Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 112

การให้เหตุผล:

หัวใจของคณิตศาสตร์
“ทาไม” คาถามเปลี่ยนโลก
การให้ เหตุผลทางคณิตศาสตร์

การให้ เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)


การให้ เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)
การให้ เหตุผลแบบสหัชญาณ (Intuitive Reasoning)
อุปนัย
อุปนัย
อุปนัยดีจริงหรื อ

2
n + n + 41
n = 0, 1, 2, 3, 4, 5,...
อุปนัยดีจริงหรื อ

n
2
2 +1

n = 0, 1, 2, 3, 4, 5,...
ลองแทน
0
2
n=0 2 +1 = 3
1
2
n=1 2 +1 = 5
2
2
n=2 2 +1 = 17
3
2
n=3 2 +1 = 257
4
2
n=4 2 +1 = 65537
สรุปได้วา่

3 5 17 257 65537

จานวนธรรมชาติ n
ท่ ส
ี ามารถ
2
เขียนในรูป 2 + 1 ทุกตัว
เป็ น “จานวนเฉพาะ” Pierre de Fermat, ค.ศ. 1601 - 1665
สรุป(ไม่)ได้วา่
5
2
2 +1 = 4294967297
5
2
2 +1 = (641)(6700417)

Leonhard Euler, ค.ศ. 1707 - 1783


แทนเท่าไรถึงจะพอ

x n -1
แทนเท่าไรถึงจะพอ

x -1 = x-1
x 2 - 1 = (x - 1)(x + 1)
x 3 - 1 = (x - 1)(x 2 + x + 1)
x 4 - 1 = (x - 1)(x + 1)(x 2 + 1)
x 5 - 1 = (x - 1)(x 4 + x3 + x2 + x + 1)
x 6 - 1 = (x - 1)(x + 1)(x 2 + x + 1)(x 2 - x + 1)
คาดเดา

ไม่ มีสัมประสิทธิ์ตัวใดในการกระจาย x n - 1 มีค่าสัมบูรณ์ เกินกว่ า 1

ในปี ค.ศ. 1941 วี ไอวานอฟ (V. Ivanov) พบว่ า


เมื่อ n = 105 มีตัวประกอบหนึ่งคือ

x 48 + x 47 + x 46 - x 43 - x42 - 2x 41 - x40 - x39 + x36 + x35


 x34  x33  x32  x31 - x28 - x26 - x24 - x22 - x20  x17  x16
 x15  x14  x13  x12 - x9 - x8 - 2x7 - x6 - x5 + x2 + x + 1
นิรนัย
นิรนัย

•โลหะทุกชนิดเป็ นสื่อไฟฟ้า
• เหล็กเป็ นโลหะ

เหล็กเป็ นสื่อไฟฟ้า
Francis Bacon, ค.ศ. 1561 - 1626
สงวนจุดเด่น กำจัดจุดด้อย

การให้ เหตุผลแบบอุปนัย

คาถาม คาตอบที่น่าจะถูกต้ อง

การให้ เหตุผลแบบนิรนัย คาตอบที่ถูกต้ อง


กำรให้เหตุผลแบบนิรนัย

ระเบียบวิธีการพิสูจน์
ทฤษฎีบทของพิค:
การค้นพบทฤษฎีบทด้วยตนเอง
ทฤษฎีบทของพิค

George Alexander Pick : 1859 - 1943


ทฤษฎีบทของพิค
a b c d e

f g

h
ทฤษฎีบทของพิค

รู ป จานวนจุดแลตทิซที่อยู่ภายใน จานวนจุดแลตทิซที่อยู่ตามเส้ นขอบ พืน้ ที่ของรู ปหลายเหลี่ยมแลตทิซ


รู ปหลายเหลี่ยม (I) ของรู ปหลายเหลี่ยม (B) ที่ได้ จากการคานวณ

a
b
c
d
e
f
g
h
ทฤษฎีบทของพิค

รู ป จานวนจุดแลตทิซที่อยู่ภายใน จานวนจุดแลตทิซที่อยู่ตามเส้ นขอบ พืน้ ที่ของรู ปหลายเหลี่ยม


รู ปหลายเหลี่ยม (I) ของรู ปหลายเหลี่ยม (B) แลตทิซจาการคานวณ
a 0 4 1
b 0 3 ½
c 12 18 20
d 0 12 5
e 6 10 10
f 5 8 8
g 11 16 18
h 9 26 21
ทฤษฎีบทของพิค : ข้อความคาดการณ์

ข้อสรุปที่ได้จากการทดลอง

𝐁
𝐀𝐫𝐞𝐚 = 𝐈 + − 𝟏
𝟐
ทฤษฎีบทของพิค

No human investigation can claim


to be scientific if it doesn’t pass
the test of mathematical proof.

ธีรเธียรเพียรสารวจแม้ เพียงใด พ่อเอย


ผลย่อมเพียงพ่อได้ เท่านั้น
หากยกเทียบวิทย์ไท้ ดูด่วน ไปพ่อ
ต้องพิสูจน์คณิตตามขั้น จึ่งถ้วน ปรารถนา
.
ทฤษฎีบทของพิค : การยืนยันอย่างสมเหตุสมผล

จงพิสูจน์ว่าทฤษฎีบทของพิคเป็นจริงสาหรับรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแลตทิซใดๆ
(สมมติให้สี่เหลี่ยมมุมฉากแลตทิซมีความยาว m หน่วย มีความกว้าง n หน่วย)

n
ทฤษฎีบทของพิค : การยืนยันอย่างสมเหตุสมผล

จงพิสูจน์ว่าทฤษฎีบทของพิคเป็นจริงสาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากแลตทิซใดๆ
(สมมติให้สามเหลี่ยมมุมฉากแลตทิซมีด้านประกอบมุมฉากยาว m และ n หน่วย)
ทฤษฎีบทของพิค : การยืนยันอย่างสมเหตุสมผล

จงแสดงแนวทางในการพิสจู น์ทฤษฎีบทของพิค
กับรูปสามเหลีย่ มแลตทิซใดๆ

A B

C
ทฤษฎีบทของพิค : กรณีใดๆ

อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ แบบเข้ม
ทฤษฎีบทของพิค : ประโยชน์

There is no branch of mathematics, however


abstract, which may not some day
be applied to phenomena of the real world

หามีไม่ ซึ่งสาแหรก คณิตศาสตร์


ถึงวิลาส พิสดาร สักปานไหน
ณ วันหนึ่ง ย่อมยังผล ชนนาไป
ประยุกต์ใช้ ให้สอดรับ กับโลกจริง
.
ทฤษฎีบทของพิค : ประโยชน์
ฝึกคิดโครงงานคณิตศาสตร์:
เครื่องวัดปริมาตรได้ทุกขนาด
(UNIVERSAL MEASURING INSTRUMENTS)
การตวง
ตวงน้าเต้าหู้
กล่องวัดปริมาตรได้ทุกขนาด
กล่องวัดปริมาตรได้ทุกขนาด

บทนิยาม
ให้ M เป็นภาชนะที่ไม่มีมาตรวัดบอกปริมาณ และมีความจุ k ลูกบาศก์หน่วย
เมื่อ k เป็นจานวนนับใดๆ จะเรียก M ว่าเป็นกล่องวัดปริมาตรได้ทุกขนาด
(Universal Measurable Box) ถ้าสามารถใช้ภาชนะ M ตวงของเหลว
ได้ตั้งแต่ขนาด 1, 2, 3,…, k ลูกบาศก์หน่วย โดยกระบวนการการตวง
ของเหลว ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขของการตวง 2 ข้อ

 ตักเพียงครั้งเดียว
 พิจารณาการตวงจากจุดมุมภาชนะ
ตัวอย่าง

ความจุ 6 ลูกบาศก์หน่วย เป็นกล่องวัดปริมาตรได้ทุกขนาด


คาถามขยายความคิด

ความจุ 6 ลูกบาศก์หน่วย เป็นกล่องวัดปริมาตรได้ทุกขนาด


เป็นความจุสูงสุด ?
คาถามขยายความคิด
คาถามขยายความคิด
คาถามขยายความคิด

a'3 a'2
a'1

h3 h2 h1

a2
a3 a1
สู่ทฤษฎีบททางคณิตศาสตร์

ถ้า M มีความสูงของทั้งสามด้านเป็น ℎ1 , ℎ2 , ℎ3 หน่วย


ตามลาดับ โดยที่ ℎ1 ≤ ℎ2 ≤ ℎ3 แล้วเราจะสามารถใช้
ภาชนะ M ตวงของเหลวทีม่ ีปริมาตรขนาด ℎ1 , ℎ2 , ℎ3 , ℎ1 + ℎ2 ,
ℎ1 + ℎ3 , ℎ2 + ℎ3 และ ℎ1 + ℎ2 + ℎ3 ลูกบาศก์หน่วยได้
พิสูจน์

a'3 a'2
a'1

h3 h2 h1

a2
a3 a1
กรณีที่ 1

a'3 a'2
a'1

h3 h2 h1

a2
a3 a1
กรณีที่ 1

a'3 a'2 a'3 a'2 a'3 a'2


a'1 a '1 a'1

h2 h1 h3 h2 h1 h3 h2 h1
h3

a2 a2 a2
a3 a1 a3 a1 a3 a1
กรณีที่ 2

a'3 a'2
a'1

h3 h2 h1

a2
a3 a1
กรณีที่ 2

a'3 a'2
a'1

3a

h3

a'3
h3 h2 h1

h
a2

2
a2

a'2
a1
a3 a1

h1

a'1
A
กรณีที่ 2

ย้อนพิจารณาจากกรณีแรก
a'3 a'2
a'1

a3

h3

a'3
h3 h2 h1

h
a2

a'2
a2
a1
a1
a3

h1

a'1
B
กรณีที่ 2

a'3
a'2
a'1
h3 h2 h1
a2
B
a3 a1
เปรียบเทียบ

a'
3
a'2
a'1

A
h3 h2
h1
a2
a
3
a1
กรณีที่ 2

1
จาก ปริมาตรรูปทรง A = 3
(พื้นที่ฐานของรูปทรง A) (ความสูงของรูปทรง A)
1
ปริมาตรรูปทรง B = 3
(พื้นที่ฐานของรูปทรง B) (ความสูงของรูปทรง B)

เพราะว่า ความสูงของรูปทรง A = ความสูงของรูปทรง B


ปริมาตรรูป ทรง A ปริมาตรรูป ทรง B
นั่นคือ =
พืน้ ทีฐ่ าน ของรูปทรง A พืน้ ทีฐ่ าน ของรูปทรง B
กรณีที่ 2

h' (h1+h2 )
ปริมาตรรูป ทรง A พืน้ ทีฐ่ าน ของรูปทรง A 2 h1+h2
ปริมาตรรูป ทรง B = พืน้ ทีฐ่ าน ของรูปทรง B = h1h ' = h
1
2
(h1 + h2 )
∴ ปริมาตรรูป ทรง A = ปริมาตรรูป ทรง B
h1
(h1 + h2 )
= • h1 = h1 + h 2
h1
กรณีที่ 2

a'3 a'2 a'3 a'2 a'3 a'2


a'1 a'1 a '1
h2
h3 h2 h1 h3 h1 h3 h2 h1

a2 a2 a2
a3 a1 a3 a1 a3 a1
กรณีที่ 3

a'3 a'2
a'1

h3 h2 h1

a2
a3 a1
กรณีที่ 3

a'3 a'2
a'1 a'1
a'3 a'2
h3 h2 h1 h1 +
= a'1

a2 a1 a2 a1
a3 a3
ทฤษฎีบท ที่ 1

ถ้า M มีความสูงของทั้งสามด้านเป็น ℎ1 , ℎ2 , ℎ3 หน่วย


ตามลาดับ โดยที่ ℎ1 ≤ ℎ2 ≤ ℎ3 แล้วเราจะสามารถใช้
ภาชนะ M ตวงของเหลวทีม่ ีปริมาตรขนาด ℎ1 , ℎ2 , ℎ3 , ℎ1 + ℎ2 ,
ℎ1 + ℎ3 , ℎ2 + ℎ3 และ ℎ1 + ℎ2 + ℎ3 ลูกบาศก์หน่วยได้
ทฤษฎีบทที่ 2

ภาชนะ M ที่มีความสูง 12, 13 และ 16 หน่วย


เป็นกล่องวัดปริมาตรได้ทุกขนาด
ที่มีความจุ 41 ลูกบาศก์หน่วย
พิสูจน์ทฤษฎีบทที่ 2 : แนวคิด

 โดยทฤษฎีบทที่ 1 หาการตวงพื้นฐานของภาชนะ M พบว่าสามารถ ตวง


ของเหลวปริมาตร 12,13,16,25,28,29 และ 41 ลูกบาศก์หน่วยได้

 หาปริมาตรพื้นฐานจากการตักเทแบ่ง คือ
D = di di = li − li−1 โดยที่ i = 1,2,3, … , 7}
D = {12, 1, 3, 9, 3, 1, 12}

 สาหรับ E ⊆ D จะได้ว่า
di
di ∈ E
พิสูจน์ทฤษฎีบทที่ 2 : แนวคิด

D = 12, 1, 3, 9, 3, 1, 12

 13 – 12 = 1
 (29 - 28) + (13 - 12) = 2
 (41 - 28) + (25 - 16) + 12 = 34
พิสูจน์ทฤษฎีบทที่ 2 : แนวคิด

กับปริมาณที่ยังคงเหลือ

3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 14, 15,


17, 18, 19, 20, 21, 22,23, 24, 26, 27, 30,
31, 32, 33, 35, 36, 37, 38, 39, 40, 41 ลูกบาศก์หน่วย
ทฤษฎีบทที่ 3

ความจุสูงสุดของกล่องวัดปริมาตรได้ทุกขนาด
ซึ่งมีฐานเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านตั้งฉากกับฐาน
คือ 41 ลูกบาศก์หน่วย
ผนวก

?
การหุ้มห่อและการบรรจุ
(WRAPPING AND PACKING)
การห่อ
การห่อ
การห่อ
การห่อ
การห่อ
การห่อ
ทฤษฎีบทที่ 1

ให้ C เป็นของขวัญทรงลูกบาศก์ มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย สาหรับจานวน


จริงบวก 𝛆 ใดๆ จะสามารถห่อ C ด้วยกระดาษห่อของขวัญรูปสี่เหลี่ยม
มุมฉาก ซึ่งมีพื้นที่น้อยกว่า 𝟔 + 𝛆 โดยการห่อต้องเป็นไปตามเงื่อนไข ดังนี้

 พื้นผิวของของขวัญต้องถูกปิดหมดด้วยกระดาษ
โดยต้องไม่มีการฉีก หรือดึงยืดกระดาษ

 ห้ามพลิกหน้าของกระดาษห่อ
การห่อ
การห่อ

*
การห่อ
การห่อ

1
2n

1 1
2n 2n
การห่อ

1
 แถบกระดาษกว้าง
2n
ดังนั้น ในความยาวหนึ่งหน่วยมีแถบกระดาษ เรียงต่อกัน 2n ครั้ง
 ด้านบนของ T มี 3 ด้านต่อเนื่องกัน มีรูปสามเหลี่ยมปรากฏด้านละ n ชิ้น
ด้านบนจึงมีสามเหลี่ยมปรากฏ 3n ชิ้น
 ด้านล่างของ T มี 3 ด้านแต่ไม่ต่อเนื่องกัน มีรูปสามเหลี่ยมปรากฏน้อย
กว่าด้านล่าง 1 ชิ้น จึงมีสามเหลี่ยมปรากฏ 3n – 1 ชิ้น

ดังนั้นมี รูปสามเหลี่ยมซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนเกินปรากฏ 6n – 1 ชิ้น


การห่อ
เปลี่ยนเงื่อนไข ... ห่อได้กี่แบบ

*
เปลี่ยนเงื่อนไข

ยึกๆ ยักๆ
แต่ตำมขอบ
ดูที่เส้นรอบรูป
ดูที่เส้นรอบรูป

สมบัติร่วม ?
ไทลิง
เปลี่ยนเงื่อนไข

... สุด ๆ
เส้นรอบรูปสั้นสุด
เส้นรอบรูปสั้นสุด
เส้นรอบรูปสั้นสุด

120 60

30
การบรรจุ
การบรรจุ
การบรรจุ
การบรรจุ
ทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล (Double Packing Solid)

ทรงตัน ที่สอดคล้องเงื่อนไข 2 ข้อ


1. สามารถบรรจุทรงตันเหล่านั้นได้เต็มในปริภูมิสามมิติ
2. มีรูปแบบของกระดาษห่อที่เรียงต่อกันเต็มระนาบ
ลูกบาศก์ เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล ?
ลูกบาศก์ เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล ?
เตตระเพค (Tetrapak) เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล

3 2
3
3

2 3
เตตระเพค (Tetrapak) เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล

3 2 2 2
3 3
3 3
3 3 3

2 3 2 2
เตตระเพค (Tetrapak) เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล

A C B

F F 3 2
E D
3
D
3
C 2
A C B
B 3
F

D E

B
เตตระเพค (Tetrapak) เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล

3
2
3
3

2
3F
3
3 3
E
3 2
C
3 3
3
B
D
3 2

3
A
เตตระเพค (Tetrapak) เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล
จานวนหน้าของทรงตัน บรรจุได้เต็มในปริภูมิสามมิติ เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิ้ล
4 สามารถหาได้ มีเป็นจานวนอนันต์
5 สามารถหาได้ มีเป็นจานวนอนันต์
6 สามารถหาได้ มีเป็นจานวนอนันต์
7 สามารถหาได้ มีเป็นจานวนอนันต์
8 สามารถหาได้ มีเป็นจานวนอนันต์
9 สามารถหาได้ มีเพียงหนึ่งแบบและพบเมื่อนานมาแล้ว
10 สามารถหาได้ ยังไม่สามารถหาได้
11 สามารถหาได้ ยังไม่สามารถหาได้
12 สามารถหาได้ มีเพียงหนึ่งแบบและพบเมื่อนานมาแล้ว
13 สามารถหาได้ ยังไม่สามารถหาได้
14 สามารถหาได้ ยังไม่สามารถหาได้
15 ยังไม่สามารถหาได้ ยังไม่สามารถหาได้
ตั้งแต่ 16 ถึง 38 สามารถหาได้ ยังไม่สามารถหาได้
ภาระงาน

 ตรวจสอบว่า

2
3
1
1 2 1
1

เป็นทรงตันบรรจุแบบดับเบิล้ หรือไม่
การวัดแบ่งส่วนสมดุล
(EQUIPARTITIONS OF MEASURES)
การแบ่งพื้นที่ในระนาบ

L
ทฤษฎีบทแพนเค้ก
ทฤษฎีบทแฮมแซนวิช
การแบ่งเค้ก
การแบ่งเค้ก
การแบ่งเค้ก
นิยามการแบ่งเค้ก

การแบ่งเค้ก C ออกเป็น k ชิ้น ด้วยการตัดตามแนวดิ่ง จะเรียกว่าเป็น


การแบ่งอย่างสมบูรณ์ (Perfect) ก็ต่อเมื่อ

 มุมภายในทุกมุมของเค้กแต่ละชิ้นมีขนาดน้อยกว่า 180 องศา


 เค้กทุกชิ้นมีปริมาณเนื้อเค้กและครีมเท่ากัน
การแบ่งเค้กรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

เค้กรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
 แบ่งเป็น 3 ชิ้นได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
 ถ้าแบ่งได้แบ่งอย่างไร

 แบ่งได้ทั้งหมดกีแ่ บบ
ตัวอย่าง

4
3 x
x

4
3
y y
4
z 3
z
การแบ่งเค้กรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

เค้กรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

 กว้าง 30 เซนติเมตร
 ยาว 45 เซนติเมตร
 สูง 5 เซนติเมตร

สามารถแบ่งเป็น 3 ชิ้นได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
การแบ่งเค้กรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

y y
b 20 cm 25 cm c b 20 cm 25 cm c

15 cm
25 cm 25 cm
30 cm 30 cm u
z 11 cm z
5 cm v 5 cm
a =x 45 cm d a =x 45 cm d
การแบ่งเค้ก

y y
b 20 cm 25 cm c b 20 cm 25 cm c
L

w 25 cm w 25 cm
30 cm 30 cm
u
M z z
v 5 cm 5 cm
a = x 45 cm d a = x 45 cm d
ภาระงาน

 ตรวจสอบว่า a

57 CM
55 CM

e
b

20 CM
25 CM

d
23 CM
c

สามารถแบ่งอย่างยุติธรรมให้คน 4 คนหรือไม่

You might also like