดใน ๑๗ วัน หากรักษาไมหายอาการอาจรุนแรงขึ้นถึง
175
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ซางโจร (ตอ) ตายได ดังคัมภีรประถมจินดา (๑/๓๖๖) ตอนหนึ่ง “...อันวาลักขณทรางโจรนั้น ขางขึ้น


ตั้งเหนือสดือขางแรมตั้งใตสดือทรางโจรนี้มีแม ๘ ยอด เมื่อออกจากครรภมารดาได ๓ วัน
แมทรางขึ้นในกลางสันหลังแหงกุมารนั้น ๔ ยอด ไปขึ้นในกระหมอมนั้น ๔ ยอด แลเมื่อ
กุมารได ๓ เดือนทรางนั้นก็สำแดงออกมาที่ปากที่ลิ้น นั้นก็ดีที่เพดานก็ดี ตั้งขึ้นเปนเมดเขา
สารหัก ศีเหลืองตีนขอบนั้นแดง แลสำแดงออกนอกตัวลายดังปลายทิง แลทรางจำพวกนี้มี
แมมีตัวดังตัวไร ปากนั้นดำซานอยูทุกขุมขนทั้งตัวกุมารนั้น จำพวกหนึ่งอยูในลำไสตัวยาว
ปากดำดำประมาณเทาเสนดาย จำพวกหนึ่งเกิดขึ้นเปนอุปปาติกใหญเทา ปลายไมมวน คน
สมมติเปนไสเดือนเกิดแกกุมารตั้งแตเดือน ๑ ขึ้นไป เมื่อกุมารได ๖ เดือนทรางนั้นจึงสำแดง
ออกมาใหเปอยเปนขุม ๆ ไปทั่วทั้งตัว แลวจึงกระทำโทษใหลงทองยามิหยุดเลย แลวจึงแม
ทรางที่กระหมอม ๔ ยอดนั้น ก็เลื่อนลงมายอด ๑ มาขึ้นกลางสันหลัง ประจบเขากันเปน ๕

ไ ท ย
ยอด แลวที่ตัวกุมารเปอยนั้นก็หายลงไปเอง เมื่อกุมารได ๙ เดือนแมทรางที่กระหมอมนั้นก็

บ ้าน
เลื่อนลงมาอีกยอด ๑ มาขึ้นในกลางสันหลังบรรจบเขากันกับเกาเปน ๖ ยอดดวยกัน เมื่อ

พ ื้น
กุมารไดขวบ ๑ แมทรางที่กระหมอมนั้นก็เลื่อนลงมาอีกยอด ๑ มาขึ้นในกลางสันหลังบรรจบ

แล
เขากันเปน ๗ ยอด เมื่อกุมารอายุไดขวบ ๑ กับ ๖ เดือนแมทรางที่กระหมอมนั้น ก็เลื่อนลง

ไท
อิกยอด ๑ มาขึ้นในกลางสันหลังบรรจบกันเปน ๘ ยอดพรอมกันแลว ก็จมเขาไปขึ้นรอบสดือ

์แ ผ
ทั้ง ๘ ยอดนั้น ก็กระทำโทษใหลงเปนน้ำไขเนา เปนดังน้ำคาวปลา เปนดังน้ำลางเนื้อก็ดี เปน

พท
มูกเปนเลือดก็ดี ถาแพทยวางยาถูกแลวใหพิจารณาดูกำเนิดทรางโจรซึ่งกระทำโทษนั้นตาง ๆ

ร แ
...”, ซางขโมย ก็เรียก. ดูซางเจาเรือน ประกอบ.

น.ซางเจาเรือนประจำเด็กเกิดวันาศุกกร ซางชนิดนี้มีแมวาง ๘-๙ ยอด มีบริวาร ๘๐ ยอด เกิด
กับเด็กตั้งแตเมื่อออกจากเรือญ
ซางชาง


ขา ชายโครง กลางหลัูมงิปทำใหมีอาการไอ คอแหง เจ็บคอ อาเจียนเปนลมเปลา คอเปอย คัน
นไฟได ๓ เดือน แมซางและบริวารจะขึ้นกระจายไปตามแขน

ทั้งตัวมีแผลพุพอองงภหากขึ้นที่กระเพาะอาหารและลำไสจะทำใหกินอาหารไมได เบื่ออาหาร
ร ก โรคนี้อาจรักษาใหหายไดใน ๑๖ วัน แตถารักษาไมหาย อาจมีอาการ
ทองผูกเปนคพรรดึ
ง ค ุ้ม
ครัก้นอออกจากเรือนไฟได ๓ เดือน จึ่งมีแมทรางขึ้นตั้งอยูในนาภีนั้น ๓ ยอดขึ้นในเพดานนั้น ๒
รุนแรงถึ งตายได ดังคัมภีรประถมจินดา (๑/๒๖๐) ตอนหนึ่งวา “...อันวาลักษณทรางชางนั้น.

ยอด ๓ ยอดบาง ขึ้นในอกนั้น ๓ ยอดเมื่อได ๖ เดือน จึ่งแมทรางอยูในเพดาน ๒ ยอด ๓


ยอดนั้นก็เลื่อนลงมาขึ้นฅอจึ่งมีบริวาร ๘๐ ยอด รายกันมาขึ้นลำขาทั้ง ๒ ขาง ขึ้นหัวเหนาทั้ง
๒ ขาง ขึ้นลำแขนทั้ง ๒ ขาง ขึ้นขางโครงแลกลางสัน...”. ดู ซางเจาเรือน ประกอบ.
ซางแดง น.ซางเจาเรือนประจำเด็กเกิดวันอังคาร เด็กที่ปวยเปนโรคนี้จะมีเม็ดยอดที่เปนแมซาง ๖ เม็ด
ขึ้นที่กระหมอม ๓ เม็ด กลางสันหลัง ๓ เม็ด และมีเม็ดยอดที่เปนบริวาร ๗๒ เม็ด แมซาง
ยอดเอกจะมีสีแดง หากเกิดที่สันหลังจะมีอาการแสดงออกที่คอ คาง ขาหนีบ รักแร และ
ทวารหนัก ทำใหเด็กที่ปวยมีอาการทองเสีย อาเจียน กระหายน้ำ เชื่อมมึน ไอ ผอมเหลือง
กินอาหารไมได ถายอุจจาระเปนมูกเลือด ซึ่งอาจรักษาใหหายไดใน ๑๓ วัน เมื่อรักษาหาย
แลวอาจกลับมาเปนใหมไดอีก แตถารักษาไมหายจะมีอาการรุนแรงขึ้น ซางชนิดนี้โบราณจัด
เปนซางที่มีพิษมาก แบงเปน ๒ ประเภท คือ ซางแดงตัวผู และซางแดงตัวเมีย และวา
176
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ซางแดง (ตอ) ซางแดงตัวผูมีพิษรายแรงมาก รักษายาก ดังคัมภีรประถมจินดา (๑/๒๔๘) ตอนหนึ่งวา


“...ลักษณทรางแดงนี้มีแมนั้น ๖ ยอด อยูในกระหมอม ๓ ยอด อยูกลางสันหลัง ๓ ยอดมี
บริวารอยู ๗๒ ยอดเมื่ออยูในเรือนไฟหาเขมามิไดเหตุวาแมทรางนั้นเลื่อนขึ้นมาเกิดเพดาน
ขางบนนั้น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ยอดก็ดี จึ่งไมมีเขมาในเรือนไฟ ครั้นออกไปแลวจึ่งเขมาตานทรางนั้น
มีมา ครั้นถวน ๓ เดือนแมทรางจึ่งลงมาจากกระหมอมยอด ๑ ขึ้นสันหลังยอด ๑ เปน ๒
ยอดดวยกัน จึ่งสำแดงออกมาที่ฅอ คาง ขาหนีบ รักแร ขางนอกแลทวารหนักก็ดี ยอดนั้น
แดงคือทรางแดงสำแดงออกมาใหลำบากแกกุมารแกกุมารีทั้งปวง จึ่งทำใหลงใหราก ให
กระหายน้ำแลใหเชื่อม ใหมึน มีพิศม ใหไอแลใหฅอแหง ใหผอมเหลืองใหตกมูกเลือดกินเขา
กินนมมิได ถาแพทยเหนดังนี้แลวใหพิจารณาดูใหรูจักวาตัวผูตัวเมีย แลลักษณเปนแลตายดี
แลรายทั้งปวง...”. ดู ซางเจาเรือน ประกอบ.

ไ ท ย
้าน
ซางนางริ้น น.ซางจรชนิดหนึ่ง เกิดแทรกหรือเกิดตอจากซางโจรอันเปนซางเจาเรือนประจำเด็กเกิด

วันเสาร ซางชนิดนี้มีแมซาง ๔ เม็ด มีบริวาร ๕๖ เม็ด เกิดไดกับเด็กตั้งแตออกจากเรือนไฟ
ื้น
ะ พ
แมซางแตละเม็ดและบริวารจะทยอยรานขึ้นตามอวัยวะตาง ๆ ของรางกายตามชวงอายุ

ย แ
ทำใหเกิดอาการแตกตางกันไป เชน เมื่อผูปวยอายุได ๓ เดือน แมซางและบริวารจะไปขึ้นที่

น ไท
คอ ทำใหคอแหง ลิ้นขาว ดูดนมไมได ซางชนิดนี้อาจเกิดแทรกซางอื่นไดทุกซาง ดังคัมภีร

ย ์แ ผ
ประถมจินดา (๑/๓๗๖) ตอนหนึ่งวา “...อันวาลักษณทรางนางลิ้นนั้นมีแมยอด ๔ ยอด

พท
มีบริวารนั้น ๕๖ ยอด ตั้งแตกุมาร ออกจากเรือนเพลิง บางทีขึ้นทรากทรางโจรบางทีตอลิ้น

า รแ
ทรางโจร จึ่ ง ตั้ ง ขึ้ น อยู ส ดื อ นั้ น ยอด ๑ บริ ว ารมาขึ้ น ด ว ย ๘ ยอดขึ้ น อยู ท รวงอกนั้ น ยอด
าก
ัิปญญ
๑ บริวารมาขึ้นดวย ๑๒ ยอดขึ้นอยูลิ้นนั้นยอด ๑ บริวารมาขึ้นดวย ๑๖ ยอด รายกันลงมา
ตามลำคอถึงทรวงอก ขึ้นอยูทรวงอกนั้นยอด ๑ บริวารมาขึ้นดวย ๒๐ ยอด รายกันไปขึ้น

ภ ม

ตามหัวเหนาแลไสออน ไสแก เมื่อกุมารได ๓ เดือนแมทรางอันอยูในลำคอนั้นกระทำใหฅอ

ร อง
แหง ใหลิ้นนั้นขาวดูดนมมิได เมื่อกุมารได ๖ เดือนบริวารทรางขึ้นลิ้นไก ๓ ยอดนั้น กระทำ

ค มุ้
ใหไอเปนกำลัง บริวารทรางทั้งนั้นก็รายกันลงไปบรรจบเอาแมทรางที่อยูทรวงอกนั้น แลว

ก อ
จึงกระทำใหกระหายน้ำ ใหคอนั้นแหงใหเชื่อมหลับตามไป บริวารทรางซึ่งอยูในทรวงอกนั้น
ก็รายกันมาถึงชายโครง ชายตับ บรรจบกันกับแมทรางที่อยูในสดือนั้น กระทำใหตกมูก
ตกเลือดสด ๆ ออกมา บางทีใหเปนเสมหะ เปนโลหิตเนาออกมาบาง แลวก็ใหตับหยอน
ลงมายอยชายโครง ใหจับเปนเวลาใหตาแดงเปนสายโลหิต ถาวางยาผิดตายถาวางยาถูกเขา
คอยงดตอไป เมื่ออายุกุมารไดขวบ ๑ กับ ๖ เดือน ทรางที่ในเภาะเยี่ยวนั้นก็กระทำใหขัดเบา
บางทีเบาตกออกมาดังน้ำเขา ดังดินสอพอง ก็มีดังน้ำหนองก็มี ใหเจบปวดดิ้นเสือกไป มาให
เบานั้นหยด ๆ ไป บางทีใหฟกขึ้นที่ปลายองคชาต บางทีใหฟกขึ้นที่หัวเหนา ใหเปนหนอง
แลหนองนั้นก็กลายเปนปรวดเขาคือลูกนิ่วบา...”. ดู ซางจร ประกอบ
ดาน ว.แข็ง แนน, เรียกสิ่งที่มีลักษณะแข็งเปนดานอยูในทอง เชน ดานเลือด ดานลม
ดานกระษัย ดูที่ กระษัยดาน
ดานตะคุณ ชื่อโรคดานชนิดหนึ่ง

177
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ดานเถา ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีกองลมเปนลำแข็งตั้งขึ้นที่ยอดอก แลวลามไปถึงทองนอย ทำใหอาการ


แนนหนาอก จุดเสียด เจ็บปวดมาก
ดานทะลุน ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคเปนตอเนื่องมาจากโรคดานเถาแลวกลายเปนดานกระษัย
ดานทักขิณคุณ ชื่อโรคดานชนิดหนึ่ง มีอาการแนนในอก แข็งแนนลงไปถึงทอง ทำใหจุกเสียดและปวดทอง
มาก บริโภคอาหารไมได หาก อาการแนนลงไปถึงหัวหนาวเมื่อใด ตายเมื่อนั้น
ดานพืช อาการของโรคชนิดหนึ่ง มีอาการเสนเอ็นในรางกายแข็งแนนเปนแผนอยูที่หนาอก ขยับหรือ
เคลื่อนไหวตัวไมได
ดานเสมหะ อาการแข็งในทองในเด็ก ทำใหมือเทาเย็น อาเจียน ทองเสีย ตัวรอน ถาเปนมากชักตาตั้งอาจ
ถึงตายได ถาเปนในผูใหญมีอาการเสมหะแหงที่หนาอกและคอ

ไ ท ย

ตกมูกตกเลือด ก.อาการที่ถายอุจจาระมีมูกและเลือดปน, ตกมูกตกเลือด ก็เรียก
บ น้าที่แรกบังเกิดโรคใน
ตรีสมุฏฐาน สมุฏฐานทั้ง ๓ คือ ดี ลม และเสมหะ ( ปตตะ วาตะ เสมหะ) อันเป
ะ พ ื้น
รางกาย ๓ อยาง
แ ล
ย เกิดจากสาเหตุแตกตางกันไป
ตอ น.โรคอยางหนึ่งเกิดที่ลูกตาอาจทำใหตาพิการหรือตาบอดได
ไท
โดยทั่วไปผูปวยมักเกิดความรำคาญ มีอาการตามัว นมองเห็นไมชัด ตำราแพทยแผนไทยวา มี

หลายชนิ ด เช น ต อ หมอก ต อ แนะ ต อ ฝ ตยอ์แวาโย ต อ ลิ้ น สุ นั ข ต อ ก น หอย ต อ สลั ก ต อ
กงเกวียน ตอแกว ตอเนื้อ ตอแววนกยูง ตพอทหมอก ตอลาย ตอกระจก ตอหิน ตอมะเกลือ ตอ
ไฟ ตอหูด ตอสีผึ้ง ตอขาวสาร. การ

น.โรคตอชนิดหนึ่ง เริ่มตนเกิดญ

ิูมปัญ นเยื่อสีเนื้ออมแดงปกคลุมตาดำ ทำใหตาแดง ปวดเคือง และ
ตอเนื้อ จากหัวใจ ผูปวยมีผื่นแดง ๆ ขึ้นเปนแผนเล็ก ๆ ที่บริเวณหัวตา

ฟกบวม ลืมตาไมอขงึ้นภเปนตน
หรือหางตานานเขาจะกลายเป

ค รหนึ่ง มีอาการเปนเม็ดผุดขึ้นในลูกตาดำคลายเม็ดสาคู เปนสีขาวขุน ทำให


ตอลำใย
ง คสุ้มวนใหญจะขึ้น ทีละขาง มีอาการปวดตาบางเล็กนอย สมุฏฐานเกิดจากทองนอย
ชื่อโรคตาชนิ
เมื่ออยตา

ตอสาย

ชื่อโรคตามี ๒ ชนิด คือ ตอสายฟาฟาด และตอสายโลหิต ตอสายฟาฟาด อาการของโรคเกิด
เร็วมาก เปนเยื่อสีขาวพาดผานนัยนตาดำจากซายไปขวา หรือจากขวาไปซาย ขยายตัวเร็ว
ทำใหตาแดงเปนจุดๆ น้ำตาไหลและบวม สมุฏฐานเกิดเพื่อกำเดาหรือไขพิษ ตอสายโลหิต
อาการของโรคเกิดจากเขมนตาถี่ ๆ นัยนตา ขาวเปลี่ยนเปนสีแดงเขม มีเสนโลหิตขึ้นเห็นเปน
เสนเล็ก ๆ เต็มลูกตา กับมีเม็ดเล็กๆ เหมือนเม็ดทรายขึ้นตามเสนโลหิตนั้น นานวันตุมเลือด
จะโตขึ้น เสนเลือดก็ใหญขึ้น และแดงจัดมาก สมุฏฐานเกิดเพื่อกำเดา
ตอหมอก น.โรคตอชนิดหนึ่ง เกิดจากโลหิต(เมื่อเกิดระหวางเดือน ๕-๘) หรือกำเดา (เมื่อเกิดระหวาง
เดือน ๙-๑๒) บวมที่นัยนตา มีฝาสีขาวปกคลุมตาดำ ดังคัมภีรอภัยสันตา (๒๐/๓) ตอนหนึ่ง
วา “...จะกลาวถึงกำเนิดของตอหมอกอันมีประเภทตาง ๆ ตามอาจารยกลาวไววา เดือน ๕
เดือน ๖ เดือน ๗ เดือน ๘ นั้นเกิดเพื่อโลหิต เดือน ๙ เดือน ๑๐ เดือน๑๑ เดือน ๑๒ นั้น

178
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ตอหมอก (ตอ) เกิดเพื่อกำเดา เดือน ๑ เดือน ๒ เดือน ๓ เดือน ๔ เกิดเพื่อเสมหะระคนกัน ทานใหวางยา


ขับโลหิตออกเสียกอน แลวจึงใหยาประจุ...”.
ตะคริว,ตะคิว น.อาการหดเกร็งตัวของกลามเนื้อ และคางอยูทำใหกลามเนื้อขาดเลือด เกิดอาการเจ็บปวด.
ตับทรุด ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคเกิดจากลมลงโดยแรง ตกจากที่สูง หรือเด็กตกจากเปล หรือ
ถูกฟดฟาดโดยแรง ทำใหเปนไขซาง ละออง หละ หรือธาตุสมุฏฐานในรางกาย ผิดปกติ
วิปริต ทำใหตับเคลื่อนที่ หรือตับหยอน ทำใหเกิดเจ็บปวยขึ้น
ตับยอย ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการดุจตับทรุด
ตับเรื้อย ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการดุจตับทรุด


ตับหยอน ดูที่ ตับทรุด
ไ ท
้าน
ตัวรอนเปนเปลว ในที่นี้หมายถึง มีอาการไขตัวรอนจัดมาก
ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคทำใหตาแหง ไมมีประกาย มองเห็ื้นนบไมชัด

ตาขลัวน้ำตา
แหง
แล ะ
อาการของโรคตาอยางหนึ่ง นัยนตาบวม แดง มีขี้ตทา ย
ตาช้ำ
น ไ
น. ตานที่เกิดกับเด็กที่มีอายุตั้งแต ๕-๖ ขวบ์แผเปนตนไป จนถึง ๗ ขวบ แพทยแผนไทยเชื่อวา
ตานโจร
มักเกิดจากการกินอาหารอันทำใหเกิดท ย ในรางกายอาการหลายอยาง เชน ลงทอง ธาตุ

วิปริต ชอบกินของสดของคาว รกิแนอาหารไดนอย อุจจาระเหม็นคางจัด อุจจาระกะปริด
พยาธิ

กะปรอยหรือเปนมูกเลือด าบางที กา เลือดออกสด ๆ ทำใหเด็กซูบซีด เมื่อเปนนานประมาณ


๓ เดือน จะมีอาการลงท ัิปญญอง ตกเลือดดั่งน้ำลางเนื้อ ปวดมวนเปนมูกเลือด ดากออก ตัวผอม
ภ ม

ง างหนึ่ง ทำใหมองไมเห็น ไมชัด หรือเหมือนมีมานบังไว
เหลือง, ตานขโมยก็ เรียก.

ค ร อ

้ ุ
ตาเปนหมอกมัว อาการของโรคอย
ง ค
กอตามองเห็นไมชัด หรือมองไมเห็น
ตามืด ว.ลั ก ษณะอาการที ่ตามองไมเห็นชั่วขณะ.
ตามืดมัว
ตาริดสีดวง ชื่อโรคอยางหนึ่ง มีอาการเหมือนฝ เปนเม็ดตั้งที่ขอบนัยนตา หรือภายในดวงตา บางทีเรียก
วา ฝในตา ผูปวยมีอาการน้ำตาไหลตลอดเวลา มีขี้ตา คันตา ปวดแสบปวดรอนในตา อาจมี
แผลเปอยตามขอบตา
ตาหมอก น.นัยนตาที่มีฝาสีขาว หรือฝามัวปกคลุมตาดำ หรือเปนสีเทาแกอยางสีเมฆ ทำใหมองเห็นไม
ชัด
ตีนมือตาย ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคทำใหไมสามารถเคลื่อนไหวมือ เทา หรือสวนตาง ๆ ของ
รางกายได
เตโชธาตุ ที่เกิดแหงโรคตามอาการของธาตุไฟ อันมีอยูในรางกาย ซึ่งผันแปรผิดปกติไปตาง ๆ ดูเพิ่ม
สมุฏฐาน เติมที่ ธาตุ และสมุฏฐาน
179
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

เถา ชื่ อ โรคชนิ ด หนึ่ ง อาการของโรคมี อ าการเส น เอ็ น ในร า งกายแข็ ง แน น เป น ก อ น เป น แผ น
เปนตน
ทรางโคเจาเรือน ชื่อโรคซางชนิดหนึ่ง เปนซางเจาเรือน ประจำเด็กเกิดวันพฤหัสบดี มีแมซาง ๔ ยอดขึ้นแข็ง
ดังตาปลาที่โคนลิ้น ปลายลิ้น ขางลิ้น มีบริวาร ๔๐ ขึ้นในปาก กระเพาะ อาหาร ทำใหมี
อาการเปนไข ตัวรอน กระหายน้ำ อาเจียน มือเทาเย็น หอบ ลงทอง ตกโลหิต ซูบผอม
เปนตน ดูเพิ่มเติมที่ แมซาง
ทรางโจร ชื่อโรคซางชนิดหนึ่ง เปนซางเจาเรือน ประจำเด็กเกิดวันเสาร มีแมซาง ๙ ยอด ขึ้นตามสวน
เจาเรือน ตาง ๆ ของรางกาย มี ลักษณะสัณฐานตางๆ กัน เชน ขึ้นที่ปากและเหงือก จะมียอดสีเหลือง
จัด ถาขึ้นที่สะดือ จะมียอดแหลม ตรงกลางเปนสีดำ ขอบโดยรอบเปนสีเหลืองและแดง
เปนตน และมีปวดมวนทอง ปอมเหลือง และครานน้ำ เปนตน จัดเปนโรคซางที่มีพิษรายมาก
ไ ท ย
้าน
และอาจจะบังเกิดแทรกได ทุกซาง ดูเพิ่มเติม แมซาง

ื้นบ

ทองมาน, น.ชื่อโรคจำพวกหนึ่งมีอาการใหทองโตอยางหญิงมีครรภ
ทองมาร
แล ะ
อาการของโรคชนิดหนึ่ง มีอาการลงทองหรือทองเสีย ทขณะเดี
ไ ย ยวกันก็มีการอาเจียน เกิดขึ้น

ทั้งลงทั้งราก
พรอม ๆ กัน
ย ผ
์แเกิดกับผูชาย ผูปวยมีอาการปวดหัวเหนา

เจ็บขัดแสบองคชาตเวลาถายปสสาวะรแน้ำพปสสาวะอาจมีสีและลักษณะตางกันได ๔ แบบ คือ
ทุราวสา น.๑.ความผิดปรกติของน้ำปสสาวะพวกหนึ ่ ง
า ายน้ำขมิ้นสด สีแดงคลยน้ำฝาง และสีดำคลายน้ำครำ
สีขาวขุนคลายน้ำขาวเช็ด สีเหลืาอกงคล
ดังคัมภีรมุจฉาปกขันทิกา ัญ ญ ตอนหนึ่งวา “...ทีนี้จะวาดวยทุลาวะสา ๔ ประการ คือ
ิป คือน้ำมูตรเมื่อออกมานั้นขาวขนดังน้ำเขาเชด ถาเหลืองดังน้ำ
(๒/๒๙๔)
วาดวยน้ำปสสาวะ ๔ูมประการ
อง ภ

ค ใหสะบัดรอนสะบัดหนาวเปนเวลา...”.เขียนทุราวสา หรือทุราวะสา ก็มี.
ขมิ้นสด ถาเปนโลหิ ตสด ๆ ก็ดีแดง ดังน้ำฝางตมก็ดี ดำกังน้ำครามก็ดี ยอมใหปวดหัวเหนา

้ ุ
ค กปรกติของน้ำปสสาวะ ๓ จำพวก คือ ความผิกปรกติของน้ำปสสาวะที่เกิดเฉพาะ
ใหแสบองคชาต

ทุราวสา ๑๒
ก อ
น.ความผิ
ในผูชาย ซึ่งมี ๔ ประเภท (น้ำปสสาวะสีขาวขุนคลายน้ำขาวเช็ด สีเหลืองคลายน้ำขมิ้นสด
สีแดงคลายน้ำฝาง และสีดำคลายน้ำครำ) จำพวกหนึ่ง, ที่เกิดไดทั้งผูชายและผูหญิงอีก
๔ ประเภท (มุตฆาต ๔) จำพวกหนึ่ง, และที่เกิดเฉพาะในผูหญิงอีก ๔ ประเภท (มุตกิด ๔)
อีกจำพวกหนึ่ง, ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (๔/๓๗) ตอนหนึ่งวา
“...ทุราวสา ๑๒ นั้น คือน้ำปสสาวะ ๔ มุตคาด ๔ มุตกิด ๔ เปน ๑๒ ประการดังนี้...”.
๒.คัมภีรการแพทยแผนไทยฉบับหนึ่ง ไมปรากฏชื่อผูแตง มีเนื้อหาสำคัญวาดวยความผิด
ปรกติชองน้ำปสสาวะ และยาที่ใชแก.
โทษ น.ความผิดปรกติอันเกิดจากการเสียสมดุลของกองสมุฏฐานปตตะ วาตะ และเสมหะ.
โทษดี ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคเกิดจากดีในรางกายผิดปกติหรือพิการ

180
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

โทษสันนิบาต อาการของโรคเกิดจากธาตุ ๓ กองในรางกาย คือ น้ำดี เสลด และ ลม ผิดปกติ เกิดเปนโทษ


ขึ้นพรอม ๆ กัน ทำใหรางกาย เปนไข พิษของไข มีอาการหนาวสั่น และเพอ เปนตน
โทษเสมหะ อาการของโรคเกิดจากเสมหะในรางกายผิดปกติ หรือพิการ
ธาตุ(ทาด) น.สิ่งที่ถือวาเปนสวนสำคัญที่ประกอบกันเปนรางของสิ่งทั้งหลาย ตามหลักวิชาการแพทย
แผนไทยโดยทั่วไปวา มี ๔ ธาตุ เรียด ธาตุ ๔ ไดแก ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม และธาตุไฟ
แตอาจมีธาตุที่ ๕ คือ อากาศธาตุ สวนการแพทยพื้นบานลานนาวา มี ๕ ธาตุ คือ ธาตุดิน
ธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ และอากาศธาตุ, ตามหลักวิชาการแพทยแผนจีนวา มี ๕ ธาตุ ไดแก
ธาตุไม ธาตุไฟ ธาตุดิน ธาตุทอง และธาตุน้ำ, ตามหลักวิชาดั้งเดิมของพราหมณวามี ๓ ธาตุ
คือ ธาตุลม ธาตุไฟ และธาตุดินหรือธาตุน้ำ, ตามหลักวิชาการแพทยอายุรเวทวา มี ๕ ธาตุ

ไ ท ย
เรียก ปญจมหาภูต ไดแก ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ และอากาศธาตุ, ตามหลักวาการ

้าน างใดอยางหนึ่ง
แพทยยูนานิวามี ๔ ธาตุ ไดแก ธาตุไฟ ธาตุน้ำ ธาตุดิน และอากาศธาตุ เหลานี้ เปนตน.

ื้นบ

ธาตุแปร ธาตุทั้งสี่ หรือธาตุใดธาตุหนึ่งในรางกายเปลี่ยนแปลงหรือกลับกลายไปอย
ธาตุวิปริต ธาตุในรางกายมีการเปลี่ยนแปลง ผันแปรผิดปกติ ซึ่งจะเป
แล ะนเหตุใหเกิดโรคตาง ๆ ตามกอง
ไท ย
ไดนแก ปถวีธาตุสมฏฐาน ธาตุดินเปนที่ตั้งหรือที่
ธาตุกองธาตุที่ผิดปกติไปนั้น
น.ธาตุทั้ง ๔ เปนที่ตั้งหรือที่แรกเกิดของโรค ผ
ธาตุสมุฏฐาน
์แ
แรกเกิดของโรค อาโปธาตุสมฏฐาน ธาตุทนย้ำเปนที่ตั้งหรือที่แรกเกิดของโรค วาโยธาตุสมุฏฐาน
ร แ พ และเตโชธาตุสมุฏฐาน ธาตุไฟเปนที่ตั้งหรือที่แรกเกิด
กา เปน ๔๒ ประการนั้น (ดิน ๒๐, น้ำ ๑๒, ลม ๖, ไฟ ๔)
ธาตุลมเปนที่ตั้งหรือที่แรกเกิดของโรค

ญอลงเหลือเพียง ๓ กองสมุฏฐาน เรียกวาสมุฏฐานปตตะ สมุฏฐาน
ของโรค ธาตุทั้ง ๔ ซึ่งจำแนกได
แพทยแผนไทยพิจารณาย ญ

ิป ดูสมุฏฐาน ประกอบ
ง ภ
วาตะ และสมุฏฐานเสมหะ.ม

น้ำจิต

ในที่นี้หมายถึ รอ ง จิตใจ
ในทีค่นุ้มี้หมายถึง อาการโรคทำใหน้ำลายเปนฟองฟูลมปาก
น้ำลายฟด
อ ง
ก ชื่อโรคอยางหนึ่ง มีน้ำอยูในชองหู ซึ่งมีอาการอักเสบ มีกลิ่นเหม็น อาจมีลักษณะใสเปนมูก
น้ำหนวก
ขน หรือเปนหนอง
น้ำเหลือง น. ของเหลวที่ไหลมาจากเนื้อเยื่อของรางกาย เขาสูหลอดน้ำเหลือง, ของเหลวสีเหลืองใสที่
ไหลออกมาทางแผล
เนื้อชาสาก อาการของโรคชนิดหนึ่ง เนื้อตัวตายผิวหนังไมเรียบ เมื่อสัมผัสจะระคายเหมือนกานบัว ไมมี
ความรูสึก เคลื่อนไหวไมได
บำรุงธาตุ ก.๑. รักษาใหธาตุทั้ง ๔ ในรางกายอยูในสภาพที่ดังคัมภีรประถมจินดา (๓๓/๙๐) ตอนหนึ่ง
วา “...บุคคลที่เกิดมาในโลกนี้ เหตุที่จะบังเกิดโรคทั้งปวงนั้น ก็เพราะธาตุทั้ง ๔ ไมบริบูรณ
ธาตุทั้ง ๔ นั้นปรวนแปรไปกอน โรคตาง ๆ จึงเกิดขึ้นในภายหลัง ทานใหแตงบำรุงธาตุไวให
เปนปรกติโรคจึงจะไมเกิดขึ้น...”. ๒.ทำใหระบบยอยอาหารทำงานไดดีขึ้น คำ “ธาตุ” ในที่นี้

181
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

บำรุงธาตุ (ตอ) หนายถึง ธาตุไฟสำหรับยอยอาหาร (ปริณามัคคี) สมุนไพรหรือเครื่องยาที่มีสรรพคุณ บำรุง


ธาตุสวนใหญมักมีรสเผ็ดรอน เชน เบญจกูล.
บำรุงไฟธาตุ การทำใหไฟธาตุในรางกายสมบูรณ ดูเพิ่มเติมที่ ธาตุ
บำรุงเลือด ๑.ก.ทำใหเลือดมากขึ้นหรือดีขึ้นดังคัมภีรมหาโชตรัต (๒/๒๔๘) ตอนหนึ่งวา “...ถาแลกินยา
ขับโลหิตเขาไปแลวไซ โลหิตแจงไป ขับไมออกเลย ถาแพทยผูใดจะวางยาชำระลางทองเสีย
กอน แลวจึ่งใหแตงยา ปลุกไฟธาตุขึ้นใหปรกติแลว จึ่งบำรุงโลหิตขึ้นเถิด...”. ๒. ว. ซึ่งทำให
เลือดมากขึ้นหรือดีขึ้น ดังคัมภีรมหาโชตรัต (๑๔/๓๗๓) ตอนหนึ่งวา “...ถาแพทยผูใดจะ
รักษาสตรีภาพไปเมื่อหนา ถาแลหญิงจำพวกใดตั้งแตอายุได ๑๔ ป ๑๕ ป แลวยังไมมีระดูมา
ก็ดี ลางทีมีระดูมาแลวกลับแหงไปก็ดี ทานใหแตงยาบำรุงไฟธาตุเสียกอน ใหธาตุทั้ง ๔
บริบูรณพรอมแลว จึงแตงยาบำรุงโลหิต ใหโลหิตนั้นชุมออกมา...”.
ไ ท ย
บิดลงเลือด
้าน
ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการปวดมวน ถาย อุจจาระเปนมูกเลือด มีน้ำเมือกและเลือดในลำไสติด

ออกมา
ะ พ ื้น
บุพโพ น.น้ำหนอง เปนองคประกอบ ๑ ใน ๑๒ สิ่งของธาตุน้ำ
แล
ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการปสสาวะเปนสีขาวขุน ดูเพิ่มเติไทมทีย่ ทุราวสา
เบาขาว

ชื่อโรคไขกาฬชนิดหนึ่ง พิษของโรคทำใหมีเม็ดผุ์แดขึผ้นเต็มตัว มีอาการตัวรอน ปวดตามเนื้อตัว
ประกายดาษ
กระดูก ศีรษะ ลิ้นกระดาง คางแข็ง เปนตพนท

า รแ ่ง ผูปวยมีอาการทองรวง อาเจียน และอาจมี
ปวง ก
มดาวย มักเกิดจากการกินอาหารผิดสำแดง คัมภีรฉันทศาสตร
น.กลุมโรคระบบทางเดินอาหารประเภทหนึ
อาการทางระบบประสาทรวญ
ิูมปัญ ตามอาการที่แสดงออก ไดแก ปวงงู ปวงลิง ปวงศิลา ปวงลูก
แบงปวงออกเปน ๘ ประการ
นก ปวงเลือด ปวงงน้ภ
รอ บอกใหแพทยพึงรู พิจารณาดูโยกิริยา ไขมีมาตาง ๆ กัน อยาสำคัญวา
ำ และปวงโกฐ ดังคัมภีรฉันทศาสตร (๑๘/๒๔) ตอนหนึ่งวา “...ตำรา
ปวงประการแปด
ปศาจ คเหตุ

ุ้มเพราธาตุตองลำแลง ทานใหแบงเปนสี่ ตามคัมภีรพระอภิธรรม คือดินน้ำลมไฟ

กอ นสอง กระแสคลองธรรมดาสังขาราขัยและวัย จึ่งนับไดแปดประการ ชื่อของ
แยกออกไปเป
ทานจงรู คือปวงงูมักกะฎา ลมศิลานก โลหิต น้ำ โกฐคิดเจาเปนแปด แมนผูแพทยจะรักษา
ดูกิริยาอาการ...”. บางตำราวาปวงมี ๕ ประการ ๗ ประการ และ ๑๒ ประการ, ลมปวง
หรือปวง ๘ จำพวก ก็เรียก
ปวงลม น.โรคปวงชนอดหนึ่ง ผูปวยมีอาการปวดเสียดทอง ทองเดิน จุกอก อาเจียนเปนน้ำลาย กระ
สับกระสายรองครวญคราง ดังคัมภีรฉันทศาสตร (๑๘/๒๔) ตอนหนึ่งวา “...ปวงลมแปร
หลายอยาง เสียดสีขางลงไมมาก จุกอกรากออกน้ำลาย กระวนกระวายรอนรอง สี่ยามตอง
ตามตำแหนง ขาตาแดงฝนไว น้ำปูนใสเปนกระสาย ถวยเดียวหายเหมือนวา...”.
ปวงหิว ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เกิดเพราะธาตุในรางกายไมปกติ พิษของโรคทำใหเกิดอาการตัวเย็น เปน
เหน็บ เหงื่อตกมาก ลงทอง และ อาเจียน ใจหวิว สั่น เปนตน

182
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ปวดศีรษะปะกัง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการปวดหัวเวลาเชา ๆ


ปะโครงแลอก กระทบกระดูกสีขางและอก
เสียด อาการของโรคชนิดหนึ่งทำใหรูสึกเจ็บแทรกเขาไปในสวนของรางกาย
ปตคาด ,ปตฆาต น.๑.เสนที่มีจุดเริ่มตนบริเวณขอบเชิงกรานดานหนา แลนถึงตาตุม เสนดานบนจะแลนไปทาง
ดานหลัง ขึ้นขางกระดูกสันหลัง (ถัดออกมาจากเสนรัตตฆาต) ถึงบริเวณตนคอ ทายทอย
ขึ้ น ศี ร ษะ แล ว ลงมาที่ แขน เส น ที่ อ ยู ด า นขวา เรี ย กเส น ป ต ฆาตขวา เส น ที่ อ ยู ด า นซ า ย
เรียก เสนปตฆาตซาย สวนเสนดานลางจะเริ่มจากบริเวณหนาขา แลนลงมาถึงตาตุมดานใน
เรี ย ก เส น ป ต ฆาตใน ส ว นด า นนอกเริ่ ม จากบริ เวณสะโพก แล น ลงมาถึ ง ตาตุ ม ด า นนอก
เรียก เสนปตฆาตนอก. ๒.โรคลมชนิดหนึ่งผูปวยมักมีอาการปวดเมื่อยตามแนวเสนปตฆาต

ท ย
เคลื่อนไหวไมสะดวก ดังคัมภีรแผนนวด (๒/๙๖) ตอนหนึ่งวา “...ชื่อวาลมปตฆาฎก็วาผูนั้น

้าน
มักนั่งนัก ลุกนั่งมิไดก็ดี ใหแกเสนเอนทั้ง ๒ แลแกเสนแถวหลังทั้ง ๒ แลแกเสนบั้นเอวทั้ง

พ ื้น
๒ ขาง ชื่อวาลมแถกกลออมนั้น ใหแกหัวเหนาแลทองแลรอบสดือ แลบั้นเอวแลสันหลังนั้น

แ ล
คลายแล...”. ลมปตฆาต ก็เรียก, เขียนวา ปตคาด ปฏฆาต ปตะฆาฎ หรือ ปตฆาฏ กมี.
ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการปสสาวะเปนสีแดง ดูเพิ่มเติทมยที่ ทุราวสา
ปสสาวะแดง
น ไ
อาการของโรคชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นภายนอกตามผิผวกาย มีอาการเปนแผลที่ยุยงายกินไปในเนื้อดี
เปอยลาม
ย ์แ
อยูตลอด ไมมี
พ ท

เปอยออกเปน อาการของโรคชนิดหนึ่ง มีเม็ดผุาดรขึ้นตามผิวกายเปนเม็ดหนองผิวเนื้อยุย
า ก
ัิปญ่ง ญมีเม็ดเล็ก ๆ ขึ้นเปนผื่นตามผิวหนัง มักเกิดในเวลาที่มีอากาศรอน
ขุม
ผด


น.โรคผิวหนังชนิดหนึ
ง ภ
รอ แบะออก, แยกออก.
อบอาว มีอาการคั น
ก.เปด;คระบายออก;
คุ้ม
ผาย

ก ง
ผิวเนื้อชาสาก ออาการของโรคชนิ ดหนึ่ง เนื้อตัวตายผิวหนังไมเรียบ เมื่อสัมผัสจะระคายเหมือนกานบัว ไมมี
ความรูสึก เคลื่อนไหวไมได
แผนปลิง น.ตำแหนงตาง ๆ บนรางกายที่กำหนดไวใหวางปลิงเพื่อใหดูดเลือดออก สำหรับบำบัดโรค
หรืออาหารบางอยางแบงเปนตำแหนงตางๆ ที่อยูดานหลัง เรียก แผนปลิงคว่ำ และตำแหนง
ตาง ๆที่อยูดานหนา เรียก แผนปลิงหงาย.
ฝ น.โรคฝกลุมหนึ่ง ทำใหเกิดไขพิษ แบงออกเปน ๑๐ ชนิด คือ ฟองสมุด เลี่ยมสมุทร ทาม
สมุทร ทามควาย ละลอกแกว กาลทูม กาลทาม มะเร็งตะมอย มะเร็งปากทูมและมะเร็งเปลว
ไฟฟา ดังคัมภีรตักกศิลา (๑/๗๔) ตอนหนึ่งวา “...ที่นี้พระผูเปนเจาจะแสดงซึ่งฝกาลจะมา
บังเกิดในไขพิศม ๑๐ ประการ จะใหผูแพทยรูอาการไขพิศมตอไปกาล ๑๐ ประการนั้นคือ
อั น ใดบ า ง จึ่ ง วิ สั ช นา คื อ ฟองสมุ ท รหนึ่ ง เลี่ ย นสมุ ท หนึ่ ง ทามสมุ ท หนึ่ ง ทามควายหนึ่ ง
ละลอกแกวหนึ่ง กาลทูมหนึ่ง กาลทามหนึ่ง มะเรงตะมอยหนึ่ง มะเรงปากทูมหนึ่ง มะเรง
เปลวไฟฟาหนึ่ง รวมกันเปนสิบประการดวยกัน เรียกชื่อวาฝกาลแล...”.
183
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ฝคัณฑมาลา ๑.น.โรคฝกลุมหนึ่ง ที่เกิดภายนอกรางกาย แรกเริ่มเกิดจากการกระทบชอกช้ำในระหวางการ


คลอด เมื่อโคขึ้นอาจจเกิดฝชนิดนี้บริเวณลำคอ ใตหู หรือโคนขากรรไกร ตำราการแพทย
แผนไทย แบงออกเปน ๗ ชนิด เรียกชื่อแตกตางกันไปตามบริเวณที่เกิดฝ ไดแก คัณฑมาลา
คันทณุรุด คันธชรต ขันทสอรพิด ขันทามรชิด คันทาพดทสอน และสาคันทามอระเบญจา
ดังคัมภีรแผนนวด (๒/๑๐๓) ตอนหนึ่งวา”...อันวาฝูงสัตวโลกยทั้งหลาย เมื่อแตแรกจะ
ปฏิสนธิแลประสูติ ออกมาจาอุทร แลลมกรรมมัชวาตพัดเอาเทาขึ้นเอาศีรษะลง เมื่อมันออก
ทบลงมันใหฅอนั้นรทดเอนฅอนั้นหัก เมื่ออยูนานมามันก็ใหเปนลูกหนูแลวมันแปรเปนคันท
มาลาฝนั้นขึ้นขางขวาชื่อวาคันทสูตร เมื่อยืดมามันแกเปนสังกตัมแตเมื่อเปนลูกหนูใหเอายา
ทั้งนี้ทา...ผิจะใครรูคดี ฝคันทมาลานี้มีชื่อ ๗ ประการแล ฯ อนุงคันทมาลาบรรจบเอารากวัน
อนึ่งคันทณุรุดเกิดในฅอ อนึ่งชื่อคันธชารต มันเกิดในกลางฅอซาย อนึ่งชื่อขันทาสอรพิดนั้น

ไ ท
มันเกิดใหฟางตาขางซาย อนึ่งชื่อขันทามรชิดมันเกิดในตนหูขางซาง อนึ่งชื่อคันทาพดทสอนย
บ ้าน
มันเกิดแตฅอขางซาย อนึ่งชื่อสาคันทามอระเบญจา มันเกิดในบังหึงขางซายเทาทั้งนี้ยอม

พ ื้น
มีชื่อตาง ๆ กัน ดังกลาวมาแตหลังนั้น...”๒. ฝที่เกิดเปนแถวบริเวณตั้งแตคอถึงไหปลารา,

คัณฑมาลา ก็เรียก.
แ ล
ย าและลำตัว ตอมาผื่นจะกลาย
น.โรคฝชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการไขสูงจากนั้นมีผื่นขึ้นทัไท
เปนตุมใสเปนหนอง แลวตกสะเก็ด เมื่อหายแลวมีผแนผลเปนรอยบุม ปจจุบันพบวาเปนโรคติด
ฝดาษ ่วใบหน

ย ์แลายครั้ง, ไขทรพิษ ก็เรียก (อ. Smallpox,


เชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง เคยมีการระบาดครั้งใหญ
พ ท ห
า รแ

variold)
น.ฝชนิดหนึ่ง ผูปวยมีเม็ดผุดเรียางกันเปนแถวรอบลำคอ ตำราการแพทยแผนไทยวา เกิดจาก
ฝประคำรอย

ความบอบช้ำบริเวณลำคอัญอันเนื่องมาจากการคลอด ดังคัมภีรประถมจินดา (๔๑/๔๓๔-
๔๓๕) ตอนหนึ่งวาภ“...ถ ม
ู ิปาแลกุมารกุมารีผูใดคลอดจากครรภมารดานั้นยากนัก ใหขัดขวาง
ดวยเหตุสิ่งใดรๆองก็ดี บางทีหมอผดุงครรภแมมดมิไดรูจักกำหนดแกงกุมารนั้นจะคลอดเมื่อใด

้ ุ ค่งไมรูผันแปรแกไขในการ กุมารนั้นแล ก็ขมเหงเอาออกมาดวยกำลังแรงของตน
ง ค้น คลอดโดยขัดขวางแลคอกุมารนั้นก็เคล็ดแคลง บางทีกุมารนั้นกระทบ ลงกับฟากก็
ประการหนึ
กุมอารนั

มี บ า ง แลกุ ม ารผู นั้ น เมื่ อ ค อ ยวั ฒ นาการขึ้ น มาก็ มั ก เปน ผี ที่ ค างที่ ฟ องดั น แลที่ ค อผี ทั้ ง ๓
ประการนี้ยอมเปนยังเด็กก็มี บางทีอายุได ๑๕,๒๐, ๓๐ ปแลวจึงเปนก็มี แลใหเปนฝเอ็นฝ
ประคำรอยฝคัณฑมาลา ฝทั้ง ๓ ประการนี้ยอมเปนดวยกระทบช้ำ ชอกมาเมื่อคลอดจาก
ครรภมารดานั้น...”.
ฝปลวก น.ฝวัณโรคชนิดหนึ่ง ผูปวยมีตอมกลัดหนองขึ้นที่ปอด ตำราวาเมื่อเริ่มเปนจะมีอาการเจ็บ
บริเวณหนาอกถึงสันหลัง ทำใหผอมเหลือง อาเจียนเปนเลือด ไอเรื้อรัง เหม็นคาวคอ กินไม
ไดนอนไมหลับ เปนตน ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (๔/๑๙๔)
ตอนหนึ่งวา๑...ในที่นี้จะกลาวแตลักษณะฝปลวกนั้นกอนเปนปฐม เมื่อจะบังเกิดนั้น กระทำ
ใหเจ็บในทรวงอก ที่ตั้งแหงดวงหทัยตลอดไปสันหลังแลวใหผอมเหลือง ใหอาเจียนออกมา
เปนโลหิต ใหไอเหม็นคาวคอบริโภคอาหารมิได นอนมิหลับดุจกลาวมานี้...”

184
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ฝมะเร็งทรวง น.ฝวัณโรคชนิดหนึ่ง ผูปวยมีตอมกลัดหนองเกิดขึ้นบริเวณทรวงอก ตำราวาเมื่อเริ่มเปนจะมี


อาการทองเสียเปนมูกเลือด เปน ๆ หาย ๆ แนนหนาอก ปวดเสียดถึงบริเวณสันหลัง วิงเวียน
ไอ หอบ ซูบผอม ไมมีเรี่ยวแรง ครั่นเนื้อครั่นตัว เมื่อยตามขอกระดูกทั่วรางกาย เปนตน ดัง
ตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (๔/๒๐๓) ตอนหนึ่งวา ““..ลำดับนี้จะ
กลาวดวยนัยหนึ่งใหมวาดวยลักษณะวัณโรคบังเกิดภายในอันชื่อวาฝมะเร็งทรวงนั้นเปน
คำรบ ๘ เมื่อจะบังเกิดกระทำใหเปนมูกเลือดหลายครั้งหลายหน ดุจเปนบิดแลวก็หายไป อยู
ๆ กลับเปนมาเลาใหปวดขบยอดเสียด จุกแดก แนนหนาอกเปนกำลังใหยอกตลอดสันหลัง
ใหวิงเวียน ใหไอ ใหหอบ ใหหิว หาแรงมิได ใหซูบผอม มักใหครั่นตัว ใหเมื่อยทุกขอทุก
กระดูกดังกลาวมานี้...”.


ฝลูกหนู ชื่อโรคฝชนิดหนึ่ง ลักษณะเปนไตแข็งอยูใตผิวหนัง ใตหู เปนตน

น ไ ท
น.ฝชนิดหนึ่ง ผูปวยมีเม็ดผุดขึ้นตามเสนเอ็น มักพบบริเวณเสนเอ็บน้าที่ลำคอ ตำราการแพทย
ฝหัด ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เปนผื่นแดงขึ้นตามตัวมีอาการไข ปวดศีรษะ ตัวรอน เปนตน
ฝเอ็น
ะ พ ื้น
แผนไทยวา เกิดจากความบอบซ้ำบริเวณลำคอ อันเนื่องมาจากการคลอด

จินดา (๔๑/๔๓๔-๔๓๕) ตอนหนึ่งวา”...ถาแลกุมารกุยมแารีผูใดคลอดจากครรภมารดานั้นยาก
ดังคัมภีรประถม

น ไงทครรภแมมดมิไดรูจักกำหนด แหงกุมารนั้น
์ยแไผขในการ กุมารนั้นแล ก็ขมเหงเอาออกมาดวย
นัก ใหขัดขวางดวยเหตุสิ่งใด ๆ ก็ดี บางทีหมอผดุ

ทดขวางแลคอกุมารนั้นก็เคล็ดแคลง บางทีกุมารนั้น
จะคลอดเมื่อใด ประการหนึ่งไมรูผันแปรแก
แ พ
กระทบ ลงกับฟากก็มีบางแลกุามรารผูนั้นเมื่อคอยวัฒนาการขึ้นมาก็มักเปน ฝที่คางที่ฟองดัน
กำลังแรงของตน กุมารนั้น คลอดโดยขั

า กมเปนยังเด็กก็มี บางทีอายุได ๑๕, ๒๐, ๓๐ ป แลวจึงเปนก็มี


ัิปญญอนฝคันฑมาลา ฝทั้ง ๓ ประการนี้ยอมเปนดวยกระทบช้ำ ชอกมา
แลที่คอ ฝทั้ง ๓ ประการนี ้ ย  อ



แลใหเปนฝเอ็นฝประคำร
ง ภ
รอ บไข เชน โรคพยาธิ ชาติชราพยาธิ. (ป.พยาธิ, วยาธิ; ส. วฺยาธิ)
เมื่อคลอดจากครรภ มารดานั้น...”,ฝเสน หรือฝเสนเอ็น ก็เรียก

่อุ้มสัตวไมมีกระดูกสันหลัง รูปรางลักษณะทั่วไปเหมือนหนอนเกิดขึ้นในรางกาย มีรูปราง
พยาธิ น. ๑. ความเจ็
ง ค
กอและขนาดตาง ๆ กัน ชนิดตัวแบน เชนพยาธิตัวตืด พยาธิใบไม ชนิดตัวกลม หรือหนอนพยาธิ
๒.ชื

อาศัยเกาะกินอยูตามสวนตาง ๆ ของรางกาย ทำใหเกิดอาการโรคตาง ๆ ขึ้น ตามชนิดของ


พยาธิซึ่งอาศัยอยูนั้น ดูเพิ่มเติมที่ กิมิชาติ
พรรดึก ๑.ก.อาการทองผูกมาก มีอุจจาระเปนกอนแข็ง คลายขี้แมวหรือขี้แพะ. ๒.น.อุจจาระเปน
(พันระดึก) กอนแข็งกลม คลายขี้แมวหรือขี้แพะ.
พรึง ๑.น.เยื่อบาง ๆ ขึ้นเปนปนเปนแผนที่นัยนตา. ๒. ก. ผุดขึ้นตั้งขึ้น หรือนูนขึ้นเปนปน เปน
แผนอยางชัดเจน.
พิฆาต ในที่นี้หมายถึง อาการรุนแรงมาก
พิษ น.สิ่งที่รายเปนอันตรายแกรางกายหรือใหความเดือดรอนแกจิตใจ ; สิ่งที่รายเปนอันตราย
เมื่อเขาสูรางกายจะทำใหตาย เจ็บปวด หรือพิการได บางอยางเกิดจากแร เชน สารหนู, บาง
อยางเกิดจากตนไม เชน ตนแสลงใจ บางอยางเกิดจากสัตว เชน งู. (ส. วิษ; ป. วิส)
185
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

พิษกาฬ ในที่นี้หมายถึง โรคไขกาฬชนิดหนึ่งบางตำราวาไขกาฬ มี ๑๐ ชนิด คือ ไขประกายดาษ


ประกายเพลิง หัดเหือด งูสวัด เริมน้ำคาง เริมน้ำขาว ลำลาบเพลิง ไฟลามทุง และ กำแพง
ทะลาย
พิษลงพิษราก ในที่นี้หมายถึงโรคชนิดหนึ่ง ของโรคทำใหเกิดอาการทองเสีย และอาเจียน เปนขึ้นพรอม ๆ
กัน
พุทธยักษวาโย น.โรคลมจรชนิดหนึ่ง ตำราการแพทยแผนไทยวา เกิดจากกองสันฑฆาต ผูปวยมีอาการเสียด
บริเวณชายโครง เจ็บกระดูก ลุกนั่งไมได มักเปนรำมะนาดบอย ๆ ตามัว และบอดในที่สุด
หากเปนนานถึง ๓ ป จะรักษายาก ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
(๔/๓๑๖) ตอนหนึ่งวา “...ลักษณะแหงลมอันชื่อวาพุทธยักษวาโย เปนคำรบ ๑๑ นั้นเกิดแต
กองสันทฆาตกระทำใหเสียดชายโครงและเจ็บสังหลังและกระดูกทุกขอ มิใหลุกนั่งขึ้นไดแลว
ไ ท ย
้าน
บังเกิดเปนรำมะนาดเนือง ๆ และใหจักษุนั้นเปนหมอกมัวมืด ลมกองนี้ถาเปนถึง ๓ ปแลว
เปนอสาทยโรค ยายากนัก ถาบังเกิดแกบุคคลแมนอายุยืนไปมักเสียจริต...”.
ื้นบ
ละ พ

ไฟเดือนหา ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นภายนอก เปนเม็ดผุดขึ้นสีแดงแลวกลั บดำมีอาการชักปากเบี้ยว
ตาตั้ง เปนตน
ไท ย
ชื่อโรค มีอาการตามผิวกายแดงพองเปนแผนขึ้นทัผ ้งตันว
มสุริกาโรค
ย ์แปวย ๓ วันเสียชีวิต ถาเกิดขึ้นที่บริเวณลูก

สะบาของผูปวย ๑๑ วันเสียชีวิต รแพ
มหานิล ชื่อฝชนิดหนึ่ง ฝนี้เกิดขึ้นที่บริเวณหัวเขาของผู

า กา
ัญญ เมื่อเปนได ๒ วัน ๓ วัน พื้นกลับดำหัวเหลือง สีน้ำ
มหานิลกาฬ ดูที่ หละมหานิลกาฬ
ชื่อฝชนิดหนึ่ง หัวฝมีลักิป
มหาเมฆ
ง ภ ม
ู ษณะดำแบนใหญ

เสียชีวิต ถาคฝเรกิอดขึ้นที่กลางอกเปนได ๑ วันเสียชีวิต


ดำ น้ำเหลือง ทำให ผ ูปวยขัดหนัก ขัดเบา ขัดทองนอยหัวเหนา ใหรีบรักษา ถารักษาไมทัน

ุ้ม
น. ๑.งคโรคระบบทางเดินหายใจประเภทหนึ่ง ผูปวยมีเสมหะเหนียวขนอยูในชองหลอดลม
กอ มีอาการไอเรื้อรัง ๒.ในทางการแพทยแผนปจจุบันหมายถึงโรคหลอดลมโปงพอง มี
มองครอ
ทำให
เสมหะในช อ งหลอดลม ทำให มี อ าการไอเรื้ อ รั ง โดยเฉพาะเมื่ อ นอนราบ, มงคร อ หรื อ
มงคลอ ก็เรียก (อ. Bronchiectasis)
มะเมอเพอพก ละเมอ พูดเพอเมื่อเวลาหลับ หรือพูดโดยไมมีสติ
มะเร็ง น.๑.โรคเรื้อรังกลุมหนึ่ง ผูปวยมักมีแผล ผื่น ตุมกอน เปนตน อาจผุดขึ้นตามสวนตาง ๆ
ภายในหรือภายนอกรางกาย ตำราการแพทยแผนไทยแบงเปนหลายประเภท เชน มะเร็งไร
มะเร็งตะมอย มะเร็งทรวง มะเร็งชาง หากผูปวยมีอาการไขรวมดวยมักเรียก ไขมะเร็ง เชนไข
มะเร็งปากทูม ไขมะเร็งปากหมู ไขมะเร็งเปลวไฟฟา หรือถาผูปวยมีฝรวมดวย จะเรียก
ฝมะเร็ง เชน ฝมะเร็งทรวง ฝมะเร็งฝกบัว ฝมะเร็งตะมอย. ๒. ในทางการแพทยแผนปจจุบัน
หมายถึงเนื้องอกชนิดราย เกิดขึ้นเพราะเซลลแบงตัวอยางรวดเร็วควบคุมมาได แลวแทรกไป
ตามเนื้อเยื่อขางเคียง และสามารถหลุดจากแหลงเริ่มตนไปแบงตัวเพิ่มจำนวนที่บริเวณอื่น ๆ
186 ได รักษาไมคอยหาย.
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

มะเร็งคชราช ชื่อโรคชนิดหนึ่งเปนโรคติดตอชนิดหนึ่งเรื้อรัง ซึ่งเกิดเปนเม็ดผุดขึ้นภายนอกตามผิวกาย


เปนตุมเล็ก ๆ คลายหูด แลวคอย ๆ โตขึ้น ลักษณะคลายดอกกะหล่ำปลี พิษของโรคทำใหมี
อาการไข ตัวรอน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ตุมดังกลาวมัก ขึ้นตามใบหนา บริเวณจมูก ขา เทา
เปนตน บางทีเรียกวา คุดทะราด
มะเร็งคุค น.มะเร็งชนิดหนึ่ง มีสาเหตุมาจากคุดทะราด ฝดาษเขาขอ เมื่อเริ่มเปนทำใหเมื่อยในขอ
กระดูก บวมตามแขน ขา มือ เทา บางทีที่บวมนั้นแตกออกเนาเปอยเปนน้ำเหลืองไหล
เปนตน ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (๒/๒๓๒) ตอนหนึ่งวา “...แล
ในลำดั บ นี้ จ ะว า แต ร ะเม็ ง คุ ด นั้ น ก อ นเป น ปฐม อั น ว า ลั ก ษณะเมื่ อ จะบั ง เกิ ด นั้ น เกิ ด ด ว ย
คุดทะราดและฝดาษเขาขอ และระคนดวยอสุรินทัญญาณธาตุ มีประเภททำใหเมื่อยในขออัฐิ


แลวบวมขึ้นตามแขงขา และมือเทาจะเดินไปไกลก็มิได บางทีกินดนอยูจนอัฐิแตก แลวคุออก
ไ ท
้าน
มานอนเนื้อ แตกออกมาเปนบุพโพโลหิตไหลเปอยเนาดุจดังกลาวมานี้...”.
มะเร็งเปอย ดูที่ มะเร็ง
ื้นบ
ล ะ พ

มะเร็งเพลิง น.โรคมะเร็งชนิดหนึ่ง เมื่อเริ่มเปนผูปวยมีอาการผิวแดงเหมื อนถูกไฟ หรือเปนตุมขึ้นแลว

มังคลาราม (๔/๒๓๔-๒๓๕) ตอนหนึ่งวา “...วานดไวท



เป อ ยลามออกไป ทำให ร อ นบริ เวณที่ เ ป น ดั ง ตำรายาศิ ล าจารึ ก ในวั ด พระเชตุ พ นวิ ม ล
ผ ยลักษณะวัณโรค อันกลายซึ่งโรคสมมติวา
มะเร็งเพลิงนั้นเปนคำรบ ๓ เมื่อแรกจะขึย้น์แดูสัณฐานดุจตองเพลิงมีผิวอันแดง บางทีขึ้นดุจ
พ ท กระทำใหรอนเปนกำลัง ถาลามออกไปทั่วตัวแลว

เมื่อใด ตายเสีย ๓ สวน จะรอดสัารกสวน ๑ แพทยจะรักษายากนัก...”.
ยอดละลอกขึ้นมาแลวก็เปอยลามออกไป

ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีเม็ดผุดญ
าก
มะเร็งไฟฟา

ิ ญ
ั ขึ้นตามผิวกาย ยอดเปนสีเขียวไหม เหมือนถูกไฟ เปนตน
มาน
ภ ม

ง นของน้ำเหลือง ตับแข็ง ลิ้นหัวใจพิการ ไตอักเสบเรื้อรัง ทำใหมีสีเหลืองใส
น. ชื่อโรคจำพวกหนึ ่ง เกิดไดหลายสาเหตุ เชนมีถุงน้ำเกิดที่เยื่อบุชองทอง การอุดกั้นหลอด
เลือดดำหรืออทางเดิ

คองทองอาจมีเพียงเล็กนอยหรือมากถึง ๑๕-๒๐ ลิตร เปนเหตุใหหนาทองโปงพองจน

้ ุ
เห็งนคไดชัด น้ำหนักเพิ่ม แนนทอง ทองผูก เบื่ออาหาร หายใจลำบาก เทาบวม เปนตน.
อยูในช

ก อ
มุตกิต ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เปนกับหญิง อาการของโรคจะมีระดูขาว ลักษณะเหมือนน้ำปสสาวะขุนขน
ไหลออกมาแถบขอบปากทวาร มีเม็ดผุดขึ้น หรือแผลคันเปอยแสบ และเหม็นคาว ทำใหมี
อาการปวดเมื่อยบริเวณชายกระเบนเหน็บ เสียมดลูกและมักจะเปนลม หนามืด เวียนศีรษะ
เบื่ออาหาร เปนตน ลักษณะของโรคมุตกิดมี ๔ ชนิด คือ
๑. เบาเปนหนอง คือ น้ำปสสาวะสีเหมือนโลหิตช้ำ และ เหมือนน้ำปลาเนา
๒. เบาเปนน้ำคาวปลา คือ น้ำปสสาวะ เปนโลหิตจาง เหมือนน้ำซานหมาก หรือ น้ำลางปลา
๓. เบาดั่งน้ำซาวขาว คือ น้ำปสสาวะเปนน้ำหนองจาง เหมือนน้ำซาวขาว
๔. เบาขาว คือ น้ำปสสาวะ เปนเมือกคลอง ๆ ขัด ๆ หยดยอย เหมือนน้ำมูกไหลออกมา
อาการของโรคมุตกิดจะเหมือนกับโรคมุตฆาต ทั้งนี้อาจเปนเพราะแยกไมออกวา น้ำที่ไหล
ออกมาจากชองคลอดหรือชองปสสาวะ เพราะโดยทั่วไปจะมีอาการเหมือนกัน คือ ปวดหัว
หนาว เจ็บขัดตะโพก แสบในอก บริโภคอาหารไมรูรส เปนตน
187
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

มุตฆาต, น.โรคชนิดหนึ่งที่ทำใหเกิดความผิดปรกติของน้ำปสสาวะ ตำราการแพทยแผนไทยวาเกิด


มุตตฆาต จากการกระทบกระทั่ง เชน จากอุบัติเหตุ เพศสัมพันธผูปวยมีอาการปวดมากเวลาถาย
ปสสาวะ ปสสาวะกะปริบกะปรอย ปวดขัดบริเวณสีขาง จุกเสียดบริเวณหนาอก อาเจียนเปน
ลมเปลา เบื่ออาหาร เปนตน ดังคัมรมุจฉาปกขันทิกา (๒/๒๙๕) ตอนหนึ่งวา “...มุตรฆาฎ ๔
ประการ วาเมื่อจะถายปสสาวะออกมานั้น ใหปวด ใหขัดเจบเปนกำลังใหโลหิตซ้ำเปนหนอง
ขนขุนดำดุจน้ำครามน้ำ ชื่อมุตรฆาฎอันนี้เกิดดวยกระทบชอกช้ำ จ่ำสำแดงโทษเปนดังนี้
กระทำใหขัดราวคางดุจเสนปตฆาฎ แลใหเสียดแทงในอก จะไหวไปมามิสะดวก บริโภค
อาหารมิไดใหอาเจียนเปนลมเปลา รูมิถึงวาเปนเมดยอดภายใน...”, เขียน มุตรฆาฎ หรือมุต
ระฆาฎก็มี


มูกเลือด อาการของโรคอยางหนึ่ง เมื่อถายอุจจาระจะมีมูก หรือน้ำเหลือง และเลือดที่อยูในลำไสติด
ไ ท
้าน
ออกมาดวย
เมื่อยขบ ก.อาการที่เมื่อปวดเหมือนมีอะไรขบบีบ หรือกดอยูที่ตรงนั้น.
ื้นบ
ะ พ
แล มพรอมกันในนาภีแลวเมื่อ
แมซาง น.เม็ดยอดที่ผุดขึ้นมาเปนกลุม มักมีเม็ดเล็ก ๆ กระจายอยูเปนบริ วาร ดังคัมภีรประถมจินดา
(๑/๓๐๒) ตอนหนึ่งวา “...ในเมื่อแมทรางทั้ง ๔ ยอดขึ้นย
ไทได ครั้นเมื่ออายุกุมารไดขวบ ๑ กับ
มาประชุ
ใด ก็ทำใหตัวรอน ใหลงรากใหกระหายน้ำใหกินเขา นนมมิ
์ยแ้นผประจำอยูหัวเหนา ๑๐ ยอด ขึ้นประจำอยู
ท ขึ้นประจำอยูลิ้น ๑๐ ยอด เปน ๔๐ ยอดดวย
๗ ๘ เดือน จึ่งบริวาร ๔๐ ยอดนั้น ก็แบงกันมาขึ
นาภี ๑๐ ขึ้นประจำอยูกะเภาะเขา ๑๐ พ
า ร แ ยอด
กันดังนี้...”.
า ก
ว.มีความรูสึกตามผิวหนังเหมืญ
รอน

ิ ญ
ั อนถูกไฟเปนตน.
น.อาการรอนภายในชูมองทองถึงภายในปาก ผูปวยมักมีอาการปากแหง คอแหง กระหายน้ำ
รอนใน
อง ภ

ค างหนึ่งที่เกิดจากความรอนในรางกาย ทำใหกระสับกระสายทุรนทุราย
มีแผลที่เยื่อบุภายในช องปาก ทองผูก เปน มักใชคูกับ กระหายน้ำ เปน รอนในกระหายน้ำ.
รอนระส่ำระสาย
ง ค ม
้ ุ
อาการของโรคอย
ระคาย อ
ก ่ทำใหคายคัน ก.ทำใหคายคันเหมือนถูกละออง เชน ระคายตัว
น.ละอองที
ระดู น.เลือดประจำเดือนที่ถูกขับถายจากมดลูกออกมาทางชองคลอด
ระส่ำระสาย ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคทำใหผิดทุรนปกติทุรนทุรายเดี๋ยวดี เดี๋ยวราย เปนตน
รัตตะปตตะ ดู รัตตะปตตะโรค
รัตตะปตตะโรค น.โรคชนิดหนึ่ง เกิดจากโลหิตระคนดวยวาตะ เสมหะ และปตตะ ผูปวยจะมีเลือดออก
ตามอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย รักษายาก ดังจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร (๕/
๑๖๒) ตอนหนึ่งวา “...รัตตะปตตะโรคนั้น คือ โลหิตระคนกับดวยวาตะเสมหะดีพรอมกันทั้ง
สามดังนี้แลว คือกำเริบเพื่อสันนิบาตดังนี้เปนอติไสย วาโรคนั้นหนัก แพทยอยางพึงรักษาเลย
เปนอาการตัด ใหแกดูตามบุญ...”,รัตตะปตตะ, รัตตปตต หรือ รัตตปต ก็เรียก. เขียนวา
รัตตปตต ก็มี.

188
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ราก น. ๑. สวนของตนไม ตามปรกติอยูในดิน มีหนาที่ดูดอาหารเลี้ยงลำตน. ๒.ในทางการนวด


ไทย หมายถึงจุดสิ้นสุดของทางเดินเสนประธาน เชน รากของเสนอิทาอยูที่ขางจมูกดานซาย
๓. ก. อาเจียน อวก สำรอกออกทางปาก.
รากเสลด อาการของโรคชนิดหนึ่ง คือ อาเจียน หรือสำรอกเสมหะออกมาทางปาก
ราทยักษ ดูที่ ลมราทยักษ
รำมะนาด น.โรคชนิดหนึ่งเกิดตามรากฟน ทำใหเหงือกบวม อักเสบเปนหนอง เขียนวา รำมะนาฏ ก็มี.
ริดสีดวง น.โรคกลุ ม หนึ่ ง เกิ ด ได กั บ อวั ย วะต า ง ๆ ของร า งกาย เช น ตา จมู ก ลำไส ทวารหนั ก
ตำราการแพทยแผนไทยวามี ๑๘ ชนิด แตละชนิดมีอาการหารและชื่อเรียกแตกตางกันไป
บางชนิดอาจมีติ่งหรื อ ก อ นเนื้ อ เกิ ด ขึ้ น ที่ อ วั ย วะนั้ น เช น ริ ด สี ด วงตา ริ ด สี ด วงทวารหนั ก

ไ ท
ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (๔/๒๖๔) ตอนหนึ่งวา “...ลำดับนี้จะ ย
บ ้าน
กลาวดวยนัยหนึ่งใหม วาดวยลักษณะหฤศโรค กลาวคือริดสีดวงอันบังเกิดเนื่องมาจากกุมาร

ะ พ ื้น
โรคอันอาจารยในกอนสืบ ๆ กันมา รจนาลงไวในคัมภีรทั้งหลายตาง ๆ นั้นมากกวามากนัก
แล
เหลือที่จะกำหนด ในที่นี้จะยกวาแตที่ทานสงเคราะหไวเปนหมวด แลวมีนามบัญญัติสมมติวา

น ไท
คัมภีรริดสีดวงตาง ๆ ๑๘ จำพวก คือริดสีดวงอันชื่อวา ปาลติญาณะโรค, วิตานะโรค, ฆานะ

์แ ผ
โรค, พริณะโรค, โรหินีโรค, วิชิกามะโรค, อุระปศโรค, อันตะริศโรค, อันตคุณโรค, ตาระสกะ

พท
โรค, อัคนีโชตโรค, วาตะสุตะโรค, อระวัณณโรค, สักเคระโรคฅ, สุกระโรค, สกะถานะโรค,

า รแ
บานทะโรค, สุกระโรค, ริดสีดวงทั้ง ๑๘ จำพวก ซึ่งวามาทั้งนี้ พึงรูตามในคัมภีรทานกลาว
าก
ไว...”, หฤศโรค ก็เรียก, เขียนวา ฤศดวง หรือฤษดวง ก็มี.
รุกขชิวหา ัิปญญ
ชื่อโรคริดสีดวงชนิดหนึ่ง เกิดที่ลิ้นทำใหลิ้นเลือก คอเลือกปวดแสบปวดรอน ผิวชาสากดุจ
ภ ม

ดูที่ รุกขชิรวอหาง
หนามบัว
รุกขชิวหา

้ ุ ค
ริดสีดวง
อง ค
เรื้อนเหล็ก ก โรคผิวหนัง เปนเม็ดผื่นขึ้นตามผิวกาย เปนตน
ชื ่ อ
โรคเบาขาว ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการปสสาวะเปนสีขาวขุน สีดำ ดูเพิ่มเติมที่ ทุราวสา
เบาดำ
โรคเบาแดง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการปสสาวะเปนสีแดง ดูเพิ่มเติมที่ ทุราวสา
โรคสันทฆาต ดูที่ สันทฆาต
โรคสำหรับบุรุษ ดูที่ ไสดวน ไสลาม
ไสดวนไสลาม
โรหินีโรค, น.ริดสีดวงประเภทหนึ่ง เกิดในลำคอผูปวยมีเสมหะมาก ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น มีเลือดออก
โรหิณีโรค ในลำคอ กินอาหารไมได ไมรูรสอาหาร เปนตน ดังตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมล
มังคลาราม (๔/๒๖๖) ตอนหนึ่งวา ““..ลำดับนี้จะกลาวดวยนัยหนึ่งใหม วาดวยลักษณะหฤศ
189
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

โรหินีโรค, โรคอันชื่อวา โรหินี กลาวคือโรคริดสีดวง อันบังเกิดขึ้นในลำคอนั้นเปนคำรบ ๕ มีอาการ


โรหิณีโรค (ตอ) กระทำใหชุมไปดวยเสมหะ ใหเหม็นคาวคอเปนกำลัง บางทีใหเนาเหม็นโขง ใหลำคอเปน
เลือด บริโภคอาหารมิไดไมมีรสฯ...”. ดูริดสีดวง ประกอบ
ลงทอง อาการทองเสีย ถายอุจจาระบอยๆ เปนมูกเลือด เปนบิด เปนตน
ลงราก อาการของโรคชนิดหนึ่ง มีอาการลงทองหรือทองเสีย ขณะเดียวกันก็มีการอาเจียน เกิดขึ้น
พรอม ๆ กัน
ลงเลือด อาการของโรคอยางหนึ่ง มีอาการถายอุจจาระเปนเลือด
ลงเลือดสด ๆ อาการของโรคอยางหนึ่ง มีอาการถายอุจจาระเปนเลือดสด ๆ


ลงเลื อ ดเหม็ น อาการของโรคอยางหนึ่ง มีอาการถายอุจจาระเปนเลือด กลิ่นเหม็นเนา
ไ ท
้าน
เนา
ลม ๘๐ จำพวก อาการของโรคอยางหนึ่ง เกิดจากธาตุลมในรางกายผอกปกติ บ
ื้น นบิด ถายเปนมูก
ล ะ พ
ลมกระษัย

ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการลงทอง คลื่นไส อาเจียนถาอาการมากจะกลายเป

เลือด
ไ ท
โรคลมชนิดหนึ่ง มีอาการแนนในอกและเจ็บแทงอยูผภนายในรางกาย
ลมจุกเสียด
์แ
น.โรคลมมีพิษชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการชักทมืยอกำเทางอ หมดสติ โบราณวาถารักษาไมได
ลมกุมภัณฑยักษ

ภายใน ๑๑ วัน อาจถึงแกความตายรแดังคัมภีรชวดาร (๔๑/๓๐๕) ตอนหนึ่งวา “...ลมกุม
กานนิบาต เมื่อจับนั้นใหชักมือกำชักเทางอ มิไดสมปฤดี มิ
ภัณฑยักษนั้น ถาลมไขลงดุจอยาางสั
เรียกมิรูสมปฤดีเลย กำหนดัิปญ๑๑ญ วัน...”.
ูม
น. อาการปวดเมืง่อภยบริเวณสะบัก บา และไหลขางซาย เชน จากการนอนตะแคงดานซาย
ลมดูดสะบัก
ค อ
เรลือดลมตามแนวเสนอิทา และเสนกาลทารีเดินไมสะดวก
คุ้ม ดหนึ่ง มีอาการตัวแข็ง หันไปทางซายขวาไมได
นาน ๆ ทำให
ลมพิรุศวาโย ชื่ออ
ก ง
โรคลมชนิ
ลมอริต น. ลมซางชนิดหนึ่ง เกิดในเด็กที่เกิดวันศุกร เด็กมีอาการคอเขียว ชัก มือกำเทางอ นัยนตา
กลอกไปมา น้ำลายฟูมปาก ลิ้นกระดางคางแข็ง บางทีชักขางซายแตเกร็งขางขวา เปนตน ดัง
คัมภีรประถมจินดา (๑๕/๑๘๔) ตอนหนึ่งวา “...อันวาลักษณะลมอริตนั้น เมื่อจะเกิดในคอ
เขียว ใหชักเทากำมือกำบางทีใหชักแตจำหระซาย บางทีใหชักแตจำหระขวา บางทีใหชักแต
ขางซาย แตขางขวาใหกระดางคางแข็ง รองไหไมออก น้ำลายฟูมปากออกมา แลใหลูก
ตากลับกลอกไป ใหยักคิ้วหลิ่วตา และเปนเสมหะปะทะคอดังครอก ๆ ถาแลกุมารผูใดเปนดัง
กลาวมานี้ ไดชื่อวาลมอริตกระทำโทษ เมื่อตายแลวใหตัวเหลืองดังรดดวยน้ำขมิ้นสด เพราะ
ลมจำพวกนี้บังเกิดเพื่อละอองพระบาท กาฬลิงคลีดุจกลาวมานี้...”.

190
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ลมหัศคินีจร น. ลมซางชนิดหนึ่งเกิดในเด็กที่เกิดวันพฤหัสบดี เด็กมีอาการชัก มือกำเทางอ หลังแข็ง เหงื่อ


ออก ทองอืด เปนตน เด็กที่เปนโรคนี้หามอาบน้ำเย็น และไมใชยาที่ผสมกับเหลา ดังคัมภีร
ประถมจินดา (๑๔/๑๘๐) ตอนหนึ่งวา “...อันวาลักษณะลมหัศคินีนั้นเมื่อจะบังเกิดจับใหชัก
เทากำมือกำ ใหหลังแข็ง แลใหเหงื่อตกใหทองขึ้น ถาเปนแตเวลาเชาใหระวังถึงเที่ยงจึงตาย
ถาเปนเที่ยงจนค่ำแลวไมตาย ทานหามอยาให อาบน้ำเชาเย็น อยาใหกินยาเขาสุรา แลลม
จำพวกนี้เกิดเพื่อซางโค แตตั้งมูลปฏิสนธิได ๓ เดือนจคงสำแดงโทษใหแกกุมาร ซึ่งพระ
อาจารยเจากลาวไวมีในพระคัมภีรประถมจินดาผูก ๑ วาดวยลักษณะครรภรักษาโนน แลลม
จำพวกนี้ชอบแตยาเย็น เปนยาสุขุมดุจกลาวมาดังนี้...”.
ลมบาดทะยัก ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง อาการเหมือนลมกุมภัณฑ เกิดขึ้นขณะที่เด็กเปนโรคซางโจรอยูแลว มี


(ลมบาดทยักษ) อาการตัวรอนจัด ชักตา ชอนขึ้นเบื้องบน ใบหนาเขียว มือกำ หลังแอน หรือเกิดจากพิษ
ไ ท
ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการชักน้ำลายฟูมปากเปนฟองมือเทากำ ไมรบูส้าึกน
บาดแผลที่อักเสบ ทำใหเกิดอาการลมบาดทะยักขึ้น ดูเพิ่มเติมที่ แมซาง
ลมบาหมู
ะ พ ื้น ตัว เปนตน
ลมปวง ดู ปวง
แ ล
ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคเกิดจากลมภายในรทายงกายผิดปกติ ทำใหเสนพองขวางตั้งแต
เปนนตไ น ดูเพิ่มเติมที่ ปตคาด
ลมปตคาด
หัวหนาวชายโครงขึ้นไปถึงยอดอกและลำคอ ผ
ย ์แ มวา เกิดจากการกระทบกับความเย็นมาก
ลมเปลี่ยวดำ, น.โรคลมชนิดหนึ่ง ตำราการแพทยแผนไทยบางเล
จนเปนตะคริว ผูปวยมีอาการกลราแมเนื พ้อทเกร็งอยางรุนแรงกระตุก ทำใหเจ็บปวดบริเวณที่เปน
กาเวณใตตาตุมดานใน หรืออาจรักษาดวยยาสังขวิไชยหรือยา
เปลี่ยวดำ
มาก มักแกโดยการนวดจุดาบริ
ทำลายพระสุเมรุ, ลมเกี ัิปญ่ยญวดำ ลมเกลี่ยวดำ เปลี่ยวดำ หรือลมเปรี้ยวดำ ก็เรียก.
ลมพิษ

น.ประดงชนิดหนึ ภ ม
ู ่ง ผูปวงมีผื่นคันขึ้นตามผิวหนังเปนกลุม ๆ โบราณวาเกิดจากลมเปนพิษ, ไข

ประดงลมหรื รอ อ ลมพิษ ก็เรียก
ง ค ุ้ม มหนึ่ง ผูปวยมีอาการรุนแรงมากนอยตามชนิดของโรคลมนั้น ๆ อาจรักษาได
กอหรือรักษายาก เชน ลมอินทรธนู ลมกุมภัณฑยักษ หากเปนลมที่มีอาการรุนแรงรักษายาก
ลมมีพิษ น.โรคลมกลุ

เรี ย ก ลมอั น มี พิ ษ หรื อ ลมมี พิ ษ มาก ดั ง คั ม ภี ร ช วดาร (๔๑/๓๐๔-๓๐๕) ตอนหนึ่ ง ว า


“...อันวาลมอันมีพิษนั้น มีหกจำพวก...นอกวา ลม ๖ จำพวก นี้ก็มี คือ ลมอินทรธนู ๑ คือ
ลมกุมภัณฑยักษ ๑ คือ ลมอัศมุข ๑ ลมราทธยักษ ๑ ลมบาทจิตต ๑ ลมพุทธยักษ ๑ แล
ลมจำพวกเหลานี้ บังเกิดแก มนุษยผูใด มนุษยผูนั้น ตกเขาอยูในเนื้อมือพระยามัจจุราช
เยียวยาเปนอันยากนัก...”, ลมราย ก็เรียก.
ลมราทยักษ น. โรคลมชนิดหนึ่ง ผูปวยมีอาการเปนไขตัวรอน ชัก มือเทากำงอ ลิ้นกระดางคางแข็ง
คอแข็ง ตาเหลือง เปนตน ดังคัมภีรแผนนวด (๒/๙๒) ตอนหนึ่งวา “...ลมจำพวกหนึ่งชื่อราช
ยักษจับยอมใหชักทั่วทั้งกายใหยักไปมาใหสะบัดตนฅอแลปากใหแกตนคางแลกระบอกจักษุ
จงไดรูสึกตัวแล...”, ลมราชยักษ หรือราทยักษวาโย ก็เรียก.

191
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ลมลำโฮก น.โรคลมชนิดหนึ่ง พบบันทึกในแผนปลิงหงาย ตำราการแพทยแผนไทยวา โรคชนิดนี้แกได


โดยการปลอยปลิง ๙ ตัว บริเวณกลางอก ซึ่งตำแหนงดังกลาวในทางนวดไทยวาเปนจุดบน
เสนอิทาและเสนปงคลา ใชนวดแกหาวเรอหรือหาวคางคาง, ลมลำโหก ก็เรียก
ลมสันนิบาตอนึ่ง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เปนแกเด็กที่เปนโรคละอองพระบาท หรือ กาฬสิงคลี หรือเปนโรคซางชาง
ชื่อริตะวาต อยูแลว มีอาการชักคอดขียวกอนแลวชักมือกำเทางอ นัยนตากลอนไปมา น้ำลาย ฟูมปาก
ลิ้นกระดาง คางแข็ง บางทีชักเฉพาะ จำหระซาย(สวนรางกายขางซาย) บางที่ชักเฉพาะ
จำหระขวา(สวนรางกายขางขวา) เปนตน ดูเพิ่มเติมที่ แมซาง
ลมหทัยวาต ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง มีอาการจิตใจหงุดหงิด ไมโปรงใส มึนตึง ไมอยากเจรจา มักโกรธ ใจนอย
รองไห หรือหัวเราะอยางไมมีเหตุผลอันสมควรอยางที่เรียกวา คุมดีคุมราย
ลมภาหุรวาโย

ชื่อลมชนิดหนึ่ง เปนกองลมขึ้นจากทวารถึงหัวหนาว แลวเคลื่อนไปหลังมือ หลังเทา ถึงศีรษะ
ไ ย
ทำใหน้ำมูกน้ำตาไหล เปนตน
บ า
้ น
ลมอัมพาต ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง มีอาการกลามเนื้อ หรือประสาทพิการเลื่อมสภาพ
ะ พ น
้ ื ไมทำหนาที่ตามปกติ
เปนตน
ย ล
แกิน ๕ ขวบ ๖ เดือน ผูปวยมีฝา
ละออง น. ๑. โรคเด็กชนิดหนึ่ง เกิดกับทารกแรกเกิดถึงเด็กอายุ
น ไทไ ม เ

์ ผ
มีชื่อเรียกแตกตางกันไป นอกจากนี้ ยังมีเจทาเรืยอนและชื่อเรียกแตกตางกันไปตามวันเกิดของ
บาง ๆ เกิดขึ้นในปาก ลำคอ กระพุงแกม หรือบนลิ ้น ฝาบาง ๆ นี้อาจมีสีตาง ๆ กันทำให

ผูปวยดวย เชน ละอองแกววิเชียร รเปแนพละอองที่เกิดกับเด็กที่เกิดวันจันทน มีซางน้ำเปน


า นแรงขึ้นถึงตายได เรียก ละอองพระบาท เชน
เจ า เรื อ น ละอองที่ อ าจทำให มาี อกาการรุ

ั ญ า ละอองแกววิเชียร. ๒. สิ่งซึ่งมีลักษณะเปนผง เปนฝอย
ิป
ละอองมหาเมฆ ละอองเปลวไฟฟ
ละเอียดยิบ
ง ภ ม

ดูที่ ละออง รอ
ละอองขาว

้ ุ ค่เปนกับทารกหรือเด็กที่เกิดวันศุกรมีซางชางเปนซางเจาเรือน ดังตำรายา
ละอองเนียร
กรรถี
งค
ศิกลอาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (๔/๓๑) ตอนหนึ่งวา ““..จะกลาวลักษณะกุมาร
น. ละอองที

กุมารี เกิดวันศุกรทรางชางเปนเจาเรือนทรางแกลบเปน ทรางจร หละชื่อแสงพระจันทร


ละอองชื่อเนียรกรรถี ลมชื่ออริศ จรประจำทรางชางวันศุกร ในอาการทรางชางนั้น เขมามัก
ขึ้นในเรือนไฟ ถาขึ้นหลายชั้นขึ้นมาแตลำคอถึงลิ้นแลวดาษไปทั้งปาก ใหไออกแหง ใหลงให
รากกระหายน้ำ กินขาวกินนมมิได...”, ละอองเนียรกันดี ก็เรียก. ดูละออง ประกอบ.
ละอองมหาเมฆ น.ละอองที่เปนกับทารกหรือเด็กที่เกิดวันพฤหัสบดี มีซางโคเปนซางเจาเรือน ผูปวยมักมีเม็ด
ยอดสีมวงคล้ำขึ้นในปาก เมื่อรุนแรงขึ้นจะมีอาการหนาเขียวชักเทากำมือกำ ตาชอนสูง
อุจจาระปสสาวะไมออก ดังคัมภีรประถมจินดา (๑/๓๒๖) ตอนหนึ่ง “...อันวาลักขณละออง
พระบาท อันชื่อวามหาเมฆนั้น เมื่อจะบังเกิดตั้งขึ้นดังดอกกกแบบช้ำ กระทำพิศมนั้นมาก
กลานัก จับใหหนาเขียว ชักเทากำมือ แลใหตาชอนดูสูง แลวใหอุจจารปสาวะมิตก...”.
ดู ละออง ประกอบ

192
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ละอองทับทิม ดูที่ ละอองเปลวไฟฟา


ละอองเพลิง ดูที่ ละออง
ละอองไฟฟา ดูที่ ละอองเปลวไฟฟา
ลิ้นกระดาง อาการของโรคชนิดหนึ่ง มีอาการลิ้นแข็ง ทำใหอางปากไมเต็มที่ ออกเสียงพูดไมเปนภาษา
เลือดตก อาการชนิดหนึ่ง มีเลือดไหลออกตามสวนตาง ๆ ทังภายนอกและภายในของรางกาย หรือ
ออกทางทวาร
เลือดตกหมกอยู ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคที่มีเลือดออกทางทวารไมหมดคางอยูภายในรางกาย หรือออก
ทางทวาร
เลือดตีขึ้น อาการของโรคชนิดหนึ่ง เกิดเพราะเลือดลมในรางกายผิดปกติ เคลื่อนจากทองขึ้นสูอกทำให
ไ ท ย
้าน
แนนอึดอัด หายใจไมสะดวก ลิ้นหด คางแข็ง อาปาก ไมออก เปนตน ดูเพิ่มเติมที่ ตีขึ้น
ื้นบ

เลือดเนา ดูที่ เลือดตกหมกอยู
อันกลัดทวาร
แล ะ
ในที่นี้หมายถึง โลหิตระดูเสีย โลหิตที่มีลักษณะเปนทน้ย
โลหิตเนาจาง
ไน ำใสๆ เกือบไมมีสี

์ ผ
ตางกันไปตามสมุฏฐานโลหิตจำแนกไดท๔ยชนิด คือ
โลหิตมาน ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการทองบวมพอง เพราะโทษของโลหิ ต อาการของโรคมีลักษณะแตก

รแ พขัด ไมมาตามปกติ ทำใหเกิดเปนพิษขึ้น เมื่อระคนกับ


กา ทำใหโลหิตเปนฟอง งวดแหงจับเปนกอน อยูเหนือสะดือ
๑. เกิดจากโลหิตระดูราง หรือระดู
ธาตุไฟ และธาตุลม ในรางกาย า
ญ จึงมีอาการทองพองบวมขึ้น จุกในทอง และ อก สะบัดรอน
ทับใหลมในทองพัดไมัญสะดวก
สะบัดหนาว บริโูม ิป ได เปนตน
อง ภ ภคอาหารไม

นานวัุ้มนคเกิดเปนพิษขึ้น ระคนกับลมในรางกาย ซึ่งเปนลมกำเริบขึ้นในทองทำใหทองพองใหญ
๒. เกิ ด จากโลหิ ต ระดู ต กค า งอยู ใ นร า งกาย ทำให เ กาะตั ว เป น ลิ่ น อยู บ ริ เวณต อ มโลหิ ต

อขึง้นคแตรางกายกลับซุบผอม มีอาการไอ อาเจียน รอนหนาวสลับไปมา มือบวม เทาบวม


ก ทองขึ้น แนนเฟอ เปนตน
๓. เกิดจากโลหิตระดูเนาเสีย เปนโลหิตระดูพิการ โลหิตคลอดบุตรที่ตกคางอยูจนเนาเสีย
ทำใหอาการผิดปกติขึ้นทองอืด อาเจียน เหงื่อแตก น้ำลายมีรสขม หนามืด เปนลม ฟกบวม
ขึ้นตามตะโพก หัวเขา ปลีนอง สะดือ และบวมขึ้นทั่วกายทำใหแนนในอก ทองตึงและใหญ
ขึ้น หายใจเหนื่อย นอนไมหลับ บริโภคอาหารไมได เปนตน
๔. เกิดจากโลหิตจาง หรือที่เรียกวา น้ำคาวปลาระคนกับโลหิตระดู มีอาการเบื้องแรก เมื่อย
มือ เทาสันหลัง วิงเวียน ตามัว จุกเสียด แนนหนาอก ทองขึ้น ถึงบวกพองทำใหใหญขึ้นจน
ผิดปกติ บริโภคอาหารไมได เปนตน
โลหิตสุก โลหิตดี เลือดดี
วัณโรค น.โรคชนิดหนึ่งเกิดที่ปอด เปนตน ทำใหรางกายทรุดโทรมเสื่อมไปตามลำดับ โบราณเรียก
วัณโรคปอด วา ฝในทอง.
193
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

วางปลิง ๑. ก.นำปลิงมาวางไวตำแหนงที่ตองการใหดูดเลือดเลียออก, วางปลิง หรือวางชัลลุกะ ก็


เรียก. ๒. น.วิธีที่บำบัดโรคแบบการแพทยแผนไทยวิธีหนึ่ง โดยการนำปลิงมาวางไวตาม
ตำแหนงตาง ๆ ของรางกายที่ตองการใหดูดเลือดเสียออก.
วาโยธาตุ น.สิ่งที่ประกอบขึ้นเปนรางกายสวนที่ทำใหเกิดการเคลื่อนไหวของธาตุทั้ง ๔ ตามอวัยวะตาง
ๆ ของรางกายมี ๖ ชนิด ไดแก ลมพัดตั้งแตปลายเทาถึงศีรษะ (อุทธังคมาวาตา) ลมพัดตั้งแต
ศีรษะถึงปลายเทา (อโธคมาวาตา) ลมพัดในทองพัดนอกลำไส (กุจฉิสยาวาตา) ลมพัดใน
ลำไสและกระเพาะอาการ (โกฏฐาสยาวาตา) ลมพัดทั่วสรีระกาย (อังคมังคานุสารีวาตา)
และลมหายใจเขาออก (อัสสาสปสสาส วาตา), วาโยธาตุ ก็เรียก. ดู ธาตุ ประกอบ.
วิตถาร ละเอียด ถี่ถวน
วิปริต ก.แปรปรวน, ผิดปรกติ, ผิดแนวทาง, แปรปรวนไปขางราย, กลับกลายไปขางราย. (ป; ส.
ไ ท ย
วิปรีต)
บ า
้ น
ที่ตั้ง หรือที่แรกบังเกิดโรค บรรดาภัยไขเจ็บทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ื้นเพราะ สมุฏฐานเปนที่ตั้ง
จำแนกได ๕ สมุฏฐาน คือ ธาตุสมุฏฐาน อุตุสมุฏฐาน อายุลสะมุพฏฐาน กาลสมุฏฐาน และ
สมุฏฐาน

ย แ สมุฏฐาน กาลสมุฏฐาน และ


ประเทศสมุฏฐาน ดูเพิ่มเติมที่ ธาตุสมุฏฐาน อุตุสมุฏฐาน
น ไท อายุ
ประเทศสมุฏฐาน

์ ผ
ย ง และเสมหะ ออกมามีสีดำ

แดพ
สรเภทโรค ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการไอมากจนเสียงแหบแห
ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคตอทุกาชนิ
ก ร
ก.อาการที่หมดความรูสึก เชนญเปานลมลมสลบ
สรรพพิษตอ

ัญ
สลบ
อาการที่เปนลมทำใหูม มืดิปหนาตาลาย ใจหวิววาบ ๆ หรือ กระสับกระสาย สวิงสวายในใจ
สวิงสวาย
อง ภ
สะทาน อาการของโรคอย
ค ร า งหนึ ่ง พิษไขทำให หนาวตัวสั่น
ดูที่ สะทคาุ้มน
สะทานหนาว
สะทานหนาวสั่น

ดูกทอี่ สะทาน
สะอึก อาการของโรคอยางหนึ่ง เกิดขึ้นภายในเปนกำลังลมดันขึ้นมากระทบปากชองหลอมลม
ทำใหชะงักแลวระเบิดออกมาโดยไมตั้งใจ
สันทฆาต ๑. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เปนกับบุรุษและสตรี อาการของโรคเกิดเปนเลือดสด เปนกอนตกออก
จากทวารเบา เลือดนั้นเนาใสเหมือนน้ำลางเนื้อหรือน้ำคาวปลา ทำใหปสสาวะออกเปน
หยด ๆ และปวดมาก
๒. ในหนังสือแพทยศาสตรสงเคราะห กลาววา อาการของงโรคสันทะคาดมี ๔ ชนิด คือ
๒.๑ อาสันทะคาดเปนกับหญิงเกิดจากโลหิตและระดูแหง เปนกอน ขนาดประมาณฟอง
ไขไกติดอยูที่กระดูกสันหลัง ทำใหมีอาการเจ็บหลังปวดมากถึงบิดตัว
๒.๒ โทสันทะคาด เกิดจากทองผูกจนเปนพรรดึก เกิดเปนกองลมเขาไปอยูในทองทำให
เจ็บปวดไปทั้งตัว มีอาการเมื่อยบั้นเอว ขัดตะโพก เวียนศีรษะ สะทานรอนสะทานหนาว
194 เปนตน
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

สันทฆาต (ตอ) ๒.๓ ตรีสันทะคาด เกิดเปนเม็ดผุดขึ้นภายในบริเวณดีตับ หรือ ในลำไส ทำใหเปนไข


จุก เสียด ทองพองมีอาการเพอ คลั่ง ประดุจผีเขาสิง ถาเปนนาน ๗-๘ วัน โลหิตจะแตกออก
ตามทวารทั้ง ๙
๒.๔ อาสันทะคาด เกิดจากการฟกช้ำภายใน เชนตกจากที่สูง ถูกทุบ ถอง ตีโดยแรง
เจ็บเนื้อตัว ทำใหโลหิตในรางกายคุมกันเขาเปนกอน มีอาการเจ็บรอนในอก เสียดแทง
สันหลัง ดุจเปนเม็ดยอดขึ้นภายใน ถาวางยาผิด โลหิตกระจายออกแลวแลนเขาสันหลัง
ลงสูทวารหนักเบา เปนตน
สันนิบาต ๑. ความเจ็บปวยอันเกิดจากกองสมุฏฐานปตตะ วาตะ และเสมหะ รวมกันกระทำใหเกิด
โทษเต็มกำลัง ในวันที่ ๓๐ ของการเจ็บปวย


๒. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ทำใหเปนไข พิษของไขมีอาการหนาวสั่น ชัก กระตุก และเพอ
ไ ท
้าน างหนึ่ง เชน บริโภค
สัมประชวร ชื่อไขชนิดหนึ่ง เกิดเพราะเลือดเสมหะ ดี เสนและลมในรางกายผิดปกติพิษไขขึ้น
อาการของโรค หรืออาการไข ที่มีอาการผิดปกติขึ้นดวยเหตุอยาบงใดอย
สำแดง
ะ พ ื้น
อาหารที่ไมถูกกับโรคเปนตนบางทีเรียกวา ผิดสำแดง
แ ล
ย วออกมาทางปาก เชน สำรอก
สำรอก
ไ ท
นดถึงอายุ ๑ ขวบ เด็กมาการขยอนเอาสิ่งที่กิน
๑. ก.อาเจียน, ขยอนเอาสิ่งที่กลืนลงไปในกระเพะอาหารแล
อาหาร. ๒. น. อาการซึ่งเกิดในเด็กตั้งแตแรกเกิ
ย ผ
์แ า มี ๔ อยาง คือ สำรอกเปนเสมหะ สำรอก
เขาไปออกมาทางปาก ตำราการแพทยแผนไทยว
พ ท นเม็ดคลายเมล็ดมะเขือ นอกจากนี้ เด็กยังอาจ

มีอาการทองอืดเฟอ ทองเดินกมีาไรข เปนตน คัมภีรประถมจินดา (๔๐/๔๓๖-๗) วาเด็กในชวง
เปนสีเหลือง สำรอกเปนสีเขียว และสำรอกเป

อายุ ๑ ขวบ จะสำรอกญ๗ ครั้ง ดังความตอนหนึ่งวา “...ถาแลกุมารกุมารี ผูใดคลอดจาก
ครรภมารดาแลว ิป ัญ ดอันเปนเหตุที่จะให บังเกิดโรคตาง ๆ นั้น คือ สำรอก ๗ ครั้ง
ง ภ ม
ู แลกำเนิ

ค อ
ร าตะโพกแลเขานั้นเคลื่อน ทรางจึงพลอยทำโทษครั้ง ๑ เมื่อดอกไมขึ้นทรางจึง
เมื่อจะชันคอนั ้ น ครั้ง ๑ เพราะเสนเอ็นนั้นไหวทรางจึงพลอยทำโทษครั้ง ๑ เมื่อรูคลาน

ง ค ุ้ม ้ง ๑ เมื่อรูยาง เพราะวากระดูกทั้ง ๓๐๐ ทอนนั้นสะเทือนไหวแลเสนเอ็น


นั้นเพราะว

กอกระจายสิ้น ทาวา สำรอกกลาง ทรางก็พลอยทำโทษ ครั้ง ๑ เมื่อรูยางเพราะวาไส พุงตับ


พลอยทำโทษครั

ปอดนั้นคลอน ทานวาสำรอกใหญใหระวังจงดีเถิดทราง ก็พลอยทำโทษครั้ง ๑ ซึ่งวามาทั้งนี้


เปนธรรมดาวิสัยมนุษยทุก ๆ คน มิไดเวนเลย...”.
สำแลง ของแสลงที่ทำใหโรคกำเริบ ดูเพิ่มเติมที่ สำแดง แสลง
สิตะมัคคะวาโย ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง มีอาการใหตัวเย็นมือเทาตาย เคลื่อนไหวไมได เปนตน
เสมหะ เมือกที่ออกจากลำคอหรือลำไส
เสียด อาการของโรคชนิดหนึ่งทำใหรูสึกเจ็บแทรกเขาไปในสวนของรางกาย
เสียว รูสึกแปลบ เกิดอาการที่ทำใหขนลุก
แสลง ว.ไมถูกกับโรค หรือธาตุ เชน แสลงโรค.

195
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ไสดวน น.โรคติดตอทางเพศสัมพันธชนิดหนึ่ง เกิดกับผูชาย ผูปวยมีอาการเปนเม็ดขึ้นที่ปลายคง


คชาต หรือบริเวณรอบปลายองคชาต แลวเม็ดนั้นแตกออกเปนหนอง ทำใหมีอาการปวด
แสบปวดรอนมาก แผลจะเนาเปอย ลามจากปลายองคชาตเขาไปเรื่อย ๆ เมื่อถึงโคนองคชาต
ก็จะทำใหตายได ดังคัมภีรมุจฉาปกขันทิกา (๒/๓๑๔) ตอนหนึ่งวา “...จะวาดวนบุรุศเปนไส
ดวน เปนบุพโพ ๔ ประการ คือเปน ดวยเสพยมาตุคาม กระทบช้ำใน ถามิดังนั้นก็เปนดวย
เสพยสัตรีลามกก็ใหเปนเมดขึ้นมาประมาณเทาเมดถั่วดำ ขึ้นที่ปลายองคสูตรปลายองคชาต
ก็ดี ขึ้นรอบองคชาตนั้นก็ดี แตกเปนน้ำเหลือง บุพโพ โลหิต ใหทำพิศนเจบปวดแสบรอนแล
ใหรอนดังไฟลาม เนาเขาไปแตปลายองคชาต บางทีกัดฅอองคชาตเนาเขาไปทุกวัน ๆ จนถึง
โคนองคชาตเมื่อใดก็ตายเมื่อนั้นแล...”.


ไสลาม น.โรคติดตอทางเพศสัมพันธชนิดหนึ่ง เกิดไดทั้งในผูหญิงและผูชาย ผูปวยมีเม็ดฝขึ้นที่ภายใน
ไ ท
้าน
อวัยวะเพศและลามออกมาภายนอก ไปที่ทองนอย ทวารหนัก ทวารเบา เมื่อเม็ดฝแตกออก

หนองจะไหลออกมา อาจมีอาการปวดมวนทอง ถายเปนมูกเลือด แนนหนาอก อาเจียน กิน
ื้น
ะ พ
อาหารไมได หรือเปนลมบอย ๆ รวมดวย ดังคัมภีรมุจฉาปกขันทิกา (๒/๓๑๘) ตอนหนึ่งวา

ย แ
“...อันวาเปนไสลามนั้นคือผุดขึ้นมาเปนเมด ๆ ดุจกัน แตวาเปนเมดแตขางในออกมา บางที

น ไท
ก็เปอยทั้งขางนอก ขางใน ลามขึ้นมาถึงทองนอย ทวารหนัก เบา ผุดดังเปนฝ แลวก็เปน

ย ์แ ผ
บุพโพออกมาทางทวารหนัก เบา บุรุศสัตรีเปนเหมือนกัน ครั้งเปนดังนั้นแลวก็ใหเปนไป

พท
ตาง ๆ บางทีใหลงทองเปนมูก โลหิต ใหปวดมวนจุกเสียดแนนในอก เพราะวาน้ำเหลืองน้ำ

า รแ
แลนเขาไปตามลำไส มักใหอาเจียนกินอาหารมิได บางทีใหลมจับเนือง ๆ ถาเปนดังนั้ทานวา
าก
ัิปญญ
เขาอยูในมือพระยามัจจุราชแล...”.
หงสระทด ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการตัวรอนจัดมือเทาเย็น หอบสะอึกลิ้นกระดางคางแข็ง จับไขไมเปน
ภ ม

อง
เวลาไขจับ มีอาการตัวเกร็งเหมือนทอนไม เปนตน พิษไข

ค ร
มุ้
หทัยโรค ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการหัวใจผิดปกติ เปนตน
หละ
อง ค
น.โรคเด็กชนิดหนึ่ง เกิดกับทารกที่มีอายุไมเกิน ๓ เดือน ผูปวยมีเม็ดพิษผุดขึ้นที่ปาก เม็ดพิษ

นี้มีทั้งชนิดไมมียอดและชนิดมียอดแหลม มีลักษณะตาง ๆ กัน ๙ อยาง ดังนี้ ยอดสีเหลือง
ยอดสีแดง ยอดสีดำคลายน้ำหมึก ยอดสีเขียวใบไม ยอดสีดำคลายสีนิล ยอดสีมวงคล้ำหรือสี
ดำแดงช้ำคลายสีลูกหวาหาม ยอดสีคราม ยอดสีขาว และไมมียอดแตขึ้นเปนสีแดงทั่วทั้ง
ปาก นอกจากนี้ โรคนี้ยังมีชื่อเรียกแตกตางกันไปตามวันเกิดของผูปวยดวย ดังคัมภีรประถม
จินดา (๑/๒๓๙) ตอหนึ่งวา “...ถาแพทยผูใดจะรักษาใหดูปากแลลิ้น แลวใหรูวาหละแหง
ทราง อันกำเนิดหละแหงทรางนั้นมีอยู ๙ ประการ ยอดเหลืองประการ ๑ ยอดแดงประการ
๑ ยอดดำดุจน้ำหมึกประการ ๑ ยอดเขียวดุจใบไมเปนสายโลหิตอยูในประการ ๑ ยอด ดังศี
นิลประการ ๑ ยอดดังสีผลหวาหามประการ ๑ ยอดดังสีครามประการ ๑ ยอดขาวประการ
๑ ใหรักษาดูตามธรรมเนียมทรางนั้นเถิดอนึ่ง ขึ้นแดงไปทั้งปากรายนักใหยาจงดี อนึ่งขึ้นเตม
ไปทั้ ง สิ้ น แลศี นั้ น เหลื อ ง ชื่ อ ละอองพระบาท ถ า ขึ้ น ยอดนั้ น เหลื อ งดั ง เมลดเข า โภชชื่ อ
แสงพระจันทร เมื่อขึ้นนั้นใหลงทองแลจักษุแขง...”.

196
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

หละนิลกาฬ น.หละทีเปนกับเด็กที่เกิดวันพฤหัสบดี ผูปวยมีเม็ดสีคล้ำคลายสีนิล เมื่อทำพิษจะทำใหเปน


อัมพาตครึ่งตัว ดังคัมภีรประถมจินดา (๑๕/๑๗๙) ตอนหนึ่งวา “...อันลักษณะหละนิลกาฬ
นั้น เมื่อจะบังเกิดขึ้นใหตายไปครึ่งตัว รองไหมิออก ถาขึ้นอยูได ๑ วัน ๒ วัน ก็ดี กลายเปน
มหานิลกาฬกลาขึ้นรายนัก ใหเขียวไปทั้งตัว...”. ดู หละประกอบ
หละแสง น.หละที่เปนกับเด็กที่เกิดวันจันทรและวันศุกร ผูปวยมักมีเม็ดพิษสีเหลืองขึ้นที่บริเวณขา
พระจันทร กรรไกรซายหรือขวา ขนาดโตเทาเม็ดขาวโพด ทำใหมีอาการทองรวง ตัวเย็น ลิ้นกระดาง
คางแข็ ง หน า ผากตึ ง ร อ งไห ไ ม มี น้ ำ ตา ตาแข็ ง ค า ง เป น ต น ดั ง คั ม ภี ร ป ระถมจิ น ดา
(๑๕/๑๘๓) ตอนหนึ่งวา ““..อันวาลักษณะหละแสงพระจันทรนั้น เมื่อจะบังเกิดขึ้นเม็ดเติบ
เทาเมล็ดขาวโพดมีสีเหลืองขึ้นตั้งแตตนขากรรไกรซายฤขวาก็ดุจกัน แลวจึงกระทำใหลงทอง


ตาแข็งแลวใหลิ้นกระดางคางแข็ง แลใหรอนไหน้ำตาไมมี ใหหนาผากตึง แลวใหตัวเย็น
ไ ท
อาการของโรคชนิดหนึ่ง พิษของโรคทำใหหายใจถี่ ๆ เหนื่อย บ้าน
ดังนี้...” ดู หละ ประกอบ.
หอบ
ะ พ ื้น
หัวเหนา น.สวนของรางกายอยูระหวางทองนอยกับอวัยวะสืบพันธุ, หน
แ ล าเหนา ก็เรียก.
โรคอยางหนึ่งมีอาการแนนในอก หายใจไมสะดวก ทย
หายใจขัดอก
น ไ
น.ภาวะหายใจไมสะดวกเนื่องจากหลอดลมตีผบแคบลงมักเกิดจากการหดตัวหรือการอักเสบ
หืด
ย ์แ
ของหลอดลม.
พ ท
า รแ
หืดไอ อาการหอบและไอ
อาการของโรคอยางหนึ่งญ

หูไามรับเสียง หรือไมไดยินเสียง
ิปัญ่ง หูไมรับเสียง หรือไมไดยินเสียง
หูตึง
อาการของโรคอยูมางหนึ
หูหนวก
อง ภ
หูหนวก หูตึง

ค างหนึ่ง หูไมรับเสียง หรือไมไดยินเสียง
อาการของโรคอย างหนึ่ง หูไมรับเสียง หรือไมไดยินเสียง
หูหนัก
ง ค ม
้ ุ
อาการของโรคอย
หูหนัก อ
ก ดูที่ หูหนัก
ทั้งสองขาง
เหงื่อตก เหงื่อออกตามผิวกายมากเหมือนอาบน้ำ บางที่เรียกวา เหงื่อแตก
เหน็บชา โรคอยางหนึ่ง มีอาการชาตามอวัยวะ สวนตาง ๆ ของรางกาย
เหน็บไปทั้งตัว ดูที่ เหน็บชา
ใหทองขึ้น อาการของโรคอยางหนึ่ง มีอาการเหมือนมีลมดันขึ้น ทำใหแนนในอก ทำใหเจ็บปวดในอก
ใหรากลมเปลา อาการของโรคชนิดหนึ่ง คือ การสำรอก หรือขยอนลมออกมาทางปาก บางทีเรียกวา รากลม
เปลา
ใหลงเปนโลหิต ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคถายอุจจาระออกเปนเลือด

197
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ใหลงใหราก ในที่นี้หมายถึง อาการของโรค เปนทั้งลงทองหรือทองเสียและอาเจียน ซึ่งเกิดเปนขึ้นพรอม ๆ


กัน จำเริญธาตุ
ไหวตัวไปมา ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคอยางหนึ่ง เคลื่อนไหวตัวไมได
ก็มิได
อชิรณะ อาหารที่บริโภคไมถูกกับโรค
อติสาร อาการของโรคชนิดหนึ่ง เปนอาการไขหนักมาก ถึงขีดอันตรายหรือถึง ระยะใกลตาย
อติไสย อาการของโรคหนักมากถึงระยะใกลตาย
อยูไฟ ๑. ก.นอนหรือนั่งผิงไฟ ใชกับสตรีหลังคลอด โบราณมักใชไฟจากไมที่ติดไฟงาย ใหความรอน


ดีและนาน ไมแตกปะทุ เชน ไมสะแกนา ไมมะขาม. ๒. น. กระบวนการดูแลสุขภาพของ
ไ ท
้าน
มารดาหลังคลอดในระยะแรก ซึ่งครอบคลุมการนอนหรือนั่งผิงไฟ การเขากระโจม การอาบ

ื้นบ
สมุนไพร การนั่งถาน การทับหมอเกลือ การนวด การประคบ การกินยา การกินอาหาร
ะ พ
เปนตน โบราณเชื่อวาความรอนจะชวยใหมดลูกเขาอูไดเร็วขึ้น ชวยขับน้ำคาวปลา ชวยให

ย แ
เลือดลมของสตรีหลังคลอด ไหลเวียนดีขึ้น ลดการเกร็งและปวดเมื่อยของกลามเนื้อ ชวยให
น ไท
แผลฝเย็บหายเร็วขึ้น ลดอาการเจ็บปวดอันเกิดจากการหดรัดตัวของมดลูกและจากเตานม

ย ์แ ผ
คัด ชวยใหความอบอุนแกรางกาย เปนตน. ในเรือนไฟ ก็เรียก.

พ ท งเคลื่อนไหวไมได

อัณฑพฤกษ ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง มีอาการอวัยวะเพศชายตายแข็
กา ร
อันทพฤก ดูที่ อัณฑพฤกษ

ในที่นี้หมายถึงอาการของผูปวญย ทำใหมีอาการคลายผีเขาอยูในรางกายของผูปวย
ิูมปัญ
อาการดุจปศาจ
เขาสิง
ง ภ นแรงมากจนรักษาไมไดถึงตายอยางเดียว
ในที่นี้หมายถึง ออาการของโรครุ
อาการตัด
ค ร
อาเจียน
ง ค ุ้ม
ก.สำรอกออกมาทางปาก, รากออกมา, อวกออกมา.
กอ
อาเจียนลม อาการของโรคชนิดหนึ่ง คือ การสำรอก หรือขยอนลมออกมาทางปาก บางทีเรียกวา รากลม
เปลา
อุทรโรค น.๑. ทอง. ๒. ในคัมภีรวิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๑ (๓๙/๖๕) ใหความหมายแตกตาง
ออกไปวาเปน “...อวัยวะที่หุมไส (ปอง) คลายโปงผาที่เหิดขึ้นตรงกลางผาเปยกน้ำที่คนรวบ
(ชาย) ทั้ง ๒ ขางเขา...” และคัมภีรไดบรรยายลักษณะอวัยวะนี้วา “...ขางนอกเกลี้ยงขางใน
เปนดังผาชับระดูที่เปอนแลว เขาหอเศษเนื้อๆ ไว แมนจะกลาววา ขางในอุทรนั้นเปนดังขาง
ในของผลขนุนละมุด ดังนี้ก็ชอบ มันเปนที่ที่หมูหนอน(ตัวพยาธิ) อันมีแตกตางกันถึง ๓๒
ตระกูล...”.
อุทรโรคเพื่อลม ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคภายในทองอยางหนึ่ง ที่เกิดขึ้นเพราะลมในรางกายผิดปกติ

198
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

อุทรโรค ในที่นี้หมายถึง อาการของโรคภายในทองอยางหนึ่ง ที่เกิดขึ้นจากกองสมุฏฐานปตตะ วาตะ


เพื่อสันนิบาต และเสมหะ รวมกันกระทำใหเกิดโทษเต็มกำลัง ในวันที่ ๓๐ ของการเจ็บปวย
อุปทม น.โรคทางเดินปสสาวะและอวัยวะสืบพันธุกลุมหนึ่ง เกิดไดทั้งในผูหญิงและผูชาย ผูปวยมี
อวัยวะเพศแดง บวม เปนหนอง ปสสาวะขัด แพทยแผนไทยแบงสาเหตุของการเกิดโรคออก
เปน ๔ ประเภท ไดแก ๑) เกิดจากการมีเพศสัมพันธ แลวทำใหอวัยวะเพศอักเสบ ๒) เกิด
จากการมีเพศสัมพันธกับหญิงสำสอนซึ่งเปนกามโรค ๓) เกิดจากผลของโรคดาน กษัยกรอน
หรือกาฬมูตร ซึ่งมักเกิดกับพระสงฆหรือนักบวช และ ๔) เกิดจากนิ่วในทางเดินปสสาวะ
ทำใหทางเดินปสสาวะอักเสบ ดังคัมภีรมุจฉาปกขันทิกา (๒/๓๐๘) ตอนหนึ่งวา “...สัตรียัง
ไมมีระดูขมเหงดวยกำนัดยินดีนั้นประดุจดังชางสารอันมีกายใหญ เลห ประหนึ่งบุทคลไลให


จำเภาะเขาไปที่ชองแคบก็เจบปวดช้ำในนั้น ก็เปนคนกาฬกิณีสำลอนดวยน้ำกิเลศเปนอาจิณ
ไ ท
้าน
ครั้นชายไปเสพยม าตุ ค าม ก็ บั ง เกิ ด โรคสมมุ ติ ว า เปนอุ ป ะทมเพราะอุ ป ทวะชั่ ว ช า นั ก แล

ประการหนึ่ง คือบุรุศบริสุทธิไดมักมากดวยกิเลศ คือพระภิกษุแลฆราวาศเปน พหูสูตก็ดี โรค
ื้น
ะ พ
อันนี้เกิดแกบุคคลจำพวกใดจำพวกหนึ่งก็ดี เกิดเพราะกาลมูตร อนึ่งโรคอันเกิดดวยกระไสย

ย แ
กลอน เกิดอยูใตสะดือมักขัดลงมาถึงหัวเหนาเดิมที ใหขัดทางปสสาวะ คือกรอนลงฝกมักให

น ไท
ลงมาทั้งฝก ลงมาทางองคชาตใหองคชาตปวดแสบในองคชาต ใหปศสาวะไหลหยด ๆ ออก
มา...”,อุปทังสโรค ก็เรียก
ย ์แ ผ
ไอ
แ พท
อาการที่ ล มพุ ง จากปอดโดยแรง เพื่ อ ขั บ สิ่ ง ที่ เ ป น อั น ตรายออกมา ทำให เ กิ ด เสี ย งพิ เ ศษ

ากา
ดังจากลำคอ โดยไมตั้งใจ หรือเกิดจากระคายเคืองในลำคอ

ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

199
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

เครื่องยาสมุนไพรในจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร


กระแจะ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืดตนผลัดใบ ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับรูปขอบ
ขนาน ขอบใบมีจักแบบฟนเลื่อยถี่ๆ ดอกออก เปนชอกระจุกสีเหลืองสด ผลเมื่อ
สุกสีดำมัน สรรพคุณ แกปวดเมื่อย ขับพยาธิ แกโรคน้ำเหลืองเสีย เปนตน
บางทีเรียกวา ตาลเหลือง ชางนาว ตานนกกรด กำลังชางสาร ขมิ้นพระตน
ตะนาว ชางโนม ชางโหม ก็มี ดูเพิ่ม เติมที่ กระแจะตะนาว และพญายา

ไ ท ย
้าน
กระแจะตะนาว วัตถุสมุน ไพรชนิ ด หนึ่ ง ได ม าจากส ว นผสมของผงเครื่ อ งหอม จากไม จั น ทน

ื้นบ
เนื้อไม ชะมดเชียง หญาฝรั่น เปนตน บางที เรียกวา กระแจะ ก็มี
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชลมลุก มีกาบใบหุะมพลำตนตลอด ใบมีกลิ่นหอม
กระชาย
ย แ ล
ไทโรคอันเกิดในปาก แกมุตกิด แกลมอัน
ดอกชอ สีมวงแดง มีเหงา มีรากเก็บอาหารแยกเป นกระเปาะจากเหงา เรียกวา
กระโปก หรือ นมกระชาย สรรพคุณนแก
์ยแอผย ขับระดูขาว แกปวดมวนในทอง เปนตน

บังเกิดแตกองหทัยวาต แกปากเป
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปแพ
กระเชาผีมด

มะพราว ใบเดี่ยว ามีกกาิ่งกานคลายกาฝากทั่วไป ภายในหัวเปนรูพรุน เมื่อผาออกดู
นไมที่อาศัยเกาะอยูตามตนไมอื่น หัวกลมโตเทาลูก

มักมีมดดำอาศัญ


พยาธิ ูมแกิปพิษในขอในกระดูก แกพิษประดง แกขอเขาขอเทาบวม รักษามะเร็ง
ยอยู เนื้อนิ่ม สีน้ำตาลไหม สรรพคุณ บำรุงหัวใจ ขับชีพจร ขับ

เปอนงตภน บางทีเรียงวา หัวรอยรู ปุมฟา ดาลูบูตาลิมา



ค พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อย มีมือเกาะ เหมือนมะระขี้นก ใบเดี่ยว
กระดอม
ง ม
้ ุ
ค ดอกเดี่ยว ผลขนาดเทาผลสมอไทย หัวทายแหลม สันสีออน ๑๐ สัน ตามแนว
ก อ
หัวทาย เมื่อสุกสีแดงสด ผลแกและผลสุกมีพิษ หามรับประทาน สรรพคุณ บำรุง
น้ำดี แกดีแหง ดีฝอ ดีเดือด คลั่งเพอ เจริญอาหาร เปนตน
กระดังงา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมยืนตนขนาดกลางถึงใหญ เปลือกตนสีเทาเกลี้ยง ใบ
คลายใบของตนเล็บมือนาง สีเขียวออนบางนิ่มปลายแหลมโคนมนกลม ดอก
เปนกลีบยาวออน มี ๖ กลีบ ขอบหยักเปนคลื่น กลีบชั้นในสั้น ดอกออนสีเขียว
แกจะเปนสีเหลืองออน กลิ่นหอมฉุน สรรพคุณ บำรุงโลหิต บำรุงธาตุ บำรุง
หัวใจ เปนตน
กระดาดแดง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนพืชจำพวกหัว เหงา ลำตนใตดินขนานกับพื้นดิน สวน
เหนือดินจะตั้งตรง ใบเดี่ยวรูปหัวใจ สีแดงคล้ำ ดอกชอ เปนแทงยาว มีกาบหุม
ผลกลมเนื้อนุม สีแดง สรรพคุณ หุงน้ำมันสมานแผล ผสมทำยากัดฝาหนอง
200
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

กระดาดทั้งสอง พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ กระดาดขาว และกระดาดแดง


กระทกรก พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด
1. ชนิ ด เป น เถาเลื้ อ ยตามพื้ น ดิ น เถาเป น ขน ใบป อ มเป น ๓ หยั ก ข อ ใบมี
มือเกาะ ดอกสีขาว ผลกลมมีใยหุม ผลสุกมีสีเหลือง เมล็ดมีรสหวานออน ๆ
ชนิ ด นี้ ไ ม ใช ท ำยา เรี ย กว า เงาะป า เถาเงาะ กระโป กระโปรงทอง
หญารกชาง เถาสิงโต และถลกบาตร ก็มี
2. ชนิดเปนไมเถา เนื้อไมแข็ง ลำเถามีหนามหาง ๆ ใบรูป ไขปลายใบเรียว
แหลม ดอกออกเป น กระจุ ก ตามง า มใบผลเล็ ก กลม สรรพคุ ณ ใช เ ป น
ยาคุ ม ธาตุ ถอนพิ ษ เบื่ อ เมา แก ไข ขั บ พยาธิ เป น ต น นางชม น้ ำ ใจใคร
ไ ท ย
นางจุ ม สอกทอก กะทอกม า ชั ก กะทอก ควายเลื อ ด ผั ก รู ด กะเดาะ
ผักเยี่ยงงัว จากกรด อีทก อังนก ก็เรียก
บ ้าน
ะ พ ื้น ่ยวรูปไขปลายแหลม มีทั้ง

กระทอม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบเดี
ย แ
ไท ดใหโทษ สรรพคุณ แกบิด ปวดเบง แก
ชนิดสีแดง และสีเขียว ดอกชออัดแนนทรงกลม คลายดอกกระถิน มีเกสรคลาย

ผ น
ดอกกระถิน สีเหลืองแก เปนพืชเสพติ
ทองรวง แกปวดเมื่อยตามรา์แงกาย

ท ่น ทำใหกาวราว ดุดัน
อากาศครึ้มฟาครึ้มฝนพจะหนาวสั
ระงับประสาท ทำใหทนตอแสงแดด แตแพ


ร ่ง เปนไมลมลุกประเภทเดียวกันกับหญาตนกลมเปนปลอง
พืชสมุนไพรชนิกดาหนึ
กระทืบยอด
ขอสีแดงเรืญ

ิูมปัญ ณ ดับพิษรอน แกไข แกปสสาวะพิการ แกสะอึก ถอนพิษยาเบื่อเมา
่อ ๆ ใบเล็กฝอยเมื่อถูก กระเทือนจะหุบได ดอกเปนกระจุกสีเหลือง


สด สรรพคุ
อง
คร
เป นตน กระทืบยอบ จิยอบตนตาน นกเขาเงา ทืบยอด ไมยราบ ก็เรียก
กระทืบยอบ
ง ค ุ้ม ดูที่ กระทืบยอด
กระทือ กอ ดูที่ กะทือ
กระทุมนา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบเดี่ยวรูปไข เนื้อบาง ปลายมน
ดอกกลม คลายดอกกระถิน ออกเปนชอ มีกลิ่นหอม สรรพคุณ แกทองรวง
แกบิดมูกเลือด ปวดมวนทอง
กระเทียม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกมีหัวอยูใตดิน เนื้อออน สีขาวมีเปลือกนอก
สี ข าวหุ ม อยู ๒-๓ ชั้ น ใบยาวเรี ย วแบนหั ว แลใบมี ก ลิ่ น ฉั น หั ว มี ร สเผ็ ด ร อ น
สรรพคุณ แกเสมหะ แกทองอืด กระจายโลหิต หัวใชทาภายนอก แกโรค กลาก
เกลื้อน เปนตน ถิ่นอีสาน เรียกหอมขาว ถิ่นใตเรียกวาหัวเทียม ถิ่นพายัพเรียก
หอมเทียม
กระเทียมกรอบ กระเทียมที่แตกกลีบยอยออกเปนกลีบเล็กกลีบนอย
201
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

กระเทียมทอก กระเทียมหัวเดี่ยว ไมแตกกลีบยอย กระเทียมโทน ก็เรียก


กระเบา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ เนื้อไมมีสีน้ำตาล
อมเทา ใบเปนใบเดี่ยว ดอกออกเปนชอสีขาวนวล ผลคอนขางกลมเปลือกมัน
หนาสีน้ำตาล สรรพคุณ แกโรคผิวหนัง แกโรคเรื้อน มะเร็ง คุดทะราด โรคที่มีตัว
ใชหุงเปนน้ำมัน ทาภายนอก ทาผม รักษาผมรวง เปนตน บางทีเรียกวา กระเบา
น้ำ กระเบาขาวแข็ง กะดงเบา เปนตน
กระเบียน พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด เปนสูงปานกลางชนิดหนึ่ง ขึ้นอยู ในลำคลองเปลือกตน
เกลี้ยงนวลแกมเขียวคลายเปลือกตนขานาง อีกชนิดหนึ่งเปนไมยืนตนขนาดปาน
กลาง ชอบขึ้นใบปาตามลำตนเปนหนามหาง ๆ เปลือกเกลี้ยงสีเทา ดอกสีขาว
เมื่อโรยเปลี่ยนเปนสีเหลืองนวล ผลกลมรีผิวคายสีน้ำตาลหมน
ไ ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาขนาดเล็ก มีกลิ่นเหม็น้าเขีนยว มีสองชนิด คือ
กระพังโหม
บ แกตัวรอน ขับลม
กระพังโหมตัวผู และกระพังโหมตัวเมีย สรรพคุณ แกื้นตานซาง
ล ะ พไสเดือน แกดีรั่ว เปนยาอายุ
ย แ
แกธาตุพิการ แกทองเสีย เจริญอาหาร ขับพยาธิ
วัฒนะ เปนตน
น ไท
์ยแผ

กระพังโหมทั้ง ๒ ดูที่ กระพังโหมทั้งสอง
พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือแพกระพังโหมตัวผู และ กระพังโหมตัวเมีย ดูเพิ่มเติม
กระพังโหมทั้งสอง
กา ร
กระพังโหม
ญ า
กระลำพัก

ิ ัญ ดหนึ่ง ไดมาจากแกนของเนื้อไมที่เปนโรค มีเชื้อราเขาไปกินอยู
พืชสมุนไพรชนิ
ภ ม

ง นสลัดได ลั่นทม หรือตาตุม มีสรรพคุณแกลม บำรุงหัวใจ แกออนเพลีย
ภายในทำให กลายเปนไมมีกลิ่นหอม มีคุณสมบัติทางยา สวนมากไดมาจากแกน

ค ร อ
ของต

ง ค ุ้ม มีรสขม หวาน เย็น


กระวาน ก อ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกจำพวกเหงา ใบรูปหอกกวาง ดอกออกจาก
เหงาเปนชอทรงพุม สีเหลือง ผลกลมสีขาวนวลสีน้ำตาลออน หรือสีแดง ภายใน
มีเมล็ดสีน้ำตาลไหมติดกันเปนกลุมกอน ผลจะอยูติดกับกานรวมกันเปนชอ
สรรพคุณ ขับเสมหะ ขับโลหิต ขับลม บำรุงธาตุ กระจายเลือดและลมใหซาน
เปนตน
กราย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ออกใบเดี่ยวเรียงสลับ ดอกออก
เปนชอ สรรพคุณ แกบิด ลงทองอยางแรง บางทีเรียก หางกราย หนามกราย
ตานแดง แสนคำขี้อาย เปนตน
กรุงเขมา พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม เ ถาเนื้ อ แข็ ง ขนาดกลาง ใบเดี่ ย ว รู ป หั ว ใจ
มี ข นปกคลุ ม ก น ใบป ด เหมื อ นต น ก น ป ด ดอกตั ว ผู แ ละตั ว เมี ย แยกจากกั น
มีขนาดเล็ก สีเขียว เมล็ดโคงเหมือนพระจันทรครึ่งซีก สรรพคุณ แกไข แกดีรั่ว
202
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ดีลน ดีซาน เปนยาอายุวัฒนะ บำรุงอวัยวะเพศใหแข็งแรง แกลม โลหิต กำเดา


แกโรคตา ขับปสสาวะ เปนตน
กฤษณา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ลำตนคอนขางคดงอ
เนื้อไมออนสีขาว ใบเรียวเขียวเข็มเปนมัน ดอกเปนชอสีขาวมีกลิ่นหอมฉุน สวน
ที่จะนำมาใชเปนเครื่องยานั้น ไดมาจากแผลของลำตนที่ผุมีเชื้อราเขาไปกินอยู
ภายใน ทำใหเนื้อไมเปนสีดำ มีกลิ่นหอม กฤษณาที่มีคุณสมบัติทางยาตองมีน้ำ
หนักมาก เมื่อโยนลงน้ำจะจมทันที ถาลอยน้ำหรือยังลอยปริ่มน้ำ ไมนิยมใชเปน
เครื่องยา สรรพคุณ บำรุงโลหิต แกตับปอดพิการ แกไขเพื่อเสมหะและลม แก
ลมวิงเวียน บำรุงโลหิตในหัวใจ ทำใหหัวใจชุมชื่น
กลวยตีบ
ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนกลวยตานีปาเพราะลักษณะทุกอยางเหมือนกันกัน

้าน
มาก จัดอยูในกลุมที่เปนพันธุแทของกลวยตานีหรือพันธุที่ไดกลายพันธุไปจาก

พ ื้น
พันธุแท แตยังมีลักษณะพันธุแทอยูมาก ลำตนเทียมสูง ๓ – ๔ เมตรเสนผา

แล
ศูนยกลางประมาณ ๒๐ เซนติเมตร สีเขียวไมมีปนดำกาบลำตนดานในก็เปนสี

ไท
เขียว กานใบสีเขียว กานสั้นกวาใบกลวยตานีเยอะ และมักไมมีรอง สีของใบ มัก
ผ น
์แ
จะเหลือง ใบสั้นและเล็กกวาใบกลวยตานี

พท
กลอย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อยพัน ลำตนมีหนาม มีหัว ใตดิน ใบประกอบ
า รแ
มี ๓ ใบยอยเรียงสลับ ดอกออกเปนชอ หอยลง มี สีเหลือง ผลมี ปก ๓ ปก
าก
ัิปญญ
สรรพคุณ กัดเถาดานในทอง หุงเปนน้ำมันใสแผลกัดฝากัดหนอง



กวาง สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง เขากวางไดมาจากอวัยวะสวนหนึ่งของกวาง อยูบนศีรษะ

อง ภ
แข็งมีลักษณะรูปรางเหมือนกิ่งไม ยาไทยใชเขากวางเปนเครื่องยาอยางหนึ่ง
ค ร
มุ้
สรรพคุณ เปนยาเย็น ดับพิษทุกอยาง แกรอน ถอนพิษสำแดง มักเอามาคั่วให

อง ค เกรียม หรือสุมใหดำเกรียม แลวจึงเอามาผสมเขาในตำรับยา


กะตังใบ ก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม แตกกิ่งกานตั้งแตโคนตน ใบเปนใบประกอบ
แบบขนนกปลายคี่ ใบยอยมี ๓-๗ ใบ รูปรียาวหรือรูปขอบขนาน ขอบใบจักเปน
ซี่ฟน แผนใบสีเขียวมีหูใบเปนแผน ดอกออกเปนชอที่ซอกใบ ดอกสีเขียวออน
ผลรูปทรงกลมแปน ผลสุกสีแดงเขมจนถึงสีดำ เมล็ดเดี่ยว สรรพคุณ แกไข
ขับเหงื่อ ดับรอน แกปวดเมื่อยตามรางกาย และแกครั่นเนื้อครั่นตัวหรือผสมกับ
สมุนไพรอื่น ตมน้ำดื่มจนหมดรสฝาด แกตกขาว มะเร็งลำไส มะเร็งมดลูก
กะตังบาย ดูที่ กะตังใบ
กะทกรก ดูที่ กระทกรก
กะทิ พืชสมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง ได ม าจากน้ ำ ที่ คั้ น ออกมาจากเยื่ อ มะพร า ว หรื อ เนื้ อ
มะพราวขูดใหม
203
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

กะทิมะพราว ดูที่ กะทิ


กะทือ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก มีตนเปนเหงาเปนขอ ๆ อยูใตดิน ใบออก
ซอนกันเปนแผง มีดอกเปนชอ ชอดอก ออนใชเปนผักเครื่องจิ้ม เหงาออนใชเปน
เครื่องปรุงอาหาร สรรพคุณ บำรุงน้ำนมใหบริบูรณ แกปวดมวนในทอง แกบิด
ขับผายลม ขับปสสาวะ เปนตน
กะบัง แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่งไดมาจากดินขาว เปนดินธรรมชาติ ซึ่งจะออกสีขาวปน
ชมพูอยางสีควายเผือก
กะเพรา พืชสมุนไพร ๒ ชนิด ไดแก กะเพราขาว และกะเพราแดง เปนไมลมลุก ลำตน
แกแข็ง กลิ่นหอม มีขน กานใบสีเขียวอมแดง เรียกกะเพราแดง ถามีสีเขียว เรียก
ไ ท ย
กะเพราขาว สรรพคุ ณ บำรุ ง ไฟธาตุ ขั บ ลม แก ป วดท อ ง แก ล มตานซาง
ขับผายลม ทำใหเรอ แกจุกเสียด เปนตน
บ ้าน
ะ พ ื้น

กะเพราแดง ดูที่ กะเพรา

ย งตัวเมีย เปนไมลมลุก ลำตนมีขน
กะเม็ง
ไท
พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด คือ กะเม็งตัวผูและกะเม็
น บขอบใบหยักเปนฟนเลื่อย ดอกสีขาว

สรรพคุณ แกลมใหกระจาย แกยจ์แุกเสียดแนนเฟอ แกโลหิตซึ่งทำใหรอน หาม
ละเอียด ใบเปนรูปรียาวปลายแหลมริ

เลือด บำรุงโลหิต เปนตนแพเรียกวา คะเม็ง หอมเกี้ยว ลอม ใบลบ กะเม็งตัวเมีย
ก า ร
หญาสับ ก็มี
ญ า
กัญชา

ิ ัญ ดหนึ่งเปนไมลมลุกใบมนแฉกลึกเขาไปทางกานหลายแฉก ดอกสี
พืชสมุนไพรชนิ


เหลือภงออกเป
อง ก ๆ สรรพคุณแกโรคหอบหืด แกปวดทอง ลงทอง เปนตน ใชสูบปนกับ
นชอดอกตัวผูและดอกตัวเมีย (เรียกวา กะหลี่กัญชา) ผลเปนเมล็ด
รกลมเล็
ค ยาสูบ
ง ค ม
้ ุ
กันเกรา ก อ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบออกเปนใบเดี่ยว
ตรงกั น ข า ม เป น กลุ ม ตอนปลายกิ่ ง ดอกออกเป น ช อ มี สี ข าว เมื่ อ ใกล ร ว งมี
สีเหลืองเขม มีกลิ่นหอมเย็น ผลกลมเล็ก สรรพคุณ บำรุงรางกาย บำรุงธาตุ
บำรุงไขมัน เปนยาอายุวัฒนะ แกไขจับสั่น มองครอ หืด ไอ แกริดสีดวง แกทอง
มาน เปนตน บางที่เรียกวา ตำเสา มันปลา เปนตน
กางปลา พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม พุ ม ขนาดเล็ ก ใบเดี่ ย ว รู ป ไข ห รื อ รี หั ว ท า ยมน
ออกเรียงสลับกัน ดอกเล็กๆทรงกลม ชอละ ๑ – ๓ ดอก มีหลายชนิด คือ
กางปลาแดง ใบหนา ลำตนและกิ่งกาน สีแดงถึงน้ำตาล นิยาใชทำยา ผลสุกสีดำ
ขึ้นตามที่ลุมรกรางทั่วไป และกางปลาขาว ผลสีขาว ใบบาง ลำตนขาวนวล
สรรพคุณ แกหอบหืด แกรอนในกระหายน้ำ แกไข ขับพิษไขหัว แกตัวรอน
แกไขหวัด ดับพิษรอน ถอนพิษไข แกไขรากสาด เปนตน
204
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

กางปลาแดง ดูที่ กางปลา


กางปลาทั้งสอง กางปลาขาว และกางปลาแดง ดูเพิ่มเติมที่ กางปลา
กานพลู พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง ดอกเปนชอสีเขียวอมแดง นิยมเก็บ
ดอกตู ม ทำยา สรรพคุ ณ มี ร สเผ็ ด ร อ น กระจายเสมหะ แก เ สมหะเหนี ย ว
แก เ ลื อ ดออกตามไรฟ น แก หื ด ทำอาหารให ง วด แก ป วดฟ น แก ร ำมะนาด
แกปวดทอง แกลม แกเหน็บชา เปนตน
การบูร พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดใหญ ใบดกทึบ ใบเดี่ยว สีเขียว รูปรีปลาย
แหลม ดอกชอ สีขาวอมเขียวหรือเหลือง ขนาดเล็ก ออกเปนกระจุกตามงามใบ
เปลือกและราก นำมากลั่นดวยไอน้ำ ไดการบูรดิบ สรรพคุณ บำรุงธาตุ ทำให
ไ ท ย
อาหารงวด ขับเสมหะและลม แกธาตุพิการ แนนจุกเสียด ปวดทอง ขับลมใน
ลำไส แกไอ แกเลือดลม ชูกำลัง เปนตน
บ ้าน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดเล็กะพ ื้น ่ยว ทรงกลม ปลายจักเวาลึก

กาหลง ใบเดี
พับเขาหากัน ออกเรียงสลับกัน ดอกชอและ
กลีบดอกสีขาว ๖ กลีบ ผลเปนฝกไแบนยาว

ท สรรพคุณ แกปวดศีรษะ ลดความ
๕ – ๘ ดอก ทยอยบานไลกันไป

ดันโลหิต แกเสมหะพิการ แก์แเลืผอดออกตามไรฟน
ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึแ่งพเปนไมเถายืนตนขนาดใหญ เนื้อไมสีแดงเรื่อๆ มีเสนวง
สีดำ ซอนกัน ก๗า–ร ๙ ชั้น ใบเดี่ยว รูปหอก ปลายและโคนแหลม สรรพคุณ
กำแพงเจ็ดชั้น

บำรุ ง โลหิญ

การัญเขาขอ แกประดง ขับผายลม ฟอกและขับโลหิตระดู
ต ฟอกโลหิ ต แก โ ลหิ ต เป น พิ ษ ทำให ร อ น แก ป วดตามข อ แก ไข
ขอพิิป
ภ ม

กำมะถัน
ครองแรธาตุสมุนไพรมี ๒ ชนิด คือ กำมะถันเหลืองและกำมะถันแดง เปนธาตุวัตถุ
ง ค ม
้ ุ ธาตุบริสุทธิ์ สะสมอยูใตพื้นโลก ถูกสงขึ้นมาดวยแรงระเบิดของภูเขาไฟ หรือ
ก อ ตามน้ำพุรอนตางๆ ทำเปนแทง กลม แบน หรือบดเปนผง เมื่อเผาจะไดซัลเฟอร
ออกไซด สรรพคุณ ผงหรือกอน ขับลมในกระดูก แกน้ำเหลืองเสีย แกประดง
ฆาพยาธิทั้งภายนอกและภายใน แกโรคผิวหนังผื่นคันพุพอง เปนตน
กำมะถันทั้งสอง แรธาตุสมุนไพร ๒ ชนิด คือ กำมะถัน หรือ กำมะถันเหลือง หรือ มาศเหลือง
และกำมะถันแดง หรือ มโนศิลา
กำมะถันเหลือง แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนของแข็งสีเหลืองออน ไมมีกลิ่นหรือมีกลิ่นเพียง
เล็กนอย มีจุดหลอมเหลว เมื่อหลอมจะเปลี่ยนเปนของเหลวสีเหลือง สุพรรณ
ถันเหลือง มาศเหลือง ก็เรียก
กำยาน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ลำตนสีเทาหมน มีขน
เล็กนอย ดอกออกเปนกระจุกสีแดงขาว ผลกลม ยางจาก ลำตนมีกลิ่นหอม ถา
ใชเปนเครื่องยาตองเลือกยางจากตนที่มีอายุระหวาง ๓ – ๖ ป น้ำยาสีขาวมี
205
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คุณสมบัติทางยา มากกวาตนแก ยางสวนที่นำมาใชนั้น คือ ยางแหงที่เกาะ อยู


กับลำตน สรรพคุณ บำรุงหัวใจ ขับปสสาวะ แกโรคปอดอักเสบ แกหลอดลม
อักเสบ ขับเสมหะ สมานแผล แกลม แกนิ่ว ดับกลิ่น เปนตน
กำลังโคเถลิง ดูที่ กำลังวังเถลิง
กำลังวัวเถลิง พืชสุมนไพรชนิดหนึ่ง เปนพุมขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบเดี่ยวเรียงสลับ เปลือก
ตนสีน้ำตาลไม เนื้อสีน้ำตาลออน สรรพคุณ บำรุงโลหิต บำรุงธาตุ และเสนเอ็น
เปนตน เรียกวา ชาวัวเถลิง นมงัว กำลังโคเถลิง กำลังทรพี ปูน ปูนทาชะแมบ
ก็มี
กุม พืชสุมนไพร ๒ ชนิด คือ กุมบก กุมน้ำ เปนไมยืนตน ใบเปนใบประกอบ มีใบ

ยอย ๓ ใบ ดอกออกเปนชอ กลีบ ดอกเปนสีขาวแลวกลายเปนสีเหลือง ผมกลม
ท ย
บ ้าน
หรืรูปไข ผิวนอกแข็งและสาก สรรพคุณ แกไข ขับพยาธิ เจริญอาหาร บำรุงธาตุ
เปนตน
ะ พ ื้น
พืชสมุนไพร ๒ ชนิดคือ กุมบก และ กุมน้ำ แล
กุมทั้งสอง
ไท ย
ผ น นชอมีใบยอย ๑ ใบ ดอกออกที่ปลาย
กิ่ง กลีบดอกสีขาวเมื่อแรกบานยแล์แวเปลี่ยนเปนสีเหลือง ผลเปนรูปทรงกลม เมื่อ
กุมบก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตน ใบออกเป

พ ท
สุกสีเทาอมเหลือง สรรพคุ
า ร แ ณ แกไข ขับพยาธิ ขับปสสาวะ เจริญอาหาร ดูเพิ่ม
เติมที่ กุม
า ก
แรธาตุสมุนัญ ญ
เกลือ

ิ ไพรชนิดหนึ่งมีรสเค็ม เปนเครื่องยาที่มีชื่อเรียก ยอยออกไป ๕ ชนิด
รวมเรีภยูมกวาเกลือทั้งหา หรือ เบญจเกลือ ไดแก เกลือพิก เกลือฝอ(เกลือฟอง)
ร อ งอสมุทรี เกลือสินเธาว เกลือวิก

เกลื

ง ค ุ้ม
กอ
เกลือทั้งหา แรธาตุสมุนไพร ๕ ชนิด เบญจเกลือก็เรียก ไดแก เกลือสินเธาว เกลือวิก เกลือ
พิก เกลือฝอ(เกลือฟอง) เกลือสมุทรี
เกลือเยาวกาษา แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนเกลือโพแทสเซียมคารบอเนตที่ไมบริสุทธิ์ พบทั้ง
ในพืช สัตว และแรธาตุ สรรพคุณ บำรุงเสมหะ แกหืดไอ เปนตน
เกลือสมุทร แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนเกลือแกงที่ไดจากน้ำทะเล สรรพคุณ ชวยบำรุง
ธาตุทั้ง ๔ แกน้ำดีพิการ แกโรคทองมาน เปนตน
เกลือสินเธาว แร ธ าตุ ส มุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น เกลื อ แกงที่ ไ ด จ ากใต ดิ น สรรพคุ ณ รู ท ำลาย
พรรดึก แกระส่ำระสาย แกสมุฏฐานตรีโทษ แกนิ่ว เปนตน
เกสรบัวหลวง ดูที่ บัวหลวง

206
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

แกวแกลบ แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนสารพวกทราย ที่สะสมอยูในแกลบ มีลักษณะเปน


เกล็ดสีขาวๆบางๆ รสกรอยเย็น สรรพคุณ ใชเปนยาขับปสสาวะ แกพิษโลหิต
น้ำเหลือง และโรคตา
โกฐ พืชสมุนไพรหลายชนิด ไดจากวานตาง ๆ ของพืชแตละชนิดประกอบกันเปน
สวนเครื่องยาตามพิกัด ไดแก โกฐทั้งหา คือ โกฐหัวบัว โกฐสอ โกฐเชียง และ
โกฐจุฬาลัมพา โกฐทั้งเจ็ดเพิ่ม โกฐกระดูก และโกฐกานพราว โกฐทั้งเกา ใชโกฐ
ทั้งเจ็ด แลวเพิ่ม โกฐพุงปลา โกฐชฏามังสี โกฐพิเศษ ใชโกฐทั้งเกา และเพิ่มอีก
๓ ชนิด คือ โกฐกะกลิ้ง โกฐกักกรา และโกฐน้ำเตา
โกฐกระดูก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากรากไมยาวเปลือกเปนรองเล็กๆ โตขนาดเทาตน

ท ย
ออยขนาดเล็ก กลิ่นหอม โกฐนี้มีทั้งของจีนและอินเดีย แตของอินเดียกลิ่นหอม

้าน
จัด ราคาแพงกวาของจีน สรรพคุณ แกลมในกองเสมหะ (คือลมขึ้นในตอนเชา)

พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากรากแหงของไมื้นลมลุกชนิดหนึ่ง ที่มาจากตาง
โกฐกักกรา

ประเทศ เช น เดี ย วกั บ โกฐอื่ น ๆ และมี ก ลิล่ นะหอมเหมื อ นกั น สรรพคุ ณ แก ล ม

แกคลื่นเหียน แกดีพิการ แกปวดหัวตัทวรยอน นอนสะดุง แกริดสีดวงทวาร
น ไ
์ยแผ งไมลมลุกชนิดหนึ่ง ลักษณะคลายหางหนู
มที ก ลิ่ น หอมใดๆ สรรพคุ ณ แก ไข ซึ่ ง มี อ าการให ส ะอึ ก
โกฐกานพราว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากรากแห


มะพร า ว ตากแห ง ไม พ
ร นพิษ เปนตน โกฐกานมะพราว ก็เรียก
ก า
าดหนึ่ง ลักษณะเปนปุมปำ คอนขางกลม โตเล็กนอย ลักษณะ
แกหอบ แกเสมหะเป

ิูมปัญ คลายมะกรูด มีกลิ่นหอมนารับประทาน ลำตนใตดิน สรรพคุณ บำรุง
โกฐเขมา พืชสมุนไพรชิ


ภายนอกดู
อง
คร
ธาตุ เจริญอาหาร ระงับอาการหอบ แกหวัด แกแผลเนาเปอย
โกฐจุฬาลัมพา
ง ค ุ้ม พืชสมุนไพรชิดหนึ่ง เปนไมลมลุก โคนตนมีรากเปนเหงาติดอยูในดิน ใบหยัก
กอ เปนซี่ ๆ ออกเรียงสลับกัน ดอกออกเปนชอตั้งตรง สรรพคุณ แกทองรวง ขับลม
ในลำไส ขับเสมหะ เปนตน
โกฐเชียง พืชสมุนไพรชิดหนึ่ง รากไมสีเหลือง ลักษณะเปนเสนยาวเล็กๆคลายรากของ
กลวย มีกลิ่นหอมหวาน ลำตนใตดิน สรรพคุณ แกไข แกสะอึก แกไอ แกเสียด
แทงสองราวขาง
โกฐทั้งหา เบญจโกฐ พืชสมุนไพร ๕ ชนิด ไดแก โกฐหัวบัว โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชียง และ
โกฐจุฬาลัมพา ดูเพิ่มเติมที่ โกฐและพิกัดยา
โกฐพุงปลา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเลื้อย มีลำตนเปนเถา ตองอาศัยเกาะยืดกับตนไม
อื่น บริเวณลำตนเปนขอมีรากออกใบมี ๒ อยาง อยูในตนเดียวกัน อยางแรก
ลักษณะคลายถุงแคบแบนทองใบสีมวง อยางที่สอง ลักษณะคอนขางกลม ใบ
หนาอวบน้ำ ดอกออกเปนชอสั้น ผลเปนฝก สวนที่ใชเปนเครื่องยา คือ ใบและ
207
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ราก สรรพคุณ แกทองรวง ปวดทอง ใชภายนอก เปนยาสมานแผล เรียกวา จุก


โรหินี กลวยไม บวบลม พุงปลา และเถาพุงปลา ก็มี
โกฐสอ พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง ได ม าจากรากไม ช นิ ด หนึ่ ง กลมโตและโตวั ด เส น ผ า
ศูนยกลางไมเกิน ๒ เซนติเมตร สีขาวสะอาดเปนเสนยาวไมเกิน ๓๐ เซนติเมตร
สรรพคุณ แกไข แกหืด แกไอ ทำใหหัวใจใหชุมชื่น
โกฐหัวบัว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลงหัว หัวคอนขางกลม เปนปุมปำคลาย โกฐเขมา
แตกลมกวา สีน้ำตาล มีกลิ่นหอม เปนของมาจากจีน สรรพคุณ แกลมในกอง
ริดสีดวง และกระจายลมทั้งปวง (คือลมที่คั่งอยูในลำไสเปนตอนๆ ทำใหผาย
หรือเรอออกมา)

ไ ท ย

บ ้าน
ะ พ ื้น
ขนุน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง ใบออกสลั แล
ย ณ บำรุงเลือด รักษาแผลหนอง
บกัน รูปกลมรี ดอกออก
เป น ช อ ผลรวม ลั ก ษณะกลมยาว สรรพคุ
น ไท
เปนตน
ย ์แ ผ
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพไมทตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ มีน้ำยางขาว ผลกลม
ภายในมียวงสีเหลือง าเนืรแ้อเหลว รสหวานชุมขม สรรพคุณ บำรุงกำลังและโลหิต
ขนุนละมุด

ทำใหเลือดเย็นญเปานตน
ิปัญหลายชนิด ไดแก ขมิ้นขาว ขมิ้นปา ขมิ้นออย ขมิ้นชัน ขมิ้นเครือ
พืชสมุนูมไพรมี
เปอนงตภน เปนไมลมลุก มีเหงาอยูใตดิน ลำตนเปนปลอง ใบยาวเปนใบเดี่ยวขนาด
ขมิ้น

ุ้ม ครใหญ ดอกออกเปนชอ เหงาใชทั้งสดและแหง เหงาแหงนิยมบดเปนผง สรรพคุณ


ง ค
กอ
ขับปสสาวะ บำรุงธาตุ แกทองขึ้น เปนตน
ขมิ้นเครือ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนตนไมเถาอาศัยตนไมใหญ เถากลม เปลือกชุมน้ำ
ผิวสีน้ำตาลเหลือง เนื้อสีเหลือง กลิ่นเหมือนขมิ้น ใบรูปหอกกวาง เถา รสรอน
ฝาดเฝอน สรรพคุณ แกดีพิการ ขับผายลม ทำใหเรอ แกทองเสีย เนื่องจาก
อาหารไมยอย แกดีซาน เปนตน
ขมิ้นออย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก มีเหงาอยูใตดินเปนขอ ๆ เนื้อในสีเหลือง
ลำตนเปนปลอง ใบยาวเรียว เหงามีรสฝาด สรรพคุณ แกทองรวง แผลฝตาง ๆ
เปนตน ขมิ้นเจดีย วานเหลือง ขมิ้นขึ้นหรือขมิ้นหัวขึ้น สากกะเบือละวา เลมียด
ก็เรียก
ขอนดอก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมที่เกิดขึ้นโดยมีตัวโรคเขาไปเกาะกินเนื้อไมภายใน
ลำตน ลักษณะเหมือนไมผุ มีดอกสีขาวเปนจุดๆ ตลอดตน สวนมากเกิดจากตน
208
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

พิกุล หรือตนตะแบก ที่แกจัดจวนจะตายแลว สรรพคุณ แกออนเพลีย แกลม


กองละเอียด แกรอนใน บำรุงหัวใจ บำรุงตับ ปอด
ขอบชะนาง พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ ขอบชะนางขาว และ ขอบชะนางแดง เปนไมลมลุก
และเลื้อยแผไปตามพื้นดิน ใบเดี่ยว ดอกสลับ ขอบชะนางขาว ใบคอนขางมน
กลม ตนและใบสี เขียวออน ทองใบขาวมีเสนใบเปนริ้ว ๆ ดอกสีเขียวอมเหลือง
ขอบชะนางแดง สรรพคุณ ขับพยาธิ ดับพิษ เปนตน เรียกวา หนอนขาว หนอน
แดง หนอนตายอยากขาว หนอนตาย อยากแดง หญาหนอนตาย หญามูกมาย
ก็มี
ขอบชะนางแดง ดูที่ ขอบชะนาง
ขอบชะนางทั้งสอง ดูที่ ขอบชะนาง
ไ ท ย
บ ้า่ยวเรีน ยงสลับ ผิวใบสากคาย
ขอย
ื้น ปไขเมื่อสุกสีเหลือง เม็ดกลม
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน มีน้ำยาขาว ใบเดี
ะ พ

ดอกเปนชอออกที่ซอกใบกลีบดอกสีเหลือง ผลสดรู
ย แ
กระดูกและเสนเอ็น แกโรคทางฟไนทแกพยาธิผิวหนัง ดับพิษทั้งปวง หุงเปน
สีขาวคลายคลึงกับเม็ดพริกไทยลอน สรรพคุ ณ รสเบื่อเมา เปลือกดับพิษใน

ผ น
ย ์แ

น้ำมันทาแกริดสีดวง
พืชสมุนไพรชนิดหนึแ่ง พเปนไมยืดตนขนาดกลาง ใบกลมริมขอบใบเปนจัก ลำตน
ขอยหยอง
ก า ร

มีหนามแหลมคมมากตลอดต นใบและกิ่งกาน สรรพคุณ แกกระษัย ไตพิการ
ญ ขับเมือกมันในลำไส เปนตน เรียกวา ขอยหนาม ผักรูด ขอยดิน


ขับปสสาวะ
ิป อน ก็มี
ง ภ ม

หัสสะท
ขัณฑสกร
ค ร อ ธาตุ วัตถุชนิดหนึ่ง เปนเกล็ดกลมเล็กๆสีขาว รสหวานจัดจนขม เปนสารใหความ

ง ค ุ้ม หวานอแตไมใหพลังงาน ดีน้ำตาล ก็เรียก


ขัดมอน กอ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดกลาง เปลือกลำตนเหนียว ดอกสีเหลือง
สรรพคุณ รสเผ็ด ใชรากปรุงเปนยารับประทาน แกตัวรอนและขับพิษรอน
ภายใน เป น ยาขั ว พิ ษ ไข หั ว เช น เหื อ ด หั ด สุ ก ใส ดำแดง ฝ ด าษ ประดง
ไขรากสาด ใหเม็ดวานออกมาตามผิวหนัง คัดมอนหรือยุงปดแมมาย หญาขัด
ก็เรียก
ขา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมลมลุก ตนขึ้นเปนกอ มีเหงาในดิน ลำตนเปนปลอง
ตามขอมีใบ ดอกสีขาวเปนชอออกที่ปลายยอด เหงามีกลิ่นฉุนรสเผ็ด สรรพคุณ
แกทองงอืด และใชภายนอกแกกลากเกลื่อน เปนตน
ขาตน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบเดี่ยว รูปหอก
ปลายแหลม ดกหนาทึบ เปลือกคอนขางเรียบสีน้ำตาลออน เนื้อไมสีน้ำตาล
กลิ่นหอมฉุนมีกลิ่นของการบูร เนื้อไม รสเผ็ดรอนหอม สรรพคุณ ขับลมในลำไส
209
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ดับกลิ่นคาว ทำใหผายเรอ แกปสสาวะพิการ ขับเลือดและน้ำเหลือง บำรุงธาตุ


เปนตน
ขาวขา พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ต น ไม ล งหั ว ขนาดเล็ ก ใบกลมโตขนาดใบพุ ท รา
กานใหญประมาณครึ่งมิลลิเมตร ยาวประมาณ ๑ ฟุต กานเล็ก ใบมียางมาก
ทั้งหัว สรรพคุณ หัว รสรอน แกพยาธิ แกฟกบวม แกคุดทะราด ยางมีพิษเชน
เดียวกับยางสลัดได ยางเทพทาโร ยางตาตุม ยางดอกรัก ยางไม จำพวกนี้
ตองหาวิธีทำใหออนฤทธิ์ โดยวิธีนึ่งหรือตุนใหสุก จึงผสมเปนยารับประทานได
เปนตน เขาคา ก็เรียก
ขาวเมาเหล็ก ขาวเปลือกที่ยังไมแกจัดเอามาคั่ว แลวตำแตไมแบนอยางขาวเมาทั่วไป ยังเปน
เม็ดแข็งอยู
ไ ท ย
ขาวสารขางครก ในที่นี้หมายถึงขาวสารที่ ไดมาจากการตำขาวเปลือกดวยครก
บ ้าน ไมใหเปนขาวสาร
ซึ่งในขณะตำจะมีขาวสาร กระเด็นออกมาจากครกตกหล
ะ พ ื้น นอยูโดยรอบ และการ
ตำครั้ ง หนึ่ ง มี ข า วสารตกหล น อยู เ ท า ใดก็ ใชลเ ท า นั้ น เข า เครื่ อ งยา สรรพคุ ณ
ย แ
แกซางเด็ก
น ไท
์ยแผ าวเปลือกใสกระทะตั้งไฟใหรอน
ท อนเอาเปลือกออก จะไดขาวสาร
ขาวสารคั่วรางแรง พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง ได ม าจากการนำข
แลวคนไปจนสุก เมื่อสุกแลพวนำไปร
า แ
่ งร เป น ไม พุ ม ลำต น ตั้ ง ตรง มี ข นยาว สี ข าวตลอดต น
ขาวไหม พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ
า ก
ใบประกอบเรียญ
ขาว บางทีิป่ ัญ
งสลับ ดอกออกเปนชอสีขาว ผลเปนฝกโคงงอ สรรพคุณ แกระดู

ง ภ ม
ู เรียกวา เขืองขาวไหม มะขามผีใหญ ก็มี
ขิง ร อ
ค ยาวหุมลำตน ดอกเล็กๆเปนชอทรงกระบอกตั้งออกจากเหงาใตดิน กาบสีแดง
พื ช สมุ นไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกมีลำตนเปนเหงาอยูใตดิน ใบรูปพายกาบใบ

ง ค ุ้ม
กอ กลีบสีเหลืองอมเขียว ผลกลม สรรพคุณ ขับลม แกทองอืด จุกเสียด แนนเฟอ
คลื่นไสอาเจียน แกหอบไอ ขับเสมหะ แกบิด เจริญอากาศธาตุ เปนตน
ขิงแครง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ตนและศีรษะเล็กกวาขิงบาน สวนกลิ่นและ รสคลายคลึง
กัน ใชเหงาทำยา มีสรรพคุณเชนเดียวกับขิงบาน แตมีรสเผ็ดและขมมากกวา
ขิงปา ขิงเขา ก็เรียก
ขี้กาแดง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพันธุไมเถา ลำเถาเปนเหลี่ยม มีมือเกาะ ใบใหญแบน
ผลกลมใหญขนาดผลสม เมื่อสุกสีแดง เมล็ด เปนพิษเบื่อเมา สรรพคุณ แกปวด
ศีรษะบางที่เรียก กระดึงชางเผือก มะกาดิน ขี้กาลาย
ขี้นกพิราบ แรธาตุสมันไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากมูลของนกพิราบ
ขี้ผึ้งแข็ง ดูที่ สีผึ้ง
210
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ขี้วัว สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากมูลของวัว ปรุงเปนยาบำบัดโรคทั้งภายในและ


ภานนอก สรรพคุณ เปนยาดับพิษรอน พิษไข พิษกาฬ
ขี้หนอน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบประกอบแบบ
ขนนก ออกเรียงสลับกัน ดอกเล็กๆเปนชอ ผลแกสีเหลือง เปลือกตนนำมาตีกับ
น้ำใหเปนฟอง ใชซักผาแทนสบู เปลือกตน รสขมเย็น สรรพคุณ แกไข ดับพิษ
ร อ น แก ห วั ด คั ด จมู ก เอามาตี กั บ น้ ำ ให เ ป น ฟอง สุ ม กระหม อ มเด็ ก แก ห วั ด
คัดจมูก แกชันนะตุ เปนตน
ขี้เหล็ก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมขนาดกลางถึงใหญ ใบประกอบแบบขนนก ดอก
เป น ช อ สี เ หลื อ ง ฝ ก แบนยาว เมื่ อ แกจั ด แตกออกได สรรพคุ ณ ถ า ยพรรดึ ก

ท ย
ถายกระษัย ถายพิษไข พิษเสมหะ ขับปสสาวะ แกระดูขาว แกนิ่ว แกนอน

ไมหลับ เปนตน
บ ้าน
ขี้เหล็กทั้งหา พืชสมุนไพรขี้เหล็ก คือ ราก ตน ใบ ดอก ลูกหรื
ะ พ ื้น อฝก รสขม ถายพิษกระษัย
พิษไข พิษเสมหะ ถายเสน แกพิษทั้งปวง ดูลเพิ่มเติมที่ ขี้เหล็ก
ย แ

พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม พุ มไขนาดกลาง

์ยแผ ดอกเล็กๆสีขาวออกเปนชอทรงแทงเล็กๆ
เขยตาย ผิ ว ลำต น ตกกระเป น ดวงขาว

ท่อสุกสีแดงเรื่อๆ สรรพคุณ กระทุงพิษ แกพิษฝทั้ง


ใบเดี่ยวรูปหอก ปลายและโคนแหลม
ผลกลมเท า ลู ก มะแวพ
า แ ง เมื
ร แกพิษงู แกไขกาฬ แกโรคผิวหนังพุพอง ขับน้ำนม
ภายในและภายนอก

า ดหนึ่ง ไดมาจากอวัยวะสวนหนึ่งของกวาง อยูบนศีรษะ แข็งมี

ิูมปัญปรางเหมือนกิ่งไม สรรพคุณ รสหวานรอน บำรุงโลหิต บำรุงกำลัง
เขากวาง สัตวสมุนไพรชนิ


ลักษณะรู
อง
คร ทางเพศ เปนตน
บำรุ งกระดูกและเสนเอ็น แกออนเพลีย ตามัว หูตึง เจ็บเขา เสริมสมรรถภาพ

ง ค ุ้ม
เขาคา
กอ ดูที่ ขาวขา
ไขเนา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง ชอบขึ้นตามปาดิบและที่ราบลุม ใบ
เปนชอ ๆ หนึ่งมีใบยอย ๕ ใบ ดอกเล็กสีมวงออน ผลลักษณะรูปไข สุกกินได มี
รสหวาน สรรพคุณ แกพิษตานซาง แกทองรวง เจริญอาหาร
ไขเปด สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากฟองของเปด


คนทา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม ขึ้นเปนหมูในปาโปรง ลำตนมีหนาม ใบคลาย
ใบมะขวิด ดอกขาว ผลกลมแปน ทุกสวนมีรสขม สรรพคุณ แกไขพิษและอาการ
ลงทอง เปนตน กะลันทา สีฟน สีฟนคนทา จี้ หนามจี้ สีเตาะ ก็เรียก
211
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

คนทีเขมา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม กิ่งมีกลิ่นหอม สวนกิ่งออน จะเปนเหลี่ยม


มี สี เ ทา และมี ข นอ อ นปกคลุ ม ใบมี ก ลิ่ น หอม ออกตรงข า มเป น รู ป ใบรวม
มีลักษณะคลายมือ ใบยอยประมาณ ๓ – ๕ ใบ ดอกมีขนาดเล็กเปนชออยูปลาย
ยอดผลกลมเมื่ อ แห ง เปลื อ งแข็ ง มี สี น้ ำ ตาล รู ป กลมรี สรรพคุ ณ แก ไข ห วั ด
แกปวดทอง เปนตน
คนทีสอ พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม พุ ม ขนาดกลางลำต น สี เ ทา เป น กระสี ด ำ ขาว
ใบประกอบรูปนิ้วมือ ใบยอยรูปไขปลายแหลม ดอกเล็กสีมวงเปนชอยาว ออกที่
ปลายกิ่ง ผลเทาผลพริกไทย เปนพวงชอ คนทีสอขาว โคนดินสอ ดินสอ สีสอ
ผีเสื้อนอย ดอกสมุทร สีเสื้อนอย ก็เรียก
ครั่ง
ท ย
สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ตัวเล็กคลายแมลงหวี่ ตัวเมียไมมีปก ตัวออนมีขาและ

้าน
หนวด เมื่อลอกคราบจะไมมีขา ดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืช และผลิตสารออกมาเรียก

พ ื้น
ว า “ขี้ ค รั่ ง ” สรรพคุ ณ ครั่ ง ที่ อ าศั ย กั บ ต น ก า มกรามใช แ ก ล งท อ ง ท อ งเสี ย

เปนตน
แ ล
ย บและกิ่ง กานมีหนามแหลม
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนเถาเนื้อแข็ง ทตามลำดั
คัดเคา

น ณ แกไข บำรุงดลหิต เรียกวา หนามลิด
์แ ผ
เคา คัดเคาเครือ เค็คเคา จี้เกทา ยก็มี
ดอกสีขาวปนเหลือง มีกลิ่นหอม สรรพคุ


พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งารเปแนไมขนาดยอม ใบโตยาวรวมเปน กระจุกอยูตรงยอด
คันทรง
า กเหน็บชา เปนตน บางที่เรียกวา ลิ้นควาย คอนหมาแดง
สรรพคุณแกโรคไต
ลิ้นกวาง ิปัญ

ูม
พืชงสมุภนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกมีเหงา อยูใตดิน ใบออกเปนกระจุก รูปหอก
รอ
คา

้ ุ ค เรียวยาว ริมขอบใบคม มีขนเปนจุกดอกออกเปนชอเหมือนพู สรรพคุณ
อง ค แกโรคไต แกโรคฝ ประคำรอย เปนตน บางที่ เรียกวา หญาคา
คาง
ก พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม ต น ขนาดใหญ กิ่ ง อ อ นมี ข น ละเอี ย ดสี น้ ำ ตาล
ใบประกอบแบบขนนกสองชั้นเรียกสลับมีหูใบ ดอกออกเปนชอที่ซอกใบ กลีบ
ดอกมีสีเหลืองผลเปนฝกแบบสีน้ำตาลแดง สรรพคุณ แกลงทอง ลำไวพิการ
บำรุงธาตุ เรียกวา อะราง คางฮุง คางรุง จามจุรีปา กาง คางแดง ก็มี
คางปลาชอนขางลาง สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากกระดูกสวนกรามลางของปลาชอน
คำไทย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดเล็ก ใบคลายใบโพธิ์แตเกลี้ยงและนุม
ดอกออกเป น ช อ ตามปลายกิ่ ง สี ช มพู อ อ น ผลมี ข นสี แ ดงเข ม คล า ยลู ก เงาะ
สรรพคุณ ดอกมีรสหวาน บำรุงหนองและเลือดใหสมบูรณ แกแสบรอนคันตาม
ผิวหนัง แกพิษ เปนตน บางที่เรียกวา คำเงาะ ชาด มะกายหยุม แสด เปนตน

212
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

โค สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง น้ำนมโคหรือน้ำนมวัว ไดจากเตานมของวัวเพศเมียที่อยู


ในวัยเจริญพันธุ น้ำนมโค มีรสหวาน มัน เย็น สรรพคุณ ปดธาตุ แกโรค ในอก
บำรุงกำลังและเลือดเนื้อ เจริญไฟธาตุ เปนตน
โคกกระสุน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกทอดเลื้อยไปตามผิวดิน ใบเล็กแตกกิ่งกาน
สาขาแผกระจายไปตามพื้นดิน ดอกมีสีเหลือง ออกตามซอกระหวางกิ่งและใบ
ผลมีหนามแหลมเปนคู ๆ สรรพคุณ แกปสสาวะพิการ ไตพิการ และขับระดูขาว
เปนตน หนามกระสุน หนามดินกาบินหนีก็เรียก
โคกกระออม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาขนาดกลาง ใบประกอบเรียงสลับ ดอกออกเปน
ช อ มี มื อ เกาะ กลี บ ดอกสี ข าว ผลแห ง แตกได รู ป ทรงกลมแกนสามเหลี่ ย ม

ท ย
สรรพคุ ณ แก ไข ขั บ พิ ษ บำรุ ง น้ ำ ดี เป น ต น ลู ก กลี บ เครื อ ตุ ม ต อ ก โพออม

กระดอม วิหวี่ ก็เรียก
บ ้าน
โคดำ
ะ พ ื้น วซึ่งแหงแลวทิ้งไวนาน
สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง มูลโคดำไดมาจากอุจจาระของวั
จนเปนสีดำ สรรพคุณ รสขมเย็น ดับพิษรอลนและพิษไขทั้งปวง แกเริม แกไฟลาม
ย แ ถอนพิษทั้งปวง
ทุง แกงูสวัด แกลมพิษ แกพุพอง แกทฟกบวม
น ไ
์ยแผ

โคนสับปะรด ดูที่ สับปะรด
พืชสมุนไพรชนิดหนึแ่ง พเปนไมเถาชนิดหนึ่ง เกลี้ยง มียางสีขาว ใบเดี่ยวรูปหัวใจ
ไครเครือ
กา รา โคนเสนกลาง ใบมีขนเปนกระจุก กานยาว ดอกชอใหญสี
ปลายแหลม โคนเว
ขาว กลีบญ

ิูมปัญขับเหงื่อ เจริญอาหาร ชูกำลัง
ดอก ๕ กลีบ ลงรากใหญ สวนที่ใช คือ ราก สรรพคุณ แกพิษไข


พิษกาฬ

รอ ชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมลำตนตรง ใบออกเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ

ไครน้ำ พื

ง ค ม
้ ุ ดอกออกเป น ช อ ที่ ซ อกใบ เป น ดอกขนาดเล็ ก ไม มี ก ลี บ ดอก ผลแห ง แตกได
ก อ รูปทรงกลมมีขน สรรพคุณ แกปวดทอง ขับปสสาวะ เปนตน บางทีเรียกวา
ไครพุม ไครหิน
ไครบก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม ลำตนตั้งตรง ใบออกเปน ใบเดี่ยวเรียงตรงขาม
ดอกออกเป น ช อ มี สี ข าว กิ่ ง ม ว งอ อ น ผลแห ง รู ป กระสวยแตกตามตะเข็ บ
สรรพคุณ แกไข เปนตน บางทีเรียกวา ราชาวดีปา ไครหางหมา ดอกฟู มะหาด
น้ำ ดอกถอน แมมาย ดอกแมมาย ดอกดายน้ำ
ไครหอม ดูที่ ตะไครหอม

213
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ


ฆองสามยาน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนตนไมเล็กจำพวกมหากาฬ ใบหูเสือ หรือคว่ำตายหงาย
เปน ใบหนาแข็งเปนแฉก ลำตนอวบอวน ดอกออกเปนชอชูขึ้นไปสีเหลือง เปน
ไมที่เก็บน้ำไวเลี้ยงลำตนไดนาน


งา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนเปนเหลี่ยม มีขนสีขาว ใบเดี่ยว รูปไข


ขอบใบหยัก แผนใบหยาบ สีเขียว มีขน ดอกออกดอกเดี่ยวที่ซอกใบ ดอกสีขาว
ไ ท
้าน
หรือสีชมพู กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนหลอดโคง ปลายบานออกเปน ๕ แฉก ผล

ื้นบ
เปนผลแหงแตกได เมล็ดสีขาวอมเหลืองน้ำตาลหรือสีดำจำนวนมาก เรียก งาดำ

ละ พ
สีขาวเรียก งาขาว น้ำมันงา สรรพคุณ ใชทำน้ำใสแผล ทาผิวหนังใหนุมและชุม
ย แ
ไท
ชื่น บำรุงไขขอ

ผ น
์แ
งาชาง อวัยวะสวนหนึ่งของชาง งาชางเปนเครื่องยาอยางหนึ่งในพิกัดยาไทยที่เรียก

พท
“นวเขี้ยว” ไดแก เขี้ยวหมู เขี้ยวหมี เขี้ยวเสือ เขี้ยวแรด เขี้ยวหมาปา เขี้ยวปลา

ร แ
พะยูน เขี้ยวจระเข เขี้ยวเลียงผา และงาชาง

ชื่ อ เรี ย กงู พิ ษ ชนิ ดากหนึ่ ง เช น งู ส ามเหลี่ ย ม ซึ่ ง บางครั้ ง เรี ย กงู ทั บ ทางเหลื อ ง
ญ ้งเรียก งูทับทางขาว เปนตน
งูทับทาง
งูทับสมิงคลาัญบางครั

ู ป

สั ต วภส มุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น งู ใ หญ ซึ่ ง มิ ใช งู มี พิ ษ แต เ ป น งู ที่ มี อ ำนาจโดย
งูเหลือม
ร อ งงวังชามาก สามารถรัดสัตวใหญๆ ใหตาย และรีดใหเล็กลงได หนังมีลาย
ุ้ม ค กำลั
ง ค
กอ
เหลืองๆขาวๆดำๆ สลับกัน สรรพคุณ ใชดีเปนกระสายแทรกยา เปนยาดับพิษ
ตานทรางของเด็ ก และใช ดี ฝ นกั บ ยาตาหยอดตา แก ต าแฉะ ตามั ว ตาฟาง
ตาแดง และแกปวดตาได สวนกระดูกงูเหลือม มีรสเบื่อเมา ดับพิษกาฬ แกเมื่อย
ทั้งกินทั้งทาได


จันทนขาว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญดอกสีขาว เนื้อไมมี
กลิ่นหอม สรรพคุณ แกไข จันทนา จันทนตะเบี้ย จันทนหอม ก็เรียก
จันทนชะมด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบดกหนาทึบ
เนื้อตนแกจัดๆ จะทำใหแกนมีลักษณะคลายใบผุเปนไมสีน้ำตาลออนๆ มีสีดำ
แลบอยูในเนื้อไมดวย มีกลิ่นหอมจัด ใชผงจากแกนไมนี้ปรุงทำเปนธูปหอมและ
214
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

เทียนอบ สรรพคุณ ใชปรุงเปนยาหอม บำรุงหัวใจ แกลมวิงเวียน คลื่นเหียน


อาเจียน ทำใหใจคอชื่นบาน สดใส ชูกำลัง
จันทนแดง พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม ยื น ต น ขนาดกลางถึ ง ขนาดใหญ ล ำต น เกลี้ ย ง
สีเทานวล ใบแตกเปนชอ กานใบมีลักษณะเปนกาบ ดอกออกจากโคนกาน
เนื้อไมมีสีขาว ตอเมื่อมีอายุหลายสิบปเขาจึงเกิดเนื้อไมชนิดหนึ่งสีแดงเขมเกิดขึ้น
ในลำตน และคอยๆเจริญขึ้น ตนไมนั้นก็เฉาลงเปนลำดับ จนเนื้อไมสีแดงเจริญ
ขึ้ น จนเต็ ม ต น ต น ไม นี้ ก็ ต าย เมื่ อ ผ า ออกจะพบเนื้ อ ไม สี แ ดงเข ม ไปทั้ ง ต น
สรรพคุณ รสขมเย็น แกไขเนื่องจากน้ำดีพิการ แกไออันบังเกิดแกทรางและ
ดี ทำใหชื่นใจ แกเลือดออกตามไรฟน แกบาดแผล จันทนผา ลักจัน ก็เรียก
จันทนทั้ง ๒
ท ย
พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ จันทนแดงและจันทนขาว ดูเพิ่มเติมที่ จันทนแดง

จันทนขาว และพิกัดยา
บ ้าน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนตนไมขนาดกลางถึงื้นขนาดใหญ ตนกำเนิดมาจาก
จันทนเทศ
ล ะ พ
ประเทศอินเดีย สวนที่นำมาใชเปนเครื่องยา

ของผล เมื่อผลแกรกที่หุม เมล็ดจะมีทสีคยอนขางขาวนวล ถาผลแกจัดมากจนแตก
คือ รกหรือเยื่อบาง ๆ ที่หุมเมล็ด

อาออกมารกจะมีสีแดงปนเหลือผงอนอนๆ เรียกวา ดอกจันทนสวนเมล็ดในของผล
์แ
เรียกวา ลูกจันทน สรรพคุทณย แกไข บำรุงหัวใจ
พืชสมุนไพรชนิดาหนึ ร แ่ง พเปนไมตนขนาดกลาง เปนไมใบเดี่ยว ดอกออกเดี่ยวตาม
งามใบ สีเหลืาอกงเขม สรรพคุณ บำรุงหัวใจ แกไขผิดสำแดง ขับปสสาวะ บำรุง
จำปา

ธาตุ ิปเปัญ



นตน

อง ภ
คร เดี่ยวหยาบหนา รูปไขกลับ ทองใบสีหมนๆ ปลายมีทั้งแหลมและมน ดอกชอเล็ก
จิก พื ช สมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบและยอดออนมีขนบางๆ ใบ

ง ค ุ้ม
กอ
ยาว หอยระยา หอม ออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอก ๔ กลีบเล็ก สีชมพู เกสรตัวผู
เปนพูฝอย พุมสีแดง ผลทรงเหลี่ยมมีครีบตามยาว มีเมล็ดอันเดียว
จิงจอ พืชสมุนไพรมีหลายชนิด เปนไมเถาเลื้อย ไดแก จิงจอเหลือง เปนไมเถา เถากลม
มีขนแข็งรอบ ใบเดี่ยวจัก ๔-๕ แฉก มีขนคลุมหนาแนน กานใบยาว ดอกชอละ
๒-๕ ดอก ออกตามงามใบ รูปปากแตร ๕ แฉก บางเกลี้ยง สีเหลือง กลีบเลี้ยงมี
ขนแข็งดานนอก ผลกลม สรรพคุณ แกอักเสบในทางเดินปสสาวะ ปสสาวะขัด
ปวด ขับปสสาวะ แกตาอักเสบ จิงจอหลวง จิงจอขน จิงจอใหญ ก็เรียก และ
จิงจอแดง ลำตนเปนสี่เหลี่ยม เปนปกขึ้นสูงตามเหลี่ยม ดอกออกเปนชอ ในดอก
มีเมล็ดขางใน ๔ เมล็ด ก็เรียก สรรพคุณ เถามีรสหวาน ราก แกเสมหะและลม
ทำอาหารให ง วด แก ธ าตุ ไ ฟกล า แก ฟ กบวม แก พ รรดึ ก ช ว ยย อ ยอาหาร
แกกำเดา โลหิต เสมหะ เปนตน จิงจอเหลี่ยม จิงจอเล็ก ก็เรียก

215
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

จิงจอหลวง ดูที่ จิงจอ


จิงจอเล็ก ดูที่ จิงจอ
จิงจอเหลี่ยม ดูที่ จิงจอ
จิงจอใหญ ดูที่ จิงจอ
จุกโรหินี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมเถา เกาะอยูตามตนไมอื่น โดยรากเกาะที่งอกออก
ตามขอ ใบเดี่ยวเรียงตรงกันขาม รูปโล ดอกชอขนาดเล็ก ๖-๘ ดอก ออกตาม
งามใบ กลีบรูปคนโท สีเหลืองแกมเขียว ผลเปนฝก สรรพคุณ รากจุกโรหินี รส
สุขุม แกทองรวง แกอาเจียน แกบิดปวดเบง แกเสมหะพิการ สมานแผล เปนตน
จุณเหล็ก
ไ ท ย
แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนผงเหล็ก ไดมาจากการใชตะไบคราง(ขัด) เหล็ก ให
เปนผงละเอียด
บ ้าน
เจตพังคี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดเล็กชนิดลงรากต
ะ พ ื้น นสูงไมเกิน ๒ ฟุต ราก

ใหญนิ้วมือ เปลือกหุมรากสีเหลืองทองใบขาวแสรรพคุ
ไน ทย ทำใหเรอ
ณ รากเจตพังคี รสเผ็ดขื่น
เฝอน แกทองขึ้นปวดแนนในทอง ขับผายลม
พืชสมุนไพรมี ๓ ชนิด เจตมูลเพลิ์แงผขาว เจตมูลเพลิงแดง และเจตมูลเพลิงฝรั่ง
เจตมูล

เปนไมพุมขนาดเล็ก แตกกิพ่งทกานสาขาออกรอบ ๆ ตน เมื่องามมากจะพาดไป
า รแ่ยวออกสลับกันตามขอตน ดอกออกเปนชอสีขาวเรียก

ตามพื้นดิน ใบเปนใบเดี
กแดงเรียกเจตมูลเพลิงแดง สรรพคุณ รากแก กลากเกลื้อน
เจตมูลเพลิงขาว ญ
ปวดตามขิปอัญและขับประจำเดือน ใบแกฟกช้ำ เรียกวา เจตมูลเพลิง ปดปวขาว
สี

ง ภ ม

ครดูอที่ เจตมูล
และป ด ปวแดงก็มี
เจตมูลเพลิง
ง ค ุ้ม
กอ ฉ


ชบา พืชสมุนไพรมีหลายชนิด เปนพุมไมขนาดยอม ตนเนื้อไมออนเปลือกเหนียว
รูปใบมน ปลายแหลม ริมขอบใบเปนจัก คลายฟนเลื่อย ดอกมีหลายสี เฉพาะ
สีแดง และสีขาว ใชทำยา สรรพคุณ แกพิษฝ และฟกบวม ขับระดู บำรุงธาตุ
เจริญอาหาร เปนตน ดอกใหม ใหมแดง ชุมบา แดงใหม ก็เรียก
ชบาทั้ง ๒ พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ ชบาแดง และ ชบาขาว

216
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชะพลู พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมขึ้นเปนกอ ใบเหมือนใบพลู ขนาดยอม สีเขียว แกมี


รสเผ็ดเล็กนอย ดอกออกยาวเปน ปุม ๆ คลายดอกดีปลีแตสั้นกวา สรรพคุณ
แกเสมหะ บำรุงธาตุ เจริญอาหาร ชาพลู พลูนก ผักปูนก พลูลิงนก นมวา ผักแค
ผักปุลิง ผักอีเลิด ก็เรียก
ชะมด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกขนาดเล็ก สูงประมาณ ๔ – ๕ ฟุต ตนและ
ใบเปนขนใบแหลมหยักปลาย ดอกตกลีบ ใหญสีเหลืองกลางดอกเปนสีเลือดหมู
ผลกลมยาวเป น เฟ อ ง คล า ยผลมะเฟ อ งมี ข นคาย เรี ย กฝ า ยผี จั๊ บ เจี๊ ย วก็ มี
สรรพคุณ ขับลม แกโรคกระเพาะอาหาร แกกามโรคหนองใน เจริญอาหาร บด
ผสมน้ำมัน ทาแกหิด แกผื่นคัน เปนตน
ชะมดเชียง
ท ย
สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ชะมดเชียงมีสีขาวลักษณะคลายขี้ผึ้ง ไดจากกวางชะมด

้าน
เปนสัตวเคี้ยวเอื้องขนาดเล็กลักษณะคลายกวาง ตัวสั้นปอม สีน้ำตาลแดง หูตั้ง

พ ื้น
หางสั้น มีแถบยาวสีขาว ๒ แถบ ขนานกันตามความยาวของลำคอ ที่ตะโพก

แล
และหลังชวงทายมีจุดสีขาว ไมมีเขา ตัวผูมีเขี้ยวบนยาวประมาณ ๗ เซนติเมตร

ไท
โผลออกมาเห็นไดชัด ตอมกลิ่นที่สรางชะมดเชียงอยูระหวางสะดือกับอวัยวะ
ผ น
์แ
สืบพันธุ สรรพคุณ แกโรคลม โรคเกี่ยวกับโลหิต โรคตา เสนประสาท ไอหอบหืด

พท
เปนยาเรงในโรคไขรากสาดนอย ปอดบวม หลอดลมอักเสบ
ชะมดตน ดูที่ ชะมด
า รแ
า กดหนึ่ง เปนน้ำมันสีน้ำตาล ไดจากตอมกลิ่นใกลเครื่องเพศซึ่งตัว
ัิปญดไวญตามที่ตาง ๆ เชน ตนไม ซี่กรง ชะมดมีลักษณะคลายแมว มีลำตัว
ชะมดสด สัตวสมุนไพรชนิ

เรีภยูมวยาว หนาแหลม ปากและจมูกคอนขางยาว ขนไมลูแนบกับลำตัว มักมีลาย


ชะมดเช็

ร องตามลำตัวเปนแถบยาวหรือจุด ขาสั้น หางมีลายเปนปลอง ๆ น้ำมันจากชะมด


ุ้มค
ง ค นำไปใชเปนตัวยาทันทีไมไดเพราะมีกลิ่นคาวมากตองนำไปฆาฤทธิ์กอน โดยผสม
กอ หัวหอมกับผิวมะกรูดหั่นฝอย แลวหอดวยใบพลูนำไปลนไฟใหไขมันละลาย
กรองเอาสิ่งอื่น ๆ ออกแลวทิ้งไวใหเย็นจึงจะนำไปใชได หรือใชวิธีผสมกับพิมเสน
บดละเอียดก็สามารถดับกลิ่นคาวไดเชนกัน
ชะลูด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาขนาดเล็ก ลำตนเกลี้ยงเปลือกสีดำ มีน้ำยาง
สีขาว ใบเปนใบเดี่ยว ดอกมีสีเหลือง กลิ่นหอม ผลแหงแข็งมีรูปรี มีความความ
ยาวประมาณ ๑ ซม. สรรพคุณ แกไข บำรุงกำลัง
ชะเอม พืชสมุนไพรมีหลายชนิด ไดแก ชะเอมไทย ชะเอมปา และ ชะเอมเทศ เปนไม
เถายืนตน ใบเล็กละเอียด เปนฝอย ดอกฟูเปนชอ มีสีขาว เถามีรสหวาน ตาม
ลำตน และ กิ่งกานมีหนาม สรรพคุณ ขับเสมหะ บำรุงธาตุ เปนตน เรียกวา
กอกกั้น สมปอยหวาน ออยชาง ชะเอมไทย ก็มี

217
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชะเอมทั้งสอง พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ ชะเอมไทย และชะเอมเทศ ดูเพิ่มเติมที่ ชะเอม


ชะเอมเทศ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนตนขนาดเล็ก ตามลำดับจะมีขนสั้น ๆ เปลือกของตน
มี สี น้ ำ ตาลเข ม ใบเป น ใบประกอบ ออกสลั บ ดอกออกเป น ช อ สี ม ว งอ อ น
ขับเสมหะ บำรุงธาตุ เปนตน เรียกวา ชะเอมจีน กำเชา ก็มี ดูเพิ่มเติมที่ ชะเอม
มะกล่ำ เครือ
ชันตะเคียน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากยางของตนตะเคียน เมื่อ แหงแลวเรียกวา ชันตะ
เคียน
ชันยอย ชันยอยเปนชันที่ไหลออกมาแหงกรังตามเปลือกของตนไมหลายชนิดในวงศ
DIPTEROCARPACEAE เชน ตนตะเคียน ตนยางนา ตนกราด ตนเคี่ยม ตนเต็ง
ตนรัง
ไ ท ย
แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนชันที่ไดมาจากแมลงพวกผึบ้ง้าขนาดเล็ น ก โดยทั่วไปมี
ชันรำโรง
ขนาดลำตัวยาวไมเกิน ๑๐ มม. อกกวางไมเกินะพ๒.๕ ื้น มม. อยูรวมกันเปนฝูง
ย แ ล
ไอทมถึงขนาดกลาง ใบเปนจักเล็กๆคลาย
มักทำรังจากดินหรือโพรงไม รังจึงมีสวนผสมของขี ้ผึ้ง ขี้ดิน และยางไม

์ยแผนชอ กลิ่นหอมเล็กนอย เปนไมที่ปลูกกัน
ชา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดย
ใบขอยแตยาวและใหญกวา ดอกเป
พ ท
ตามชายเขา สรรพคุณ ใช แ
กระหายน้ำ บำรุงหักวใจารและแกปวดเมื่อยตามรางกาย
ใบตมเคี่ยวเอาน้ำรับประทาน แกทองรวง แกรอนใน

ญ า
ชางนาว

ิ ัญ ดหนึ่ง เปนไมยืนตนใบเดี่ยวเรียงสลับ ดอกออกเปนชอที่ปลายกิ่ง
พืชสมุนไพรชนิ


กลี บภดอกสี
รแกองเบาหวาน เปนตน ชางโนม ทองปลิง หวงกวางผู ก็เรียก ดูเพิ่มเติมที่ กระแจะ
เ หลื อ ง ผลเมื่ อ สุ ก สี สี ม ว งหรื อ ดำ สรรพคุ ณ แก ผิ ด สำแดง


้ ุ ค ดูที่ ชางนาว
ชางนาวดอกเหลือง
อง ค
ชาดกอน ก แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนกอนดินแดงจากธรรมชาติ มีสีแดงเขม เปน เงา
มีน้ำหนักมาก สรรพคุณ มีรสเย็น บำรุง ดับพิษภายใน เปนตน
ชาพลู ดูที่ชะพลู
ชาเลือด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถามีหนาม ใบเปนฝอย ดอกเปนชอสีเหลือง มีฝก
ใบและชอมีกลิ่นเหม็นฉุนคลายกลิ่น ตัวเลือด บางที่ เรียกปูยา
ชิงชาชาลี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อยพันตนไมใหญ ลำเถา กลมเกลี้ยง ดอกเปน
ชอเล็ก ๆ มีสีเหลือง กลิ่นหอม เถา มีรสขมจัด สรรพคุณ แกพิษฝ ขับพยาธิ
บำรุงธาตุ และ เจริญอาหารเปนตน จุงจะลิงตัวแม บอระเพ็ดเถาเกลี้ยงตะซีคี
ชาลี จุงจะลิงตัวพอ ก็เรียก

218
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชิงชี่ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดยอม มีหนามขนาบโคน ดานในขางละ


หนาม ดอกขาวโคนกลีบดอกเหลืองออกตามสรรพคุณ แกไขฝกาฬ และตะคริว
บางที่เรียก กระโรกใหญ แซมาลาย แซมาละลาย น้ำนอง
ชุมเห็ด พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น พื ช ขนาดเล็ ก แตกกิ่ ง ด า นข า งเป น พุ ม ใบ เป น ใบ
ประกอบแบบขนนก เรียงสลับกัน มีใบยอย ๓ คู ใบยอยรูปไขกลับ หรือรูปขอบ
ขนานแกมไข กลีบดอกออกเปนชอ มีสีเหลือง ผลเปนฝก เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมขนม
เปยกปูน สีน้ำตาลแกมเขียว สรรพคุณใชเปนยาแกไข ขัดเบา ใบใชตำคั้นน้ำทา
แกขี้กลากและโรคผิวหนัง ตมหรือชงน้ำเปนยาระบาย เมล็ดคั่วใหเกรียม ชงน้ำ
ดื่มเปนยาระงับประสาท ทำใหนอนหลับ แตหามใชนานๆ เพราะจะทำใหตามัว
ชุมเห็ดเทศ
ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพุมไมขนาดกลาง กานใบยาว ในกานหนึ่งจะมี ใบ

้าน
แตกออกเปน ๒ ทาง ใบประกอบแบบขนนก มีใบยอยเรียงกันเปนคู ดอกออก

พ ื้น
เปนชอมีสีเหลือง ผล ออกเปนฝก สรรพคุณ ขับพยาธิ ถายพิษ ตานซาง ลับมืน

หลาว สมเห็ด จุมเห็ด ก็เรียก
แล
ย มีขนออนตามลำตนและทองใบ ใบ
ไท
สีเขียว ดอกสีเหลือง ออกเปนผชนอ สรรพคุณ แกทองผุด กลอมตับ และแกไข
ชุมเห็ดไทย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง
์แ
เปนตน ลับมื่นนอยเล็บมืท่นนยอย ชุมเห็ดเขาควาย ชุมเห็ดนา ชุมเห็ดเล็ก ก็เรียก
ร แ พ
า กา ซ
ัิปญญ
พืภชูมสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเลื้อยยืนตน ถาไมมีที่พาดพิงก็จะเปนพุม ใบเล็ก
รองกลางใบแหลมแยกออกเปน ๒ แฉก ดอกออกเปนชอ มีสีเหลืองเขม สรรรพคุณ
ซองแมวใหญ


้ ุ ค
อง ค แกปวดศีรษะ ดับพิษภายใน เปนตน บางที่เรียกวา ซองแมว ซองแมวใหญ ซอง
ก แมวควาย ซองแมวน้ำ


ดอกจันทน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากสวนที่เปนรก หรือเยื่อบาง ๆ หุมเมล็ดของ
ผลจันทนเทศ เมื่อผลแกรกจะมีสีคอนขาง ขาวนวล ถาแกมากผลแตกอาออกรก
จะมีสีแดงปนเหลืองออนๆ เรียกวา ดอกจันทน ความจริงคือ รกจันทน ดูเพิ่ม
เติมที่ จันทนเทศ
ดองดึง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถามีหัวหรือเหงาอยูใตดิน ลำตนสูงออนเปนปลอง
ดอกสีเหลืองแดง กลีบดอกบิดเปนเกลียว ผลแกจัดจะแตกมีเมล็ดเปนสีสม
สรรพคุณ แกทองขึ้น ทองเฟอ และปวดตามขอ เรียกวา ดาวดึงส ดองดึงหัว
ขวาน ฟนมหา ก็มี
219
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ดินกิน แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากดินธรรมชาติ ซึ่งมีหินปูนผสมอยูถาเปนดินที่


นำมาจากถ้ำลึก เรียกอีกชื่อหนึ่งวาดินถนำถ้ำ เปนดินที่นำมาจากบริเวณที่เคย
เปนสวนลงดิน แลวทิ้งรางไวนานสิบปขึ้นไป จนดินนั้นแหง กลายเปนดินแข็ง
รวน มีสีเหลืองแก และไมมีกลิ่นใด ๆ เรียกวา ดินถนำถาน ดินทั้ง ๒ ชนิด
กอนนำไปใชเปน เครื่องยาตองสะตุ หรือชำระใหบริสุทธิ์
ดินแดงเทศ แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนดินธรรมชาติที่มีสีแดงคล้ำเนื่องจากมีสนิมเหล็ก
หรือออกไซดของเหล็ก ใชทาและยอม สรรพคุณ สำหรับใชโรยแผลอันเกิดจาก
กามโรค
ดินถนำ แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนดินสีเหลือง มีลักษณะแข็ง แตรวน ไมมีกลิ่น ที่ใช

ท ย
เปนเครื่องยาไทยมีอยู ๒ ชนิด คือ ดินถนำฐาน หรือ ดินทองฐาน หรือ ดินทอง

้าน
สวม และ ดินถนำถ้ำ หรือดินทองถ้ำ สรรพคุณ ใชผสมกับเครื่องยาอื่นๆเปนยา

พ ื้น
ใสตา ทำใหเย็น บำบัดโรคทางตาไดดี แตดินถนำถ้ำมีฤทธิ์ออนกวาดินถนำฐาน

เล็กนอย
แล
ยางคาว ซึ่งนำมาตมเคี่ยวแลวทิ้งไวให
ดินประสิว แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากมูลของค
ไท
น อยูขางภาชนะนั้น เรียกวาเกล็ดนั้นวา
เย็น เมื่อเย็นแลวจะมีเกล็ดขาว ๆ ผเกาะ
์แ
ดินประสิวขาว สวนดินประสิทวยที่มีสีอื่นเจือปนนั้น จัดเปนคุณภาพชั้นรองลงไป
ร แ พณ ขับลมที่คั่งคางตามเสน ถอนพิษ ขับปสสาวะ
กา คันตามผิวหนัง
มีรสเค็ม ปรา เย็น สรรพคุ
ใชภายนอกสำหรับาทาแก
แรธาตุสมุิปนัญ

ูมสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากดินธรรมชาติ มีสีขาวขุน รวน ละเอียด
ดินประสิวขาว ไพรชนิดหนึ่ง ดูเพิ่มเติมที่ ดินประสิว

แรงธาตุ
รอ
ดินสอพอง

้ ุ ค สรรพคุณ ใชทาตัว ทำใหผิวหนังเย็น แกพิษ แกผื่น ผดคัน และเปนยาหามเหงื่อ
อง ค แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนเกลือชนิดหนึ่ง เม็ดละเอียดสีขาว มีรสเค็มจัดจน
ดีเกลือ
ก ขม เกิดอยูใตเกลือในนาเกลือ สรรพคุณ ถายทองผูก ถายโรคกระษัย ทำใหเสน
เอ็นหยอน เปนยาถายอุจจาระอยางดี
ดีงูเหลือม สั ต ว ส มุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง ได ม าจากถุ ง น้ ำ ดี ข องงู เ หลื อ ม นำมาผึ่ ง ให แ ห ง สนิ ท
สรรพคุณ มีรสขม ใชบดปรุงเปนกระสายยา ชวยใหตัวยาแลนเร็ว ดับพิษตาน
ซางในเด็ก ใชฝนกับยาหยอดตา แกตาแฉะ ตามัว ตาฟาง ตาแดง และแกปวด
ตา เปนตน
ดีงูเหา สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากดีของสัตว คือ งูเหา สรรพคุณ รสขมรอน ผสม
ยาหยอดตาแกตาฝา ตาฟาง ตาแฉะ ตาตอและบดเปนกระสายยาชวยใหฤทธิ์ยา
แลนเร็ว

220
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ดีปลี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเนื้อแข็ง ตามขอมีรากงอกเพื่อใชสำหรับยึดเกาะ


ผล เปนผลมีเนื้อเบียดกันแนนบนแกน ผลออนสีเขียว สุกเปนสีแดง มีรสเผ็ด
รอน ขม สรรพคุณ บำรุงธาตุ ขับลม แกจุกเสียด


ตรีกฏก พืชสมุนไพร ๓ ชนิด ในกลุมเครื่องยาจัดหมวดตามพิกัด ประกอบดวย เม็ดพริก
ไทย ดอกดีปลี และเหงาขิง(ขิงแหง) ดูเพิ่มเติม พิกัดยา
ตรีผลา พืชสมุนไพร ๓ ชนิด ในกลุมเครื่องยาจัดหมวดตามพิกัดประกอบดวย ผลสมอ

ไ ท ย
อัพยา(สมอไทย) ผลสมอพิเภก และ ผลมะขามปอม ดูเพิ่มเติม พิกัดยา
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดเล็ก สรรพคุณ ้าแก
บ น ทองผูก แกอาการบวม
ื้น
ตองแตก
น้ำ และถายเสมหะเปนพิษ เปนตน ดูเพิ่มเติมทีพ่ ทนดี
แ ล ะ

แตบางกวา เกิดอยูตามปาโปรงนปไาทดิบแลวทั่วไป สรรพคุณ ราก รสจืดเอียน
ตอไส พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดย อม ใบประกอบเหมือนใบมะตูม

ขับปสสาวะ รักษาเสนเอ็นทีย่ช์แำรุผดใหบริบูรณ
พ ทนไมลมลุกจำพวกหญา ลำตนเทียมแตกเปนกอ กาบ
ร แ
และขอบใบสีาแกดงาใบยาวแคบ ตนและใบมีกลิ่นฉุนทำใหนำมาประกอบอาหารไม
ตะไครหอม พืชสมุนไพรชนิดหนึ ่ ง เป


ั ญ นชอที่ปลายยอด ดอกสีเหลือง สรรพคุณ แกแผลในปาก แกไข
งิปธาตุ เปนตน เรียกวา ตะไครแดง ตะไครมะขูด จะไครมะขูด ก็มี
ได ดอกออกเป

ง ภ ม

บำรุ
ตับเตา
ุ้มครอ พืชสมุนไพร มี ๒ ชนิด คือ ตับเตาตน หรือตับเตาหลวงและตับเตานอย หรือ
ง ค กลวยเตา
กอ 1. ตับเตาตน เปนไมยืนตนใบเดี่ยวเรียงสลับ ดอกสีขาว ผลรูปไข เนื้อไมและ
ราก รสฝาดเอี ย นเล็ ก น อ ย สรรพคุ ณ แก พิ ษ ทั้ ง ปวง แก พิ ษ ไข ร อ นใน
บำรุงปอด เปนตน บางที่เรียกตับเตาหลวง เรื้อนกวาง ตับเตาใหญ มะไฟผี
เปนตน
2. ตั บ เต า น อ ย เป น ไม พุ ม ขนาดเล็ ก ใบเดี่ ย วเรี ย งสลั บ ดอกสี เ หลื อ งอ อ น
ผลรูปทรงกลม หรือทรงกระบอกสีเหลือง ราก รสเย็น สรรพคุณ แกตัวรอน
ดั บ พิ ษ ไข ทั้ ง ปวง ดั บ พิ ษ ตานทราง แก ป วดท อ ง เป น ต น บางที่ เรี ย กว า
กลวยเตา กลวยไมตับเตา ไขเตา เปนตน
ตับเตาทั้งสอง ดูที่ ตับเตา

221
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ตานขโมย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมชนาดกลาง ลำตนสีดำใบรูปวงรี สีเขียวออน


ทองใบมีนวล ดอกออกเปนชอเหมือนดอกหญางวงชาง แตเปนสองงวง โคงออก
คนละขาง สีขาว ผลเปนฝก เมื่อสุกสีน้ำตาล เนื้อไม,ราก รสเมาเบื่อสรรพคุณ
ขับพยาธิในทอง แกพิษตานทราง แกทองรวง เรียกวา หญางวงชางหลวง เหลียง
ขางขะโมย ก็มี
ตานดำ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ลำตนสีดำ ใบรูปวงรี
ดอกสีขาว ผลรูปกลมแปน สีเหลือง แกมเขียว มีกลีบเลี้ยงติดอยู ๔ กลีบ เนื้อไม
รสเมาเบื่อเย็น สรรพคุณ ขับพยาธิไสเดือน ตัวตืด แกพิษตานซาง แกผอมแหง
เรียกวา ตานสาน มะเกลือปา ถานไฟผี ตูมดำ สาเกลือ ก็มี
ตานทั้งหา พืชสมุนไพร ๕ ชนิด ไดแก รากตานดำ รากตานขโมย รากตาลโตนด รากตาน
ไ ท ย
้าน
เสี้ยน และรากตานหมอน ดูเพิ่มเติมที่ ตานขโมย ตานดำ ตาลโตนด ตานเสี้ยน

ตานหมอนและพิกัดยา
ะ พ ื้น
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดเล็ก ลำตลนมีหนามแหลม กิ่งกานมีขน ใบ
ตานเสี้ยน
รูปเรียว ปลายใบแหลมมน ดอกเปนชอมีท ย แอย ผลรูปทรงกลม เมื่อสีแดงคล้ำ
น ไแกตานขโมย เปนตน เรียกวา มะแกวน
ดอกย

์ ผ
นก มะแกวนปา ตะขบปา ก็มที ย
สรรพคุณ แกอุจจาระพิการ แกตานซาง


พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งาเป แนพไมพุมเลื้อย เนื้อแข็ง กิ่งกานเล็กเรียว เปนสันตามยาว
ปกคลุมดวยขนสีเางินก คลายเสนไหม ใบรูปไขกลับปลายมน หนาคลายหนัง หลัง
ตานหมอน

ใบเกลี้ยงิปทัญ

หมนภซูมาหมักหลอด ก็เรียก
องใบมีขนสีเงิน ดอกชอยาว ดอกเปนพูฝอยสีขาว ตานคอน ตาน

ร อ ง
ุ้ม ค พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดใหญ เปลือกตนสีน้ำตาลเทา มีกระดาง

ตาเสือ

กอง ขาว ใบประกอบ ๗-๑๐ คู ใบรูปรียาว ดอกชอสีเหลืองหอม คลายดอกประยงค


ผลกลมเปนพวงหอย คลายผลมะไฟ เมื่อแกสีแดง แตกอา เห็นเมล็ดสีแดงคลาย
ตาเสือ เปลือกตน รสฝาดเมา ขับโลหิต กลอมเสมหะ ปดธาตุ สมานแผล ขับ
ระดู รัดมดลูก แกบิดมูกเลือด เปนตน มะอา ฮังกาน มะหังกาน ตาปู โทกาซา ก็
เรียก
ตำลึง พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ ตำลึงตัวผู และตำลึงตัวเมีย เปนไมเถาเลื้อยมีมือ ใบ
เดี่ยวสลับไปตามลำเถา ดอกสีขาวผลยาวรี ผลออนมีสีเขียวลายขาว เมื่อสุกเปน
สีแดงสด สรรพคุณ แกพิษรอน ผักแคบ สี่บาท ก็เรียก
ตำลึงทั้ง ๒ พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ ตำลึงตัวผู และตำลึงตัวเมีย
ตีนเปด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนมียางสีขาว ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับรูปใบ
หอก ดอกออกเปนชอสีขาว ออกเปนกระจุก กลิ่นคาว ฝกกลมยาว ออกเปนคู
222
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

คลายฝกโมก ฝกแกจะแตกออก กระจายเมล็ดปลิวไปตามลม สรรพคุณ แกไข


เพื่อดีพิการ สมานลำไส แกบิด ทองเดินเรื้อรัง ขับพยาธิ เปนตน บางที่เรียกวา
พยาสัตตบัน ตีนเปดเจ็ดงาม ตีนเปดตน สัตตบรรณ หัสบัน จะบัน
ตุกต่ำ แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เกิดตามธรรมชาติ เปนพวกหินชั้นหินชนวน สีเนื้อ
สดใสเงามันระยิบระยับ คลายหอระดานกลีบทองแตแข็งกวาและเนื้อเหมือนหิน
มากกวา มีอยู ๓ ชนิด คือ ตุกต่ำน้ำทอง ตุกต่ำน้ำเงิน ตุกต่ำน้ำนาค สรรพคุณ
รสเย็น แกแผลในปาก แกปากเปอย ปากแตกระแหง แสบรอนในปาก
ตุกต่ำน้ำทอง แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง มีสีเหลืองน้ำตาล เหลือบเปนสีทอง สรรพคุณ รสเย็น
แกแผลในปาก แกปากเปอย ปากแตกระแหง แสบรอนในปาก
ตุมกา พืชสมุนไพร มี ๒ ชนิด ไดแก ตุมกาขาว และตุมกาแดง
ไ ท ย
บ ้ายนงตรงขาม ดอกสีเหลือง
อื้นแกทองผูกเปนตน บางที่เรียก
1. ตุมกาขาว เปนไมยืนตนขนาดใหญ ใบเดี่ยวเรี
แกมขาว ผลกลม สรรพคุณ แกปวด ตามข
ล ะ พ
ย แ

วา มะติ่งตน ขี้กา มะติ่งหมาก

น นและกิ่งกาสีแดง โคน ตนมีหนามใบเดี่ยว
2. ตุมกาแดง เปนไมยืดตน ลำต
ย ผ
์แ นชอสีเหลือง แกมเขียว ผลรูปกระสวย มีกลีบ
เรียงตรงขาม ดอกออกเป
พ ท
า แ
รงปา มุยแดง ลุมปุกแดง
เลี้ ย งติ ด สรรพคุ
มะคังแดง กมะคั
ณ ขั บ ป ส สาวะ เป น ต น บางที่ เรี ย กว า ตะลุ ม พุ ก แดง

ญ า
ดูที่ ตุมัญ
ตุมกาทั้งสอง
ิูมป กา
งพืภชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตน ลำตนตั้งตรง ไมแตกกิ่ง ใบประกอบเรียงสลับที่
ครอ ยอด ใบยอยรูปขนมเปยกปูน ดอกออกเปนชอ ผลกมลเมื่อสุกสีสมหรือแดงเขม
เตาราง

ง ค ุ้ม
กอ
สรรพคุณ บำรุงธาตุ เรียกวาเตารางแดง เขืองหมู มะเค็ง ก็มี
แตงแตว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ใบกลม แกนแข็ง ยางใชเปนเครื่อง ฉาบทาได
แตงเถื่อน ดูที่ แตงหนู
แตงหนู พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิดหนึ่งเกิดในประเทศไทย อีกชนิดหนึ่ง หนึ่งเกิดในตาง
ประเทศ เปนไมเถา ตามเถามีขนสั้น ใบออกเปนใบเดี่ยว ดอกออกเปนชอมีสี
เหลือง ชนิดที่เกิดในประเทศไทย ผลกลม ชนิดที่เกิดในตางประเทศผลยาว
สรรพคุณ แกเสมหะ ขับปสสาวะ แกไข เปนตน บางทีเรียก แตงเถื่อน

223
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ


ถั่วเขียว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกเนื้อออน ลำตนมีขนสีน้ำตาล ใบเปน ใบรวม
ประกอบดวยใบยอย ๓ ใบ ดอกมีสีเหลือง ผลเปนฝก มีขนสีน้ำตาลอยูทั่วฝก
สรรพคุ ณ ขั บ ป ส สาวะ แก เ หน็ บ ชา พอกสมานบาดแผล บำรุ ง ร า งกาย
แกรอนใน เปนตน
ถั่วเขียวคั่วเลาะเปลือก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากการนำถั่วเขียวใสกระทะตั้งไฟใหรอน แลวคนไป
จนสุก เมื่อสุกแลวนำไปรอนเอาเปลือกออก จะไดถั่วเขียวคั่วเลาะเปลือก ดูเพิ่ม
เติมที่ ถั่วเขียว
ถั่วพู
ไ ท ย
พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม เ ลื้ อ ย จำพวกถั่ ว ใบเป น ใบย อ ย ปลายแหลม

บ ้าน
ดอกสี ม ว ง ผลเป น ฝ ก รากออกหั ว เป น ปม อยู ใ ต ดิ น สรรพคุ ณ บำรุ ง กำลั ง
แกออนเพลีย แกรอนในกระหายน้ำ แกไขกาฬ เปนตน
ะ พ ื้น
พืชสมุนไพร ชนิดหนึ่ง เปนไมตนสูงราว ๘ –แ๑๐ ล
ณยบำรุงกำลัง บำรุงกระดูก เปนตน
ถั่วแระ ฟุต ดอกสีเหลือง ผลเปนฝก
เล็กๆ มีขน เมล็ดขนาดถั่วเหลือง สรรพคุไท
ผ น
ย ์แซากที่เผาแลวจนดำ ดูเพิ่มเติมที่ ซาก

ถานไมซาก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากไม

รแ พ
ประกอบใบยอย ๓ากใบา รูปกลมหัวทายแหลม หนา ขอบจัก ดอกชอ สีเขียว ผล
เถาคัน พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม เ ถาขนาดกลาง เลื้ อ ยพาดพั น ตามที่ ต า งๆ ใบ


ั ญ งเปนพวง สีเขียว เมื่อสุกสีดำ มีสองชนิด คือ เถาคันแดง
ิป อนสีแดง เถาแกสีน้ำตาลอมแดง ใบและกานใบ สีแดงถึงแดงอมมวง
กลมเทาลู ก มะแว

ง ภ ม

เปลือกเถาอ
ร อ
เถาคั นขาว เปลือกเถาออน สีเขียวออน เหลือบขาว เถาแกสีออกเทาๆ ใบสีเขียว
ค เกิดตามชายปา ที่รกราง สรรพคุณ ขับเสมหะ แกกระษัย ทำใหเสนเอ็นหยอน
ง ค ุ้ม
กอ
ฟอกโลหิต ขับลม แกช้ำใน เปนตน เถาคันแดง เถาคันขาว เครือหุนแป ก็เรียก
เถาวัลยเปรียง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถา ใบรูปกลมเปนใบประกอบดอกออกเปนชอ
หอยลง มีกลิ่นหอมออน ๆ สรรพคุณ ถายเสน ถายกระษัย แกเสนเอ็นขอด ถาย
เสมหะ เปนตน เรียกวา เครือเขาหนัง เครือตาปลา ก็มี
เถาวัลยเหล็ก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถากึ่งไมพุม กิ่งออน มีขนสั้น ๆ ใบเดี่ยวเรียงสลับ
ดอกออกเปนชอมีดอกยอยจำนวนมาก กลีบดอกสีเขียวแกมเหลือง สรรพคุณ
ขับปสสาวะ เปนตน เรียกวา รางแดง กองแกบ กะเลียงแดง เขาแกลบ ฮองหนัง
ทรงแดง ปลอกแกลบ แสงอาทิตย ก็มี

224
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร


ทนดี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดเล็ก ใบคาย ๆ ริมใบเปนจัก ๆ ดอกออก
เปนชอสีขาวเหลือง สรรพคุณ แกฟกบวม แกทองผูก เปนตน เรียกวา ตองแตก
เปลาตองแอก ถอนดี นองปอม ลองปอม
ทรงบาดาล พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง มีใบดกหนาทึบ ดอกออกเปนชอมีสี
เหลือง ผลเปนฝกแบน ๆ สรรพคุณ ใชรากแกถอนพิษ แกสะอึก เปนตน สะแกง
ตรึงบาดาล ขี้เหล็กบาน ก็เรียก
ทองคำเปลว ธาตุวัตถุชนิดหนึ่ง เปนทองคำที่ตีแผใหบางที่สุด มีความหนานอยกวา ๐.๐๐๐๑

ไ ท ย
มิลลิเมตร ไดจากการตีทองคำบริสุทธิ์มาก คือทองคำบริสุทธิ์รอยละ ๙๙.๘

บ ้าน
มีชื่อเรียกตางๆวา ทองธรรมชาติ ทองชมพูนุช ทองเนื้อแท ทองนพคุณ ทองเนื้อ
กษัตริย ทองแท และทองชมพูนุชเนื้อเกา
ะ พ ื้น
ทองพันชั่ง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมลมลุก ใบเดีแ ล
ยอนนกกระยางกำลังจะบิน ฝกกลมยาว
่ยว รูปรี ปลายและโคนแหลมบาง
ขอบเรียบ สีเขียวออน ดอกสีขาว ไเหมื ท
สรรพคุณ แกโรคผิวหนัง เปน์แตผ น นบางที่เรียกทองพันดุลย และหญามันไก
ทยนไมตนขนาดกลาง ใบประกอบสามใบ ใบยอยโต
พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ งพเป
ทองหลาง
เหมือนใบกระดังางาไทยรแ ลำตนและกิ่งกานมีหนามเล็กๆแหลมคมตลอดตน ดอก
า กออกเปนชอ สีแดงเขม สรรพคุณ แกเสมหะ และลมพิษ เปนตน

เรียกวิปาัญทองหลางน้ำ ทองหลางหนาม ทองหลางใบมนก็มี
เหมือนดอกแค

ภ ม

งดูที่ ทองหลาง
ทองหลางน้ำ
ค ร อ
ทองหลางใบมน
ง ค ุ้ม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ชนิดเดียวกับทองหลางน้ำ ใบ
กอ ประกอบสามใบ ใบยอยทรงกลมปอมโตเหมือนใบถั่วพู ตามกิ่งกานลำตนมี
หนามเล็กแหลมคมเหมือนทองหลางหนาม สรรพคุณ ดับพิษไข ขับไสเดือน แก
ริดสีดวง เปนตน
ทับทิม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนยืนตนไมพุมขนาดกลาง ใบเปนรูปยาวรี ดอก
ออกเปนชอสีสม หรือสีแดง ผลคอนขางกลม สรรพคุณ แกทองรวง แกบิดมูก
เลือด ปดธาตุ แกอติสาร ถายพยาธิ เปนตน
เทพทาโร พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนตนขนาดใหญ ใบดกหนาทึบ เปลือกตนเรียบ สีเทา
อมเขี ย วหรื อ น้ ำ ตาลคล้ ำ เนื้ อ ไม สี ข าว แก น สี น้ ำ ตาล หอมฉุ น กลิ่ น หอมฉุ น
เหมือนกลิ่นการบูร ดอกสีขาวออกเหลือง สรรพคุณ ใบ รสเผ็ดรอนหอม เรียกวา
ใบกระวาน ใชทำเครื่องเทศ ขับลม บำรุงธาตุ, เนื้อไม รสเผ็ดรอนหอม แกลมจุก
เสียด แนนเฟอ ขับลม แกปวดทอง ขับผายลม เปนตน จวง จวงหอม จะไคตน
225
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

จะไคหอม ปูตน ตะไครตน มือแดกะมางิง อบเชยจีน ไมการบูร ก็เรียก


เทายายมอม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดยอม ลำตนตรง ใบ เรียวยาวออกเปน คู ๆ
สลับตามขอของลำตน ดอกเปนชอ หัวหรือเหงามีสัณฐานกลมแบน ใชทำแปง
เปนอาหารได เรียกวา แปงเทายายมอม สรรพคุณ แปงจากหัว รสมัน บำรุง
รางกายสำหรับคนฟนไข คนไขที่เบื่ออาหาร ออนเพลีย เปนตน
เทียนขาว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดเล็ก ลำตนพุงตรงขึ้นไป แตกกิ่งกานสาขา
อยูที่ยอด ใบเปนเสนเล็กแตกเปนงาม ๒-๓ งาม ดอกชอ เหมือนดอกผักชีลอม
สีขาวอมชมพู หอมรอน เมล็ดคลายเมล็ดขาวเปลือก แตเล็กและยาวเรียวกวา
มาก สรรพคุณ รสเผ็ดรอนขม หอม แกลมและดีพิการ ขับเสมหะ แกนิ่ว ขับระดู
ขาว ขับผายลม แกทองขึ้นในเด็ก เปนตน ยี่หรา ก็เรียก
ไ ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชจำพวกตนขนาดเล็ก ลำตนตั้า้งนตรงใบเล็กฝอยหอม
เทียนขาวเปลือก

้ ื บอก แตเล็กกวาเล็กนอย

ดอกชอคลายดอกผักชีลอม เมล็ดสีเหลืองคลายขาวเปลื
สรรพคุณ รสหวานเผ็ด หอม ขับปสสาวะ ขับลลม
พบำรุงธาตุ เปนตน เรียกวา
ผักชีลาว เทียนตาตั๊กแตน ยี่หราหวาน ก็มที ย

น ไ

พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม์แขนาดย

หอทย สีมวงดำ ผลเมื่อแก จะแตกออกเหมือนถวยจีบ
เทียนดำ อม ลำตนตั้งตรงเปนลำสูง ๓-๔ ม.
ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ดอกชอพ
า แ
ร เมล็ดเล็กสีดำเทาเมล็ดงา ทรงเหลี่ยมผิวดำดาน

สรรพคุ ณ รสเผ็ ดาขม ขั บ เสมหะในร า งกาย ให ล งสู คู ถ ทวาร ขั บ ลมในลำไส
มีขนทั้งภายนอกและภายใน

แกอาเจียิปน ัญ

ูมนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชลมลุก ลำตนตั้งตรงเกลี้ยง สูง ๑๕-๓๐ ซม.
บำรุงโลหิต

พื ชงสมุ
อ ่ยว ใบมีขนาดและรูปเปลี่ยนไปตามความสูง ใบที่โคนตน กานยาว หยักเวา
ครใบเดี
เทียนแดง

ง ค ุ้ม
กอ
ลึกแบบขนนก แฉก รูปไขกลับ ปลายมน ขอบหยัก ใบสูงขึ้นมา หยักเวาแบบขน
นกชั้นเดียวหรือสองชั้น ดอกชอเล็กๆสีขาว ออกที่ยอด ฝกเล็กๆกลมรี ปลายเวา
เหมือนพัดใบลาน เมื่อแกจะแตกออก กานฝกแบนยาว เมล็ดกลมรูปไขงู สีแดง
สรรพคุณ รสเผ็ดรอนขมหอม แกเสมหะ แกลม แกน้ำดีพิการ แกลมเสียดแทง
สองราวขาง แกคลื่นเหียนอาเจียน ขับน้ำนม เปนตน
เทียนตั๊กแตน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชจำพวกตน คลายเทียนขาว แตเมล็ดกลมมีขอบ
รอบคลายตาตั๊กแตน สรรพคุณ รสขมเผ็ดเล็กนอย บำรุงธาตุ ชวยยอยอาหาร
แกทองอืดเฟอในเด็ก ขับลม แกเสมหะพิการ แกกำเดา เปนตน
เทียนทั้ง ๕ หรือเบญจเทียน พืชสมุนไพรหาชนิด ไดแก เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียนดำ เทียนแดง และ
เทียนตาตั๊กแตน
เทียนทั้งเจ็ด เทียนทั้งหา แลวเพิ่มอีก ๒ คือ เทียนเยาวพาณี และเทียน สัตตบุษย
226
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

เทียนเยาวพาณี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชขนาดเล็ก จำพวกผัก คลายตนโกฐจุฬาลัมพาและ


ต น ผั ก ชี ใบเล็ ก เป น ฝอย สู ง กว า ต น ผั ก ชี เ ล็ ก น อ ย รู ป สามเหลี่ ย ม สรรพคุ ณ
รสรอนหอม กระจายเสมหะ กระจายลม แกคลื่นเหียนอาเจียน แกจุกเสียด
เทียนเยาวภาณี ดูที่ เทียนเยาวพาณี
เทียนสัตตบุษย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชลมลุกขนาดเล็ก ใบเปนฝอยแบบขนนก ชอดอกสี
ขาวรูปรม คลายเทียนขาวเปลือก เมล็ดคลายเทียนขาวเปลือก แตมีรองยาว
ตลอดเมล็ ด มาจากต า งประเทศ สรรพคุ ณ แก ล มครรภ รั ก ษา แก พิ ษ ระส่ ำ
ระสาย แกไข แกหอบ แกสะอึก

ธ ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แ ผ
พท

า รแ
นมแมว
าก
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมเลื้อย ใบเดี่ยวรูปไข เนื้อหนา ผิวสาก มีขนตาม

ัิปญญ
เสนกลางใบ ดอกเดี่ยว เหมือนดอกลำดวน แตเล็กกวากลีบบางกวาไมงุมโคง

ภ ม

มากเทาดอกลำดวน สีขาวออกเหลืองนวล มีกลิ่นหอมตอนเย็นและกลางคืน
นอแรด
ค ร องสัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากอวัยวะที่งอขึ้นเหนือจมูกแรด แข็งเหมือนเขา
ง ค มุ้ สัตว สรรพคุณ มีกลิ่นหอมเย็น ไมคาว มีรสเปรี้ยวเค็มเย็น แกไขสูง แกพิษรอน

ก อ แกอาเจียนเปนเลือด แกถายเปนเลือด เปนยาขมเจริญอาหาร แกอาการเกร็ง


น้ำดอกไม เครื่องแทรกยาชนิดหนึ่ง ไดมาจากน้ำที่ลอยดอกมะลิทิ้งไวคางคืน จะมีกลิ่นหอม
สรรพคุณ แกลม บำรุงหัวใจ น้ำดอกไมใชเปนน้ำกระสายยา ทั้งที่ใชเพื่อทำเปน
ยาเม็ดลูกกลอนหรือยาแทง และใชละลายยาใหกินยาไดงายขึ้น ทั้งยังเสริมฤทธิ์
ของยาหลักไดอีกดวย บางตำราเรียกวา น้ำดอกไมไทย
น้ำดอกไมเทศ เครื่ อ งแทรกยาชนิ ด หนึ่ ง เป น น้ ำ มี ก ลิ่ น หอม เป น ของมาจากต า งประเทศ
สรรพคุ ณ มี ก ลิ่ น หอมเย็ น ทำให หั ว ใจสว า งชื่ น บาน แก พิ ษ ไข แก ร อ น
แกกระหาย แกออนเพลีย
น้ำดับไฟ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเลื้อยมีมือเกาะ ดอกสีขาวออกเปนชอยาว บางที่
เรียกวา หญาน้ำดับไฟ

227
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

น้ำตาลกรวด เครื่องแทรกยาชนิดหนึ่ง ไดมาจากน้ำหวานของออย เปนกอน สีขาวเหมือน


กรวด(กอนหินเล็กๆ ) ใชทำยาได สรรพคุณ รสหวานเย็น แกรอนใน แกคอแหง
ทำใหเนื้อหนังชุมชื้น ชูกำลัง
น้ำตาลโตนด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากน้ำหวานของงวงตาล หรือ ดอกของตนตาล
น้ำตาลทราย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากสารประกอบคารโบไฮเดรตประเภทโมโนแซ็ก-
คาไรด มีรสหวาน ทำจากออย ทำใหเปนเม็ด ๆ เหมือนทราย
น้ำเตา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อย ตระกูลเดียวกับฟก และแฟง เถามีขนเล็ก
สาก ใบสีเขียวออกตามขอเถามีมือเกาะ ดอกสีขาว ผลคลายคนโทใสน้ำ เปลือก
แข็ง ถิ่นพายัพเรียกน้ำตน
ไ ท ย
้าน
น้ำทา เปนน้ำฝนที่ ต กลงมา แล ว ไหลผ า นผิ ว ดิ น สู แ ม น้ ำ ลำคลอง มี แร ธ าตุ แ ละสาร
อินทรียตางๆ บ
ื้นดสี น้ำตาลออน มียางขาว
ละ พ
คลายน้ำนม ใบเปนใบเดี่ยวเรียงตรงขาม รูยปแขอบขนาน ผิวใบมีขนทั้งสองดาน
น้ำนมราชสีห พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนมีขนละเอี ย

ดอกออกเปนชออกที่ซอกใบ ผลแหงนแตกได ไท มี ๓ พู เมื่อสุกสีเหลือง สรรพคุณ



ขับปสสาวะ แกไอหืด บำรุงกำลัยง ์แขับน้ำนม เปนตน
พ ท

มีรสมันรอน สรรพคุณ รบำรุงกำลัง แกหืด ดับพิษรอน


น้ำนมเสือ

ญ า
ิูมปัญ ลอกลิ้นเด็ก กัดเม็ดยอดในปาก กัดเม็ดฝ เปนตน น้ำประสานชาง
น้ำประสานทอง แร ธ าตุ ส มุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง ได ม าจากเกลื อ บอเรตของโซเดี ย ม สรรพคุ ณ
แกละอองซาง
ทองงภน้ำประสารทอง ก็เรียก

ุ้ม ครเครือ ่องแทรกยาชนิดหนึ่ง ไดมาจากน้ำภายในผลมะพราวนาฬเก มีรสหอมหวาน



น้ำมะพราวนาฬเก

กอง ดูเพิ่มเติมที่ มะพราวนาฬเก


น้ำมันงา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากของเหลวที่สกัดจากเมล็ดงา ดูเพิ่มเติมที่ งา
น้ำมันเนย สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากน้ำมันซึ่งทำมาจากน้ำนมของสัตว เชน วัว แพะ
เปนตน ดูเพิ่มเติมที่ เนย
น้ำมันมะพราว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากนำเนื้อผลมะพราวแกตมเคี่ยวจนไดน้ำมัน
น้ำมันหัวกุง สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากของเหลวที่เปนน้ำสกัดจากหัวกุง หรือตมเคี่ยว
หัวกุงจนไดน้ำมัน
น้ำมูลมาสด เครื่องแทรกยาชนิดหนึ่ง ไดมาจากการนำมูลมาสดมาละลายในน้ำสะอาด แลว
ตั้งทิ้งไวใหตกตะกอนหรือนอนกน ใชน้ำใสที่อยูเหนือมูลมานั้นเปนยา

228
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

เนย สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากไขมันหรือน้ำมันที่ทำจาก น้ำนมสัตว มีทั้งเหลว


และแข็ง
เนระพูสี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชจำพวกเฟรน มีลำตนคลายตนมะพราว ขนาดโต
เทาขา สูง ๒-๕ เมตร ใบมีกานแผออกไปจากตน ลำตนสีดำ สรรพคุณ รสฝาด
เย็น แกซาง แกไข แกปากลิ้นคอเปอย แกไอ แกปวด เจริญอาหาร แกธาตุพิการ


บวบขม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาลมลุก ลำเถาออน ยอดออนมีขนนุม ใบโตคอน

ไ ท ย
ขางกลม ปลายใบแหลม โคนใบเวาเขา ดอกเดี่ยวสีเหลือง ผลรูปทรงกระบอก

บ ้าน
มีรสขม สรรพคุณ ลดไข ระบายทอง บำรุงหัวใจ บำรุงรางกาย เปนตน เรียกวา
บวบกลม มะนอยขม นมพิจิตร ก็มี
ะ พ ื้น
บวบลม ดูที่ โกฐพุงปลา
ย แล
น ไท
บอระเพ็ด
์แ ผ
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมเถา พาดพันไปตามตนไมใหญ เถากลม ผิวมีเม็ดตุม

พท
ถี่ๆตลอดเถา มีรากอากาศเล็กกลมยาว สีน้ำตาลเขม ใบเดี่ยว รูปหัวใจปลาย

รแ
แหลม ดอกชอสีเหลือง บางถิ่นเรียกวา เจตมมูลหนาม เจตมูลยาน เถาหัวดวน

าก
จุงจะลิง และ หางหนู สรรพคุณ แกไข บำรุงธาตุ และ เจริญอาหาร เปนตน
บัลลังกศิลา ัิปญญ
แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากหินออนชนิดหนึ่ง เนื้อเปนสีขาว ขุนมัว สี
ภ ม

อง
ออกเทา ๆ มีสีแดงสลับ ใชเปนยาเบื่อพยาธิ ดับพิษ และรักษาบาดแผลเรื้อรังทุก

ค ร ชนิด มีแผลกามโรคเปนตน บัลลังกศิลา มีถิ่นกำเนิดอยูในเมืองจีน


บัวขม
ง ค มุ้ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนบัวสายชนิดหนึ่ง มีดอกสีขาว สาย (ลำตน) มีขนาด
ก อ เล็ก ลำตนใตดินมีรสขม ดอก สรรพคุณ ทำใหใจชุมชื้น แกไขเมื่ออาการของธาตุ
กำเริบ ใหปวดศีรษะ ใหตัวรอน เมื่อยตัว ใหคลื่นเหียน ใหวิงเวียน
บัวแดง ดูที่ บัวหลวง
บัวน้ำทั้งหา พืชสมุนไพรที่ไดจัดรวมเปนหมวดหมู เรียกวา พิกัด มี พิกัดบัวทั้ง ๕ หรือบัวน้ำ
ทั้ง ๕ คือ บัวสัตตบุษย บัวสัตตบรรณ บัวลินจง บัวจงกลนี และบัวนิลุบล
บัวเผื่อน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนบัวสายชนิดหนึ่ง ดอกบานในเวลากลางวัน บาน
วั น แรกสี ค ราม วั น ต อ ไปจะจางลง จนเป น สี ข าวปลายสี ค รามในวั น สุ ด ท า ย
จึงเรียกวา บัวเผื่อน สรรพคุณ ขับลม บำรุงความกำหนัด แกกามตายดาน
บำรุงรางกาย
บัวลาขาว ดูที่ เสนียด
229
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

บัวลาดำ ดูที่ สันพรามอญ


บัวหลวง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนบัวขนาดใหญ มีกานดอกแข็ง ผิวเปนหนามคมเล็กๆ
ตลอด ใบทรงกลมโต ผิ ว เรี ย บมี น วลขาวเคลื อ บตลอดหน า ใบ ขอบใบเรี ย บ
สี เขี ย วนวลสี เ ดี ย วตลอดใบ ก า นใบแข็ ง ชู ขึ้ น เหนื อ น้ ำ ดอกบานแล ว ไม หุ บ
รูปดอกทรงพุม กลีบดอกรูปกลมรีปลายแหลม ไมมีหัวเหมือนบัวสาย แตเปน
ลักษณะไหล หรือรากเก็บอาหาร ขนาดใหญ มีหลายชนิด คือบัวหลวงแดง และ
บัวหลวงขาว
บุก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกลำตนไมมีแกน ดอกจะแทงกานขึ้นมาจาก
พื้นตรงโคนตนหัวบุกมีรสเบื่อเมา สรรพคุณ ใชกัดเสมหะ หนองฝตาง ๆ เปนตน
บุกรอ ก็เรียก
ไ ท ย
บุกรอ ดูที่ บุก
บ ้าน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง เปลืะอพ ื้น นบาง ใบเดี่ยวหนาทึบ
ใบสีเขียว ยาวเรียว ดอกเดี่ยวออก เปนกระจุแกลสีขาวนวล ดอกมี ๔ กลีบ กลิ่น
บุนนาค กลำต

หอม สรรพคุณ แกเสมหะในคอ บำรุงไเลื ท ยอด และขับลมในลำไส เปนตน ถิ่น


ผ น ตร
พายัพเรียก สารภีดอย ถิ่นใตเรียก์แนาคบุ
ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง มีลแักพ
เบญกานี
กา ร ษณะเปนกอนกลม เกิดจากการที่แมลงมาไขบนตนไม

ตนไมจะปองกันตนเองโดยการสร างสารขึ้นมาเคลือบสิ่งแปลกปลอมเหลานี้
ญ และเมื่อไขเจริญเปนแมลงแลวก็จะเจาะรูออกมา ทำใหบาง


ทำใหมีลักษณะกลม
ิป เปนรู ลูก สรรพคุณ เปนยาฝาดสมาน แกทองรวง แกบิด


แกงปภวดเบง อาเจียน แกปวดมดลูก
ครั้งเห็นเบญกานี

ุ้ม ครสอวนทั้งหา ของกะเพรา ไดแก ราก ตน ใบ ดอก และ ผล ดูเพิ่มเติมที่ กะเพรา
เบญจกะเพรา
ง ค
เบญจกะเม็ง กอ สวนทั้งหา ของกะเม็ง ไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล ดูเพิ่มเติมที่ กะเม็ง
เบญจกูล พืชสมุนไพรหาชนิด ในกลุมเครื่องยาจัดหมวดตามพิกัดประกอบดวย รากชะพลู
เถาสะคาน ดีปลี เหงาขิง(ขิงแหง) และรากเจตมูลเพลิง
เบญจขี้เหล็ก สวนทั้งหาของขี้เหล็ก ไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล ดูเพิ่มเติมที่ ขี้เหล็ก
เบญจคัดเคา สวนทั้งหาของคัดเคาไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล ดูเพิ่มเติมที่ คัดเคา
เบญจชะพลู สวนทั้งหาของชะพลูไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล ดูเพิ่มเติมที่ ชะพลู
เบญจดีปลี สวนทั้งหาของดีปลีไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล ดูเพิ่มเติมที่ ดีปลี
เบญจตะแบก สวนทั้งหาของตะแบกไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล
เบญจเตาราง สวนทั้งหาของ เตาราง ไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล ดูเพิ่มเติมที่ เตาราง
230
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

เบญจมะกา สวนทั้งหาของมะกาไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล ดูเพิ่มเติมที่ มะกา


เบญจราชพฤกษ สวนทั้งหาของราชพฤกษไดแก ราก ตน ใบ ดอก และผล ดูเพิ่มเติมที่ราชพฤกษ
เบญจเหล็ก เหล็กทั้งหาเปนกลุมวัตถุ สมุนไพร ประกอบดวย สนิมเหล็ก วานสากเหล็ก
เถาวัลยเหล็ก แกนขึ้เหล็ก และพญามือเหล็ก
เบี้ยผู สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนหอยน้ำเค็มชนิดฝาเดียวที่มีเปลือกหนาและแนน
รูปรีหรือรูปคลายชมพู ทองยื่น ผิวเปนมัน เบี้ยผูที่ใชทางยานี้เปนเปลือกหอย
ขนาดเล็ก รูปไขหรือรูปไขกลับ หัวทายมน โบราณเอาเบี้ยผูมาเผาใหโชน ผสม
กับพิมเสนอยางดี ใชโรยแผล กัดฝาละออง หรือใชกินเปนยาขับลมในลำไส
ขับปสสาวะ แกไตพิการ
ไ ท ย
ป บ ้าน
ะ พ ื้น
ปรอท

แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนธาตุโลหะหนั แ ลก เปนของเหลว มีสีขาวเปนเงาคลาย

เงิน สรรพคุณ รสเมาเบื่อ แกโรคผิวหนัไทงทุกชนิด แกน้ำเหลืองเสีย มะเร็งคุดทะราด
หนองใน เขาขอ ออกดอก เป์แนผ
ย ตน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง พเปทนไมตน เปลือกตนสีเทา แผกิ่งกานสาขา แตกใบที่สวน
รแ นใบประกอบแบบขนนก ใบยอยออกตรงกันขามหรือ
ประคำดีควาย
ปลายของลำตกนาใบเป
ทแยงกันเล็ญกานอย ดอกออกเปนชอใหญที่ปลายกิ่ง ดอกยอยมีขนาดเล็กสีขาว
กลีบิปเลีัญ
ง ม

มีภ ๘ อัน มีขน รังไขมี ๓ หอง ผลมี ๓ พู สวนใหญจะฝอไป ๑ หรือ ๒ พู แตละพู
้ยงมี ๕ กลีบ มีขนดานนอก กลีบดอกมี ๔ กลีบ รูปไขถึงรูปรี เกสรตัวผู

รอ
ง ค มุ้ ค ที่เจริญอยูมีรูปคอนขางกลม เมื่อสดมีสีเขียว เมื่อแกและแหง ผิวของผลจะยน มี


สีน้ำตาลเขมเกือบดำ แตละพูที่เจริญมีเมล็ดสีดำเปนมัน ๑ เมล็ด สรรพคุณ ผลมี
ก รสขม แกกาฬภายใน ดับพิษทุกอยาง ใชปรุงเปนยาแกไข แกพิษซาง ผลตมกับ
น้ำใหเกิดฟอง สุมหัวเด็ก แกหวัด ใชสระผม แกรังแคและชันนะตุได
ประดู พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดใหญ เปลือกลำตน สีน้ำตาลเขมหรือดำ
คล้ำ ใบรวมกันเปนชอ ๆ หนึ่งมีใบยอย ลักษณะใบเปนรูปมนรี ปลาย ใบแหลม
ดอกเหลือง ออกเปนชอที่ปลายกิ่ง สรรพคุณ แกไข แกเลือดกำเดาไหล และแก
ทองเสีย เปนตน เรียกวา ประดูปา ประดูไทย ประดูบาน และ ดู ก็มี
ประยงค พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมเตี้ย ลำตนเปลือกแข็ง ใบสีเขียวเล็กคลายใบตน
แกว ดอกสีเหลืองกลมเล็กคลาย ไขปลาดุก ออกเปนชอตามงามใบ กลิ่นหอม
ประยงคปา พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม ยื น ต น ขนาดย อ ม ใบดก ใบประกอบเหมื อ น
ประยงคบาน แตใบยอยมากกวา ดอกคลายกันแตเล็กกวาเล็กนอย สีเหลือง
231
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

หอมมาก สรรพคุณ ถอนพิษทั้งปวง แกพิษเสมหะ แกหอบเนื่องจากปอดพิการ


แกไอ เปนตน
ปรู พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบเปนรูปรี ปลายใบแหลม
ดอกออกเปนกระจุก สีขาวนวล สรรพคุณ เปลือกมีรสฝาดใชเปนยาแกทองรวง
จุก เสียด หอบหืด และแกแกไอ เปนตน มะตาปู มะเกลือกา ผลู หรือ ปลู
ก็เรียก
ปลวกใตดิน ใชรังปลวกใตดินของปลวกชนิดที่เลี้ยงเชื้อราไวและใหเห็ดโคนได มีสีดำแดงถึง
สีน้ำตาลแดง เมื่อนึ่งใหสุกจะมีสีดำ ผาดูดานในจะมีสีขาว สรรพคุณ รสจืดเย็น
แกปวดฝในหู โดยใชฝนกับน้ำสุกหยอดหัวที่ปวด บางตำราเรียก น้ำเตาใตดิน
หรือ ดีจอมปลวก
ไ ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดยอมถึงขนาดกลาง้านใบเปนรูปหอกโคน
ใบมน ปลายใบแหลม ริมขอบมีรอยหยัก ดอกออกเปื้นนบชอ ปลายกลีบแยกออก
ปบ

ละ พผลเปนฝก สรรพคุณ แกโรค



หอบ หืด บำรุงปอด เปนตน ภาคเหนือเรีทยกยกาชะลอง กาดสะลอง
เหมือนปากแตรสีขาว ยาวราว ๒ นิ้ว มีกลิ่นหอม

น ไ
์ยแผ
ท อกหอยตางๆ เมื่อเอาน้ำพรมลงไปก็จะแตก
ปูนขาว แร ธ าตุ ส มุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น สารประกอบออกไซด ข องแคลเซี ย ม เป น ผง


ละเอียด สีขาว ไดจากการเผาเปลื พ
ละเอียดเปนผงสีขาว าเรีรยก ปูนขาว หรือ ปูนสุก
า ก
ปูนผง
ัิปญญ ดหนึ่ง ไดมาจากหินหรือเปลือกหอยเผาใหไหมเปนผง
แรธาตุสมุนไพรชนิ
พืชสมุภนูมไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลงหัว ใบออนมวนเปนกระบอกออกมา แลวแผราบ
อง าดิน ตนหนึ่งมักมี ๑-๒ ใบ ทรงกลมโต ยาวประมาณ ๓-๔ นิ้ว หนาใบ
เปราะหอม
รบนหน
ค เขียว เปราะหอมแดง ทองใบสีแดง เปราะหอมขาว ทองใบสีขาว มีกลิ่นหอม หัว
ง ม
้ ุ
ค กลมเหมือนหัวกระชาย ใบงอกงามในหนาฝน แหงไปในหนาแลง เกิดตามที่ลุม
ก อ
ชื้นแฉะในปาดงดิบ และปาเบญจพรรณทั่วไป
เปลาทั้งสอง พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ เปลานอย และ เปลาใหญ
เปลานอย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดยอม ใบเดี่ยวรูปหอกเรียว โคนใบสอบ
แคบมน ปลายแหลม ขอบจักเล็กนอย ดอกชอ คลายดอกมะมวง สีขาว ผล
รูปไขปลายแหลมผิวเรียบ สรรพคุณ แกทองเสีย บำรุงธาตุ แกคันตามตัว รักษา
โรคกระเพาะอาหาร เปนตน
โปรงฟา พื ช สมุ น ไพรมี ๒ ชนิ ด คื อ ชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม พุ ม ขนาดย อ มต น สู ง ประมาณ
๓–๔ ฟุต ใบโตขนาดมะหวด ในใบมีตอมน้ำมัน เอาใบสองดูจะเห็นโปรงเปน
จุด ๆ คลายใบทะลุทั้งใบ ดอกสีเขียว ๆ ขาว ๆ โตขนาดดอกแกว มีกลิ่นหอม
มาก สรรพคุ ณ แก ต ามื ด ตามั ว เป น ต น บางที เรี ย กว า หวดหม อ นต น
232
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

หัสคุณแดง อีกชนิดหนึ่งเปนไมเลื้อย ใบบางเปนฝอยคลายสนแผง ตนเล็กปลูก


เปนไมประดับ


ผมคน วัตถุสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากเสนผมที่อยูบนศีรษะของคน
ผักกระเฉด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเลื้อยเนื้อออนขึ้นในน้ำ ลำตน มีปลอกเปนปุยขาว
เรี ย กว า นม ใบเล็ ก ฝอย เมื่ อ ถู ก กระเทื อ นจะหุ บ ได ดอกออกเป น กระจุ ก มี
สี เ หลื อ งสด ผั ก รู น อน ผั ก หนอง ก็ เรี ย ก สรรพคุ ณ แก ไข ตั ว ร อ น ถอนพิ ษ
ตับอักเสบ บำรุงรางกาย
ไ ท ย
ผักกะโฉม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนแตกแขนง ใบเป
บ า
้ น นใบเดี่ยวออกเปนคู ๆ
ตรงข า มกั น ดอกออกเป น ช อ สี น้ ำ เงิ น อมม ว งื้นกลางดอกแต

สรรพคุณ แกไข ขับเสมหะ ขับปสสาวะ เปลนะตน บางทีเรียกวา ผักกะโสม อมกบ
ม ด ว ยสี เ หลื อ ง

ย แงพิษเหือด หัด สุกใส ดำแดง ฝดาษ


ไท
ระงับความรอน ขับเสมหะ แกแผนนนหนาอก แกไอ แกแนนทอง เปนตน
ก็มี สรรพคุณ ใบปรุงเปนยาเขียว กระทุ

์แ
เปยน ไม ล ม ลุ ก ฤดู เ ดี ย ว ขอบใบเว า ลึ ก เป น แฉกหยั ก
พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง ท
ผักกาด

ฟ น เลื้ อ ย ดอกชารอ แออกที่ ป ลายกิ่ ง กลี บ ดอกสี ข าว ผลเป น ฝ ก สรรพคุ ณ
บำรุงเลือด าก

ั ญ
พืชสมุิปนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกใบเดี่ยวแตกออกตามขอตนดอกสีขาว ผลแก
ผักขวง
ง ภ ม


คร แกหวัด แกรอนใน ดับพิษรอน เรียกวา ผักขี้ขวง สะเดาดิน ก็มี
จะแตกออกเป น ๓ แฉก เมล็ดภายในมีสีน้ำตาลแดง สรรพคุณ บำรุงน้ำดี แกไข

ง ค ุ้ม
กอ
ผักคราด พืชสมุนไพรมีหลายชนิด เชน ผักคราดหัวแหวน ผักคราดทะเล เปนตน เปนไม
ลมลุก ตนเล็กใบใหญ ลำตนตั้งตรง ใบเปนใบเดี่ยวรูปไข ปลายแหลม ขอบใบ
เปนจักแบบฟนเลื่อย ดอกสีเหลืองออกเปนชอตั้ง ดอกเดี่ยว ผลมีสีน้ำตาลเขม
สรรพคุณ แกไข แกปวดศีรษะ เปนตน
ผักโฉม ดูที่ ผักกะโฉม
ผักชี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนตั้งตรง ภายในกลวง รากแกวสั้น ใบ
แบนรูปทรงพัด ดอกออกเปนชอ ผลทรงกลม สีน้ำตาล สรรพคุณ แกทองอืด
บำรุงธาตุ เจริญอาหาร เปนตน เรียกวา ผักชีไทย ผักชีหอม ผักชีลา ผักหอม
ปอม ผักหอมนอย ผักหอม ก็มี
ผักชีทั้ง ๒ พืชสมุนไพร ๒ ชนิด ไดจากผลของผักชีลาและผักชีลอม ดูเพิ่มเติมที่ ผักชี

233
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ผักชีลอม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนตรง ใบเล็กยาว ปลายแหลม ริมใบ


เปนจัก ๆ ลำตนอวบ กลวงใน ดอกออกเปนชอ สีขาวเหมือนดอกผักชี เมล็ด
เหมือนเทียนเยาวภาณี ใบใชรับประทานเปนผักได
ผักตบ พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด ๑. เปนไมลมลุกอาศัยอยูในน้ำ ลำตนแตกเปนกอ ใบเดี่ยว
รูปหัวใจ ขอบใบเรียบแผนใบหนาเรียบสีเขียว โคนกานใบแผออกเปนกาบ ดอก
ออกเปนชอ ดอกมีสีมวงมีสีขาวแตมบางเล็กนอย กลีบดอกมี ๕ กลีบ ผลเปน
แบบแคปซูล เมล็ดมีจำนวนมาก สรรพคุณ แกพิษในรางกาย ขับลม แกแผล
อักเสบ เปนตน เรียกผักตบไทย ๒. เปนไมลมลุกอาศัยอยูในน้ำ รากแตกออก
จากลำตนที่ขอ ใบเดี่ยว รูปไขหรือรูปหัวใจ แผนใบหนาเรียบสีเขียวขอบใบเรียบ


แผนใบและกานใบพองออกขางในเปนรูพรุนคลายฟองน้ำทำใหลอยน้ำได ดอก
ไ ท
้าน
ออกเปนชอที่ปลายยอด ดอกสีมวง กลีบดอกมี ๖ กลีบ ผลเปนผลแหงแตกได ๓

ื้นบ
ซีก สรรพคุณ แกพิษภายในรางกาย ขับลม ทาแกแผลอักเสบ เปนตน เรียกผัก
ะ พ
แล ำ มียางสีขาว ใบเดี่ยว
ตบชวา
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกอยูไดทั้งยบนบกและในน้
ไท นชอที่ซอกใบ ดอกสีขาว สีขาวอม
ผักบุง

์ยแผงแตกได รูปกลมรีแบบแคปซูล สรรพคุณ
รูปใบหอก แผนใบบางสีเขียว ดอกออกเป

แก ป วดศี ร ษะ อ อ นเพลีพย ทแก ก ลากเกลื้ อ น แก ต าอั ก เสบ บำรุ ง สายตา
ชมพูหรือสีมวงแดง ผลเปนผลแห

า รแกบุงนา ผักบุงแดง ผักบุงขาว ก็เรียก


ผักทอดยอด ผักบุงไทย
า ก ผั


ั ญดหนึ่ง เปนไมเถาลมลุก ทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ลำตนกลวง
เกลี้ยงมีูมขิปอ รากออกตามขอ มียางสีขาว ใบเดี่ยว ออกดานเดียว ใบมีหลายรูปใน
ผักบุงขัน พืชสมุนไพรชนิ

ตอนงเดี ย วกั น ทั้ ง กลม รี รู ป ไต ปลายเว า หรื อ มน ค อ นข า งหนา สี เขี ย วเข ม
ุ้ม ครขอบเรียบ ดอกรูปปากแตรสีมวงออน ออกเปนชอ บานไมพรอมกัน สรรพคุณ
ง ค
ผักบุงไทย
กอ แกบวม เจริญอาหาร ระบายทอง ตมอาบ แกคัน เปนตน
ดูที่ ผักบุง
ผักบุงรวม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนเปนปลองกลวง มีรากงอกออกตามขอ
มีขนบางๆมีกลิ่นหอม ใบเดี่ยวออกเปนคูตรงขามกันตามขอ ใบรูปยาวรีสอบ
แคบปลายแหลมหรือมน มีขนทั้งหนาและทองใบ สีเขียวสด ดอกเล็กๆสีขาวอม
เขียวออนๆ ออกเปนกระจุกที่งามใบหรือยอด ไมมีกานดอก ผลสีดำ ขึ้นตาม
บอน้ำคูคลองทั่วไป สรรพคุณ เปนยาระบาย เจริญอาหาร แกพิษทั้งปวง
ผักเบี้ย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาขนาดเล็ก ลำตนแผอยูบนพื้นดิน แตกกิ่งกาน
รอบๆตน ลำตนกลม ฉ่ำน้ำ เล็กๆสีแดง อายุมากขึ้นดานบนสีแดงอมน้ำตาล
ดานลางไมถูกแดดจะมีสีเขียวใบเล็กๆ รูปชอนปลายกลม ออกจากขอ ดอกออก

234
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ตามงามใบเปนกระจุก สรรพคุณ รสจืดเย็น แกรอนในกระหายน้ำ แกไข แกพิษ


ตานทราง แกอักเสบบวม ผักเบี้ยนอย ผักเบี้ยเล็ก พรมมิแดง ก็เรียก
ผักปอด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมน้ำ สูง ๑-๒ ฟุต ใบเล็กยาวปลายแหลม ชอบขึ้นอยู
ตามทุงนาที่มีน้ำขัง มีอยูสองชนิด คือ ผักปอดตัวผู และผักปอดตัวเมีย ผักปุม
ปลา ผักปอดนา ผักปุมปา ก็เรียก
ผักเปด พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด คือ ผักเปดขาว และผักเปดแดง เปนไมยืนตนขนาดเล็ก
ลำตนบางสวน นอนไปตามหนาดิน ลำตนเปนขอลำกลมเรียวเล็กแข็ง ใบเดี่ยว
รูปหอกกวาง ปลายแหลม คลายใบเทียน สรรพคุณ ดับพิษโลหิต ทำใหโลหิต
เย็น ฟอกโลหิตระดูที่พิการเปนลิ่มเปนกอนดำเหม็น เปนตน เรียกวา ผักเปดขาว
ผักเปดแดง ผักเปยวแดง อั้งเชา ก็มี
ไ ท ย
ผักเปดน้ำ
บ ้าน มน้ำลำคลองที่ชื้นแฉะ
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชลมลุกอายุปเดียว ขึ้นตามริ

ะ พ ื้น ใบเดี่ยวรูปหอกโคน
ลำตนเปนขอ กลวง มีรากตามขอ แตกกิ่งกานสาขามาก
และปลายแหลม กานใบสั้นมาก เสนกลางใบสี
แ ล
ย กเสบชนิดบี แกวัณโรค แกไอเปน
ขาวคมชัด ใบและลำตนสีเขียวสด
สรรพคุณ ขับปสสาวะ แกไขหัด แกโทรคสมองอั
น ไ
เลือด เปนตน
ย ์แ ผ
พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิดพคืทอ ผักแพวขาว เปนพืชลมลุก ลำตนตั้งตรง หรือแผอยู
ผักแพว
า รแ ง ใบเดี่ยวรูปหอกขนานยาวปลายและโคนแหลม ไมมี
กาน ออกเปนาคูกตรงขามกัน หนาใบเปนตุมๆ มีขนหงิกงอแข็งๆ และผักแพวแดง
บนผิวดิน มีขนหยาบแข็
ญ กลำตนตั้งเหนือดิน ใบเดี่ยวกลม ขอบหอโคงขึ้นมารอบ แผนใบ
ัิปญนาดเล็


เปนไม ข
ง ภ
ครอ กาบสีน้ำตาลอมแดงหอหุมหนาแนน เปนตน
เป นลอน เกลี้ยงมัน ตนสีแดงสด ใบสีแดง มีลายสีเขียวอมน้ำตาลแทรก รากมี

ง ค ุ้ม
กอ
ผักแวน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมน้ำเถาเล็กๆ ทอดตัวบนผิวน้ำ ใบประกอบ ๔ ใบ
ใบยอยรูปกรวยปลายมน โคนแหลม ขนาดเล็กเทาปลายนิ้วกอยติดรวมกันอยู
ปลายกาน สรรพคุณ สมานแผลในปากคอ ระงับรอน แกไข รอนในกระหายน้ำ
ดับพิษ แกดีพิการ เปนตน
ผักเสี้ยนไทย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก แตกกิ่งกานสาขาที่ไมยาวมากรอบตน ใบ
ประกอบ ๓ ใบ ดอกเล็กสีขาว ออกเปนชอที่ปลายกิ่ง ฝกกลมยาว เมล็ดเหมือน
เมล็ดงาสีดำ สรรพคุณ แกปวดเมื่อย ขับปสสาวะ ขับเสมหะ ผักสมเสี้ยน ผัก
เสี้ยนไทย ผักเสี้ยนตัวผู ก็เรียก
ผักเสี้ยนผี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกลำตนตั้งตรง แผกิ่งกานรอบตน มีขนสีเหลือง
ออน มีกลิ่นเหม็นเขียวฉุน ใบประกอบ ๓-๕ ใบ ติดที่ปลายกาน ใบยอยรูปไข
ปลายและโคนแหลม มีขนออนปกคลุม ดอกเล็กๆสีเหลืองออกเปนชอที่ปลายกิ่ง
เมล็ดสีน้ำตาลแดง สมเสี้ยนผี ผักเสี้ยนตัวเมีย ไปนิพพานไมรูกลับ ก็เรียก
235
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ผักหนาม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกอายุหลายป ลำตนทอดเลื้อยและชูยอดขึ้น มี


หนาม ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ ขอบ ใบหยักเวาลึก ดอกออกเปนชอสีชมพู
สรรพคุณ แกไข ขับเสมหะ เปนตน
ผักหวาน พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด ไดแก ผักหวานบาน เปนไมยืนตนขนาดยอม กิ่งเล็กเรียว
งอไปมาเล็กนอยตามขอ ใบเดี่ยวรูปไขปลายแหลม ขอบเรียบ ออกเปนคูตรงกัน
ขาม ผลกลมฉ่ำน้ำ ผิวเปนพูเล็กนอย สีเขียวถึงขาว ขั้วสีแดง หอยลงใตใบ และ
ผักหวานปา เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบเดี่ยว รูปไข ปลายแหลม คลายใบ
มะนาว ผลกลมรี ขนาดปลายนิ้วออกเปนพวง เมื่อสุกสีเหลืองถึงแดง สรรพคุณ
แกไข ดับพิษรอน เปนตน
ผักโหมหิน
ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนเลื้อยบางตั้งตรงบาง ใบออกเปนใบ

้าน
เดี่ยวเรียงตรงขามกันเปนคู ๆ ดอกเปนดอกเดี่ยว สีชมพู ผลเปนฝก สรรพคุณ

พ ื้น
บำรุงโลหิต ขับลม ขับปสสาวะ บางทีเรียกวา ผักโขมหิน ผักเบี้ยหิน

ผักไห พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาลำตนเลื้อยพาดพั
แล
ย นดอกเดี่ยว สีเหลือง ผลรูป
นตามตนไมหรือตามราน ใบ
ออกเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ ขอบใบหยัก ดอกออกเป
ไท
นผลออนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลืองอมแดง
กระสวย ผิวขรุขระ มีปุมยื่นออกมา
ย ผ
์แ บางทีเรียกวา มะระขี้นก
สรรพคุณ ขับลม ขับพยาธิ บำรุ
พ ท ง ธาตุ
า รแ

าฝ

ิูมปัญ

พื ชงสมุ

ครโคนหนามเปนเตาเล็กๆ ใบประกอบ ใบยอยเปนใบประกอบดวย ใบยอยเล็ก
ฝาง น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม ยื น ต น ขนาดเล็ ก มี ห นามตลอดทั้ ง ต น และกิ่ ง

ง ค ุ้ม
กอ
เหมือนใบมะขาม ดอกเล็กสีเหลืองเปนชอ ผลเปนฝกแบนสีเขียวเหมือนใบมีด
ปงตอ แกนสีแดงออกสมเขม นิยาเรียกวา ฝางเสน ใหสีแดง สรรพคุณ บำรุง
โลหิต แกรอนในกระหายน้ำ แกทองรวง แกธาตุพิการ แกโลหิตออกทางทวาร
หนัก แกกำเดา แกเสมหะ
ฝางเสน ดูที่ ฝาง
ฝายหีบ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมชนาดกลาง ลำตนมีสีเขียวใบใหญแยกออกเปน
แฉก ๔-๕ แฉก ปลายใบแหลมริมของใบเรียบ ดอกเปนดอกเดี่ยวสี่ เหลืองนวล
ผลมีใยสีขาว และเม็ดดำเล็กแข็งอยูภายใน สรรพคุณ ใชเปนยาขับระดูขาว
ขับประจำเดือน แกไข และ กระทุงพิษ เปนตน เรียกวา ฝาย ฝายขาว ฝายไทย
ก็มี

236
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ฝน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ใบเปนใบเดี่ยว ดอกเปนดอกเดี่ยวใหญ กลีบ


บาง สีขาว แดง ชมพู มวง ออกที่ปลายตน ผลออนมีสีเขียว เมื่อแกกรีดใหยาง
ออกมาทิ้งไวใหแหง สรรพคุณ เปลือกตน รสฝาดขมเมา แกลงแดง คุมธาตุ
แก ท อ งร ว ง แก ป วดเมื่ อ ย ฝ น สุ ก (ยางจากลู ก ) รสเมาเบื่ อ แก บิ ด เรื้ อ รั ง
แกลงแดง แกปวด ทาหัวริดสีดวง ทำใหนอนหลับ เปนยาเสพติด ขี้ยาฝน รสเมา
เบื่อ แกบิดปวดเบง ลงแดง แกไอ ทำใหนอนหลับ เปนตน
ฝนตน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดยอม ใบทรงกลมเปนแฉกลึก ขอบจัก
คลายใบมะละกอแตเล็กกวา ดอกสีแดงเปนชอ ออกที่ปลายกิ่ง ผลกลมมีพู ๓ พู
สรรพคุณ แกลมและโลหิต แกปวดเสนเอ็น แกทองรวง แกบิดปวดเบง ลงแดง


แกอาเจียน แกปวดเมื่อยตามรางกาย เปนตน
ไ ท
ฝุนจีน
้าน
แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนออกไซดของสังกะสี มีลักษณะเปนผงละเอียด

พ ื้น
สีขาว สรรพคุณ เปนยาเย็น ชวยดูดพิษ ฝ หนอง ใชทาแกคัน แกโรคผิวหนัง

ตางๆ
แล
ยา คลายหญาคา แตใบยาวกวามาก คม
แฝกหอม
ไท
น นกระจุก กลิ่นหอม สรรพคุณ ทำดวงจิตให
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมจำพวกหญ

ย ผ
์แาวเรอ แกปวดทอง จุกเสียด แนนอืด แกไขเพื่อลม
สีเขียว เสนกลางใบเปนสีขาว รากเป

พ ท แคมหอม หญาแฝกหอม ก็เรียก


ชุมชื่น ขับลมในลำไส ทำให ห
า รแ
ขับปสสาวะ แฝก แกงหอม

า ่ไดมาจากเมืองตะนาวศรี ดูเพิ่มเติมที่ แฝกหอม
แฝกหอมตะนาว

หมายถึง แฝกหอมที
ิูมปัญ
ง ภ
ครอ พ
ง ค ม
้ ุ
พญามือเหล็ก
ก อ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถายืนตนขนาดกลาง ใบเดี่ยวรูปไขปลายแหลม
ขอบและผิวเรียบมัน คลายใบแสลงใจ แตใบเรียวและบางกวาใบแสลงใจ มีเสน
ใบหลักสามเสน ดอกชอ ผลกลมขนาดผลสม เมล็ดคลายเมล็ดแสลงใจ เปลือก
ตนสีเขียวหมน สรรพคุณ กัดเสมหะในลำคอ ตัดไขจับ ดับพิษไข แกกระษัย
เลือด แกไขจับสั่น เปนตน
พญารากขาว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมพุมขนาดยอม ใบรูปไข ปลายแหลม เนื้อใบบาง
ดอกโตสีมวง เมล็ดสีดำ รากสีขาวคลายทาสีฉาบไว สรรพคุณ บำรุงธาตุ เจริญ
อาหาร แกออนเพลีย ชูกำลังสำหรับคนฟนไข
พรมมิ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนเตี้ย แตกกิ่งกาน ตามโคนตน กิ่งที่
แตกออกจะทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ใบออกตรงกันขาม ดอกออกเปนกระจุก
ผลออกเปนฝก สรรพคุณ ขับเสมหะ ดับพิษ เปนตน
237
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

พรรถัน ดูที่ กำมะถัน


พริก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชขนาดเล็ก ลำตนทอดเลื้อยไปตามพื้นดินที่ชุมชื้น
หรือมีน้ำขัง ชูปลายยอดขึ้นเหนือน้ำ รากยึดดินและอาจแตกออกตามขอที่ติด
ดิน ลำตนเกลี้ยง อวบน้ำ ใบเปนใบเดี่ยว ไมมีกายใบ ดอกเปนดอกเดี่ยว สีมวง
ออน สรรพคุณ รสเย็นหวาน ดับพิษไขหัว แกรอนในกระหายน้ำ แกไข บำรุง
ประสาท บำรุงหัวใจ ขับเสมหะ แกหืด เปนตน
พริกไทย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อย มีรากเกาะออกตามขอ สูงประมาณ ๕ ม.
ขอพองมีตนตัวผูและตัวเมีย ใบเหมือนใบพลู แตเล็กเรียวกวาเล็กนอย ดอกชอ
สี ข าว ออกตามข อ ผลกลมเล็ ก เขี ย วเป น ช อ ยาว ผลแก สี แ ดง สรรพคุ ณ

ท ย
รสเผ็ ด ร อ น แก ล มอั ม พฤกษ แก ล มลั่ น ในท อ ง บำรุ ง ธาตุ แก ท อ งอื ด เฟ อ

แกเสมหะเฟอง แกมุตกิด
บ ้าน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากผลสุกเมล็ดพริกไทยทีื้น่แก ผลสุกนี้เมื่อเก็บแลวจะ
พริกลอน

เอามาใสรวมกันในกระสอบ แชน้ำไว อาจใชไลมะทุบเบาๆ หรือกลับไปกลับมา
ย แนและหลุดออกหมด แลวจึงเอาไป
แรงๆ บอยๆ จนเปลือกนอกที่มีสีแสดแดงล
น ไท่งมีผิวเรียบ สีขาว กลิ่นหอมนอยกวา


์ ผ
พริกไทยดำ สรรพคุณ รสเผ็ดทรอยน ใชเปนยาขับลม ขับเหงื่อ แกทองอืด ทองเฟอ
ตากแดดใหแหง จะได “พริกลอน” ซึ

เปนยาบำรุงธาตุ ชวยใหรเแจริพญอาหาร ใชเปนสวนผสมสำคัญในยาอายุวัฒนะ


า กา
ัิปญมีหญนามแหลมสั้นๆที่โคนใบ ๑ คู ดอกออกเปนชอหลวมๆ แยกเพศ
พริกหอม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม ไมผลัดใบ สูง ๓-๕ เมตร ใบเปนใบประกอบ

สีเหลืภอูมง ผลจะมีสีแดง เมื่อแกจัดจะแตกออกเอง ภายในมีเมล็ดสีดำ เรียก


แบบขนนก

ค องกหอม” สรรพคุณขับลมในลำไส ขับปสสาวะ


ร“พริ
ง ม
้ ุ
ค พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมลมลุก ลำตนเปนขอ มีสีแดง ใบเดี่ยวออกตรงขาม
พันงูแดง
ก อ กันเปนคู ดอกออกเปนชอตั้งตรง สรรพคุณ ขับปสสาวะ แกขัดเบา ขับโลหิต
ระดู เจริญไฟธาตุ แกพิษฝ แกไขตรีโทษ แกไอ แกเมาเบื่อ แกบิด เปนตนเรียก
วา หญาพันงูแดง หญาควยงู ก็มี
พรรณผักกาด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากเมล็ดที่แกจัดของผลผักกาด เปนพืชขนาดเล็ก
ลำตนมีขน ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับกัน มีกานใบ ขอบใบหยักเวาลึกแบบขนนก
ดอกออกเปนชอตรง ดอกยอยสีเหลือง ผลเปนฝกรูปทรงกระบอก มีขนและมี
เสนนูนๆ ๓ เสน ปลายเปนจะงอยแบนๆยาวมาก อาจยาวเทาความยาวของฝก
หรื อ ยาวกว า เล็ ก น อ ย เมื่ อ แก จั ด ฝ ก จะแตกออก ภายในมี เ มล็ ด ๑-๒ เมล็ ด
สรรพคุณ รสเผ็ดรอน ขับเสมหะและโลหิต แกจุกเสียด แกลม เปนยาระบาย
อยางออนๆ

238
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

พิกุล พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบดกเปนรูปมนรี


ปลายแหลม ดอกเล็ก สีขาวออกเหลือง มีกลิ่นหอมมาก ผลสุกสีแสด สรรพคุณ
แกลม บำรุงหัวใจ เปนตน
พิมเสน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนเกล็ดเล็กๆ ที่มีสีขาวขุน หรือสีแดงเรื่อๆ มีกลิ่นหอม
เย็น ฉุน สรรพคุณ เปนยาขับเหงื่อ ขับเสมหะ กระตุนการหายใจ กระตุนสมอง
บำรุงหัวใจ ใชเปนยาระงับความกระวนกระวาย ทำใหงวงซึม ถาใชเกินขนาด
อาจทำใหคลื่นไสอาเจียน ความจำสับสน อีกชนิดหนึ่ง เปนพิมเสนที่เกิดตาม
ธรรมชาติ ในปลองไมไผ เวลาตัดไผ จะไดยินเสียงเหมือนมีเมล็ดทรายอยูภายใน
ผาออกมาจะพบพิมเสนเปนเกล็ดสีขาวขุนหรือออกเหลืองแดง มีกลิ่นหอมเย็น


ฉุนอมเปรี้ยวนิดหนอย สรรพคุณ รสหวานเย็นหอม แกลมกองละเอียด แกโรค
หอบไอ แกไข แกริดสีดวงแหง แกโรคตา
น ไ ท
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดยอม ใบเดี่ยบวรู้าปหอก ปลายแหลม ดอก
พิลังกาสา
ะ พ ื้นางกิ่ง ผลกลมโตกวาเมล็ดพริก

ไทย สุกสีดำเปนพวง สรรพคุณ แกไข ทยอแงเสีย และธาตุพิการ เปนตน
เล็กๆสีขาวแกมชมพู เปนชอออกตามยอดและข

นไท ก สูง ๑-๓ ฟุต จำพวกเดียวกับโกฐจุฬา


พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชตผนขนาดเล็
พิษนาศน
ย ์แ ก ใบแฉกลึกหลายแฉก รากกลมโต สรรพคุณ
พท อ ตามกลามเนื้อ แกคางทูม เปนตน
ลัมพา ลำตนเปนขอๆ กลมเล็

ขับพิษภายใน แกฟรกบวมตามข

า ก
พุงดอ

พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถายืนตนทรงพุมขนาดยอม มีหนามแหลมยาวคม
รอบขิปอัญหนามมีพิษมาก ใบเดี่ยว รูปไขปลายแหลม ดอกชอ ขนาดเล็ก สีเขียว
อภอูมน ออกเป น กระจุ ก ตามง า มใบ ผลกลมสี เขี ย ว ขนาดเท า ปลายนิ้ ว ก อ ย
ร องสรรพคุณ ดับพิษทั้งปวง แกพิษฝตานซาง กระทุงพิษไข แกรอนใน เปนตน
ุ้มค
ง ค บางที่เรียก หนามพุงดอ หนามรอบขอ หมีเหม็น หนามรอบตัว หนามเหม็น
กอ ภาษาถิ่นพายัพเรียก ปดเตาะ
พุด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมเตี้ย แตกกิ่งกานสาขามาก ใบเดี่ยวรูปหอก
เสนใบยอยเกือบขนาน ผิวและขอบเรียบ สีเขียว ดอกเล็กๆดอกตูม เหมือน
ปลายพูกัน พุดสวน พุดจีบ ก็เรียก
พุทรา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ตามกิ่งกานมีหนามแหลมคมโคง
ใบกลมปลายแหลมเล็ก ดอกเล็กๆดก ออกเปนชอตามงามใบ ผลกลมหรือรูปไข
สรรพคุณ แกบวม แกพยาธิ แกฝ แกลงทอง แกตกเลือด
พุมเรียง พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด ไดแก พุมเรียงบาน เปนไมพุมขนาดยอม ใบประกอบ
ใบยอยรูปหอกเรียวยาวสีเขียวเขม ดอกชอเล็กสีแดง ผลรูปหัวใจ มีรองตรงกลาง
แบงเปนสองพู เมื่อสุกสีดำ สีเหมือนลูกหวา และพุมเรียงปา ตนและใบเล็กกวา

239
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

พุมเรียงบาน ดอกชอ สีเหลือง ผลกลมเทาลูกมะแวง เมื่อสุกสีดำดาน เรียกวา


ชำมะเลียง มะเตา พูเวียง ก็มี
เพกา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนผลัดใบ เปลือกเรียบสีเทา มีรอยแผลเปน
จากการหลุดรวงของใบ ใบประกอบมีใบยอย ๒-๓ คู รูปไขออกกลมปลายแหลม
โต ขอบและผิวเรียบ ดอกชอ กานชอตั้งสูง ออกที่ปลาย ผลเปนฝกแบนกวาง
ราว ๒ นิ้ ว ยาวราว ๑๐-๑๘ นิ้ ว เมล็ ด รู ป ไตแบน มี ป ก สี ข าวบางๆเหมื อ น
สรรพคุณ สมานแผล ดับพิษกาฬ แกรอนใน แกทองรวง ทำใหน้ำเหลืองปกติ
เปนตน มะลิดไม มะลิ้นไม ลิ้นฟา เบโก ก็เรียก
เพชรสังฆาต พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อย เถารูปสี่เหลี่ยมเปนปลองๆ ตรงขอเล็ก

ท ย
รัดตัวลง มีมือยึดงอกออกจากขอ ใบเดี่ยวกลมหนาเล็กผิวเรียบ ดอกกลมเล็กสี

้าน
แดงเขียวเปนชอเล็ก ออกตามขอ สรรพคุณ แกโรคริดสีดวงทวาร สันชะฆาต

ขันขอ สามรอยตอ ก็เรียก
ะ พ ื้น
สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง กระดูกแพะ สรรพคุณ ลแกเสนแตก แกเบาขัด ใชเปนตัว
แพะ

ดูดซับสารพิษในยา แกทองเสีย ฟอกสี, ทน้ำยนมแพะ รสหวานฝาดเย็น แกโลหิต
น ไ
แกหืดไอ แกทองเดิน
์ยแผ
พ ท
โพออม ดูที่ โคกกระออม

พืชสมุนไพรชนิดหนึก่งารเปนไมลมลุก มีเหงาอยูใตดิน เนื้อในสีเหลือง ใบเดี่ยว
ไพล
ญ า ป ใบหอก ขอบใบเรียบ แผนใบบาง เรียบ สีเขียว ดอกออก
ัญ บสีมวง ซอนกันหนาแนน ดอกสีนวล ผลเปนผลแหง รูปทรง
รูปขอบขนานแกมรู
เปนชอ มีิปใบประดั
ูม
กลมงภสรรพคุณ เปนยาขับลม ขับประจำเดือนสตรี แกบิด สมานลำไส
ค รอ
ง ค ม
้ ุ
ก อ ฟ
ฟกขาว พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม เ ลื้ อ ย มี ล ำเถาเป น สี่ เ หลี่ ย ม ตามข อ เถามี มื อ
จับเกาะ ใบออกเปนใบเดี่ยวเรียงกันตามขอตน ดอกใหญสีขาวอมเหลือง ผลลูก
กลมสีเขียว แกจัด สีเหลืองและแดงเขม สรรพคุณ แกรอนใน ดับพิษไข บางที่
เรียกวา ผักเขา ฟกเขา ขี้กาเครือ
ฟกทอง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อย เถามีขนสาก ๆ ใบออกตามขอเถา มีมือ
เกาะ ใบใหญสีเขียว ดอกสีเหลืองผลแปนเปนพูเหลือง สรรพคุณ แกพยาธิ บำรุง
ธาตุ เปนตน หมักอึ น้ำเตา ฟกเขียว มะฟกแกว มะน้ำแกว หมักคี้สา เหลือง
เคสา ก็เรียก

240
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ไฟเดือนหา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมทรงพุมขนาดกลาง ทุกสวนมีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว


รูปไข ปลายแหลม โคนมน ขอบจักฟนเลื่อย ดอกตัวผูออกตามงามใบ ขนาด
เล็กๆเปนชอรูปเสน ดอกเพศเมีย เปนดอกเดี่ยว ออกที่ปลายกิ่ง ผลกลม แกจัด
จะแตกออก สรรพคุณ เปนยาขับโลหิต


ไ ท ย

พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนยางไมประเภทชันน้ำมับน ้ายางไมที่เปนชันน้ำมันนั้น
มดยอบ
ะ พ ื้น หรือเมื่อโดนกรีดให
แลสีขาวอมเหลือง และจะเปลี่ยนเปน
ไหลออกมาจากเปลือกไมที่แตกออกเองตามธรรมชาติ
เปลือกแยกออก เมื่อไหลออกมาใหมๆยจะมี
สีเหลืองอมน้ำตาล และสีจะเขมนขึไ้ท
น้ ำ ตาลอมแดง สรรพคุ ณยรสเบื ผ นเรื่อยๆ โดยจะเก็บเมื่อยางเปลี่ยนเปนสี
์แ ่อเมา ใชเปนยาขับเสมหะ ยา ขับปสสาวะ
พ ทเจ็บคอ แกปากเปอย แกเหงือกบวม

าร่ง เปนไมลงหัวขนาดเล็ก ลำตนสูง ๑๐-๓๐ ซม. เนื้อออนฉ่ำ
ขับเหงื่อ ขับลม ใชอมแก
พืชสมุนไพรชนิากดหนึ
ญใบเหมือนใบผักกาด แตหนาอวบน้ำ สีเขียวเขมลายแดงอมดำ ขอบ
มหากาฬ


ิป ดอกเล็กเปนชอสีเหลือง กานตั้งสูงเหนือตน สรรพคุณ ดับพิษฝ แกหัว
น้ำ ผิวมันใส
จักูมโตๆ
อง ภ
ค ร ลำมะลอก แกอักเสบ แกปวดแสบปวดรอน
มหาสดำ
ง ค ุ้ม พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม ยื น ต น คล า ยต น มะพร า ว เปลื อ กต น แข็ ง แกร ง
กอ เนื้อเปนเสี้ยนยาวๆแข็ง เจริญชา ขึ้นตามปาดงดิบเขา ที่มีความอุดมสมบูรณสูง
สรรพคุณ แกกาฬ แกพิษในกระดูก แกไขพิษ ไขกาฬ
มหาหิงคุ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดเล็ก ลำตนเล็กเรียว ใบไมดก ดอกชอ
คลายดอกผักชี สีเหลืองออน ยางจากราก เรียกวา มหาหิงคุ สีเหลืองออก
น้ ำ ตาลกลิ่ น ฉุ น สรรพคุ ณ ยางจากราก รสเฝ อ นร อ นเหม็ น ขั บ ลมในลำไส
แกทองขึ้น อืดเฟอ แนนจุกเสียด แกปวดทอง บำรุงธาตุ ขับเสมหะ ขับผายลม
แกโรคเสนประสาท ชวยยอยอาหาร เปนตน
มะกรูด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนตนไมขนาดเล็กถึงขนาดกลาง กิ่งกานมีหนามโตแหลม
ยาว ใบหนาแข็งมีตอมน้ำมันหอม ขอบขางเวาแหลมลึก ดูเหมือนมีสองใบตอกัน
ดอกเล็กสีขาว ผลกลมมีจุก เปลือกฉ่ำน้ำมีตอมมันมาก สรรพคุณ แกลมจุกเสียด
ขับผายลม ขับระดู เปนตน เรียกวา สมมั่วผี สมกรูด ก็มี
241
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

มะกล่ำเครือ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาขนาดเล็ก เถากลมเล็กเรียว ใบประกอบขนนก


เหมือนใบมะขาม ดอกเล็กสีขาวเปนชอเล็ก ฝกแบนยาวโคงเล็กนอย เทาฝกถั่ว
เขียว แกจะแตกออกเห็นเมล็ดกลมรีเล็กนอย สีแดงสด ที่ขั้วเปนสีดำ ผิวมันเงา
เมล็ดมีพิษมาก เรียกวา มะกล่ำตาหนู ก่ำตาไก ก่ำเครือ มะแคก เกมกรอม
ไมไฟ ก็มี
มะกอก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ลำตนกลมตั้งตรง ใบประกอบรูป
หอกปลายแหลม ดอกชอสีขาว ผลกลมรูปไขเมื่อแกสุกสีเหลืองอมเขียว เปลือก
นิ่มเนื้อเปยก เมล็ดกลมโตแข็ง
มะกอกเลือด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน ใบออกเปนใบรวม ดอกออกเปนชอ สีขาว
แกมเหลือง ผลรูปไข สรรพคุณ แกไอ ขับเสมหะ เปนตน บางที่เรียกวา มะกอ
ไ ท ย
อกเกลื้อน มะเกิ้ม โมกเลื่อม มะเลื่อน เปนตน
บ ้าน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบเดี่ยื้นวทรงกลมปลาย และโคน
มะกา
ละ พนชอ ออกตามงามใบ ผลกลม
แหลม สีเขียว ใบแหงสีดำมัน ดอกเล็กๆสีเหลืองเป
ย แและโลหิต ถายพิษตานซาง ถาย
เล็กเทาเมล็ดพริกไทย สรรพคุณ ถายเสมหะ
น ไท
พิษไข เปนตน
์ยแผ
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพไมทตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบเปนรูปไข ปลาย
มะเกลือ
า ร แ ดอกออก เปนชอตามงามใบ ผลกลม เกลี้ยง
มีฐานรองดอก ๔ าใบติ ก ดอยูที่ขั้วแข็งๆ ดิบสดมีสีเขียวอมเหลือง สุกสีเหลืองอมดำ
สอบแคบเขาหากัน โคนใบกลม

แห ง สี ด ำิปัญ



เมล็ ด มี เ นื้ อ ฉ่ ำ น้ ำ หุ ม สรรพคุ ณ ขั บ พยาธิ ล ำไส ถ า ยตานซาง
ง ภ
ครพือชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน ใบเปนใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว
ถายกระษั ย เปนตน มะเกือ มักเกลือ มะเกีย ก็เรียก
มะขาม
ง ค ุ้ม
กอ
ใบย อ ยรู ป ขอบขนาน ดอกออกเป น ช อ กระจะที่ ป ลายกิ่ ง และซอกใบ ดอก
สีเหลือง ผลเปนฝกโคง เปลือกแข็งเปราะ สีเทาอมน้ำตาล เนื้อนิ่ม สีน้ำตาล
เมล็ดคอนขางกลม แบนสำดำหรือสีน้ำตาลเขม สรรพคุณ แกทองรวงคุมธาตุ
แกอาเจียน สมานแผล
มะขามขบ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปลือกลูกมะขามขบเปนเปลือกของเมล็ดมะขาม ไดจาก
การเอาเมล็ดมะขามแชน้ำทิ้งไวจนเปลือกลอกออกมา สรรพคุณ รสฝาด กินแก
ทองรวง เปนยาคุมธาตุ แกอาเจียน เปนยาสมานแผล
มะขามปอม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน กิ่งกานแข็งเหนียว ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน
แผนใบบาง เรียบ สีเขียว ดอกออกเปนชอกระจุก ดอกสีเหลืองออกเขียว ผลรูป
ทรงกลม แบงเปนพูตื้นๆ ผลแกสีเหลืองออกน้ำตาล สรรพคุณ แกไอ แกเสมหะ
ทำใหชุมคอ

242
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

มะเขือขื่น พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกขนาดยอม จำพวกมะเขือ ใบและลำตนมีขน


ออนปกคลุม มักจะมีหนามแหลมคมยาว ตั้งฉากตามใบเสนกลางใบ ใบสีเขียว
ดอกชอเหมือนมะเขือทั่วไป ผลกลมผิวเรียบมัน สีเขียวเขม มีลายสีขาวแทรก
เหมือนคางกบ เมื่อสุกสีเหลือง ผิวเหนียวมาก เนื้อในสีเขียวอมเหลืองใส เมล็ด
กลมแบนเล็กๆ สรรพคุณ แกเสมหะ แกน้ำลายเหนียว แกไขสันนิบาต
มะเขือหนาม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกจำพวกมะเขือ ลำตนและกานใบสีแดงอมมวง
มีขนนอย ใบโตขอบแฉกเวาโต มีหนามสีมวงแดงเรียวยาวแหลมคม ตามเสน
กลางใบและเสนใบยอย ดอกเหมือนมะเขือขื่น ผาดูผิวไมเหนียว และมีสีเหลือง
อมเขียวเหมือนมะเขือขื่น เนื้อในขาวใส สรรพคุณ แกโรคสันนิบาต แกน้ำลาย


เหนียว ขับเสมหะ ทำใหน้ำลายนอย
ไ ท
มะดูก
้าน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน ใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปขอบขนานหรือรูปขอบ

พ ื้น
ขนาน ขอบใบจักเปนซี่ฟนตื้นๆ แผนใบหนาเรียบ สีเขียวเปนมัน ดอกออกเปน

แล
ชอกระจุก ๒-๓ ดอก ที่ซอกใบ ดอกสีเหลือง ผลรูปไข ผลสุกสีเหลืองออกสม

ไท
สรรพคุณ แกน้ำเหลืองเสีย แกพิษฝภายใน เปนตน เรียกวา ยายปลวก ก็มี
ผ น
มะเดื่อ
ย ์แ
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดใหญ มีน้ำยางขาวกิ่งออนและผลมีขน

พท
ละเอียดสีขาว ใบเดี่ยวเรียงสลับ ดอกชอเกิดภายในฐานรองดอก ที่มีรูปราง
า รแ
คลายผลออกที่ลำตนและกิ่งผลสดรูปไขแกมสามเหลี่ยม เมื่อสุกสีแดงแกมชมพู
าก
ัิปญญ
สรรพคุณ แกไขพิษ ไขกาฬ เปนตน บางทีเรียกวา มะเดื่ออุทุมพร มะเดื่อชุมพร
เดื่อเกลี้ยง เดื่อน้ำ
ภ ม

อง
มะตูม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน มีหนามแหลมยาว ใบเปนใบประกอบแบบ
ค ร
มุ้
นิ้วมือ ใบยอยมี ๓ ใบ รูปไข แผนใบบาง สีเขียว ดอกออกเปนชอที่ซอกใบและ

อง ค ปลายกิ่ง ดอกสีขาวนวล ผลรูปรีกลมหรือรียาว เปลือกแข็ง ผลสุกสีเขียวอม


ก เหลือง เนื้อผลสีสมปนเหลืองนิ่ม เมล็ดมีจำนวนมากอยูในเนื้อ สรรพคุณ แกธาตุ
พิการ เจริญอาหาร บำรุงกำลัง แกทองเสีย
มะซาง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงใหญ ใบเดี่ยวโต รูปหอกปลาย
แหลม ผลกลมผิวเปนปุมๆเหมือนลูกยอ เมื่อสุกสีสม สรรพคุณ แกคุดทะราด
แกเสมหะ แกโลหิต แกกำเดา แกไขสำประชวร
มะนาว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดยอม กิ่งออนมีหนาม ใบเดี่ยวรูปไขปลาย
โคงแหลมเล็กนอย โคนมน ขอบจักโคงเล็กๆ มีตอมน้ำมันเล็กๆทั่วไป กานใบมี
ครีบเล็กๆ ดอกเล็กสีขาว เกสรเหลือง เปนชอ ผลกลมผิวสีเขียวมัน มีตอมน้ำมัน
สรรพคุณ ใชเปนยาแกไอ ละลายเสมหะ บำรุงธาตุ เปนตน
มะผูมะเมีย ดูที่ หมากผู

243
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

มะฝอ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนผลัดใบขนาดใหญ โคนตนแผเปนพูพอนตน


ตัวผูสูงชะลู ด ต น ตั ว เมี ย เตี้ ย กว า เป น ทรงพุ ม ใบเดี่ ย วรู ป หั ว ใจ คล า ยใบโพธิ์
มีหางยาวราว ๑ ซม. กานใบยาว ผลกลมเปลือกแข็ง เนื้อหวาน เมล็ดเดียวรูปไข
เกิดตามปาดงดิบ ปาโปรงทั่วไป สรรพคุณ บำรุงรางกาย แกพิษ คันตามผิวหนัง
เปนตน
มะพราว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน ลำตนกลมยาวมักจะตั้งตรง มีรอยเปนปลอง
ถี่ๆตลอดตน ใบประกอบ ใบยอยเรียวยาว ดอกเล็กๆสีขาวนวล ออกเปนชอ
เรียกวา จั่นมะพราว ผลกลมโตมีเปลือกเปนเสนใยหนา เมล็ดกลมมีเปลือกแข็ง
เรียกวา กะลา เนื้อในขาวเปนมัน ผลออกเปนพวง เรียกวา ทะลาย มีหลายพันธุ


เชน มะพราวน้ำหอม มะพราวไฟ มะพราวนาฬเก เปนตน สรรพคุณ แกทองผูก
ไ ท
้านสรรพคุณ ใชเนื้อคั้น
ขับปสสาวะ และบำรุงกำลัง เปนตน

ื้นำมัน

มะพราวไฟ ชื่อมะพราวชนิดหนึ่ง ผลออนมีสีเหลืองอมแสดหรือแดง
เอาแตหัวกะทิ ผสมกับน้ำคั้นสมุนไพรอื่นเคี่ยวเปนะยาน้
แ ล
ย ใบรูปหอกโตปลายทู หรือไข
ไ ท
ยาวปลายสอบหนา เรียบ ผิวมัน สีเผขียนวเขม ดอกเล็กเปนชอ ผลกลมเรียบผิวมัน
มะพูด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนพุมขนาดกลาง

ย ์แเขียว สุกสีเหลือง เนื้อสีเหลือง สรรพคุณ แกไอ


ปลายลูกมีฐานดอกเล็กๆติดอยู
พ ท สี
ขับเสมหะ แกเจ็บคอ แก
า รแเ ลื อ ดออกตามไรฟ น
า ก่ง เปนไมยืนตนขนาดเล็ก จนถึงขนาดกลาง อยูในวงศเดียว
มะเฟอง
ญ อกของลำตนคอนขางขรุขระมีตุมเล็ก ๆ สีน้ำตาลออนใบเปน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ
ัิปญง เปลื


กับตะลิงปลิ
ง ภ
คร๕อกลีบ สรรพคุณ แกไข แกลงทอง แกอาเจียน เปนตน
ใบรวมออกเรี ยงกับเปนคู ๆ ใบเปนแผง ดอกออกเปนชอสั้น ๆ ผลเปนรูปเฟองมี

ง ค ุ้ม
กอ
มะไฟ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง เปลือกเรียบ สีนวล ใบเดี่ยวรูป
หอก คลายใบกระดังงา ผลสีเหลือง เปลือกหนาฉ่ำ เมล็ดมีเนื้อหุมแบงเปนเม็ดๆ
สรรพคุณ ราก รสจืด ยาดับพิษรอน แกพิษตานซาง เปนตน เรียกวา สมไฟ
ไฟ ก็มี
มะมวง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนยืนตนขนาดใหญ เปลือกของลำตนสีน้ำตาลอมดำ
ผิวเปลือกขรุขระ ใบเปนรูปหอก สี เขียวเขม ดอกเปนชอ สีเหลืองออนหรือสี
นวล ผลเปนรูปกลมมนหรือยาวรี ผลออนสีเขียว เมื่อแกจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง
สด สรรพคุณ แกไข ขับปสสาวะ เปนตน
มะมวงกะลอน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลางถึงใหญ ลำตนตั้งตรงกลม ใบรูปหอก
ปลายแหลมปอม และเล็กกวาใบมะมวงบานเล็กนอย ดอกเล็กๆเปนชอชู ผลรูป
และขนาดเหมือนไขไก เปลือกหนาเปนหนัง สีเขียวเขม สุกสีเขียวออนอมเหลือง

244
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

เนื้อนอยสีเหลือง หอมหวาน สรรพคุณ แกโรคเบาหวาน แกปวดศีรษะ ลดความ


ดันเลือด เปนตน มะมวงขี้ไต มะมวงปา สมมวงคัน ก็เรียก
มะยม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดยอม เปลือกไมแข็ง เปนปุมปม ใบเดี่ยวรูป
ไข ดอกเล็กๆสีชมพู ผลกลมแปนเปนพูรอบ ออกเปนพวง เมล็ดเดี่ยวกลมแข็ง
ตนตัวผูไมติดผล หมอยานิยมใชมะยมตัวผูทำยา
มะยมตัวผู ดูที่ มะยม
มะระ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถา ลำเถาเล็ก ใบออกตามขอ เถามีมือเกาะ ดอก
สีเหลือง ออกตามขอใบ ผลสีเขียว สรรพคุณ แกจุกเสียด ขับลม และบำรุงธาตุ
เปนตน
ไ ท ย
้าน ใบยอยรูปไขขนาดเล็ก
มะระขี้นก ดูที่ ผักไห

ื้นวเปนพูตามยาว สรรพคุณ ขับ

มะรุม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง ใบประกอบ
ล ะ
ลมในลำไส ทำใหผายเรอ แกลมขึ้นเบื้อยงสูแง คุมธาตุออนๆ แกฝ แกพยาธิ เปนยา
ดอกเล็กสีขาว เปนชอโต ฝกกลมยาวปลายเรี ย ว ผิ

ไทอม หรือ รุม ก็เรียก


อายุวัฒนะ เปนตน ผักอีฮุม มะคอนนก

์ ผ
ยพุมขนาดยอม แตกกิ่งกานสาขามาก ใบเดี่ยว รูปไข
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปทนไม
ยพ
มะลิ
า รแ
ก อสองชั้น กลิ่นหอมเย็น สรรพคุณ บำรุงหัวใจ ดับพิษรอน
ปอม ผิวและขอบเรี บ ดอกเล็กเหมือนพูกันจีน มีโคนเปนหลอด สีขาว กลีบ
ดอกมีชั้นเดียาวหรื
ทำใหจัญ ญมชื่น บำรุงครรภ แกไข เปนตน

ู ิป ิตใจชุ

งพืภชสมุนไพรมี ๒ ชนิด คือมะแวงตน เปนไมพุมเตี้ย ลำตนมีหนามทั่วไป ใบเดี่ยว


ครอ ขอบเวา ดอกเล็กสีมวงเปนชอ ผลกลมสีเขียวออน เปนพวง แกสีเหลืองสม และ
มะแวง

ง ค ุ้ม
กอ
มะแวงเครือ เปนไมเถาเลื้อย พาดพันตนไมอื่น ลำตนมีหนามแหลมเล็กงุม ใบ
เดี่ยว ขอบเวาโคงลึก มีหนามตามเสนใบ ดอกเล็กเปนชอสีมวง ผลกลมสีขาว
ลายสีเขียว สุกสีเหลือง สม กานยาว สรรพคุณ แกไอ แกเจ็บคอ ขับเสมหะ
เปนตน
มะแวงเครือ ดูที่ มะแวง
มะหาด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดใหญ ลำตนตั้งตรง ใบเดี่ยวรูปไขหรือ
หอกปลายและโคนแหลม ดอกเล็กๆกลมเปนชอออกที่งามใบ ผลรวมกลมเล็ก สี
เหลือง ผิวมีหนามเล็กๆถี่รอบ เนื้อไม นำมาเคี่ยวตมเอากากออก เอาผากรอง
เอาน้ำออกทำใหน้ำแหง จะไดผงสีนวลๆ จับกันเปนกอน ยางไฟใหเหลือง เรียก
วา บวกหาด หาด หาดหนุน กาแยตาแป ตาแปง หาดใบใหญ ก็เรียก

245
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

มะอึก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนและกิ่งกานมีหนามแหลมคมเล็กๆ


ใบรูปไข ผิวมีขนนุมปกคลุม ดอกเล็กสีขาวกานสั้น ออกตามงามใบ ผลกลมมีขน
นุ ม สี ข าวปกคลุ ม สุ ก สี เ หลื อ งส ม สรรพคุ ณ แก ป วด ลดไข แก ไข เ พื่ อ ดี
แกไขสันนิบาต เปนตน
มาศเหลือง ดูที่ กำมะถันเหลือง
มูกมัน ดูที่ โมกมัน
แมงลัก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกขนาดเล็ก ลำตนเปนสี่เหลี่ยม กิ่งกานสีเขียว
ออกขาว ใบเดี่ยวรูปไขปลายและโคนแหลม ขอบจัก ผิวมีขนเล็กนอย กลิ่นหอม
รอน ดอกเล็กสีขาวเปนชอชั้นตั้งตรง เมล็ดคลายเมล็ดงา สีดำ เมื่อแชน้ำจะพอง
ไ ท ย
ตัว สรรพคุณ แกโรคลำไสพิการ ขับลมในลำไส แกพิษตานซาง แกลมวิงเวียน
บำรุงหัวใจ เปนตน
บ ้าน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ผิะวเปลืพ ื้นอกลำตนสีน้ำตาล เปลือก
มียางสีขาว ใบเดี่ยวออกตรงขามกัน ดอกมี แ๕ลกลีบ สีขาวคอย ๆ เปลี่ยนเปน
โมกมัน

ไน ทย เมล็ดมีขนพูสีขาวปลิวไปตามลม
์ยแผญ รูปดธาตุ แกบิดมูกเลือด แกคุดทะราด
สีมวง โคนกลีบรูปทอเล็กๆ ยาว ฝกกลมโต

เปนตน เรียกวา แหนแก มูพกนทอย ก็มี


สรรพคุณ บำรุงธาตุทั้ง ๔ ใหเจริ

า รแ
า ก
ัิปญญ ย
ภ ม

พือชงสมุนไพรมี ๒ ชนิด ขาวเย็นเหนือ และขาวเย็นใต เปนไมเถาลงหัว เถา
ยาขาวเย็น

ค มีหนาม ใบโตเหมือนใบกลอย แตกตางกันที่ขาวเย็นเหนือหัวเนื้อสีน้ำตาลแดง
ง ค ุ้ม
กอ
เนื้อคอนขางแข็ง เกิดอยูตามปาเขา สวนขาวเย็นใต หัวจะเล็ก เนื้อแข็ง สีขาวอม
เหลือง เรียกวา ขาวเย็นโคก ทั้งขาวเย็นเหนือและขาวเย็นใต มีสรรพคุณเหมือน
กัน และนิยมใชคูกัน เรียกวา ขาวเย็นทั้งสอง สรรพคุณ แกประดง คุดทะราด
แกน้ำเหลืองเสีย แกเสนเอ็นพิการ แกกามโรค ออกดอก เขาขอ ฝแผลเนาเปอย
พุพอง เปนตน
ยาขาวเย็นทั้งสอง ดูที่ ยาขาวเย็น
ยาง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อยไปตามพื้นดิน ใบเหมือนใบกลอย หนาแข็ง
ตามเถามีหนามแหลมคมยาว ลงหัว เปลือกสีดำ คลายหัวขาวเย็น สรรพคุณ
ดั บ พิ ษ ในกระดู ก ดั บ พิ ษ ในเส น เอ็ น แก เ ส น เอ็ น พิ ก าร แก น้ ำ เหลื อ งเสี ย
แกกามโรคเขาขอ เถาวัลยยั้ง เครือเดา เดาหลวง ก็เรียก

246
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ยางงิ้ว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากยางของตนงิ้ว เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงใหญ


พลัดใบกอนออกดอก ลำตนมีหนามแหลมคม ใบประกอบรูปนิ้วมือ ดอกออก
เปนกระจุกตามปลายกิ่ง กลีบรองดอกแข็งเปนถวย กลีบดอกโตนิ่ม สีแดงสม
ผลกลมยาว เหมือนลูกนุน ภายในมีปุยนุนสีขาว สรรพคุณ กระตุนความตองการ
ทางเพศ หามเลือดภายใน สมานแผล ขับน้ำเหลือง บำรุงกำลัง แกทองรวง
แกบิด แกตกโลหิตระดูมากเกินไป เปนตน
ยานาง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อยพาดพันตนไมอื่น มีหัวใตดิน ใบเดี่ยว
รูปหอกกวางปลายแหลม สีเขียว ขอบเรียบ ดอกเล็กๆ สีขาวอมเขียวเปนชอ
ผลกลมรีเล็กนอย สีเขียว เปนพวง แกสีสม สรรพคุณ แกพิษเมาเบื่อ กระทุงพิษ


ไข แกไข แกเมาสุรา ถอนพิษผิดสำแดง เปนตน
ไ ท
บ ้าน

ะ พ ื้น
ย แล
รงทอง
น ไท
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง กิ่งออนเขียวกลมตรง ใบเดี่ยว

ย ์แ ผ
รูปหอกปาน ปลายแหลม ขอบและผิวเรียบมัน สีเขียวเขม ใบโตคลายใบมังคุด

แ พท
ใบออนออกทีละคู สีเหลืองทอง ลำตนมียางสีเหลือง สรรพคุณ ยาง รสเอียนเบื่อ

ากา
ถายลม ถายน้ำเหลือง ถายเสมหะและโลหิต ถายโรคทองมาน แกโลหิตคั่งใน


ั ญ
สมอง เปนตน


ู ิปนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดเล็ก มียางสีขาว ใบเดี่ยวรูปหอกใหญ

ระยอม พืชสมุ
อง
คร กลางหลอด สวนลางสีขาวแดง กานสีเขียว ผลกลมสีเขียว สุกสีดำ รากโตกวา
ปลายโตแหลม ดอกเล็กสีขาว โคนกลีบเปนหลอดสีขาว มีกระเปาะเล็กๆ ตรง

ง ค ุ้ม
กอ
ลำตน สรรพคุณ แกพิษกาฬ แกปางเพื่อดีและโลหิต ระงับประสาท แกจุกเสียด
บำรุงน้ำนม เปนตน เรียกวา ระยอมนอย กะยอม ยอมตีนหมา เข็มแดง ก็มี
รักขาว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดเล็ก กิ่งออนและยอดออน มีขนสีขาว
หนาแนน มียางสีขาวขน ใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปขอบขนาน แผนใบหนา สีเขียว
มีขนสีขาว ดอกออกเปนชอที่ซอกใบ ดอกสีขาว กลีบดอกมี ๕ กลีบ มีรยางค
รูปมงกุฎอยูกลางดอก ผลเปนฝกคู ฝกแกแตกได เมล็ดแบนสีน้ำตาล มีขนสีขาว
ติดที่ปลายเมล็ด ใชเปนเครื่องแทรกยาชนิดหนึ่ง ไดมาจากน้ำคั้น หรือตมเคี่ยว
จากใบดอกรักสีขาว
ราชดัด พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม พุ ม ขนาดกลาง ใบประกอบมี ใ บย อ ยแผ อ อก
ขอบใบหยั ก แบบซี่ ฟ น ดอกออกเป น ช อ เล็ ก ๆ สี แ ดง ผลเป น รู ป ไข สี เขี ย ว
แกสีดำ สรรพคุณ แกกระษัย บำรุงน้ำดี บำรุงน้ำเหลือง แกทองขึ้นอืดเฟอ

247
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

แกลมวิงเวียน เปนตน เรียกวา ดีคน บีคน มะดีควาย มะขี้เหา เทายายหมอม


นอย กาจับหลัก พญาดาบหัก สอยดาว กะดัด ฉะดัด มะลาคา ก็มี
ราชพฤกษ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง ใบประกอบมีใบยอยเปนคู ลักษณะ
เปนรูปไข ปลายแหลม ดอกออกเปนชอหอยสีเหลือง ผลเปนฝกรูปทรงกระบอก
ยาว ฝกออนสีเขียวเมื่อแกมีสีดำ สรรพคุณ แกทองผูก ขับพยาธิ แกไข เปนตน
เรียกวา คูน ลมแลง ลักเคย ลักเกลือ ก็มี


ละหุง
ไ ท ย
พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด ละหุงแดง และ ละหุงขาว เปนไมพุม ใบเดี่ยวทรงกลม

บ ้าน
รูปฝามือ ละหุงแดง ลำตนและกานสีแดง ละหุงขาว ลำตนและกิ่งกานสีเขียวมี

ะ พ ื้น
นวลขาว ใบเขียว ดอกเกสรตัวผูสีเหลือง กานเปนพู ออกเปนชอโตที่ปลายกิ่ง
แล
ผลกลมผิวมีหนามเล็กยาวนิ่มรอบตัว คลายลูกเรวใหญ เมล็ดรูปไขสีน้ำตาลดำ

น ไท
ลายขาว มี ๓ เมล็ด สรรพคุณ เปนยาระบาย สำหรับเด็กและคนสูงอายุ ถาบีบ

์แ ผ
โดยใชความรอน จะมีสารพิษ ricin ออกมาดวย มีพิษทำใหตายได

ละหุงแดง ดูที่ ละหุง
รแ พท
ลั่นทม
ากา
พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม ยื น ต น ทรงพุ ม กิ่ ง ก า นแผ อ อกตามแนวนอน

ัิปญญ
เนื้อออนเปราะ มียางสีขาว ใบเดี่ยวรูปใบพายยาวปลายแหลม เสนใบสีออน

ภ ม

ดอกกลีบหนาทรงกลม ๕ กลีบ เปนชอพุม กานชอยาว ลั่นทมแดง ดอกสีแดง

ค ร อง
มวง ลั่นทมขาว ดอกสีขาว ตรงกลางออกเหลือง ผลเปนฝกกลมรูปกระสวย

ง ค มุ้ เมื่อแกแตกออก สรรพคุณ เปนยาถายอยางแรง ตมดื่ม แกโรคหนองใน แกไข


ถายขับระดู เปนตน
ลำพัน ก พื ช สมุ น ไพรมี ๒ ชนิ ด คื อ ลำพั น แดง และลำพั น ขาว เป น ไม จ ำพวกเหง า
ลักษณะคลายตนวานน้ำ ใบเล็กเรียวยาว ขอบขนาน ปลายแหลม ลำพันแดงตน
สีแดง ลำพันขาวตนสีเขียว เหงาขนาดเทานิ้วกอยกลมงอไปมา สรรพคุณ ขับ
โลหิตระดู แกพิษโลหิตระดูทำใหคลั่งเพอ ขับลมในลำไส แกจุกเสียดแนนทอง
เปนตน
ลำพันแดง ดูที่ ลำพัน
ลิ้นทะเล สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากกระดองของปลาหมึก รูปรางคลายลิ้น สีขาวผุ
สากคาย สรรพคุ ณ ปรุ ง เป น ยาฆ า เชื้ อ โรค แก บิ ด มู ก เลื อ ด ผสมทำยาสี ฟ น
เปนตน

248
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ลูกจันทน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดจากตนจันทนเทศเปนไมตน ใบเปนใบเดี่ยว ดอกสี


เหลืองออน แยกเพศ กลีบเลี้ยงเชื่อมกัน รูปคนโทคว่ำ ปลายแยกเปนแฉกเล็ก ๓
แฉก ไมมีกลีบดอก ผลขางกลม สีออกเหลืองหรือแดง เมื่อแกจะแตกออกเปน ๒
ซีก เมล็ดมีรกสีแดงหุม เรียก “ดอกจันทน” มีเมล็ดเดียว เปลือกแข็ง สีน้ำตาล
เรียก “ลูกจันทน” สรรพคุณ บำรุงกำลัง บำรุงธาตุ แกธาตุพิการ ขับลม แกจุก
เสียด แกกำเดา แกทองรวง แกรอนใน กระหายน้ำ แกปวดมดลูก และบำรุง
โลหิต
ลูกเอ็น พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนผลสุกแหง มีกลิ่นหอมฉุน รสเผ็ดรอน เปนยาบำรุง
ธาตุ ขับลม แกทองอืดเฟอ และแกอาการเกร็งของลำไส
เล็บมือนาง
ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเลื้อยมีเนื้อไมแข็ง ใบเดี่ยว รูปใบหอก ขอบใบ

้าน
เรียบ ใบออนสีเขียวอมแดง ดอกออกเปนชอที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกสีแดง

พ ื้น
กลีบดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยกเปน ๕ กลีบ สรรพคุณ ขับพยาธิไสเดือน ทาแก

แผลฝ เปนตน
แล
ยง มีหนามแหลมโคง ตามลำตนและกิ่ง
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาเนื้อทแข็
เล็บเหยี่ยว

กาน ใบเดี่ยว รูปรี ขอบใบเรียผบ นสีเขียว ทองใบมีขน ดอกออกเปนชอที่ซอกใบ
์แ
ดอกเล็กสีเขียวแกมเหลือทงยผลรูปทรงกลมขนาดเล็ก ผลสุกสีมวงดำ เมล็ดเดี่ยว
แข็ง สรรพคุณ ขับรระดู แ พขาว ขับปสสาวะ แกมดลูกพิการ แกฝมุตกิด
า กา
เลี่ยน

สมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน ใบเปนใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ใบยอยรูป
รีกึ่งรูิปปัญ


ขอบขนาน ขอบใบจัก ดอกออกเปนชอที่ซอกใบใกลปลายกิ่ง ดอกสีขาว
ง ภ
รอ สรรพคุณ แกโรคผิวหนัง แกโรคเรื้อน แกพิษบาดแผล เปนตน
อมม ว ง กลี บ ดอกมี ๕-๖ กลี บ ผลรู ป ทรงกลมรี ผลแก สี เ หลื อ ง เมล็ ด เดี่ ย ว


้ ุ ค
เลือดแรด
อง ค สัตววัตถุชนิดหนึ่ง สรรพคุณ รสมันคาว บำรุงโลหิต แกเลือดเปนลิ่มเปนกอนอยู
ก ภายในใหกระจาย เนื่องจากช้ำใน
โลด พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม ยื น ต น ขนาดย อ ม ตามยอดและกิ่ ง อ อ นมี ข นสี
น้ำตาลแกมเหลือง เปลือกตนหนา แตกเปนรองลึกตามยาว ใบรูปไขปลายแหลม
เสนใบมีขน ทองใบมีขนสีน้ำตาลเหลือง ดอกสั้นๆเปนชอติดอยูตามงามใบ ผล
รูปไขปลายแหลมสองแฉก สีสม มีขนสีน้ำตาลเหลือง สรรพคุณ ขับโลหิตระดู
ขับลมในลำไส แกแนนจุกเสียด ใหสียอมสีแดง

249
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ


วานกีบแรด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมจำพวกหัว ใบประกอบใบยอยรูปหอกเล็กเรียว
กานใบยาว คลายใบปรงปา หัวสีน้ำตาลดำ คลายกีบเทาแรด สรรพคุณ แกปวด
ศีรษะ แกไขตัวรอน แกไขพิษ ไขกาฬ แกกาฬมูตร เปนตน
วานน้ำ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชลมลุกจำพวกเหงา ใบเล็กเรียวขอบขนานยาว
ปลายแหลม ไมมีกานใบ ออกจากเหงาใตดิน ดอกเล็กอัดกันเปนชอแทง ผลสุกสี
แดง มักขึ้นตามริมน้ำหรือที่ชื้นแฉะทั่วไป สรรพคุณ แกบิด แกปวดทอง แกทอง
ขึ้นอืดเฟอ แนนจุกเสียด ขับลมในกระเพาะและลำไส เปนตน
วานเปราะ
ไ ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมลมลุกมีหัว ใบแทงขึ้นจากหัวใตดิน ดอกสีขาว หัว

บ ้าน
และใบมีกลิ่นหอม สรรพคุณ แกเลือดพิษ ขับลมในลำไส เปนตน เรียกวาเปราะ

พ ื้น
หอม วานหอม วานตีนดิน วานแผนดินเย็น หอมเปราะ ก็มี

พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกจำพวกเหงแาลขนาดเล็ก สูงราว ๑ ฟุต ใบเล็ก
ไน ทายโตกวากระชาย สีเหลือง สรรพคุณ
วานรอนทอง
ยาวคลายใบกระชายดอกชอสีเหลือง เหง
แกธาตุพิการ ทองเสีย บิดลูกเลือ์แดผ คุมธาตุ แกพิษตานซาง แกพิษฝ แกพิษงู
ตะขาบ แมลงปอง เปนตน ทย
รแ พ
า กา
ัิปญญ ศ
ภ ม

ค รอง
ง ค ม
้ ุ
ก อ ส

สน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดใหญ ลำตนสูงตรง ใบเปนเสนเล็กยาว


ผิวเรียบมัน สีเขียวเขม ออก ออกเปนพูคลายหางมา สนสามใบ เปลือกตน
น้ำตาลสีแดง หนา มีใบกระจุก ละ ๓ ใบ สนสองใบ เปลือกตนสีน้ำตาลดำ
บาง มีใบกระจุกละ ๒ ใบ ผลอัดกันเปนชอทรงกระบอกกลม คลายดอกไพล
แตแข็งมาก สีน้ำตาล สรรพคุณ แกไขเพื่อเสมหะ กระจายลม ระงับประสาท
แกฟุงซาน แกออนเพลีย แกคลื่นเหียนอาเจียน บำรุงไขกระดูก ไขขอ เปนตน
สนเทศ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดกลาง ลำตนบิดเปนเกลียว ใบแผเปนแผง
สีเขียว สรรพคุณ แกฟกช้ำ แกไอ แกอาเจียนเปนเลือด แกปวดตามขอ ลดไข
หามเลือด แกริดสีดวงทวาร แกตกเลือด เปนตน เรียกวา สนหางสิงห สนแผง
ก็มี
250
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

สนุน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง เปลือกเปนกระสีเทาขาว ใบรูป


หอกเรียว ปลายและโคนแหลม ทองใบสีนวล ดอกเล็กๆเปนชอสีขาว สรรพคุณ
บำรุงหัวใจ ทำใหหัวใจเตนแรง แกไข แกริดสีดวงจมูก เปนตน
สมกุง พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด คือ สมกุงนอย เปนไมเถาเลื้อย เถาเล็กกลม ใบรูปหอกโต
ปลายแหลม ดอกเล็กออกเปนชอ ทั้งเถาและใบมีรสเปรี้ยว สมกุงใหญ เปนไม
ยืนตน ใบเดี่ยว รูปหอกปลายและโคนแหลม หนาใบเรียบ ทองใบมีขน ดอก
เล็กๆสีเหลือง ออกเปนกระจุกกลมๆ ตามงามใบ สรรพคุณ ยาถายเสน แกช้ำใน
กัดเสมหะ ฟอกโลหิต เปนตน
สมกุงทั้งสอง ดูที่ สมกุง
ลมเชา
ไ ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดเล็ก รูปสี่เหลี่ยมมีหนามตามสัน ใบเดี่ยว

บ ้าน
รู ป ไข ก ลั บ โคนยาวเรี ย วหนาสี เขี ย วแข็ ง ดอกเล็ ก สี ข าวนวล ผลเป น ๓ พู

ะ พ ื้น
สรรพคุณ ขับโลหิตระดู ฟอกโลหิต ถายคูถเสมหะ เปนตน
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดยแล
สมซา
กลมรี สีเขียวเขม ผิวเรียบมัน มีตอไมน้

ทำมัน ดอกเล็กสีขาว เปนชอเล็กๆ ผลกลม
อม คลายสมเขียวหวาน ใบเดี่ยว ทรง

เกลี้ยง ผิวจะดูหนาและขรุข์แระ ผ น

เสมหะ แกไอ ฟอกโลหิพตทเปนตน
เนื้อในสีขาวคลายสมโอ สรรพคุณ กัดฟอก

า รแ
พืชสมุนไพรชนิกดหนึ่ง เปนไมเถายืนตนใบเปนฝอยคลายชะเอม ตามตนและกิ่ง
สมปอย
ญ าใบมีรสเปรี้ยวจัด ดอกและฝกคลายกระถินเทศ สรรพคุณ ถาย
ิูมปัญถายระดูขาว ลางเมือกมันในลำไส แกบิด ฟอกโลหิตระดู เปนตน
กานมีหนาม


เสมหะ

ร อง

สมสันดาน พื ชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถา ใบเดี่ยวรูปหอกโตยาวปลายแหลม สรรพคุณ

ง ค ุ้ม ปรุงยาแกไอ ขับเสมหะ แกบิดเนื่องจากเสมหะเปนพิษใหปวดเบง เปนตน


สมเสี้ยว กอ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมทรงพุมขนาดกลาง ใบทรงกลมเวาลึก ตรงกลางใบ
เปนรูปไตสองอันติดกัน สีเขียว ยอดออนสีแดงสมอมชมพู ดอกสีขาวเหมือน
ดอกกาหลง ฝกแบนยาว ใบสมเสี้ยวมีรสเปรี้ยว สรรพคุณ ขับและฟอกโลหิต
ระดู ขับปสสาวะ ถายเสมหะ แกไอ แกเสมหะ และเมือกมันในลำไสใหตก
สมอ พืชสมุนไพรมีหลายชนิด ไดแก สมอไทย หรือสมออัพยา สมอพิเภก สมอดีงู
สมอเทศ สมอปา สมอทะเล และสมอรองแรง เปนไมตนขนาดกลางถึงขนาด
ใหญ สรรพคุณ แกทองผูก ขับเสมหะ และใชเปนยาสมาน เปนตน
สมอดีงู พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบโตและยาว ดกสี
เหลืองเปนชอเล็ก ๆ ผลกลมยาวใหญกวาสมอดีงูของประเทศอินเดีย มีรสฝาด
ขม สรรพคุณ แกโลหิตเปนพิษ ทองผูก และขับระดู เปนตน สมอหมึก สมอ
เหลี่ยม ก็เรียก
251
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

สมอทะเล พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง ใบเล็กยาวริมมีจักเล็กๆ คลาย


ใบมะคำไก มีผลกลมโตคลายผลมะขามปอม เปลือกผลสีดำแข็งมาก สรรพคุณ
ถายลมเปนพิษ โลหิตเปนพิษ เปนตน สมอทะเล คุระโก คุระ กุรา ก็เรียก
สมอทั้งสามหรือตรีสมอ เปนสวนเครื่องยาตางชนิดหัน มีจำนวน ๓ สิ่ง อยูเปนกลุมเครื่องยาจัดหมวด
ตามพิกัดซึ่งเครื่องยาแตละอยางในพิกัดเดียวกันนี้ตองมีน้ำหนักเทากัน หรือ
เสมอภาคกันปรกอบดวยผลสมออัพยา (สมอไทย) ผลสมอพิเภก และผลสมอ
เทศ(สมอดีงู) ดูเพิ่มเติมที่ สมอไทย สมอพิเภก และ สมอเทศ
สมอเทศ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดใหญ มีในประเทศอินเดีย ผลเล็กกวา
สมอไทย มี เ หลี่ ย มมากกว า สมอไทย สรรพคุ ณ ใช ป รุ ง เป น ยาระบายอ อ นๆ
ระบายเสมหะ ระบายลม รูถายเองปดเอง เปนตน สมอเทศ สมอชิต ก็เรียก
ไ ท ย
สมอไทย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตน ใบเดี่ยว รูปรีกวาง ้าขอบใบเรี
บ น ยบ แผนใบ
คอนขางหนา เรียบ สีเขียว ทองใบมีขน ดอกออกเปนื้นชอแยกแขนงที่ซอกใบและ

ปลายยอด ผลรูปทรงคอนขางกลม เมล็ดเดี่ยวลสีะน้ำตาลออน สรรพคุณ แกไข

เพื่ อ เสมหะ แก น้ ำ ดี รู ถ า ยรู ป ด เอง ขัทบ น้ยำ เหลื อ งเสี ย เป น ต น สมออั พ ยา
น ไ
หมากแนะ ก็เรียก
์ยแผ
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพไมทยืนตน โคนตนเปนพูพอนแคบ ใบเดี่ยว ขอบใบ
เรียบ แผนใบเรียบ สีาเรขียแวเปนมัน ดอกออกเปนชอที่ซอกใบ ดอกสีนวลขนาด
สมอพิเภก

า กรณเพศ ผลรูปทรงคอนขางกลม สีน้ำตาลเขม สรรพคุณ


ัิปญกคอญบำรุงธาตุ เปนตน
เล็ก เปน ดอกสมบู

ูม งู
แกเสมหะจุ

ดูทงี่ สมอดี
ครดูอที่ สมอไทย
สมอเหลี่ยม
สมออัพยา
ง ค ุ้ม
สมุลแวง กอ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบหนาคลายใบอบเชย
เปลือกตนมีกลิ่นหอมฉุน ปรา สรรพคุณ แกลมวิงเวียน ลมทำใหใจสั่น แกพิษ
หวัดกำเดา เปนตน
สลอด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดยอม ใบเดี่ยวรูปหอกเรียวปลายและโคน
แหลม เสนใบตามยาว ๓ เสน ขอบจักแบบเล็บมือแบนๆ สีออนแกมน้ำตาล
ยอดออนสีน้ำตาล ดอกเล็กสีเขียวขาว ผลกลมทุยๆ มี ๓ พู เมล็ด ๓ เมล็ด
สรรพคุณ ถายพิษเสมหะและโลหิต ถายน้ำเหลืองเสีย ถายอุจจาระธาตุ ถายลม
ถายพยาธิ เปนตน สลอดตน หมากขาง หัสคึน มังคัง ก็เรียก
สลอดน้ำ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถายืนตนขนาดเล็ก ใบรูปไข คลายใบขอย ผลรูปไข
ฉ่ำน้ำ ขนาดเทาหัวแมมือ เมื่อสุกสีสม เรียกวา สลอดเถา มะหลอด ก็เรียก

252
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

สลัดได พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมแตกกิ่งกานสาขามาก ลักษณะคลายตนตะบอง


เพชรรูปดาวสามแฉก มีหนามเล็กยาวตามเหลี่ยม ใบเล็กมากรูปชอนสีเขียว
ออกตามเหลี่ยม รวงเร็ว ดอกเล็กๆสีเหลือง ออกตามหนาม ทั้งตนมียางสีขาว
สรรพคุณ แกนของตนแก รสขมหอม แกไข บำรุงหัวใจ
สวาด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถา ลำตนกิ่งกานและเสนใบ มีหนามเล็กแหลมโคง
ใบประกอบขนนกสองชั้น ใบยอยรูปไข ดอกเล็กๆคลายดอกกลวยไมสีเหลือง
เป น ช อ ฝ ก มี ห นามแหลม เมล็ ด กลมรี เ ท า ปลายนิ้ ว ชี้ เปลื อ กแข็ ง สี ม ว งเทา
(สีสวาด) สรรพคุณ ขับผายลม แกจุกเสียดแนน เปนตน
สหัสคุณ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง มี ๒ ชนิด สหัสคุณเทศ และ สหัสคุณไทย
สหัสคุณเทศ
ไ ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมลำตนตั้งตรง ใบเดี่ยวเรียกตรง ดอกออกเปนชอ

บ ้าน
แยกแขนง กลีบดอก กลิ่นหอม ผลเปนฝกคู สรรพคุณ แกทองเสีย บางทีเรียกวา
หัสคุณเทศ หัสคุณใหญ พุดน้ำ
ะ พ ื้น
ย แล
แหลม ขอบและผิวเรียบ สีเขียวเขมไทดอกเล็ก ผลรูปกระสวยมีปก ๔ ปก ตั้งฉาก
สะแก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบรูปหอกกวาง ปลายและโคน

ผ นอน สรรพคุณ แกกามโรค หนองใน เขาขอ


ย ์แ
ท องเสีย แกพิษไขเซื่องซึม เปนตน
กัน ดูเปนรูปกลม แกสีน้ำตาลอ
ฝมะมวง ฝตางๆ แกนพ
พืชสมุนไพรชนิกดาหนึ
แ ้ำเหลื
ร ่ง เปนไมเถา เนื้อไมเปนเสนยาว หนาตัดเปนรัศมี เปลือก
สะคาน
ค อ นข า งอญ

ิูมปัญ า สรรพคุณ แกลมอันบังเกิดในกองธาตุ กองสมุฏฐาน ขับลมในลำไส
อ น เนื้ อ สี ข าว ใบเดี่ ย วรู ป หอกกว า งคล า ยใบพริ ก ไทยหรื อ ใบพลู


แตแคบกว
อง
คร
แก จุกเสียด แกธาตุพิการ เปนตน
สะเดา
ง ค ุ้ม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง เปลือกตนสีน้ำตาล ใบประกอบ
กอ ใบย อ ยรู ป หอกปลายและโคนแหลม ขอบจั ก ผิ ว เรี ย บ สี เขี ย ว ดอกเล็ ก ๆ
กลมสีขาว เปนชอโต ผลกลมรีขนาดปลายนิ้วกอย สรรพคุณ แกบิดมูกเลือด
แกทองรวง แกไข แกกระษัย แกในกองเสมหะ เปนตน
สะทอน พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ดอกเล็กเปนชอ
คลายชอมะมวง ผลกลมเมื่อสุกสีเหลืองรับประทานได กระทอนมีสองชนิด
คือ กระทอนบาน และ กระทอนปา กระทอนปา มีผลดกกวากระทอนบาน
แตรสเปรี้ยวกวา พายัพเรียกวา มะติ๋น อีสานเรียก มะตอง ภาคเหนือเรียก
หมากตอง ปตตานีเรียก สะโต เรียก กระทอน ก็มี
สะบา พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม เ ถาขนาดใหญ เถาแบนบิ ด ไปมา คล า ยเถา
กระไดลิง ดอกสีขาวเหลือง เปนชอกลมยาว ฝกแบนยาวมีรอยคอดตามแนว
เมล็ดกลมแบนหนา สีแดงเขมออกน้ำตาล เนื้อในสีขาวนวลแข็งมาก สรรพคุณ
253
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

แกโรคผิวหนัง แกมะเร็ง คุดทะราด ฆาเชื้อโรคผิวหนัง เปนตน


สลิด เปนไมเถาเนื้อแข็ง ยอดออน มีขน ทุกสวนมียางขาว ใบเดี่ยว รูปไขหรือรูปหัวใจ
ดอกออกเป น ช อ ตามข อ ระหว า งใบ สี เขี ย ว สี เ หลื อ ง หรื อ สี ส ม มี ก ลิ่ น หอม
ผลเปนฝกรูปไขแกมรูปใบหอก เมล็ดมีจำนวนมาก สรรพคุณ ทำใหอาเจียน
เปนยาถอนพิษยาเบื่อเมา ดับพิษทั้งปวง
สัก พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดใหญ ใบกลมโต ผิวมีขนสากตาย ดอก
เล็ก เปนชอใหญๆ ผลกลมสีเขียวแกสีน้ำตาล มีขนคลุม เนื้อไมมีลายเสี้ยน
สวยงาม สรรพคุณ ฆาพยาธิผิวหนัง ขับพยาธิ บำรุงโลหิต แกไอ ขับลม เปนตน
สักขี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง จำพวกเดียวกับฝางและแกแล
ไ ท ย
แกนสีน้ำตาลเขมอมดำ สรรพคุณ บำรุงธาตุ แกรัตตะปตตะโรค แกไขพิษ แก

บ ้าน
อุจจาระธาตุพิการ แกเลือดออกตามไรฟน แกคุดทะราด ขับเสมหะ เปนตน

ะ พ ื้นายอังกาบมาก ผิดแตไมมี

สังกรณี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดเล็ก ลำตนใบคล
ย แ
นอย ขอบมีหนามเลกๆ ดอกเปนชอตั้งไมีทใบประดับสีเขียวหอเรียงเปนพุม กลีบ
หนาม ลำตนมีขนสีน้ำตาล ใบเดี่ยวรูปหอกปลายเรี ยวแหลม สีเขียว มีขนเล็ก

ดอกสี ม ว งอมฟ า บานยื่ น ออกมา์แผโคนกลี บ เป น ท อ กลมยาว ฝ ก กลมเกลี้ ย ง
ท ยำ ดับพิษไขทั้งปวง แกไอ ถอนพิษไขกาฬ

สรรพคุณ แกรอนใน กระหายน้
ร พ
สังข

สัตวสมุนไพรชนิดหนึ กา่ง เปนหอยน้ำเค็มฝาเดียว ลักษณะเปลือกหอยสังขคลาย
เครื่องเคลือบดิญ

ั นเผา ปองกลาง หัวทายแหลม สวนบนเปนเกลียว สวนปลาย
เรียวยาวิปสรรพคุณ ทำใหเปนผง โรยแผลเนื้อราย หรือใชภายในเปนยาแกไข
ง ภ ม


ครดีซาน
รากสาด หนองใน ปวดมวนในทอง ปวดทองเนื่องจากอาหารไมยอย และโรค

ง ค ุ้ม
สัตตบงกช
กอ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งเปนไมน้ำประเภทบัว ลำตนเปนหัวอยูใตดินในน้ำ ใบมี
ลักษณะกลมใหญ ดอกปอมสีแดงกานใบและกานดอกมีหนามแหลมเล็ก กาน
แข็งชูขึ้นผิวน้ำ สรรพคุณ แกรอนใน บำรุงธาตุ เปนตน
สัตตบุษย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมน้ำประเภทบัว ลำตนเปนหัวอยูใตดินในน้ำ ใบมี
ลักษณะกลมใหญ ดอกปอมสีขาวกานใบและกานดอกมีหนามเล็ก กานแข็งชูขึ้น
ผิวน้ำ สรรพคุณ แกรอนใน บำรุงธาตุ เปนตน
สันพรานางแอ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดใหญ ใบเดี่ยวเรียงตรงขาม หลังใบ
สีเขียวเขม ทองใบสีออนกวา และมีจุดสีดำกระจาย ดอกออกตามชอกใบเปน
ชอแยกแขนง มีดอกยอยจำนวนมาก ผลรูปกลม สีแดง สรรพคุณแกผิดสำแดง
แกรอนใน เจริญอาหาร เปนตน บางทีเรียกวา เฉียงพรานางแอ สีฟนนางแอ
เขียวพรานางแอ ตอไส แคแหง เปนตน
254
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

สันพรามอญ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุมขนาดเล็ก ลำตนและกิ่งเปนปลองขอ ใบยาวรี


รู ป หอกโคนและปลายใบแหลม ริ บ ขอบเรี ย บ ลำต น กิ่ ง ก า น ใบ มี สี แ ดง
ดอกออกเปนชอ ผล ออกเปนฝก สรรพคุณ แกไข แกไอ ขับปสสาวะ เปนตน
เรียกวา เฉียงพรามอญ กระดูกไกดำ เฉียงพราบาน สำมะงาจีน ผีมอญ เกียงผา
กุลาดำ บัวลาดำ เฉียงพรามอญ ก็มี
สันพราหอม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนตรง ใบเปนใบเดี่ยวออกเรียงกันเปน
คู ๆ ตามขอตน ใบเล็กยาว ริมใบเปนจักเล็ก ๆ ใบมีกลิ่นหอม ดอกออกเปน
ชออยูตรงสวนยอดของตน สรรพคุณ แกปวด แกไข ตัวรอน ขับเหงื่อ เปนตน
บางทีเรียกวา เกี๋ยงพาใย สะพัง ซะเป มอกพา หญาลั่งพั้ง ก็มี
สับปะรด
ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ใบเดี่ยว ใบเรียวยาว โคนใบเปนกาบหุม

้าน
ลำตน ขอบใบมีหนาม แผนใบสีเขียวเขมและเปนทางสีแดง ทองใบมีนวลสีขาว

พ ื้น
ดอกออกเปนชอที่ปลายยอด ดอกเรียงรอบปุมดอก กลีบดอกมี ๓ กลีบ ดานบน

แล
สี ช มพู อ มม ว ง ด า นล า งสี ข าว ผลรู ป รี มี ใ บเป น กระจุ ก ที่ ป ลายผล เรี ย กว า

ไท
ตะเกียง สรรพคุณ ขับปสสาวะ ขับนิ่ว แกมุตกิด ระดูขาว แกหนองใน เปนตน
ผ น
สามสิบ
ย ์แ
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม มีเหงาและรากใตดินลำตนบนดินเลื้อยพันมี

พท
หนามแหลม ใบออกเปนใบเดี่ยวเรียงสลับเปนเสนแคบยาว ดอกออกเปนชอที่
า รแ
ปลายกิ่งมีสีขาวผลคอนขางกลม มีสีแดง สรรพคุณ บำรุงกำลัง แกตกเลือด
าก
ัิปญญ
เปนตน



สารภี พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมตนขนาดกลาง ใบเดี่ยวรูปหอกเรียว เนื้อใบเหนียว

อง ภ
และหนา สี เขี ย วเข ม ปลายและโคนแหลม ดอกเล็ ก ทรงกลม กลี บ สี ข าว
ค ร
มุ้
ผลรูปไขสีเหลืองสม ขนาดเทาหัวแมมือ สรรพคุณ บำรุงครรภรักษา ทำใหชื่นใจ

อง ค แกไข เปนตน
สารสม ก แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนกอนผลึกสีขาวขุน ไมมีกลิ่น มีรสฝาดมาก สารสม
ที่ใชทางยามักเอามาสะตุกอน ทำไดโดยเอาสารสมมาบดใหละเอียดใสในหมอ
ดิน ตั้งไฟจนสารสมฟูขาวดี แลวยกลงจากไฟ ได “สารสมสะตุ” เอามาใชทำยา
สรรพคุณ สมานทั้งภายนอกภายใน แกระดูขาว แกหนองใน และหนองเรื้อรัง
เปนยาขับปสสาวะ ขับนิ่ว แกปอดอักเสบ เปนตน
สารหนู แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนธาตุที่มีพิษรายแรง สรรพคุณ เปนยา แกกามโรค
แก โรคผิ ว หนั ง ผื่ น คั น ถ า จะผสมเป น ยาผง ต อ งฆ า ฤทธิ์ ก อ น โดยการเอาผง
สารหนูใสในภาชนะกระเบื้อง ตั้งไฟใหรอนจัด บีบน้ำมะกรูดลงไป ทิ้งไวใหแหง
แลวเอาขึ้นตั้งไฟใหรอนจัดอีก ทำเชนเดิมจนครบ ๓ ครั้ง สารหนูที่ไดจะดำ
เกรียม จากนั้นจึงเอามาผสมกับเครื่องยาอื่นๆทำเปนยาผงได

255
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

สีผึ้ง สั ต ว ส มุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง ได ม าจากการผสมขี้ ผึ้ ง กั บ น้ ำ มั น สำโรง สรรพคุ ณ


ชวยสมานแผล เรี ย กเนื้ อ แก ป วด แก บิ ด เรื้ อ รั ง แก แ ผลเรื้ อ รั ง มี ห นอง และ
แผลถูกความรอน เปนตน
สีเสียด พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด คือ สีเสียดไทยและสีเสียดเทศ เปนไมตนขนาดเล็กถึง
ขนาดกลาง กิ่งและลำตนมีหนามแหลม ผิวเปลือกคอนขางขรุขระ มีสีเทาเขม
เปลือกขางในสีแดงเปนไมใบรวม สรรพคุณ แกทองรวง สมานแผล เปนตน
สีเสียดทั้งสอง พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ สีเสียดไทย และสีเสียดเทศ ดูเพิ่มเติมที่ สีเสียด
สีเสียดเทศ ดูที่ สีเสียด
สุพรรณถัน ดูที่ มาศเหลือง
ไ ท ย
แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง สรรพคุณ รูแกลมปวง รูลางหัวฝแนละรักษาทอง เขายา
สุพรรณถันแดง
บ ้าแผลเรื้อรัง แกกามโรค
พื้น ก็มี
ตมแกประดง ใชหุงกับน้ำมันใสแผลเรื้อรัง แผลเปอยลาม
เปนตน เรียกวา กำมะถันแดง มาดแดง มโนศิลลา ะหรดาลแดง
ย แ
สุรามฤต ดูที่ สุรามะริด
น ไท
์ยแผ ลำตนสีหมน กิ่งกานสีแดง เปลือกบาง
ทคลายใบยานาง ดอกสีขาว ผลกลมแข็งมี ๓ พู
สุรามะริด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมขนาดกลาง
แ พ
สรรพคุณ ขับเลือด ขัาบรลม แกจุกเสียดแนนเฟอ บำรุงธาตุ
เนื้ อ แข็ ง เปราะ ใบรู ป หอก

า ก
พืชสมุนไพรชนิญ
เสนียด
เปนชอูมสรรพคุ


ิป ณ ใชหามเลือด แกไอ หืด ขับเสมหะ แกฝ บำรุงปอด บำรุงเลือด
ดหนึ่ง เปนพุมขนาดกลาง ใบเดี่ยวลักษณะใบรูปหอก ดอกออก

เปอนงตภน บางทีเรียกวา หูรา โมรา กุลาขาว บัวลาขาว และกะเหนียด ก็มี


ุ้ม ครสัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง กระดูกเสือ สรรพคุณ รสเผ็ดคาว เปนยาบำรุงกระดูก
เสือ
ง ค
กอ บำรุ ง ไขข อ และเนื้ อ หนั ง แก ป วดบวมตามข อ แก โรคปวดข อ เป น ยาระงั บ
ประสาท แกโรคลมบาหมู แกปวดตามขอ เขา กระดูก บำรุงกระเพาะอาหาร,
เขี้ยวเสือ มีรสเย็น ดับไขพิษ ไขกาฬ แกพิษรอน พาอักเสบ พิษตานซาง, น้ำนม
เสือ รสมันรอน บำรุงกำลัง แกหืด ดับพิษรอน เปนตน
แสมทะเล สมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบกลมโต ลำตนเกลี้ยง สรรพคุณ
แกเลือดลม แกลมในกระดูก แกกระษัย ฟอกและขับโลหิตระดู ถายระดูเนาเสีย
แกปสสาวะพิการ
แสมทั้งสอง พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ แสมสาร และ แสมดำ

256
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร


หญาเกล็ดหอย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนเรียวเล็กเกลี้ยง แตกกิ่งกานเปนคู
ใบเดี่ยวรูปกลมปลายแหลม ขอบจัก ดอกเล็กรูปไขเปนชอออกที่ปลายยอด
สี ข าวอมเขี ย ว เกิ ด ตามที่ ร กร า ง สรรพคุ ณ แก ไข แก ร อ นในกระหายน้ ำ
แกดีพิการ ดับพิษตางๆ เปนตน
หญาไซ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชจำพวกหญาเกิดอยูในน้ำ ใบแคบเล็กเรียวยาว
มวนกลมเป น เส น แข็ ง คมและสากคายมาก มี ข นแข็ ง เล็ ก สากมื อ สรรพคุ ณ
ขับปสสาวะ ขับและฟอกโลหิตระดู แกโลหิตระดูเปนลิ่มเปนกอนดำเนาเหม็น
หญาใตใบ
ไ ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกขนาดเล็ก ใบเดี่ยวรูปขอบ ขนาดยาวปลาย

บ ้าน
แหลม ฉ่ ำ น้ ำ ดู ค ล า ยใบมะขาม ขอบใบสี ม ว ง ก า นแก ที่ โ ดนแดดออกสี แ ดง

พ ื้น
พื้นสีเขียวเขม ดอกเล็กมากสีขาวติดอยูใตงามใบใตกาน ผลกลมแปนเปนพู

แล
สรรพคุณ แกไขพิษทุกชนิด แกไขจับสั่น ดับพิษรอน แกพิษตานซาง แกโทษน้ำดี

พิการ เปนตน
น ไท
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพื์แชผลมลุกจำพวกหญา ลำตนกลมเปนปลองกลวง
ย เหมือนขนหญา แตผิวเรียบไมมีขน ดอกเล็กๆ
หญาปากควาย
พ ท
สี ข าวแซมเขี ย ว รกแา นดอกติ ด ชนกั น ที่ ป ลายก า นช อ ๔ แท ง ตั้ ง ฉากต อ กั น
ใบเปนแผนบาง รูปหอกแคบ

สรรพคุ ณ ดั บากพิ ษ กาฬ แก ไข พิ ษ ไข หั ว ทุ ก ชนิ ด เจริ ญ ไฟธาตุ แก พ าฝ แก ไข
ตรีโทษัญ เปญ
ิูมป นตน
งพืภชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมขนาดเล็ก จำพวกหญา มีเหงากลมโต ลำตนอวบ
ครอ เตี้ย ใบเล็กเรียวยาว ดอกออกตรงยอดลำตน เก็บเอาเกสร ซึ่งเปนเสนกลมยาวสี
หญาฝรั่น

ง ค ุ้ม
กอ
สม กลิ่นหอมจัดสุขุม สรรพคุณ บำรุงหัวใจ บำรุงโลหิต บำรุงกำลัง แกไข แก
สวิงสวาย แกตับโต บำรุงธาตุ แกซาง บำรุงโลหิตระดู เปนตน
หญายองไฟ เก็บเอามาจากหยักไย ที่เกาะอยูเหนือเตาไฟในครัว (สมัยกอน) ที่มีเขมา และ
ควันไฟเกาะติดอยู สรรพคุณ แกโลหิต ฟอกโลหิต กระจายโลหิตที่เปนลิ่มเปน
กอน ขับโลหิตระดู เปนตน
หญารังกา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก รากสีแดงอมเหลือง ลำตนสามเหลี่ยมผิว
เกลี้ยง ใบเล็กแคบยาวเรียวปลายแหลม ออกจากโคน ปลายใบสาก ดอกเล็กๆ
เรียงหางกัน มีกานมารวมกันที่ปลายตน สีน้ำตาลแก ใบประดับ ๓-๕ ใบ ผลรูป
ไขสีดำ สรรพคุณ บำรุงธาตุ บำรุงรางกาย สมานแผล
หญาหนวดแมว พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชขนาดเล็ก ลำตนเปนสี่เหลี่ยม แตกกิ่งกานสาขา
มาก ใบเดี่ยวรูปไขปลายและโคนแหลม คลายใบพริก ขอบจักฟนเลื่อย สีเขียว
257
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

เขม ดอกเล็กสีขาวอมมวง เกสรตัวผูเปนเสนสีขาวคลายหนวดแมว ออกเปนชอ


หนาแน น ตั้ ง ที่ ป ลายกิ่ ง สรรพคุ ณ แก ก ระษั ย ไตพิ ก าร ขั บ ป ส สาวะ ขั บ นิ่ ว
แกหนองใน ลดน้ำตาลในเลือด ลดความดันเลือด เปนตน
หนอไมคาเตา ในที่นี้หมายถึง พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากหนอของตนไผ ที่เรียกวา หนอไม
นำไปเผาดวยวิธีซุก หรือแทรกเขาไปในระหวางกอนถานที่ลุกแดงในเตา แลวทิ้ง
คางไวจนสุก
หนาด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกสูงประมาณ ๕-๖ ฟุต ลำตนและใบมีขน
สีขาวนุม ใบใหญริบขอบหยัก ดอกออกเปนชอ มีสีเหลือง เมื่อแกจัดเปนสีขาว
ใบและยอดออน ใชกลั่นเปนน้ำมัน เมื่อแหงแลวตกเกล็ดเปนพิมเสนเชื่อกันวา


เปนไมที่ผีกลัว สรรพคุณ แกทองเสีย ขับลม ขับพยาธิ บำรุงเลือด บำรุงกำลัง
ไ ย
้าน
เปนตน เรียกวา หนาดใหญ หนาดหลวง พิมเสน คำพอง ใบหลม ผักชีชาง ก็มี

หมอนอย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนตั้งตรง ใบเป
ะ พ ื้น นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ
ดอกออกเปนชอ เปนกระจุกสีมวงแดง ผลเปลนผลแหง มีขนสีขาวหนาแนน
สรรพคุณ เปนยาลดไข แกไอ แกดีซานทแก ย แตับอักเสบเฉียบพลัน แกริดสีดวง
ทวาร เปนยาบำรุงกำลัง แกทองรวงผเป นนไ ตน เรียกวา หญาดอกขาว หญาละออง
์แ
หญาสามวัน กานธูป ถั่วแฮะดิทนยฝรั่งโคก ก็มี

พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึา่ งรแเป น ไม ยื น ต น ลำต น ทรงกระบอกตรง ไม มี กิ่ ง ก า น
หมาก
า ก าว ออกเปนกระจุกที่ปลายตน ดอกเล็กเปนชอจั่น
ัิปญญ าว ผลรูปไขปลายแหลมเล็กนอย สรรพคุณ สมานทั้งภายใน
ใบประกอบคลายใบมะพร



เหมือนดอกมะพร
ง ภ
ครเปอนตน
และภายนอก แก บิ ด ปวดเบ ง แก ป วดท อ งแน น ท อ ง ฆ า พยาธิ ขั บ ป ส สาวะ

ง ค ุ้ม
กอ
หมากผู พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม แตกกิ่งกานสาขานอย ลำตนกลมเรียว มีขอถี่ๆ
ใบเดี่ยว เปนแผนรูปหอกปลายแหลม กานเปนกาบเล็กแคบอวบยาว สีเขียว
ขอบแดง สีแดงมาก ออกเปนกระจุกที่ปลายตน กลีบดอกบานสีเหลืองขาว ผลก
ลมเล็กๆ สรรพคุณ แกบิด มูกเลือด แกไอ เปนตน เรียกวา หมากผูหมากเมีย
ปูหมาก ก็มี
หรดาล ดูที่ หรดาลกลีบทอง
หรดาลกลีบทอง แรธาตุสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนเกล็ดขนาดใหญกวาพิมเสน อัดตัวกันคอนขาง
แนน มีสีเหลืองเหลือบทอง มาจากจีน สรรพคุณ ปรุงยากวาดปาก กัดเม็ดยอด
ในปากคอ เปนตน
หวา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบเดี่ยว รูปไขปลายแหลมคอน
ขางหนาผิวมัน สีเขียวเขม ดอกเล็กเปนชอ ผลรูปไขเปนพวง แกสุกสีมวงถึงดำ
258
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ขนาดโตเทาปลายนิ้วกอย สรรพคุณ แกทองรวง ปดธาตุ แกน้ำลายเหนียว


ตมชะลางบาดแผล เปนตน
หวายตะคา พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถา เลื้อยพาดพันไปตามตนไมอื่น ลำตนกลมเรียว
เล็ก ขนาดนิ้วมือ ดอกเล็กๆ สีขาวอมเขียวเปนชอพวง หอยระยา ผลกลมขนาด
ปลายนิ้วกอย เปลือกเปนเกล็ดเล็กๆ เนื้อรับประทานได สรรพคุณ แกพิษรอน
แกไขพิษ ไขกาฬ แกชักเพราะความรอนสูง แกสลบ แกหอบ เปนตน
หวายตะมอย พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาขนาดเล็ก เลื้อยไปตามแผนหินผา หรือตนไม
อื่น มี รากเกาะ งอกออกตามขอ เถากลม ขนาดปลายนิ้ วก อ ย เปน ปลอ งๆ
สีน้ำตาลเหลืองขาว ใบเดี่ยวรูปหอกเล็กเรียว สีเขียว ปลายแหลม สรรพคุณ
ดับพิษรอน แกรอนใน ถอนพิษไข แกไขกาฬ แกซางชัก เปนตน
ไ ท ย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนพืชขนาดเล็ก มีหัวอยูใตด้าินนสีแดงหรือสีขาว ใบเปน
หอม

้ ื บ มีดอกยอยจำนวนมาก
ทอกลมๆ ปลายเรี ย วแหลม ดอกออกเป น ช อ กลมๆ
อัดแนนรวมกัน เมื่อดอกยังตูมอยูมีกาบหุล

ม ะเมื่อดอกบาน กาบหุมนี้จะฉีกขาด
ย แสีขียวออน กลีบดอกมี ๖ กลีบ สีขาว
ออกดานหนึ่ง ดอกยอยมีกานดอกยาว
น ไท

์ ผ
ลำไส แกปวดทอง แกหวัทดคัยดจมูก แกหวัด แกซางชัก เปนยาบำรุงหัวใจ เปนตน
หรือสีขาวอมมวง มีเสนสีเขียวพาดตรงกลางกลี บ สรรพคุณ เปนยาขับลมใน

พืชสมุนไพรชนิดาหนึ รแ่งพเปนพืชขนาดเล็ก มีหัวใตดินรูปไข หัวมีเนื้อสีแดงเขม


ลำตนที่อยูเหนืากอดินตั้งขึ้น โคง หรือเอนนอนแตปลายโคงขึ้น ใบแทงขึ้นมาจาก
หอมแดง

พื้นดิิปน ัญ



รูปใบหอก จีบซอนกันคลายพัด ปลายใบแหลม โคนใบแคบ ขอบใบเรียบ
ง ภ
ครอ สรรพคุณ ขับลมในกระเพาะอาหารและลำไส
ดอกออกเป น ช อ ดอกมี ก ลี บ ดอก ๖ กลี บ เกสรตั ว ผู มี ๓ อั น สี เ หลื อ งสด

ง ค ุ้ม
กอ
หอยกาบ สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนสัตวประเภทหอย หอบกาบเปนชื่อกวางๆ ที่ชาว
บานใชเรียกหอยน้ำจืดกาบคูกลุมหนึ่ง มีหลายชนิด หอบกาบเปยหอยที่มักมี
เปลือกหนา แข็งแรง สวนใหญรูปรางยาวรี ขั้วเปลือกอยูดานบน ที่บานพับอาจมี
ฟนหรือไมมีฟนก็ได ดานนอกของเปลือกมีสีเขียวอมเหลือง สีน้ำตาลเขม หรือสี
ดำ แลวแตชนิดหรืออายุของหอย เมื่ออายุยังนอย เปลือกมักเปนสีเขียว สีจะเขม
ขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น สวนใหญดานนอกของเปลือกมีรองตื้นๆ คลายเสนบางๆ
ตามแนวยาวของเปลือกเห็นไดชัด หอยกาบฝงตัวอยูพื้นใตน้ำตามแหลงน้ำจืด
โดยโผลสวนทายขึ้นมาเหนือพื้นเล็กนอย มีทอดูดน้ำเพื่อหายใจ พรอมกินสิ่งมี
ชีวิตเล็กๆ และตะกอนอินทรียวัตถุขนาดเล็กเปนอาหาร โดยการกรองผาน
เหงือก อาสัยตามแมน้ำลำคลอง เครื่องยาที่เรียก หอยกาบในตำรายาโบราณ
หมายถึง เปลือกหอยน้ำจืดกาบคูที่กินได

259
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

หอยขม สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนสัตวประเภทหอยน้ำจืดกาบเดี่ยวมีทั้งขนาดเล็กและ


ขนาดใหญ มี รู ป ร า งเป น กระเปาะ เกื อ บเป น ทรงกลม ขนาดโตได ร าว ๒.๕
เซนติเมตร มีขายทั่วไปอาจงมขึ้นมาจากแมน้ำ ประโยชนทางยาใช เปลือกหอย
ขม เขาเปนเครื่องยาหลายขนาน โดยมากใชรวมกับเปลือกหอยชนิดอื่นๆ และ
หอยขมเปนหอยชนิดหนึ่งในพิกัดยาไทยที่เรียก พิกัดหอย หรือ พิกัดเนาวหอย
หรือพิกัดนวหอย
หอยแครง สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนสัตวประเภทหอยทะเลกาบคู พบมากตามแหลงน้ำ
ชายฝงทะเลบริเวณที่มีโคลนปนทรายตามปากแมน้ำ หอยแครงมีเปลือกคอน
ขางหนา มีสันบาเปลือก ๑๕ – ๒๐ สัน พบมากบริเวณหาดโคลนละเอียดในเขต


น้ำตื้น ประโยชนทางยา เปนยาแกซางโค ในพระคัมภีรปฐมจินดาร และเปลือก
ไ ท
้าน
หอยแครงเปนเปลือกหอยชนิดหนึ่งในพิกัดยาไทยที่เรียก พิกัดหอย หรือ พิกัด
เนาวหอย หรือพิกัดนวหอย

ื้น่ยว พบบริเวณปาชายเลน
ะ พ
แล เชน ตนโกงกาง ตนแสม
หอยจุบแจง สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง หอยจุบแจงเปนหอยกาบเดี
เกาะอาศัยตามรากและกิ่งของตนไมในปย
ไทขนาดสูงราว ๔ เซนติเมตร แตอาจสูง
าชายเลน

ผ ำตาล ทรงคลายเจดีย มี ๘ – ๑๐ วง
์ยแเทาอมน้
หอยชนิดนี้กินได โดยทั่วไป หอบจุบแจงมี
ไดถึง ๖ เซนติเมตร เปลือกหอยสี
เกลียว สวนยอดมักชำรุดพ ท ก แตละวงเกลียวมีสันในแนวตั้ง ชองเปดคอน

ข า งกลม ฝาป ด เปกนาแผร น กลมแบน มี โ ปรตี น เป น องค ป ระกอบ ตำราแพทย
แตกหั

โบราณ หอบจุญ า เปนหอยชนิดหนึ่งในพิกัดยาไทย ที่เรียก พิกัดหอย หรือ


ิูมปัญ หรือพิกัดนวหอย
บแจง


พิกัดเนาวหอย
สัอตงวสมุนไพรชนิดหนึ่ง หอยตาวัวเปนหอยหลายชนิด พบอาศัยในเขตน้ำตื้นที่
ครเปนหาดหินและแนวปะการัง หอยชนิดนี้มีขนาดสูงราว ๔ เซนติเมตร แตอาจสูง
หอยตาวัว

ง ค ุ้ม
กอ ได ๖ เซนติเมตร เปลือกหอยคอนขางหนา สีเขียวอมเทา มีแถบสีน้ำตาลอมดำ
พาดในแนวตั้ง ดานในเปนสีมุกยอดแหลม วงเกลียวตัวหรือวงเกลียวสุดทายมี
ขนาดใหญเปนทรงกลม แตละวงมีสันและรองเรียงไปตามวงเกลียว ชองเปด
คอนขางกลม ฝาปด เปนสารพวกหินปูน ตามตำราแพทยโบราณ หอบตาวัว
เปนหอยชนิดหนึ่งในพิกัดยาไทย ที่เรียก พิกัดหอย หรือพิกัดเนาวหอย หรือ
พิกัดนวหอย
หอยนางรม สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนหอยน้ำเค็มกาบคู ที่พบในธรรมชาติบริเวณชายฝง
ทะเลของประเทศไทย หอยนางรมแตกตางจากหอยกาบคูอื่นๆตรงที่ไมมีตีน
พบเกาะอยูกับที่โดยมีเปลือกขางซายเกาะติดกับสิ่งยึดเกาะ เชน ไม กอนหิน
เมื่อเกาะติดแลวก็จะไมมีการเคลื่อนที่อีกเลยตลอดชีวิต เปลือกหอยนางรมเปน
เปลือกหอยชนิดหนึ่งในพิกัดยาไทยที่เรียก พิกัดหอย หรือ พิกัดเนาวหอย หรือ
พิกัดนวหอย
260
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

หอยพิมพการัง สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนสัตวประเภทหอยน้ำเค็มกาบคู หอยชนิดนี้มีเปลือก


สี ข าวบางและเปราะ รู ป ร า งเป น ทรงกระบอกเรี ย วไปทางท า ยตั ว ยาว
๘–๑๕ เซนติเมตร ชอบอยูในที่มืด มีแสงเรือง เมื่อกาบทั้งสองปดเขาหากันแลว
ก็ยังมีชองเปดที่หัวและทาย ใหเทาและทอน้ำยื่นออกไปได ใตบานพับที่ทำใหฝา
ปดเปดไดมีเงี่ยงยื่นลงมาอยูดานในของเปลือก ชวยยึดตัวหอยใหติดกับเปลือก
มีตีนขนาดใหญ มีทอน้ำเขาและทอน้ำออกเรียงกันเปนอันเดียว มีขนาดใหญและ
ยาว หอยพิมพการังชอบขุดรูอยูตามพื้นดิน ในปะการัง และในไม ประโยชนทาง
ยา เปนยาแกซางแดง ซางฝาย ซางกระดูก ในพระคัมภีรปฐมจินดาร และจัด
เปนเปลือกหอยชนิดหนึ่งในพิกัดยาไทยที่เรียก พิกัดหอย หรือ พิกัดเนาวหอย
หรือพิกัดนวหอย

ไ ท ย
้าน
หอยมุก สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง หอยมุกเปนกลุมหอยกาบคูทั้งหอยน้ำจืดและหอยน้ำเค็ม

ื้นบ
หลายชนิดที่สราง “ไขมุก” ได เปลือกหอยมุกมีลักษณะคอนขางกลม แบน

ละ พ
ดานนอกเปนสีเทา สีน้ำตาล หรือสีมวงเขมแลวแตชนิด ดานในมีสีเหลือบเปน
ย แ
มันวาวเหมือนสีมุก ตัวหอยยึดติดกับเปลือกดวยกลามเนื้อที่อยูบริเวณกลางลำ
น ไท

ตัว มีเหงือกใหญโคงไปตามเปลือกทำหนาที่หายใจและกรองอาหาร ประโยชน
ย ์แ
ทางยา เปลือกหอยมุก เปนเครื่องยาอยางหนึ่ง โดยจัดเปนเปลือกหอยชนิดหนึ่ง

แ พท
ในพิกัดยาไทยที่เรียก พิกัดหอย หรือ พิกัดเนาวหอย หรือพิกัดนวหอย

หอยสังข ดูที่ สังข
ากา
หัวคลา ัิปญญ
พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม จ ำพวกเหง า คล า ยข า หรื อ เร ว แต ใ บแข็ ง และ
ภ ม

อง
สั้ น กว า ก า นใบเป น ข อ ๆ ดอกสี ข าว ขึ้ น ตามริ ม ลำธาร ในป า ดงดิ บ เขาทั่ ว ไป

ค ร สรรพคุ ณ แก ไข พิ ษ ไข ก าฬ ดั บ พิ ษ ไข ทั้ ง ปวง กระทุ ง พิ ษ ไข แก ไข เ หนื อ

ง ค มุ้ ไขปอดบวม ดับพิษรอน เปนตน


หัวเตา ก อ สั ต ว ส มุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง ได ม าจากหั ว ของเต า สั ต ว เ ลื้ อ ยคลานจำพวกหนึ่ ง
เกล็ดหุมเนื้อ หลังเปนแผน มี ๔ ขา ขาสั่นมี หลายชนิด เชน เตานา เตาหับ
เตาดำ เปนตน สรรพคุณ แกตับทรุด แกจุกผามมามยอย มามแลบ ทองปอง
พิษไขจับสั่นเรื้อรัง ชักดาก แกดากออก
หัวเตาเกียด พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง มีลำตนใตดิน ใบเดี่ยวเหมือนใบโพธิ์ โต ๔-๕ นิ้ว หนา
ปลายเรียวแหลม เหมือนใบเสนหจันทรแดง แตใบเตาเกียด โคนใบจะผายออก
เปนสะโพก กานสีแดง เหงายาว เนื้อสีแดงเรื่อๆ หอมฉุน ขึ้นตาม ริมลำธาร
ในป า ดงดิ บ ทั่ ว ไป สรรพคุ ณ ชั ก ตั บ ชั ก ดาก แก ตั บ ปอดพิ ก าร แก ตั บ ทรุ ด
เนื่องจากชอกช้ำ เปนตน
หัวเทียม ดูที่ กระเทียม

261
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

หัสคุณ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่งมี ๒ ชนิด ไดแก หัวคุณ และหัสคุณเทศ เปนไมพุมขนาด


เล็ ก ถึ ง ขนาดกลาง ลำต น ตาง กิ่ ง ก า นมี ข นสั้ น ๆ ใบเรี ย งสลั บ ท อ งใบมี ข น
ดอกออกเป น ช อ แยก สี ข าวแกมเหลื อ ง สรรพคุ ณ แก ไข แก พิ ษ และ
แกโรคผิวหนัง เปนตน เรียกวา หวดหมอน เพี้ยฟาง หญาสาบชิ้น สมัดใบใหญ
หัสคุณโคก มะหลุย หมอนอย ออยชาง แสนโศก ก็มี
หัสคุณเทศ ดูที่ หัสคุณ
หางจระเข พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกเนื้อออนจำพวกวาน ขึ้นเปนกอ ใบเปน กาบ
หนา ใบใหญปลายใบแหลมรูปเรียวยาวคลายลักษณะของหางจระเข ขอบใบ
เปนจัก ๆ ปลายแหลมเหมือนหนาม ใบอวยภายในเปนวุนใส ดอกออกเปนชอ
แทงกานดอกจากกลางกอ สรรพคุณ ใชวุนจากใบทำยาดำ แกทองผูก ดับพิษ
ไ ท ย
และอาการอักเสบ เปนตน วานหางจระเข ก็เรียก
บ ้าน
หางนกยูง สัตวสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากขนหางของนกยูงเพศผู
ะ พ ื้น  ที่มีแวว อยูดวย
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมเถาขนาดกลางถึแงลใหญ ใบประกอบ ใบยอยราว ๕
ไน ทย ใบออนสีแดงซึ่งตางจาก
หางไหลแดง

์ยแผยางสีขาวขน ดอกเล็กสีชมพูขาว ฝกแบนไม


ใบ รู ป หอก ปลายกว า งแหลม โคนสอบแคบยาว

นเอ็ทน ทำใหเสนเอ็นหยอน ถายลม ถายเสมหะและ


หางไหลขาวที่มีสีเหลืองออน รากมี
ยาวนัก สรรพคุณ ถายเสพ

ร ต แกระดู เปนลิ่มเปนกอนเนาเหม็น เปนตน
โลหิต บำรุงโลหิต ขับาโลหิ
า ก
พืชสมุนไพรชนิญ
หิงคุ

ิ ัญ ดหนึ่ง ดูเพิ่มเติมที่ มหาหิงคุ
พืชสมุภนูมไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุก ใบประกอบ ใบยอยสามใบ รูปไขปลายและ
ง ทั้งตนมีขนปกคลุม ดอกเล็กสีเหลือง เปนชอตั้งสูงตรง ที่ปลายยอด
หิ่งหาย
ร อ
ค ฝกกลมโคงมีรองตรงกลาง คลายรางบดยา สรรพคุณ ถอนพิษยาเบื่อยาเมา
โคนแหลม

ง ค ุ้ม
กอ แกพิษไขจากการอักเสบ ดับพิษรอน เปนตน
เห็ดมูลโค พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น เห็ ด ที่ เ กิ ด ตามกองขี้ วั ว ดอกรู ป ร ม เล็ ก ๆ สี ข าว
สรรพคุณ แกลมกองละเอียด แกนอนไมหลับ แกไขพิษ
แหว พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น พื ช ล ม ลุ ก จำพวกหญ า กก ลำต น เกลี้ ย งเล็ ก
รูปสามเหลี่ยมแข็งตั้งตรง ดอกสีเหลือง ใบเล็กแคบเรียวยาวปลายแหลม คอน
ขางแข็ง โคนสีน้ำตาลแดง มีหัวใตดินกลมแปน มีแปงใก ดอกชอยาวสีเหลือง
ทองหรือน้ำตาลออน ผลรูปสามเหลี่ยมมน สรรพคุณ แกรอนในกระหายน้ำ
บำรุงธาตุ ขับน้ำนม สมานแผลในทางเดินอาหาร เปนตน

262
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

แหวหมู พืชสมุนไพร มี ๒ ชนิด คือ แหวหมูใหญ และแหวหมูเล็ก เปนไมลมลุก จำพวก


หญ า แห ว หมู ใ หญ ลำต น ตั้ ง ตรงสู ง ราว ๑ ฟุ ต แห ว หมู เ ล็ ก ต น เตี้ ย ติ ด ดิ น
กานดอกสูงราว ๓-๔ นิ้วฟุต ดอกเล็ก ๆ สีขาว มีใบเลี้ยงไดดอก ๓ ใบ หัวเล็ก
กวาแหวหมูใหญ ใชหัวทำยาไดทั้งสองชนิด เปนไมอาถรรพ ชนิดหนึ่ง หัวถึงแม
จะตมแลวก็สามารถจะงอกเปนตนไดอีกถาไมทุบใหแตก สรรพคุณ แกทองรวง
ขับลมในลำไส และอาการตันตามผิวหนัง เปนตน
แหวหมูใหญ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง มีลำตนใตดินลักษณะกลม สีดำ ขนาดไมใหญนัก ใบเรียว
แหลม ดอกออกเปนชอ สีน้ำตาล ผลเปนรูปขอบขนานปลายแหลม หากตัด
ขวางจะเป น รู ป สี่ เ หลี่ ย ม หั ว สรรพคุ ณ แก ป วดแน น หน า อก ปวดท อ ง


ขั บ ป ส สาวะ ขั บ เหงื่ อ แก ป วดประจำเดื อ น อาเจี ย น ท อ งเสี ย บำรุ ง ทารก
ในครรภ ขับลมในลำไส
น ไ ท
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมลุกขนาดเล็ก ลำตบน้ากิ่งกานเปนสี่เหลี่ยมสีมวง
โหระพา
ะ พ ื้นสีเขียว ดอกสีขาว เปนชอแทง

หรือแดงเขม ใบเดี่ยวรูปหอกปลายและโคนแหลม

ย น้ำตาลเขม สรรพคุณ แกทองขึ้นอืด
ไท
ตั้งตรงออกที่ปลายกิ่ง เมล็ดเทาเมล็ดงา สี
น ขับลมในลำไส ขับเสมหะ เปนตน
์แ ผ
เฟอ แกลมวิงเวียน ชวยยอยอาหาร

โหรา ท
กพมีสรรพคุณเบื่อเมา พิกัดโหราที่ใชเปนเครื่องยาไทย มี
พืชสมุนไพรเปนเครื่องยาเทศจำพวกหนึ ่งที่ใชในยาไทย อาจไดจากรากไมหรือ
รแ
กากัดโหราทั้งหา ไดแก โหราอมฤต โหรามิคสิงคี โหราเทาสุนัข
เขาสัตว สวนมากมั
๓ พิกัด คือ า๑.พิ

ั ญโหราเดือยไก ๒.โหราพิเศษ ไดแก โหราผักกูด โหราเขาเนื้อ โหรามหุ
ิป โหราขาวเหนียว ๓.โหรานอกพิกัด ไดแก โหราน้ำเตา และโหรา
โหราบอน
ราูมโหราใบกลม
อง ภ
ค ร ข าวโพด
โหราเดือยไก
ง ค ุ้ม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง ไดมาจากรากแหง มีหัว รูปรางคลายเดือยไก ดอกมีรูปราง
กอ คลายๆหมวก มีรากสะสมอาหารรูปไขแกมรูปขอบขนานหรือรูปกระสวย ลำตน
ตั้งตรง สูงราว ๓๐ – ๙๐ ซม. ไมแตกกิ่งหรือแตกกิ่งเพียงเล็กนอย สวนของตน
หรือกิ่งกานตอนบนๆกลม มีขนนุม ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ดอกออกเปน
ชอ สีฟาแกมมวงหรือสีเหลืองอมเขียว สรรพคุณ แกลมจับโปง และใชภายนอก
เปนยาชาเฉพาะที่

263
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ


องุน พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม เ ถา มี ข นปกคลุ ม ทั้ ง ตั ว มี มื อ สำหรั บ เกาะยึ ด
ใบเดี่ ย วออกสลั บ กั น ขอบใบรอยหยั ก ใบมี ข นดอกออกเป น ช อ มี สี เขี ย วออก
เหลือง ผลกลมรี ฉ่ำน้ำ รสหวานอมเปรี้ยว สรรพคุณ บำรุงกำลัง บำรุงเลือด
บำรุงไต บำรุงกระดูก แกไอ แกปวดขอ เปนตน
อบเชย พืชสมุนไพรมีหลายชนิด ไดแก อบเชยไทย อบเชยเทศ อบเชยญวน อบเชยปา
หรืออบเชยเถา อบเชยจีน สรรพคุณ บำรุงดวงจิต แกออนเพลีย ขับผายลม
บำรุงธาตุ แกบิด แกสันนิบาต เปนตน
อบเชยทั้งสอง

พืชสมุนไพร ๒ ชนิด คือ อบเชยไทย และ อบเชยเทศ ดูเพิ่มเติมที่ อบเชย
ท ย
บ ้าน
วื้นเรียบมัน สีเขียวเขม ดอก
อบเชยเทศ พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบรูปหอกปลายและโคนแหลม
เสนใบตามยาว ๓ เสน ใบคอนขางหนา ขอบและผิ
ล ะ พ

ไน ทยย ขับผายลม
เล็กชอสีเหลืองออน ผลรูปไข ผิวเปลือกเรียบบาง สรรพคุณ แกลมอัณฑพฤกษ
ปลูกธาตุใหเจริญ แกไขสันนิบาต แกออนเพลี
พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมลมยลุ์แกผ
เปนปลอง ๆ เปลือกลำตนพแข็ทงสีมวงแดงหอกแคบ ๆ ดอกสีขาว ออกตรงยอด
ออยแดง ตระกูลเดียวกับออยตาง ๆ ขึ้นเปนกอ ลำตน

า รแ ณ ทั้งตนแก ปสสาวะพิการ แกไอ เปนตน เรียกวา


า กมี
รวมกันเปนชอยาว สรรพคุ


ั ญ
ออย หรือ ออยดำ ก็
ิป ดหนึ่ง เปนไมลมลุก ลำตนไมมีหนาม ดอกสีฟาอมมวง ใชรากมา
พืชสมุนูมไพรชนิ
อังกาบ
อ ง ภ
ค รปรุ ง ยา สรรพคุณ ใชขับปสสาวะ ฟอกเลือดประจำเดือน เปนตน
อายเหนียว
ง ค ุ้ม พืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เปนไมพุม ลำตนตั้งตรง กิ่งกานมีขนละเอียด ใบเปนใบ
กอ ประกอบชนิดมีใบยอยใบเดียว เรียงสลับดอกออกเปนชอ สีแดงแกมมวง มีผล
เปนฝก สรรพคุณ ขับปสสาวะ ขับพยาธิ เปนตน บางครั้งเรียกอีเหนียว หญาตืด
แมว นางเหนียว เปนตน
อำพัน สัตวสมุนไพรมี ๒ ชนิด ไดแก อำพันเกษร และ อำพันทอง อำพันเกษร ไดมา
จากขี้ปลาวาฬ ลักษณะ เปนวัตถุสีเทา มีกลิ่นหอม ลอยอยูในทะเลหรือริมฝง
ทะเล บางที เรี ย กว า อำพั น ขี้ ป ลา อำพั น ทองได ม าจากน้ ำ กามคุ ณ ปลาวาฬ
ลั ก ษณะ เป น วั ต ถุ สี เ หลื อ ง มี ก ลิ่ น หอม ลอยอยู ใ นทะเล หรื อ ริ ม ฝ ง ทะเล
สรรพคุณ แกลม แกเสมหะ บำรุงกำลัง บำรุงความกำหนัด บำรุงหัวใจ มีรสคาว
มัน

264
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

อุตพิด พืชสมุนไพรมี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งใบเปนแฉกกลางรูปไขปลายแหลม มีชนิดหนึ่ง


รูปใบแยกเปน ๓ แฉก เปนไมลมลุกเนื้อออน มีหัวอยูในดิน ดอกออกเปนชอ
บานเวลาเย็นมีกลิ่นเหม็น สรรพคุณ กัดฝาหนอง สมานแผล เปนตน เรียกวา
บอนแบว มะโหรา ก็มี
เอื้องเพ็ดมา พื ช สมุ น ไพรชนิ ด หนึ่ ง เป น ไม ล ม ลุ ก เลื้ อ ยพั น ต น ไม อื่ น ลำต น เป น ปล อ ง ๆ
สีแดงเรื่อ ๆ สูงราว ๒-๓ ฟุต ดอกออกเปนชอเล็ก ๆ สีขาวเปนกระจุกที่ยอด
เอื้องเพ็ดมามี ๒ ชนิด คือ ชนิดใบเล็กยาว เรียกพันธุตัวผู ชนิดใหญยาวเรียก
พันธุตัวเมีย สรรพคุณ ขับปสสาวะ ขับพยาธิ เปนตน เรียกวา พญาดง ผักบังใบ
ผักไผน้ำ ก็มี

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แ ผ
รแ พท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

265
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

บรรณานุกรม
กรมศิลปากร. จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. กรุงเทพฯ : บริษัทอาทิตย โพรดักส กรุปจำกัด,
๒๕๔๕.
โครงการเผยแพรเอกลักษณของไทยฯ กระทรวงศึกษาธิการ. 2522. ตำรายาจารึกวัดราชโอรสและพระโอสถ
พระนารายณ.
คณะกรรมการคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย. ตำราอางอิงสมุนไพรไทย เลม ๑ . กรุงเทพฯ :
บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๕๑.


ชยันต พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ. คูมือเภสัชกรรมแผนไทยเลม ๑ น้ำกระสายยา. กรุงเทพฯ : บริษัท
ไ ท
้าน
อัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๕.

ื้นบ
ชยันต พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ. คูมือเภสัชกรรมแผนไทยเลม ๓ เครื่องยาสัตววัตถุ. กรุงเทพฯ :
บริษัทอัมรินทรพริ้นติ้ง แอนดพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๕.
ละ พ
ย แ
ไท
ชยันต พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ. คูมือเภสัชกรรมแผนไทยเลม ๔ เครื่องยาธาตุวัตถุ. กรุงเทพฯ :

ผ น
บริษัทอัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๕.
ย ์แ
พท
ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต และวิเชียร จีรวงส. ๒๕๔๔. คำอธิบายตำราพระโอสถพระนารายณ

รแ
ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษามหาราชา ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒. อมรินทร และมูลนิธิ

ภูมิปญญา, กรุงเทพมหานคร.
าก
ัิปญญ
นันทวัน บุณยะประภัศร, บรรณาธิการ. ศัพทแพทยไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท ประชาชน จำกัด, ๒๕๓๕.

ภ ม

อง
ราชบัณฑิตยสถาน.พจนานุกรมศัพทแพทยและเภสัชกรรมแผนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน . กรุงเทพฯ : สำนัก

ค ร
กิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก, ๒๕๕๖.

ง ค มุ้
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. คัมภีรเภสัชรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: บริษัทศิลปสยามบรรจุภัณฑและการพิมพ, ๒๕๔๗.
ก อ
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส, ๒๕๔๐.
สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข. ๒๕๕๕.
ประมวลสรรพคุ ณ สมุ น ไพรไทย ๑. สำนั ก งานกิ จ การโรงพิ ม พ องค ก ารสงเคราะห ท หารผ า นศึ ก ,
กรุงเทพมหานคร.
สำนักคุมครองภูมิปญญาการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก. ตำราแผน
ปลิงของไทย. พิมพครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก ในพระบรมราชูปภัมภ,
๒๕๕๔.
หมอเสงี่ ย ม พงษ บุ ญ รอด. ๒๕๒๒. ไม เ ทศเมื อ งไทย สรรพคุ ณ ของยาเทศและยาไทย. โรงพิ ม พ ก รุ ง ธน,
กรุงเทพมหานคร.

266
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ดัชนีตำรับยา
ชื่อ ขนานที่ หนา ชื่อ ขนานที่ หนา
น้ำมันชื่อสนั่นไตรภพ 117 90 ยาชื่อวาสังขวิไชย 67 51
ยากลอนทั้งปวง 18 18 ยาชื่อศุกขวิเรจนะโอสถ 60 42
ยากินอยูไฟมิได 170 138 ยาชื่อสังขรัศมี 87 69
ยาแกกลอนน้ำ 21 18 ยาชื่อสุริยาวุทธิ 57 42
ยาแกกลอนหิน 20 18 ยาชื่อหอมแทงทอง 189 153
ยาแกลมกลอนสันดาน 201 162 ยาชื่อเหลืองหรคุณ 81 66
ยาแกสรรพกลอนทั้งปวง 200 162 ยาตมชื่อเบญจขัน 31 24
ยาแกหืด 48 36 ยาตมภายในกินแก
ไ ท
24ย 21
ยาแกอติสารชื่อรัตนธาตุ 16 15 สันนิบาตตาเหลือง
บ ้าน 14
ยาชื่อขาวกะบัง 82 66
ะ พ
ยานี้ชื่อพรหมพักตร ื้น 15
ยาชื่อเขียวขี้ทอง 83 66
ย แล
ยานี้ชื่อภพวินาศ 193 156
ยาชื่อติสาร 17 15
น ไท
ยานี้ชื่อภานาชุณะ 137 105
ยาชื่อนารายณพังคาย 179 144
ย ์แ ผ
ยานี้ชื่อสมุทรเกลื่อน 15 15

พท
ยาชื่อเนาวหอย 118 90 ยาบำรุงธาตุ 149 120
ยาชื่อบรมสุขีวิเรจะณะ 186 150
า รแ ยาบำรุงเลือด 150,168 120,139
าก
ัิปญญ
ยาชื่อเบญจขัน 32 24 ยาประคบ 194 156
ยาชื่อมหาสมมิตร 121 93 ยาประจุดานทักขิณคุณ 178 144
ภ ม

อง
ยาชื่อมหาสมมิตร 188 153 ยาผายเลือด 166 138
ยาชื่อมหาสุริยาวุทธิ
ค ร 187 42 ยาผายเลือดเนาทั้งปวง 167 138
ยาชื่อมหาอนันตคุณ
ง ค มุ้ 150 ยาโรยปากแผล 7 6

ก อ
ยาชื่อราชวิเรจนโอสถ 59 42

267
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ดัชนีโรคและอาการ

ชื่อ ขนานที่ หนา


กระษัยดาน (45)1 - 135
กระหายน้ำ (15:6.) (32:6.)2 61,122 45,96
กระหายน้ำ (16) - 48
กระหายน้ำนัก (10:4.) (34:3.-4.) 38,131 30,102
กลอน (19) (45) - 57,135
กลอน (4:7.) (6:6.10.) (54:10.) 13,18,20,200 12,18,162
กลอน ๕ ประการ (4:2.) 13 12
กลอนน้ำ (4:3.5.) (6:11.) 13,21 12,18
ไ ท ย
้าน
กลอนลม (4:3.) (6:14.) 13,22 12,18
กลอนเลือด (4:4.) 13
ื้นบ 12
กลอนหิน (4:4.) (6:8.) 13,20
ละ พ 12,18
กลอนแหง (4:5.) (54:2.) 13,199
ย แ 12,162
กลอนเอ็น (6:7.8.) 19
น ไท 18
กลอนเอ็น ๕ ประการ (4:4.) 13
ย ์แ ผ 12

พท
กลาก (33:2.8.10.) 127,128,129 99
กลากเกลื้อน (28:9.-10.15.-16.) (33:7.14.)3
า รแ
106,108,127,130 84,99

าก
กอนในทอง (35:11.14.) (54:4.) 136,137,199 105,162

ัิปญญ
กำเริบเพื่อสันนิบาต (41:4.) 152 123
กำลังลมกลานัก (8:2.) 30 24
กินขาวกินนมมิได (32:6.)
ภ ม
ู 122 96
กินขาวมิได (52:8.10.)
ค ร อง 193 156

ง ค มุ้
กินอาหารมิได (1:9.) (36:5.9.) (54:6.) 3,138,139,199 3,108,162


กิมิชาติ ๘๐ จำพวก (42:7.) 156 126
เกลียวคอหนัก (1:12.) ก
เกิดเพื่อเลือดแลน้ำเหลือง (4:5.)
4
13
3
12
แกไข (16) - 48
แกบวม (35:14.) 137 105
แกริดสีดวงอันเกิดแตกองปถวี (9:14.) 37 27
ขบฟนตาเหลือก (11:4.) 45 33

1
กระษัยดาน พบในจารึกแผนที่ 45 เปนแผนภาพแผนปลิง ไมมีลำดับตำรับยา เนื่องจากไมมีตำรับยาในแผนภาพ ภาพแผนปลิงมีทั้งหมด
2
3 ภาพ คือ แผนจารึกที่ 16, 19 และ 45
กระหายน้ำ (15:6.) (32:6.) พบในจารึกแผนที่ 15 บรรทัดที่ 6 และจารึกแผนที่ 32 บรรทัดที่ 6 ในสวนคำจารึก อยูในตำรับยาขนานที่
3
61 และ 122 และอยูในหนาคำอานปจจุบันที่ 45 และ 96
กลากเกลื้อน (28:9.-10.15.-16.) (33:7.14.) พบในจารึกแผนที่ 28 อยูระหวางบรรทัดที่ 9 และ 10 และอยูระหวางบรรทัดที่ 15
และ 16 จารึกแผนที่ 33 พบในบรรทัดที่ 7 และบรรทัดที่ 14 อยูในตำรับยาขนานที่ 106, 108, 127 และ 130 อยูในหนาคำอาน
ปจจุบันที่ 84 และ 99

268
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


ขัดขอมือ ขอเทา (39:4.-5.) 147 117
ขัดเขา (54:5.) 199 162
ขัดโครง (4:6.) 13 12
ขัดหัวเหนา (6:6.16.) 19,22 18
ขัดอก (54:6.) 199 162
ขัดอุจจาระปสสาวะ (10:4.) 38 30
ขี้มิออก (6:11.) 20 18
ขึ้งโกรธเมื่อจับ (38:3.-4.) 144 114
แข็งดังแผนศิลา (48:3.) 177 144
แขนขาตาย (19) - 57
แขนตาย (45) - 135
ไ ท ย
้าน
ไข (19) - 57
ไข (5:16.) (14:2.) (34:14.16.) 17,57,133,134
ื้นบ 15,42,102
ไขจับ (16) -
ละ พ 48
ไขจับคลั่งเครือ (36:12.) 140
ย แ 108
ไขเจลียง (14:11.15.) (36:9.12.16.) (38:10.)
ไท
59,60,139,140,141,145

42,108,114
ไขเจลียงตัวรอน (16)

-
์แ ผ 48

พท
ไขเจลียงพระสมุทร (36:2.) 138 108
ไขเจลียงเพื่อดี (38:8.)
า รแ 145 114

าก
ไขเจลียงไพร (38:1.) 144 114

ัิปญญ
ไขเจลียงอากาศ (10:2.) 38 30
ไขตัวรอน (16) - 48
ภ ม

อง
ไขเพื่อดี (34:7.) 131 102


ไขเพื่อเสมหะ ปตตะ วาตะสมุฏฐาน (51:2.-3.) 188 153
ไขสันนิบาต (46:5.-6.)
มุ้ ค 166 138

อง
ไขออกดำแดง (34:9.) ค 132 102
ครั่นตัว (19) ก
ครั่นเนื้อครั่นตัว (6:6.)
-
18
57
18
ครานน้ำ (22:7.) 80 66
คลั่ง (18:16.) (31:10) (38:10.16.) (51:9.) 72,120,145,146,188 54,93,114,153
คลุมดีคลุมราย (31:3.) 119 94
คอเครือ (18:13.) 71 54
คัน (33:15.) 130 99
คันทั้งตัว (1:7.) 2 3
คันหูคันหนาตา (1:9.) 3 3
คัมภีรปถมจินดาผูก ๕ (42:8.) 156 126
คางแข็ง (8:16.) 33 24
คางทูม (1:3.) 1 3
คอแหบแหง (18:13.) 71 54
269
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


จตุธาตุ (42:6.) 156 126
จตุบาทวาโย (1:2.) 1 3
จักษุโรค (23:2.13.) 84,87 69
จับเปนคราวๆ เวนทีหนึ่ง (1:11.-12.) 4 3
จับโปง (24:4.) 88 72
จับเพื่อดี (38:16.) 146 114
จับแลชักตับใหขึ้น (37:15.-16.) 143 111
จับสะทาน (10:3.7.11.) 38,41 30
จำเริญเพลิงธาตุ (25:8.) 94 75
จำหระ (44:10.) 163 132
จุกเสียด (48:6.) (54:3.) 177,199 144,162
ไ ท ย
้าน
จุกเสียดแนนอก (25:12.) 96 75
เจ็บกระบอกตา (16) -
ื้นบ
48
เจ็บกระหมอม (43:2.-3.) 159
ละ พ 129
เจ็บตัว (19) -
ย แ 57
เจ็บทอง (4:6.) (6:6.15.) 13,18,22
น ไท 12,18
เจ็บทองหนัก (46:12.) 171
ย ์แ ผ 138

พท
เจ็บทั่วสรรพางค (54:4.) 199 162
เจ็บทั่วสารพางคศีรษะ (43:3.)
า รแ
159 129

าก
เจ็บศีรษะ (16) - 48

ัิปญญ
เจ็บสรรพางค (22:5.) 80 66
เจ็บสันหลังแลกระดูก (26:7.-8.) 99 78
ภ ม

อง
เจ็บหลัง (1:12.) (6:6.15.) 4,18,22 3,18


เจ็บอก (4:6.) (24:6.) 13,88 12,72
เจ็บเอว (16)
มุ้ ค - 48
ใจขุนหมอง (51:4.)
อง ค 188 153

ชักเขมนไปทั้งกาย (11:4.-5.12.16.)
ชักเทาชักมือ (8:4.) (11:3.9.11.)
45,46,47
30,45,46
33
24,33
ชักปากเฟด (44:4.) 162 132
ชักมือกำชักตีนกำ (17:3.) 66 51
ช้ำรั่ว (27:5.) 101 81
ช้ำรั่วเพื่อโลหิต (27:15.-16.) 103 81
ชูกำลัง (51:9.17.) 188,189 153
เช็ดฝเอ็น (39:9.) 147 117
เชื่อมมัว (5:3.) 14 15
เชื่อมมึน (34:3.) 131 102
ซาง (37:6.) 142 111
ซางขาวเปลือก (15:3.) 61 45
ซางขึ้นหัวตับ (37:11.) 142 111
270
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


ซางโค (15:3.4.-5.9.11.14.17.) 61,62,63,64,65 45
ซางจร (15:3.) (22:3.-4.) 61,80 45,66
หละ (22:4.) 80 66
ซางจร (42:3.) 156 126
ซางโจร (22:3.5.9.11.13.) 80,81,82 66
ซางโจรละอองเขียว (22:15.-16.) 83 66
ซางชาง (32:2.-3.4.5.8.9.10.15.-16.) 122,123,124,126 96
ซางแดง (22:10.) 80 66
ซางนางริ้น (22:3.) 80 66
ดากแตก (22:7.) 80 66
ดาน (20:15.) 75

60
ท ย
้าน
ดานกระษัย (20:7.) 73 60
ดานตก (37:7.) 142
ื้นบ 111
ดานตะคุณ (48:17.) 179
ละ พ 144
ดานเถา (20:2.11.) (30:15.) 73,74,118
ย แ 60,90
ดานเถามูตรแดงติดจะเหลือง (20:6.-7.) 73
น ไท 60
ดานทะลุน (19)

-
์แ ผ 57

พท
ดานทะลุน (20:7.) 73 60
ดานทักขิณคุณ (48:2.)
า รแ 177 144

าก
ดานพืช (30:8.15.) 116,118 90

ัิปญญ
ดานลมชายแข็ง (37:8.) 142 111
ดานเสมหะ (37:8.) 142 111
ภ ม

อง
ดีกำเริบ (49:3.) (55:4.-5.) 180,202 147,165


เดินมิไดสะดวก (38:5.) 144 114
มุ้ ค
แดงเปนแผนพองขึ้นทั้งตัว (33:15.-16.) 130 99

อง ค
ตกมูกตกเลือด (15:6.) (18:4.) 61,68 45,54

ตอ (23:3.)

ตรีสมุฏฐาน (42:6.) 156
84
126
69
ตอเนื้อ (23:10.) 86 69
ตอลำใย (23:11.) 86 69
ตอสาย (23:10.) 86 69
ตอหมอก (23:13.) 87 69
ตะคริว (19) - 57
ตะคริว (24:4.) 88 72
ตะคริวทั้งสองหนาแขง (45) - 135
ตับตกขางขวาซาย (37:7.) 142 111
ตับทรุด (37:3.) 142 111
ตับยอย (37:3.15.) 142,143 111
ตับเรื้อย (37:3.) 142 111
271
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


ตับหยอน (37:12.) 142 111
ตัวเย็นเปนเหน็บ (47:3.) 172 141
ตัวรอน (15:6.8.) 61 45
ตัวรอน (19) - 57
ตัวรอนเปนเปลว (34:3.) 131 102
ตาขลัวน้ำตาแหง (10:5.) 38 30
ตาช้ำ (23:3.) 84 69
ตานโจร (42:5.12.15.) 156,157,158 126
ตานโจรตกเสมหะโลหิต (42:12.) 157 126
ตาเปนหมอกมัว (23:4.) 84 69
ตามืด (26:8.) (54:5.) 98,199 78,162
ไ ท ย
้าน
ตามืดเปนตอ (16) - 48
ตามืดมัว (16) -
ื้นบ
48
ตาริดสีดวง (23:14.) 87
ละ พ 69
ตาหมอก (16) -
ย แ 48
ตาเหลือง (37:11.-12.) 142
น ไท 111
ตีนตายหยิกมิเจ็บ (16) -
ย ์แผ 48

พท
ตีนมือตาย (26:3.) 98 78
ตีนเย็นถึงนอง (36:4.)
า รแ
138 108

าก
เตโชธาตุสมุฏฐาน (14:9.) 58 42

ัิปญญ
ถูกเย็นเขามิไดถูกรอนสงบ (48:5.) 177 144
เถา (20:15.) 75 60
ภ ม

อง
ทรางโคเจาเรือน (15:3.) (22:3.) 61,80 45,66


ทองขึ้น (25:3.) (54:6.) 93,199 75,162
ทองมาน (19)
มุ้ ค - 57


ทองมาน (35:2.-3.) (50:8.)
ง ค 135,186 105,150

ทั้งลงทั้งราก (15:6.)

ทองมานเพื่อเสมหะ (35:7.) 135
61
105
45
ทำเพทดุจสันนิบาต (11:2.-3) 45 33
ทุรนทุราย (31:10.) 121 93
ทุราวสา (27:15.) (53:5.) 103,195 81,159
ทุราวสา ๑๒ ประการ (3:15.) 12 9
เทาเย็น (10:3.) 38 30
โทษดีเปนกำลัง (38:5.-6.) 144 114
โทษสันนิบาต (10:5.) 38 30
โทษเสมหะ (36:6.) 138 108
ธาตุแปรเปนริดสีดวง (5:16.) 17 15
ธาตุวิปริต (25:9.) 95 75
ธาตุสมุฏฐาน (37:6.) 142 111
272
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


นองคู (54:5.) 199 162
นอนมิหลับ (16) - 48
นอนมิหลับ (7:15.) 29 21
น้ำจิตนั้นดุจวานร (44:3.-4.) 162 132
น้ำตาตก (43:8.) 159 129
น้ำลายฟดหาสติมิได (44:4.) 162 132
น้ำหนวกไหล (39:15.) 148 117
น้ำเหลืองไหล (2:14.-15.) 8 6
น้ำเหลืองไหลเซาะ (2:4.) 5 6
เนาเขาเปนน้ำลางเนื้อ (21:4.-5.) 76 63
เนื้อชาสาก (9:8.) 34 27
ไ ท ย
้าน
แนนอก (48:6.) 177 144
บริโภคอาหารมิได (9:4.-5.) (48:6.) 34,177
ื้นบ 27,144
บวมทั้งตัว (9:10.) (50:8.) 35,186
ละ พ 27,150
บวมมือบวมตีน (9:10.) 35
ย แ 27
บำรุงธาตุ (40:5.6.) 149
น ไท 120
บำรุงไฟธาตุ (40:8.)
ย ์แ
149
ผ 120

พท
บำรุงเลือด (40:5.-6.8.) (46:8.) 149,150,168 120,138
บิดปวดมวน (22:7.)
า รแ 80 66

าก
บิดลงเลือด (29:5.-6.) 111 87

ัิปญญ
บิดเลือดเนา (29:11.) 114 87
เบาขาว (27:3.10.) (53:3.) 101,102,195 81,159
ภ ม

อง
เบาดั่งน้ำซาวขาว (27:4.) 101 81


เบาดำ (53:4.) 195 159
เบาแดง (53:3.)
มุ้ ค 195 159

อง ค
เบาเปนน้ำคาวปลา (27:3.) 101 81

เบาเปนมันบุพโพมีสีเหลือง (3:3.-4.)
เบาเปนมันสีขาว (3:5.)
9
9
9
9
เบาเปนมันสีดำ (3:5.) 9 9
เบาเปนหนอง (27:4.) 101 81
เบาเปนหนองแลเลือดแลลำลาบ (3:15.-17.) 12 9
เบาหยด (21:5.) 76 63
เบาเหลือง (53:3.-4.) 195 159
เบาออกมาเปนมันสีดำ (3:6.) 9 9
เบือนตัวมิได (43:11.) 161 129
ประกายดาษ (34:9.) 131 102
ประวาตะคุณ (48:17.) 185 144
ปวง (19) - 57
ปวงลม (25:2.) 93 75
273
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


ปวงหิว (47:2.) 172 141
ปวดขบ (30:5.) 116 90
ปวดทอง (44:7.) 162 132
ปวดมวน (22:7.) 80 66
ปวดมวนในทอง (46:16.) 171 138
ปวดศีรษะ (36:5.) (44:13.) 138,164 108,132
ปวดศีรษะ (45) - 135
ปวดศีรษะปะกัง (45) - 135
ปวดแสบ (9:4.) 34 27
ปวดหัว (16) - 48
ปวดหัวกลางกระหมอมทัดดอกไม (19) - 57
ไ ท ย
้าน
ปะโครงแลอก (4:7.) 13 12
เสียดสีขางทองแลหัวเหนา (4:7.) 13
ื้นบ
12
ปตคาด (45) -
ละ พ 135
ปตคาดดูดสะบัก (16)
ย แ - 48
ปสสาวะแดง (38:5.) 144
น ไท 114
ปากเบี้ยว (45) -
ย ์แผ 135

พท
ปตตะสมุฏฐาน (55:15.-16.) 205 165
เปอยลามเปนหนอง (2:14.)

8
รแ 6

าก
เปอยออกเปนขุม (22:6.-7.) 80 66

ัิปญญ
ไปเบาบอยๆ (53:2.-3.) 195 159
ผด (15:5.) 61 45
ภ ม

อง
ผอมเหลือง (22:7.) 80 66


ผายเลือด (46:2.) 166 138
ผายเลือดเนา (46:6.)
มุ้ ค 167 138
ผิวเนื้อชาสาก (9:5.)
อง ค 34 27
แผนปลิง (19)
แผนปลิงคว่ำ (16)
ก -
-
57
48
ฝกระแช (19) - 57
ฝคัณฑมาลา (39:9.) 147 117
ฝดาษ (18:2.) (46:6.) 68,166 54,138
ฝดาษเกิดเพื่ออาโปธาตุเดือน 11,12 และเดือน 1 (18:2.) 68 54
ฝในตา (23:7.) 84 69
ฝประคำรอย (39:9.) 147 117
ฝปลวก (20:5.) 73 60
ฝเปอยเนา (28:14.-15.) 108 84
ฝเพื่อเสมหะ (18:7.8.9.15.-16.) 68,69,70,72 54
ฝมะเร็งทรวง (20:6.) 73 60
ฝมูตรดำ (20:7.) 73 60
274
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


ฝลูกหนู (39:9.) 147 117
ฝหัด (29:17.) 115 87
ฝเอ็น (24:5.) 88 72
พยาธิ (14:15.) 60 42
พรรดึก (6:11.) (54:3.) 20,199 18,162
พรึงขึ้นทั้งตัว (15:5.) 61 45
พิฆาต (37:4.7.) 142 111
พิศไข (51:9.) 188 153
พิษกาฬ (47:10.) 174 141
พิษซางชาง (32:9.) 123 96
พิษรอน (23:15.) 87 69
ไ ท ย
้าน
พิษลงพิษราก (47:10.) 174 141
พิษอติสาร (5:10.) 15
ื้นบ 15
พุทธยักขวาโย (26:7.) 99
ละ พ 78
เพอ (51:9.) 188
ย แ 153
ฟดฟาดกุมาร (37:5.) 142
น ไท 111
ไฟเดือนหา (34:9.)
ย ์แ
104
ผ 102

พท
ภาหุนะวาต (45) - 135
มสุริกาโรค (33:16.)
า รแ 130 99

าก
มหานิล (34:9.) 131 102

ัิปญญ
มหานิลกาฬ (22:4.) 80 66
มหาเมฆ (34:9.) 131 102
ภ ม

อง
มองครอ (9:11.) (44:13.) 36,164 27,132


มะเมอเพอพก (38:10.) 145 114
มะเร็ง (28:2.9.)
มุ้ ค 104,106 84

อง
มะเร็งคชราช (28:6.) ค 104 84

มะเร็งคุค (28:8.)
มะเร็งเปอย (28:8.)
105
105
84
84
มะเร็งเพลิง (28:8.11.14.) 105,107,108 84
มะเร็งไฟฟา (28:10.) 106 84
มักขึ้งโกรธ (31:4.) 119 93
มักใหพรึงทั้งตัว (1:7.) 2 3
มักใหหนาว (1:6.) 2 3
มาน (49:3.) 180 147
มิไดเปนมัน (53:4.) 195 159
มือกระดาง (54:4.) 199 162
มุตกิด (21:13.16.) (27:2.5.8.10.14.) 78,79,101,102,103 63,81
มุตฆาต (21:13.) (53:2.8.9.11.16.)
78,195,196,197,198 63,159
275
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


มูกเลือด (32:10.) 124 96
เมื่อยขบ (6:7.) (39:3.9.) (54:5.) 18,147,147,199 18,117,162
เมื่อยขบทั่วสรรพางค (36:9.) 139 108
เมื่อยขบทุกขอกระดูก (36:3.) (39:13.) 138,148 108,117
เมื่อยแขงขา (4:6.) 13 12
เมื่อยตีนมือ (6:16.-17) (24:4.) 22,88 18,72
เมื่อยสันหลัง (24:5.) 88 72
เมื่อยเสียบแทง (19) - 57
ยอดอกเปนดาน (48:3.) 177 144
ยาไขสันนิบาต (52:2.) 190 156
ยาชื่อมหาสมมิตร (51:5.) 188 153
ไ ท ย
้าน
ยาชื่อหอมแทงทอง (51:9.-10.) 189 153
ยาปะคบ (52:11.-12.) 194
ื้น
156

เย็นในอก (18:3.-4.) 68
ละ พ 54
เย็นไปทั้งฝาเทา (26:3.-4.) 98
ย แ 78
รองอยูทั้งกลางวันกลางคืน (48:4.-5.) 177
น ไท 144
รอน (7:12.) (11:11.) (38:10.)
์แ
26,46,145
ย ผ 21,33,114

พท
รอนกระหาย (36:4.) 138 108
รอนกระหายน้ำ (38:4.)
า รแ
144 114

าก
รอนนัก (7:10.) (52:4.) 26,190 21,156

ัิปญญ
รอนในอก (10:3.) 38 30
รอนระส่ำระสาย (11:4.) 45 33
ภ ม

อง
รอนเหน็บสะโพก (45) - 135


ระคายลำคอ (13:4.) 53 39
ระดู (40:4.)
มุ้ ค 149 120

อง
ระดูมาแลวกลับแหงไป (40:4.)ค 149 120

ระหวย (51:4.)

ระส่ำระสาย (5:2.) (31:3.17.) (51:9.) 14,119,121,188
188
15,93,153
153
รัตตะปตตะ (19) - 57
รัตตะปตตะ (41:15.) 155 123
รัตตะปตตะกำเริบ (55:15.-16.) 205 165
รัตตะปตตะเพื่อดี (55:7.9.11.) 202,203,204 165
รัตตะปตตะเพื่อสันนิบาต (41:8.10.) 152,153 123
รัตตะปตตะโรค (41:2.) (49:2.) (55:2.) 152,180,202 123,147,165
รัตตะปตตะโรคเพื่อสันนิบาต (41:12.) 154 123
รัตตะปตตะเสมหะโรค (49:7.9.10.11.14.15.-16.) 180,181,182,183,184,185 147
ราก (45) - 135
ราก (7:14.) 28 21
รากแตเชาถึงเที่ยง (25:6.) 93 75
276
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


รากลมเปลา (24:6.) 88 72
รากเสลด (45) - 135
ราทยักษ (19) - 57
ราทยักษ (20:12.) 74 60
รำมะนาด (26:8.) 99 78
ริดสีดวง (19) - 57
ริดสีดวง (9:2.7.9.11.-12.14.15.) (13:7.) (23:7.) 34,35,36,37,53,84, 27,39,69,
(29:4.10.) (50:8.16.) 110,113,186,187 87,150
ริดสีดวงผอมเหลือง (9:11.) (40:16.-17.) 36,151 27,120
ริดสีดวงเลือด หนอง เสลด เลือดเนา (29:8.-9.) 113 87
ริดสีดวงไอเปนโลหิต (9:15.) 37
ไ ท ย
27

้าน
รุกขชิวหา (9:2.7.-8.12.) 34,36 27
รุกขชิวหาริดสีดวง (9:9.) 35
ื้นบ 27
เรื้อนเหล็ก (28:10.) 106
ละ พ 84
โรคเบาขาวเบาดำ (3:11.) 11
ย แ 9
โรคเบาแดง (3:9.) 10
น ไท 9
โรคสันฑฆาต (21:3.11.)
ย ์แ
76,77
ผ 63

พท
โรคสำหรับบุรุษไสดวนไสลาม (2:2.-3.) 5 6
โรหิณีขึ้นตนขา (45)
า รแ - 135

าก
โรหิณีขึ้นถึงคอ (45) - 135

ัิปญญ
ลงทอง (5:3.) (22:7.) 14,80 15,66
ลงเปนโลหิต (37:11.) 142 111
ภ ม

อง
ลงราก (25:16.) 97 75


ลงเลือด (5:12.) 16 15
ลงเลือดสดๆ (5:10.)
มุ้ ค 16 15

อง ค
ลงเลือดเหม็นเนา (5:10.) 16 15

ลงแลตกเสมหะโลหิต (42:15.-16.)
ลม ๘๐ จำพวก (14:7.)
158
57
126
42
ลมกระษัย (19) - 57
ลมกลอนจุกเสียด (54:11.) 200 162
ลมกลอนสันดาน (54:12.) 200 162
ลมขบ (44:7.) 162 132
ลมขบในขอกระดูก (39:2.-3.) 147 117
ลมจับนองสั่น (16) - 48
ลมจุกเสียด (9:11.) (30:16.) (50:8.15.) 36,118,186,187 27,90,150
ลมชื่อกุมภัณฑยักษ (22:4.-5.) 80 66
ลมชื่อพิรุศวาโย (43:10.) 161 129
ลมชื่อลมอริต (32:4.) 122 96
ลมชื่อหัศคินีจร (15:4.) 61 45
277
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


ลมตีนตายมือตาย (39:9.13.) 147,148 117
ลมบาดทะยัก (11:2.9.15.-16) 45,45,47 33
ลมบาหมู (44:2.7.10.12.16.-17.) 162,163,164,165 132
ลมปวง (19) - 57
ลมปตคาด (20:2.-3.) (44:10.) 73,163 60,132
ลมเปนกอนเปนเถาในทอง (50:8.) 186 150
ลมเปลี่ยวดำ (16) - 48
ลมพิษ (19) - 57
ลมพุพอง (44:8.) 162 132
ลมมีพิศ (51:13.) 189 153
ลมมีพิษทั้งปวง (37:6.) 142 111
ไ ท ย
้าน
ลมรัตตะปตตะ (16) - 48
ลมรัทวาต (19) -
ื้นบ
57
ลมราทยักษ (19) -
ละ พ 57
ลมลง (37:5.) 142
ย แ 111
ลมลงแหงใดดิ้นไปดุจตีปลา (44:4.-5.) 162
น ไท 132
ลมลำโฮก (19) -
ย ์แผ 57

พท
ลมสันนิบาตอนึ่งชื่อริตะวาต (26:10.-11.) 100 78
ลมเสมหะ (40:16.)
า รแ
150 120

าก
ลมเสียบแทง (39:9.) 147 117

ัิปญญ
ลมหทัยวาต (31:2.7.) 119,119 93
ลมหทัยวาตกระทบหัวใจ (31:16.) 121 93
ภ ม

อง
ลมหทัยวาตะกำเริบ (31:2.7.) 119 93


ลมหมูหนึ่งชื่ออัตพังคีวาโย (43:1.-2.) 159 129
มุ้ ค
ลมหมูหนึ่งชื่อภุมราเกิดที่หัวใจจับมาที่ศีรษะ (1:9.) 3 3

อง ค
ลมหมูหนึ่งชื่อสรรพวาโยจับเปนคราว (1:11.) 4 3

ลมหมูหนึ่งชื่ออัควารันตะเจ็บทัวสารพางค (1:6.)
ลมใหตายไปขางหนึ่ง (44:7.)
2
162
3
132
ลมใหหลังโกง (44:7.10.) 162,163 132
ลมอนึ่งชื่อภาหุรวาโย (43:6.) 160 129
ลมอัมพาต (19) - 57
ลมอัมพาต (20:12.) 74 60
ละออง (22:4.) (37:6.) 80,142 66,111
ละอองขาว (22:13.) 82 66
ละอองขึ้นดาดไปทั้งลิ้น (22:8.) 80 66
ละอองชื่อเนียรกรรถี (32:3.-4.) 122 96
ละอองชื่อมหาเมฆ (15:4.) 61 45
ละอองตีนมือนั้นขาว (36:5.-6.) 138 108
ละอองตีนมือนั้นเขียว (10:5.) 38 30
278
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


ละอองตีนมือนั้นแดง (38:5.) 144 114
ละอองทับทิม (22:4.) 80 66
ละอองเพลิง (22:11.) 81 66
ละอองไฟฟา (34:9.) 131 102
ลำเสน (20:3.) 73 60
ลิ้นกระดางคางแข็ง (8:4.) (11:3.9.11.) (17:4.) (51:9.) 30,45,46,66,188 24,33,51,153
ลิ้นเลือก คอเลือก (9:4.) 34 27
ลิ้นหด (8:16.) 33 24
ลุกขึ้นมิได (43:8.) 160 129
เลือดตกในคอในอก (29:4.) 110 87
เลือดตกหมกอยู (8:12.) 32 24
ไ ท ย
้าน
เลือดตกหลุมขังอยูที่ในทองนอย (46:12.) 171 138
เลือดตีขึ้น (8:14.) 33
ื้นบ 24
เลือดเนา (17:4.-5.) 66
ละ พ 51
เลือดเนาเลือดราย (17:7.) (40:15.) (46:8.) 66,151,167
ย แ 51,120,138
เลือดเนาอันกลัดทวาร (8:10.) 31
น ไท 24
เลือดมีพิศ (51:14.) 189
ย ์แผ 153

พท
เลือดราย (46:5.) 166 138
เลือดสดเปนกอน (21:4.)
า รแ 76 63

าก
เลือดหนองไหล (23:7.) 84 69

ัิปญญ
เลื่อมตามิขึ้น (23:7.) 84 69
โลหิตช้ำ (27:5.) 101 81
ภ ม

อง
โลหิตตกออกมาจากทวารเบา (21:3.-4.) 76 63


โลหิตเนาจาง (21:6.) 76 63
โลหิตมาน (49:2.)
มุ้ ค 180 147


โลหิตมีสีแดง (3:4.)
ง ค 4 9

โลหิตระคน (41:2.-3.)
โลหิตระคนกับดวยดี (55:2.-3.)
152
202
123
165
โลหิตสุกตกออกมา (21:6.) 76 63
วางปลิง (16) - 48
วาตะเสมหะดี (41:3.) 152 123
วาโยธาตุ (24:7.8.9.11.13.16.-17.) 88,89,90,91,92 72
วาโยธาตุกำเริบ (24:2.) 88 72
วาโยธาตุหยอน (24:2.) 88 72
วาโยพิการ (24:3.) 89 72
วาโยหยอน (24:2.) 88 72
วิตถาร (37:8.) (42:7.-8.) 142,156 111,126
วิปริต (37:6.) (42:6.) 142,156 111,126
ศีรษะสั่น (44:13.) 164 132
279
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


สตรีภาพ (40:2.) 149 120
สรเภทโรค (13:2.) 53 39
สรรพไข (34:12.) 132 102
สรรพไขเจลียง (38:15.) 146 114
สรรพตานโจร (42:10.) 156 126
สรรพพยาธิ (33:14.-15.) 130 99
สรรพพิษตอ (23:9.) 85 69
สรรพลม (26:15.) (30:16.) (44:8.) 100,118,162 78,90,132
สรรพเลือดเนา (8:12.) 31 24
สรรพอุทรโรค (35:6.13.-14.) 135,137 105
สลบ (8:3.) (17:3.) (18:16.) (22:9.) 30,66,72,80

24,51,54,66
ไ ท
้าน
สลักที่คาง (45) - 135
สวิงสวาย (51:4.) 188
ื้นบ
153
สวิงสวายในใจ (47:4.) 172
ละ พ 141
สองเกลียวคอนั้นแข็ง (24:5.) 88
ย แ 72
สะทาน (7:10.) 25
น ไท 21
สะทานหนาว (38:10.) 145
ย ์แผ 114

พท
สะทานหนาวสั่น (38:4.) 144 114
สะโพกตาย (16)

-
รแ 48

าก
สะอึก (7:12.13.) 27 21

ัิปญญ
สันทฆาต (21:9.13.16.) 76,78,79 63
สันนิบาต (7:2.) (14:3.) (41:16.) (44:10.) 23,57,155,163 21,42,123,132
ภ ม

อง
สันนิบาตดำแดง (52:9.-10.15.) 193,194 156


สันนิบาตตาเหลือง (7:7.-8.9.) 23,24 21
สันนิบาตทั้ง ๗ ประการ (7:6.)
มุ้ ค 23 21

อง
สันนิบาตเพื่อดีพลุง (7:4.) ค 23 21

สันนิบาตเพื่อน้ำเหลือง (7:5.)
สันนิบาตเพื่อเลือด (7:3.-4.)
23
23
21
21
สันนิบาตเพื่ออัมพฤกษ (7:5.) 23 21
สันนิบาตวิธี (35:3.) 135 105
สันนิบาตสะแกเวียน (7:5.) 23 21
สันนิบาตอุทรโรค (35:2.) 135 105
สับสีกอกปลิง (34:5.) 131 102
สัมประชวร (14:4.-5.) 57 42
สำแดง (3:6.) (22:5.) 9,80 9,66
สำรอกเสมหะ (12:6.) 48 36
สำแลง (25:7.8.9.10.11.15.) (42:5.) 93,94,95,96,97,156 75,126
สิตะมัคคะวาโย (26:2.) 98 78
สีดำเหลืองแดง (55:5.) 202 165
280
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


เสนกระดาง (39:4.) 147 117
เสนขอด (39:4.) 147 117
เสนขอดตึงกระดางแข็ง (39:16.) 148 117
เสนตึง (39:4.) 147 117
เสนเอ็นหดหอ (39:13.) 148 117
เสมหะ (13:7.) 53 39
เสมหะ ดี ลม (14:3.5.) 57 42
เสมหะ(16) - 48
เสมหะมีพิษ (51:15.) 189 153
เสมหะมีสีแดงเจือขาวมาก (49:4.) 180 147
เสมหะมูกตก (43:7.-8.) 160 129
ไ ท ย
้าน
เสมหะแหง (54:6.) 199 162
เสียงแหบแหง (54:5.) 199
ื้นบ 162
เสียดคาง (45) -
ละ พ 135
เสียดโครง (26:7.) 99
ย แ 78
เสียดชายโครง (20:5.11.) 73,74
น ไท 60
เสียดชายโครงตลอดถึงลำคอ (20:16.)
ย ์แ
75
ผ 60

พท
เสียตา (1:4.) 1 3
เสียแมแสลงพอ (18:4.)
า รแ 68 54

าก
เสียวไปทั้งกาย (36:5.) 138 108

ัิปญญ
แสลงนุงขาวหมขาว (18:4.-5.) 68 54
โสภโรค (35:11.) 137 105
ภ ม

อง
ไสดวน ไสลาม (28:6.) 104 84


หงสระทด (34:9.) 131 102
หทัยโรค (44:3.)
มุ้ ค 162 132

อง
หนักหนาตา (24:6.) ค 88 72

หนาวนัก (52:2.)
หนาวสะทาน (36:4.)
190
138
156
108
หนาอกแข็งดุจแผนเหล็ก (30:3.) 116 90
หละ (37:6.) 142 111
หละชื่อนิลกาฬ (15:4.) 61 45
หละชื่อแสงพระจันทร (32:3.) 122 96
หอบ (5:3.) (12:12.) (36:4.) 14,51,138 15,36,108
หอบหืด (12:6.) 48 36
หอบอติสาร (5:5.-6.) 14 15
หัวเหนา (20:4.) 73 60
หากำลังมิได (51:4.) 188 153
หายใจขัดอก (1:3.) 1 3
หายใจดังหืด (24:6.) 88 72
281
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


หาแรงมิได (51:3.) 188 153
หาว (25:3.) 93 75
หิ่งหอยตากระจายออก (24:3.-4.) 88 72
หิวโหย (51:3.) 188 153
หิวโหยหาแรงมิได (31:4.) 119 93
หืด (9:16.) (12:6.8.10.12.16.) 37,48,49,50,51,52 27,36
หืดไอ (19) - 57
หืดไอ (9:11.) 36 27
หูดังอยูฮึงฮึง (39:14.) 148 117
หูตึง (16) - 48
หูตึง (44:13.) 164 132
ไ ท ย
้าน
หูหนวก หูตึง (39:14.) 148 117
หูหนวก (16) -
ื้นบ
48
หูหนัก (54:5.) 199
ละ พ 162
หูหนักทั้งสองขาง (24:3.) 88
ย แ 72
เหงื่อตก (47:3.-4.) 172
น ไท 141
เหน็บชา (39:13.) 148
ย ์แผ 117

พท
เหน็บไปทั้งตัว (39:4.) 147 117
ใหชักหัวเขา (24:5.)
า ร
88
แ 72

าก
ใหเปนกอนอยูในทอง (24:6.) 88 72

ัิปญญ
ใหลงใหราก (25:7.8.10.12.) (32:6.) (47:3) 93,94,95,96,122,172 75,96,141
จำเริญธาตุ (25:7.) 93 75
ภ ม

อง
ไหวตัวไปมาก็มิได (30:3.-4.) 116 90


อชิรณะ (42:5.) 156 126
อติสาร (5:2.17.)
มุ้ ค 14,17 15
อติไสย (41:4.)
อง ค 152 123
อยากแตของหวาน (43:11.)
อยูเพลิงมิได (50:16.)
ก 161
187
129
150
อยูไฟไมได (46:11.-12.) 170 138
อสาทยโรค (55:5.) 202 165
ออกกาฬ ๑ วัน ๒ วัน (5:10.) 15 15
อัคนีชวา (22:8.) 80 66
อัณฑพฤกษ (16) (19) - 48,57
อาการดุจปศาจเขาสิง (38:3.) 142 114
อาการตัด (11:5.) (20:7.) (41:5.) 45,73,152 33,60,123
อาเจียน (20:5.16.-17.) 73,75 60
อุทรโรคเพื่อลม (35:3.) 135 105
อุทรโรคเพื่อสันนิบาต (35:4.10.) 135,136 105
อุปทม (28:6.) 104 84
282
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


เอ็นชักอก (16) - 48
โอปกมิกาภาธิ (37:4.) 142 111
ไอ (13:15.) (37:11.) 56,142 39,111
ไอเพื่อลมเสียงแหบ (13:10.) 55 39
ไอเสียงแหบแหง (13:2.-3.) 53 39
ไอเสียงแหบแหงเพื่อลม (13:6.-7.) 53 39
กินอาหารมิไดไมมีรส (13:7.) 53 39
ไอแหง (32:6.) 122 96
ไอแหงเสียงดังกะสาบ (13:9.) 54 39
ไอไอมิออกเพื่อวาโยสมุฏฐาน (13:16.-17.) 56 39

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แ ผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

283
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ดัชนีเครื่องยา
ชื่อ ขนานที่ หนา
กระจับบก (55:12.) 205 165
กระแจะ(ราก) (34:11.) 132 102
กระแจะตะนาว (31:14.) 121 93
กระชาย (17:7.) (30:8.) (36:6.) (42:8.) (50:14.) 66,117,138,156,187 51,90,108,126,150
กระเชาผีมด (34:7.) 131 102
กระดอม (10:13.) 43 30
กระดอม(ลูก) (38:6.9.) 144,145 114
กระดังงา(ดอก) (26:12.) (40:10.) 100,150 78,120
กระดาดแดง (9:6.) 34 27
ไ ท ย
กระดาดทั้งสอง (12:4.) (50:4.-5.10.) 48,186,187
้าน
36,150

กระถินแดง (21:7.) (27:11.) 76,103
ะ พ ื้น
63,81


กระทกรก (4:9.) (6:8.13.) 13,19,21 12,18
กระทกรก(ราก) (34:10.) 132
ย แ 102
กระทอม(ใบ) (29:7.) 112
น ไท 87
กระทืบยอบ(ใบ) (5:7.) 15
ย ์แ ผ 15

พท
กระทือ (32:9.) (42:8.) 123,156 96,126
กระทุมนา (1:7.)

2
รแ 3
กระทุมนา(เปลือก) (5:13.)
าก17 15

ัิปญญ
กระทุมใหญ (27:13.) 103 81



กระเทียม (5:13.) (8:15.) 17,33,50,65,66,105, 15,24,36,45,51,
(12:9.) (15:15.) (17:7.) (28:8.)
อง ภ 111,113,115,126,138, 84,87,96,108,120,
(29:6.9.13.) (32:14.) (36:6.11.13.)
ค ร 140,141,151,156,163, 126,132,147,162

ค มุ้
(40:14.) (42:9.) (44:8.12.) (49:9.) (54:12.)

164,182,201
กระเทียม(น้ำ) (39:10.)
ก อ
กระเทียมกรอบ (5:12.) (13:9.11.) (29:10.)
148
17,55,56,113
117
15,39,87
กระเทียมทอก (39:8.) 147 117
กระเทียมทอก(น้ำ) (43:9.) 160 129
กระเบา(เปลือก) (33:11.) 130 99
กระเบียน(เปลือก) (33:11.) 130 99
กระพังโหม(ใบ) (42:14.) 158 126
กระพังโหมทั้ง ๒ (29:8.) 112 87
กระพังโหมทั้งสอง(ราก) (8:8.) 30 24
กระเพรา(ใบ) (30:8.) (32:7.) 117,122 90,96
กระเพราแดง (13:5.) 53 39
กระลำพัก (10:13.) (20:8.) (31:11.) (32:11.) 43,73,121,125, 30,60,93,96,
(40:10.) (51:10.) (55:11.) 150,189,205 120,153,165

284
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


กระวาน (1:10.) (7:10.) (8:7.) (9:6.) (10:12.) 3,25,30,34,43, 3,21,24,27,30,
(13:4.) (14:13.) (15:10.) (17:12.) (20:8.13.) 53,60,63,67,73,75, 39,42,45,51,60,
(22:13.-14.) (26:11.) (30:9.) (33:3.) 83,100,117,127, 66,78,90,99
(38:8.13.) (39:11.) (40:9.) 145, 146,148,150, , 114,117,120,
(41:9.13.) (51:6.) (55:6.12.) 153,155,188,202,205 123,153,165
กระวาน(ใบ) (31:8.) 120 93
กรามแรด (11:8.) 45 33
กราย(ลูก) (29:14.) (50:4.) 115,186 87,150
กรุงเขมา (5:12.) (17:10.) (24:10.) 17,67,90 15,51,72
กฤษณา (5:11.) (10:13.) (20:8.) (27:9.) (31:11.) 16,43,73,102,121, 15,30,60,81,93,
(40:10.) (51:7.10.) (55:11.) 150,188,189,205

120,153,165
ไ ท
้าน
กลวยตานี(หัว) (55:10.) 204 165
กลวยตีบ(ราก) (29:2.-3.) 109
ื้นบ 87
กลอย (12:4.) (29:4.) (50:4.) 48,110,186
ละ พ 36,87,150
กวาง(เขา) (18:11.) 71
ย แ 54
กะตังบาย(ราก) (12:11.) 51
น ไท 36
กะทิมะพราว (18:7.) 69
ย ์แผ 54

พท
กะทือ (50:13.) (52:13.) 187,194 150,156
กะทุมเหลือง(เปลือก) (55:7.)
า รแ 203 165

าก
กะบัง (22:12.) 82 66

ัิปญญ
กะเม็ง(ใบ) (6:15.) 22 18
กัญชา (26:5.) (29:15.) (30:8.) (43:5.13.) (54:8.) 98,115,117,159,161,199 78,87,90,129,162
ภ ม

อง
กันเกรา(แกน) (10:8.) (41:9.) 39,153 30,123


กันเกรา(เปลือก) (41:11.) 154 123
มุ้ ค
กางปลาแดง(ราก) (12:11.) (34:11.) (38:11.) 51,132,146 36,102,114

อง ค
กางปลาทั้งสอง(ใบ) (18:6.) 68 54

กานพลู (1:4.) (3:13.) (8:7.) (9:6.10.) (13:4.)
(14:8.) (15:12.) (17:14.) (20:8.11.) (22:14.)
1,12,30,34,36,53,58,
64,67,73,74,97,100,
3,6,24,27,39,
42,45,51,60,66,
(25:13.) (26:12.) (27:7.) (30:9.-10.) 101,117,145,146,148, 75,78,81,90,
(38:8.-9. 13.) (39:11.) (40:9.) (41:7.11.13.) 150,152,154,155,168, 114,117,120,123,
(46:8.) (50:3.) (51:6.) (53:5.9.14.) 186,188,195,196,198 138,150,153,159
การบูร (3:7.) (4:12.) (6:10.) (9:6.10.) (14:12.) 9,13,20,34,36,60, 9,12,18,27,42,
(17:12.) (22:14.) (24:11.) (26:12.) (27:7.) 66,83,91,100,101, 51,67,72,78,81,
(30:10.) (41:9.) (43:10.) (50:12.) 117,153,160,187, 90,123,1290,150,
(53:5.10.) (55:7.) 195,197,203 159,165
กาหลง(เปลือก) (27:10.) 103 81
กำแพงเจ็ดชั้น (10:8.) 39 30
กำมะถัน (29:14.) 115 87
กำมะถันทั้งสอง (28:3.) 104 84
285
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


กำมะถันเหลือง (33:7.-8.) 128 99
กำยาน (5:11.) 16 15
กำลังโคเถลิง (10:6.) 38 30
กำลังวัวเถลิง (6:7.) 19 18
กุมทั้ง ๒ (52:13.) 194 156
กุมทั้งสอง (50:13.) 186 150
กุมทั้งสอง(เปลือก) (8:6.) (17:9.) 30,67 24,51
กุมบก(เปลือก) (21:7.) (27:11.) 76,103 63,81
กุมเพลิง (12:3.) 48 36
เกล็ดหอยเทศ (31:14.) 121 93
เกลือ (4:13.) (6:13.) (15:15.) (17:6.) 13,21,65,66,

12,18,45,51,
ไ ท
้าน
(29:5.) (46:7.10.) 110,167,170 87,138
เกลือทั้งหา (21:11.) 77
ื้น
63

เกลือเยาวกาษา (13:12.) 56
ละ พ 39
เกลือสมุทร (12:8.) (30:9.) 50,117
ย แ 36,90
เกลือสินเธาว (3:10.) (13:11.-12.) (14:10.) 11,56,59,
น ไท 9,39,42,
(25:10.) (44:11.) (53:6.8.)
์แ ผ
96,164,195,196

75,132,159

พท
เกลือสุวะษา (13:12.) 56 39
เกสรบัวหลวง (31:8.-9.)
า รแ
120 93

าก
แกวแกลบ (31:10.) 121 93

ัิปญญ
โกฐกระดูก (8:9.) (20:8.) (50:10.) 30,73,187, 24,60,150,
(51:10.13.) (55:12.) 189,205 153,165
ภ ม

อง
โกฐกักกรา (44:9.) (50:9.-10.) 163,187 132,150


โกฐกานพราว (14:13.) (20:8.) (44:5.-6.9.) 60,73,162,163, 42,60,132,
(50:9.) (53:14.)
มุ้ ค 187,198 150,159

อง ค
โกฐเขมา (1:14.) (7:7) (8:9.) (11:5.-6.) (24:10.) 4,23,30,45,90, 3,21,24,33,72,
(39:12.) (50:9.) ก
โกฐจุฬาลัมพา (21:15.) (54:8.)
148,187
79,199
117,150
63,162
โกฐเชียง (51:10.) 189 153
โกฐทั้ง ๕ (53:5.9.) 195,197 159
โกฐทั้งเกา (17:10.) 67 51
โกฐทั้งหา (10:12.) (31:10.) 43,121,145,150,188 30,93,114,120,153
(38:8.) (40:8.-9.) (51:5.)
โกฐพุงปลา (8:9.) (20:8.) (27:6.) (50:9.) (54:8.) 30,73,101,187,199 24,60,81,150,162
โกฐสอ (3:10.12.) (5:14.) (7:6.) (8:9.) (9:9.) 11,12,17,23,31,35, 9,15,21,24,27,
(11:6.) (20:8.) (24:10.) (39:11.) (48:13.) 45,73,90,148,179, 33,60,72,117,144,
(50:9.) (53:9.12.) (54:8.) 187,196,198,199 150,159,162
โกฐหัวบัว (7:7.) (8:9) (51:10.) 23,31,189 21,24,153
ขนุน(แกน) (10:6.) 38 30
286
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


ขนุนละมุด(ใบ) (47:6.) 172 141
ขนุนละมุด(ไส) (21:7.-8.) (27:11.) 76,103 63,81
ขมิ้น (27:13.) (53:7.) 103,195 81,159
ขมิ้นเครือ (40:11.) (48:8.) 150,177 120,144
ขมิ้นทั้งสอง (27:8.) 102 81
ขมิ้นออย (2:6.) (5:8.) (7:16.) (8:7.) (15:10.) 5,15,29,30,63,66,67,81, 6,15,21,24,45,51,
(17:6.9.) (22:10.) (28:13.) (29:7.15.) (30:7.) 108,112,115,116,123, 66,84,87,90,96,
(32:8.) (36:7.8.10.13.) (37:10.) (38:7.12.) 138,139,140,141,142, 108,111,114,
(42:9.11.13.) (46:9.) (52:6.8.) (54:10.) 144,146,156,157,158, 169,192,193,200
126,138,156,162
ขมิ้นออย(น้ำ) (39:5.) 147 117
ไ ท ย
้าน
ขอนดอก (15:12.) (31.11.) (40.10.) (51:10.) 64,121,150,189 45,94,121,153
ขอบชะนางแดง (43.13.) 161
ื้นบ 130
ขอบชะนางทั้งสอง (12:13.-14.) (32:8.) 52,123
ละ พ 36,96
ขอย(น้ำเปลือก) (41:7.) 152
ย แ 123
ขอย(ราก) (9:12.) 37
น ไท 27
ขอยหยอง(ราก) (12:11.) 51
ย ์แผ 36

พท
ขัณฑสกร (29:11.) 114 87
ขัดมอน (49:11.) (55:8.)
า รแ184,203 147,165

าก
ขัดมอน(ใบ) (2:8.) 6 6

ัิปญญ
ขัดมอน(ราก) (53:10.) 197 159
ขันฑสกร (7:9.) (18:11.) 24,71 21,54
ภ ม

อง
ขา (8:7.) (13:11.) (36:6.13.) (42:8.) (50:14.) 30,56,138,141,156,187 24,39,108,126,150


ขา(น้ำ) (39:5.) 147 117
ขาตน (10:8.)
มุ้ ค 39 30
ขาตาแดง (38:12.)
อง ค 146 114

ขาวเปลือก (4:16.) (12:5.) (33:6.) (46:13.) (48:9.) 13,48,127,171,177
ขาวผอกนางสีดา (27:9.) 102
12,36,99,138,144
81
ขาวเมาเหล็ก (30:7.) 116 90
ขาวสารขางครก (44:13.-14.) 165 132
ขาวสารคั่ว (28:4.) 104 84
ขาวไหม(ราก) (34:7.) 131 102
ขิง (6:5.7.12.) (24:10.12.14.) (29:5.9.13.) 18,19,21,90,91,92,110, 18,72,87,105,108,
(35:7.9.) (36:13.) (42:9.) (43:8.) 113,115,136,141 126,129,141,153
(47:8.) (51:14.15.) 156,160,173,189
ขิง(น้ำ) (39:5.) (52:9.) 147,193 117,156
ขิงแครง (8:8.) 30 24
ขิงสด (12:9.) 50 36
ขิงสด(น้ำ) (35:8.) 136 105
287
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


ขิงแหง (3:7.) (4:12.) (5:11.) (6:14.) 13,16, 22, 9,12,15,18,
(7:10.14.) (8:8.13.) (9:5.8.) (10:10.) (17:6.) 25,28,30,32,34,35,41,66, 21,24,27,30,51,
(20:13.) (25:8.9.13.) (26:11.) (31:8.) (32:11.) 75,94,95,97,100,120,125, 60,75,78,93,96,
(36:6.) (41:7.11.14.) (43:16.) (48:7.14.) 138,152,154,155,161, 108,123,129,144,
(49:9.10.12.) (50:4.11.) (51:6.) (53:8.10.) 177,179,182,183,184, 147,150,153,159
186,187,188,196,197
ขี้กา (1:13.) 4 3
ขี้กา(ลูก) (42:9.) 156 126
ขี้กาแดง (53:8.10.) 196,197 159
ขี้กาแดง(ราก) (46:2.) (50:7.) 166,186 138,150
ขี้กาแดง(ลูก) (37:9.) (42:10.) 142,157 111,126
ไ ท ย
้าน
ขี้นกพิราบ (5:8.) 15 15
ขี้ผึ้งแข็ง (28:11.) 107
ื้น
84

ขี้วัว (43:8.) 160
ละ พ129
ขี้หนอน(ราก) (50:6.) 185
ย แ 150
ขี้เหล็ก(แกน) (54:13.) 201
น ไท 162
ขี้เหล็ก(น้ำ) (6:9.) 20
ย ์แผ 18

พท
ขี้เหล็ก(เปลือก) (4:8.) 13 12
ขี้เหล็กทั้ง ๕ (6:8.) 20
า รแ 18

าก
เขยตาย(ลูก) (15:9.) 62 45

ัิปญญ
เขากวาง (11:14.) (32:13.) 47,126 33,96
เขาคา (12:3.-4.) (44:5.) 48,162 36,132
ภ ม

อง
เขียวขี้ทอง (22:14.) 83 66


ไขเนา(เปลือก) (3:7.) (27:8.10.) (37:9.) (42:8.11.) 9,102,103,142,156,157 9,81,111,126
ไขเนา(ราก) (12:11.)
มุ้ ค 51 36
ไขเปด (18:8.)
อง ค 69 54
ไขเปด(เปลือก) (30:7.)
คนทา(ราก) (34:15.)
ก 116
134
90
102
คนทีเขมา (44:8.) 163 132
คนทีสอ (43:5.14.) 159,161 129
คนทีสอ(ใบ) (6:9.) (8:13.) (36:12.) 20,32,141,164,200 18,24,108,132,162
(44:11.) (54:10.)
คนทีสอ(ลูก) (31:5.) 119 93
ครั่ง (26:9.) (29:11.) (51:9.) 99,114,188 78,87,153
คัดเคา(ราก) (34:13.) 133 102
คัดเคา(ลูก) (30:9.) (46:4.) 117,166 90,138
คันทรง(ราก) (34:11.) 132 102
คา(ราก) (41:6.) 152 123
คาง (27:13.) 103 81
288
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


คาง(ราก) (9:12.) 37 27
คางกรวย(เปลือก) (5:13.) 17 15
คางปลาชอนขางลาง (11:8.) 45 33
คำไทย(ดอก) (40:9.) 150 120
คุลีการ (48:11.) 178 144
โค(กระดูก) (30:13.) 118 90
โคกกระสุน (3:8.13.) (21:14) (27:12.) (35:9.) 10,12,79,103,136 9,63,81,105
โคกกระสุน(ใบ) (5:8.) 15 15
โคกกระสุน(ราก) (6:4.) 18 18
โคกกระออม(ตน) (4:8.-9.) 13 12
โคดำ(มูล) (18:8.) 69 54
ไ ท ย
้าน
โคนสับปะรด (23:9.) 86 69
ไครเครือ (11:7.10.12.) (21:6.-7.) (24:9.) 45,46,47,76,89,
ื้นบ 33,63,72,
(47:9.16.) (51:6.) 174,176,188
ละ พ 141,153
ไครน้ำ (41:9.) 153
ย แ 123
ไครบก (41:9.) 153
น ไท 123
ไครหอม (10:13.) 43
ย ์แผ 30

พท
ไครหอม (38:12.) (41:9.) (42:9.) 146,153,156 114,123,126
ฆองสามยาน (5:7.)
า รแ
15 15

าก
งวนหมูหลวง(ราก) (34:7.) 131 102

ัิปญญ
งา(น้ำมัน) (2:6.13.) 5,8 6
งาชาง (11:8.14.) 45,47 33
ภ ม

อง
งูทับทาง(กระดูก) (11:8.) 45 33


งูเหลือม(กระดูก) (11:8.10.) (30:13.) 45,46,118 33,90
งูเหลือม(ดี) (51:8.)
มุ้ ค 188 153

อง ค
จันทนขาว (5:4.) (7:10.) (22:12.) (38:12.) 14,25,82,146, 15,21,66,114,

(49:10.) (52:3.7.) (55:7.12.)
จันทนชะมด (51:10.)
183,190,192,203,205
189
147,156,165
153
จันทนแดง (5:3.-4.) (38:12.) (51:10.) (52:7.) 14,146,189,192 15,114,153,156
จันทนทั้ง ๒ (ลูก) (5:11.) 16 15
จันทนทั้ง ๒ (5:14.) (7:9.) (10:13.) (31:5.) 16,24,43,119, 15,21,30,93,
(38:7.9.) (40:11.) (41:6.) 144,145,150,152 114,120,123
จันทนทั้งสอง (51:5.-6.) 188 153
จันทนเทศ (31:9.) (44:9.) (49:8.) (51:10.) 120,163,181,189 93,132,147,153
จำปา(ดอก) (40:10.) 150 120
จิก(เปลือก) (2:8.) 6 6
จิงจอ (15:7.) (24:12.) (50:5.12.) 61,91,186,187 45,72,150
จิงจอ(ราก) (17:9.) 67 51
จิงจอทั้ง ๓ (3:13.-14.) 12 9
289
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


จิงจอราก (34:7.) 131 102
จิงจอหลวง (35:7.) 136 105
จิงจอหลวง(ราก) (35:5.) 135 105
จิงจอเหลี่ยม(ราก) (9:6.) 34 27
จิงจอใหญ (35:9.) 136 105
จุกโรหิณี (32:11.) (53:14.) 124,198 96,159
จุลเหล็ก (33:8.-9.) 128 99
เจตพังคี (17:12.) (24:13.) (41:13.) 67,92,155 51,72,123
เจตมูล (3:8.12.) (8:13.) (9:5.10.12.) (24:9.11.14.)
10,12,32,34,36,3789,91,92, 9,24,27,72,
(30:13.) (48:7.13.) (50:6.11.) (53:13.)

118,177,179,186,187,198 90,144,150,159
ไ ท
้าน
เจตมูลเพลิง (25:9.) (41:9.) 95,153 75,123
เจตมูลเพลิง(ราก) (4:9.) (7:9.) (8:8.) (10:10) (12:3.) 13,24,30,41,48,

12,21,24,30,36,
ื้น
(13:4.10.11.) (17:14.) (20:10.) (40:12.) 53,55,56,67,74,151
ละ พ39,51,60,120
ชบาทั้ง ๒ (ใบ) (5:7.) 15
ย แ 15

ไท
ชะมด (31:13.) (53:7.10.) (55:8.10.) 121,195,197,203,204 93,159,165
ชะมดเชียง (51:8.11.) (55:12.-13.) 188,189,205
ผ น 153,165
ย ์แ
พท
ชะมดตน (3:12.) 12 9


ชะมดตน(ใบ) (31:12.) 121 93
า ร
าก
ชะมดตน(เม็ด) (55:9.) 204 165

ัิปญญ
ชะมดตน(ราก) (32:10.) 124 96
ชะมดสด (51:12.) 189 153
ชะลูด (10:13.) (15:12.) (40:10.) (51:7.10.)
ภ ม
ู 43,64,150,188,189 30,45,120,153
ชะเหลา(ใบ) (52:12.)
ค ร อง 194 156

มุ้
ชะเอม (13:8.) (18:10.) (20:13.) (24:10.11.) 54,65,71,75,90,91, 39,54,60,72,

ง ค
(49:6.8.12.14.) (51:7.16.) (54:8.) (55:8.)

180,181,184,185,188,189,199,203
147,153,162,165

ชะเอมทั้งสอง (17:10.) (26:12.) 67,100 51,78
ชะเอมเทศ (26:9.) (31:7.-8.) (40:11.) 99,120,150 78,93,120
ชันตะเคียน (1:10.) (2:12.) (5:11.) (29:12.) 3,8,16,114 3,6,15,87
ชันยอย (2:12.) 8 6
ชันรำโรง (2:12.) 8 6
ชา(ราก) (34:7.) 131 102
ชางนาว(เปลือก) (23:5.) 84 69
ชางนาวดอกเหลือง(ราก) (34:11.) 132 102
ชาดกอน (47:7.-8.) 173 141
ชาพลู (43:13.) (50:11.) 161,167 129,150
ชาพลู(ราก) (4:9.) (6:5.) (10:8.11.) (13:11.) 13,18,39,42,56,62, 12,18,30,39,45,51,
(15:9.) (17:10.) (25:6.11.) (36:10.) (38:12.) 67,93,96,140,146, 75,108,114,120,165
(40:12.) (55:7.) 151,203
290
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


ชาพลู(ลูก) (8:8.) (29:6.) (40:12.) (48:14.) 30,111,151,179 24,87,120,144
ชาเลือด(ราก) (34:12.) 132 102
ชิงชาชาลี(ใบ) (5:7.) 15 15
ชิงชี่(ใบ) (52:5.) 191 156
ชิงชี่(ราก) (34:16.) 134 102
ชิงชี่ทั้ง ๒ (ใบ) (52:12.) 194 156
ชุมเห็ด(ลูกใน) (33:11.) 130 99
ชุมเห็ดเทศ(ใบ) (32:7.) 122 96
ชุมเห็ดเทศ(ลูก) (33:5.-6.9.) 127,129 99
ชุมเห็ดไทย(ใบ) (5:8.) 15 15
ซองแมวใหญ (49:7.) 180 147
ไ ท ย
้าน
ดอกคำ (3:9.) (51:7.) 10,188 9,153
ดอกจันทน (1:5.8.10.) (9:6.10.12.) (14:13.)
ื้น
1,2,3,34,36,43,60,60,64,
บ 3,27,42,
(15:7.12.) (17:13.) (20:8.11.) (22:12.13)
ะ พ
66,66,73,74,82,83,99,

45,51,60,66,
(26:11.) (33:3.) (38:7.8.13.) (39:7.11.)
ย แ
127,144,145,146,147, 78,99,114,117,
(40:9.) (43:15.) (44:6.) (50:3.)
ไท
148,150,161,162,186,

120,129,132,150,
(51:6.) (53:10.)
์แ
188,197
ย ผ 153,159

พท
ดองดึง (1:10.) (50:11.) (54:7.) 3,187,197 3,150,162
ดองดึง(น้ำ) (43:8.)
า รแ 160 129

าก
ดองดึง(หัว) (40:14.) 151 120

ัิปญญ
ดินกิน (29:12.) 114 87
ดินแดงเทศ (2:10.) 7 6
ภ ม

อง
ดินถนำ (21:10.) (23:8.11.) 77,85,87 63,69


ดินประสิว (5:8.) (15:6.) 15,66 15,45
มุ้ ค
ดินประสิวขาว (10:16.) (29:9.13.-14.) (36:13.) 44,113,115,141, 30,87,108,

อง ค
(46:8.) (50:10.) (54:15.) 168,187,201 138,150,162

ดินสอพอง (7:10.) (23: 8.) (52:5.)
ดีเกลือ (10:16.) (46:5.7.)
26,85,191
44,166,167
21,69,156
30,138
ดีงูเหลือม (22:9.) (23:6.8.) (29:10.12.) 80,84,85,113,114 66,69,87
ดีงูเหา (29:11.) 114 87
ดีปลี (1:5.8.10.) (3:8.) (4:12.) (5:14.) (6:5.7.12.) 1,2,3,10,13,17,18,19,21, 3,9,12,15,18,21,
(7:6.) (8:8.) (9:8.) (10:10.) (14:8.) (20:13.) 22,23,30,35,41,58,75,77, 24,29,30,42,60,
(21:10.12.) (24:7.10.12.14.) (25:8.13.) 78,88,90,91,9294,97,98, 63,72,75,78,81,87,
(26:5.13.) (27:7.11.) (29:6.9.) (31:5.8.) 100,101,103,111,113, 93,105,108,114,
(35:11.) (36:13.) (38:13.) (39:8.) 119,120,137,141,146, 117,123,126,129,
(41:7.) (42:9.) (43:15.) (47:8.) 147,152,156,161,173, 141,147,150,153,
(49:8.12.15.) (50:11.) (51:6.) 181,184,185,187,188, 159,162
(53:14.) (54:8.12.) 198,199,201

291
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


ตรีกฏก (6:12.) (10:8.11.) (12:5.7.-8.) (13:9.11.) 21,39,42,53,54,55,56, 18,30,36,39,
(14:10.) (15:15.) (20:10.) (25:10.) 59,65,74,96, 42,45,60,75,
(32:14.) (44:5.9.11.) (53:7.) 126,162,163,164,195 96,132,159
ตรีผลา (10:7.13.-14.) (14:10.) (21:8.) 38,43,59,76, 30,42,63,
(26:5.) (35:8.) (51:5.) 98,136,188 78,105,153
ตองแตก(ราก) (4:9.) (8:11.) (35:7.9.) (50:6.13.) 13,31,136,186,187 12,24,105,150
ตอไส(ใบ) (2:6.) 5 6
ตะไครหอม (8:15.) 33 24
ตะไครหอม(หัว) (8:8.) 30 24
ตะไครหางนาค (28:7.9.) 105,106 84
ตับเตาทั้งสอง(ราก) (34:10.) 132 102
ไ ท ย
้าน
ตับเตาใหญ (34:13.) 133 102
ตานขโมย(ลูก) (15:11.) 64
ื้น
45

ตานทั้ง ๕ (5:13.) 17
ละ พ 15
ตานเสี้ยน (32:10.) 124
ย แ 96
ตาไมไผปา (7:12.) 27
น ไท 21
ตาลดำ (43:14.) 161
ย ์แ ผ 129

พท
ตาลน้ำ (43:12.) 161 129
ตาลหมอน (43:12.)
า รแ
161 129

าก
ตาเสือ (43:5.) 159 129

ัิปญญ
ตาเสือตน (1:7.) 2 3
ตำลึง(น้ำลูก) (18:9.) 70 54
ภ ม

อง
ตำลึงทั้ง ๒ (ใบ) (5:7.) 15 15


ตีนเปด (43:13.) 161 129
ตุกต่ำ (35:11.)
มุ้ ค 137 105
ตุกต่ำน้ำทอง (23:11.)
อง ค 87 69

เตา(หัว) (37:13.)

ตุมกาทั้งสอง(ราก) (34:10.) 132
143
102
111
เตาราง(ยอด) (32:9.) 123 96
แตงแตว(ลูก) (3:7.) 9 9
แตงเถื่อน(ราก) (34:11.) 132 102
แตงหนู (38:12.) 146 114
แตงหนู(ราก) (53:6.) 195 159
ถั่วเขียวคั่วเลาะเปลือก (47:8.) 173 141
ถั่วพู(น้ำราก) (18:9.) 70 54
ถั่วพู(หัว) (23:5.) 84 69
ถั่วแระ (43:14.) 161 129
ถั่วแระ(ใบ) (28:10.) 107 84
ถานไมซาก (33:7.) 128 99
292
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


เถาคัน(ใบ) (2:5.) 5 6
เถาวัลยเปรียง (10:6.8.) 38,39 30
เถาวัลยเหล็ก(ราก) (27:6.-7.) 101 81
ทงไชย(ราก) (34:10.) 132 102
ทนดี (48:15.) 179 144
ทนดี(ราก) (17:11.) (24:11.) (30:13.) (36:10.) 67,91,118,140 51,72,90,108
ทรงบาดาล(ราก) (4:9.) 13 12
ทราก (43:12.) 161 129
ทองคำเปลว (22:9.) (51:12.) 80,189 66,153
ทองพันชั่ง(ใบ) (18:6.-7.) (31:12.) 68,121 54,93
ทองพันชั่ง(ราก) (33:4.9.11.-12.) 127,129,130, 99
ไ ท ย
้าน
ทองหลาง (52:13.) 194 156
ทองหลาง(ราก) (11:7.) (33:12.) 45,130
ื้นบ 33,99
ทองหลางน้ำ(เปลือก) (21:7.) 76
ละ พ 63
ทองหลางใบมน (27:11.) 103
ย แ 81
ทองหลางใบมน(ใบ) (36: (13.) 141
น ไท 108
ทับทิม(เปลือก) (29:12.) 114
ย ์แผ 87

พท
ทุมราชา(ใบ) (28:9.) 106 84
เทพทาโร (10:8.) (31:6.)
า รแ 39,119 30,93

าก
เทายายมอม(ใบ) (29:14.-15.) 115 87

ัิปญญ
เทายายมอม(ราก) (12:11.) (34:15.) 51,134 36,102
เทียน (4:13.) 13 12
ภ ม

อง
เทียน(ใบ) (28:10.) 107 84


เทียนขาว (17:6.) (29:9.) (30:10.) (37:10.) 66,113,117,142, 51,87,90,111,
(39:8.) (48:8.) (51:11.)
มุ้ ค 147,177,189 117,144,153

อง ค
เทียนขาวเปลือก (31:5.-6.) 119 93

เทียนดำ (1:15.) (3:7.9.10.) (8:13.) (11:6.) (17:6.)
(28:3.) (29:6.9.) (30:10.) (37:9.) (39:7.-8.)
4,9,10,11,32,45,66,104,
111,113,117,142,147,
3,9,24,33,51,
84,87,90,111,117,
(46:9.10.) (48:8.14.) (51:10.) (53:10.) 168,170,177,179,189,197 138,144,153,159
เทียนดำ(น้ำ) (51:14.-15.) 189 153
เทียนดำนอย (27:6.) 101 81
เทียนดำใหญ (27:6.) 101 81
เทียนแดง (29:9.) (50:3.-4.) 113,186 87,150
เทียนตั๊กแตน (31:6.) 119 93
เทียนทั้ง ๕ (3:14.) (8:9.) (9:7.) (20:8.) (31:10.) 12,30,34,73,121, 9,24,27,60,93,
(33:2.-3.) (38:6.-7.8.14.) (39:12.) 127,144,145,146,148, 99,114,117,
(40:9.) (50:9.) (53:5.) 150,187,195 120,150,159
เทียนทั้งเจ็ด (10:12.) (17:10.) 43,67 30,51
เทียนทั้งหา (51:5.) 188 153
293
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


เทียนเยาวภาณี (9:8.) (25:13.) 35,97 27,75
เทียนสัตตบุษย (35:9.) (39:8.) 136,147 105,117
แทงทวย (1:8.) (43:12.) 2,161 3,129
นกยูง (35:11.) 137 105
นมโค (35:5.) 135 105
นมโคขน (15:7.) 61 45
นมแมวทั้งสอง(ราก) (12:13.) 52 36
นอแรด (32:13.) 126 96
น้ำครึ่ง (42:9.) 156 126
น้ำใจใคร(ราก) (31:8.) 120 93
น้ำซาวขาว (52:6.) 191 156
ไ ท ย
้าน
น้ำดอกไม (11:9.) (51:8.13.) (52:7.) (55:14.) 45,188,189,192,205 33,153,156,165
น้ำดับไฟ(ใบ) (5:6.) 15
ื้น
15

น้ำตาลกรวด (47:6.) 172
ละ พ 141
น้ำตาลโตนด (47:6.) 172
ย แ 141
น้ำตาลทราย (20:15.) (26:5.) (31:9.15.) 75,98,120,121,
น ไท 60,78,93,
(47:6.) (51:8.) (52:8.9.)
์แผ
172,188,193

141,153,156

พท
น้ำเตา(ใบ) (5:7.) 15 15
น้ำทา (38:9.)
า รแ
145 114

าก
น้ำทาบริสุทธิ์ (35:6.) 135 105

ัิปญญ
น้ำนมราชสีห (26:9.) 99 78
น้ำนมเสือ (12:14.) 52 36
ภ ม

อง
น้ำประสารทอง (3:8.) (11:6.) (14:10.13.) 10,45,59,60, 9,33,42,


(15:10.) (21:12) (26:13.) 63,78,100, 45,63,78,
(37:10.) (50:6.) (53:6.10.-11.)
มุ้ ค 142,186,195,197 111,150,159

อง ค
น้ำผึ้ง (53:7.11.15.) (54:11.) 195,197,198,200 159,162
น้ำผึ้งรวง (54:9.)
น้ำมวกขาว (55:10.14.)
ก 199
204,205
162
165
น้ำมะพราวนาฬเก (26:6.) 98 78
น้ำมันงา (18:9.) (28:11.13.) (30:9.) 70,107,108,117,147,148 54,84,90,117
(39:6.-7.10.-11.)
น้ำมันเนย (35:4.9.-10.) 135,136 105
น้ำมันมะพราว (28:13.) 108 84
น้ำมันหัวกุง (18:9.) 70 54
น้ำมูลมาสด (32:7.) 122 96
น้ำแรมคืน (51:9.) 188 153
เนย (26:5.) 98 78
เนระพูสี (11:12.) (15:7.) 47,61 33,45
บวบขมสด (12:9.) 50 36
294
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


บอระเพ็ด (3:12.) (7:11.) (10:11.13.) (17:8.) 12,26,42,43,67,92,138, 9,21,30,51,
(24:13.) (36:7.8.) (37:10.) (40:7.) 139,142,149,153,155, 72,108,111,120,
(41:9.13.) (42:9.11.13.) (49:12.) 156,157,158,184,193, 123,126,147,
(52:8.) (53:5.13.) (54:10.) (55:6.) 195,198,200,202 156,159,162,165
บอระเพ็ด(น้ำ) (39:6.) 147 117
บอระเพ็ด(ใบ) (5:6.) (7:9.) (10:11.) (13:9.) 15,24,55, 15,21,30,39
บัลลังกคา (47:11.) 175 141
บัลลังกศิลา (31:10.) (33:13.) (47:11.) 121,130,175 93,99,141
บัลลังกสี (47:11.) 175 141
บัว(ราก) (55:6.) 202 165
บัวขม(เกสร) (51:7.) 188 153
ไ ท ย
้าน
บัวขาว(เกสร) (55:7.-8.) 203 165
บัวแดง(เกสร) (55:8.) 203
ื้นบ 165
บัวแดง(หัว) (49:6.) 180
ละ พ 147
บัวน้ำทั้งหา (31:11.) 121
ย แ 93
บัวเผื่อน(เกสร) (51:7.) 188
น ไท 153
บัวหลวง (40:10.) 150
ย ์แผ 120

พท
บัวหลวง(เกสร) (5:4.) (37:10.) (49:6.) (51:6.11.) 14,142,180,188,189 15,111,147,153
บัวหลวง(ใบ) (47:6.) (52:5.)
า รแ
172,191 141,156

าก
บุก (29:4.) (50:4.) 109,186 87,150

ัิปญญ
บุกรอ (12:4.) (50:10.) 48,187 36,150
บุกหัวใหญ (1:9.) 3 3
ภ ม

อง
บุญนาค(ดอก) (11:7.-8.) (20:13.) (40:10.) 45,75,150 33,60,120


บุนนาค(เกสร) (5:4.-5.) (37:10.14.) 14,142,143, 15,111,
มุ้
(44:6.9.) (51:7.11.) (55:11.)ค 162,163,188,189,205 132,153,165

อง
บุนนาค(แกน) (48:15.)ค 179 144

เบญกานี(ลูก) (29:11.)
เบญขี้เหล็ก (36:10.) (46:3.)
114
140,166
87
108,138
เบญจกะเพรา (10:10.) 41 30
เบญจกะเม็ง (29:6.) 111 87
เบญจกานี (2:10.13.) (5:11.) 7,8,16 6,15
เบญจกูล (10:7.13.) (40:6.8.) (44:5.12.) 38,43,149,150,162,164 30,120,132
เบญจขี้เหล็ก (6:2.-3.) (10:11.) 18,42 18,30
เบญจคัดเคา (6:11.) 21 18
เบญจชาพลู (10:10.) 41 30
เบญจดีปลี (35:9.) 136 105
เบญจตะแบก (27:11.-12.) 103 81
เบญจเตาราง (10:10.) 41 30
เบญจไฟเดือนหา (44:12.) 164 132
295
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


เบญจเสนียด (41:7.) 152 123
เบญจเหล็ก (10:6.) (33:11.) 38,130 30,99
เบญจมะกา (38:11.) 146 114
เบญจราชพฤกษ (36:10.) (38:11.) 140,146 108,114
เบญจเหล็ก (38:11.) 146 114
เบี้ยผู (22:12.) (23:11.) (30:7.) 83,87,116 66,69,90
ปรอท (14:6.8.10.) (35:11.) 57,58,89,137 42,105
ประการังแดง(หิน) (21:12.) 78 63
ประคำดีควาย (53:12.-13.) 205 159
ประคำดีควาย(ลูก) (3:12.) (6:14.) (11:10.13.-14.) 12,22,46,47, 9,18,33,
(15:11.) (18:10.) (22:8.) (32:8.) 64,71,80,123 45,54,66,96
ไ ท ย
้าน
ประดู(แกน) (18:8.) (52:7.) 69,192 54,156
ประยงค (49:10.) 183
ื้นบ
147
ประยงคปา(เปลือก) (12:2.-3.) 48
ละ พ 36
ปรู(แกน) (4:10.) (48:8.) 13,177
ย แ 12,144
ปลวกใตดิน(รัง) (9:13.) 37
น ไท 27
ปบ (43:5.13.) 159,161
ย ์แผ 129

พท
ปบ(ใบ) (7:8.) (28:12.) 24,108 21,84
ปบ(ราก) (10:9.) (17:9.)
า รแ
40,67 30,51

าก
ปูเจาลอยทา (34:9.) 132 102

ัิปญญ
ปูน(แกน) (54:13.) 201 162
ปูนขาว (37:14.) 143 111
ภ ม

อง
ปูนผง (33:9.) 129 99


เปราะหอม (3:13.) (23:8.) (44:9.) 12,85,163 9,69,132
เปลาทั้งสอง (50:12.)
มุ้ ค 187 150

อง ค
เปลานอย (40:13.) (41:13.) (48:15.) 151,155,179 120,123,144
โปรงฟา (43:14.)
ผงลานแก (44:15.)
ก 161
165
129
132
ผมคน (32:13.) 126 96
ผักกระเฉด (5:12.) 17 15
ผักกาด(ลูก) (43:15.) 161 129
ผักขวง(ใบ) (18:6.) (32:7.) 68,122 54,96
ผักโฉม(ใบ) (31:11.) 121 93
ผักชี(ลูก) (11:6.) (25:7.-8.) (40:7.) (53:13.) 45,94,149,198 33,75,120,159
ผักชีทั้ง ๒ (ลูก) (8:7.-8.) 30 24
ผักคราด(ใบ) (18:14.) 72 54
ผักชีทั้งสอง(ลูก) (32:11.) (50:9.) 124,187 96,150
ผักชีลอม (48:13.) 179 144
ผักตบ(ดอก) (51:7.) 188 153
296
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


ผักบุง(ดอก) (47:9.) 174 141
ผักบุงขัน (5:8.) (18:6.) 15,68 15,54
ผักบุงเทศ (52:4.) 191 156
ผักบุงไทย (52:4.-5.) 191 156
ผักบุงรวม (2:8.) (18:6.) 6,68 6,54
ผักบุงไทย (2:9.) 6 6
ผักเบี้ยหนู (1:7.13.) 2,4 3
ผักปอด(ดอก) (47:9.) 174 141
ผักเปด (7:10.) 26 21
ผักเปด(น้ำใบ) (39:6.10.) 147,148 117
ผักแพวแดง (1:5.) (9:9.) (12:7.) (54:7.) 1,35,49,199

3,27,36,162
ไ ท
้าน
ผักแวน (43:13.) 161 129
ผักสาบ(ราก) (34:8.) 131
ื้นบ 102
ผักเสี้ยนไทย (4:9.) 13
ละ พ 12
ผักเสี้ยนผี (30:8.) (32:8.) 117,123
ย แ 90,96
ผักเสี้ยนผี(ราก) (6:4.) (7:13.) (38:11.) 18,28,146
น ไท 18,21,114
ผักเสี้ยนเรา(ราก) (6:4.) 18
ย ์แ ผ 18

พท
ผักหนาม(ราก) (34:13.-14.) 133 102
ผักหวาน(ใบ) (11:6.-7.)
า รแ
45 33

าก
ผักหวาน(ราก) (34:8.) 131 102

ัิปญญ
ผักโหมหิน (35:8.9.) 136 105
ผักไห(น้ำ) (43:9.) 160 129
ภ ม

อง
ผักไห(ใบ) (28:9.10.) 106,107 84


ผัดคราด (32:8.) 123 96
ฝาง (29:2.)
มุ้ ค 109 87
ฝางเสน (40:9.)
อง ค 150 120

ฝายหีบ(ลูก) (6:7.8.-9.)
ฝาหอยเทศ (21:10.)
19,20
77
18
63
ฝน (5:15.) (22:9.) (23:5.8.) 17,80,84,85,112,113,114 15,66,69,87,99
(29:8.10.11.) (33:9.12.)
ฝนตน (29:3.) 109 87
ฝุนจีน (2:7.) 5 6
แฝกหอม (10:13.) (31:11.) (41:8.) 43,121,152,181,202,204 30,93,123,147,165
(49:8.) (55:6.10.)
แฝกหอมตะนาว (24:7.) 88 72
พญามือเหล็ก (10:7.) (41:11.) 38,154 30,123
พญามือเหล็ก(ราก) (54:14.) 201 162
พญารากขาว (34:10.) 132 102
พรมมิ(ราก) (13:8.) 54 39
297
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


พรรถัน (43:12.) 161 129
พริก (5:11.) (6:5.7.12.14.) (7:6.13.) 16,18,19,21,22,23,28, 15,18,21,
(24:7.8.12.) (29:4.6.9.13.) (36:11.) 88,89,91,110,111,113, 72,87,108,
(42:9.) (50:5.) (54:11.) 115,140,156,186,200 126,150,162
พริกเทศ (36:6.) 138 108
พริกไทย (1:5.) (4:12.) (9:7.9.10.) (10:7.) 1,13,34,35,36,38,48,49, 3,12,27,30,
(12:4.7.8.) (15:7.10.) (21:10.) (26:6.9.11.) 50,61,63,77,98,99,100, 36,45,63,78,
(28:7.) (30:9.14.) (31:8.) (32:8.) 105,117,118,120,123, 84,90,93,96,
(36:6.) (44:16.) (46:13.) (47:8.) 138,165,171,173, 108,132,138,141,
(48:13.) (54:9.) 179,199 144,162
พริกลอน (3:13.) (20:14.) (40:13.) (43:5.) 12,75,151,159,

9,60,120,129,
ไ ท
้าน
(48:8.) (50:15.) 177,187 144,150
พริกหอม (17:11.) (39:8.) (50:7.) 67,147,186
ื้นบ
51,117,150
พังอาด (48:8.) 177
ละ พ 144
พังอาด(ราก) (6:7.) 19
ย แ 18
พันงู (43:15.) 161
น ไท 129
พันงูแดง (12:14.) (18:14.) (26:9.) 52,72,99
ย ์แ ผ 36,54,78

พท
พันงูแดง(ราก) (8:7.) (17:8.) (53:8.) 30,67,196 24,51,159
พันธุผักกาด (1:8.12.) (14:9.) (28:7.)
รแ
2,4,58,105,112,125

3,42,84,87,96

าก150
(29:7.-8.) (32:11.)

ัปิ ญ
พิกุล(เกสรดอก) (40:9.-10.) 120
พิกุล(ดอก) (11:7.) (47:15.) (51:7.11.) ญ
45,176,188,189 33,141,153
ภ ม

อง
พิกุล(เปลือก) (2:6.) 5 6


พิมเสน (5:4.) (7:7.14.) (9:10) (22:10.11) 14,22,28,36,81,82,85, 15,21,27,66,69,
มุ้ ค
(23:8.) (31:7.9.13.) (33:12.) (41:7.) (43:9.) 119,120,121,130,152, 93,99,123,129,

อง ค
(51:8.11.) (53:7.10.) (55:8.10.13.) 160,188,189,195,197, 154,159,165

พิมเสน(ใบ) (11:6.) (31:12.) (32:10.) (55:10.)
203,204,205
45,121,124,204 33,93,96,165
พิลังกาสา(ลูก) (3:13.) (13:12.) (21:10.) (32:11.) 12,56,77,125, 9,39,63,96,
(40:7.) (49:12.) 149,184 120,147
พิษนาศน (11:10.) (31:13.) (34:10.) 46,121,132 33,93,102
พุงดอ(ราก) (17:11.) (18:6.) 67,68 51,54
พุด(น้ำใบ) (43:9.) 160 129
พุทรา (1:7.) (27:12.) 2,103 3,81
พุทรา(เปลือก) (21:7.) 76 63
พุมเรียง(ลูก) (15:10.) 63 45
เพกา(เปลือก) (27:9.10.) 102,103 81
เพชรสังฆาต (5:7.) (13:9.) 15,55 15,39
แพะ(กระดูก) (30:13.) 118 90
298
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


โพบาย (1:8.) (2:6) (27:12.) 2,5,103 3,6,81
โพบาย(เปลือก) (2:6.8.) 5,6 6
ไพล (1:13.) (7:16.) (8:6.13.) (1๗:7.๘.) (24:14.) 4,29,30,32,66,67,92,112, 3,21,24,51,72,
(29:7.13.) (32:10.) (36:6.11.13.) (42:8.11.) 115,124,138,140,141,156, 87,96,108,126,
(43:11.) (50:14.) (52:13.) (53:6.) 157,161,187,194,195 129,150,156,159
ไพลออน(ราก) (49:6.) 180 147
ฟกขาว(ราก) (34:8.) 131 102
ฟกทอง(ดอก) (5:5.) 14 15
ไฟเดือนหา (17:10.) 67 51
ไฟเดือนหา(น้ำ) (39:10.) (43:9.) 148,160 117,129
มดยอบ (48:8.) 177 144
ไ ท ย
้าน
มวงคัน (43:12.) 161 129
มวงคัน(น้ำเปลือก) (43:9.) 160
ื้นบ 129
มหากาฬ(หัว) (34:9.-10.) 132
ละ พ 102
มหาสดำ (11:12.) (47:11.) 47,175
ย แ 33,141
มหาหิงคุ (3:8.12.13.) (4:12.) (8:15) (9:8)
ไท
10,12,13,33,35,57,58,

9,12,24,27,42,
(14:6.8.) (21:10.) (24:9.) (25:9.10.)
์แผ
77,89,95,96,164,

63,72,75,132,

พท
(44:11.) (50:7.) (53:13.) (54:8.12.) 186,198,199,201 150,159,162
มะกรูด (42:9.10.)
า รแ
156,157 126

าก
มะกรูด(น้ำ) (54:16.) 201 162

ัิปญญ
มะกรูด(ใบ) (15:8.) (52:12.) (54:13.) 62,194,201 45,156,162
มะกรูด(เปลือก) (7:13.) 28 21
ภ ม

อง
มะกรูด(ผิวลูก) (17:9.) (40:7.) (50:10.) 67,149,187 51,120,150


มะกรูด(ราก) (12:10.) 51 36
มุ้
มะกล่ำเครือ (18:11.) (55:8.) ค 71,203 54,165

อง ค
มะกล่ำเครือ(น้ำ) (51:15.-16.) 189 153

มะกล่ำเครือ(ราก) (10:9.)
มะกอก(ผลใน) (2:9.)
40
6
30
6
มะกอกเทศ(ลูก) (15:11.) 64 45
มะกอกเผาใหไหม(ลูก) (47:6.-7.) 172 141
มะกอกเผือก(ราก) (34:10.) 132 102
มะกา(ทั้งรากทั้งเปลือก) (6:3.) 18 18
มะกา(ใบ) (36:7.) (46:3.) 138,166 108,138
มะเกลือ(แกน) (4:10.) 13 12
มะเกลือ(ใบ) (28:12.) 108 84
มะเกลือ(ราก) (34:13.) 133 102
มะขาม(ดอก) (47:9.) 174 141
มะขาม(ใบ) (46:3.6.) 166,167 138
มะขามขบ(เปลือก) (29:12.) 114 87
299
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


มะขามปอม (13:12.) (25:10.-11.) (26:11.) 56,96,100, 39,75,78,
(37:9.) (50:7.) 142,186 111,150
มะขามปอม(ราก) (12:11.) 51 36
มะขามปอม(ลูก) (20:14.) 75 60
มะขามเปยก (18:11.) (38:6.) (46:7.) 71,144,167 54,114,138
มะขามเปยก(เยื่อ) (13:5.) 53 39
มะเขือขื่น(ราก) (17:13.) 67 51
มะเขือขื่น(ลูก) (33:12.) 130 99
มะเขือหนาม (27:8.-9.) 102 81
มะซาง(ดอก) (55:8.) 203 165
มะดูก(ราก) (12:10.-11.) (34:12.) 51,132 36,102
ไ ท ย
้าน
มะเดื่อ(ราก) (34:15.) 134 102
มะตาดเครือ(ราก) (48:7.) 177
ื้นบ
144
มะตูม (27:6.) 101
ละ พ 81
มะตูม(ใบ) (36:13.) (54:10.) 141,200
ย แ 108,162
มะตูม(ราก) (3:10.) (17:9.) (25:7.) (53:7.8.)
ไท
11,67,93,195,196

9,51,75,159
มะตูม(ลูก) (15:12.) 64
ย ์แผ 45

พท
มะตูมออน (48:13.-14.) 179 144
มะตูมออน(ผล) (5:14.) (25:8.) (36:10.) (37:10.)
า รแ
17,94,140,142 15,75,108,111

าก
มะทราง(เปลือก) (46:8.) 168 138

ัิปญญ
มะทราง(ราก) (41:6.) 152 123
มะนาว (1:14.) (8:16) (46:11.) 4,33,170 3,24,138
ภ ม

อง
มะนาว(น้ำ) (29:4.) (39:6.) (48:10.) (53:7.9.) 110,147,178,195,196 87,117,144,159


มะนาว(ใบ) (18:14.) (36:9.) (52:12.) 72,139,194 54,108,156
มุ้ ค
มะนาว(เม็ดใน) (2:10.) (11:7.) (22:8.) 7,45,80 6,33,66


มะนาว(ราก) (2:10.) (34:8.)
ง ค 7,131 6,102
มะนาว(ลูกใน) (33:9.11.)
มะฝอ(ราก) (41:6.)
ก 129,130
152
99
123
มะพราว(เปลือก) (5:9.) 15 15
มะพราวไฟ(ใบ) (48:10.) 178 144
มะพูด(เปลือก) (10:11.) 42 30
มะเฟอง(ดอก) (47:10.11.15.) 174,175,176 141
มะเฟอง(ใบ) (15:8.) 62 45
มะเฟอง(ราก) (34:11.) 132 102
มะไฟ(เปลือก) (8:11.) (23:5.) 31,84 24,69
มะมวง (27:12.) 103 81
มะมวงกะลอน(เปลือก) (2:8.) 6 6
มะยมตัวผู(เปลือก) (8:11.) 31 24
มะระ(ใบ) (2:5.) (5:8.) (28:12.) 5,15,108 6,15,84
300
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


มะรุม (1:13.) (50:13.) (52:13.) 4,187,194 3,150,156
มะรุม(เปลือก) (7:15.) (15:12.) 29,64 21,45
มะรุม(ราก) (17:13.) (53:9.) 67,196 51,159
มะลิ(ดอก) (40:10.) 150 120
มะแวง(ราก) (32:13.) 126 96
มะแวงเครือ (17:13.) 67 51
มะแวงเครือ(ลูก) (31:7.) (33:12.) 120,130 93,99
มะหาด(แกน) (4:10.) (48:8.) (52:7.) 13,177,192 12,144,156
มะอึก(ใบ) (18:5.) 68 54
มา(น้ำมูตร) (43:8.) 160 129
มาศเหลือง (5:11.) 16 15
ไ ท ย
้าน
มูกมัน(เปลือก) (5:12.) (24:8.) 17,89 15,72
เมี่ยงคำ (4:14.) 13
ื้นบ 12
แมงดา(เปลือก) (12:7.) 49
ละ พ 36
แมงลัก(ใบ) (30:8.) 117
ย แ 90
แมงลัก(ราก) (13:8.) 54
น ไท 39
โมกมัน (3:12.) (53:13.) 12,198
ย ์แผ 9,159

พท
โมกมัน(ลูก) (25:9.) 95 75
ไมไผ(ราก) (10:9.)
า รแ
40 30

าก
ไมไผปา(ตา) (37:13.-14.) 143 111

ัิปญญ
ไมสีสุก(ราก) (9:13.) 37 27
ยาขาวเย็นทั้งสอง (4:10.-11.) (28:5.7.) 13,140,105 12,84
ภ ม

อง
ยาง(หัว) (28:4.) 104 84


ยางงาว (49:6.) 180 147
ยางงิ้ว (27:7.)
มุ้ ค 101 81
ยางแตว (5:13.)
อง ค 17 15

ยางทราย(ใบ) (24:10.)
ยาดำ (9:10.) (10:15.) (11:14.) (23:9.)
90
36,44,47,86,
72
27,30,33,69,
(28:2.-3.) (36:7.) (38:7.) (46:5.7.) 104,138,144,166,167, 84,108,114,138,
(50:7.) (54:9.) 186,199 150,162
ยานาง (29:9.) 113 87
ยานาง(ราก) (34:8.16.) 131,134 102
ยาสูบดี (12:8.) 49 36
รงทอง (22:10.) (28:3.) 81,104 66,84
ระยอม (11:10.) (31:13.) (47:9.11.16.) 46,121,174,175,176 33,93,141
รักขาว(น้ำใบ) (39:6.) 147 117
รากสามสิบ (55:6.7.) 202,203 165
ราชดัด(ลูก) (11:13.) (22:8.) 47,80 33,66
ราชพฤกษ(น้ำฝก) (35:12.) 137 105
301
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


ราชพฤกษ(ใบ) (13:9.-10.) 55 39
ราชพฤกษ(ใบฝก) (36:9.) 139 108
ราชพฤกษ(เปลือก) (8:8.) (48:10.) 30,178 24,144
ราชพฤกษ(ฝก) (7:8.) (10:13.) (35:8.) 24,43,136, 21,30,105,
(36:7.) (37:11.) (38:6.9) 138,142,144,145 108,111,114
ราชพฤกษ(ราก) (21:14.) 79 63
ละหุง(ราก) (34:13.) (53:6.) 133,195 102,159
ละหุงแดง(ราก) (8:6.-7.) 30 24
ละอองบวบขม (44:15.) 165 132
ละอองพระกฤษ (32:7.) 122 96
ลั่นทม(เปลือก) (42:14.) 158 126
ไ ท ย
้าน
ลำพัน (8:14.) (9:8.) (48:13.) (50:11.) 33,35,179,187 24,27,144,150
ลำพันแดง (8:6.) 30

24
ื้น
ลิ้นทะเล (1:10.) (23:6.) (26:9.) (43:9.) 3,84,99,160
ละ พ 3,69,78,129
ลิ้นเสือ(ทั้งตนทั้งราก) (37:13.) 143
ย แ 111

ไท
ลูกเขยตาย(ทั้งรากทั้งเปลือก) (6:11.) 21 18
ลูกจันทน (1:5.8.10.) (4:12.) (9:6.) (10:12.)
ผ น
1,2,3,13,34,43,47,60,60, 3,12,27,30,
ย ์แ
พท
(14:13.) (15:7.) (17:6.) (20:8.10.) 66,73,74,80,81,82,83,98, 42,45,51,60,


(22:8.10.11.13.) (26:5.11.) (29:11.) (30:9.) 100,114,117,125,127, 66,78,87,90,
า ร
าก
(32:11.) (33:3.) (38:7.8.13.) (39:7.11.) 144,145,146,147,148, 96,99,114,117,

ัิปญญ
(40:9.) (41:7.) (43:9.15.) (50:3.) 150,152,160,161,186, 120,123,129,150,
(51:6.) (55:9.) 188,204 153,165
ลูกจันทนทั้ง ๒ (5:11.) (10:7.) (17:13.)
ภ ม
ู 16,38,67 15,30,51

ค ร อง
ลูกเอ็น (3:7.10.) (17:13.) (20:13.) (27:7.) (53:5.) 9,11,67,75,101,195 9,51,60,81,159

มุ้
เล็บมือนาง(ราก) (37:9.) (42:9.11.) 142,156,157 111,126
เล็บเหยี่ยว(ราก) (12:10.)
อง ค 51 36
เลี่ยน(เปลือก) (33:11.)
เลือดแรด (40:9.) ก 130
150
99
120
โลด (52:3.) 190 156
โลด(เปลือก) (8:8.) (21:8.12.) (41:11.) (49:10.) 30,76,78,154,183 24,63,123,147
โลดแดง (1:14.) 4 3
วานกีบแรด (11:12.-13.) (18:10.) (31:12.) (52:6.) 47,71,121,192 33,54,93,156
วานซุมเพชร (31:13.) 121 93
วานน้ำ (3:7.) (7:6.) (13:8.13.) (24:8.9.12.) 9,23,54,56,88,89,90,91, 9,21,39,72,
(25:10.) (26:11.) (27:6.) (33:4.) 96,100,101,127,149, 75,78,81,99,
(40:7.12.) (53:7.) (54:8.10.12.) 151,195,199,200,201 120,159,162
วานเปราะ (8:9.) (24:7.) (27:6.) 30,88,101 24,72,81
วานเพชรโองการ (31:13.) 121 93
วานรอนทอง (11:13.) (18:10.) (31:12.) 47,71,121, 33,54,93,
(32:11.) (52:6.) 125,192 96,156
302
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


สน(แกน) (10:6.) (31:11.) (35:9.) 38,121,136 30,93,105
สน(เปลือก) (48:10.) 178 144
สนเทศ (17:15.) 67 51
สนเทศ(แกน) (33:5.) 127 99
สนุน(เปลือก) (42:8.) 156 126
สมกุง (43:12.) 161 129
สมกุง(ราก) (23:5.) (29:9.) (50:12.) 84,113,187 69,87,150
สมกุงทั้งสอง (4:8.) (12:11.) 13,52 12,36
สมกุงทั้งสอง(ราก) (17:15.) 67 51
สมเชา (48:7.) 177 144
สมซา (54:16.) 201 162
ไ ท ย
้าน
สมซา(น้ำ) (17:7) (52:14.) 66,194 45,156
สมซา(ใบ) (15:8.) 62
ื้นบ 45
สมปอย(ใบ) (46:3.6.) (52:12.) 166,167,194
ละ พ 138,156
สมปอย(ฝก) (20:10.) (21:9.) (40:12.) 74,77,151
ย แ 60,63,120
สมปอย(ราก) (9:12.) 37
น ไท 27
สมผอูน(น้ำ) (43:8.) 160
ย ์แผ 129

พท
สมสันดาน (48:7.) 177 144
สมเสด(ราก) (34:7.)
า รแ131 102

าก
สมเสี้ยว (48:7.) 177 144

ัิปญญ
สมเสี้ยว(เปลือก) (23:4.) 84 69
สมอ(น้ำ) (53:11.) 197 159
ภ ม

อง
สมอ(ราก) (7:15.) 29 21


สมอทะเล(ใบ) (8:11.) 31 24
มุ้ ค
สมอทั้งสาม (20:9.) (21:9.) (26:11.) (36:10.) 73,77,100,140, 60,63,78,108,

อง ค
(37:9.) (38:9.12.-13.) (53:10.) 142,145,146,197 111,114,159

สมอเทศ (14:14.) (15:7.) (21:14.)
(38:7.) (48:14.) (50:7.)
60,61,79,
144,179,186
42,45,63,
114,144,150
สมอไทย (13:6.12.-13.) (24:9.) (25:6.10.) (38:7.) 53,56,89,93,96,144 39,72,75,114
สมอไทย(ลูก) (8:7.) 30 24
สมอพิเภก (8:7.) (15:9.) (25:6.10.) (50:7.) 30,93,96,186 24,45,75,150
สมอหาเหลี่ยม (53:8.-9.) 196 159
สมออัพยา (3:8.) 10 9
สมุลแวง (9:7.) (17:15.) (20:11.) (21:8.) 34,67,74,76, 27,51,60,63,
(50:5.11.) (51:10.) 186,187,189 150,153
สรรพพิษ(ลูก) (11:7.) 45 33
สลอด(ใบ) (24:12.) (36:14.) 91,141 72,108
สลอด(ผล) (14:6.9.10.11.) (33:7.) (35:11.-12.) 57,58,59,60,128,137, 42,99,105,
(40:13.) (48:11.) 151,178 120,144
303
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


สลอด(ราก) (24:8.) 89 72
สลอดน้ำ(ราก) (7:10.) (11:7.) (12:10.) 25, 45,51 21,33,36
สลัดได (48:7.) 177 144
สลัดได(น้ำยาง) (35:12.) 137 105
สลัดได(ยาง) (35:5.) 135 105
สลาหลก(ลูก) (15:10.) 63 45
สลิด(ดอก) (51:7.) 188 153
สวาด(ใบ) (32:7.) 122 96
สวาด(ผล) (24:10.) 90 72
สวาด(ราก) (34:8.11.) 131,132 102
สหัสคุณ (50:6.) 186 150
ไ ท ย
้าน
สหัสคุณ(ใบ) (7:10.) 26 21
สหัสคุณเทศ (50:12.) 187
ื้นบ
150
สะแก(ราก) (34:8.) 131
ละ พ 102
สะแก(ลูก) (29:12.) 114
ย แ 87
สะคาน (1:10.) (4:13.) (8:8.) (10:8.10.) (13:4.)
ไท
3,13,30,39,41,53,

3,12,24,30,39,
(17:15.) (21:8.) (24:10.) (25:8.11.)
์แ ผ
67,76,90,94,96,

51,63,72,75,

พท
(27:10.) (48:13.) (50:11.) (54:7.) 103,179,187,199 81,144,150,162
สะเดา (53:6.)
า รแ
195 159

าก
สะเดา(กาน) (36:8.11.) 139,140 108

ัิปญญ
สะเดา(ใบ) (3:10.) (7:8.11.) 11,23,26 9,21
สะเดา(ใบ) (43:14.) (52:8.) (54:10.) 161,193,200 129,156,162
ภ ม

อง
สะเดา(เปลือก) (7:10.) (38:6.) 26,144 21,114


สะทอน(เปลือก) (8:11.) (48:10.) 31,178 24,144
สะบา(ลูก) (28:12.) (31:5.)
มุ้ ค 108,119 84,93
สัก(แกน) (10:6.)
อง ค 38 30
สักขี (51:7.)
สักขี(แกน) (10:6.)
ก 188
38
153
30
สักหิน(แกน) (4:10.) 13 12
สังกรณี (5:14.) (18:10.) (24:14.) (32:11.) 17,71,92,125 15,54,72,96
สังข (17:5) (23:11.) (31:10.) 66,87,121 51,69,93
สังหนาม (17:15.) 67 51
สัตตบงกช (31:11.) 121 93
สัตตบรรณ(ดอก) (55:12.) 205 165
สัตตบุษย (1:10.) (50:3.) 3,186 3,150
สัตตบุษย(เกสร) (55:8.) 203 165
สัตตบุษย(ราก) (49:6.) 180 147
สันพรานางแอ(เปลือก) (28:4.-5.) 104 84
สันพรามอญ (7:16.) (11:6.) 29,45 21,33
304
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


สันพรามอญ(ราก) (32:10.) 125 96
สันพราหอม(ใบ) (31:12.) 121 93
สับปะรด(โคน) (23:9.) 86 69
สานแดง (33:9.) 129 99
สามสิบ(ราก) (41:6.) (49:12.) 152,184 123,147
สารภี(เกสร) (5:5.) (37:14.) (51:6.11.) (55:11.) 14,143,188,189,205 15,111,153,165
สารภี(ดอก) (11:8.) (40:10.) 45,150 33,120
สารสม (1:15.) (3:8.) (27:7.) (29:5.9.14.) 4,10,101,110,113,115, 3,9,81,87,
(36:13.-14.) (46:8.10.) (50:13.) (54:15.) 141,168,170,187,201
108,138,150,162
สารสมสะตุ (21:9.) (46:12.) 77,171 63,138
ไ ท ย
้าน
สารหนู (33:7.) 128 99
สีผึ้ง (2:7.) 5
ื้นบ 6
สีผึ้งแข็ง (2:12.) 8
ละ พ 6
สีผึ้งแดง (2:13.) 8
ย แ 6
สีเสียดทั้ง ๒ (2:10.13.) (5:11.) (29:12.) 7,8,16,114
น ไท 6,158,87
สีเสียดเทศ (23:6.) 84
ย ์แผ 69

พท
สุพรรณถัน (14:6.8.10.) 57,58,89 42
สุพรรณถันแดง (23:12.)
า รแ
87 69

าก
สุรามฤต (41:9.) 153 123

ัิปญญ
เสนียด (27:12.) (49:8.14.) 103,181,185 81,147
เสนียด(ใบ) (36:13.) 141 108
ภ ม

อง
เสนียด(ราก) (3:10.) (21:8.) (53:6.) 11,76,195 9,63,159


เสือ(กระดูก) (18:11.) (30:13.) 71,118 54,90
เสือรองรัง (27:9.)
มุ้ ค 102 81

อง ค
แสมทะเล(แกน) (46:8.9.) (50:5.) (54:8.13.) 168,169,186,199,201 138,150,162

แสมทั้งสอง(แกน) (4:9.-10.) (17:14.) (20:10.)
(33:5.) (50:11.-12.)
13,67,74,
127,187
12,51,60,
99,150
หญาเกล็ดหอย (23:9.) 86 69
หญาไซ (30:9.) (32:9.) (46:4.) 117,123,166 90,96,138
หญาใตใบ(น้ำ) (39:10.) 148 117
หญาใตใบ(ลูก) (15:7.) 61 45
หญาปากควาย (36:11.) 140 108
หญาฝรั่น (31:13.) (51:12.) (55:12.) 121,189,205 93,153,165
หญายองไฟ (17:15.) (46:9.) 67,169 51,138
หญารังกา (24:9.) 89 72
หญาหนวดแมว (12:14.) 52 36
หนอไมคาเตา (1:4.) 1 3
หนังกระเบน (32:13.) 126 96
305
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ชื่อ ขนานที่ หนา


หนาด(ใบ) (24:11.) 91 72
หนาด(ราก) (17:11.) 67 51
หนาดคำ(ราก) (34:11.) 132 102
หมอนอย(ลูก) (15:7.) 61 45
หมาก(ใบ) (18:6.) 68 54
หมากตรวย (4:14.) 13 12
หมากผู(ใบ) (7:10.) 26 21
หรดาล (29:14.) 115 87
หวา(เปลือก) (2:5.8.) 5,6 6
หวายตะคา (11:13.) (18:11.) 47,71 33,54
หวายตะคา (11:7.) (32:13.) 45,126 33,96
ไ ท ย
้าน
หวายตะมอย (11:13.) 47 33
หรดาลกลีบทอง (22:10.) (33:12.) 81,130
ื้นบ
66,99
หอม (29:9.13.) (42:8.) (50:6.) 113,115,156,186
ละ พ 87,126,150
หอม(หัว) (8:12.) (15:15.) (17:7.) (23:9.-10.) 32,65,66,86
ย แ 24,45,51,69
หอมแดง (1:7.12.) (6:12.) (26:6.) (30:9.) 2,4,21,98,117,
น ไท 3,18,78,90,
(38:13.) (43:5.) 146,159
ย ์แผ 114,129

พท
หอยกาบ (30:12.) 118 90
หอยขม (30:11.) (54:14.)
า รแ
118,201 90,162

าก
หอยแครง (30:11.) (54:14.-15.) 118,201 90,162

ัิปญญ
หอยจุบแจง (30:12.) 118 90
หอยตาวัว (30:12.) 118 90
ภ ม

อง
หอยนางรม (30:12.) 118 90


หอยพิมพการัง (30:12.) 118 90
หอยมุก (30:12.)
มุ้ ค 118 90
หอยสังข (30:12.)
อง ค 118 90
หัวกะทิสด (2:5.) ก
หัวกะลามะพราว (2:9.-10.)
5
7
6
6
หัวคลา (34:7.) 131 102
หัวเตาเกียด (37:13.) 143 111
หัวเบญบัตร (48:8.) 177 144
หัวยาขาวเย็น (12:7.-8.) 49 36
หัวยาง (28:7.) 105 84
หัวเหลาเขม (39:5.) 147 117
หัสคุณ (24:13.-14.) (30:14.) (31:5.) 92,118,119, 72,90,93,
(44:8.) (54:12.) 163,201 132,162
หัสคุณเทศ (9:8.-9.) (40:13.) (46:9.) (48:8.) 35,151,169,177 27,120,138,144
หัสคุณไทย(52:3.) 190 156
หางจระเข (5:7.) 15 15
306
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ชื่อ ขนานที่ หนา


หางนกยูง (7:12.) 27 21
หางไหลแดง (33:10.) 130 99
หิงคุ (48:13.) 179 144
หิ่งหาย (5:8.) (15:12.) (18:13.) 15,64,72 15,45,54
หินประการัง (21:14.-15.) 79 63
หีบลม(ราก) (34:10.) 132 102
เห็ดมูลโค (18:10.) 71 54
เหล็ก(แกน) (33:4.) 127 99
เหลากลั่น (46:13.) 171 138
เหลาครึ่ง (42:9.) 156 126
แหว (3:9.) 11 9
ไ ท ย
้าน
แหวหมู (3:7.) (6:9.) (15:8.) (17:8.) (24:7.8.-9.) 9,20,62,67,88,89, 9,18,45,51,72,
(25:8.9.) (26:9.) (36:11.) (37:10.) 94,95,99,140,142,
ื้นบ 75,78,108,111,
(38:12.) (40:7.) (51:6.) (53:6.10.)

146,149,188,195,197
ล พ 114,120,153,159
แหวหมูใหญ (27:5.) 101
ย แ 81
โหระพา(ลูก) (11:6.) (18:13.) (21:9.) 45,72,77
น ไท 33,54,63
โหรา (14:6.8.) 57,58
ย ์แผ 42

พท
โหราเดือยไก (22:14.) 83 66
องุน(ลูก) (49:7.)
า รแ 180 147

าก
อบเชย (3:12.) (40:10.) (44:9.) (51:7.10.) (53:12.) 12,150,163,188,189 9,120,132,153,159

ัิปญญ
อบเชย(เปลือก) (49:12.) (55:9.) 184,204 147,165
อบเชย(ราก) (49:12.-13.) 184 147
ภ ม

อง
อบเชยทั้งสอง (26:12.) 100 78


อบเชยเทศ (20:13.) (31:8.11.) 75,120,121 60,93
ออยแดง (49:6.)
มุ้ ค 180 147

อง
ออยแดง(น้ำ) (38:9.) ค 145 114
อังกาบ (27:6.) ก
อังกาบ(ใบ) (3:10.)
101
11
81
9
อังกาบ(ราก) (8:7.) 30 24
อายเหนียว(ราก) (37:9.) 142 111
อุตพิด (5:13.) (50:5.10.) 17,186,187 15,150
อุตพิด(หัว) (6:9.) (54:8.) 20,199 18,162
เอื้องเพ็ดมา (17:9.) (33:11.) 67,130 51,99

307
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ภาคผนวก
ทย ์แ ผ
รแ พ
า กา


ูปิ ัญ
อง ภ
ค ร
ง ค มุ้
ก อ

308
จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

ลำดับเจาอาวาส

๑. พระสุธรรมเทพเถร (ทอง) เปนเจาอาวาสในระหวางที่พระเจาลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร


(รัชกาลที่ ๓) ทรงปฏิสังขรณวัด ไมปรากฏหลักฐานวามรณภาพเมื่อใด
๒. พระธรรมเจดีย (จีน ป.ธ. ๗) พ.ศ. ๒๓๙๕ – ๒๔๑๖
๓. พระสังวรวิมล (เหม็ง) ไมปรากฏหลักฐาน
๔. พระปรากรมมุนี (อยู) ไมปรากฏหลักฐาน
๕. พระปรากรมมุนี (ยอด) ไมปรากฏหลักฐาน
ไ ท ย
บ ้าน
ื้น
๖. พระสังวรวิมล (เนียม) เปนเจาอาวาสจนถึง พ.ศ. ๒๔๕๔
๗. พระธรรมมุเทศาจารย (มุย ธมฺมปาโล) พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๖
ละ พ
ย แ
๘. พระเทพญาณมุนี (ผวน ภทฺธโร ป.ธ. ๓)
น ไท
๙. พระราชโมลี (ณรงค ฐิตาโณ ป.ธ. ๔) พ.ศ. ๒๕๑๖ – ผ
ย ์แ ๒๕๒๔
ท ณฑิต) เจาอาวาส
๑๐. พระมหาโพธิวงศาจารย (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙,พราชบั
า รแ
ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๒๕ จนถึงปจจุบัน
า ก

ิูมปัญ
ง ภ
ค รอ
ง ค ุ้ม
กอ

309
ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ

ไ ท ย
บ ้าน
ะ พ ื้น
ย แล
น ไท
ย ์แผ
รแพท
ากา
ัิปญญ
ภ ม

ค ร อง
ง ค มุ้
ก อ

310

You might also like