Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

ตารางแสดงผลการทบทวนวรรณกรรมกลุ่มที่ 1

สุกนต์ธี พงษ์โสภา ณัฐกฤษฏิ์ เคร่งวิทยา ศุภาพิชญ์ ตั้งถึงถิ่น


ประเด็น รุ่งกิจ บูรณ์เจริญ สมพงษ์ แก้วประยูร ผกามาศ รินรักษา
(2554) (2558) (2559)
สิ่งที่เป็นปัญหา (Symptom) พฤติกรรมการจัดการ พฤติกรรมการจัดการขยะ พฤติกรรมการจัดการขยะ
[เขียนสรุปสั้น ๆ] ขยะของนักเรียน มูลฝอยในครัวเรือนของ มูลฝอย ส่งผลให้ปริมาณ
โรงเรียนจอมพระ ประชาชนในพื้นที่ ส่งผลให้ ขยะมูลฝอยในตาบลหนอง
ประชาสรรค์ ส่งผลให้ ปริมาณขยะมูลฝอยในเขต เหียง อาเภอพนัสนิคม
ขยะมูลฝอยในโรงเรียน เทศบาลเมืองควนลัง จังหวัดชลบุรเี พิ่มขึ้น
จอมพระประชาสรรค์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด
มีปริมาณมากขึ้น สงขลา เพิ่มมากขึ้น
สาเหตุของปัญหา (Probable Problems) 1. นักเรียนโรงเรียน 1. การไม่มีความรู้เกี่ยวกับ 1.การไม่มีความรู้เกี่ยวกับ
[เขียนเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั ของเรา] จอมพระประชาสรรค์ การจัดการขยะมูลฝอยของ การจัดการขยะมูลฝอยของ
ไม่มีความรู้ในการ ประชาชนในเขตเทศบาล ประชาชนในเขตตาบล
จัดการขยะ เมืองควนลัง อาเภอ หนองเหียง
2. บริเวณพื้นที่ทิ้งขยะ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2.การไม่มีทัศนคติเกี่ยวกับ
มูลฝอยมีจากัด 2. ทัศนคติที่ไม่ดี เช่น การ การจัดการขยะมูลฝอยของ
3. การขาดแรงจูงใจใน ไม่ให้ความสาคัญหรือขาด ประชาชนในเขตตาบล
การจัดการขยะมูลฝอย ความตระหนักและ หนองเหียง
ไม่ว่าจะเป็น การคัด จิตสานึกในเรื่องการจัดการ
แยกขยะก่อนทิ้งการนา ขยะมูลฝอยของประชาชน
กลับมาใช้ซ้า ในเขตเทศบาลเมืองควนลัง
อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด
สงขลา
สิ่งที่ต้องการเห็นการเปลีย่ นแปลง นักเรียนโรงเรียนจอม ประชาชนในพื้นที่มี พฤติกรรมการมีส่วนร่วม
(Decision Statement) [เขียนสรุปสั้น ๆ] พระประชาสรรค์ มี พฤติกรรมการจัดการขยะ จัดการขยะมูลฝอยของคน
พฤติกรรมการจัดการ มูลฝอยที่พึงประสงค์มาก ในชุมชน ส่งผลให้ช่วยลด
ขยะมูลฝอยที่ดีขึ้น ขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณ ปริมาณขยะมูลฝอยใน
ส่งผลให้ขยะมูลฝอยใน ขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล ตาบลหนองเหียง อาเภอ
โรงเรียนจอมพระสรรค์ เมืองควนลัง อาเภอ พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
มีปริมาณลดลง หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ลดลง
วัตถุประสงค์การวิจัย (Research Objectives) 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรม 1. เพื่อศึกษาความรู้ 1. เพื่อศึกษาความรู้
[ระบุเฉพาะวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั ของเรา] การจัดการขยะฐาน ทัศนคติ และพฤติกรรม เกี่ยวกับการจัดการขยะมูล
ศูนย์ของนักเรียน การจัดการขยะมูลฝอยใน ฝอยของประชาชนในตาบล
โรงเรียนจอมพระ ครัวเรือนของประชาชนใน หนองเหียง อาเภอพนัส
ประชาสรรค์ เขตเทศบาลเมืองควนลัง นิคมจังหวัดชลบุรี
2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด 2. เพื่อศึกษาทัศนคติ
ผลต่อพฤติกรรมการ สงขลา เกี่ยวกับการจัดการขยะมูล
จัดการขยะฐานศูนย์ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ฝอยของประชาชนในตาบล
ของนักเรียนโรงเรียน ระหว่างความรูแ้ ละทัศนคติ หนองเหียง อาเภอพนัส
จอมพระประชาสรรค์ กับพฤติกรรมการจัดการ นิคม จังหวัดชลบุรี
3. เพื่อประยุกต์การ ขยะมูลฝอยในครัวเรือน 3. เพื่อศึกษาพฤติกรรม
จัดการขยะฐานศูนย์ ของประชาชนในเขต เกี่ยวกบการจัดการขยะมูล
และศึกษาผลสาเร็จ เทศบาลเมืองควนลัง ฝอยของประชาชนในตาบล
และปัญหา/อุปสรรค อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด หนองเหียง อาเภอพนัส
ของการ จัดการขยะ สงขลา นิคม จังหวัดชลบุรี
ฐานศูนย์ ที่นาไป 4. เพื่อหาความสัมพันธ์
ประยุกต์ใช้ในโรงเรียน ระหว่าง ความรู้ ทัศนคติ
จอมพระประชาสรรค์ และพฤติกรรมการจัดการ
4. เพื่อหาแนวทางที่ ขยะมูลฝอย ในตาบลหนอง
เหมาะสมสาหรับการ เหียง อาเภอพนัสนิคม
จัดการขยะฐานศูนย์ใน จังหวัดชลบุรี
โรงเรียนจอมพระ
ประชาสรรค์
สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) 1. นักเรียนโรงเรียน 1. การมีความรู้เกีย่ วกับ 1.การมีความรู้เกี่ยวกับการ
[เขียนเฉพาะสมมติฐานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของเรา] จอมพระประชาสรรค์มี การจัดการขยะมูลฝอย จัดการขยะมูลฝอย มี
ความรู้ในการจัดการ ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่ ความสัมพันธ์กับพฤติกรรม
ขยะมากขึ้น ส่งผลให้ มีพฤติกรรมการจัดการขยะ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูล
ปริมาณขยะมูลฝอยใน มูลฝอยที่พึงประสงค์มาก ฝอย ส่งผลให้สามารถลด
โรงเรียนจอมพระ ขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณ ปริมาณขยะมูลฝอยใน
ประชาสรรค์ลดลง ขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล ตาบลหนองเหียง อาเภอ
2. บริเวณพื้นที่ทิ้งขยะเมืองควนลัง อาเภอ พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
มูลฝอยที่เพิ่มขึ้น ส่งผล
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2.การมีทัศนคติเกี่ยวกับ
ให้ปริมาณขยะมูลฝอย ลดลง การจัดการขยะมูลฝอยของ
ในโรงเรียนจอมพระ 2. การมีทัศคติที่ดี เช่น มี คนในชุมชนมีความสัมพันธ์
ประชาสรรค์ลดลง ความตระหนักและมี กับพฤติกรรมเกีย่ วกับการ
3. การที่นักเรียน จิตสานึกในเรื่องการจัดการ จัดการขยะมูลฝอย ส่งผล
โรงเรียนจอมพระ ขยะมูลฝอย ส่งผลให้ ให้สามารถลดปริมาณขยะ
ประชาสรรค์มีแรงจูงใจ ประชาชนในพื้นที่มี มูลฝอยในตาบลหนองเหียง
ในการจัดการขยะมูล พฤติกรรมการจัดการขยะ อาเภอพนัสนิคม จังหวัด
ฝอยเพิ่มมากขึ้นส่งผล มูลฝอยที่พึงประสงค์มาก ชลบุรี
ให้ปริมาณขยะมูลฝอย ขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณ
ในโรงเรียนจอมพระ ขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล
ประชาสรรค์ลดลง เมืองควนลัง อาเภอ
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ลดลง
ประโยชน์ของการวิจัย ได้ทราบถึงพฤติกรรม ทาให้ทราบความรู้ ทัศนคติ ทราบถึงความสัมพันธ์
[งานวิจยั ให้อะไรที่เป็นประโยชน์ และใครเป็นผู้ที่ได้รับ และปัจจัยที่มีผลต่อ และพฤติกรรมการจัดการ เกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ
ประโยชน์] พฤติกรรมการจัดการ ขยะมูลฝอยในครัวเรือน และพฤติกรรมการจัดการ
ขยะฐานศูนย์ของ ของประชาชนในเขต ขยะมูลฝอยของประชาชน
นักเรียน โรงเรียนจอม เทศบาลเมืองควนลัง ในเขตตาบลหนองเหียง
พระประชาสรรค์ ซึ่ง อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด อาเภอพนัสนิคม จังหวัด
เป็นประโยชน์ต่อ สงขลา และเป็นประโยชน์ ชลบุรี ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ
ชุมชน โรงเรียน หรือ ต่อเทศบาลหรือหน่วยงาน ผู้ที่ต้องการศึกษาและให้
หน่วยงานอื่นๆ ในการ อื่นๆ ซึ่งสามารถนาข้อมูลที่ ตาบลหนองเหียง อาเภอ
ใช้เป็นแนวทางพัฒนา ได้ไปใช้ในการกาหนด พนัสนิคม จังหวัดชลบุรีใช้
องค์กรหรือสังคม ให้มี แนวทางบริหารจัดการขยะ เป็นแนวทางในการศึกษา
สภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น มูลฝอย รวมถึงจัดทา ความรู้ ทัศนคติและ
แผนงานหรือโครงการต่างๆ พฤติกรรม การจัดการขยะ
ได้ มูลฝอยของประชาชน
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย 1. แนวคิดเกี่ยวกับการ 1. แนวคิดและทฤษฎี 1.แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกบ
[ระบุเฉพาะชื่อทฤษฎีที่นามาใช้ตอบวัตถุประสงค์การวิจยั ] จัดการขยะฐานศูนย์ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูล ทัศนคติ
(Zero Waste ฝอย 2. แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกบ
Management) 2. แนวคิดและทฤษฎี ความรู้
2. ทฤษฎีเกี่ยวกับการมี เกี่ยวกับความรู้ 3. แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับ
ส่วนร่วม 3. แนวคิดและทฤษฎี พฤติกรรม
3. ทฤษฎีการกระทา เกี่ยวกับทัศนคติ 4. ความสัมพันธ์ระหว่าง
ด้วยเหตุผล 4. แนวคิดและทฤษฎี ความรู้ ทัศนคติและ
4. ทฤษฎีพฤติกรรม เกี่ยวกับพฤติกรรม พฤติกรรม
ตามแผน
วิธีการศึกษา 1. เก็บรวมรวมข้อมูล ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยทา ข้อมูลปฐมภูมิโดยการเก็บ
- การเก็บรวบรวมข้อมูล ทุติยภูมิจากเอกสาร การเก็บรวบรวมข้อมูล จาก แบบสอบถามจานวน 150
[ใช้ข้อมูลปฐมภูมิหรือทุตยิ ภูมิ และเป็นข้อมูลอะไร และงานวิจยั ที่ การแจกแบบสอบถามแก่ ชุด และข้อมูลทุตยิ ภูมิได้
ในช่วงเวลาใด] เกี่ยวข้อง ประชาชนในพื้นที่ ทั้ง 7 จากการเก็บรวบรวมข้อมูล
2. เก็บรวบรวมข้อมูล หมู่บ้าน กระจายไปในแต่ จากหนังสือ บทความ
ปฐมภูมิจาก ละหมู่บ้านในปริมาณที่ ผลงานวิจัยและเอกสาร
แบบสอบถาม การ เท่าๆกัน มีระยะเวลาตั้งแต่ ต่างๆ ทีเกี่ยวข้อง เพื่อใช้
พูดคุยและสัมภาษณ์ วันที่ 1-30 มิ.ย. 58 (1 เป็นแนวทางในการกาหนด
บุคลากรในโรงเรียน เดือน) กรอบแนวคิด และ
และสังเกตการณ์ สมมติฐานในการวิจยั
โดยตรง
ประชากร นักเรียนโรงเรียนจอม ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขต ครัวเรือนในเขตตาบล
[ประชากรตามโจทย์วิจยั ที่เกีย่ วข้องกับการศึกษาของเรา] พระประชาสรรค์ เทศบาลเมืองควนลัง หนองเหียง อาเภอพนัส
จานวน 2517 คน อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด นิคม จังหวัดชลบุรี จานวน
สงขลา ประกอบด้วย 41 13,704 คน
กลุ่มตัวอย่าง 335 คน พื้นที่ 7 หมู่บ้าน จานวน
42,770 คน
วิธีการสุ่มตัวอย่างและจานวนตัวอย่าง ใช้ข้อมูลแบบปฐมภูมิ ประชาชนจานวน 400 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครัวเรือน
[กรณีที่ใช้ข้อมูลปฐมภูม:ิ ทราบจานวนประชากรหรือไม่/ จากการตอบ จากประชากรทั้งหมด ในเขตตาบลหนองเหียง
สุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหรือไม่อาศัยความน่าจะเป็น/ แบบสอบถาม โดย 42,770 คน โดยใช้วธิ ีการ จานวน 150 ครัวเรือน โดย
เกี่ยวข้องกับประมาณค่าพารามิเตอร์ตัวใด/ใช้วิธีการใดใน ทราบจานวนประชากร สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ การสุ่มแบบชั้นภูมิโดย
การสุ่มตัวอย่าง] อยู่ที่ 2517 คน ทาการ (Accidental Sampling) คานวณกลุ่มตัวอย่างตาม
สุ่มตัวอย่างโดยทั้ง สัดส่วน (Proportional to
อาศัยและไม่อาศัย size) จากนั้นใช้วิธกี ารสุ่ม
ความน่าจะเป็น สุ่ม แบบง่าย เพื่อให้ได้
ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง ครัวเรือนในแต่ละหมู่บ้าน
แบบมีระบบ และการ ตามกาหนดและนา
สุ่มตัวอย่างแบบโควต้า แบบสอบถามไปสอบถาม
กับตัวแทนครัวเรือน
- การวิเคราะห์ขอ้ มูล 1. ใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงพรรณนา และใช้
[ใช้วิธกี ารใดทางสถิติ หรือใช้แบบจาลองใดทางเศรษฐมิติ] วิเคราะห์และอธิบาย การทดสอบแบบที (t-test ค่าสัมประสิทธิ์ของ
ลักษณะทั่วไปของ independent) Person (Person
ประชากรณ์ หรือระดับ การวิเคราะห์ความ correlation coefficient)
พฤติกรรมการจัดการ แปรปรวนทางเดียว (One- ในการทดสอบสมมติฐาน
ขยะ เช่น ค่าเฉลี่ย way ANOVA) และใช้ค่า การวิจยั โดยกาหนดระดับ
ค่าความถี่ ส่วน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ นัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เพียร์สัน (Pearson
2. ทดสอบหาค่า Product moment
ความสัมพันธ์ระหว่าง Correlation Coefficient)
ตัวแปรอิสระกับ ตัว
แปรตามเพื่อทดสอบ
สมมติฐาน โดยใช้สถิติ
เชิงอนุมาน
(Inferential
Statistics) ได้แก่ t -
test และ F - test
ผลการศึกษา 1. กลุ่มนักเรียนมี ความรู้และทัศนคติในการ 1.ความรู้เกี่ยวกับการ
[ระบุข้อค้นพบที่สาคัญซึ่งได้จากผลการทดสอบสมมติฐาน ความรู้เกี่ยวกับการ จัดการขยะมูลฝอยใน จัดการขยะมูลฝอย มี
ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของเรา] จัดการขยะปานกลาง ครัวเรือนของประชาชนใน ความสัมพันธ์ระดับน้อยใน
การรับรู้ข่าวสารอยู่ใน เขตเทศบาลเมืองควนลัง เชิงบวกกับพฤติกรรม
ระดับปานกลาง และ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด เกี่ยวกับการจัดการขยะมูล
พฤติกรรมการจัดการ สงขลา มีความสัมพันธ์ ฝอย
ขยะฐานศูนย์ใน ทางบวกในระดับปานกลาง 2.ทัศนคติเกี่ยวกับการ
ภาพรวมอยู่ในระดับ กับพฤติกรรมการจัดการ จัดการขยะมูลฝอยมี
ปานกลาง ขยะมูลฝอยในครัวเรือน ความสัมพันธ์ระดับปาน
2. ผลการสารวจ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ กลางในเชิงบวกกับ
ปริมาณขยะ พบว่า ระดับ 0.05 พฤติกรรมเกี่ยวกับการ
ปริมาณขยะลดลงร้อย จัดการขยะมูลฝอย
ละ 14.16
ข้อเสนอแนะ 1. ควรสนับสนุนการ ควรมีการรณรงค์ให้ 1.องค์การบริหารส่วน
[ระบุถึงข้อเสนอแนะที่ได้จากผลการศึกษา ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ทากิจกรรมทางด้าน ประชาชนเห็นคุณค่าและ ตาบลหนองเหียงควรจะมี
งานวิจัยของเรา] สิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น หันมาใช้ประโยชน์จากขยะ การเข้ามาดูแลและให้
ระหว่างเพศ ชาย กับ ประเภทพลาสติกมากขึ้น ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
หญิง ซึ่งวิธีที่ง่ายที่สุดคือการ ขยะมูลฝอยมากขึ้น
2. ส่งเสริมให้นักเรียน นาไปขาย หรืออาจมีการ
ชั้นมัธยมปลายเป็น จัดตั้งธนาคารขยะ เพื่อเป็น
แกนนาในการริเริ่มทา การสนับสนุนและเพิ่ม
โครงการต่างๆ ที่ทา ความสะดวกให้แก่
ประโยชน์ให้แก่ ประชาชนในการคัดแยก
โรงเรียน ขยะรีไซเคิล/ขยะขายได้
3. การประชาสัมพันธ์
เสียงตามสายโดยจัดให้
นักเรียนทุกห้องได้มี
โอกาส นาเสนอ
ข่าวสารต่าง ๆ
ทางด้านสิ่งแวดล้อม
อย่างกว้างขวาง
4. อาจารย์ผู้สอนควร
เน้นการเรียนรู้และ
การศึกษานอกสถานที่
ตารางแสดงผลการทบทวนวรรณกรรมกลุ่มที่ 1 (ต่อ)
ณิชารีย์ อธิสขุ สกุล เรณุกา ศุกรเตมีย์ สิทธินันท์ ปินทะยา
ประเด็น เกียรติกุล ถวิล (2558) บรรจง วิทยถาวรวงศ์, กิตติ มีศิริ (2560)
ดร.อิทธิกร ขาเดช
สิ่งที่เป็นปัญหา (Symptom) การเพิ่มขึ้นของขยะมูล ปริมาณขยะเพิ่มขึ้น ขยะมูลฝอยที่สะสมอย่าง
[เขียนสรุปสั้น ๆ] ฝอยที่ส่งผลกระทบใน ก่อให้เกิดปัญหาต่อการ มากสร้างความไม่เป็น
ด้านต่างๆต่อสิ่งแวดล้อม ดารงชีวิตของคนในชุมชน ระเบียบ สร้างความ
ซึ่งมีผลกระทบต่อ ราคาญให้แก่ผู้พกั อาศัยใน
สุขภาพอนามัยของ ชุมชน และส่งผลเสียต่อ
ประชาชน จากการ ระบบ นิเวศ อีกทั้งยังเป็น
แพร่กระจายของเชื้อโรค อันตรายต่อสุขภาพของ
จากขยะ มนุษย์
สาเหตุของปัญหา (Probable Problems) พฤติกรรมการกาจัดขยะ ประชาชนในเขตกทม.ให้ 1. การจัดการขยะมูลฝอย
[เขียนเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั ของเรา] ด้วยวิธีต่างๆโดยขาด ความร่วมมือในการคัด ที่ไม่เหมาะสม
ความรู้ความเข้าใจอย่าง แยกขยะน้อย 2. ผู้นาชุมชนไม่มีความ
ถูกต้อง เข้มแข็งและอุทิศตนให้
ชุมชน
3. คนในชุมชนและ
เครือข่ายภายนอกไม่มีส่วน
ร่วม
4. ทุนทางสังคม (การ
อาศัยอยู่ในชุมชนมาเป็น
ระยะเวลานาน ทาให้คน
ในชุมชนเกิดจิตสานึก
สาธารณะและความรู้สึก
ถึงความเป็นเจ้าของ)
สิ่งที่ต้องการเห็นการเปลีย่ นแปลง ประชาชนมีความรู้ความ ประชาชนในเขตกทม.ใช้ ปัญหาที่เกิดจากขยะมูล
(Decision Statement) [เขียนสรุปสั้น ๆ] เข้าใจในการจัดการขยะ ระบบการคัดแยกขยะเพื่อ ฝอยสะสมลดลง
ทาให้ขยะมูลฝอยมี ลดขยะที่ต้องกาจัดลง
ปริมาณลดลง
วัตถุประสงค์การวิจัย (Research Objectives) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการ 1. เพื่อศึกษาถึง เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยแห่ง
[ระบุเฉพาะวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั ของเรา] จัดการขยะมูลฝอยใน ความสัมพันธ์ระหว่าง ความสาเร็จในการจัดการ
รูปแบบ 3R ของ ปัจจัยด้านการรับรู้เกีย่ วกับ ขยะมูลฝอยของชุมชนเกตุ
ประชาชน และศึกษา เรื่องสิ่งแวดล้อม ภาวะโลก ไพเราะ 3, 4, 5 เขตพระ
ปัจจัยที่มีผลต่อ ร้อน กับแรงจูงใจในการ โขนง กรุงเทพมหานคร
พฤติกรรมการจัดการ แยกขยะครัวเรือน
ขยะมูลฝอยในรูปแบบ 2. เพื่อศึกษาถึง
3R ความสัมพันธ์ระหว่าง
ปัจจัยด้านการส่งเสริมใน
การแยกขยะในครัวเรือน
กับแรงจูงใจในการแยก
ขยะครัวเรือน
สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) 1. เพศที่แตกต่างกัน จะ 1. ปัจจัยเรื่องการรับรู้ -
[เขียนเฉพาะสมมติฐานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของเรา] มีพฤติกรรมการจัดการ เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดล้อม
ขยะมูลฝอยในรูปแบบ ภาวะโลกร้อนและปัญหา
3R (Reduce, Reuse, การเก็บขยะของกทม. มี
Recycle) ที่แตกต่างกัน ความสัมพันธ์กับแรงจูงใจ
2. อายุที่แตกต่างกัน จะ ในการแยกขยะครัวเรือน
มีพฤติกรรมการจัดการ 2. ปัจจัยด้านการส่งเสริม
ขยะมูลฝอยในรูปแบบ ในการแยกขยะและปัจจัย
3R (Reduce, Reuse, ด้านกฎหมายมี
Recycle)ที่แตกต่างกัน ความสัมพันธ์กับแรงจูงใจ
3. สถานภาพการสมรสที่ ในการแยกขยะครัวเรือน
แตกต่างกัน จะมี
พฤติกรรมการจัดการ
ขยะมูลฝอยในรูปแบบ
3R (Reduce, Reuse,
Recycle) ที่แตกต่างกัน
4. ระดับการศึกษาสูงสุด
ที่แตกต่างกัน จะมี
พฤติกรรมการจัดการ
ขยะมูลฝอยในรูปแบบ
3R (Reduce, Reuse,
Recycle) ที่แตกต่างกัน
5. อาชีพที่แตกต่างกัน
จะมีพฤติกรรมการ
จัดการขยะมูลฝอยใน
รูปแบบ 3R (Reduce,
Reuse, Recycle) ที่
แตกต่างกัน
6. ระยะเวลาทีอ่ าศัยใน
พื้นที่ที่แตกต่างกัน จะมี
พฤติกรรมการจัดการ
ขยะมูลฝอยใน รูปแบบ
3R (Reduce, Reuse,
Recycle) ที่แตกต่างกัน
7. จานวนสมาชิกใน
ครอบครัวที่แตกต่างกัน
จะมีพฤติกรรมการ
จัดการขยะมูลฝอยใน
รูปแบบ 3R (Reduce,
Reuse, Recycle) ที่
แตกต่างกัน
8. รายได้ในครัวเรือนต่อ
เดือนที่แตกต่างกัน จะมี
พฤติกรรมการจัดการ
ขยะมูลฝอยใน รูปแบบ
3R (Reduce, Reuse,
Recycle) ที่แตกต่างกัน
9. การได้รับข้อมูล
ข่าวสารด้านการจัดการ
ขยะที่แตกต่างกัน จะมี
พฤติกรรมการจัดการ
ขยะมูลฝอยในรูปแบบ
3R (Reduce, Reuse,
Recycle) ที่แตกต่างกัน
10. ช่องทางในการรับ
ข่าวสารที่แตกต่างกัน จะ
มีพฤติกรรมการจัดการ
ขยะมูลฝอยใน รูปแบบ
3R (Reduce, Reuse,
Recycle) ที่แตกต่างกัน
ประโยชน์ของการวิจัย เป็นข้อมูลเพื่อนามาใช้ใน เป็นข้อมูลเพื่อนาไปใช้ใน 1. ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อ
[งานวิจยั ให้อะไรที่เป็นประโยชน์ และใครเป็นผู้ที่ได้รับ การปรับปรุงการ การปรับปรุงและวาง รูปแบบการจัดการขยะมูล
ประโยชน์] ดาเนินงานของ แผนการรณรงค์ส่งเสริม ฝอยในชุมชนที่ประสบ
หน่วยงานในด้าน ส่งเสริมให้ประชากรในเขต ความสาเร็จ
นโยบายการจัดการขยะ กทม.ร่วมมือในการคัดแยก 2. สามารถนาการจัดการ
มูลฝอยให้มีความ ขยะให้เหมาะสม ขยะมูลฝอยของชุมชนนี้
เหมาะสมและมี ไปใช้กับการจัดการขยะมูล
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ฝอยของชุมชนอื่นๆ
อีกทั้งสามารถนาความรู้
ที่ได้ไปเผยแพร่ต่อ เพื่อ
ก่อให้เกิดความตระหนัก
ในเรื่องการรักษา
สิ่งแวดล้อมต่อไป
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย แนวคิดในการลดปริมาณ 1. แนวคิดการจัดการ 1. แนวคิดการจัดการขยะ
[ระบุเฉพาะชื่อทฤษฎีที่นามาใช้ตอบวัตถุประสงค์การวิจยั ] ขยะมูลฝอยในรูปแบบ ทรัพยากร มูลฝอย
3R 2. แนวคิดแบบ 5R 2. แนวคิดการลดปริมาณ
3. แนวคิด ZERO WASTE ขยะ ณ แหล่งกาเนิด 3R
4. ทฤษฎีความต้องการ 3. แนวคิดการจัดการขยะ
มูลฝอยโดยชุมชน
(Community Base
Solid Waste
Management)
4. แนวคิดการมีส่วนร่วม
ของประชาชน
วิธีการศึกษา ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้ ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ เป็น ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดย
- การเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามแบบ ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิง รวบรวมข้อมูลจาก
[ใช้ข้อมูลปฐมภูมิหรือทุตยิ ภูมิ และเป็นข้อมูลอะไร เลือกตอบและแบบ คุณภาพ โดยใช้ การศึกษาภาคสนาม
ในช่วงเวลาใด] มาตราส่วนประมาณค่า แบบสอบถามชนิดคาถาม (Field Study) ด้วยวิธีการ
(Rating scale) เป็น ปลายปิด และคาถามแบบ สัมภาษณ์เชิงลึก (In-
เครื่องมือในการวิจัย สเกล Depth interview)

ประชากร ประชากรในเขตเทศบาล ผู้อยู่อาศัยในเขตกทม. โดย ประชาชนในเขตพื้นที่


[ประชากรตามโจทย์วิจยั ที่เกีย่ วข้องกับการศึกษาของเรา] เมืองชลบุรี อาเภอเมือง ไม่จากัดอายุและลักษณะที่ ชุมชนเกตุไพเราะ 3, 4, 5
จังหวัดชลบุรี จานวน พักอาศัย มีส่วนที่เป็นผู้ เขตพระโขนง
29,961 คน ก่อให้เกิดขยะและมีการทิ้ง กรุงเทพมหานคร
ขยะครัวเรือนเป็นประจา
จานวน 400 ตัวอย่าง
วิธีการสุ่มตัวอย่างและจานวนตัวอย่าง จานวนประชากร ไม่ทราบจานวนประชากร การสุ่มแบบ
[กรณีที่ใช้ข้อมูลปฐมภูม:ิ ทราบจานวนประชากรหรือไม่/ 29,961 คน กลุ่ม ใช้การแทนค่าสูตรในการ เจาะจง (Purposive
สุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหรือไม่อาศัยความน่าจะเป็น/ ตัวอย่างจานวน 395 คน คานวณขนาดตัวอย่าง โดย Sampling) โดยสุ่มเลือก
เกี่ยวข้องกับประมาณค่าพารามิเตอร์ตัวใด/ใช้วิธีการใดใน โดนคานวณจากจานวน กาหนดช่วงความเชื่อมั่น กลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจยั ใช้
การสุ่มตัวอย่าง] กลุ่มตัวอย่างจาแนกแต่ 95% และค่าคลาดเคลื่อน เหตุผลในการเลือกเพื่อ
ละหมู่บ้าน = (จานวน 5% ความเหมาะสมในการ
ประชากรแต่ละหมู่บ้าน วิจัย รวมจานวน 20 คน
x จานวนกลุ่มตัวอย่าง)/
จานวนประชากรทั้งหมด
และใช้วิธกี ารสุ่มตัวอย่าง
แบบบังเอิญและแบบ
สะดวก
- การวิเคราะห์ขอ้ มูล ใช้สถิติเชิงบรรยาย ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ส่วน ใช้การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิง
[ใช้วิธกี ารใดทางสถิติ หรือใช้แบบจาลองใดทางเศรษฐมิติ] (Descriptive statistic) เบี่ยงเบนมาตรฐาน พรรณนา (Descriptive
และสถิติอนุมาน T-test F-Test Multiple Analysis) เพื่อใช้ในการ
(Inferential Statistic) Regression Analysis อธิบายลักษณะ และ
ใช้สถิติ t-Test ในการ สภาพแวดล้อมชุมชน การ
วิเคราะห์ค่าตัวแปรต้น 2 บริหารจัดการ การทาให้
กลุ่ม ส่วนตัวแปรต้นที่มี คนในชุมชนเข้ามามีส่วน
3 กลุ่มขึ้นไปจะใช้สถิติ ร่วมในการร่วมมือกัน
One-way anova ใน จัดการขยะมูลฝอย
การทดสอบ
ผลการศึกษา 1. ปัจจัยด้านระดับ 1. การรับรู้ในเรื่องภาวะ พบว่ามีปัจจัยที่ส่งผลต่อ
[ระบุข้อค้นพบที่สาคัญซึ่งได้จากผลการทดสอบสมมติฐาน การศึกษา อาชีพ โลกร้อนไม่มีความสัมพันธ์ ความสาเร็จในการจัดการ
ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของเรา] ระยะเวลาทีอ่ าศัยใน กับแรงจูงใจในการแยก ขยะมูลฝอย 4 ปัจจัย คือ
พื้นที่ รายได้ในครัวเรือน ขยะครัวเรือนในเขตกทม. 1. กระบวนการจัดการ
ต่อเดือน และการได้รับ 2. การรับรู้ในเรื่องการ ขยะมูลฝอย
ข้อมูลข่าวสารด้านการ รักษาสิ่งแวดล้อมมี 2. การมีส่วนร่วมของ
จัดการขยะจะมีผลต่อ ความสัมพันธ์กับแรงจูงใจ ประชาชน
พฤติกรรมการจัดการ ในการแยกขยะครัวเรือน 3. ผู้นาชุมชน
ขยะมูลฝอยที่แตกต่าง ในเขตกทม. 4. ทุนทางสังคม
กัน แต่ปัจจัยด้านเพศ 3. การรับรู้ในเรื่องการ
อายุ สถานภาพการ จัดการขยะในภาพรวมมี
สมรส จานวนสมาชิกใน ความสัมพันธ์กับแรงจูงใจ
ครอบครัว และช่องทาง ในการแยกขยะครัวเรือน
การรับข่าวสาร จะมีผล ในเขตกทม.
ต่อพฤติกรรมการจัดการ 4. การส่งเสริมการแยก
ขยะมูลฝอยไม่แตกต่าง ขยะเรื่องการปฏิบัติตาม
กัน กฎหมายมีความสัมพันธ์
2. พบว่าพฤติกรรมการ กับแรงจูงใจในการแยก
จัดการขยะมูลฝอยใน ขยะครัวเรือนในเขตกทม.
รูปแบบ 3R (Reduce, 5. การส่งเสริมการแยก
Reuse,Recycle) ของ ขยะ เรื่องการรณรงค์
ประชาชนในเขต ส่งเสริมให้เกิดการแยก
เทศบาลเมืองชลบุรี ขยะมีความสัมพันธ์กับ
อาเภอเมืองชลบุรีจังหวัด แรงจูงใจในการแยกขยะ
ชลบุรี โดยรวมอยู่ใน ครัวเรือนในเขตกทม.
ระดับปานกลางทั้งนี้อาจ
เป็นเพราะประชาชน
ต้องการลดจานวนขยะ
ในเขตเทศบาล เมือง
ชลบุรีที่มีปริมาณมาก
และไม่มีประโยชน์กับ
ตนเองประชาชนจึงให้
ความสาคัญกับการนา
ขยะ เช่น ถุงพลาสติกที่
ยังสามารถใช้งานได้ดีอยู่
กลับมาใช้ใหม่ ซึ่งเป็น
การลดปริมาณขยะมูล
ฝอย
ข้อเสนอแนะ 1. เสนอให้มีนโยบาย 1. ควรจัดให้มีการอานวย 1. ควรมีการสร้างวิสาหกิจ
[ระบุถึงข้อเสนอแนะที่ได้จากผลการศึกษา ซึ่งเกี่ยวข้อง ส่งเสริมการให้ความรู้ ความสะดวกในเรื่อง ชุมชน โดยการรวมกลุ่ม
กับงานวิจยั ของเรา] เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ Facility ในการแยกขยะ ของสมาชิกในชุมชน
ประเภทต่างๆก่อนนาไป เช่น จัดถังแยกขยะให้ 2. ควรมีการพัฒนา
ทิ้งลงในถังขยะ รวมถึง เพียงพอ สิ่งแวดล้อมชุมชนโดยมุ่งที่
วิธีการกาจัดขยะที่ 2. การให้ความรู้และ ระบบความคิดของคนใน
ถูกต้อง ประชาสัมพันธ์เรื่องความรู้ ชุมชน ควบคู่ไปกับการทา
2. ควรรณรงค์ให้ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ข้อมูล กิจกรรม
ประชาชนได้รับรูข้ ้อมูล ด้านต้นทุนและค่าใช้จ่าย 3. ควรมีการพัฒนาเกณฑ์
ข่าวสารเกีย่ วกับการ ของกทม. ในการส่งเสริมชุมชนและ
กาจัดขยะมูลฝอยให้มาก 3. ควรมีกฎหมายที่ องค์กรต้นแบบในการ
ขึ้น โดยผ่านทางสื่อ เหมาะสมและการรณรงค์ รักษา สิ่งแวดล้อม และมี
ประชาสัมพันธ์ เข่น หอ ส่งเสริมขยะต่อไป การกาหนดหลักเกณฑ์ใน
กระจายข่าว เอกสาร การพัฒนาชุมชนและ
แผ่นพับแจกจ่ายให้ องค์กรต้นแบบที่เป็นมิตร
ความรู้ความเข้าใจถึง กับสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน
ประโยชน์ในการกาจัด
ขยะอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม
ในการจัดการขยะมูล
ฝอย
3. ควรรณรงค์ส่งเสริม
สนับสนุนและจัด
กิจกรรมจูงใจให้
ประชาชนเกิดความ
ร่วมมือในการคัดแยก
ขยะมูลฝอยก่อนนามา
ทิ้ง เช่น การประกวด
สิ่งประดิษฐ์จากขยะมูล
ฝอย
4. ควรจัดหาถังขยะ
และกาหนดจุดที่ตั้งใน
ชุมชนให้มากขึ้นเพื่อให้
เพียงพอกับความ
ต้องการของประชาชนที่
นับวันจะยิ่งเพิ่มมากขึ้น
5. ควรมีการ
ประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับ
บทลงโทษและความรู้
เกี่ยวกับการทิ้งขยะมูล
ฝอย เพื่อให้ประชาชน
เกิดความตระหนักและ
เกิดความรับผิดชอบต่อ
สังคมและสิ่งแวดล้อมใน
ชุมชน
6. จัดเวทีประชาคม
เพื่อให้ประชาชนได้แสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ขยะมูลฝอยและการ
กาจัดขยะมูลฝอยใน
พื้นที่ของตนเอง เช่น ตั้ง
เป็นคณะกรรมการดูแล
ในเรื่องการกาจัดขยะมูล
ฝอยในชุมชนและ
หมู่บา้ น
ตารางแสดงผลการทบทวนวรรณกรรมกลุ่มที่ 1 (ต่อ)
สุจินดา ไผ่สมบูรณ์ สุวีรยา บุญชู
ประเด็น รัชต์พริษฐา พันธุ์ดี, ปรเมษฐ ห่วงมิตร (2549)
รัชนีกร โชติชัยสถิต และ
จินตนา ธนวิบูลย์ชัย
(2556)
สิ่งที่เป็นปัญหา การขาดความรู้ของ การจัดการทั้งทางด้านการ
(Symptom) ประชาชนเกี่ยวกับ จัดเก็บและการทาลายขยะ
[เขียนสรุปสั้น ๆ] ถุงพลาสติก ก่อให้เกิด มูลฝอยของประชาชนยังไม่
มลภาวะที่เป็นพิษและ มีประสิทธิภาพเพียงพอ จึง
เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทาให้ขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น
สาเหตุของปัญหา การรณรงค์ที่ยังเข้าไม่ถึง เพศ อายุ รายได้ การ
(Probable กลุ่มเป้าหมาย เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และ
Problems) ความรู้ในการจัดการทั้ง
[เขียนเฉพาะที่ ทางด้านการจัดเก็บและ
เกี่ยวข้องกับงานวิจัย การทาลายขยะมูลฝอยยัง
ของเรา] ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
จึงทาให้มีขยะมูลฝอย
ตกค้างที่ไม่ได้รับการ
จัดเก็บและการกาจัดอย่าง
ถูกลักษณะ
สิ่งที่ต้องการเห็นการ ประชาชนมีความรู้ ประชาชนมีพฤติกรรมใน
เปลี่ยนแปลง เกี่ยวกับถุงพลาสติกมาก การจัดการขยะมูลฝอยที่ดี
(Decision ขึ้น มีส่วนช่วยให้มลพิษ และมีส่วนร่วมเพื่อลดขยะ
Statement) [เขียน จากขยะพลาสติกลดลง มูลฝอยอย่างถูกต้อง
สรุปสัน้ ๆ]
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาความรู้ เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรม
(Research เกี่ยวกับถุงพลาสติกของ และเปรียบเทียบการ
Objectives) ครอบครัวในจังหวัด จัดการขยะมูลฝอยของ
[ระบุเฉพาะ นนทบุรี ประชาชน
วัตถุประสงค์ที่ 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรม
เกี่ยวข้องกับงานวิจัย การใช้ถุงพลาสติกของ
ของเรา] ครอบครัวในจังหวัด
นนทบุรี
3. เพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ความรู้เกี่ยวกับ
ถุงพลาสติกกับพฤติกรรม
การใช้ถุงพลาสติกของ
ครอบครัวในจังหวัด
นนทบุรี
สมมติฐานการวิจัย ความรู้เกี่ยวกับ 1. ประชาชนที่มีเพศ
(Research ถุงพลาสติกมีผลต่อ ต่างกันมีพฤติกรรมการ
Hypothesis) พฤติกรรมการใช้ จัดการขยะมูลฝอยแตกต่าง
[เขียนเฉพาะ ถุงพลาสติกในครอบครัว กัน
สมมติฐานที่เกี่ยวข้อง 2. ประชาชนที่มีอายุ
กับงานวิจยั ของเรา] ต่างกันมีพฤติกรรมการ
จัดการขยะมูลฝอยแตกต่าง
กัน
3. ประชาชนที่มีระดับ
การศึกษาต่างกันมี
พฤติกรรมการจัดการขยะ
มูลฝอยแตกต่างกัน
4. ประชาชนที่มีรายได้ใน
ครัวเรือนต่อเดือนต่างกันมี
พฤติกรรมการจัดการขยะ
มูลฝอยแตกต่างกัน
5. ประชาชนที่ได้รับข้อมูล
ข่าวสารต่างกัน มี
พฤติกรรมการจัดการขยะ
มูลฝอยแตกต่างกัน
ประโยชน์ของการ สะท้อนความตระหนัก 1. ทราบถึงระดับ
วิจัย ของประชาชนในเรื่องการ พฤติกรรมและผลการ
[งานวิจยั ให้อะไรที่เป็น ใช้ถุงพลาสติกที่มีผลต่อ เปรียบเทียบจาแนกตาม
ประโยชน์ และใครเป็น สิ่งแวดล้อม ปัจจัยส่วนบุคคลของ
ผู้ที่ได้รับประโยชน์] เป็นประโยชน์แก่ผู้วาง พฤติกรรมการจัดการขยะ
นโยบายในการผลักดัน มูลฝอยของประชาชนใน
การลดการใช้พลาสติกใน เขตลาดพร้าว
แต่ละพื้นที่ กรุงเทพมหานคร
2. ผลการศึกษาที่ได้จะ
นาไปเป็นข้อมูล ให้กบั
ผู้อานวยการสานักงานเขต
ลาดพร้าว
กรุงเทพมหานคร และผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริม
สนับสนุน ให้ประชาชนมี
พฤติกรรมการจัดการ ขยะ
มูลฝอยให้มีความถูกต้อง
และเหมาะสม สอดคล้อง
กับสภาพการดาเนิน
นโยบายการ จัดการ ขยะ
ของสานักงานเขต
กรุงเทพมหานคร
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย ความรูเ้ กี่ยวกับ 1. แนวความคิดเกีย่ วกับ
[ระบุเฉพาะชื่อทฤษฎีที่ ถุงพลาสติก การจัดการขยะมูลฝอย
นามาใช้ตอบ 2. แนวคิดด้านพฤติกรรม
วัตถุประสงค์การวิจยั ] มนุษย์

วิธีการศึกษา ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยเก็บ ข้อมูลปฐมภูมิ เชิงคุณภาพ


- การเก็บรวบรวม ข้อมูลจากแบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ
ข้อมูล ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ใช้แบบสอบถาม ในเดือน
[ใช้ข้อมูลปฐมภูมิหรือ คือ คุณลักษณะส่วน พฤษภาคม 2549
ทุตยิ ภูมิ และเป็น บุคคล ความรู้เกี่ยวกับ
ข้อมูลอะไร ถุงพลาสติก และ
ในช่วงเวลาใด] พฤติกรรมการใช้
ถุงพลาสติก
ประชากร ประชาชนที่อาศัยอยู่ใน ประชาชนในเขตลาดพร้าว
[ประชากรตามโจทย์ จังหวัดนนทบุรี จานวน กรุงเทพมหานคร
วิจัยที่เกีย่ วข้องกับ ทั้งสิ้น 247,771
การศึกษาของเรา] ครัวเรือน
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น - ทราบจานวนประชากร
และจานวนตัวอย่าง (Stratified Random โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
[กรณีที่ใช้ข้อมูลปฐม Sampling) ตามวิธกี ารของยามาเน่
ภูมิ: ทราบจานวน กลุ่มตัวอย่าง คือ (Yamane) ที่ระดับความ
ประชากรหรือไม่/สุ่ม ผู้รับผิดชอบจัดหาหาร เชื่อมั่น 95% และกาหนด
ตัวอย่างโดยอาศัย ของครอบครัวในจังหวัด ความคลาดเคลื่อนที่
หรือไม่อาศัยความ นนทบุรี จานวน 400 ยอมรับได้ 0.05
น่าจะเป็น/เกี่ยวข้อง คน กาหนดขนาดกลุ่ม - ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง
กับประมาณ ตัวอย่างใช้ความ อย่างง่าย (simple
ค่าพารามิเตอร์ตัวใด/ คลาดเคลื่อนไม่เกิน .05 random sampling) และ
ใช้วิธีการใดในการสุ่ม จากสูตรของยามาเน่ วิธีการสุ่ม แบบตาม
ตัวอย่าง] ทาการสุ่มแบบจับฉลาก วัตถุประสงค์ (purposive
แบบไม่จับซ้าจาก sampling)
ทะเบียนครัวเรือนให้ได้
จานวนตามทีก่ าหนดไว้ใน
แต่ละพื้นที่ หากไม่
สามารถเก็บรวบรวมจาก
ครัวเรือนได้จะทาการจับ
ฉลากใหม่
- การวิเคราะห์ขอ้ มูล 1. ความรู้เกี่ยวกับการใช้ 1. อธิบายลักษณะทัว่ ไป
[ใช้วิธกี ารใดทางสถิติ ถุงพลาสติกของ ของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้
หรือใช้แบบจาลองใด ครอบครัว และพฤติกรรม สถิตเชิงพรรณนา
ทางเศรษฐมิติ] การใช้ถุงพลาสติกใน (descriptive statistics)
ครอบครัว ใช้สถิติ โดยใช้ค่าร้อยละ
ค่าความถี่ ค่าร้อยละ (percentage)
ค่าเฉลี่ย และส่วน 2. อธิบายระดับพฤติกรรม
เบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดการขยะมูลฝอยของ
2. การวิเคราะห์หาค่า ประชาชนในเขตลาดพร้าว
ความสัมพันธ์ระหว่าง กรุงเทพมหานครโดยใช้
ความรู้เกี่ยวกับ สถิติเชิงพรรณนา
ถุงพลาสติกกับพฤติกรรม (descriptive statistics)
การใช้ถุงพลาสติกใน คือค่าเฉลี่ย (X) และค่า
ครอบครัวด้วย เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน 3. ทดสอบสมมติฐานโดย
(Pearson product ใช้สถิติเชิงอนุมาน
moment correlation) (inferential statistics)
คือ t - test และ One -
way ANOVA
ผลการศึกษา 1. ความรู้เกี่ยวกับ 1.ด้านการลดการเกิดขยะ
[ระบุข้อค้นพบที่สาคัญ ถุงพลาสติกของ มูลฝอย พบว่า พฤติกรรม
ซึ่งได้จากผลการ ครอบครัวส่วนใหญ่อยู่ใน การกาจัดขยะมูลฝอยของ
ทดสอบสมมติฐานที่ ระดับสูง โดยความรู้ ประชาชนในเขตลาดพร้าว
เกี่ยวข้องกับงานวิจัย เกี่ยวกับพลาสติกและ อยู่ในระดับมาก การ
ของเรา] ถุงพลาสติกของ ร่วมมือลดการก่อให้เกิด
ครอบครัวส่วนใหญ่อยู่ใน ขยะ ในเรื่องของการใช้
ระดับสูง และความรู้ ถุงพลาสติกหลาย ๆ ใบ
เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือการเลือกซื้อ สินค้าที่
จากถุงพลาสติกของ ไม่ก่อให้เกิดขยะ
ครอบครัวส่วนใหญ่อยู่ใน 2. ด้านคัดแยกขยะมูลฝอย
ระดับปานกลาง พบว่า พฤติกรรมการกาจัด
2. พฤติกรรมการใช้ ขยะมูลฝอยของประชาชน
ถุงพลาสติกของ ในเขตลาดพร้าว
ครอบครัวอยู่ในระดับ กรุงเทพมหานคร โดยรวม
ปานกลาง โดยในด้าน อยู่ในระดับมาก เพราะ
พฤติกรรมการใช้ ประชาชนเห็น ความสาคัญ
ถุงพลาสติกใน ของการคัดแยกขยะ
ชีวิตประจาวัน และ 3. ด้านการนากลับมาใช้
พฤติกรรมการจัดการขยะ ใหม่พบว่า พฤติกรรมการ
จากถุงพลาสติกอยู่ใน กาจัดขยะมูลฝอยของ
ระดับปานกลาง ประชาชน ในเขตลาดพร้าว
เช่นเดียวกัน กรุงเทพมหานคร โดยรวม
3. การศึกษา อยู่ในระดับมาก เพราะ
ความสัมพันธ์ระหว่าง ประชาชนต้องการลดขยะ
ความรู้เกี่ยวกับ จึงให้ความสาคัญกับการนา
ถุงพลาสติกกับพฤติกรรม ขยะประเภทกล่องกระดาษ
การใช้ถุงพลาสติกใน หนังสือพิมพ์ ถุงพลาสติก
ชีวิตประจาวันของ กลับมาใช้ใหม่
ครอบครัว พบว่า มี 4. จาแนกตามเพศต่างกัน
ความสัมพันธ์กันอย่างมี พบว่าพฤติกรรมการกาจัด
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ ขยะมูลฝอยแตกต่างกัน
.05 โดยมีขนาด อาจเป็นเพราะเพศหญิง ซึ่ง
ความสัมพันธ์ระดับต่า มีหน้าที่ดูแลบ้าน ทาความ
โดยค่าสัมประสิทธิ์ สะอาด ก็จะ มีพฤติกรรม
สหสัมพันธ์ (r) มีค่า การกาจัดขยะมูล ฝอย
เท่ากับ .274 อธิบายได้ว่า แตกต่างจากเพศชาย ที่
ความรูม้ ีผลต่อการปฏิบัติ ต้องทางานนอกบ้าน
ตนหรือพฤติกรรมในการ 5. จาแนกตามอายุต่างกัน
ใช้ถุงพลาสติกใน พบว่าพฤติกรรมการกาจัด
ชีวิตประจาวันอย่าง ขยะมูลฝอยแตกต่างกัน
ถูกต้อง ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะอายุ
มากจะมีความรู้ความเข้าใจ
ในปัญหาและมองเห็น
ความสาคัญมากกว่าคน
อายุน้อย
6. จาแนกตามระดับ
การศึกษาต่างกันพบว่า
พฤติกรรมการกาจัดขยะ
มูล ฝอยไม่แตกต่างกัน
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ
พฤติกรรมการกาจัดขยะ
มูลฝอยเป็นเรื่องใน
ชีวิตประจาวันของ
ประชาชนไม่ว่าจะมีระดับ
การศึกษาระดับใด
พฤติกรรมการกาจัดขยะจึง
ไม่แตกต่างกัน
7. จาแนกตามรายได้ใน
ครัวเรือนต่อเดือนต่างกัน
พบว่า พฤติกรรมการ
จัดการขยะมูลฝอยแตกต่าง
กัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ
ประชาชนมีรายได้มากจะมี
อุปกรณ์ที่เอื้ออานวยความ
สะดวกในการคัดแยกขยะ
เช่น การแยกถังขยะเปียก
ถังขยะแห้ง ถังขยะที่มี
อันตราย มากกว่าคนที่มี
รายได้น้อยที่มีถังขยะใบ
เดียวและไม่ได้คัดแยกขยะ
8. จาแนกตามการ
รับทราบข้อมูลข่าวสาร
ต่างกันพบว่าพฤติกรรม
การจัดการขยะมูลฝอยไม่
แตกต่างกันทั้งนี้อาจเป็น
เพราะทุกคนให้
ความสาคัญกับการคัดแยก
ขยะเพราะเป็นการรักษา
สิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการศึกษาความรู้ 1. ด้านการลดการเกิดขยะ
[ระบุถึงข้อเสนอแนะที่ และพฤติกรรมการใช้ มูลฝอย จากการศึกษา
ได้จากผลการศึกษา ซึ่ง ถุงพลาสติกของผู้บริโภค พบว่า การที่ประชาชนให้
เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ในพื้นที่อื่น เพื่อจะได้ คาแนะนาแก่เพื่อนบ้านใน
ของเรา] ทราบข้อมูลอย่าง การช่วยลดขยะอยู่ในระดับ
กว้างขวาง และทาการ น้อย ดังนั้นจึงเสนอให้
เปรียบเทียบความรู้และ ภาครัฐและหน่วยงานที่
พฤติกรรมการใช้ เกี่ยวข้องจัดกิจกรรมหรือ
ถุงพลาสติกของผู้บริโภค โครงการเผยแพร่ความรู้
ในแต่ละพื้นที่ เพื่อหา และสนับสนุนให้ประชาชน
แนวทางที่เหมาะสมใน ร่วมมือในด้านการลดการ
การให้ความรู้และการ เกิดขยะ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ควรรณรงค์
ของผู้บริโภค ประชาสัมพันธ์ให้
2. ควรมีการศึกษาความรู้ ประชาชนได้รับรู้ข่าวสาร
และทัศนคติของผู้บริโภค เกี่ยวกับการกาจัดขยะมูล
และผู้ประกอบการที่มีต่อ ฝอยให้มากขึ้น โดยสื่อ
ภาชนะบรรจุอาหาร ประชาสัมพันธ์ เช่น หอ
ประเภทถุงพลาสติก กระจายข่าว เอกสารแผ่น
เพื่อให้ทราบข้อมูลและ พับแจกจ่ายให้ความรู้ความ
แนวทางในการรณรงค์ให้ เข้าใจถึงประโยชน์ในการ
ความรู้ตลอดจนการ กาจัดขยะอย่างต่อเนื่อง
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมใน
สอดคล้องกัน การจัดการขยะมูลฝอย
3. ควรมีการ
ประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับ
บทลงโทษ และความรู้
เกี่ยวกับระเบียบที่
เกี่ยวข้องกับการทิ้งขยะ
เพื่อให้ประชาชนเกิดความ
ตระหนักและเกิดความ
รับผิดชอบต่อสังคมและ
สิง่ แวดล้อม

You might also like