Dyspnea

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

Dyspnea

แรกขวัญ สิทธิวางค ์กูล พ.บ.


้ (shortness of breath) เด็กจะรู ้สึกเหนื่ อย และหายใจได ้ไม่ลก
คือภาวะหายใจเร็ว สันๆ ึ พอ

เป็ นปัญหาทีพบได ้

บ่อยที่ OPD อาจมาด ้วยอาการแบบ ฉับพลัน (acute) หรือเป็ นมานาน (chronic)


เกิดจากหลายสาเหตุ ใน

ผูป้ ่ วยบางรายอาจพบมีอาการหนักร่วมด ้วย โดยจะพบ unstable vital signs,



การรู ้สติเปลียนไป หรือ มีภาวะ
่ ม
เขียว (hypoxia) ร่วมด ้วยได ้ ซึงกลุ ้ ้องได ้ร ับการวินิจฉัยและร ักษาโดยรีบด่วน
่ นี ต
Differential diagnosis:

่ อพบได ้น้อย
สาเหตุสว่ นใหญ่เกิดจากข ้อ 1 และ 2 ทีเหลื

1. Respiratory เช่น asthma,pneumonia, bronchiolitis,


2. Cardiac เช่น congestive heart failure (CHF) จากสาเหตุตา่ งๆ
3. upper airway obstruction: เช่น Foreign body obstruction, croup, epiglottitis

4. metabolic acidosis เช่น จากภาวะ sepsis, severe dehydration, DKA หรือ congenital metabolic

disorder อืนๆ

5. psychogenic disorder โดยเฉพาะในเด็กโต เช่นภาวะ hyperventilation syndrome, pain, anxiety


6. neuromuscular disorder
7. hemotologic disorder :severe anemia
History taking:

ควรเน้น การซ ักประวัตท ้ั


ิ งระบบ ่ ้น
respiratory และ cardiac ควรถาม ให ้ละเอียดว่าอาการเริมต
่ งแต่
เริมตั ้


เมือใด ้
นานเท่าไรแล ้ว เกิดขึนขณะพั
ก หรือออกกาลัง ถ ้ามีอาการไข ้และหอบต ้องนึ กถึง
ภาวะการติดเชือ้

เช่น pneumonia, croup , bronchiolitis ,epiglottitis ถ ้าอาการเป็ นรวดเร็วทันที รุนแรงนึ กถึงภาวะ


acute

pneumothorax , pulmonary embolism หรือ foreign body obstruction ในเด็ก


้ ัง
เล็ก ส่วนสาเหตุจากโรคหัวใจ มักมีอาการหอบมานานเรือร
้ วมใน
ไม่มไี ข ้ร่วมด ้วย(ยกเว ้นมีการติดเชือร่

ขณะนั้น) สาเหตุของ CHF ทีพบบ่


่ อยในเด็กคือ จาก
Congenital heart disease เช่น กลุม
่ Left to right shunt (large VSD, large PDA, AV canal etc.)
หรือกลุม

่ increased pulmonary blood flow มักจะอาการหอบเหนื่ อยหลังคลอด
cyanotic heart disease ทีมี

ประมาณ 4-6 สัปดาห ์ (เนื่ องจากความดันปอดเริมลดลงมาปกติ


่ )
ในเด็กเล็กมีประวัตวิ า่ ดูดนมแล ้วเหนื่ อย

ทาให ้ดูดช ้ามักจะหอบจึงทานได ้น้อย นาหนั ึ ้ และมีปอดปวมร่วมด ้วยบ่อย
กไม่ขน
ส่วนเด็กโตสาเหตุของ

CHF ทีพบมั
กเป็ น Acquired heart disease

เช่น acute rheumatic carditis, myocarditis หรือ pericarditis


อาจมีประวัตวิ า่ เหนื่ อยง่ายกว่าเด็กปกติ

เวลาออกแรง (dyspnea on exertion) หรือนอนราบไม่ได ้ (orthorpnea) เป็ นต ้น ส่วนอาการอืนๆ
สรุปได ้

ดังตาราง 11 ดังนี ้
Symptom or features in the history Possible diagnosis

Cough Asthma,pneumonia

Severe sore throat Epiglottitis

Pleuritic chest pain Pericarditis, pulmonary embolism

Pneumothorax,pneumonia

Orthopnea, nocturnal paroxysmal Congestive heart failure

Dyspnea, edema

Barking cough Croup

Physical examination:

ควรดูวา่ ผูป้ ่ วยอยูใ่ นกลุม ่


่ ทีอาการหนั กอาจจะมีภาวะ respiratory failure หรือ sudden cardiac
arrest

ตามมาได ้หรือไม่ โดยดูจาก มีภาวะดังนี 1้


- hypotension, altered mental status และ unstable arrhythmia
- high respiratory rate, retraction, cyanosis และ oxygen saturation ต่า

- Stridor และ มี breathing effort โดยไม่มี air movement(สงสัยภาวะ upper airway obstruction )
- Unilateral tracheal deviation, hypotension และ unilateral breath sounds(สงสัยภาวะ tension
pneumothorax)


ในผูป้ ่ วยทีอาการคงที ่ ควรได ้ร ับการประเมิน Vital sign, ลักษณะการหายใจ, mental status
ดูสผ
ี วิ ว่ามีเขียว
มี clubbing fingerหรือไม่ ควรตรวจร่างกายโดยละเอียดดังนี ้

Pulmonary : ดู tracheal deviation, คลา chest wall ว่ามี subcutaneous emphysema เคาะ chest wall

( dullness-consolidation, hyperresonance –pneumothorax) และฟังปอดโดยละเอียด

Cardiac: arrhythmia, distant heart sound, gallop,(S3, S4),murmur, P2

Sign of CHF: jugular venous distension, hepatomegaly, edema


ตาราง 21 แสดงการตรวจร่างกายทีพบในโรคต่
างๆในเด็ก
Findings Possible diagnosis

Wheezing ,accessory muscle use Acute asthma

Fever, crackles, increased fremitus Pneumonia

Edema, neck vein distension, gallop, murmur Congestive heart failure

Hepatomegaly

Absent breath sounds, hyperresonance Pneumothorax

Inspiratory stridor, rhonchi, retractions Croup

Sridor, drooling, fever Epiglottitis

Stridor, wheezing, persistent pneumonia Foreign body aspiration

Investigations:

่ มในผูป้ ่ วยขึนกั
การตรวจเพิมเติ ้ บโรคทีเราสงสั
่ ยในแต่ละราย
Pulse oximetry: ถ ้าผู ้ป่ วยหอบมาก หรือสงสัยภาวะเขียว
้ ม
CXR: มีประโยชน์มากทังกลุ ่ โรคปอดและโรคหัวใจ
Film lateral neck : ในกลุม
่ upper airway obstruction croup, foreign body aspiration , epiglottitis
ECG: arrhythmia, ventricular hypertrophy ในโรคหัวใจ
Echocardiogram: ถ ้าสงสัยความผิดปกติของหัวใจ

CBC with platelet : ดูภาวะซีด ้ างๆ


โรคติดเชือต่
Management:

ควรดูวา่ ผูป้ ่ วยอยูใ่ นกลุม ่


่ ทีอาการหนั ่ นี ้
กหรือไม่ ถ ้าผูป้ ่ วยอยูใ่ นกลุม
ควรได ้รับการดูแลทันที โดยรีบด่วนใน

ห ้องฉุ กเฉิ น โดยประเมินการหายใจ ดู airway และการหายใจ (breathing) และ circulation


ควรให ้ oxygen

ประเมินว่าต ้องใส่ endotracheal tube หรือไม่ และควรพยายาม แทงเส ้นให ้ intravenous fluid
ทันที
โดยเฉพาะกลุม ่ ความดันต่าร่วมด ้วย ในผูป้ ่ วยทีอาการคงที
่ ทีมี ่ ่
้ บการวินิจฉัยในแต่ละราย
การร ักษาขึนกั

You might also like