Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 16

การเปรียบเทียบการวิเคราะห์เสถียรภาพของคน ั ดินด้วยวิ

ธีสมดุลขีดจากัด และวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
Comparisons of analysis results of slope
stability between Limit Equilibrium Method
and Finite Element Method
บทคัดย่อ
บ ท ค ว า ม นี้ น า เส น อ ก า ร เป รี ย บ เที ย บ ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ เส ถี ย ร ภ า พ ข อ ง ล า ด ดิ น
ระหว่ า งวิ ธี ส มดุ ล ขี ด จ ากัด (Limit Equilibrium Method) กับ วิ ธี ไ ฟไนต์ เอลิ เ มนต์
(Finite Element Method) โ ด ย ใ ช้ ห น้ า ตั ด คั น ดิ น ตั ว อ ย่ า ง
ห น้ า ตั ด แ ล ะ ข้ อ มู ล ดิ น จ า ก ง า น วิ จั ย ที่ ผ่ า น ม า
แ ล ะ คั น ดิ น ป้ อ ง กั น น้ า ท่ ว ม ข อ ง ท่ า อ า ก า ศ ย า น สุ ว ร ร ณ ภู มิ เป็ น ก ร ณี ศึ ก ษ า
โ ด ย ศึ ก ษ า อิ ท ธิ พ ล ข อ ง คุ ณ ส ม บั ติ ด้ า น ก า ลั ง รั บ น้ า ห นั ก ข อ ง ดิ น
แ ล ะ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง ร ะ ดั บ น้ า ที่ ไ ห ล ซึ ม ผ่ า น คั น ดิ น
จากผลการศึกษาเมือ ่ เปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยโดยใช้ผลงานวิจยั ทีผ ่ า่ นมา
พ บ ว่ า ก า ร ค า น ว ณ ด้ ว ย วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์
และวิธีสมดุลขีด จากัด ให้ค่าสัมประสิทธ์ ความปลอดภัยที่ใกล้เคียงกับ งานวิจยั ทัง้ สองวิธี
แ ล ะ เ มื่ อ ศึ ก ษ า อิ ท ธิ พ ล ข อ ง ก า ลั ง รั บ น้ า ห นั ก ข อ ง ดิ น พ บ ว่ า
ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ขึ้ น กั บ ก า ลั ง รั บ น้ า ห นั ก ข อ ง ดิ น
โดยค่ามุมเสียดทานภายในของดินมีอท ิ ธิพลต่อค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยมากกว่าค่าแ
ร ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ข อ ง ดิ น
และอิทธิพลของระดับน้าทีไ่ หลซึมผ่านคันดินป้ องกันน้าท่วมมีผลทาให้คา่ สัมประสิทธิควา ์
ม ป ล อ ด ภั ย มี ค่ า ล ด ล ง เ มื่ อ ร ะ ดั บ น้ า สู ง ขึ้ น
โดยอิทธิพลของระดับน้าต่อค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยแสดงให้เห็นชัดในการคานวณด้
วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
ค า ส าคั ญ : เส ถี ย ร ภ าพ ข อ ง ล าด ดิ น วิ ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ ากั ด วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เอ ลิ เม น ต์
ค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัย

Abstract
This paper presents the comparison of analysis results of slope stability
between Limit Equilibrium Method and Finite Element Method by using
slope from previous work and flood protection slope from Suvarnabhumi
Airport as case studies. The effective of strengh of soil and water level
flow through the slope are studied. As the results, the factors of safety by
limit equilibrium method and finite element method are similar with the
previous work. The strengths of soil affect the factor of safety from both
method. The friction angle play more effect with factor of safety than
cohesion of soil. For the effect of water level, it is found that factor of
safety depends on water level especially when analized with finite
element method.

Keywords : Slope stability, Limit Equilibrium Method, Finite Element


Method, Safety Factor
1. บทนา
เสถียรภาพความลาดชันเป็ นส่วนสาคัญในการออกแบบความลาดชันของคันดินไม่
ว่ า จ ะ เป็ น ค ว า ม ล า ด ชั น เนื่ อ ง จ า ก ง า น ถ ม เช่ น ถ น น คั น กั้ น น้ า เป็ น ต้ น
ห รื อ ค ว า ม ล า ด ชั น เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร ขุ ด เ ช่ น คั น ค ล อ ง เ ป็ น ต้ น
ส า ห รั บ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ส ถี ย ร ภ า พ ค ว า ม ล า ด ชั น นั้ น
โดยส่วนใหญ่จะทาการวิเคราะห์ด้วยวิธีสมดุลขีดจากัด (Limit Equilibrium Method)
คือวิธีการคานวณตามทฤษฎี Method of Slices เช่น วิธี Bishop [1] วิธี Janbu [2]
เป็ นต้ น เป็ นวิ ธี ที่ ย งั คงใช้ ก น ั ซึ่ ง วิ ธี วิ เ คราะห์ ด้ ว ยวิ ธี ส มดุ ล ขี ด จ ากัด
ั อยู่ ใ นปั จ จุ บ น

จ ะ ใ ห้ ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ค ว า ม ล า ด ชั น
และแนวของการเคลื่อนพังของความลาดชัน เท่านั้น ต่อมา Whitman and Bailey [3]
ได้เสนอทฤษฎี ก ารวิเคราะห์ เสถี ย รภาพของลาดดิน โดยวิธี ไ ฟไนต์ เอลิเมนต์ (Finite
Element Method )
ซึ่ ง เป็ น แ น ว ท า ง เลื อ ก ใ ห ม่ ส า ห รั บ ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ เส ถี ย ร ภ า พ ข อ ง ล า ด ดิ น
ซึ่ ง ส า ม า ร ถ ใ ห้ ผ ล ที่ ถู ก ต้ อ ง ค ร อ บ ค ลุ ม
โ ด ย เฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง แ ส ด ง ก ล ไ ก ก า ร พั ง ท ล า ย ข อ ง เส ถี ย ร ภ า พ ข อ ง ล า ด ดิ น
และพบว่าการพังทลายของลาดดินทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ดว้ ยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์นน ้ ั มีควา
ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ธ ร ร ม ช า ติ ที่ เกิ ด พั ง ม า ก ก ว่ า วิ ธี วิ เค ร า ะ ห์ แ บ บ ดั้ ง เดิ ม
น อ ก จ า ก นี้ ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ เส ถี ย ร ภ า พ ข อ ง ล า ด ดิ น โ ด ย วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เอ ลิ เม น ต์
ยังสามารถวิเคราะห์คุณ สมบัติอื่น ๆ ของคัน ดิน ได้ด้วย เช่น หน่ วยแรงที่เกิดขึ้น ในดิน
ก ารท รุ ด ตัว ข อ งดิ น ซึ่ งท าให้ มี ผ ลก ารวิ เ ค ร าะห์ ที่ ห ล าก ห ลาย ก ว่ า วิ ธี แ บ บ เดิ ม
ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้การใช้ไฟไนต์เอลิเมนต์จงึ เป็ นอีกทางเลือกทีน ่ ่ าสนใจอีกทางเลือกหนึ่
ง ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ส ถี ย ร ภ า พ ข อ ง คั น ดิ น
แต่เนื่องจากการวิเคราะห์ดว้ ยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์มีขอ ้ จากัดในเรือ ่ งของค่าพารามิเตอร์ข
องดิ น ต่ า ง ๆ ที่ ต้ อ งน ามาใช้ น้ ั น เป็ น พ ารามิ เ ตอร์ ที่ ห าได้ ย ากจากผลการทดลอง
รวมถึงแบบจาลองของกาลังรับแรงเฉื อนของดินอาจมีความแตกต่างจากวิธวี เิ คราะห์ดว้ ยวิ
ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด
ดังนั้นในงานวิจยั นี้ จงึ ต้องการศึกษาเปรียบเทียบการวิเคราะห์เสถียรภาพของคันดินโดยใ
ช้ วิ ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด แ ล ะ วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์
ซึง่ หน้าตัดคันดินทีใ่ ช้ในการศึกษาเป็ นหน้าตัดคันดินถมอย่างง่ายโดยศึกษาอิทธิพลของกา
ลั ง รั บ น้ า ห นั ก ข อ ง ดิ น
และศึกษาอิทธิพลของระดับน้าทีไ่ หลซึมผ่านคันดินป้ องกันน้าท่วมของสนามบินนานาชาติ
สุวรรณภูมิ

2. วิธีการวิจยั
2.1. การตรวจสอบโปรแกรมด้วยการวิเคราะห์ความลาดชันจากผลงานวิจยั ทีผ
่ า่ นมา
ใ น ง า น วิ จั ย นี้ ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม KU-Slope [4]
ซึง่ เป็ นโปรแกรมทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์เสถียรภาพความลาดชันของดินด้วยวิธีสมดุลขีดจากั
ด โ ด ย โ ป ร แ ก ร ม KU-slope
นั้น สามารถเลื อ กวิเคราะห์ เสถี ย รภาพความลาดชัน ของดิน ด้ว ยวิธี Ordinary [1], วิธี
Bishop [1], วิ ธี Janbu [2] แ ล ะ วิ ธี Spencer [5]
ส า ห รั บ ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ ด้ ว ย วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เอ ลิ เม น ต์ นั้ น ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม Plaxis [6]
ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์
ดังนั้นเพือ่ เป็ นการตรวจสอบโปรแกรมจึงทาการวิเคราะห์ความลาดชัน ของผลงานวิจยั ทีผ ่ ่
านมา 2 กรณี คื อ กรณี ที่ไ ม่มี น้ า และกรณี ที่มีน้ า ไหลผ่านในคัน ดิน Data From [7]
โดยหน้าตัดของความลาดชันแสดงในรูปที่ 1
โดยเงือ
่ นไขของงานวิจยั ของ Roscience Inc. ทาการจาลองดินเป็ นเนื้อเดียวกัน
(Homogeneous) โมเด ลแ บ บ T6 element ให้ พื้ น ด่ า น ล่ า งมี จุ ด ยึ ด แ บ บ Fixity
และให้ด้านข้างเป็ นจุด ยึด แบบ Roller และมีคุณ สมบัติข องดิน ตาม Mohr Coulomb
Model ตามรูปที่ 1
(ก) กรณีไม่มน
ี ้าไหลผ่านคันดิน
(ข)
กรณี มน
ี ้าไหลผ่านคันดิน

รูปที่ 1
หน้าตัดความลาดชันจากงานวิจยั ทีผ
่ า่ นมา [7]

2.2. การวิเคราะห์ความลาดชันด้วยหน้าตัดอย่างง่าย
เพือ
่ เป็ นการเปรียบเทียบวิธีวเิ คราะห์เสถียรภาพความลาดชันด้วยวิธีสมดุลขีดจากัด
แ ล ะ วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์ โ ด ย ใ ช้ ห น้ า ตั ด อ ย่ า ง ง่ า ย
และศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของค่ า ก าลัง รับ น้ า หนัก ของดิ น คื อ ค่ า แรงยึ ด เหนี่ ย วของเม็ ด ดิ น
( Cohesion, C) แ ล ะ ค่ า มุ ม เ สี ย ด ท า น ภ า ย ใ น ( Internal friction angle, )
โ ด ย ห น้ า ตั ด ข อ ง ค ว า ม ล า ด ชั น แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 2
และเงือ
่ นไขของการศึกษาอิทธิพลของค่ากาลังรับน้าหนักของดิน แสดงในตารางที่ 1
การวิเคราะห์สมดุลขีดจากัดเพือ ่ วิเคราะห์เสถียรภาพความลาดชันของดินโดยใช้โป
ร แ ก ร ม KUslope ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ป็ น แ บ บ 2
มิ ติ โ ด ย ใ ห้ ข อ บ ด้ า น ข้ า ง แ ล ะ ด้ า น ล่ า ง เ ป็ น ผิ ว เ รี ย บ
ท า ก า ร แ บ่ ง ชิ้ น เ พื่ อ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ โ ด ย ค่ า ที่ เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม
และทาการหาจุดศูนย์กลางและรัศมีของวงเคลือ ่ นพังตามการคานวณแบบอัตโนมัติของโป
รแกรม
การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์เพือ
่ วิเคราะห์เสถียรภาพความลาดชันของดินโดยใช้
โ ป ร แ ก ร ม Plaxis ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ป็ น แ บ บ 2
มิติโดยให้ข อบด้านข้างและด้านล่างเป็ นผิว เรีย บ ถู ก จาลองโดย 15-node triangular
element, coarse Mesh Generation และใช้เงื่อนไขการพังทลายของมอร์ -คูลอมบ์
( Mohr-Coulomb Failure Criteria)
โดยให้มีเงื่อนไขให้ดินมีพฤติกรรมระบายน้า (Drain Condition) ค่า Dilation angle
= 0o ค่ า Poisson Ratio = 0.3 ส า ห รั บ ก า ร จ า ล อ ง โ ม เด ล ใ ห้ เป็ น ดิ น เห นี ย ว
และก าหนดค่ามอดู ลสั ของยัง (Young Modulus, Eur) ให้มีค่าเท่ากับ 8600 kN/m2
[9]

 = 20 kN/m3
C = 18 kN/m2
 = 0o, 20o

รูปที่ 2 หน้าตัดความลาดชันอย่างง่าย

ตารางที่ 1 เงือ
่ นไขการศึกษาอิทธิพลของค่ากาลังรับน้าหนักของดิน
กรณี Unit Young Cohesion, Internal
weight, Modulus, C friction
 E (kN/m2) angle, 
(kN/m ) (kN/m2)
3
(degree)
1. ศึกษาผลของ 20 8,600 18 5, 10, 15,
internal friction 20, 25, 30,
angle 35, 40, 45,
50
2. ศึกษาผลของ 20 8,600 5, 10, 15, 0
cohesion 20, 25, 30,
40, 45, 50
3. ศึกษาผลของ 20 8,600 5, 10, 15, 20
cohesion 20, 25, 30,
40, 45, 50

2.3. การวิเคราะห์ความลาดชันของคันดินป้ องกันน้าท่วม


ท าการวิ เ คราะห์ ความลาดชัน โดยห น้ าตัด ค วามลาด ชัน ที่ ต้ อ งการศึ ก ษ า
เป็ น คัน ดิ น ส าห รับ ป้ องกัน น้ าท่ ว ม ของโครงการสน ามบิ น น าน าชาติ สุ ว รรณ ภู มิ
โดยมีชน ้ ั ดินทัง้ หมด 7 ชัน
้ คุณสมบัตข ิ องดินแต่ละชัน
้ ได้จากการเก็บตัวอย่างในสนาม [8]
ดัง แสดงให้รู ป ที่ 3 โดยท าการวิเคราะห์ อิท ธิพ ลของระดับน้ า ตั้ง แต่ 0.0 ถึง 3.5 เมตร
โดยคุณ สมบัติข องดินแต่ละชั้น แสดงในตารางที่ 2 [8] ทัง้ นี้ ค่าโมดูลสั ของยัง (Young
Modulus) ได้จากการคานวณโดยใช้คา่ กาลังรับน้าหนักของดิน [9]

รูปที่ 3 แสดงหน้าตัดคันดินป้ องกันน้าท่วม

ตารางที่ 2 คุณสมบัตข
ิ องชัน
้ ดินสาหรับคันดินป้ องกันน้าท่วม [8]
Soil No. Cohesion Internal friction Unit weight Young
(kN/m2) angle, (degree) (kN/m3) Modulus[9]
(kN/m2)
1 45.00 0 19.63 41000
2 0.00 30 19.63 41000
3 40.30 0 18.50 37540
4 13.70 0 18.70 3597
5 11.50 0 16.50 2350
6 21.50 0 15.70 8017
7 8.40 0 16.10 1500

3. ผลการวิจยั
3.1 การศึกษาหน้าตัดคันดินจากงานวิจยั ทีผ
่ า่ นมา
การตรวจสอบโปรแกรมโดยเปรียบเทียบกับงานวิจยั ทีผ ่ า่ นมา ด้วยโปรแกรม KU
Slope แ ล ะ โ ป ร แ ก ร ม Plaxis โ ด ย ใ ห้ มี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ 2 ก ร ณี คื อ 1)
ก ร ณี ไ ม่ มี น้ า ไ ห ล ผ่ า น คั น ดิ น แ ล ะ 2) ก ร ณี ที่ มี น้ า ไ ห ล ผ่ า น คั น ดิ น
โดยเปรียบเทียบผลของสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยทีไ่ ด้กบั ผลการวิเคราะห์ทไี่ ด้จากงานวิจ ั
ยทีผ
่ า่ นมา

กรณี ที่ 1 : กรณีไม่มน


ี ้าไหลผ่านคันดิน
ผลการวิเคราะห์หน้าตัดคันดินจากงานวิจยั ทีผ ่ า่ นมาในกรณี ทไี่ ม่มน
ี ้าไหลผ่านคันดิ

น พ บ ว่ า ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง คั น ดิ น ทั้ ง 2 วิ ธี
มี ค ว าม ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล เดิ ม ที่ ไ ด้ มี ก าร ค าน ว ณ ไ ว้ ซึ่ งแ ส ด งใน ต าร างที่ 3
โดยค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยมีคา่ ใกล้เคียง 1 ซึง่ แสดงว่าคันดินเกิดการเคลือ ่ นพัง

ตารางที่ 3 แสดงค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยของคันดิน


ในกรณี ทไี่ ม่มน
ี ้ามากระทาต่อคันดิน
 C  Ordinar Janbu Bishop Spenc FE
(kN/ (kN/ y er
m3) m2)
From Data 0.987 1.005 0.988 0.987 1.018
20.2 3.0 19. 0.933 0.918 0.982 0.979 1.047
6

กรณี ที่ 2 : กรณี ทม


ี่ น
ี ้าไหลผ่านคันดิน
ง า น วิ จั ย ที่ ผ่ า น ม า ใ น ก ร ณี ที่ มี น้ า ไ ห ล ผ่ า น คั น ดิ น
พ บ ว่ า ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง คั น ดิ น จ า ก ทั้ ง 2 วิ ธี
มีความสอดคล้องกับค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยของงานวิจยั เดิม ดังแสดงในตารางที่ 4
ย ก เว้ น บ า ง ท ฤ ษ ฎี ข อ ง วิ ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด คื อ วิ ธี Ordinary แ ล ะ วิ ธี Janbu
ที่ มี ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ที่ น้ อ ย ก ว่ า ค่ า ที่ ไ ด้ จ า ก ง า น วิ จั ย ที่ ผ่ า น ม า
โดยค่ า สัม ประสิ ท ธิ ์ค วามปลอดภัย จากวิ ธี Spencer ใกล้ เคี ย งกับ งานวิ จ ยั มากที่ สุ ด
สาเหตุ อ าจเป็ นเพราะค่า ที่ค านวณได้จ ากงานวิจยั มาจากการค านวณด้วยวิธี Bishop
ห รื อ วิ ธี Spencer ม า ก ก ว่ า

ส่วนค่าสัมประสิทธิความปลอดภัยทีไ่ ด้จากการคานวณไฟไนต์เอลิเมนต์ก็มค ี า่ สัมประสิทธิ ์
ความปลอดภัยใกล้เคียงกับผลงานวิจยั เดิม ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าโปรแกรม KU-Slope
และ Plaxis สามารถนามาใช้ในการวิเคราะห์เสถียรภาพของคันดินได้

ตารางที่ 4 แสดงค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยของคันดิน


ในกรณี ทม
ี่ น
ี ้าไหลผ่านคันดิน
 C  Ordina Janb Bisho Spenc Fro FE Fro
(kN/m (kN/m ry u p er m m
3
) 2
) Data Data
(LE) (FE)
18.2 13.7 37. 1.578 1.69 1.901 1.909 1.91 1.88 1.85
0 5 0 1 0

3.2 การวิเคราะห์ความลาดชันของหน้าตัดคันดินอย่างง่าย

กรณี ที่ 1 : ผลจากการเปลีย่ นแปลงค่ามุมเสียดทานภายใน


ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค่ า มุ ม เ สี ย ด ท า น ภ า ย ใ น
พ บ ว่ า ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ที่ ไ ด้ ก ร ณี ที่ ใ ส่ ค่ า
มุ ม เสี ย ดทานภายในให้มี ค่า น้ อ ยๆ ค่า สัม ประสิท ธิค ์ วามปลอดภัย มี ค่า ที่ต่ า กว่า 1.00
ซึ่ ง มี ค่ า ใกล้ เ คี ย งกัน ทั้ง สองวิ ธี ไ ม่ ว่ า จะเป็ นวิ ธี ส มดุ ล ขี ด จ ากัด คื อ วิ ธี Ordinary, วิ ธี
Janbu, วิธี Bishop และ วิธี Spencer และวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ดังแสดงในตารางที่ 5
เนื่ องจาก เมื่ อ ค่ า มุ ม เสี ย ด ท าน ภ าย ใน มี ค่ า น้ อย แ สด งว่ า ดิ น มี คุ ณ สม บัติ ที่ ไ ม่ ดี
เกิดการเคลื่อนพังได้งา่ ย ทาให้ความแปรปรวนในการคานวณในแต่ละทฤษฎีน้น ั มีน้อย
แ ล ะ เมื่ อ ป รั บ ค่ าให้ มุ ม เสี ย ด ท า น ภ าย ใน มี ค่ าม าก ขึ้ น ดิ น มี คุ ณ ส ม บั ติ ที่ ดี ขึ้ น
มี ก า ร อั ด แ น่ น ร ะ ห ว่ า ง เ ม็ ด ดิ น ที่ ดี ขึ้ น
แ ล ะ มี น้ า ห นั ก ม า ก ขึ้ น จึ ง เกิ ด ค ว า ม ค ล า ด เค ลื่ อ น อ ยู่ บ้ า ง ใ น แ ต่ ล ะ ท ฤ ษ ฎี
โดยแบ่ง ค่า สัม ประสิท ธิค ์ วามปลอดภัย ได้เป็ น 2 ช่ ว งคื อ วิธี Ordinary กับ วิธี Janbu
จะมี ค่า ใกล้เคี ย งกัน ซึ่ ง โดยเฉลี่ย แล้ว จะมี ค่า สัม ประสิท ธิค ์ วามปลอดภัย ที่น้ อ ยกว่า วิธี
Bishop, วิ ธี Spencer แ ล ะ วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์ ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 4
เ นื่ อ ง จ า ก วิ ธี ก า ร ค า น ว ณ ใ น วิ ธี Ordinary แ ล ะ วิ ธี Janbu
มีการคานวณที่ละเอียดน้ อยกว่า วิธี Bishop และวิธี Spencer โดยการคานวณด้วยวิธี
Ordinary กับ วิธี Janbu จะเป็ นการคานวณแรงในแนวแกนใดแกนหนึ่ง ซึง่ ต่างจากวิธี
Bishop แ ล ะ วิ ธี Spencer ซึ่ ง มี ก า ร ค า น ว ณ แ ร ง ใ น ทุ ก แ น ว แ ก น
และยัง ค านึ ง ถึ ง ผลของโมเมนต์ ด้ ว ย [1] ส่ว นการค านวณด้ ว ยวิ ธี ไ ฟไนต์ เอลิ เมนต์
จ ะ ท า ก า ร แ บ่ ง ชิ้ น ส่ ว น เป็ น ชิ้ น เล็ ก ๆ [10] เพื่ อ ค า น ว ณ แ ร ง ใ น ทุ ก ทิ ศ ท า ง
โ ด ย ก า ร ค า น ว ณ ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จ ะ ใ ช้ วิ ธี c- reduction [11]
ทาให้คา่ ทีไ่ ด้มค ี วามละเอียดมากกว่าทฤษฎีของวิธีสมดุลขีดจากัดบางทฤษฎีทก ี่ ล่าวข้างต้น

ต า ร า ง ที่ 5
์ วามปลอดภัยกรณี เปลีย่ นแปลงค่ามุมเสียดทานภายใน
แสดงค่าสัมประสิทธิค
No Unit Cohesio Intern Factor of Safety, FS
. Weigh n al
t friction วิธี วิธี วิธี วิธี FE
Ordinar Janb Bisho Spence
(kN/m3 (kN/m2) angle y u p r
)
1 20 18 5 0.712 0.719 0.720 0.721 0.67
5
2 20 18 10 0.871 0.870 0.899 0.899 0.88
9
3 20 18 15 1.024 1.016 1.048 1.047 1.04
3
4 20 18 20 1.166 1.158 1.203 1.201 1.21
9
5 20 18 25 1.318 1.307 1.368 1.365 1.38
7
6 20 18 30 1.476 1.463 1.530 1.526 1.54
5
7 20 18 35 1.639 1.623 1.707 1.700 1.70
8
8 20 18 40 1.823 1.805 1.904 1.899 1.98
4
9 20 18 45 2.036 2.017 2.127 2.118 2.22
9
10 20 18 50 2.269 2.247 2.376 2.369 2.50
8

3.00
Ordinary Janbu
2.50 Bishop Spencer
2.00 Finite
Factor of safety

1.50
1.00
0.50
0.00
0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50
Internal friction angle, degree
์ วามปลอดภัยเมือ่ เปลีย่ นแปลงมุมเสียดทานภายใน
รูปที่ 4 ค่าสัมประสิทธิค

ก ร ณี ที่ 2 : ผ ล จ า ก ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ค่ า แ ร ง ยึ ด เห นี่ ย ว ร ะ ห ว่ า ง เม็ ด ดิ น


กรณี ทค
ี่ า่ มุมเสียดทานภายในเท่ากับ 0
ก ร ณี ที่ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค่ า แ ร ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ร ะ ห ว่ า ง เ ม็ ด ดิ น
โ ด ย ค่ า มุ ม เสี ย ด ท า น ภ า ย ใ น เท่ า กั บ 0 ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย
จะมีคา่ ทีใ่ กล้เคียงกันทุกทฤษฎี ไม่วา่ จะเป็ น วิธี Ordinary, วิธี Janbu, วิธี Bishop และ
วิธี Spencer ในวิ ธี ส มดุ ล ขี ด จ ากัด หรื อ วิ ธี ไ ฟไนต์ เอลิ เมนต์ ดัง แสดงในตารางที่ 6
โ ด ย เ มื่ อ ค่ า แ ร ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ร ะ ห ว่ า ง เ ม็ ด ดิ น มี ค่ า ม า ก ขึ้ น
ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จ ะ มี ค่ า ม า ก ขึ้ น
ตามสมมติฐ านที่ว่าเมื่อค่าแรงยึด เหนี่ ย วระหว่างเม็ ด ดิน ดี ขึ้น คุณ สมบัติข องดิน ก็ ดี ขึ้น
มี ค ว า ม ห น า แ น่ น ม า ก ขึ้ น สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จึ ง มี ค่ า ม า ก ขึ้ น
แ ล ะ เ มื่ อ ค่ า แ ร ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ร ะ ห ว่ า ง เ ม็ ด ดิ น มี ค่ า 5 – 50 kN/m2
ดินมีคุณสมบัติทเี่ ป็ นดินเหนี ยวอ่อน (Soft Clay) โดยเมือ ่ คานวณด้วยวิธีสมดุลขีดจากัด
(วิ ธี Ordinary, วิ ธี Janbu, วิ ธี Bishop, วิ ธี Spencer) มี ค่ าที่ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น ม าก
เ นื่ อ ง จ า ก ค่ า มุ ม ข อ ง แ ร ง เ สี ย ด ท า น ภ า ย ใ น มี ค่ า เ ท่ า กั บ 0o
ดิ น นั้ น เ ป็ น ดิ น เ ห นี ย ว ที่ มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ป็ น Undrained condition
จึ ง มี ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ทุ ก ท ฤ ษ ฎี ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น
แต่ค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยจากการคานวณด้วยวิธีไฟไนต์ เอลิเมนต์ มีค่าน้ อยกว่า
สาเหตุเป็ นเพราะวิธีการคานวณมีความแตกต่างกัน การคานวณด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
จะมีการคานวณแรงทุกทิศทาง และเป็ นชิน ้ ส่วนย่อยๆ [10] ได้มากกว่าวิธีสมดุลขีดจากัด

ตารางที่ 6 แสดงค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยเมือ่ เปลีย่ นแปลงค่าแรงยึดเหนียว


โดยค่ามุมเสียดทานภายในเท่ากับ 0o
Unit Cohesi  Factor of Safety, FS
NO Weight on degre Ordina Janb Bisho Spenc
. (kN/m3) (kN/m )
2
e ry u p er FE
0.14 0.13
1 20 5 0 0.146 3 0.146 0.146 2
0.28 0.25
2 20 10 0 0.292 7 0.292 0.292 4
0.43 0.40
3 20 15 0 0.438 3 0.438 0.438 3
0.57 0.53
4 2 20 0 0.584 8 0.584 0.584 7
0.72 0.67
5 2 25 0 0.730 3 0.730 0.730 5
0.86 0.80
6 2 30 0 0.876 9 0.876 0.876 6
1.01 0.94
7 2 35 0 1.022 4 1.022 1.022 1
1.15 1.07
8 2 40 0 1.168 9 1.168 1.168 9
1.30 1.22
9 2 45 0 1.314 5 1.315 1.315 1
1.44 1.33
10 2 50 0 1.461 9 1.461 1.461 2
กรณี ที่ 3 : ผลจากการเปลีย่ นแปลงค่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดิน
กรณี ทค
ี่ า่ มุมเสียดทานภายในเท่ากับ 20o
กรณี ทม ี่ ก
ี ารเปลีย่ นแปลงค่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดิน
โดยค่ามุมเสียดทานภายในเท่ากับ 20o ค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัย
มีคา่ ทีใ่ กล้เคียงกันทัง้ สองวิธี ไม่วา่ จะเป็ นวิธีสมดุลขีดจากัด หรือวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
ดังแสดงในตารางที่ 7 โดยเมือ่ ค่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดินมีคา่ มากขึน ้
ค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยมีคา่ มากขึน ้
ตามสมมติฐานทีว่ า่ เมือ่ ค่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดินดีขน ึ้ คุณสมบัตข ึ้
ิ องดินก็ดีขน
เนื่องจากมีความหนาแน่ นมากขึน ้ สัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยจึงมีคา่ มากขึน ้ โดยกรณีนี้
การคานวณด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์มค ี า่ สัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยทีต ่ ่ากว่าวิธีสมดุลขีด
จากัด เป็ นเพราะการคานวณด้วยวิธไี นต์เอลิเมนต์ จะใช้หลักการวิธี C-  reduction
[11] เป็ นการใช้หลักการลดทอนค่ากาลังของตัวแปร tan  และ c
ลงจนกระทั่งโครงสร้างเกิดการวิบตั ิ ทาให้คา่ มุมเสียดทานภายใน
และค่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดินมีผลต่อการคานวณโดยตรง
จึงทาให้มค ี า่ สัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยทีน ่ ้อยกว่า ดังแสดงในรูปที่ 5
ตารางที่ 7 แสดงค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยเมือ่ เปลีย่ นแปลงค่าแรงยึดเหนียว
โดยค่ามุมเสียดทานภายในเท่ากับ 20o
N Unit Cohes  Factor of Safety, FS
O. Weight ion degre Ordinar Janb Bisho Spen FE
(kN/m ) (kN/m2
3
e y u p cer
)
1 20 5 20 0.670 0.66 0.701 0.698 0.700
2
2 20 10 20 0.877 0.86 0.911 0.908 0.902
0
3 20 15 20 1.062 1.05 1.100 1.098 1.091
3
4 20 20 20 1.236 1.22 1.271 1.270 1.267
8
5 20 25 20 1.410 1.40 1.443 1.442 1.438
2
6 20 30 20 1.570 1.56 1.609 1.608 1.598
0
7 20 35 20 1.729 1.72 1.768 1.769 1.752
4
8 20 40 20 1.889 1.88 1.925 1.925 1.907
9
9 20 45 20 2.048 2.04 2.083 2.083 2.060
8
10 20 50 20 2.207 2.20 2.240 2.242 2.211
5

3.00
Ordinary Janbu
2.50 Bishop Spencer
FE
2.00
Factor of safety

1.50

1.00

0.50

0.00
0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50
Cohesion, kPa

รูปที่ 5 ค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยเมือ่ ทาการเปลีย่ นแปลงค่าแรงยึดเหนียวโดย =20o

3.3 ผลการวิเคราะห์ความลาดชันคันดินป้ องกันน้าท่วม


ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า อิ ท ธิ พ ล ข อ ง ร ะ ดั บ น้ า ใ น ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ ค ว า ม ล า ด ชั น
โ ด ย ใ ช้ ห น้ า ตั ด คั น ดิ น ป้ อ ง กั น น้ า ท่ ว ม
พ บ ว่ า ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ทั้ ง ส อ ง วิ ธี มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
เ มื่ อ ร ะ ดั บ น้ า ใ น คั น ดิ น มี ค่ า เ พิ่ ม ขึ้ น
ค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยมีคา่ ลดลงมาตามค่าระดับน้าทีเ่ พิม ้ ดังแสดงในตารางที่ 8
่ ขึน
เ นื่ อ ง จ า ก แ ร ง จ า ก น้ า ห นั ก แ ล ะ ก า ร ไ ห ล ข อ ง น้ า
เปลี่ย นเป็ นแรงกระท าต่อ คัน ดิน ทาให้ ค่าสัม ประสิท ธิค ์ วามปลอดภัย มีค่าลดลง โดยวิธี
Janbu มีคา่ สัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยทีส ่ ูงสุด ส่วนวิธี Bishop, วิธี Ordinary และ วิธี
Spencer มี ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น
ซึ่ ง แ ต่ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ข อ ง วิ ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด พ บ ว่ า
ค่ า สัม ประสิ ท ธิ ์ค วามปลอดภัย แตกต่ า งกัน ไม่ ม ากเมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงระดับ น้ า
ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 6
ซึง่ ต่างจากค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยทีไ่ ด้จากวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์พบว่าค่าสัมประสิทธิ ์
ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย มี ค่ า แ ต ก ต่ า ง กั น เ มื่ อ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ร ะ ดั บ น้ า
ก า ร ค า น ว ณ วิ ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด
ให้ ค่ า สัม ประสิ ท ธิ ์ค วามปลอดภัย คงที่ ใ นช่ ว งที่ ร ะดับ น้ า มี ร ะดับ ต่ า กว่ า 2.00 เมตร
แ ล ะ มี ค่ า ล ด ล ง เ มื่ อ มี ร ะ ดั บ น้ า สู ง ก ว่ า 2.00 เ ม ต ร ขึ้ น ไ ป
แ ต่ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ด้ ว ย วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์
มี ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ที่ ล ด ล ง ตั้ ง แ ต่ เริ่ ม มี ร ะ ดั บ น้ า สู ง 0.50 เม ต ร
แ ล ะ ค่ อ ย ๆ ล ด ล ง ต า ม ร ะ ดั บ น้ า ซึ่ ง แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า
ค่ า ร ะ ดั บ น้ า มี ผ ล ต่ อ ก า ร ค า น ว ณ ด้ ว ย วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์ ม า ก ก ว่ า
สาเหตุ เ ป็ นเพราะว่ า การแบ่ ง ชิ้ น ส่ ว นของวิ ธี ไ ฟไนต์ เ อลิ เมนต์ เป็ นแบบ 15-node
triangular element, Coarse Mesh Generation
จะมี ค วามละเอี ย ด และสอด คล้ อ งกับ ธรรมชาติ [10] มากกว่ า วิ ธี ส มดุ ล ขี ดจ ากัด
ที่ เ ป็ นการแบ่ ง ชิ้ น ส่ ว นเพี ย งแค่ ร ะนาบเดี ย ว ซึ่ ง เมื่ อ มี น้ ามากระท าแต่ ล ะชิ้ น ส่ ว น
ชิ้ น ส่ ว น ข อ ง ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์ จ ะ มี ก า ร ก ร ะ จ า ย แ ร ง ที่ ดี ก ว่ า
เนื่องจากว่าแรงได้ถา่ ยเขาสูเ่ ม็ดดินขนาดเล็กทุกทิศทาง และมีการคานวณโดยใช้หลัก C-
 reduction [11]
ทีจ่ ะมีความละเอียดกว่าวิธีสมดุลขีดจากัดทีบ ่ างวิธีเป็ นการคานวณแบบ Trial and Error
ที่ มี ค ว า ม ยุ่ ง ย า ก ซั บ ซ้ อ น

เป็ นผลท าให้ค่าสัม ประสิท ธิค วามปลอดภัย ของวิธี ไ ฟไนต์ เอลิเมนต์ มีผ ลที่ล ะเอีย ดกว่า
เ มื่ อ มี ร ะ ดั บ น้ า ใ ด ๆ ม า เ กี่ ย ว ข้ อ ง ดั ง แ ส ด ง ใ น ต า ร า ง ที่ 8 แ ล ะ รู ป ที่ 6
แ ล ะ แ น ว ก าร เค ลื่ อ น พั ง ข อ งล าด ดิ น ตั ว อ ย่ า ง เมื่ อ ร ะดั บ น้ าเท่ า กับ 0.00 เม ต ร
แนวการเคลื่ อ นพัง จะมี ค่า ใกล้ก น ั ทั้ง วิธี ส มดุ ล ขี ด จ ากัด และทฤษฎี ไ ฟไนต์ เอลิ เมนต์
ดังแสดงในรูปที่ 7 และเมื่อระดับ น้ าเพิ่ม มากขึ้น จนไปถึงระดับสูงสุดของคัน ดิน (3.50
เม ต ร ) แ น ว ก า ร เ ค ลื่ อ น พั ง ก็ มี ค่ า ที่ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น ทั้ ง วิ ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด
แ ล ะ วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์ ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 8
โดยแนวของการเคลื่อ นพัง ไปผ่ า นที่ช้น ั ดิน ชั้น สุ ด ท้า ยเนื่ อ งจากเป็ นชั้น ดิ น อ่อ นที่สุ ด
ซึง่ เคลือ่ นพังได้งา่ ยทีส ่ ุด สาหรับผลกระทบของค่าโมดูลสั ของยัง (Young Modulus, E)
ที่ เป็ น ปั จ จั ย ที่ ต่ า ง กั น ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม KUslope แ ล ะ โ ป ร แ ก ร ม Plaxis นั้ น
ผลการศึกษาพบว่าค่าโมดูลสั ของยังมีผลต่อการคานวณค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยทีน ่ ้อ
ย ม า ก ค่ า โ ม ดู ลั ส ต้ อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค่ า อ ย่ า ง ม า ก
ถึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
สาเหตุ เ ป็ นเพราะว่ า การค านวณ ด้ ว ยวิ ธี ไ ฟไนต์ เอลิ เ มนต์ ใช้ วิ ธี C-  reduction
ซึ่ ง ค่ า แ ร ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ร ะ ห ว่ า ง เ ม็ ด ดิ น
และค่ามุมของแรงเสียดทานภายในจะมีผลต่อการคานวณโดยตรงมากกว่าค่าโมดูลสั ของยั

ตารางที่ 8 แสดงค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยของคันดินป้ องกันน้าท่วม


Water level Safety of Factor
m. Ordinary Janbu Bishop Spencer FE
0.00 1.871 2.072 1.792 1.820 2.079
0.50 1.871 2.072 1.792 1.820 2.078
1.00 1.871 2.072 1.792 1.820 2.069
1.50 1.871 2.072 1.792 1.820 1.979
2.00 1.804 2.050 1.790 1.805 1.910
2.50 1.786 2.001 1.790 1.772 1.808
3.00 1.733 1.920 1.752 1.743 1.686
3.50 1.612 1.709 1.611 1.640 1.602
3.00

2.50

2.00
Factor of safety

1.50

1.00 Ordinary Janbu


0.50 Bishop Spencer
FE
0.00
0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50
Water level, m

รูปที่ 6 ค่าสัมประสิทธิค์ วามปลอดภัยกับค่าระดับน้าของคันดินป้ องกันน้าท่วม

รูปที่ 7 แนวการเคลือ
่ นพังของคันดินป้ องกันน้าท่วม กรณี ทม
ี่ รี ะดับน้ามากระทาต่าสุด
(0.00 เมตร)

รูปที่ 8 แนวการเคลือ
่ นพังของคันดินป้ องกันน้าท่วม กรณี ทม
ี่ รี ะดับน้ามากระทาสูงสุด (3.50
เมตร)
4. สรุปผลการศึกษา
จากการศึกษาเพือ ่ เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินระหว่างวิธีสมดุล
ขี ด จ า กั ด แ ล ะ วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์ ส า ม า ร ถ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ มแ ี นวโน้มให้คา่ สัมประสิทธิค ์ วา
ม ป ล อ ด ภั ย ที่ ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล ก ว่ า ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ด้ ว ย วิ ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด
ดั ง ที่ แ ส ด ง ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ด้ ว ย วิ ธี ต่ า ง ๆ ก ล่ า ว คื อ
เมื่ อ ท า ก า ร เป รี ย บ เที ย บ ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จ า ก ง า น วิ จั ย ที่ ผ่ า น ม า
วิธีการคานวณทัง้ วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์และวิธีสมดุลขีดจากัดถือว่ามีคา่ สัมประสิทธิค ์ วามปลอด
ภัยทีใ่ กล้เคียงกับงานวิจยั ทีผ ่ า่ นมา มีคา่ ความคลาดเคลือ ่ นทีแ
่ ตกต่างกันออกไปในแต่ละทฤษฎี
กรณี วิ เ ค ราะห์ ด้ ว ยห น้ าตัด ตัว อย่ า ง โด ยท าการเปลี่ ย น แ ป ลงค่ า คุ ณ สมบัติ ข องดิ น
ผลทีอ่ อกมาแสดงให้เห็นว่าวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์มีสมั ประสิทธิค ์ วามปลอดภัยทีต ่ ่ากว่าวิธีสมดุล
ขี ด จ า กั ด อ ยู่ เ ล็ ก น้ อ ย โ ด ย เ มื่ อ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง คุ ณ ส ม บั ติ ต่ า ง ๆ ข อ ง ดิ น
วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เ อ ลิ เ ม น ต์ ว่ า มี อั ต ร า ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ม า ก ก ว่ า
เป็ นเพราะว่ า ค่ า มุ ม ของแรงเสี ย ดทานภายในและค่ า แรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งเม็ ด ดิ น นั้น
การคานวณด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์มผ ี ลต่อการคานวณโดยตรงมากกว่าการคานวณด้วยวิธีส
ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด ต า ม ห ลั ก ก า ร วิ ธี C-  reduction
ที่ เ ป็ น ก า ร ใ ช้ ห ลั ก ก า ร ล ด ท อ น ค่ า ก า ลั ง ข อ ง ตั ว แ ป ร tan  แ ล ะ C
ล ง จ น ก ร ะ ทั่ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง เ กิ ด ก า ร วิ บั ติ
ค่ามุมของแรงเสียดทานภายในและค่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดินมีผลกระทบโดยตรงต่อค่า
สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า คั น ดิ น ป้ อ ง กั น น้ า ท่ ว ม
จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า เ มื่ อ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค่ า ร ะ ดั บ น้ า
ค่า สัม ประสิท ธิ ค ์ วามปลอดภัย จากวิ ธี ไ ฟไนต์ เอลิ เมนต์ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามระดับ น้ า
แต่วิธีสมดุลขีดจากัดค่าสัมประสิทธิค ์ วามปลอดภัยจะเปลีย่ นแปลงเมือ ่ ระดับน้าสูงกว่า 2.00
เ ม ต ร ขึ น ้ ไ ป ท า ใ ห้ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
ระดับ น้ ามี ผ ลต่ อ ก ารค าน วณ ด้ ว ยวิ ธี ไ ฟ ไน ต์ เอลิ เ ม น ต์ ม าก ก ว่ า วิ ธี ส ม ดุ ลขี ด จ ากัด
แ ล ะ ส า ห รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง ค่ า โ ม ดู ลั ส ข อ ง ยั ง (Young Modulus, E)
ที่ เป็ น ปั จ จั ย ที่ ต่ า ง กั น ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม KUslope แ ล ะ โ ป ร แ ก ร ม Plaxis นั้ น
สรุ ป ได้ ว่า ค่า โมดู ล สั ของยัง มี ผ ลต่อ การค านวณค่า สัม ประสิท ธิค ์ วามปลอดภัย ที่น้ อ ยมาก
เป็ น เพ ร า ะ ว่ า ก า ร ค า น ว ณ ด้ ว ย วิ ธี ไ ฟ ไ น ต์ เอ ลิ เม น ต์ ใ ช้ วิ ธี C-  reduction
ค่ า แ ร ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว ร ะ ห ว่ า ง เ ม็ ด ดิ น
และค่ามุมของแรงเสียดทานภายในจะมีผลต่อการคานวณโดยตรงมากกว่าค่าโมดูลสั ของยัง
ซึ่ ง ทั้ ง ก า ร ศึ ก ษ า ทั้ ง 3 ก ร ณี ท า ใ ห้ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์มแ ี นวโน้มให้คา่ สัมประสิทธิค ์ วา
ม ป ล อ ด ภั ย ที่ ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล ก ว่ า ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ด้ ว ย วิ ธี ส ม ดุ ล ขี ด จ า กั ด
ทั้ ง นี้ ใ น บ ท ค ว า ม นี้ เป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ก ร ณี ดิ น ถ ม เท่ า นั้ น ส า ห รั บ ง า น ดิ น ขุ ด
คั น ดิ น ที่ เ กิ ด จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ ห รื อ ก ร ณี อื่ น ๆ
ต้องทาการศึกษาแยกเป็ นอีกกรณี เพือ ่ ทาการหาข้อสรุปต่อไป
5. กิตติกรรมประกาศ
ผูเ้ ขียนขอขอบพระคุณ บริษท ั ไวส โปรเจ็ค คอนซัลติง้ จากัด
ทีไ่ ด้อนุเคราะห์ขอ ้ มูลเจาะสารวจดินตัวอย่างทัง้ หมด เพือ
่ นามาวิเคราะห์ในงานวิจยั ในครัง้ นี้
จนทาให้งานสาเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี

6. เอกสารอ้างอิง
[1] พัลลภ วิสท ุ ธิเ์ มธานุกูล, 2558, คูม
่ อ
ื วิศวกรรมฐานราก, ซีเอ็ดยูเคชั่น, กรุงเทพ, 792 น.
[2] วี ร ยา ฉิ ม อ้อ ย, 2544, การวิเคราะห์ แ ละออกแบบฐานราก, ภาควิช าวิศ วกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี, 289 น.
[3] Whitman, R. V. & Bailey, W. A., 1967, Use of computers for slope
stability analysis. J. Soil Mech. Found. Div., ASCE 93
[4] รั ฐ ธ ร ร ม อิ ส โ ร ฬ า ร , คู่ มื อ ก า ร ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม KUslope version 2.0,
ภาควิชาวิศวกรรมปฐพี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพ, 45
น.
[5] Spencer E., 1967, A method of analysis of the stability of embankments
assuming parallel interslice forces, Géotechnique 17(1), 11-26 p.
[6] Brinkgreve R.B.J., 2002, PLAXIS 2D Version 8 Manual. A.A. Balkema
Publishers. 202 p.
[7] Roscience Inc., 2001-2004, Application of the Finite Element Method to
Slope Stability”. Roscience Inc., Toronto.
[8] ฝ่ ายวิ ศ วกรรมปฐพี , 2555, รายงานผลการเจาะส ารวจดิ น คัน ดิ น ป้ องกัน น้ า ท่ ว ม
สนามบินสุวรรณภูม,ิ บริษท ั ไวส โปรเจ็ค คอนซัลติง้ จากัด, กรุงเทพฯ
[9] Geotechnical Info, Young's Modulus of Soil, Available Source:
http://www.geotechnicalinfo.com/youngs _modulus.html
[10] สุเชษฐ์ ลิขิต เลอสรวง, 2550, วิธี ไ ฟไนต์ เอลิเมนต์ ในงานวิศ วกรรมธรณี เทคนิ ค ,
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ, 196 น.
[11] ว า รุ ณี ก ะ ก า ร ดี , สุ ท ธิ ศั ก ดิ ์ ศ ร ลั ม พ์ , แ ล ะ รั ฐ ธ ร ร ม อิ ส โ ร ฬ า ร , 2556,
การศึกษาความเหมาะสมของการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดงานขุดโดยเปรียบเทียบ
วิ ธี ส ม ดุ ล จ า กั ด
ไฟไนต อิลิเมนต และสมดุ ล จ ากัด ร วมกับ การพิ จ ารณาหน วยแรงในมวลดิ น ,
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 18: 339 – 346.

You might also like