Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

บทที่ 3

การไหลของนําบาดาล
้ (Groundwater flow)

ในธรรมชาตินํ้าบาดาลจะมีการเคลื่อนที่หรือไหลไปตามชองวางของหินที่มัน
กักเก็บสะสมตัวอยูด ว ยอัตราความเร็วทีแ่ ตกตางกัน ขึน้ อยูก บั คุณสมบัตแิ ละหลักการทาง
ชลศาสตร การไหลของนําบาดาลเป
้ นการไหลในลักษณะผานตัวกลางทีม่ รี พู รุน (Porous media)
พลังงานหรือแรงทีม่ อี ทิ ธิพลตอการไหลของนํ้าบาดาลทีส่ ําคัญ ไดแก แรงโนมถวงของโลก
(Gravity) ความดันบรรยากาศ และความดันที่เกิดจากนําหนั ้ กของนําที ้ ว่ างกดทับอยู ตลอดจนแรง
ตานทีเ่ กิดจากแรงดึงดูดระหวางโมเลกุล (Molecular attraction) ระหวางผิวของเม็ดตะกอนและนํา้
ทีค่ อยตานทานการไหลของนําบาดาล
้ ปจจัยเหลานี้สงผลตอการไหลของนําบาดาล ้

3.1 ความดันชลศาสตร (Hydraulic head)


นําบาดาลจะไหลจากบริ
้ เวณทีม่ คี วามดันชลศาสตร (Hydraulic head) สูงไปสู
บริเวณทีม่ คี วามดันชลศาสตรตาเสมอ
่ํ ความดันชลศาสตร ณ ตําแหนงใด ๆ ในชั้นหินอุมนํา้
สามารถเขียนเปนสมการได ดังนี้ (รูปที่ 3.1)

" = # + "! ………………………………(3.1)


โดยมี !!! " !!!= ความดันชลศาสตรรวม (Total head)
# !!!= ความดันเนื่องจากระดับความสูงจากระดับนํ้าทะเล
(Elevation head)
!! "! !!!= ความดันเนื่องจากนําหนั
้ กของนํา้ (Pressure head)

รูปที่ 3.1 แสดงความหมายของความดันชลศาสตร (Hydraulic head): total head (h),


elevation head (z) and pressure head (hp) (จาก Fetter, 2001)
71

พิจารณาจากรูปที่ 3.2 ณ ตําแหนง A และ B ซึ่งอยูในชั้นหินอุมนําไม ้ มแี รง


ดัน และ C อยูในชั้นหินอุมนํามี
้ แรงดัน ทัง้ สามตําแหนงอยูที่ระดับความสูงตาง ๆ กัน เมื่อเทียบ
กับระดับนํ้าทะเลมาตรฐาน ถาบอเจาะที่เจาะลงไปที่ตาแหน ํ งทั้งสามมีทอกรองเปดใหนาเข
ํ้ ามา
ในบอเปนบริเวณสั้น ๆ (Short screened interval) แลว นําก็ ้ จะไหลเขามาในบอดวยความดัน
ชลศาสตร ณ ตําแหนงนั้น ๆ จะเห็นไดวา ความดันชลศาสตร (Hydraulic head หรือ head) ณ
ตําแหนง A, B และ C ก็คอื ผลของ (1) ระดับความสูง (elevation) ของระดับนําในบ ้ อเมื่อเทียบกับ
ระดับนําทะเลมาตรฐาน
้ ซึง่ ก็คอื Elevation head " # # นัน่ เอง และ (2) แทงความสูงของนําที ้ อ่ ยู
เหนือตําแหนงชองหรือรูเปดใหนํ้าเขามาในบอ ซึง่ ก็คอื Pressure head ""! # นั่นเอง

!!!!รูปที่ 3.2 ความดันชลศาสตร ณ ตําแหนงตาง ๆ ในชั้นหินอุมนํา้ (จาก Alley et al., 1999)


72

การวัดความดันชลศาสตร ณ ตําแหนงใด ๆ ในชั้นหินอุมนํา้ สามารถทําได


โดยใชเครื่องมือที่เรียกวา เพียซโซมีเตอร (Piezometer) ซึง่ จะมีจาหน
ํ ายในทองตลาดในหลาย ๆ
รูปแบบ โดยมีหลักการทํางานคลายบอเจาะ มีเสนผาศูนยกลางขนาดเล็ก ปลายดานลางมีรเู ปด
ลักษณะเปนรูตาขาย (Screened) ใหนํ้าไหลเขามาในบอ ซึง่ จะแสดงความดันชลศาสตรของชัน้ หิน
อุม นํ้า ณ จุดนั้น ๆ

ตัวอยาง : ขอมูลตอไปนีไ้ ดจากกลุม ของเพียซโซมีเตอร (A, B, C) ทีร่ ะดับความลึกตาง ๆ


เพียซโซมีเตอรแตละตัวอยูห า งกันประมาณ 1-2 เมตร

A B C
ระดับผิวดิน (Surface elevation) (เมตร) 225 225 225
ระดับความลึกของเพียซโซมีเตอร 150 100 75
(Depth of piezometer) (เมตร)
ระดับความลึกของระดับนํา้ (Depth to water) (เมตร) 80 77 60

(1) คํานวณหาความดันชลศาสตร (Hydraulic head) ที่ A, B และ C


จากสมการที่ (3.1) ความดันชลศาสตร ""# หมายถึง ระดับความสูงของนํา้
ในเพียซโซมีเตอร ซึ่งคํานวณไดจากการนําคาระดับความลึกของระดับนําลบออกจากค
้ าระดับผิว
ดิน
ที่ A " = 225 – 80 = 145 เมตร
B " = 225 – 77 = 148 เมตร
C " = 225 – 60 = 165 เมตร

(2) คํานวณหาความดันของนํา้ (Pressure head, "! ) ที่ A, B และ C


จากสมการที่ (3.1) ความดันนํา้ ""! # หมายถึง ความดันที่เกิดจากนําหนั
้ ก
ของนําที
้ ว่ างทับอยูเหนือจุดที่วัด ซึ่งคํานวณไดจากการนําคาระดับความลึกของระดับนํา้ ลบออก
จากคาระดับความลึกของเพียซโซมีเตอร
ที่ A "! = 150 – 80 = 70 เมตร
B "! = 100–77 = 23 เมตร
C "! = 75 – 60 = 15 เมตร
73

(3) คํานวณหา Elevation head (z) ที่ A, B และ C


จากสมการที่ (3.1) Elevation head " # # หมายถึง ความดันจากระดับความสูง
ของตําแหนงที่วัด (เพียซโซมีเตอร) จากระดับนําทะเล
้ ซึ่งคํานวณไดจากการนําคาระดับความลึก
ของเพียซโซมีเตอรลบจากคาระดับความสูงของผิวดิน
ที่ A # = 225 – 150 = 75 เมตร
B # = 225 – 100 = 125 เมตร
C # = 225 – 75 = 150 เมตร

จะเห็นไดวา ความดันชลศาสตร (Hydraulic head หรือ Total head, h) ที่


คํานวณไดในขอ (1) ก็คือ ผลรวมของ Pressure head ""! # ในขอ (2) กับ Elevation head " # #
ในขอ (3) นั่นเอง

(4) คํานวณหาคาลาดชลศาสตรในแนวดิง่ (Vertical hydraulic gradient) ระหวาง


เพียซโซมีเตอร
ลาดชลศาสตรในแนวดิง่ หมายถึง ผลตางของ Total head หารดวยระยะหาง
ในแนวดิง่ (Vertical distance) ระหวางเพียซโซมีเตอร
ผลตางของ Total head ระหวางเพียซโซมีเตอร A และ B มีคาเทากับ 148-145
= 3 เมตร และระยะหางในแนวดิ่ง มีคาเทากับ 150-100 = 50 เมตร ดังนั้น คาลาดชลศาสตรใน
แนวดิ่งก็คือ 3 เมตร/50 เมตร = 0.06 โดยนําบาดาลจะไหลลงจาก
้ B ไปหา A เนื่องจาก Total
head ที่ B มากกวา A สังเกตเพียซโซมีเตอร B จะอยูที่ระดับตื้นกวา A
ผลตางของ Total head ระหวางเพียซโซมีเตอร B และ C มีคาเทากับ 165-148
= 17 เมตร และระหวางในแนวดิง่ มีคาเทากับ 100-75 = 25 เมตร คาลาดชลศาสตรในแนวดิง่ ก็คือ
17 เมตร/25 เมตร = 0.68 โดยนํ้าบาดาลจะไหลลงจาก C ไปหา B เชนกัน

ความดันชลศาสตร (Total head) เปนตัวการสําคัญในการควบคุมการไหล


เคลือ่ นทีข่ องนํ้าบาดาล โดยจะไหลจากจุดทีม่ คี วามดันชลศาสตรสงู ไปสูจ ดุ ทีม่ คี วามดันชลศาสตร
ตําเสมอ
่ และไมขน้ึ อยูก บั Elevation head หรือ Pressure head โดยตรง ในสภาพทีแ่ ตกตางกัน
Elevation head และ Pressure head อาจจะมีคาที่แตกตางกัน แต Total head จะเปนตัวควบคุมการ
ไหลของนํ้าบาดาลเสมอ พิจารณารูป 3.3 ในกรณี A นําจะไหลจากจุ ้ ดที่ 1 " #$ # ไปหาจุดที่ 2
" #% # โดย #% มีคามากกวา #$ ในกรณี B นําไหลจากจุ
้ ดที่ 1 ""! # ไปหาจุดที่ 2 ""! # โดย
$ %

"! มีคามากกวา "! ในกรณี C คา #$ เทากับ #% ในขณะที่ "! มากกวา "! และในกรณี D
% $ $ %
74

คา "! เทากับ "! ในขณะที่ #$ มากกวา #% จะเห็นไดวา นํ้าบาดาลจะไหลจากจุดทีม่ ี Total


$ %

head มากไปสูจุดที่มี Total head นอยเสมอ ในขณะที่ Elevation head และ Pressure head อาจจะ
มากหรือนอยแตกตางกันออกไปแลวแตละกรณี

รูปที่ 3.3 นําบาดาลจะไหลจากบริ


้ เวณทีม่ ี Hydraulic head (Total head) สูงไปสูบริเวณที่มี
!!!!Hydraulic head ตําเสมอ
่ โดยไมขึ้นอยูกับ Elevation head หรือ Pressure head
!!!!ซึง่ อาจเปลี่ยนแปลงในแตละกรณี (จาก Fetter, 2001)
75

3.2 กฎของดารซี (Darcy’s Law)


เมื่อป ค.ศ.1856 Henry Darcy วิศวกรชาวฝรัง่ เศส ไดทาการศึ ํ กษา
พฤติกรรมการไหลของนําผ ้ านวัสดุทม่ี รี พู รุน (Porous media) โดยทําการทดลองในชัน้ ทราย และ
ไดรายงานผลการศึกษาวา อัตราการไหลของนํ้าผานวัสดุทม่ี รี พู รุน จะแปรผันตรงกับการลดลง
ของความดันชลศาสตร (Head loss) และแปรผกผันกับระยะทางหรือความยาวที่นํ้าไหลผาน
นอกจากนั้น ปริมาณการไหลของนํ้าจะขึน้ อยูก บั คาสัมประสิทธิข์ องการซึมได (Hydraulic
conductivity, $ ) ของวัสดุนน้ั ๆ
เครือ่ งมือทดลองของดารซี แสดงในรูป 3.4 โดยมี % เปนอัตราการไหล A
เปนพืน้ ที่หนาตัดของกระบอกทรงกลมบรรจุทราย และ & เปนระยะทางการไหล ซึง่ จากการ
ทดลองดารซพี บวา
$
% !α !"' & "( และ % !!α !!
&
ซืง่ สามารถเขียนในรูปสมการ

% = − $) 
" − "(  !!!………………………………(3.2)

'

 & 
 *" 
หรือ % = − $)   !!!!!!!!!!!!!………………………………(3.3)
 *& 

รูปที่ 3.4 การทดลองตามกฎของดารซี (จาก Fetter, 2001)


76

*"
โดยมี = ลาดชลศาสตร (Hydraulic gradient, i) (L/L)
*&

เครือ่ งหมาย (-) แสดงทิศทางการไหลของนํ้าไปตามทิศทางทีค่ วามดัน


ชลศาสตรลดลง!!!!สมการ (3.3) อาจเขียนในรูปของ

% *"
+= = −$ = − $, !!!!!!!!!!………………………………(3.4)
) *-

โดยมี + =!!!ความเร็วของการไหล (L/T)


% =!!!ปริมาณหรืออัตราการไหล (L3/T)
) =!!!พืน้ ที่หนาตัด (L2)

3.2.1 Darcian velocity v.s. Seepage velocity


ความเร็วของการไหล (V) ตามสมการที่ (3.4) เรียกวา Darcian velocity
(Specific discharge) เนือ่ งจากเปนความเร็วของนํ้าที่ไหลผานพื้นที่หนาตัดทั้งหมด โดยไมคานึ
ํ ง
ถึงสวนทีเ่ ปนของแข็ง (เม็ดทราย) หรือสวนทีเ่ ปนชองวาง (Pores) ซึ่งจริง ๆ แลว นําจะไหลผ
้ าน
เฉพาะในสวนของชองวางเทานัน้ ดังนั้น Seepage velocity หรือ Average linear (intersticial)
velocity (Va) ซึง่ คํานึงถึงการไหลเฉพาะในสวนของชองวางเทานัน้ จะมีคาเทากับ

% $*"
+' = =− !!!………………………………(3.5)
.) .*-

โดยมี . = ความพรุน (Porosity)


+' = Average linear velocity (L/T ; cm/s, ft/s, m/s)

ซึง่ แสดงวา ในกรณีทรายทีม่ คี วามพรุนเทากับ 33% คา +' = '+ การหาคา


ความเร็วการไหลจริง (Actual flow velocity) เปนสิ่งที่ยาก เนือ่ งจากโครงสรางทีย่ งุ ยากของชอง
วางหรือรูพรุนทีม่ อี ยู สงผลใหความเร็วการไหลแตละตําแหนงแตกตางกันออกไปและไมคงที่

3.2.2 Reynolds number


โดยทัว่ ไปแลวการไหลของนํ้าจะมี 2 รูปแบบ คือ
77

(1) Laminar flow เปนรูปแบบการไหลของนําที ้ ่มีแนวทิศทางการไหลของ


นํา้ (Flow path) ขนานไปทิศทางเดียวกัน (รูปที่ 3.5) ไมปะปนกัน จะเกิดขึ้นในกรณีที่มีความเร็ว
ของการไหลนอย
(2) Turbulent flow เปนรูปแบบการไหลของนําที ้ ่มีแนวทิศทางการไหล
ของนําไม
้ แนนอน ปะปนกัน ไมมีรูปแบบที่แนนอน (รูปที่ 3.5) จะเกิดขึ้นในกรณีที่การไหลมี
ความเร็วมาก และลาดชลศาสตรมคี ามาก เชน การไหลในรอยแตกใหญ ๆ หรือในโพรง

รูปที่ 3.5 !!!การไหลแบบ (A) Laminar และ (B) Turbulent flow (จาก Fetter, 2001)

โดยหลักการแลว กฎของดารซีจะใชไดดี หรือใชศกึ ษาถึงการไหลของนํา้


บาดาล ก็ตอ เมือ่ การไหลของนําบาดาลนั
้ น้ เปน Laminar flow สําหรับการพิจารณารูปแบบการ
ไหล สามารถดูไดจาก Reynolds number กลาวคือ

ρ /*
0= !!!………………………………(3.6)
µ
โดย,u 0 = Reynolds number, ไมมหี นวย
!! ρ = ความหนาแนนของของเหลว (Fluid density) (M/L3 ; kg/m3)
!! / !!!= ความเร็วของการไหล (Discharge velocity) (L/T ; m/s)
* = เสนผาศูนยกลางของชองวางทีข่ องเหลวไหลผาน (L ; m)
µ = ความหนืดของของเหลว (Fluid viscosity) (M/TL ; kg/s.m)

ในกรณีการไหลของนํ้าบาดาล เนื่องจากวาเปนการยากที่จะหาคา * ซึง่ เปนเสนผาศูนย


กลางของชองวางทีน่ ้ําบาดาลไหลผาน จึงอนุโลมใชคาเสนผาศูนยกลางของเม็ดตะกอนแทน โดย
78

ปกติแลว การไหลของนําบาดาลทั
้ ว่ ไป จะมีคา Reynolds number นอยกวา 1 ซึง่ สามารถนํากฎ
ของดารซมี าใชในการคํานวณศึกษาไดอยางถูกตอง โดยกฎของดารซสี ามารถใชไดอยางถูกตอง
ในชวงของ Reynolds number ตั้งแต 1-10 ดังนั้น กฎของดารซจี งึ สามารถใชไดดใี นการศึกษา
การไหลของนํ้าบาดาลในชั้นหินอุมนําทั
้ ่ว ๆ ไป อาจจะมีกรณีของการไหลของนําบาดาล ้ เชน
ในรอยแตกหรือในโพรง หรือกรณีการไหลรอบ ๆ บอนํ้าบาดาลเมือ่ มีการสูบนํ้า ซึ่งอาจจะมี
ความเร็วของการไหลสูง และทําใหการคํานวณโดยใชกฎของดารซอี าจผิดพลาดไปไดบาง

3.2.3 Intrinsic permeability


ถาพิจารณาคาสัมประสิทธิข์ องการซึมได (Hydraulic conductivity, $ ) ตาม
กฎของดารซี จะเห็นไดวา คา $ จะขึน้ อยูกับคุณสมบัติของของเหลว (Fluid) และวัสดุตวั กลาง
(Medium) ทีข่ องเหลวไหลผาน ในกรณีที่ของเหลวเปนของเหลวที่มีความหนืด (Viscosity, µ )
สูง ของเหลวนั้นก็ยอมจะเคลื่อนที่ไดชา ตัวอยางเชน นํามั
้ นจะเคลือ่ นทีไ่ ดชา กวานํา้ นอกจากนี้
จากการทดลองยังพบวาอัตราการไหลของของเหลว นอกจากจะขึ้นอยูกับความหนืดแลว ยังขึ้น
อยูกับความถวงจําเพาะ (Specific weight, γ ) ของของเหลว และยังขึ้นอยูกับขนาดเสนผาศูนย
กลางของเม็ดตะกอน (d) ที่มันไหลผานดวย กลาวคือ % !α !* % ( !% !α !γ และ % !α !$) µ
สมการตามกฎของดารซีจึงอาจเขียนใหมไดในรูปของ

1* %γ ) *"
%=− !!!………………………………(3.7)
µ *-

โดยคาคงที่ 1 เรียกวา Shape factor คา 1 และ * % จะขึน้ อยูก บั คุณสมบัติ


ของวัสดุตวั กลาง ในขณะที่คา γ และ µ จะขึน้ อยูกับคุณสมบัติของของเหลว ดังนั้น เพื่อให
เห็นความแตกตางของคาสัมประสิทธิข์ องการซึมไดทข่ี น้ึ อยูเ ฉพาะกับคุณสมบัตขิ องวัสดุตวั กลาง
ํ า Intrinsic permeability (Ki) เพือ่ แยกออกจาก Hydraulic conductivity (K) ซึง่
เทานั้น จึงใชคาว
ขึน้ อยูก บั คุณสมบัตทิ ง้ั ของเหลวและวัสดุตวั กลาง

ดังนั้น Intrinsic permeability (Ki) สามารถเขียนเปนสมการได ดังนี้


$ , = 1* % !!!………………………………(3.8)
โดยมิติของคา $ คือ ( L2 ; f t ,2 m , c2m ) หรือพื้นที่นั่นเอง
,

ความสัมพันธระหวางคา $ และ $, คือ


79

γ 
!!!!! $ = $ ,   !!!………………………………(3.9)
  µ
 ρ2 
หรือ $ = $,   !………………………………(3.10)
 µ 
โดยคา ρ = ความหนาแนน (Density)
2 = แรงโนมถวงของโลก (Gravity)

ในอุตสาหกรรมนํามั
้ น จะใชหนวยดารซีเปนหนวยวัดของคา Intrinsic
permeability (Ki) โดย

$!34 × $!35' ) 6
$!*'738 = $!35 %
!!!!!!!!!!$!'95 )$!35 !!!!!!!

โดยมี = Centipose (a unit of viscosity)


34
'95 = Atmosphere (a unit of pressure)

เนือ่ งจาก 1 34 = 0.01 dyn.s/cm2


และ 1 '95 = 1.0132 × 106 dyn/cm2

ดังนั้น
1 darcy = 9.87 × 10-9 cm2

ตัวอยางคา Hydraulic conductivity " $ # ในตัวอยางหินทัว่ ไป แสดงใน


ตารางที่ 3.1 คา Intrinsic permeability " $, # และคา Hydraulic conductivity " $ # ของ
ตะกอนบางชนิดแสดงในตารางที่ 3.2 และคาคงที่สาหรั ํ บแปลงคาหนวยตาง ๆ ของคา $
แสดงในตารางที่ 3.3
80

ตารางที่ 3.1 Hydraulic conductivity (K) ในหินตาง ๆ (จาก Todd, 1980)

หิน Hydraulic conductivity (K), m/d


Gravel, coarse 150
Gravel, medium 270
Gravel, fine 450
Sand, coarse 45
Sand, medium 12
Sand, fine 2.5
Silt 0.08
Clay 0.0002
Sandstone, fine-grained 0.2
Sandstone, medium-grained 3.1
Limestone 0.94
Dolomite 0.0001
Dune sand 20
Loess 0.08
Peat 5.7
Schist 0.2
Slate 0.00008
Till, mainly sand 0.49
Till, mainly graved 30
Tuff 0.2
Basalt 0.01
Gabbro, weathered 0.2
Granite, weathered 1.4
81

ตารางที่ 3.2 Intrinsic permeability (Ki) และ Hydraulic conductivity (K) ของหินบางชนิด
(จาก Fetter, 2001)

หิน Ki (darcys) K (cm/s)


Clay 10-6 – 10-3 10-9 – 10-6
Silt, sandy silts, clayey sands, till 10-3 – 10-1 10-6 – 10-4
Silty sands, fine sands 10-2 – 1 10-5 – 10-3
Well-sorted sands, glacial outwash 1 – 102 10-3 – 10-1
Well-sorted gravel 10 – 103 10-2 - 1

ตารางที่ 3.3 Conversion values for hydraulic conductivity (จาก Fetter, 2001)

1 gal/day/ft2 = 0.0408 m/day


1 gal/day/ft2 = 0.134 ft/day
1 gal/day/ft2 = 4.72×10-5 cm/s
1 ft/day = 0.305 m/day
1 ft/day = 7.48 gal/day/ft2
1 ft/day = 3.53×10-4 cm/s
1 cm/s = 864 m/day
1 cm/s = 2,835 ft/day
1 cm/s = 21,200 gal/day/ft2
1 m/day = 24.5 gal/day/ft2
1 m/day = 3.28 ft/day
1 m/day = 0.00116 cm/s
82

3.2.4 วิธกี ารหาคาสัมประสิทธิ์ของการซึมได (Measurement of hydraulic conductivity)


การหาคาสัมประสิทธิ์ของการซึมไดของชั้นหินอุมนํ้าสามารถทําไดหลายวิธี
ซึง่ รวมถึงการใชสตู ร การทดลองในหองปฏิบัติการ การใชสารติดตาม การทดสอบโดยใชบอขุด
และการสูบทดสอบจากบอเจาะ
(1) วิธกี ารใชสตู ร (Formulas) ไดมกี ารศึกษาเปนจํานวนมากเพือ่ หาความ
สัมพันธระหวางคาสัมประสิทธิข์ องการซึมไดกบั คุณสมบัตขิ องวัสดุตวั กลาง และนําความ
สัมพันธดังกลาวมากําหนดเปนสูตรสําหรับคํานวณหาคาสัมประสิทธิข์ องการซึมได ซึง่ สวนใหญ
ความสัมพันธหรือสูตรดังกลาวจะอยูใ นรูปของ

$ = 3* % !………………………………(3.11)

โดยมี 3 = เปนคาสัมประสิทธิ์คงที่
* = เปนคุณสมบัติจาเพาะของเส
ํ นผาศูนยกลางของเม็ดตะกอนหรือ ตัวกลาง

ตัวอยางเชน กรณีสตู รของ Hazen method ซึ่งไดทาการศึ


ํ กษาในตะกอนทราย
ที่มี Effective grain size "*$* # อยูระหวาง 0.1 และ 3.0 มิลลิเมตร ไดเสนอสูตรสําหรับการ
คํานวณ ดังนี้
$ = 1 "*$* # % !………………………………(3.12)

โดยมี $ = สัมประสิทธิข์ องการซึมได (cm/s)


*$* = Effective grain size (cm)
1 = คาสัมประสิทธิ์ ซึง่ มีคา ตามตารางตอไปนี้

Very fine sand, poorly sorted 40-80


Fine sand with appreciable fines 40-80
Medium sand, well sorted 80-120
Coarse sand, poorly sorted 80-120
Coarse sand, well sorted, clean 120-150
83

โดย *$* (Effective grain size) หมายถึง ขนาดของเม็ดทรายที่ 90% จะ


ประกอบไปดวยเม็ดทรายที่มีขนาดเล็ก และ 10% จะประกอบไปดวยเม็ดทรายที่มีขนาดใหญ

อยางไรก็ตาม เนือ่ งจากเม็ดตะกอนหรือตัวกลางในธรรมชาติมคี วามหลาก


หลาย จึงเปนการยากที่จะกําหนดคุณสมบัติที่จาเพาะ
ํ สําหรับเม็ดตะกอน ทําใหการใชสตู รในการ
คํานวณหาคาสัมประสิทธิข์ องการซึมไดมคี วามผิดพลาดไดงา ย จึงนิยมทีจ่ ะใชวธิ กี ารอืน่ มากกวา

(2) วิธกี ารหาในหองปฏิบัติการ (Laboratory methods) โดยการใชเครือ่ ง


มือทีเ่ รียกวา Permeameter (รูปที่ 3.6) ซึง่ แยกออกเปน 2 ประเภท คือ (ก) Constant head
permeameter และ (ข) Falling head permeameter ซึง่ สามารถใชทาการวั ํ ดไดทง้ั ตัวอยางทีเ่ ปน
หินรวนและหินแข็ง และมีหลักการทํางานดังนี้
(ก) Constant head permeameter โดยปลอยใหนําไหลผ้ านตัวอยางซึง่
บรรจุในภาชนะทรงกระบอก (รูปที่ 3.6 a) นําจะไหลผ
้ านตัวอยางขึน้ มาจากดานลาง ภายใตความ
ดันชลศาสตรที่คงที่ (Constant head) นําที
้ ไ่ หลผานตัวอยางขึน้ มา ก็จะไหลออกไปเก็บรวบรวมใน
ภาชนะทีร่ องรับ จากกฎของดารซี คา $ สามารถคํานวณไดจาก
+&
$= !………………………………(3.13)
)9"

โดยมี ้ ไ่ หลผานในชวงเวลา t (L3 ; cm3 และ T ; s)


+ !!= ปริมาตรของนําที
้ ที่หนาตัดของตัวอยาง (L2 ; cm2)
) !!= พืน
!!! & !! = ความยาวของตัวอยาง (L ; cm )
" !!!= ความดันชลศาสตร (L ; cm)
$ !!= สัมประสิทธิข์ องการซึมได (L/T ; cm/s)
t = เวลาที่ทาการทดลอง
ํ (T ; s)

(ข) Falling head permeameter โดยการเติมนําลงไปในท


้ อสูง (รูปที่
3.6 b) และนําก็
้ จะไหลผานตัวอยางขึน้ มาจากดานลางเชนกัน และเก็บรวบรวมในภาชนะที่รองรับ
ในการทดลองจะทําการบันทึกอัตราการลดลงของระดับนํา้ (Rate of falling head) ซึง่ อัตราการ
ไหลของนํ้าในทอ "% # จะเทากับ
*"
% !+π 79 % !………………………………(3.14)
*9
84

ซึง่ อัตราการไหลนีจ้ ะเทากับอัตราการไหลออกทีผ่ า นตัวอยางออกมา ซึง่ จากกฎของดารซี อัตรานี้


จะมีคาเทากับ
"
!!!!!! % = π 73% $ !………………………………(3.15)
&

ดังนัน้ สมการที่ (3.14) จะมีคาเทากับ สมการที่ (3.15) และเมื่อ Integrate


สําหรับเงื่อนไข 9 ตั้งแต 9* ถึง 9 และ " ตั้งแต "$ ถึง "% จะได
79 % & "$
!!!!!! $ = ,- !………………………………(3.16)
73%9 "%
โดยมี $ = สัมประสิทธิข์ องการซึมได (L/T ; cm/s)
& = ความยาวของตัวอยาง (L ; cm)
!!!! 9 !!!!= เวลาทีค่ วามดันชลศาสตรลดจาก h1 ถึง h2 (T ; s)
"$ = ความดันชลศาสตรเริม่ ตน (L ; cm)
"% = ความดันชลศาสตรสดุ ทาย (L ; cm)
!!! 79 = รัศมีดานในของทอ (Falling head tube) (L ; cm)
!!! 73 = รัศมีดา นในของตัวอยาง (L ; cm)

รูปที่ 3.6 !!!Constant head และ Falling permeameter (จาก Todd, 1980)
85

คาสัมประสิทธิข์ องการซึมได ที่ไดจากการทดลองในหองปฏิบัติการ อาจแตกตาง


จากคาทีไ่ ดจากการหาในภาคสนามโดยวิธอี น่ื ทั้งนี้ เพราะตัวอยางทีน่ ามาทํ
ํ าการทดลองในหอง
ปฏิบตั กิ าร อาจจะถูกรบกวนโดยกระบวนการเก็บและการเตรียมตัวอยาง ทําใหมีการเปลี่ยนแปลง
ทัง้ ในสวนของความพรุน การคลุกเคลาเรียงตัวของเม็ดตะกอน ซึง่ จะสงผลตอคาสัมประสิทธิข์ อง
การซึมได นอกจากนี้ ตัวอยางทีน่ ํามาทดลองในหองปฏิบัติการ เนื่องจากมีขนาดเล็กก็อาจจะไม
ใหคา ทีเ่ ปนตัวแทนของชั้นหินอุมนําทั
้ ้งหมด ประกอบกับในชั้นหินอุมนําแต
้ ละชัน้ ก็จะมีคุณ
สมบัตแิ ตกตางกันออกไปตามกระบวนการทางธรณีทค่ี วบคุมการสะสมตัวของชัน้ หินอุม นํา้

ตัวอยาง : ในกรณีการทดลองโดย Constant head permeameter โดยใหนํา้


ไหลผานตัวอยางทราย ยาว 15 เซนติเมตร และมีพื้นที่หนาตัด 25 ตารางเซนติเมตร มีความดันชล
ศาสตร (Head) ที่ 5.0 เซนติเมตร ในเวลา 12 นาที ปรากฏวามีน้าไหลผ
ํ านตัวอยาง จํานวน 100
มิลลิลติ ร จงหาคาสัมประสิทธิข์ องการซึมได

จากสมการ (3.13)

+&
$=
)9"
$**35' ×$.35
$=
%.35% ×$% /0-× 1*6 ) /0-× .35
= $23 × $*−$% 35 ) 6

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!หรือ 14 m/day

ในกรณีของ Falling head permeameter ใหนํ้าไหลผานตัวอยางทรายละเอียด


ทีม่ เี สนผาศูนยกลาง 10 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลางของทอนํา้ (Falling head
tube) เทากับ 2.0 เซนติเมตร ระดับความดันชลศาสตรเริ่มตน h1 อยูที่ 5.0 เซนติเมตร เวลาผานไป
528 นาที ระดับความดันชลศาสตรลดลงมาที่ (h2) อยูท ี่ 0.5 เซนติเมตร จงหาคาสัมประสิทธิ์ของ
การซึมได
79 % & "$
จากสมการ (3.16) $ = % ,-
73 9 "%
86

%2*% 35 % $.35 .2*35


$= × × ,-
$*% 35% .%45,. × 1* 6 ) 5,. *2.*35

!!! = 525 ×$*−. 35 ) 6 หรือ '24 ×$*−% 5 ) *'8

(3) วิธกี ารใชสารติดตาม (Tracer tests) เปนวิธกี ารหาคาสัมประสิทธิข์ อง


การซึมไดในภาคสนาม โดยทําการวัดระยะเวลาทีส่ ารติดตาม (Tracer) เดินทางระหวางตําแหนง
หรือจุดวัดสองจุด สารติดตามทีน่ ยิ มใชไดแก Sodium Fluorescein หรือ Calcium chloride รูปที่
3.7 แสดงวิธกี ารดังกลาว โดยการปลอยสารติดตามลงในบอ A หลังจากนั้นทําการเก็บตัวอยางนํา้
จากบอ B เพื่อหาระยะเวลาที่สารติดตามใชในการเดินทางจากบอ A ถึง B เนือ่ งจากสารติดตาม
เคลือ่ นที่หรือไหลผานชั้นหินอุมนํา้ โดยความเร็วของ Seepage velocity, Va, ซึ่งมีคา
$ "
+' = !………………………………(3.17)
. &

โดยมี $ !!= Hydraulic conductivity


! . = Porosity
!!!!!! "( & ! !!แสดงในรูป

!!!!!ในขณะเดียวกัน จากรูป
+' = & ) 9 ………………………………(3.18)
โดยมี 9 !!= ระยะเวลาของการเดินทางของสารติดตาม

!!!!!!!!!!!!!!!!สมการ (3.17) จึงเทากับสมการ (3.18) ดังนั้น

$ " &
=
. & 9
!.&%
$= !!!!!!!!!………………………………(3.19)
"9
87

รูปที่ 3.7 !!!การหาคาสัมประสิทธิข์ องการซึมไดโดยการใชสารติดตาม (Tracer tests)


(จาก Todd, 1890)

วิธกี ารโดยใชสารติดตามนี้ มีขอจํากัดหลายประการ อาทิ


(1) บอทดสอบควรจะตองอยูใ กลกนั ไมเชนนั้นระยะทางที่ใชในการเดิน
ทางของสารติดตามอาจใชเวลานานมาก
(2) จําเปนตองทราบทิศทางการไหลที่แนนอนของนําบาดาล ้ หรือไมเชนนั้น
ก็จาเป
ํ นตองใชบอสังเกตการณจานวนหลาย
ํ ๆ บอ ซึ่งก็จะมีคาใชจายเพิ่มขึ้นมาก
(3) ชัน้ หินอุมนําอาจจะมี
้ หลายชัน้ แทรกเรียงตัวกันอยู และมีคา สัมประสิทธิ์
ของการซึมไดแตกตางกันในแตละชัน้ คา $ ทีค่ านวณได ํ จะเปนของชั้นที่มีคา $ สูงสุด เพราะ
สารติดตามจะเคลื่อนที่ในชั้นนี้งายที่สุด ทําใหคา $ ทีไ่ ดจะสูงกวาคาเฉลี่ยที่เปนจริงของชั้นหิน
อุม นํ้าทัง้ หมด

(4) วิธกี ารสูบทดสอบ (Pumping tests) เปนวิธกี ารทีไ่ ดรบั การยอมรับมากที่


สุดวาใหคา สัมประสิทธิข์ องการซึมไดของชัน้ หินอุม นํ้าไดอยางถูกตอง โดยการสังเกตและตรวจ
88

วัดระดับนําในบริ
้ เวณใกลเคียงกับบอที่มีการสูบนํา้ การเปลี่ยนแปลงของระดับนําจะขึ
้ ้นอยูกับ
สัมประสิทธิข์ องการซึมได " $ # และเนื่องจากคา $ ทีไ่ ดจะเปนคาเฉลี่ยรวมของชั้นหินอุมนํา้
ตลอดจนชั้นหินอุมนํ้าไมถกู รบกวน จึงทําใหความถูกตองมากกวาคา $ ทีไ่ ดจากการหาจากหอง
ปฏิบตั กิ ารและวิธกี ารอืน่ รายละเอียดของการสูบทดสอบปรากฏในบทที่ 4

3.3 อัตราการเคลื่อนที่ของนําบาดาล
้ (Groundwater flow rates)
จากกฎของดารซีจะเห็นไดวา อัตราการเคลื่อนที่ของนํ้าบาดาลจะขึ้นอยูกับ
สัมประสิทธิข์ องการซึมไดของชัน้ หินอุม นํ้าและลาดชลศาสตรของการไหล เพื่อที่จะใหภาพของ
ความเร็วของการไหลของนํ้าบาดาลตามธรรมชาติ โดยพิจารณากรณีตวั อยางของชัน้ หินอุม นํา้
ประเภทกรวดทรายที่มีคา $ = 75 เมตร/วัน ลาดชลศาสตร (i) = 10 เมตร/1,000 เมตร = 0.01 จาก
สมการ (3.4) จะได
+ = $, != 75(0.01) = 0.75 เมตร/วัน

ซึง่ มีคา เทากับประมาณ 0.5 มิลลิเมตร / นาที แสดงวานําบาดาลจะไหลหรื


้ อเคลือ่ นทีใ่ นธรรมชาติ
ดวยอัตราความเร็วทีน่ อ ยมาก ในทํานองเดียวกัน ถานําบาดาลซึ
้ ง่ เคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราความเร็วดัง
กลาวขางตน ไหลตั้งฉากผานพื้นที่หนาตัดของชั้นหินอุมนําดั
้ งแสดงในรูปที่ 3.8 สามารถคํานวณ
ปริมาณนํ้าบาดาลทีไ่ หลผานไดจากสมการ (3.4) ดังนี้
% = )+ = (50) (1,000) (0.75) = 37,500 ลูกบาศกเมตร/วัน

หรือเทากับ 0.43 ลูกบาศกเมตร / วินาที ซึง่ แสดงใหเห็นเชนกันวานําบาดาลจะเคลื


้ อ่ นทีต่ าม
ธรรมชาติดวยอัตราความเร็วทีน่ อ ยมาก

ความเร็วของการไหลของนํ้าบาดาลจะแตกตางกันมาก ขึน้ อยูก บั สภาพธรณี


วิทยาของแตละพืน้ ที่ ปกติจะมีความเร็วตั้งแต 2 เมตร / ป ถึง 2 เมตร / วัน ความเร็วจะลดลง
เมือ่ ความลึกเพิม่ เนือ่ งจากความพรุนและความซึมไดของหินจะลดลง ความเร็วของการไหลอาจ
จะนอยมาก ๆ ไปจนถึงความเร็วสูงมาก (Turbulent flow) อาทิ ในกรณีของการไหลของนําบาดาล ้
ในโพรงหินปูนหรือบะซอลต บอนําบาดาลจะเป
้ นกลไกหนึง่ ทีท่ าให
ํ ความเร็วของการไหลเพิม่
มากขึน้ ได โดยเฉพาะบริเวณรอบ ๆ บอซึง่ จะไดกลาวโดยละเอียดตอไป
89

รูปที่ 3.8 !!!กรณีตวั อยางเพื่อพิจารณาความเร็วของการเคลื่อนที่ของนําบาดาล


้ โดยมีทศิ ทาง
!การไหลตัง้ ฉากกับพื้นที่หนาตัดขวางของชั้นหินอุมนํา้ (ตั้งฉากกับหนากระดาษ)
!(จาก Todd, 1980)

พิจารณารูปที่ 3.9 ซึง่ มีชน้ั หินอุม นํ้าไมมแี รงดัน วางอยูบนชั้นหินอุมนํามี


้ แรง
ดัน โดยมีชั้นหินตานนําแทรกอยู
้  ระดับนํ้าบาดาล (Water table) มีระดับสูงกวาระดับความดัน
(Potentiometric หรือ Piezometric surface) ดังนั้น นําบาดาลจะเคลื
้ ่อนที่ในแนวดิ่ง จากชั้นหินอุม
นําไม
้ มีแรงดันผานชั้นหินตานนํ้าเขาสูชั้นหินอุมนํามี
้ แรงดัน จากกฎของดารซพี จิ ารณาจาก
ตําแหนง A ไป B โดยมีระยะทางตามที่ปรากฏในรูป จะได

*" %3 − ":
+ =$ = $* ............................. (3.20)
*- %3
และจากตําแหนง B ไป C จะได
*" " + . − '*
+ =$ = *2% : ............................. (3.21)
*- .

จากสมการทัง้ สอง (3.20) และ (3.21) จะได ": = 26.8 เมตร และ
+ = 0.07 เมตร / วัน
90

รูปที่ 3.9 !!!แสดงการใชกฎของดารซีในการประยุกตใชกับการไหลของนําบาดาลในแนวดิ


้ ่ง
!(จาก Todd, 1980)

3.4 ทิศทางการไหลและตาขายการไหล (Flow directions and flow nets)


ทิศทางการไหลของนํ้าบาดาลในชั้นหินอุมนําสามารถแสดงได
้ โดย เสนทิศ
ทางการไหล (Flow lines) ซึง่ เปนเสนสมมติที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงทิศทางการไหล แผนที่ที่
ประกอบดวยเสนทิศทางการไหลและ เสนที่มีระดับแรงดันเทากัน (Equipotential lines) เรียกวา
ตาขายการไหล (Flow nets) (รูปที่ 3.10) ซึง่ ใหประโยชนในการพิจารณาภาพรวมของการ
เคลือ่ นทีห่ รือทิศทางการไหลของนํ้าบาดาลในพื้นที่นั้น ๆ พืน้ ทีร่ ะหวางเสนทิศทางการไหลสอง
เสนที่อยูติดกัน เรียกวา ชองการไหล (Flow channel)
91

รูปที่ 3.10 ตาขายการไหล (Flow nets) (จาก Todd, 1980)

พิจารณารูปที่ 3.10 จะไดวา


*"
!! , = ! ............................. (3.22)
*6
*"
และ ;=$ *5 ! ............................. (3.23)
*6
และถาให *6 = *5
สมการ (3.23) จะเหลือเปน
; = $*" ! ............................. (3.24)
ถาพิจารณาในชองการไหล (Flow channel) 1 ชอง ความดันชลศาสตรทง้ั หมด
ที่ลดลง (Total head loss, " ) จะลดลงโดยแบงออกตามจํานวนของพื้นที่สี่เหลี่ยม ".# ที่อยูใน
ชองการไหลนัน้ ๆ ดังนั้น
"
*" = ! ............................. (3.25)
.

และถาให 5 เปนจํานวนชองการไหล สามารถหาอัตราการไหลของนํ้า


บาดาลทั้งหมด "% # ทีผ่ า นตาขายการไหลนีไ้ ดจาก

$5"
% = 5; = !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!! ............................. (3.26)
.
92

โดยมี !!!!!!!!!!!!!!! % !!= อัตราการไหลทัง้ หมด (L3/T ; m3/d or ft3/d)


!!!!! $ !!= สัมประสิทธิข์ องการซึมได (L/T ; m/d or ft/d)
5 = จํานวนชองการไหลทั้งหมด
" = ความดันชลศาสตรทง้ั หมดทีล่ ดลง (L ; m or ft)
. = จํานวนพืน้ ทีส่ เ่ี หลีย่ มในแตละชองการไหล

3.4.1 แผนทีร่ ะดับนําบาดาล


้ (Groundwater contour map)
ในกรณีที่มีขอมูลของระดับนําบาดาลจํ
้ านวน 3 บอขึ้นไป จะสามารถจัดทํา
แผนที่ระดับนําบาดาล
้ (Groundwater contour map) ของพืน้ ทีน่ น้ั ๆ ขึ้นมาได โดยจากขอมูล
ระดับความสูงของนําบาดาล
้ (Groundwater elevation) สามารถนํามาเขียนเสนระดับความสูงที่
เทากันของระดับนําบาดาล
้ (Groundwater contours) ซึง่ เปนวิธกี ารเขียนในทํานองเดียวกันกับการ
เขียนเสนระดับความสูงที่เทากันของภูมิประเทศ (Elevation contour) จากนัน้ ทําการเขียนเสนทิศ
ทางการไหล (Flow line) โดยใหตั้งฉากกับเสนระดับนําบาดาล
้ (ดูรูปที่ 3.11)

รูปที่ 3.11 การเขียนแผนที่ระดับนําบาดาลและเส


้ นทิศทางการไหล (จาก Todd, 1980)

แผนทีร่ ะดับนํ้าบาดาลและเสนทิศทางการไหล มีประโยชนหลายประการ กลาวคือ


ทํ าใหมองเห็นภาพรวมของทิศทางการไหลของนํ้ าบาดาลบริเวณที่นํ้ าไหลเขาหรือพื้นที่รับนํ้ า
(Recharge area) บริเวณทีน่ าไหลออกหรื
้ํ อพืน้ ทีจ่ า ยนํา้ (Discharge area) ชวยในการกําหนด
ตําแหนงที่เหมาะสมสําหรับการเจาะบอนํ้าบาดาล เปนตน โดยพิจารณารูปที่ 3.12 ถาใหชั้นหินอุม
นํามี
้ ความหนาที่คงที่ ปริมาณการไหลของนํ้าบาดาล "; # ทีต่ าแหน ํ งที่ 1 และ 2 จะเทากับ
93

!!!!!!! !!!!! ; = <$/$ = <% /% !!!!!!!!!!!!!!!!!!!! ............................. (3.27)


โดยมี / !!= ความเร็วของการไหล
< = ความกวางของชองการไหล

จากกฎของดารซี / = =, สมการ (3.27) อาจเขียนเปน


<$=$,$ = <% =%,% !!!! !!!!!!!!!!! ............................. (3.28)

ห รื อ =$ = <%,% ............................. (3.29)


=% <$,$

ซึ่งคา <% ) <$ และ ,% ) ,$ สามารถวัดและอานจากแผนที่ (รูปที่ 3.12) ได


ทําใหสามารถทราบคา =$ และ =% ได ในกรณีพิเศษ ถาเสนทิศทางการไหลของนํ้าบาดาลขนาน
หรือเกือบขนานกัน นั่นคือ <$ = <% สมการ (3.29) ก็จะเหลือเพียง

!!! =$ = ,% ! ............................. (3.30)


=% ,$

รูปที่ 3.12 การใชประโยชนของแผนที่ระดับนํ้าบาดาล (จาก Todd, 1980)


94

ซึง่ สมการที่ (3.30) แสดงวาในกรณีที่เสนระดับนําบาดาลมี


้ ระยะหาง หรืออีกนัย
หนึ่ง มีความลาดชันชลศาสตรตา่ํ (Flat gradient, , มีคา นอย) บริเวณนั้นจะมีคา k สูง ในทํานอง
เดียวกัน ถาเสนระดับนําบาดาลอยู
้ ต ดิ ๆ กัน หรือมีความลาดชันชลศาสตรสงู (Steep gradient, ,
มีคามาก) บริเวณนั้นจะมีคา = ตํา่ ดังนัน้ ในกรณีของรูป 3.12 จะเห็นไดวาตําแหนงที่ 2 จะเปน
ตําแหนงที่เหมาะสมกวาตําแหนงที่ 1 ในการวางตําแหนงใหหลุมเจาะใหม เนื่องจาก ,$ > ,%
ดังนั้น =$ > =% บริเวณทีต่ าแหน
ํ งที่ 2 จึงเปนตําแหนงที่ชั้นหินอุมนํ้ามีคา = สูงกวานาจะใหน้ํา
ไดดกี วา

3.4.2 การหักเหของทิศทางการไหลของนํ้าบาดาล (Refraction of flow lines)


เมื่ อ นํ้ าบาดาลไหลผ า นจากชั้ น หิ น อุ  ม นํ้ าหนึ่งเขาสูอีกชั้นหินอุมนํ้ าที่มีคา
สัมประสิทธิข์ องการซึมได " $ # แตกตางกัน จะทําใหเสนทิศทางการไหลของนํ้าบาดาลเปลีย่ น
แปลงหรือเกิดการหักเห พิจารณาดูรปู ที่ 3.13 ซึง่ แสดงชองการไหล (Flow channel) ของนํา้
บาดาลที่ไหลผานจากชั้นหินอุมนํ้า $$ เขาสูช น้ั หินอุม นํา้ $ % ปริมาณนําที ้ ไ่ หลผานตามชองการ
ไหลมีคา เทากับ %$ และ %% ในชั้นหินอุมนําที ้ ่ $$ และ $ % ตามลําดับ ความกวางของชองการ
ไหลในชัน้ $$ มีคาเทากับ ' และในชั้นหิน $ % มีคาเทากับ 3 ความยาวระหวางเสนระดับ
ความดันทีเ่ ทากัน (Equipotential line) สองเสนที่อยูติดกัน มีคาเทากับ *-$ และ *-% ในชั้น $$
และ $ % ตามลําดับ ความดันชลศาสตรทล่ี ดลง (Head loss) มีคาเทากับ *"$ และ *"% ตาม
ลําดับเชนกัน
สังเกตในรูป 3.13 ที่ขอบระหวางชั้นหินอุมนําทั ้ ง้ สอง มีรูปสามเหลี่ยมสองรูป
ทีม่ ดี า นรวมหนึง่ ดานทีม่ คี วามยาวเทากับ ( ในชั้น $$ สามเหลีย่ มดังกลาวมีความยาวของดาน
ทัง้ สามเทากับ '( !( และ *-$ ในขณะที่ในชั้น $ % สามเหลีย่ มดังกลาวจะมีความยาวเทากับ
3( !( และ *-%

ปริมาณนํ้าบาดาลทีไ่ หลตามชองการไหล หาไดจากกฎของดารซี ดังนี้


*"$ *"
!!!!!! %$ = $$' !และ %% = $ %3 % !!! .......................... (3.31)
*-$ *-%

ซึ่งคา %$ จะมีคาเทากับ %% ดังนั้น


*"$ *"
$$' = $ %3 % ! ............................. (3.32)
*-$ *-%
95

รูปที่ 3.13 การหักเหของทิศทางการไหลของนํ้าบาดาลเมื่อไหลผานชั้นหินอุมนําที


้ ม่ คี า K ตางกัน
!!!!(จาก Fetter, 2001)

เนือ่ งจากความดันชลศาสตรทล่ี ดลง (Head loss) ระหวางเสนระดับความดันที่


เทากันสองเสนทีอ่ ยูต ดิ กัน จะเทากันในชั้นหินอุมนํ้าทัง้ สองชัน้ นั่นคือ *"$ = *"% ดังนั้น ถา
หารดวย *"$ ทัง้ สองขางจะได
' 3
!!!! $$ = $% ! ............................. (3.33)
*-$ *-%

พิจารณารูปสามเหลีย่ มทัง้ สองรูปดังกลาวขางตน จะได ' = ( 678 σ $


และ 3 = ( 678 σ % และ ( ) *-$ = $) 80- σ $ และ ( ) *-% = $) 80- σ % แทนคาในสมการ
(3.33) จะได

678 σ $ 678 σ %
!!!!!!!!! $$ = $% ! ............................. (3.34)
80- σ $ 80- σ %
96

80- σ
เนือ่ งจาก 9:- σ = ดังนัน้ สมการ 3.34 จึงเขียนไดในรูปของ
678 σ

$$ 9:- σ $
!!!!! = ! ............................. (3.35)
$ % 9:- σ %

จากสมการ (3.35) แสดงวาเมือ่ นําบาดาลไหลผ


้ านชัน้ หินอุม นําที
้ ่มีคา K แตก
ตางกัน จะเกิดการหักเหหรือเปลี่ยนทิศทางการไหล (รูปที่ 3.14) นอกจากนั้นเมื่อทิศทางการไหล
ของนําบาดาลเปลี
้ ย่ นแปลงไป เสนระดับความดันที่เทากัน (Equipotential line) ก็จะเกิดการหักเห
เปลีย่ นแปลงทิศทางไปดวย (รูปที่ 3.15)

รูปที่ 3.14 การเปลี่ยนทิศทางการไหลของนํ้าบาดาลในชั้นหินอุมนําที


้ ม่ คี า K แตกตางกัน
ประมาณ 10 เทา (จาก Todd, 1980)

3.4.3 รูปแบบการไหลในแองนําบาดาล้ (Flow patterns in Groundwater basin)


แองนําบาดาล
้ (Groundwater basin) หมายถึง พื้นที่ใตผิวดินทั้งหมดที่นาํ้
บาดาลไหลจากพื้นที่รับนํ้า (Recharge area) ไปสูพื้นที่จายนํ้า (Discharge area) แองนําบาดาลอาจ

จะมีพนื้ ที่หรือรูปแบบเดียวกันกับพื้นที่รับนํ้า (Catchment area) หรือไมกไ็ ด การไหลของนํา้
บาดาลมีรูปแบบที่สลับซับซอน ถึงแมวา โดยปกติแลว นําบาดาลจะมี
้ รปู แบบการไหลและทิศทาง
การไหลในแนวระนาบเปนสวนใหญในชั้นหินอุมนําระดั ้ บตื้นทั่วไป แตเมือ่ พิจารณาในภาพรวม
ของการไหลของนํ้าบาดาลในแองสะสมนํ้าบาดาล ซึ่งอาจจะครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณกวาง
ใหญ รวมทัง้ ความลึกทีม่ ากดวย ดังนั้น รูปแบบการไหลของนําบาดาลจึ
้ งมีความยุง
97

รูปที่ 3.15 การเปลีย่ นทิศทางหรือการหักเหของเสนทิศทางการไหล (Flow lines) และเสน


ระดับความดันทีเ่ ทากัน (Equipotential lines) (จาก Fetter, 2001)

ยากและซับซอนมากขึน้ ซึ่งเปนผลเนื่องมาจากปจจัยหลาย ๆ ประการ อาทิ พื้นที่ ขนาดของ


ปริมาณนําไหลเข
้ า ปริมาณนํ้าไหลออก ภูมิประเทศ การลําดับชั้นหิน และคุณสมบัตขิ องหิน ใน
พืน้ ทีข่ องชัน้ หินอุมนําไม
้ มแี รงดัน พื้นที่รับนํ้าและพืน้ ทีจ่ า ยนํ้ามักจะมีลกั ษณะพิเศษของมัน กลาว
คือ พืน้ ที่รับนําจะเป
้ นพื้นที่มีอยูในระดับสูง (Topographic high) ในขณะทีพ่ น้ื ทีจ่ า ยนํ้าจะเปนพื้น
ทีท่ อี่ ยูในระดับตํ่า (Topographic low) ในพื้นที่รับนํ้ามักจะมีชน้ั สัมผัสอากาศ (Unsaturated zone)
หนากวาพืน้ ทีจ่ า ยนํ้า เสนระดับนําบาดาล้ (Water table contour) ในพืน้ ทีร่ ับนํ้าจะมีลักษณะโคง
ควํา่ ในขณะที่บริเวณจายนําจะมี ้ ลักษณะโคงหงายขึ้น นอกจากนั้นในภาคสนาม พื้นที่จายนําจะ ้
เปนพื้นที่ที่มีนํ้าซับ (Seepage) นําพุ ้ (Spring) พืน้ ทีช่ มุ นํา้ (Wet land) ทะเลสาบ (Lake) เปนตน ใน
พืน้ ทีแ่ หงแลงและอากาศรอน นําบาดาลที ้ ่ไหลออกอาจจะอยูในรูปของการระเหยโดยตรง ซึ่งจะ
ทําใหบริเวณจายนําดั ้ งกลาวมีหญาปกคลุมหนามากกวาปกติ หรืออาจจะมีคราบหรือรอยของขี้
เกลือปรากฏใหเห็น
98

รูปที่ 3.16 แสดงรูปแบบการไหลของนําบาดาลในชั


้ ้นหินอุมนําไม
้ มีแรงดันที่
มีคณุ สมบัติเหมือนเปนเนื้อเดียวกัน (Homogeneous aquifer) จะเห็นไดวา ในบริเวณพืน้ ทีร่ บั นํ้ามี
ทิศทางการไหลลง ในขณะที่บริเวณพื้นที่จายนํ้ามีทิศทางการไหลขึ้น บริเวณหุบเขาจะเปนพื้นที่
จายนํา้ ซึง่ นําบาดาลจะมี
้ ทิศทางไหลขึน้ และมารวมกันอยูใ นบริเวณนี้ บริเวณกึง่ กลางหรือจุดสูง
สุดของระดับนําบาดาล้ จะเปน สันปนนํ้าบาดาล (Groundwater divide) ซึง่ นํ้าบาดาลทัง้ สองขาง
ของสันปนนําบาดาลนี
้ ้ นําบาดาลจะไหลไปคนละทิ
้ ศทาง ซึง่ เปนตัวชีแ้ ยกแองนําบาดาลทั
้ ง้ สอง
ออกจากกัน

รูปที่ 3.16 รูปแบบการไหลของนํ้าบาดาลในชั้นหินอุมนําไม


้ มีแรงดัน แสดงบริเวณรับนํ้าและ
บริเวณจายนํ้า (จาก Fetter, 2001)

ในรูป 3.16 เพียซโซมิเตอร C, E และ F อยูท ี่เสนระดับความดัน 50 เมตร


เทากัน ดังนั้น ระดับนํ้าในบอก็จะขึ้นมาอยูที่ระดับความสูงเดียวกัน ซึ่งเปนระดับความดันชล
ศาสตรที่ 50 เมตร เหนือระดับอางอิง (Datum) สังเกตแทงความยาวของนํ้า (Water column) ในแต
ละบอไมเทากัน ทีเ่ พียซโซมิเตอร A และ B ซึง่ ถือไดวา อยู ณ ตําแหนงเดียวกัน โดย A จะมีความ
ลึกมากกวา B ที่ A มีระดับความดันชลศาสตร 30 เมตร ในขณะที่ B มีความดันชลศาสตร 20
เมตร นําบาดาลจึ
้ งไหลจาก A ไปหา B (Upward gradient) แสดงวาพื้นที่ดังกลาวเปนพื้นที่จาย
นํา้ ในทํานองเดียวกันที่ D และ E ซึง่ ถือไดวา อยู ณ ตําแหนงเดียวกัน ความดันชลศาสตรท่ี D คือ
70 เมตร ที่ E คือ 50 เมตร นําบาดาลจึ
้ งไหลจาก D ไปหา E (Downward gradient) จึงเปนพื้นที่รับ
นํา้ สังเกตวาถึงแมความดันชลศาสตรท่ี D มากกวาที่ E แตแทงความยาวของนํ้าในบอ D จะนอย
หรือสัน้ กวาในบอ E ดังนัน้ ปจจัยสําคัญจึงอยูท ค่ี วามดันชลศาสตร ไมไดอยูท แ่ี ทงความยาวของ
นําที
้ จ่ ะแสดงวานําจะมี
้ ทิศทางการไหลไปทางใด
99

Toth (1963) ไดเสนอรูปแบบการไหลของนํ้าบาดาลในแองนํ้าบาดาลในภาพ


กวางเปน 3 รูปแบบ (รูปที่ 3.17) ดังนี้

(1) ระบบการไหลเฉพาะแหง (Local flow system) เปนการไหลของนํ้าใน


ระดับตืน้ มีการเปลี่ยนแปลงทิศทางและอัตราการไหลที่ไมแนนอน เนื่องจากไดรับผลกระทบจาก
การซึมลงของนําผิ้ วดิน ระยะทางและระยะเวลาการไหลจะสัน้ คุณภาพของนํ้าโดยเฉพาะ TDS,
HCO3, Ca และ Mg มีปริมาณคอนขางนอย มีการเปลี่ยนแปลงของระดับนําในแนวดิ
้ ่งคอนขาง
สูง

รูปที่ 3.17 รูปแบบการไหลในแองนําบาดาล


้ (จาก Fetter, 2001)

(2) ระบบการไหลระหวางกลาง (Intermediate flow system) เปนการไหลที่


กินบริเวณกวางขึน้ TDS จะเพิม่ ปริมาณมากขึน้ SO4 และ Cl จะมีการเปลีย่ นแปลงบางเล็กนอย
การเปลี่ยนแปลงของระดับนํ้าตามฤดูกาลจะมีไมมากนัก
(3) ระบบการไหลบริเวณกวาง (Regional flow system) เปนการไหลทีก่ นิ
บริเวณกวางมาก การไหลของนําบาดาลส
้ วนใหญอยูใ นระดับลึก อัตราการไหลของนํ้าบาดาลจะ
ชามาก อุณหภูมขิ องนํ้าจะคอนขางสูง TDS, Cl และ SO4 จะมีปริมาณเพิม่ มากขึน้ ในขณะที่
HCO3 จะมีปริมาณลดลง
100

3.5 การไหลแบบคงทีท่ ศิ ทางเดียว (Steady unidirectional flow)


การไหลแบบคงที่ (Steady flow)!หมายถึง การไหลที่คงที่ไมเปลี่ยนแปลงไป
กับเวลา ซึง่ จะมีความแตกตางกันในกรณีการไหลในชัน้ หินอุม นํามี ้ แรงดันและไมมแี รงดัน ซึ่งจะ
แยกพิจารณาออกจากกัน
3.5.1 การไหลแบบคงที่ในชั้นหินอุมนํ้ามีแรงดัน (Steady flow in a
confined aquifer)
พิจารณาการไหลแบบคงทีใ่ นชัน้ หินอุม นํ้ามีแรงดัน แสดงในรูปที่ 3.18 จาก
กฎของดารซี สามารถคํานวณปริมาณการไหลของนําผ ้ านหนึง่ หนวยความกวาง (Unit width,
; ; ) ของชัน้ หินอุม นํ้าได ดังนี้

รูปที่ 3.18 การไหลแบบคงที่ทิศทางเดียวในชั้นหินอุมนํามี


้ แรงดัน (จาก Fetter, 2001)
!!!!!
*"
; ; = $( ! ! ............................. (3.36)
*-
โดยมี ; ; = ปริมาณการไหลผานความกวางหนึง่ หนวย (L2/T ; m2/d or ft2/d)
! $ = สัมประสิทธิข์ องการซึมได (L/T ; m/d or ft/d)
! ( = ความหนาของชัน้ หินอุม นํ้า (L ; m or ft)
*"
= ลาดชลศาสตรของเสนระดับความดัน (ไมมหี นวย)
*-
101

นอกจากนี้ อาจจะคํานวณหาความดันชลศาสตร (Head) ทีต่ าแหน


ํ งใด
ตําแหนงหนึ่ง ดังนี้
;;
!!!!!! " = "$ − > ! ............................. (3.37)
$(
โดยมี " !!= ความดันชลศาสตร ณ ตําแหนงที่ตองการหา (L ; m or ft)
!!!!!!!!!!!!!!!! > !!= ระยะทางนับจากตําแหนง "$ (L ; m or ft)

ตัวอยาง :(1) ชัน้ หินอุมนํามี


้ แรงดัน มีความหนา 33 เมตร และกวาง 7 กิโลเมตร บอสังเกตการณ
จํานวนสองบออยูห า งกัน 1.2 กิโลเมตร ความดันชลศาสตรในบอสังเกตการณท่ี 1 และที่ 2 มีคา
เทากับ 97.5 เมตร และ 89.0 เมตร ตามลําดับ คาสัมประสิทธิข์ องการซึมไดมคี า เทากับ 1.2 เมตร/
วัน คํานวณหาปริมาณการไหลทัง้ หมดทีไ่ หลผานชัน้ หินอุม นํ้านี้
*"
% = − $( × ?,*9"
*-
!!!! = $2%!5 ) * × ''!5 × <32.!5 − 4<2*!5 × 3( ***!5
$( %**!5
!!!!!!!!! = %( ***!5 '
)*

(2) คํานวณหาความดันชลศาสตร (Head) ทีต่ าแหน


ํ งหางจากบอสังเกตการณที่ 1 เทา
กับ 0.3 กิโลเมตร

ปริมาณไหลตอหนึง่ หนวยความกวาง (q’)


%( ***!5' ) *
"; ;# = = *2%<!5 % ) *
3( ***!5
;;
!!! " = "$ − >
$(
*2%<!5 % ) *
! = <32.!5 − × '**!5
$2%!5 ) * × ''!5
! = <32.!5 − %%!5
! = <.2'!!5
102

3.5.2 การไหลแบบคงที่ในชั้นหินอุมนํ้าไมมีแรงดัน (Steady flow in an unconfined


aquifer)
ในกรณีนี้ระดับความสูงของนําบาดาลที
้ แ่ ตกตางกัน ณ ตําแหนงตาง ๆ สงผล
ใหการไหลของนําบาดาลยุ้ ง ยากมากขึน้ ถาพิจารณาในรูปที่ (3.19) นําบาดาลจะไหลได
้ กต็ อ เมือ่ มี
ลาดชลศาสตรเกิดขึ้น ระดับความสูงของนําบาดาลที ้ ต่ ําแหนง h1 และ h2 จะแตกตางกัน ซึง่ สงผล
ใหสว นทีอ่ ม่ิ ตัวดวยนํ้าหรือความหนาของสวนที่นาไหลแตกต
ํ้ างกัน ถาไมมปี ริมาณนําไหลเข
้ ามา
เพิ่มเติม (Recharge) ในระบบแลว ปริมาณนํ้าทีไ่ หลผานจากดานซายมือจะตองเทากับปริมาณนํา้
ทีไ่ หลผานดานขวามือ ในขณะทีพ่ น้ื ทีท่ างดานขวามือจะนอยกวาทางดานซายมือ ซึง่ จากกฎของ
ดารซี นัน่ หมายถึงวาลาดชลศาสตร (Hydraulic gradient) ทางดานขวามือจะตองมากกวาทางดาน
ซายมือ ถึงจะสงผลใหปริมาณของนําเท ้ ากันทั้งสองดานได แสดงวาในกรณีการไหลแบบคงทีใ่ น
ชัน้ หินอุม นําไม
้ มแี รงดันนี้ ลาดชลศาสตรจะไมคงที่ โดยจะเพิ่มมากขึ้นไปตามทิศทางการไหล
ของนํา้ ซึ่งไมเหมือนในกรณีของชั้นหินอุมนํามี ้ แรงดันที่ลาดชลศาสตรจะคงที่

รูปที่ 3.19 การไหลแบบคงที่ทิศทางเดียวในชั้นหินอุมนําไม


้ มีแรงดัน (จาก Fetter, 2001)

Dupuit เมือ่ ป 1863 ไดเสนอสมมติฐานเพือ่ แกปญ หาการไหลแบบคงทีใ่ นชัน้


หินอุมนําไม
้ มแี รงดัน ซึง่ เปนทีย่ อมรับโดยแพรหลายทีเ่ รียกวา Dupuit assumptions กลาวคือ
(1) ลาดชลศาสตรจะเทากับความลาดเอียงของระดับนําบาดาล
้ และ (2) สําหรับความลาดเอียงที่
นอย ทิศทางการไหลของนํ้าบาดาลจะอยูในแนวระนาบและเสนชั้นระดับความดันที่เทากันจะอยู
ในแนวดิ่ง จากสมมติฐานดังกลาว จากกฎของดารซีจะได
103

*"
!!!!!!!! ; ; = − !$" ! ............................. (3.38)
*>
โดยมี " = ความหนาของสวนทีอ่ ม่ิ ตัวดวยนํา้
และที่ > = *( !!" = "$ != ที่ > = & !( !!" = "% !
Integrate สมการที่ (3.38) ตามเงื่อนไขที่กําหนด
& "%

! ! ∫ ; ; *> = − $ ∫ "*"
* "$

& "% "%


จะได ;;> = −$
* %
"$

!!! ; ; & = − $  "% − "$ 


% %

 % %

$  " − "% 
% %
หรือ ; ; = !$  $  ! ............................. (3.39)
%  & 

สมการที่ (3.39) เรียกวา Dupuit equation

โดยมี ; ; != ปริมาณการไหลตอหนึง่ หนวยความกวาง (L2/T ; m2/d or ft2/d)


$ != สัมประสิทธิข์ องการซึมได (L/T ; m/d or ft/d)
!!!!!! "$ !!= ความดันชลศาสตรทจ่ี ดุ เริม่ ตน (L ; m or ft)
"% !!= ความดันชลศาสตรทร่ี ะยะทาง & (L ; m or ft)
& !!!= ความยาวของการไหล (L ; m or ft)

นอกจากนี้ ความดันชลศาสตร ""# ณ ตําแหนงใด ๆ (รูปที่ 3.18) สามารถหา


ไดจากสมการ
""$% − "%% #!>
! " = "$% − !!!!!!!!!!! ............................. (3.40)
&

โดย " !!ความดันชลศาสตรทร่ี ะยะทาง > จากจุดเริ่มตน (L; m or ft)


104

ตัวอยาง : ชัน้ หินอุมนําไม


้ มแี รงดันมีความหนา 31 เมตร เมือ่ วัดจากผิวดิน
มีคา สัมประสิทธิข์ องการซึมได (K) 0.0020 เซนติเมตร/วินาที และคาความพรุน 0.27 ที่บอ
หมายเลข 1 ระดับนํ้าบาดาลอยูท ่ี 21 เมตร จากผิวดิน ที่บอหมายเลข 2 ซึง่ อยูห า งออกไป 175 เมตร
ระดับนําบาดาลอยู
้ ท ่ี 23.5 จากผิวดิน คํานวณหา (1) ปริมาณการไหลตอหนึง่ หนวยความกวาง
(2) ความเร็วของการไหลจากบอหมายเลข 1 ไปหาบอหมายเลข 2 และ (3) ระดับนํ้าบาดาลที่
ตําแหนงกึ่งกลางของบอทั้ง 2

(1) จากสมการ (3.39)


 "$% − "%% 
;; = $  
 %& 
"$ = '$!/ − %$!/ = $*!/
"% = '$!/ − %'2.!/ = 32.!/
& = $3.!/
$*% 5% − 32.% 5%
; ; = $23!/ ) >:? ×
% ×$3.!/
= *2%$!5 ) *'8 / หนวยความกวาง
%

(2) จากสมการ (3.5)


%
+' =
.)
เนือ่ งจาก % = ; ; ! × หนวยความกวาง
@ = "$ ! × หนวยความกวาง
;; *2%$!5 % ) *'8
ดังนั้น +' = !! =
."$ *2%3 × $*!5
= *2*4 เมตร / วัน
(3) จากสมการ (3.40)
>
" = "$% − ""$% − "%% #
&

!!! !!!!!!!!!!!!!! = "$*5#% − ("$*5#% − "32.5#% ) −  432.5 


 $3.5 
!!!! = 8.8 !เมตร
105

ตัวอยาง : เขือ่ นดินมีความกวาง 550 ฟุต (ระยะทางจากนําหลั ้ งเขื่อนถึงนํา้


หนาเขือ่ น เทากับ 550 ฟุต) สรางอยูบนชั้นหินเนื้อแนน วัสดุทใ่ี ชกอ สรางเขือ่ นมีคา สัมประสิทธิ์
ของการซึมได เทากับ 0.77 ฟุต/วัน ระดับนํ้าหลังเขื่อนสูง 35 ฟุต ในขณะที่ระดับนําหน ้ าเขื่อนสูง
20 ฟุต คํานวณหาปริมาณนําที ้ ซ่ มึ รัว่ ผานความกวาง 100 ฟุต ของตัวเขื่อน
จากสมการ (3.39)
$  "$% − "%% 
;; = !$  
%  & 

!! = $ × *233!@9 ) *'8  "'.!@9 # − "%*!@9 # % 


%


%  ..*!@9 
2
!!= 0.577 ฟุต /วัน × 100 ฟุต (กวาง)
!!= 57.7 ฟุต3/วัน (ลูกบาศกฟตุ /วัน)

You might also like