Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

สอวน กทม (ส.ค.

2557) 1
16 Oct 2014

สอวน วิชา คณิตาสตร์ (ศูนย์ กทม.)


วันอาทิตย์ที่ 31 สิงหาคม 2557 เวลา 9.00 – 12.00 น.

ข้ อตกลง
บทนิยาม 2 ให้ Π : → ที่กาหนดโดย ทุกๆ ∈ , Π( ) = ผลคูณของตัวประกอบที่เป็ นบวกทุกตัวของ

บทนิยาม 3 ให้ Ω : → ที่กาหนดโดย ทุกๆ ∈ , Ω( ) = ผลบวกของเลขโดดที่เขียนแทน

บทนิยาม 4 ให้ Ψ : → ที่กาหนดโดย ทุกๆ ∈ , Ψ( ) = ผลคูณของเลขโดดที่ไม่เท่ากับ 0 ที่เขียนแทน

บทนิยาม 8 ให้ และ แทนเซต เรียก ว่า “ความสัมพันธ์จาก ไป ” ก็ตอ่ เมื่อ


และเรี ยกความสัมพันธ์ จาก ไป ว่า “ความสัมพันธ์บน ”

บทนิยาม 9 ให้ เป็ นความสัมพันธ์บน


 เรี ยก ว่ามีสมบัติ “สะท้ อน” ก็ตอ่ เมื่อ ∈ [( ) ∈ ]
 เรี ยก ว่ามีสมบัติ “สมมาตร” ก็ตอ่ เมื่อ ∈ [( ) ∈ ( )∈ ]
 เรี ยก ว่ามีสมบัติ “ถ่ายทอด” ก็ตอ่ เมื่อ ∈ [( )∈ ( )∈ ( )∈ ]
 เรี ยก ว่าเป็ น “ความสัมพันธ์สมมูลบน ” ก็ตอ่ เมื่อ มีสมบัติ สะท้ อน สมมาตร และถ่ายทอด

บทนิยาม 10 ให้ ∈ กาหนด d( ) แทนเซตของเลขโดดทีเ่ ขียนแทน

จงเติมคาตอบทีถ่ กู ต้ องลงในกระดาษคาตอบที่กาหนดให้
ให้ ใช้ = {1, 2, 3} และ = { } เพื่อเป็ นข้ อมูลในการตอบคาถามข้ อ 1 – 6
1. ให้ = { || | } เมื่อ แทนโดเมนของความสัมพันธ์ จงหา | |

2. จงหาจานวนความสัมพันธ์บน ที่มีสมบัติสะท้ อน
2 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

3. จงหาจานวนความสัมพันธ์บน ที่มีสมบัติสมมาตร

4. จงหาจานวนความสัมพันธ์บน ที่มีสมบัติสะท้ อนและสมมาตร

5. จงหาจานวนความสัมพันธ์บน ที่เป็ นความสัมพันธ์สมมูล


สอวน กทม (ส.ค. 2557) 3

6. ให้ ={ | : → } และ ={ ∈ | เป็ นฟั งก์ชนั 1 – 1 } จงหา | |

7. จงหาว่ามีจานวนเต็มบวก ทังหมดกี
้ ่จานวนที่สอดคล้ องกับ
(1) 10 ≤ ≤ 10 และ
(2) จานวนทีเ่ กิดจากการตัดหลักหน่วยของ ออก เป็ นตัวประกอบของ

8. จงหาจานวนเต็มบวก ที่น้อยที่สดุ ที่สอดคล้ องกับ


1. หลักแรกของ เป็ น 1 และ
2. จานวนทีเ่ กิดจากการย้ ายหลักแรกของ ไปไว้ เป็ นหลักสุดท้ าย มีคา่ เป็ น 3 เท่าของ
4 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

9. จงหาจานวนเต็มบวก ที่น้อยที่สดุ ที่สอดคล้ องกับ


(1) 10 ≤ ≤ 10 ,
(2) |d( )| = 6 และ
(3) d( ) = d(2 ) = d(3 ) = d(4 ) = d(5 ) = d(6 )

10. จงหาจานวนเต็มบวก ที่สอดคล้ องกับ


(1) 10 ≤ ≤ 10 ,
(2) |d( )| = |d(2 )| = |d(3 )| และ
(3) d( ) ∪ d( ) ∪ d(3 ) = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9}
สอวน กทม (ส.ค. 2557) 5

11. กาหนดให้ (1 )(1 )(1 ) (1 ) =


เมื่อ , , เป็ นค่าคงที่ จงหาค่าของ

12. จงหาผลบวกของรากทังหมดของสมการ
้ =

100
13. ให้ ∈ กาหนด = (10 1) จงหา Ω(  )
m 1
6 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

14. ให้ = 3 และ Π( ) = 3 เมื่อ ∈ จงหา Ψ( )

15. ให้ ={ ∈ | ≤ 100 } และ ={ ∈ | ∈ [ ≤√ | ]} จงหา | |

16. ให้ ={ ∈ℝ| 3 =0} จงหา | |


สอวน กทม (ส.ค. 2557) 7

100
17. ให้ : →Z ที่กาหนดโดย ( ) = จานวนเต็ม ที่มากที่สดุ ที่ 10 เป็ นตัวประกอบของ จงหา  ()
i 1

18. จาก ที่กาหนดในข้ อ 17 ข้ างต้ น จงหาหลักหน่วยของ 30 10 ( )

100
19. ให้ เป็ นคาตอบของสมการ 1=0 และ >0 จงหา  (⌊ ⌋ ⌊ ⌋)
n 1
8 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

20. ให้ ={√ 1 √ 1| ∈ℝ} ถ้ า ={ ∈ℝ| < < } จงหา

21. ABC เป็ นรู ปสามเหลีย่ ม มี G เป็ นจุดตัดของเส้ นมัธยฐาน ลากเส้ นตรง
ผ่านจุด G ให้ จดุ ยอด B และ C อยูข่ ้ าง
เดียวกันของเส้ นตรง ลาก AP, BQ, CR ตังฉากกั
้ บเส้ นตรง ที่จดุ P, Q, R ตามลาดับ ถ้ า BQ = 7 หน่วย และ
CR = 5 หน่วย จงหาความยาว AP

22. วงกลม มีเส้ นรองวงยาว 2 , 4 , ตามลาดับ สัมผัสกัน โดยที่วงกลมหนึง่ วงสัมผัสกับวงกลมอีกสอง


วง ถ้ าจุดสัมผัสคือจุด P, Q, R จงหาพื ้นที่ของรูปสามเหลีย่ ม PQR
สอวน กทม (ส.ค. 2557) 9

23. รูปสามเหลีย่ ม ABC มี AC = BC = 18 หน่วย ลาก AD, CE ตังฉากกั


้ บ BC, AB ที่จดุ D, E ตามลาดับ
ถ้ า sin = จงหาความยาว DE

24. รูปสามเหลีย่ ม ABC มีมมุ B เป็ นมุมฉาก ด้ าน AB, BC ยาว 5, 12 หน่วย ตามลาดับ สร้ างวงกลมให้ จดุ ศูนย์กลาง
อยูบ่ นด้ าน AB โดยวงกลมผ่านจุด B และสัมผัสกับด้ าน AC ถ้ าวงกลมตัดด้ าน AB ที่จดุ D จงหาความยาว AD

25. กาหนดให้ ความยาวของเส้ นมัธยฐาน AD, BE, CF ของรูปสามเหลีย่ ม ABC เท่ากับ 9, 12, 15 หน่วยตามลาดับ จง
หาความยาวด้ าน AB
10 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

26. ให้ ABCD เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มคางหมูหน้ าจัว่ มีพื ้นที่ 132 ตารางหน่วย AB ขนานกับ CD และความยาวของด้ าน AB,
CD เท่ากับ 14, 8 หน่วย ตามลาดับ E เป็ นจุดบนแกนสมมาตรของรู ปสีเ่ หลีย่ ม ABCD ทาให้ มม ุ BEC = 90° จง
หาระยะห่างมากที่สดุ จาก E ถึง AB

27. รูปห้ าเหลีย่ ม ABCDE มีพิกดั ของจุดมุมคือ A(0, 0) , B(7, 0) , C(7, ) , D(5, 3) , E(0, 8) เส้ นตรง =
แบ่งรูปห้ าเหลีย่ ม ABCDE ออกเป็ นสองส่วนที่มีพื ้นที่เท่ากัน ถ้ า = √ เมื่อ เป็ นจานวนเต็ม จงหาค่า
ของ

28. ให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มหน้ าจัว่ มีด้าน AC = BC และ CD ⊥ AB ที่จดุ D เส้ นแบ่งครึ่งมุม CAB ตัด CD ที่จดุ E
และพบกับด้ าน BC ที่จดุ F ถ้ า AF CD จงหาว่ามุม AEC กางกี่องศา
สอวน กทม (ส.ค. 2557) 11

29. รูปสีเ่ หลีย่ มคางหมู ABCD แนบในวงกลมที่มี AB เป็ นเส้ นผ่านศูนย์กลาง พื ้นที่ของรูปสามเหลีย่ ม ABC และ พื ้นที่
ของรูปสามเหลีย่ ม ACD เท่ากับ 150 และ 120 ตารางหน่วย ตามลาดับ ถ้ าครึ่งหนึง่ ของความยาวเส้ นรอบรูป
สีเ่ หลีย่ ม ABCD มีคา่ เท่ากับ √ หน่วย เมื่อ เป็ นจานวนเต็ม ซึง่ ห.ร.ม. ( )=1
จงหาค่าของ

30. ให้ ABCD เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มด้ านขนาน มีมมุ ADC เป็ นมุมแหลม X เป็ นจุดบนด้ าน DC ทาให้ AX = AD ,

BX = BA และ CX = CB ถ้ า =

เมื่อ เป็ นจานวนเต็ม และ ห.ร.ม. ( )=1
จงหาค่าของ
12 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

เฉลย
1. 675 9. 142857 16. 2 24. 0.2
2. 4096 10. 192 , 219 , 17. 1124 25. 10
3. 1024 273 , 327 18. 8 26. 8.83
4. 64 11. 1302 19. 5050 27. 4
5. 5 12. 3.83 20. 28. 108
6. 24 13. 415 21. 12 29. 9
7. 1023 14. 20 22. 1.2 30. 2
8. 142857 15. 8 23. 7.5

แนวคิด
1. 675
ขันที
้ ่ 1: เลือกสองตัว จาก มาเป็ นโดเมน → เลือกได้ ( ) แบบ
ขันที
้ ่ 2: เลือกสับเซตของ ที่ ≠ ∅ มาให้ โดเมนตัวแรกโยงไป → เลือกได้ 1 (หัก ∅)
ขันที
้ ่ 2: เลือกสับเซตของ ที่ ≠ ∅ มาให้ โดเมนตัวที่สองโยงไป → เลือกได้ 1
จะได้ คาตอบ = ( )( 1)( 1) = (3)(15)(15) = 675

2. 4096
ความสัมพันธ์บน ที่มีสมบัติสะท้ อน คือ ความสัมพันธ์จาก ไป ที่ ∈ [( ) ∈ ]
นัน่ คือ ต้ องมี ( ) ( ) ( ) ( ) เป็ นอย่างน้ อย ส่วนคูอ่ นั ดับอื่น จะอยูใ่ น หรื อไม่อยูก่ ็ได้
เนื่องจาก มีทงหมด
ั้ 4 × 4 = 16 คูอ่ น ั ดับ และมี 4 คูอ่ นั ดับที่ต้องอยูใ่ น
ดังนัน้ เหลือ 12 คูอ่ นั ดับ เลือกได้ วา่ จะอยูห่ รื อไม่อยู่ → เลือกได้ = 4096 แบบ

3. 1024
จะมีทงหมด
ั้ 4 × 4 = 16 คูอ่ น ั ดับ
จะสนใจเฉพาะ ( ) ที่ มาก่อนหรือเท่ากับ เท่านัน้ เช่น ( ), ( ), ( )
เพราะ ( ) ที่ มาหลัง เช่น ( ) จะถูกบังคับด้ วย ( ) อยูแ่ ล้ ว
เช่น ถ้ ามี ( ) ก็ต้องมี ( ) ถ้ าไม่มี ( ) ก็ต้องไม่มี ( )
จานวนคูอ่ นั ดับที่ มาก่อน จะมี ( ) แบบ (จัดหมู่ 2 ตัว แล้ วให้ เป็ นตัวน้ อย , เป็ นตัวมาก)
จานวนคูอ่ นั ดับที่ = จะมี 4 แบบ คือ ( ) ( ) ( ) ( )
ดังนัน้ จานวนแบบที่ มาก่อนหรื อเท่ากับ จะมี ( ) + 4 = + 4 = 10 แบบ
เลือก เอา หรื อ ไม่เอา 10 คูอ่ นั ดับนี ้ ได้ = 1024 แบบ

4. 64
คราวนี ้ คูอ่ นั ดับที่ = จะถูกบังคับต้ องอยูใ่ น เลือกไม่ได้
เหลือเลือกได้ เฉพาะ ( ) ที่ มาก่อน ซึง่ มี ( ) = = 6 แบบ
ดังนัน้ จานวนแบบ = = 64 แบบ

5. 5
สมมูล คือ ต้ อง สะท้ อน สมมาตร และ ถ่ายทอด
สอวน กทม (ส.ค. 2557) 13

จะมีทงหมด
ั้ 3 × 3 = 9 คูอ่ นั ดับ
ต้ องสะท้ อน ดังนัน้ (1, 1), (2, 2), (3, 3) ต้ องอยูใ่ น เลือกไม่ได้
ต้ องสมมาตร ดังนัน้ เราต้ องเลือกใส่ เป็ นคูๆ่ คือ (1, 2)&(2, 1) หรื อ (1, 3)&(3, 1) หรื อ (2, 3)&(3, 2)
แต่จะเห็นว่า ในสามคูน่ ี ้ ถ้ าเลือกแค่สองคูม่ าใส่ จะทาให้ ไม่มีสมบัติถ่ายทอด
เพราะ สองคูท่ เี่ ลือกมา จะต่อกันเข้ าไปในคูท่ ี่ไม่ได้ ถกู เลือกได้
เช่น ถ้ าเลือก (1, 2)&(2, 1) กับ (2, 3)&(3, 2) จะได้ = {(1, 1), (2, 2), (3, 3), (1, 2), (2, 1), (2, 3), (3, 2)}
จะเห็นว่า มี (1, 2) กับ (2, 3) แต่ไม่มี (1, 3)
แต่ถ้าเลือกมาแค่คเู่ ดียว จะยังคงถ่ายทอดได้ อยู่ (เพราะแค่คเู่ ดียว ต่อกันเข้ าไปในอีกสองคูไ่ ม่ได้ ) → ได้ 3 แบบ
และถ้ าเลือกมาสามคูเ่ ลย ก็จะมีสมบัติถ่ายทอด เพราะ มีทกุ ตัว → ได้ 1 แบบ
หรื อถ้ าไม่เลือกเลยซักคู่ ก็จะมีสมบัติถ่ายทอดด้ วย → ได้ 1 แบบ
ดังนัน้ จะมี ได้ 3 + 1 + 1 = 5 แบบ คือ {(1, 1), (2, 2), (3, 3)}
{(1, 1), (2, 2), (3, 3), (1, 2), (2, 1)}
{(1, 1), (2, 2), (3, 3), (1, 3), (3, 1)}
{(1, 1), (2, 2), (3, 3), (2, 3), (3, 2)}
{(1, 1), (2, 2), (3, 3), (1, 2), (2, 1), (1, 3), (3, 1), (2, 3), (3, 2)}

6. 24
: → คือ ทุกตัวใน ต้ องจับคูห่ มด , 1 – 1 คือ ต้ องจับคูแ่ บบหนึง่ ต่อหนึง่
1 เลือกจับคู่ ได้ 4 แบบ 2 ต้ องไม่จบั คูซ่ ้ากับ 1 → ได้ 3 แบบ 3 ต้ องไม่จบั คูซ่ ้ากับ 1 → ได้ 2 แบบ
รวมจานวนวิธีได้ 4 × 3 × 2 = 24 แบบ

7. 1023
ให้ คือ จานวนทีเ่ กิดจากการตัดหลักหน่วยของ ออก จะได้ 10 ≤ ≤ 10 + 9
จากข้ อ 2 จะได้ ต้ องเป็ นตัวประกอบของ นัน่ คือ = แทนในอสมการจะได้ 10 ≤ ≤ 10 9 ( )
จานวนแบบของ จะเท่ากับจานวนแบบของ ( ) ที่สอดคล้ อง (เพราะ ที่ตา่ งกัน จะทาให้ 10 ≤ ≤ 10 +9
เป็ นช่วงที่ไม่ซ้อนกัน ทาให้ ได้ ที่ตา่ งกัน และ ถ้ า เท่าแต่ ต่าง ก็จะได้ ที่ตา่ งกัน ทาให้ ได้ ที่ตา่ งกัน)
จาก 10 ≤ ≤ 10 จะได้ 1 ≤ ≤ 1000
เอา หาร ( ) ตลอด จะได้ 10 ≤ ≤ 10
ถ้ า 10 ≤ ≤ 1000 จะได้ < 1 จะได้ = 10 แบบเดียว → รวม (1000 – 10 + 1)(1) = 991 แบบ
ถ้ า ≤ ≤ 9 จะได้ 1 ≤ < 2 จะได้ = 10, 11 สองแบบ → รวม (9 – 5 + 1)(2) = 10 แบบ
ถ้ า = 4 จะได้ = 10, 11, 12 → 3 แบบ
ถ้ า = 3 จะได้ = 10, 11, 12, 13 → แบบ
ถ้ า = 2 จะได้ = 10, 11, 12, 13, 14 → แบบ
ถ้ า = 1 จะได้ 10 11 1 19 → 10 แบบ
รวมทุกแบบ จะได้ 991 + 10 + 3 + 4 + 5 + 10 = 1023 แบบ

8. 142857
จะได้ 1xxx x สมมติให้ สว่ นที่อยูห่ ลัง 1 (ที่เป็ น xxx x) แทนด้ วย โดยให้ มี หลัก จะได้ = 10
14 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

และจะได้ จานวนที่ย้ายหลักแรกของ ไปไว้ หลักสุดท้ าย คือ xxx x1 10 + 1


ดังนัน้ 10 + 1 = 3(10 ) → กระจาย 3 แล้ วย้ าย ไปอยูฝ ่ ั่งซ้ าย จะได้ 7 3 10 1 999 9
จะได้ = → หา 999 9 ที่น้อยที่สดุ ที่หาร 7 ลงตัว โดยการหารสันแล้ ้ วเติม 9 ไปเรื่ อยๆ 7 2999 9
จะได้ = 42857 ดังนัน้ = 142857 42857

9. 142857
จากข้ อตกลงด้ านหน้ า d( ) คือ เซตของเลขโดดที่เขียนแทน เช่น d(2557) = {2, 5, 7}
จะเห็นว่า ถ้ า = 10 จะทาให้ ข้อ 2 ไม่จริ ง ดังนัน้ ข้ อ 1 จะเหลือแค่ 100,000 ≤ ≤ 999 999 → มี 6 หลัก
และจากข้ อ 2 จะได้ มีเลขโดด 6 ตัวไม่ซ ้ากัน ดังนันแต่ ้ ละหลักของ ต้ องไม่ซ ้ากัน
โจทย์ต้องการ ที่น้อยที่สดุ → จะไล่พิจารณา โดยใช้ 2 หลักซ้ าย หาเลขโดดทีเ่ หลืออีก 4 หลัก แล้ วดูความเป็ นไปได้
กรณี = 10abcd : จะเห็นว่าจานวนในรูปนี ้ ถ้ าคูณ 2, 3, 4, 5, 6 จะได้ จานวนหกหลัก ที่มี “หลักซ้ ายสุด” เป็ น 2, 3, 4,
5, 6 ตามลาดับ (เนื่องจากหลักทีส ่ องเป็ น 0 จะไม่มีทางทดข้ ามไปหลักแรก) จากเงื่อนไขข้ อ 3 จะได้ วา่ 2, 3, 4, 5, 6
ต้ องเป็ นเลขโดดใน แต่เนื่องจากเลขโดดที่เหลือมีแค่ 4 ตัว จะเป็ น 2, 3, 4, 5, 6 ครบทุกตัวไม่ได้ กรณีนี ้จึงขัดแย้ ง
กรณี = 11abcd : มี 1 ซ ้ากัน ขัดแย้ งกับข้ อ 2
กรณี = 12abcd : จานวนในรูปนี ้ ถ้ านาไปคูณ 2, 3, 4, 5, 6 (โดยพิจารณาตัวทดทีเ่ ป็ นไปได้ ) จะได้ จานวนหกหลัก ที่
มีหลักซ้ ายสุดเป็ น 2, 3, (4 หรื อ 5), 6, 7 ตามลาดับ จากเงื่อนไขข้ อ 3 จะได้ วา่ 2, 3, (4 หรื อ 5), 6, 7 ต้ องเป็ นเลข
โดดใน และจะเห็นว่า 2 เป็ นหลักที่สองของ แล้ ว ดังนันสี ้ ห่ ลักที่เหลือต้ องเป็ น 3, (4 หรื อ 5), 6, 7
ถัดมา พิจารณา “หลักหน่วย” d จะเป็ น 3 ไม่ได้ เพราะ 3 จะลงท้ ายด้ วย 9 แต่ไม่มี 9 ในเลขโดดของ , ทานอง
เดียวกัน d จะเป็ น 4 ไม่ได้ เพราะ 2 จะลงท้ ายด้ วย 8 , เป็ น 5 ไม่ได้ เพราะ 2 จะลงท้ ายด้ วย 0 , เป็ น 6 ไม่ได้
เพราะ 3 จะลงท้ ายด้ วย 8 , เป็ น 7 ไม่ได้ เพราะ จะลงท้ ายด้ วย 8 → สรุป หา d ไม่ได้ กรณีนี ้จึงขัดแย้ ง
กรณี = 13abcd : ทาแบบเดียวกับกรณีที่แล้ ว จานวนในรูปนี ้ ถ้ านาไปคูณ 2, 3, 4, 5, 6 จะได้ หลักหน้ าสุดเป็ น 2, (3
หรื อ 4), 5, 6, (7 หรื อ 8) ตามลาดับ เนื่องจากหลักที่สองเป็ น 3 ไปแล้ ว ดังนันสี ้ ห่ ลักที่เหลือจะต้ องเป็ น 2, 5, 6, (7
หรื อ 8) ถัดมา หาหลักหน่วย d จะเป็ น 2, 6, 8 ไม่ได้ เพราะ 5 จะลงท้ ายด้ วย 0 , เป็ น 5 ไม่ได้ เพราะ 2 จะลง
ท้ ายด้ วย 0 , เป็ น 7 ไม่ได้ เพราะ จะลงท้ ายด้ วย → สรุป หา d ไม่ได้ อีก กรณีนี ้จึงขัดแย้ ง
กรณี = 14abcd : คูณ 2, 3, 4, 5, 6 จะได้ หลักหน้ าสุดเป็ น 2, 4, 5, 7, 8 ตามลาดับ แต่หลักที่สองเป็ น 4 ไปแล้ ว
ดังนันสี
้ ห่ ลักที่เหลือจะต้ องเป็ น 2, 5, 7, 8 ถัดมา หาหลักหน่วย d จะเป็ น 2, 8 ไม่ได้ เพราะ ลงท้ ายด้ วย 0 , เป็ น
5 ไม่ได้ เพราะ ลงท้ ายด้ วย 0 , แต่คราวนี ้เป็ น 7 ได้ เพราะคูณ 2 ถึง 6 แล้ วได้ หลักหน่วยเป็ นเลขโดดของ
ดังนัน้ d = 7 ได้ = 14abc7 ถัดมา หา พิจารณา จะได้ หลักหน่วยทดข้ ามไป 3 ทาให้ เป็ น 2 หรื อ 8
ไม่ได้ เพราะจะได้ หลักสิบของ เป็ น 3 ซึง่ ไม่เป็ นหลักโดดของ ดังนัน้ = 5 ได้ = 14ab57
ถ้ า = 142857 จะได้ , 3 คือ 285714 , 428571 , 571428 , 714285 , 857142
สอดคล้ องกับเงื่อนไขทังสามข้
้ อ

10. 192, 219, 273, 327


จะเห็นว่า = 1000 จะทาให้ ข้อ 3 ไม่จริ ง ดังนัน้ ข้ อ 1 จึงเหลือแค่ 100 ≤ ≤ 999 จะได้ |d( )| ≤ 3
จากข้ อ 2 จะได้ |d(2 )|, |d(3 )| ≤ 3 ด้ วย แต่จากข้ อ 3 จะเห็นว่า d( ) ∪ d( ) ∪ d(3 ) มี 9 ตัว
ซึง่ จะสรุปได้ วา่ แต่ละตัวใน , 2 , 3 ต้ องมีเลขโดด 3 ตัวที่ไม่ซ ้ากัน (และห้ ามมี 0)
สอวน กทม (ส.ค. 2557) 15

เนื่องจาก 3 มีเลขโดดได้ แค่ 3 ตัวที่ไม่ซ ้า ดังนัน้ 3 ≤ 98 → ≤ 3 9


ดังนัน้ ถ้ าให้ = abc , 2 = def , 3 = ghi จะได้ a = 1, 2, 3 เท่านัน้ → จะแบ่งกรณีคิดตามค่า a
กรณี = 3bc : จะได้ 2 กับ 3 ห้ ามทดไปที่หลักแรก ไม่งนั ้ 3 จะเกิน 3 หลัก → ได้ 2 = 6ef , 3 = 9hi
พิจารณาหลักหน่วยก่อน (เพราะไม่มีตวั ทดมาจากหลักอื่น) เนื่องจากใช้ 3, 6, 9 ไปแล้ ว จึงห้ ามมี 3, 6, 9 อีก
พิจารณาหลักหน่วยของ , 2 , 3 ที่ไม่มี 3, 6, 9 และไม่ซ ้ากันเอง จะมีแค่ (4, 8, 2) , (7, 4, 1) สองแบบ
= 3b4 เหลือ 1, 5, 7 ลอง = 3b7 เหลือ 2, 5, 8 327 
2 = 6e8 2 = 6e4 654
3 = 9h2 แทนจะไม่ได้ ซกั แบบ 3 = 9h1 ลองแทนจะได้ 981
กรณี = 2bc : พิจารณาหลักหน่วยของ ,2 ,3 ที่ไม่มี 2 จะมี (3, 6, 9) , (7, 4, 1) , (8, 6, 4) , (9, 8, 7) สีแ่ บบ
= 2b3 เหลือ 1, 4, 5, 7, 8 ลองแทนใส่ b แล้ ว 273 
2 = de6 546
3 = gh9 คานวณ 2 , 3 จะได้ b = 7 แบบเดียว 819
= 2b7 เหลือ 3, 5, 6, 8, 9 จากตัวที่เหลือ จะได้ d = 5 2b7 เหลือ 3, 6, 9 จะเห็น
2 = de4 5e4
3 = gh1 เท่านัน้ และจะสรุปต่อได้ ด้วยว่า g = 8 เท่านัน้ 8h1 ว่าแทนยังไงก็ไม่จริง

= 2b8 เหลือ 1, 3, 5, 7, 9 จากตัวที่เหลือ จะ 2b8 เหลือ 1, 3, 9 จะเห็น


2 = de6 5e6
3 = gh4 เห็นว่า d และ g ต้ องเป็ น 5, 7 เท่านัน้ 7h4 ว่าแทนยังไงก็ไม่จริง

= 2b9 เหลือ 1, 3, 4, 5, 6 จากตัวที่เหลือ จะ 2b9 เหลือ 1, 3, 5 จะแทน 219 


2 = de8 4e8 438
3 = gh7 เห็นว่า d และ g ต้ องเป็ น 4, 6 เท่านัน้ 6h7 ต่อได้ แบบเดียว คือ 657

กรณี = 1bc :พิจารณาหลักหน่วยของ ,2 ,3 ที่ไม่มี 1 จะมี (2, 4, 6) , (3, 6, 9) , (4, 8, 2) , (6, 2, 8) ,


(8, 6, 4) , (9, 8, 7) ทังหมด
้ 6 แบบ
= 1b2 เหลือ 3, 5, 7, 8, 9 จากตัวที่เหลือ จะ 1b2 เหลือ 7, 8, 9 จะแทน 192 
2 = de4 3e4 384
3 = gh6 เห็นว่า d และ g ต้ องเป็ น 3, 5 เท่านัน้ 5h6 ต่อได้ แบบเดียว คือ 576
= 1b3 เหลือ 2, 4, 5, 7, 8 จากตัวที่เหลือ จะ 1b3 เหลือ 5, 7, 8 จะเห็น
2 = de6 2e6
3 = gh9 เห็นว่า d และ g ต้ องเป็ น 2, 4 เท่านัน้ 4h9 ว่าแทนยังไงก็ไม่จริง
= 1b4 เหลือ 3, 5, 6, 7, 9 จากตัวที่เหลือ จะ 1b4 เหลือ 6, 7, 9 จะเห็น
2 = de8 3e8
3 = gh2 เห็นว่า d และ g ต้ องเป็ น 3, 5 เท่านัน้ 5h2 ว่าแทนยังไงก็ไม่จริง
= 1b6 เหลือ 3, 4, 5, 7, 9 จากตัว 1b6 เหลือ 4, 5, 7, 9 แทนใส่ b แล้ ว
2 = de2 3e2
3 = gh8 ที่เหลือ จะเห็นว่า d = 3 gh8 คานวณ 2 , 3 จะมีตวั ซ ้าเกิดขึ ้นเสมอ
= 1b8 เหลือ 2, 3, 5, 7, 9 แทนใส่ b แล้ ว = 1b9 เหลือ 2, 3, 4, 5, 6 แทนใส่ b แล้ ว
2 = de6 2 = de8
3 = gh4 คานวน 2 , 3 จะมีตวั ซ ้าเกิดขึ ้นเสมอ 3 = gh7 คานวน 2 , 3 จะมีตวั ซ ้าเกิดขึ ้นเสมอ

ดังนัน้ จะได้ = 192 , 219 , 273 , 327 ทังหมด


้ 4 แบบ

11. 1302
คือ สปส ของ ซึง่ จะได้ จากการเลือกพจน์ที่มี จากสองวงเล็บมาคูณกัน
เนื่องจากพจน์ที่ไม่มี ของทุกวงเล็บเป็ น 1 คูณอะไรก็ได้ เท่าเดิม จึงไม่มีผลกับ
16 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

จะได้ พจน์ มี ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( )
+ ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( )
( )( ) ( )( ) ( )( )
+( )( ) ( )( )
+( )( )
คิดเฉพาะ สปส โดยเรี ยงให้ เป็ นอนุกรมเรขา ตามแนวลูกศร
จะได้ สปส = ( ) ( ) ( )
( ) ( )
= = 1022 + 248 + 32 = 1302

12. 3.83
ให้ =3 , = , = 13 จะได้ สมการคือ =
=
= 0
( ) = 0
=0 หรื อ =0
จะได้ 3 =0 หรื อ ( 13) = 0
(3 )=0 18 = 0
=0, = =

จะได้ ผลบวกราก = 0 + ( ) = ≈ 3.83

13. 415
100 100 100 100 100
 =  (10 1) =  (10 1) = (  10  1)
m 1 m 1 m 1 m 1 m 1

ตัว ตัว ตัว


= (⏞
111 1 0 – 100) = (⏞
111 1 110 100) = ( ⏞
111 1 010)
( )
เนื่องจาก 1 ทุกๆเก้ าตัว จะหาร 9 ลงตัวได้ = 12345679 ซึง่ มีผลบวกเลขโดด = 8 = 37
ตัว
ดังนัน้ ⏞
111 1 จะแบ่งเป็ นกลุม่ ละ 9 ตัว ได้ 10 กลุม่ → ผลบวกเลขโดด = 10(37) = 370 และเหลือแปดตัว
ตัว
⏞ ( )
ซึง่ เมื่อรวมกับ 010 จะหารด้ วย 9 ได้ 1 3 890 → ผลบวกเลขโดด = = 45
100
ดังนัน้ Ω(  ) = 370 + 45 = 415
m 1

14. 20
Π( ) = ผลคูณของตัวประกอบทีเ่ ป็ นบวกทุกตัวของ = (1)( )( )( )( )( )
(3 )( 3 )( 3 )( 3 )( 3 )( 3 )
(3 )( 3 )( 3 )( 3 )( 3 )( 3 )
(3 )( 3 )( 3 )( 3 )( 3 )( 3 )
(3 )( 3 )( 3 )( 3 )( 3 )( 3 )

จะเห็นว่า แต่ละแถว มี 2 อยูแ่ ถวละ 1+2+3+4+5 = 15 ตัว และมี 5 แถว → รวม (5)(15) = 75 ตัว
จะเห็นว่า แต่ละหลัก มี 3 อยูห่ ลักละ 1+2+3+4 = 10 ตัว และมี 6 หลัก → รวม (6)(10) = 60 ตัว
ดังนัน้ Π( ) = 3 = 3 → = 75 , 0 → = (75)(60) = 4500
สอวน กทม (ส.ค. 2557) 17

ดังนัน้ Ψ(4500) = (4)(5) = 20

15. 8
กรณี = 1, 2, 3 จะได้ จานวนเต็มบวกที่ ≤ √ มี 1 ตัวเดียว และเนื่องจาก 1 หารทุกตัวลงตัว ดังนัน้ มี 1, 2, 3
กรณี = 4, 5, 6, 7, 8 จะได้ จานวนเต็มบวกที่ ≤ √ มี 1 → ค.ร.น. 1, 2 = 2 ดังนัน้ ทุกตัวในกรณีนี ้ที่เป็ นพหุคณ ู
ของ 2 จะหารด้ วย 1, 2 ลงตัว ดังนัน้ มี 4, 6, 8
กรณี 9 10 11 1 จะได้ จานวนเต็มบวกที่ ≤ √ มี 1 3 → ค.ร.น. 1, 2, 3 = 6 ดังนัน้ ทุกตัวในกรณีนี ้ที่
เป็ นพหุคณ ู ของ 6 จะหารด้ วย 1, 2, 3 ลงตัว ดังนัน้ มี 12
กรณี 1 1 18 จะได้ จานวนเต็มบวกที่ ≤ √ มี 1 3 → ค.ร.น. 1, 2, 3, 4 = 12 ดังนัน้ ทุกตัวใน
กรณีนี ้ที่เป็ นพหุคณ
ู ของ 12 จะหารด้ วย 1, 2, 3, 4 ลงตัว ดังนัน้ มี 24
กรณี 3 → ค.ร.น. 1, 2, 3, 4, 5 = 60 แต่กรณีนี ้ ไม่มีพหุคณ ู ของ 60 อยูเ่ ลย จึงใช้ ไม่ได้
กรณี = 36, 37, 38 8 → ค.ร.น. 1, 2, 3, 4, 5, 6 = 60 แต่กรณีนี ้ ไม่มีพหุคณ ู ของ 60 อยูเ่ ลย จึงใช้ ไม่ได้
จะเห็นว่า ถ้ า มากกว่านี ้ จะได้ ค.ร.น. 1 0 ซึง่ เกิน 100 ทาให้ ไม่อยูใ่ น
รวมทุกกรณีจะได้ = {1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 24} ซึง่ จะมีทงหมดั้ 8 จานวน

16. 2
ให้ = จะได้ สมการคือ 3 =0
1 1 0 3 2
แยกตัวประกอบด้ วยทฤษฎีเศษ จะเห็นว่าถ้ าแทน = 1 จะได้ 1 3 =0 1 1 2
1 1 2 0
หารสังเคราะห์ จะแยกได้ ( 1)( ) =0
( 1)( 1)( )= 0
เนื่องจาก = จะเป็ นลบไม่ได้ ดังนัน้ จะได้ = 2 เท่านัน้ → → = √
ดังนัน้ สมการมี 2 คาตอบ จะได้ | | = 2

17. 1124
เนื่องจาก 10 = 2×5 ถ้ าจะหา มากสุดที่ ลงตัว จะต้ องหาว่า มี 2 กับ 5 คูณกันอยูอ่ ย่างละกี่ตวั
เนื่องจาก (1)( )(3) ( ) จะมี 2 คูณกันอยูเ่ ยอะกว่า 5 (เพราะมีเลขคูท ่ กุ ๆ 2 ตัว) ดังนัน้ คอขวดจะอยูท่ ี่ 5
นัน่ คือ มากสุดที่ ลงตัว จะขึ ้นกับว่า มี 5 คูณกันอยูก่ ี่ตวั
เนื่องจากทุกๆ 5 ตัว จะมีตวั ที่หารด้ วย 5 ลงตัวหนึง่ ตัว ดังนัน้ จะมีตวั ที่หารด้ วย 5 ลงตัวอยู่ ⌊ ⌋ ตัว (หารปั ดเศษทิ ้ง)
แต่ตวั ที่หารด้ วย 25 ลงตัว จะมี 5 สองตัว ต้ องบวกเพิ่ม → จะมีตวั ที่หารด้ วย 25 ลงตัวอยู่ ⌊ ⌋ ตัว
ดังนัน้ จะมี 5 คูณกันอยู่ = ⌊ ⌋ ⌊ ⌋ ตัว (ไม่ต้องคิด 125 เพราะข้ อนี ้ถามถึง = 100)
100 100 100 100
ดังนัน้ ( )=⌊ ⌋ ⌊ ⌋ จะได้  ( )=  (⌊ ⌋ ⌊ ⌋)=  ⌊ ⌋ +  ⌊ ⌋ ( )
i 1 i 1 i 1 i 1
100
หา  ⌊ ⌋ : จะเห็นว่า = 1, 2, 3, 4 จะได้ ⌊ ⌋ = 0 และถัดไปทุก 5 ตัว ค่า ⌊ ⌋ จะเพิ่มทีละ 1
i 1

นัน่ คือ = 5 – 9 จะได้ ⌊ ⌋ = 1 และ = 10 – 14 จะได้ ⌊ ⌋ = 2 ไปเรื่ อยๆ ถึง = 95 – 99 จะได้ ⌊ ⌋ = 19


100
และ = 100 จะได้ ⌊ ⌋ 0 → รวมได้  ⌊ ⌋ (0) (1) ( ) (3) (19) 0
i 1
( )
= 0 + 5( ) + 20 = 970
18 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

100 100
หา  ⌊ ⌋ ด้ วยวิธีเดียวกัน จะได้  ⌊ ⌋ = 24(0) + 25(1) + 25(2) + 25(3) + 4
i 1 i 1
= 0 + 25(6) + 4 = 154
100
แทนใน ( ) จะได้  ( ) = 870 + 154 = 1124
i 1

18. 8
โจทย์จะให้ เอา 30! มาหารด้ วย 10 ไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะหารไม่ลงตัว แล้ วถามหลักหน่วยของค่าที่เหลือนัน่ เอง
แยกตัวประกอบ 10 ออกมาจาก 30! ก่อน เนื่องจาก 10 = 2×5 เราจะดึงตัวที่หารด้ วย 5 ลงตัวออกมาจาก 30! ก่อน
จะมี 5, 10, 15, 20, 25, 30 → หกตัว แต่ 25 มี 5 สองตัว รวมมี 5 เจ็ดตัว แต่มี 2 ใน 10, 20, 30 รวม 4 ตัว ดังนัน้
ต้ องใช้ 2 อีก 3 ตัว ถึงจะจับคู่ 5 ได้ ครบ 7 ตัว → = 8 จะเอา 8 ออกมาจาก 30! ด้ วย
จะได้ 8 10 1 0 30 → คูณกันได้ 9 × 10 → ตัด 10 ออก เหลือ 9
โดยที่เหลือ 1 2 3 4 6 7 9 จะไม่มี 10 เป็ นตัวประกอบแล้ ว (เพราะไม่มี 5 แล้ ว)
11 12 13 14 16 17 18 19
21 22 23 24 26 27 28 29
หาผลคูณโดยคิดเฉพาะหลักหน่วย ได้ (1 3 9) (8) = ( ) (8) = 2
คูณ 9 ที่เหลือจากตอนตัด 10 จะได้ คาตอบคือ ลงท้ ายด้ วย 8

19. 5050
จาก 1=0 จะได้ = 1 ดังนัน้ = 1 ด้ วย
ดังนัน้ ⌊ ⌋ ⌊ ⌋=⌊ ( 1)⌋ ⌊ ⌋=⌊ ⌋ ⌊ ⌋= ⌊ ⌋ ⌊ ⌋ ( เป็ นจานวนเต็ม)
=
100 100
( )
ดังนัน้  (⌊ ⌋ ⌊ ⌋) =  = = 5050
n 1 n 1

20.
จากการพิจารณาช่วงค่าที่เป็ นไปได้ จะได้ = ( 1, 0.874032049] ∪ (1 2.288245611]
จะไม่ได้ อยูใ่ นรูป < < แทน = √
แทน = √

ดังนัน้ ข้ อนี ้โจทย์ผิด

21. 12

A
ลาก DE ⊥ ดังรูป
จะเห็นว่า BCRQ มี CR // DE // BQ และ CD = DB
ดังนัน้ จะได้ ED = = 6 (ลาก BR แล้ วใช้ ∆ คล้ าย)
Q
R
E
G P และจาก ∆AGP ~ ∆DGE ดังนัน้ =
7
5 แต่จากสมบัติของเส้ นมัธยฐาน จะได้ =
C D B
แทน ED = 6 จะได้ = → AP 1
สอวน กทม (ส.ค. 2557) 19

22. 1.2
จากสูตรเส้ นรอบวง = 2 จะได้ รัศมีวงกลมทังสาม
้ = 1, 2, 3
C
จะได้ ∆C C C มีด้านยาว 1 1 3 3 → 3 → C เป็ นมุมฉาก 1 1 Q
R
ดังนัน้ ∆C C C = 3 =6
2
3
จะหา ∆PQR จาก ∆C C C ∆ รอบๆ 3 รูป
C 2 P 3 C
=6–( 1 1) – ( C )–( 3 3 C )
= ( ) ( 3 3 )
= ( ) ( 3 3 ) = 0 1 = 1.2

23. 7.5

C จะได้ ∆ABC เป็ น ∆ หน้ าจัว่ ดังนัน้ CE จะแบ่งครึ่งมุม C → ให้ = ดังรูป


จาก ∆ACE และ ∆ACD เป็ น ∆ มุมฉาก จะมีครึ่งวงกลมล้ อมรอบได้
18 จากสมบัติของวงกลม จะได้ AĈE = AD̂E และ CÂD = ĈD → ∆ DFE ~ ∆CFA
D
F ดังนัน้ = แต่ = sin = sin =
A E B แทน CA = 18 จะได้ DE = 18 = 7.5

24. 0.2
A ให้ ครึ่งวงกลมสัมผัส AC ที่ E และมีรัศมี จะวาดได้ ดงั รูป
D E
จะเห็นว่า ∆BOC ≅ ∆EOC (ฉ-ด-ด) ดังนัน้ OC แบ่งครึ่งมุม C
O
จากสมบัติของเส้ นแบ่งครึ่งมุม จะได้ = → =
B 12 C แก้ สมการ จะได้ = → AD ( ) = 0.2

25. 10
A จากทฤษฎีของ Apollonius จะได้ AB + AC = 2(AD + BD )
( ) +( ) = (9 )
F + = 9
E
+ 81 (1)

B
D
C ทาแบบเดียวกันกับอีกสองด้ านทีเ่ หลือ จะได้
AB + BC = 2(B + A ) + 1 ( )
BC + AC = 2(CF + AF ) + (3)
(1) + (2) + (3) : 3 3 3 0 → 1 0 ( )
หา AB → ( ) – (3) จะได้ 3 → → AB 10
20 สอวน กทม (ส.ค. 2557)

26. 8.83

D 4 F 4 C ลาก FG, CH จะได้ ความยาวต่างๆ ดังรูป


E จากพื ้นที่ 132 = (8 1 ) สูง จะได้ สูง = 12 = FG = CH
ให้ EG = จะได้ FE = 1
พีทากอรัสที่ ∆EGB และ ∆EFB จะได้ B = และ C = (1 )
A 7 G 4 H3 B = 1 0
พีทากอรัสที่ ∆ECB จะได้ CB = B C = 1 0 = 09
แต่ถ้า พีทากอรัสที่ ∆HCB จะได้ CB = C B =1 3 = 153

ดังนัน้ 09 = 153 จัดรูปได้ 1 8 0 → =



= √
เลือก ตัวมาก จะได้ = 6 + 2√ ~ 6 + 2(1.414) = 8.828 ~ 8.83

27. 4
E(8, 0) วาดรูป จะเห็นว่า = จะอยูใ่ นช่วง D → ให้ = ตัด DE ที่ F
C(7, ) สมการเส้ นตรงที่ผา่ น DE คือ = จัดรูปได้ = 8
F ดังนัน้ พิกดั F คือ ( , 8)
D(5, 3) จะได้ พื ้นที่ฝั่งซ้ าย = (8 ( 8))( )
และพื ้นที่ฝั่งขวา = (( 8) 3)( ) + (3 )( )
A(0, 0) B(7, 0)
= จับพื ้นที่สองฝั่งเท่ากัน คูณ 2 ตลอด แล้ วจัดรูป
จะได้ 1 = 1 1 → 1 3 0 → =

=8 √
ต้ องไม่เกินจุด B → =8 √ → ดังนัน้ = 8 + 2( 2) = 4

28. 108

C ใช้ เมเนลอสที่ ∆AED กับเส้ นตรง CFB จะได้ 1 ( )


F แต่ AD = DB จะได้ = 2 และโจทย์ให้ AF = 2CD จะได้ =
E
แทนใน ( ) จะได้ 1 → F C
A B
D ดังนัน้ ∆CEF เป็ นหน้ าจัว่ จะได้ CF̂E = ด้ วย
จาก ∆CFA จะได้ 2 + + 180° (1) และจาก ∆CDA จะได้ + 90° + 2 180° ( )
2(1) – (2) จะได้ 5 0° → ° → ÂC = EĈF + CF̂E = = 108°

29. 9
เนื่องจากสีเ่ หลีย่ มแนบในครึ่งวงกลม ทาให้ Â และ B̂ ต้ องเป็ นมุมแหลม
D C
จะทาให้ AD // BC ไม่ได้ ดังนัน้ AB // CD และ ABCD เป็ นคางหมูหน้ าจัว่
ลาก CE ⊥ AB ดังรูป จะได้ AB = 150 และ CD = 120
A E B จะได้ AB = และ CD =
จากสมบัติของวงกลม จะได้ AĈB = 90° จะทาให้ ∆ACB ~ ∆AEC ~ ∆CEB จากคูห่ ลังจะได้ = ( )
สอวน กทม (ส.ค. 2557) 21

แทน EB = = = และ AE = AB – EB = = ใน ( ) จะได้ =

คูณไขว้ จะได้ 8100 = → 90 จะได้ = 3√10

จะได้ AB = √
= 10√10 , CD =

= 8√10 , AD = BC = √ B = √(3√10) (

)
= √90 10 = 10
( )
ดังนัน้ ครึ่งเส้ นรอบรูป = √ √
= 9√10 10 จะได้ =9 10 10 = 9

30. 2

X
จากด้ าน 3 คูท่ ี่เท่ากัน จะได้ ∆ หน้ าจัว่ 3 รูป และมุมที่เท่ากับ 3 คู่ ดังรูป
D C
จาก DC // AB จะได้ มมุ แย้ ง D̂A = XÂB และ ĈB = XB̂A
จะได้ = และ XB̂A = และจาก  ด้ านขนาน D̂ = B̂ จะได้ = 2
จากมุมตรงที่จดุ X จะได้ = 180°
A B
แทน = = 2 จะได้ 180° → = 72°
D
36 72
X พิจารณา ∆DXA จะได้ D̂ = ̂ = 72° จะได้ มุม Â ที่เหลือ = 180° 2(72°) = 36°
36 72 ลาก DF
̅̅̅̅ แบ่งครึ่งมุม D
̂ แล้ วหามุมต่างๆใน ∆DXA จะได้ ดงั รู ป
F
จะได้ ∆AXD เป็ น ∆ หน้ าจัว่ มี AX = AD = และ ∆DFX กับ ∆DFA เป็ น ∆ หน้ าจัว่ ด้ วย จะได้
36
DX = DF = AF = และจะได้ XF = AX – AF =
A
และจะเห็นว่า ∆AXD ~ ∆DFX ดังนัน้ = → = → =0
( ) √( ) ( )( )
หารตลอดด้ วย จะได้ ( ) 1 0 → = ( )
=

แต่ เป็ นบวก จะได้ =



ดังนัน้ = =

=

→ = 5(1) + 5 – 4(2) = 2

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Thitipong Hopetrungraung ที่ช่วยส่งข้ อสอบมาให้ นะครับ

You might also like