Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

พิมพ์ชื่อวารสาร/คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 1

AC to DC Converter Part 1 Rectifier

ทวีศักดิ์ ตันอร่าม
Thaweesak Tanaram

AC to DC Converter Part 1 Rectifier


การใช้งานแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงปัจจุบันมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย เช่น คอมพิวเตอร์แบบ Note Book หรือในคอมพิวเตอร์
ตั้งโต๊ะบางรุ่น Smart Phone หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านอื่นๆ ซึ่งโดยทั่วไปเราจะสังเกตง่ายๆจาก Adapter ของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ
ที่ระบุว่า INPUT Voltage 110 – 220 VAC, OUTPUT XX VDC เป็นต้น Adapter เหล่านี้จริงแล้วคือ AC to DC Converter ชนิดหนึ่ง
ใน Part 1 เราจะมาทาความรู้จักกับ AC to DC Converter แบบ Rectifier กัน โดยส่วนประกอบหลักๆของ AC to DC Converter
แบบ Rectifier นั้นจะมีการใช้หม้อแปลงไฟฟ้าเพื่อลดระดับแรงดันไฟฟ้าจาก 230 VAC ให้มาอยู่ในระดับที่ต้องการใช้งานเช่น 6 VAC,
12 VAC, 24 VAC หรือเท่ากับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่ต้องการใช้งาน แล้วจึงนาแรงดัน AC ดังกล่าวมาผ่านวงจร Rectifier เพื่อเปลี่ยน
จากแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ ให้เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง แล้วนาไปใช้งานตามความต้องการ
โดยภายในวงจรจะใช้ Diode เพื่อเป็นอุปกรณ์หลักในการเปลี่ยนจากไฟฟ้ากระแสสลับมาเป็นไฟฟ้ากระแสตรง แล้วจึงนามามา
ผ่าน Capacitor เพื่อทาให้แรงดันที่ได้มีความใกล้เคียงกระแสตรงมากที่สุด ส่วนสุดท้ายของวงจรคือ IC Regulator เพื่อจากัด
แรงดันไฟฟ้าไม่ให้เกินที่กาหนด อันเนื่องมาจาก Peak ของรูปคลื่น Sine Wave โดยพื้นฐานจะประกอบไปด้วยวงจร 3 แบบหลักๆดังนี้
1. Half – Wave Rectifier
จะประกอบไปด้วย Diode เพื่อเรียงกระแส จานวน 1 ตัว

รูปที่ 1 Half – Wave Rectifier

จากรูปที่ 1 เป็นวงจรสาธิตแบบง่าย ๆ โดยการนา Diode มาทาการเรียงกระแส แต่ข้อเสียของ Half – Wave Rectifier

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
พิมพ์ชื่อวารสาร/คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2

AC to DC Converter Part 1 Rectifier

ก็คือ กาลังไฟฟ้าที่ได้จะต่ากว่าแบบอื่นๆ เนื่องจากรูปคลื่นไฟฟ้าจะมีลักษณะมีแค่ครึ่งรูปคลื่น ตามชื่อของวงจร แต่ข้อดีคือ วงจร Half –


Wave Rectifier จะประหยัดกว่าวงจร Rectifier แบบอื่นๆ และออกแบบได้ง่ายไม่ซับซ้อน โดยรูปคลื่นที่ได้จะแสดงตามรูปที่ 2

รูปที่ 2 รูปคลื่นแรงดัน OUTPUT ของวงจร Half-Wave Rectifier

2. Full–Wave Center-tapped Transformer rectifier


จะประกอบไปด้วย Diode เพื่อเรียงกระแส จานวน 2 ตัว และหม้อแปลงไฟฟ้าชนิด Center-tapped

รูปที่ 3 Full–Wave Center-tapped Transformer rectifier

จากรูปที่ 3 เป็นวงจรสาธิตแบบง่าย ๆ โดยการนา Diode 2 ตัวมาทาการเรียงกระแส แต่ข้อเสียของ Full-Wave Center

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
พิมพ์ชื่อวารสาร/คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3

AC to DC Converter Part 1 Rectifier

tapped Transformer rectifier ก็คือ จาเป็นจะต้องใช้หม้อแปลงที่เป็นชนิด Center tapped เท่านั้นตามชื่อของวงจร แต่ข้อดีคือ ค่า
ความสูญเสียเนื่องจากแรงดันตกคร่อม Diode จะลดลงมากกว่าแบบ Bridge Rectifier ในขณะที่กาลังไฟฟ้าขาออกใกล้เคียงกัน โดย
รูปคลื่นที่ได้จะแสดงในรูปที่ 4

รูปที่ 4 รูปคลื่นแรงดัน OUTPUT ของวงจร Full–Wave Center-tapped Transformer rectifier

3. Full–Wave Bridge rectifier


จะประกอบไปด้วย Diode เพื่อเรียงกระแส จานวน 4 ตัว

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
พิมพ์ชื่อวารสาร/คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4

AC to DC Converter Part 1 Rectifier

รูปที่ 5 Full–Wave Bridge rectifier

จากรูปที่ 3 เป็นวงจรสาธิตแบบง่าย ๆ โดยการนา Diode 4 ตัวมาทาการเรียงกระแส โดยต่อแบบ แต่ข้อเสียของ Full-


Wave Center Bridge rectifier ก็คือ ความสูญเสียเนื่องจากแรงดันตกคร่อม Diode จะมากกว่าแบบ Full–Wave Center-tapped
Transformer rectifier 2 เท่า แต่ข้อดีคือ ไม่จาเป็นต้องใช้หม้อแปลงชนิด Center-tapped ในขณะที่กาลังไฟฟ้าขาออกใกล้เคียงกัน
โดยรูปคลื่นที่ได้จะแสดงในรูปที่ 6

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
พิมพ์ชื่อวารสาร/คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 5

AC to DC Converter Part 1 Rectifier

รูปที่ 6 รูปคลื่นแรงดัน OUTPUT ของวงจร Full–Wave Bridge rectifier

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

You might also like