125-Article Text-311-1-10-20180226 PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560 ว. วิทย. เทคโน.

หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 77

ดนตรีบ�ำบัด
Music therapy

อัญชลี ชุ่มบัวทอง1* จันทนา ยิ้มน้อย2 และ ชษาพิมพ์ สัมมา3


1
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
สมุทรปราการ 10540
2
สาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
สมุทรปราการ 10540
3
วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 20131
Anchalee Choombuathong1*, Chanthana Yimnoi2 and Chasapim Samma3
1
Division of Biological Science, Faculty of Science and Technology, Huachiew Chalermprakiet University,
Samutprakarn 10540
2
Division of Humanities and Social Sciences, Faculty of Liberal Arts, Huachiew Chalermprakiet University,
Samutprakarn 10540
3
College of Research Methodology and Cognitive Science, Burapha University, Chonburi 20131

บทคัดย่อ
ดนตรีบำ� บัดคือการดูแลด้านสุขภาพทีม่ กี ารใช้กจิ กรรมทางดนตรี เช่น การฟังหรือเล่นดนตรี เพือ่ บ�ำบัดความเจ็บป่วย
ฟื้นฟูสภาพร่างกาย พัฒนาด้านอารมณ์ และสติปัญญา หลังจากประเมินจุดแข็งและความต้องการของผู้ป่วยแต่ละรายที่มี
คุณสมบัติเหมาะสม จึงให้การรักษาด้วยดนตรีบ�ำบัด วัตถุประสงค์ของการรักษาด้วยดนตรีบ�ำบัดคือ ท�ำให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย
ท�ำให้สนุก และลืมความเจ็บปวดในช่วงขณะหนึ่ง สามารถใช้ดนตรีเพื่อการลดปวด ลดความวิตกกังวลและความเครียด และ
ท�ำให้คุณภาพการนอนหลับดีขึ้น อย่างไรก็ตามต้องค�ำนึงถึงความต้องการของผู้ป่วยว่ามีความพร้อมที่จะใช้วิธีดนตรีบ�ำบัด
หากผู้เข้าร่วมไม่ตอบสนองต่อดนตรีเลย หรือปฏิเสธที่จะฟังดนตรี จึงควรหลีกเลี่ยงวิธีนี้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่ต้องการ

ค�ำส�ำคัญ: ดนตรีบ�ำบัด ลดปวด ลดความวิตกกังวลและความเครียด คุณภาพการนอนหลับ

Corresponding author: ru_unchalee@hotmail.com


78 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560

Abstract
Music therapy is a health care that involves the use of musical activities such as listening or
playing music for healing of illness, restore the body, emotional and intellectual development. After
evaluating the strengths and needs of each patient, the music therapy could be provided by the qualified
music therapist. The purposes of treatment with music therapy are to make the patient relax, have fun
and forget the pain for the moment. Moreover, music therapy is used for pain relief, to reduce anxiety
and stress and the quality of sleep. However, the patient needs to be considered. Patients should be
ready to use the healing method. If the participant does not respond to the music at all or refuse to
listen to music, this should be avoided.

Keywords: Music therapy, Relief pain, Reduce anxiety and stress, Quality of sleep

บทน�ำ ดนตรีบำ� บัด (music therapy) คือ การใช้กจิ กรรม


“ ชนใดไม่ มี ด นตรี ก าล ในสั น ดาน เป็ น คน ทางดนตรี อาจจะเป็นการฟังหรือเล่นดนตรี การร้องเพลง
ชอบกลนั ก ” บทประพั น ธ์ นี้ อ ยู ่ ใ นเรื่ อ ง “เวนิ ส วาณิ ช ” แต่งเพลง เพื่อบ�ำบัดความเจ็บป่วย ฟื้นฟูสภาพร่างกาย
พระราชนิพนธ์แปลในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั พัฒนาด้านอารมณ์ และสติปัญญา ซึ่งเป็นการรักษาแบบ
รัชกาลที่ 6 จาก “The Merchant of Venice” ของ William alternative medicine หรือการแพทย์ทางเลือก มีคำ� กล่าวว่า
Shakespeare ดนตรีมิใช่มีเพื่อน�ำความสุข ความสุนทรีย์ใน ดนตรีเป็น “mind medicine” โดยใช้เป็นเครื่องมือในการ
อารมณ์มาสู่ผู้เล่นและผู้ฟัง หรือท�ำให้เกิดความเพลิดเพลิน รักษามานานหลายศตวรรษ ธรรมชาติของดนตรีทไี่ ร้พรมแดน
ไพเราะเสนาะหูเท่านั้น แต่ดนตรียังให้ประโยชน์ได้มากกว่า มีได้หลากหลายรูปแบบ ท�ำให้เข้ากับคนได้อย่างไม่จำ� กัดเพศ
ที่คิด การน�ำดนตรีมาใช้รักษาความเจ็บป่วยนั้นได้มีมานาน วัย เชื้อชาติ และศาสนา ดนตรีช่วยในการรักษาปัญหาทาง
ประมาณหลายพันปีแล้วในยุคกรีก ซึ่งเชื่อว่าเทพเจ้าแห่ง ร่างกายและจิตใจ จากการฟังดนตรีประเภทต่าง ๆ เช่น ลูกทุง่
ดนตรีมีชื่อว่า Apollo จะช่วยรักษาความเจ็บป่วย ขับไล่ ลูกกรุง หรือดนตรีคลาสสิก (classical music) ดนตรีสามารถ
วิญญาณชั่วร้ายได้โดยการใช้เสียงดนตรีขับกล่อมคนป่วย กระตุ้นสมองได้เกือบทุกส่วน เช่น ส่วน auditory (เกี่ยวข้อง
ได้มีการศึกษาค้นคว้าวิจัยถึงผลของดนตรีในด้านการรักษา การได้ยิน) motor cortex (เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของ
อย่างจริงจังมาประมาณกว่า 50 ปีแล้ว หลายท่านคงเคยยิน แขน ขา ใบหน้า) และ limbic system (เกี่ยวข้องอารมณ์
ค�ำว่า “ดนตรีบ�ำบัด” ซึ่งเป็นการน�ำดนตรีมาใช้ในการบ�ำบัด จิตใจ การตระหนักรู้ ความเข้าใจ และความจ�ำ) [1]
รักษา ซึ่งแตกต่างจากการฟัง ร้อง หรือ เล่นดนตรีทั่ว ๆ ไป
เนือ่ งจากในการบ�ำบัดนัน้ ดนตรีจะถูกใช้เพือ่ บรรลุเป้าหมาย กลไกการท�ำงานของสมองที่เกี่ยวข้องกับดนตรี
ในการรักษา และเพื่อการแก้ไขปัญหาของผู้รับบริการ โดย มนุษย์สามารถรับรู้ดนตรีจากการที่คลื่นเสียงมา
จะมีการพูดคุยรับรูถ้ งึ ปัญหาและวางแผนการรักษาเป็นล�ำดับ กระทบกับเยื่อแก้วหู (tympanic membrane) ท�ำให้มีการ
ดนตรีบ�ำบัดแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ การฟัง สัน่ ของกระดูกชิน้ เล็ก ๆ ในหูชนั้ กลาง [2] แล้วมีการแปรเป็น
(receptive) และการเล่น (active) โดยทั้งสองประเภทจะ สัญญาณประสาทที่ cochlea ของหูชั้นใน เพื่อส่งสัญญาณ
ถูกเลือกตามความเหมาะสมแก่ผู้รับบริการ ประสาทต่อไปยัง superior olivary complex ที่ก้านสมอง
(brainstem) และ inferior colliculus ที่สมองส่วนกลาง
ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 79

(midbrian) แล้วข้อมูลเหล่านีจ้ ะส่งต่อไปยัง thalamus เพือ่ พบว่าวิธีดังกล่าวช่วยให้ผู้คลอดมีพฤติกรรมการเผชิญความ


เข้าสู่ primary auditory cortex โดยตรง นอกจากนี้ข้อมูล เจ็บปวดในระยะคลอดที่ดี ในขณะที่การศึกษาผลของดนตรี
จาก thalamus จะเข้ า สู ่ amydala และ medial ในเด็ก เช่น ผลของการเบี่ยงเบนความสนใจด้วยดนตรี
orbitofrontal cortex ด้วย ซึ่งเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับ ต่อความเจ็บปวดจากการเจาะไขกระดูกของเด็กวัยเรียน
อารมณ์และการควบคุมพฤติกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับอารมณ์ [3] อายุ 7-12 ปี ที่มารับบริการเจาะไขกระดูก โดยมีการตรวจ
วินิจฉัยหรือติดตามผลการรักษา โดยการใช้แบบประเมิน
ดนตรีบ�ำบัดเพื่อการลดปวด ความเจ็บปวดในเด็กด้วยแบบประเมินความเจ็บปวดด้วย
ดนตรีบ�ำบัดได้ถูกน�ำมาใช้ในเรื่อง การผ่อนคลาย ใบหน้า พบว่าหลังได้รับการเบี่ยงเบนความสนใจด้วยดนตรี
(relaxation) และการควบคุมความเจ็บปวด (pain control) ค่าเฉลีย่ ของคะแนนความเจ็บปวดจากการเจาะไขกระดูกของ
ครั้งแรกเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อช่วยฟื้นฟูทหารที่ได้รับ เด็กวัยเรียนลดลง ซึ่งแสดงว่าการเบี่ยงเบนความสนใจด้วย
บาดเจ็บจากสงคราม มีงานวิจัยมากมายสนับสนุนว่า ดนตรี ดนตรีสามารถลดความเจ็บปวดจากการเจาะไขกระดูกของ
มีผลช่วยลดความเจ็บปวดในผูป้ ว่ ยมะเร็งลงได้ เช่น การศึกษา เด็กวัยเรียนได้ [9]
ของ Beck [4] ที่ศึกษาผลของดนตรีที่ผู้ป่วยชอบต่อระดับ
ความปวดในผู้ป่วยมะเร็ง โดยให้กลุ่มตัวอย่างเลือกฟังเพลง ดนตรีบ�ำบัดเพื่อลดความวิตกกังวลและความเครียด
ที่ชอบหรือประเภทผ่อนคลาย 7 ชนิด เช่น เพลงคลาสสิค ดนตรีช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งใน
แจ๊ส และร็อค เป็นต้น โดยให้ฟังเป็นเวลานาน 45 นาที ระหว่างการฉายรังสีรักษา [10] จากการวิจัยผู้ป่วยก่อนเข้า
ฟังวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน ผลการศึกษาพบว่าความ รับการผ่าตัดทีฟ่ งั ดนตรีจะมีความเครียดและความวิตกกังวล
ปวดลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ในขณะที่การศึกษาใน ลดลง ระดับของ cortisol ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือด (leukemia) พบว่าเมื่อให้ ความเครียดลดลงมากกว่าการใช้ยา ส่วนการเรียนเปียโน
ดนตรีกับผู้ป่วยเพื่อลดความเจ็บปวดในผู้ป่วยขณะท�ำการ ควบคูไ่ ปกับการท�ำกายภาพบ�ำบัดนัน้ ช่วยให้ผปู้ ว่ ยโรคหลอด
เจาะไขกระดูกแล้ว ท�ำให้กลุ่มทดลองมีระดับความปวดต�่ำ เลือดสมองที่มีอาการอัมพาตที่แขนซีกซ้ายหรือซีกขวาเพียง
กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ [5] สมถวิล [6] ได้ ซีกเดียว สามารถเคลื่อนไหวร่างกายชนิดที่ต้องอาศัยทักษะ
ศึกษาผลของดนตรีโดยให้ผู้ป่วยหลังผ่าตัดจัดและยึดตรึง อย่างละเอียดได้ดีกว่า และมากกว่าผู้ที่ท�ำกายภาพบ�ำบัด
กระดูกภายในแบบเปิด โดยให้ฟังดนตรีพื้นเมืองอีสานภาย เพียงอย่างเดียวอย่างมีนยั ส�ำคัญ ผลการวิจยั ยังพบด้วยว่าการ
หลังจากผ่าตัด 24-48 ชัว่ โมง พบว่าความเจ็บปวด ความวิตก ฟังดนตรีช่วยลดอาการปวดแบบเรื้อรังได้ถึงร้อยละ 21 และ
กังวล และจ�ำนวนครัง้ ในการใช้ยาระงับปวดลดลง นอกจากนี้ ลดภาวะซึมเศร้าได้ถงึ ร้อยละ 25 นอกจากนีย้ งั ช่วยให้อารมณ์
ผลของดนตรีต่อการลดปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดตรึงกระดูก สงบ และช่วยบ�ำบัดอาการนอนไม่หลับ ในขณะที่ อุบล [11]
ต้นขาทีไ่ ด้รบั การจัดให้ฟงั ดนตรี โดยควบคุมการฟังดนตรีดว้ ย ได้ศกึ ษาผลของดนตรีบำ� บัดต่อความวิตกกังวลและความปวด
ตนเองในระยะ 48 ชัว่ โมง ได้รบั การประเมินความปวดพบว่า ในผูป้ ว่ ยมะเร็งทีไ่ ด้รบั ยาเคมีบำ� บัดและจะได้รบั ฟังดนตรีทาง
มี ค ่ า เฉลี่ ย คะแนนความปวดในระยะ 24 ชั่ ว โมงแรก หูฟัง ครั้งละ 30 นาที ในตอนเช้าและเย็น จ�ำนวน 2 วัน
และในช่วง 24-48 ชั่วโมงหลังผ่าตัด ต�่ำกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ฟัง รวม 4 ครั้ง โดยที่กลุ่มควบคุมจะได้รับการดูแลตามปกติจาก
ดนตรีอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ [7] พยาบาล ผู้ป่วยกลุ่มทดลองจะได้รับการประเมินข้อมูล
ในขณะที่ นันธิดา และคณะ [8] ศึกษาผลของการ พื้ น ฐานและความชอบในการฟั ง ดนตรี ความวิ ต กกั ง วล
ลดความเจ็บปวดและพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดใน ความปวด ก่อนฟังดนตรีบำ� บัดและหลังฟังดนตรีครัง้ ที่ 2 และ
ผู้คลอดครรภ์แรกที่ได้รับฟังดนตรีร่วมกับการสร้างจินตภาพ ครั้งที่ 4 ในขณะที่ผู้ป่วยกลุ่มควบคุมจะได้รับการประเมิน
80 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560

ความวิตกกังวลก่อนและหลังการได้รบั การดูแลตามปกติจาก และ ค่า rapid shallow breathing index ซึง่ เป็นค่าทีแ่ สดง
พยาบาล ในวันที่ 1 และ ในวันที่ 2 และได้รับการประเมิน ถึงความสามารถในการหายใจเองของผู้ป่วย ค�ำนวณได้จาก
ความปวดเช่นเดียวกับกลุ่มทดลอง ผลการวิจัยพบว่าผู้ป่วย อัตราการหายใจ (ครัง้ ต่อนาที) หารด้วย spontaneous tidal
กลุม่ ทดลองจะมีคะแนนความปวดและความวิตกกังวลลดลง volume (ลิตร) ทั้ง 2 ระยะ ผลการศึกษาพบว่าขณะที่ได้รับ
มากกว่ากลุม่ ควบคุม ในขณะทีก่ ารศึกษาผลของดนตรีบำ� บัด ฟังดนตรีบ�ำบัดนั้น ความวิตกกังวล อัตราการหายใจ และ
ทางการพยาบาลโดยใช้กิจกรรมดนตรีต่อภาวะซึมเศร้าของ ความดันเฉลีย่ ของหลอดเลือดแดงของกลุม่ ตัวอย่างลดลงกว่า
ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด โดยวัดระดับ ขณะไม่ได้รับดนตรีบ�ำบัดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลจาก
ภาวะซึมเศร้าและระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร การวิจยั นีส้ รุปว่าดนตรีบำ� บัดสามารถช่วยลดความวิตกกังวล
ประจ�ำวัน พบว่าหลังการทดลองผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยภาวะ และการตอบสนองทางสรีรวิทยาบางตัวแปรในผู้ป่วยขณะ
ซึมเศร้าต�่ำกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการบ�ำบัดอย่างมีนัยส�ำคัญ หย่าเครื่องช่วยหายใจได้ ซึ่งชี้ให้เห็นว่าดนตรีบ�ำบัดส่งเสริม
ทางสถิติ ซึง่ จากการวิจยั ครัง้ นีม้ ขี อ้ เสนอแนะว่าควรจัดอบรม ให้เกิดการผ่อนคลายในผูป้ ว่ ยขณะหย่าจากเครือ่ งช่วยหายใจ
ให้บคุ ลากรในทีมสุขภาพมีความรูค้ วามเข้าใจ และมีแนวทาง ซึง่ อาจจะช่วยสงวนพลังงานให้กบั ผูป้ ว่ ยและส่งเสริมการฟืน้ ฟู
ในการดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะซึมเศร้า สภาพได้ [13]
อย่างเป็นองค์รวม และควรน�ำการบ�ำบัดทางการพยาบาลโดย ทั้งนี้งานวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับการศึกษาของ
ใช้กจิ กรรมดนตรีไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับผูส้ งู อายุแต่ละ สุมลชาติ และคณะ [14] ที่ศึกษาประสิทธิภาพของดนตรี
คนที่มีภาวะซึมเศร้า [12] บ�ำบัดในการลดความวิตกกังวล และส่งเสริมการตอบสนอง
ส่ ว นการศึ ก ษาผลของดนตรี บ� ำ บั ด ต่ อ ความ ทางสรีระ โดยการลดอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ
วิตกกังวล การตอบสนองทางสรีรวิทยา และตัวแปรในการ ความดั น โลหิ ต เพิ่ ม ความจุ ป อด และความอิ่ ม ตั ว ของ
หย่าเครือ่ งช่วยหายใจในผูป้ ว่ ยระหว่างหย่าเครือ่ งช่วยหายใจ ออกซิเจนในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวที่ใช้เครื่อง
การหย่าจากเครื่องช่วยหายใจอาจมีส่วนท�ำให้ผู้ป่วยที่อยู่ใน ช่วยหายใจ โดยศึกษาในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจที่หอ
ระหว่างหย่าจากเครือ่ งช่วยหายใจเกิดความวิตกกังวล และมี ผูป้ ว่ ยวิกฤตทางอายุรกรรม หอผูป้ ว่ ยวิกฤตโรคหัวใจ และหอ
ผลต่อการตอบสนองทางสรีรวิทยา เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง ผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม ชาย-หญิง 1 ของโรงพยาบาล
แบบไขว้ (crossover design) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่อยู่ รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กลุม่ ตัวอย่างทุกรายได้รบั การ
ในช่ ว งหย่ า จากเครื่ อ งช่ ว ยหายใจในหอผู ้ ป ่ ว ยวิ ก ฤตของ ประเมินความสนใจในการฟังดนตรี และเป็นผู้เลือกฟังเสียง
โรงพยาบาลรามาธิบดี มีเพียงกลุ่มเดียวแต่แบ่งเป็นช่วง ดนตรีธรรมชาติทจี่ ดั ไว้ ในระยะทดลองกลุม่ ตัวอย่างฟังดนตรี
ควบคุมและช่วงทดลองเพื่อเปรียบเทียบความวิตกกังวล ทีไ่ ด้เลือกด้วยตนเองทางหูฟงั เป็นเวลา 30 นาที ส�ำหรับระยะ
การตอบสนองทางสรี ร วิ ท ยา และตั ว แปรในการหย่ า ควบคุมได้รบั การใส่หฟู งั โดยไม่มเี สียงดนตรี เป็นเวลา 30 นาที
เครื่องช่วยหายใจที่เปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยระหว่างระยะ โดยทัง้ 2 ระยะ ได้จดั ให้ผปู้ ว่ ยนอนพักในท่าศีรษะสูง และกัน้
ทดลองซึ่งผู้ป่วยจะได้รับฟังดนตรี เป็นเวลา 30 นาที และ ม่านพร้อมแขวนป้ายห้ามรบกวน พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการฟัง
ระยะควบคุมซึ่งผู้ป่วยจะไม่ได้รับฟังดนตรี มีการประเมินผล ดนตรีบำ� บัดขณะใช้เครือ่ งช่วยหายใจ มีระดับความวิตกกังวล
โดยวัดความวิตกกังวลและการตอบสนองทางสรีรวิทยา ได้แก่ อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันเลือด
อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ และความดันโลหิต ซิสโตลิก และความดันเลือดแดงเฉลี่ยลดลงมากกว่าระยะ
และตัวแปรในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ได้แก่ ความอิ่มตัว ควบคุ ม รวมทั้ ง มี ค ่ า ความจุ ป อดและความอิ่ ม ตั ว ของ
ของออกซิเจนในเลือดแดง (oxygen saturation) ปริมาตร ออกซิเจนเพิ่มขึ้นมากกว่าระยะควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญทาง
ลมหายใจเข้าออกในการหายใจตามปกติ (tidal volume) สถิติ นอกจากนีย้ งั พบว่ามีคา่ ความจุปอดและความอิม่ ตัวของ
ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 81

ออกซิเจนเพิ่มขึ้นมากกว่าระยะควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญ จะ ก�ำหนด ที่ได้รับการรักษาในหอผู้ป่วยบ�ำบัดวิกฤตทารก


เห็นได้ว่าดนตรีบ�ำบัดมิได้มีประโยชน์เพียงช่วยลดความวิตก แรกเกิดได้ [17] ซึ่งสัมพันธ์กับการศึกษาของ สุเนตรา และ
ในผู้ป่วยเท่านั้น จากการศึกษาของ วรัญญา [15] ที่ได้ศึกษา ศิริพร [18] ได้ท�ำการศึกษาให้ดนตรีในเด็กทารกเช่นกัน
ผลของการฟังดนตรีตามความชอบและดนตรีธรรมชาติต่อ โดยศึกษาผลของดนตรีในการเพิม่ ประสิทธิภาพการนอนและ
ความเครียดของนิสิต โดยกลุ่มเงื่อนไขคือ กลุ่มที่ได้ฟังดนตรี ส่งเสริมการตอบสนองทางสรีรวิทยาของผู้ป่วยเด็กวิกฤต
ตามความชอบ และกลุ่มที่ได้ฟังดนตรีธรรมชาติ พบว่ากลุ่ม ซึ่งพบว่าดนตรีสามารถลดอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการ
ที่ได้ฟังดนตรีตามความชอบและดนตรีธรรมชาติมีคะแนน หายใจ ความดันโลหิต และเพิ่มความอิ่มตัวของออกซิเจนใน
ความเครียดจากแบบวัด DASS-Stress Scale และความ เลือดในผู้ป่วยเด็กวิกฤตที่อยู่ในระยะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ตึ ง ตั ว ของกล้ า มเนื้ อ ในช่ ว งหลั ง การทดลองลดลงอย่ า งมี ทั้งเพศชายและหญิงที่อายุ ≤ 6 ปี ที่หอผู้ป่วย PICU สถาบัน
นัยส�ำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง สุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โดยใช้แผนการทดลองแบบ
ในขณะที่ ก ลุ ่ ม ที่ ไ ด้ ฟ ั ง ดนตรี ต ามความชอบและดนตรี สลับ ผู้ป่วยแต่ละรายจะเริ่มต้นด้วยการฟังดนตรีโดยมีระยะ
ธรรมชาติไม่แตกต่างกันทางสถิติ ฟังดนตรี เป็นเวลานาน 60 นาที หรือไม่ได้ฟังดนตรีซึ่งเป็น
ระยะควบคุม ผู้ป่วยทั้ง 30 ราย จะเป็นทั้งกลุ่มทดลองคือ
ดนตรีบ�ำบัดเพื่อคุณภาพการนอนหลับ ระยะฟังดนตรี และกลุ่มควบคุมคือระยะควบคุม
สุภีดา และคณะ [16] ศึกษาผลของดนตรีต่อ ผลของดนตรีบําบัดต่อประสิทธิภาพการนอนคือ
คุณภาพการนอนหลับของผูปวยในหอผูปวยหนัก และการ ค่าระยะเวลาการนอนหลับเฉลีย่ ทดสอบผลของดนตรีบาํ บัด
สังเกตอาการเต้นของหัวใจและอัตราหายใจทุก 5 นาที ในช่วง ต่อการตอบสนองทางสรีรวิทยาของผู้ป่วยเด็กวิกฤตในระยะ
30 นาที ก่อนฟัง ขณะฟัง และหลังฟังดนตรี พบว่าคุณภาพ ควบคุมและระยะฟังดนตรี เปรียบเทียบ ณ จุดเวลาทุก
การนอนของผู้ป่วยมีค่าสูงกว่าก่อนฟังดนตรี รวมทั้งคะแนน 15 นาที พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการฟังดนตรีจะมีระยะเวลาใน
เฉลีย่ ของอัตราการเตนของหัวใจและอัตราการหายใจในชว ง การนอนหลับเฉลี่ยมากกว่าระยะควบคุมอย่างมีนัยสําคัญ
30 นาที ขณะฟงดนตรีและหลังฟงดนตรีแตกตางกันอยางมี ทางสถิติ ดนตรีบําบัดส่งผลต่อการตอบสนองทางสรีรวิทยา
นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ จากผลการศึ ก ษามี ข  อ เสนอแนะคื อ โดยลดอัตราการเต้นของหัวใจนาทีที่ 30 ลดอัตราการหายใจ
สามารถนําดนตรีเขามาใชในการสงเสริมคุณภาพการนอน ทุกช่วงเวลาตั้งแต่นาทีที่ 15-60 ลดความดันซิสโตลิก นาทีที่
หลับของผูปวยหนัก นอกจากนี้ได้มีการศึกษาผลของดนตรี 60 ลดค่าความดันไดแอสโตลิกและความดันเฉลี่ยนาทีที่
ต่อภาวะหลับตื่นของทารกคลอดก่อนก�ำหนดในหอผู้ป่วย 15-30 ส่งผลในการเพิม่ ออกซิเจนในเลือดตัง้ แต่นาทีที่ 45-60
บ�ำบัดวิกฤตทารกแรกคลอด ซึ่งเป็นทารกแรกคลอดก่อน และในระยะที่ผู้ป่วยฟังดนตรีส่งผลให้ลดอัตราการเต้นของ
ก�ำหนดที่มีอายุหลังปฏิสนธิ 28-36 สัปดาห์ และได้รับการ หัวใจ อัตราการหายใจ ความดันโลหิต และเพิ่มความอิ่มตัว
รักษาในหอผู้ป่วยบ�ำบัดวิกฤตทารกแรกเกิด ภายหลังทารก ของออกซิ เ จนในเลื อ ด เมื่ อ เที ย บจากค่ า เริ่ ม ต้ น อย่ า งมี
ได้ฟงั ดนตรีหลังบันทึกสัญญาณชีพ 30 นาที และประเมินการ นัยสําคัญทางสถิติ
หลับตืน่ โดยการถ่ายวิดที ศั น์เพือ่ ให้ได้ภาพพฤติกรรมการหลับ นอกจากนี้ผลของดนตรียังมีประโยชน์ในผู้สูงอายุ
ตื่นของทารก พบว่าทารกคลอดก่อนก�ำหนดภายหลังเริ่มฟัง เช่น การศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการผ่อนคลายโดย
ดนตรี 5 นาที และ 30 นาที มีระดับการนอนหลับที่ลึกกว่า การฟังดนตรีธรรมะร่วมกับสุวคนธบ�ำบัดต่อคุณภาพการนอน
ทารกคลอดก่อนก�ำหนดทีไ่ ม่ได้ฟงั ดนตรีอย่างมีนยั ส�ำคัญทาง หลั บ ของผู ้ สู ง อายุ ใ นศู น ย์ พั ฒ นาการจั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คม
สถิติ ผลการศึกษาครัง้ นีส้ ามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ ผู้สูงอายุ โดยได้รับโปรแกรมส่งเสริมการผ่อนคลายโดยการ
การพยาบาล เพื่อส่งเสริมการนอนหลับในทารกคลอดก่อน ฟังดนตรีธรรมะร่วมกับสุวคนธบ�ำบัดต่อคุณภาพการนอน
82 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560

หลับทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ พบว่าผูส้ งู อายุทไี่ ด้รบั โปรแกรมส่งเสริม pathway) [22] ส่งผลให้มีการหลั่งสารสื่อประสาทโดปามีน
การผ่อนคลายมีคะแนนเฉลี่ยคุณภาพการนอนหลับหลังการ เพิ่มขึ้น [23] จึงท�ำให้มีการปรับตัวของจุดประสานประสาท
ทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง และมีผลต่างคะแนนเฉลี่ย (synaptic plasticity) [24] นอกจากนี้การฟังดนตรีที่ปลุก
คุณภาพการนอนหลับสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญ ให้เกิดความตื่นเต้นหรือตื่นตัว (arousal) จะไปกระตุ้นการ
ทางสถิติ การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมส่งเสริม ท�ำงานของก้านสมอง (brain stem) ท�ำให้มีการหลั่งสารสื่อ
การผ่อนคลายโดยการฟังดนตรีธรรมะร่วมกับสุวคนธบ�ำบัด ประสาทอื่น ๆ โดยเฉพาะนอร์อิพิเนฟฟินเข้าสู่ prefrontal
ต่อคุณภาพการนอนหลับของผู้สูงอายุ ช่วยเพิ่มคุณภาพการ cortex เพิ่มขึ้น ซึ่งกลไกดังกล่าวถ้ามีการหลั่งโดปามีนและ
นอนหลับของผู้สูงอายุในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม นอร์อิพิเนฟฟินในระดับต�่ำถึงปานกลาง จะท�ำให้ความจ�ำ
ผู้สูงอายุได้ [19] ในขณะที่นันทวัน [20] ศึกษาผลของการฟัง ขณะคิดดีขึ้น [25] โดยมีรายละเอียดของกลไกต่าง ๆ คือ
เพลงธรรมะต่อคุณภาพการนอนหลับของผู้สูงอายุที่เข้ารับ การกระตุ้นวิถีประสาทที่ไปยังสมองส่วนอยาก (ภาพที่ 1)
การรักษาในโรงพยาบาล โดยออกแบบการวิจัยในกลุ่มเดียว เมื่อได้ฟังดนตรีที่พึงพอใจจะไปกระตุ้นการหลั่งโดปามีนโดย
แบบไขว้ เพื่อทดสอบผลของการฟังเพลงธรรมะในเวลาที่ ใช้วถิ ปี ระสาททีเ่ รียกว่า มีโซลิมบิก (mesolimbic pathway)
ต่างกัน โดยทีก่ ลุม่ แรกได้ฟงั เพลงธรรมะใน 3 วันแรก ตามด้วย โดย Ventral tegmental area (VTA) ซึ่งอยู่ในสมองส่วน
ไม่มีการฟังเพลงใน 3 วันหลัง ส่วนกลุ่มหลังจะไม่มีการฟัง กลาง โดยจะหลั่งโดปามีนมากระตุ้น Nucleus accumben
เพลงใน 3 วันแรก และตามด้วยให้มกี ารฟังเพลงใน 3 วันหลัง (NAc) ซึ่งเป็นหนึ่งในพื้นที่สมองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
พบว่าค่าเฉลี่ยคุณภาพการนอนหลับในช่วงที่มีการฟังเพลง ของการได้รบั รางวัลและสิง่ เร้าทีก่ ระตุน้ ให้เกิดความพึงพอใจ
ธรรมะจะมีสูงกว่าในช่วงที่ไม่มีการฟังเพลง ซึ่งจะมีระดับ (ภาพที่ 1) ส�ำหรับประสบการณ์ที่จะกระตุ้น NAc จะเป็น
คะแนนปานกลาง และยังพบว่าเมื่อได้ฟังเพลงผู้สูงอายุจะ ประสบการณ์ที่ท�ำให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
รู้สึกจิตใจสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน รู้สึกคลายเครียด และรู้สึกมีที่พึ่ง
ทางใจ รวมทั้งลืมความไม่สบายใจจากความเจ็บป่วย

ดนตรีกบั วิถปี ระสาททีเ่ กีย่ วข้องกับสมองส่วนอยาก ความจ�ำ


และความเครียด
การฟังดนตรีเป็นวิธกี ารเหนีย่ วน�ำให้เกิดอารมณ์ที่
มีประสิทธิภาพและเป็นสากลมากทีส่ ดุ วิธหี นึง่ [21] การศึกษา
หลาย ๆ เรื่องแสดงให้เห็นว่าการฟังดนตรีท่ีพึงพอใจจะ
กระตุ้นวิถีประสาทที่ไปยังสมองส่วนอยาก (brain reward
ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 83

ภาพที่ 1 ต�ำแหน่ง Nucleus accumben และ Ventral tegmental area [26]

การฟังดนตรีที่พึงพอใจที่มีลักษณะการประสาน ต่อสัญญาณ ณ จุดเชื่อมต่อสัญญาณของเดนไดรท์ติก สไปน์


เสียงของท่วงท�ำนองที่กลมกลืนไม่ขัดหู (consonant) [23] (dendritic spine synapses) ในเซลประสาท pyramidal
ใช้เสียงเมเจอร์ (major key) และมีจังหวะเร็วในระดับ บริเวณ cornu ammonis 1 (CA1) ที่อยู่ใน hippocampus
ปานกลางหรือเร็วขึ้น [2] เป็นเพลงที่ชอบและเลือกฟังด้วย (CA1 pyramidal hippocampal neuron) สนับสนุนให้มี
ตนเอง [27] จะกระตุ้นวิถีประสาทที่ไปยังสมองส่วนอยาก การปรั บ ตั ว ของจุ ด เชื่ อ มต่ อ สั ญ ญาณและการสร้ า งเซลล์
ท�ำให้มีการหลั่งโดปามีนผ่านทาง mesolimbic pathway ประสาท [32] ส่วนการศึกษาในสัตว์ทดลองยังชีใ้ ห้เห็นว่าการ
และมี mesocortical pathway เข้าสู่ prefrontal cortex ฟังดนตรีจะกระตุน้ ให้มกี ารหลัง่ brain derive neurotropic
[25] จึงท�ำให้เกิด long term potentiation [24] คือ factors (BRDF) ใน hypothalamus สมองส่วน prefrontal
กระบวนการที่ชักน�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จุดเชื่อมต่อ cortex (PFC), amydala และ hippocampus เพิ่มขึ้น [33]
สัญญาณเป็นเวลานาน ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญในการสร้างความจ�ำ จึงช่วยส่งเสริมการถ่ายทอดสัญญาณประสาท ท�ำให้เซลล์
ใหม่ ๆ [28] และท� ำ ให้ มี ก ารปรั บ ตั ว ของจุ ด เชื่ อ มต่ อ ประสาทมีการตืน่ ตัว และท�ำให้เกิด long term potentiation
สัญญาณระหว่างฮิปโปแคมปัสกับพรีฟรอนทัล คอร์เทกซ์ (LTP) เพิ่มขึ้น รวมทั้งแสดงให้เห็นว่ามีการเจริญของเซลล์
(hippocampal-prefrontal cortex synaptic plasticity) ประสาท (neurogenesis) บริเวณ cornu ammonis 1 (CA 1),
โดยจะมีการส่งต่อสัญญาณซึง่ กันและกันระหว่าง prefrontal cornu ammonis 2 (CA 2) และ cornu ammonis 3 (CA 3)
cortex และ VTA ในขณะที่มีการกระตุ้นที่ฮิปโปแคมปัส ที่อยู่ใน hippocampus เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ช่วยคงไว้
ส่วนหน้า (ventral hippocampus) ซึง่ เป็นต�ำแหน่งทีต่ ดิ ต่อ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้และความจ�ำปกติ [34] (ภาพที่ 2)
โดยตรงกับ prefrontal cortex [29] แต่ต้องเป็นการหลั่ง
โดปามีนในระดับต�ำ่ ถึงปานกลาง จึงจะท�ำให้ความจ�ำขณะคิด
ดีขึ้น [25]
นอกจากนี้ ก ารฟั ง ดนตรี ที่ พึ ง พอใจยั ง ท� ำ ให้
คอร์ตซิ อลซึง่ เป็นฮอร์โมนทีห่ ลัง่ มากในภาวะเครียดมีปริมาณ
ลดลง [30] จึงสนับสนุนให้เกิดการตกผลึกทางความจ�ำ
(consolidation) ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของการสร้างความจ�ำ
ใหม่ ๆ [31] รวมทั้งท�ำให้เทสโตสเตอโรนและเอสโตรเจนมี
การหลั่งในระดับที่เหมาะสม [30] จึงเหนี่ยวน�ำให้เกิดการส่ง
84 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560

ภาพที่ 2 ต�ำแหน่ง cornu ammonis (CA) และ dentate gyrus ใน hippocampus [35]

จุดประสงค์ของการน�ำดนตรีมาใช้ [36] ดนตรีง่ายขึ้น และเป็นการสร้างความรู้สึกอบอุ่นประทับใจ


1. เพือ่ ท�ำให้ความรูส้ กึ เจ็บปวดลดลง มีความทนทานต่อความ แก่ผู้ป่วย
เจ็บปวดได้มากขึ้น มีความวิตกกังวลและความกลัวลดลง ใช้ 3. จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายที่สุด เจ็บปวดน้อยที่สุด
ยาน้อยลง โดยใช้รว่ มกับ relaxation technique โดยเฉพาะ โดยแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่ใส่สบายไม่อึดอัด ใช้หมอน และ
จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลาย ผ้าห่ม เป็นต้น เพื่อช่วยพยุงปรับให้อยู่ในท่าที่พอดี และเพ่ง
2. ท�ำให้ผู้ป่วยได้ผ่อนคลายจิตใจ มีความสุขเพลิดเพลิน ความสนใจมาที่ดนตรี
ลืมความทุกข์และความเจ็บปวดชั่วขณะ 4. ควรอยูใ่ นห้องทีม่ อี ากาศถ่ายเทสะดวก อุณหภูมเิ ย็นสบาย
ไม่ มี เ สี ย งรบกวน ปรั บ แสงสี ใ นห้ อ งให้ เ ย็ น ตา สะอาด
3. ท�ำให้ผปู้ ว่ ยมีทศั นคติทดี่ ตี อ่ ทีมงานผูร้ กั ษา และแสดงออก
ในด้านดี เรียบร้อย และสวยงาม
4. เพิ่มแรงจูงใจท�ำให้อยากเคลื่อนไหว ให้เกิดผลดีในผู้ป่วย 5. เลือกใช้เครื่องเสียงที่มีคุณภาพ เพื่อที่ผู้ป่วยจะสามารถ
ที่จ�ำเป็นต้องมี early ambulation เพื่อป้องกันภาวะ ใช้ได้เองด้วยตนเองตามสะดวกและปลอดภัย
แทรกซ้อนเนื่องจากความเจ็บปวด 6. จัดเจ้าหน้าที่คอยช่วยเหลือดูแล สอน ให้ค�ำแนะน�ำ และ
ให้ ก� ำ ลั ง ใจผู ้ ป ่ ว ยในขณะที่ ใ ช้ วิ ธี ก ารดนตรี บ� ำ บั ด ร่ ว มกั บ
ขั้นตอนการใช้ดนตรีบ�ำบัดเพื่อระงับอาการปวด [36] เทคนิคการผ่อนคลาย
1. ต้องค�ำนึงถึงความต้องการของผู้ป่วยก่อน ผู้ป่วยควรมี 7. แนะน�ำให้ผู้รับการบ�ำบัดหลับตา และหายใจลึก ๆ รวมทั้ง
ความพร้อมที่จะใช้วิธีดนตรีบ�ำบัด ในบางครั้งที่พบว่าในยาม การผ่อนคลายร่างกาย
ปกติ ผูป้ ว่ ยมีประวัตริ กั เสียงเพลงและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี
แต่เมือ่ มีความเจ็บป่วยผูป้ ว่ ยกลับไม่คอ่ ยตอบสนองต่อดนตรี บทสรุป
เลย หรือปฏิเสธทีจ่ ะฟังดนตรี จึงควรหลีกเลีย่ งวิธนี ใี้ นกรณีที่ ดนตรีบ�ำบัดคือ การใช้กิจกรรมทางดนตรี อาจจะ
ผู้ป่วยไม่ต้องการ เป็นการฟังหรือเล่นดนตรี การร้องเพลง แต่งเพลง เพือ่ บ�ำบัด
2. การส� ำ รวจผู ้ ป ่ ว ยในเรื่ อ งประสบการณ์ ด ้ า นดนตรี ความเจ็บป่วย ฟืน้ ฟูสภาพร่างกาย รวมทัง้ พัฒนาด้านอารมณ์
ความสามารถด้านดนตรี ประเภทเพลงที่ผู้ป่วยชอบ เครื่อง และสติปัญญา เมื่อได้ฟังดนตรีที่พึงพอใจจะไปกระตุ้นการ
ดนตรีหรือเพลงที่ผู้ป่วยคุ้นเคย ซึ่งจะช่วยให้การจัดกิจกรรม หลั่ ง โดปามี น โดยใช้ เ ส้ น ทางที่ เ รี ย กว่ า มี โ ซลิ ม บิ ก
ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 85

(mesolimbic pathway) โดย VTA ซึง่ อยูใ่ นสมองส่วนกลาง วิชาการพยาบาลผูใ้ หญ่, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
โดยจะหลัง่ โดปามีนมากระตุน้ nucleus accumben ซึง่ เป็น สงขลานครินทร์. สงขลา; 2543.
หนึ่งในพื้นที่สมองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการของการได้รับ 8. นันธิดา วัดยิ้ม, เอมพร รตินธร, วรรณา พาหุวัฒนกร,
รางวัลและสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้เกิดความพึงพอใจ ส�ำหรับ เอกชัย โควาวิสารัช. ผลของดนตรีร่วมกับการสร้าง
ประสบการณ์ที่จะกระตุ้น nucleus accumben จะเป็น จินตภาพต่อความเจ็บปวดและพฤติกรรมการเผชิญ
ประสบการณ์ที่ท�ำให้เกิดความสนุกสนาน และเพลิดเพลิน ความเจ็บปวดในระยะที่ 1 ของการคลอดในผู้คลอด
ปัจจุบันได้ใช้ดนตรีเพื่อการลดปวด ลดความวิตกกังวลและ ครรภ์แรก. วารสารสภาการพยาบาล 2557;29(1):
ความเครียด รวมทั้งเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ 95-107.
9. พรรณทิพา ข�ำโพธิ์, นงลักษณ์ จินตนาดิลก, สุดาภรณ์
เอกสารอ้างอิง พยัคฆเรือง, อังคณา วินัยชาติศักดิ์. ดนตรีบ�ำบัดต่อ
1. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ดนตรีบ�ำบัด. ความเจ็บปวดจากการเจาะไขกระดูกในเด็กวัยเรียน.
[อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 19 ก.ค. 2560]. วารสารสภาการพยาบาล 2557;29(1):82-94.
เข้าถึงได้จาก: http://www.pharmacy.mahidol. 10. Smith M, Casey L, Johnson D, Gwede C, Riggin
ac.th/th/knowledge/article/395 OZ. Music as a therapeutic intervention for
2. Matthews BR. The musical brain. In: Goldenberg anxiety in patients receiving radiation therapy.
G, Miller BL, editors. Handbook of clinical Oncol Nurs Forum 2001;28(5):855-62.
Neurology. 3 ed. MA: Elsevier BV; 2008. 11. อุบล จ๋วงพานิช, จุรพี ร อุน่ บุญเรือน, จันทราพร ลุนลุด,
rd

p. 459-69. ทิพวรรณ ขรรศร, ภัทรวุฒิ วัฒนศัพท์. ผลของดนตรี


3. Georgiev D. Photons do collapse in the retina บ�ำบัดต่อความวิตกกังวลและความปวดในผูป้ ว่ ยมะเร็ง
not in the brain cortex: evidence from visual ที่ได้รับยาเคมีบ�ำบัด. วารสารสมาคมพยาบาลแห่ง
illusions. Neuro Quantol 2011;9(2):206-30. ประเทศไทย สาขาภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ
4. Beck SL. The therapeutic use of music for 2555;30(1):46-52.
cancer-related pain. Oncol Nurs Forum 12. แพรศิริ อยู่สุข, จิราพร เกศพิชญวัฒนา. ผลของการ
1991;18(8):1327-37. บ�ำบัดทางการพยาบาลโดยใช้กิจกรรมดนตรีต่อภาวะ
5. Radziewicz RM, Schneider SM. Using diversional ซึ ม เศร้ า ของผู ้ สู ง อายุ โ รคหลอดเลื อ ดสมองชนิ ด
activity to enhance coping. Cancer Nurs ขาดเลือด. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
1992;15(4):293-8. จันทบุรี 2559;27(1):17-27.
6. สมถวิ ล สนิ ท ชน. ผลของดนตรี พื้ น เมื อ งอี ส านต่ อ 13. จิราพร ชลธิชาชลาลักษณ์, พรทิพย์ มาลาธรรม, สมจิต
ความปวดและความวิตกกังวลในผู้ป่วยหลังผ่าตัดจัด หนุเจริญกุล, ชาญ เกียรติบุญศรี. ผลของดนตรีบ�ำบัด
และยึ ด ตรงกระดู ก ภายในแบบเปิ ด . วิ ท ยานิ พ นธ์ ต่อความวิตกกังวล การตอบสนองทางสรีระ และ
ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ตัวแปรในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยระหว่าง
พยาบาลผู ้ ใ หญ่ , บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย หย่าจากเครื่องช่วยหายใจ. รามาธิบดีพยาบาลสาร
ขอนแก่น. ขอนแก่น; 2545. 2553;14(3):328-46.
7. ดวงดาว ดุลยธรรม. ผลของดนตรีบำ� บัดต่อการลดความ 14. สุมลชาติ ดวงบุบผา, สมจิต หนุเจริญกุล, ชาญ เกียรติ
ปวดในผู ้ ป ่ ว ยหลั ง ผ่ า ตั ด ยึ ด ตรึ ง กระดู ก ต้ น ขา. บุญศรี. ประสิทธิภาพของดนตรีบ�ำบัดต่อความวิตก
วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขา กังวล การตอบสนองทางสรีระ ความจุปอด และความ
86 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560

อิ่มตัวของออกซิเจนในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ. 22. Koelsch S. Towards a neural basis of music-


รามาธิบดีพยาบาลสาร 2551;14(3):312-27. evoked emotions. Trends Cogn Sci
15. วรัญญา รุมแสง. ผลของการฟังดนตรีตามความชอบ 2010;14(3):131-7.
และดนตรีธรรมชาติต่อการลดความเครียดของนิสิต 23. Menon V, Levitin DJ. The rewards of music
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรม listening: response and physiological
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์, บัณฑิต connectivity of the mesolimbic system.
วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ; 2547. NeuroImage 2005;28:175-84.
16. สุภีดา โกเมนไทย. ผลของดนตรีตอคุณภาพการนอน 24. Jay TM. Dopamine: a potential substrate for
หลับของผูป ว ยในหอผูป ว ยหนัก. วิทยานิพนธ์พยาบาล synaptic plasticity and memory mechanisms.
ศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการพยาบาล Prog Neurobiol 2003;69:375-90.
อายุ ร ศาสตร แ ละศั ล ยศาสตร , บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย 25. Ashby FG, Valentin VV, Turken AU. The effects
มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ; 2546. of positive affect and arousal on working
17. ทิพวัลย์ ศรีเฉลิม, ทิพวัลย์ ดารามาศ, ศรีสมร ภูมนสกุล. memory and executive attention. In: Moore S,
ผลของดนตรีต่อภาวะหลับตื่นของทารกคลอดก่อน Oaksford M, editors. Emotional cognition: from
ก� ำ หนดในหอผู ้ ป ่ ว ยบ� ำ บั ด วิ ก ฤตทารกแรกเกิ ด . brain to behavior. Amsterdam: John Benjamins;
รามาธิบดีพยาบาลสาร 2554:17(2);178-90. 2002. p. 245-87.
18. สุเนตรา แก้ววิเชียร, ศิริพร สังขมาลย์. ผลของดนตรี 26. The Brain. The pleasure center and affected by
บาํ บัดต่อประสิทธิภาพการนอนและการตอบสนองทาง drugs. [Internet]. 2015 [cite 2017 July 12].
สรีระของผู้ป่วยเด็กวิกฤต. วารสารกองการพยาบาล Available from: http://thebrain.mcgill.ca/flash/
2555:39(2);6-21. i/i_03/i_03_cr/i_03_cr_par/i_03_cr_par.html
19. จุไรรัตน์ ดือขุนทด, สิริลักษณ์ โสมานุสรณ์, วารี กังใจ. 27. Grewe O, Nagel F, Kopiez R, AltenmÜller E.
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการผ่อนคลายโดยการฟัง Listening to music as a re-creative process:
ดนตรีธรรมะร่วมกับสุวคนธบ�ำบัดต่อคุณภาพการนอน physiological, psychological, and
หลับของผูส้ งู อายุในศูนย์พฒ ั นาการจัดสวัสดิการสังคม psychoacoustical correlates of chills and
ผู ้ สู ง อายุ . วารสารวิ ท ยาลั ย พยาบาลบรมราชชนนี strong emotions. Music Perception
กรุงเทพ 2559;32(1):15-30. 2007;243:297-314.
20. นันทวัน มะยะเฉี่ยว. ผลของการฟังเพลงธรรมะต่อ 28. Arshavsky YI. The seven sins of the hebbian
คุณภาพการนอนหลับของผ้สูงอายุในโรงพยาบาล. synapse: can the hypothesis of synaptic plasticity
วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ explain long-term memory consolidation?. Prog
พยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลา Neurobiol 2006;80(3):99-113.
นครินทร์. สงขลา; 2552.
21. Johnsen EL, Tranel D, Lutgendorf S, Adolphs
R. A neuroanatomical dissociation for emotion
induced by music. Int J Psychophysiol
2009;72:24-33.
ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2560 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 87

29. Jay TM, Rocher C, Hotte M, Naudon L, Gurden 34. Kim H, Lee M, Chang H, Lee T, Lee H, Shin M,
H, Spedding M. Plasticity at hippocampal to et al. Influence of prenatal noise and music
prefrontal cortex synapses is impaired by loss on the spatial memory and neurogenesis in
of dopamine and stress: importance for the hippocampus of developing rat. Brain Dev
psychiatric diseases. Neurotox Res 2006;28:109-14.
2004;6(3):233-44. 35. Yasuda Y, Shimoda T, Uno K, Tateishi N, Furuya
30. Fukui H, Toyoshima K. Music facilitate the S, Tsuchihashi Y, et al. Temporal and sequential
neurogenesis, regeneration and repair of changes of glial cells and cytokine expression
neurons. Medical Hypotheses 2008;71:765-9. during neuronal degeneration after transient
31. Lupien SJ, Maheu F, Tu M, Fiocco A, Schramek, global ischemia in rats. J Neuroinflamm
TE. The effects of stress and stress hormones 2011;8:70.
on human cognition: implications for the field 36. โกลเด้นไลฟ์ เนอร์สซิ่งโฮม. ดนตรีบ�ำบัด (music
of brain and cognition. Brain Cogn 2007;65: therapy). [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 12 ม.ค.
209-37. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.pharmacy.
32. Garcia-Segura LM. Hormones and brain mahidol.ac.th/th/knowledge/article/395
plasticity. New York: Oxford University Press;
2009.
33. Li W, Yu H, Yang J, Gao J, Jiang H, Feng M.
Anxiolytic effect of music exposure on
BDNFMet/Met transgenic mice. Brain Res
2010;1347:71-9.

You might also like