การอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่องเงินชุมชนวัวลาย

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 147

การอนุรักษ์ และสื บสานภูมปิ ัญญางานหัตถกรรมเครื่องเงิน

ชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

สิทธิเดช สุ ทธิ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม

บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กันยายน 2559

การอนุรักษ์ และสื บสานภูมปิ ัญญางานหัตถกรรมเครื่องเงิน
ชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

สิทธิเดช สุ ทธิ

การค้นคว้าแบบอิสระนีเ้ สนอต่ อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพือ่ เป็ นส่ วนหนึ่งของ


การศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กันยายน 2559


^_-' _ y d 4 aa, v i
nr : o uq : n u r ta y fl u fl I u {!c.ttJ il 6!.!c!! t.:
--O - - I-'u fi fl 0 n : : rJ [n5 o { rI^ u
-

usJ ru i? a rs dr rno riltoo q ff{ m forfi sslmri

A4A
dvtS[os dYtr q

-^-!-._?-.._...i X.\yr-.__-.a
s/3q,/q d1 r < 4 v
fl'l:nufl?lttulJ0dTUu tnrun'l:1\0'r:iilt0UrJqrh{ulriluriruHfr{ro{nt:frnurflrililii'nflfl:
A
rii ru ru i fr a :Jarasr : ruu rriar fi n

o'.tr'.tar'.ln'.lr,fi'q nr: Ra ils rra yfmu r : : :.r

fl6UUR:ttJflltflOU
ei,<
o10'l:ulnJtRU'l
Ar'-.....-'----.
/
>t---- ; -2 S------
HW./nL*
"

ld a o a /
(fl'rdel:I0't:urnu:fl qfl{ q:un r{rinqn) (: o.r fl 'rder : : ti :.fr y,t r : : ru ;
-.:J:yrrun::runr: ror o vr'r nnr fi

"s.A-Ed . r:run1:
(: ororarr: ror:d rr :.r:d'ry ori r;aroqfnrfl

3:*-...n::lJnr:
---__d-

(:ornran:ror:ti q:.fi ilrrr* r'uriofi )

5 nuu'luu 2559
ooiauddr
O A I fl T I 1J O.1 lJ ?l'l'lyl Uln AtqlA.: lU ru
แด่
บิดา มารดา ครอบครัว และมิตรรัก


กิตติกรรมประกาศ

กราบขอบพระคุ ณ ศาสตราจารย์ เ กี ยรติ คุ ณ ดร.สุ รพล ด าริ ห์ กุ ล ผู ้ ค อยแนะน า


รองศาสตราจารย์ ดร. วรลัญจก์ บุณยสุ รัตน์ และอาจารย์ที่ปรึ กษารองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ
ทัง่ มัง่ มี รวมทั้งคณาจารย์ภาควิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ ผูค้ อยแนะนา
และชี้หนทางแห่งปั ญญาให้บรรลุจุดมุ่งหมาย
กราบขอบพระคุ ณอย่า งยิ่ ง ความกรุ ณ าปราณี จ าก นายสมาน และนางกมลพรรณ สุ ท ธิ
ผูซ้ ่ ึ งเป็ นบิดาและมารดา คอยสนับสนุน ส่ งเสริ ม ตักเตือนให้อยูใ่ นครรลองที่ควรจะเป็ น
ขอขอบคุณนางสาวจิราภา ทิพยมณฑล ที่คอยแนะนาและช่วยเหลือตลอดมา
ขอขอบคุ ณ ไมตรี จิ ต จากพี่ ๆ และเพื่ อ นๆร่ ว มรุ่ น สาขาการจัด การศิ ล ปะและวัฒ นธรรม
รุ่ นที่ 4 คอยช่วยแนะนา ส่ งเสริ มให้การศึกษาครั้งนี้สาเร็ จได้ดว้ ยดี

สิ ทธิเดช สุ ทธิ


หัวข้ อการค้นคว้ าแบบอิสระ การอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ อ งเงิน
ชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ผู้เขียน นาย สิทธิเดช สุทธิ

ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการศิลปะและวัฒนธรรม)

อาจารย์ ทปี่ รึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ ทัง่ มัง่ มี

บทคัดย่อ

งานหัตถกรรมเครื่ อ งเงิน ชุ ม ชนวัวลาย อ าเภอเมื อ ง จังหวัด เชี ยงใหม่ ซึ่ งเป็ นชุ ม ชนที่ ผลิ ต
เครื่ องเงินที่เก่าแก่ มีประวัติความเป็ นมาเกี่ยวข้องกับเมืองเชียงใหม่มายาวนาน ได้ประสบปั ญหาขาด
ช่างฝี มือ และ ผูส้ ืบทอดการทาเครื่ องเงิน การศึกษาครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็ นมา
ของชุมชนวัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ อ งเงินชุ มชนวัวลาย เทคนิ ควิธีการงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
สภาพการณ์และปั ญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย และเพื่อเสนอแนวทางการอนุ รักษ์
และสืบสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนวัวลายมีบุคลากรที่มีความรู ้ทางด้านงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน และมี
แหล่งเรี ยนรู ้งานหัตถกรรมเครื่ องเงินหลายแห่ ง แต่พบปั ญหาในด้านเศรษฐกิจและการค้า โดยเฉพาะ
ความต้องการของเครื่ องเงินในตลาดลดลงอันเป็ นผลมาจากเศรษฐกิจตกต่าและ ความสัมพันธ์ของวิถี
ชีวิตผูค้ นกับเครื่ องเงินที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งปั ญหาที่เกิดจากการลดต้นทุนในกระบวนการผลิ ต
เครื่ องเงิน โดยเฉพาะการขึ้นรู ปเครื่ องเงินในรู ปแบบโรงงานอุตสาหกรรมที่ทาให้คุณค่าของเครื่ องเงิน
เปลี่ยนไป ปั ญหาที่สาคัญอีกประการคือ ปั ญหาขาดแคลนช่างทาเครื่ องเงินที่จะสืบทอดภูมิปัญญาการ
ทาเครื่ อ งเงินแบบดั้งเดิ ม ดังนั้นผูศ้ ึกษาจึงได้เสนอแนวทางที่ เหมาะสมในการอนุ รักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลายโดยเสนอ ให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนรวมทั้ง
คนในชุมชนช่วยกัน ดาเนินกิจกรรมการส่งเสริ มการค้าเครื่ องเงินวัวลาย จัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย การถอดองค์ความรู ้และจัดทาหลักสู ตรงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ส่ งเสริ มให้
บุตรหลานได้เข้ามาเรี ยนรู ้ จนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้


Independent Study Title Conservation and Transmission Wisdom of Silverware
Handicraft in Wua Lai Community, Mueang District,
Chiang Mai Province

Author Mr. Sittideat Suti

Degree Master of Arts (Art and Culture Management)

Advisor Assoc. Prof. Dr. Tipawan Thungmhungmee

ABSTRACT

Silverware handicraft in Wua Lai Community, Mueang District, Chiang Mai Province, is
regarded as an ancient silverware manufacturing community with its long history associated with
the city of Chiang Mai. The community is now experiencing a lack of skilled workers and
successors for silverware. The purpose of this study was to investigate the history of Wua Lai
Community and the problem of its silverware handicraft. Additionally, it aimed to propose the
guidelines for conservation and transmission of wisdom of silverware handicraft in Wua Lai
Community, Mueang District, Chiang Mai Province.
The study indicated that Wua Lai Community had the personnel with knowledge of
silverware handicraft whereas several learning centers of silverware handicraft were also available.
However, there were some economic and trade problems, particularly declining demands of
silverware in the market caused by economic depressions and changing lifestyles of people toward
the silverware, including the problem arising from cost reductions for silverware production,
especially silverware molding in the industrial factories which contributed to the changing values of
silverware. Another important problem was a shortage of silverware artisans who would inherit the
wisdom of making traditional silverware. Therefore, the study suggested suitable guidelines for
conservation and transmission of wisdom of silverware handicraft in Wua Lai Community whereby
the government and private agencies, including those in the community, were required to carry out
the trade promotion activities for Wua Lai’s silverware, establish the silverware handicraft center,
capture knowledge and create the courses of silverware handicraft, and encourage their descendants
to learn about it so that they could apply it for their further occupation.

สารบัญ
หน้า

กิตติกรรมประกาศ ง
บทคัดย่อภาษาไทย จ
ABSTRACT ฉ
สารบัญ ช
สารบัญภาพ ฎ
สารบัญแผนภูมิ ฐ

บทที่ 1 บทนา 1

1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ 3
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
1.4 ขอบเขตการศึกษา 3
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 4
1.6 การเสนอผลการศึกษา 5

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 7

2.1 บริ บทของชุมชนวัวลายและเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 8


2.1.1 ประวัติศาสตร์ เมืองเชียงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนวัวลาย 8
2.1.2 ความเป็ นมา รู ปแบบและลวดลายของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 9
2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในครั้งนี้ 18
2.2.1 แนวคิดเรื่ องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม 18
2.2.2 แนวคิดเรื่ องการถ่ายทอดภูมิปัญญา 24
2.3 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 31
2.3.1 เอกสารและหนังสื อที่เกี่ยวข้อง 31
2.3.2 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 34


2.4 กรอบแนวคิดการศึกษา 36

บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั 37

3.1 รู ปแบบการศึกษา 38
3.2 การศึกษาภาคเอกสารและทบทวนแนวคิดทฤษฎี 38
3.3 การศึกษางานหัตถกรรมเครื่ องชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 39
3.4 การศึกษาเพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญา
งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 40
3.4.1 การศึกษาและเก็บข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของ
ผูน้ าชุมชน ผูป้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงิน ช่างทาเครื่ องเงิน
นักวิชาการ ต่อแนวทางการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญา
งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 40
3.4.2 การวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 42
3.5 การเสนอแนวทางการจัดการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 43
บทที่ 4 การศึกษางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 44

4.1 บริ บทที่เกี่ยวกับชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 45


4.1.1 ที่ต้ งั และเส้นทางคมนาคม 45
4.1.2 ประวัติความเป็ นมาของชุมชนวัวลาย 47
4.1.3 ลักษณะชุมชน อาคารบ้านเรื อนและสถานที่สาคัญ 54
4.1.4 แหล่งผลิตและจาหน่ายเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 55
4.2 งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 64
4.2.1 ประวัติความเป็ นมาเครื่ องเงินวัวลาย 67
4.2.2 เทคนิควิธีการทาเครื่ องเงินวัวลาย 70
4.2.3 สภาพการณ์ ปั ญหาของธุ รกิจและการผลิตเครื่ องเงินวัวลาย 87
4.3 วิเคราะห์คุณค่าความสาคัญและปั ญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 95
4.3.1 วิเคราะห์คุณค่าความสาคัญของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 95


4.3.2 วิเคราะห์ปัญหาของภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 96

บทที่ 5 แนวทางการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน


ชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 100

5.1 การศึกษาเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญา


งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 101
5.1.1 การศึกษาและเก็บข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผูน้ าชุมชน
ผูป้ ระกอบการช่างทาเครื่ องเงินนักวิชาการฯลฯต่อแนวทางการอนุรักษ์
และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 101
5.1.2 แนวคิดและทฤษฏีที่เหมาะสมกับการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญา 107
งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
5.1.3 การวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และสื บสาน 109
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
5.2 แนวทางการจัดการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 112
5.2.1 กิจกรรมการส่ งเสริ มการค้าเครื่ องเงินวัวลาย 112
5.2.2 จัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย 115
5.2.3 การถอดองค์ความรู้และจัดทาหลักสู ตรการทาเครื่ องเงิน 118

บทที่ 6 สรุ ปการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 120

6.1สรุ ปผลการศึกษา 120


6.1.1 กิจกรรมการส่ งเสริ มการค้าเครื่ องเงินวัวลาย 121
6.1.2 จัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย 122
6.1.3 การถอดองค์ความรู้และจัดทาหลักสู ตรการทาเครื่ องเงิน
จากช่างทาเครื่ องเงินผูม้ ีประสบการณ์ชานาญ 122
6.2 อภิปรายผล 123
6.3 ข้อเสนอแนะ 123


บรรณานุกรม 125

ภาคผนวก 129

ประวัติผเู้ ขียน 132


สารบัญภาพ
หน้า

ภาพที่ 2.1 เครื่ องทรงพระพุทธรู ปทาจากแร่ เงิน ผลิตภัณฑ์บา้ นไชยวุฒิ 10


ภาพที่ 2.2 กระเป๋ าถือทาจากแร่ เงินผลิตภัณฑ์บา้ นไชยวุฒิ 11
ภาพที่ 2.3 ภาพแสดงปุ่ มสั้นๆที่เรี ยกว่า “ตีนขัน” 12
ภาพที่ 2.4 ภาพแสดงลวดลายด้านในขันหรื อสลุง 13
ภาพที่ 2.5 ขันหรื อสลุง ประดับลวดลายสิ บสองราศี 14
ภาพที่ 2.6 สลุงเงินตกแต่งลวดลายรามเกียรติ์ ผลิตภัณฑ์ของร้านดารงศิลป์ 15
ภาพที่ 2.7 สลุงที่ตกแต่งด้วยลวดลายดอกกระถินและลายสิ บสองราศี 16
ภาพที่ 2.8 สลุงตกแต่งลวดลายที่ได้จากธรรมชาติ 17

ภาพที่ 4.1 แผนที่แสดงที่ต้ งั และเส้นทางคมนาคมของชุมชนวัวลาย 45


ภาพที่ 4.2 แผนที่แสดงอาณาเขตของชุมชนวัวลาย 46
ภาพที่ 4.3 ถนนวัวลายสายหลัก บริ เวณหน้าร้านวัวลายศิลป์ 46
ภาพที่ 4.4 ถนนวัวลายสายหลัก บริ เวณหน้าร้านบานเย็น 47
ภาพที่ 4.5 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
เสด็จพร้อมด้วยพระราชอาคันตุกะ สมเด็จพระเจ้ากรุ งเดนมาร์ค และสมเด็จพระราชินีอินกริ ด
แห่งกรุ งเดนมาร์ ควันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2505 เสด็จทอดพระเนตรการค้าเครื่ องเงินที่ร้านเงินดี
ของนายปรี ดา-นางเรื อนแก้ว พัฒนถาบุตร 53
ภาพที่ 4.6 บริ เวณด้านหน้าของวัดหมื่นสาร 59
ภาพที่ 4.7 บริ เวณอุโบสถเงินภายในวัดศรี สุพรรณ 62
ภาพที่ 4.8 เม็ดเงินร้อยเปอร์ เซ็นต์ซ่ ึ งนาเข้าจากต่างประเทศ 65
ภาพที่ 4.9 การชัง่ เครื่ องเงินเก่าที่ชารุ ด ก่อนนาไปหลอมใหม่ 66
ภาพที่ 4.10 สตรี ชาวบ้านวัวลาย นาสิ นค้าไปขายให้อุปทูตสหรัฐอเมริ กา 67
ภาพที่ 4.11 เงินฮาง 68
ภาพที่ 4.12 ภาพการรับเสด็จ บริ เวณหน้าสถานีรถไฟนครลาปาง 69
ภาพที่ 4.13 นายดาบแดง พัฒนถาบุตรกับช่างทาเครื่ องเงินวัวลาย 70
ภาพที่ 4.14 เบ้าหลอมขนาดต่างๆ 71


ภาพที่ 4.15 ขั้นตอนการหลอมเม็ดเงิน 72
ภาพที่ 4.16 ขั้นตอนการม้างขึ้นรู ป 73
ภาพที่ 4.17 ขั้นตอนการขึ้นรู ปสลุง “การม้าง” 74
ภาพที่ 4.18 ลวดลายต่างๆตกแต่งเป็ นซุม้ โขง 75
ภาพที่ 4.19 ลาย 12 นักษัตร 76
ภาพที่ 4.20 ลายเทวดา 77
ภาพที่ 4.21 ลายแส้ดอกหมาก 78
ภาพที่ 4.22 พื้นผิวการเก๊าะ (เคาะ) 79
ภาพที่ 4.23 ขั้นตอนการเก๊าะ (เคาะ) 80
ภาพที่ 4.24 เกลือแกงและดินประสิ ว 82
ภาพที่ 4.25 ค้อนม้างและทัง่ 83
ภาพที่ 4.26 ทัง่ สาหรับตีเส้นขอบ 84

ภาพที่ 5.1 พ่อครู ดิเรก สิ ทธิ การ ขณะกาลังตอกลายขันเงิน 101


ภาพที่ 5.2 พระครู พิทกั ษ์สุทธิ คุณ และช่างทาเครื่ องเงินคุณสมชาย ใจคาบุญเรื อง 103
ภาพที่ 5.3 คุณแม่ประไพร ไชยวุฒิ ขณะอธิ บายลวดลายของขันเงิน 105
ภาพที่ 5.4 คุณสมชาย ใจคาบุญเรื อง ช่างทาเครื่ องเงิน และบุตรชาย 110
ภาพที่ 5.5 คุณสมชาย ใจคาบุญเรื อง ช่างทาเครื่ องเงินสอนการขึ้นรู ปเครื่ องเงินแก่สามเณร 111
ภาพที่ 5.6 ผูส้ นใจชาวต่างชาติ เข้าศึกษาขั้นตอนการตอกลวดลาย 115
ภาพที่ 5.7 สามเณรผูส้ นใจเข้าศึกษาการขึ้นรู ปเครื่ องเงิน 117
ภาพที่ 5.8 นักศึกษาจากวิทยาลัยอาชี วศึกษาเชี ยงใหม่ ศึกษาเรี ยนรู ้เรื่ องการทาเครื่ องมือตอกลาย 119


สารบัญแผนภูมิ
หน้า

แผนภูมิที่ 2.1 แผนภูมิกรอบแนวคิดการศึกษา 36

แผนภูมิที่ 4.1 แสดงความสัมพันธ์ของสภาบวรศรี สุพรรณและหน่วยงานอื่นๆ 92


บทที่ 1

บทนา

1.1 ทีม่ าและความสาคัญของปัญหา


จังหวัดเชี ยงใหม่เป็ นดิ นแดนแห่ งอารยธรรมล้านนาและศิลปวัฒนธรรมที่มีความโดดเด่น
ในงานศิล ปหัต ถกรรมโดยเฉพาะงานฝี มือ ของช่ า งท้อ งถิ่ น การประดิ ษ ฐ์ส ร้ า งสรรค์เ ป็ นไปตาม
เทคนิ ควิธีและรู ปแบบที่ไ ด้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ งานแต่ละท้องถิ่ นมักเกิ ดขึ้ นตามสภาพ
ภูมิศ าสตร์ สิ่ง แวดล้อมตามธรรมชาติและวัส ดุ ที่หาได้ใ นท้องถิ่ นนั้นๆนอกจากนี้ ข นบธรรมเนี ย ม
ประเพณี ค วามเชื่ อรวมถึ ง พิธี ก รรมของคนในชุ มชนยัง มีอิท ธิ พ ลต่อการสร้ า งงานศิลปหัตถกรรม
เฉกเช่ น งานศิล ปหัต ถกรรมที่มีเ อกลัก ษณ์ เ ป็ นของตนเองและโดดเด่น ทางด้า นวัฒ นธรรมของ
จังหวัดเชี ยงใหม่เช่ น งานหัตถกรรมเครื่ องเงิน เครื่ องเขินเป็ นต้น1
โดยเฉพาะเครื่ องเงินของชุ มชนวัวลายนั้น ปรากฏหลักฐานตั้งแต่ครั้งหลังจากพระเจ้ากาวิละเจ้า
ผูค้ รองนครเชียงใหม่ รวบรวมกาลังคนด้วยนโยบาย “เก็บฮอมตอมไพร่ ” หรื อ “เก็บผักใส่ ซ้า เก็บข้าใส่
เมือง” ต่อมาเมื่อครั้งหลังเจ้าเมืองอังวะยกทัพมายึดเมืองปุ และแต่งตั้งเจ้าฟ้ าคาเครื่ องเป็ นเจ้าเมือง
พระเจ้ากาวิละจึงโปรดฯ ให้เจ้าสุ วณั ณะคามูลคุมกองทัพ 300 คน ไปตีเมืองปุแล้วข้ามแม่น้ าคงไป
กวาดต้อนผูค้ นแบบ “เทครัว” จากฝั่งตะวันตกของแม่สาละวิน ต่อมาผูค้ นแขวงเมืองปั่ นถูกกวาดต้อน
เข้ามาอีกครั้งในสมัย พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา เจ้าผูค้ รองนครเชี ยงใหม่องค์ที่ 2 ในปี พ.ศ. 2361
โดยให้ผคู ้ นเข้ามาตั้งบ้านเรื อนอยูใ่ นเขตพื้นที่เมืองเชี ยงใหม่ส่วนชุ มชนวัดหมื่นสารและวัดศรี สุพรรณ
ได้นาช่ างฝี มือเครื่ องเงิ นมาตั้งถิ่ นฐานรอบๆวัดเกิ ดเป็ นชุ มชนใหม่บนพื้นที่เดิ มทาให้เชี ยงใหม่มีช่าง
หัตถกรรมพื้นบ้านที่ได้รับการฝึ กฝนและมีการสื บทอดต่อเนื่องกันตลอดมา
การทาเครื่ องเงินของช่างชุ มชนวัวลายนั้นผูต้ ีเครื่ องเงินจะสลักลวดลายบนเครื่ องเงินอย่างวิจิตร
งดงามส่ วนใหญ่ เป็ นช่ างในคุ ้ม หลวงเมื องเชี ย งใหม่ ซึ่ ง ในอดี ตได้นามาถ่ ายทอดอย่า งต่อเนื่ องให้
ลูกหลานจนสามารถเป็ นช่ างฝี มือ และเป็ นที่ยอมรับโดยได้ขยายแหล่งที่ผลิ ตเครื่ องเงินไปยังหมู่บา้ น
อื่น ๆ เช่ น บ้านหารแก้ว อาเภอหางดง บ้านแม่หย้อย อาเภอสันทรายซึ่ งได้พฒั นารู ปแบบลวดลายไป
มากมาย2

1
“ตานานผลิตภัณฑ์เครื่ องเงิน คัวเนียม และโลหะดุนลาย” วัดศรี สุพรรณ เชียงใหม่ 2549 หน้า 1 – 2
2
จินตนา มัธยมบุรุษ “สรรพช่าง:ภูมิปัญญาท้องถิ่นเชียงใหม่” ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมสถาบันราชภัฏเชียงใหม่ 2539 หน้า
115 – 117

1
ปั จ จุ บ ัน เครื่ องเงิ น ได้ พ ัฒ นาไปมากรวมทั้ง ลวดลายกระบวนการผลิ ต ก็ ไ ด้ พ ัฒ นาสู่ วิ ถี
ที่หลากหลายมากขึ้น จะเห็ นได้ว่าชุ มชนวัวลาย จากอดี ตจนถึ งปั จจุบนั เป็ นแหล่งผลิ ตเครื่ องเงิ นที่มี
ชื่อเสี ยงของภาคเหนื อเครื่ องเงินต่าง ๆ ทั้งเครื่ องเรื อนเครื่ องประดับซึ่ งผลิตจากชุ มชนวัวลาย จัดได้วา่
มีชื่อเสี ยงในด้านการทาเครื่ องเงิ นที่มีคุณค่ามีอตั ลักษณ์ด้ งั เดิม ลักษณะเทคนิ ควิธีการแบบเฉพาะของ
วัวลายที่ประณี ตละเมียดละไมและงดงามที่สุดในเชียงใหม่ จึงได้รับความนิยมเป็ นอย่างสู ง
ในปั จจุบนั ชุ มชนวัวลายมีกลุ่มที่ยงั สื บทอดการทาเครื่ องเงินและเผยแพร่ การสลักดุนลายโลหะ
ซึ่ งเป็ นกระบวนการที่ ค ล้า ยกับ การดุ น ลายเครื่ อ งเงิ น แต่ ไ ม่ มี ก ารขึ้ น รู ป โดยการใช้ท งั่ มี จ านวน
อยู่ 3 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มหัตถศิลป์ ล้านนาวัดศรี สุพรรณ 2.กลุ่มฮ่วมเฮียนศิลป์ 3.กลุ่มชมรมช่างเครื่ องเงิน
และแผ่นภาพหมื่นสาร บ้านวัวลายซึ่ งในแต่ละกลุ่มก็มีช่างผูช้ านาญด้าน การทาเครื่ องเงินอยู่จานวน
หนึ่ งและเนื่ อ งด้ว ยผู ้ศึ ก ษาอาศัย อยู่ ใ นชุ ม ชนวัว ลายและเป็ นสมาชิ ก ในกลุ่ ม หั ต ถศิ ล ป์ ล้า นนา
วัดศรี สุพรรณ ได้มองเห็นปัญหาของจานวนช่างที่ลดลง ความยากในการถ่ายทอดภูมิปัญญา อีกทั้งใน
เรื่ องของการเข้ามาของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในรู ปแบบโรงงานอุตสาหกรรมโดยใช้เครื่ องจักรกล
เป็ นตัวขึ้นรู ปเครื่ องเงินต่าง ๆ แล้วแต่รายการสิ นค้าที่ทอ้ งตลาดต้องการ หากแต่ใช้ตน้ ฉบับที่ได้จาก
ช่างที่ข้ ึนรู ปด้วยมือเพียงชิ้นเดี ยวเป็ นแม่พิมพ์ เพื่อขึ้นรู ปสิ นค้าชิ้ นอื่น ๆ ต่อไป โดยสามารถผลิตได้
ครั้งละมาก ๆ ในคราวเดียว จึงถือได้วา่ เป็ นข้อดีของกระบวนการขึ้นรู ปแบบอุตสาหกรรม แต่เป็ นการ
ลดคุ ณค่าของงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น และลดความสาคัญของภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงินที่สืบทอด
กันมาแต่ ค รั้ งโบราณกาล จึ ง ถื อ ว่า เป็ นข้อเสี ย ของการขึ้ น รู ป แบบโรงงานอุ ตสาหกรรม ทางด้า น
การตลาดยังแย่งตลาดการค้าโดยมี ตน้ ทุ นต่อชิ้ นที่ ต่ ากว่า ข้อดี ของการขึ้ นรู ปเครื่ องเงิ นโบราณ คื อ
สามารถทาเป็ นเครื่ องประดับไปจนถึ งของตกแต่งบ้าน ที่ งดงามทรงคุ ณค่าโดดเด่ นด้วยฝี มือการทา
เครื่ อ งเงิ น แบบดั้ง เดิ ม ผสมผสานกับ การออกแบบสมัย ใหม่ แต่ มี ก ระบวนการท าที่ ใ ช้เ วลานาน
ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดที่มีการขยายตัวของผูบ้ ริ โภคทาให้ตน้ ทุนในการผลิ ต
เครื่ องเงินด้วยกระบวนการทาด้วยมือสู งกว่ามาก

ปั ญหาที่พบอีกปั ญหาหนึ่งที่สาคัญอย่างมาก คือ ช่างที่ชานาญในการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิมจะ


มีจานวนลดลงหากเทียบกับปริ มาณงานที่ตลาดต้องการ โดยเฉพาะช่างทาเครื่ องเงินที่มีความชานาญ
จะมีข้ นั ตอนสลับซับซ้อน ซึ่ งยากต่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาที่ตอ้ งใช้เวลานานหลายเดือน ในการฝึ กฝน
กระบวนการท าเครื่ อ งเงิ น ให้เ กิ ด ความช านาญ แก่ ช่ า งรุ่ น ใหม่ ที่ มี ใ จรั ก ในการท าเครื่ อ งเงิ น และ
เหมาะสมกับการสื บสาน คุ ณค่าและความรู ้ ทางภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิน ซึ่ งนับวันยิง่ เลื อนหายไป
จากปั จจุบนั นั้นเอง

2
จากสภาพปั ญหาข้างต้นจึงเป็ นที่มาของการเสนอการค้นคว้าแบบอิสระเรื่ อง “การอนุรักษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่”โดยมุ่งหวังจะ
ทาการศึก ษาค้นคว้า เกี่ย วกับ ประวัติความเป็ นมาของชุมชนวัวลาย และงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
รวมทั้ง ศึก ษาเทคนิ ค วิธี ก ารท าเครื ่ อ งเงิน สภาพการณ์แ ละปั ญ หาของงานหัต ถกรรมเครื ่ อ งเงิน
ชุมชนวัวลาย เพื่อหาแนวทางในการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชน
วัวลาย โดยการรวบรวมจากแหล่งข้อมูลทั้งภาคเอกสารและภาคสนามจากผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงิน โดยเป็ นที่คาดหวังว่าผลการศึกษาครั้ งนี้ จะนาไปสู่ การเรี ยนรู ้งานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย ให้คนในสังคมได้รับรู ้ เกิดความเข้าใจ ตระหนักถึงคุณค่า ร่ วมกันอนุ รักษ์
และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินวัวลายนั้นให้คงอยูต่ ลอดไป

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษาประวัติความเป็ นมาของชุ มชนวัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชน
วัวลายอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
1.2.2 เพื่อศึกษาเทคนิ ควิธีการงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน สภาพการณ์และปั ญหาของงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
1.2.3 เพื่อเสนอแนวทางการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชน
วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

1.3 ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ


1.3.1 ทาให้ทราบประวัติความเป็ นมาของชุ มชนวัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชน
วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
1.3.2 ทาให้ทราบเทคนิ ควิธีการงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน สภาพการณ์และปั ญหาของงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
1.2.3 ทาให้ได้แนวทางการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชน
วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่

1.4 ขอบเขตการศึกษา
1.4.1 ขอบเขตด้านพื้นที่
ทาการศึกษางานหัตถกรรมเครื่ องเงินโดยครอบคลุมพื้นที่บริ เวณ ชุ มชนวัดหมื่นสารและ
ชุมชนวัดศรี สุพรรณ ตาบลหายยา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

3
1.4.2 ขอบเขตด้านประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ งานหัตถกรรมเครื่ องเงินและ ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องกับ
งานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นในชุ มชนวัวลายอาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ กลุ่มตัวอย่างใน
การศึ ก ษาครั้ ง นี้ คื อ ผูป้ ระกอบการและช่ า งขึ้ นรู ปงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นในชุ มชน
วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จานวนหนึ่ง เพื่อการสัมภาษณ์และ สังเกตการณ์
1.4.3 ขอบเขตด้านเนื้อหา
การศึกษาเรื่ อง การอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติความเป็ นมา ของชุ มชน
วัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย ตลอดจนศึ ก ษาเทคนิ ควิธี การงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงิน สภาพการณ์และปั ญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย
และเสนอแนวทางการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชน
วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กาหนดเป็ นประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1) การศึกษาบริ บทของชุมชนวัวลายและเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
1.1) ประวัติศาสตร์ เมืองเชียงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนวัวลาย
1.2) ความเป็ นมาลักษณะและรู ปแบบของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
2) ศึกษาเทคนิ ควิธีการงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน สภาพการณ์และปั ญหาของงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
2.1) เทคนิควิธีการงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
2.2) สภาพการณ์และปัญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
2.3) วิเคราะห์ปัญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
3) สรุ ปสภาพการณ์และปัญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
4) การศึ กษาและเสนอแนวทางในการอนุ รักษ์ และสื บสานภูมิ ปัญญาของงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
ชุ มชนวัวลาย ในการศึกษาครั้งนี้หมายถึง ชุมชนวัดศรี สุพรรณ และชุ มชนหมื่นสารบ้าน
วัวลาย ซึ่ ง เป็ นเขตการปกครองส่ วนท้องถิ่ น ของส านัก งานแขวงเม็ง ราย สั ง กัดส านัก งาน
เทศบาลนครเชียงใหม่ต้ งั อยูใ่ นเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ช่ า งทาเครื่ อ งเงิ น ในการศึ ก ษาครั้ งนี้ หมายถึ ง ช่ า งที่ ช านาญการในกระบวนการท า
เครื่ องเงิ นในขั้น ตอนการหลอม ตี ทุ บ บุ ดุน สลัก ลวดลายเครื่ อ งเงิ น และเครื่ อ งโลหะด้ว ย
เครื่ องมือที่ใช้แรงงานของคนเป็ นหลัก เช่น ค้อน ทัง่ และสิ่ ว

4
งานหัตถกรรมเครื่องเงินในการศึกษาครั้งนี้หมายถึง กระบวนการ กรรมวิธี ที่วา่ ด้วยงาน
หล่อหลอม ตี ทุบ บุดุน สลักลวดลาย ขึ้นรู ปภาชนะ เครื่ องใช้ สิ่ งของสาหรับตกแต่ง ประดับ
ประดา ที่ทาจากวัสดุแร่ เงิน เช่น ขันน้ า พานรอง คนโท เป็ นต้น
การสื บสานภูมิปัญญาในการศึกษาครั้งนี้ หมายถึงการประชาสัมพันธ์ สื่ อ แสดง สื บทอด
ผ่านเครื่ องมือต่าง ๆ โดยใช้การถ่ายทอดแบบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
ทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยการถ่ายทอดผ่านกิ จกรรมทางวัฒนธรรม ให้คนในสังคมได้รับรู ้
เกิดความเข้าใจและตระหนักในคุณค่า ของงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน

1.6 การเสนอผลการศึกษา
บทที่ 1 บทนา
นาเสนอความเป็ นมา และความสาคัญของการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ที่ได้รับการจากการศึกษา
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง
เป็ นการศึกษา ค้นคว้า และนาเสนอความรู ้ ที่เกี่ ยวกับ ประวัติความเป็ นมาของชุ มชนวัวลาย
ตลอดจนงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ รวมทั้งแนวคิ ด
และทฤษฎี ตลอดจนเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
นาเสนอกระบวนการศึกษาและเทคนิ คที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยรู ปแบบการวิจยั
การศึกษาภาคเอกสาร ทบทวนวรรณกรรม และแนวคิดทฤษฎี ตลอดจนศึกษาเทคนิ ควิธีการ
งานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น สภาพการณ์ และปั ญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย
การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ เ พื่ อ เสนอแนวทางการอนุ รั ก ษ์แ ละสื บ สานภู มิ ปั ญ ญางานหัต ถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
บทที่ 4 การศึกษางานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่
เป็ นการศึกษาทั้งภาคเอกสารและภาคสนามในบริ บทที่เกี่ยวกับชุมชนวัวลายและงานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย ทั้งทางด้านเทคนิ ควิธีการทาเครื่ องเงิน สภาพการณ์และปั ญหาของงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลายอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

5
บทที่ 5 แนวทางการอนุ รักษ์ และสื บสานภู มิ ปัญญางานหัตถกรรมเครื่ อ งเงินชุ ม ชนวัวลาย
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
เป็ นการศึ กษาและเก็บ ข้อมู ล ความคิ ดเห็ นและข้อเสนอแนะของผูน้ าชุ ม ชน ผูป้ ระกอบการ
ช่างทาเครื่ องเงิน นักวิชาการ ฯลฯ ต่อแนวทางการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย และการศึกษาวิเคราะห์ เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมกับการอนุ รักษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลายโดยใช้แนวคิดและทฤษฎี ที่เหมาะสม
ซึ่ งเป็ นผลจากการศึกษาในบทที่ผา่ นมา
บทที่ 6 สรุ ปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
สรุ ปสาระสาคัญของการศึกษาในครั้งนี้ พร้อมทั้งอภิปรายผลการศึกษาและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในครั้งต่อไป

6
บทที่ 2

แนวคิดทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง

การศึกษาในบทนี้ เป็ นการศึ กษาภาคเอกสารเพื่อทบทวนวรรณกรรมและสถานภาพความรู ้ ใน


บริ บทที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ และความเป็ นมาของชุ มชนวัวลายตลอดจนงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
ชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่รวมทั้งแนวคิดและทฤษฎี ตลอดจนเอกสารและงานวิจยั
ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ซึ่ งประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้
2.1 บริบทของชุ มชนวัวลายและเครื่องเงินชุ มชนวัวลายอาเภอเมืองจังหวัดเชี ยงใหม่
2.1.1 ประวัติศาสตร์ เมืองเชียงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนวัวลาย
2.1.2 ความเป็ นมา รู ปแบบและลวดลายของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
2.2 แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ องกับการศึกษาในครั้งนี้
2.2.1 แนวคิดเรื่ องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
2.2.2 แนวคิดเรื่ องการถ่ายทอดภูมิปัญญา
2.3 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง
2.3.1 เอกสารและหนังสื อที่เกี่ยวข้อง
2.3.2 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
2.4 กรอบแนวคิดการศึกษา
ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

7
2.1 บริบทของชุ มชนวัวลายและเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

2.1.1 ประวัติศาสตร์ เมืองเชี ยงใหม่ ทเี่ กีย่ วข้ องกับชุ มชนวัวลาย

ชุ มชนวัวลาย ตั้งอยูท่ างทิศใต้ของเมืองเชี ยงใหม่อยูบ่ นพื้นที่ระหว่างกาแพงเมืองชั้นใน


และกาแพงเมืองชั้นนอก ชุมชนวัวลาย ประกอบด้วยชุ มชนที่มีวดั เป็ นศูนย์กลางสามแห่ ง ได้แก่
ชุมชนวัดหมื่นสาร ชุ มชนวัดศรี สุพรรณ และชุมชนวัดนันทาราม ซึ่ งมีงานหัตถกรรมที่สาคัญ
สองอย่างคื อ เครื่ องเงิ น และเครื่ องเขิน ในการศึ กษาครั้ งนี้ จะได้กล่ าวถึ งเพียงแค่สองชุ มชน
คือ ชุ ม ชนวัดหมื่ นสารและชุ มชนวัดศรี สุ พ รรณที่ โดดเด่ นในด้า นงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น
เท่านั้นในปั จจุบนั เมื่อเดินทางมาจาก ตลาดประตูเชี ยงใหม่ เข้าสู่ ถนนวัวลาย ด้านซ้ายมือเป็ น
ชุ ม ชนหมื่ นสารบ้า นวัวลายมี วดั หมื่ นสารเป็ นศูนย์ก ลางชุ มชน ด้านขวามื อเป็ นชุ มชนบ้าน
ช่างหล่อและชุ มชนวัดศรี สุพรรณ ปั จจุบนั มีวดั ศรี สุพรรณเป็ นศูนย์กลางของชุ มชน ในอดีตมี
ผูป้ ระกอบอาชี พ ช่ า งตี เครื่ องเงิ น อาศัย อยู่ใ นเชี ย งใหม่ ปรากฏตามหลัก ฐานประวัติศาสตร์
สื บย้อนไปตั้งแต่ครั้งยุคสมัย ราชวงศ์มงั ราย ที่ได้มีการรวบรวมช่ างจากเมืองต่างๆ ได้ปรากฏ
หลักฐานในข้อความ ที่เป็ นบันทึ กหลักฐานตามเอกสารต่างๆโดยเนื้ อความตามตานานกล่าวว่า
พญาอังวะได้มอบหมู่ช่างให้แก่พญาเม็งรายมีความตอนหนึ่ งว่า “กูใส่ ใจว่าเจ้าล้านนาผูม้ ีเตชะ
จักมากาจัดบ้านเมืองเราเสี ยฤาว่าอั้นเท่าว่าใคร่ ได้ช่างฆ้องสันนี้ เราควรแต่งช่างฆ้องผูส้ ลาดเถิงดี
นักนั้นสองนายและช่างเครื่ องช่างเงินช่างคาช่างทองช่างเหล็กทังหลายประมาณว่าได้ 500 ครัว
มาถวายแก่เจ้าพระยามังรายเจ้าพระยามังรายก็เอาช่างตีคามาไว้เชียงตุงเอาช่างฆ้องและพวกหาน
บ้านเมืองล้านนาต่อเท้าบัดนี้แล”3
หลังจากพระเจ้ากาวิละเจ้าผูค้ รองนครเชียงใหม่ รวบรวมกาลังคนด้วยนโยบาย “เก็บฮอม
ตอมไพร่ ” หรื อ “เก็บผักใส่ ซ้าเก็บข้าใส่ เมือง” ในเขตเชี ยงใหม่ - ลาพูนโดยให้ผคู ้ นเข้ามาตั้ง
บ้านเรื อนอยูใ่ นเขตพื้นที่เมืองเชี ยงใหม่ จึงมี “ชุมชน” กลุ่มชาติพนั ธ์ต่างๆอย่างหลากหลายซึ่ ง
ส่ วนใหญ่ถือเป็ น “ชุ มชนช่าง” เพราะต่างมีการทางานช่างต่างๆสื บทอดมาจนถึงปั จจุบนั ต่อมา
เมื่ อครั้ งหลังเจ้าเมืองอังวะยกทัพมายึดเมืองปุและแต่งตั้งเจ้าฟ้ าคาเครื่ องเป็ นเจ้าเมื องพระเจ้า
กาวิละจึงโปรดฯให้เจ้าสุ วณั ณะคามูลคุ มกองทัพ 300 คนไปตีเมืองปุแล้วข้ามแม่น้ าคงไปได้
มีการเกลี้ยกล่อมและกวาดต้อนผูค้ นแบบ“เทครัว”จากฝั่งตะวันตกของแม่น้ าคงในบริ เวณลุ่ม
แม่น้ าคงหรื อแม่น้ าสาละวินเช่ นเมืองปุงวั ลาย บ้านสะต๋ อย สอยไร่ ท่าช้าง บ้านนา บ้านทุ่งอ้อ
ฯลฯต่อมาผูค้ นบ้านวัวลายแขวงเมืองปั่ นถูกกวาดต้อนเข้ามาอีกครั้งในสมัย พระเจ้าช้างเผือก
ธรรมลังกา เจ้าผูค้ รองนครเชี ยงใหม่องค์ต่อมาในปี พ.ศ. 2361 โดยให้ผคู ้ นเข้ามาตั้งบ้านเรื อน

3
สมหมาย เปรมจิตต์ “ตานานสิ บห้าราชวงศ์” สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2540 หน้า 29

8
อยู่ในเขตพื้นที่เมืองเชี ยงใหม่ส่วนชุ มชนวัดหมื่นสารและ ชุ มชนวัดศรี สุพรรณได้นาช่ างฝี มือ
เครื่ องเงิน มาตั้งถิ่นฐานรอบๆวัดเกิดเป็ นชุมชนใหม่บนพื้นที่เดิมสื บทอดมาจนถึงปัจจุบนั

2.1.2 ความเป็ นมา รู ปแบบและลวดลายของเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย

1) ความเป็ นมาเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย


ชุมชนวัวลายปรากฏหลักฐานเอกสารต่างๆตั้งแต่สมัยราชวงศ์มงั ราย ชุมชนวัวลาย
มาจากชื่ อหมู่บา้ นแห่ งหนึ่ งแถบลุ่ มน้ าคงหรื อแม่น้ าสาละวิน ฝั่ งตะวันตกโดยมี ชื่อว่า
บ้านงัวลาย ตั้งอยู่แขวงเมื องปั่ น เป็ นรั ฐที่ ต้ งั อยู่ทางทิ ศตะวันออกของเมิ งไตหรื อไทย
ใหญ่ ซึ่ งมีเขตแดนทางตอนใต้และทางตะวันออกอยูต่ ิดกับเขต อาเภอเชียงดาวและอาเภอ
ฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ทางทิศเหนือติดกับเขตรัฐเชียงตุง ช่วงปี พุทธศักราช 2342 ชาวบ้าน
วัว ลายในแถบลุ่ ม น้ า คงถู ก กวาดต้อ นให้ ม าตั้ง บ้า นเรื อ นรอบๆบริ เ วณ วัด หมื่ น สาร
ดัง ปรากฏในตานานสิ บห้าราชวงศ์ และตานานพื้ นเมื องเชี ย งใหม่โดยมี การกล่ าวถึ ง
การเข้ามาของชาวบ้านวัวลายในครั้งนั้นพระเจ้ากาวิละได้โปรดให้ชาวบ้านงัวลายได้
ตั้งบ้านเรื อนใกล้เคียงวัดหมื่นสาร และเรี ยกชื่ องัวลายตามชื่ อหมู่บา้ นเดิม ชาวบ้านที่ถูก
กวาดต้อนมานั้นส่ วนใหญ่เป็ นช่ างฝี มื อที่มีทกั ษะ ในการทาเครื่ องเงิ น และได้มีการ
สื บทอดความรู ้จากรุ่ นสู่ รุ่นเรื่ อยมาจนถึ งปั จจุบนั แต่ไม่ปรากฏหลักฐานที่เป็ นชิ้ นงาน
คงพบในช่วง 100 ปี ที่ผา่ นมานี้เอง
ชื่ อเสี ย งของชุ ม ชนวัวลายได้เกิ ดขึ้ นในช่ วงของการสร้ า งรถไฟสายเหนื อ จาก
กรุ งเทพมหานครเข้าสู่ จงั หวัดลาปางในปี พ.ศ. 2449 และถึงเชี ยงใหม่ในปี พ.ศ. 2464
และได้มี การจัดตั้งแผนกโฆษณาการขึ้ นในการรถไฟหลวงเมื่ อปี พ.ศ. 2467 โดยมี
นโยบายให้ ค นไทยเดิ นทางท่ อ งเที่ ย วสู่ ภาคเหนื อจึ ง ได้ มี ก ารเดิ นทางจาก
กรุ งเทพมหานครสู่ จงั หวัดเชียงใหม่และจังหวัดทางภาคเหนือโดยทางรถไฟตั้งแต่ บัดนั้น
เป็ นต้นมา และในปี พ.ศ. 2469 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่
7 แห่งพระบรมราชจักรี วงศ์พระองค์พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรม
ราชินีได้เสด็จเยือนหัวเมืองต่างๆในภาคเหนื อ เมื่อเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 โดยเสด็จ
พระราชดาเนินทางรถไฟออกจากกรุ งเทพมหานครเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2469 ซึ่ ง
การเสด็จพระราชดาเนิ นครั้ งนี้ นบั ว่ามี ความสาคัญอย่างยิ่ง ต่ออาณาประชาราษฎร์ ใน
ภาคเหนือเพราะทรงเป็ นกษัตริ ยใ์ นราชวงศ์จกั รี พระองค์แรกที่เสด็จมาถึงเชียงใหม่และ
จังหวัดใกล้เคียงในภาคเหนื อ4
4
“สื บสานวัฒนธรรมท้องถิ่นสู่การท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่” สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ 2555 หน้า 6

9
ในการเสด็ จครั้ ง นั้นงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นได้ถูก นามาเผยแพร่ และได้มี การ
สาธิ ต ขั้น ตอนวิ ธี ก ารท าให้ ท อดพระเนตรโดยช่ า งท าเครื่ องเงิ น ที่ มี ค วามช านาญ
จนกระทั่ง รั ช กาลปั จ จุ บ ัน ก็ ป รากฏว่า มี พ ระบรมวงศานุ ว งศ์ห ลายพระองค์ไ ด้เ สด็ จ
พระราชดาเนินเยือนชุมชนวัวลายอยูเ่ สมอ

2) รู ปแบบและลวดลายของเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย

การท าเครื่ อ งเงิ น ในระยะแรก ท าขึ้ น เพื่ อ เป็ นส่ ว ย หรื อ ของก านัล หรื อ ของ
บรรณาการตามความต้องการของเจ้านาย ภายหลังที่ เศรษฐกิ จขยายตัวขึ้ นและมี ก าร
ติ ดต่ อค้า ขายกับ ชาติ อื่นเช่ น พม่ า และชาวเขาเผ่า ต่ า งๆ เครื่ องเงิ นจึ ง กลายเป็ นสิ นค้า
แลกเปลี่ยน หรื อซื้ อขายกับสิ นค้าจาเป็ นอื่นๆ

ภาพที่ 2.1 เครื่ องทรงพระพุทธรู ปทาจากแร่ เงิน ผลิตภัณฑ์บา้ นไชยวุฒิ

การทาเครื่ องเงิ นเชี ยงใหม่ได้พฒั นารู ปแบบการทาขันเงิ น หรื อสลุ งเงิ นไปเป็ น
รู ปแบบอื่ นๆอีกมากมายเช่ น พาน กระเป๋ าถื อ ปิ่ นปั กผม แหวน สร้ อยคอ สร้ อยข้อมื อ
และกาไล เป็ นต้นโดยการเป็ นช่างเงินของชาววัวลายที่ได้รับการสื บทอดจากบรรพบุรุษ
จะมีการฝึ กหัดทุกขั้นตอนอย่างละเอียดที่สุด คือการแกะสลักลวดลาย โดยการฝึ กใช้เวลา
ประมาณ 8 – 12 เดือนก็จะสามารถเป็ นช่างเงินได้ แต่จะชานาญมากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่
กับการฝึ กฝนประสบการณ์เป็ นสาคัญ5

5
เชษฐา เมี้ยนมนัส “ถนนสายวัวลาย” อิ่มสุ วรรณแมนชัน่ เชียงใหม่ 2547 หน้า 8 - 10

10
ภาพที่ 2.2 กระเป๋ าถือทาจากแร่ เงินผลิตภัณฑ์บา้ นไชยวุฒิ

เครื่ องเงิ น วัวลายในอดี ต นิ ย มท ารู ปแบบในลัก ษณะเป็ น ขันหรื อสลุ ง ของชาว


ล้านนา ซึ่ งเป็ นภาชนะสาหรับตักน้ าหรื อใส่ น้ ามีหลายขนาด มีความแตกต่างกับขันของ
ภาคกลาง โดยขันภาคกลางจะเป็ นทรงปากกว้าง ก้นแคบแบบที่เรี ยกว่ามะนาวตัด แต่ขนั
หรื อสลุ งเชี ยงใหม่ จะมี ลกั ษณะปากกว้างกว่า เกื อบจะตรงเป็ นทรงกระบอก ส่ วนขัน
หรื อสลุงแบบพม่าจะเป็ นลักษณะขันทรงบาตรที่มีลายนูนลึก ซึ่ งมักเรี ยกกันตามรู ปแบบ
และการใช้งานทาด้วยวัสดุหลายชนิ ดเช่น ทอง เงิน นาค ทองเหลือง หรื ออื่นๆมีท้ งั แบบ
เรี ยบและแต่งลายสวยงามด้านนอก ขันมีหลายชนิ ดหลายขนาดและมีประโยชน์ใช้สอย
ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ขันสาคร เป็ นขันขนาดใหญ่มากมักเป็ นโลหะผสม ด้านข้างขันทั้งสองข้างทาเป็ น


รู ปหน้าสิ งโต ปากคาบห่วงเป็ นหูหิ้ว ข้างละหู ก้นขันมีเชิ งติดคล้ายพานสมัยโบราณขันนี้
ใช้ใ ส่ น้ าอาบของผูม้ ี บ รรดาศักดิ์ หรื อใช้ป ระกอบพิธี การต่า งๆเช่ น พระราชพิ ธีถื อน้ า
พิพฒั น์สัตยา แต่ก็มีการย่อส่ วนขันสาครลงมาใช้งานทัว่ ไปเช่นเดียวกับขันอื่นๆ ในระยะ
ต่อมา
ขันข้าว – ขันตักบาตร ใช้พร้ อมกับพานและทัพพี ใส่ ขา้ วสุ กในงานพิธีหรื อใช้
ตักบาตร
ขันห้า เป็ นขันขนาดย่อมใช้ใส่ กรวยใบตองบรรจุดอกไม้ 3 กรวยธูป 3 ดอกใช้ใน
พิธีไหว้ครู แบบย่อ
ขันเหม มีเชิงหรื อพานรองชุ ดหนึ่ งมี 3 ใบคือขันแก้ว ขันทอง และขันเงิน ใช้ปัก
แว่นเวียนเทียนในงานสมโภช เช่น การทาขวัญแบบหลวง จะมีวธิ ี ใช้เฉพาะของตนเอง
ขัน รองป้ าน คื อ ขัน ส าหรั บ ใส่ ป้ าน มี น วมรองข้า งในโดยรอบและมี น วมปิ ด
ตอนบนเป็ นฝาป้ านและช่องสอดหู หามให้โผล่ออกมา ก้นขันอาจมีตีนเป็ นปุ่ มสั้นๆ 3-4
ปุ่ มเรี ยกว่า “ตีนขัน” กันไม่ให้กน้ ครู ดกับพื้น อาจมีรูปกลมหรื อแบนก็ได้

11
ภาพที่ 2.3 ภาพแสดงปุ่ มสั้นๆที่เรี ยกว่า “ตีนขัน”

ขันโอ เป็ นภาชนะจักสานรู ปร่ างอย่างขัน มี หลายขนาด ที่ นิยมใช้ใส่ ของต่างๆ


เวลาออกนอกบ้านของชาวภาคเหนือ สมัยก่อนมักเป็ นเครื่ องเขินมีลวดลายด้านนอก
สลุ ง สลุ ง หาบ สลุ ง เป็ นค าที่ ช าวพื้ น เมื อ งเชี ย งใหม่ เ รี ย กภาชนะที่ ใ ช้ ใ ส่ น้ า ที่
ชาวภาคกลางเรี ยกว่า “ขัน” โดยสลุงที่ใช้กนั ในภาคเหนื อนั้น ส่ วนใหญ่มีขนาดโดยเฉลี่ย
ใหญ่กว่าขันของภาคกลาง ตามบ้านนอกของเชียงใหม่ในสมัยก่อนจะมีคนเอาสลุงใหญ่ๆ
ห่ มผ้ามาขาย เรี ยกว่า “สลุงหาบ” เพราะเวลาใช้มกั ใช้เป็ นคู่ โดยหาบไปแต่ละใบกว้าง
ไม่ต่ากว่า 1 ฟุต คาว่า “สลุงหาบ” เกิดจากการที่เจ้านายตามคุ ม้ เวียงต่างๆ จัดเตรี ยมข้าว
ของใส่ สลุ งใบใหญ่ ให้ขา้ ไพร่ ในคุ ม้ หาบไปทาบุ ญที่ วดั เมื่อถึ งเทศกาลงานบุ ญต่างๆ
คนชั้นธรรมดาเมื่ อซื้ อหาสลุ งขนาดใหญ่ได้ก็ประพฤติ ตามจนกลายเป็ นจารี ตนิ ยมสื บ
ต่อมาหลายชัว่ อายุคน เพราะถึงแม้จะหาบสลุ งไปวัดเองก็ยงั คงมีหน้าตาปรากฏแก่คนที่
พบเห็น ด้วยว่าเป็ นสลุงเงินใบใหญ่นนั่ เอง6

เครื่ องเงิ น วัว ลายยัง มี ล ัก ษณะเด่ น อยู่ ที่ วิ ธี ก ารดุ น ลวดลายทั้ง สองด้ า นโดย
เครื่ องเงินจากที่อื่นๆ มักดุนลายจากด้านนอกด้านเดี ยว แต่ช่างชุ มชนวัวลายจะใช้เหล็ก
หัวกลมดุนลายจากด้านใน ตามโครงสร้างที่ตอ้ งการให้นูนออกมารอบนอกของชิ้ นงาน
ก่อนแล้วตี หรื อดุนจากด้านนอกเป็ นลายละเอียดอีกทีหนึ่ง โดยลวดลายสลุงแบบพม่าจะ
นู นลึ กมากที่สุ ด รองลงมาเป็ นลวดลายสลุ ง แบบเชี ยงใหม่ และสลุ งหรื อขันแบบภาค
กลางมีความนูนลึกน้อยที่สุด

6
พยูณ มีทองคา “สลุงหลวง พ่อ” คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ ค เชียงใหม่ 2542 หน้า 93-94

12
ภาพที่ 2.4 ภาพแสดงลวดลายด้านในขันหรื อสลุง

เครื่ องเงิ นวัวลายแบบโบราณจะใช้ส ลุ งเรี ยบ ต่อมามี การเพิ่มเติ มลวดลายต่างๆ


ลงไป โดยขันหรื อสลุ งเงิ น มัก มี ล วดลายหลายๆแบบผสมผสานกันเช่ นลายนัก ษัตร
มี รูป สั ต ว์อ ยู่ใ นกรอบรู ป ร่ า งต่ า งๆกัน เช่ น กรอบรู ป แหลม รู ป ปลิ ง กรอบรู ป หนึ่ ง ๆ
เรี ยกว่า “โขงหนึ่ ง” ขันใหญ่หรื อสลุ งหลวง มีครบทั้งสิ บสองราศี ในกรอบ 12 กรอบ
เรี ยกเป็ น 12 โขงขันเล็กๆจะมีเพียงไม่กี่โขง การล้อมกรอบลายบนพื้นที่ต่างๆ นี้ คล้ายกับ
ภาคกลาง แบ่งลายด้วยกรอบ 4 กรอบมีพ้ืนลายเป็ นกนก ดอกพุดตาน แต่ขนั ภาคกลางจะ
มีไม่เกิ น 4 กรอบ นอกจากนั้นกรอบลายแบบเชี ยงใหม่ ยังแวดล้อมด้วยดอกกระถิ น
ดอกทานตะวัน และดอกสับปะรด นอกจากลายแบบเชียงใหม่แล้ว ยังมีขนั หรื อสลุงแบบ
แม่ย่อย ซึ่ งจะคล้ายแบบพม่าแต่มีฝา มีลายประกอบตัวสัตว์ประจาราศี เป็ นของแม่ย่อย
โดยเฉพาะลายแม่ยอ่ ยจะมีลกั ษณะเป็ นขด คล้ายกนกมีกิ่งก้านเล็กๆประกอบตัวขด แต่ไม่
เป็ นใบไม้ดอกไม้แต่อย่างใดดูคล้ายลูกน้ าตัวโตๆมีขนรุ งรังเบียดกันแน่นตามขอบ และ
พื้นสลุง กรอบลายขันหรื อสลุงแม่ยอ่ ยจะเป็ นรู ปปลิง มีลายริ มปากขันเป็ นดอกพิกุล ลาย
นกยูง ลายดอกหมากมีลกั ษณะเป็ นทางยาวๆ ตั้งซ้อนๆกัน แบบเดียวกับลายก้านต่อดอก
ของภาคกลาง ลวดลายต่างๆที่สลักบนขันหรื อสลุงเงินของบ้านวัวลายนั้นจะมีลายดั้งเดิม
คือเริ่ มจากการตั้งถิ่ นฐานของชาวบ้านวัวลาย และลวดลายใหม่คือเริ่ มจากปี พ.ศ. 2500
ลวดลายต่างๆจะมีการพัฒนาขึ้นอย่างมากมาย พอสรุ ปได้ดงั นี้

2.1) ลวดลายดั้งเดิม
2.1.1) ลายนางราหรื อลายพม่า เป็ นลวดลายดั้งเดิมของบ้านวัวลาย โดยช่าง
บ้านวัวลายได้ไปเรี ยนรู้ จากช่างหลวงหรื อช่างพม่าที่ถูกจับมาเป็ นเชลยศึก
ในสมัย พญากาวิล ะ โดยพวกพม่ า นี้ ไ ด้ร วมตัว กัน อยู่ที่ ข ้า งวัด แสนฝาง
ซึ่ งส่ วนมากจะเป็ นช่างเงิน พวกพม่ากลุ่มนี้ เองที่คิดลวดลายพวกเทพต่างๆ

13
ที่ ต นเองนับ ถื อ น าไปสลัก ไว้บ นสลุ ง เงิ น โดยได้น ารู ป นางร าไปสลัก
ลวดลายไว้บนขันเงิน และตัวนางราจะเน้นแต่งกายแบบพม่า เช่น การมวย
ผม เสื้ อที่สวมใส่ จะมีลกั ษณะไขว้กนั ส่ วนผ้าถุ งที่สวมใส่ จะบานยาวตรง
ส่ วนล่าง ซึ่ งเป็ นเอกลักษณ์ของหญิงสาวพม่า ลายดังกล่าวนี้ ชาววัวลายได้
ไปเรี ยนรู ้มาจากกลุ่มชนกลุ่มนี้นนั่ เอง

2.1.2) ลายสิ บสองราศี หรื อสิ บสองนักษัตร เป็ นลวดลายที่ชาวบ้านวัวลาย


ได้นาปี เกิ ดของมนุ ษย์มาสลักบนสลุงเงิน ซึ่ งเป็ นความเชื่ ออย่างหนึ่ งของ
ชาวบ้านที่มีต่อโชคชะตาราศี โดยเริ่ มแรกชาวบ้านวัวลายได้สลักลวดลาย
เพียงราศีเดียวเท่านั้น ต่อมาได้พฒั นาสลักให้ครบสิ บสองราศี เป็ นลายที่มา
จากคุ ม้ หลวงโดยช่ างบ้านวัวลาย ที่ เจ้าขันแก้ววัวลายส่ งไปเรี ยนรู้ ในคุ ้ม
หลวง โดยหมู่บา้ นวัวลายจะแตกต่างจากบ้านอื่น คือ ปี กุน จะเป็ นรู ปช้าง
ไม่ใช่รูปหมู ซึ่งถือว่าช้างเป็ นสัตว์ใหญ่และเป็ นพาหนะพระมหากษัตริ ย ์

ภาพที่ 2.5 ขันหรื อสลุง ประดับลวดลายสิ บสองราศี

2.1.3) ลายพุทธประวัติ ลายรามเกียรติ์ ลายพุทธประวัติ ช่างบ้านวัวลายจะ


สลักตอนพระเวสสันดรให้ทาน อันเป็ นชาติหนึ่ งของพระพุทธเจ้าที่ ได้มี
ความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่และความเมตตาแก่สัตว์โลกทั้งหลาย จากคาบอกเล่า
ของช่ า งบ้า นวัว ลาย ว่ า เป็ นภาพจิ น ตนาการมาจากผนัง ในวิ ห ารของ
วัดหมื่นสาร ส่ วนลายรามเกี ยรติ์จะนิยมสลักลายตอนพระลักษณ์ พระราม
ยกทัพไปตีขา้ ศึก อันเป็ นท่าที่สวยงามและเป็ นที่นิยมของลูกค้า

14
ภาพที่ 2.6 สลุงเงินตกแต่งลวดลายรามเกียรติ์ ผลิตภัณฑ์ของร้านดารงศิลป์

2.1.4) ลายดอกบัว ลายดอกกระถิน ที่มาของลายดอกบัว เป็ นลายดอกไม้


พิ เ ศษที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ลัท ธิ ศ าสนาอยู่ ม าก โดยเฉพาะศาสนาทางด้า น
ตะวันออกไกลยกเว้นศาสนาอิ ส ลาม มัก จะมี ดอกบัวไปเกี่ ย วข้องเสมอ
บัว ถือว่าเป็ นไม้มีสกุล ถ้าน้ าหล่อเลี้ยงสกปรกบัวก็จะตายหมด
ส่ ว นลายดอกกระถิ น จะเป็ นตะแกรงที่ นู น รู ป กลมมี ใ บยาวขึ้ นไป
ตอนบน 2 ด้านเหมือนเขาสัตว์ ซึ่ งไม่เหมือนใบกระถินจริ งๆเลยส่ วนลาย
ดอกสับ ปะรดนั้นได้ดัดแปลงมาจากลายดอกกระถิ น โดยลายดอกหรื อ
ตัว สั บ ปะรดจะมี รู ป รี ย าวกว่า ดอกกระถิ น ที่ มี รู ป กลม และจะมี ใ บยาว
ตอนบนเหมือนกันซึ่ งก็ไม่เหมือนใบสับปะรดที่แท้จริ ง นอกจากนี้ ยังมีลาย
ดอกทานตะวันที่ดัดแปลงมาจากลายดอกกระถิ นโดยมี ลกั ษณะรู ปดอก
เหมื อนกัน แต่แทนที่ จะมี ใ บยาวแหลม 2 ใบขึ้ นข้า งบน ก็มี กลี บเล็ก ๆ
รอบๆ เกสรดอกกลี บทานตะวันบนสลุ งเชี ยงใหม่ มักไม่เสมอกันทุกกลี บ
แต่อาจมี 3-4 กลีบยืน่ ยาวส่ วนอื่นและมักยืน่ ขึ้นไปตอนบน

15
ภาพที่ 2.7 สลุงที่ตกแต่งด้วยลวดลายดอกกระถินและลายสิ บสองราศี

2.1.5) ลายเทพพนม เป็ นเทพๆหนึ่งที่ชาวอินดูนบั ถือจะปรากฏให้เห็นตาม


แนวกาแพงวัด หรื อผนังโบสถ์ของวัดหมื่นสาร ชาวบ้านวัวลายจึง นามา
สลักลงบนสลุงเงินเพื่อความสวยงาม

2.1.6) ลายชาวนา ลายชนบท หรื อลายธรรมชาติ เป็ นการถ่ ายทอดความ


ประทับ ใจ ของช่ า งที่ มี ต่ อ สภาพแวดล้อ มตามชนบท เช่ น ช้า งลากซุ ง
คนไถนา คนตาข้าว สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมชนบทว่ามีความเป็ นอยู่
อย่างไรในอดีต

2.2) ลวดลายใหม่หรื อลายปั จจุบนั คือตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็ นต้นมา

2.2.1) ลายแส้ ต่ า งๆหรื อ ลายแม่ ย่ อ ย ลัก ษณะลายจะมาจากดอกไม้ที่ มี


ลัก ษณะเป็ นพวง เป็ นช่ อ โดยในสมัย ก่ อ นนั้น ชาวบ้า นแม่ ย่ อ ย อ าเภอ
สันทราย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มหนึ่งได้มาศึกษาและเรี ยนรู ้วิธีการตีสลุงเงิน
และสลัก ลวดลายบนสลุ ง เงิ น ที่ บ ้า นวัว ลาย พอเริ่ ม ท าได้ก็ ก ลับ ไปตั้ง
โรงงานเอง ที่บา้ นแม่ย่อย และได้ถ่ายทอดความรู ้ต่างๆ เกี่ยวกับการตีสลุ ง
เงินและการสลักลวดลายให้แก่ชาวบ้านแม่ยอ่ ยที่ตอ้ งการจะเรี ยนรู้งานด้าน
นี้ แต่ชาวบ้านแม่ย่อยก็ยงั รั บงานจากชาวบ้านวัวลายไปทาอยู่ตลอด หรื อ
ชาวบ้านแม่ยอ่ ยเข้ามารับจ้างที่บา้ นวัวลายต่อมาชาวบ้านแม่ยอ่ ยจึงได้คิดที่
จะมีลายของตนเองบ้าง จึงได้ใช้สัญลักษณ์ ของบ้านแม่ยอ่ ย คือการค้าขาย
ไม่ผลเศรษฐกิ จของบ้านแม่ย่อย คือดอกหมาก ดอกพร้าว ดอกพลู เป็ นต้น
ซึ่ งผลไม้เหล่ านี้ ใ นสมัยก่ อน ชาวบ้านแม่ย่อยจะปลู ก กันแทบทุ กหลังคา
เรื อน ดังนั้นช่างบ้านแม่ยอ่ ยจึงได้นาผลไม้มาสลักลงบนสลุงเงินจึงเกิดเป็ น

16
ลายแส้ต่างๆ และชาวบ้านแม่ยอ่ ย ยังได้ให้ความหมายของลายแส้ต่างๆ ว่า
ลายดอกไม้ที่เป็ นพวงนี้ จะบ่งบอกถึงการทางานที่เป็ นทีมหรื อเป็ นน้ าหนึ่ ง
ใจเดียวกัน อันเป็ นผลมาจากการทาลวดลายแส้นนั่ เอง

ภาพที่ 2.8 สลุงตกแต่งลวดลายที่ได้จากธรรมชาติ

2.2.2) ลายเปลว ลักษณะลวดลายคล้ายคลึงเถาไม้หรื อเปลวไฟที่ไหวระริ ก


เมื่อต้องลม ลายเปลวส่ วนมากมักนิ ยมทาภาพประกอบในเถาลาย ซึ่ งอาจ
เป็ นภาพเรื่ องรามเกียรติ์ หรื อเรื่ องอื่นๆตลอดจนภาพเทพพนมด้วย

2.2.3) ลายขอบ หรื อลายเชิง ที่มาของลายเกิดจากชาวบ้านวัวลายได้รวมตัว


กันก่ อตั้งคณะทาเครื่ องเงิ นบ้านวัวลายสามัคคี เพื่อทาสลุ งหลวงน้ าหนัก
536 บาท โดยสร้ างขึ้ นเพื่อเฉลิ มพระเกี ยรติ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุ ดา
สยามบรมราชกุ มารี ฯ พระชนมายุครบ 3 รอบ 36 พรรษา ในวันที่ 2
เมษายน 2534 ซึ่งเป็ นวันอนุรักษ์มรดกไทย ชาวบ้านวัวลายได้คิดลายใหม่ที่
จะสลักบนสลุง คือ ลายขอบหรื อลายเชิ งขึ้น และต่อมาลายดังกล่าวได้เป็ น
ที่ รู้ จ ัก และนิ ย มแพร่ ห ลายขึ้ น เนื่ อ งจากลู ก ค้า ได้เ ห็ น ความหมายและ
ความส าคัญ ลายนี้ ว่า ได้ส ลัก ลงบนสลุ ง หลวงที่ ส ร้ า งขึ้ น เทิ ดพระเกี ย รติ
จึงเป็ นสาเหตุหนึ่งที่มีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงลวดลายบนสลุงเงินบ้าน
วัวลาย

2.2.4) ลายกนก หรื อ ลายไทย เป็ นลายที่เป็ นศิล ปะ ประจาชาติ ของไทย


ที่สืบเนื่ องมาแต่โบราณ ลายไทยเป็ นลายกนกจะประดิษฐ์ข้ ึนมาจากเถาไม้
ใบไม้ ดอกไม้ ซึ่ งได้ตกแต่งดัดแปลงให้สวยงามยิ่งขึ้นบนขันเงิน ลายไทย
จะมีลีลาอ่อนช้อยนิ่ มนวล เมื่อนาไปบรรจุหรื อสลักลวดลายบนสลุงเงินจะ
ทาให้สวยงาม มีค่าและราคาสู ง สาหรับลายไทยที่ปรากฏในสลุงเงินทัว่ ไป

17
ส่ วนใหญ่ชาวบ้านวัวลายจะนาลายกนก ลายเปลว ลายพุ่ม ลายก้านขด ฯลฯ
มาประกอบเพียงบางส่ วนกับลวดลายเดิ มของบ้านวัวลาย โดยจะตกแต่ง
บนขอบ สลุ งเงิน ทาให้เกิ ดความสวยงามไปอีกรู ปแบบหนึ่ งของลวดลาย
บนสลุ ง เงิ น ท าให้ เ กิ ด ความสวยงาม ไปอี ก รู ป แบบหนึ่ งของลวดลาย
บนสลุงเงินบ้านวัวลาย7
ลายโบราณหรื อลายดั้ง เดิ ม แตกต่า งจากลายปั จจุ บนั ลวดลายดั้งเดิ ม จะมี ความ
ละเอี ย ดอ่อนและสวยงามกว่า โดยจะเน้นลวดลายที่ เกี่ ยวข้องกับเรื่ องราวทางศาสนา
ความเชื่อ โดยลวดลายที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากความรู ้สึกนึกคิดของช่างโดยใช้ธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมเป็ นส่ วนประกอบ ส่ วนลวดลายปั จจุบนั จะเน้นความสวยงามเป็ นหลัก และ
ลายจะไม่ค่อยคมชัดเท่าใดนัก เกิ ดลวดลายใหม่คือช่ างนาลายใหม่มาผสมกับลวดลาย
ดั้งเดิม หรื อช่างต่างถิ่ นเป็ นผูน้ าลายใหม่เข้ามาเผยแพร่ โดยแลกเปลี่ยนความคิดของช่าง
ต่างถิ่นกับช่างบ้านวัวลายโดยกาเนิด

2.2 แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ องกับการศึกษาในครั้งนี้

การศึกษาในเรื่ องการอนุรัก ษ์และสื บสานภูมิปั ญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย


อาเภอเมืองจัง หวัดเชี ย งใหม่ผูศ้ ึ กษาได้นาแนวคิดเรื่ องการอนุ รัก ษ์มรดกทางวัฒนธรรม มาใช้เพื่ อ
อนุรักษ์ภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงินที่ทรงคุณค่า ในทางศิลปกรรม อีกทั้งยังเล็งเห็นถึงปั ญหาในจานวน
ช่างที่ลดลงความยากในการถ่ายทอดภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ผูศ้ ึกษาจึงเลือกแนวคิดเรื่ อง
การถ่ายทอดภูมิปัญญาเพื่อใช้เป็ นแนวทางที่จะนาไปสู่ การสร้างเสริ มความรู ้และพัฒนาศักยภาพให้คน
รุ่ นหลังรักษาอนุ รักษ์สืบทอดมิให้องค์ความรู ้น้ นั สู ญหายไป และนาแนวคิดเรื่ องการจัดการความรู้เ ข้า
มาใช้ใ นการศึ ก ษาเพื่ อจัดเก็ บ ความรู ้ ข องภู มิ ปั ญญาในมิ ติต่า งๆแล้วจึ ง ถ่ า ยทอดออกมาในรู ปของ
องค์ความรู ้ ประเภทต่างๆโดยมีเอกสารงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้องสาหรับใช้เป็ นแนวทางและการวางกรอบ
แนวคิดเพื่อใช้อธิบายปรากฏการณ์ในการศึกษาประกอบด้วยแนวคิดดังต่อไปนี้

2.2.1 แนวคิดเรื่องการอนุรักษ์ มรดกทางวัฒนธรรม

การอนุรักษ์ (Conservation) ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 คือการ


รักษาให้คงเดิม โดยแบ่งเป็ นการอนุรักษ์ที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมคือ การรู ้จกั รักษาไว้
มิให้สูญเสี ยไปหรื ออยู่ในสภาพคงเดิ ม และการอนุ รักษ์ที่เกี่ ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติคือ
การรู ้จกั ใช้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุด โดยสามารถที่จะมีใช้ได้เป็ นเวลานานที่สุด ทาให้เกิด

7
พยูณ มีทองคา เรื่ องเดียวกัน หน้า 96-100

18
ประโยชน์ ม ากที่ สุ ด และต้องสู ญเสี ย ให้น้อยที่ สุ ด ดัง นั้นจะต้องเข้า ใจว่า การอนุ รัก ษ์ไ ม่ ไ ด้
หมายถึ ง การเก็ บ รั ก ษาทรั พ ยากรไว้เฉยๆ ตามกาลเทศะ และพยายามให้เกิ ดผลกระทบต่ อ
สิ่ งแวดล้อมน้อยที่สุด
การอนุรักษ์ ความหมายทางกระบวนการการอนุ รักษ์มรดกวัฒนธรรม เริ่ มจากการศึกษา
ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจยั ในทางวิชาการหลากหลายสาขาที่ เกี่ ย วข้องในลัก ษณะสหวิทยาการ
ข้อแนะนา เงื่อนไขต่างๆ ที่นาไปสู่ การเลือกสรรวิธีการที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด ในการอนุ รักษ์
แหล่งโบราณสถานและมรดกทางวัฒนธรรมที่เกี่ ยวข้องแต่ละประเภท แต่ละแหล่ง ให้มนั่ คง
เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และตอบสนองประโยชน์ต่อสังคมปั จจุบนั 8
มนุษย์ทุกชาติทุกสังคม ต่างก็มีวฒั นธรรมของตนเอง ซึ่ งอาจจะแตกต่างหรื อเหมือนกันก็
ได้ แต่โดยทัว่ ไปแล้วชุ มชนหรื อสังคมที่อยู่ใกล้เคี ยงกัน มักจะมีวฒั นธรรมเป็ นอย่างเดี ยวกัน
หรื อคล้ายคลึงกัน ดังนั้นความรู ้สึกนึ กคิด วิถีทางดาเนิ นชี วิตของบุคคลเหล่านี้ จึงคล้ายคลึ งกัน
และสามารถเข้าใจซึ่ งกันและกันได้ง่ายกว่าและดีกว่าบุคคลกลุ่มอื่นที่อยู่ห่างไกลออกไป เช่ น
คนไทยย่อมเข้าใจชีวติ ความเป็ นอยูข่ องคนลาว เขมร และมาเลเซี ยได้ดีกว่า อังกฤษหรื ออาหรับ
และคนจีนย่อมเข้าใจความเป็ นอยูข่ องคนเกาหลีและญี่ปุ่นได้ดีกว่าอินเดีย เป็ นต้น9
วัฒนธรรมเกิดขึ้นจากการเรี ยนรู ้ การสร้างสม การสื บต่อและถ่ายทอด ดังนั้นวัฒนธรรม
จึงมี การเกิ ด การเจริ ญเติบโต การเปลี่ ยนแปลง การเสื่ อมสลายเช่ นเดี ยวกับชี วิตคนและสัตว์
แต่อาการต่างๆ ที่เกิ ดขึ้นและเปลี่ ยนแปลงไป หรื อวิวฒั นาการนั้น เกิ ดขึ้นจากการกระทาของ
มนุษย์ วัฒนธรรมมาจากภาษาบาลีบวกกับภาษาสันสฤต คือ คาว่า วัฒนะ ซึ่ งมีความหมายทัว่ ไป
ว่า เจริ ญงอกงาม รุ่ งเรื อง ส่ วนคาว่า ธรรม ซึ่ งในที่น้ ีหมายถึง กฎ ระเบียบ หรื อข้อปฏิบตั ิ เมื่อนา
ค าสองค ามารวมกัน ในความหมายของค าในภาษาไทยจึ ง มี ค วามหมายถึ ง ข้อ ปฏิ บ ัติ อ ัน
จะก่อให้เกิดความเจริ ญงอกงามที่เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย โดยสามารถแบ่งได้เป็ นสองประเภทคือ
1) วัฒนธรรมทางวัตถุคือเครื่ องมือเครื่ องใช้ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในชี วิตประจาวันเพื่อ
ความสุ ขทางกาย
2) วัฒนธรรมทางจิตใจเป็ นเรื่ องเกี่ ยวกับสิ่ งที่ ยึดเหนี่ ยวจิ ตใจของมนุ ษย์ เพื่อให้เกิ ด
ปั ญญาและมี จิตใจที่งดงาม เช่ น ศาสนา ศีลธรรม คติธรรม จริ ยธรรม ตลอดจน ศิลปะ
และวรรณคดี และขนบธรรมเนี ยมประเพณี สาหรับผูท้ ี่ตอ้ งรับผิดชอบงานวัฒนธรรม
ในที่สุดก็จาเป็ นต้องเลือกตัดสิ นใจนาเอาความหมายใดความหมายหนึ่งมาใช้เป็ นหลักใน
การปฏิบตั ิหน้าที่ แต่ถึงจะเลือกใช้ความหมายใดความหมายหนึ่งแล้ว ก็มิได้มีความหมาย

8
วิทูรย์ เหลียวรุ่ งเรื อง “การอนุรักษ์และการจัดการมรดกวัฒนธรรม” กรุ งเทพ: เจริ ญวิทย์การพิมพ์ 2552 หน้า 8
9
ณรงค์ เส็งประชา “พื้นฐานวัฒนธรรมไทย” กรุ งเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์ 2531 หน้า 1

19
ที่แจ่มแจ้งพอที่ จะใช้เป็ นหลักเพื่อปฏิ บตั ิ งาน เพราะความหมายของวัฒนธรรมที่ มีอยู่
ล้วนเป็ นความหมายอย่างกว้างๆหรื อความหมายทัว่ ไปจึงจาเป็ นต้องสร้างความหมายเชิ ง
ปฏิบตั ิการขึ้น เพื่อใช้ควบคู่กบั กับความหมายทัว่ ไป ซึ่ งทาได้โดยการนาเอาสาระสาคัญ
ที่ ก ลั่น ออกมาจากบรรดาความหมายทั่ว ไปมาวิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ และน าเอา
แนวความคิ ด และข้อ เสนอแนะทางวัฒ นธรรมซึ่ งท่ า นผูร้ ู ้ ไ ด้แ สดงไว้น้ ัน มาตกแต่ ง
เพิ่มเติมเข้าไปอีกทีหนึ่ง
ความแตกต่างระหว่างความหมายทัว่ ไปและความหมายเชิ งปฏิบตั ิการของวัฒนธรรมอยู่
ตรงที่ ความหมายทัว่ ไปจะบอกแต่เพียงว่าวัฒนธรรมคืออะไรและสาคัญอย่างไร แต่ความหมาย
เชิงปฏิบตั ิการจะบอกเพิ่มอีกอย่างน้อย 5 เรื่ องคือ
1) วัฒนธรรมเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
2) สาระสาคัญของวัฒนธรรมคืออะไร
3) ควรจะทางานวัฒนธรรมอะไร
4) ทางานวัฒนธรรมเพื่ออะไร
5) วัฒนธรรมกับอารยธรรมสัมพันธ์กนั อย่างไร
ทั้ง 5 เรื่ องข้างต้นจักต้องประสานสัมพันธ์สืบเนื่ องถึงกันเป็ นลูกโซ่ และมีความหมายต่อ
ชีวติ มนุษย์อย่างแท้จริ ง
ความหมายทัว่ ไป วัฒนธรรม คือ วิถีชีวิตของคนในสังคม เป็ นแบบแผนการประพฤติ
ปฏิบตั ิและการแสดงออกซึ่ งความรู ้ สึกนึ กคิดในสถานการณ์ ต่างๆที่ สมาชิ กในสังคมเดี ยวกัน
สามารถเข้าใจ ซาบซึ้ ง ยอมรับและใช้ปฏิบตั ิร่วมกัน อันจะนาไปสู่ การพัฒนาคุ ณภาพชี วิตของ
คนในสังคมนั้นๆ
ความหมายเชิ งปฏิบตั ิการ วัฒนธรรมหมายถึ ง ความเจริ ญงอกงาม ซึ่ งเป็ นผลจากระบบ
ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า ง มนุ ษ ย์ก ับ มนุ ษ ย์ มนุ ษ ย์ก ับ สั ง คม และมนุ ษ ย์ก ับ ธรรมชาติ จ าแนก
ออกเป็ น 3ด้าน คือ จิตใจ สังคม และวัตถุ มีการสั่งสมและสื บทอดจากคนรุ่ นหนึ่ ง ไปสู่ คนอีก
รุ่ น หนึ่ ง จากสั ง คมหนึ่ งไปสู่ อี ก สั ง คมหนึ่ ง จนกลายเป็ นแบบแผนที่ ส ามารถเรี ย นรู้ แ ละ
ก่อให้เกิดผลิตกรรมและผลิตผล ทั้งที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม อันควรค่าแก่การวิจยั อนุ รักษ์
ฟื้ นฟู พัฒนา ถ่ายทอด ส่ งเสริ ม เสริ มสร้ างเอตทัคคะ และแลกเปลี่ยน เพื่อสร้างเสริ มดุ ลยภาพ
แห่ งความสัมพันธ์ระหว่างมนุ ษย์ สังคม และธรรมชาติ ซึ่ งจะช่ วยให้มนุ ษย์สามารถดารงชี วิต
อย่างมี สันติภาพ สันติสุข และอิสรภาพ อันเป็ นพื้นฐานแห่งอารยธรรมของมนุษยชาติ10

10
“ความหมายและขอบข่ายงานวัฒนธรรม” สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ: กระทรวงศึกษาธิการ ไม่ระบุ
ปี ที่พมิ พ์ หน้า 5-6

20
นิวตั ิ เรื องพานิช ยังได้กล่าวถึงการให้ความหมายของคาว่า “วัฒนธรรม” ซึ่ งแผลงมาจาก
คาว่า “Culture” ในภาษาอังกฤษนั้นมีการให้ความหมายและการนาไปใช้แตกต่างกัน ไม่วา่ จะ
เป็ นในประเทศไทยหรื อต่างประเทศก็ตาม ซึ่ งในความหมายและการนามาใช้ดงั กล่าวนั้นต่างก็
มีส่วนถู กด้วยกันทั้งสิ้ นและขึ้นอยู่กบั ว่าผูใ้ ห้ความหมาย และผูน้ ามาใช้จะมองวัฒนธรรมใน
แง่มุมใด ด้วยเหตุน้ ี การหาข้อสรุ ปให้เป็ นที่ยุติเกี่ ยวกับความหมายของวัฒนธรรมจึงไม่อาจจะ
กระทาได้นอกจากนั้นยังเป็ นสิ่ งที่ไม่สมควรทาอีกด้วย11
หนังสื อ “ความหมายและขอบข่ายงานวัฒนธรรม” ยังได้ให้ความหมาย งานอนุ รักษ์
วัฒนธรรมว่า หมายถึ ง การพิ ท กั ษ์รัก ษาและธ ารงไว้ซ่ ึ งวัฒนธรรมทั้ง ที่ เป็ นรู ป ธรรมและ
นามธรรม เพื่อก่อให้เกิ ดความรัก ความหวงแหน ความเข้าใจ และความภาคภูมิใจในความ
เป็ นชาติ ตลอดจนเพื่อประโยชน์ใ นการศึ ก ษาค้นคว้า ของคนรุ่ นหลัง โดยมี กิ จกรรมหลัก
ดังต่อไปนี้

1) การศึกษาสภาพปั จจุบนั และปั ญหาเกี่ยวกับงานอนุ รักษ์วฒั นธรรมทั้งในระดับท้องถิ่น


และระดับชาติ
2) การจัดทาทะเบียนผลิตผลทางวัฒนธรรมเพื่องานอนุรักษ์
3) การจัดหางบประมาณสนับสนุนงานอนุรักษ์วฒั นธรรม
4) การรณรงค์ให้เกิดความตื่นตัว ตระหนักในคุณค่า และให้ความร่ วมมือในงานอนุ รักษ์
วัฒนธรรม
5) การปรับปรุ งหรื อออกกฎระเบียบให้เอื้อต่องานอนุ รักษ์วฒั นธรรม
6) การจัดสร้างเครื อข่ายเพื่อสนับสนุนงานอนุ รักษ์วฒั นธรรม
7) การประชาสัมพันธ์งานอนุรักษ์วฒั นธรรม
8) การยกย่องเชิ ดชู เกี ยรติ บุคคลหรื อหน่ วยงานที่ ประสบความสาเร็ จในงานอนุ รักษ์
วัฒนธรรม
9) การติดตามและประเมินผล

วัฒนธรรมอาจศึ กษาจากวิถีชี วิตหรื อพฤติ กรรมของกลุ่ มคนผูเ้ ป็ นเจ้าของวัฒนธรรม


โดยตรง ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้เป็ นสื่ อที่จะสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมของกลุ่มชนแต่ละท้องถิ่น แตกต่าง
กันไปตามขนบธรรมเนี ยมประเพณี ความเชื่ อ ความนิ ยม และวิถีชีวิต ของแต่ละชุ มชน หาก
การศึกษาวัฒนธรรมมองข้ามปั จจัยแวดล้อมและวิธีการเกี่ยวเนื่องแล้วจะทาให้การศึกษานั้นขาด

11
นิวตั ิ เรื องพานิช “การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม” กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2546

21
ความสมบู ร ณ์ ไ ป ซึ่ งลัก ษณะภู มิ ศ าสตร์ ข องท้อ งถิ่ น มี ส่ ว นก าหนดวัฒ นธรรมอยู่ไ ม่ น้ อ ย
การศึกษาวัฒนธรรมส่ วนใหญ่จะมีลกั ษณะเป็ นการ ย้อนรอยอดีตเพื่อแสวงหาความรู ้ และความ
เข้าใจรากเหง้ากลุ่มชนท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้ มีท้ งั สาระและประโยชน์ที่ทาให้มองเห็นอดีต
ชัดเจนยิ่ง ขึ้ น อันอาจนามาใช้เป็ นพื้ นฐานการวิเคราะห์ ปั จจุ บ นั และใช้เป็ นแนวทางในการ
กาหนดอนาคตของกลุ่มชนได้ดว้ ย
มรดกทางวัฒนธรรม คือสิ่ งสร้างสรรค์โดยมนุษย์ที่มีคุณค่าแสดงออกถึงความเป็ นอารยะ
ความเจริ ญ ความงดงามของมนุ ษ ยชาติ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต ความเชื่ อ
คุณค่าและความหมายทางสังคม เป็ นต้น มรดกวัฒนธรรมแบ่งได้ 2 ประเภทคือ

1) มรดกทางวัฒนธรรมที่ อยู่ใ นรู ป แบบกายภาพเป็ นรู ปธรรมจับต้องได้ (Tangible


Heritage) แบ่งเป็ น
1.1) มรดกทางวัฒนธรรมที่สามารถเคลื่ อนย้ายได้ เช่น ภาพเขียน ประติมากรรม
เหรี ยญตรา และบันทึก หรื อจารึ กโบราณ ฯลฯ
1.2) มรดกทางวัฒนธรรมที่ไม่สามารถเคลื่ อนย้ายได้ เช่ น อนุ สาวรี ยข์ นาดใหญ่
แหล่งโบราณคดี อาคาร ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และสถาปั ตยกรรม ฯลฯ
2) มรดกวัฒนธรรมที่เป็ นนามธรรมจับต้องไม่ได้ (Intangible Heritage) หรื อ บาง
หน่วยงานใช้คาว่า มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม แบ่งได้เป็ น 6 ประเภท
2.1) ภาษา และมุขปาฐะ
2.2) ศิลปะการแสดง
2.3) ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม และความเชื่อ
2.4) ความรู ้เกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
2.5) งานช่างฝี มือดั้งเดิม
2.6) การละเล่นพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู ้ป้องกันตัว

ความสัมพันธ์ของมรดกทางวัฒนธรรมที่อยูใ่ นรู ปแบบจับต้องได้ และจับต้องไม่ได้ใน


บริ บทดาเนิ นงานด้านการอนุ รักษ์ มรดกทางวัฒนธรรมทัง่ 2 ประเภทไม่สามารถแยกออกจาก
กันได้ ไม่วา่ จะเป็ นขั้นตอนในการระบุคุณค่า และการอนุ รักษ์ เพราะความสัมพันธ์ของทั้งสอง
สิ่ งยึดโยงด้วยรากฐานเดียวกัน คือ ความเข้าใจ และการปฏิสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ หรื อผูท้ ี่ให้
คุณค่าต่อมรดกทางวัฒนธรรมนั้นๆ คุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมทั้งสองประเภทแท้จริ งแล้ว
ส่ งเสริ ม และขับเน้นคุ ณค่าและตัวตนของวัฒนธรรมในแต่ละพื้นที่ ซึ่ งควรได้รับการอนุ รักษ์
รั กษาไปพร้ อมกัน บนพื้นฐานของการให้ค วามรู ้ ความเข้าใจความร่ วมไม้ร่วมมื อ เพื่อสร้ า ง

22
ความตระหนักรู ้ในการมองเห็นคุณค่าของมรดกร่ วมของคนในสังคม อันจะนาไปสู่ การดารงอยู่
และความยัง่ ยืนของมรดกทางวัฒนธรรมในปั จจุบนั และอนาคต12
มรดกทางวัฒนธรรม อาจกล่าวได้ว่าความหมายที่แท้จริ ง สามารถพิจารณาได้ในหลาย
แง่ มุ มและหลายระดับ ขึ้ นอยู่ก ับวัตถุ ป ระสงค์หลักที่ เกี่ ย วข้องกับ มรดกทางวัฒนธรรมเป็ น
สาคัญ ในการจาแนกประเภทของวัฒนธรรม ซึ่ งจาแนกตามแนวคิดต่างๆอาจกล่าวได้วา่ มรดก
ทางวัฒนธรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และใกล้ชิดกับชุมชน สังคม และมีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของสิ่ งแวดล้อมอย่างแท้จริ งนั้น เป็ นมรดกวัฒนธรรมพื้นบ้านโดยมรดกทางวัฒนธรรมพื้นบ้าน
ในปั จ จุ บ นั ได้รั บ การสื บ ทอดมาอย่า งต่ อเนื่ อ งในรู ป ของศิ ล ปะพื้ น บ้า น โดยสามารถสรุ ป
ลักษณะสาคัญของศิลปะพื้นบ้าน ได้ดงั นี้

1) ศิลปะพื้นบ้านได้รับการสร้ างสรรค์ข้ ึนโดยชาวบ้าน หรื อประชาชน โดยได้รับแรง


บันดาลใจจากขนบประเพณี และความเชื่อที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากโบราณกาล
2) จากความแตกต่างของแต่ละพื้นฐาน ทาให้พฒั นาการของศิลปะพื้นบ้านในแต่ละ
ท้องถิ่ นมีลกั ษณะเป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะถิ่ น และมีการถ่ายทอด และคงรักษาเอกลักษณ์
ดังกล่าวได้อย่างต่อเนื่องจนถึงปั จจุบนั
3) การถ่ายทอด และการรั กษาเอกลักษณ์ ศิลปะพื้นบ้านดาเนิ นการ โดยกลุ่ มบุ คคลที่
เรี ยกว่า “ช่างชาวบ้าน หรื อ ศิลปิ นชาวบ้าน” ทั้งนี้ เอกลักษณ์ของศิลปะพื้นบ้านแสดงให้
เห็นถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นที่แตกต่างกัน
4) ศิ ลปะพื้นบ้านมี ล ักษณะเรี ยบง่ าย และมุ่ งเน้นการใช้ประโยชน์ ตอบสนองความ
ต้องการตามสภาพท้องถิ่ น ขนบประเพณี และวัฒนธรรมของกลุ่ มชนมากกว่า ความ
งดงาม หรื อความไพเราะ โดยการพัฒนารู ปแบบให้ความสาคัญการใช้ประโยชน์จาก
วัสดุทอ้ งถิ่น
5) ความงดงาม หรื อความไพเราะของศิ ลปะพื้นบ้านเกิ ดจากความชานาญ และการ
ขัดเกลาที่ได้รับการสื บทอด และพัฒนามาอย่างต่อเนื่ องยาวนานให้มีความเหมาะสมตาม
ยุคสมัย13

มรดกทางวัฒนธรรมพื้นบ้านทุกประเภทนั้น ส่ วนหนึ่งเกิดขึ้นเพื่อสนองความเชื่ อและคติ


ทางขนบประเพณี เป็ นส าคั ญ รวมทั้ ง เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการใช้ ป ระโยชน์ ใ น

12
สามารถ สุ วรรณรัตน์ “คู่มือแนวทางการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมโดยภาคประชาชน” สถาบันวิจยั สังคม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557 หน้า 9- 11
13
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ “มรดกวัฒนธรรมพื้นบ้าน” กรุ งเทพ: บริ ษทั ต้นอ้อ1999 2542 หน้า 12 - 15

23
ชี วิตประจาวันในรู ปแบบต่างๆกันทั้งนี้ ศิลปะหัตกรรมเกิ ดขึ้ นมาพร้ อมกับมรดกวัฒนธรรม
พื้นบ้านประเภทอื่ นๆหากแต่ ศิล ปหัตถกรรมเป็ นงานที่ ใ ห้ความสาคัญกับการเพิ่ มเติ มความ
สวยงามลงไปในมรดกวัฒนธรรมพื้นบ้านโดยเป็ นงานฝี มือเป็ นด้านหลัก รวมทั้งต้องเกิ ดจาก
การสร้างสรรค์ของศิลปิ นพื้นบ้าน และมีการสั่งสมประสบการณ์ และการถ่ายทอดสื บต่อกันมา
โดยศิลปิ นพื้นบ้าน
ศิลปหัตถกรรมที่เกี่ยวข้อง และมีอิทธิ พลต่อการดารงชี วิตของชุ มชนท้องถิ่น และได้รับ
การยอมรับว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมประเภทวิจิตรศิลป์ นั้น ส่ วนหนึ่ งเกี่ยวข้อง
โดยตรงกับจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปั ตยกรรม ซึ่ งเกี่ยวข้องกับสังคมส่ วนใหญ่ แต่อีก
ส่ ว นหนึ่ งนั้ นศิ ล ปะหั ต กรรมเกี่ ย วข้ อ งเฉพาะการด ารงชี วิ ต การประกอบอาชี พ ของ
แต่ละครัวเรื อน และการละเล่น14

2.2.2 แนวคิดเรื่องการถ่ ายทอดภูมิปัญญา

ภูมิปัญญาในที่ น้ ี มิได้มีความหมายเพียงสิ นค้าและบริ การในท้องถิ่ น แต่หมายถึ งความ


เชื่อความสามารถทางพฤติกรรมและองค์ความรู ้อนั ลุ่มลึก หรื อการหยัง่ รู ้ที่เกิดจากสัมพันธภาพ
อันแนบแน่นระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ มนุษย์กบั ธรรมชาติ และมนุ ษย์กบั อานาจเหนื อธรรมชาติ
ทั้งในระดับปั จเจกระดับกลุ่มระดับชุมชนและระดับสังคมภูมิปัญญาจึงเป็ นทั้งระบบวัฒนธรรม
ในสังคมมนุษย์และเป็ นทรัพยากรทางวัฒนธรรมประเภทหนึ่ง ภูมิปัญญาจึงไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นมา
ลอยๆแต่เป็ นผลของกระบวนการที่มนุ ษย์มีปฏิ สัมพันธ์กบั สรรพสิ่ งรอบๆตัว ภูมิปัญญาจึงเป็ น
การเรี ยนรู ้ของมนุษย์ผา่ นการคิดกระบวนระบบก่อนที่จะถูกพัฒนาขึ้นเป็ นองค์ความรู ้ซ่ ึ งมีความ
สอดคล้องต่อการศึกษาเรื่ องการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชน
วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ เนื่ องจากการศึกษาถึงแนวคิดเรื่ องการถ่ายทอดภูมิปัญญา
เป็ นหนทางในการแก้ปัญหาการขาดผูส้ ื บทอดที่จะต่อยอดองค์ความรู ้ ความสามารถในระดับ
ท้องถิ่นที่ได้สืบทอดเชื่อมโยงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ได้เป็ นอย่างดี
มิติของภูมิปัญญาจึงมีความแตกต่างจากแนวคิ ดเรื่ องการจัดการความรู ้ ที่แพร่ หลายใน
สังคมอุตสาหกรรม เพราะภูมิปัญญาท้องถิ่นเริ่ มจากการมีระบบคิดเชิ งเหตุผลของปราชญ์หรื อ
ผูร้ ู ้ ในชุ มชนผ่านกระบวนการปฏิ สัมพันธ์อย่างลึ กซึ้ งและซับซ้อนกับระบบคิดของสมาชิ กใน
สังคมอื่น ๆ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกลุ่ม และสังคมกับสภาพแวดล้อม ทั้งสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพและสภาพแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรม ตลอดจนความเชื่อมโยงของระบบความ

14
วศิน อิงคพัฒนากุล “การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม” นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
ศิลปากร 2548 หน้า 287

24
เชื่อของบุคคลในอานาจเหนือธรรมชาติ กับวิถีการดาเนิ นชี วิตที่มีความสัมพันธ์อย่างแยบยลกับ
บริ บททางวัฒนธรรมก่ อนที่บุคคลกลุ่มหรื อชุ มชนจะออกแบบความคิ ดพัฒนา และจัดระบบ
ของภูมิปัญญาในมิติต่างๆ แล้วจึงถ่ายทอดออกมาในรู ปขององค์ความรู ้ประเภทต่างๆ เพื่อการ
ใช้สอยในชี วิตประจาวันเพื่อการพัฒนาปรับปรุ งคุณภาพของชี วิตทั้งในระดับปั จเจกและสังคม
ให้ดียงิ่ ขึ้นและเพื่อถ่ายทอดหรื อขายให้สมาชิกอื่นในสังคมหากสามารถนาภูมิปัญญามาใช้เป็ น
เครื่ องมือเพื่อสร้างฐานพลังอานาจของชุ มชนให้เข้มแข็ง โดยการบูรณาการองค์ความรู ้ ต่างๆ
เข้ากับวิถีการดาเนินชีวติ ของบุคคลกลุ่ม และชุมชนผ่านกระบวนการบริ หารจัดการที่สาคัญที่จะ
ช่ วยให้บุค คลและสัง คมรู ้ จกั แจกแจงและวิเคราะห์ ปรากฏการณ์ ต่า งๆ ที่ ก าลังเผชิ ญอยู่และ
สามารถคัดสรรเพื่อนาตัวอย่างแนวปฏิบตั ิที่เหมาะสม15
ภู มิ ปั ญ ญาทั้ง ที่ เ ป็ นรู ป ธรรมและนามธรรมล้ ว นมี ก ารเปลี่ ย นแปลงเพื่ อ ถ่ า ยโอน
คุ ณลักษณะและสาระแห่ งภูมิปัญญาอยู่ตลอดเวลา โดยภูมิปัญญาทั้งสองส่ วนต่างเป็ นผลของ
การบูรณาการประสบการณ์ เข้ากับการรับรู ้ ของบุคคลที่ได้จากการสังเกตเรี ยนรู ้ และรวบรวม
ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมตามความสนใจของแต่ละบุคคลก่อนการจดจา
หรื อบันทึกไว้แปลงรู ปและถ่ายทอดความคิดออกมาเป็ นพฤติกรรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมใน
รู ปแบบต่าง ๆ และหากนวัตกรรมนั้น ๆ สามารถตอบสนองความต้องการของตนเองกลุ่มและ
ชุ มชนได้ก็จะผลิตซ้ า ๆ ต่อไปเรื่ อย ๆ ซึ่ งกระบวนการดังกล่าวเรี ยกว่า กระบวนการเรี ยนรู้ทาง
สังคม ภูมิปัญญาแตกต่างจากความรู ้ ตรงที่ภูมิปัญญาให้ความสาคัญกับธรรมชาติของผูเ้ รี ยนรู ้
ซึ่ งโดยทัว่ ไปจะมี ความแตกต่างกันไปการให้ความสาคัญกับประสบการณ์ ของปราชญ์หรื อ
ผูอ้ าวุโสในชุ มชนท้องถิ่ น ในฐานะที่เป็ นผูแ้ สดงทางสังคมซึ่ งแสดงพฤติกรรมโดยตรงทาให้
ภู มิ ปั ญญามุ่ ง เน้นการเรี ย นรู ้ ที่ เริ่ ม จากประสบการณ์ ต รงก่ อ นการสั ง เกตและคิ ดใคร่ ค รวญ
ต่อปรากฏการณ์ ที่ เกิ ดขึ้ นแล้วจึ ง สะท้อนออกมาในรู ป ของกรอบความคิ ดและการถ่ า ยทอด
ภู มิ ปั ญ ญานั้น ๆ ทั้ง ที่ เป็ นรู ป ธรรมและนามธรรมพร้ อ ม ๆ กันจนในท้า ยที่ สุ ดผลรวมของ
ความคิดรวบยอดดังกล่ าวได้ถูกนาไปทดสอบเพื่อนาแนวคิดไปปฏิ บตั ิต่อไป ดังนั้นรากฐาน
ที่ ม าของภู มิ ปั ญ ญาในมิ ติ น้ ี จึ ง น ามาสู่ ก ารสร้ า งสมมุ ติ ฐ านใหม่ ๆ เพื่ อ การทดสอบกั บ
สถานการณ์ ใ หม่ ตลอดเวลาซึ่ ง กระบวนการดัง กล่ า วนี้ เองที่ ท าให้ป ราชญ์หรื อผูร้ ู ้ ใ นชุ ม ชน
ท้อ งถิ่ น สามารถสร้ า งแนวคิ ด ใหม่ ๆ ได้ต ลอดเวลาภู มิ ปั ญ ญามี ค วามซับ ซ้ อ นกว่า ความรู ้
ภูมิปัญญาจึงมิได้เกิ ดจากการเรี ยนรู ้และการแสดงพฤติกรรมของบุคคลเพียงเพื่อตอบสนองต่อ
สิ่ งเร้า เช่น บทเรี ยนใหม่หรื อการฝึ กอบรมในหลักสู ตรใหม่ ๆ เท่านั้น ในชุ มชนท้องถิ่นแม้คน

15
พัชริ นทร์ สิ รสุ นทร “ชุมชนปฏิบตั ิการด้านการเรี ยนรู้:แนวคิดเทคนิคและกระบวนการ” กรุ งเทพฯ: สานึกพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 หน้า 15-17

25
ในชุ มชนเดี ยวกันจะได้รับสิ่ งเร้ าหรื อสิ่ งกระตุน้ เดียวกัน อยูใ่ นสภาพแวดล้อมเดียวกัน หรื ออยู่
ในเครื อ ข่ า ยสั ง คมเดี ย วกัน ก็ มิ ใ ช่ ว่า สมาชิ ก ทุ ก คนในชุ ม ชนนั้น ๆ จะสามารถสร้ า งสรรค์
ภูมิปัญญาท้องถิ่ นได้ทุกคน ดังนั้น ระบบคิดภายในของบุคคลหรื อจิตสานึ กจึงเป็ นแหล่งที่มา
ของภูมิปัญญาที่สาคัญซึ่ งการพัฒนากระบวนการคิดเชิ งระบบภายในของบุคคลแต่ละคนล้วน
แตกต่างกันไปตามประสบการณ์ความคาดหวังทัศนคติการขัดเกลาทางสังคมและธรรมชาติของ
บุคคลนั้นๆ
1) ประเภทของภูมิปัญญาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็ นทั้งความรู ้ และทรัพยากรวัฒนธรรม
โดยทัว่ ไปมี 2 ประเภทและมีแหล่งที่อยู่ 2 ลักษณะ ได้แก่
1.1) ความรู้ ฝังลึก (Tacit Knowledge) หรื อความรู้ ในคนความรู้ ติดตัวคนเป็ น
ความรู ้ ชนิ ดที่ เกิ ดจากการเรี ยนรู ้ สะสมผ่านประสบการณ์ ลองผิดลองถูกของแต่
ละคน หรื อเกิ ดจากการค้นคว้าทดลองด้วยตนเองจนเกิ ดความเข้าใจอย่างลึ กซึ้ ง
สามารถนามาปฏิบตั ิหรื อแสดงออกเชิ งพฤติกรรมจนชานิ ชานาญ เป็ นทักษะใน
การกระทาให้เป็ นประโยชน์ต่อการดารงอยู่อย่างปกติของตนเองกลุ่มชุ มชนและ
สังคมที่ ตนเองสังกัดอยู่ได้ความรู ้ ชนิ ดนี้ มีอยู่ในตัวคนที่ ยงั มี ชีวิตอยู่เป็ นความรู ้
ที่ ผ นึ ก แน่ น อยู่ ใ นสมองของคนที่ เ ป็ นเจ้า ของความรู ้ น้ ัน ซึ่ งอาจเรี ยกว่ า เป็ น
ความรู ้คู่ชีพ
1.2) ความรู้นอกตัวคนความรู้ในตาราความรู้ติดของ (Explicit Knowledge) เป็ น
ความรู ้ชนิดที่ฝังหรื อแฝงอยูก่ บั วัตถุสิ่งของสิ่ งก่อสร้างวัสดุอุปกรณ์หรื อทรัพยากร
วัฒนธรรมชนิดที่จบั ต้องได้ (Tangible Cultural Resource) ที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์
ขึ้นมาใช้ประโยชน์ตามความรู ้ ความสามารถในแต่ละภูมินิเวศ ในแต่ละยุคสมัย
หรื อแต่ละช่วงเวลา ในอดีตที่อาจจะต้องมีวิธีการจัดการ ขุดค้นสกัดสังเคราะห์เอา
ความรู้ออกมา และแปรรู ปความรู ้ให้สามารถนาไปใช้งานได้อีกทอดหนึ่ งเกิดเป็ น
ความรู ้ตามสถานการณ์เนื่ องจากเป็ นความรู ้เก่าที่คนปั จจุบนั อาจไม่เข้าใจหลงลื ม
ขาดทัก ษะความช านาญในการใช้ส อย หรื อ ในอี ก ลัก ษณะหนึ่ ง ก็ เ ป็ นความรู ้
ที่ได้รับการบันทึกถ่ายทอดออกมาในรู ปแบบของสื่ อบันทึกความรู ้รูปแบบต่างๆ
ทั้งหนังสื อ ตารา เทปบันทึกเสี ยง คาสอน ป้ าย นิเทศ นิทรรศการ ฯลฯ ซึ่ งความรู้
สาเร็ จรู ปบางเรื่ องสามารถนามาใช้ได้เลย แต่บางเรื่ องก็จาเป็ นต้องศึกษาแปลความ
และทาความเข้าใจกันใหม่จึงจะนาไปใช้ประโยชน์ได้16

16
สายันต์ ไพรชาญจิตร์ และคณะ “รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์: กระบวนการเรี ยนรู้และจัดการความรู้ของชุมชนด้าน
ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น” กรุ งเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั 2549 หน้า 27- 28

26
การถ่ายทอดภูมิปัญญาสามารถกระทาได้หลายวิธี แต่ละวิธีจะแตกต่างกันไปซึ่ ง
โดยทัว่ ไปปราชญ์ หรื อผูถ้ ่ ายทอดจะคานึ งถึ งคุ ณสมบัติของผูร้ ับการถ่ายทอดและองค์
ความรู ้ที่จะถ่ายทอดเป็ นหลักจากการศึกษาภาคสนาม พบว่าความแตกต่างในคุณลักษณะ
ส่ วนบุคคล และกลุ่มของผูร้ ับการถ่ายทอดเป็ นองค์ประกอบสาคัญที่สุดซึ่ งปราชญ์ หรื อ
ผูร้ ู้ใช้ประกอบการตัดสิ นใจว่าจะถ่ายทอดองค์ความรู ้ที่มีอยูน่ ้ นั หรื อไม่อย่างไร รองลงมา
ได้แก่ความยากง่ายปริ มาณและคุ ณภาพของความรู ้ ที่จะถ่ายทอดซึ่ งมักพิจารณาร่ วมกับ
ที่ ม าของความรู ้ น้ ัน ๆ เช่ น หากความรู ้ น้ ัน ยึ ด โยงอยู่ ก ับ ความเชื่ อ ในอ านาจเหนื อ
ธรรมชาติรูปแบบและปริ มาณการถ่ายทอดมักมีขอบเขตทั้งขอบเขตในเชิ งปริ มาณและ
ขอบเขตเชิงคุณภาพของความรู ้ที่จะถ่ายทอดเป็ นต้น

2) วิธีการถ่ายทอด โดยทัว่ ไปพบว่าวิธีการถ่ายทอดภูมิปัญญาที่สาคัญมีอยู่ 2 วิธีคือ การ


ถ่ายทอดโดยตรง และการถ่ายทอดโดยอ้อม แต่ละวิธีจะมีรายละเอียดของวิธีการรู ปแบบ
และขั้นตอนที่แตกต่างกันไปพอสรุ ปได้ดงั นี้
2.1) การถ่ายทอดภูมิปัญญาโดยตรง
ได้แก่ การถ่ ายทอดโดยการบอกเล่ าจากคนรุ่ นหนึ่ งไปสู่ คนอี กรุ่ นหนึ่ งซึ่ ง
อาจทาได้ท้ งั การบอกเล่าโดยใช้ภาษาพูด และการเขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เช่ น
การถ่ายทอดภูมิปัญญาให้แก่เด็กวิธีการที่เหมาะสม และใช้มากที่สุดได้แก่ การเล่า
นิ ท านและการอบรมสั่ ง สอน ในขณะที่ ก ารถ่ า ยทอดภู มิ ปั ญ ญาให้ แ ก่ ผูใ้ หญ่
มักอาศัยวิธีการที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น เช่น ในสังคมไทยมี พิธีแต่งงานเพื่อ
การขัดเกลาทางสั งคมแก่ คู่บ่ า วสาวใหม่ เพื่อให้ท ราบถึ ง วิธี ก ารใช้ชี วิตคู่ ตามที่
สังคมคาดหวัง และยอมรับโดยวิธีการถ่ายทอดการกระทาโดยทางตรงด้วยการ
บอกเล่าสั่งสอนโดยผูอ้ าวุโสที่ประสบความสาเร็ จในชี วิตสมรส ผ่านพิธีการให้
ศี ล ให้ พ รและพิ ธี กรรมต่ า งๆมากมาย เช่ น การหลั่ ง น้ าพระพุ ท ธมนต์
การแห่ ขนั หมาก “พิธีการปูที่นอน” โดยการให้ผอู ้ าวุโสบิดามารดาของคู่สมรส
ใหม่ แ ละญาติ ผูใ้ หญ่ ซ่ ึ ง เป็ นที่ รั ก และเคารพของทั้ง สองฝ่ ายเป็ นผูใ้ ห้ข ้อ คิ ดแก่
คู่สมรสใหม่ท้ งั ในช่วงการผูกข้อมือและ “พิธีการปูที่นอน” เนื่องจากระบบอาวุโส
ถือเป็ นระบบความสัมพันธ์ที่คนส่ วนใหญ่ยงั คงยึดถือและด้วยขั้นตอนและวิธีการ
อันแยบยลดังกล่าว ทาให้การรับรู ้ร่วมกันถูกพัฒนาไปเป็ นการยอมรับของคนใน
สังคมและการยอมรับนี้ เองที่เป็ นกรอบความสัมพันธ์และยึดโยงคู่บ่าวสาวเข้าไว้
ด้วยกัน โดยกระบวนการทางสังคมดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์สาคัญเพื่อให้คู่สมรส
ใหม่ ได้เข้าใจถึ ง กฎระเบียบทางสังคม และการประพฤติ ปฏิ บตั ิตนด้านวิถี การ

27
ครองเรื อนตามลัก ษณะและรู ป แบบซึ่ ง สัง คมยอมรั บว่า เป็ นสิ่ ง ที่ ดีง าม โดยใช้
กระบวนการควบคุมทางสังคมบรรทัดฐานระบบความสัมพันธ์ฉนั เครื อญาติ และ
คติชาวบ้านเป็ นเครื่ องมือนอกจากพิธีมงคลสมรสแล้ว พิธีศพก็เป็ นอี กตัวอย่าง
หนึ่ งที่ คนในสังคมไทยตั้งแต่อดี ตกาลใช้เป็ นช่ องทางในการถ่ายทอดภูมิปัญญา
โดยอาศัยพิ ธีกรรมทางศาสนาการกระทาทางสังคม และความเชื่ อเรื่ องอานาจ
เหนื อธรรมชาติ ของคนในสังคมมาใช้เพื่อถ่ายทอดระบบความเชื่ อ และควบคุ ม
พฤติ ก รรมของบุ ค คล โดยการใช้ บ ทสวดในพิ ธี ส งฆ์ ห นั ง สื อ งานศพหรื อ
ค ากล่ า วสดุ ดี ต่ อผูล้ ่ ว งลับ เพื่ อ กระตุ ้น เตื อ นให้บุ ต รหลานญาติ มิ ต รและผูท้ ี่ ม า
ร่ วมงานศพได้ตระหนักถึ งความไม่แน่นอน หรื อความอนิ จจังของชี วิตอ่อนน้อม
ถ่ อมตน แม้ก ระทัง่ ต่อผูท้ ี่ จากไปและตระหนักถึ งพลัง อานาจของเครื อข่ายทาง
สังคม ซึ่ งได้แก่ ครอบครั ว เครื อญาติ เพื่อนบ้าน และเพื่อนพ้องเป็ นผูแ้ สดงทาง
สังคม ซึ่ งให้ความสนับสนุ นครอบครัวของผูท้ ี่ล่วงลับทั้งทางเศรษฐกิจสังคมและ
อารมณ์ในช่วงวิกฤติแห่งชีวติ
2.2) การถ่ า ยทอดโดยทางอ้อม ท าได้มากมายหลายวิธี เช่ น การสอดแทรก
ภู มิ ปั ญ ญาไว้ใ นรู ป ของความบัน เทิ ง ต่ า งๆ เช่ น ภาพวาดหรื อ งานจิ ต รกรรม
คาร้องลิเก หรื อลาตัด ในภาคกลางหรื อคาร้องสะล้อซอซึ ง ของภาคเหนือเป็ นต้น
โดย ค าร้ องเหล่ านี้ ผู ้ ถ่ าย ทอดมั ก กล่ าวอ้ า งถึ งประ วั ติ ศาส ตร์ ท้ อ งถิ่ น
ขนบธรรมเนี ยมประเพณี คติธรรมคาสอนทางศาสนา หรื อจารี ตประเพณี ต่างๆ
นอกจากนี้ ยงั พบการถ่ายทอดภูมิปัญญาที่ อยู่ในรู ปของจิ ตรกรรม เช่ น ภาพวาด
ตามผนังโบสถ์ที่วดั ท่าฟ่ อ อาเภอเมือง จังหวัดพิจิตรที่มุ่งแสดงหลักธรรมความ
เชื่ อทางศาสนาพร้อม ๆ กับการสะท้อนความจริ งแห่ งชี วิตในเรื่ อง เกิ ด แก่ เจ็บ
และตาย อันล้วนเป็ นอนิจจัง ซึ่ งจะเกิดขึ้นกับสรรพสิ่ งในโลกเป็ นต้น17

3) เครื่ องมือที่ใช้ถ่ายทอดภูมิปัญญา มีความแตกต่างกันไปตามประเภทของภูมิปัญญา


และลัก ษณะทางสั ง คมวัฒ นธรรมของแต่ ล ะท้องถิ่ น ส าหรั บ การถ่ า ยทอดภู มิ ปั ญ ญา
ชาวบ้านพบว่าเครื่ องมือที่ใช้ในการถ่ายทอดประกอบด้วยภาษาพูดและสัญลักษณ์ ต่างๆ
เป็ นส่ วนใหญ่ ส่ วนเครื่ องมื อที่ใช้ถ่ายทอดภูมิปัญญาหลวงที่สาคัญได้แก่ ภาษาเขียนที่
เป็ นลายลัก ษณ์ อ ัก ษร ส าหรั บ ภู มิ ปั ญ ญาสากลพบว่า เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ถ่ า ยทอดมี ค วาม
สลับ ซับ ซ้อ นเพิ่ ม มากขึ้ น ตามล าดับ จากเดิ ม ที่ ใ ช้ภาษาพูด และภาษาเขี ย นสากล เช่ น
ภาษาอังกฤษในการถ่ า ยทอดแต่ปัจจุ บนั พบว่ามี การเพิ่มภาพเสี ยงและสัญลักษณ์ ผ่า น
17
พัชริ นทร์ สิ รสุ นทร เรื่ องเดียวกัน หน้า 19 - 21

28
เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่ งมี เครื อข่ ายครอบคลุ มไปทัว่ โลกมากยิ่งขึ้ นและหลากหลาย
รู ปแบบโดยสาระสาคัญของการถ่ายทอดภูมิปัญญาในลักษณะต่างๆ18 สามารถสรุ ปได้
ดังนี้
3.1) การถ่ า ยทอดแบบไม่ เป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษรในอดี ต เครื่ องมื อ ส าคัญที่ ใ ช้
ถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้านมักอยู่ในรู ปแบบที่ไม่เป็ นลายลักษณ์ อกั ษรได้แก่ คติ
ชาวบ้านโดยคติชาวบ้านนี้ เป็ นคาซึ่ ง William John Thomas ชาวอังกฤษเป็ นผูค้ ิด
ริ เริ่ มใช้โดยคาว่า “Folklore” ได้ถูกใช้เป็ นศัพท์ทางวิชาการเป็ นครั้งแรกในปี ค.ศ.
1846 หมายความถึง “ความรู้ของปวงชน” แต่ต่อมาคาดังกล่าวได้เป็ นที่ยอมรับ
และใช้กนั อย่างกว้างขวางโดยนักวิชาการและนักปราชญ์ในตะวันตกจนกระทัง่
เป็ นคาศัพท์ที่ยอมรับเป็ นสากลในปัจจุบนั

คติ ช าวบ้ า นหมายความถึ งรู ปแบบของวั ฒ นธ รรมที่ เ ป็ นศิ ล ปะ


ประกอบด้วยเรื่ องราวหลากหลาย เช่ น นิ ทาน ภาษิ ต เพลง คากล่ า ว ตลอดจน
รู ปแบบอื่น ๆ ที่บุคคลใช้ภาษาเป็ นสื่ อในการติดต่อกันหรื อเป็ นเครื่ องมือในการ
ถ่ายทอดจากคนหนึ่ งไปสู่ บุคคลอื่น คติ ชาวบ้านจึ งเป็ นสิ่ งที่เกี่ ยวข้องกับคนทุ ก
สถานภาพทุกระดับชั้นทางเศรษฐกิจและสังคม19

ดั ง นั้ นจึ ง กล่ า วได้ ว่ า กุ ญ แจซึ่ งส าคั ญ ที่ สุ ดดอกหนึ่ งที่ จ ะช่ ว ยให้ นั ก
สั ง คมศาสตร์ ส ามารถไขเข้า ไปท าความเข้า ใจกับ พฤติ ก รรมของบุ ค คลและ
ปรากฏการณ์ทางสังคมต่างๆ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพที่สุดก็คือ คติชาวบ้าน เพราะ
จะช่ วยทาให้เกิ ดความเข้าใจถึ งระบบคิ ดองค์ความรู ้ ความเชื่ อ และการประพฤติ
ปฏิ บตั ิของบุคคลตั้งแต่อดี ตจนถึ งปั จจุบนั โดยลักษณะที่สาคัญของคติชาวบ้าน
ประกอบด้วย
3.1.1) เป็ นการถ่ายทอดจากคนรุ่ นหนึ่งไปสู่ คนอีกรุ่ นหนึ่ง
3.1.2) คงไว้ดว้ ยการจดจาหรื อการปฏิบตั ิมากกว่าการจดบันทึก
3.1.3) ไม่ปรากฏผูป้ ระดิษฐ์หรื อผูแ้ ต่ง
3.1.4) ถ่ายทอดด้วยวิธีมุขปาฐะ (ถ่ายทอดโดยการบอกเล่าไม่มีการจด
บันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร) และโดยการปฏิบตั ิ

18
เสรี พงศ์พศิ “คืนสู่รากเหง้า: ทางเลือกและทัศนะวิจารณ์วา่ ด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน” กรุ งเทพฯ: เทียนวรรณ 2529
หน้า 17
19
ผาสุ ก มุทธเมธา “คติชาวบ้านกับการพัฒนาคุณภาพชีวติ ” กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์ 2540 หน้า 19 – 22

29
3.1.5) เป็ นสิ่ งที่มีประจาอยูก่ บั บุคคล
3.1.6) เป็ นสมบัติ ข องสามัญ ชนทุ ก สถานภาพและทุ ก ชนชั้ นการใช้
คติชาวบ้านเพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาไทยแบ่งออกได้ 3 ประเภทหลักๆตาม
ลักษณะของข้อมูลและวิธีที่ใช้ในการถ่ายทอดคือ
(1) ประเภทถ้อยคาเช่นเสี ยงเพลงนิ ทานภาษาปริ ศนาความเชื่ อและ
ความเชื่อทางไสยศาสตร์ และภาษาถิ่นเป็ นต้น
(2) ประเภทไม่ใช้ถอ้ ยคาเช่นศิลปะสถาปั ตยกรรมและงานฝี มือ
(3) ประเภทผสมประกอบด้วยถ้อยคาและที่ ไม่ใช่ ถ้อยคาคื อการ
ผสมผสานกิจกรรมอื่นๆร่ วมด้วยเช่นระบาการละเล่นของเด็กละคร
ประเพณี และการรื่ นเริ งเป็ นต้น

พัชริ นทร์ สิ รสุ นทร กล่าวว่าอนึ่งเป็ นที่น่าสังเกตว่าในปั จจุบนั การถ่ายทอดความรู ้ในการ


สื่ อสารมวลชน ได้แก่ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ สินค้าและการบริ การต่างๆ ตลอดจนการ
สื่ อสารในระบบสารสนเทศต่างๆ ได้หันมาให้ค วามสาคัญกับการถ่ า ยทอดแบบไม่เป็ นลาย
ลักษณ์เพิ่มมากขึ้นตามลาดับ ไม่วา่ จะเป็ นการสื่ อสารด้วยภาพ เพลง ดนตรี หรื อสัญลักษณ์ต่าง
ๆ ด้วยเหตุผลเรื่ องความเป็ นสากลของรู ปแบบและสาระที่สื่อสารที่คนในทุกสังคมทุกชาติพนั ธุ์
และทุกกลุ่มภาษาสามารถรับรู ้และเข้าใจได้โดยง่าย20
3.2) การถ่ ายทอดแบบเป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษร ถึ งแม้จะมี ภูมิ ปัญญาชาวบ้านเป็ น
จ านวนไม่ น้ อ ยที่ ถู ก ถ่ า ยทอดแบบเป็ นลายลัก ษณ์ อ ัก ษรเช่ น ต ารายาพื้ น บ้า น
เป็ นต้น แต่โดยทัว่ ไปพบว่าวิธีการถ่ายทอดภูมิปัญญาแบบดังกล่ าวส่ วนใหญ่จะ
พบในภูมิปัญญาหลวงเช่ น การจารหรื อเขี ยนใส่ ใบลาน หรื อสมุดข่อย ที่ชาวใต้
เรี ยกว่าบุดดา หรื อบุดขาว หรื อการจดบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษรแบบอื่นๆ เช่น
ศิลาจารึ กพงศาวดาร และการใช้สื่อสิ่ งพิมพ์ต่าง ๆ เป็ นต้น หรื อในปั จจุบนั พบว่า
การถ่ายทอดภูมิปัญญาแบบเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรนี้ มกั ปรากฏในรู ปของงานวิจยั
และตารับตาราทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาต่างๆ ด้วยเช่ นกัน ภูมิปัญญา
มิใช่เรื่ องของความรู ้ที่เกิดจากการพัฒนาของข้อมูลมาสู่ สารสนเทศ สู่ ความรู ้ และ
สู่ ปั ญ ญาตามแนวคิ ด เรื่ อ งการจัด การความรู ้ ที่ เ ชื่ อ กัน ในสั ง คมอุ ต สาหกรรม
แต่ในทางตรงกันข้าม ภูมิปัญญาสามารถถูกพัฒนาขึ้นมาจากการมีระบบคิดในเชิง
เหตุผลของปราชญ์ หรื อผูร้ ู ้ในชุ มชนท้องถิ่นผ่านกระบวนการเรี ยนรู ้ที่มีรากฐาน
ของการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และการปฏิ สัมพันธ์เชิ งสัญลักษณ์ ของมนุ ษย์ใน
20
พัชริ นทร์ สิ รสุ นทร เรื่ องเดียวกัน หน้า 24

30
แต่ละสังคม ดังนั้นการนาภูมิปัญญาเฉพาะในส่ วนของผลผลิตหรื อผลิตภัณฑ์ใน
ท้อ งถิ่ น มาจัด ท าฐานข้อ มู ล และจัด ระบบความรู้ เ พื่ อ น าไปขายในรู ป ของ
ผลิตภัณฑ์ทอ้ งถิ่นต่างๆ จึงเป็ นเพียงมิติหนึ่ งของการถ่ายทอดภูมิปัญญา และอาจ
ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริ งของการพัฒนาการด้านความรู ้ ในท้องถิ่ น
ซึ่ งอาจนาไปสู่ การเสื่ อมสลายลงของระบบคิดเชิงเหตุผลซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นองค์รวม
และ มีบูรณาการกับวิถีการดาเนินชีวติ ของบุคคล และสังคมได้ซ่ ึ งในท้ายที่สุดอาจ
นามาสู่ ความล้มเหลวของการจัดการความรู ้ในอนาคต21

2.3 เอกสาร งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

2.3.1 เอกสารและหนังสื อทีเ่ กีย่ วข้ อง

จินตนา มัธยมบุรุษ หนังสื อเรื่ อง “ภูมิปัญญาเชิงช่าง : เครื่ องเงินเชียงใหม่” เป็ นหนังสื อที่
รวบรวมองค์ความรู ้ ภูมิปัญญาพื้นบ้านการทาเครื่ องเงิ น ทั้งประวัติความเป็ นมา กระบวนการ
ผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึงแนวทางในการอนุรักษ์งานช่างเครื่ องเงินวัวลาย โดยรวบรวม
เนื้อหาสาระของหนังสื อเล่มจากผลงานวิจยั ต่างๆและจากแหล่งข้อมูลจากการสัมภาษณ์ บุคคล
ในพื้นที่ เกี่ ยวข้อง โดยมี คณะทางานลงพื้นที่ ในภาคสนามเพื่อให้ได้ขอ้ มูลเชิ งประจักษ์ และ
ข้อ มู ล อ้า งอิ ง จากแหล่ ง พื้ น ที่ ใ กล้เ คี ย ง รวมถึ ง การด าเนิ น วิ ถี ชี วิ ต ของชุ ม ชนในอดี ต จนถึ ง
ปัจจุบนั 22

จิราวรรณ กาวิละ โอคาโมโตะ หนังสื อเรื่ อง “วัดหมื่นสารบ้านวัวลายสายธารวัฒนธรรม


ชุมชน” เป็ นหนังสื อที่รวบรวมความเป็ นมาของวัดหมื่นสาร และประวัตความเป็ นมาของชุมชน
วัว ลาย ความรุ่ ง เรื องในอดี ต ของชุ ม ชนวัว ลาย และการค้า เครื่ อ งเงิ น จากอดี ต สู่ ปั จ จุ บ ัน
โดยเนื้ อหาส่ วนใหญ่ได้ประมวลมาจากผลงานวิทยานิ พนธ์ของผูเ้ ขียนเองเรื่ อง“ทางเลือกของ
การท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม : กรณี ศึกษาหมู่บา้ นวัวลายอาเภอเมื อง จัง หวัดเชี ยงใหม่” และ
การศึกษาของ ร.ศ.สมโชติ อ๋ องสกุล เมื่อปี พ.ศ. 2546 “โครงการวิจยั ประวัติศาสตร์ ชุมชนใน
เชียงใหม่ : การสร้างประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่น” 23

21
พัชริ นทร์ สิ รสุ นทร เรื่ องเดียวกัน หน้า 25
22
จินตนา มัธยมบุรุษ “ภูมิปัญญาเชิงช่าง: เครื่ องเงินเชียงใหม่” ลาพูน: สกรี นการพิมพ์ 2552
23
จิราวรรณ กาวิละ โอคาโมโตะ “วัดหมื่นสาร บ้านวัวลาย สายธารวัฒนธรรมชุมชน” เชียงใหม่: ทรี โอแอดเวอร์ไทซิ่ง
แอนด์มีเดีย 2553

31
ยุพิน อินทะยะ หนัง สื อเรื่ อง “แหล่ ง การเรี ยนรู ้ และภูมิ ปัญญาท้องถิ่ นเพื่อการเรี ย น
การสอน” เป็ นหนังสื อที่เรี ยบเรี ยงจากการศึกษาค้นคว้าเอกสารตาราที่เกี่ยวข้องกับแหล่งเรี ยนรู ้
และภูมิปัญญาท้องถิ่ น โดยมี เนื้ อหาเกี่ ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยใช้
แหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่นรู ปแบบการบริ หารจัดการเนื้ อหาดังกล่าว สอดคล้องกับแนว
การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติพุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้และการบริ หารจัดการเพื่อ
พัฒนาคุ ณภาพการศึกษาซึ่ งเป็ นทางเลือกหนึ่ งที่จะช่ วยให้เยาวชนของชาติได้รับโอกาสในการ
เรี ย นรู้ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็ นการปลู ก ฝั ง จิ ต ส านึ ก ให้ ผูเ้ รี ย นมี ค วามรั ก ภาคภู มิ ใ จและ
หวงแหนทรัพยากรธรรมชาติสภาพแวดล้อมที่เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ แหล่งวิทยาการต่างๆ ตลอดจน
ภูมิปัญญาชาวบ้านให้คงอยูต่ ลอดไป24

พัชรินทร์ สิ รสุ นทร “ชุมชนปฏิบตั ิการด้านการเรี ยนรู้ :แนวคิดเทคนิคและกระบวนการ”


เป็ นหนังสื อที่รวบรวมแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ซึ่ งได้จากการทบทวนวรรณกรรมงานวิจยั และ
ประสบการณ์ ก ารท างานด้า นการพัฒ นาสั ง คมของผู้เ ขี ย น อี ก ทั้ง ยัง ประกอบไปด้ว ยการ
วิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูลปฐมภูมิจากการศึกษาวิจยั ของผูเ้ ขียนโดยเน้นย้ าถึงการออกแบบ
และกาหนดชุ มชนเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ น้ นั จะต้องบูรณาการแนวคิดด้านการจัดการความรู ้ เข้ากับ
องค์ความรู้อื่นๆ ในลักษณะที่เป็ นสหวิทยาการเพื่อถอดบทเรี ยนวิธีวิทยาและการปฏิบตั ิการจาก
กรณี ศึกษาจานวนมากของผูแ้ สดงทางสังคมทั้งหมดที่ เกี่ ยวข้องกับกระบวนการพัฒนาในรู ป
ของเครื อข่ายการเรี ยนรู ้แล้วจึงพัฒนากระบวนคิดของคนในชุ มชนในรู ปแบบของเครื อข่ายทาง
ปัญญา หลังจากนั้นจึงออกแบบนโยบายและจัดทาแผนกลยุทธ์แบบมีส่วนร่ วมเพื่อกาหนดเป็ น
ข้อเสนอนโยบายชุมชนและรู ปแบบชุมชนปฏิบตั ิการด้านการเรี ยนรู้ 25

สมโชติ อ๋ อ งสกุ ล “แหล่ ง การเรี ย นรู ้ แ ละภู มิ ปั ญ ญาท้อ งถิ่ น ในเชี ย งใหม่ :มิ ติ ท าง
ประวัติศาสตร์ ” เป็ นหนังสื อที่รวบรวมเนื้ อหาเกี่ยวกับแหล่งเรี ยนรู ้ชุมชนช่างในเมืองเชี ยงใหม่
โดยส่ วนหนึ่ ง มาจากงานวิจยั ของผูเ้ ขี ย นเอง ทั้งชุ มชนเครื่ องเงิ นวัวลายชุ ม ชนวัดนันทาราม
ชุ มชนวัดพวกแต้ม และชุ มชนบ้านเหมื องกุง โดยเฉพาะชุ มชนเครื่ องเงิ นวัวลายยังรวบรวม
พัฒนาการของชุ ม ชนวัดหมื่ นสารและวัดศรี สุ พ รรณตั้ง แต่ ยุค ราชวงศ์ม งั รายจนถึ ง ยุค หลัง
สงครามโลก อีกทั้งยังรวบรวมพัฒนาการทางเศรษฐกิ จตั้งแต่ครั้งที่ยงั ทานาผ่านเข้าสู่ ยุคของ

24
ยุพนิ อินทะยะ “แหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้องถิน่ เพือ่ การเรี ยนการสอน” เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2550
25
พัชริ นทร์ สิ รสุ นทร “ชุมชนปฏิบตั ิการด้านการเรี ยนรู้ : แนวคิดเทคนิคและกระบวนการ” กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552

32
รถไฟสายเหนื อถึ งเชี ยงใหม่ ทาให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงภายในชุ มชนวัวลายในยุคสมัยของ
จอมพล ป.พิบูลสงครามก้าวเข้าสู่ ยุคทองของเครื่ องเงินและการขยายตัวสู่ พ้ืนที่อื่นของการค้า
เครื่ องเงิน การเข้ามาของเครื่ องอลูมิเนียมการโยกย้ายพื้นที่จาหน่ายจากวัวลายสู่ สันกาแพงจนทา
ให้เกิดผลกระทบต่อการค้าเครื่ องเงินบนถนนวัวลาย26

เลิศชาย ศิริชัย “ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากข้อเท็จจริ งยกระดับสู่ กระบวนทัศน์ความเข้มแข็ง


ชุมชน” เป็ นหนังสื อที่บนั ทึกการสัมมนางานส่ งเสริ มศิลปวัฒนธรรมทบวงมหาวิทยาลัยครั้งที่ 5
ระหว่างวันที่ 24 – 25 มกราคม 2546 ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยเนื้ อหาที่สัมมนานั้นเน้น
ไปที่ ส ถานการณ์ ปั จจุ บ นั ของสั ง คมไทยกับ ภู มิ ปั ญญาท้องถิ่ นกรณี ศึ ก ษาภู มิ ปั ญญาท้องถิ่ น
ภาคใต้ในเรื่ องต่างๆและการเสนอถึ งแนวทางการศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่ นการทาความเข้าใจ
ภูมิปัญญาและการยกระดับรวมทั้งการปรับใช้ภูมิปัญญาพื้นถิ่นในสถานการณ์ปัจจุบนั 27

วิมลลักษณ์ ชู ชาติ และคณะ “แนวทางส่ งเสริ มภูมิปัญญาในต่างประเทศ” เป็ นหนังสื อ


ที่แปลและเรี ยบเรี ยงเอกสารเกี่ ยวกับการส่ งเสริ มภูมิปัญญาในต่างประเทศ เป็ นส่ วนหนึ่ งของ
กิ จกรรมในโครงการศึ กษาวิจยั เพื่ อท านโยบายส่ ง เสริ ม ภูมิ ปัญญาไทยเพื่อการศึ กษาโดยใช้
เอกสารขององค์การยูเนสโก (UNESCO) เป็ นแผนแม่บทในการดาเนิ นงานส่ งเสริ ม ภูมิปัญญา
ของรัฐสมาชิ กทัว่ โลกประกอบไปด้วยแนวทางในการจัดระบบ “ผูท้ รงภูมิปัญญา” กฎหมายว่า
ด้วยการพิ ท กั ษ์ส มบัติท างวัฒนธรรมของประเทศญี่ ปุ่ น ฟิ ลิ ปปิ นส์ ฝรั่ ง เศส โรมาเนี ย และ
สาธารณรัฐเกาหลี สามารถนานโยบายมาประยุกต์ใช้กบั ยุคปั จจุบนั ที่ ประเทศกาลังก้าวเข้าสู่
AEC (Association of South East Nations: ASEAN) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิ จและส่ งเสริ ม
ภูมิปัญญา28

2.3.2 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


รั ต นะ ภู่ สวาสดิ์ วิท ยานิ พ นธ์เรื่ อง “การอนุ รัก ษ์และพัฒนาความรู้ งานคัวตองชุ มชน
วัดพวกแต้มอาเภอเมืองจังหวัดเชี ยงใหม่” เป็ นการศึกษาประวัติความเป็ นมาเทคนิควิธีการผลิต
ตลอดจนรู ปแบบและปั ญหาต่างๆของงานคัวตองชุมชนวัดพวกแต้มเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา

26
สมโชติ อ๋ องสกุล “แหล่งการเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในเชียงใหม่: มิติทางประวัติศาสตร์ ” เชียงใหม่: ภาควิชา
พื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2548
27
เลิศชาย ศิริชยั บรรณาธิการ “ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากข้อเท็จจริ งยกระดับสู่กระบวนทัศน์ความเข้มแข็งชุมชน”
นครศรี ธรรมราช: โรงพิมพ์เม็ดทราย 2547
28
วิมลลักษณ์ ชูชาติ และคณะ “แนวทางส่ งเสริ มภูมิปัญญาในต่างประเทศ” กรุ งเทพ: สถาบันแห่งชาติวา่ ด้วยภูมิปัญญา
และการศึกษาไทย 2542

33
ความรู ้ ผลการวิจยั พบว่าชุ มชนวัดพวกแต้มปรากฏในใบลานเมื่อปี พุทธศักราช 2363 โดยมี
เนื้ อหาเกี่ ยวข้องกับผูส้ ร้ างวัดซึ่ งเป็ นช่ างโดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงรักปิ ดทองและงานประดับ
โลหะดังที่ปรากฏในปั จจุ บนั งานคัวตองได้รับการถ่ายทอดผ่านรุ่ นสู่ รุ่นโดยมีวิธีการสื บทอด
ผ่า นการลงมื อปฏิ บ ตั ิ จริ ง พร้ อมการบอกกล่ า วจากช่ า งผูช้ านาญและในการวิจยั ครั้ งนี้ ย งั ได้
ทดลองจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ “พวกแต้มคัวตอง” ภายในวัดให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และปรับปรุ งชิ้นงาน
ให้ร่วมสมัยมากยิง่ ขึ้น29

จิราวรรณ กาวิละ การค้นคว้าแบบอิสระเรื่ อง “ทางเลือกของการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม:


กรณี ศึกษาหมู่บา้ นวัวลายอาเภอเมืองจังหวัดเชี ยงใหม่” เป็ นการศึกษาบริ บททัว่ ไปและการเป็ น
แหล่งท่องเที่ยวของหมู่บา้ นวัวลายในอดี ตศึกษาปั ญหาและวิเคราะห์หาสาเหตุของปั ญหาการ
ท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมของหมู่บา้ นวัวลายในปั จจุบนั เพื่อสังเคราะห์หาแนวทางแก้ไขปั ญหา
โดยเสนอทางเลื อกอื่ นๆส าหรั บ การท่ องเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมในหมู่ บ ้า นวัวลายอาเภอเมื อ ง
จังหวัดเชี ยงใหม่เป็ นการศึกษาเชิ งคุ ณภาพใช้วิธีการสัมภาษณ์ แบบเจาะลึ กกลุ่มตัวอย่างผูใ้ ห้
ข้อ มู ล หลัก ทั้ง ภายในและภายนอกชุ ม ชนและการสั ง เกตการณ์ แ บบมี ส่ ว นร่ ว มในพื้ น ที่
ผลการศึกษาพบว่าหมู่บา้ นวัวลายเป็ นถิ่นที่อยูข่ องช่างฝี มือเครื่ องเงิน ที่ถูกกวาดต้อนมาจากลุ่ม
แม่น้ าสาละวิน ประเทศพม่าปรากฏหลักฐานของกลุ่มดังกล่าวตั้งแต่ปีพ.ศ. 2342 ในสมัยพระเจ้า
กาวิละและได้ต้ งั บ้านเรื อนอยูโ่ ดยรอบวัดหมื่นสารประกอบอาชี พหัตถกรรมเครื่ องเงินสื บทอด
กันมาเป็ นเวลานานกลายเป็ นเอกลักษณ์ ของหมู่บา้ นวัวลายจนถึงปั จจุบนั สภาพการค้าขายและ
การประกอบอาชี พเครื่ องเงิ นของชาวบ้านวัวลายเป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้หมู่บา้ นวัวลายเป็ น
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ได้รับความสนใจ30

ภัทรฤทัย วรอุไร การค้นคว้าแบบอิสระเรื่ อง “การสร้ างความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืนให้แก่


ชุมชนหมู่บา้ นเครื่ องเงินวัวลาย – ศรี สุพรรณ เทศบาลนครเชี ยงใหม่” เป็ นการศึกษาวิจยั ในเรื่ อง
ปั จจัยที่เอื้อต่อการสร้างความเข้มแข็งของชุ มชนหมู่บา้ นเครื่ องเงิน วัวลาย ศรี สุพรรณ เทศบาล
นครเชียงใหม่ รวมถึงปั ญหาอุปสรรคต่อการสร้างความเข้มแข็งที่ยงั่ ยืน รวมทั้งแนวทางในการ
อนุ รัก ษ์ทุ นทางสัง คมและวัฒนธรรมชุ ม ชนเพื่ อส่ ง เสริ ม ความเข้ม แข็ง ของชุ ม ชนและแนว
ทางการพัฒนาและส่ งเสริ มความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืน โดยในการพัฒนาสร้ างความเข้มแข็งที่
ยัง่ ยืนให้แก่ชุมชนวัวลาย ศรี สุพรรณ การกล่อมเกลาและรณรงค์ให้ประชาชนได้ร่วมอนุ รักษ์
29
รัตนะ ภู่สวาสดิ์ วิทยานิพนธ์ “การอนุรักษ์และพัฒนาความรู้งานคัวตองชุมชนวัดพวกแต้ม อาเภอเมือง จังหวัด
เชียงใหม่” เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2556
30
จิราวรรณ กาวิละ การค้นคว้าอิสระ “ทางเลือกของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณี ศึกษาหมู่บา้ นวัวลาย อาเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหม่” เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2544

34
และสื บ สานวัฒนธรรมการผลิ ตเครื่ องเงิ นของชุ มชน การจัด ให้มี ศูนย์แสดงสิ นค้ากลางใน
ชุมชนที่เปิ ดโอกาสให้ผปู้ ระกอบการทุกรายในชุมชนได้แสดงสิ นค้าเพื่อลดปั ญหาความเหลื่อม
ล้ าในกาลังการผลิ ตและความสามารถในการทาการตลาดของผูป้ ระกอบการรายย่อยและราย
ใหญ่ การปรั บบทบาทและการสนับสนุ นของหน่ วยงานต่างๆ ให้ตรงกับความต้องการของ
ชุมชนโดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่ วม31

ไพศาล แก้ ว รากมุ ก การค้น คว้า แบบอิ ส ระเรื่ อ ง “การจัด การความรู้ ใ นการอนุ รั ก ษ์
หัต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น ชุ ม ชนวัด ศรี สุ พ รรณ ถนนวัว ลาย ต าบลหายยา อ าเภอเมื อ ง จัง หวัด
เชียงใหม่ ” เป็ นการศึกษาในเรื่ ององค์ประกอบที่ทาให้เกิดการอนุรักษ์และจัดแหล่งเรี ยนรู ้ศึกษา
พัฒนาการถ่ ายทอดงานภู มิปั ญญาชาวบ้านและวิเคราะห์ รูป แบบการต่อยอดการพัฒนางาน
ภูมิ ปั ญญาชาวบ้า นและหน่ วยงานที่ เข้ามามี ส่วนร่ วมในการอนุ รัก ษ์ง านภู มิ ปัญญาชาวบ้า น
หัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัดศรี สุพ รรณโดยใช้รูปแบบของการวิจยั เชิ งพรรณนาโดยมี ผล
การศึกษาพบว่าในอดีตที่ผา่ นมามีการถ่ายทอดเฉพาะทายาทหรื อผูส้ ื บสายเลือดแต่ในปั จจุบนั มี
การถ่ายทอด ให้ประชาชนทัว่ ไปและนักท่องเที่ยวได้เรี ยนรู ้ซ่ ึ งเป็ นการเรี ยนตัวต่อตัวซึ่ งไปใน
อนาคตอาจเปลี่ยนรู ปแบบการศึกษาเป็ นการเรี ยนรู้แบบผ่านสื่ อออนไลน์32

สมโชติ อ๋ องสกุล และคณะ รายงานการวิจยั เรื่ อง “การสื บค้นหลักฐานทางการศึกษาใน


ล้ า นนา : ชุ ม ชนช่ า งในเวี ย งเชี ย งใหม่ ก รณี เ ครื่ องเงิ น และเครื่ องเขิ น ” เป็ นการศึ ก ษา
ประวัติศาสตร์ ชุมชนช่ างเครื่ องเงิ นและเครื่ องเขินในเวียงเชี ยงใหม่รวมถึ งศึกษากระบวนการ
ผลิ ตการถ่ า ยทอดและการเผยแพร่ เพื่อสร้ างองค์ความรู ้ เกี่ ยวกับชุ มชนช่ างในเวีย งเชี ยงใหม่
โดยเฉพาะเรื่ องเกี่ ยวกับเครื่ องเงิ นและเครื่ องเขินซึ่ งเป็ นแหล่งการศึ กษาแบบไม่เน้นอักขรวิธี
โดยใช้การเรี ยนรู ้ ตามอัธยาศัยโดยมี รัฐธรรมนู ญแห่ งพระราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 และ
พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. 2542 เข้ามาเป็ นตัวบังคับใช้จึงทาให้ชุมชนท้องถิ่ นได้รับการ
ฟื้ นฟูและมีบทบาทมากขึ้น33

31
ภัทรฤทัย วรอุไร การค้นคว้าแบบอิสระ “การสร้างความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืนให้แก่ชุมชนหมู่บา้ นเครื่ องเงิน
วัวลาย – ศรี สุพรรณ เทศบาลนครเชียงใหม่” เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2556
32
ไพศาล แก้วรากมุก การค้นกว้าอิสระ “การจัดการความรู้ในการอนุรักษ์หตั ถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัดศรี สุพรรณ
ถนนวัวลาย ตาบลหายยา อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่” เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557
33
สมโชติ อ๋ องสกุล และคณะ รายงานวิจยั “การสื บค้นหลักฐานทางการศึกษาในล้านนา: ชุมชนช่างในเวียงเชียงใหม่
กรณี เครื่ องเงินและเครื่ องเขิน” เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2545

35
2.4 กรอบแนวคิดการศึกษา

-ประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ที่
เกี่ยวข้องกับชุมชนวัวลาย เทคนิควิธีการของงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
-ประวัติความเป็ นมาของชุมชนวัวลาย และภูมิปัญญาของช่างทาเครื่ องเงิน
-ประวัติความเป็ นมาของงานหัตถกรรม ชุมชนวัวลาย ในปัจจุบนั
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย

แนวคิดทฤษฎีที่เกีย่ วข้ องกับการศึกษา


1. แนวคิดเรื่ องการอนุรักษ์มรดกทาง
วัฒนธรรม
2. แนวคิดเรื่ องการถ่ายทอดภูมิปัญญา

2.
แนวทางทีเ่ หมาะสม ในการอนุรักษ์ และสื บสานภูมปิ ัญญางานหัตถกรรม
เครื่องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

แผนภูมิที่ 2.1 แผนภูมิกรอบแนวคิดการศึกษา

36
บทที่ 3

วิธีดาเนินการวิจยั

การค้นคว้าอิสระเรื่ อง “การอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชน


วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่” มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็ นมาของชุ มชนวัวลาย
และงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย ตลอดจนศึกษาเทคนิควิธีการทาเครื่ องเงินสภาพการณ์และ
ปั ญ หาของงานหั ต ถกรรมเครื่ องเงิ น ชุ ม ชนวัว ลาย เพื่ อ แนวทางการอนุ รั ก ษ์ แ ละสื บสาน
ภู มิ ปั ญ ญางานหัต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น ชุ ม ชนวัว ลาย อ าเภอเมื อ ง จัง หวัด เชี ย งใหม่ มี ข้ ัน ตอนและ
วิธีการศึกษา ประกอบด้วยหัวข้อต่างๆดังนี้
3.1 รู ปแบบการศึกษา
3.2 การศึกษาภาคเอกสาร ทบทวนวรรณกรรมและแนวคิดทฤษฎี
3.3 การศึกษางานหัตถกรรมเครื่ องชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
3.4 การศึกษาเพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
3.4.1 การศึ ก ษาและเก็ บ ข้อ มู ล ความคิ ด เห็ น และข้อ เสนอแนะของผู ้น าชุ ม ชน
ผูป้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงิน ช่างทาเครื่ องเงิน นักวิชาการ ต่อแนวทางการอนุ รักษ์
และสื บสานภูมิปั ญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัด
เชียงใหม่
3.4.2 การศึ ก ษาวิเคราะห์ เพื่ อ หาแนวทางที่ เหมาะสมในการอนุ รั ก ษ์แ ละสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
3.5 การศึ ก ษาและเสนอแนวทางที่ เ หมาะสมในการอนุ รั ก ษ์ แ ละสื บสานภู มิ ปั ญ ญา
งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

37
3.1 รู ปแบบการศึกษา

การค้นคว้าแบบอิสระเรื่ อง การอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัว


ลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ เป็ นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษาประวัติ
ความเป็ นมาของชุ มชนวัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น ชุ มชนวัวลาย ศึก ษาเทคนิ ค วิธีการทา
เครื่ องเงิน รวมถึงสภาพการณ์และสภาพปั ญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน โดยการค้นคว้าจากภาค
เอกสารและ การสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ให้ได้มาซึ่ งข้อมูลเพื่อเสนอแนวทาง ที่เหมาะสมในการ
อนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย อาเภอเมื อง จังหวัดเชี ยงใหม่
และนาเสนอผลการศึกษาในรู ปแบบการพรรณนา

3.2 การศึกษาภาคเอกสารและทบทวนแนวคิดทฤษฎี
ขั้นตอนแรกของการศึกษาเป็ นการศึกษาภาคเอกสารเพื่อศึกษาถึงสถานภาพความรู้ ที่เกี่ ยวกับ
ประวัติความเป็ นมาของชุมชนวัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย ตลอดจนแนวคิด ทฤษฎี
ที่เกี่ ยวกับการอนุ รักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และแนวคิดการถ่ายทอดภูมิปัญญา ตลอดจนเอกสาร และ
งานวิจยั ที่ขอ้ งกับการศึกษาครั้งนี้ โดยทาการศึกษาค้นคว้าจากหนังสื อ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ และงานวิจยั
ในห้องสมุดต่างๆด้วยวิธีการสื บค้นข้อมูลและลาดับความสาคัญ นาข้อมูลมาเรี ยบเรี ยง สาหรับใช้เป็ น
แนวทางและการวางกรอบแนวคิดซึ่งประกอบด้วยหัวข้อดังนี้

1) บริ บทของชุมชนวัวลายและเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่


1.1) ประวัติศาสตร์ เมืองเชียงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนวัวลาย
1.2) ความเป็ นมาลักษณะและรู ปแบบของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
2) แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในครั้งนี้
2.1) แนวคิดเรื่ องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
2.2) แนวคิดเรื่ องการถ่ายทอดภูมิปัญญา
3) เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
3.1) เอกสารและหนังสื อที่เกี่ยวข้อง
3.2) งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
4) กรอบแนวคิดการศึกษา
ดังรายละเอียดที่นาเสนอผลการศึกษาในบทที่ 2

38
3.3 การศึกษางานหัตถกรรมเครื่องชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่
เป็ นขั้น ตอนการศึ ก ษาในบริ บ ทที่ เกี่ ย วกับ ชุ มชนวัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชน
วัวลาย ทั้งทางด้านเทคนิ ควิ ธี การท าเครื่ องเงิ น ตลอดจนสภาพการณ์ และปั ญหาของงานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ ซึ่ งเป็ นการศึกษาทั้งภาคเอกสารและภาคสนามโดย
ทาการสารวจ และสังเกตการณ์ทางกายภาพ ตลอดจนการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง โดยใช้คาถาม
ปลายเปิ ด เพื่ อให้ไ ด้ข ้อมู ล เกี่ ย วกับ ประวัติค วามเป็ นมาของชุ ม ชนวัวลาย ลัก ษณะชุ ม ชน อาคาร
บ้า นเรื อ นและสถานที่ ส าคัญ แหล่ ง ผลิ ต และจ าหน่ า ยเครื่ อ งเงิ น ชุ ม ชนวัว ลาย เทคนิ ค วิ ธี ก ารท า
เครื่ องเงินวัวลาย คุณค่า และความสาคัญ ตลอดจนสภาพการณ์ ปั ญหาของธุ รกิจและการผลิตเครื่ องเงิน
วัวลาย และนาข้อมูลมาจัดระเบียบ นาเสนอ และวิเคราะห์ให้เห็นถึงคุ ณค่าความสาคัญและปั ญหาของ
เครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย จากกลุ่มตัวอย่าง (Sample) ซึ่ งได้มาด้วยวิธีการสุ่ มแบบจงใจจากผูน้ าชุ มชน
ผูป้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงิน ช่างทาเครื่ องเงิน นักวิชาการ และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง กับงานหัตถกรรม
เครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย จนได้ขอ้ มูลครบถ้วน โดยมีจานวนผูใ้ ห้สัมภาษณ์ จานวน 32 คน และมี
รายนามผูใ้ ห้สัมภาษณ์ที่ยนิ ดีเปิ ดเผยนามที่สาคัญดังนี้
1) พ่อ บุญทอง พุทธิศรี
2) นาย ประสู ติ ทิพย์คา
3) นางสาว มณฑกานต์ ตันฑรัตน์
4) นาย สมนึก อุดมวิเศษ
5) นาย สนิท บุญแลน
6) นาง จันทร์สม เที่ยงจันตา
7) นาง อาภา แสงจันทร์

ส่ วนการสังเกตการณ์ ผูศ้ ึกษาได้ใช้วิธีการสังเกตการณ์มาเป็ นส่ วนหนึ่ งในการศึกษาโดยการ


สังเกตการณ์ดงั กล่าวเป็ นการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่ วม (Nonparticipant Observation) ซึ่ งเป็ นการทา
เครื่ องเงิ น และเทคนิ ค วิ ธี ก ารท าเครื่ องเงิ น จากแหล่ ง ผลิ ต ร้ า นวัว ลายศิ ล ป์ บ้ า นเมฆบัง วัน
และบ้านไชยวุฒิ
เมื่ อได้ข ้อมู ล แล้ว ได้ตรวจสอบข้อมูล จัดระเบีย บ และเรี ย บเรี ยงเป็ นเรื่ องราว ในบริ บท
ที่ เ กี่ ย วกับ ชุ ม ชนวัว ลายและงานหั ต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น ทั้ง ทางด้า นเทคนิ ค วิ ธี ก ารท าเครื่ อ งเงิ น
สภาพการณ์และสภาพปั ญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่
จากนั้นวิเคราะห์คุณค่าและความสาคัญและปั ญหาของเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย โดยนาข้อมูลที่ได้มา
วิเคราะห์เชิ งเนื้ อหา(Content Analysis) แยกตามประเด็น และปั ญหา นาผลการศึกษามาเรี ยบเรี ยงและ
นาเสนอ ซึ่ งประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ดังนี้

39
1 บริ บทที่เกี่ยวกับชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
1.1 ที่ต้ งั และเส้นทางคมนาคม
1.2 ประวัติความเป็ นมาของชุมชนวัวลาย
1.3 ลักษณะชุมชน อาคารบ้านเรื อนและสถานที่สาคัญ
1.4 แหล่งผลิตและจาหน่ายเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
2 งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
2.1 ประวัติความเป็ นมาเครื่ องเงินวัวลาย
2.2 เทคนิควิธีการทาเครื่ องเงินวัวลาย
1) วิธีการทาเครื่ องเงินวัวลายในอดีต
2) วิธีการทาเครื่ องเงินวัวลายปัจจุบนั
2.3 สภาพการณ์ ปั ญหาของธุ รกิจและการผลิตเครื่ องเงินวัวลาย
3 วิเคราะห์คุณค่าความสาคัญและปั ญหาของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
3.1 วิเคราะห์คุณค่าความสาคัญของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
3.2 วิเคราะห์ปัญหาของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
ดังรายละเอียดที่นาเสนอผลการศึกษาในบทที่ 4

3.4 การศึกษาเพือ่ หาทิศทางที่เหมาะสมในการอนุรักษ์ และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน


ชุ มชนวัวลาย
เป็ นขั้น ตอนการศึ ก ษาเพื่ อหาทิ ศ ทางในการอนุ รัก ษ์และสื บ สานภู มิ ปัญ ญางานหัต ถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ที่เหมาะสม ซึ่ งมีข้ นั ตอนในการพิจารณาดังนี้

3.4.1 การศึ กษาและเก็บข้อมูลความคิ ดเห็ นและข้อเสนอแนะของผูน้ าชุ มชน ผูป้ ระกอบการ


ร้านค้าเครื่ องเงิ น ช่ างทาเครื่ องเงิ น นักวิชาการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ แบบมี
โครงสร้างลักษณะเป็ นคาถามปลายเปิ ด ใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เพื่อสอบถาม
ความคิ ดเห็ นและข้อเสนอแนะต่ อแนวทางการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิ ปั ญญางานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่ งกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือ

40
1) ผูน้ าชุมชน จานวน 3 คน คือ
พระครู พิทกั ษ์สุทธิ คุณ เจ้าอาวาสวัดศรี สุพรรณ
พระครู สุทธิจิตตาภิรัต เจ้าอาวาสวัดหมื่นสาร
นายสมนึก อุดมวิเศษ อดีตประธานชุมชนวัดศรี สุพรรณ
2) ผูป้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงิน จานวน 3 คน คือ
นางอุไรวรรณ จิโนรส เจ้าของร้านวัวลายศิลป์
นางบานเย็น อักษรศรี เจ้าของร้านบานเย็น
นางประไพร ไชยวุฒิ เจ้าของร้านไชยวุฒิ
3) ช่างทาเครื่ องเงิน จานวน 4 คน คือ
นายดิเรก สิ ทธิการ
นายสมชาย ใจคาบุญเรื อง
นางแสงจันทร์ ทิพย์สว่าง
นางกมลพรรณ สุ ทธิ
4) นักวิชาการ จานวน 3 คน คือ
นายบุญทอง พุทธิศรี ไวยาวัจกรวัดศรี สุพรรณ
นายปรี ชา ขันทนันต์ ผูพ้ ิพากษาสมทบศาลเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่
นายสนิท บุญแลน อดีตผูอ้ านวยการโรงเรี ยนเมตตาศึกษา

ซึ่ งผลการศึกษาและเก็บข้อมูลครั้งนี้สรุ ปได้วา่ การอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรม


เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ควรมีแนวทางตามหัวข้อดังนี้

1) การจัดการด้านการตลาดโดยภาครัฐและเอกชนมี ส่วนช่ วยเพิ่มความรู ้ ดา้ นการ


โฆษณา การประชาสัมพันธ์ส่งเสริ มการท่องเที่ยว มีการช่ วยเหลื อในระบบเงิ นทุ น
หมุ นเวียน ซึ่ งผูป้ ระกอบการบางรายยังขาดปั จจัยในเรื่ องของเงิ นทุน และส่ งเสริ ม
เพิ่ ม ความรู ้ ให้ ก ับ ช่ า งท าเครื่ อ งเงิ น ในด้า นการพัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ์ ทั้ง ในรู ป แบบ
ทันสมัย และการอนุรักษ์ผลิตภัณฑ์แบบดั้งเดิมโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่างทาเครื่ องเงิน
มีรายได้ที่มนั่ คงแน่นอน
2) การถ่ายทอดเป็ นสื่ อ ทั้งในสื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ อวีดีทศั น์ให้ความรู ้แก่ผสู ้ นใจ
3) การถอดองค์ความรู ้ จากช่ างทาเครื่ องเงิ นผูม้ ีประสบการณ์ ชานาญ และจัดทา
หลักสู ตรการทาเครื่ องเงิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสู ตรในการขึ้นรู ปเครื่ องเงิ นซึ่ งมี
ช่างผูช้ านาญในการขึ้นรู ปเครื่ องเงินเหลือน้อย

41
4) การถ่ายทอดผ่านตัวบุคคล โดยความร่ วมมือของชุ มชนและสถาบันการศึกษา นา
นักเรี ยนนักศึกษามาเรี ยนรู้ฝึกประสบการณ์ ในการทาเครื่ องเงิน และมีการส่ งเสริ ม
อาชีพช่างทาเครื่ องเงินให้แก่เยาวชนในท้องถิ่นและผูส้ นใจ
5) การสนับสนุ นส่ งเสริ ม ความร่ วมมื อของภาครั ฐและเอกชนโดยให้เยาวชนใน
ชุมชนมีความรู้สึกรักและหวงแหนภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิน

3.4.2 การวิเคราะห์ เพื่ อหาแนวทางที่ เหมาะสมในการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปั ญ ญางาน


หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
เป็ นกระบวนการของการศึกษาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางเหมาะสมในการอนุ รักษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย โดยการพิจารณาใช้ขอ้ มูลส่ วน
ต่างๆทาการวิเคราะห์ดงั นี้
1) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2) ผลของการศึกษาบริ บทที่เกี่ยวกับชุ มชนวัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
3) แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาครั้งนี้
ซึ่ งผลของการวิเคราะห์ ผูศ้ ึ กษาได้มี ความเห็ นว่าแนวทางการจัดการอนุ รั กษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่
ควรต้องมีลกั ษณะการดาเนิ นการที่เหมาะสมดังนี้
3.1) รณรงค์เสริ มสร้า งและส่ งเสริ ม ทัศ นคติความรู ้ค วามเข้าใจรู ้สึ กรักและ
หวงแหนในคุณค่าภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิน
3.2) ความร่ ว มมือ ของภาครัฐ และเอกชนโดยให้ป ระสานงานการบริ ก าร
ความรู ้วิช าการศูนย์การเรี ยนรู ้ โดยจัดเป็ นแหล่ งส าหรั บการเรี ยนรู ้ ถ่ายทอด
ภู มิ ปั ญ ญาที่ เ ปิ ดกว้า งส าหรั บ ทุ ก คนและสนับ สนุน ทุน ทรัพ ย์ส าหรับ จัด
กิจกรรมทางวัฒนธรรม
3.3) การจัดการด้านการตลาด โดยภาครัฐและเอกชนมี ส่วนช่ วยในด้านการ
โฆษณา การประชาสัมพันธ์ส่งเสริ มการท่องเที่ยว การให้ทุนหมุนเวียนและ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์
3.4) การถอดองค์ความรู ้ จากช่างทาเครื่ องเงินผูม้ ีประสบการณ์ ชานาญโดย
จัดทาเป็ นหลักสู ตรการทาเครื่ องเงินและหลักสู ตรการขึ้นรู ปเครื่ องเงิน
3.5) การถ่ายทอดผ่านตัวบุคคลโดยวิธีการบอกเล่าบรรยาย
ดังรายละเอียดที่นาเสนอผลการศึกษาในบทที่ 5

42
3.5 การเสนอแนวทางการจัดการอนุรักษ์ และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย
เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายในการหาแนวทางในการจัดการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรม
เครื่ องเงิ น ชุ ม ชนวัว ลาย อ นั เป็ นผลมาจากการศึก ษาและรวบรวมข้อ มูล ในบทที ่ผ า่ นๆมา
ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อดังนี้
3.5.1 กิจกรรมการส่ งเสริ มการค้าเครื่ องเงินวัวลาย
3.5.2 จัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย
3.5.3 การถอดองค์ความรู้และจัดทาหลักสู ตรงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
ดังรายละเอียดที่นาเสนอผลการศึกษาในบทที่ 5

43
บทที่ 4

การศึกษางานหัตถกรรมเครื่องเงินชุมชนวัวลาย
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

บทนี้ เป็ นการศึ ก ษาทั้งภาคเอกสารและภาคสนามในบริ บทที่ เกี่ ยวกับชุ มชนวัวลายและงาน


หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย ทั้งทางด้านเทคนิควิธีการทําเครื่ องเงิน สภาพการณ์และปั ญหาของ
งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลายอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่ งประกอบด้วยหัวข้อต่างๆดังนี้
4.1 บริบททีเ่ กีย่ วกับชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
4.1.1 ที่ต้ งั และเส้นทางคมนาคม
4.1.2 ประวัติความเป็ นมาของชุมชนวัวลาย
4.1.3 ลักษณะชุมชน อาคารบ้านเรื อนและสถานที่สาํ คัญ
4.1.4 แหล่งผลิตและจําหน่ายเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
4.2 งานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย
4.2.1 ประวัติความเป็ นมาเครื่ องเงินวัวลาย
4.2.2 เทคนิควิธีการทําเครื่ องเงินวัวลาย
1) วิธีการทําเครื่ องเงินวัวลายในอดีต
2) วิธีการทําเครื่ องเงินวัวลายปัจจุบนั
4.2.3 สภาพการณ์ ปั ญหาของธุ รกิจและการผลิตเครื่ องเงินวัวลาย
4.3 วิเคราะห์ คุณค่ าความสาคัญและปั ญหาของงานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย
4.3.1 วิเคราะห์คุณค่าความสําคัญของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
4.3.2 วิเคราะห์ปัญหาของภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

44
4.1. บริบททีเ่ กีย่ วกับชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
4.1.1 ทีต่ ้งั และเส้ นทางคมนาคม
ชุมชนวัวลายในปั จจุบนั อยูใ่ นเขตการปกครองส่ วนท้องถิ่น ของสํานักงานแขวงเม็งราย
สังกัดสํานักงานเทศบาลนครเชี ยงใหม่ต้ งั อยูใ่ นเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ ตั้งอยูร่ ะหว่าง
กําแพงเมืองชั้นในและกําแพงเมืองชั้นนอก ของตัวเมืองเชียงใหม่ อยูท่ างทิศใต้ของตัวเมือง ห่ าง
จากเสาหลักเมืองเชี ยงใหม่มาทางใต้ประมาณ 1.3 กิโลเมตรตั้งอยู่ระหว่างประตูแสนปุงและ
ประตูเชียงใหม่ของกําแพงเมืองชั้นใน โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือติดกับ ถนนช่างหล่อ
ทิศใต้ติดกับ ถนนนันทาราม และมีเขตติดต่อกับ ชุมชนนันทาราม
ทิศตะวันออกติดกับถนนนันทาราม และมีเขตติดต่อกับ ชุมชนนันทาราม
ทิศตะวันตกติดกับ ถนนทิพย์เนตร และมีเขตต่อต่อกับ ชุมชนพวกเปี ยร่ วมใจพัฒนา

มีถนนวัวลายสายหลัก พาดผ่านเป็ นแนวจากทิศ ตะวันออกเฉี ยงเหนื อไปสู่ ทิศตะวันตก


เฉี ยงใต้เป็ นแนวเฉี ยง โดยแบ่งเป็ นสองฝั่ งคือฝั่ งตะวันตกของถนน เป็ นชุ มชน วัดศรี สุพรรณ
และฝั่ ง ตะวันออกของถนนเป็ นชุ ม ชนหมื่ นสารบ้า นวัวลาย ในการศึ กษาครั้ งนี้ ถื อว่า ชุ ม ชน
ทั้งสองคือชุมชนวัวลาย

ภาพที่ 4.1 แผนที่แสดงที่ต้ งั และเส้นทางคมนาคมของชุมชนวัวลาย

45
ภาพที่ 4.2 แผนที่แสดงอาณาเขตของชุมชนวัวลาย

ภาพที่ 4.3 ถนนวัวลายสายหลัก บริ เวณหน้าร้านวัวลายศิลป์

46
ภาพที่ 4.4 ถนนวัวลายสายหลัก บริ เวณหน้าร้านบานเย็น

4.1.2 ประวัติความเป็ นมาของชุ มชนวัวลาย


ชุ มชนวัวลาย ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองเชี ยงใหม่อยู่บนพื้นที่ระหว่างกําแพงชั้นในและ
กําแพงชั้นนอก ชุ มชนวัวลาย ประกอบด้วยชุ มชนที่มีวดั เป็ นศูนย์กลางสามแห่ ง ได้แก่ ชุ มชน
วัดหมื่นสาร ชุ มชนวัดศรี สุพรรณ และชุ มชนวัดนันทาราม ซึ่ งมีงานหัตถกรรมที่สําคัญสอง
อย่าง คื อ เครื่ องเงิ น และเครื่ องเขิ น ในการศึ กษาครั้ งนี้ จะได้กล่ า วถึ งเพียงแค่สองชุ ม ชนคื อ
ชุ ม ชน วัดหมื่ นสาร ชุ ม ชนวัดศรี สุพ รรณ และงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นเท่า นั้น ซึ่ ง ทั้งสอง
ชุ ม ชนเป็ นชุ ม ชนบนสองฟากถนนวัวลาย ตํา บลหายยา อํา เภอเมื อง จัง หวัด เชี ย งใหม่ เมื่ อ
เดิ นทางมาจากประตูเชี ยงใหม่ตามถนนวัวลายด้านซ้ายมื อเป็ นชุ นชนหมื่ นสารบ้านวัวลายมี
วัดหมื่นสารเป็ นศูนย์กลางชุมชน ด้านขวามือเป็ นชุมชนวัดศรี สุพรรณ ปั จจุบนั มีวดั ศรี สุพรรณ
เป็ นศูนย์กลาง ในอดีตมีผปู้ ระกอบอาชี พช่ างตีเครื่ องเงิ น อาศัยอยูใ่ นเมืองเชี ยงใหม่ปรากฏตาม
หลักฐานประวัติศาสตร์ สื บย้อนไปตั้งแต่ครั้งยุคสมัย ราชวงศ์มงั ราย ที่ได้มีการรวบรวมช่างจาก
เมืองต่างๆดังปรากฏในข้อความตามหลักฐานกล่าวว่า
(พระยามังรายต้องการนายช่ างต่างๆ จากเมืองพุกาม เมืองอังวะ) ดัง่ ช่ างฆ้อง ช่ างหล่ อ
ช่างตียงั เครื่ อง ผูม้ ีประยาปั ญญาทั้งหลายนั้น กูก็ใคร่ ได้สันทะฉันทะประโยชน์ก็มีสัน [ฉัน] นี้
และคันพระยามังรายมีอาชญาดัง่ อันอามาตย์ ผูใ้ ช้เจ้าเมืองพุกาม อังวะทั้งหลายได้ยิน อาชญา

47
ท้าวล้านนาดั่งอั้น ข้าเจ้าอามาตย์ท้ งั หลายก็กระทํา อันครบยําตามคลองนั้นก็ก ระทําวัดใหญ่
วัดน้อยก็ครบยําแล้ว อามาตย์ผใู ้ ช้ก็ไหว้สาเจ้าคนปราบ อันปราบยังตันททีปอังวะพุกามเมือง
หลวง ตามดัง่ ท้าวล้านนาหากมีอาชญามานั้น ข้าเจ้าก็ภิทูลไหว้สาเจ้าและ ดัง่ เจ้าอังวะพุกามนั้น
ก็เสงปลองโพ่จากันและดัง่ เจ้าท้าวล้านนานั้นก็เป็ นอันลํ้ายิ่ง เอาริ ทธโยธาช้างม้ากําลังมาเขต
เมื องเรานี้ ก็บ่ ป ราบ ก็ อยู่เหี่ ย งหนึ ม อยู่น้ ี ก็ หากเป็ นกุ ณอันหนึ่ งแห้แล ดั่ง ริ พ ลเราหากยัง อยู่
แข็งแรงอยู่น้ นั ริ พลเราหน้อย(น้อย) เหตุน้ นั ท้าวล้านนา พระยามังรายอันมีประโยชน์ยงั ช่ าง
ฆ้อง ช่างหล่อ ก็ใคร่ ได้น้ นั ก็ควรเอาช่างทั้งหลายหื้ อเพิน่
(เจ้าเมืองพุกามและเจ้าเมืองอังวะมอบช่างต่างๆให้พระยามังราย) คันเสงปลองคันแล้วยัง
ช่างหล่อ ช่างฆ้อง ผูช้ ่างสราด(ฉลาด) ทั้งหลายมา ก็เลือกเอา ผูอ้ นั ช่ าง ช่างหล่อ ช่ างตีท้ งั หลาย
ช่างตีฆอ้ งสองหัว ทั้งลูกสิ ก(ศิษย์) ลูกน้องทั้งมวล 500 ทั้งเครื่ องก็พร้อมแล้ว ก็จกั ยื่นถวายท้าว
ล้านนาแล ก็เก็บเอายังช่างชรอมยังม่าน [พม่า] มาแล้วก็ใช้อามาตย์ เอาไปอับหั้นและคัวว่าอับ
แล้วท้า วล้านนาพระยามัง รายนั้น ก็เอาม่านช่ างฆ้อง หมอหล่ อทั้ง 500 ครั ว ทั้งกําลัง ริ พ ล
ทั้งหลายพิก(กลับ) มอกคืนมาเมืองไทยหั้นแล คันคืนมารอดแล้ว ก็เอาช่างตีฆอ้ งช่างหล่อคู่ สอง
หัวนั้นก็ไข้ยงั เวียงกุมกามหัวหนึ่ งและเมืองเชี ยงแสนนั้นอันเป็ นเมืองช่ างไม้กานถมนั้น เมือง
เชี ยงแสนก็ไว้ยงั แก่ช่างฆ้องหัวหนึ่ ง ต่อเท่าบัดเดี๋ยวนี้ และ เมืองกานถม เมืองเชี ยงแสน ผูช้ ่างตี
ฆ้อง ช่างระฆังทั้งหลายมีต่อเท่าบัดนี้แล34
ดังนั้นจึงเกิ ดชุ มชนช่ างทําเครื่ องเงินขึ้ นในเชี ยงใหม่ ปรากฏตามหลักฐานและเอกสาร
ต่างๆเพิ่มเติม ตั้งแต่สมัยราชวงศ์มงั ราย เรื่ อยมาจนถึ งปั จจุบนั โดยสามารถแบ่งพัฒนาการเป็ น
ยุคต่างๆได้ดงั นี้
ยุคสมัยราชวงศ์มงั ราย ทั้งสองชุมชนซึ่ งมีวดั เป็ นศูนย์กลางได้ถูกสร้างขึ้นในเวลาที่ไล่เลี่ย
กัน วัดหมื่นสารศูนย์กลางของชุ มชนหมื่นสารปรากฏชื่อในหลักฐานเมื่อ พ.ศ.1981 สมัยพญา
สามฝั่งแกน กษัตริ ยอ์ งค์ที่ 8 แห่ งราชวงศ์มงั ราย (พ.ศ. 1945 ถึง พ.ศ.1984) วัดหมื่นสารในสมัย
ราชวงศ์มงั รายมีความสัมพันธ์กบั วัดสวนดอกซึ่ งเป็ นที่พาํ นักของพระสงฆ์ช้ นั ผูใ้ หญ่ ซึ่ งในสมัย
พระเจ้าติโลกราชกษัตริ ยอ์ งค์ที่ 9 แห่ งราชวงศ์มงั ราย(พ.ศ. 1984 ถึ ง พ.ศ.2030) เจ้าอาวาส
วัดหมื่นสารเป็ นหลานของเจ้าอาวาสสวนดอก ในสมัยพระเจ้าติโลกราชนั้น ตํานานได้กล่าวถึง
วัดหมื่นสารตอนหนึ่ งว่า “ในกาลนั้นอํามาตย์ใหญ่ผหู ้ นึ่ งมีนามว่า หมื่น วิมละกิติ เป็ นสังฆการี
นั้นก็ให้สร้างวิหารในวัดหมื่นสารแล้วไปอาราธนาพระศีลาเจ้าจาก วัดป่ าแดงมาประดิษฐานใน
วัดหมื่นสาร เพื่อให้จาํ เริ ญรุ่ งเรื องในพระพุทธศาสนาต่อไปภายหน้าแล”

34
สมหมาย เปรมจิตต์ “ราชวงศาพื้นเมืองเชียงใหม่” ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2518 หน้า 8 – 9

48
พระมหาสามีเจ้าตนเป็ นสังฆปริ นายกอยู่ในวัดหมื่นสารมีนามว่า พุทธญาณะ ก็ไปอยู่ที่
วัดสวนดอกไม้ท่านก็ยงั อาราธนาเอาพระศีลาเจ้าไป เพื่อกระทําสักการบูชาแล้วให้เอากลับคืน
วัดหมื่นสารดังเดิม35
ครั้นพระพุทธญาณเจ้าอาวาสวัดหมื่ นสารมรณภาพ ใน พ.ศ. 2031 พญายอดเชี ยงราย
หรื อพญายอดเมืองกษัตริ ย ์ ราชวงศ์มงั รายองค์ที่ 10 (พ.ศ.2030 - 2038) ก็ได้นิมนต์พระมหา
กุกามญาณสามาดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาสวัดหมื่นสารแทน36
ในพ.ศ. 2065 ในสมัยพระเมื องแก้วหรื อพญากษัตริ ยอ์ งค์ที่ 11 แห่ งราชวงศ์มงั ราย
หลักฐานกล่าวถึ งวัดหมื่นสารตอนหนึ่ งว่า “กิ นเมืองใต้ใคร่ สืบไมตรี ใช้ราชทูตมาสื บคําเมือง
ไพอ่านราชสารไมตรี ยงั วัดหมื่นสาร”37
จากหลักฐานที่ปรากฏสันนิษฐานได้วา่ วัดหมื่นสารมีความสําคัญในอดีตเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้
และถ่ า ยทอด อัก ขระที่ สํ า คัญ แห่ ง หนึ่ ง ในสมัย พญาแก้ว จึ ง โปรดให้ ใ ช้ เ ป็ นสถานที่ แ ปล
พระราชสาสน์ครั้ งนั้นคงมี การถวายกัลปนาที่ ดินและข้าวัดไว้จาํ นวนหนึ่ งเพื่อดูแลรักษาวัด
ตั้งแต่สมัยราชวงศ์มงั รายสื บมา
ส่ ว นชุ ม ชนวัด ศรี สุ พ รรณ ดั้ง เดิ ม เป็ นชุ ม ชนที่ มี ห ลัก ฐานทางประวัติ ศ าสตร์ เ ป็ น
ลายลักษณ์อกั ษรชัดเจนตั้งแต่ครั้งสมัยราชวงศ์มงั ราย โดยมีศิลาจารึ กทําด้วยหิ นทรายแดงจารึ ก
ประวัติวดั ศรี สุพรรณด้วยอักษรฝักขาม สรุ ปข้อความในศิลาจารึ กได้ดงั นี้
“มหาราชได้ 1422 จุลศักราชได้ 862 ปี กดสัน (พ.ศ. 2043 ปี วอก โทศก) เดือนมาฆะ ไทย
ว่าเดื อน 3 ออก 3 คํ่า วันพฤหัสบดี ไทยวันร้ วงไก๊ ฤกษ์ที่ 23 ชื่ อ ธนิ ทตะนาที 28 ตัว
พระเมื องแก้วเจ้าเมื องพิงค์เชี ยงใหม่ และพระราชมารดามหาเทวีเจ้า (พระนางสิ ริยสวดี ) มี
ศรัทธาในศาสนา ปลงพระราชอาชญาให้มหาอามาตย์ ชื่ อเจ้าหมื่นหลวงจ่าคํา เอาพระพุทธรู ป
มาประดิษฐานไว้ และสร้างมหาวิหารอันชื่อว่าศรี สุพรรณอาราม
ต่อมาในปี เต่าเส็ ด (ปี จอ จัตวาสก พ.ศ. 2045) เดือนอาศวฆะ ไทยว่าเดือน 8 ออก 13 คํ่า
วันพฤหัสบดี ไทยวันก่าเร้า พระเมืองแก้วให้นิมนต์มหาเถรญานรัตน จากวัดหมื่นสารมาอยูเ่ ป็ น
อาทิสังฆนายก รักษาพระพุทธเจ้าในวัดนี้

35
“ตํานานพระแก้วขาว (เสตังคมณี ) กับพระศิลา (พระหินอ่อน) วัดเชียงมัน่ จังหวัดเชียงใหม่” เชียงใหม่: ส.ทรัพย์การ
พิมพ์ 2544 หน้า 23
36
“ตํานานมูลศาสนา, อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ณ เมรุ หน้าพลับพลา
วัดเทพศิรินทราวาส กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์พระจันทร์ 2519 หน้า 218
37
“ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี ” เชียงใหม่: ศูนย์วฒั นธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
2538 หน้า 86

49
ต่อมาในปี ก่าไก๊ (ปี กุน เบญจศก พ.ศ. 2046) เดือนวิสาขะ ไทยว่าเดือน 6 ออก 4 คํ่า วัน
พฤหัสบดี ไทยวันก่ าเร้ า ศักราชขึ้ นเป็ นปี ใหม่ย ามตู ดเช้า (เวลา 06.00 – 07.30) ยก(เสา)
มหาวิหาร
ต่อมาในปี ดับเป้ า (ปี ฉลู สัปตศก พ.ศ. 2048) เดือนวิสาขะ ไทยว่าเดือน 6 ออก 2 คํ่า วัน
พุ ธ ไทยวันร้ า งไส้ ยามกลองงาย (เวลา 07.30 – 09.00) ก่ อมหาเจดี ย ์ถ ปนาสารี ริก ธาตุ
พระพุทธเจ้า
ต่อมาในปี กัดไส้ (ปี มะเส็ ง เอกศก พ.ศ. 2052) เดือนวิสาขะ ไทยว่า เดือน 8 ออก 11 คํ่า
วันพุธไทยเต่าสัน ฤกษ์ที่ 16 ชื่อวิสาขะ นาที 29 คัว พระเมืองแก้วให้นิมนต์พระสงฆ์ท้ งั หลายมี
สมเด็จมหาสามีติลสัทธรรมโพธิเจ้า วัดสวนดอกไม้ เป็ นประธานผูกพันธสี มา
แล้วอาราธนาสมเด็จพระราชครู เจ้าเป็ นประธานโดยพระองค์เอง นําเอาสารี ริก ธาตุ
พระพุทธเจ้าสถาปนาไว้ในองค์มหาเจดีย ์
ไว้เนื้ อที่นาแสนหนึ่ ง (100,000) เพื่อนําผลประโยชน์ถวายวัดนี้ และให้หมู่บา้ นอยู่ห่าง
จากกําแพงวัดด้านละ 20 วา ทุกด้าน
เจ้าหมื่นหลวงจ่าคํา และเจ้านางหมื่นซื่ อเจ้าจันทระภัทรา ทั้ง 2 มีศรัทธาในศาสนาสร้าง
อารามนี้ เป็ นต้นว่า วิหาร และเจดี ย ์ สิ้ นเงิน 192703 เงิ น (แกงแจก) สิ้ น 2000 ทานคนไว้เป็ น
ข้าวัด 20 ครอบครัว มีเจ้าเมืองแก้วเป็ นประธาน”38
ข้อความในศิลาจารึ กวัดศรี สุพรรณ เป็ นหลักฐานยืนยันว่าวัดศรี สุพรรณเป็ นศูนย์กลาง
ของชุ มชนแห่ งนี้ ที่ถูกสร้ างขึ้นในสมัยพระเมื องแก้ว หรื อพระยาแก้วกษัตริ ยร์ าชวงศ์มงั ราย
(พ.ศ. 2038 - 2068) ซึ่ งเป็ นยุคทองของล้านนาที่สืบต่อมาจากสมัยพระเจ้าติโลกราช (พ.ศ. 1984
- 2030) และพญายอดเชียงราย (พ.ศ. 2030 - 2038) ครั้งนั้นได้กลั ปนา ที่นาแปลงใหญ่และข้าวัด
จํานวน 20 ครัวให้วดั ศรี สุพรรณ เริ่ มต้นชุมชนวัดศรี สุพรรณอย่างเป็ นทางการตั้งแต่น้ นั มา
ยุคสมัยพม่าปกครอง ในสมัยพม่าปกครองเชี ยงใหม่ไม่พบหลักฐานร่ วมสมัยที่กล่าวถึ ง
ชุ มชนนี้ ส่ วนใหญ่คงได้รับการทํานุ บาํ รุ งเพราะยังมีร่องรอยทางศิลปะพม่า และมีร่องรอยของ
วัดร้ า งในชุ มชนนี้ ด้วย ในรัช สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชรั ชกาล
ที่ 1 แห่ งราชวงศ์จกั รี ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระเจ้ากาวิละขึ้นครองเมืองเชี ยงใหม่ ขณะนั้น
เมื องเชี ย งใหม่ ย งั คงเป็ นเมื องร้ า งที่ ไ ร้ ผูค้ นพระเจ้ากาวิล ะจึ งทําหน้าที่ส ร้ างบ้านแปลงเมื อง
เชียงใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยที่เชียงใหม่อยูใ่ นอิทธิ พลของพม่า พระเจ้ากาวิละไม่สามารถตั้งเมือง

38
ปรี ชาขัน ทนันต์ และคณะ “มรดกล้านนา ภูมิปัญญาท้องถิน่ 500ปี วัดศรี สุพรรณ” เชียงใหม่: เวียงพิงค์การพิมพ์ 2543
หน้า 9

50
เชี ย งใหม่ ไ ด้ท นั ที จึง เริ่ มด้วยการตั้ง มัน่ ที่ เวีย งป่ าซางก่ อน และตั้ง มัน่ อยู่ที่ น้ ันเกื อบ 20ปี ซึ่ ง
ระหว่างนั้น ก็ได้ไปกวาดต้อนผูค้ นจากที่ ต่าง ๆ มาสะสมไว้ที่เวียงป่ าซาง เพื่อรอฟื้ นฟูเมือง
เชียงใหม่ จึงเรี ยกว่ายุคว่า“เก็บผักใส่ ซ้า เก็บข้าใส่ เมือง”และสามารถเข้าตั้งเมืองเชี ยงใหม่ได้ใน
ปี พ.ศ. 2339ในเขตเชียงใหม่- ลําพูน จึงมี “ชุมชน” กลุ่มชาติพนั ธ์ต่างๆอย่างหลากหลาย
นอกจากนี้ ยงั ปรากฏหลักฐานการเข้ามาของชาวบ้านวัวลายในตํานานพื้นเมืองเชี ยงใหม่
ซึ่ งมีเนื้อความตอนหนึ่งว่า
“ถัดนั้นเจ้าเมืองอังวะซ้าแต่งหื้ อเจ้าฟ้ าคําเครื่ อง มาตั้งเมืองปุแถมเล่า พระเป็ นเจ้าได้รู้แล้ว
..จิ่งจักแต่งเจ้าสุ วณั ณะคํามูลตนเป็ นหลานคุมแกล้วหาญริ พล 300 คนขึ้นไพประจุโจมตีเอาเมือง
ปุ ฟ้ าคําเครื่ องอันเคราะห์จาํ กัมม์เทิงถูกลูกสี นาด ถูกเสี้ ยงชีวติ ไพ”
“เจ้าสุ วณั ณะคํามูลก็กวาดเอาลูกเมียฟ้ าคําเครื่ องและลูกบ่าวชาวไพร่ ลงมา แล้วก็เลยเข้าตี
เอาบ้านสะต๋ อย ส้อยไร่ ท่าช้าง บ้านนา บ้านท่งอ้อ งัวลาย ได้หมื่นขวางัวลายมาแล้วซํ้าเกณฑ์
ท้าวมหายักษ์คุมตาแก้วตาหานเข้าตีบา้ นสบแทง ได้หมื่นขัน หมื่นพรหม แลลูกล้อน คนครัวลง
มาใส่ บา้ นเมืองเป็ นข้าราชการ”39
ต่อมามีการกวาดต้อนชาวบ้านแขวงเมืองปั่ นได้เกิดอีกครั้งในสมัยพระเจ้าช้างเผือกธรรม
ลังกาเจ้าผูค้ รองเชี ยงใหม่องค์ที่ 2 ดังปรากฏในตํานานพื้นเมืองเชี ยงใหม่วา่ “สกราช 1180 ตัวปี
เปิ กยี เดือน 4 ออก 6 คํ่า(20 ธันวาคม 2361) พระเป็ นเจ้าช้างเผือกแต่งตั้งเจ้าสุ วณั คํามูลตนเป็ น
หลานคุมริ คนพันคนยกไปตีเมืองปั่ นได้อพยพครอบครัวใส่ บา้ นใส่ เมืองอีกครั้งหนึ่ง”40
โดยให้ผคู ้ นเข้ามาตั้งบ้านเรื อนอยูใ่ นเขตพื้นที่เมืองเชี ยงใหม่ส่วนชุ มชนวัดหมื่นสาร และ
วัดศรี สุพรรณได้นาํ ช่ างฝี มือเครื่ องเงิ นมาตั้งถิ่ นฐานรอบๆวัด เกิ ดเป็ นชุ มชนใหม่บนพื้นที่เดิ ม
สื บทอดมาจนถึงปัจจุบนั
ยุคสมัยเทศาภิบาล ได้มีการปฏิรูปการปกครองส่ วนภูมิภาคในรู ปแบบมณฑลเทศาภิบาล
และจัดการปกครองท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติปกครองท้องที่ ร.ศ.116 ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดย
มีการจัดพื้นที่บา้ นหมื่นสาร บ้านศรี สุพรรณ บ้านนันทาราม เป็ นตําบลแคว้นไร่ ยา แขวงเมือง
เชี ยงใหม่ ซึ่ งตรงกับสมัยพระเจ้ากาวิโลรสสุ ริยวงศ์เจ้าหลวงเชี ยงใหม่องค์ที่ 6 (พ.ศ. 2399 ถึง
พ.ศ. 2413) และสมัยพระเจ้า อิ นทวิช ยานนท์เจ้าหลวงเชี ยงใหม่ องค์ที่ 7 (พ.ศ. 2413 ถึ ง
พ.ศ. 2440) ในยุคก่อนสมัยเทศาภิบาล วัดยังเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ธรรมและแหล่งเรี ยนรู ้ของคนใน
ชุ มชน ที่ส่งบุตรหลานเข้าบวชเรี ยน สมัยเทศาภิบาลระยะแรกก็ยงั ให้บทบาทพระสงฆ์ในการ

39
“ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี ” เชียงใหม่: ศูนย์วฒั นธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
2538 หน้า 130 - 132
40
อรุ รัตน์ วิเชียรเขียว และเดวิดเค.วัยอาจ “ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่” เชียงใหม่: ซิลค์เวอร์ มบุคส์ 2543 หน้า 201

51
สอนหนังสื อที่วดั และชักชวนเด็กชายเข้าเรี ยนหนังสื อ โดยใช้ศาลาวัดเป็ นสถานที่เรี ยน ใน พ.ศ.
2464 หลังจากมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา ก็ได้มีการจัดตั้งโรงเรี ยนขึ้นที่วดั
ศรี สุพรรณ เมื่อ พ.ศ. 2466 เป็ นสถานศึกษาของการศึกษาระบบโรงเรี ยนที่ลูกชาวบ้านในชุมชน
วัดศรี สุพรรณ วัดหมื่ นสาร วัดนันทาราม วัดพวกเปี ย วัดพวกแต้ม วัดป่ าลานต่างมาเรี ยนกัน
ตั้งแต่น้ นั มา
ยุคสมัยสงครามโลก ในปี พ.ศ. 2484 - 2488 มีกองทัพญี่ ปุ่นเข้ามาพักและใช้พ้ืนที่
ใกล้เคียงชุมชนวัดศรี สุพรรณเป็ นที่ต้ งั ของโรงพยาบาลทหาร หรื อบริ เวณสํานักงานศูนย์บาดาล
ในปั จจุบนั ในปี พ.ศ.2484 มีพระจําพรรษาที่วดั ศรี สุพรรณ 2 รู ปสามเณรประมาณ 3 รู ป ในปี
พ.ศ. 2486 ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 มีทหารญี่ปุ่นเข้ามาอาศัยภายในวัด ขณะนั้นมีพระมหา
คําขนติโลเป็ นเจ้าอาวาสได้อพยพไปอยู่บา้ นแม่ข่าน้อย โดยมีพ่อหนานสิ งห์คาํ เดชะไปปลู ก
กระท่อมให้อยูท่ ี่บา้ นและกลับมาเยีย่ มวัดเป็ นครั้งคราว41
ในช่ วงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ทหารญี่ปุ่นได้ใช้วดั เป็ นที่ต้ งั กองทหาร ภายในวัดใช้
เป็ นที่ กกั ขังเชลยสงคราม โดยที่ทหารญี่ ปุ่นจะขุดหลุ มหลบภัยเพื่อใช้เป็ นที่กาํ บังสายตาของ
นัก บิ น ฝ่ ายสั ม พัน ธมิ ต ร ด้า นหน้า วัด ภายนอกกํา แพงเป็ นที่ ต้ งั โรงม้า หน่ ว ยส่ ง กํา ลัง บํา รุ ง
ชาวบ้านต่างพากันอพยพลี้ ภยั สงครามไปอาศัยอยู่ตามอํา เภอรอบนอกที่ ห่า งไกล ต่ อมาเมื่ อ
ทหารญี่ปุ่นได้ประกาศยอมแพ้สงคราม เหตุการณ์สงบเป็ นปกติแล้ว ชาวบ้านต่างก็เดินทางกลับ
ภูมิลาํ เนาเดิ ม ได้มาช่ วยกันบูรณะซ่ อมแซมสิ่ งปลู กสร้ างต่างๆ ภายในวัดหลายครั้ งหลายหน
โดยมีเจ้าอาวาสแต่ละยุคสมัย เป็ นผูน้ าํ ศรัทธาชาวบ้าน42
พ.ศ. 2506 รัฐบาลมีคาํ สั่งให้โอนโรงเรี ยนชั้นประถมในเขตเทศบาล ขึ้นสังกัดเทศบาล
นครเชี ย งใหม่ ใ นสมัย นั้น พ.ศ. 2500 – 2510 พระอธิ ก ารบุ ญชุ ม สุ นันโท เจ้าอาวาส
วัดศรี สุพรรณ และ ครู เอื้อน คลังวิเชี ยร เป็ นครู ใหญ่ ได้หาเงินเพื่อสร้ างอาคารเรี ยน 2 ชั้นแล้ว
เสร็ จในปี พ.ศ. 2507 ทรัพย์สินทั้งหมดบนพื้นที่วดั ได้เป็ นของรัฐที่มอบให้องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่นคือเทศบาลนครเชี ยงใหม่ดูแลแทนวัด ซึ่ งในปี พ.ศ. 2519 – 2521 โรงเรี ยนแห่ งนี้ ก็ได้
อาคารเรี ยน 3 ชั้น43

41
“มรดกล้านนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น 500ปี วัดศรี สุพรรณ” คําตัน ไชยคําเรื อง ย้อนรอยอดีต เชียงใหม่: เวียงพิงค์การพิมพ์
2543 หน้า 11
42
“มรดกล้านนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น 500ปี วัดศรี สุพรรณ” บุญมี ฟองตัน ความทรงจําในอดีต เชียงใหม่: เวียงพิงค์การ
พิมพ์ 2543 หน้า 23
43
สมโชติ อ๋ องสกุล และคณะ รายงานการวิจยั “การสื บค้นหลักฐานทางการศึกษาในล้านนา: ชุมชนช่างในเวียงเชียงใหม่
กรณี เครื่ องเงินและเครื่ องเขิน” เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2545 หน้า 29

52
ปี พ.ศ. 2534 ชุ ม ชนเครื่ องเงิ นสองฟากฝั่ ง ถนนวัวลาย คื อ ชุ ม ชนศรี สุ พ รรณ และ
ชุ มชนหมื่นสาร ได้รับงานชิ้นสําคัญ คือ การทําสลุงหลวงนํ้าหนักเงินสุ ทธิ 536 บาท เพื่อเฉลิม
พระเกี ยรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาสยามบรมราชกุมารี ฯพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่
2 เมษายน 2534 เป็ นการฟื้ นตัวของชุ มชนช่ างเงิ นบนถนนวัวลาย มี การรวมตัวเป็ นคณะ
ทําเครื่ องเงินบ้านวัวลายสามัคคี

ภาพที่ 4.5
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพร้อมด้วย
พระราชอาคันตุกะ สมเด็จพระเจ้ากรุ งเดนมาร์ ค และสมเด็จพระราชินีอินกริ ด แห่งกรุ งเดนมาร์ ค
วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2505
เสด็จทอดพระเนตรการค้าเครื่ องเงินที่ร้านเงินดี ของนายปรี ดา-นางเรื อนแก้ว พัฒนถาบุตร

ปี ต่อมา พ.ศ. 2535 มีงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชิ นีนาถทรงเจริ ญ


พระชนมพรรษา 5 รอบ ชุมชนเครื่ องเงินบนถนนวัวลายได้รับงานสําคัญให้ทาํ สลุงหลวง “แม่”
น้อมเกล้าถวาย นํ้าหนักเงินสุ ทธิ 2,535 บาท เส้นผ่าศูนย์กลาง 109 เซนติเมตร เส้นรอบวง 339
เซนติเมตรพร้ อมฐานรองรับเป็ นไม่สักสลักรู ปช้าง 4 เศียร ลงรักปิ ดทองสู ง 140 เซนติเมตร
เสร็ จแล้วมีพิธีทูลเกล้าฯถวายบนตําหนักภูพิงค์อย่างยิง่ ใหญ่ ตระการตา
ในพ.ศ. 2539 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครองราชย์ครบ 50 พรรษามีพิธีกาญจนา
ภิเษก และเป็ นปี ที่เชียงใหม่จดั งานสมโภช 700 ปี เชี ยงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่นาํ โดยนายพลากร

53
สุ วรรณรัฐ เป็ นผูว้ า่ ราชการจังหวัดได้เตรี ยมการสร้างสลุงหลวง “พ่อ” เพื่อทูลเกล้าฯถวาย โดย
ใช้เงินบริ สุทธิ์ นํ้าหนัก2,999บาท เส้นผ่าศูนย์กลาง 139 เซนติเมตร สู ง 69 เซนติเมตร เส้นรอบ
วง 439 เซนติเมตร ฐานรองรับเป็ นไม้สักแกะสลักรู ปช้าง 4 เศียรรวมความสู งจากฐานถึ ง
ขอบสลุ ง 199 เซนติ เมตร ลงรั ก ปิ ดทอง มี ล ายประดับเป็ นรู ปบัวควํ่าบัวหงาย ดอกพุ ดตาน
ลายประจํายาม และลายก้านขด
กิจกรรมทั้งสามรายการทําให้ “สล่าคัวเงิน” เกิดความตื่นตัวที่จะเผยแพร่ และชุ มชนต่างมี
ความภู มิ ใ จ ทํา ให้ชุ ม ชนทั้ง สองฟากถนนคื อชุ ม ชนวัดศรี สุ พรรณ และ ชุ ม ชนวัดหมื่ นสาร
มีความเคลื่ อนไหวเตรี ยมทํากิจกรรมเพื่อชุ มชน และเป็ นต้นกําเนิ ดของงาน “กาดหมั้ว คัวเงิน
คัวฮัก คัวหาง” 44
โดยในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการรวมตัวกันครั้ งของ 3 ชุ มชนได้แก่ ชุ มชนวัดศรสุ พรรณ
ชุมชนหมื่นสารบ้านวัวลาย และชุ มชนนันทารามร่ วมกันจัดกิจกรรมส่ งเสริ มภูมิปัญญาท้องถิ่น
หมุนเวียนกันจัดงานตามวัดในแต่ละชุมชน โดยจัดครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 1-2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
งาน “กาดหมั้วคัวเงิ น คัวฮัก คัวหาง” ที่วดั ศรี สุพรรณ ครั้งที่ 2 จัดงาน “กาดม่วน คัวเงิน คัวฮัก
คัวหาง” ที่วดั หมื่นสาร ระหว่างวันที่ 6-7 ธันวาคม พ.ศ. 2545 และครั้งที่ 3 จัดงาน “กาดคัวเงิน
คัวฮัก คัวหาง” ที่วดั นันทาราม ระหว่างวันที่ 6-4 มกราคม พ.ศ. 2546 หลังจากนั้นในปลายปี
พ.ศ. 2547 เทศบาลนครเชี ยงใหมก็ได้ผลักดันให้มีการจัดกิจกรรม “ถนนคนเดินวัวลาย” ทุกๆ
วันเสาร์ และจัดเรื่ อยมาจนถึ งปั จจุบนั กิ จกรรมดังกล่ าวมี ส่วนทําให้ชาวบ้านวัวลายได้มีการ
ตื่นตัวอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญาการทําเครื่ องเงิน และได้หนั มาพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑ์
ให้เป็ นที่ยอมรับของตลาดในยุคปั จจุบนั และประสบความสําเร็ จด้วยดี สร้างรายได้และอาชี พ
ให้กบั ชุ มชนเป็ นอย่างดี และสามารถฟื้ นฟูบา้ น วัวลายให้ฟ้ื นกลับคืนมาเป็ นหมู่บา้ นเครื่ องเงิ น
ซึ่ งเป็ นที่รู้จกั ของนักท่องเที่ยวดังเดิมได้45

4.1.3 ลักษณะชุ มชน อาคารบ้ านเรือน และสถานทีส่ าคัญ


ชุมชนวัวลาย ซึ่ งประกอบด้วยสองชุ มชนคือ ชุ มชนวัดศรี สุพรรณ มี ประชากรอาศัยอยู่
จํานวนรวม352 ครัวเรื อนตั้งอยู่บนถนนทิพย์เนตรจํานวน 13 ครัวเรื อน ถนนทิพย์เนตรซอย 1
จํานวน 30 ครัวเรื อน ถนนทิพย์เนตรซอย 2 จํานวน 37 ครัวเรื อน ถนนวัวลาย จํานวน 108
ครัวเรื อน ถนนวัวลายซอย 2 จํานวน 89 ครัวเรื อน ถนนวัวลายซอย 2ก จํานวน 16 ครัวเรื อน

44
สมโชติ อ๋ องสกุล และคณะ เรื่ องเดียวกัน หน้า 29 - 30
45
จิราวรรณ กาวิละ โอคาโมโตะ “วัดหมื่นสาร บ้านวัวลาย สายธารวัฒนธรรมชุมชน” เชียงใหม่: ทรี โอแอดเวอร์ ไทซิ่ง
แอนด์มีเดีย 2553 หน้า 52

54
ถนนวัวลายซอย 6 จํานวน 28 ครัวเรื อน ถนนช่างหล่อจํานวน 31 ครัวเรื อน และชุมชนหมื่นสาร
บ้านวัวลายมีประชากรอาศัยอยู่จาํ นวนรวม 354 ครัวเรื อนตั้งอยู่บน ถนนวัวลาย จํานวน 52
ครัวเรื อน ถนนวัวลายซอย 1 จํานวน 73 ครัวเรื อน ถนนวัวลายซอย 3 จํานวน 73 ครัวเรื อนถนน
วัวลายซอย 4 จํานวน 68 ครัวเรื อน ถนนวัวลายซอย 5 จํานวน 42 ครัวเรื อน ถนนนันทาราม
จํานวน 46 ครัวเรื อนรวมประชากรชุมชนวัวลายทั้งสิ้ น706 ครัวเรื อน
บ้านเรื อนส่ วนใหญ่สร้ างด้วยการก่ออิฐฉาบปูน ประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ
ชาวบ้านวัวลายแต่เดิมแทบทุกหลังคาเรื อน มีอาชีพการทําเครื่ องเงิน แต่ปัจจุบนั เนื่องด้วยปั ญหา
เศรษฐกิจ ทําให้ชาวบ้านที่มีอาชีพทําเครื่ องเงินส่ วนใหญ่ หันไปประกอบอาชี พอื่น เช่น รับจ้าง
ค้าขายแต่ก็ยงั มีชาวบ้านบางส่ วนที่ยงั คงประกอบอาชี พการทําเครื่ องเงิน ในพื้นที่ต้ งั ของชุ มชน
ส่ วนใหญ่เป็ นบ้านเรื อนของชาวบ้าน มีสถานกงสุ ลใหญ่แห่ งสาธารณรัฐประชาชนจีนประจํา
เชี ยงใหม่อยู่ติดกับถนนช่ างหล่ อ โดยทัว่ ชุ มชนยังมี ชาวบ้านประกอบธุ รกิ จร้ านค้าเครื่ องเงิ น
โรงงาน ทําเครื่ องเงิน และหอพักขนาดเล็ก บนถนนสายหลักนั้นมีร้านค้าเครื่ องเงินเรี ยงรายอยู่
สองข้างทาง สลับไปด้วยบ้านเรื อน ร้านค้า ร้านอาหาร อาคารพาณิ ชย์ และโรงแรม ในบริ เวณ
ชุ มชนวัวลายยังมี วดั ตั้งอยู่ส องแห่ ง คื อ วัดหมื่ นสาร และวัดศรี สุ พรรณ มี โรงเรี ยนตั้ง อยู่ใ น
ชุมชนเพียงแห่งเดียว คือ โรงเรี ยนเทศบาลวัดศรี สุพรรณ สภาพสังคม ส่ วนใหญ่มีความสัมพันธ์
ทางเครื อญาติ และรู ้จกั กันเกื อบทั้งชุ มชนมีกลุ่มและองค์กรดําเนินการทางวัฒนธรรมต่างๆ ที่มี
การพึ่ ง พาอาศัย กั น และทํา กิ จ กรรมต่ า งๆร่ วมกั น อยู่ เ สมอ เช่ น กลุ่ ม หั ต ถศิ ล ป์ ล้ า นนา
วัดศรี สุพรรณ กลุ่มฮ่วมเฮียนศิลป์ กลุ่มชมรมช่ างเครื่ องเงินและแผ่นภาพหมื่นสารบ้านวัวลาย
กองทุนวิสาหกิจชุมชน เป็ นต้น

4.1.4 แหล่งผลิตและจาหน่ ายเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย


สภาพการค้า ขายเครื่ อ งเงิ น ของหมู่ บ ้า นวัว ลายในอดี ต สองข้า งทางถนนวัว ลายยัง
ไม่ปรากฏร้านค้าที่จาํ หน่ายเครื่ องเงินดังเช่นในปั จจุบนั ทุกๆครัวเรื อนในหมู่บา้ นวัวลายมีอาชี พ
ในการทําเครื่ องเงิน ทุกบ้านจะมีโรงงานทําเครื่ องเงิ นขนาดเล็กประจําบ้านที่เรี ยกว่า “เตาเส่ า”
ครอบครัวช่ างเงิ นซึ่ งประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก จะช่ วยกันผลิ ตสิ นค้าเครื่ องเงิ นเพื่อใช้สอยใน
ชีวติ ประจําวันหรื อเพื่อการค้า ของที่ทาํ ส่ วนใหญ่ได้แก่ สลุง ขันล้างหน้า ถาด พาน เป็ นต้น เมื่อ
ทําเสร็ จก็จะนําสิ นค้าไปส่ งให้กบั ลูกค้าที่สั่งทําในที่ต่างๆ ทั้งในจังหวัดเชียงใหม่และต่างจังหวัด
หรื อนําไปขายให้กบั ผูท้ าํ หน้าที่เป็ นพ่อค้าคนกลางในหมู่บา้ น เพื่อนําไปขายยังที่ต่างๆ ทั้งใน
เชี ยงใหม่และต่างจังหวัด การชําระค่าสิ นค้านอกจากชําระเป็ นเงินสดแล้วยังมีการชําระเป็ น

55
โลหะเงิ นแท่ ง เงิ นฮาง หรื อเงิ นรู ปี เพื่ อ นํา มาเป็ นวัตถุ ดิ บ ในการผลิ ตเป็ นสิ นค้า และนํา ไป
จําหน่ายต่อไป46
ช่วงก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 การค้าเครื่ องเงินของชาวบ้านวัวลายจะมีลกั ษณะ “ป๊ ก
ครัวไปขาย” คือเมื่อทําเครื่ องเงินเสร็ จแล้ว ก็จะห่อเครื่ องเงินด้วยผ้า หรื อใส่ กระบุง หิ้ วหรื อหาบ
ไปขายตามหมู่บา้ นต่างๆในตัวเมื องเชี ยงใหม่ และอําเภอรอบนอก มี ท้ งั การเดิ นทางด้วยเท้า
เกวียน รถถีบ หรื อรถจักรยาน โดยใช้วิธีเดินเท้า โดยจะผูกของติดไว้ทา้ ยรถ ถีบขายไปเรื่ อยๆ
หรื อบางครั้งก็นงั่ เกวียนไปแต่ถา้ ไปขายในท้องที่อาํ เภอห่ างไกลเช่น อําเภอ พร้าว ฝาง เชียงดาว
ก็ จ ะเดิ น ทางโดย รถบรรทุ ก ประจํา ทาง แพ และรถไฟ และมี ช่ า งทํา เครื่ อ งเงิ น บางคนนํา
เครื่ องมือเครื่ องใช้ เดินทางไปรับจ้างตามจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคเหนื อ ซึ่ งระยะเวลาขึ้นอยูก่ บั
ความยากง่ายของงานที่รับจ้างและ สถานที่ๆไปรับจ้าง บางครั้งใช้เวลานานแรมเดือน ทําให้ช่าง
ทํา เครื่ องเงิ นบางคนแต่ ง งานและมี ค รอบครั วในระหว่า งเดิ น ทางไปรั บ จ้า ง ทํา ให้เ กิ ด การ
เคลื่อนย้ายที่อยูแ่ ละเกิดสร้างสัมพันธ์ทางสังคมขึ้นก่อให้เกิดการเดินทางหาสู่ เพื่อเยี่ยมญาติมิตร
และเกิดการค้าขายเครื่ องเงินผ่านทางเครื อญาติในเวลาต่อมา
ก่ อนเกิ ดสงครามโลกครั้ งที่ 2 ได้เ กิ ดร้ า นค้า ครั ว เงิ น บนถนนวัว ลายร้ า นแรกคื อร้ า น
กันทวงศ์ ของนางหมูและนายน้อย แก้วสองสี และหยุดกิจการชัว่ คราวในช่วงสงครามโลกครั้ง
ที่ ส อง ครั้ นสิ้ น สงครามนางหมู แก้ว สองสี ไ ด้แ ยกมาตั้ง ร้ า นแก้ว สองสี ส่ ว นญาติ ต้ ัง ร้ า น
เชี ย งใหม่ หั ต ถกรรมขึ้ น จากนั้ น ก็ มี ร้ า นบัว จัน ทร์ ของนางบัว จัน ทร์ แ ละนายดาบแดง
พัฒ นถาบุ ต ร ร้ า นเงิ น ดี ข องนางจัน ทร์ ดี และนายลพ ร้ า นขจี ศิ ล ป์ ของนางบัว เขี ย วและ
นายอินทร์ ดํารงฤทธิ์ ร้านค้าเครื่ องเงินดังกล่าวถือเป็ นร้านค้ายุคแรกของถนนวัวลาย ต่อมาบาง
ร้านก็เลิกกิจการ และมีการตั้งเพิ่มขึ้นในยุคที่การค้า “ครัวเงิน” ถนนวัวลายเจริ ญสู งสุ ด ในช่วง
พ.ศ.2512-2530 เช่น ร้ านเงิ นเชี ยงใหม่ ร้ านเงิ นทองเชี ยงใหม่แอนติค ร้ านจิโนรส (ต่อมาคือ
ร้านวัวลายศิลป์ ) ฯลฯ47
การค้าเครื่ องเงินในอดีตนั้นนับได้วา่ สตรี มีบทบาทอย่างมากในการนําสิ นค้าออกขายใน
จังหวัดเชี ยงใหม่และใกล้เคียง ต่อมานางหมู แก้วสองสี ได้เดิ นทางออกร้ านในงานต่างๆเช่ น
งานฤดูหนาว งานส่ งเสริ มสิ นค้าหัตถกรรมที่จดั ในนานจังหวัดเชี ยงใหม่และในนามกระทรวง
อุตสาหกรรม และงานเทศกาลต่างๆในอีกหลายจังหวัดทั้งยังเป็ นผูช้ กั นําลูกค้าจากภูมิภาคต่างๆ
เข้ามายัง ชุ มชนวัวลาย ในราวปี พ.ศ. 2515-2520 นายดวงจันทร์ สุ วรรณเนตร ผูก้ ่ อตั้งร้ า น

46
จิราวรรณ กาวิละ โอคาโมโตะ เรื่ องเดียวกัน หน้า 38
47
สมโชติ อ๋ องสกุล “การสื บค้นหลักฐานทางการศึกษาในล้านนา” เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2545 หน้า 41

56
สยามซิ ล เวอร์ แวร์ ได้ดาํ เนิ น ธุ รกิ จการขายผ่า นบริ ษ ทั ท่ องเที่ ย ว โดยมี ก ารจ่ า ยค่ า นายหน้า
เช่นเดียวกับร้านค้าในย่านธุ รกิจอื่นๆด้วย
การเติ บ โตของธุ ร กิ จ การค้ า เครื่ องเงิ น เป็ นผลสื บเนื่ อ งมาจากรั ฐ บาลเร่ งสร้ า ง
ปั จจัยพื้นฐาน ในปี พ.ศ. 2504 เช่นถนนเส้นทางหลวงสายกรุ งเทพ – เชี ยงใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2513
โดยเฉพาะ ผลจากการประชุม PATA (Pacific Asia Travel Association) ครั้งที่ 9 ของสมาคม
ส่ งเสริ มการท่ อ งเที่ ย วภู มิ ภ าคแปซิ ฟิ ค เมื่ อ ปี พ.ศ.2512 ณ หอประชุ มคณะแพทย์
มหาวิ ท ยาลัย เชี ย งใหม่ ทํา ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วและมี ก าร
สนับสนุนให้ผลิตสิ นค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน เพื่อตอบสนองการท่องเที่ยวที่ขยายตัวมากขึ้น
ในขณะเดียวกันเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2512 ได้มีความคิดริ เริ่ มนําผลิตภัณฑ์อลูมิเนี ยมทํา
เลียนแบบเครื่ องเงิน เนื่ องจากแร่ เงิ นที่ใช้เป็ นวัตถุ ดิบในการผลิตเครื่ องเงินมีราคาแพง แร่ เงิ น
หายากมากขึ้น การนําเอาวัสดุประเภทอลูมิเนี ยมมาใช้แทนเงินเพื่อให้มีราคาถูกลง สะดวกและ
ปลอดภัย ในการใช้ง าน ได้มี ก ารผลิ ต ภาชนะอลู มิ เ นี ย มสํ า เร็ จ รู ป จากโรงงานในจัง หวัด
สมุทรปราการ จําพวกสลุง พาน ถาด เลียนแบบภาชนะเครื่ องเงินโดยส่ งให้ช่างเงินบ้านวัวลาย
ต้องลายโดยมีกรรมวิธีการผลิตเหมือนการทําเครื่ องเงิน เสร็ จแล้วก็จะนําไปชุ บสี เงินเพื่อให้มีสี
แวววาวแบบเครื่ องเงินบ้านวัวลาย ซึ่ งได้รับความนิยมจากผูซ้ ้ื อมาก ในช่วงแรกๆได้มีการติดต่อ
ช่างเงิ นหลายรายไปทํางานที่โรงงานแถวอําเภอพระประแดงสําโรงใต้ จังหวัดสมุทรปราการ
ซึ่ งช่ างเงิ นเหล่านั้น ได้แก่ นายบุ ญศรี จิโนรส, นายอิ นสอน เทพมงคล, นางคําป้ อ เทพมงคล,
นายสุ ภาพ เจริ ญภักดี, นายมานพ ชัยแก้ว ฯลฯ และช่างเงินอื่นๆอีกหลายราย48
นอกจากนั้นยัง มี ก ารนํา เอาเครื่ องเงิ นและอลู มิ เนี ย มมาจ้างช่ า งเครื่ องเงิ นบ้า นวัวลาย
ดุนลวดลายด้วย จากคําบอกเล่าแม่ประไพร ไชยวุฒิ เจ้าของบ้านไชยวุฒิ “เมื่อก่อนมีพ่อค้าคน
จีนนําเครื่ องเงิน และเครื่ องอลูมิเนียมที่ข้ ึนรู ปจากโรงงาน มีรูปร่ างคล้าย สลุง หรื อขัน เข้ามาจ้าง
ชาวบ้าน ตอกตกแต่ งลวดลาย เอาทีล ะมากๆ เป็ นกระสอบๆ กระสอบละห้าสิ บใบ มีหลาย
พันใบ ช่างทําไม่ทนั ต้องเอา คนมาฝึ กทําเครื่ องเงินที่บา้ นด้วย รวมแล้วเกือบ30คน บางคนก็พกั
นอนอยูท่ ี่บา้ น บางคนก็ไปกลับ เดินมาก็มี ขี่รถมาก็มี” 49
ต่อมาการค้า เครื่ องเงิ นวัวลายเริ่ มฝื ดเคื อง อันเนื่ องมาจากการส่ งเสริ มให้มีก ารลงทุ น
ทางด้านหัตถกรรมหลายอย่างในเขตอําเภอสันกําแพง เช่น โรงงานแกะสลักไม้ ทําร่ มกระดาษ
สา ทอผ้าไหม ผ้าฝ้ าย ทําเครื่ องเงิน เครื่ องเขิน โดยเริ่ มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เป็ นต้นมา พร้อมกับที่

48
จิราวรรณ กาวิละ โอคาโมโตะ เรื่ องเดียวกัน หน้า 48
49
สัมภาษณ์ แม่ประไพร ไชยวุฒิ เจ้าของบ้าน ไชยวุฒิ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญา
งานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 19 เมษายน พ.ศ. 2557)

57
ทางการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย(ททท.) และจังหวัดเชี ยงใหม่ตอ้ งการสนับสนุ นให้หมู่บา้ น
สองฟากถนนสันกําแพงเป็ นแหล่ งผลิ ตของที่ ระลึ กแห่ งใหม่เพื่อตอบสนองการขยายตัวของ
ธุ รกิจการท่องเที่ยวที่ตอ้ งการสิ นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านมากขึ้น ประมาณปี พ.ศ. 2518 เป็ นต้นมา
กิ จการผลิ ตภัณฑ์หัตถกรรมพื้นบ้าน เช่ น เครื่ องเงิ น เครื่ องเขิน จึงได้ขยายตัวไปยังถนนสาย
เชี ยงใหม่ -สั นกํา แพง ซึ่ งได้มีก ารลงทุ นก่ อตั้ง โรงงานสาธิ ตกระบวนการผลิ ตเครื่ องเงิ นทุ ก
ขั้นตอน พร้อมทั้งได้วา่ จ้างช่างฝี มือทําเครื่ องเงินบ้านวัวลายหลายคนไปเป็ นลูกจ้างในโรงงานที่
สันกําแพง และในช่ วงปี พ.ศ. 2527 ธุ รกิ จการค้าสิ นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านในย่านสันกําแพงมี
การขยายตัวและคึกคักมากยิ่งขึ้น เนื่ องจากบริ ษทั นําเที่ยวนิ ยมพานักท่องเที่ยวไปที่สันกําแพง
เพียงแห่ งเดี ยวโดยได้รับ ผลประโยชน์จากเปอร์ เซ็ นต์การขายสิ นค้าจากนายทุ นเจ้า ของร้ า น
พร้อมกันนั้นที่สันกําแพงก็มีความสะดวกมากกว่าในด้านสถานที่ต้ งั โดยมีพ้ืนที่ทาํ เลกว้างขวาง
รถทัศนาจรสามารถพานักท่องเที่ยวไปเยี่ยมชมได้ถึงโรงงานแหล่งผลิต ไม่มีปัญหาเรื่ องที่จอด
รถและความคับแคบของถนนดังเช่นย่านวัวลาย50
จากปั จจัยดังกล่าวส่ งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของชุ มชนวัวลาย ทําให้ช่างจํานวนมากต้อง
ไปเป็ นแรงงานรั บ จ้า งในโรงงานที่ สั น กํา แพงเนื่ อ งจากมี รายได้ที่ แ น่ น อนกว่า ทํา ให้ ร้ า น
เครื่ องเงินหลายแห่งขาดแคลนแรงงานช่างฝี มือและหลายแห่งต้องปิ ดกิจการลง
ภายหลังประมาณปี พ.ศ. 2530-2535 เป็ นต้นมา เศรษฐกิ จไทยเริ่ มกระเตื้ องขึ้น เริ่ มมี
นักท่องเที่ยวเดินทางจับจ่ายใช้สอยกันมากขึ้น และผูซ้ ้ื อชาวไทยก็เริ่ มมีกาํ ลังซื้ อมากขึ้น ร้านค้า
เครื่ องเงินย่านถนนวัวลายเริ่ มคึกคักขึ้นมาอีกครั้ง จึงได้มีการก่อตั้งร้านค้าขึ้นอีกหลายๆร้านทั้ง
บนถนนวัวลายสายหลักและในหมู่บา้ น มีการตั้งโรงงานขนาดย่อมภายในร้านเพื่อสาธิ ตการทํา
เครื่ อ งเงิ น ให้ นัก ท่ อ งเที่ ย วได้ช มด้ว ย ได้แ ก่ ร้ า นสยามซู เ วเนี ย ร์ ร้ า นลายไทย ร้ า นเฉลี ย ว
เครื่ องเงิน ร้านเงินทองยนต์ เป็ นต้น51
ปั จจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงเกิ ดขึ้น คือราคาที่ดินในเขตตัวเมืองเชี ยงใหม่สูงขึ้นประกอบ
กับการขยายครอบครัวชาวบ้านดั้งเดิ มหลายคนจึงตัดสิ นใจขายที่ดินให้แก่นายทุน แล้วย้ายไป
อยู่ อ าศัย ในพื้ น ที่ น อกเมื อ ง ทํา ให้ เ กิ ด การลงทุ น พัฒ นาพื้ น ที่ เ ป็ นหอพัก อาคารพาณิ ช ย์
เกสต์เฮาส์ ร้ านอาหาร และโรงแรม แทนการลงทุนในการด้านการผลิตและค้าขายเครื่ องเงิ น
ส่ วนร้ านค้า เครื่ องเงิ น ที่ เหลื ออยู่ใ นปั จจุ บนั มี จาํ นวนทั้ง หมด22ร้ า น โดยแบ่ ง เป็ นฝั่ งชุ ม ชน
วัดหมื่นสารบ้านวัวลาย 16 ร้าน และฝั่งชุมชนวัดศรี สุพรรณ 6 ร้านดังนี้

50
“เจ็ดทศวรรษ:ราชภัฏเชียงใหม่กบั งานสื บสานวัฒนธรรม” ชูสิทธิ์ ชูชาติ การท่องเที่ยวกับการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม
ของชาวเชียงใหม่ เชียงใหม่:สถาบันราชภัฏเชียงใหม่ 2538 หน้า 60
51
จิราวรรณ กาวิละ โอคาโมโตะ เรื่ องเดียวกัน หน้า 50

58
ภาพที่ 4.6 บริ เวณด้านหน้าของวัดหมื่นสาร

ชุมชนวัดหมื่นสารบ้านวัวลาย
1) ร้านหิ รัญญากร เป็ นกิจการขนาดกลาง เริ่ มเปิ ดดําเนิ นกิ จการมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.
2513 โดยมีพี่สาวของคุณบุญศรี เป็ นผูก้ ่อตั้งและคุณบุญศรี ก็มารับช่วงต่อ ทางร้านรับทํา
เครื่ องเงินตามคําสั่งซื้ อของลูกค้า โดยจะมีการรับงานแล้วจ้างช่างฝี มือในชุ มชนผลิตงาน
โดยสิ นค้าของทางร้านได้แก่ เครื่ องใช้ เช่น สลุง ถาด กานํ้า และเครื่ องประดับ
2) ร้ านพิมพ์ไพริ น เป็ นกิ จการขนาดกลาง โดยเริ่ มเปิ ดดําเนิ นกิ จการมาตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2530 โดยมี คุณพ่อของคุ ณไพโรจน์ เป็ นผูก้ ่ อตั้งกิ จการ และต่อมาเมื่ อคุ ณพ่ออายุ
มากขึ้น คุ ณไพโรจน์ ก็เข้ามารับกิจการต่อจากคุ ณพ่อ สิ นค้าของทางร้ านส่ วนใหญ่เป็ น
เครื่ องประดับซึ่งมีหลากหลายแบบให้เลือก
3) ร้านดํารงศิลป์ เป็ นกิจการขนาดกลาง เริ่ มจัดตั้งกิจการเมื่อปี พ.ศ. 2507 โดย
คุ ณอํา ภา ดํา รงฤทธิ์ สิ นค้า ของทางร้ า นคื อ เครื่ องใช้ เช่ น สลุ ง ขันเงิ น ถาดเงิ น และ
เครื่ อ งประดับ ซึ่ งมี ค วามหลากหลาย โดยจุ ด เด่ น ของร้ า นคื อ การตกแต่ ง ร้ า นแบบ
ศาลาไทย ซึ่งมีความเป็ นเอกลักษณ์
4) ร้านเงินเชี ยงใหม่ เริ่ มเปิ ดดําเนิ นกิจการมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2504 โดยคุ ณพ่อและ
คุ ณแม่ ของคุ ณฐิ ติรัตน์ เป็ นผูก้ ่ อตั้ง กิ จการ โดยในอดี ตทางกิ จการมี โรงงานผลิ ตเอง
แต่ในปั จจุ บนั ช่ างรุ่ นใหม่มีจาํ นวนลดน้อยลง จึ งต้องสั่งทําจากช่ างฝี มื อในชุ มชนและ

59
บางส่ วนก็ รั บ ซื้ อจากแหล่ ง อื่ น สิ นค้ า ของทางร้ า นมี ท้ ั งขัน เงิ น ถาด พาน และ
เครื่ องประดับที่ทนั สมัยและเข้ากับแต่ละยุค
5) ร้ านวัวลายซู วีเนี ย ร์ เป็ นกิ จการขนาดกลาง เริ่ ม เปิ ดดําเนิ นกิ จการมาตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2533 จําหน่ ายเครื่ องเงิ นทั้งเครื่ องประดับ และเครื่ องใช้ประเภทต่างๆ โดยรั บ
สิ นค้าจากช่างฝี มือในย่านวัวลายมาจําหน่าย และรับผลิตสิ นค้าตามคําสั่งซื้ อของลูกค้า
6) ร้ า นชมชื่ น เริ่ ม เปิ ดดํา เนิ นกิ จการมาตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2516 โดยมี คุ ณแม่ ข อง
คุณปิ ยาลักษณ์ เป็ นผูก้ ่อตั้งกิจการและปั จจุบนั คุณปิ ยาลักษณ์ ได้สืบทอดกิจการของทาง
ร้านต่อ ทางกิ จการมีโรงงานเป็ นของทางร้ านเองโดยเป็ นการร่ วมผลิ ตกันในครอบครัว
โดยสิ น ค้า ของทางร้ า นมี ค วามหลากหลายทั้ง เครื่ อ งใช้เ ช่ น ขัน เงิ น ถาด พาน และ
เครื่ องประดับที่มีรูปแบบหลากหลายทั้งทันสมัยและแบบโบราณ
7) ร้านดวงใจซิ ลเวอร์ แวร์ คุณดวงใจ ปทุมาสู ตร เป็ นทายาท รุ่ นที่ 4 ที่สืบทอดการ
ทํา เครื่ อ งเงิ น จากรุ่ น สู่ รุ่ น โดยคุ ณ ปู่ และคุ ณ ย่า ซึ่ งมี อ าชี พ การทํา เครื่ อ งเงิ น มาจาก
บรรพบุรุษที่อพยพมาตั้งรกรากอยูแ่ ถวย่านวัวลาย
8) ห้างหุ ้นส่ วนสามัญเงิ นทองยนต์ เชี ยงใหม่ เป็ นกิ จการขนาดกลาง มีการผลิ ต
สิ นค้า และจัดจํา หน่ า ยเอง รวมทั้ง รั บ ผลิ ตตามคํา สั่ ง ซื้ อของลู ก ค้า โดยคุ ณทองยนต์
วงษ์วิชาสวัสดิ์ เริ่ มทํากิจการเมื่อ พ.ศ. 2533 สิ นค้าของร้านได้แก่ เครื่ องประดับ แจกัน
เครื่ องใช้ เชิงเทียน เป็ นต้น
9) ร้านพรสวรรค์ ซู วีเนี ยร์ เป็ นกิ จการขนาดใหญ่ เริ่ มเปิ ดดําเนิ นกิ จการมาตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2523 โดยมีคุณตา ของคุณธี รวัสฏ์ เป็ นผูก้ ่อตั้งกิจการ สิ นค้าของทางกิ จการส่ วน
ใหญ่ เป็ นเครื่ องประดับ เงิ น ซึ่ ง ทํา การส่ ง ออกให้ป ระเทศฝรั่ งเศส ประเทศอิ ตาลี และ
ประเทศสวีเดน รวมทั้งวางขายหน้าร้าน
10) ร้านเน็ตศิลป์ เป็ นกิจการขนาดกลาง โดยดําเนิ นกิจการมาแล้วกว่า 20 ปี โดย
เน้นการทําแผ่นภาพโลหะ ทั้งแผ่นภาพขนาดเล็กและใหญ่ โดยคุ ณศุ ภินนั ท์ กันทวงค์
เริ่ มเรี ยนรู ้การทําเครื่ องเงินมาแต่เด็ก โดยมีคุณพ่อกมล กันทวงศ์ คุณปู่ เป็ นผูส้ อนการทํา
เครื่ องเงิน จึงได้สืบสานภูมิปัญญานี้และประกอบอาชีพการจําหน่ายเครื่ องเงินตลอดมา
11) ร้านลายไทยเครื่ องเงิน เป็ นกิจการขนาดกลาง มีการผลิตสิ นค้า และจําหน่าย
หน้าร้าน โดยคุณนพวงศ์ รัฐไผท ดําเนิ นกิจการต่อจากคุณพ่อ นอกจากนี้ คุณนพวงศ์ ยัง
มีตาํ แหน่ งเป็ นประธานเครื อข่าย OTOP จังหวัดเชี ยงใหม่ โดยสิ่ งที่ทางร้ านภาคภูมิใจ
ที่สุดคือการทํา “สลุงหลวง” ใบที่ใหญ่ที่สุดในโลก
12) ร้ า นสยามซู วีเนี ย ร์ เป็ นกิ จการขนาดกลาง โดยคุ ณสุ ภานัน สุ วรรณเนตร
เริ่ มทํากิ จการเครื่ องเงิ นมากว่า 10 ปี แล้ว โดยสิ นค้าของทางร้ านส่ วนใหญ่เป็ นเครื่ องใช้

60
เช่น สลุ ง ถาด ตลับเงิ น และเครื่ องประดับ ซึ่ งรับผลิ ตตามคําสั่งซื้ อของลูกค้า และยังได้
ผลิ ตสิ นค้าตามคําสั่งซื้ อของลู กค้าจากบริ ษทั Novica ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ที่ จาํ หน่ ายสิ นค้า
เครื่ องประดับ และของตกแต่ ง บ้า น มี ก ารรั บ ประกันว่า เงิ น ที่ ซ้ื อจากร้ า นเป็ นเงิ นแท้
92.5%
13) ร้ านสยามซิ ลเวอร์ แวร์ ถื อเป็ นโรงงานเครื่ องเงิ นเก่าแก่ แห่ งหนึ่ งในจังหวัด
เชี ยงใหม่ ดําเนิ นการมามากกว่า 50 ปี เป็ นโรงงานที่มีชื่อเสี ยงแห่ งหนึ่ งได้รับเกี ยรติให้
ทําสลุงหลวง “พ่อ” และสลุง “แม่” ถวายในหลวงและพระราชินี และทํา สลุงหลวงให้
วัดพระธาตุลาํ ปางหลวงโดยมีคุณดวงจันทร์ สุ วรรณเนตร ซึ่ งเป็ นสามีของคุณลําดวน ซึ่ ง
เป็ นคนวัวลายโดยกําเนิดเป็ นคนก่อตั้งกิจการแต่เดิมมีโรงงานทําเครื่ องเงินอยูบ่ ริ เวณบ้าน
มีกลุ่มช่างประจําของร้าน แต่ปัจจุบนั มีการกระจายงานให้ช่างฝี มือในชุมชนไปผลิต
14) ร้ านพรซิ ลเวอร์ ทาวน์ หรื อ บริ ษทั พรซิ ลเวอร์ ทาวน์ จํากัด เดิ มตั้งอยู่ที่ 298
ถนนเจริ ญกรุ ง 43 แขวงสี่ พระยา เขตบางรัก กทม 10500 ในปี พ.ศ. 2547 บริ ษ ทั ฯ ได้
ขยายสาขามายังถนนวัวลาย จังหวัดเชี ยงใหม่โดยเริ่ มดําเนิ นธุ รกิ จค้าเครื่ องเงิ นซึ่ งเป็ น
ธุ รกิ จภายในครั วเรื อนมาเป็ นระยะเวลา 5 ปี ต่ อมาธุ รกิ จได้เจริ ญเติ บ โตขึ้ น เรื่ อยๆ
จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2542 ได้จดทะเบียนและจัดตั้งในนาม บริ ษทั พรซิ ลเวอร์ ทาวน์จาํ กัดขึ้น
เพื่อดําเนินธุ รกิจผลิตเครื่ องเงิน ค้าส่ ง และส่ งออกไปนานาประเทศ
15) ร้านธนาศิลป์ เป็ นกิจการขนาดกลาง ที่รับผลิ ตสิ นค้าตามคําสั่งซื้ อของลูกค้า
และมีการจัดจําหน่ายเครื่ องใช้ เครื่ องประดับเงินหน้าร้าน มีร้านค้าหรื อออกร้านเองโดย
คุณจิราภรณ์ จิโนรส เริ่ มจัดตั้งกิจการเมื่อปี พ.ศ. 2528
16) ร้านเงินทอง 45-47 ถนนวัวลาย บริ หารงานโดยคุณดรุ ณี มนูสุรสิ ทธิ์ เริ่ มทํา
กิจการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 มีการผลิ ตสิ นค้าทั้งจําหน่ ายภายในร้านและรับผลิตตามคําสั่ง
ซื้ อของลูกค้า และมีช่างทําเครื่ องเงินประจําร้าน

61
ภาพที่ 4.7 บริ เวณอุโบสถเงินภายในวัดศรี สุพรรณ

ชุมชนวัดศรี สุพรรณ
1) ร้ านพิงค์ธนาคร เป็ นกิ จการขนาดกลาง โดยเปิ ดทําการมาตั้งแต่รุ่นคุณย่าของ
คุณรวยศิริ เดิมมีการผลิตเองในร้าน แต่ปัจจุบนั มีการกระจายงานให้ช่างฝี มือในชุ มชน
ไปผลิต โดยสิ นค้าของร้านมีหลากหลากทั้งเครื่ องใช้ เช่น สลุง ถาด ตลับเงิน ของตกแต่ง
บ้า น เช่ น ตุ๊ก ตาเงิ นรู ป สั ตว์ต่า ง ๆ รวมทั้งเครื่ องประดับ เช่ น กํา ไล สร้ อย และต่ า งหู
เป็ นต้น
2) ร้านเครื่ องเงินสุ วรรณภูมิ คุณพิมพ์พรรณ ได้เรี ยนรู ้การทําเครื่ องเงิ นมาตั้งแต่
เด็ก โดยเรี ยนรู ้ จากคุ ณพ่อซึ่ งเป็ นช่ างเงิ นช่ างทองและเปิ ดกิ จการเครื่ องเงิ นถนนวัวลาย
เมื่ อ 30 ปี ก่ อ น แต่ เนื่ อ งจากภาระทางครอบครั ว จึ ง ทํา ให้ ต้องปิ ดกิ จ การไปช่ วงหนึ่ ง
แต่ดว้ ยความผูกพันในภูมิปัญญาการทําเครื่ องเงิน คุณพิมพ์พรรณจึงตัดสิ นใจกลับมาอยู่
ที่ถนนวัวลายและเปิ ดกิจการอีกครั้ง โดยใช้ชื่อว่าร้านเงินจูด้ ี โดยมีการจดทะเบียนร้านค้า
ใหม่ในปี พ.ศ. 2553 และปั จจุบนั คื อร้ านเครื่ องเงิ นสุ วรรณภูมิ โดยทางร้ านมีโรงงาน
ทําเครื่ องเงิน และมีช่างประจําร้าน
3) ร้านเอส ชาญ เป็ นกิจการขนาดใหญ่ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2528 เริ่ มจากการเป็ น
ผูผ้ ลิ ต และขายส่ ง เครื่ องเงิ นให้แ ก่ ร้ า นค้า ในจัง หวัด เชี ย งใหม่ แ ละกรุ ง เทพฯ โดยยึ ด
แนวทางศิ ล ปะภู มิ ปั ญญาเครื่ องเงิ นที่ มี อ ัตลัก ษณ์ สู่ ก ารพัฒ นารู ป แบบร่ วมสมัย โดย

62
คุณสมศรี เอง ซึ่ งเติบโตมาจากครอบครัวในย่านวัวลาย ได้รับการถ่ายทอดและซึ มซับงาน
ศิลปะพร้อมเทคนิคการทําเครื่ องเงินตามแบบภูมิปัญญาดั้งเดิมชุมชนวัวลาย
4) ร้านบานเย็น เป็ นร้านเก่าแก่ของชุ มชนวัวลายเปิ ดดําเนิ นการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507
ปั จจุบนั มีคุณแม่บานเย็น อักษรศรี เป็ นเจ้าของ
5) ร้ านวัวลายศิลป์ เป็ นกิ จการขนาดกลาง เป็ นร้ านที่เก่ าแก่ในย่านถนนวัวลาย
โดยเริ่ มทํากิจการเครื่ องเงินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 สมัยคุณพ่อ และปั จจุบนั คุณอุไรวรรณ
จิโนรส รับหน้าที่ดูแลร้านเองในร้ านมีท้ งั การจําหน่ ายเครื่ องเงิ นทุกประเภท และมีช่าง
ผลิตเองโดยมีช่างประจําร้านประมาณ 19 คน
6) ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นสามัญ เงิ น ทองยนต์เ ชี ย งใหม่ ร่ ว มก่ อ ตั้ง โดยคุ ณ ทองยนต์
วงษ์วิชาสวัสดิ์ หนึ่ ง ในผูร้ ่ วมสื บสานเครื่ องเงิ นวัวลายซึ่ ง ได้หันมาเปิ ดร้ านเครื่ องเงิ น
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ด้วยความรักและชื่นชอบเครื่ องเงิ นเป็ นทุนเดิมและโดยมีช่างฝี มือมา
เป็ นช่างประจํา

ในชุมชนวัวลายยังมีแหล่งผลิตเครื่ องเงินที่สาํ คัญอยูด่ งั นี้


บ้านไชยวุฒิ เป็ นบ้านที่อยู่คู่ชุมชนวัวลายมานาน เดิ มมีช่างเครื่ องเงิ นทํางานอยู่
ภายในบ้าน ปัจจุบนั เปิ ดเป็ นร้านขายเครื่ องเงิน และมีการรับงานจากร้านอื่นๆมาส่ งต่อให้
ช่างทําเครื่ องเงินรับไปทําที่บา้ นอีกทีหนึ่ง ปั จจุบนั คุณประไพร ไชยวุฒิเป็ นผูบ้ ริ หารงาน
บ้านเมฆบังวัน เป็ นแหล่งผลิตเครื่ องเงินเก่าแก่ของชุ มชนวัวลายตั้งแต่ปีพ.ศ.2511
มีการทําเครื่ องเงิ นทุก ขั้นตอนคือการหล่ อหลอม การขึ้นรู ป การบุดุนลวดลาย การต้ม
ในนํ้ากรด และการขัดล้าง ซึ่ งยังคงมีช่างทําเครื่ องเงิ นเก่าแก่ทาํ งานอยูท่ ี่นี่และยังมีกลุ่ม
ช่างทําเครื่ องเงินที่ยงั คงสื บสานและเผยแพร่ ภูมิปัญญาอยู่
กลุ่มหัตถศิลป์ ล้านนา วัดศรี สุพรรณ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2543 โดยการสนับสนุนของ
พระครู พิท กั ษ์สุ ทธิ คุณ เจ้าอาวาสวัดศรี สุพ รรณ เมื่ อเริ่ มก่ อตั้ง มี ส มาชิ กอยู่ 4คนคื อ
นายดิเรก สิ ทธิ การ, นางสุ พรรณ สิ ทธิ การ, นายณรงค์ แก้ววงศ์วาร และนายเอกชัย แก้ว
วงศ์วาร โดยทางกลุ่มได้เผยแพร่ และฝึ กทักษะการทําเครื่ องเงินให้กบั สมาชิ ก และบุคคล
ที่ ส นใจ ต่ อมามี ส มาชิ ก เพิ่ ม ขึ้ นเป็ น 23 คน เมื่ อมี ฝี มื อในการทํา งานแล้วบางคนก็ ไ ด้
ออกไปประกอบอาชีพช่างทําเครื่ องเงินที่บา้ นของตัวเอง และเนื่องจากบางช่วงการว่าจ้าง
ทํางานไม่มี บางคนจึงออกไปทํางานรับจ้างประเภทอื่นๆ ทําให้ปัจจุบนั มีสมาชิ กทั้งหมด
10 คนที่ยงั ทํางานอยูใ่ นกลุ่ม
กลุ่มคลัสเตอร์ เครื่ องเงิ นวัวลาย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2552 มีคุณดรณ์ สุ ทธิ ภิบาล ดํารง
ตําแหน่ง ประธานกลุ่ม

63
กลุ่มฮ่วมเฮียนศิลป์ มีนายดิเรก สิ ทธิ การ เป็ นผูก้ ่อตั้งเพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และ
ทํางานร่ วมกันกับช่ างทําเครื่ องเงิ นอื่นๆปั จจุบนั เป็ นแหล่งเผยแพร่ และเรี ยนรู ้ภูมิปัญญา
ให้กบั ผูท้ ี่สนใจ
ชมรมช่ า งเครื่ องเงิ น และแผ่นภาพหมื่ นสาร บ้า นวัว ลายก่ อ ตั้ง เมื่ อ พ.ศ. 2545
ในขณะนั้นมีประธานชมรมคือ คุณสุ รศักดิ์ กันทาวงศ์

4.2 งานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย


การผลิ ตเครื่ อ งเงิ นนั้นจํา เป็ นที่ จะต้องใช้ป ริ ม าณแร่ เงิ น จํา นวนมาก ซึ่ ง แร่ เ งิ น ที่ ผ ลิ ตได้ใ น
ประเทศไทยนั้น ได้ม าจากการแยกโลหะเงิ น ออกจากการถลุ ง แร่ โ ลหะอื่ น ๆ เช่ น ตะกั่ว สั ง กะสี
ทองแดง ทองคํา แต่ปริ มาณที่ ได้ยงั ไม่เพียงพอกับความต้องการ จึ งต้องหาช่ องทางที่จะนําเข้าหรื อ
เสาะหาแร่ เงินมาเพื่อการผลิต ซึ่ งแร่ เงินที่ได้มาจะมีความบริ สุทธิ์ แตกต่างกันไป

ในการพิสูจน์เนื้ อเงินว่าเป็ นเงิ นบริ สุทธิ์ นั้น ในสมัยก่อนจะใช้วิธีการขูดหรื อบากลงไปบนเนื้ อ


เงินนั้นๆเลย ซึ่ งจะเห็นได้จากรอยบากที่ปรากฏอยูบ่ นเงิ นพดด้วงแต่ในปั จจุบนั ใช้การพิสูจน์โดยการ
ใช้น้ าํ กรดดินประสิ ว ถ้าเป็ นเนื้อเงินบริ สุทธิ์ 100% ก็จะขาวนวลไม่เปลี่ยนแปลง ถ้าเป็ นเงินผสมหรื อมี
เนื้ อเงิ น 92.5% จะมีฝ้าเขียวปรากฏอยู่บนผิวเงิ น และจะเข้มมากตามปริ มาณโลหะที่ผสมในเนื้ อเงิ น
นั้นๆ ตามปริ มาณมากน้อยของสัดส่ วนลดหลัน่ กันไป
เนื้อโลหะเงินบริ สุทธิ์ นั้นนอกจากจะมีเนื้ อที่ละเอียดอ่อนแล้ว เมื่อถูกควันหรื อสัมผัสกับอากาศ
นานๆ แล้วจะเกิ ดผิวดําขึ้นแต่เนื้ อเงิ นที่ผสมโลหะอื่นๆ เกิ นมาตรฐานนั้นผิวจะออกเหลื องหรื อแดง
ตามสี โลหะที่ นาํ มาผสมเนื้ อเงิ นนั้นๆ และเงิ นที่ เก็บไว้อย่างมิ ดชิ ดไม่สัมผัสอากาศจะไม่ดาํ ง่าย แต่
ความดําของเนื้ อเงิ นสามารถล้างออกได้หลายวิธี เช่ น ต้มเครื่ องเงิ นกับนํ้ามะนาว หรื อขัดถูดว้ ยแป้ ง
ดินสอพองและในปั จจุบนั นี้ มีน้ าํ ยา และครี มที่ใช้ทาํ ความสะอาดขัดเงินโดยเฉพาะ หรื อล้างด้วยกรด
ซึ่ งการล้างด้วยกรดนี้ จะทําให้เนื้ อเงินหรื อผิวของเงินเป็ นสี ขาวขุ่นจะไม่ใสแวววาว ส่ วนเงิ นปลอมที่
เป็ นนิ กเกิ ลซึ่ งมีความขาวแวววาวคล้ายเงินนั้น จะนํามาใช้แทนโลหะเงินในกรณี ที่ทาํ สิ่ งของราคาถูก
เช่ นเครื่ องประดับ หรื อข้า วของชนิ ดอื่ นๆ แต่ เนื้ อเงิ นของนิ ก เกิ ล นั้นจะมี ค วามใสวาวมากกว่า เงิ น
บริ สุทธิ์ ซึ่ งจะมีสีขาวนวลกว่านิกเกิล52

52
ชัชวาล ชัยเจริ ญ “เข็มขัดเงินร่ วมสมัย ในเขตเทศบาล อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่” คณะวิจิตรศิลป์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2539 หน้า 8-9

64
ภาพที่ 4.8 เม็ดเงินร้อยเปอร์ เซ็นต์ซ่ ึ งนําเข้าจากต่างประเทศ
การเสาะหาแร่ เงินเพื่อใช้ผลิตเครื่ องเงินของช่างเครื่ องเงินชุมชนวัวลายนั้นมีอยูส่ ามวิธีดงั นี้
1) การนําเข้าแร่ เงิน จากต่างประเทศ ซึ่ งเป็ นแร่ เงินที่ขุดขึ้นมาใหม่จากระบบเหมืองแร่ มี
ทั้ง แบบเป็ นแท่ง และแบบเป็ นเม็ดเงิน นําเข้ามาจากประเทศ เกาหลี จีน และแถบยุโรป ราคาจะ
ขึ้นลงตามราคาของทองคํา และเงิ นดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา (ราคาแร่ เงิน วันที่ 16 กุมภาพันธ์
2558 ขายออกราคาบาทละ 285 บาทกิโลกรัมละ 18,696 บาท)
2) การนําเหรี ยญกษาปณ์ต่างๆ ที่ทาํ มาจากแร่ เงิ นมีท้ งั เหรี ยญของไทย และเหรี ยญของ
ต่า งประเทศ โดยเฉพาะทางภาคเหนื อของไทยมี เงิ นตราเป็ นของตนเองมาแต่ โบราณ โดย
แบ่งเป็ นสองประเภทได้ดงั นี้คือ

เงิ นเจียงหรื อเงินกําไลมือ มีรูปร่ างคล้ายกําไลมือ เริ่ มมีการใช้เงิ นชนิ ดนี้ มาตั้งแต่
สมัยเริ่ มตั้งราชอาณาจักรเป็ นปึ กแผ่น ต่อมาพัฒนารู ปแบบ มาเป็ นคล้ายรู ปเกือกม้าสอง
อันชิ ดกันโดยมี ส่วนปลายต่อกัน เรี ยกภาษาพื้ นเมื องว่า “เงิ นเจี ยง” ภาคกลางเรี ย กว่า
“เงิ นขาคี ม ” เงิ นเจี ย งในสมัย เริ่ ม แรกนั้นมี ตราประทับ เป็ นรู ป พระอาทิ ตย์ ต่ อมาตรา
ประทับเงินจะเป็ นชื่อเมืองที่ทาํ เงินเป็ นภาษาพื้นเมือง เช่น
“กก” เมืองเชียงราย
“ฝาง-สบฝาง” เมืองฝาง
“แปป” เมืองกําแพงเพชร
“ควาน” เมืองวานโบราณ แขวงเมืองพิจิตร
“หาง” เมืองหาง
“นาน” เมืองน่าน
“เขลาง” เมืองลําปาง

65
นอกจากตราประทับชื่อเมืองแล้ว ยังมีตราประทับเป็ นตรากลมๆเล็กๆอีกสองทาง
อาจเป็ นตราของช่างทําเงิน เงินเจียงตั้งแต่เดิมมา มีอยูส่ องชนิ ดเป็ นเงินหลายขนาดมีพระ
อาทิตย์กลางวงเกือกม้า
เงิ นท้อกเป็ นเงิ นลานนาที่มีหลายชนิ ด จุดเริ่ มของเงิ นท้อกมีมาตั้งแต่เมื่อไหร่ ไม่
ทราบแน่ชดั แต่ในสมัยพระเจ้ามังรายมีเงินท้อกใช้แล้ว เงินท้อกที่มีใช้เป็ นเงินท้อกขนาด
3 นิ้วรู ปร่ างคล้ายฝาหอย มีเงินท้อกเชียงใหม่ เงินท้อกเมืองน่าน เงินท้อกดอกไม้หรื อเงิน
ผัก ชี เงิ นใบไม้หรื อเงิ นเส้ น เงิ นหอยโข่ ง เงิ นปากหมู่ และเงิ นวงตี นม้า เงิ นท้อกของ
เชียงใหม่ชาวบ้านเรี ยกว่า “เงินหอย” ทําด้วยเงินแต่ไม่บริ สุทธิ์ คล้ายๆกับฝาหอยแบนๆมี
ไล่กนั สาดลง ด้านหน้าเงินนูนเป็ นสี ดาํ ผิวย่นเป็ นริ้ วละเอียด อีกด้านหนึ่ งแบนราบ
ด้านข้างเป็ นรู ปพระจันทร์ครึ่ งเสี้ ยว53

ซึ่ งในอดี ตจะหาได้จากแถบชนบททางภาคเหนื อของประเทศไทยที่มีชาวบ้านใช้เป็ น


เงินตราแลกเปลี่ยนและจะทยอยออกมาขายให้แก่พ่อค้าที่รับซื้ อเครื่ องเงินเก่า และนํามาใช้หล่อ
เครื่ องเงินจนถึงปัจจุบนั

3) การหลอมเครื่ องเงินเช่น คันนํ้า พานรอง ฝักมีด ถาด ชิ้นเก่าซึ่ งชํารุ ดเสี ยหาย โดยจะมี
พ่อค้ามาติดต่อรับซื้ อและรวบรวมมาขายให้กบั ช่างที่ผลิตเครื่ องเงินอีกทอดหนึ่ ง เนื้ อของแร่ เงิน
ชนิดนี้จะมีคุณภาพที่แตกต่างกันไปตามยุคสมัย

ภาพที่ 4.9 การชัง่ เครื่ องเงินเก่าที่ชาํ รุ ด ก่อนนําไปหลอมใหม่

53
ชัชวาล ชัยเจริ ญ เรื่ องเดียวกัน หน้า 13

66
4.2.1 ประวัติความเป็ นมาเครื่องเงินวัวลาย
เครื่ องเงิ นเชี ยงใหม่ปรากฏหลักฐานตั้งแต่ครั้งพญามังรายสร้ างเมืองเชี ยงใหม่ซ่ ึ งสร้าง
ความสัมพันธ์กบั พุกาม และเจรจาขอช่างฝี มือมายังเมืองเชียงใหม่ ต่อมาเมืองเชียงใหม่ยงั คงเป็ น
เมืองร้างที่ไร้ผคู้ น ซึ่ งเกิดจากการตกอยูภ่ ายใต้อิทธิ พลของพม่า พระเจ้ากาวิละจึงทําหน้าที่สร้าง
บ้านแปลงเมืองเชียงใหม่อีกครั้งหนึ่ ง โดยกวาดต้อนผูค้ นจากที่ต่าง ๆ มาสะสมไว้ที่เวียงป่ าซาง
เพื่อรอฟื้ นฟูเมืองเชี ยงใหม่ จึงเรี ยกยุคนั้นว่ายุค “เก็บผักใส่ ซ้า เก็บข้าใส่ เมือง” และสามารถเข้า
มาฟื้ นฟูเมืองเชี ยงใหม่ได้เมื่อ พ.ศ. 2339 ต่อมาเมื่อครั้งหลัง เจ้าเมืองอังวะยกทัพมายึดเมืองปุ
และแต่ ง ตั้ง เจ้า ฟ้ าคํา เครื่ อ งเป็ นเจ้า เมื อ ง พระเจ้า กาวิ ล ะจึ ง โปรดฯ ให้ เจ้า สุ ว ณ
ั ณะคํา มู ล
คุมกองทัพ 300 คน ไปตีเมื องปุแล้วข้ามแม่น้ าํ คงไปกวาดต้อน ผูค้ นแบบ “เทครัว” จากฝั่ ง
ตะวันตกของแม่น้ าํ สาละวิน ต่อมาผูค้ นแขวงเมืองปั่ นถูกกวาดต้อนเข้ามาอีกครั้งในสมัย พระ
เจ้าช้างเผือกธรรมลังกา เจ้าผูค้ รองนครเชี ยงใหม่องค์ที่ 2 ในปี พ.ศ. 2361โดยให้ผคู ้ นเข้ามาตั้ง
บ้า นเรื อ นอยู่ใ นเขตพื้ น ที่ เ มื อ งเชี ย งใหม่ ส่ ว นชุ ม ชนวัด หมื่ น สาร และวัด ศรี สุ พ รรณได้นํา
ช่ า งฝี มื อเครื่ องเงิ นมาตั้งถิ่ นฐานรอบ ๆ วัดและนํามาถ่ า ยทอดอย่า งต่ อเนื่ องให้ลู กหลานจน
สามารถฝึ กเป็ นช่ างฝี มือให้เป็ นที่ยอมรับและได้ขยายแหล่งผลิ ตเครื่ องเงิ นไปยังหมู่บา้ นอื่นๆ
เช่นบ้านหารแก้ว อําเภอหางดง บ้านแม่หย่อย อําเภอสันทราย ซึ่ งได้พฒั นารู ปแบบลวดลายไป
มากมาย54

ภาพที่ 4.10 สตรี ชาวบ้านวัวลาย นําสิ นค้าไปขายให้อุปทูตสหรัฐอเมริ กา

54
จินตนา มัธยมบุรุษ “สรรพช่าง:ภูมิปัญญาท้องถิ่นเชียงใหม่” เชียงใหม่: ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
ร่ วมกับ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเชียงใหม่ 2539 หน้า 115 – 117

67
ปั จจุบนั เครื่ องเงิ นได้พฒั นาไปมากรวมทั้งลวดลายกระบวนการผลิ ตก็ได้พฒั นาสู่ วิถีที่
หลากหลายมากขึ้นเช่ นกันจะเห็นได้ว่าชุ มชนวัวลายเป็ นแหล่งผลิ ตเครื่ องเงิ นที่มีชื่อเสี ยงของ
ภาคเหนื อเครื่ องเงิ นต่างๆทั้งเครื่ องใช้ เครื่ องประดับ ต่างๆซึ่ งผลิตจากชุ มชนวัวลายจัดได้ว่ามี
ชื่ อเสี ยงในด้านการขึ้นรู ปเครื่ องเงินที่มีคุณค่าจากอดี ตจนถึงปั จจุบนั สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ยุค
ดังนี้

ภาพที่ 4.11 เงินฮาง


1) ยุค “ป๊ กคัว ” ไปขายช่ วงก่ อ นรถไฟมาถึ ง เชี ย งใหม่ ชาวบ้า นวัว ลายที่ ท าํ
เครื่ องเงิ น ทําเสร็ จแล้วก็ “ป๊ กคัวไปขาย” โดยการห่ อเครื่ องเงิ นด้วยผ้าดิ บขาว ผูกเป็ น
หูหิ้วหรื อใส่ ก๋วย(กระบุง) หิ้วหรื อหาบไปขายตามบ้านชนชั้นสู ง เจ้านายในคุม้ หรื อท่าน
ทูตชาวตะวันตก หรื อขายในกาดในเมืองเชี ยงใหม่และอําเภอรอบนอก ถ้าเป็ นสถานที่
ใกล้เคียงก็เดิ นไป ถ้าไกลก็ใช้รถจักรยาน โดยผูกของติดท้ายจักรยานถี บขายไปเรื่ อยๆ
บางคนนัง่ เกวียนไป โดยเฉพาะอําเภอรอบนอกเช่ น พร้ าว ฝาง เชี ยงดาว ต่อมามีรถยนต์
เรี ยก “รถคอกหมู” ก็นงั่ รถคอกหมูไปขายอําเภอรอบนอกแต่ละครั้งต้องใช้เวลา 4 – 5 วัน
ต้องนอนพักบ้านชาวบ้านบ้านลูกค้าคนรู ้จกั หรื อวัด ทําให้มีความผูกพันกันในเวลาต่อมา
การซื้ อขายก็ใช้เงิ นแถบหรื อเงิ นรู ปีซื้ อขายกันจึ งเรี ยกว่า “สดคัว” (สด หมายถึ งชํา ระ
ด้วยเงิ นสด คัว หมายถึ งเครื่ องเงิ น) อย่างไรก็ดีบางคนอาจจ่ายเป็ นเงิ นแท่ง เงิ นฮางหรื อ
โลหะแร่ เงินซึ่ งใช้ในการทําเครื่ องเงินต่อไปก็ได้55
2) ยุคสมัยทางรถไฟสายเหนื อมาถึงเชี ยงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2464 การค้าเครื่ องเงิน
ก็ขยายไปเมืองที่อยูไ่ กลได้ง่ายขึ้นชาวบ้านผูผ้ ลิตเครื่ องเงินบ้านวัวลาย บ้านศรี สุพรรณ
เมื่อหมดหน้าทํานา หรื อใกล้ช่วงเทศกาล เช่ น สงกรานต์ ขึ้นปี ใหม่ หรื องานบุญใหญ่ๆ
บางครอบครั ว ก็ หอบลู ก หอบหลานไปทั้ง บ้า น ไปรั บ จ้า งทํา เครื่ องใช้เครื่ องประดับ
ล้างขัดเงาเครื่ องเงิ นเครื่ องประดับ เพื่อใช้ในเทศกาล ส่ วนมากเดินทางโดยการนัง่ รถไฟ

55
สมโชติ อ๋ องสกุล และคณะ เรื่ องเดียวกัน หน้า 41

68
ไปลงที่จงั หวัดลําปางและเดิ นทางต่อ หรื อนําเครื่ องเงิ นใส่ รถคอกหมูไปขายที่ จังหวัด
พะเยาและ เชียงราย ถ้าเดินทางมาถึงที่อาํ เภอ เด่นชัยก็จะเดินทางต่อไปขายที่ จังหวัดแพร่
และ น่ าน เดิ นทางไปแต่ละครั้งใช้เวลาแรมเดื อนแรมปี ต้องพักตามบ้านรายทาง ซึ่ งใน
สมัยนั้นจะเป็ นเจ้านายทางเหนื อ หรื อ ผูม้ ีฐานะดี ทําให้มีเกิดความผูกพัน มีเทศกาลหรื อ
งานบุ ญครั้ งต่ อไปก็ไ ด้คา้ ขายกันอี ก บางคนก็พาครอบครั วกลับมาในช่ วงทํา นา และ
บางคนไปมีครอบครัวที่น้ นั ก็พากันกลับมาตั้งถิ่นฐานในบ้านวัวลาย56

ภาพที่ 4.12 ภาพการรับเสด็จ บริ เวณหน้าสถานีรถไฟนครลําปาง


3) ยุคสมัยก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เกิดร้านเครื่ องเงินบนถนนวัวลายร้าน
แรกคือร้านกันทะวงศ์ ของนางหมู และนายน้อย แก้วสองสี และหยุดกิจการชัว่ คราวเมื่อ
ครั้ งมี ส งครามโลกครั้ งที่ ส อง ครั้ นสิ้ นสงครามนางหมู แก้วสองสี ได้แยกมาตั้ง ร้ า น
ชื่ อ ร้ านแก้วสองสี ส่ วนญาติต้ งั ร้ านเชี ยงใหม่หัตถกรรม จากนั้นก็มีร้านบัวจันทร์ ของ
นางบัวจันทร์ และนายดาบแดง พัฒนถาบุตร ร้ านเงิ นดี ของนางจันทร์ ดี และนายลพ
ร้านขจีศิลป์ ของนางบัวเขียว และนายอินทร์ ดํารงฤทธิ์ ร้านค้าเครื่ องเงินดังกล่าวถือเป็ น
ร้านค้ายุคแรกของถนนวัวลายต่อมาบางร้ านก็เลิกกิ จการ และมีการจัดตั้งร้านค้าเพิ่มขึ้น
ในยุคที่การค้า “คัวเงิน” ถนนวัวลายเจริ ญสู งสุ ด พ.ศ. 2512 – 2530 เช่น ร้านเงินเชี ยงใหม่
ร้านเงินทองเชียงใหม่แอนติค ร้านจิโนรส ต่อมาคือร้านวัวลายศิลป์ 57 ในปัจจุบนั

56
สัมภาษณ์พอ่ ครู ดิเรก สิ ทธิการ ครู ภมู ิปัญญาไทยรุ่ นที่ 5 ด้านศิลปหัตถกรรม ดุนโลหะและสลักเงิน (เก็บข้อมูลช่วง
การศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 16 เมษายน
2557)
57
สมโชติ อ๋ องสกุล และคณะ เรื่ องเดียวกัน หน้า 41

69
4.2.2 เทคนิควิธีการทาเครื่องเงินวัวลาย
ชุมชนวัวลายเป็ นชุมชนที่มีประวัติการทําเครื่ องเงินมายาวนาน โดยวัตถุดิบแร่ เงินที่ใช้ใน
การทําเครื่ องเงินจะเป็ นแร่ เงินบริ สุทธิ์ ที่ได้จากการทําเหมือง หรื อเงินแถบ เหรี ยญกษาปณ์ หรื อ
เครื่ องเงิ นเก่ าที่ ช ํารุ ด สามารถเอามาหลอมแล้วตี ข้ ึ นรู ปใหม่ไ ด้โดยจะเรี ย กเงิ นชนิ ดนี้ ว่าเงิ น
100% แต่ไม่ได้มีส่วนผสมของแร่ เงินทั้งหมดต้องนํามาผสมกับแร่ อื่นๆเพื่อให้คงรู ปอยูไ่ ด้ ทั้งยัง
มีเงิน 96.5% และ 92.5% แล้วแต่เปอร์ เซ็ นต์ของส่ วนผสมอื่นๆที่ใส่ ลงไปเพื่อให้คุณภาพของ
เนื้อเงินลดความอ่อนตัว และสามารถขึ้นรู ปได้ง่ายอีกทั้งยังทําให้แร่ เงินชิ้นนั้นๆราคาลดลงตาม
ปริ มาณเนื้อเงินที่ผสมอยูก่ ารเก็บรักษาก็ค่อนข้างยากลําบากถ้าเป็ นเงินที่ดี 100% ใช้น้ าํ ธรรมดา
ล้างหรื อนํ้ามะขามมาถูและขัดเล็กน้อยก็จะทําให้ขาวเงางาม58

ภาพที่ 4.13 นายดาบแดง พัฒนถาบุตรกับช่างทําเครื่ องเงินวัวลาย

1) วิธีการทาเครื่องเงินวัวลายในอดีต
จากคํา บอกเล่ า ของคุ ณสมชาย ใจคํา บุ ญเรื อง สรุ ป ใจความสํา คัญได้ว่า การทํา
เครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลายในอดี ตมีข้ นั ตอนและวิธีการหลอมหล่อดังนี้ เริ่ มแรกก่อนที่จะ
เป็ นเครื่ องเงินนั้นต้องนําแร่ เงินที่ได้มาชัง่ นํ้าหนักตามความต้องการ และบรรจุลงในเบ้า
ซึ่ งทําด้วยดินดากเผา บางชิ้นเป็ นเบ้าที่ทาํ มาจากเหล็กกล้า

58
สัมภาษณ์ พ่อบุญทอง พุทธิศรี ไวยาวัจกรวัดศรี สุพรรณ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 20 เมษายน 2557)

70
ภาพที่ 4.14 เบ้าหลอมขนาดต่างๆ

นําไปวางบนเตาเผาที่ใช้ลมสู บเข้าไปเรี ยกว่าเตาเส่ า ใช้ความร้อนสู งประมาณ 961


องศาเซลเซียส สมัยโบราณจะต้องใช้มือชักคันสู บ แต่ปัจจุบนั ได้เปลี่ยนมาใช้มอเตอร์ พ่น
ลมเข้าไปที่กองถ่าน สําหรับถ่านที่ใช้จะต้องเป็ นถ่านไม้ที่มาจากการเผาไม้สด เพราะเป็ น
ถ่านที่ให้ความร้อนสู งมากกว่าถ่านไม้แห้งและแตกต่างจากถ่านหุ งต้มธรรมดา ใช้เผาใน
เตาเส่ าจนกว่าแร่ เงิ นในเบ้าจะละลายเป็ นนํ้าเหลวรวมเป็ นเนื้ อเดี ยวกัน จะใช้เกลื อแกง
ดินประสิ ว และข้าวสารตอก เป็ นส่ วนผสม ทําให้ความหนาแน่นของเนื้ อเงินเพิ่มขึ้นเนื้ อ
เงินจะเนี ยนไม่แตกและอ่อนยิ่งขึ้น และเมื่อแร่ เงินละลายเป็ นนํ้าแล้วเกลือแกง จะช่วย
ผสานให้เนื้อเงินเป็ นเนื้อเดียวกัน หลังจากนั้นจะไล่เศษผงถ่าน และเศษอโลหะต่างๆออก
จากเนื้ อเงิ น เมื่อเห็ นว่าละลายได้ที่ดีแล้วจึงนําเนื้ อเงิ นที่หลอมเทเข้าแบบพิมพ์ หรื อเบิ้ง
ซึ่ งทําด้วยดินเหนี ยว หรื อเหล็กกล้า มีลกั ษณะเป็ นหลุมตื้นๆ ก่อนเทเนื้ อเงินลงไปในเบิ้ง
จะใส่ น้ าํ มันก๊าดประมาณ 3 ใน 4 ของเบิ้ง เมื่อเทเงินลงไปแล้วจะเกิดการลุกไหม้ เพราะ
เนื้ อ เงิ น เหลวและร้ อ นมาก วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ต้อ งการให้ เ นื้ อ เงิ น จับ ตัว กัน และ
ไล่ฟองอากาศออกไปเพื่อรอการขึ้นรู ป59

59
สัมภาษณ์ คุณสมชาย ใจคําบุญเรื อง ช่างขึ้นรู ปเครื่ องเงิน (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 24 พฤษภาคม 2557)

71
ภาพที่ 4.15 ขั้นตอนการหลอมเม็ดเงิน
1.1) รู ปแบบของการขึ้นรู ปเครื่ องเงิน มีหลายวิธี อันได้แก่ การตัดต่อ การชักลวด
การสาน การบุ และการทุบ ซึ่ งแต่ละวิธีการก็ได้คิดค้นขึ้ นให้เหมาะสมกับการ
สร้างสรรค์งานหัตถกรรมเครื่ องเงินในรู ปแบบต่างๆ ดังนี้
1.1.1) การตัดต่อ โดยส่ วนมากจะใช้เครื่ องรี ดให้เป็ นแผ่นบางๆ แล้วตัดเป็ น
ชิ้ นตามรู ปร่ างที่ตอ้ งการแล้วใช้วิธีการบัดกรี ต่อให้เป็ นรู ปทรงเช่ น กล่อง
โคมเหลี่ยม
1.1.2) การชักลวดเป็ นการนําแร่ เงิ นที่ หลอมเป็ นแท่งแล้ว มาตีให้เข้ากับ
ขนาดรู ของเหล็กแผ่นสําหรับรี ด หรื อแป้ นรี ด เมื่อได้ขนาดที่ใกล้เคียงกับ
รู ของแป้ นรี ด แล้วจึงนําแท่งเงินสอดเข้ารู แป้ นรี ด จากนั้นใช้คีมดึงออกมา
อี กด้านหนึ่ ง ลวดที่ ออกมาจะมี เนื้ อที่ เรี ยบสมํ่าเสมอ และมี ขนาดต่างกัน
ตามขนาดของรู ที่ สอด มี จุดประสงค์เดี ย วคื อ ต้องการให้แร่ เงิ นเป็ นเส้ น
ขนาดเล็กจนนํามาสาน หรื อถักเป็ นชิ้นงานได้

72
ภาพที่ 4.16 ขั้นตอนการม้างขึ้นรู ป

1.1.3) การสานเป็ นการถักหรื อสานแร่ เงิ นจากเส้นลวดที่ได้จากการชักจน


แร่ เงิ นเป็ นเส้ นลวด แล้วนํามาถักหรื อสานเป็ นสร้ อยข้อเท้า สร้ อยข้อมื อ
สร้ อยคอการถักสร้ อยต่างๆ เหล่านี้ นิ ยมถักแบบสร้ อย 4 เสา 6 เสา 8 เสา
แบบสมอเกลี ยว สายสร้ อยจะมีขนาดเล็กหรื อใหญ่ข้ ึนอยูก่ บั ความต้องการ
และการใช้ขนาดของเส้นลวดเงินเป็ นหลัก
1.1.4) การบุเป็ นงานมีลกั ษณะการตกแต่งผิวภายนอกของชิ้นงานโดยการบุ
โลหะให้แผ่ออกเป็ นแผ่นบางๆ แล้วนําไปหุ ้มคลุมปิ ดเข้ากับ หุ่ นชนิ ดต่างๆ
เพื่อปิ ดประดับทําเป็ นผิวนอกของหุ่ น ที่อาจทําด้วยวัตถุ ต่างๆซึ่ งจะรวมถึ ง
การดุนให้เกิดลวดลายประดับที่สวยงามด้วย
1.1.5) การหล่อขึ้นรู ปเป็ นการนําแร่ เงินมาหลอมด้วยการใช้ความร้อนโดย
นําแร่ เงิ นมาใส่ เบ้าดินเผา ใช้ความร้อนเป่ าที่ 961องศาเซลเซี ยส จนแร่ เงิ น
ละลายเป็ นของเหลว จึงนําไปเทลงในแม่พิมพ์แบบต่างๆส่ วนมากจะเป็ น
กํา ไล ข้อต่ อของเครื่ องประดับ แหวนสายสร้ อย กระดุ ม หัวเข็ม ขัดและ
ชิ้นงานเฉพาะอย่าง
1.1.6) การทุบ เป็ นโดยการนําแร่ เงินมาหลอมในเบ้าหลอม ให้เป็ นก้อนตาม
นํ้าหนักที่ตอ้ งการ นําไปตีบนทัง่ ด้วยค้อนขนาดๆต่างๆสลับกับการเผาไฟ
เพื่อให้แร่ เงิ นอ่อนตัวตลอดเวลา นิ ยมนําไปขึ้ นรู ปภาชนะที่ มีลกั ษณะไม่
ซับ ซ้ อ นเช่ น ขัน พานรอง ถาด สลุ ง แต่ มี ภ าชนะที่ ท ํา ด้ว ยกรรมวิ ธี ที่
ซับซ้อนจะใช้วิธีการขึ้นรู ปอื่ นๆประกอบด้วย เช่ น ทัพพี แจกัน กระบวย

73
คนโท จะมีกรรมวิธีที่ละเอียดประณี ตซึ่ งปั จจุบนั ยังหลงเหลื อภูมิปัญญานี้
อยูใ่ นบางชุมชนเท่านั้น

ภาพที่ 4.17 ขั้นตอนการขึ้นรู ปสลุง “การม้าง”

การขึ้ นรู ปเครื่ องเงิ นแบบวัวลายดั้งเดิ มจะไม่เหมื อนการขึ้นรู ปเครื่ องเงิ น


ของชาวจี น เพราะว่าของคนจีนใช้วิธีรีดแร่ เงิ นให้เป็ นแผ่นบางๆ ตามที่ตอ้ งการ
แล้วนําแผ่นเงินมาตัดให้เป็ นรู ปร่ างหรื อตัดตามแบบ เมื่อได้ตามรู ปแบบแล้วจะใช้
วิธีเชื่ อมหรื อบัดกรี ให้ติดกันแล้วทําลวดลายลงไป แต่การขึ้นรู ปเครื่ องเงิ นของ
ชุมชนวัวลายนั้นจะมีวิธีข้ ึนรู ปแบบตามธรรมชาติ คือ ใช้วิธีตีจากแร่ เงินเป็ นก้อน
ที่ผ่านการหลอมและหล่อ ออกมาค่อยๆตีให้เป็ นรู ปร่ างและความหนาบางตามที่
ต้องการ โดยจะต้องเผาแร่ เงินให้อยูใ่ นอุณหภูมิที่เหมาะสม ช่างจะใช้ความชํานาญ
ในการกะระยะเวลาในการเผาเนื้ อเงิ นจนอ่อนตัวพอสมควร การตีเมื่อตีโดยช่ าง
คนเดียวจะใช้วิธีการคือ ใช้มือข้างหนึ่ งจับค้อนสําหรับตี และอีกข้างหนึ่งจับคีม
เพื่อหนีบชิ้นงานเผาไฟ และประคองเวลาตี เมื่อความร้อนลดลงก็จะต้องนําไปเผา
ไฟให้แร่ เงิ นร้ อนอีก เมื่อแดงจะนําแร่ เงิ นมาจุ่มนํ้าให้เกิ ดความกระด้างและตีต่อ
ถ้า ขึ้ น รู ป ผิ ด พลาดหรื อ ความหนาบางไม่ ส มํ่า เสมอก็ จ ะต้องนํา ไปหลอมและ
เริ่ มต้นตีใหม่เช่นกัน การขึ้นรู ปของเครื่ องเงินแบบทุบจะไม่มีแบบพิมพ์จะใช้คอ้ น

74
ทุ บ เพี ย งอย่า งเดี ย วซึ่ งช่ า งจะต้อ งใช้ ค วามสามารถ ความชํา นาญ และความ
ระมัดระวัง60

ภาพที่ 4.18 ลวดลายต่างๆตกแต่งเป็ นซุม้ โขง

1.2) การบุดุนลวดลาย
จากคํา บอกเล่ า ของคุ ณอุ ไ รวรรณ จิ โนรส เจ้าของร้ านวัวลายศิ ล ป์ สรุ ป
ใจความสําคัญได้ดงั นี้ การสลักลวดลายของช่ างชุ มชนวัวลาย ก็มีความแตกต่าง
จากช่างคนจีน และช่างต่างชาติเป็ นอย่างมากเพราะช่างจีนหรื อช่างต่างชาติจะใช้
วิธีการอุตสาหกรรมในการขึ้นรู ป หรื อวิธีทาํ บล็อกสําเร็ จรู ปแล้วใช้แผ่นเงินทาบ
หรื อปั๊ มโดยลวดลายที่ได้จะเหมือนกันทั้งหมด แต่ช่างสลักลวดลายชุ นชนวัวลาย
ใช้วธิ ี ขดุ และตีลายด้วยเครื่ องมือเหล็กคล้ายสิ่ วและมีหน้าสิ่ วที่แตกต่างกันออกไป
ซึ่ งต้องอาศัยประสบการณ์ความชํานาญเป็ นอย่างมากโดยเริ่ มจากการทําลวดลาย
ภายในภาชนะก่อนโดยการดุนให้เป็ นเพียงรู ปร่ างนูนออกมาภายนอก แล้วจึงมา
ทําลวดลายเพิ่มเติมภายนอกทีหลัง ลวดลายแต่ละแบบจะต้องประดิษฐ์ข้ ึนเอง โดย
ตีท้ งั ภายนอกและภายในเพื่อให้ภาพหรื อลวดลายนู นขึ้นมาสวยงาม สําหรับลาย
พื้นบ้านที่ นิยมทํากันมากเช่ น ลายสิ บสองราศี แส้นกยูง แส้ดอกหมาก ลายเม็ด
ข้าวโพด ลายดอกพิกุล ลายสัปปะรด ปั จจุบนั ได้วิวฒั นาการรู ปทรง และลวดลาย
ใหม่ ๆ อาทิ วิวชนบท ชุดรามเกียรติ์ ภาพพุทธประวัติ การทําลวดลายเครื่ องเงินมี

60
สัมภาษณ์ คุณสมนึก อุดมวิเศษ (อดีต)ประธานชุมชนวัดศรี สุพรรณ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 22 มีนาคม 2557)

75
วิธีการโดยการนําเครื่ องเงินที่ข้ ึนรู ปแล้วตามต้องการวางลงบนชัน (ส่ วนผสมของ
ชันมี ยางชัน ผงดิ นเหนี ยว นํ้ามันหมูหรื อ นํ้ามันพืช)ซึ่ งใช้เป็ นพื้นที่ รองรับแรง
กระแทก ช่างจะคํานวณประมาณเนื้อที่บนผิวงานว่าจะทําเป็ นรู ปอะไร กะให้พอดี
ทั้งใบแล้วทําลวดลายจากภายในออกมาเป็ นตัวนูนตามต้องการ เมื่อได้ตวั นูนจาก
ภายในแล้วก็ทาํ ลวดลายด้านผิวนอก โดยการตกแต่งให้เป็ นรู ปร่ างรายละเอียดด้วย
เครื่ องมื อที่ เป็ นโลหะเนื้ อแข็งลัก ษณะเด่ นของเครื่ องเงิ นชุ ม ชนวัวลาย ช่ า งจะ
ดุ นลายจากด้า นในให้นูน ตามโครงร่ างรอบนอกของลายก่ อนโดยจะมี การกะ
ระยะของลายทั้งด้านในและด้านนอก โดยอาศัยความชํานาญของช่ าง และสลัก
ลวดลายละเอียดด้านนอกอีกทีหนึ่ง61
สลุงเงินใบหนึ่ งมักมีลวดลายหลายอย่างผสมผสานกัน เช่ น ลายนักษัตรมี
รู ปสัตว์อยูใ่ นกรอบ ที่มีรูปทรงต่างๆกรอบหนึ่ งกรอบเรี ยกว่า “โขง” สลุ งใหญ่ ๆ
มี 12 โขงก็มีครบทั้ง 12 นักษัตร สลุงเล็กๆจะมีเพียงไม่กี่โขง ก็จะเป็ นลายอื่นๆไป
การล้อมกรอบบนพื้นต่ า งๆนี้ ก็ คล้า ยกับ ขัน ในภาคกลางแบ่ งลายด้วยกรอบ 4
กรอบมีพ้นื ลายเป็ นกนกบ้าง ดอกพุดตานบ้าง แต่ขนั ของภาคกลางจะไม่มีมากกว่า
4 กรอบนอกจากอยูใ่ นกรอบรู ปต่างๆแล้ว ลายสิ บสองราศีของวัวลาย ยังสามารถ
ประกอบกับลายอื่นๆได้เช่น ลายดอกกระถิน ลายดอกทานตะวัน ลายดอกสัปปะ
รดปั จจุบนั ได้มีการพัฒนาลวดลายบนขันเงินไปมากมาย เท่าที่พบกันทัว่ ไปมี ดังนี้

ภาพที่ 4.19 ลาย 12 นักษัตร

61
สัมภาษณ์ คุณอุไรวรรณ จิโนรส เจ้าของร้าน วัวลายศิลป์ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 22 มีนาคม 2557)

76
1.2.1) ภาพธรรมชาติและภาพเหมือนจริ งต่างๆ เช่น พระบรมฉายาลักษณ์
ภาพยุทธหัตถี ภาพคนเหมือน ทิวทัศน์ ภาพชนบท ภาพช้างลากซุ ง ภาพ
เหล่านี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อสนองความต้องการของตลาดในช่วง สามทศวรรษ
ที่ผา่ นมา
1.2.2) ลายเทพพนม หรื อรู ปเทพเจ้า มาจากความเชื่ อโบราณแบบฮินดู เช่น
พระวิษ ณุ ก รรม พระสุ รัส วดี พระพิ ฆเนศ เทพบุ ตร เทพธิ ด า ส่ วนใหญ่
จะเป็ นไปตามความต้องการของตลาด และความชอบส่ วนตัว ของช่าง

ภาพที่ 4.20 ลายเทวดา

1.2.3) ภาพสัตว์หิมพานต์ เช่ น ราชสี ห์ กิ นรี หงส์ โดยมากใช้ประกอบใน


งานก่อสร้างทางพุทธศาสนา เช่น ประตู หน้าต่างอุโบสถ ภาชนะเครื่ องใช้
ชิ้นเล็กๆ เช่น ผอบ สลุง พานรอง
1.2.4) ภาพตัวละครในวรรณคดีที่นิยมกัน คือ เรื่ องรามเกียรติ์โดยเฉพาะตัว
เอก พระราม นางสี ดา หนุ มาน ในอิริยาบถต่างๆ หรื อเป็ นภาพเหตุการณ์
ตอนใดตอนหนึ่ง
1.2.5) ภาพสัตว์สิบสองราศี หรื อ รู ปนักษัตร นิ ยมทํากันมาแต่โบราณและ
ทํากันโดยถัว่ ไปในชุมชนวัวลาย แต่ปีกุนจะเปลี่ยนเป็ นรู ปช้าง ไม่ใช่รูปหมู
ตามแบบที่มกั ปรากฏโดยทัว่ ไป
1.2.6) ลายกนกเป็ นศิลปะประจําชาติของไทย ซึ่ งสื บเนื่ องมาจากโบราณ
ลายไทย ได้ถูกประดิ ษฐ์ข้ ึนจากเถาไม้ ใบไม้ ดอกไม้ ซึ่ งได้ตกแต่งงดงาม
ยิง่ ขึ้นบนขันเงิน
1.2.7) ลายดอกที่นิยมคือ ดอกบัว ดอกมะลิ ดอกจอก ดอกพุดตาน ลายใบ
เทศ ดอกชัยพฤกษ์ ลายชัยพฤกษ์ และลายดอกแก้ว

77
1.2.8) ลายพุม่ เช่น ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ เทพพนม
1.2.9) ลายช่อ เช่น ช่อกนกสามตัว ช่อกนกเปลว
1.2.10) ลายก้านขด เป็ นการนําลายหลายอย่างมาต่อกันโดยมีลายเชื่ อมต่อ
ร้อยกันไปเรื่ อยๆ มีหลายชนิด

ภาพที่ 4.21 ลายแส้ดอกหมาก

1.2.11) ลายเครื อเถา เป็ นลายที่เลื้อยไปอย่างอิสระภายในรู ปทรงของสิ่ งที่


ทํา มีท้ งั เครื อเถาชั้นเดียว และเครื อเถาไขว้
1.2.12) ลายก้านขด เป็ นเถาขดกลมลงในพื้นที่ น้ นั ๆ จะเป็ นวงเดี ยวหรื อ
สองวงหรื อไขว้กนั ก็ตาม เถากลมนี้ คือเถาของลาย เพราะลายก้านขดถือว่า
เป็ นการขดเถาให้กลมซึ่ งมีความสําคัญมาก จากนั้นก็วางกนกตามมุมต่างๆ
ซึ่ งบางตอนอาจต้องประดิษฐ์ตวั กนกให้มีขนาดและรู ปร่ างตามเนื้ อที่ พบว่า
ตัวกนกและกาบจะต้องออกสลับกันไป เพื่อให้ได้ช่องไฟที่ดีลายก้านขดมี
ความงามอยูใ่ นขดวงกลมที่ได้จงั หวะกันดี
1.2.13) ลายเปลว ลายชนิ ดนี้ เป็ นลายที่เกิดทีหลังลายก้านขด เถาของลาย
เปลวมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับเถาไม้ หรื อเปลวไฟเมื่อต้องลม เถาลายเปลวมี
การขดกลม ลายเปลวส่ วนมากมักนิ ยมทําภาพประกอบในเถากลมเช่น ตัว
สัตว์ต่า งๆ ตลอดจนภาพซึ่ ง อาจเป็ นภาพเรื่ อง รามเกี ยรติ์ หรื อเรื่ องอื่ นๆ
ตลอดจนลายเทพพนม เป็ นต้น
ส่ วนลวดลายบนขอบและเชิ งก็จะมีการตกแต่งตามขอบ ทั้งแนวตั้ง
แนวนอนมีหลายลวดลายเช่น ลายหน้ากระดาน ลายเกลียว ลายก้านต่อดอก

78
ลายกรวยเชิง ลายเฟื อง และลายบัว ซึ่ งจะสลักตามส่ วนโค้งของภาชนะและ
ฐาน62
1.3) การเผาและต้มในนํ้ากรด
จุดประสงค์หรื อขั้นตอนการเผาและต้มในนํ้ากรด ก็เพื่อต้องการขจัดสิ่ ง
สกปรกของเครื่ องเงินและต้องการเนื้ อเงินให้มีความบริ สุทธิ์ การเผาไฟใช้ไฟเผา
ในอุ ณ หภู มิ ที่ พ อเหมาะอย่า ให้ ไ ฟแรงเกิ น ไปและร้ อ นเกิ น ไปเพราะจะทํา ให้
ชิ้นงานเกิดการหลอมละลายและยุบตัว การเผาเพื่อต้องการไล่ความเป็ นกรดและ
ด่ าง สิ่ ง สกปรกที่ ติดอยู่บนผิวเงิ นจะถู กเผาไปหมดสิ้ นเมื่ อสิ่ ง สกปรกถู กเผาทั้ง
ภายนอกและภายในเรี ยบร้ อยแล้วเครื่ องเงินชิ้นนั้นจะดําสนิ ท ให้นาํ เครื่ องเงินไป
ต้มในนํ้ากรด ซึ่ งมีความเข้มข้นของกรดประมาณกรด 1 ต่อนํ้าเปล่า 4 ต้มโดยใช้
ไฟปานกลางถ้าเนื้ อเงิ นคุ ณภาพไม่ดี สี ของเครื่ องเงิ นจะออกเป็ นสี น้ าํ ตาล หรื อ
ค่อนข้างแดง แต่ถา้ เงินคุณภาพดีเนื้ อเงินจะออกมาเป็ นสี ขาวนวล และเมื่อขัดด้วย
แปรงทองเหลืองและนํ้ามะขามเปี ยกจะทําให้เนื้อเงินขาวและขึ้นเงา

ภาพที่ 4.22 พื้นผิวการเก๊าะ (เคาะ)

1.4) การขัดเงาและการทําพื้นผิว
ก่ อนที่ จะทําการขัดเงาหรื อทํา ลายนํ้า จะต้องผ่านขั้นตอนหรื อวิธี การเผา
และต้มกรดตามข้อที่ 4 เสี ยก่อนเพื่อให้ผิวเนื้ อเงิ นสะอาด เมื่อเรี ยบร้ อย แล้วจะ
นําไปแช่ ในนํ้ามะขามเปี ยก เพื่อให้ความเป็ นกรดอ่อนๆ ทําปฏิ กิริยากับเนื้ อเงิ น
จากนั้นก็ใช้แปรงทองเหลืองขัดจะทําให้เนื้ อเงินขาวเป็ นเงางามและขัดผิวลงตาม
ด้วยลูกปั ด ยิ่งทําให้เงางามมากยิ่งขึ้น สําหรับก้นภาชนะที่เป็ นถาด หม้อ ขัน ฯลฯ
ซึ่ งมักจะเรี ยบดูแล้วธรรมดาเกินไป จึงต้องสร้างพื้นผิวที่กน้ ภาชนะโดยเรี ยกว่า วิธี
เก๊าะ (เคาะ) ซึ่ งจะต้องใช้คอ้ นที่สะอาดหน้าค้อนเรี ยบและมันเป็ นเงาตีลงไป เป็ น

62
สมโชติ อ๋ องสกุล และคณะ เรื่ องเดียวกัน หน้า 33 – 34

79
ลายนํ้าเรี ยงกันเป็ นแถวๆจนทัว่ ทั้งพื้นผิวที่ตอ้ งการ ซึ่ งลายนี้ เป็ นสัญลักษณ์ ของ
เครื่ องเงิ นวัวลายถ้าผลิตจากที่อื่นหรื อเป็ นเครื่ องเงิ นของชาวจีนหรื อชาวต่างชาติ
จะไม่มีพ้นื ผิวแบบที่กล่าวมาข้างต้น

ภาพที่ 4.23 ขั้นตอนการเก๊าะ (เคาะ)

ลักษณะลายและรู ปทรงเครื่ องเงิ น รู ปทรงของเครื่ องเงิ นวัวลายจะมีแบบ


เฉพาะเป็ นของตนเอง โดยเฉพาะ สลุง หรื อ ขันเงินวัวลาย จะมี ลายชัดเจนและนูน
กว่า มี รูปทรงเป็ นลักษณะพิเศษคื อ ขอบที่ นูนโค้งและเว้าเข้า แล้วจะเป็ นตัวสลุ
งซึ่ งส่ วนที่เป็ นขอบส่ วนลําตัวของสลุงจะมีความนูนเท่ากันหมด และใช้ลกั ษณะ
ลายดุ น แบบนู น สู ง เป็ นตัวแบ่ ง ซึ่ งมี ล ัก ษณะระหว่า ง สลุ ง เมื อง และสลุ ง พม่ า
โดยสลุ งพม่ามีหน้าตัดแนวตั้งเป็ นรู ปสี่ เหลี่ ยมคางหมู เป็ นลักษณะขันทรงบาตร
พระ คื อ ส่ ว นที่ ก ว้า งที่ สุ ด จะอยู่ เ กื อ บถึ ง ฐานและมี ล ัก ษณะสอบเข้า ถึ ง ฐานมี
ลวดลายนูนลึกซึ่ งมีชื่อเรี ยกอีกแบบหนึ่ งว่าสลุงม่าน ส่ วนสลุงพื้นเมือง หรื อสลุ ง
เมือง จะมีเส้นผ่าศูนย์กลางตอนปากสลุงและตอนก้นสลุง ไม่ต่างกันมากนักเกือบ
เป็ นทรงกระบอก แต่จะนูนตรงกลางเล็กน้อย63

1.5) การขึ้นรู ปเครื่ องเงิน


ในการทํา เครื่ อ งเงิ น ชุ ม ชนวัว ลายได้พ ฒ
ั นารู ป แบบการทํา ขัน เงิ น เป็ น
รู ปแบบอื่นๆ เช่ น พาน กระเป๋ าถื อ เครื่ องประดับ อื่ นๆ เช่ น กระดุ ม ปิ่ นปั กผม
แหวน กําไล สร้อยคอ สร้อยข้อมือ ตามสมัยนิ ยมมากขึ้น นอกจากลายวัวลายแล้ว

63
สัมภาษณ์ พ่อครู ดิเรก สิ ทธิการ ครู ภมู ิปัญญาไทยรุ่ นที่ 5 ด้านศิลปหัตถกรรม ดุนโลหะและสลักเงิน (เก็บข้อมูลช่วง
การศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 16 เมษายน
2557)

80
ยังมีลายแม่หย่อย ขันแบบแม่หย่อย ดั้งเดิมเป็ นขันคล้ายบาตรแบบพม่าแต่มีฝาและ
มีลายประกอบเป็ นตัวสัตว์ประจําราศีเกิ ด กรอบขันเป็ นรู ป ปลิง มีลายริ มปากขัน
เป็ นดอกแก้ว (ดอกพิกุล) มีลายนกยูง ลายดอกหมาก มีลกั ษณะทางยาวตามแนว
ซ้อนๆกัน
การทําเครื่ องเงิ นของช่ างเครื่ องเงิ นนั้นได้รับการถ่ ายทอดจากบรรพบุรุษ
ซึ่ งจะฝึ กหั ด การทํา ทุ ก ขั้น ตอนจนที่ สุ ด คื อ การสลัก ลวดลาย ในการฝึ กทํา
เครื่ องเงินนั้นใช้เวลาประมาณ 8 เดือนถึง 1 ปี ก็สามารถเป็ นช่างเครื่ องเงินได้ แต่
จะชํานาญมากน้อยก็ข้ ึนอยูก่ บั ประสบการณ์และการฝึ กฝน64
จากคําบอกเล่าของแม่ประไพร ไชยวุฒิ “สล่ าบ่าเก่ า คนเดี ยวเปิ้ นหยะได้
หมดหลายอย่างหลอมเงินก่อได้ ตีขนั ตีถาด ต้องลาย ล้างขัดได้หมด สล่าบ่าเดี๋ยว
หยะได้คนอย่าง ขี้ คร้ านฝึ กกัน๋ จะเอาสตางค์อย่างเดี ยว หาคนตี้ หยะได้หมดบ่ มี
ละ”65ทําให้ทราบว่าช่างทําเครื่ องเงินในสมัยก่อน คนๆเดียวมีทกั ษะหลายด้าน ทั้ง
การหลอมหล่ อ การขึ้ นรู ป ดุ นลาย รวมไปถึ ง การขัดล้า งเครื่ องเงิ น ซึ่ ง ช่ า งทํา
เครื่ องเงินในปั จจุบนั มีทกั ษะเพียงด้านใดด้านหนึ่ง ขาดการฝึ กทักษะด้านอื่นๆให้
เกิดความชํานาญ โดยเฉพาะขั้นตอนในการขึ้นรู ปซึ่ งมีความสําคัญซึ่ งเป็ นขั้นตอน
ที่ต้องใช้ความชํานาญเป็ นพิ เศษในอดี ตการจะขึ้ นรู ป เครื่ องเงิ นนั้นใช้อุป กรณ์
เพียงค้อน คีม เตาเส่ า ทัง่ และใช้กาํ ลังของช่างค่อยๆตีข้ ึนรู ปเท่านั้นโดยมีข้ นั ตอน
ในการขึ้นรู ปภาชนะเครื่ องเงิน(สลุง) ดังต่อไปนี้
1.5.1) เตรี ยมโลหะเงิ น บริ สุทธิ์ ชั่งนํ้า หนักตามต้องการบรรจุ ลงในเบ้า
หลอม ซึ่ งทําด้วยดินเผาที่มีใช้มาตั้งแต่โบราณมีลกั ษณะคล้ายถ้วยหรื อเบ้า
หลอม
1.5.2) หลอมเงิน โดยก่อไฟใช้ถ่านเป็ นเชื้ อเพลิง โดยถ่านที่ใช้ตอ้ งเป็ นถ่าน
ที่เผาจากไม้สดเพราะจะเป็ นถ่านที่ให้ความร้อนสู ง
1.5.3) นําเบ้าหลอมไปวางบนเตาเผา ความร้ อนสู งโดยใช้ลมสู บเข้าไป
เรี ยกว่า เตาเส่ า
1.5.4) เมื่ อโลหะเงิ นในเบ้า หลอมละลายเป็ นนํ้า อาจใส่ เกลื อแกง ดิ น
ประสิ ว และผงบอแร็ กซ์ เพื่อทําให้เนื้ อเงิ นใส เนี ยนและอ่อนยิ่งขึ้ นเกลื อ

64
“มรดกล้านนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น 500 ปี วัดศรี สุพรรณ” ปรี ชา ขันทนันต์ เครื่ องเงินเชียงใหม่ เชียงใหม่: เวียงพิงค์
การพิมพ์ 2543 หน้า 48 – 50
65
สัมภาษณ์ แม่ประไพร ไชยวุฒิ เจ้าของบ้าน ไชยวุฒิ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญา
งานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 19 เมษายน พ.ศ. 2557)

81
แกงจะช่ วยผสานเนื้ อเงิ นให้เป็ นเนื้ อเดี ยวกัน และจะไล่ เศษผงถ่ าน และ
อโลหะต่างๆ ที่ไม่ตอ้ งการออกจากเนื้ อเงิ น และเนื้ อเงิ นไม่ติดรางเทและ
เบ้าหลอม

ภาพที่ 4.24 เกลือแกงและดินประสิ ว

1.5.5) นํารางเท (เบิ้ง) รู ปทรงกลมใส่ น้ าํ มันก๊าดประมาณ 3 ใน 4 ของรางเท


แล้วจุดไฟเผานํ้ามันก่อนเทเนื้ อเงิ นลงไปวัตถุประสงค์เพื่อต้องการให้เนื้ อ
เงินจับตัวกัน และไล่ฟองอากาศออกไป เมื่อเนื้อเงินแทรกตัวอยูภ่ ายใน
1.5.6) เมื่ อโลหะเงิ นละลายเป็ นเนื้ อเดี ยวกันทั้งหมดให้ใช้คีมยาวคีบเบ้า
หลอมออกจากเตา แล้วเทเนื้อเงินลงไปในรางเท
1.5.7) รอให้เนื้ อเงิ นแข็งตัวจึงคีบออกมา และนําเนื้ อเงินไปเผาไฟอีกครั้ง
เพื่อให้น้ าํ มันที่เกาะติดอยูอ่ อกไปจนหมด ก่อนจะนําไปล้างนํ้า
1.5.8) นํารู ปโลหะเงิ นไปขึ้นรู ป หรื อการม้าง (ทุบ หรื อ ตี) ด้วยทัง่ เหล็ก
และค้อนขึ้ นรู ป ให้เป็ นแผ่นโลหะที่ มีล ัก ษณะความหนาเท่ ากันทั้ง แผ่น
จะได้โลหะที่มีลกั ษณะเป็ นแผ่นกลมและแบน ตี แต่งให้มีเส้ นขอบโลหะ
ประมาณ 2.5 นิ้ว
1.5.9) ตีแผ่นโลหะให้แผ่ขยายเป็ นแผ่นและเป็ นรู ปทรงกลมด้วยค้อนม้าง
(ค้อนม้าง ใช้สําหรับตีแผ่ขยาย) ตีขยับไล่เนื้ อโลหะไปทีละรอบ ไม่ควรตี
ซํ้าในรอยเดิ ม เมื่อวนครบจากจุดศูนย์กลางมาถึงริ มขอบแล้ว นําไปเข้าไฟ
(เผาไฟ) ให้โลหะอ่อนตัวและเริ่ มตีเนื้ อรอบต่อไปเพื่อให้โลหะบางลงและ
แผ่ขยายกว้างขึ้น

82
ภาพที่ 4.25 ค้อนม้างและทัง่

1.5.10). ตี แผ่โลหะโดยตี กลับไปมาทั้งสองด้านจนกว่าโลหะจะมีความ


กว้างเท่ากับ 7นิ้ ว วิธีการตี จะต้องตีให้เป็ นระบบ คือ ตีให้เป็ นวงกลมไป
รอบๆ และจะต้องหมุนชิ้นงานไปเรื่ อยๆ จนครบรอบแล้วเริ่ มตีรอบใหม่ไม่
ตีซ้ าํ รอบเดิมเพราะเนื้อโลหะจะแข็งตัว ทําให้แตกหรื อขยายตัวไม่เท่ากัน
1.5.11) ตีทาํ ขอบ โดยใช้คอ้ นม้างตีรอบๆขอบให้บางลงจะทําให้ขอบนั้น
สู งตั้งขึ้น และจะเห็นสันขอบได้ชดั เจนมากขึ้นและเน้นด้วยค้อนเบ๊าะ
1.5.12) ตีเส้นขอบของขัน โดยใช้ทงั่ สําหรับตีเส้นขอบ ซึ่ งหน้าทัง่ จะมีหลุม
สําหรับนําขอบโลหะลงไปพอดี นําแผ่นเงินควํ่าขอบที่นูนลงไป และตีจาก
ด้านหลังแผ่นโลหะจนครบรอบวง จะได้สันขอบโลหะที่ นูน และชัดเจน
ขึ้นกว่าเดิม แล้วใช้คอ้ นม้างไล่ตีแผ่นโลหะให้เป็ นแผ่นเรี ยบ

83
ภาพที่ 4.26 ทัง่ สําหรับตีเส้นขอบ

1.5.13) ใช้วงเวียนวัดเพื่อหาจุดศูนย์กลางของโลหะ ใช้เหล็กตอกลงไปให้


เป็ นรู เพื่อทําสัญลักษณ์ของจุดศูนย์กลาง ขีดด้วยวงเวียนให้เป็ นวงกลม เป็ น
ชั้นๆ เพื่อตีไล่ไปทีละชั้น
1.5.14) ตีแผ่ข้ ึนรู ปจากด้านใน โดยตี จากริ มขอบหนึ่ งรอบ จะทําให้รอบ
นอกบางลง และทําให้โลหะแข็งตัวเพื่อรักษารู ปทรง จากนั้นไล่ตีจากส่ วน
ที่ใกล้กบั จุดศูนย์กลาง แล้วตีขยับออกมาจะทําให้โลหะบางลง และรู ปทรง
จะหุ ม้ ขึ้น
1.5.15) ตีแผ่นโลหะไปทีละชั้น แต่ละชั้นประมาณ 1 หน้าค้อน ให้แผ่ขยาย
ออก เรี ย กว่าการตี เพื่ อให้ส่ วนที่ หนากว่า นั้นดันเนื้ อโลหะในส่ วนที่ บาง
ออกมา จึงทําให้โลหะนั้นมีความกว้างมากขึ้น
1.5.16) ได้โลหะที่บางลงจํานวน 2 ชั้นแล้วไล่โลหะทั้ง 2 ชั้นให้เป็ นเนื้ อ
เดียวกัน จะทําให้ได้ความหนาเท่ากัน หลังจากตีขยายครบรอบต้องสลับกับ
การเผาไฟทุกครั้งก่อนตีรอบใหม่
1.5.17) ทําขั้นตอนซํ้าเหมือนเดิมคือ ใช้วงเวียนขีดให้เป็ นรอยเพื่อแบ่งเป็ น
ชั้น ตี ตามรอยขี ดให้เนื้ อโลหะในชั้นรอบนอกตั้งขึ้ นเป็ นขอบ เนื้ อโลหะ
จะตั้งสู งขึ้น
1.5.18) ตีไล่เนื้ อโลหะจากตรงกลางวนออกมาทีละรอบของ 1 หน้าค้อน
เนื้อโลหะนั้นจะค่อยๆดันออกทางด้านข้างให้แผ่ขยายกว้างและหุ ม้ ขึ้น

84
1.5.19) เผาไฟแล้ว ใช้ว งเวีย นขี ดให้เ ป็ นชั้น ตี ไ ล่ เ นื้ อ ที ล ะชั้น จากจุ ด
ศู น ย์ก ลาง และตี จ ากจุ ด ก้น ขัน เพื่ อ ให้ โ ลหะยกขึ้ น เป็ น 2 ชั้น ตี ข้ ึ น
รู ปลักษณะนี้สลับกับการเผาไฟ
1.5.20) วัดความสู งให้ได้ตามที่ กาํ หนด แล้วตีแผ่จากก้นขันให้ขยายเนื้ อ
ตรงกลางออกมาเพื่อให้บางและกว้างขึ้น
1.5.21) ตีแผ่กน้ ขันให้กว้างขึ้นให้ได้รูปทรง และตีไล่ต้ งั แต่ขอบของขันลง
ไป ปรับรอยที่เป็ นชั้นๆ ให้เป็ นแผ่นเรี ยบ
1.5.22) ตกแต่งปากขอบให้เสมอกันทั้งใบ ใช้มือช่วยในการบีบดัดแต่งทรง
1.5.23) ใช้วงเวียนขีดจากจุดศูนย์กลางของขัน ขีดความกว้างรอบก้นของ
ขันให้เป็ นวงกลม แล้วตีให้เนื้ อขยายขึ้นภายในขอบเขตที่ขีดเป็ นวงกลมไว้
และตีแผ่ไล่ออกเป็ นชั้นๆ ก้นขันจะมีรูปทรงที่คมและชัดเจนขึ้น
1.5.24) แต่งทรงของขอบขันให้ได้ความกว้างเท่ากับที่กาํ หนด โดยเริ่ มจาก
ส่ วนที่อยูใ่ กล้กบั ปากขันก่อน ทั้งนี้เพื่อจะได้ไล่ตีลงไปโดยใช้แนวในการตี
ขยายขนาด
1.5.25) ตีแต่งทรงตรงก้นขันโดยจะใช้วงเวียนวัดหาจุกศูนย์กลางขีดเป็ น
วงกลม ตีแผ่ให้กน้ ขันขยายออก ส่ วนโค้งของขันให้ใช้วงเวียนวัดแบ่งช่วง
ระหว่างก้นขัน กับขอบ แล้วตีเฉพาะส่ วนนั้นให้ได้กน้ ขันที่โค้ง
1.5.26) ตีไล่เนื้ อจากตรงกลาง ให้เนื้ อโลหะนั้นแผ่ขยายออกโลหะมีความ
หนาเท่ากัน และตีแผ่ตามเส้นวงเวียน เพื่อลบขอบก้นขันให้โค้งตามรู ปทรง
1.5.27) ตีปรับขอบก้นขันทั้งด้านในและด้านนอกตามเส้นวงเวียนที่กาํ หนด
รู ปทรง
1.5.28) เมื่อตีลบขอบก้นเสร็ จจะได้ขนั ตามรู ปแบบ จากนั้นนําขันไปล้างทํา
ความสะอาดด้วยแปรงทองเหลือง ใช้น้ าํ มะขามเปี ยกจะทําให้ผิวโลหะนั้น
ใส เงางาม
1.5.29) สําหรับขันที่ไม่ตอ้ งทําลวดลายก็จะนําไปเคาะไล่เนื้ อเพื่อให้เนื้ อ
แน่นคงรู ปทรงและผิวมันเงางาม
1.5.30) เริ่ มเคาะไล่ผิวตั้งแต่ปากขันไปทีละรอบตามจังหวะของหน้าค้อน
หน้า ทัง่ และค้อนที่ ใ ช้เคาะต้องขัดมันให้เงางาม เพื่อที่ จะทําให้ผิวโลหะ
ที่โดนตีน้ นั เกิดความเรี ยบเป็ นเนื้ อเดียวกันและจะทําให้เกิดความเงางาม

85
(1.5.31) เคาะปรับผิวด้านข้างจนรอบแล้วใช้วงเวียนวัดหาจุดศูนย์กลาง เพื่อ
เป็ นหลักแนวในการเคาะก้นขันโดยเริ่ มเคาะจากจุดศูนย์กลางออกมา66

2) วิธีการทาเครื่องเงินวัวลายปัจจุบัน
ปั จจุบนั ช่ างทําเครื่ องเงินชุ มชนวัวลายยังคงมีข้ นั ตอนวิธีการแบบดั้งเดิ มแต่ยงั คง
มี น ายทุ น บางส่ ว น ว่ า จ้า งช่ า งทํา เครื่ องเงิ น ชุ ม ชนวัว ลาย จากคํา บอกเล่ า ของนาง
แสงจันทร์ ทิพย์สว่าง “ปี ก่อนช่ วงนั้นงานก่อบ่ค่อยมี มีป้อก้าเอาขันเงินผ๋ อง เนี ยมผ๋ อง
ถาดเงิ นผ๋ อง เปิ้ นปั๊ มมาจากโฮงงานเป็ นสิ บแก่ นซาวแก่ น มันจะมี ก๋าติ ดมาเป็ นก๋ าของ
โฮงงาน ก๋ าเพชร ก๋ าแมวนํ้า ตี้กน้ มีหลายเจ้าหลายตี้ เอามาหื้ อต้องลายใส่ เป็ นลายเครื อ
ลายดอก ป้ าก่อฮับมาแปง แก่นละแปดสิ บบาท วันหนึ่ งก่อได่หลายแก่นอยู่ เปิ้ นไปจ้าง
ตางหมื่นสาร กับต๋ างหางดงคนบ้านเฮาเนี้ ย หลายสิ บแก่นอยู่ เอาไว้ขายหื้ อจาวบ้านกับ
ส่ งออก แต่บ่าเดียวบ่ค่อยมีงานเข้ามาละก่อเลยต้องเสาะฮับจ้างตางอื่นเอา”67
ซึ่ งมีใจความสําคัญว่า มีพ่อค้านายทุนหลายราย นําขันเงิน ขันอลูมิเนียมบ้าง ถาด
เงิ นบ้าง ซึ่ งขึ้นรู ปมาจากโรงงาน หลายสิ บชิ้ น มีการตีตราของโรงงาน เป็ นรู ปเพชร รู ป
แมวนํ้า ที่ ใ ต้ชิ้ นงาน มาจ้า งให้ดุน ลวดลายเพิ่ ม เติ ม โดยกระจายชิ้ น งานไปยัง ช่ า งทํา
เครื่ องเงินชุมชนหมื่นสาร และญาติพี่นอ้ งที่อยูท่ างหางดง หลายสิ บชิ้น ซึ่ งตรงกับคําบอก
เล่าของ
แม่ประไพร ไชยวุฒิ , เจ้าของบ้านไชยวุฒิซ่ ึ งสรุ ปใจความสําคัญไว้ดงั นี้ สภาพ
เศรษฐกิ จชุ มชนวัวลายตั้งแต่อดี ตถึ งปั จจุ บนั ว่าตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 สภาวะการค้าขาย
เครื่ องเงิ นของบ้านวัวลายดี ข้ ึ น ได้มี การริ เริ่ ม และลงทุ นของชาวต่ า งชาติ โดยการนํา
แร่ เงิ นเข้า สู่ ก ระบวนการขึ้ นรู ป ในรู ป แบบของโรงงานอุ ต สาหกรรม แล้วนํา มาจ้า ง
ชาวบ้า นวัวลายบุ ดุนลวดลาย ครั้ งละหลายร้ อยชิ้ นช่ างจึ ง รวมกลุ่ ม กันมารั บ จ้างบุ ดุน
ลวดลาย เมื่ อ เสร็ จ แล้ว จะส่ ง ให้ น ายทุ น นํา ไปขายสู่ ต่ า งประเทศ ตั้ง แต่ ปี พ.ศ.2548
เครื่ องเงิ นที่ข้ ึนรู ปด้วยรู ปแบบโรงงานอุตสาหกรรม ไม่ค่อยได้รับความนิ ยม ทําให้งาน
ที่ เคยมาจ้า งช่ า งบ้า นวัวลายบุ ดุ นลวดลายค่ อยๆหายไป จนกระทั้ง ต่ อมามี ก ารว่า จ้า ง
ให้ผลิตชิ้นงานเครื่ องเงินขึ้น ภายหลังทราบว่านําไปเป็ นต้นแบบในการขึ้นรู ปในรู ปแบบ
โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อลดต้นทุนการผลิต และใช้วสั ดุทดแทนอื่นๆเช่ น ทองแดง และ

66
“ความรู้ที่ไม่ลืม นําสู่การเพิม่ ศักยภาพทางธุรกิจ” กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม หน้า 95 – 97
67
สัมภาษณ์ นางแสงจันทร์ ทิพย์สว่าง ช่างดุนลายเครื่ องเงิน (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557)

86
อลูมิเนี ยม มาจ้างช่างบ้านวัวลาย บุดุนลวดลาย และบางส่ วนมีชิ้นงานแบบสําเร็ จรู ป คือ
ชิ้นงานที่มีมีลวดลายตามต้นแบบแต่ตอ้ งให้ช่างทําเครื่ องเงิน ดุนเก็บลายละเอียดอีกครั้ง
ซึ่ งผลิตออกมาจําหน่ายแต่ก็ไม่ได้รับความนิยม68
จากคําบอกเล่าของแม่ประไพร ไชยวุฒิ ทําให้ทราบว่าในอดี ตจนกระทัง่ ปั จจุบนั
ยังคงมีการทําผลิตภัณฑ์เครื่ องเงินแบบลดต้นทุน คือ การขึ้นรู ปในรู ปแบบของโรงงาน
อุ ต สาหกรรมแล้ว นํา มาจ้า งให้ ช่ า งทํา เครื่ อ งเงิ น ดุ น ลวดลายเพิ่ ม เติ ม อยู่ ห ลายครั้ ง
แต่เนื่องจากผลิตภัณฑ์ไม่ได้รับความนิยมจึงค่อยๆหายไป

4.2.3 สภาพการณ์ ปัญหาของธุรกิจและการผลิตเครื่องเงินวัวลาย


ในอดี ต การเติ บ โตของการค้า ขายเครื่ องเงิ น เริ่ ม ขยายกิ จการไปยัง หมู่ บ ้า นแม่ หย่อ ย
อําเภอสันทราย จังหวัดเชี ยงใหม่ ซึ่ งมีบรรพบุรุษเป็ นช่างทําเครื่ องเงินมาก่อนเช่นเดี ยวกับบ้าน
วัวลาย แต่ภายหลังได้เลิ กกิ จการไป ในหมู่บา้ นเหลื อเพียงช่ าง 2 คน ซึ่ งหม่อมธาดา ขุนศึ ก
เม็ ง ราย บุ ตรสาวของแม่ บ วั จัน ทร์ และนายดาบแดง พัฒ นถาบุ ตร คหบดี บ ้านวัว ลาย เป็ น
ผูส้ นับสนุน ในด้านการเงิน และการตลาด โดยได้รับความร่ วมมือจากกระทรวงอุตสาหกรรม
ต่อมาแร่ เงินที่ใช้ผลิตเครื่ องเงินมีราคาแพง หม่อมธาดา ขุนศึกเม็งรายจึงริ เริ่ มส่ งเสริ มให้
ช่ า งทํา เครื่ อ งเงิ น หั น มาใช้ แ ร่ อ ลู มิ เ นี ย มแทน โดยมี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม มาจากลู ก ค้า ที่ ต้อ งการ
ผลิตภัณฑ์เลียนแบบเครื่ องเงินเพื่อให้สินค้ามีราคาถูกลง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เป็ นต้นมากรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมได้สนับสนุ นส่ งเสริ มให้มีการ
ลงทุ นด้านหัตถอุตสาหกรรมหลายอย่างในเขตอําเภอสันกําแพง พร้ อมกับการท่องเที่ยวแห่ ง
ประเทศไทย (ททท.) และจังหวัดเชี ยงใหม่ สนับสนุ นส่ งเสริ มให้หมู่บา้ นสองฟากถนนสาย
เชียงใหม่ - สันกําแพง เป็ นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้านเมื่อ ปี พ.ศ. 2518 ต่อมาได้มีการลงทุน
ก่อตั้งโรงงานสาธิ ตกระบวนการผลิ ตเครื่ องเงิ นทุกขั้นตอน โดยมีการว่าจ้างช่ างทําเครื่ องเงิ น
ชุมชนวัวลายหลายคนไปเป็ นลูกจ้างในโรงงานในช่วงปี พ.ศ. 2527 การค้าขายสิ นค้าหัตถกรรม
พื้นบ้านในย่านสันกําแพงมีการขยายตัวมากขึ้น เนื่องจากบริ ษทั นําเที่ยวนิ ยมพานักท่องเที่ยวไป
ที่สันกําแพงเพียงแห่ งเดี ยวโดยได้รับผลประโยชน์จากเปอร์ เซ็ นต์การขายสิ นค้าจากนายทุ น
เจ้า ของร้ า น พร้ อ มกัน นั้น ที่ สั นกํา แพงก็ มี ค วามสะดวกมากกว่า ในด้า นสถานที่ ต้ งั และยัง
สามารถพานัก ท่ อ งเที่ ย วเยี่ ย มชมได้ถึ ง โรงงานที่ ผ ลิ ต จากปั จ จัย ดัง กล่ า วส่ ง ผลกระทบต่ อ
เศรษฐกิ จของชุ มชนวัวลาย ทําให้ช่างทําเครื่ องเงิ นจํานวนมากต้องไปเป็ นแรงงานรับจ้างใน

68
สัมภาษณ์ แม่ประไพร ไชยวุฒิ เจ้าของบ้าน ไชยวุฒิ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญา
งานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2557)

87
โรงงานที่ สันกําแพงเนื่ องจากมีรายได้ที่แน่ นอนกว่า เป็ นผลให้ร้านเครื่ องเงิ นหลายแห่ งขาด
แคลนแรงงานช่างฝี มือ และหลายแห่งต้องปิ ดกิจการลง
ตั้งแต่มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ได้จดั ตั้งขึ้ นในปี พ.ศ. 2507 ถื อเป็ นจุ ดเริ่ มต้นของการ
ขยายตัวของสถาบันการศึกษาระดับมัธยมศึกษา และอุดมศึกษาหลายๆแห่ งในเชี ยงใหม่ซ่ ึ ง
ต่อมาได้ผลิ ตบัณฑิ ตที่ มุ่ งตอบสนองการพัฒนาทางด้านอุ ตสาหกรรมและเศรษฐกิ จและได้
ส่ งผลกระทบต่อการทําเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย โดยลูกหลานของช่ างทําเครื่ องเงิ นเมื่ อสําเร็ จ
การศึกษาในระดับสู ง ก็หนั ไปประกอบอาชี พอื่นๆที่มีรายได้มนั่ คงกว่า จึงไม่คิดที่จะประกอบ
อาชีพการทําเครื่ องเงินอีกต่อไป
ปั จจุ บ นั ยัง คงมี ปั ญหาในด้า นของธุ รกิ จ และการผลิ ต เครื่ องเงิ นอยู่คื อ ผูป้ ระกอบการ
ร้านค้าเครื่ องเงินชุมชนวัวลายหลายรายได้สืบทอดกิจการมาจากบรรพบุรุษ ขาดกลยุทธ์ในด้าน
การตลาด ไม่มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การกําหนดราคาตามประสบการณ์ ความยากง่ายในการทํา
ซึ่ ง ยัง ไม่ เป็ นมาตรฐานโดยเฉพาะช่ า งฝี มื อรุ่ นปั จจุ บ นั ไม่ ยอมฝึ กทํา สิ นค้า ที่ มีรูป แบบ และ
ลวดลาย นอกเหนื อจากที่ เคยทํา โดยเฉพาะลวดลายดั้งเดิ มที่ มีความละเอียด ประณี ต ต้องใช้
เวลาและความอดทนสู ง แต่ตอ้ งการทํางานที่ง่ายเพื่อให้มีรายได้พอเลี้ยงชี พ และไม่สนใจที่จะ
สื บทอดภูมิปัญญาการขึ้นรู ปเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม
ผลจากภาวะเศรษฐกิ จตกตํ่า เป็ นผลให้ช่างทําเครื่ องเงิ นหลายคนซึ่ งอยู่ในฐานะยากจน
และว่างงานจึงต้องหันไปประกอบอาชี พอื่นๆ เพื่อเลี้ ยงชี พ และทําให้ความต้องการและการ
สั่งซื้ อสิ นค้าเครื่ องเงิ นในตลาดลดลง อันเนื่ องมาจากความสัมพันธ์ระหว่างเครื่ องเงิ นและวิถี
ชี วิตผูค้ นที่ เปลี่ ย นแปลงไปแต่ ต้นทุ นในการผลิ ตที่ สู ง ขึ้ น ทํา ให้มี ก ารลดต้นทุ นโดยการลด
คุ ณภาพของเนื้ อเงิ นลง เกิ ดปั ญหาในความไม่มนั่ ใจในคุ ณภาพสิ นค้าตามมา โดยเฉพาะการตี
ตราเพื่อแจ้งเนื้อเงินไม่ตรงตามความเป็ นจริ ง การนําเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการขึ้นรู ปเพื่อ
ลดต้นทุนในค่าแรงงานการผลิ ต ภูมิปัญญาการขึ้นรู ปแบบดั้งเดิ มจึงถูกแทนที่ดว้ ยเทคโนโลยี
การขึ้นรู ปในรู ปแบบโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่ งได้รับความนิ ยมในกลุ่มผูซ้ ้ื อที่ไม่สนใจกรรมวิธี
ผลิต ต้องการชิ้นงานราคาถูก โดยขาดหน่วยงานภาครัฐและเอกชนช่วยเหลือในด้านเงินทุนและ
การตลาดอย่างจริ งจัง
จากคําบอกเล่ าของ คุ ณพ่อ ปรี ชา ขันทนันต์ ใจความสําคัญตอนหนึ่ งว่า ความยากใน
กระบวนการขึ้นรู ปเครื่ องเงิ นว่า มีการเผยแพร่ และมีผสู ้ นใจจากท้องถิ่ นอื่นๆเดิ นทางมาเรี ยน
กระบวนการทําเครื่ องเงิ น และนําไปถ่ายทอดในชุ มชนของตัวเองกระบวนการทําเครื่ องเงิ นที่
ชุ ม ชนอื่ นๆได้นํา ไปต่ อ ยอดนั้น จะมุ่ ง เน้นเฉพาะการบุ ดุน ลวดลายเท่ า นั้น เพราะการบุ ดุ น
ลวดลายเป็ น กระบวนการที่ มีค่าตอบแทนหรื อค่าแรงในการทําสู งที่สุด ในกระบวนการทํา
เครื่ องเงิ น แต่กระบวนการขึ้ นรู ปนั้นไม่เป็ นที่ สนใจ เพราะกระบวนการขึ้นรู ปเครื่ องเงิ นนั้น

88
เป็ นงานที่ตอ้ งใช้อุปกรณ์และเครื่ องมือ ขนาดใหญ่ ใช้ความชํานาญเป็ นพิเศษ มีข้ นั ตอนที่ยงุ่ ยาก
ซับซ้อนคือ การหาถ่าน ที่ใช้หลอมก็ตอ้ งเป็ นถ่านไม้แห้งให้ความร้อนสู งและมีความคงทนของ
การให้ความร้อนที่นานกว่าถ่านที่ใช้หุงต้มทัว่ ไปจะต้องใช้ความร้อนที่พอเหมาะและเชื้ อเพลิ ง
จํานวนมากในการหลอม การหลอมถ้าใส่ ส่วนผสมไม่ถูกต้องเนื้ อเงินจะไม่สามารถผสมเข้า
กันได้ดี ทําให้เวลาตีข้ ึนรู ปเนื้อเงินจะแตก ซึ่ งส่ วนผสมของแต่ละครู ช่างจะไม่เหมือนกันและถือ
ว่าเป็ นความลับไม่ยอมเผยแพร่ ให้ผอู ้ ื่นทราบจึงยากที่ผอู ้ ื่นจะสื บทอดได้ ช่างทําเครื่ องเงินยังถือ
ว่าอาชีพของตัวเองเป็ นอาชี พที่ไม่มีเกียรติและใช้แรงงานหนักแต่มีค่าตอบแทนที่นอ้ ย ไม่อยาก
ให้ลูกหลานสื บทอดจึงสนับสนุนให้เข้าศึกษาทางวิชาการและมีอาชีพอื่นๆที่ดีกว่า69
คุณแม่กมลพรรณ สุ ทธิ กล่าวอีกว่า ความรู ้ ในการทําเครื่ องเงินของช่างแต่ละคนนั้นได้
ถูกถ่ายทอดผ่านบรรพบุรุษมาหลายรุ่ นและถูกส่ งผ่านไปยังรุ่ นลูก ด้วยความภาคภูมิใจในภูมิ
ปั ญญาที่ทรงคุ ณค่า ที่นบั วันจะหาคนสื บทอดได้ยาก ถึ งแม้จะได้รับความสนใจจากเยาวชนใน
การเรี ยนรู ้ภูมิปัญญา แต่กลับไม่มีเยาวชนคนใดอยากจะทําอาชี พช่างเครื่ องเงิ นเพราะถือว่าการ
ทําเครื่ องเงินเป็ นงานไม่มีเกียรติ เป็ นงานหนัก ใช้แรงมาก และการเรี ยนรู ้ให้ชาํ นาญจนสามารถ
ทําเป็ นอาชี พได้น้ นั ก็ตอ้ งใช้ระยะเวลานาน เป็ นอาชี พที่มีรายได้ไม่มนั่ คงแน่ นอน ทําให้ชุมชน
วัวลายขาดแรงงานจากช่างทําเครื่ องเงินรุ่ นใหม่ที่จะสามารถสื บสาน ภูมิปัญญา 70
คุณสนิท บุญแลน ยังได้กล่าวถึงสภาพปั ญหาว่า เมื่อก่อนมีการตั้งกลุ่ม อนุ รักษ์ภูมิปัญญา
งานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นที่วดั หมื่ นสารนี้ โดยใช้ชื่อว่า กลุ่มชมรมช่ างเครื่ องเงิ นและแผ่นภาพ
หมื่นสารบ้านวัวลายแต่มีอุปสรรคเกิดขึ้น ในเรื่ องของอุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ชาํ รุ ดทุนที่ใช้ใน
การดําเนิ นการ และสภาพร่ างกายของสมาชิ กในกลุ่มที่อายุมากขึ้น ทําให้สมาชิ กกลุ่มอนุ รักษ์
ของวัดหมื่ นสารค่อยๆหายไปแต่สมาชิ กที่ ยงั เหลื ออยู่ก็มีความคิ ดที่ คล้ายคลึ งกันคื ออยากจะ
ฟื้ นฟูภูมิปัญญาการขึ้นรู ปเครื่ องเงิน และถ่ายทอดภูมิปัญญาการทําเครื่ องเงินให้ สื บทอดต่อไป
ยังรุ่ นลูกรุ่ นหลาน โดยอยากจะร่ วมมือกับภาครัฐ หรื อองค์กรใดก็ตามที่จะมาสนับสนุ น ก่อนที่
ภูมิปัญญาการทําเครื่ องเงินวัวลายจะสู ญหายไป71

69
สัมภาษณ์ พ่อปรี ชา ขันทนันต์ ผูพ้ พิ ากษาสมทบ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษา
เรื่ องการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 31 มีนาคม 2557)
70
สัมภาษณ์ แม่กมลพรรณ สุทธิ ประธานกลุ่มหัตถศิลป์ ล้านนาวัดศรี สุพรรณ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์
และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 27 สิ งหาคม 2557)
71
สัมภาษณ์ นายสนิท บุญแลน (อดีต)ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนเมตตาศึกษา (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 12มิถุนายน2557)

89
ชุ ม ชนหัตถกรรมเครื่ องเงิ น วัวลาย ได้มี หน่ วยงานหลายแห่ ง เข้า มาช่ วยเหลื อในการ
อนุรักษ์งานหัตถกรรมเครื่ องเงินโดยการจัดกิจกรรมโครงการต่างๆหลายโครงการ สามารถแจก
แจงได้ดงั นี้
ปี พ.ศ. 2543 งาน “มรดกล้านนาภูมิปัญญาท้องถิ่น 500 ปี วัดศรี สุพรรณ” วันที่ 30
มีนาคม-วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543
ปี พ.ศ. 2545 “กิ จกรรมจัดการเรี ยนการสอนเพื่อถ่ ายทอดองค์ค วามรู ้ ด้า นการผลิ ต
ชิ้ นงานหัต ถกรรมเครื่ อ งเงิ นแก่ เ ด็ ก เยาวชน ประชาชนทัว่ ไป” ได้รั บการสนับ สนุ น
เงิ นกองทุน SIP จากคณะกรรมการ “โฮงเฮียนสื บสานล้านนา” ดําเนิ นการโดยกลุ่ ม
“หัตถศิลป์ ล้านนา วัดศรี สุพรรณ”
ปี พ.ศ. 2545 ชุมชนวัดศรี สุพรรณ ชุมชนหมื่นสารบ้านวัวลาย และชุมชนนันทาราม
ร่ วมกันจัดกิจกรรมส่ งเสริ มภูมิปัญญาท้องถิ่นหมุนเวียนกันจัดงานตามวัดในแต่ละชุมชน
ครั้งที่ 1 จัดงาน “กาดหมั้วคัวเงิน คัวฮัก คัวหาง” ที่วดั ศรี สุพรรณ ระหว่าง
วันที่ 1-2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
ครั้งที่ 2 จัดงาน “กาดม่วน คัวเงิน คัวฮัก คัวหาง” ที่วดั หมื่นสาร ระหว่าง
วันที่ 6-7 ธันวาคม พ.ศ. 2545
ครั้ งที่ 3 จัดงาน “กาดคัวเงิ น คัวฮัก คัวหาง” ที่ วดั นันทาราม ระหว่าง
วันที่ 6-4 มกราคม พ.ศ. 2546
ปี พ.ศ. 2547 เทศบาลนครเชี ยงใหม่ได้ผลักดันให้มีการจัดกิ จกรรม “ถนนคนเดิ น
วัวลาย” ทุกๆวันเสาร์ สืบเนื่องมาถึงปัจจุบนั
ปี พ.ศ.2550 จัดตั้ง “ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณสล่าสิ บหมู่ลา้ นนาวัดศรี สุพรรณ”
โดยความร่ วมมือกับสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่ งชาติ กับศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน
กาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง)
ปี พ.ศ. 2552 โครงการ “ส่ งเสริ มการพัฒนาการรวมกลุ่มและเชื่ อมโยงอุตสาหกรรม
เครื่ องเงินจังหวัดเชียงใหม่” หน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ ศูนย์ส่งเสริ มอุตสาหกรรม
ภาคที่ 1 ระยะเวลา 30 ธ.ค 2552 - 30 ส.ค 2553 หน่วยงานดําเนิ นการ สํานักงานบริ หาร
ทรัพย์สินและสิ ทธิประโยชน์
ปี พ.ศ. 2553 โครงการ “พัฒนาผูป้ ระกอบการและเครื อข่ายให้มีศกั ยภาพและขี ด
ความสามารถสู งขึ้น” หน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
เชี ยงใหม่ ระยะเวลา 9 มี.ค 2553 – 6 ก.ย 2553 หน่วยงานดําเนิ นการ สํานักงานบริ หาร
ทรัพย์สินและสิ ทธิประโยชน์

90
ปี พ.ศ. 2553 โครงการ “สร้างผูป้ ระกอบการเพื่อสร้ างเครื อข่ายวิสาหกิ จและความ
เข้ม แข็งของชุ มชน กิ จกรรมส่ ง เสริ มและพัฒนาเครื อข่า ยชุ ม ชนหัตถกรรมเครื่ องเงิ น
วัวลาย” หน่ วยงานสนับสนุ นงบประมาณ สํา นัก งานส่ งเสริ ม วิส าหกิ จขนาดกลาง
ขนาดย่อม (สสว.) ระยะเวลา 17 พ.ย 2553 – 31 ธ.ค 2553 หน่ วยงานดําเนิ นการ
สํานักงานบริ หารทรัพย์สินและสิ ทธิประโยชน์
ปี พ.ศ. 2553 โครงการ “ส่ งเสริ มการพัฒนาการรวมกลุ่มและเชื่ อมโยงอุตสาหกรรม
เครื่ องเงินจังหวัดเชียงใหม่” หน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ ศูนย์ส่งเสริ มอุตสาหกรรม
ภาคที่ 1 ระยะเวลา 22 พ.ย. 2553 – 22 ส.ค 2554 หน่วยงานดําเนิ นการ สํานักงานบริ หาร
ทรัพย์สินและสิ ทธิประโยชน์
ปี พ.ศ. 2554 โครงการ “พัฒนาผลิตภัณฑ์เชิ งสร้างสรรค์ และการตลาดสมัยใหม่กลุ่ม
อุ ต สาหกรรมเครื่ องเงิ น ชุ ม ชนย่ า นวัว ลาย” หน่ ว ยงานสนั บ สนุ น งบประมาณ
สํา นัก งานอุ ตสาหกรรมจัง หวัดเชี ย งใหม่ ระยะเวลา 23 มิ . ย 2554– 20 ก.ย 2554
หน่วยงานดําเนินการ สํานักงานบริ หารทรัพย์สินและสิ ทธิ ประโยชน์
ปี พ.ศ. 2555 โครงการ “พัฒนาการรวมกลุ่มและเชื่ อมโยงอุตสาหกรรม การพัฒนา
กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่ องเงินวัวลาย” หน่วยงานสนับสนุ นงบประมาณ ระยะเวลา 5 มี.ค
2555 – 5 ก.ย 2555 หน่วยงานดําเนินการ สํานักงานบริ หารทรัพย์สินและสิ ทธิ ประโยชน์
ปี พ.ศ. 2555 โครงการ “พัฒนาผลิตภัณฑ์เชิ งสร้างสรรค์และบริ การด้านวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาท้องถิ่ น พื้นที่ภาคเหนื อ” หน่ วยงานสนับสนุ นงบประมาณ สํานักงาน
ส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางขนาดย่อม (สสว.) ระยะเวลา 14 ธ.ค. 2555 – 31 ม.ค. 2556
หน่วยงานดําเนินการ สํานักงานบริ หารทรัพย์สินและสิ ทธิ ประโยชน์
ปี พ.ศ. 2556 โครงการ “ยกระดับชุ มชนย่านวัวลายเพื่อการท่องเที่ยวเชิ งสร้างสรรค์”
หน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ กระทรวงวัฒนธรรม ระยะเวลา 1 เม.ย 2556 – 31 ส.ค.
2556 หน่วยงานดําเนินการ สํานักงานบริ หารทรัพย์สินและสิ ทธิประโยชน์
งานกิ จกรรมภายใต้โครงการ “ยกระดับชุ มชนย่านวัวลายเพื่อการท่องเที่ ยวเชิ ง
สร้างสรรค์” คืองานงานหัตถกรรมภูมิปัญญาบ้านวัวลาย "แอ่วผ่อผญ๋ า ภูมิปัญญา
คัวเงิน – คัวเขิน บ้านวัวลาย" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 8 -10 พฤศจิกายน 2556
ปี พ.ศ. 2556 โครงการ “พัฒนาการศึ กษาศาสนทายาท (ช้างเผือกหัตถกรรม)”
วันที่13-15 กรกฏาคม 2556 ดําเนินการโดย สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่
ปี พ.ศ. 2557 โครงการ “ท่องเที่ ยวเชิ งสร้ างสรรค์ ผ่านงานหัตถกรรมลํ้าค่ากับกลุ่ ม
หัตถศิลป์ ล้านนาวัดศรี สุพรรณ” ดําเนินการโดย การท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย ระหว่าง
วันที่ 23-24 สิ งหาคม 2557

91
ปี พ.ศ. 2558 โครงการ “ท่ องเที่ ย วเพื่ อการเรี ย นรู ้ วิถี ชุ มชนวัวลาย อําเภอเมื อ ง
เชียงใหม่” ดําเนินการโดย ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณ สล่าสิ บหมู่ลา้ นนาวัดศรี สุพรรณ

จากข้อมูลดังกล่าว กิจกรรมและโครงการ ของหน่วยงานต่างๆ ยังประสบปั ญหาในเรื่ อง


ของ ขาดความต่อเนื่ องและจริ งจัง ในการประชาสัมพันธ์ ผลการศึ ก ษาวิจยั และการให้ก าร
สนับ สนุ น จากหน่ วยงานต่ า งๆที่ ย งั ไม่ ส อดคล้องกับ ความต้องการที่ แท้จริ ง ของชุ ม ชนใน
ภาพรวม และยังไม่ปรากฏผลที่ชดั เจนเป็ นรู ปธรรมมากนัก อาจจะต้องปรับรู ปแบบของการให้
การสนับสนุนโดยอาศัยเวทีประชาคมเพื่อศึกษาความต้องการที่แท้จริ งของชุมชน หลังจากนั้น
จึงดําเนินการตามบทบาทและอํานาจหน้าที่ของตน และสนับสนุนหน่วยงานภาคส่ วนอื่นๆ

ในปั จจุ บ ันชุ ม ชนวัวลาย โดยเฉพาะชุ ม ชนวัดศรี สุ พ รรณ มี เจ้าอาวาสวัดศรี สุ พ รรณ


พระครู พิทกั ษ์สุทธิ คุณ เป็ นผูร้ ิ เริ่ มและผลักดันให้เกิ ดการดําเนิ นการอนุ รักษ์และการจัดแหล่ง
เรี ยนรู้งานหัตถกรรมเครื่ องเงินของชุ มชน โดยมีองค์ประกอบหลักๆที่สําคัญคือ บ้าน วัดและ
โรงเรี ยน โดยใช้ตน้ ทุนทางสังคมที่มีอยูแ่ ล้ว คือประวัติศาสตร์ ความเป็ นมา วิถีชีวิต ภูมิปัญญา
ชาวบ้านเกี่ ยวกับงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น ศาสนวัตถุ มี การจัดกิ จกรรมเกิ ดขึ้ นภายในชุ มชน
มากมาย โดยเน้นการสร้างเสริ ม ความรักและหวงแหนภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินให้แก่
เด็กและเยาวชน มีการก่อตั้งสภาบวรศรี สุพรรณขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ เป็ นศูนย์รวมองค์กร
ภายในชุมชนศรี สุพรรณทั้ง 15 องค์กร รวมพลังสร้างสรรค์ พัฒนาบ้าน วัด และโรงเรี ยน อีกทั้ง
ยังเป็ นเวทีสร้างความเป็ นเอกภาพ กระจายข้อมูลข่าวสาร และสร้างความสัมพันธ์กบั หน่วยงาน
องค์กร เครื อข่ายกัลยาณมิตรอื่นๆ

วัด
องค์กรภายในชุมชน หน่วยงาน/องค์กร ภาครัฐ

ภูมิปัญญางาน
หัตถกรรมเครื่ องเงิน

บ้าน โรงเรี ยน

เครื อข่ายกัลยาณมิตรอื่นๆ

แผนภูมิที่ 4.1 แสดงความสัมพันธ์ของสภาบวรศรี สุพรรณและหน่วยงานอื่นๆ

92
อี ก ทั้ง ทางเจ้า อาวาสวัดศรี สุ พ รรณ พระครู พิท กั ษ์สุท ธิ คุ ณ ร่ วมกับ คณะกรรมการวัด
มี ค วามตระหนัก ที่ จ ะอนุ รั ก ษ์แ ละพัฒ นาศิ ล ปวัฒ นธรรมทุ น ทางสั ง คมที่ สื บ ทอดมาจาก
บรรพบุรุษ จึงได้ดาํ ริ และดําเนิ นกิจกรรมโครงการต่างๆ โดยได้รับการสนับสนุ นและเห็นชอบ
จากคณะสงฆ์จ ัง หวัด เชี ย งใหม่ สํ า นัก งานพระพุ ท ธศาสนาจัง หวัด เชี ย งใหม่ สํ า นัก งาน
พระพุทธศาสนาแห่ งชาติ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ซึ่ งมีกิจกรรมโครงการที่ดาํ เนิ นการดัง
รายละเอียดต่อไปนี้

จัด ตั้ง กลุ่ ม หัต ถศิ ล ป์ ล้า นนาวัด ศรี สุ พ รรณ (พ.ศ.2543 - ปั จ จุ บ ัน ) รวบรวมกลุ่ ม ช่ า ง
หัตถกรรมเครื่ องเงิน อนุญาตพื้นที่ของวัดให้ดาํ เนิ นกิจกรรมพัฒนาสร้างรายได้เลี้ยงครอบครัว
จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ หัตถกรรมเครื่ องเงิน หลักสู ตรท้องถิ่นและรู ปแบบตามอัธยาศัย เป็ นช่าง
ภูมิปัญญาชาวบ้าน จัดสร้างอุโบสถเงินซึ่ งกําลังดําเนินการอยูใ่ นขณะนี้
จัดตั้งศูนย์ศิลปะไทยโบราณสล่าสิ บหมู่ลา้ นนาวัดศรี สุพรรณ โดยความร่ วมมือของศูนย์
การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) กับสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่ งชาติ
สนองงานในพระราชดํา ริ ด้านการส่ งเสริ ม สื บสานการเรี ยนรู ้ ช่า งสิ บ หมู่ สู่ ทอ้ งถิ่ นและนํา
นักศึกษาสร้างอุโบสถเงินร่ วมกับภูมิปัญญาชาวบ้าน
จัดตั้งศูนย์จาํ หน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนวัดศรี สุพรรณ (Local Product Center) ตั้งแต่ปี พ.ศ.
2549 – ปั จจุบนั นําจดทะเบียนเป็ นวิสาหกิ จชุ มชนเมื่อ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2550 รหัสทะเบียน
650-01-03/1-0004 และได้รับการคัดสรรเป็ น OTOP ระดับ 4 ดาว เพื่อดําเนิ นการด้านการ
ส่ งเสริ มจําหน่ายผลิตภัณฑ์ของภูมิปัญญาชาวบ้านที่รวมกลุ่มจัดสร้างชิ้นงานภายในวัด และผูท้ ี่
เป็ นสมาชิ กของกลุ่มโดยเบื้องต้นได้ระดมทุนจากการขายหุ ้นแก่ประชาชนในท้องถิ่ น หุ ้นละ
100 บาทเป็ นทุนดําเนิ นการด้านการจัดจําหน่ ายผลิ ตภัณฑ์ชุมชนของศูนย์ฯ ซึ่ งเป็ นการริ เริ่ ม
วงจรต่อจากการผลิต - การจัดการ – การจัดจําหน่าย นําไปสู่ การสร้างรายได้และกระจายรายได้
สู่ ประชาชนในท้องถิ่นอย่างทัว่ ถึงเป็ นธรรม เห็นผลอย่างชัดเจนยิง่ ขึ้น
จัดกิจกรรม “งานกาดหมั้ว คัวเงิน คัวฮัก คัวหาง” โดยความร่ วมมือระหว่างชุ มชนวัดศรี
สุ พรรณ ชุ มชนวัดหมื่นสาร และชุ มชนวัดนันทาราม จํานวน 3 ครั้งในปี พ.ศ. 2545 ซึ่ งเป็ น
จุดเริ่ มต้นของการก่อกําเนิ ด “ถนนสายวัฒนธรรมคนเดินวัวลาย” ทุกวันเสาร์ ร่วมกับเทศบาล
นครเชียงใหม่ หน่วยงานองค์กรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย ตั้งแต่น้ นั มาจนถึงปั จจุบนั อันเป็ นกิจกรรมที่
ก่อให้เกิ ดการสร้ างงานสร้ างอาชี พ ส่ งเสริ มเศรษฐกิ จชุ มชนในจังหวัดเชี ยงใหม่เข้มแข็งอย่าง
เป็ นรู ปธรรมอีกกิจกรรมหนึ่ง
จัดสร้างอุโบสถเงิน ฝากศิลป์ แก่แผ่นดินถิ่นล้านนา ถวายไว้ในบวรพระพุทธศาสนา เทิด
ไท้อ งค์ร าชัน ย์รัช กาลที่ 9 โดยอาศัย มิ ติท างพุ ท ธศาสนาบู ร ณาการกับ ภู มิ ปั ญญาท้อ งถิ่ น

93
หัตถกรรมเครื่ องเงิน ถนนวัวลายที่ได้สืบทอดมาจากบรรพบุรุษมามากกว่า 200 ปี เพิ่มคุณค่า
ของอุ โบสถหลัง เดิ ม ที่ ช ํา รุ ดทรุ ดโทรมลงตามกาลเวลา ซึ่ ง ใช้วิธี ก ารก่ อสร้ า งจากฐานและ
พัทธสี มาและพระพุทธประธานในอุโบสถหลังเดิม โครงสร้างก่ออิฐ ถือปูน ขนาดกว้าง 5 เมตร
ยาว 17.50 เมตร สู ง 18 เมตร รู ปทรงสถาปั ตยกรรมล้านนา นําช่างภูมิปัญญาชาวบ้านหัตถกรรม
เครื่ องเงินถนนวัวลาย สลักลวดลายแนวประเพณี ลา้ นนา ภายในศิลปกรรมแสดงถึงการเคารพ
สัก การะพระรั ตนตรั ย : พระพุ ท ธรั ต นะ พระธรรมรั ต นะ พระสั ง ฆรั ตนะ ส่ วนภายนอก
ศิลปกรรมแสดงสัญลักษณ์ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย์ ใช้วสั ดุจากอลูมิเนียม (วัสดุแทน
แร่ เงิน) และเงินบริ สุทธิ์ (ในส่ วนที่สาํ คัญและปลอดภัย) บุและตกแต่งตั้งแต่หลังคา ผนังภายใน
ภายนอกรวมทั้งหลัง
กิจกรรม Monk Chat / Meditation เป็ นกิจกรรมบริ การสําหรับชาวต่างประเทศ ได้มี
โอกาสสนทนาธรรมและปฏิบตั ิธรรมเบื้องต้นกับพระภิกษุ สามเณร ในพระพุทธศาสนา ทุกวัน
อังคาร / วันพฤหัสบดี / วันเสาร์ (Monk Chat เวลา 17.30 น. - 19.00 น. และ Meditation เวลา
19.00 น. - 21.00 น.)
โครงการจัดสร้ างศูนย์การเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาท้องถิ่ นหัตถกรรมเครื่ องเงิ นและช่ างสิ บหมู่
ล้านนา (อยูใ่ นขั้นตอนริ เริ่ มดําเนิ นการ)72

จากการดํา เนิ น กิ จ กรรม และโครงการต่ า งๆของวัด ศรี สุ พ รรณยัง คงพบปั ญหาและ


อุปสรรคที่สาํ คัญดังนี้
1) ปั ญหาและอุปสรรคโดยธรรมชาติของสังคมเมืองที่สําคัญ เช่น ความหลากหลายของ
กลุ่มบุคคลผูอ้ าศัยอยูภ่ ายในชุมชน เกิดความขัดแย้งในข้อคิดเห็น การแข่งขันที่เอารัดเอาเปรี ยบ
ขาดซึ้ งความเสี ยสละ ขาดความร่ วมมือร่ วมใจ โดยยึดถือผลประโยชน์ในการทํางานเป็ นหลัก
2) ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการดําเนินงาน ทั้งด้านเงินทุนที่ขาดความแน่นอน ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั
กําลังศรัทธาของผูบ้ ริ จาค ทําให้ขาดความต่อเนื่ องในการดําเนิ นการ ในด้านบุคลากรยังขาดผู ้
ชํานาญดําเนิ นการเฉพาะด้าน อันเนื่ องมาจากไม่มีค่าตอบแทนที่แน่นอน ด้านการจัดการยังไม่
เป็ นระบบระเบียบชัดเจน
3) ความร่ วมมื อ ความตะหนักและเห็ นคุ ณค่าศิ ลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่ นของ
ประชาชนในท้องถิ่น ยังขาดแรงจูงใจและการจัดการที่ดี
4) การประชาสัมพันธ์ โฆษณางานกิจกรรมและโครงการต่างๆที่ได้จดั ขึ้น ยังมีนอ้ ย ทํา
ให้สื่อที่ประชาสัมพันธ์ออกไปไม่ทวั่ ถึง

72
“วัดศรี สุพรรณ ในพระอุปถัมภ์ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ ” พระครู พทิ กั ษ์สุทธิคุณ วิสัยทัศน์การ
พัฒนาวัดศรี สุพรรณ เชียงใหม่:เวียงพิงค์การพิมพ์ ไม่ระบุปีที่พมิ พ์ หน้า 41-43

94
4.3 วิเคราะห์ คุณค่ าความสาคัญและปัญหาของงานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย
จากการศึกษาในบทที่ผา่ นมาจะเห็นได้วา่ งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลายมีประวัติความ
เป็ นมาที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกับ เมื อ งเชี ย งใหม่ ม าอย่า งยาวนานตั้ง แต่ ยุค สมัย ของพระเจ้า กาวิล ะ สื บ ทอด
เปลี่ยนแปลงผ่านยุคสมัยสู่ ปัจจุบนั ทั้งวิถีชีวิต และการทําเครื่ องเงิ นของชุ มชนวัวลายแบบดั้งเดิมที่มี
อัตลักษณ์ ทั้ง ลวดลายที่ แสดงออกถึ งวิถีชี วิต ความเชื่ อ ซึ่ ง เกิ ดจากความรู ้ สึ กนึ กคิ ดของช่ า งโดยมี
ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเป็ นส่ วนประกอบ การทําพื้นผิวหรื อการเก๊าะ(เคาะ) ซึ่ งเป็ นเอกลักษณ์ของ
งานหัตถกรรมเครื่ องเงินวัวลาย ซึ่ งสามารถวิเคราะห์เชิงเนื้อหาโดยแยกเป็ นประเด็นได้ดงั นี้

4.3.1 วิเคราะห์ คุณค่ าความสาคัญของงานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย


โดยแยกเป็ นประเด็นทางด้านคุณค่าดังนี้
1) คุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ ประวัติความเป็ นมาของเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย ดังที่
ปรากฏในเอกสารต่างๆดังที่ได้ศึกษาไว้ในบทที่ผา่ นมา และยังสอดคล้องกับคําบอกเล่า
ของ พ่อบุญทอง พุทธศรี ไวยาวัจกร วัดศรี สุพรรณ ซึ่ งได้ทาํ การบันทึกไว้ในช่วงการเก็บ
ข้อมูลในการศึกษาภาคสนาม เป็ นหลักฐานสําคัญว่า ชุมชนหัตถกรรมเครื่ องเงินวัวลาย มี
ความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ของจังหวัดเชี ยงใหม่ ตั้งแต่อดีตสื บเนื่ องกันมาเป็ นเวลา
ยาวนาน
2) คุณค่าด้านภูมิปัญญา ภูมิปัญญาการทําเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง
กับวิถีชีวติ และประเพณี วฒั นธรรมของคนในดินแดนล้านนาตั้งแต่อดีต ดังจะเห็นได้จาก
สิ่ ง ของเครื่ องใช้ใ นชี วิตประจํา วันของประชาชนชาวล้านนาในอดี ต ดังปรากฏตาม
ภาพถ่าย และหลักฐานทางเอกสาร
3) คุ ณค่าทางด้านสุ นทรี ยศาสตร์ เครื่ องเงิ นวัวลาย ซึ่ งได้ถ่ายทอดผ่านประสบการณ์
ความคิด และจินตนาการของช่างทําเครื่ องเงิน จากสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิต ทําให้เกิด
ความซาบซึ้ งในคุ ณค่ า ของงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นที่ ง าม ผ่า นทางรู ป ทรง ลวดลาย
ถ่ายทอดโดยสามารถรับรู ้ ได้ดว้ ยประสาทสัมผัสเกิดเป็ นอารมณ์ความรู ้สึกต่างๆ โดยใช้
ประสบการณ์ตรงซึ่ งมีผลต่อการรับรู ้คุณค่าสุ นทรี ยภาพได้มากที่สุด
4) คุณค่าทางด้านพัฒนาบุคคล
4.1) มี คุ ณค่ า ในการพัฒนาสติ ปั ญ ญาให้ก ับ ผูท้ ี่ ม าเรี ย นรู ้ ห รื อผูท้ ี่ มี ค วาม
สนใจในการศึกษางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น โดยมี การส่ งเสริ มความรู ้ ความคิ ด
การวิ เ คราะห์ แ ละตี ค วามโดยผูท้ ี่ ม าสื บ ทอด และส่ ง เสริ ม การใช้จิ น ตนาการ
เกิดความคิดสร้างสรรค์ให้กบั ช่างทําเครื่ องเงิน

95
4.2) มีคุณค่าในการพัฒนาอารมณ์ และจิตใจเป็ นการกล่อมเกลาทางจิตใจ
มีสมาธิ และวินยั ในการฝึ กฝนการทําเครื่ องเงิ นให้เกิ ดความเชี่ ยวชาญ ให้แก่ช่าง
ทําเครื่ องเงิ น อี กทั้งยังทําให้เยาวชนที่สนใจจะสื บทอดงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น
เพิ่ ม พู น จิ ต สํ า นึ ก ในการรั ก และหวงแหนงานหั ต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น ให้ ค งอยู่
ตลอดไป
4.3) มีคุณค่าในการพัฒนาร่ างกายให้กบั เยาวชน การเรี ยนรู ้ ท่าทางในการ
ขึ้นรู ปซึ่ งจัดได้ว่าเป็ นการเสริ มสร้ างความสัมพันธ์และความแข็งแรงของการใช้
ประสาทสั มผัส และกล้า มเนื้ อในการเคลื่ อนไหว มี ก ารใช้ประสาทส่ วนกลาง
ประสาทตา และประสาทหู สั่งการให้แขน มือ เคลื่อนไหวไปตามรู ปร่ าง รู ปทรง
ที่ข้ ึนรู ป
4.4) คุณค่าต่อการปรับตนกับสังคม การทําเครื่ องเงินมีส่วนช่วยส่ งเสริ มให้
ช่ า งทํา เครื่ องเงิ น ได้ รู้ จ ัก การใช้ ชี วิ ต ในสั ง คมร่ ว มกัน มี ก ารร่ ว มมื อ ร่ ว มใจ
ปฏิบตั ิงาน ประสานงานแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอ้ ื่น ฝึ กการปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อม สร้ างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเสริ มสร้างความมีระเบียบวินยั
และสามัคคีต่อหมู่คณะและรู ้จกั ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์
5) คุณค่าด้านการพัฒนาสังคม
งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย มีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมในลักษณะของ
การเป็ นแหล่งถ่ายทอดและเรี ยนรู ้ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินดั้งเดิม ที่สําคัญของ
ชุ ม ชน ซึ่ ง มี ค วามละเอี ย ด ประณี ต สวยงาม ช่ วยส่ ง เสริ ม ความเข้ม แข็ง ให้ก ับ ชุ ม ชน
ทางด้านเศรษฐกิจ ทําให้ชาวบ้านและเยาวชน ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เสริ มสร้าง
ทัศนคติ ความรักและหวงแหนในภูมิปัญญา และยังได้รับรายได้พิเศษจากการที่เข้ามาฝึ ก
เรี ยนรู้การทําเครื่ องเงิน

4.3.2 วิเคราะห์ ปัญหาของภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย


จากการศึก ษาสภาพการณ์ และปั ญหาของภูมิ ปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชน
วัวลาย สามารถวิเคราะห์ถึงปั จจัยของปั ญหาดังนี้
ธุ รกิ จและการผลิ ตเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลายปั จจุ บนั โดยประมวลผลจากการรวบรวม
ข้อมูล ทั้งภาคเอกสารและภาคสนาม นั้นมี ความสอดคล้องกับความคิ ดเห็ น และปั ญหาของ
ชาวบ้า นในชุ ม ชน ช่ า งทําเครื่ องเงิ น และผูป้ ระกอบการ ทําให้ทราบถึ งปั จจัย ที่ มี ผลต่ อการ
เปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ และรู ปแบบการผลิตเครื่ องเงินจากเดิมโดยสามารถอธิ บายได้ดงั นี้

96
การพัฒนาและเปลี่ ยนแปลงแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้านไปสู่ ถนนสายสันกําแพง โดย
การสนับสนุนของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม และจังหวัดเชี ยงใหม่ เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
และการท่ องเที่ ย วของชุ ม ชนวัวลายในขณะนั้น ขณะเดี ย วกัน กับ การขยายตัวของสถาบัน
ทางด้ า นการศึ ก ษา ที่ มุ่ ง เน้ น ผลิ ต บัณ ฑิ ต ที่ ส ามารถตอบสนองต่ อ การพัฒ นาทางด้ า น
อุตสาหกรรมและเศรษฐกิจการค้าสมัยใหม่ เป็ นผลพวงให้ลูกหลานของช่างทําเครื่ องเงินชุ มชน
วัวลายเมื่อสําเร็ จการศึกษาแล้วได้หนั ไปประกอบอาชีพอื่นที่มีรายได้มนั่ คงกว่าการทําเครื่ องเงิน
โดยไม่คิดจะประกอบอาชี พการทําเครื่ องเงิ น เนื่ องจากเห็ นว่า การทําเครื่ องเงิ นเป็ นงานหนัก
ไม่มีเกี ยรติ และต้องใช้แรงงานมาก ทั้งยังต้องใช้เวลาและความอดทนในการฝึ กฝนจนกว่าจะ
เป็ นช่ า งทํา เครื่ อ งเงิ นที่ ช ํา นาญ ทํา ให้ชุ ม ชนวัว ลายขาดแคลนแรงงานฝี มื อรุ่ นใหม่ ที่ จะมา
สื บทอดภูมิปัญญาการทําเครื่ องเงิน และเป็ นผลให้ร้านค้าเครื่ องเงินเก่าแก่ของชุ มชนหลายแห่ ง
ปิ ดกิจการลงไป
ปั จจุบนั ปั ญหาธุ รกิจการค้าและการผลิตเครื่ องเงินของชุมชนวัวลายยังคงมีอยูโ่ ดยเฉพาะ
ผูป้ ระกอบการร้านค้าหลายรายในชุมชนวัวลาย ที่ได้สืบทอดกิจการมาจาก บรรพบุรุษซึ่ งขาด
กลยุทธ์ในด้านการตลาด ขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ อีกทั้งการกําหนดราคาสิ นค้าหรื อผลิตภัณฑ์
เครื่ องเงิ นนั้นยังเกิ ดขึ้ นตามประสบการณ์ และใช้ความยากง่ ายในการทําเครื่ องเงิ นแต่ละชิ้ น
ซึ่ งยังไม่เป็ นมาตรฐาน เป็ นเครื่ องชี้ วดั มูลค่า และเนื่ องจากความต้องการและการสั่งซื้ อสิ นค้า
เครื่ องเงินในตลาดการค้าลดลง อันเนื่องมาจากความสัมพันธ์ระหว่างเครื่ องเงินและวิถีชีวิตผูค้ น
ที่เปลี่ยนแปลงไป เครื่ องเงิ นกลายเป็ นสิ นค้าฟุ่ มเฟื อย เหมาะสําหรับผูท้ ี่ค่อนข้างมีฐานะ จึงเกิ ด
การคิดหาวิธีลดต้นทุนอันเนื่ องมาจากแร่ เงินซึ่ งเป็ นวัตถุ ดิบที่สําคัญในการทําเครื่ องเงินมีราคา
สู ง โดย การลดคุ ณภาพของเนื้ อเงิ นลง ทํา ให้เกิ ดปั ญหาในความไม่ ม นั่ ใจในคุ ณภาพสิ นค้า
ตามมา โดยเฉพาะการตีตราเพื่อแจ้งเนื้ อเงิ นไม่ตรงตามความเป็ นจริ ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทําให้
เกิ ดปั ญหาการนําเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ โดยการขึ้ นรู ปเครื่ องเงิ นในรู ปแบบของโรงงาน
อุตสาหกรรมเพื่อลดต้นทุนในค่าแรงงานการผลิ ต ซึ่ งได้รับความนิ ยมเฉพาะในกลุ่มผูซ้ ้ื อที่ไม่
สนใจกรรมวิธีผลิตและต้องการชิ้นงานราคาถูก ทําให้คุณค่าของเครื่ องเงินวัวลายเปลี่ยนแปลง
ไป
สื บเนื่องจากผลกระทบของปั ญหาเศรษฐกิจ ช่างทําเครื่ องเงินดั้งเดิมหลายคนอยูใ่ นฐานะ
ยากจน และว่างงาน ส่ งผลกระทบให้ช่างทําเครื่ องเงินของชุ มชนวัวลายมีรายได้นอ้ ยลง รายได้
ไม่เพียงพอต่อรายจ่ายภายในครอบครั ว จึงเกิ ดการโยกย้ายปรับเปลี่ ยนไปประกอบอาชี พอื่ น
แทนเช่น รับจ้างเป็ นผูใ้ ช้แรงงาน หรื อทําการค้าขาย เพื่อเลี้ยงชีพ โดยปั ญหาที่พบไม่เพียงแต่ช่าง
เครื่ องเงิ นดั้งเดิ มเท่านั้น ช่ างทําเครื่ องเงิ นรุ่ นใหม่เริ่ มต้องการทํางานที่ ง่ายเพื่อให้งานสําเร็ จได้
รวดเร็ ว และต้องการแค่มีรายได้พอเลี้ ยงชี พ ไม่ยอมฝึ กทําสิ นค้า ที่ มีรูปแบบนอกเหนื อจาก

97
ลวดลายง่ายๆที่เคยทําซึ่ งลวดลายดั้งเดิ มมี ความละเอียด ประณี ต ต้องใช้ระยะเวลาและความ
อดทนสู งในการทํา จึงไม่สนใจการสื บทอดภูมิปัญญาการ ขึ้นรู ปเครื่ องเงิ นแบบดั้งเดิ ม ทําให้
เกิดการขาดแคลนช่ างมีฝีมือในการทําเครื่ องเงินที่มีรูปแบบและลวดลายดั้งเดิ ม อีกทั้งยังมีการ
นํา เทคโนโลยีส มัยใหม่ ม าใช้ใ นการขึ้ นรู ป ส่ งผลกระทบให้เครื่ องเงิ นที่ จาํ หน่ า ยโดยทัว่ ไป
มีคุณค่าลดลง อีกทั้งยังส่ งผลกระทบโดยตรงซึ่ งเป็ นการลดรายได้ของช่างขึ้นรู ปเครื่ องเงินแบบ
ดั้งเดิม แต่ก็ยงั มีผนู ้ ิยมเครื่ องเงินที่ข้ ึนรู ปโดยแบบอุตสาหกรรม อยูใ่ นวงที่จาํ กัดเท่านั้น

ในปั จจุ บ ั น ถึ ง แม้ ว่ า จะมี ห น่ ว ยงานมากมาย ได้ เ ข้ า มาช่ ว ยเหลื อ ทางด้ า นการ
ประชาสัมพันธ์ จัดโครงการอนุ รัก ษ์งานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น พัฒนาและส่ งเสริ ม ศัก ยภาพ
ทางด้านการค้าของผูป้ ระกอบการเครื่ องเงิ นวัวลาย อีกทั้งเพิ่มศักยภาพให้แก่ช่างทําเครื่ องเงิ น
แต่ยงั ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของชุ มชนได้อย่างตรงวัตถุ ประสงค์ อี กทั้งยังขาด
ความต่อเนื่องของการดําเนิ นงาน อันเนื่ องมาจากงบประมาณที่มีจาํ กัด และการสลับสับเปลี่ยน
ผูด้ าํ เนิ นการโครงการทําให้ขาดความต่อเนื่ องของการประสานงานโครงการ ในขณะที่ผลการ
ดําเนิ นกิจกรรมหรื อโครงการต่างๆ นั้นยังไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการ ซึ่ งตรงกับความ
คิ ดเห็ นของ ไพศาล แก้วรากมุ ก กล่ า วในการค้นคว้าแบบอิ ส ระ“การจัดการความรู้ ใ นการ
อนุ รั ก ษ์หัต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น ชุ ม ชนวัด ศรี สุ พ รรณ ถนนวัว ลาย ตํา บลหายยา อํา เภอเมื อ ง
เชียงใหม่” ความว่า
“แม้จะมีหลายๆ หน่ วยงาน ทั้งภาครั ฐและเอกชนได้เข้ามามีบทบาทและสนับสนุ น
งานวิจยั ด้านต่างๆ ให้กบั ชุ มชนการจัดกิจกรรมโครงการที่มีงบประมาณพัฒนา ซึ่ งบางครั้งไม่
สนองต่อความต้องการของชุมชนหรื อชุมชนแทบจะไม่ได้อะไรเลยเพียงเพื่อหน่วยงานต้องการ
ใช้งบประมาณให้หมดและกอบโกยเอาผลงานให้กบั ตนเอง อีกทั้งมี บางหน่ วยงานที่เข้ามา
สํารวจหรื อใช้งบประมาณโดยที่ไม่มีการศึกษาพื้นที่ก่อน ที่จะจัดกิจกรรมทําให้เกิด การต่อต้าน
ของสมาชิกในชุมชน ซึ่ งบางครั้งข้อมูลที่เขียนหรื อจัดทําขึ้นบุคคลผูน้ ้ นั ไม่ได้อยูใ่ นพื้นที่หรื อ
เป็ นคนนอกชุ มชนเลยจึงเกิดปั ญหาที่ตามมา อาทิ ข้อมูลถูกบิดเบือนจากของเดิม การอ้างอิง
ข้อมูลบุคคลหรื อสมมุติบุคคลโดยขาดประสบการณ์ พยานหลักฐานที่เชื่อมโยงของข้อมูล”73

และมีความคิดเห็ นคล้ายกับ ภัทรฤทัย วรอุไร ซึ่ งกล่ าวในการค้นคว้าแบบอิ สระ “การ


สร้างความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืนให้แก่ชุมชนหมู่บา้ นเครื่ องเงินวัวลาย - ศรี สุพรรณ เทศบาลนคร
เชียงใหม่” ความว่า

73
ไพศาล แก้วรากมุก การค้นคว้าแบบอิสระ “การจัดการความรู้ในการอนุรักษ์หตั ถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัดศรี สุพรรณ
ถนนวัวลาย ตําบลหายยา อําเภอเมืองเชียงใหม่” บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน้า 3-4

98
“การให้การสนับสนุ นไม่ตรงจุดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ ตลอดหลายปี ที่ผา่ นมา
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันการศึกษา และหน่วยงานต่างๆ ได้ลงพื้นที่ศึกษาวิจยั
เพื่อแสวงหาแนวทางการสร้างความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืนให้แก่ชุมชนหมู่บา้ นเครื่ องเงิน วัวลาย –
ศรี สุพรรณ ได้มีการจัดกิ จกรรมต่างๆ ในพื้นที่รวมถึ งการจัดตั้ง “คลัสเตอร์ เครื่ องเงิน” ใน
ลักษณะของการแบ่งกลุ่มและกิจกรรมการทํางานโดยอาศัยผูค้ นในชุมชนในการอนุรักษ์ และ
สื บสานวัฒนธรรมการผลิตเครื่ องเงินของชุมชน เป็ นต้น จากการสัมภาษณ์ พบว่า โครงการ
หรื อกิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุ นต่างๆ ที่เกิดขึ้นยังไม่ตรงกับความต้องการของชุ มชน อาจ
เป็ นการให้การสนับสนุนที่มีพ้นื ฐานมาจากหลักการทางวิชาการ ซึ่ งอาจจะยังประสบปั ญหาใน
เรื่ องของการจัดทําประชาคมหรื อเวทีการมีส่วนร่ วมของประชาชนเพื่อทราบถึงความต้องการที่
แท้จริ งของชุ ม ชน และนอกจากนี้ ก ารลงพื้ นที่ เพื่ อทําการศึ กษาวิจยั มายาวนานของหลาย
หน่ วยงานแต่ยงั ไม่เกิ ดผลสําเร็ จที่ เห็ นได้อย่า งชัดเจนและเป็ นรู ปธรรมดังกล่ าว ส่ ง ผลให้
ประชาชนและผูป้ ระกอบการเกิดความเบื่อหน่าย จึงไม่ให้ความสนใจเข้าร่ วมเวทีการศึกษาวิจยั
ในระยะหลังๆซึ่ งเป็ นอุปสรรคต่อการศึกษาวิจยั ของหน่วยงานต่างๆ เป็ นอย่างมาก”74

74
ภัทรฤทัย วรอุไร การค้นคว้าแบบอิสระ “การสร้างความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืนให้แก่ชุมชนหมู่บา้ นเครื่ องเงินวัวลาย -
ศรี สุพรรณ เทศบาลนครเชียงใหม่” บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน้า 49

99
บทที่ 5

แนวทางการอนุรักษ์ และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย


อาเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่

บทนี้ เป็ นการศึ ก ษาเพื่ อ เสนอแนวทางการอนุรัก ษ์แ ละสื บ สานภูม ิปั ญ ญางานหัต ถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ ซึ่ งประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ดังนี้
5.1 การศึกษาเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
ชุมชนวัวลาย
5.1.1 การศึกษาและเก็บข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผูน้ าชุมชน ผูป้ ระกอบการ ช่าง
ทาเครื่ องเงิ น นักวิชาการ ฯลฯ ต่อแนวทางการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิ ปัญญางานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
5.1.2 แนวคิ ดและทฤษฏี ที่ เหมาะสมกับการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปั ญญางานหัตถกรรม
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
5.1.3 การวิ เ คราะห์ เพื่ อหาแนวทางที่ เหมาะสมในการอนุ รั ก ษ์และสื บสานภูม ิปั ญ ญางาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
5.2 แนวทางการจัดการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
5.2.1 กิจกรรมการส่ งเสริ มการค้าเครื่ องเงินวัวลาย
5.2.2 จัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย
5.2.3 การถอดองค์ความรู้และจัดทาหลักสู ตรงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

100
5.1 การศึ ก ษาเพื่อ หาแนวทางที ่เ หมาะสมในการอนุรั ก ษ์ แ ละสื บ สานภูมิปั ญ ญางานหัต ถกรรม
เครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย

5.1.1 การศึ กษาและเก็บข้ อมู ลความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของผู้นาชุ มชน ผู้ประกอบการ


ช่ างทาเครื่องเงิน นักวิชาการ ฯลฯ ต่ อแนวทางการอนุรักษ์ และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรม
เครื่องเงินชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่

การศึกษาและเก็บข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของ ผูน้ าชุมชน ผูป้ ระกอบ การ


ช่างทาเครื่ องเงิน นักวิชาการ ฯลฯ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างลักษณะ
เป็ นคาถามปลายเปิ ด ใช้วิธีการคัดเลื อกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เพื่อสอบถามความคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีเนื้อหาสาคัญดังนี้

พ่ อครู ดิเรก สิ ทธิการ ได้กล่าวถึ งการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิ นว่า “ตอนนี้ ไม่


ค่อยมีใครมาเรี ยนเครื่ องเงิน เพราะการทาเครื่ องเงินนั้นต้องใช้ความอดทน เช่น การตีสลุงเงิน
นั้นจะต้องอยู่หน้าเตาไฟ เด็กสมัยนี้ กลัวความร้ อนไม่ค่อยอดทนเพราะการทาสลุ งนั้นต้องใช้
ความอดทน ในปั จจุบนั เด็กๆไม่ค่อยมาฝึ กเรี ยนทาเครื่ องเงิน เพราะหันไปศึกษาเล่าเรี ยนวิชาการ
ที่มีความรู้สูงๆ ไม่สนใจการฝึ กอาชีพดั้งเดิม

ภาพที่ 5.1 พ่อครู ดิเรก สิ ทธิ การ ขณะกาลังตอกลายขันเงิน

101
การสื บทอดเครื่ องเงินในปั จจุบนั เรี ยกได้วา่ ได้มีการอนุ รักษ์การทาเครื่ องเงินพอสมควร
เพราะมีการสื บทอด เช่น ครู สอนศิษย์ พ่อสอนลูก พี่สอนน้อง สิ่ งที่อยากจะเห็นมากที่สุดคือการ
อนุ รักษ์การขึ้นรู ปเครื่ องเงิ นอย่างมีแบบแผน เพราะภูมิปัญญาการขึ้นรู ปเครื่ องเงินมันอยู่ในตัว
คน อยูใ่ นความชานาญของช่าง มันไม่มีแบบแผนที่ตายตัวว่าขั้นตอนแต่ละอย่างควรทาอย่างไร
เมื่ อ จะถ่ า ยทอดเรี ย นรู ้ ภูมิ ปั ญ ญานั้นๆมันก็ ไ ม่ ไ ด้เ ป็ นลายลัก ษณ์ อ ัก ษรเมื่ อ เวลาล่ ว งเลยไป
ภูมิปัญหาก็ยอ่ มสู ญหายไปพร้อมๆกับช่างแต่ละคน และอยากจะให้ภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิน
ได้รับการยอมรับและเห็ นความสาคัญมากกว่านี้ เพราะเปรี ยบเสมือนมรดกของชาติ ปั จจุบนั
ภูมิ ปั ญญาของบรรพบุ รุ ษ สู ญหายไปเยอะ หากในอนาคตการถ่ า ยทอดคงต้องมี ก ารท าเป็ น
สื่ อแต่ตอ้ งใช้เวลาอย่างมากภูมิปัญญาบางอย่างต้องใช้การสอนการสาธิตถึงจะเข้าใจ

พระครู พิทักษ์ สุทธิคุณ ได้กล่าวถึ งแนวทางในการอนุ รักษ์ภูมิปัญญาว่า “ความจริ งเรื่ อง


ของการพัฒ นาเครื่ อ งเงิ น ถื อ เป็ นบทเรี ย นราคาแพงของชาวบ้า นอยู่แ ล้ว ที่ ผ่า นมาก็ ล้ม ลุ ก
คลุ ก คลานกันมาพยามท าให้ เกิ ดความต่ อเนื่ องยัง่ ยืนให้ เกิ ดประโยชน์ หลายๆหน่ ว ยงานก็
พยายามที่จะดาเนินการพัฒนา แต่มีขอ้ จากัดเมื่อภาระงานไม่ตรงกับเป้ าหมาย งบประมาณจึงไม่
ถูกอนุมตั ิลงมา จึงขาดช่วงผูด้ าเนินการต่อ ทาอย่างไรเมื่อพัฒนาแล้วจะเกิดความยัง่ ยืนนี้ ถือเป็ น
สิ่ งสาคัญ ทางชุมชนตอนนี้มีวดั เป็ นศูนย์กลาง โดยมีกิจกรรมประเพณี ต่าง ๆ เป็ นตัวนาร่ องให้มี
การบู รณาการภู มิ ปั ญ ญาท้องถิ่ น เข้า มา ในขณะนี้ ท างวัด ศรี สุ พ รรณมี แ นวทางในเรื่ อ งการ
อนุรักษ์เครื่ องเงินที่กาลังดาเนินการอยู่ 2 วิธีการ โดยวิธีการแรก คือ การระดมกลุ่มช่างชาวบ้าน
ที่เหลืออยู่ ซึ่ งมีจิตสาธารณะ มีความเสี ยสละ มีความตั้งใจที่จะถ่ายทอดภูมิปัญญา โดยร่ วมกับ
วิทยาลัยในวังจัดทาหลักสู ตรระยะสั้นและระยะยาว 800 ชม. เป็ นเรื่ องของการเรี ยนการสอนที่
จะสื บทอดให้กบั คนทัว่ ไป และคนในชุ มชน นักเรี ยนนักศึกษา และได้รับการสนับสนุ นจาก
สานักงานพุทธศาสนามุ่งเป้ าหมาย คือ โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธ รรมมีพระภิกษุสามเณรจากแผนก
สามัญศึกษาเข้ามาเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิ นในรายวิชาการงานและพื้นฐานอาชี พของ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่ งมีท้ งั ช่างดุน ช่างเขิน ช่างแกะสลักไม้ ได้มีการส่ งเสริ มให้มีศูนย์ศิลปะ
ไทยโบราณสล่าสิ บหมู่ลา้ นนาวัดศรี สุพรรณ เพื่อมุ่งไปสู่ การพัฒนาและสื บทอดภูมิปัญญาการ
ทาเครื่ องเงิน อีกวิธีการหนึ่ง คือ การแสดงเอกลักษณ์ชิ้นงานที่โดดเด่นที่วดั ศรี สุพรรณได้ทานั้น
คือ อุโบสถเงิ นทามาเป็ นเวลา 10 ปี โดยช่ างเครื่ องเงิ นในชุ มชนบูรณาการสร้ างอุ โบสถเงิ น
ถึ งแม้จะไม่ใช่ เงิ นบริ สุทธิ์ ทั้งหมดก็ตาม แต่เป้ าหมายที่สาคัญที่สุดคือเรานาเอาภูมิปัญญาของ
ช่างเทคนิควิธิการทั้งหลายสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่ากับศาสนสถาน และเป็ นการเรี ยนรู้ภูมิปัญญา
ใหม่ ๆ ของการทาเครื่ องเงินโดยเฉพาะการเรี ยนรู ้เรื่ องการแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งความดาของเนื้ อ
เงิน ความร้อนฟ้ าผ่า รวมไปถึงกระแสไฟฟ้ ารั่วไหล การพัฒนาโดยนามิติทางศาสนาบวกกับมิติ

102
ทางภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิน จึงกลายมาเป็ นอุโบสถเงินที่เราจะได้เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาที่
สื บทอดการอนุรักษ์และสื บสานดาเนินการต่อยอดนี้ เป็ นวิธีการที่เราจะใช้ในการอนุ รักษ์อย่าง
บูรณาการ”75

ภาพที่ 5.2 พระครู พิทกั ษ์สุทธิ คุณ และช่างทาเครื่ องเงินคุณสมชาย ใจคาบุญเรื อง

พ่ อบุ ญทอง พุ ทธิ ศรี ได้ก ล่ า วว่ า “คนรุ่ นใหม่ น้ อยคนที่ จะมาสนใจและอนุ รั กษ์ งาน
หัตถกรรมเครื่ องเงิ น แม้แต่ลูกหลานของช่ างเองเพราะขาดความรักและผูกพันในอาชี พการทา
เครื่ องเงิ นนี้ ซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุด การที่เราจะไปแก้ปัญหาขาดแคลนผูส้ ื บทอด มันต้องเริ่ มจาก
ภายในตัวคน ความรักความหวงแหนภูมิปัญญา การทาเครื่ องเงิ นนั้น มันสามารถสั่งสมได้ถา้ เริ่ ม
ให้เด็กได้เรี ยนรู้ซึมซับมันไว้ ซึ่ งพ่ออาจารย์คิดไว้วา่ แนวทางนี้ จะสามารถแก้ไขได้และโครงการที่
จะให้ทุนแก่นักเรี ยนที่ได้รับการคัดเลื อกแล้วว่ามีความสนใจใส่ ใจ และรักที่ จะเรี ยนรู ้ ในการทา
เครื่ องเงินนั้น โดยเริ่ มจากเยาวชนภายในชุ มชนเอง ให้ทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรี ยนในการศึกษาภาค
บังคับ และเมื่อว่างเว้นจากการเรี ยนให้เยาวชนเหล่านั้นได้เข้ามาฝึ กฝน และซึ มซับจิตวิญญาณของ

75
สัมภาษณ์ พระครู พทิ กั ษ์สุทธิคุณ , เจ้าอาวาสวัดศรี สุพรรณ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ , 19 เมษายน 2557).

103
งานช่ าง โดยต้องมีความร่ วมมือจากหลาย ๆ ส่ วนอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ทั้งผูป้ กครองผูถ้ ่ายทอด
โดยเฉพาะตัวเด็กเองต้องมีความสุ ขที่ได้เรี ยนรู ้ สิ่งเหล่านั้น และสิ่ งสาคัญที่สุดต้องมีภาครัฐหรื อ
เอกชนคอยสนับสนุ นโครงการเหล่านี้ อย่างจริ งจัง เพราะเป็ นสิ่ งเดี ยวที่จะทาให้ภูมิปัญญาการทา
เครื่ องเงินนั้นไม่สูญหายไปพร้อมกับตัวคน”76

คุ ณสมชาย ใจค าบุ ญเรื อ ง ได้ก ล่ า วถึ ง แนวทางในการถ่ า ยทอดว่า “ที่ ศูนย์ก ารเรี ย นรู้
เครื่ องเงิ นวัดศรี สุพรรณนี้ จะมีเยาวชนมาศึกษาและเรี ยนรู ้บ่อย ๆ และมีบางส่ วนที่สนใจกลับ
เข้ามาเรี ยนรู ้และศึกษาเพิม่ เติม แต่สาหรับช่างชาวบ้านอย่างเรา ๆ มันมีความยากในการถ่ายทอด
ความรู ้ความเข้าใจส่ วนตัวให้เป็ นภาษาและความรู ้ที่สื่อสารได้กบั ทุกคนแม้การถ่ายทอดจากรุ่ น
สู่ รุ่นจะเป็ นวิธีการที่หวังผลได้ในระยะยาว แต่ไม่แน่นอนและใช้ระยะเวลาเมื่อผ่านไปอีกหลาย
ชัว่ อายุคนรู ปแบบและภูมิปัญญาจะค่อยๆถูกดัดแปลงและลืมเลื อนไป การบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
ของภูมิ ปั ญญาการท าเครื่ องเงิ นไว้ค งจะเป็ นอี ก วิธี หนึ่ ง ที่ จะรั ก ษา ภู มิ ปั ญ ญานี้ ไ ม่ ใ ห้สู ญ
หายไป”77

คุณแม่ อุไรวรรณ จิโนรส เจ้าของร้านวัวลายศิลป์ กล่าวถึ งแนวทางการเผยแพร่ ใจความ


สาคัญตอนหนึ่งว่า “ร้านวัวลายศิลป์ เป็ นร้านเก่าแก่ที่อยูค่ ู่ถนนวัวลายมานานทางร้านก็อยากจะ
สื บ สานการท าเครื่ อ งเงิ น ไว้ใ ห้ลู ก หลานได้ดู ซึ่ ง กลุ่ ม หรื อ ร้ า นอื่ นๆสามารถท าได้เช่ นเปิ ด
โรงงานขนาดเล็กบริ เวณหลังร้าน ให้นกั ศึกษาและผูท้ ี่สนใจในการทาเครื่ องเงินเข้ามาเยี่ยมชม
และศึกษา ซึ่ งแหล่งผลิตที่ครบวงจรนั้นไม่ค่อยมีแล้วในชุมชนวัวลายการเผยแพร่ วิธีน้ ี จะทาให้ผู ้
ที่มาดูมาเรี ยนรู ้ ได้เข้าใจวิธีการ กระบวนการในการทา และเป็ นการเผยแพร่ ความรู ้และคุ ณค่า
ของการทาเครื่ องเงินอีกด้วย”78

คุ ณแม่ ประไพร ไชยวุ ฒิ กล่ า วถึ ง แนวทางการแก้ปั ญหาขาดแคลนช่ า งท าเครื่ องเงิ น


ใจความส าคัญตอนหนึ่ งว่า “ต้องเริ่ มที่ การฟื้ นฟู เศรษฐกิ จการค้า เครื่ องเงิ นวัว ลาย เพราะถ้า
เศรษฐกิ จการค้าไม่ดีก็มีการจ้างงานลดลง เครื่ องเงินขายได้น้อยลง เจ้าของร้านดาเนิ นกิ จการ
ต่อไปลาบาก เมื่องานลดลงก็ไม่มีงานให้ช่างไปทา เพราะเงินทุนในร้านส่ วนมากเป็ นเงินหมุน

76
สัมภาษณ์ พ่อบุญทอง พุทธิศรี ,ไวยาวัจกรวัดศรี สุพรรณ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ , 20 เมษายน 2557).
77
สัมภาษณ์ คุณสมชาย ใจคาบุญเรื อง , ช่างขึ้นรู ปเครื่ องเงิน (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ , 24 พฤษภาคม 2557).
78
สัมภาษณ์ คุณอุไรวรรณ จิโนรส , เจ้าของร้าน วัวลายศิลป์ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ , 22 มีนาคม 2557).

104
จึงส่ งผลกระทบกันไปหมด เมื่อช่ างไม่มีงานแต่ยงั ต้องหาเลี้ ยงชี พจึงต้องไปหารับจ้างทางาน
อื่นๆ เกิดปั ญหาขาดแคลนช่างตามมา เมื่อช่างเห็นว่ารายได้ไม่มนั่ คงแน่นอนจึงไม่ค่อยอยากให้
ลูกหลานมาเรี ยนมาสื บทอด”79

ภาพที่ 5.3 คุณแม่ประไพร ไชยวุฒิ ขณะอธิ บายลวดลายของขันเงิน

นายสมนึก อุดมวิเศษ กล่าวว่า “ช่ างทาเครื่ องเงิ นเป็ นอาชี พที่มีรายได้ไม่แน่ นอนขึ้นอยู่
กับชิ้ นงานที่ขายได้ ซึ่ งควรได้รับการช่ วยเหลื อโดยเฉพาะอย่างยิ่งความช่ วยเหลื อจากภาครั ฐ
และภาคเอกชนต่ าง ๆ ในด้า นการตลาดและการพัฒนาผลิ ตภัณฑ์ ที่ จะส่ ง ผลให้การค้า ขาย
เครื่ องเงิ นดี ข้ ึน เกิ ดเป็ นรายได้ที่มนั่ คงต่อผูป้ ระกอบการและช่ างทาเครื่ องเงิ น โดยการพัฒนา
ผลิ ตภัณฑ์น้ นั ต้องเข้ากับยุคสมัยตามความนิ ยมของผูบ้ ริ โภค แต่ยงั ต้องรั กษารู ปแบบดั้งเดิ ม
ควบคู่กนั ไม่ให้สูญหายไป”80

คุ ณ พ่ อ ปรี ช า ขัน ทนั น ต์ ได้ก ล่ า วถึ ง แนวทางแก้ปั ญหาว่า “ณ วันนี้ แม้แต่ ช่ า งที่ ผ ลิ ต
เครื่ องเงินยังถื อว่าอาชี พของตัวเองเป็ นอาชี พที่ไม่มีเกี ยรติ ใช้แรงงานหนักแต่มีค่าตอบแทนที่
น้อย จึงไม่อยากให้ลูกหลานสื บทอดจึงสนับสนุ นให้ไปเรี ยนสู ง ๆ ทางชุมชนจึงระดมความคิด
และมีโครงการยกระดับชุ มชนบ้านวัวลาย เป็ นโครงการที่จะดูแลช่ างเครื่ องเงิ นและเครื่ องเขิน
เป็ นโครงการของคนในชุ ม ชนที่ ไ ด้ยื่ น เรื่ อ งเสนอส่ ว นราชการที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ งกับ งาน
หัตถกรรม เพื่ อสนับ สนุ นด้า นงบประมาณ ด้านบุ คลากร ด้านวิชาการ และการท าตลาด ที่

79
สัมภาษณ์ คุณแม่ประไพร ไชยวุฒิ , เจ้าของบ้าน ไชยวุฒิ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ , 2 กุมภาพันธ์ 2557).
80
สัมภาษณ์ นายสมนึก อุดมวิเศษ , (อดีต) ประธานชุมชนวัดศรี สุพรรณ (เก็บข้อมูลช่วงการศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ , 22 มีนาคม 2557)

105
ประชุม ครม.อนุมตั ิให้กระทรวงวัฒนธรรมมาดูแลด้านงบประมาณบางส่ วน โดยมีการยกระดับ
ตั้งแต่ช่าง มีการจัดประกวดการออกแบบทาให้งานมีคุณภาพและมีค่าแรงที่มากขึ้น ชุมชนยังได้
ประสานงานกับวิทยาลัยในวังฝ่ ายรักษาอนุ รักษ์วฒั นธรรม เพื่อขอให้จดั ทาหลักสู ตรและถอด
องค์ความรู้การขึ้นรู ปเครื่ องเงิน ทางวิทยาลัยในวังได้แนะนาให้ช่างในชุ มชนร่ างหลักสู ตรและ
ถอดองค์ความรู ้การขึ้นรู ปเพราะต้องใช้เวลาและมีความสลับซับซ้อน ของภูมิปัญญาในช่างแต่
ละคนจึ งจะนาข้อมูลให้ทางวิทยาลัยในวังที่ ชานาญด้านการท าหลักสู ตรด้านภู มิปัญญาช่ วย
ปรับปรุ งแก้ไขให้อีกครั้ง”81

การเก็บข้อมูลภาคสนามโดยการสัมภาษณ์ ครั้งนี้ ผลการศึกษาสามารถสรุ ปแนวทางการ


อนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย ดังนี้
1) การจัดการด้านการตลาดโดยภาครัฐและเอกชนมีส่วนช่วยเพิ่มความรู ้ดา้ นการ
โฆษณา การประชาสั ม พันธ์ ส่ ง เสริ ม การท่ องเที่ ย ว มี ก ารช่ วยเหลื อ ในระบบเงิ นทุ น
หมุนเวียน ซึ่ งผูป้ ระกอบการบางรายยังขาดปั จจัยในเรื่ องของเงิ นทุ น และส่ งเสริ มเพิ่ม
ความรู ้ ให้กบั ช่างทาเครื่ องเงิ นในด้านการพัฒนาผลิ ตภัณฑ์ ทั้งในรู ปแบบทันสมัย และ
การอนุรักษ์ผลิตภัณฑ์แบบดั้งเดิมโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่างทาเครื่ องเงินมีรายได้ที่มนั่ คง
แน่นอน
2) การถ่ายทอดเป็ นสื่ อ ทั้งในสื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ อวีดีทศั น์ให้ความรู ้แก่ผสู ้ นใจ
3) การถอดองค์ความรู ้ จากช่ างทาเครื่ องเงินผูม้ ีประสบการณ์ ชานาญ และจัดทา
หลักสู ตรการทาเครื่ องเงิ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสู ตรในการขึ้นรู ปเครื่ องเงินซึ่ งมีช่าง
ผูช้ านาญในการขึ้นรู ปเครื่ องเงินเหลืออยูน่ อ้ ย
4) การถ่ายทอดผ่านตัวบุคคล โดยความร่ วมมือของชุ มชนและสถาบันการศึกษา
นานักเรี ยนนักศึกษามาเรี ยนรู้ ฝึกประสบการณ์ ในการทาเครื่ องเงิน และมีการส่ งเสริ ม
อาชีพช่างทาเครื่ องเงินให้แก่เยาวชนในท้องถิ่นและผูส้ นใจ
5) การสนับสนุ นส่ งเสริ ม ความร่ วมมือของภาครัฐและเอกชนโดยให้เยาวชนใน
ชุมชนมีความรู้สึกรักและหวงแหนภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิน

81
สัมภาษณ์ คุณพ่อปรี ชา ขันทนันต์ , ผูพ้ พิ ากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ (เก็บข้อมูลช่วง
การศึกษาเรื่ องการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ , 31 มีนาคม
2557).

106
5.1.2 แนวคิด และทฤษฏีที่เหมาะสมกับ การอนุ รักษ์ และสื บสานภูม ิปัญ ญางานหัต ถกรรม
เครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย

แนวคิด ที ่เ หมาะสมกับ การอนุ รัก ษ์แ ละสื บ สานภูมิปั ญ ญางานหัต ถกรรมเครื ่ อ งเงิน
ชุ มชนวัวลายนั้น ผูศ้ ึกษาได้เสนอหัวข้อแนวคิดไว้ในบทที่ 2 ได้แก่ แนวคิดเรื่ องการอนุรักษ์
มรดกทางวัฒนธรรม และแนวคิดเรื่ องการถ่ายทอดความรู ้ ซึ่ งทั้งสองแนวคิดมีวิธีการที่สาคัญ
ดังนี้
1) แนวคิดเรื่ องการอนุรักษ์ มรดกทางวัฒนธรรม
1.1) ศึกษาค้นคว้า และการวิจยั วัฒนธรรมท้องถิ่นทั้ง ที่มีก ารรวบรวมไว้
แล้วและยังไม่ได้ศึกษาเพื่อทราบความหมายและความสาคัญของวัฒนธรรมใน
ฐานะที่เป็ นมรดกของท้องถิ่นอย่า งถ่องแท้ ซึ่ งความรู ้ดงั กล่า วถือเป็ นรากฐาน
ของการด าเนิ น ชี ว ิต เพื ่อ ให้เ ห็น คุณ ค่า ท าให้เ กิด การยอมรับ และน าไปใช้
ประโยชน์อย่างเหมาะสมต่อไป
1.2) ส่ งเสริ มให้ทุกคนเห็นคุณค่าร่ วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ของท้องถิ่นและของท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้าใจและมัน่ ใจแก่ประชาชนในการ
ปรับเปลี่ยนและตอบสนองกระแสวัฒนธรรมอื่นๆอย่างเหมาะสม
1.3) รณรงค์ใ ห้ประชาชนและภาคเอกชนตระหนัก ในความส าคัญ ของ
วัฒ นธรรมว่า เป็ นเรื่ อ งที ่ทุก คนต้อ งให้ก ารรับ ผิด ชอบร่ วมกันในการส่ ง เสริ ม
สนับ สนุน ประสานงาน การบริ ก ารความรู ้วิชาการ และทุนทรัพ ย์ส าหรับจัด
กิจกรรมทางวัฒนธรรม
1.4) ส่ ง เสริ ม และแลกเปลี ่ย นวัฒ นธรรมภายในประเทศและระหว่า ง
ประเทศโดยการใช้ศิลปวัฒนธรรมที่เป็ นสื่ อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกัน
1.5) สร้างทัศนคติความรู ้และความเข้าใจว่าทุกคนมีหน้าที่เสริ มสร้างฟื้ นฟู
และการดูแลรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่เป็ นสมบัติของชาติและมีผลโดยตรง
ของความเป็ นอยูข่ องทุกคน
1.6) จัด ท าระบบเครื อ ข่า ยสารสนเทศทางด้า นว ฒั นธรรมเพื ่อ เป็ น
ศูน ย์ก ลางเผยแพร่ ป ระชาสัม พัน ธ์ผ ลงาน เพื ่อ ให้ป ระชาชนเข้า ใจสามารถ
เลือ กสรรตัด สิ น ใจและปรับ เปลี ่ย นให้เ หมาะสมกับ การด าเนิ น ชี ว ิต ทั้ง นี้
สื่ อมวลชนควรมีบทบาทในการส่ งเสริ มและสนับสนุ นงานด้านวัฒนธรรมมาก
ยิ่งขึ้นด้วย

107
2). แนวคิดเรื่ องการถ่ ายทอดความรู้
2.1) การบอกเล่าบรรยายด้วยวาจาเป็ นวิธีการที่ผถู ้ ่ายทอดเป็ นฝ่ ายบอกเล่า
อธิ บ ายหรื อ ถ่า ยทอดความรู ้แ ละประสบการณ์สั ่ง สมของตนให้แ ก่ผูร้ ับ การ
ถ่ายทอดในรู ปของคาพูด โดยผูถ้ ่ายทอดจะต้องเป็ นฝ่ ายเตรี ยมเนื้ อหาที่จะพูด วิธี
นี้ ผถู ้ ่ายทอดจะมีบทบาทสาคัญในฐานะผูใ้ ห้ความรู ้ ส่ วนผูร้ ับการถ่ายทอดจะเป็ น
ผูร้ ับฟังและจดจาความรู้ หรื อบันทึกสาระสาคัญต่าง ๆ ที่ได้รับฟังตามไปด้วย
2.2) การสาธิ ตเป็ นวิธีการถ่ายทอดภูมิปัญญาที่ผถู ้ ่ายทอดแสดงหรื อกระทา
พร้อมกับการบอกหรื ออธิ บายเพื่อให้ผูร้ ับการถ่ายทอดได้ประสบการณ์ตรงใน
เชิงรู ปธรรม ซึ่ งจะทาให้เข้าใจวิธีการขั้นตอนและสามารถปฏิบตั ิได้การสาธิ ตที่
นิ ย มใช้ใ นการถ่า ยทอดภูม ิป ั ญ ญา คือ การสาธิ ต วิธ ี ก ารและการสาธิ ต
ประกอบการบรรยาย
2.3) การปฏิบตั ิจริ งเป็ นวิธีการถ่า ยทอดที่ผูร้ ับ การถ่ายทอดลงมือกระทา
จริ งในสถานการณ์ที่เป็ นอยูจ่ ริ ง โดยผูถ้ ่ายทอดเป็ นผูค้ อยแนะนาตรวจสอบและ
แก้ไ ขเพื ่อ ให้ก ระบวนการปฏิบ ตั ิถ ูก ต้อ งตามขั้น ตอนและได้ผ ลงานตามที่
ต้องการด้วยวิธีการนี้ ผรู ้ ับการถ่ายทอดจะได้เรี ยนรู ้และสั่งสมประสบการณ์ไปที
ละเล็กละน้อย
2.4) วิธ ี ถ ่า ยทอดโดยให้เ รี ย นรู ้จ ากสื ่ อ ด้ว ยตนเองเป็ นวิธ ี ที ่จ ดั เป็ น
ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ภูมิปัญญาในรู ปของสื่ อประสมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ และ
ทาความเข้าใจด้วยตนเองมากที่สุด เช่น บทเรี ยนแบบโปรแกรมศูนย์การเรี ย น
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นต้น
2.5) วิธีถ่ายทอดโดยจัดในรู ปของแหล่งเรี ยนรู ้เป็ นการถ่ายทอดภูมิปัญญา
ที่จดั เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ในลักษณะต่าง ๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ศูนย์การเรี ยนรู ้ตลาดนัด
ภูมิปัญญา เป็ นต้น โดยจัดเป็ นแหล่งสาหรับการเรี ยนรู ้ถ่ายทอดภูมิปัญญาที่เปิ ด
กว้างสาหรับทุกคนเข้าไปศึกษาหาความรู ้ได้ทุกเวลาการถ่ายทอดโดยวิธีน้ ี อาจ
รวมหมายถึงการใช้วิธีลายลักษณ์ในรู ปของตาราต่างๆที่บนั ทึกไว้ดว้ ย
2.6) วิธีถ่ายทอดโดยใช้การแสดงพื้นบ้าน เป็ นสื่ อเป็ นวิธีที่ใช้การแสดงที่
ชาวบ้า นนิย มชมชอบ เป็ นสื่ อในการถ่า ยทอดองค์ค วามรู ้ท างภูมิปั ญญาโดยที่
ผูร้ ับการถ่ายทอดจะได้รับความเพลินเพลิดไปพร้อม ๆ กับการเรี ยนรู ้
2.7) วิธีถ่ายทอดภูมิปัญญาโดยบันทึกองค์ความรู ้ไว้เป็ นลายลักษณ์ เช่น
ตาราและในรู ป ของสื่ ออื่น ๆ เช่น วีดีทศั น์ใ นรู ปของวีซีดี/ดีวีดี เทปเสี ยง หรื อ

108
แผ่น ซี ดีเ สี ย ง รวมถึงเว็บ ไซด์ เพื ่อ ให้ค นรุ ่ น หลัง ได้ศึก ษาเรี ย นรู ้แ ละสื บ สาน
ภูมิปัญญาต่อไปไม่ให้สูญหาย

5.1.3 การวิ เ คราะห์ เพื่ อ หาแนวทางที่ เ หมาะสมในการอนุ รั ก ษ์ และสื บสานภูม ิป ั ญ ญา


งานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่

หัว ข้อ นี้ เ ป็ นกระบวนการของการศึก ษาวิเ คราะห์เ พื ่อ หาแนวทางที่ เหมาะสมในการ


อนุ รั กษ์และสื บสานภูม ิปั ญ ญางานหัต ถกรรมเครื ่ อ งเงิน ชุม ชนวัว ลายซึ่ ง ใช้ข อ้ มูล ในการ
พิจารณาตามลาดับต่อไปนี้

1) ความคิดเห็ นและข้อเสนอแนะของประชากรและกลุ่มตัวอย่างจากการศึกษา
ตามข้อ 5.1.1 ข้า งต้น ซึ่ ง ได้ข้อมู ล ความคิ ด เห็ น และข้อ เสนอแนะจากผูน้ าชุ ม ชน
ผูป้ ระกอบการ ช่ า งท าเครื่ อ งเงิ น นัก วิชาการ ฯลฯ ในประเด็ น ที่ เกี่ ย วกับ แนวทางที่
เหมาะสมในการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ผลการศึกษาสามารถสรุ ปได้ดงั นี้
1.1) การจัดการด้านการตลาด โดยภาครัฐและเอกชนมีส่วนช่วยเพิ่มความรู ้
ด้านการโฆษณา การประชาสัมพันธ์ ส่ งเสริ มการท่องเที่ ยว มี การช่ วยเหลื อใน
ระบบเงินทุนหมุนเวียน ซึ่งผูป้ ระกอบการบางรายยังขาดปั จจัยในเรื่ องของเงินทุน
และส่ งเสริ มเพิ่มความรู ้ ให้กบั ช่างทาเครื่ องเงินในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทั้งใน
รู ปแบบทันสมัยและการอนุ รักษ์ผลิ ตภัณฑ์แบบดั้งเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่าง
ทาเครื่ องเงินมีรายได้ที่มนั่ คงแน่นอน
1.2) การถ่ า ยทอดเป็ นสื่ อทั้ง ในสื่ อสิ่ ง พิ ม พ์และสื่ อวีดีท ศั น์ใ ห้ค วามรู ้ แก่
ผูส้ นใจ
1.3) การถอดองค์ความรู ้ จากช่างทาเครื่ องเงินผูม้ ีประสบการณ์ชานาญ และ
จัด ท าหลัก สู ต รการท าเครื่ อ งเงิ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หลัก สู ต รในการขึ้ น รู ป
เครื่ องเงินซึ่ งมีช่างผูช้ านาญในการขึ้นรู ปเครื่ องเงินเหลือน้อย
1.4) การถ่ า ยทอดผ่ า นตั ว บุ ค คล โดยความร่ วมมื อ ของชุ ม ชน และ
สถาบันการศึ ก ษา น านัก เรี ย นนัก ศึ ก ษามาเรี ย นรู้ ฝึ กประสบการณ์ ในการท า
เครื่ องเงิ น และมีการส่ งเสริ มอาชี พช่างทาเครื่ องเงินให้แก่เยาวชนในท้องถิ่ นและ
ผูส้ นใจ

109
1.5) การสนับสนุ นส่ งเสริ ม ความร่ วมมือของภาครัฐและเอกชนโดยให้
เยาวชนในชุมชนมีความรู้สึกรักและหวงแหนภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิน

ภาพที่ 5.4 คุณสมชาย ใจคาบุญเรื อง ช่างทาเครื่ องเงิน และบุตรชาย

2) ผลของการศึกษาบริ บทที่เกี่ ยวกับชุ มชนวัวลายและงานหัตถกรรมเครื่ องเงิ น


ชุ มชนวัวลาย ทั้งทางด้านเทคนิ ควิธีการทาเครื่ องเงิ นสภาพการณ์ และปั ญหาของงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ ผลจากการศึกษาในบท
ที่ 4 ที ่ผ า่ นมาพบว่า เครื ่ อ งเงิน ชุ ม ชนวัว ลายมีป ระวัติค วามเป็ นมาควบคู ่ก บั เมือ ง
เชี ยงใหม่มานาน มีปัญหาในเรื่ องของธุ รกิจการค้าและการผลิตเครื่ องเงินวัวลายอันเป็ น
ผลมาจากภาวะเศรษฐกิจ การขาดแคลนแรงงาน รวมทั้ง คุณค่า ของภูมิปัญญาการทา
เครื่ องเงินแบบดั้งเดิมที่เปลี่ยนแปลงไป ขาดช่างรุ่ นใหม่ที่จะสื บทอด
3) แนวคิดที่เหมาะสมกับการศึกษาครั้งนี้ ซึ่ งผูศ้ ึกษาได้เสนอไว้ในบทที่ 2 ได้แก่
แนวคิดเรื่ องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และแนวคิดเรื่ องการถ่ายทอดความรู ้ใน
การพิจารณาวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากผลการศึกษาทั้ง 3 ดังกล่าว ผูศ้ ึกษาได้มีความเห็น
ว่า แนวทางการจัดการอนุ รัก ษ์และสื บสานภูมิปั ญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ ม ชน
วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ ควรต้องมีลกั ษณะการดาเนินการที่เหมาะสมดังนี้

110
3.1) รณรงค์เสริ มสร้างและส่ งเสริ มทัศนคติความรู ้ความเข้าใจรู ้สึกรักและ
หวงแหนในคุณค่าภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงิน ซึ่ งเป็ นสมบัติของชาติทุกคนใน
ชุ มชนมีส่วนรับผิดชอบร่ วมกันในการดูแลรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของ
ท้องถิ่น
3.2) ความร่ วมมือของภาครัฐและเอกชนโดยให้ประสานงานการบริ การ
ความรู ้ว ิช าการศู น ย์ก ารเรี ย นรู้ โดยจัด เป็ นแหล่ ง ส าหรั บ การเรี ย นรู ้ ถ่ า ยทอด
ภูมิปัญญาที่เปิ ดกว้างสาหรับทุกคน และสนับสนุนทุนทรัพย์สาหรับจัดกิจกรรม
ทางวัฒนธรรม
3.3) การจัดการด้านการตลาด โดยภาครัฐและเอกชนมีส่วนช่วยในด้านการ
โฆษณา การประชาสัมพันธ์ส่งเสริ มการท่องเที่ยว การให้ทุนหมุนเวียนการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์
3.4) การถ่ายถอดองค์ความรู้ จากช่างทาเครื่ องเงินผูม้ ีประสบการณ์ ชานาญ
โดยจัด ท าเป็ นหลัก สู ต รการท าเครื่ อ งเงิน และหลัก สู ต รการขึ้ น รู ป เครื ่ อ งเงิน
ในรู ปแบบลายลักษณ์อกั ษร ตารา หนังสื อ และในรู ปแบบ วีดีทศั น์วีซีดี เพื่อให้
คนรุ่ นหลังได้ศึกษาเรี ยนรู ้และสื บสานภูมิปัญญาต่อไป
3.5) การถ่า ยทอดผ่า นตัว บุค คล โดยวิธี ก ารบอกเล่า บรรยาย ทางด้า น
ประวัติความเป็ นมากระบวนวิธีการทาเครื่ องเงิ น การสาธิ ตแสดงพร้ อมทั้งการ
อธิ บายเพื่อให้ผรู ้ ั บการถ่ายทอดเข้าใจวิธีการขั้นตอนและสามารถปฏิ บตั ิ ได้การ
ปฏิ บตั ิจริ งโดยมีผถู ้ ่ายทอดคอยแนะนา ตรวจสอบและแก้ไขเพื่อให้กระบวนการ
ปฏิบตั ิถูกต้องตามขั้นตอน

ภาพที่ 5.5 คุณสมชาย ใจคาบุญเรื อง ช่างทาเครื่ องเงินสอนการขึ้นรู ปเครื่ องเงินแก่สามเณร

111
5.2. แนวทางการจัดการอนุรักษ์ และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่องเงินชุ มชนวัวลาย
การเสนอแนวทางในการจัดการเพื่ออนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
ชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ อันเป็ นผลมาจากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลในบทที่
ผ่า นๆมา ผูศ้ ึก ษาเห็น สมควรให้มีก ารส่ ง เสริ ม การอนุ รัก ษ์แ ละสื บ สานภูมิปั ญญางานหัต ถกรรม
เครื่ องเงินของชุ มชนวัวลาย ในรู ปแบบโครงการต่างๆดังรายละเอียดต่อไปนี้

5.2.1 กิจกรรมการส่ งเสริมการค้ าเครื่องเงินวัวลาย


กิ จกรรมการส่ งเสริ มการค้าเครื่ องเงิ นวัวลาย อันเนื่ องมาจากการค้า เครื่ องเงิ น ในย่า น
ชุมชนวัวลายซบเซาลงไป ดังจะเห็นได้จากการศึกษาในบทที่ผ่านมา ซึ่ งการค้าเครื่ องเงินเป็ น
ปั จจัย หลักที่ ทาให้อาชี พการทาเครื่ องเงิ นยังคงอยู่ ผูศ้ ึ กษาจึงเห็ นสมควรที่ จะเสนอให้มีการ
จัดกิ จกรรมส่ งเสริ มการค้าเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย โดยเห็ นสมควรให้หน่ วยงาน สานักงาน
พัฒ นาธุ ร กิ จ การค้า จัง หวัด เชี ย งใหม่ กรมพัฒ นาธุ ร กิ จ การค้า กระทรวงพาณิ ช ย์ ร่ ว มกับ
สานักงานส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางขนาดย่อม (สสว.) อันเนื่ องมาจาก ทั้งสองหน่ วยงานมี
แผนปฏิ บตั ิการส่ งเสริ ม ผูป้ ระกอบการ วิสาหกิ จชุ มชน และสหกรณ์ ขนาดย่อมจนถึ งขนาด
กลาง บูรณาการความร่ วมมือของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน และศูนย์ส่งเสริ มอุตสาหกรรม
ภาคที่ 1 สนับสนุ นงบประมาณ ซึ่ งเคยทางานร่ วมกับหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนใน
การพัฒนางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลายมาโดยตลอด เพื่อให้เกิ ดกิ จกรรมการอบรม
ผูป้ ระกอบการ กิ จกรรมออกแบบพัฒนาผลิ ตภัณฑ์ เพื่อให้สามารถบริ หารร้ านค้าเครื่ องเงินได้
อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเพื่ อเผยแพร่ อนุ รัก ษ์ก ารท าเครื่ องเงิ นแบบดั้ง เดิ ม รวมทั้ง พัฒนา
ผลิตภัณฑ์ให้เข้ากับยุคสมัย โดยมีวตั ถุประสงค์ของกิจกรรมดังนี้
1) เพื่อส่ งเสริ มการค้า การท่องเที่ยว และเผยแพร่ ความรู ้ความเข้าใจ แก่ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องให้
สามารถบริ หารจัดการสถานประกอบการการค้าเครื่ องเงิน ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
2) เพื่อเผยแพร่ และอนุ รักษ์กระบวนการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม
3) เพื่อให้เกิดการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของตลาด
4) เพื่อเผยแพร่ และส่ งเสริ มให้ผสู ้ นใจประกอบอาชี พการทาเครื่ องเงิน
5) เพื ่อ ประสานความร่ ว มมือ กับ ทุก ๆฝ่ ายในการส่ ง เสริ ม การค้า และอาชี พ การ
ทาเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย

ผูศ้ ึก ษาเห็น สมควรให้กิจกรรมดัง กล่า ว จัด ดาเนิ น การตามสถานที ่เ หมาะสมแต่ล ะ


กิจกรรม เช่นวัดหมื่นสาร วัดศรี สุพรรณ หรื อใช้สถานที่ภายในหน่วยงานราชการ เช่นสถานที่
ห้องจัดอบรมสัมมนาของศูนย์ส่งเสริ มอุตสาหกรรมภาคที่ 1 เพื่อใช้ในการสัมมนาหรื ออบรม

112
ควรมีค ณะกรรมการดาเนินการซึ่ ง ประกอบด้ว ย คณะกรรมการที่ม าจากการคัดเลือ กของ
สมาคมผูป้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงิน ชุมชนวัวลาย คณะกรรมการที่มาจากตัวแทนของช่าง
ทาเครื่ องเงิน ทั้ง ทางฝั่ง ของ ชุ ม ชนวัดหมื่นสาร และชุ ม ชนวัดศรี สุ พ รรณ และตัวแทนจาก
หน่วยงานราชการส่ วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง มีการขอรับการสนับสนุน งบประมาณจากภาครัฐ
คือหน่ว ยงาน สานัก งานส่ ง เสริ ม วิสาหกิ จขนาดกลางขนาดย่อม (สสว.) และ ศูนย์ส่ งเสริ ม
อุตสาหกรรมภาคที่ 1 ซึ่งสนับสนุ นงบประมาณโครงการของชุ มชนวัวลายได้เป็ นอย่างดีตลอด
มา สนับสนุนในเรื่ อง ค่าเช่าสถานที่ ค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงาน และงบประมาณส่ วนหนึ่ ง
จากผูป้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงินชุมชนวัวลายจากการระดมทุน เพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย ค่าจ้าง
วิทยากร ค่าเอกสารประกอบการอบรม และค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จาเป็ น อีกทั้งมีการจัดเก็บค่าสมัคร
เข้า ร่ วมสาหรับ ผูเ้ ข้า รับ การอบรม โดยผูศ้ ึก ษาเห็นควรให้มีกิจกรรมอื่น ๆที่ควรดาเนินการ
เพิ่มเติมดังรายละเอียดต่อไปนี้
1) กิจกรรมสัมมนาและอบรมเผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับการส่ งเสริ มการตลาดและ
การท่องเที่ยวให้ผูป้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย โดยกรมการค้าภายใน
ร่ วมกับ การท่อ งเที ่ย วแห่ ง ประเทศไทย สนับสนุนด้านวิทยากร เอกสารข้อมูล และ
สานักงานส่ งเสริ มอุตสาหกรรมภาคเหนือเขต1 เชี ยงใหม่ สนับสนุนในด้านงบประมาณ
ดาเนินงาน เพื่อส่ งเสริ มให้ผูป้ ระกอบการตระหนักถึงความสาคัญของการท่องเที่ย ว
ที่มีผลต่อเศรษฐกิจการค้าเครื่ องเงิน และอบรมการดาเนิ นการด้านการตลาด ตลอดจน
ศึกษาความต้องการของผูป้ ระกอบการเพื่อเตรี ยมความพร้อมทางการท่องเที่ยว และ
ปั ญ หาในด้า นเศรษฐกิจ ของการค า้ เครื ่ อ งเงิน ว วั ลาย ระดมความคิด เห็น ให้
ผูป้ ระกอบการมีส่วนร่ วมในการแก้ปัญหาและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจการค้าเครื่ องเงิน
ชุ มชนวัวลายอย่างยัง่ ยืน
2) กิจ กรรมเผยแพร่ แ ละอนุ ร ัก ษ์ก ารท าเครื ่ อ งเงิน แบบดั้ง เดิม โดยช่า งท า
เครื่ องเงินผูช้ านาญ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนเข้ามาเป็ นวิทยากรสาธิ ตในการทาเครื่ องเงิน
แบบดั้ง เดิม ภายในบริ เวณวัดศรี สุ พ รรณ มีวิท ยากรจากหน่ว ยงานต่า งๆเช่น ส านัก
ส่ งเสริ มศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ สนับสนุ นส่ งเสริ มทางด้านความรู ้ใน
เรื่ องประวัติค วามเป็ นมา ความสัม พันธ์ระหว่า งเครื่ องเงินและวิถีชี วิต รวมทั้ง สร้า ง
ความตระหนักรัก และหวงแหนให้แก่เยาวชนในชุ ม ชน ให้ช่า งทาเครื่ องเงินรุ ่ นใหม่
ผูป้ ระกอบการร้านค้า เครื่ องเงิน ได้เข้ามาศึกษาเพื่อให้เกิดความรู ้และความเข้าใจใน
ประวัต ิค วามเป็ นมาของเครื ่ อ งเงิน ความสัม พัน ธ์ร ะหว่า งเครื ่ อ งเงิน และวิถ ีชี ว ิต
ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม โดยมีกิจกรรมที่

113
สาคัญคือการเผยแพร่ และเรี ยนรู ้วิธีการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิมให้กบั ช่างทาเครื่ องเงิน
รุ่ นใหม่ เพื่อเป็ นการอนุ รักษ์การทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิมไม่ให้สูญหายไป
3) กิจกรรมฝึ กพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยสถาบันการศึกษาในจังหวัด
เชี ยงใหม่เช่น สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปกรรมและ
สถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ
จัด กิจ กรรมเพื ่อ อบรมและให้ค วามรู ้ท างด้า นการออกแบบผลิต ภัณ ฑ์ใ ห้แ ก่ช ่า ง
ทาเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย โดยร่ วมกับกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเชี ยงใหม่ กระทรวง
อุตสาหกรรม สนับสนุนในด้านสถานที่จดั อบรม และสนับสนุนงบประมาณสาหรับ
ดาเนินงาน โดยกระตุน้ การพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ในรู ปแบบที่เข้ากับยุคสมัย
โดยเน้นกระบวนการทาเครื่ องเงินในรู ปแบบดั้งเดิม เพื่อคงคุณค่าของเครื่ องเงินแบบ
ดั้งเดิมผนวกเข้ากับรู ปแบบผลิตภัณฑ์ที่เข้ากับยุคสมัย
4) กิจกรรมส่ งเสริ มช่างทาเครื่ องเงินรุ่ นใหม่ เปิ ดรับผูส้ นใจเข้าอบรมเป็ นช่างทา
เครื่ องเงิน ดาเนิ นกิจกรรมโดยกลุ่มหัตถศิลป์ ล้านนาวัดศรี สุพรรณ ใช้สถานที่บริ เวณ
วัด ศรี สุ พ รรณ จัด การเรี ย นการสอนโดยช่า งท าเครื ่ อ งเงิน ที ่เป็ นสมาชิ ก ภายในกลุ ่ม
หัตถศิลป์ ล้านนาวัดศรี สุพรรณ โดยเน้นการเรี ยนการสอน ด้านการทาเครื่ องเงินพื้นฐาน
การใช้และการเลือกอุป กรณ์ข นาดต่า งๆ การเสริ ม สร้า งและส่ ง เสริ ม ทัศ นคติค วามรู ้
ความเข้า ใจรู ้สึ ก รัก และหวงแหนในคุณค่า ภูมิปั ญ ญาการทาเครื่ อ งเงิน เผยแพร่ แ ละ
ส่ ง เสริ ม ให้ผู ส้ นใจประกอบอาชี พ ช่า งท าเครื ่ อ งเงิน โดยการใช้ท ุน ของสมาคม
ผูป้ ระกอบการร้า นค้า เครื่ อ งเงิน วัว ลาย ในขณะศึก ษาและฝึ กประสบการณ์ก ารท า
เครื่ องเงินจนสามารถประกอบอาชี พได้ และเกิดความมัน่ ใจในความมัน่ คงทางอาชีพ
โดยมีผูป้ ระกอบการร้า นค้าเครื่ องเงินเป็ นผูร้ ับ รอง รับซื้ อ และจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์
เครื่ องเงิน
5) กิจกรรมส่ ง เสริ มการค้า และการท่องเที่ยว โดยการสนับสนุนงบประมาณ
ดาเนินการจาก การท่อ งเที่ย วแห่ ง ประเทศไทย จัดการอบรมให้ความรู ้ทางด้านการ
ท่องเที่ย ว แก่เยาวชนในชุ ม ชน เพื่อเป็ นมัค คุเทศก์นาเที่ย วภายในชุ ม ชนวัว ลายและ
ชุมชนใกล้เคียง เพื่อเยี่ยมชมกิจกรรมและวิถีชีวิตชาวบ้านในชุ มชนวัวลาย รวมทั้งเยี่ยม
ชมการสาธิ ตการทาเครื่ องเงิน พานักท่องเที่ยวเลือกซื้ อสิ นค้าหัตถกรรมเครื่ องเงิน จาก
ศูนย์ส่ ง เสริ ม หัตถกรรมเครื่ องเงินชุ ม ชนวัวลาย เพื่อให้นกั ท่องเที่ยวสามารถซื้ อขาย
สิ นค้าและผลิตภัณฑ์เครื่ องเงิน ที่ได้มาตรฐานในราคายุติธรรม เกิดการซื้ อขายในสภาพ
คล่อง โดยมีการดาเนินการของสมาคมผูป้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย

114
ร่ ว มกับ ศูน ย์ส่ ง เสริ ม ศิล ปาชี พ ระหว่า งประเทศ ซึ่ ง มีค วามถนัด ในด้านการเผยแพร่
โฆษณาและประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล

ภาพที่ 5.6 ผูส้ นใจชาวต่างชาติ เข้าศึกษาขั้นตอนการตอกลวดลาย

5.2.2 จัดตั้งศู นย์ ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย


จากการศึกษาได้พ บว่าแหล่ง ผลิตเครื่ องเงินแบบดั้ง เดิม ภายในชุ ม ชนวัวลาย ที่บุคคล
ทัว่ ไปสามารถเข้าชมได้มีจานวนอยูน่ อ้ ย และสถานที่ไม่เอื้ ออานวยในการเยี่ยมชมแบบหมู่
คณะ ผูศ้ ึกษาจึงเห็นสมควรให้มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย โดย
ใช้พ้ืนที่บริ เวณที่ต้ งั กลุ่มหัตถศิลป์ ล้านนาวัดศรี สุพรรณในปั จจุบนั ซึ่ งอยูภ่ ายในวัดศรี สุพรรณ
หรื อพื้นที่บริ เวณศูนย์จาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนวัดศรี สุพรรณ (Local Product Center) ซึ่ ง
จดทะเบียนเป็ นวิสาหกิจชุ มชนแล้ว เพื่อเป็ นแหล่งรวบรวมผลิตภัณฑ์เครื่ องเงิน อานวยความ
สะดวกแก่นกั ท่องเที่ยวและผูส้ นใจ โดยมีสินค้าจัดแสดงไว้เป็ นหมวดหมู่ เพื่อให้ลูกค้าชมและ
เลือกซื้ อได้ตามความสนใจ โดยแบ่งแยกประเภทสิ นค้าที่มีรูปแบบดั้งเดิมและสิ นค้าที่มีรูปแบบ
ประยุกต์หรื อรู ปแบบสมัยใหม่ โดยผลงานที่จาหน่ ายนั้นผลิตโดยช่างทาเครื่ องเงินภายในศูนย์
ส่ งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย ซึ่ งจะมีคณะกรรมการเพื่อตรวจสอบคุณภาพของ
ชิ้นงาน ก่อนออกใบรับรองคุณภาพเพื่อให้ผซู ้ ้ื อเกิดความมัน่ ใจในคุณภาพสิ นค้า โดยรายได้จาก
การจาหน่ายสิ นค้าหัตถกรรมเครื่ องเงิน นอกจากจะนามาส่ งเสริ มอาชี พการทาเครื่ องเงินแล้วยัง
นามาเป็ นกองทุนสวัสดิการช่วยเหลือช่างทาเครื่ องเงินให้มีคุณภาพชี วติ ที่ดีข้ ึนด้วย

115
ผูท้ ี่ส นใจเยี ่ย มชมยัง จะได้รับ ความรู ้จ ากการเยี่ย มชมกระบวนการผลิต จากช่า งท า
เครื่ องเงินแบบดั้งเดิม โดยใช้ ภูมิปั ญญาดั้งเดิม โดยศูนย์ส่ง เสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ ม ชน
วัวลายแห่ ง นี้ จะต้องเปิ ดโอกาสให้ผูป้ ระกอบการและช่า งทาเครื่ องเงินทุก คน สามารถร่ วม
แสดงสิ นค้าเพื่อลดปั ญหาในการทาตลาดของผูป้ ระกอบการ รายย่อย ทั้งยังเป็ นการอนุรักษ์
และส่ งเสริ มการประกอบอาชี พการทาเครื่ องเงินของ คนในชุ มชนวัวลาย โดยรายได้ส่วนหนึ่ ง
จากทางศูนย์ฯ จะนามาพัฒนาผลงานและส่ งเสริ มคุณภาพชี วิตของช่าง ทาเครื่ องเงิน ผูศ้ ึกษา
เห็นสมควรให้คณะกรรมการดาเนินการมาจากบุคคลภายในชุมชน และสมาชิ กชมรมช่างทา
เครื่ อ งเงิน ต่า งๆภายในชุม ชนวัว ลาย มีผูแ้ ทนจากหน่วยงานท้อ งถิ่น ในจัง หวัดเชี ย งใหม่ที่
เกี่ย วข้องเช่น เทศบาลนครเชี ยงใหม่ องค์ก ารบริ หารส่ วนจัง หวัดเชี ย งใหม่คอยให้คาชี้ แนะ
โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐดังกล่าวในการจัดตั้งดาเนิ นการครั้ งแรก
และขอการสนับ สนุ น จากกองทุน ต่า งๆภายในชุ ม ชน หรื อ ถ้า ด าเนิ น การควบรวมกับ
ศูนย์จาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนวัดศรี สุพรรณ (Local Product Center)ซึ่ งมีทุนดาเนิ นการอยูแ่ ล้ว
จากการขายหุ ้นก็จะเป็ นการประหยัดงบประมาณ อีก ทั้ง ยัง เป็ นการเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภาพและ
ประสิ ทธิ ผลของ ศูนย์จาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนวัดศรี สุพรรณ (Local Product Center) ให้มี
ประสิ ท ธิ ภาพมากยิ่ง ขึ้ นโดยผูศ้ ึกษาเห็นควรให้มีกิจกรรมอื่น ๆที่ค วรดาเนิ นการเพิ่ม เติม ดัง
รายละเอียดต่อไปนี้

1) กิจกรรมการจัดมุมนิทรรศการสาหรับจัดแสดงผลงาน จัดแสดงผลงานบริ เวณ


พื้นที่ศูนย์ศิลปะไทยโบราณสล่าสิ บหมู่ล้านนาวัดศรี สุพรรณ ซึ่ งมีการจัดแสดงผลงาน
ของช่างทาเครื่ องเงินอยูก่ ่อนแล้ว อีกทั้งยังเป็ นการหมุนเวียนผลงานที่จดั แสดงเพื่อให้เกิด
ความน่ า สนใจอี ก ด้วยโดยผลงานที่ จดั แสดงนั้นมาจากผลงานของนัก เรี ยนนัก ศึ ก ษา
ผูส้ นใจที่ เข้ามาเรี ยนรู้ และช่ างทาเครื่ องเงิ นภายในศู นย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงิ น
ชุ มชนวัวลาย มัคคุ เทศก์เยาวชนคอยบรรยายและให้ขอ้ มูลความรู ้ แก่ผทู ้ ี่ สนใจ ในเรื่ อง
ของประวัติความเป็ นมาของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย โดยจัดทาเป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ อวีดี
ทัศน์ แสดงขั้นตอนกระบวนการผลิ ตงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน โดยเน้นให้เห็นถึงคุณค่า
และความสาคัญของเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย เพื่อให้เกิดความรู ้และความเข้าใจก่อนที่จะ
เข้าชมการสาธิ ต
2) กิจกรรมการสาธิ ตวิธีการทาเครื่ องเงิน โดยการสาธิ ตนั้นจะเน้นขั้นตอนของ
การผลิตที่ใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิม พร้อมทั้งการอธิ บายเพื่อให้นกั ท่องเที่ยวและผูส้ นใจ เข้าใจ
วิธีการขั้นตอนและสามารถปฏิบตั ิได้ โดยการสาธิ ตจากช่างเครื่ องเงินผูช้ านาญ จากกลุ่ม

116
หั ต ถศิ ล ป์ ล้ า นนาวัด ศรี สุ พรรณ และตัว แทนจากช่ า งท าเครื่ องเงิ น ภายในชุ ม ชน
ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนเข้ามาเพื่อเป็ นวิทยากรสาธิต
3) กิ จกรรมฝึ กปฏิ บตั ิสาหรับนักเรี ยนและผูส้ นใจในการทาเครื่ องเงิ น ใช้พ้ืนที่
บริ เวณศูนย์ศิลปะไทยโบราณสล่าสิ บหมู่ลา้ นนาวัดศรี สุพรรณ ซึ่ งผูศ้ ึกษาเห็นสมควรว่ามี
ความเหมาะสมอย่างยิ่ง อันเนื่ องมาจาก ศูนย์ดงั กล่ า วมี วตั ถุ ป ระสงค์ในการจัดตั้ง เพื่ อ
ศึกษา รวบรวม และเผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับ ลวดลายแบบโบราณดั้งเดิม โดยกิจกรรมฝึ ก
ปฏิ บตั ิน้ นั จะเริ่ มหลังจากกิ จกรรมการสาธิ ตวิธีการทาเครื่ องเงิ น จึงจะพาผูท้ ี่สนใจเข้าสู่
กระบวนการลงมือปฏิบตั ิจริ งซึ่ งจะมีช่างผูช้ านาญการคอยแนะนา ตรวจสอบและแก้ไข
เพื่อให้กระบวนการลงมือปฏิ บตั ิถูกต้องตามขั้นตอนการผลิ ตโดยเน้นที่การใช้ลวดลาย
โบราณดั้ง เดิ ม ที่ อ าจสู ญ หายหากไม่ มี ก ารอนุ รั ก ษ์ฟ้ื นฟู โดยเปิ ดโอกาสให้ นัก เรี ย น
นักศึ กษา ผูท้ ี่ ส นใจได้พูดคุ ย แลกเปลี่ ย นความคิ ดเห็ นกับ ช่ า งผูช้ านาญงานหัตถกรรม
เครื่ องเงินแบบดั้งเดิม
4) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยทางศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย
จะมี การศึกษาข้อมูลและจดบันทึกความต้องการของนักท่องเที่ ยวและผูซ้ ้ื อผลิ ตภัณฑ์
เครื่ องเงิน เพื่อพัฒนารู ปแบบ หรื อลวดลายผลิตภัณฑ์เครื่ องเงิน ให้อยูใ่ นความสนใจของ
ผูซ้ ้ื อเสมอ โดยหลังจากได้ขอ้ มูลในการพัฒนารู ปแบบ หรื อลวดลายผลิตภัณฑ์เครื่ องเงิน
ต้องผ่านการคัดกรองและเห็นชอบจากคณะกรรมการศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงิน
ชุมชนวัวลาย ซึ่งจะมีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะฝี มือของช่างทาเครื่ องเงิน โดยช่าง
ทาเครื่ องเงินผูช้ านาญที่ผา่ นกิจกรรมฝึ กพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้สามารถผลิต
สิ นค้าตามความต้องการของผูซ้ ้ื อโดยเน้นความเป็ นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นไว้

ภาพที่ 5.7 สามเณรผูส้ นใจเข้าศึกษาการขึ้นรู ปเครื่ องเงิน

117
5.2.3 การถอดองค์ ความรู้ และจัดทาหลักสู ตรงานหัตถกรรมเครื่องเงิน
ผู ศ้ ึก ษาได้เ ล็ง เห็น ว่า ภู มิ ปั ญ ญางานหัต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น ที่ นับ วัน จะขาดผูส้ ื บ ทอด
ซึ่งรู ปแบบและภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินนับวันจะค่อย ๆ ถูกดัดแปลงและลืมเลือนไป
การบันทึกข้อมูลต่างๆ ของภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินไว้น้ นั เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่จะรักษา
ภูมิปัญญานี้ ไม่ให้สูญหายไป ซึ่ งปั จจุบนั หลักสู ตรที่ศูนย์ศิลปะไทยโบราณสล่าสิ บหมู่ลา้ นนา
วัด ศรี สุ พ รรณใช้อ ยู่ใ นปั จ จุ บ ันนั้น ขาดองค์ป ระกอบของเนื้ อหา และการฝึ กกระบวนการ
ขั้นตอนของการทาเครื่ องเงิ น โดยจะมุ่ง เน้นเพีย งกระบวนการขั้นตอนในการตอกลวดลาย
เท่ า นั้น ซึ่ งใช้เ วลาในการเรี ย นรู ้ ห ลัก สู ต รของศู น ย์ศิ ล ปะไทยโบราณสล่ า สิ บ หมู่ ล้า นนา
วัดศรี สุพรรณไม่เกิน 800 ชัว่ โมง ผูศ้ ึกษาจึงเห็นควรว่าให้มีกระบวนการถอดองค์ความรู ้ โดย
นาประสบการณ์ตรงจากช่างทาเครื่ องเงินผูม้ ีประสบการณ์ ชานาญ อธิ บายและเรี ยบเรี ยงเป็ น
หลักสู ตรการทาเครื่ องเงินและหลักสู ตรการขึ้นรู ปเครื่ องเงิน ในรู ปแบบลายลักษณ์อกั ษร ตารา
หนัง สื อ และในรู ป แบบ วีดิท ศั น์ ห รื อ วีซี ดี ที ่ม ีล ายละเอีย ดที ่ส าคัญ ในกระบวนการท า
เครื่ องเงินเช่น การผสมขี้ ชนั การขึ้นรู ปเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม สอดแทรกไว้ซ่ึ งเป็ นอีกวิธีการ
หนึ่ งที่จะเก็บรักษา ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ อง ให้คนรุ่ นหลังได้ศึกษาเรี ยนรู ้และสื บสาน
ต่อไป ผูศ้ ึกษายังเห็นควรให้ใช้สถานที่ดาเนิ นการคือ ศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชน
วัวลาย ที่จะจัดตั้งขึ้น หรื อที่ต้ งั กลุ่มหัตถศิลป์ ล้านนาวัดศรี สุพรรณปั จจุบนั เนื่ องจากมีช่างทา
เครื่ องเงิน ผูม้ ีประสบการณ์ชานาญ หลายท่านยังใช้พ้ืนที่ในการทางานอยู่ หรื อใช้พ้ืนที่บริ เวณ
ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณสล่าสิ บหมู่ลา้ นนาวัดศรี สุพรรณ ซึ่ งเป็ นศูนย์ที่ได้จดั ตั้งขึ้ นโดย
ความร่ วมมือของ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) กับ สานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่ งชาติ ผูศ้ ึกษายังเห็นสมควรให้คณะกรรมการดาเนินการมาจาก ช่างทา
เครื่ องเงินชุมชนวัวลาย นักวิชาการที่เกี่ยวข้องจากสถาบันการศึกษาต่างๆในจังหวัดเชี ยงใหม่
และผูแ้ ทนจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) ฝ่ ายรักษาอนุรักษ์
วัฒนธรรม ซึ่ งเคยศึกษาดูงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลายมาก่อน อีกทั้งยังมีประสบการณ์
ในการถอดองค์ความรู้ และจัดทาหลักสู ตรทางด้านภูมิปัญญาต่างๆออกเผยแพร่ โดยขอรับการ
สนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐและหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องคือ เทศบาลนครเชี ยงใหม่
และองค์ก ารบริ ก ารจัง หวัดเชี ย งใหม่ ซึ่ งผูศ้ ึก ษาเห็น สมควรว่า ต้องมีรายละเอีย ดกิจกรรม
ปลีกย่อยอื่นๆดังต่อไปนี้

118
ภาพที่ 5.8 นักศึกษาจากวิทยาลัยอาชี วศึกษาเชี ยงใหม่ ศึกษาเรี ยนรู ้เรื่ องการทาเครื่ องมือตอกลาย

1) การถอดองค์ความรู ้ก ารทาเครื่ องเงินแบบดั้ง เดิม โดยขอความร่ วมมือจาก


นักวิชาการด้านวัฒนธรรม และผูแ้ ทนจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนาภิเษก
(วิทยาลัยในวัง ) ฝ่ ายรักษาอนุ รักษ์วฒั นธรรม ในการการศึก ษาวิจยั และเก็บ รวบรวม
ข้อมูลต่างๆ ในด้านประวัติความเป็ นมาของภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินวัวลาย
ตลอดจนกระบวนการทาเครื่ องเงิน แบบดั้งเดิมเช่น การหลอมหล่อเครื่ องเงิน การขัด
ล้า งโดยวิธี แ บบดั้ง เดิม โดยเฉพาะการขึ้ น รู ป เครื ่ อ งเงิน แบบดั้ง เดิม การผสมและ
ส่ วนผสมของขี้ ชนั จากช่างทาเครื่ องเงินผูช้ านาญในการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิมของ
ชุมชนวัวลาย
2) จัดทาหลักสู ตรการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม โดยการนาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จาก
การถอดองค์ค วามรู ้ ทดลองออกแบบและจัดทาหลักสู ตร โดยนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง
ร่ วมกับ ช่างทาเครื่ องเงินในชุ มชนวัวลาย และนาหลัก สู ตรให้ผูช้ านาญด้านการจัดทา
หลักสู ตรด้านภูมิปัญญา จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง)
ฝ่ ายรักษาอนุรักษ์วฒั นธรรม เพื่อขอให้จดั ทาหลักสู ตรการทาเครื่ องเงินที่สมบูรณ์ให้โดย
เพิม่ เติมเนื้อหาและตรวจทานเนื้อหาร่ วมกันกับช่างทาเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย
3) บันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยนาหลักสู ตรฉบับสมบูรณ์ตีพิมพ์ในรู ปแบบ
ตาราหรื อ หนัง สื อ และบัน ทึก ในรู ป แบบวีซี ดีแ ละวีดีท ศั น์เ พื ่อ เผยแพร่ แ ก่น กั เรี ย น
นักศึกษาและผูท้ ี่สนใจ ให้ภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิมไม่สูญหายไป

119
บทที่ 6
สรุปการศึกษา อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การค้นคว้าแบบอิสระเรื่ อง “การอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชน


วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่” มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็ นมาของชุมชนวัวลายและ
งานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย เทคนิ ควิธี การท าเครื่ องเงิ น ตลอดจนสภาพการณ์ และปั ญหา
ของงานหั ตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย เพื่ อเสนอแนวทางการอนุ รั ก ษ์และสื บสานภู มิ ปั ญญา
งานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย อาเภอเมื อง จังหวัดเชี ยงใหม่ โดยใช้วิธี ก ารพรรณนา ศึ ก ษา
วิเ คราะห์ จ ากเอกสารหนัง สื อ ที่ เ กี่ ย วข้อ งเพื่ อ ให้ท ราบถึ ง ประวัติ ความเป็ นมาของชุ มชนและงาน
หัตถกรรมเครื่ องเงิน และใช้เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดย วิธีการสังเกตการณ์ วิธีการสัมภาษณ์
แบบมี โครงสร้ างในลักษณะค าถามปลายเปิ ดจาก กลุ่ มตัวอย่างคัดเลื อกโดยเจาะจงจาก ผูน้ าชุ มชน
นักวิชาการ ผูป้ ระกอบการค้าเครื่ องเงิน ช่างทาเครื่ องเงิน และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
หลังจากนั้นบันทึกข้อมูล โดยการสังเกตการณ์ และสัมภาษณ์ช่างทาเครื่ องเงิ นผูม้ ีความชานาญจากแหล่ง
ผลิ ตเครื่ องเงิ นในชุ มชนวัวลาย เพื่อให้ทราบถึ งเทคนิ ควิธีการทาเครื่ องเงิ นตลอดจน สภาพการณ์ และ
ปั ญหาของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย สอบถามความคิดเห็นและเปิ ดโอกาสให้เสนอแนะ
แนวทางในการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย จากกลุ่ มตัวอย่าง
แล้วนาผลจากการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์และแปรผล เพื่อหาแนวทางการจัดการอนุ รักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ซ่ ึ งผูศ้ ึกษามีขอ้ สรุ ปและ
ข้อเสนอดังต่อไปนี้

6.1สรุ ปผลการศึกษา
จากการศึกษาบริ บทของชุ มชนวัวลายทาให้ทราบถึ งความเกี่ ยวข้องของชุ มชนวัวลายตั้งแต่
ยุคสมัยราชวงศ์มงั รายที่ปรากฏตามหลักฐานเอกสารและประวัติความเป็ นมาของชุ มชนวัวลาย ที่เริ่ ม
อาชีพทาเครื่ องเงินตั้งแต่ยคุ สมัย “เก็บผักใส่ ซา้ เก็บข้าใส่ เมือง” ในขณะนั้นมีพระเจ้ากาวิละเป็ นเจ้าเมือง
เชี ย งใหม่ และมี ก ารต้อ นผูค้ นแบบ “เทครั ว ” จากผู ้ค นที่ ต้ ัง บ้า นเรื อ นบริ เ วณลุ่ ม แม่ น้ า สาละวิ น
แขวงเมื องปั่ นอี กครั้ งในยุค สมัย พระเจ้า ช้างเผือกธรรมลังกา เจ้า เมื องเชี ยงใหม่องค์ต่อมา โดยตั้ง
ถิ่นฐานรอบๆวัดศรี สุพรรณ และวัดหมื่นสาร เกิดเป็ นชุมชนช่างทาเครื่ องเงินตั้งแต่น้ นั มา
ปั จ จุ บ ัน ลัก ษณะ ถนนวัว ลายสายหลัก สองข้า งทางจะพบเห็ น ร้ า นค้า เครื่ อ งเงิ น ซึ่ งเปิ ด
ดาเนิ นการเป็ นสถานที่ จาหน่ า ยเครื่ อ งเงิ นที่ ผ ลิ ตโดยคนในชุ ม ชน ภายในร้ า นมี ก ารสาธิ ตการท า

120
เครื่ องเงินโดยตั้งสลับ ระหว่าง อาคารพาณิ ชย์ โรงแรม ร้านอาหาร และบ้านเรื อน ภายในชุมชนอีกทั้ง
ยังมีแหล่งผลิตเครื่ องเงินดั้งเดิ ม และยังมีช่างทาเครื่ องเงินประกอบอาชี พภายในที่พกั อาศัยของตนอยู่
ประปราย
จากการศึกษายังพบว่าภูมิปัญญาหัตถกรรมเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลาย มีคุณค่า และความสาคัญ
ของลักษณะที่เป็ นเอกลักษณ์ ของชุ มชนวัวลายโดยมี ลวดลายดั้งเดิ มที่ โดดเด่ นเช่ น ลายนางรา ลาย
เทพพนม ลายดอกกระถิน ลายสิ บสองราศี ลายพุทธประวัติ เป็ นต้น โดยเฉพาะเทคนิ คการขึ้นรู ปแบบ
ดั้งเดิมเช่น รู ปทรงของขันเงิน หรื อสลุง ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชนวัวลาย มีขอบที่นูนโค้งและเว้า
เข้าคล้ายขอบโอ่ง ซึ่ งส่ วนที่เป็ นขอบและส่ วนลาตัวของสลุงจะมีความนูนเท่ากันหมด และใช้ลกั ษณะ
ลายดุ นแบบนูนสู งเป็ นตัวแบ่งจะมีลวดลายนู นชัดเจน ทั้งยังมีวิธีการดุนลายที่เป็ นเอกลักษณ์กล่าวคือ
การดุ นลายทั้ง สองด้า น โดยการใช้เหล็ก หัวกลมดุ น ลายจากด้านในตามโครงสร้ า งที่ ต้องการให้
นูนออกมารอบนอกของชิ้ นงานก่อนแล้วตี และดุนจากด้านนอกเป็ นลายละเอียดอีกทีหนึ่ง ซึ่ งควรค่า
แก่การอนุรักษ์และสื บสานไว้มิให้สูญหาย
จากการลงพื้นที่ศึกษาเพื่อสังเกตการณ์และสัมภาษณ์ยงั พบปัญหา ในด้านเศรษฐกิจและการค้า
เครื่ องเงิ น ความต้อ งการของเครื่ องเงิ น ในตลาดลดลงอัน เป็ นผลมาจากเศรษฐกิ จ ตกต่ า และ
ความสัมพันธ์ของวิถีชีวติ ผูค้ นกับเครื่ องเงินที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งปั ญหาที่เกิดจากการลดต้นทุนใน
กระบวนการผลิตเครื่ องเงิน โดยเฉพาะการขึ้นรู ปเครื่ องเงินในรู ปแบบโรงงานอุตสาหกรรมที่ทาให้
คุณค่าของเครื่ องเงิ นเปลี่ ยนไป ปั ญหาที่สาคัญอีกประการคือ ปั ญหาขาดแคลนช่ างทาเครื่ องเงิ นที่จะ
สื บทอดภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิมจากสภาพปั ญหาดังกล่าว ในการศึกษาจึงได้เก็บข้อมูล
ความคิ ดเห็ น และข้อเสนอแนะจากผูน้ าชุ มชน ผูป้ ระกอบการร้ านค้าเครื่ อ งเงิ น ช่ า งท าเครื่ องเงิ น
นักวิชาการ และผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับเครื่ องเงิ นชุ มชนวัวลายเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการพิจารณาประกอบ
กับแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาหาวิธีการที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ได้ดงั นี้
6.1.1 กิจกรรมการส่ งเสริ มการค้าเครื่ องเงินวัวลาย
ผู ้ศึ ก ษาเห็ น ควรให้ มี ก ารจัด กิ จ กรรมการส่ ง เสริ มการค้ า เครื่ องเงิ น วัว ลาย โดยมี
วัตถุประสงค์ของกิจกรรมคือ ส่ งเสริ มการค้าและท่องเที่ยวและเผยแพร่ ความรู ้ความเข้าใจ แก่ผู ้
ที ่เ กี ่ย วข้อ งให้ส ามารถบริ ห ารจัด การสถานประกอบการการค้า เครื ่ อ งเงิน ได้อ ย่า งมี
ประสิ ทธิ ภาพ เผยแพร่ และอนุ รักษ์การทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิ ม และเพื่อให้เกิ ดการออกแบบ
และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใ ห้ตรงกับ ความต้องการของตลาด โดยผูศ้ ึก ษาเห็นควรให้มีกิจกรรม
อื่นๆที่ควรดาเนิ นการเพิ่มเติมดังรายชื่อต่อไปนี้

121
1) กิ จกรรมสัมมนาและอบรมเผยแพร่ ค วามรู ้เกี่ยวกับการส่ งเสริ มการตลาดและการ
ท่องเที่ยวให้ผปู ้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย
2) กิจกรรมเผยแพร่ และอนุ รักษ์การทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม
3) กิจกรรมฝึ กพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์
4) กิจกรรมส่ งเสริ มช่างทาเครื่ องเงินรุ่ นใหม่
5) กิจกรรมส่ งเสริ มการค้าและการท่องเที่ยว
ซึ่ งรายละเอียดได้แสดงไว้ในบทที่ 5

6.1.2 จัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย


ผูศ้ ึกษาเห็นสมควรให้มีการจัดตั้ง ศูนย์ส่งเสริ มหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย โดยใช้
พื้นที่บริ เวณที่ต้ งั กลุ่มหัตถศิลป์ ล้านนาวัดศรี สุพรรณในปั จจุบนั ซึ่ งอยูภ่ ายในวัดศรี สุพรรณ เพื่อ
เป็ นแหล่ งรวบรวมผลิ ตภัณฑ์เครื่ องเงิ น อานวยความสะดวกแก่ นักท่องเที่ ยวและผูส้ นใจให้
ได้รับความรู ้ จากการเยี่ยมชมกระบวนการผลิตโดยใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิ ม และยังเป็ นการอนุรักษ์
และส่ งเสริ มการประกอบอาชี พการทาเครื่ องเงิ น ชุ มชนวัวลาย โดยรายได้ส่วนหนึ่ งจากทาง
ศูนย์ฯนามาพัฒนาและส่ ง เสริ ม คุ ณภาพชี วิตของช่ า งทาเครื่ องเงิ น โดยผูศ้ ึก ษาเห็นควรให้มี
กิจกรรมอื่นๆที่ควรดาเนิ นการเพิ่มเติมดังรายชื่อต่อไปนี้
1) กิจกรรมการจัดมุมนิทรรศการสาหรับจัดแสดงผลงาน
2) กิจกรรมการสาธิ ตวิธีการทาเครื่ องเงิน
3) กิจกรรมฝึ กปฏิบตั ิสาหรับนักเรี ยนและผูส้ นใจในการทา
4) กิจกรรมการจัดแสดงผลงาน
5) การจัดจาหน่ายผลงาน
6) การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ซึ่ งรายละเอียดได้แสดงไว้ในบทที่ 5
6.1.3 การถอดองค์ความรู้และจัดทาหลักสู ตรงานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
ผู ศ้ ึก ษาได้เ ล็ง เห็น ว่า ภู มิ ปั ญ ญางานหัต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น ที่ นับ วัน จะขาดผูส้ ื บ ทอด
รู ป แบบและภู มิ ปั ญ ญาจะค่ อ ยๆ ถู ก ดัด แปลงและลื ม เลื อ นไปการบัน ทึ ก ข้อ มู ล ต่ า งๆ ของ
ภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิ นไว้ เป็ นอี กวิธีหนึ่ งที่จะรักษาภูมิปัญญานี้ ไม่ให้สูญหายไป
ควรให้มีก ารถอดองค์ค วามรู ้ จากช่า งทาเครื่ องเงิน ผูม้ ีประสบการณ์ ชานาญ โดยจัดทาเป็ น
หลัก สู ต รการทาเครื ่ องเงินและหลัก สู ต รการขึ้ นรู ป เครื่ องเงิน ในรู ป แบบลายลัก ษณ์อกั ษร

122
ตารา หนัง สื อ และในรู ป แบบ วีดิท ศั น์วีซี ดี เป็ นอีก วิธี ห นึ่ ง ที่จะทาให้ค นรุ ่ นหลัง ได้ศึก ษา
เรี ยนรู ้และสื บสานภูมิปัญญาต่อไปโดยมีรายชื่อกิจกรรมอื่นๆดังต่อไปนี้
1) การถอดองค์ความรู ้การทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม
2) จัดทาหลักสู ตรการทาเครื่ องเงินแบบดั้งเดิม
3) บันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
ซึ่ งรายละเอียดได้แสดงไว้ในบทที่ 5
6.2 อภิปรายผล
ในการศึกษาครั้งนี้ ผลที่ได้จากการศึกษาเรื่ อง การอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรม
เครื่ องเงิ นชุ ม ชนวัว ลาย อาเภอเมื อง จัง หวัด เชี ย งใหม่ ผูศ้ ึ ก ษาได้ศึ ก ษารวบรวมข้อ มูล และเสนอ
แนวทางไว้น้ นั ได้มาจากการศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ผศู ้ ึกษาเห็นว่ามีความเหมาะสม และสมควรที่จะ
ปรับตามแนวคิด ทฤษฎี ที่เห็ นว่ามีความเหมาะสม สอดคล้องกับการนามาใช้คือ แนวคิดการอนุ รักษ์
มรดกทางวัฒนธรรม และแนวคิดการถ่ายทอดภูมิปัญญา
ดังที่ ได้กล่ าวมาแล้วข้างต้นว่า ผลจากการศึ กษาที่ ผศู ้ ึ กษาได้นาเสนอนั้น เป็ นไปตามแนวคิด
ทฤษฎี และข้อเสนอแนะแนวทางจากผูใ้ ห้สัมภาษณ์ จึงต้องมีการนาผลการศึกษาไปเลือกใช้บางส่ วน
ประยุกต์ใช้ หรื อปรับใช้ เพื่อให้เข้ากับช่วงเวลา สถานการณ์ เหตุการณ์ ของชุมชนวัวลาย และนโยบาย
ของภาคราชการส่ วนท้องถิ่ น ในนโยบายการส่ งเสริ ม การท่องเที่ ยว และนโยบายการพัฒนาเมือง
เชียงใหม่ ซึ่งหากได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานราชการหรื อองค์กรเอกชนที่จะนาผลการศึกษานี้
ไปดาเนินการเพิ่มเติม ควรจะนาเสนอรายละเอียดในเรื่ องหลักการและแนวคิดนี้ ให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญด้านการ
อนุรักษ์ภูมิปัญญา และการสื บสานวัฒนธรรมที่มีความชานาญเฉพาะทางได้ศึก ษาถึงสภาพปั ญหาของ
ชุ มชนวัวลาย เพื่อศึกษาข้อมูลเฉพาะด้านปั จจัยที่ ทาให้เกิ ดปั ญหา จึงจะสามารถแก้ปัญหาได้ตรงจุด
และมี ค วามเหมาะสมยิ่ง โดยสามารถจัดทาโครงการเพื่อเสนอเป็ นแผนแม่ บทสาหรั บนาเสนอขอ
จัดสรรงบประมาณเพื่อดาเนินการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญาการทาเครื่ องเงินมิให้สูญหายไป

6.3 ข้ อเสนอแนะ
ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้เป็ นเพียงข้อเสนอของงานวิจยั คงไม่เกิดประโยชน์อนั ใดหากไม่มี
องค์กรภาคส่ วนราชการหรื อเอกชน นาไปดาเนินการ และผูศ้ ึกษาเสนอแนะว่าหากจะให้เกิดประโยชน์
และทัน ต่ อเหตุ ก ารณ์ ค วรจะเริ่ ม ท าในส่ ว นที่ ท าได้ง่ า ยก่ อ นเช่ น การจัดการอบรมให้ ค วามรู ้ ด้า น
การตลาด แก่ผปู ้ ระกอบการร้านค้าเครื่ องเงิน การรณรงค์ซ้ื อ และใช้สินค้าผลิตภัณฑ์เครื่ องเงิน รวมถึง
การส่ งเสริ มการท่องเที่ยว แล้วค่อยร่ างแผน จัดทาโครงการนาเสนอเป็ นภาพรวมและเสนอขั้นตอนใน
การดาเนิ นการตามลาดับความจาเป็ น เพื่อขอแบ่งจัดสรรงบประมาณเป็ นคราวๆ ไป ซึ่ งในการศึกษา

123
ครั้ งต่ อ ไปควรเพิ่ ม เติ ม ให้ ค รอบคลุ ม ปั ญ หาและแนวทางแก้ ปั ญ หา ที่ ไ ด้ รั บ ฟั ง แนวคิ ด หรื อ
ข้อเสนอแนะจากหลากหลายมุมมอง และหลากหลายแง่มุม
ด้วยการทางานวิจยั ครั้งนี้ มีเวลาจากัด ผลการศึกษาจึงยังเป็ นเพียงการศึกษารวบรวมข้อมูลใน
มิติดา้ นประวัติความเป็ นมา เทคนิควิธีการทาเครื่ องเงิน สภาพการณ์ และสภาพปั ญหา ซึ่ งเป็ นเพียงจุด
ย่อยเท่านั้น หากมีการขยายให้มีการศึกษาในส่ วนอื่นๆต่อไป ควรศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในส่ วนของแนว
ทางการส่ งเสริ มอาชีพ ช่างทาเครื่ องเงิน และปัจจัยที่ทาให้การค้าขายเครื่ องเงินลดลง สาหรับการศึกษา
ครั้ งนี้ ผลที่ ได้ สามารถเป็ นข้อมู ลและแนวทางให้ชุม ชนวัวลายและชุ มชนอื่ นๆนาไปอนุ รัก ษ์และ
สื บสานภูมิปัญญาในชุมชนของตัวเองต่อไป

124
บรรณานุกรม
“ความรู ้ที่ไม่ลืม นาสู่ การเพิ่มศักยภาพทางธุ รกิจ” กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ไม่ระบุปีที่พิมพ์

“เจ็ดทศวรรษ:ราชภัฏเชี ยงใหม่กบั งานสื บสานวัฒนธรรม” ชูสิทธิ์ ชูชาติ การท่องเที่ยวกับการ


เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของชาวเชียงใหม่ เชียงใหม่:สถาบันราชภัฏเชียงใหม่ 2538

“ความหมายและขอบข่ า ยงานวัฒนธรรม” สานัก งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่ ง ชาติ :


กระทรวงศึกษาธิ การ ไม่ระบุปีที่พิมพ์

“ตานานผลิตภัณฑ์เครื่ องเงิน คัวเนียม และโลหะดุนลาย” วัดศรี สุพรรณ เชียงใหม่ 2549

“ตานานพระแก้วขาว (เสตังคมณี ) กับพระศิลา (พระหิ นอ่อน) วัดเชี ยงมัน่ จังหวัดเชี ยงใหม่”


เชียงใหม่:ส.ทรัพย์การพิมพ์ 2544

“ตานานพื้นเมืองเชี ยงใหม่ ฉบับเชี ยงใหม่ 700 ปี ” เชี ยงใหม่:ศูนย์วฒั นธรรมจังหวัดเชี ยงใหม่


สถาบันราชภัฏเชียงใหม่ 2538

“ตานานมูลศาสนา, อนุ สรณ์ในงานพระราชทานเพลิ งศพ หม่อมหลวงเดช สนิ ทวงศ์. ณ เมรุ


หน้าพลับพลา วัดเทพศิรินทราวาส. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์ 2519

“มรดกล้านนา ภูมิปัญญาท้องถิ่ น 500 ปี วัดศรี สุพรรณ” ปรี ชา ขันทนันต์ เครื่ องเงินเชี ยงใหม่
เชียงใหม่:เวียงพิงค์การพิมพ์ 2543

“มรดกล้า นนา ภูมิ ปั ญญาท้องถิ่ น 500ปี วัดศรี สุพ รรณ” ค าตัน ไชยค าเรื อง ย้อนรอยอดี ต
เชียงใหม่: เวียงพิงค์การพิมพ์ 2543

“มรดกล้านนา ภูมิปัญญาท้องถิ่ น 500ปี วัดศรี สุพรรณ” บุญมี ฟองตัน ความทรงจาในอดี ต


เชียงใหม่:เวียงพิงค์การพิมพ์ 2543

125
“วัดศรี สุพรรณ ในพระอุปถัมภ์ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ ” พระครู พิทกั ษ์
สุ ทธิ คุณ วิสัยทัศน์การพัฒนาวัดศรี สุพรรณ เชียงใหม่: เวียงพิงค์การพิมพ์ ไม่ระบุปีที่พิมพ์

“สื บสานวัฒนธรรมท้องถิ่ นสู่ การท่องเที่ ยวจังหวัดเชี ยงใหม่” สานักงานวัฒนธรรมจังหวัด


เชียงใหม่ 2555

เชษฐา เมี้ยนมนัส “ถนนสายวัวลาย” เชียงใหม่ อิ่มสุ วรรณแมนชัน่ 2547

เลิศชาย ศิริชยั บรรณาธิ การ “ภูมิปัญญาท้องถิ่ นจากข้อเท็จจริ งยกระดับสู่ กระบวนทัศน์ความ


เข้มแข็งชุมชน” นครศรี ธรรมราช:โรงพิมพ์เม็ดทราย 2547

เสรี พงศ์พิศ “คืนสู่ รากเหง้า:ทางเลือกและทัศนะวิจารณ์วา่ ด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน” กรุ งเทพฯ:


เทียนวรรณ 2529

ไพศาล แก้วรากมุก การค้นกว้าอิสระ “การจัดการความรู้ในการอนุ รักษ์หัตถกรรมเครื่ องเงิ น


ชุ มชน วัดศรี สุพรรณ ถนนวัวลาย ตาบลหายยา อาเภอเมื อง จังหวัดเชี ยงใหม่” เชี ยงใหม่:บัณฑิ ต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557

จินตนา มัธยมบุรุษ “ภูมิปัญญาเชิงช่าง:เครื่ องเงินเชียงใหม่” ลาพูน:สกรี นการพิมพ์ 2552

จินตนา มัธยมบุรุษ “สรรพช่ าง:ภูมิปัญญาท้องถิ่นเชี ยงใหม่” ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมสถาบันราช


ภัฏเชียงใหม่ 2539

จิราวรรณ กาวิล ะ การค้นคว้าอิส ระ “ทางเลื อกของการท่ องเที่ ยวเชิ ง วัฒนธรรม:กรณี ศึ กษา


หมู่บา้ น วัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่” เชี ยงใหม่:บัณฑิ ตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่
2544

ชัชวาล ชัยเจริ ญ “เข็มขัดเงินร่ วมสมัย ในเขตเทศบาล อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่” คณะวิจิตร


ศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2539

ณรงค์ เส็งประชา “พื้นฐานวัฒนธรรมไทย” กรุ งเทพมหานคร:โอเดียนสโตร์ 2531

126
นิ วตั ิ เรื องพานิ ช “การอนุ รักษ์ทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม” กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2546

ผาสุ ก มุทธเมธา “คติชาวบ้านกับการพัฒนาคุณภาพชีวติ ” กรุ งเทพฯ:โอเดียนสโตร์ 2540

พยูณ มีทองคา “สลุงหลวง พ่อ” เชียงใหม่ คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ ค 2542

พัช ริ น ทร์ สิ ร สุ น ทร “ชุ ม ชนปฏิ บ ัติ ก ารด้า นการเรี ย นรู้ : แนวคิ ด เทคนิ ค และกระบวนการ”
กรุ งเทพฯ:สานึกพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552

ภัทรฤทัย วรอุไร การค้นคว้าแบบอิสระ “การสร้างความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืนให้แก่ชุมชนหมู่บา้ น


เครื่ องเงิ น วัว ลาย – ศรี สุ พรรณ เทศบาลนครเชี ย งใหม่ ” เชี ย งใหม่ : บัณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2556

ยุ พิ น อิ น ทะยะ“แหล่ ง เรี ยนรู ้ แ ละภู มิ ปั ญ ญาท้อ งถิ่ น เพื่ อ การเรี ยนการสอน”เชี ย งใหม่ :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2550

รั ตนะ ภู่ส วาสดิ์ วิท ยานิ พนธ์ “การอนุ รักษ์และพัฒนาความรู้ งานคัวตองชุ มชนวัดพวกแต้ม
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่” เชียงใหม่:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2556

วศิน อิงคพัฒนากุล “การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม” นครปฐม:


โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร 2548

วิทูรย์ เหลี ยวรุ่ งเรื อง “การอนุ รักษ์และการจัดการมรดกวัฒนธรรม” กรุ งเทพ: เจริ ญวิทย์การ
พิมพ์ 2552

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ “มรดกวัฒนธรรมพื้นบ้าน” กรุ งเทพ: บริ ษทั ต้นอ้อ1999 2542

วิมลลักษณ์ ชูชาติ และคณะ “แนวทางส่ งเสริ มภูมิปัญญาในต่างประเทศ” กรุ งเทพ:สถาบัน


แห่งชาติวา่ ด้วยภูมิปัญญาและการศึกษาไทย 2542

สมโชติ อ๋ องสกุล “แหล่งการเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่ นในเชี ยงใหม่:มิติทางประวัติศาสตร์ ”


เชียงใหม่:ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2548

127
สมโชติ อ๋ องสกุล และคณะ รายงานวิจยั “การสื บค้นหลักฐานทางการศึ กษาในล้านนา:ชุมชน
ช่ า งในเวี ย งเชี ย งใหม่ กรณี เครื่ องเงิ น และเครื่ องเขิ น ” เชี ย งใหม่ : คณะศึ ก ษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2545

สมหมาย เปรมจิตต์ “ตานานสิ บห้าราชวงศ์” สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2540

สมหมาย เปรมจิตต์ “ราชวงศาพื้นเมืองเชี ยงใหม่” ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุ ษยวิทยาคณะ


สังคมศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2518

สามารถ สุ วรรณรั ตน์ “คู่ มื อแนวทางการอนุ รัก ษ์ม รดกทางวัฒนธรรมโดยภาคประชาชน”


สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557

สายันต์ ไพรชาญจิตร์ และคณะ “รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ :กระบวนการเรี ย นรู้ และจัดการ


ความรู ้ของชุ มชนด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น” กรุ งเทพฯ:สานักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจยั 2549

อรุ รัตน์ วิเชียรเขียว และเดวิดเค.วัยอาจ “ตานานพื้นเมืองเชี ยงใหม่” เชี ยงใหม่:ซิ ลค์เวอร์ มบุคส์
2543

128
ภาคผนวก

129
แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้ าง
แบบสั มภาษณ์ นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเก็บรวบรวมข้ อมูลในการทาวิจัย เรื่อง “การอนุรักษ์ และ
สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ ” ซึ่ งเป็ นส่ วน
หนึ่งของการศึ กษาตามหลักสู ตร ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศิ ลปะและ
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ส่ วนที่ 1: ประวัติความเป็ นมาของชุ มชนวัวลาย ลักษณะชุ มชน อาคารบ้ านเรื อนและสถานที่สาคัญ


แหล่ งผลิต และจ าหน่ า ยเครื่ อ งเงิ นชุ ม ชนวัว ลาย เทคนิ ค วิธีก ารทาเครื่ องเงิ นวัว ลาย คุ ณค่ า และ
ความสาคัญ ตลอดจนสภาพการณ์ ปัญหาของธุรกิจและการผลิตเครื่องเงินวัวลาย

ตอนที่ 1: ข้อมูลทัว่ ไปของผูใ้ ห้การสัมภาษณ์


ชื่อ………………………………………………. สกุล…………………………………………...…...
อาชีพ…………………………………………….ตาแหน่ง……………………………………………

ตอนที่ 2: ข้อมูลเกี่ ยวกับประวัติความเป็ นมาของชุ มชนวัวลาย ลักษณะชุมชน อาคารบ้านเรื อนและ


สถานที่สาคัญ แหล่งผลิตและจาหน่ายเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย

1. ชุมชนวัวลาย มีประวัติความเป็ นมาอย่างไร


2. ลักษณะชุมชนวัวลาย เป็ นอย่างไร
3. แหล่งผลิตและจาหน่ายเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย มีอะไรบ้าง

ตอนที่ 3: ข้อมู ลเกี่ ยวกับ เทคนิ ควิธี การท าเครื่ องเงิ นวัวลาย คุ ณค่ า และความส าคัญ ตลอดจน
สภาพการณ์ ปั ญหาของธุ รกิจและการผลิตเครื่ องเงินวัวลาย

1. เทคนิควิธีการทาเครื่ องเงินวัวลายที่ท่านทราบเป็ นอย่างไรบ้าง


2. คุณค่าและความสาคัญของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลายมีอะไรบ้าง
3. สภาพการณ์ปัจจุบนั ของงานหัตถกรรมเครื่ องเงินเป็ นอย่างไรบ้าง
4. ปั ญ หาของธุ ร กิ จ และการผลิ ตงานหัต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น วัว ลายที่ ป ระสบ หรื อ รั บทราบ
มีอะไรบ้าง

130
5. หน่ วยงาน องค์กรภาครั ฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ น มี บทบาทในการร่ วม
อนุ รั ก ษ์ และส่ ง เสริ ม งานหั ต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น ชุ ม ชนวัว ลาย ที่ ท่ า นทราบมี อ ะไรบ้า ง
ดาเนินการอย่างไร
6. ท่านอยากให้หน่ วยงานทั้งภาครั ฐและเอกชนช่ วย สนับสนุ น อนุ รักษ์และส่ งเสริ ม งาน
หัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อย่างไรบ้าง

ส่ วนที่ 2: ความคิดเห็ นเกี่ ยวกับรู ปแบบในปั จจุบนั และข้อเสนอแนะต่อแนวทางการอนุ รักษ์และ


สื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ตอนที่ 1: ข้อมูลทัว่ ไปของผูใ้ ห้การสัมภาษณ์


1. ประเภทของผูใ้ ห้สัมภาษณ์เป็ นใคร
2. ท่านรู ้จกั ชุมชนวัวลายได้อย่างไร
3. ความสัมพันธ์ของท่านกับงานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุมชนวัวลาย

ตอนที่ 2: ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผูน้ าชุมชน ผูป้ ระกอบการ ช่างทาเครื่ องเงิน


นักวิชาการ ฯลฯ ต่อแนวทางการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชนวัวลาย
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

1. รู ปแบบและแนวทางในการอนุ รักษ์และสื บสานภูมิปั ญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงินชุ มชน


วัวลายในปั จจุบนั เป็ นอย่างไร
2. ท่ า นคิ ด ว่ า แนวทางในการอนุ รั ก ษ์ แ ละสื บ สานภู มิ ปั ญ ญางานหั ต ถกรรมเครื่ อ งเงิ น
ชุมชนวัวลายควรเป็ นแบบใด อย่างไร
3. ข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ เพื่อการอนุรักษ์และสื บสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมเครื่ องเงิน
ชุมชนวัวลาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

131
ประวัตผิ ้เู ขียน

ชื่อ-นามสกุล นาย สิ ทธิเดช สุ ทธิ

วัน เดือน ปี เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2532

ประวัติการศึกษา ปี การศึกษา 2554 ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม วิชาเอก ประติมากรรม


คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ เชียงใหม่

ปี การศึกษา 2559 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศิลปะและ


วัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การแสดงผลงาน
- ร่ วมแสดงผลงานนิทรรศการ “สล่าเครื่ องเงิน เครื่ องโลหะบ้านวัวลายครั้งที่ 1”
โครงการ ยกระดับ ชุมชนวัวลายเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ณ วัดศรี สุพรรณ พ.ศ.2556
- ร่ วมแสดงงาน ศิลปะนิพนธ์ “เบ่งบาน” ณ หอศิลปวัฒนธรรมเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2554
- ร่ วมแสดงผลงานนิทรรศการ “MINI Sculpture” ณ พิพิธภัณฑสถานเชียงใหม่
พ.ศ. 2554
- ร่ วมแสดงผลงานนิทรรศการ HHK หัวข้อ เมืองเชียงใหม่น่าอยู่
ณ หอ ศิลปวัฒนธรรมเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2552
- ร่ วมแสดงผลงานนิทรรศการ “เปิ ดบ้านอาชีวะ” ครั้งที่ 1, 2, 3
ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ พ.ศ. 2551 – 2553
- ร่ วมแข่งขันทักษะวิชาชีพ วาดภาพคนเหมือน ในระดับภาคเหนื อ ณ วิทยาลัย
อาชีวศึกษา ลาปาง และ ระดับชาติ ณ วิทยาลัยเทคนิค ระยอง พ.ศ. 2551

132
เกียรติประวัติทผี่ ่านมา
- รางวัลชมเชย การประกวดสลักดุนแผ่นภาพโลหะโครงการ “ยกระดับชุมชน
วัวลายเพื่อการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์” ณ วัดศรี สุพรรณ พ.ศ. 2556
- รางวัลขวัญใจมหาชน การประกวดออกแบบเครื่ องเงิน โครงการส่ งเสริ มและ
พัฒนาเครื อข่ายชุมชนหัตถกรรมเครื่ องเงินย่านวัวลาย ณ วัดศรี สุพรรณ พ.ศ.
2553
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันทักษะวิชาชีพ วาดภาพคนเหมือน
ระดับภาคเหนือ ณ วิทยาลัย อาชีวศึกษาจังหวัดลาปาง พ.ศ. 2551

ประสบการณ์การทางาน
ตาแหน่ง Advanced Trainer สถานที่ทางาน Clay Works Chiang Mai (@ Curve)
ตั้งแต่ พ.ศ. 2556 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ง ครู ช่างเขียนลายไทย สถานที่ทางาน ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณ
สล่าสิ บหมู่ลา้ นนาวัดศรี สุพรรณ (วิทยาลัยในวัง) ตั้งแต่ พ.ศ. 2555 – 2556
ประวัติการฝึ กอบรม
- โครงการฝึ กอบรม งานปูนปั้ นล้านนา พ.ศ. 2556 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประโยชน์ที่ได้รับ ทัศนศึกษางานปูนปั้ นล้านนา ฝึ กปฏิบตั ิ ขั้นตอนกระบวน
การทางาน ปูนปั้ น
- โครงการฝึ กอบรม การลงยาสี ลงบนตัวเรื อนเครื่ องประดับ พ.ศ. 2554
ณ สานักงานกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเชียงใหม่

133

You might also like