Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 302

คู่มือพระไตรปิฎกสากล ฉบับสัชฌายะ

ชุด ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา)


ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�านักหอสมุดแห่งชาติ
มูลนิธิพระไตรปิฎกสากล.
คู่มือพระไตรปิฎกสากล ฉบับสัชฌายะ ชุด ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา).-- กรุงเทพฯ : 2562. 302 หน้า.

1. พระไตรปิฎก. I. ชื่อเรื่อง.

294.318
ISBN 978-616-93277-1-4

คู่มือพระไตรปิฎกสากล ฉบับสัชฌายะ ชุด ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา)


บรรณาธิการ : สุรธัช บุนนาค
โครงการพระไตรปิฎกสากล ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ค้นคว้า สร้างฐานข้อมูล คัดเลือกชุดสัททะอักขะระ และจัดท�าต้นฉบับด้วยชุดลิขสิทธิโ์ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ เลขที่ 351225
เรียงพิมพ์ด้วยสื่อผสมเทคโนโลยีตามสิทธิบัตรการแบ่งพยางค์ เลขที่ 46390
เผยแผ่เป็นพระธัมมทานโดย มูลนิธิพระไตรปิฎกสากล

The World Tipiṭaka Foundation

พิมพ์ครั้งที่ 1 : มกราคม พ.ศ. 2562


email : worldtipitaka@gmail.com

วิธีใช้หนังสือ คู่มือพระไตรปิฎกสากล ฉบับสัชฌายะ QR Code

Dhammapada 12

หนังสือฉบับนี้มุ่งเน้นการจัดพิมพ์วิธีการออกเสียงปาฬิในพระไตรปิฎกสากล ฉบับสัชฌายะ พ.ศ. 2559 โดยน�าเสนอ


ทั้งรูปศัพท์ที่เขียนด้วย สัททะอักขะระ-ปาฬิ (Pāḷi Phonetic Alphabet) และ รูปเสียง หรือ สัททสัญลักษณ์สากลด้วย
โน้ตเสียงปาฬิ (Pāḷi Notation) นอกจากนี้ยังริเริ่มนวัตกรรมการพิมพ์ QR Code เพื่อให้สืบค้นการออกเสียงสัชฌายะดิจิทัล
กล่าวคือ เป็นเสียงในปาฬิภาสาตามหลักไวยากรณ์พระไตรปิฎก
อารัมภกถา

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระเจ้ากรุงสยาม

พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับ จ.ป.ร. อักษรสยาม


พุทธศักราช ๒๔๓๖
(7)

จาก พระไตรปิฎก ฉบับ จ.ป.ร. พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น พระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระไตรปิฎกปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่มนี้ ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม
เป็นต้นฉบับสำาคัญในการสังคายนานานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐ และการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักขะระโรมัน พ.ศ. ๒๕๔๘
โครงการพระไตรปิฎกสากลได้อนุรักษ์ต้นฉบับนี้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางภาพ และพิมพ์เป็นฉบับอ้างอิงสากล พ.ศ. ๒๕๕๔
และจัดพิมพ์เป็นพระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
(8)

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชรวิวงษ์


วรุตมพงษบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ
บรมธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(9)

จาก พระไตรปิฎก ฉบับ จ.ป.ร. พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น พระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระไตรปิฎกปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่มนี้ ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม
เป็นต้นฉบับสำาคัญในการสังคายนานานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐ และการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักขะระโรมัน พ.ศ. ๒๕๔๘
โครงการพระไตรปิฎกสากลได้อนุรักษ์ต้นฉบับนี้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางภาพ และพิมพ์เป็นฉบับอ้างอิงสากล พ.ศ. ๒๕๕๔
และจัดพิมพ์เป็นพระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
(10)

จาก พระไตรปิฎก ฉบับ จ.ป.ร. พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น พระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระไตรปิฎกปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่มนี้ ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม
เป็นต้นฉบับสำาคัญในการสังคายนานานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐ และการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักขะระโรมัน พ.ศ. ๒๕๔๘
โครงการพระไตรปิฎกสากลได้อนุรักษ์ต้นฉบับนี้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางภาพ และพิมพ์เป็นฉบับอ้างอิงสากล พ.ศ. ๒๕๕๔
และจัดพิมพ์เป็นพระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
(11)

จาก พระไตรปิฎก ฉบับ จ.ป.ร. พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น พระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระไตรปิฎกปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่มนี้ ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม
เป็นต้นฉบับสำาคัญในการสังคายนานานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐ และการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักขะระโรมัน พ.ศ. ๒๕๔๘
โครงการพระไตรปิฎกสากลได้อนุรักษ์ต้นฉบับนี้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางภาพ และพิมพ์เป็นฉบับอ้างอิงสากล พ.ศ. ๒๕๕๔
และจัดพิมพ์เป็นพระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
(12)

จาก พระไตรปิฎก ฉบับ จ.ป.ร. พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น พระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระไตรปิฎกปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่มนี้ ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม
เป็นต้นฉบับสำาคัญในการสังคายนานานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐ และการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักขะระโรมัน พ.ศ. ๒๕๔๘
โครงการพระไตรปิฎกสากลได้อนุรักษ์ต้นฉบับนี้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางภาพ และพิมพ์เป็นฉบับอ้างอิงสากล พ.ศ. ๒๕๕๔
และจัดพิมพ์เป็นพระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
(13)

จาก พระไตรปิฎก ฉบับ จ.ป.ร. พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น พระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระไตรปิฎกปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่มนี้ ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม
เป็นต้นฉบับสำาคัญในการสังคายนานานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐ และการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักขะระโรมัน พ.ศ. ๒๕๔๘
โครงการพระไตรปิฎกสากลได้อนุรักษ์ต้นฉบับนี้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางภาพ และพิมพ์เป็นฉบับอ้างอิงสากล พ.ศ. ๒๕๕๔
และจัดพิมพ์เป็นพระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
(14)

จาก พระไตรปิฎก ฉบับ จ.ป.ร. พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น พระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระไตรปิฎกปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่มนี้ ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม
เป็นต้นฉบับสำาคัญในการสังคายนานานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐ และการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักขะระโรมัน พ.ศ. ๒๕๔๘
โครงการพระไตรปิฎกสากลได้อนุรักษ์ต้นฉบับนี้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางภาพ และพิมพ์เป็นฉบับอ้างอิงสากล พ.ศ. ๒๕๕๔
และจัดพิมพ์เป็นพระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
(15)

จาก พระไตรปิฎก ฉบับ จ.ป.ร. พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น พระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระไตรปิฎกปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่มนี้ ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม
เป็นต้นฉบับสำาคัญในการสังคายนานานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐ และการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักขะระโรมัน พ.ศ. ๒๕๔๘
โครงการพระไตรปิฎกสากลได้อนุรักษ์ต้นฉบับนี้ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางภาพ และพิมพ์เป็นฉบับอ้างอิงสากล พ.ศ. ๒๕๕๔
และจัดพิมพ์เป็นพระไตรปิฎกสัชฌายะ ฉบับ ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา) พ.ศ. ๒๕๕๙
โครงการพระไตรปิฎกสากล
พระสัมโมทนียกถา

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
องค์พระสังฆราชูปถัมภ์
ในโครงการพระไตรปิฎกสากล
สั พ์  เ พ สํ สํ ฆ ภู ต า  ค์ คี วุ ฑ์  ฒิ ส า ธิ ก า
นํ ส า มั

กองทุนสนทนาธัมม์น�าสุข
ท่านผู้หญิง ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค
ผู้จัดท�าต้นฉบับ

พุทธศักราช ๒๕๔๒-ปัจจุบัน
(19)

โครงการพระไตรปิฎกสากล
ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ ๑๙

.. บัดนี้ ได้มีการปริวรรตอักษรที่พิมพ์พระไตรปิฎก ฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ ครัง้ สำาคัญฉบับ


นี้ จากต้นฉบับภาษาปาฬิเป็นอักษรโรมัน ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค ได้อนุโมทนาและเป็นประธานอุปถัมภ์การ
พิมพ์เผยแผ่ให้แพร่หลายในนานาอารยประเทศ เนื่องในวโรกาสมหามงคลสมัยที่สมเด็จบรมบพิตรพระราช
สมภารเจ้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระมหากษัตริยพ์ ุทธมามกะแห่งสยามประเทศ ทรงเจริญพระชนมพรรษา
๗๒ ในปีพระพุทธศักราช ๒๕๔๒
อาตมภาพ ขอ อนุโมทนา สาธุการ ใน มหา กุศล นี้ และ ขอ อัญเชิญ อานุภาพ แห่ง คุณ พระ ศรี รัตนตรัย
อานุภาพแห่งพระไตรปิฎก ๘๔,๐๐๐ พระธัมมขันธ์ พร้อมทั้งอานุภาพแห่งพระสยามเทวาธิราช และพรหม
เทพ เท วา ทั้ง หลาย ใน สากล จักรวาล ได้ ดล บันดาล ให้ เกิด ความ สุข สวัสดี เกิด เป็น พระพร ชัยมงคล น้อม ถวาย
สมเด็จ บรม บพิตร พระ ราช สมภาร เจ้า พระบาท สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว พระ ปร มิ นท รม หา ภูมิพล อดุลย เดชฯ
บรม ธั ม มิ กม หา ราช พร้ อ ม ทั้ ง สมเด็ จ พระนาง เจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรม ราชิ นี น าถ สองพระ องค์ ผู้ ท รง พระคุ ณ
อัน ประเสริฐ ผู้ทรง มี พระ ราช หฤทัย เลื่อมใส ในพระ บวร พุทธ ศาสนา ให้ ทรง พระ เจริญ ยิ่ง ยืนนาน พร้อม ทั้ง
พระบรมวงศานุวงศ์
ขอมหากุศลนี้จงเป็นกุศลเหตุให้พรหมเทพเทวา มนุษย์ และสรรพสัตว์ทั้งหลาย ร่วมอนุโมทนาสาธุการ
ผู้บริจาคทรัพย์เป็นธัมมทาน และผู้ร่วมงานสร้าง “พระไตรปิฎกมหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐”
ฉบับอักษรโรมัน ฉบับแรกของโลก ทีพิ่ มพ์ขึน้ ในประเทศไทยนี้ เพื่อได้มีความสุขความเจริญทั่วกัน เทอญ.

(สมเด็จพระญาณสังวร)
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
วันที่ ๓๐ ธันวาคม พระพุทธศักราช ๒๕๔๒
ส่วนหนึ่งของพระสัมโมทนียกถา ในสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
ดูรายละเอียดได้ที่พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน พ.ศ. ๒๕๕๔
ปัจจุบันโครงการพระไตรปิฎกสากลได้พัฒนา พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน เป็น ฉบับสัชฌายะ พิมพ์ด้วย “สัททะอักขะระ-ปาฬิ”
โครงการพระไตรปิฎกสากล
ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

บทน�า
ความส�าคัญของพระไตรปิฎกปาฬิ
สั พ์  เ พ สํ สํ ฆ ภู ต า
นํ  ค์ คี วุ ฑ์  ฒิ ส า
ส า มั
ธิ ก า

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
(ป. อ. ปยุตโต)

พุทธศักราช ๒๕๔๕
โครงการพระไตรปิฎกสากล
ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

ความส�าคัญของพระไตรปิฎก

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
(ป. อ. ปยุตโต)

.. บัดนี้ กองทุนสนทนาธัมม์นำาสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้นำาพระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติ ที่สอบ


ทานโดยสงฆ์เถรวาทนานาชาตินี้ มาจัดพิมพ์ด้วยอักษรโรมันที่เป็นสากลแก่ผู้อ่านในนานาประเทศ
จากการดำาเนินการด้วยความเพียรพยายามอย่างตัง้ ใจจริง และโดยกระบวนวิธที รี่ อบคอบ รัดกุม จึงมี
รายงานของคณะผู้ทำางานว่า ได้พบพระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติที่พิมพ์ต่างวาระและสามารถกำาหนดแยก
ได้ระหว่างฉบับต้นร่างกับฉบับที่พิมพ์เป็นผลงานอันได้ทวนทานแล้ว ตลอดจนรู้เข้าใจฉบับที่พิมพ์ครั้งต่อๆ มาได้
ตามเป็นจริง ทำาให้ได้ตน้ ฉบับทีม่ นั่ ใจทีส่ ดุ กับทัง้ ยังได้สอบทานกับพระไตรปิฎกฉบับอักษรต่างๆ ของหลายประเทศ
ซำ้าอีกครั้งหนึ่งด้วย เหมือนกับทำาให้จุดหมายของฉัฏฐสังคีติบรรลุผลสมบูรณ์...
...หวังว่า พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ ทีก่ องทุนสนทนาธัมม์นาำ สุข
ท่านผูห้ ญิง ม.ล. มณีรตั น์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ดำาเนินการพิมพ์เผยแพร่ไปทัว่ โลกนี้ จะเป็นสือ่ ทีเ่ สมือน
พระธัมมทูตผูจ้ าริกไปกว้างไกลโดยทำาหน้าทีแ่ สดงธัมมะอันงามในเบือ้ งต้น งามในท่ามกลาง และงามตราบสุดท้าย
ตามพระพุทธโอวาทที่ทรงส่งพระสาวกรุ่นแรกไปประกาศพระศาสนา เพื่อให้สัมฤทธิ์จุดหมายแห่งการแผ่ขยาย
ประโยชน์สุขแก่พหูชน คือ ประชาชาวโลกทั้งมวลสืบไป.

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตโต)

วันที่ ๙ ตุลาคม พระพุทธศักราช ๒๕๔๙


ส่วนหนึ่งของบทนำา สมเด็จพรพุทธโฆษาจารย์
ดูรายละเอียดได้ที่พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน พ.ศ. ๒๕๕๔
ปัจจุบันโครงการพระไตรปิฎกสากลได้พัฒนา พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน เป็น ฉบับสัชฌายะ พิมพ์ด้วย “สัททะอักขะระ-ปาฬิ”
โครงการพระไตรปิฎกสากล
ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

ค�าน�า
คู่มือฉบับสัชฌายะ ชุด ภ.ป.ร. และ ชุด ส.ก.

โดย
ท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา
ประธานมูลนิธิพระไตรปิฎกสากล

พ.ศ. ๒๕๖๒
(27)

ค�าน�า
คู่มือฉบับสัชฌายะ ชุด ภ.ป.ร. และ ชุด ส.ก.
พุทธศักราช ๒๕๖๒

คู่มือฉบับสัชฌายะ ชุด ภ.ป.ร. และ ชุด ส.ก. ชุด ๒ เล่มนี้ เป็นคำาอธิบายพระไตรปิฎกสากล


ฉบับสัชฌายะ ชุด ภ.ป.ร. และ ชุด ส.ก. ชุด ๘๐ เล่ม พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งโครงการพระไตรปิฎกสากล ในสมเด็จ
พระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.
๒๕๔๒-ปัจจุบัน)

มูลนิธิพระไตรปิฎกสากลได้จัดพิมพ์ฉบับสัชฌายะดังกล่าวขึ้นน้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงเป็นองค์ประธานการสร้าง
พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

คู่มือชุด ภ.ป.ร. เป็นคำาอธิบาย “ต้นฉบับปาฬิภาสา” (Pāḷi Manuscript) กล่าวคือ เป็นการจัดพิมพ์


ต้นฉบับ จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ. ๒๔๓๖ ด้วย วิธีการถอดอักษร (Alphabetic Transliteration) โดยถอด
อักษรสยาม เรียงพิมพ์คู่ขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ เพื่อส่งเสริมการอ่านออกเสียงสัชฌายะ ซึ่งเป็นการออก
เสียงตามกฎไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ ที่เขียนด้วย สัททะอักขะระ-ปาฬิ (Pāḷi Phonetic Alphabet) ในทาง
ภาษาศาสตร์

คู่มือ ชุด ส.ก. เป็นคำาอธิบาย “โน้ตเสียงปาฬิ” (Pāḷi Notation) กล่าวคือ เป็นการพิมพ์ต้นฉบับ


ปาฬิภาสา ด้วย วิธีการถอดเสียง (Phonetic Transcription) โดยถอดเสียงเขียนเป็น สัททสัญลักษณ์ ที่เป็น
โน้ตเสียงสากล (Music Notation) ในทางดุริยางคศาสตร์

ในบทนำามีรายละเอียดคำาอธิบายวิธอี อกเสียงอ่านปาฬิในพระไตรปิฎก ทัง้ ในทางวิชาการด้านภาษาศาสตร์


และดุริยางคศาสตร์ ซึ่งได้มีการบันทึกเป็น “เสียงสัชฌายะดิจิทัล” (Digital Sajjhāya Recitation Sound)
อันเป็นพระไตรปิฎกเสียงสัชฌายะดิจิทัลจากพระไตรปิฎกฉบับสากล ทั้งชุด ๔๐ เล่ม เป็นครั้งแรก รวมเวลา
๓,๐๕๒ ชั่วโมง หรือประมาณ ๑.๖ เทระไบต์

ข้อมูลพระไตรปิฎกต่างๆ ดังกล่าว ได้จัดทำาเป็นฐานข้อมูลในทางวิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ และจด


เป็นสิทธิบัตร เลขที่ ๔๖๓๙๐ ซึ่งผู้สนใจสามารถสืบค้นได้ที่ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ หรือที่
sajjhaya.org

ในการจัดพิมพ์ครั้งนี้ได้จัดพิมพ์ Sajjhāya QR Code เพื่อผู้ที่สนใจสามารถสืบค้นอ้างอิงวิธีออกเสียง


สัชฌายะดิจิทัล ไว้ด้วย

มูลนิธิพระไตรปิฎกสากลขอขอบพระคุณทุกท่าน ที่ได้มีส่วนสนับสนุนให้โครงการพระไตรปิฎกสากล
สำาเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี ทั้งนี้เพื่อกุศลประโยชน์ในพระพุทธศาสนาตราบนานเท่านาน

ท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา


ประธานมูลนิธิพระไตรปิฎกสากล
โครงการพระไตรปิฎกสากล
ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

วิธีอ่านเสียงปาฬิ
อักขรวิธี ไม้ อั (อะ) อักขะระสยาม-ปาฬิ

โดย
สิริ เพ็ชรไชย ป.ธ. ๙
และคณะ
โครงการพระไตรปิฎกสากล
พ.ศ. ๒๕๖๒
(30)

กัจ์จายนปาฬิ ข้อที่ ๗ “อักขะระสยาม-ปาฬิ” กับ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ”


!"#$#%&'(%)*
!"#$%$&&'()(*&&+,- !

! +",$,% (/01#(/01#23 45'67% !


-!"# #$. -%&' () %&' () *+. -,"- .$.
" " " " " "

! #$ 8739 2: ;<&=01>'%'9 !!%?%@2& 4!%?"'67%


-/. +"0.1 -*2. -345"' 6) -$ -"0.1 -7) 7$ 8$ 9) *5. -,) 7$ 8"- .$.
" " " " " " " " " " "

(/01# (/01#23 A=!$:?+"'627 +",$,% '%4 2B'67*


-%&' (). -%&' () *+. -!"7 2: 8) !"- *.. -!"# #$. --$ ,). -;<- .=.
" " " " " " " " " "

พระไตรปิฎก จ.ป.ร. “อักขะระสยาม-ปาฬิ” พ.ศ. ๒๔๓๖

“อักขะระ” ง เกิดเสียงจากสองฐาน คือเกิดที่คอ (กัณ์ ช) และที่จมูก (นาสิกัฏ์ านช) ตามหลัก


ไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ ข้อที่ ๗ วัค์คา ปั ์ จปั ์ จโส มัน์ตา กล่าวว่า “อักขะระ” มี ๕ วัคค์ วัคค์ละ
๕ “อักขะระ” มี “มะ-อักขะระ” เป็นตัวสุดท้าย ท่านเรียกว่า พยัญชนะวัคค์ (อธิบายเพิ่มเติมว่า ง เป็น
“อักขะระ” ตัวที่ ๕ ของ กะ-วัคค์ เพราะฉะนั้นจะเป็น “อักขะระ” ตัวสุดท้ายของวัคค์แรก)
พระไตรปิฎก จ.ป.ร. “อักขะระสยาม-ปาฬิ” พ.ศ. ๒๔๓๖

การพิมพ์เสียงปาฬิด้วย “การถอดอักขะระ” (Transliteration) และ “การถอดเสียง”


(Transcription) ในพระไตรปิ ฎ ก จ.ป.ร. “อั ก ขะระสยาม-ปาฬิ ” สอดคล้ อ งกั บ หลั ก ไวยากรณ์
กัจจายะนะ-ปาฬิ นอกจากนี้ยังตรงกับหลักภาษาศาสตร์ที่ระบุว่า ง เกิดที่เส้นเสียงในลำาคอ ในที่นี้ได้นำา
เทคโนโลยีการพิมพ์มาผสานกับศาสตร์ทางภาษาศาสตร์ เพื่อการนำาเสนอการพิมพ์เป็น “อักขะระสยาม-
ปาฬิ” ในฐานะหน่วยเสียง และสอดคล้องกับกัจจายะนะ-ปาฬิที่ ง เป็น “อักขะระ” ตัวสุดท้ายในวัคค์แรก
ที่เรียกว่า กะ-วัคค์
(31)

เสียงปาฬิ หรือ เสียงภาษาพระธัมม์


เสียงทีโ่ ครงการพระไตรปิฎกสากลเรียกว่า ปาฬินิ น้ั พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัตไว้
ิ ในพระไตรปิฎก
ในส่วนของพระวินัยปิฎกเรื่องการรักษาเสียงพระธัมม์คำา สอน อย่างชัดเจนว่า ห้ามมิให้แปลเปลี่ยนเป็นเสียงใน
ภาษาอื่น เช่น ห้ามแปลเปลี่ยนเป็นเสียงในภาษาสันกฤตตามรายละเอียดในพระสุตตันตปิฎก ดังนั้นเพื่อป้องกัน
“อักขรวิบัติ” พระวินัยปิฎกจึงระบุหลักการออกเสียงปาฬิ พ๎ยั ์ ชนกุสล ไทยเรียก ว่า “พยัญชนะกุสละ ๑๐”
ได้แก่ ๑. สิ ถิล ๒. ธนิ ต ๓. ทีฆ ๔. รั ส์ส ๕. ครุ ๖. ลหุ ๗. นิค์ คหีต ๘. สัม์ พัน์ ธ ๙. ววัต์ ถิ ต
๑๐. วิมุต์ต
การออกเสียงปาฬิที่ไม่แม่นตรงตามพุทธบัญญัติในพระวินัยปิฎก ถือเป็นการล่วงละเมิดพระธัมมวินัย ที่
บัญญัตไิ ว้ในพระไตรปิฎก ภิกขุในพระพุทธศาสนาย่อมต้องอาบัตตาม ิ ความร้ายแรงของการล่วงละเมิดและมีโทษ
ทีคณะสงฆ์
่ ต้องลงทัณฑ์เป็นประการต่างๆ ยกเว้นอาบัตปิ าราชิกะทีภ่ กิ ขุพน้ จากความเป็นภิกขุทนั ที พร้อมกับการ
กระทำาล่วงละเมิดนั้น นอกจากนี้สังฆกัมม์ที่เกิดขึ้นจากสงฆ์ที่ต้องอาบัติร้ายแรงย่อมเป็นโมฆะ
จากการศึกษาต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. พบว่าการจัดพิมพ์อักขรวิธี “สยาม-ปาฬิ” มีการอ้างอิงวิธี
การออกเสียงปาฬิที่ตรงกับไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ ดูตัวอย่างหน้าซ้ายมือ

ตัวอย่างคัมภีร์ไวยากรณ์ที่ใช้อ้างอิงนี้ เขียนชื่อคัมภีร์ตามอักขรวิธี “สยาม-ปาฬิ” คือ


๑. นิรุต์ติปิฏก โดย มะหากัจจายะนะเถระ
คัมภีร์ไวยากรณ์ระดับพระไตรปิฎก-ปาฬิ
๒. กัจ์จายนปาฬิ โดย กัจจายะนะเถระ
คัมภีร์ไวยากรณ์ปาฬิ พ.ศ. ๖๐๐
๓. มุขมัต์ตทีปนี (นยาส) โดย วะชิระพุทธิเถระ ลังกาทวีป
อัฏฐกถาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ เล่มที่ ๑ พ.ศ. ๑๕๐๐
๔. ปทรูปสิท์ธิ โดย พุทธัปปิยะเถระ ลังกาทวีป
อัฏฐกถาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ เล่มที่ ๒ พ.ศ. ๑๖๐๐
๕. กัจ์จายนสารมั ์ ชรี โดย ยะสะเถระ พม่า
อัฏฐกถาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ พ.ศ. ๑๖๐๐
๖. สัท์ทนีติ โดย อัคคะวังสะเถระ พม่า
อัฏฐกถาอธิบายนิรุตติปิฎกกับไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ พ.ศ. ๑๗๐๐
๗. กัจ์จายนสุต์ตนิเทส โดย สัทธัมมะโชติปาละเถระ พม่า
อัฏฐกถาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ พ.ศ. ๑๙๙๐
๘. กัจ์จายนวัณ์ณนา โดย วิชิตาวีเถระ พม่า
อัฏฐกถาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ พ.ศ. ๒๑๐๐
๙. กัจ์จายนัต์ถทีปนี โดย อินทริยาภิวังสะเถระ
อัฏฐกถาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ
๑๐. พาลาวตาร โดย ธัมมะกิตติเถระ
อัฏฐกถาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ ประมาณ พ.ศ. ๒๐๐๐
๑๑. กัจ์จายนคุฬ๎หัต์ถทีปนีมหาฏีกา พม่า
ฎีกาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ พ.ศ. ๑๗๐๐
๑๒. มูลกัจ์จายนอัต์ถโยชนา โดย ญาณะกิตติเถระ ล้านนา
ฎีกาอธิบายไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ พ.ศ. ๒๐๒๘
(32)

วิธอี า่ น “เสียงปาฬิ-อักขะระสยาม” / อักขรวิธี “ไม้-อั (อะ) อักขะระสยาม-ปาฬิ”ิ โดยสิริ เพ็ชรไชย ป.ธ. ๙


๑. อักขรวิธีสยาม-ปาฬิ ที่ไม่แสดงรูปเครื่องหมาย คือ เสียงอะ
ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” เช่น ป หรือ น เมื่อไม่ตามด้วยพยัญชนะเสียงสะกด หรือ เสียงกลำ้า จะไม่ปรากฏ
เครือ่ งหมายใดๆ กำากับ อ่านพยัญชนะตัวนัน้ ประกอบวิสรรชนีย์ (ใส่เครือ่ งหมาย -ะ ) เช่น ปน อ่านตามเสียงปาฬิ
ด้วย “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ว่า [ปะนะ] ๑ สังเกต เสียงละหุ-ออกเสียงเร็ว “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ”
แสดงสัททสัญลักษณ์การพิมพ์สีเบาโปร่ง ส่วนเสียงคะรุ-ออกเสียงนานขึ้น เช่น [สt ฻ ต] แสดง • • •

สัททสัญลักษณ์การพิมพ์สีเข้มทึบ และใช้เครื่องหมาย จุดแบ่งพยางค์ [ • ] เพื่อให้ออกเสียงได้ง่าย (ดู “สัททะ


อักขะระไทย-ปาฬิ” ในหนังสือ ๘๐ ปี ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘)
๒. อักขรวิธีสยาม-ปาฬิ ที่แสดงรูปเครื่องหมาย มี ๔ ประเภท
๒.๑ ไม้อะ ( ั ) ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” แสดงเสียง สระ-อะ ( -ะ ) ที่เป็นเสียงคะรุ :
๒.๑.๑ แสดงเสียง สระ-อะ เมือ่ อยู่หน้าพยัญชนะเสียงสะกด สังเกตไม้อะ ( ั ) บนพยัญชนะหน้า
เสียงสะกดเช่น ธัม์ คือ ธั ที่อยู่หน้าพยัญชนะเสียงสะกด ม์ (ม-วัญฌการ) ในคำาว่า ธัม์มํ ๒2 “สัททะอักขะระ
ไทย-ปาฬิ” เขียนว่า [ธม มงำ] •

๒.๑.๒ แสดงเสียง สระ-อะ เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะเสียงกลำ้า สังเกตไม้อะ ( ั ) บนพยัญชนะหน้าเสียง


กลำ้า เช่น กัต๎วา- คือ กั (กะ) ที่อยู่หน้าพยัญชนะเสียงกลำ้า ต๎ว- (ต-ยามักการ) ในคำา กัต๎วา 3๓ “สัททะ
อักขะระไทย-ปาฬิ” เขียนว่า [กt ต฻ ว า] (ดูคำาอธิบายของ สระ-อะ ที่ต้องเป็นเสียงคะรุ ในกฎไวยากรณ์

กัจจายะนะ-ปาฬิ ข้อ ๖๐๒)


กรณี “ไม้อะ” ในคำา กัต๎วา [กt ต฻วา] 3๓ จึงเป็นการแสดงรูปเสียง สระ-อะ เป็นสัททสัญลักษณ์

เช่นเดียว กับ สัททสัญลักษณ์ “ไม้อิ” และ “ไม้อุ” ที่เป็นเสียงคะรุ เมื่อตามด้วยเสียงกลำ้า เช่น คุย๎หํ [ค ย฻ห งำ] •

๒.๑.๓ เสียง อะ-นาสิก ( -ัง ) พยัญชนะปาฬิ ง ไม่กำากับด้วยไม้วัญฌการ ไม่เป็นเสียงสะกด เช่น


อักขะระสยาม-ปาฬิ คำาว่า มังคลมุต์ตมํ คำานี้ สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ ว่า [ มงำ คะละ มต ตะ มงำ] ๑๒ เสียง งั • • • •

[ -งำ] เป็นเสียงคะรุ ออกเสียงนาน


๒.๒ ไม้วญ ั ฌการ ( ์ )๑ ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” แสดงเสียงสะกด โดยเขียนไม้วัญฌการบนพยัญชนะ
เสียงสะกด เช่น ภิก์ - เกิดจาก ภิ (ภ + อิ)ิ + ก์ (ก-วัญฌการ) ในคำาว่า ภิก์ขุ [ภb ก ขุ] ๔ •

อนึ่ง ไม้วัญฌการ ( ์ ) ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” มีหน้าที่ต่างจากเครื่องหมายที่มีรูปพ้องกันในภาษา


ไทยปัจจุบัน ซึ่งเรียกว่า ไม้ทัณฑฆาต ( ์ ) ที่เขียนเหนือพยัญชนะ หรือ เหนือพยัญชนะพร้อมสระ เพื่อไม่ให้ออก
เสียง เช่น องค์ (ไม่ออกเสียงพยัญชนะ ค), จันทร์ (ไม่ออกเสียงพยัญชนะ ท และ ร ทั้งสองตัว), และ สิทธิ์
(ไม่ออกเสียงพยัญชนะ ธ และ สระ-อิ)

๒.๓ ไม้ยามักการ ( ๎ )๒ ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” เขียนไม้ยามักการไว้บนพยัญชนะเสียงกลำ้าตัวหน้า


คือ ให้ออกเสียงพยัญชนะตัวหน้ากลำ้ากับตัวหลัง
เช่น พ๎ย (พ-ยามักการ-ย) ในคำาว่า สพ๎ยั ์ ชนํ [สะ บ฻ ย ญ ชt นงำ] ๕
• • •

พ๎ยั ์ ชนํ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ว่า [บ฻ ย ญ ชt นงำ] ๖ • •

เท๎ว “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ว่า [ด gว] ๗


กัล๎ยาณธัม์มํ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ว่า [กt ล฻ ย า ณt ธม ม งำ] ๘ • • • •

๒.๔ ไม้นิคคะหิต ( � ) หรือในภาษาไทยเรียกกันว่า พินทุโปร่ง “อักขะระสยาม-ปาฬิ” แสดงเสียงนิคคะหิต


คือเสียงพยัญชนะเกิดที่จมูกล้วนๆ โดยเขียนไม้นิคคะหิตเหนือพยัญชนะที่ประกอบกับสระเสียงสั้น (อะ, อิ, อุ)๓
เช่น สระ-อะ อ� “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ว่า ภิก์ขุสํฆํ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ว่า [ภb ก ข สงำ ฆ งำ] ๙ • • •

� ํ “
สระ-อิ อิ “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ว่า เอตัส๎มิ สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ว่า [g ตt ส฻มbงำ] ๑๐ • •

สระ-อุ อ� “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ว่า ภิก์ขุํ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ว่า [ภb ก ขงำ] ๑๑ •


เครื่องหมายนี้ โครงการพระไตรปิฎกสากลเขียนทับศัพท์ปาฬิว่า “ไม้วัญฌการ” ต่างจากที่เขียนในหนังสือ “วิธีเรียงลำาดับอักษรและเครื่องหมาย”
พระบาฬีลิปิก๎รม ของพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์) ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๒ จัดพิมพ์ตามแบบฉบับเดิม พ.ศ. ๒๕๔๙
เรียกว่า “ไม้วัญชการ”

เครื่องหมายนี้ โครงการพระไตรปิฎกสากลเขียนทับศัพท์ปาฬิว่า “ไม้ยามักการ” ต่างจากที่ปรากฏใน พระบาฬีลิปิก๎รม ว่า “ไม้ยามการ” ส่วน
พ.ศ. ๒๕๔๒ ใช้ชื่อว่า “ยามักการ”

ในภาษาไทยไม่มเี สียงพยัญชนะเกิดทีจ่ มูกล้วนๆ เหมือนในปาฬิภาสา จึงมักใช้อกั ษร ง แม่กง ทีเ่ ป็นเสียงสะกดแทนเสียงนิคคะหิตซึง่ ผิดหลักไวยากรณ์ปาฬิ
(33)

ตัวอย่างอักขรวิธี “ไม้-อั (อะ) อักขะระสยาม-ปาฬิิ”


จากพระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักขะระสยาม-ปาฬิ พ.ศ. ๒๔๓๖ ชุด ๓๙ เล่ม
ดูการเขียนเสียงปาฬิ ด้วย อักขรวิธี “ละหุคะรุ สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” หน้าซ้ายมือ

สุรธัช บุนนาค และคณะโครงการพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. ๒๕๕๖ , อักขรวิธสี ยาม-ปาฬิ โดย สิริ เพ็ชรไชย์ ป.ธ. ๙, ถอดเสียงเป็น “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” โดย วิจนิ ตน์ ภาณุพงศ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๑
ตัวอย่าง ๑

๓๓ ๒๒

(พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักขะระสยาม-ปาฬิ ๒๔๓๖ เล่มที่ ๑ หน้า ๔๒ สิกขาบทที่ ๑)

๔๔
ตัวอย่าง ๒

(พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักขะระสยาม-ปาฬิ ๒๔๓๖ เล่มที่ ๑ หน้า ๔๒ สิกขาบทที่ ๒)


ตัวอย่าง ๓

(พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักขะระสยาม-ปาฬิ ๒๔๓๖ เล่มที่ ๑ หน้า ๒๘๒)


ตัวอย่าง ๔

(พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักขะระสยาม-ปาฬิ ๒๔๓๖ เล่มที่ ๒ หน้า ๕๘)


ตัวอย่าง ๕

๕ ๖

(พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักขะระสยาม-ปาฬิ ๒๔๓๖ เล่มที่ ๑ หน้า ๑, เล่มที่ ๒ หน้า ๔๖๓)

๑๐
๙ ๙๘
ตัวอย่าง ๖

๑๑
๑๐

(พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักขะระสยาม-ปาฬิ ๒๔๓๖ เล่มที่ ๑ หน้า ๓๙)


ตัวอย่าง ๗

๑๒

(พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักขะระสยาม-ปาฬิ ๒๔๓๖ เล่มที่ ๒๕ หน้า ๓)

การอนุรักษ์ดิจิทัล ศึกษา และจัดพิมพ์เผยแผ่ จากต้นฉบับวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร


โดย สิริ เพ็ชรไชย โครงการพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๕๖
โครงการพระไตรปิฎกสากล
ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

วิธีเขียนเสียงปาฬิ
อักขรวิธี ละหุคะรุ สัททะอักขะระ-ปาฬิ

โดย
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิจินตน์ ภาณุพงศ์
และคณะ
โครงการพระไตรปิฎกสากล
พ.ศ. ๒๕๖๒
(36)

ตารางสระและพยัญชนะปาฬิ ด้วย “อักขะระสยาม-ปาฬิ” และได้มีการเทียบกับ “อักขะระโรมัน”


พ.ศ. ๒๔๓๖ โดยเรียงลำาดับพยัญชนะเป็นลำาดับตามกฎไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ

๑ ตาราง การถอดเสียง (Transcription) ชุด “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นการจัดรูป


“อักขะระ” ที่แสดงที่กาำ เนิดเสียงปาฬิตามฐานอวัยวะกับลิ้นในปาก หรือที่เรียกว่า ฐาน-กรณ์
ch
ลักษณะ วัค์คา ปั ์ จปั ์ จโส มั น์ตา เสสา อวัค์คา พ๎ยั ์ ชนา นาม
jh การเปล่ง เสียงปาฬิ-พยัญชนะวัคค์ มี 5 วัคค์ วัคค์ละ 5 ตัว เสียงปาฬิ-ชื่อพยัญชนะอวัคค์
เสียง อโฆส โฆส โฆส อโฆส
าน โฆสาโฆส
ไม่ก้อง ก้อง วิมุต์ติ ก้อง ไม่ก้อง
กรณ
ṭh สิถิล ธนิต สิถิล ธนิต สิถิล อุสุม
นาสิกัฏ์ านช
เสียงเกิด
ḍh ที่ านและกรณ์ ไม่พน่ ลม พ่นลม ไม่พน่ ลม พ่นลม ช่องจมูก ไม่พน่ ลม เสียดแทรก
กัณ์ ช [ห]
ที่เส้นเสียง
th กัณ์ ช
h ห๎
[ก] [ข] [ค] [ฆ] [ง]
dh ที่เพดานอ่อน k ก์ kh ข์ g ค์ gh ฆ์ ง
ตาลุช [จ] [ฉ] [ช] [ฌ] [ญ] [ย]
๒ ที่เพดานแข็ง c จ์ ch ฉ์ j ช์ jh ฌ์ ñ ์ y ย๎
ph มุท์ธช
[ฏ] [ฐ] [ฑ] [ฒ] [ณ] [ร] ๗
[ฬ] ๘

bh ทีห่ ลังปุมเหงือก ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์ r ร๎ ฬ๎
ทั น์ตช [ต] [ถ] [ด] [ธ] [น] [ล] ๘
[ส]
y ที่ ันบน t ต์ th ถ์ d ท์ dh ธ์ n น์ l ล๎ s ส๎
r
l
ทั น์โตฏ์ ช [ว]
v
s
ทีร่ มิ ปี ากกับ นั v ว๎
h
โอฏ์ ช [ป] [ผ] [บ] [ภ] [ม]
ที่ริม ีปาก p ป์ ph ผ์ b พ์ bh ภ์ m ม์
นาสิกัฏ์ านช [งำ]
ที่ช่องจมูก ำ

kh
ลหุ
gh ออกเสียงเร็ว [ -ะ] [ -ั ][ - ็า] [ - ิ ] [-ี] [ -ุ ] [ - ู ] [ เ-็] [ โ -็]
๓ ครุ
ออกเสียงนานขึน้
[- t ] [ -y ] [ -า ] [ - b ] [ - u ] [ -6 ] [ -^] [ g- ] [ F-]
ch
(37)

“สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ā เป็นการ เขียนเสียงปาฬิ ใน


ทางวิชาการด้านภาษาศาสตร์ ด้วยรูป “อักขะระไทย” (Thai Alphabet) ทีพ่ ฒ ั นาจาก “อักขะระสยาม-ปาฬิ”
และ “สัททะอักขะระสยาม-ปาฬิ” เป็น “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ā
พร้อมกับระบบสัททสัญลักษณ์ปาฬิ ā ตามที่ได้น�าเสนอแล้วในที่ประชุมส�านัก
ศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ และต่อมาได้มีการจัดพิมพ์ลงในวารสารราชบัณฑิตยสถาน เพื่อ
แสดงการเขียนเสียงปาฬิให้แม่นตรงตามหลักไวยากรณ์ในกัจจายะนะ-ปาฬิ อันเป็นการเขียนตามแนวอักขรวิธี
สยามปาฬิ ในพระไตรปิฎก จปร. พ.ศ. ๒๔๓๖ โดยไม่ค�านึงถึงเสียงวรรณยุกต์สูงต�า่ ในภาษาไทย โดยเขียน
รูป “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” และสัททสัญลั กษณ์ป าฬิ ใน เครื่อง หมายวงเล็บ สัททสัญลัก ษณ์สา กล [ ]
ดังมีหลักการดังนี้
๑. การสร้างตาราง การถอดเสียง (Transcription) ชุด “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” (ดู ๑ หน้า
ซ้าย) เป็นการจัดรูป “อักขะระ” ทีแ่ สดงทีก่ าำ เนิดเสียงปาฬิตามฐานอวัยวะกับลิน้ ในปาก หรือทีเ่ รียกว่า ฐาน-กรณ์
๒. การสร้าง สัททสัญลักษณ์ (Phonetic Symbol) ทีป่ ระดิษฐ์ขน้ึ ใหม่ ๒ กำาหนดการออกเสียง ดังนี้
๒.๑ รูป สระ-อะ ที่ลดรูปใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ใน “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” จะแสดง
รูปสระ เช่น “อักขะระสยาม-ปาฬิ” เขียนว่า ปน “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” จะเขียนว่า [ปะนะ] สังเกตการพิมพ์
สีเบาโปร่งแสดงเสียงละหุ
๒.๒ กรณีที่ “อักขะระสยาม-ปาฬิ” มี “ไม้อะ” ( ั ) นำาหน้าพยัญชนะเสียงสะกด ซึ่งแสดงด้วย
พยัญชนะที่กำากับด้วย “ไม้วัญฌการ” ( ์ ) เช่น “อักขะระสยาม-ปาฬิ” เขียนว่า ตัส์ส “สัททะอักขะระไทย-
ปาฬิ” จะใช้อักขรวิธี “ไม้ อะ อักขะระสยาม-ปาฬิ” คือคงรูป ไม้-อะ ไว้ แต่งดรูปไม้วัญฌการ เขียนว่า [ต ส สะ] •

ส่วนสระอื่นๆ ซึ่งตามด้วยเสียงสะกด ก็ยังคงรูปสระไว้ และงดรูปไม้วัญฌการ เช่นกัน


๒.๓ กรณีที่ “อักข ะระสยาม-ปาฬิ” มี ไม้-อะ นำาหน้าพยัญชนะเสียงกลำ้า ซึ่งกำากับด้วย
“ไม้ยามักการ” ( ๎ ) เช่น ต๎ว ใน กัต๎วา “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” จะเขียนว่า [กt ต฻วา] เพื่อมุ่งเน้นเสียง

สระ-อะ ให้ออกเสียงเป็นพิเศษตามหลักไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ ข้อ ๖๐๒ ที่กำาหนดว่า ให้สระเสียงสั้นที่นำา


หน้าพยัญชนะเสียงกลำ้า เป็น เสียงคะรุ-ออกเสียงนานขึ้น และใช้สัททสัญลักษณ์ “ไม้กลำ้า” [ ฻ ] กำากับใต้
พยัญชนะเสียงกลำ้าทั้งสองตัว
สังเกต สระเสียงสั้นพิมพ์สีเข้มทึบ แสดงเสียงนานขึ้น เช่น ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ว่า
กัต๎วา “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” เป็น [กt ต฻วา] หิต๎วา เป็น [หิb ต฻วา] และ คุย๎หํ เป็น [ค6 ย฻หงำ] และมีการ
• • •

ใช้เครื่องหมาย จุดแบ่งพยางค์ [ ] ทุกครัง้ เพือ่ ให้ออกเสียงได้งา่ ย


๒.๔ ในคำาที่มีไม้ยามักการกำากับและอยู่หลัง สระ-เอ หรือ สระ-โอ เช่น “อักขะระสยาม-ปาฬิ”


เขียนว่า เท๎ว ตุเม๎ ห มูโฬ๎ ห ใน “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” จะเขียนสลับตำาแหน่งและเขียนสัททสัญลักษณ์
ไม้กลำ้า ใต้ “อักขะระ” สามตัวเป็น [ดgว] [ต6 มgห] และ [ม^ ฬFห] ตามความนิยมในอักขรวิธีเขียนในภาษาไทย
• •

ปัจจุบัน และจะใช้เครื่องหมายจุดแบ่งพยางค์ [ ] ทุกครั้ง เพื่อให้ออกเสียงได้ง่าย


๒.๕ สระ-เอ สระ-โอ เมื่อตามด้วยพยัญชนะเสียงสะกด ให้ออกเป็นสระเสียงสั้น ตามคำาอธิบาย


ในไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ใช้สัททสัญลักษณ์ “ไม้ไต่คู้” ( ็ ) แสดงเสียง
สระเสียงสั้น ที่เป็นละหุ-ออกเสียงเร็ว เช่น “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ว่า โกณ์ฑั ์ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ว่า
[โก็ณ ฑญ ญะ]
• •

๒.๖ เครื่ อ งหมาย “ง-พิ น ทุ โ ปร่ ง ” ( งำ ) เป็ น พยั ญ ชนะที่ ป ระกอบกั บ สระเสี ย งสั้ น
(อ อิ อุ) เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงนิคคะหิต ที่เกิดที่จมูกเท่านั้น เช่น อ� ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ว่า สํกัป์ปํ
“สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” เขียนว่า [สงำ กป ปงำ] อิ� ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ว่า เอตัส๎มํิ “สัททะอักขะระ
• •

ไทย-ปาฬิ” เขียนว่า [g ตt ส฻มbงำ] อุ� ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ว่า ภิก์ขุํ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” เขียนว่า


• •

[ภbก ข6งำ]

๓. พิมพ์สัททสัญลักษณ์ของเสียงละหุคะรุ ๓ ด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ดิจิทัล กล่าวคือ เสียงละหุ-ออก


เสียงเร็ว พิมพ์สเี บาโปร่ง เสียงคะรุ-ออกเสียงนานขึน้ พิมพ์สเี ข้มทึบ ซึง่ เป็นการจัดทำาเป็นครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์พระ
พุทธศาสนา ตามหลักการออกเสียงละหุคะรุตามกฎไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ
(38)

ตาราง การถอดเสี
ch
ยง จาก “อักขะระโรมัน-ปาฬิ” และ “อักขะระสยาม-ปาฬิ” เป็น “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ”
ลักษณะ วัค์คา ปั ์ จปั ์ จโส มั น์ตา เสสา อวัค์คา พ๎ยั ์ ชนา นาม
jh การเปล่ง เสียงปาฬิ-พยัญชนะวัคค์ มี 5 วัคค์ วัคค์ละ 5 ตัว เสียงปาฬิ-ชื่อพยัญชนะอวัคค์
เสียง อโฆส โฆส โฆส อโฆส
าน โฆสาโฆส
ไม่ก้อง ก้อง วิมุต์ติ ก้อง ไม่ก้อง
กรณ
ṭh สิถิล ธนิต สิถิล ธนิต สิถิล อุสุม
นาสิกัฏ์ านช
เสียงเกิด
ḍh ที่ านและกรณ์ ไม่พน่ ลม พ่นลม ไม่พน่ ลม พ่นลม ช่องจมูก ไม่พน่ ลม เสียดแทรก
กัณ์ ช [ห]
ที่เส้นเสียง
th กัณ์ ช
h ห๎
[ก] [ข] [ค] [ฆ] [ง]
dh ที่เพดานอ่อน k ก์ kh ข์ g ค์ gh ฆ์ ง
ตาลุช [จ] [ฉ] [ช] [ฌ] [ญ] [ย]
ที่เพดานแข็ง c จ์ ch ฉ์ j ช์ jh ฌ์ ñ ์ y ย๎
๑ ph มุท์ธช
[ฏ] [ฐ] [ฑ] [ฒ] [ณ] [ร] ๗
[ฬ] ๘

bh ทีห่ ลังปุมเหงือก ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์ r ร๎ ฬ๎
ทั น์ตช [ต] [ถ] [ด] [ธ] [น] [ล] ๘
[ส]
y ที่ ันบน t ต์ th ถ์ d ท์ dh ธ์ n น์ l ล๎ s ส๎
r
l
ทั น์โตฏ์ ช [ว]
v
s
ทีร่ มิ ปี ากกับ นั v ว๎
h
โอฏ์ ช [ป] [ผ] [บ] [ภ] [ม]
ที่ริม ีปาก p ป์ ph ผ์ b พ์ bh ภ์ m ม์
นาสิกัฏ์ านช [งำ]
ที่ช่องจมูก ำ

ตาราง การถอดเสียง เป็น “สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ”


ch Phonetic Alphabet Avagga
Articulation :

Phonetic Alphabet Vagga


[vag • ga byañ • jana] [a • vag • ga byañ • jana]
Manner of
Place of Articulation :

jh
Karaṇa

Voiceless Voiced [ghhō • sā Voiced Voiceless


[a • ghō • sa] [ghō • sa] g ō • sa [ghō • sa] [a• ghō • sa]
Ṭhānakaraṇa1

vi • mut • ti]1

ṭh Un- Aspirated Un- Aspirated Nasalized Unaspirated


aspirated aspirated [usuma]
[sithila] [dhanita] [sithila] [dhanita] [nā • si • kaṭ• ṭhā • naja] [sithila]
ḍh
Glottis
[kaṇ • ṭhaja]
[ห]
ห๎ [h]
th Velar [ก] [ข] [ค] [ฆ] [ง]
[kaṇ • ṭhaja]

๒ dh ก์ [k] ข์ [kh] ค์ [g] ฆ์ [gh] ง [ ]


Palatal
[tā • luja]
[จ] [ฉ] [ช] [ฌ] [ญ] [ย]
จ์ [c] ฉ์ [ch] ช์ [ j] ฌ์ [ jh] ์ [ñ] ย๎ [ y]
ph Post-Alveolar [ฏ] [ฐ] [ฑ] [ฒ] [ณ] [ร] [ฬ]
[mud • dhaja]
bh ฏ์ [ṭ] ์ [ṭh] ฑ์ [ḍ] ฒ์ [ḍh] ณ์ [ṇ] ร๎ [r] ฬ๎ [ ḷ ]
Dental [ต] [ถ] [ด] [ธ] [น] [ล] [ส]
[dan • taja]
y ต์ [t] ถ์ [t ] ท์ [d] ธ์ [d ] น์ [n] h h
ล๎ [ l ] ส๎ [s]
r Labio-dental [ว]
l [dan • toṭ • ṭhaja]
v ว๎ [v]
s Bilabial [ป] [ผ] [บ] [ภ] [ม]
h [oṭ• ṭhaja]
ป์ [p] ผ์ [ph] พ์ [b] ภ์ [bh] ม์ [m]
Nasalized
[nā• si• kaṭ• ṭhā• naja]
[งำ ]
ำ [ŋำ ]
kh Lahu
[lahu] [-ะ] [ -ั ] [ -า็ ] [ -ิ] [ -ุ ] [ เ-็ ] [ โ -็ ]
[-a ] [-a ] [-ā] [-i ] [-u] [- ] [- ō ]
๓ gh
Garu
[garu] [-t] [ -y ] [-า ] [ -b] [ -u] [ -6 ] [ -^ ] [ g- ] [ F- ]
[-a] [- a] [-ā] [-i ] [- ī ] [-u] [-ū] [-ē ] [ -ō ]
tion :
(39)

“สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ” ā เป็นการ เขียนเสียงปาฬิ


ทางวิชาการภาษาศาสตร์ ด้วยรูป “อักขะระโรมัน” ที่พั ฒนาจาก “สัททะ
อักขะระไทย-ปาฬิ” ā พร้อมกับระบบสัททสัญ ลักษณ์ปาฬิ ā
เพื่อแสดงการเขียนเสียงปาฬิให้แม่นตรงตามหลักไวยากรณ์ในกัจจายะนะ-ปาฬิ อัน
เป็นการเขียนตามแนว อักขรวิธสี ยามปาฬิ ในพระไตรปิฎก จปร. พ.ศ. ๒๔๓๖ โดยไม่ค�านึงถึงเสียงวรรณยุกต์
สูงต�่าในภาษาไทยโดยเขียนรูป “สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ” และสัททสัญลักษณ์ปาฬิ ในเครื่องหมายวงเล็บ
สัททสัญลักษณ์สากล [ ] มีหลักการดังนี้
๑. สร้างตาราง การถอดเสียง (Transcription) อ้างอิงตาม ชุด “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” (ดู ๑
หน้าซ้าย) เป็นการจัดรูป “อักขะระ” ทีแ่ สดงทีก่ าำ เนิดเสียงปาฬิตามฐานอวัยวะในปากกับลิน้ หรือ ฐาน-กรณ์
๒. สร้าง สัททสัญลักษณ์ (Phonetic Symbol) ที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ๒ กำาหนดการออกเสียง ดังนี้
๒.๑ “อักขะระ” เสียงพ่นลม เดิมใช้ ๒ “อักขะระ” แทน ๑ เสียง เช่น bh ใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ”
ใช้ ภ์ ส่วน ใน “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” [ภ] คือเสียงพ่นลม จะใช้สัททสัญลักษณ์ h แทนเสียงพ่นลม พิมพ์
ตัวเล็กยกขึ้นบน เป็น [bh]
๒.๑ รูป สระ-อะ ทีล่ ดรูปใน “อักขะระสยาม-ปาฬิ” ใน “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” จะแสดงรูปสระ
เช่น “อักขะระสยาม-ปาฬิ” เขียนว่า ปน “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” เขียนว่า [ปะนะ] “สัททะอักขะระโรมัน” จะ
ใช้สัททสัญลักษณ์ a แทนเสียง สระ-อะ เป็น [pana] สังเกตการพิมพ์สีเบาโปร่งของสระแสดงเสียงละหุ ส่่วนกรณี
สระเสียงยาว “สัททอักขะระโรมัน-ปาฬิ” จะมี ( ¯ ) bar อยู่เหนือสัญลักษณ์
๒.๒ “อักขะระสยาม-ปาฬิ” มี “ไม้อะ” ( ั ) นำาหน้าพยัญชนะเสียงสะกด ซึ่งแสดงด้วย
พยัญชนะที่กาำ กับด้วย “ไม้วัญฌการ” ( ์ ) เช่น “อักขะระสยาม-ปาฬิ” เขียนว่า ตัส์ส “สัททะอักขะระไทย-
ปาฬิ” เขียนว่า [ สะ ] ใน “สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ” เขียนว่า [ tas sa] สังเกตการพิมพ์สเี ข้มทึบของสระแสดง
• •

เสียงคะรุ และมีเครื่องหมายแบ่งพยางค์ [ • ] อย่างชัดเจน ส่วนสระอื่นๆ ซึ่งตามด้วยเสียงสะกดก็เช่นเดียวกัน


๒.๓ “อักขะระสยาม-ปาฬิ” มี ไม้อะ นำาหน้าพยัญชนะเสียงกลำ้า ซึ่งกำากับด้วย “ไม้ยามักการ”
( ๎ ) เช่น ต๎ว ใน กัต๎วา “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” เขียนว่า [กt ต฻วา] “สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ” เขียน

ว่า [ka t฻ vā] สั งเกต a พิมพ์ เข้มทึบ เพื่อมุ่งเน้นเสียง สระ-อะ ให้ออกเสียงเป็นพิเศษ ตามหลักไวยากรณ์

กัจจายะนะ-ปาฬิ ข้อ ๖๐๒ ที่กำาหนดว่า ให้สระเสียงสั้นที่หน้าพยัญชนะเสียงกลำ้า เป็น เสียงคะรุ-ออกเสียงนาน


ขึ้น และใช้สัททสัญลักษณ์ “ไม้กลำ้า” [ ฻ ] กำากับใต้พยัญชนะเสียงกลำ้าทั้งสองตัว
๒.๕ สระ-เอ สระ-โอ เมื่อตามด้วยพยัญชนะเสียงสะกด ให้ออกเป็นสระเสียงสั้น ตามคำาอธิบาย
ในไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ ใน “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ใช้สัททสัญลักษณ์ “ไม้ไต่คู้” ( ็ ) แสดงเสียง
สระเสียงสัน้ ทีเ่ ป็นละหุ-ออกเสียงเร็ว เช่น “อักขะระสยาม-ปาฬิ” เขียนว่า โกณ์ฑั ์ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ”
ว่า [โก็ณ ฑญ ญะ] “สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ” เขียนว่า [kōn ḍhañ ña ]
• • • •

๒.๖. เครื่องหมาย [ŋ]ำ หรือที่ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” เรียก “ง-พินทุโปร่ง” ( งำ ) เป็น


พยัญชนะที่ ประกอ บ กับสระ เสียงสั้น (a i u) เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงนิคคะหิต ที่เกิดที่จมูกเท่านั้น เช่น
“อักขะระสย าม-ปา ฬิ” ว่า สํกัป์ ปํ เอตัส๎มํิ ภิก์ขุํ “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” เขียนว่า [สงำ กป ปงำ] • •

[g ตt ส฻มbงำ] [ภbก ข6งำ] “สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ” เขียนว่า [saŋำ kap paŋำ ] [ē ta s̮miŋำ ] [bhik khuŋำ ]
• • • • • • • •

๓. กำาหนดการพิมพ์สัททสัญลักษณ์ของเสียงละหุคะรุ ๓ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล กล่าวคือ เสียงละหุ-ออก


เสียงเร็วพิมพ์สเี บาโปร่ง เสียงคะรุ-ออกเสียงนานขึน้ พิมพ์สเี ข้มทึบ ตามแนว “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” ซึง่ เป็นการจัด
ทำาเป็นครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์พระพุทธศาสนา ตามหลักการออกเสียงละหุคะรุ ในกฎไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ
(40)

สุ ร ธั ช บุ น นาค และคณะโครงการพระไตรปิ ฎ กสากล พ.ศ. ๒๕๕๖, ถอดเสี ย งเป็ น “สั ท ทะอั ก ขะระไทย-ปาฬิ ” โดย วิ จิ น ตน์ ภาณุ พ งศ์ , ตรวจทานใหม่ โ ดย สมหมาย เปรมจิ ต ต์ พ.ศ. ๒๕๖๐
เสียงปาฬิ และระบบการพิมพ์เสียง ละหุคะรุ
อักขะระสยาม-ปาฬิ อักขะระโรมัน-ปาฬิ ค�าอธิบาย ไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ
สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ อักขรวิธี “ไม้-อั (อะ) อักขะระสยาม-ปาฬิิ /ละหุคะรุ สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ”

๑ อรหโต arahato แสดงรูป สระ-อะ พิมพ์สเี บาโปร่ง ออกเสียงเร็ว (ละหุ)


[ ะระหะ Fต ] • [araha • ō] กัจจายะนะ ข้อ ๔ รูปะสิทธิ ข้อ ๔ : ลหุมัต์ตา ตโย รัส์สา

สระอะ
มังคล เสียงนิคคหิตที่อยู่หน้าพยัญชนะวัคค์ ก อาเทสเป็น ง
๒ พิมพ์สีเข้มทึบ ออกเสียงนานขึ้น (คะรุ)
[มง� คะละ]• [ � gala]

กัจจายะนะ ข้อ ๓๑ รูปะสิทธิ ข้อ ๔๙ : วัค์คัน์ตํ วา วัค์เค
๓ ตัส์ส tassa สระเสียงสั้น ที่เป็นเสียงละหุ ทำาให้เป็นเสียงคะรุ ด้วยการสะกด
[ตส สะ] • [tas • sa] กัจจายนะ ข้อ ๒๘ : ปรเท๎วาภาโว าเน

๔ วาส์ส ā
[ ว็ ส สะ ] • [ vās • sa] เสียงสะกด ไม่กลำ้า
สระ-เสียงยาว เช่น สระ-อา (า) ที่เป็นเสียงครุ มีตวั สะกดตามหลัง
เสย์ย ให้ออกเสียงเป็น สระ-เสียงสั้น ออกเสียงเร็ว (ละหุ)
๕ พิมพ์สัททสัญลักษณ์สีเบาโปร่ง [ ็ า ]
[ ส็ ย ยะ] • [ sēy ya] •
กัจจายะนะ ข้อ ๕ รูปะสิทธิ ข้อ ๕ : อั ์ เ ทีฆา
๖ โปก์ขรณิยํ
[ ป็ก ขะระ ]
• • [ pōk kharaṇi
• • ]�

๗ ปุจ์ฉามิ ā สระเสียงสั้น ที่เป็นเสียงละหุ ทำาให้เป็นเสียงคะรุ ด้วยการสะกด


[ปจ ฉา มิ] • • [puc c ā • mi] • h กัจจายนะ ข้อ ๒๙ รูปะสิทธิ ข้อ ๔๒ : วัค์เค โฆสาโฆสานํ ตติยป มา

๘ พ๎รห๎ม brah
[บ฻ระ ห฻มะ] • [ b̮ra • ḫma] เครือ่ งหมายวิสรรชนีย์ ( ะ ) แสดงรูป สระ-อะ ออกเสียงเร็ว (ละหุ)
สระ-อะ พิมพ์สีเบาโปร่ง
๙ สพ๎ยั ์ ชนํ sab กัจจายะนะ ข้อ ๔ รูปะสิทธิ ข้อ ๔ : ลหุมัต์ตา ตโย รัส์สา
[สะ บ฻ยญ ชะ นง�]
• • • [sa b̮ • • ja• ]�
๑๐ กัล๎ยา kal ā
[ กt ล฻ยา] • [ ka l ā ] • สระเสียงสัน้ อะ อิ อุ ทีม่ พี ยัญชนะเสียงกลำ้าตามหลัง เช่น [-ญ฽หิ]
พยางค์ทมี่ สี ระเสียงสัน้ ตัวนัน้ ให้ออกเสียงนานขึน้ (คะรุ)
กิ ๎ หิ hi
เสียงกลำ้า ที่ไม่สะกด

๑๑ สระดังกล่าว พิมพ์สเี ข้มทึบ


[กb ญหิ] • [ ki ñ̮hi] •
ใส่สทั ทสัญลักษณ์ ไม้-กลำา้ ( ฻ ) (linkage mark)
๑๒ อทุ ๎ หิ hi กัจจายะนะ ข้อ ๖๐๒ รูปะสิทธิ ข้อ ๖ : ทุม๎หิ ครุ
[ อะ ด6 ญ ฻ หิ ]
• • [a • du • ñ̮hi]

รูป สระ-เอ สระ-โอ ทีค่ นั่ อยูร่ ะหว่างสัททะอักขะระเสียงกลำา้


ตุเม๎ห he ใส่สัททสัญลักษณ์ ไม้-กลำ้า ( ฻ ) (linkage mark) ระหว่างเสียงกลำ้า
๑๓ และสระที่อยู่ตรงกลางด้วย รวม ๓ อักขะระ
[ต6 ม ห ]
• [tu • ē] สระ-เอ สระ-โอ พิมพ์สีเข้มทึบ ออกเสียงยาวเท่าเดิม (คะรุ)
กัจจายะนะ ข้อ ๖๐๒ รูปะสิทธิ ข้อ ๖ : ทุม๎หิ ครุ

ปาต๎วากาสิ ā ā ā สระเสียงยาว ที่มพี ยัญชนะเสียงกลำ้าตามหลัง เช่น [-ตว฽ า]


๑๔ สระเสียงยาวตัวนั้น ให้ออกเสียงยาวเท่าเดิม (คะรุ)
[ปา ต฻ ว า กา สิ ]
• • • [ ā • t̮ ā • ā • si] กัจจายะนะ ข้อ ๕ รูปะสิทธิ ข้อ ๕ : อั ์ เ ทีฆา
เสียงนิคคหิตเกิดที่จมูกเท่านั้น แสดงรูป ง-พินทุโปร่ง [ง�]
สํ, กิ,ํ ตุํ
นิคคะหิต

๑๕ สระเสียงสั้นพิมพ์สีเข้มทึบ ออกเสียงนานขึ้น (คะรุ)


[ส ] [ กbง]� [ต6ง]� [ ]� [ ]� [ ]� กัจจายะนะ ข้อ ๓๐ รูปะสิทธิ ข้อ ๕๘ : อํ พ๎ยั ์ ชเน นิค์คหีตํ
(สํ) (กิ)ํ (ตุํ)
(41)

สุ ร ธั ช บุ น นาค และคณะโครงการพระไตรปิ ฎ กสากล พ.ศ. ๒๕๕๖, ถอดเสี ย งเป็ น “สั ท ทะอั ก ขะระไทย-ปาฬิ ” โดย วิ จิ น ตน์ ภาณุ พ งศ์ , ตรวจทานใหม่ โ ดย สมหมาย เปรมจิ ต ต์ พ.ศ. ๒๕๖๐
ตาราง การถอดเสียง เป็น “สัททะอักขะระไทย-ปาฬิ” และ “สัททะอักขะระโรมัน-ปาฬิ”

[kaṇ • ṭhaja] [ji • v฻hā • maj• jha ] [oṭ• ṭhaja] [kaṇ • ṭha• tā• lu] [kaṇ • thoṭ • ṭha]

อ,อั3 a3
อุ
1

อา ā
อู
2 Labio
[oṭ • ṭhaja]
อิ i
3

4 อี
อุ u อะ อ
โอ
5

อู
Velar
[kaṇ ṭ aja] • h
ั อา
เอ
6

เอ e
อิ
7

โอ o Palatal

อี
8
[tā • luja]

9 ก์ k
10 ข์ kh Lahu
[lahu] [-ะ] [ -ั ] [ -า็ ] [ -ิ] [ -ุ ] [ เ-็ ] [โ-็ ]
ค์ g
[-a ] [-a ] [-ā] [-i ] [-u]
11

12 ฆ์ gh [- ] [- ō ]
13 ง Garu
[garu] [-t] [ -y ] [-า ] [ -b] [ -u] [ -6 ] [ -^ ] [ g- ] [ F- ]
14 จ์ c
[-a] [- a] [-ā] [-i ] [- ī ] [-u] [-ū] [-ē ] [-ō ]
15 ฉ์ ch Phonetic Alphabet Avagga
Articulation :

16 ช์ j Phonetic Alphabet Vagga


[vag • ga byañ • jana] [a • vag • ga byañ • jana]
Manner of

ฌ์
Place of Articulation :

17 jh
Karaṇa

18 ์ ñ Voiceless Voiced [ghhō • sā Voiced Voiceless


[a • ghō • sa] [ghō • sa] g ō • sa [ghō • sa] [a• ghō • sa]
Ṭhānakaraṇa1

vi • mut • ti]1
19 ฏ์ ṭ
20 ์ ṭh Un- Aspirated Un- Aspirated Nasalized Unaspirated [usuma]
21 ฑ์ ḍ aspirated
[sit ila]
h
[d anita]
h
aspirated
[sit ila]
h
[d anita]
h
[nā • si • kaṭ ṭ ā naja]
• h • [sit ila]
h
22 ฒ์ ḍh
23 ณ์ ṇ Glottis [ห]
[kaṇ • ṭhaja]
24 ต์ t ห๎ [h]
25 ถ์ th Velar [ก] [ข] [ค] [ฆ] [ง]
26 ท์ d [kaṇ • ṭhaja]
27 ธ์ dh ก์ [k] ข์ [kh] ค์ [g] ฆ์ [gh] ง [ ]
28 น์ n Palatal
[tā • luja]
[จ] [ฉ] [ช] [ฌ] [ญ] [ย]
29 ป์ p จ์ [c] ฉ์ [ch] ช์ [ j] ฌ์ [ jh] ์ [ñ] ย๎ [ y]
30 ผ์ ph Post-Alveolar [ฏ] [ฐ] [ฑ] [ฒ] [ณ] [ร] [ฬ]
31 พ์ b [mud • dhaja]
ฏ์ [ṭ]
32 ภ์ bh ์ [ṭh] ฑ์ [ḍ] ฒ์ [ḍh] ณ์ [ṇ] ร๎ [r] ฬ๎ [ ḷ ]
33 ม์ m Dental [ต] [ถ] [ด] [ธ] [น] [ล] [ส]
[dan • taja]
34 ย๎ y ต์ [t] ถ์ [th] ท์ [d] ธ์ [dh] น์ [n] ล๎ [ l ] ส๎ [s]
35 ร๎ r Labio-dental [ว]
36 ล๎ l [dan • toṭ • ṭhaja]
37 ว๎ v ว๎ [v]
38 ส๎ s Bilabial [ป] [ผ] [บ] [ภ] [ม]
39 ห๎ h [oṭ• ṭhaja]
40 ฬ๎ ḷ ป์ [p] ผ์ [ph] พ์ [b] ภ์ [bh] ม์ [m]
อํ a
[งำ ]
41

42
อิ ํ i Nasalized
[nā• si• kaṭ• ṭhā• naja]
อุํ u
ำ [ŋำ ]
43
โครงการพระไตรปิฎกสากล
ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

คู่มือพระไตรปิฎกสากล ฉบับสัชฌายะ
ชุด ภ.ป.ร. (ต้นฉบับปาฬิภาสา)
สั พ์  เ พ สํ สํ ฆ ภู ต า  ค์ คี วุ ฑ์  ฒิ ส า ธิ ก า
นํ ส า มั

ต้นฉบับ จ.ป.ร. อักขรวิธีสยาม-ปาฬิ : ธัม์มปท


พร้อมการเรียงพิมพ์ใหม่เป็น
อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ

พุทธศักราช ๒๕๖๒
ส�รบัญ
Table of Content

บทนำ�
Preface (1)

ปุพ์พภาคมนการ
pubbabhāgamanakāra 3

อนุส์สติ
anussati 7

อิทัป์ปัจ์จยตา
idappaccayatā 23

ธัม์มปทปาฬิ
dhammapadapāḷi 37

ดัชนี ัวข้อพระธัมมบท
Dhammapada Index 243
3

ปุพ์พภาคมนการ
pubbabhāgamanakāra
4 ปุพ์พภาคมนการ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

ปุพพะภาคะมะนะการะ
Pubbabhāgamanakāra
Vol. 1 Paragraph. 1

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“ปุปุพ์พภาคมนการ
ภาคมนการ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 5

ปุพพะภาคะมะนะการะ
Pubbabhāgamanakāra
Vol. 1 Paragraph. 1

[นโม [ตัส๠ส ภควโต


[ • [ • • ]
[ • ō [ a • • ō]

[อรหโต ส๡ม๨มาส๡ม๨พุท๢ธัส๠ส
[ • • • • • • ]
[ • ō a • ā• a • u • a • ]

การเขียนเ ียงปาฬิด้วย ัทะทะอักขะระ (Pāḷi Phonetic Alphabet) เรียกว่า ฉบับ ัชฌายะ


พิมพ์ตามอักขรวิธีต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436 (ดู น้าซ้าย)

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ ั-] [ ะ] [ ็า-] [ ]ิ [ ]ุ [เ ็-] [โ ็-] -


คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ ๡-] [ ๝] [ า] [ ]๞ [ ]ี [ ]๟ [ ]ู [เ ] [โ ] [ ๡ง]ํ
7

อนุส์สติ
anussati
8 อนุส์สติ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

อะนุสสะติ
Anussati
Vol. 7 Paragraph. 334-336

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อนุ
อนุส์สติ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 9

อะนุสสะติ
Anussati
Vol. 7 Paragraph. 334-336

[อิติป [โส ภควา


[ [ • ]
[ [ ō • ā]

[อรหํ ส๡ม๨มาส๡ม๨พุท๢โธ
[ • • • • • ]
[ • a a • ā• a • u • ō]

[วิช๮ชาจรณส๡ม๨ปน๪โน
[ • • • • • ]
[ i • ā• • a • a • ō]

[สุคโต โลกวิทู
[ • • • ]
[ • ō ō• • ū]

การเขียนเ ียงปาฬิด้วย ัทะทะอักขะระ (Pāḷi Phonetic Alphabet) เรียกว่า ฉบับ ัชฌายะ


พิมพ์ตามอักขรวิธีต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436 (ดู น้าซ้าย)

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ ั-] [ ะ] [ ็า-] [ ]ิ [ ]ุ [เ ็-] [โ ็-] -


คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ ๡-] [ ๝] [ า] [ ]๞ [ ]ี [ ]๟ [ ]ู [เ ] [โ ] [ ๡ง]ํ
10 อนุส์สติ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อนุ
อนุส์สติ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 11

[อนุต์ตโร ปุริสทม๨มสาร ิ
[ • • • • • • • ]
[ • u • • ō • a • • ā• ]

[ส๡ต์ า เทวมนุสสานํ
[ • • • • • ]
[ a • ā • • u • ā• a ]

[พุท๢โธ ภควาติ
[ • • • ]
[ u • ō • ā• ]

[สวาก์ขาโต [ภควตา ธัม๨โม


[ • • [ • • ]
[ • ā• ō [ • ā a • ō]

[ส๡น๪ทิ ๪ ิโก
[ • • • ]
[ a • i • • ō]

การเขียนเ ียงปาฬิด้วย ัทะทะอักขะระ (Pāḷi Phonetic Alphabet) เรียกว่า ฉบับ ัชฌายะ


พิมพ์ตามอักขรวิธีต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436 (ดู น้าซ้าย)

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ ั-] [ ะ] [ ็า-] [ ]ิ [ ]ุ [เ ็-] [โ ็-] -


คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ ๡-] [ ๝] [ า] [ ]๞ [ ]ี [ ]๟ [ ]ู [เ ] [โ ] [ ๡ง]ํ
12 อนุส์สติ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อนุ
อนุส์สติ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 13

[อกาลิโก
[ • • • ]
[ • ā• • ō]

[เอหิปสสิโก
[ • • • • ]
[ • • a • • ō]

[โอปนยิโก
[ • • ]
[ō • • ō]

[ปจจัต์ตํ เวทิตัพโพ
[ • • • • • ]
[ a • a • a • • a • ō]

[วิ ูหีติ
[ • • • ]
[ i • ū• • ]

การเขียนเ ียงปาฬิด้วย ัทะทะอักขะระ (Pāḷi Phonetic Alphabet) เรียกว่า ฉบับ ัชฌายะ


พิมพ์ตามอักขรวิธีต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436 (ดู น้าซ้าย)

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ ั-] [ ะ] [ ็า-] [ ]ิ [ ]ุ [เ ็-] [โ ็-] -


คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ ๡-] [ ๝] [ า] [ ]๞ [ ]ี [ ]๟ [ ]ู [เ ] [โ ] [ ๡ง]ํ
14 อนุส์สติ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อนุ
อนุส์สติ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 15

[สุป ิปน๪โน
[ • • ]
[ • a • ō]

[ภควโต สาวกสโ
[ • • • • ]
[ • ō ā• • a • ō]

[อุชุป ิปน๪โน
[ • • ]
[ • a • ō]

[ภควโต สาวกสโ
[ • • • • ]
[ • ō ā• • a • ō]

[ ายป ิปน๪โน
[ • • • ]
[ ā• • a • ō]

การเขียนเ ียงปาฬิด้วย ัทะทะอักขะระ (Pāḷi Phonetic Alphabet) เรียกว่า ฉบับ ัชฌายะ


พิมพ์ตามอักขรวิธีต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436 (ดู น้าซ้าย)

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ ั-] [ ะ] [ ็า-] [ ]ิ [ ]ุ [เ ็-] [โ ็-] -


คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ ๡-] [ ๝] [ า] [ ]๞ [ ]ี [ ]๟ [ ]ู [เ ] [โ ] [ ๡ง]ํ
16 อนุส์สติ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อนุ
อนุส์สติ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 17

[ภควโต สาวกสโ
[ • • • • ]
[ • ō ā• • a • ō]

[สามีจิป ิปน๪โน
[ • • • • ]
[ ā• • • a • ō]

[ภควโต สาวกสโ
[ • • • • ]
[ • ō ā• • a • ō]

[ยทิทํ [จัต์ตาริ ปุริสยุคานิ


[ • [ • • • • ]
[ • a [ a • ā• • ā• ]

[อ๡ ๪ ปุริสปุค์คลา
[ • • • • ]
[a • • u • • ā]

การเขียนเ ียงปาฬิด้วย ัทะทะอักขะระ (Pāḷi Phonetic Alphabet) เรียกว่า ฉบับ ัชฌายะ


พิมพ์ตามอักขรวิธีต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436 (ดู น้าซ้าย)

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ ั-] [ ะ] [ ็า-] [ ]ิ [ ]ุ [เ ็-] [โ ็-] -


คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ ๡-] [ ๝] [ า] [ ]๞ [ ]ี [ ]๟ [ ]ู [เ ] [โ ] [ ๡ง]ํ
18 อนุส์สติ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อนุ
อนุส์สติ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 19

[เอส [ภควโต สาวกสโ


[ • [ • • • • ]
[ • [ • ō ā• • a • ō]

[อาหุเนยโย
[ • • • ]
[ā • • • ō]

[ปาหุเนยโย
[ • • • ]
[ ā• • • ō]

[ทก์ขิเณยโย
[ • • • ]
[ a • • • ō]

[อ๡ ชลีกรณีโย
[ • • • • • ]
[a • • • • • ō]

การเขียนเ ียงปาฬิด้วย ัทะทะอักขะระ (Pāḷi Phonetic Alphabet) เรียกว่า ฉบับ ัชฌายะ


พิมพ์ตามอักขรวิธีต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436 (ดู น้าซ้าย)

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ ั-] [ ะ] [ ็า-] [ ]ิ [ ]ุ [เ ็-] [โ ็-] -


คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ ๡-] [ ๝] [ า] [ ]๞ [ ]ี [ ]๟ [ ]ู [เ ] [โ ] [ ๡ง]ํ
20 อนุส์สติ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อนุ
อนุส์สติ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 21

[อนุต์ตรํ ปุ ัก์เขต์ตํ
[ • • • • • • ]
[ • u • • a u • a • • a ]

[โลกัสสาติ
[ • • • ]
[ ō• a • ā• ]

การเขียนเ ียงปาฬิด้วย ัทะทะอักขะระ (Pāḷi Phonetic Alphabet) เรียกว่า ฉบับ ัชฌายะ


พิมพ์ตามอักขรวิธีต้นฉบับพระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436 (ดู น้าซ้าย)

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ ั-] [ ะ] [ ็า-] [ ]ิ [ ]ุ [เ ็-] [โ ็-] -


คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ ๡-] [ ๝] [ า] [ ]๞ [ ]ี [ ]๟ [ ]ู [เ ] [โ ] [ ๡ง]ํ
23

อิทัป์ปัจ์จยตา
idappaccayatā
24 อิทัป์ปัจ์จยตา : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

อิทัปปัจจะยะตา
Idappaccayatā
Vol. 13 Paragraph. 344

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อิอิทัป์ปัจ์จยตา
ยตา” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 25

อิทัปปัจจะยะตา
Idappaccayatā
อิทัปปัจจะยะตา
Vol. 13 Paragraph. 344
Idappaccayatā
Vol. 13 Paragraph. 344

[อวิช๮ชาปจ฼จยา สํขารา
[ • • • • • • • ]
[ • i • ā• a • • ā a • ā • ā]
[อวิช๮ชาปจ฼จยา สํขารา
[ • • • • • • • ]
[ • i • ā• a • • ā a • ā • ā]
[สํขารปจ฼จยา วิ ๤ าณํ
[ • • • • • • • ]
[ a • ā• • a • • ā i • ā• a ]
[สํขารปจ฼จยา วิ ๤ าณํ
[ • • • • • • ]

[ a • ā• • a • • ā i • ā• a ]
[วิ ๤ าณปจ฼จยา นามรูป
[ • • • • • • • • ]
[ i • ā• • a • • ā ā• • ū• a ]
[วิ ๤ าณปจ฼จยา นามรูป
[ • • • • • • • • ]
[ i • ā• • a • • ā ā• • ū• a ]
[นามรูปปจ฼จยา สฬายตนํ
[ • • • • • • • • • ]
[ ā• • ū• • a • • ā • ā• • a ]
[นามรูปปจ฼จยา สฬายตนํ
[ • • • • • • • • • ]
[ ā• • ū• • a • • ā • ā• • a ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ อะ] อ็า-]


[ [ ] อิ [ ] อุ [ เอ็-] [ โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]
26 อิทัป์ปัจ์จยตา : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อิอิทัป์ปัจ์จยตา
ยตา” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 27

[สฬายตนปจ฼จยา ัสโส
[ • • • • • • ]
[ • ā• • a • • ā a • ]

[ ัสสปจ฼จยา เวทนา
[ • • • • • • ]
[ a • • a • • ā • • ā]

[เวทนาปจ฼จยา ตัณหา
[ • • • • • • ]
[ • • ā• a • • ā a• ā]

[ตัณหาปจ฼จยา อุปาทานํ
[ • • • • • • ] •
[ a• ā• a • • ā • ā• ā• a ]

[อุปาทานปจ฼จยา โว
[ • • • • • • • ]
[ • ā• ā• • a • • ā • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ อะ] อ็า-]


[ [ ] อิ [ ] อุ [ เอ็-] [ โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]
28 อิทัป์ปัจ์จยตา : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อิอิทัป์ปัจ์จยตา
ยตา” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 29

[ วปจ฼จยา ชาติ
[ • • • ] •
[ • a • • ā ā• ]

[ชาติปจ฼จยา ชรามรณํ
[ • • • • • • • ]
[ ā• • a • • ā • ā• • a ]

[โสกปริเทวทุก์ขโทมนสสุปายาสา
[ • • • • • • • • • • • • ]
[ • • • • • • • • a • • ā • ā • ā]

[สม วันติ [เอวเมตัสส เกวลัสส


[ • • • [ • • • • • • • ]
[ a • • a • [ • • • a • • • a • ]

[ทุก์ขัก์ขัน ัสส [สมุทโย โหติ


[ • • • • [ • • ]
[ • a • a • a • [ • • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ อะ] อ็า-]


[ [ ] อิ [ ] อุ [ เอ็-] [ โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]
30 อิทัป์ปัจ์จยตา : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อิอิทัป์ปัจ์จยตา
ยตา” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 31

[อวิช๮ชาย เตวว
[ • • • • ]
[ • i • ā• • ]

[อเสสวิราคนิโร า สํขารนิโรโ
[ • • • • • • • • • • ]
[ • • • ā• • • ā a • ā• • • ]

[สํขารนิโร า วิ ๤ าณนิโรโ
[ • • • • • • • • ]
[ a • ā• • • ā i • ā• • • ]

[วิ ๤ าณนิโร า นามรูปนิโรโ


[ • • • • • • • • • ]
[ i • ā• • • ā ā• • ū• • • ]

[นามรูปนิโร า สฬายตนนิโรโ
[ • • • • • • • • • ]
[ ā• • ū• • • ā • ā• • • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] [ เอ็-] [ โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]
32 อิทัป์ปัจ์จยตา : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อิอิทัป์ปัจ์จยตา
ยตา” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 33

[สฬายตนนิโร า ัสสนิโรโ
[ • • • • • • • ]
[ • ā• • • ā a • • • ]

[ ัสสนิโร า เวทนานิโรโ
[ • • • • • • • • ]
[ a • • • ā • • ā• • • ]

[เวทนานิโร า ตัณหานิโรโ
[ • • • • • • • • • ]
[ • • ā• • • ā a• ā• • • ]

[ตัณหานิโร า อุปาทานนิโรโ
[ • • • • • • • • • ]
[ a• ā• • • ā • ā• ā• • • ]

[อุปาทานนิโร า วนิโรโ
[ • • • • • • • ]
[ • ā• ā• • • ā • • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] [ เอ็-] [ โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]
34 อิทัป์ปัจ์จยตา : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

โครงการพระไตรปิฎก ากล จัดพิมพ์ขยายขนาดฟอนต์ใ ม่ พ.ศ. 2561 ตามอักขรวิธีต้นฉบับอักขะระ ยาม-ปาฬิ


พระไตรปิฎก จ.ป.ร. จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกม าราช พ.ศ. 2436

สัททสัญลักษณ์ ไม-อั ไมยามักการ ไมวัญฌการ ไมนิคคหิต


( ั) ( ๎) ( ์) เสียงสะกด
( ํ) เสียงในโพรงจมูก
อักขะระสยาม-ปาฬิ เสียงสระ-อะ เสียงกล้ำ
“อิอิทัป์ปัจ์จยตา
ยตา” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 35

[ วนิโร า ชาตินิโรโ
[ • • • • • ]
[ • • ā ā• • • ]

[ชาตินิโร า ชรามรณํ
[ • • • • • • ]
[ ā• • • ā • ā• • a ]

[โสกปริเทวทุก์ขโทมนสสุปายาสา
[ • • • • • • • • • • • • ]
[ • • • • • • • • a • • ā • ā • ā]

[นิรุช๮ นติ [เอวเมตัสส เกวลัสส


[ • • • [ • • • • • • • ]
[ • • a • [ • • • a • • • a • ]

[ทุก์ขัก์ขัน ัสส [นิโรโ โหตีติ


[ • • • • [ • • • • ]
[ • a • a • a • [ • • • • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] [ เอ็-] [ โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ] [ ]
37

ธัม์มปทปาฬิ
dhammapadapāḷi
38 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 5
Dhammapada 5

Kāḷayakkhinīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 39

พระธัมมบท 5
Dhammapada 5

Kāḷayakkhinīvatthu

29 -6

[น [หิ [เวเรน เวรานิ


[ [ [ •  •   •  • ]
[ [ [ēē• ēē•  ēē• āā• ]

[ส๡ม๨ม฽น๪ตีธ กุทาจนํ
[ •  •  •  •••]
[aa • aa •  •   • āā•  • aa]

[อเวเรน [จ ส๡ม๨ม฽น๪ติ
[ •  •  •  [  •  • ]
[ • ēē• ēē•  [ aa • aa • ]

[เอส [ธัม๨โม สน๥น๪ตโน


[ •  [ •  •••]
[ē •  [aa • ōō  • aa •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
40 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 12
Dhammapada 12

Sāriputtattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 41

พระธัมมบท 12
Dhammapada 12

Sāriputtattheravatthu

29 -13

[สารั๤จ [สารโต ัต๎วา


[ •  •  [ •  •   • ]
[āā• aa •  [āā•  • ōō aa• ā]

[อสารั๤จ อสารโต
[ •  •  •   •  •  • ]
[ • āā• aa •   • āā•  • ōō]

[เต [สารํ อธิคัจ฼ฉัน๪ติ


[ [ •   •  •  • ]
[ēē [āā• aa  • aa • aa • ]

[ส๡ม๨มาสํกัปปโคจรา
[ •  •  •  •  •  •  • ]
[aa • āā• aa • aa •  • ōō•  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
42 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 14
Dhammapada 14

Nandattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 43

พระธัมมบท 14
Dhammapada 14

Nandattheravatthu

29 -15

[ยถา [อคารํ สุฉัน๪นํ


[ •  [ •  •   •  • ]
[ • āā [ • āā• aa  • aa • aa]

[วุฏ๪ี [น สมติวิช๮ฌติ
[ •  [  •  • ]
[uu •  [  • ii • ]

[เอวํ [สุภาวิตํ จิต์ตํ


[ •  [ •  •  •  •]
[ē • aa [ • āā•  • aa ii • aa]

[ราโค [น สมติวิช๮ฌติ
[ •  [  •  • ]
[āā• ōō [  • ii • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
44 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 16
Dhammapada 16

Dhammikaupāsakavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 45

พระธัมมบท 16
Dhammapada 16

Dhammikaupāsakavatthu

29 -17

[อิธ [โมทติ [เปจ฼จ โมทติ


[ [ •  [  •   • ]
[ [ōō•  [ •  ōō• ]

[กตปุ๤โ [อุภย๡ต์ถ โมทติ


[ •  •  [ •  •  •]
[ • uu • ōō [ • aa •  ōō• ]

[โส [โมทติ [โส ปโมทติ


[ [ •  [  •  • ]
[ōō [ōō•  [ōō  • ōō• ]

[ทิส๎วา กัม๨มวิสุท๢ธิม฽ต์ตโน
[ •   •  •  •  •  •  • ]
[ii• ā aa •  • u u •  • aa •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
46 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 18
Dhammapada 18

Sumanadevīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 47

พระธัมมบท 18
Dhammapada 18

Sumanadevīvatthu

29 -19

[อิธ [น๥น๪ทติ [เปจ฼จ น๥น๪ทติ


[ [ •  [  •   • ]
[ [aa •  [ •  aa • ]

[กตปุ๤โ [อุภย๡ต์ถ น๥น๪ทติ


[ •  •  [ •  •  •]
[ • uu • ōō [ • aa •  aa • ]

[ปุ๤ํ [เม [กตัน๪ติ น๥น๪ทติ


[ •  [ [ •  •   • ]
[uu • aa [ēē [ • aa •  aa • ]

[ภิย฼โย [น๥น๪ทติ [สุค์คติ฾ คโต


[ •  [ •  [ •  •  •]
[ii • ōō [aa •  [u
u •  • ii  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
48 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 21
Dhammapada 21

Sāmāvatīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 49

พระธัมมบท 21
Dhammapada 21

Sāmāvatīvatthu

29 -23

[อ๡ปปมาโท อมตปทํ
[ •  •  •   • ]
[a •  • āā• ōō  • aa]

[ปมาโท [ม฽จ฼จุโน ปทํ


[ •  •  [ •  •  •]
[ • āā• ōō [aa •  • ōō  • aa]

[อ๡ปปม฽ต์ตา [น มีย๡น๪ติ
[ •  •  •  [  •  • ]
[a •  • aa • āā [  • aa • ]

[เย [ปม฽ต์ตา [ยถา มตา


[ [ •  •  [ •   • ]
[ēē [ • aa • āā [ • āā  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
50 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 22
Dhammapada 22

Sāmāvatīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 51

พระธัมมบท 22
Dhammapada 22

Sāmāvatīvatthu

29 -24

[เอวํ [วิเสสโต ัต๎วา


[ •  [ •  •  •   • ]
[ē • aa [ • ēē•  • ōō aa• ā]

[อ๡ปปมาท๣ม๎หิ ปณ๦ฑิตา
[ •  •  •  •   ••]
[a •  • āā• aa•  aa •  • āā]

[อ๡ปปมาเท ปโมท๣น๪ติ
[ •  •  •   •  •  • ]
[a •  • āā• ēē  • ōō• aa • ]

[อริยานํ [โคจเร รตา


[ •  •  [ •  •   • ]
[ • āā• aa [ōō•  • ēē  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
52 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 24
Dhammapada 24

Kumbaghosakaseṭṭhivatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 53

พระธัมมบท 24
Dhammapada 24

Kumbaghosakaseṭṭhivatthu

29 -26

[อุฏ๪านวโต สตีมโต
[ •  •  •   •  •  • ]
[u • āā•  • ōō  •  •  • ōō]

[สุจิกัม๨ม฽ส๠ส นิส๡ม๨มการิโน
[ •  •  •  •••••]
[ • aa • aa •   • aa •  • āā•  • ōō]

[ส๡๤ตัส๠ส ธัม๨มชีวิโน
[ •  •  •   •  •  •  • ]
[aa •  • aa •  aa •  •  •  • ōō]

[อ๡ปปม฽ต์ตัส๠ส ยโสภิวัฑ๰ฒติ
[ •  •  •  •  ••••]
[a •  • aa • aa •   • ōō•  • aa • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
54 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 29
Dhammapada 29

Pamattāpamattadvesahāyakabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 55

พระธัมมบท 29
Dhammapada 29

Pamattāpamattadvesahāyakabhikkhuvatthu

29 -31

[อ๡ปปม฽ต์โต ปม฽ต์เตสุ
[ •  •  •  •••]
[a •  • aa • ōō  • aa • ēē• ]

[สุต์เตสุ พหุชาคโร
[ •  •  •••]
u • ēē•   • āā•  • ōō]
[u

[อพลัส๠สํว สีฆัส๠โส
[ •  •  •   •  • ]
[ • aa • aa •   • aa • ōō]

[หิต๎วา [ยาติ สุเมธโส


[ •  [ •   •  •  • ]
[ii• ā [āā•   • ēē•  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
56 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 30
Dhammapada 30

Maghavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 57

พระธัมมบท 30
Dhammapada 30

Maghavatthu

29 -32

[อ๡ปปมาเทน มฆวา
[ •  •  •  •   • ]
[a •  • āā• ēē•   • āā]

[เทวานํ [เสฏ๪ตํ คโต


[ •  •  [ •  •   • ]
[ēē• āā• aa [ •  • aa  • ōō]

[อ๡ปปมาทํ ปสํส๡น๪ติ
[ •  •  •  •••]
[a •  • āā• aa  • aa • aa • ]

[ปมาโท [ครหิโต สทา


[ •  •  [ •   • ]
[ • āā• ōō [ • ōō  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
58 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 33
Dhammapada 33

Meghiyattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 59

พระธัมมบท 33
Dhammapada 33

Meghiyattheravatthu

29 -36

[ผัน๪ทนํ [จปลํ จิต์ตํ


[ •  •  [ •   • ]
[aa •  • aa [ • aa ii • aa]

[ทูรัก์ขํ ทุน๪นิวารยํ
[ •  •  ••••]
[ū ū• aa • aa uu •  • āā•  • aa]

[อุชุํ [กโรติ เมธาวี


[ •  [ •  •   •  • ]
[ • uu [ • ōō•  ēē• āā• ]

[อุสุกาโรว เตชนํ
[ •  •  •  ••]
[ • āā• ōō•  ēē•  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
60 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 36
Dhammapada 36

Aññataraukkaṇṭhitabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 61

พระธัมมบท 36
Dhammapada 36

Aññataraukkaṇṭhitabhikkhuvatthu

29 -39

[สุทุท๢ทสํ สุนิปุณํ
[ •  •  •  •]
[ • u u •  • aa  • aa]

[ย๡ต์ถกามนิปาตินํ
[ •  •  •  •  •  • ]
[aa •  • āā•  • āā•  • aa]

[จิต์ตํ [รัก์เขถ เมธาวี


[ •  [ •  •  ••]
[ii • aa [aa • ēē•  ēē• āā• ]

[จิต์ตํ [คุต์ตํ สุขาวหํ


[ •  [ •  •••]
[ii • aa [u
u • aa  • āā•  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
62 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 39
Dhammapada 39

Cittahatthattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 63

พระธัมมบท 39
Dhammapada 39

Cittahatthattheravatthu

29 -42

[อนวัส๠สุตจิต์ตัส๠ส
[ •  •  •  •  • ]
[ • aa •  • ii • aa • ]

[อน๥น๎วาหตเจตโส
[ •  •  •  •  •  • ]
[ • aa• ā •  • ēē•  • ōō]

[ปุ๤ปาปปหีน๥ส๠ส
[ •  •  •  •  •  • ]
[uu •  • āā•  •  • aa • ]

[น๥ต์ถิ [ชาครโต ภยํ


[ •  [ •  •   • ]
[aa •  [āā•  • ōō  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
64 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 43
Dhammapada 43

Soreyyavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 65

พระธัมมบท 43
Dhammapada 43

Soreyyavatthu

29 -46

[น [ตํ [มาตา [ปตา กยิรา


[ [ [ •  [ •   • ]
[ [aa [āā• āā [ • āā  • āā]

[อ๡๤เ [วาป [จ าตกา


[ •  [ •  [  •  • ]
[a • ēē [āā•  [ āā•  • āā]

[ส๡ม๨มาปณิหิตํ จิต์ตํ
[ •  •  •  •]
[aa • āā•  • aa ii • aa]

[เสย฼ยโส [นํ [ตโต กเร


[ •  •  [ [ •   • ]
[ •  • ōō [aa [ • ōō  • ēē]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
66 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 44
Dhammapada 44

Pathavikathāpasutapañcasatabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 67

พระธัมมบท 44
Dhammapada 44

Pathavikathāpasutapañcasatabhikkhuvatthu

29 -48

[โก [อิมํ [ปถวิ฾ วิเจส๠สติ


[ [ •  [ •   •  • ]
[ōō [ • aa [ • ii  •  • ]

[ยมโลกั๤จ [อิมํ สเทวกํ


[ •  •  •  [ •   •  •  • ]
[ • ōō• aa •  [ • aa  • ēē•  • aa]

[โก [ธัม๨มปทํ สุเทสิตํ


[ [ •  •  •••]
[ōō [aa •  • aa  • ēē•  • aa]

[กุสโล [ปุปผมิว ปเจส๠สติ


[ •  [ •  ••]
[ • ōō [u
u •   •  • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
68 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 49
Dhammapada 49

Macchariyakosiyaseṭṭhivatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 69

พระธัมมบท 49
Dhammapada 49

Macchariyakosiyaseṭṭhivatthu

29 -53

[ยถาป [ภมโร ปุปผํ


[ •  •  [ •  •]
[ • āā•  [ • ōō uu • aa]

[วัณ๦ณคัน๪ธมเหยํ
[ •  •  •  •  •  • ]
[aa •  • aa •  • ēē•  • aa]

[ปเลติ รสมาทาย
[ •  •   •  •  • ]
[ • ēē•   • āā• āā• ]

[เอวํ [คาเม [มุนี จเร


[ •  [ •  [ •  •]
[ē • aa [āā• ēē [ •   • ēē]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
70 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 52
Dhammapada 52

Chattapāṇiupāsakavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 71

พระธัมมบท 52
Dhammapada 52

Chattapāṇiupāsakavatthu

29 -56

[ยถาป [รุจิรํ ปุปผํ


[ •  •  [ •  •]
[ • āā•  [ • aa uu • aa]

[วัณ๦ณวัน๪ตํ สคัน๪ธกํ
[ •  •  •  •••]
[aa •  • aa • aa  • aa •  • aa]

[เอวํ [สุภาสิตา วาจา


[ •  [ •  •  •  •]
[ē • aa [ • āā•  • āā āā• āā]

[สผลา [โหติ กุพ๬พโต


[ •  [ •   •  • ]
[ • āā [ōō•  u
u •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
72 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 54
Dhammapada 54

Ānandattherapañhavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 73

พระธัมมบท 54
Dhammapada 54

Ānandattherapañhavatthu

29 -58

[น [ปุปผคัน๪โธ ปฏิวาตเมติ
[ [ •  •  •  ••••]
[ [uu •  • aa • ōō  • āā•  • ēē• ]

[น [จัน๪ทนํ [ตครม฽ล์ลิกา วา
[ [ •  •  [ •  •  •  ]
[ [aa •  • aa [ • aa •  • āā āā]

[สตั๤จ [คัน๪โธ ปฏิวาตเมติ


[ •  •  [ •  ••••]
[ • aa •  [aa • ōō  • āā•  • ēē• ]

[ส๡พ๬พา [ทิสา [ส๡ปปุริโส ปวายติ


[ •  [ •  [ •  •  ••]
[aa • āā [ • āā [aa •  • ōō  • āā• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
74 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 60
Dhammapada 60

Aññatarapurisavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 75

พระธัมมบท 60
Dhammapada 60

Aññatarapurisavatthu

29 -65

[ทีฆา [ชาครโต รัต์ติ


[ •  [ •  •   • ]
[ • āā [āā•  • ōō aa • ]

[ทีฆํ [ส๡น๪ตัส๠ส โยชนํ


[ •  [ •  •   •  • ]
[ • aa [aa • aa •  ōō•  • aa]

[ทีโฆ [พาลาน สํสาโร


[ •  [ •  •   •  • ]
[ • ōō [āā• āā•  aa • āā• ōō]

[ส๡ท๢ธัม๨มํ อวิชานตํ
[ •  •  •••]
[aa • aa • aa  • āā•  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
76 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 61
Dhammapada 61

Mahākassapasaddhivihārikavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 77

พระธัมมบท 61
Dhammapada 61

Mahākassapasaddhivihārikavatthu

29 -66

[จรั๤เจ นาธิคัจ฼เฉย฼ย
[ •  •   •  •  •  • ]
[ • aa • ēē āā•  • aa •  • ]

[เสย฼ยํ สทิสม฽ต์ตโน
[ •  •••]
[ • aa  • aa •  • ōō]

[เอกจริยํ [ท๣ฬ๎หํ กยิรา


[ •  •  [ •   • ]
[ē •  • aa [aa• a  • āā]

[น๥ต์ถิ [พาเล สหายตา


[ •  [ •   •  •  • ]
[aa •  [āā• ēē  • āā•  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
78 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 65
Dhammapada 65

Tiṃsapāveyyakabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 79

พระธัมมบท 65
Dhammapada 65

Tiṃsapāveyyakabhikkhuvatthu

29 -70

[มุหุต์ตมป [เจ วิ๤ู


[ •  •  [  • ]
[ • u u •  [ēē ii • ūū]

[ปณ๦ฑิตํ ปยิรุปาสติ
[  •  •  ••]
[aa •  • aa  • āā• ]

[ขิปป [ธัม๨มํ วิชานาติ


[ •   [ •  •••]
[ii • aa [aa • aa  • āā• āā• ]

[ชิว๎หา [สูปรสํ ยถา


[ •  [ •  •  •]
[ii• ā [ū
ū•  • aa  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
80 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 68
Dhammapada 68

Sumanamālākāravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 81

พระธัมมบท 68
Dhammapada 68

Sumanamālākāravatthu

29 -73

[ตั๤จ [กัม๨มํ [กตํ สาธุ


[ •  [ •  [ •   • ]
[aa •  [aa • aa [ • aa āā• ]

[ยํ [กัต๎วา นานุตัปปติ


[ [ •   •  •  • ]
[aa [aa• ā āā•  • aa • ]

[ย๡ส๠ส [ปตีโต สุมโน


[ •  [ •  •   • ]
[aa •  [ •  • ōō  • ōō]

[วิปากํ ปฏิเสวติ
[ •  •  ••]
[ • āā• aa  • ēē• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
82 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 79
Dhammapada 79

Mahākappinattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 83

พระธัมมบท 79
Dhammapada 79

Mahākappinattheravatthu

29 -85

[ธัม๨มปติ [สุขํ เสติ


[ •  •  •  [ •  •]
[aa •  •  •  [ • aa ēē• ]

[วิปปส๡น๪เนน เจตสา
[ •  •  •  •  ••]
[ii •  • aa • ēē•  ēē•  • āā]

[อริย๡ปปเวทิเต ธัม๨เม
[ •  •  •  •  •  •]
[ • aa •  • ēē•  • ēē aa • ēē]

[สทา [รมติ ปณ๦ฑิโต


[ •  [   •  • ]
[ • āā [ aa •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
84 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 80
Dhammapada 80

Paṇḍitasāmaṇeravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 85

พระธัมมบท 80
Dhammapada 80

Paṇḍitasāmaṇeravatthu

29 -86

[อุทกั๎หิ [นย๡น๪ติ เนต์ติกา


[ •  • 
  [•• ••]
[ • aa•  [ • aa •   •  • āā]

[อุสุการา [นมย๡น๪ติ เตชนํ


[ •  •  [ •  •  ••]
[ • āā• āā [ • aa •  ēē•  • aa]

[ทารุํ [นมย๡น๪ติ ตัจ฼ฉกา


[ •  [ •  •  ••]
[āā• uu [ • aa •  aa •  • āā]

[อ๡ต์ตานํ [ทมย๡น๪ติ ปณ๦ฑิตา


[ •  •  [ •  •   ••]
[a • āā• aa [ • aa •  aa •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
86 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 81
Dhammapada 81

Lakuṇḍakabhaddiyattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 87

พระธัมมบท 81
Dhammapada 81

Lakuṇḍakabhaddiyattheravatthu

29 -87

[เสโล [ยถา เอกฆโน


[ •  [ •   •  • ]
[ēē• ōō [ • āā ē •  • ōō]

[วาเตน [น สมีรติ
[ •  •  [  •  • ]
[āā• ēē•  [  •  • ]

[เอวํ นิน๪ทาปสํสาสุ
[ •   •  •  •  •  • ]
[ē • aa ii • āā•  • aa • āā• ]

[น [สมิ๤ชัน๪ติ ปณ๦ฑิตา
[ [ •  •  •   ••]
[ [ • ii • aa •  aa •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
88 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 82
Dhammapada 82

Kāṇamātāvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 89

พระธัมมบท 82
Dhammapada 82

Kāṇamātāvatthu

29 -88

[ยถาป [รหโท คัม๨ภีโร


[ •  •  [ •   •  • ]
[ • āā•  [ • ōō aa •  • ōō]

[วิปปส๡น๪โน อนาวิโล
[ •  •  •  •••]
[ii •  • aa • ōō  • āā•  • ōō]

[เอวํ [ธัม๨มานิ สุต๎วาน


[ •  [ •  •  ••]
[ē • aa [aa • āā•  u
u• ā • ]

[วิปปสีท๣น๪ติ ปณ๦ฑิตา
[ •  •  •  •   ••]
[ii •  •  • aa •  aa •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
90 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 85
Dhammapada 85

Dhammassavanattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 91

พระธัมมบท 85
Dhammapada 85

Dhammassavanattheravatthu

29 -91

[อ๡ปปกา [เต มนุส๠เสสุ


[ •  •  [  •  •  • ]
[a •  • āā [ēē  • uu • ēē• ]

[เย [ชนา ปารคามิโน


[ [ •   •  •  •  • ]
[ēē [ • āā āā•  • āā•  • ōō]

[อถายํ [อิตรา ปชา


[ •  •  [ •   • ]
[ • āā• aa [ • āā  • āā]

[ตีรเมวานุธาวติ
[ •  •  •  •  •  • ]
[ •  • ēē• āā•  • āā• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
92 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 86
Dhammapada 86

Dhammassavanattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 93

พระธัมมบท 86
Dhammapada 86

Dhammassavanattheravatthu

29 -92

[เย [จ [โข ส๡ม๨มท๣ก์ขาเต


[ [ [  •  •  •  • ]
[ēē [ [ōō aa •  • aa • āā• ēē]

[ธัม๨เม ธัม๨มานุวัต์ติโน
[ •  •••••]
[aa • ēē aa • āā•  • aa •  • ōō]

[เต [ชนา ปารเมส๠ส๡น๪ติ


[ [ •   •  •  •  • ]
[ēē [ • āā āā•  •  • aa • ]

[ม฽จ฼จุเธย฼ยํ สุทุต์ตรํ
[ •  •  •  •••]
[aa •  •  • aa  • u
u •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
94 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 88
Dhammapada 88

Pañcasataāgantukabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 95

พระธัมมบท 88
Dhammapada 88

Pañcasataāgantukabhikkhuvatthu

29 -94

[ตัต๎ราภิรติมิจ฼เฉย฼ย
[ •  •  •  •  • ]
[aa• ā •  • ii •  • ]

[หิต๎วา [กาเม อกิ๤จโน


[ •  [ •   •  •  • ]
[ii• ā [āā• ēē  • ii •  • ōō]

[ปริโยทเปย฼ย อ๡ต์ตานํ
[ •  •  •   •  ••]
[ • ōō•  •  •  a • āā• aa]

[จิต์ตัเก๎ลเสหิ ปณ๦ฑิโต
[ •  •  •  •    •  • ]
[ii • aa• ē • ēē•  aa •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
96 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 90
Dhammapada 90

Jīvakapañhavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 97

พระธัมมบท 90
Dhammapada 90

Jīvakapañhavatthu

29 -97

[คตัท๢ธิโน วิโสกัส๠ส
[ •  •  •  •••]
[ • aa •  • ōō  • ōō• aa • ]

[วิปปมุต์ตัส๠ส ส๡พ๬พธิ
[ •  •  •  •  •]
[ii •  • u u • aa •  aa • ]

[ส๡พ๬พคัน๪ถ๡ปปหีน๥ส๠ส
[ •  •  •  •  •  •  • ]
[aa •  • aa • aa •  •  • aa • ]

[ปริฬาโห [น วิช๮ชติ
[ •  •  [  • ]
[ • āā• ōō [ ii • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
98 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 101
Dhammapada 101

Bāhiyadārucīriyattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 99

พระธัมมบท 101
Dhammapada 101

Bāhiyadārucīriyattheravatthu

29 -109

[สห๣ส๠สมป [เจ คาถา


[ •  •  [  • ]
[ • aa •  [ēē āā• āā]

[อน๥ต์ถปทสํหิตา
[ •  •  •  •  • ]
[ • aa •  • aa •  • āā]

[เอกํ [คาถาปทํ เสย฼โย


[ •  [ •  •  •  •]
[ē • aa [āā• āā•  • aa  • ōō]

[ยํ [สุต๎วา อุปส๡ม๨มติ


[ [ •   •  • ]
[aa [u
u• ā  • aa • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
100 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 103
Dhammapada 103

Kuṇḍalakesitherīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 101

พระธัมมบท 103
Dhammapada 103

Kuṇḍalakesitherīvatthu

29 -111

[โย [สห๣ส๠สํ สห๣ส๠เสน


[ [ •  •  •••]
[ōō [ • aa • aa  • aa • ēē• ]

[สํคาเม [มานุเส ชิเน


[ •  •  [ •  •  •]
[aa • āā• ēē [āā•  • ēē  • ēē]

[เอกั๤จ เชย฼ยม฽ต์ตานํ
[ •  •   •  •  •  • ]
[ē • aa •   •  • aa • āā• aa]

[ส [เว สํคามชุต์ตโม
[ [  •  •  •  •  • ]
[ [ēē aa • āā•  • u u •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
102 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 109
Dhammapada 109

Āyuvaḍḍhanakumāravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 103

พระธัมมบท 109
Dhammapada 109

Āyuvaḍḍhanakumāravatthu

29 -117

[อภิวาทนสีลิส๠ส
[ •  •  •  •  • ]
[ • āā•  •  • ii • ]

[นิจ฼จํ วุฑ๰ฒาปจายิโน
[ •  •••••]
[ii • aa uu • āā•  • āā•  • ōō]

[จัต์ตาโร [ธัม๨มา วัฑ๰ฒัน๪ติ


[ •  •  [ •  ••]
[aa • āā• ōō [aa • āā aa • aa • ]

[อายุ [วัณ๦โณ [สุขํ พลํ


[ •  [ •  [ •  •]
[ā •  [aa • ōō [ • aa  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
104 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 115
Dhammapada 115

Bahuputtikattherīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 105

พระธัมมบท 115
Dhammapada 115

Bahuputtikattherīvatthu

29 -123

[โย [จ [วัส๠สสตํ ชีเว


[ [ [ •  •  •]
[ōō [ [aa •  • aa  • ēē]

[อปส๠สํ ธัม๨มมุต์ตมํ
[ •   •   •  •  •  • ]
[ • aa • aa aa •  • u u •  • aa]

[เอกาหํ [ชีวิตํ เสย฼โย


[ •  •  [ •  •  •]
[ē • āā• aa [ •  • aa  • ōō]

[ปส๠สโต ธัม๨มมุต์ตมํ
[  •  •   •  •  •  • ]
[aa •  • ōō aa •  • u u •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
106 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 118
Dhammapada 118

Lājadevadhītāvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 107

พระธัมมบท 118
Dhammapada 118

Lājadevadhītāvatthu

29 -127

[ปุ๤ั๤เจ [ปุริโส กยิรา


[ •  •  [ •  •]
[uu • aa • ēē [ • ōō  • āā]

[กยิรา [นํ ปุน๥ปปุนํ


[ •  [  •  •  • ]
[ • āā [aa  • aa •  • aa]

[ตัม๎หิ [ฉัน๪ทํ กยิราถ


[ •  [ •  ••]
[aa•  [aa • aa  • āā• ]

[สุโข [ปุ๤ัส๠ส อุจ฼จโย


[ •  [ •  •   •  • ]
[ • ōō [uu • aa •  u •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
108 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 124
Dhammapada 124

Kukkuṭamittanesādavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 109

พระธัมมบท 124
Dhammapada 124

Kukkuṭamittanesādavatthu

29 -133

[ปาณิม๎หิ [เจ [วโณ นาส๠ส


[ •  •  [ [ •   • ]
[āā• ii•  [ēē [ • ōō  • ]

[หเรย฼ย [ปาณินา วิสํ


[ •  •  [ •  •   • ]
[ •  •  [āā•  • āā  • aa]

[นาพ๬พณํ วิสม฽เน๎วติ
[ •  •   •  •  • ]
[ •  • aa  • aa• ē • ]

[น๥ต์ถิ [ปาป อกุพ๬พโต


[ •  [ •    •  •  • ]
[aa •  [āā• aa  • uu •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
110 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 126
Dhammapada 126

Maṇikārakulūpakatissattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 111

พระธัมมบท 126
Dhammapada 126

Maṇikārakulūpakatissattheravatthu

29 -135

[คัพ๬ภเมเก อุปปช๮ชัน๪ติ
[ •  •  •  • ••]
[aa •  • ēē• ēē u • aa • aa • ]

[นิรยํ ปาปกัม๨มิโน
[ •  ••••]
[ • aa āā•  • aa •  • ōō]

[ส๡ค์คํ [สุคติโน ย๡น๪ติ


[ •  [ •  •]
[aa • aa [ • ōō aa • ]

[ปรินิพ๬พ๣น๪ติ อนาสวา
[ •  •  •  •••]
[ • ii • aa •   • āā•  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
112 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 127
Dhammapada 127

Tayojanavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 113

พระธัมมบท 127
Dhammapada 127

Tayojanavatthu

29 -136

[น [อ๡น๪ตลิก์เข [น สมุท๢ทม฽ช๮เฌ
[ [ •  •  •  [  •  •  •  • ]
[ [a •  • ii • ēē [  • uu •  • aa • ēē]

[น [ปพ๬พตานํ [วิวรํ ปวิส๠ส


[ [  •  •  •  [ •  ••]
[ [aa •  • āā• aa [ • aa  • ii • ]

[น [วิช๮ชตี [โส ชคติปปเทโส


[ [ •  •  [  •  •  •  • ]
[ [ii •  •  [ōō  • ii •  • ēē• ōō]

[ย๡ต์ถ๡ฏ๪ิโต [มุจ฼เจย฼ย ปาปกัม๨มา


[ •  •  •  [ •  •  •••]
[aa • aa •  • ōō [u u •  •  āā•  • aa • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
114 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 145
Dhammapada 145

Sukhasāmaṇeravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 115

พระธัมมบท 145
Dhammapada 145

Sukhasāmaṇeravatthu

29 -155

[อุทกั๎หิ [นย๡น๪ติ เนต์ติกา


[ •  • 
  [•• ••]
[ • aa•  [ • aa •   •  • āā]

[อุสุการา [นมย๡น๪ติ เตชนํ


[ •  •  [ •  •  ••]
[ • āā• āā [ • aa •  ēē•  • aa]

[ทารุํ [นมย๡น๪ติ ตัจ฼ฉกา


[ •  [ •  •  ••]
[āā• uu [ • aa •  aa •  • āā]

[อ๡ต์ตานํ [ทมย๡น๪ติ สุพ๬พตา


[ •  •  [ •  •  ••]
[a • āā• aa [ • aa •  u
u •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
116 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 151
Dhammapada 151

Mallikādevīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 117

พระธัมมบท 151
Dhammapada 151

Mallikādevīvatthu

29 -162

[ชีรัน๪ติ [เว [ราชรถา สุจิต์ตา


[ •  •  [ [ •  •   •  • ]
[ • aa •  [ēē [āā•  • āā  • ii • āā]

[อโถ [สรีรัม๨ป [ชรํ อุเปติ


[ •  [ •  •  •  [ •   •  • ]
[ • ōō [ •  • aa •  [ • aa  • ēē• ]

[สตั๤จ [ธัม๨โม [น [ชรํ อุเปติ


[ •  •  [ •  [ [ •   •  • ]
[ • aa •  [aa • ōō [ [ • aa  • ēē• ]

[ส๡น๪โต [หเว [ส๡พ๬ภิ ปเวทย๡น๪ติ


[ •  [ •  [ •  ••••]
[aa • ōō [ • ēē [aa •   • ēē•  • aa • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
118 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 159
Dhammapada 159

Padhānikatissattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 119

พระธัมมบท 159
Dhammapada 159

Padhānikatissattheravatthu

29 -171

[อ๡ต์ตาน๥๤เจ [ตถา กยิรา


[ •  •  •  [ •   • ]
[a • āā• aa • ēē [ • āā  • āā]

[ยถา๤มนุสาสติ
[ •  •  •  • ]
[ •  •  • āā• ]

[สุท๣น๪โต [วต ทเมถ


[ •  •  [  •  • ]
[ • aa • ōō [  • ēē• ]

[อ๡ต์ตา [หิ [กิร ทุท๢ทโม


[ •  [ [  •  • ]
[a • āā [ [ uu •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
120 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 160
Dhammapada 160

Kumārakassapamātuttherivatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 121

พระธัมมบท 160
Dhammapada 160

Kumārakassapamātuttherivatthu

29 -172

[อ๡ต์ตา [หิ [อ๡ต์ตโน นาโถ


[ •  [ [ •  •   • ]
[a • āā [ [a •  • ōō āā• ōō]

[โก [หิ [นาโถ [ปโร สิยา


[ [ [ •  [ •   • ]
[ōō [ [āā• ōō [ • ōō  • āā]

[อ๡ต์ตนา [หิ สุท๣น๪เตน


[ •  •  [  •  •  • ]
[a •  • āā [  • aa • ēē• ]

[นาถํ [ลภติ ทุล์ลภํ


[ •  [  •  • ]
[āā• aa [ uu •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
122 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 166
Dhammapada 166

Attadatthattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 123

พระธัมมบท 166
Dhammapada 166

Attadatthattheravatthu

29 -178

[อ๡ต์ตท๣ต์ถํ ปรัต์เถน
[ •  •  •  •••]
[a •  • aa • aa  • aa • ēē• ]

[พหุนาป [น หาปเย
[ •  •  [  •  • ]
[ • āā•  [ āā•  • ēē]

[อ๡ต์ตท๣ต์ถมภิ๤าย
[ •  •  •  •  •  • ]
[a •  • aa •  • ii • āā• ]

[สท๣ต์ถปสุโต สิยา
[ •  •  •  •]
[ • aa •  • ōō  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
124 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 169
Dhammapada 169

Suddhodanavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 125

พระธัมมบท 169
Dhammapada 169

Suddhodanavatthu

29 -182

[ธัม๨มํ [จเร สุจริตํ


[ •  [ •   • ]
[aa • aa [ • ēē  • aa]

[น [นํ [ทุจ฼จริตํ จเร


[ [ [ •  •  •]
[ [aa [uu •  • aa  • ēē]

[ธัม๨มจารี [สุขํ เสติ


[ •  •  •  [ •  •]
[aa •  • āā•  [ • aa ēē• ]

[อ๡ส๎มิ฾ [โลเก [ปรัม๎หิ จ


[ •  [ •  [ •  •  ]
[a • i [ōō• ēē [ • aa•  ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
126 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 172
Dhammapada 172

Sammajjanattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 127

พระธัมมบท 172
Dhammapada 172

Sammajjanattheravatthu

29 -185

[โย [จ [ปุพ๬เพ ปม฽ช๮ชิต๎วา


[ [ [ •   •  •  • ]
[ōō [ [u
u • ēē  • aa • ii• ā]

[ปจ฼ฉา [โส น๥ปปม฽ช๮ชติ


[  •  [  •  •  • ]
[aa • āā [ōō aa •  • aa • ]

[โสมํ [โลกํ ปภาเสติ


[ •  [ •   •  •  • ]
[ōō• aa [ōō• aa  • āā• ēē• ]

[อ๡พ๬ภา [มุต์โตว จัน๪ทิมา


[ •  [ •  •  ••]
[a • āā [u u • ōō•  aa •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
128 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 174
Dhammapada 174

Pesakāradhītāvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 129

พระธัมมบท 174
Dhammapada 174

Pesakāradhītāvatthu

29 -187

[อ๡น๪ธภูโต [อยํ โลโก


[ •  •  •  [ •   • ]
[a •  • ū ū• ōō [ • aa ōō• ōō]

[ตนุเกต์ถ วิปส๠สติ
[ •  •  • •]
[ •  •   • aa • ]

[สกุโณ ชาลมุต์โตว
[ •   •  •  •  • ]
[ • ōō āā•  • u
u • ōō• ]

[อ๡ปโป [ส๡ค์คาย คัจ฼ฉติ


[ •  [ •  •   • ]
[a • ōō [aa • āā•  aa • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
130 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 175
Dhammapada 175

Tiṃsabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 131

พระธัมมบท 175
Dhammapada 175

Tiṃsabhikkhuvatthu

29 -188

[หํสาทิจ฼จปเถ ย๡น๪ติ
[ •  •  •  •  •]
[aa • āā• ii •  • ēē aa • ]

[อากาเส [ย๡น๪ติ อิท๢ธิยา


[ •  •  [ •  ••]
[ā • āā• ēē [aa •  i •  • āā]

[นีย๡น๪ติ [ธีรา โลกัม๎หา


[ •  •  [ •   •  • ]
[ • aa •  [ • āā ōō• aa• ā]

[เชต๎วา [มารํ สวาหินิ฾


[ •  [ •  •••]
[ēē• ā [āā• aa  • āā•  • ii]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
132 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 177
Dhammapada 177

Asadisadānavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 133

พระธัมมบท 177
Dhammapada 177

Asadisadānavatthu

29 -190

[น [เว [กทริยา [เทวโลกํ วชัน๪ติ


[ [ [ •  [ •  •  •  ••]
[ [ēē [ • āā [ēē•  • ōō• aa  • aa • ]

[พาลา [หเว [น๥ปปสํส๡น๪ติ ทานํ


[ •  [ •  [ •  •  •  •  •]
[āā• āā [ • ēē [aa •  • aa • aa •  āā• aa]

[ธีโร [จ [ทานํ อนุโมทมาโน


[ •  [ [ •   •  •  •  • ]
[ • ōō [ [āā• aa  • ōō•  • āā• ōō]

[เตเนว [โส [โหติ [สุขี ปรัต์ถ


[ •  •  [ [ •  [ •  ••]
[ēē• ēē•  [ōō [ōō•  [ •   • aa • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ [โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
134 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 178
Dhammapada 178

Anāthapiṇḍikaputtakālavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 135

พระธัมมบท 178
Dhammapada 178

Anāthapiṇḍikaputtakālavatthu

29 -191

[ปถพ๎ยา เอกรัช๮เชน
[ •   •  •  •  • ]
[ • ā ē •  • aa • ēē• ]

[ส๡ค์คัส๠ส [คมเนน วา
[ •  •  [ •  •  ]
[aa • aa •  [ • ēē•  āā]

[ส๡พ๬พโลกาธิปจ฼เจน
[ •  •  •  •  •   •  • ]
[aa •  • ōō• āā•  • aa • ēē• ]

[โสตาปต์ติผลํ วรํ
[ •  •   •  •  •]
[ōō• āā• aa •  • aa  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
136 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 181
Dhammapada 181

Devorohaṇavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 137

พระธัมมบท 181
Dhammapada 181

Devorohaṇavatthu

29 -195

[เย [ฌานปสุตา ธีรา


[ [ •  •   • ]
[ēē [āā•  • āā  • āā]

[เนก์ขัม๨มูปสเม รตา
[ •  •  •  •  •]
[ • aa • ū ū•  • ēē  • āā]

[เทวาป [เตสํ ปหย๡น๪ติ


[ •  •  [ •    •  • ]
[ēē• āā•  [ēē• aa  • aa • ]

[ส๡ม๨พุท๢ธานํ สตีมตํ
[ •  •  •  •••]
[aa • u u • āā• aa  •  •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
138 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 182
Dhammapada 182

Erakapattanāgarājavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 139

พระธัมมบท 182
Dhammapada 182

Erakapattanāgarājavatthu

29 -196

[กิจ฼โฉ มนุส๠สปฏิลาโภ
[ •   •  •  •  • ]
[ii • ōō  • u
u •  • āā• ōō]

[กิจ฼ฉํ [ม฽จ฼จาน ชีวิตํ


[ •  [ •  •  ••]
[ii • aa [aa • āā•   •  • aa]

[กิจ฼ฉํ ส๡ท๢ธัม๨ม฽ส๠สวนํ
[ •  ••••]
[ii • aa aa • aa • aa •  • aa]

[กิจ฼โฉ พุท๢ธานมุปปาโท
[ •   •  •  •  •  • ]
[ii • ōō u
u • āā•  • u u • āā• ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
140 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 183
Dhammapada 183

Ānandattherapañhavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 141

พระธัมมบท 183
Dhammapada 183

Ānandattherapañhavatthu

29 -197

[ส๡พ๬พปาปส๠ส อกรณํ
[ •  •  •   •  •]
[aa •  • āā• aa •   • aa]

[กุสลัส๠ส อุปส๡ม๨ปทา
[ •  •  •••]
[ • aa •   • aa •  • āā]

[สจิต์ตปริโยทปนํ
[ •  •  •  •  • ]
[ • ii •  • ōō•  • aa]

[เอตํ [พุท๢ธาน สาสนํ


[ •  [ •  •  ••]
[ē • aa [u u • āā•  āā•  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
142 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 191
Dhammapada 191

Aggidattabrāhmaṇavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 143

พระธัมมบท 191
Dhammapada 191

Aggidattabrāhmaṇavatthu

29 -205

[ทุก์ขํ ทุก์ขสมุปปาทํ
[ •  ••••]
[uu • aa uu •  • u
u • āā• aa]

[ทุก์ขัส๠ส [จ อติก์กมํ
[ •  •  [  •  •  • ]
[uu • aa •  [  • ii •  • aa]

[อริยํ [จัฏ๪ํคิกํ ม฽ค์คํ


[ •  [ •  •  •  •]
[ • aa [aa • aa •  • aa aa • aa]

[ทุก์ขูปสมคามินํ
[ •  •  •  •  • ]
[uu • ū ū•  • āā•  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
144 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 193
Dhammapada 193

Ānandattherapañhavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 145

พระธัมมบท 193
Dhammapada 193

Ānandattherapañhavatthu

29 -207

[ทุล์ลโภ ปุริสาชั๤โ
[ •  •   •  •  • ]
[uu •  • ōō  • āā• aa • ōō]

[น [โส [ส๡พ๬พ๣ต์ถ ชายติ


[ [ [ •  •  •]
[ [ōō [aa • aa •  āā• ]

[ย๡ต์ถ [โส [ชายติ ธีโร


[ •  [ [ •   • ]
[aa •  [ōō [āā•   • ōō]

[ตํ [กุลํ สุขเมธติ


[ [ •  ••]
[aa [ • aa  • ēē• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
146 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 194
Dhammapada 194

Sambahulabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 147

พระธัมมบท 194
Dhammapada 194

Sambahulabhikkhuvatthu

29 -208

[สุโข พุท๢ธานมุปปาโท
[ •  •••••]
[ • ōō uu • āā•  • u
u • āā• ōō]

[สุขา ส๡ท๢ธัม๨มเทสนา
[ •  •••••]
[ • āā aa • aa •  • ēē•  • āā]

[สุขา [สํฆัส๠ส สาม฽ค์คี


[ •  [ •  •  ••]
[ • āā [aa • aa •  āā• aa • ]

[สม฽ค์คานํ [ตโป สุโข


[ •  •  •  [ •   • ]
[ • aa • āā• aa [ • ōō  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [ อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
148 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 200
Dhammapada 200

Māravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 149

พระธัมมบท 200
Dhammapada 200

Māravatthu

29 -216

[สุสุขํ [วต ชีวาม


[ •  [  •  • ]
[ • aa [  • āā• ]

[เยสํ [โน [น๥ต์ถิ กิ๤จนํ


[ •  [ [ •  ••]
[ēē• aa [ōō [aa •  ii •  • aa]

[ปติภัก์ขา ภวิส๠สาม
[ •  •  •  •••]
[ •  • aa • āā  • ii • āā• ]

[เทวา [อาภัส๠สรา ยถา


[ •  [ •  •  •   • ]
[ēē• āā [ā • aa •  • āā  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
150 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 201
Dhammapada 201

Kosalaraññoparājayavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 151

พระธัมมบท 201
Dhammapada 201

Kosalaraññoparājayavatthu

29 -217

[ชยํ [เวรํ ปสวติ


[ •  [ •  ]
[ • aa [ēē• aa ]

[ทุก์ขํ [เสติ ปราชิโต


[ •  [ •   •  •  • ]
[uu • aa [ēē•   • āā•  • ōō]

[อุปส๡น๪โต [สุขํ เสติ


[ •  •  [ •  •]
[ • aa • ōō [ • aa ēē• ]

[หิต๎วา ชยปราชยํ
[ •   •  •  • ]
[ii• ā  • āā•  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
152 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 204
Dhammapada 204

Pasenadikosalavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 153

พระธัมมบท 204
Dhammapada 204

Pasenadikosalavatthu

29 -220

[อาโรค๎ยปรมา ลาภา
[ •  •  •   • ]
[ā • ōō•  • āā āā• āā]

[ส๡น๪ตุฏ๪ิปรมํ ธนํ
[ •  •  •  •]
[aa • uu •  • aa  • aa]

[วิส๠สาสปรมา าติ
[ •  •  •   • ]
[ii • āā•  • āā āā• ]

[นิพ๬พานํ [ปรมํ สุขํ


[ •  •  [ •  •]
[ii • āā• aa [ • aa  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
154 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 205
Dhammapada 205

Tissattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 155

พระธัมมบท 205
Dhammapada 205

Tissattheravatthu

29 -221

[ปวิเวกรสํ ปต๎วา
[ •  •  •  •]
[ • ēē•  • aa ii• ā]

[รสํ [อุปสม฽ส๠ส จ
[ •  [ •  •  ]
[ • aa [ • aa •  ]

[นิท๢ทโร [โหติ นิปปาโป


[ •  •  [ •   •  • ]
[ii •  • ōō [ōō•  ii • āā• ōō]

[ธัม๨มปติรสํ ปวํ
[ •  •  •  •   •]
[aa •  •  •  • aa  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
156 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 208
Dhammapada 208

Sakkavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 157

พระธัมมบท 208
Dhammapada 208

Sakkavatthu

29 -225

[ธีรั๤จ [ป๤ั๤จ พหุส๠สุตั๤จ


[ •  •  [  •  •   •  •  •  • ]
[ • aa •  [aa • aa •   • u
u •  • aa • ]

[โธรัย๎หสีลํ วตวัน๪ตมริยํ
[ •  •  •  •  •••]
[ōō• aa•  •  • aa  • aa •  • aa]

[ตํ [ตาทิสํ [ส๡ปปุริสํ สุเมธํ


[ [ •  •  [ •  •  ••]
[aa [āā•  • aa [aa •  • aa  • ēē• aa]

[ภเชถ [น๥ก์ขัต์ตปถํว จัน๪ทิมา


[ •  •  [ •  •  •  •  ••]
[ • ēē•  [aa • aa •  • aa •  aa •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] [เอ็-] โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
158 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 217
Dhammapada 217

Pañcasatadārakavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 159

พระธัมมบท 217
Dhammapada 217

Pañcasatadārakavatthu

29 -235

[สีลท๣ส๠สนส๡ม๨ปน๪นํ
[ •  •  •  •  •   • ]
[ •  • aa •  • aa • aa • aa]

[ธัม๨ม฽ฏ๪ํ ส๡จ฼จเวทินํ
[ •  •  ••••]
[aa • aa • aa aa •  • ēē•  • aa]

[อ๡ต์ตโน [กัม๨ม กุพ๬พานํ


[ •  •  [ •  ••]
[a •  • ōō [aa •  uu • āā• aa]

[ตํ [ชโน [กุรุเต ปยํ


[ [ •  [ •   •]
[aa [ • ōō [ • ēē  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
160 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 220
Dhammapada 220

Nandiyavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 161

พระธัมมบท 220
Dhammapada 220

Nandiyavatthu

29 -238

[ตเถว กตปุ๤ัม๨ป
[ •  •   •  •  •  ]
[ • ēē•   • uu • aa • ]

[อ๡ส๎มา [โลกา [ปรํ คตํ


[ •  [ •  [ •   • ]
[a • ā [ōō• āā [ • aa  • aa]

[ปุ๤านิ ปฏิคัณ๎ห๣น๪ติ
[ •  •   •  •  • ]
[uu • āā•   • aa• a • ]

[ปยํ [าตีว อาคตํ


[ •  [ •  •   •  • ]
[ • aa [āā•  •  ā •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
162 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 221
Dhammapada 221

Rohinīkhattiyakaññāvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 163

พระธัมมบท 221
Dhammapada 221

Rohinīkhattiyakaññāvatthu

29 -240

[โกธํ [ชเห [วิปปชเหย฼ย มานํ


[ •  [ •  [ •  •  •  •]
[ōō• aa [ • ēē [ii •  •  •  āā• aa]

[สโยชนํ ส๡พ๬พมติก์กเมย฼ย
[ •  •  •  •••••]
[aa • ōō•  • aa aa •  • ii •  •  • ]

[ตํ นามรูปส๎มิมส๡ช๮ชมานํ
[  •  •  •  •  •  •  •  • ]
[aa āā•  • ū ū• aa•  • aa •  • āā• aa]

[อกิ๤จนํ [นานุปตัน๪ติ ทุก์ขา


[ •  •  •  [ •  •  •  •]
[ • ii •  • aa [āā•  • aa •  uu • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
164 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 223
Dhammapada 223

Uttarāupāsikavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 165

พระธัมมบท 223
Dhammapada 223

Uttarāupāsikavatthu

29 -242

[อ๡ก์โกเธน [ชิเน โกธํ


[ •  •  •  [ •   • ]
[a • ōō• ēē•  [ • ēē ōō• aa]

[อสาธุํ [สาธุนา ชิเน


[ •  •  [ •  •  •]
[ • āā• uu [āā•  • āā  • ēē]

[ชิเน [กทริยํ ทาเนน


[ •  [ •  ••]
[ • ēē [ • aa āā• ēē• ]

[ส๡จ฼เจนาลิกวาทินํ
[ •  •  •  •  •  • ]
[aa • ēē• āā•  • āā•  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
166 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 224
Dhammapada 224

Mahāmoggallānapañhavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 167

พระธัมมบท 224
Dhammapada 224

Mahāmoggallānapañhavatthu

29 -243

[ส๡จ฼จํ [ภเณ [น กุช๮เฌย฼ย


[ •  [ •  [  •  • ]
[aa • aa [ • ēē [ u
u •  • ]

[ท๣ช๮ชา [อ๡ปปม๨ป ยาจิโต


[ •  [ •   •  ••]
[aa • āā [a • aa •  āā•  • ōō]

[เอเตหิ [ตีหิ าเนหิ


[ •  •  [ •   •  • ]
[ē • ēē•  [ •  āā• ēē• ]

[คัจ฼เฉ [เทวาน ส๡น๪ติเก


[ •  [ •  •   •  • ]
[aa • ēē [ēē• āā•  aa •  • ēē]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
168 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 225
Dhammapada 225

Buddhapitubrāhmaṇavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 169

พระธัมมบท 225
Dhammapada 225

Buddhapitubrāhmaṇavatthu

29 -244

[อหิ฾สกา [เย มุนโย


[ •  •  •  [  • ]
[ • ii •  • āā [ēē  • ōō]

[นิจ฼จํ [กาเยน สํวุตา


[ •  [ •  •   •  • ]
[ii • aa [āā• ēē•  aa •  • āā]

[เต [ย๡น๪ติ [อ๡จ฼จุตํ านํ


[ [ •  [ •  •  •]
[ēē [aa •  [a •  • aa āā• aa]

[ย๡ต์ถ [คัน๪ต๎วา [น โสจเร


[ •  [ •  [  •  • ]
[aa •  [aa • ā [ ōō•  • ēē]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
170 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 226
Dhammapada 226

Puṇṇadāsīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 171

พระธัมมบท 226
Dhammapada 226

Puṇṇadāsīvatthu

29 -245

[สทา ชาครมานานํ
[ •   •  •  •  • ]
[ • āā āā•  • āā• āā• aa]

[อโหรัต์ตานุสิก์ขินํ
[ •  •  •  •  •  •  • ]
[ • ōō• aa • āā•  • ii •  • aa]

[นิพ๬พานํ อธิมุต์ตานํ
[ •  •  •••]
[ii • āā• aa  • uu • āā• aa]

[อ๡ต์ถํ [คัจ฼ฉัน๪ติ อาสวา


[ •  [ •  •  ••]
[a • aa [aa • aa •  ā •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
172 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 228
Dhammapada 228

Atulaupāsakavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 173

พระธัมมบท 228
Dhammapada 228

Atulaupāsakavatthu

29 -247

[น [จาหุ [น [จ ภวิส๠สติ
[ [ •  [ [  •  • ]
[ [āā•  [ [  • ii • ]

[น [เจตรหิ วิช๮ชติ
[ [ •   • ]
[ [ēē•  ii • ]

[เอกัน๪ตํ [นิน๪ทิโต โปโส


[ •  •  [ •  •   • ]
[ē • aa • aa [ii •  • ōō ōō• ōō]

[เอกัน๪ตํ [วา ปสํสิโต


[ •  •  [  •  •  • ]
[ē • aa • aa [āā  • aa •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
174 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 229
Dhammapada 229

Atulaupāsakavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 175

พระธัมมบท 229
Dhammapada 229

Atulaupāsakavatthu

29 -248

[ย๡๤เจ [วิ๤ู ปสํส๡น๪ติ


[ •  [ •   •  •  • ]
[aa • ēē [ii • ū
ū  • aa • aa • ]

[อนุวิจ฼จ [สุเว สุเว


[ •  •  [ •  •]
[ • ii •  [ • ēē  • ēē]

[อ๡จ฼ฉิท๢ทวุต์ติ฾ เมธาวิ฾
[ •  •  •  •  ••]
[a • ii •  • u u • ii ēē• āā• ii]

[ป๤าสีลสมาหิตํ
[  •  •  •  •  •  • ]
[aa • āā•  •  • āā•  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
176 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 230
Dhammapada 230

Atulaupāsakavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 177

พระธัมมบท 230
Dhammapada 230

Atulaupāsakavatthu

29 -249

[นิก์ขํ ชัม๨โพนท๣ส๠เสว
[ •  •••••]
[ii • aa aa • ōō•  • aa • ēē• ]

[โก [ตํ นิน๪ทิตุมรหติ


[ [  • ]
[ōō [aa ii • ]

[เทวาป [นํ ปสํส๡น๪ติ


[ •  •  [  •  •  • ]
[ēē• āā•  [aa  • aa • aa • ]

[พ๎รห๎มุนาป ปสํสิโต
[ •  •  •••]
[ • āā•   • aa •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
178 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 232
Dhammapada 232

Chabbaggiyavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 179

พระธัมมบท 232
Dhammapada 232

Chabbaggiyavatthu

29 -251

[วจีปโกป รัก์เขย฼ย
[ •  •  •  •   ••]
[ •  •  • ōō• aa aa •  • ]

[วาจาย [สํวุโต สิยา


[ •  •  [ •  •  •]
[āā• āā•  [aa •  • ōō  • āā]

[วจีทุจ฼จริตํ หิต๎วา
[ •  •  •  •  •]
[ •  • u u •  • aa ii• ā]

[วาจาย [สุจริตํ จเร


[ •  •  [ •  •]
[āā• āā•  [ • aa  • ēē]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
180 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 234
Dhammapada 234

Chabbaggiyavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 181

พระธัมมบท 234
Dhammapada 234

Chabbaggiyavatthu

29 -253

[กาเยน [สํวุตา ธีรา


[ •  •  [ •  •  •]
[āā• ēē•  [aa •  • āā  • āā]

[อโถ [วาจาย สํวุตา


[ •  [ •  •   •  • ]
[ • ōō [āā• āā•  aa •  • āā]

[มนสา [สํวุตา ธีรา


[ •  [ •  •  •]
[ • āā [aa •  • āā  • āā]

[เต [เว สุปริสํวุตา


[ [  •  •  • ]
[ēē [ēē  • aa •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
182 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 236
Dhammapada 236

Goghātakaputtavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 183

พระธัมมบท 236
Dhammapada 236

Goghātakaputtavatthu

29 -256

[โส [กโรหิ ทีปม฽ต์ตโน


[ [ •  •   •  •  •  • ]
[ōō [ • ōō•   •  • aa •  • ōō]

[ขิปป [วายม [ปณ๦ฑิโต ภว


[ •   [ •  [  •  •  ]
[ii • aa [āā•  [aa •  • ōō ]

[นิท๢ธัน๪ตมโล อนํคโณ
[ •  •  •  •••]
[ii • aa •  • ōō  • aa •  • ōō]

[ทิพ๬พํ [อริยภูมิ฾ อุเปหิสิ


[ •  [ •  •  ••]
[ii • aa [ • ū ū• ii  • ēē• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
184 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 238
Dhammapada 238

Goghātakaputtavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 185

พระธัมมบท 238
Dhammapada 238

Goghātakaputtavatthu

29 -258

[โส [กโรหิ ทีปม฽ต์ตโน


[ [ •  •   •  •  •  • ]
[ōō [ • ōō•   •  • aa •  • ōō]

[ขิปป [วายม [ปณ๦ฑิโต ภว


[ •   [ •  [  •  •  ]
[ii • aa [āā•  [aa •  • ōō ]

[นิท๢ธัน๪ตมโล อนํคโณ
[ •  •  •  •••]
[ii • aa •  • ōō  • aa •  • ōō]

[น [ปุนํ [ชาติชรํ อุเปหิสิ


[ [ •  [ •  •   •  • ]
[ [ • aa [āā•  • aa  • ēē• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
186 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 241
Dhammapada 241

Lāḷudāyīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 187

พระธัมมบท 241
Dhammapada 241

Lāḷudāyīvatthu

29 -261

[อส๡ช๮ฌายมลา ม฽น๪ตา
[ •  •  •  •   • ]
[ • aa • āā•  • āā aa • āā]

[อนุฏ๪านมลา ฆรา
[ •  •  •  •   • ]
u • āā•  • āā  • āā]
[ • u

[มลํ [วัณ๦ณัส๠ส โกส๡ช๮ชํ


[ •  [ •  •   •  • ]
[ • aa [aa • aa •  ōō• aa • aa]

[ปมาโท [รัก์ขโต มลํ


[ •  •  [ •  •  •]
[ • āā• ōō [aa •  • ōō  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
188 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 257
Dhammapada 257

Vinicchayamahāmattavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 189

พระธัมมบท 257
Dhammapada 257

Vinicchayamahāmattavatthu

29 -278

[อสาหเสน ธัม๨เมน
[ •  •  •  •   •  • ]
[ • āā•  • ēē•  aa • ēē• ]

[สเมน [นยตี ปเร


[ •  •  [ •   • ]
[ • ēē•  [ •   • ēē]

[ธัม๨ม฽ส๠ส [คุต์โต เมธาวี


[ •  •  [ •   •  • ]
[aa • aa •  [uu • ōō ēē• āā• ]

[ธัม๨ม฽ฏ๪โติ ปวุจ฼จติ
[ •  •  •  ••]
[aa • aa • ōō•   • u
u • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
190 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 261
Dhammapada 261

Lakuṇḍakabhaddiyattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 191

พระธัมมบท 261
Dhammapada 261

Lakuṇḍakabhaddiyattheravatthu

29 -282

[ย๡ม๎หิ [ส๡จ฼จั๤จ [ธัม๨โม จ


[ •  [ •  •  [ •  ]
[aa•  [aa • aa •  [aa • ōō ]

[อหิ฾สา [สํยโม ทโม


[ •  •  [ •  •  •]
[ • ii • āā [aa •  • ōō  • ōō]

[ส [เว [วัน๪ตมโล ธีโร


[ [ [ •  •  •]
[ [ēē [aa •  • ōō  • ōō]

[เถโร [อิติ ปวุจ฼จติ


[ •  [  •  • ]
[ēē• ōō [  • uu • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
192 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 263
Dhammapada 263

Sambahulabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 193

พระธัมมบท 263
Dhammapada 263

Sambahulabhikkhuvatthu

29 -284

[ย๡ส๠ส [เจตํ สมุจ฼ฉิน๪นํ


[ •  [ •   •  •  • ]
[aa •  [ēē• aa  • uu • ii • aa]

[มูลฆัจ฼จํ สมูหตํ
[ •  •  •  •••]
[ū ū•  • aa • aa  • ū
ū•  • aa]

[ส [วัน๪ตโทโส เมธาวี
[ [ •  •  •  ••]
[ [aa •  • ōō• ōō ēē• āā• ]

[สาธุรูโปติ วุจ฼จติ
[ •  •  •  •  •]
[āā•  • ū ū• ōō•  uu • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
194 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 265
Dhammapada 265

Hatthakavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 195

พระธัมมบท 265
Dhammapada 265

Hatthakavatthu

29 -286

[โย [จ [สเมติ ปาปานิ


[ [ [ •  •   •  • ]
[ōō [ [ • ēē•  āā• āā• ]

[อณุํถูลานิ ส๡พ๬พโส
[ •  •  •  •  ••]
u • ū
[ • u ū• āā•  aa •  • ōō]

[สมิตัต์ตา [หิ ปาปานํ


[ •  •  [  •  • ]
[ • aa • āā [ āā• āā• aa]

[สมโณติ ปวุจ฼จติ
[ •  •   •  • ]
[ • ōō•   • uu • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
196 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 273
Dhammapada 273

Pañcasatabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 197

พระธัมมบท 273
Dhammapada 273

Pañcasatabhikkhuvatthu

29 -295

[ม฽ค์คาน๥ฏ๪ํคิโกเสฏ๪โ
[ •  •  •  •  •  •  • ]
[aa • āā• aa • aa •  • ōō•  • ōō]

[ส๡จ฼จานํ [จตุโร ปทา


[ •  •  [ •   • ]
[aa • āā• aa [ • ōō  • āā]

[วิราโคเสฏ๪โ ธัม๨มานํ
[ •  •  •  •  ••]
[ • āā• ōō•  • ōō aa • āā• aa]

[ท๎วิปทาน๥๤จ จัก์ขุมา
[ •  •  •  ••]
[ • āā• aa •  aa •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
198 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 277
Dhammapada 277

Aniccalakkhaṇavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 199

พระธัมมบท 277
Dhammapada 277

Aniccalakkhaṇavatthu

29 -299

[ส๡พ๬เพ [สํขารา อนิจ฼จาติ


[ •  [ •  •  •••]
[aa • ēē [aa • āā• āā  • ii • āā• ]

[ยทา [ป๤าย ปส๠สติ


[ •  [  •  •    • ]
[ • āā [aa • āā•  aa • ]

[อถ [นิพ๬พิน๪ทติ ทุก์เข


[ [ •  •  •]
[ [ii • ii •  uu • ēē]

[เอส [ม฽ค์โค วิสุท๢ธิยา


[ •  [ •  •••]
[ē •  [aa • ōō  • u
u •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
200 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 279
Dhammapada 279

Anattalakkhaṇavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 201

พระธัมมบท 279
Dhammapada 279

Anattalakkhaṇavatthu

29 -301

[ส๡พ๬เพ [ธัม๨มา อน๥ต์ตาติ


[ •  [ •  •••]
[aa • ēē [aa • āā  • aa • āā• ]

[ยทา [ป๤าย ปส๠สติ


[ •  [  •  •    • ]
[ • āā [aa • āā•  aa • ]

[อถ [นิพ๬พิน๪ทติ ทุก์เข


[ [ •  •  •]
[ [ii • ii •  uu • ēē]

[เอส [ม฽ค์โค วิสุท๢ธิยา


[ •  [ •  •••]
[ē •  [aa • ōō  • u
u •  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [ อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
202 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 290
Dhammapada 290

Attanopubbakammavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 203

พระธัมมบท 290
Dhammapada 290

Attanopubbakammavatthu

29 -313

[ม฽ต์ตาสุขปริจ฼จาคา
[ •  •  •  •  • ]
[aa • āā•  • ii • āā• āā]

[ปส๠เส [เจ [วิปุลํ สุขํ


[  •  [ [ •  •]
[aa • ēē [ēē [ • aa  • aa]

[จเช [ม฽ต์ตาสุขํ ธีโร


[ •  [ •  •  •  •]
[ • ēē [aa • āā•  • aa  • ōō]

[ส๡ม๨ปส๠สํ [วิปุลํ สุขํ


[ •   •  [ •  •]
[aa • aa • aa [ • aa  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
204 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 303
Dhammapada 303

Cittagahapativatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 205

พระธัมมบท 303
Dhammapada 303

Cittagahapativatthu

29 -326

[ส๡ท๢โธ [สีเลน ส๡ม๨ปน๪โน


[ •  [ •  •   •   • ]
[aa • ōō [ • ēē•  aa • aa • ōō]

[ยโสโภคสม฽ปปโต
[ •  •  •  •  •  • ]
[ • ōō• ōō•  • aa •  • ōō]

[ยํ [ยํ [ปเทสํ ภชติ


[ [ [ •  •  ]
[aa [aa [ • ēē• aa ]

[ตัต์ถ [ตัต์เถว ปูชิโต


[ •  [ •  •   •  • ]
[aa •  [aa • ēē•  ū
ū•  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
206 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 319
Dhammapada 319

Titthiyasāvakavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 207

พระธัมมบท 319
Dhammapada 319

Titthiyasāvakavatthu

29 -343

[วัช๮ชั๤จ [วัช๮ชโต ัต๎วา


[ •  •  [ •  •   • ]
[aa • aa •  [aa •  • ōō aa• ā]

[อวัช๮ชั๤จ อวัช๮ชโต
[ •  •  •   •  •  • ]
[ • aa • aa •   • aa •  • ōō]

[ส๡ม๨มาทิฏ๪ิสมาทานา
[ •  •  •  •  •  • ]
[aa • āā• ii •  • āā• āā• āā]

[ส๡ต์ตา [คัจ฼ฉัน๪ติ สุค์คติ฾


[ •  [ •  •  ••]
[aa • āā [aa • aa •  u
u •  • ii]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
208 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 321
Dhammapada 321

Attadantavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 209

พระธัมมบท 321
Dhammapada 321

Attadantavatthu

29 -346

[ท๣น๪ตํ [นย๡น๪ติ สมิติ฾


[ •  [ •  •  •]
[aa • aa [ • aa •   • ii]

[ท๣น๪ตํ ราชาภิรูหติ
[ •  ••••]
[aa • aa āā• āā•  • ū
ū• ]

[ท๣น๪โตเสฏ๪โ มนุส๠เสสุ
[ •  •  •  •••]
[aa • ōō•  • ōō  • u
u • ēē• ]

[โยติวาก๎ยํ ติติก์ขติ
[ •  •  •  ••]
[ōō•  • āā• a  • ii • ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
210 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 322
Dhammapada 322

Attadantavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 211

พระธัมมบท 322
Dhammapada 322

Attadantavatthu

29 -347

[วรม฽ส๠สตรา ท๣น๪ตา
[ •  •  •  •]
[ • aa •  • āā aa • āā]

[อาชานียา [จ สิน๪ธวา
[ •  •  •  [  •  • ]
[ā • āā•  • āā [ ii •  • āā]

[กุ๤ชรา [จ มหานาคา
[ •  •  [  •  •  • ]
[uu •  • āā [  • āā• āā• āā]

[อ๡ต์ตท๣น๪โต [ตโต วรํ


[ •  •  •  [ •   • ]
[a •  • aa • ōō [ • ōō  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [ อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
212 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 330
Dhammapada 330

Sambahulabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 213

พระธัมมบท 330
Dhammapada 330

Sambahulabhikkhuvatthu

29 -355

[เอกัส๠ส [จริตํ เสย฼โย


[ •  •  [ •  •]
[ē • aa •  [ • aa  • ōō]

[น๥ต์ถิ [พาเล สหายตา


[ •  [ •   •  •  • ]
[aa •  [āā• ēē  • āā•  • āā]

[เอโก [จเร [น [จ [ปาปานิ กยิรา


[ •  [ •  [ [ [ •  •   • ]
[ē • ōō [ • ēē [ [ [āā• āā•   • āā]

[อ๡ปโปส๠สุก์โก [มาตํครั๤เว นาโค


[ •   •  •  [ •  •  •  •  •  •]
[a •  • u u • ōō [āā• aa •  • aa • ēē•  āā• ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
214 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 331
Dhammapada 331

Māravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 215

พระธัมมบท 331
Dhammapada 331

Māravatthu

29 -356

[อ๡ต์ถ๡ม๎หิ [ชาตัม๎หิ [สุขา สหายา


[ •  •  [ •  •  [ •  ••]
[a • aa•  [āā• aa•  [ • āā  • āā• āā]

[ตุฏ๪ี [สุขา [ยา อิตรีตเรน


[ •  [ •  [  •  •  •  • ]
u •  [ • āā [āā  •  •  • ēē• ]
[u

[ปุ๤ํ [สุขํ ชีวิตสํขย๡ม๎หิ


[ •  [ •  •••••]
[uu • aa [ • aa  •  • aa •  • aa• ]

[ส๡พ๬พ๣ส๠ส [ทุก์ขัส๠ส [สุขํ ปหานํ


[ •  •  [ •  •  [ •  ••]
[aa • aa •  [uu • aa •  [ • aa  • āā• aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ [โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
216 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 332
Dhammapada 332

Māravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 217

พระธัมมบท 332
Dhammapada 332

Māravatthu

29 -357

[สุขา [ม฽ต์เตย฼ยตา โลเก


[ •  [ •  •  •  •]
[ • āā [aa •  •  • āā ōō• ēē]

[อโถเปต์เตย฼ยตา สุขา
[ •  •   •  •  •   • ]
[ • ōō•  •  •  • āā  • āā]

[สุขา [สาม฽๤ตา โลเก


[ •  [ •  •  •   • ]
[ • āā [āā• aa •  • āā ōō• ēē]

[อโถ [พ๎รห๎ม฽๤ตา สุขา


[ •  [ •  •  •   • ]
[ • ōō [ • a •  • āā  • āā]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
218 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 348
Dhammapada 348

Uggasenavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 219

พระธัมมบท 348
Dhammapada 348

Uggasenavatthu

29 -374

[มุ๤จ [ปุเร [มุ๤จ ปจ฼ฉโต


[ •  [ •  [ •   ••]
[u u •  [ • ēē [u u •  aa •  • ōō]

[ม฽ช๮เฌ [มุ๤จ [ภวัส๠ส ปารคู


[ •  [ •  [ •  •   •  • ]
[aa • ēē [u
u •  [ • aa •  āā•  • ūū]

[ส๡พ๬พ๣ต์ถ วิมุต์ตมานโส
[ •  •  •••••]
[aa • aa •   • uu •  • āā•  • ōō]

[น [ปุนํ [ชาติชรํ อุเปหิสิ


[ [ •  [ •  •   •  • ]
[ [ • aa [āā•  • aa  • ēē• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] [เอ็-] โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น -]
[ [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
220 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 354
Dhammapada 354

Sakkapañhavatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 221

พระธัมมบท 354
Dhammapada 354

Sakkapañhavatthu

29 -380

[ส๡พ๬พทานํ [ธัม๨มทานํ ชินาติ


[ •  •  •  [ •  •  •  ••]
[aa •  • āā• aa [aa •  • āā• aa  • āā• ]

[ส๡พ๬พรสํ [ธัม๨มรโส ชินาติ


[ •  •  [ •  •  ••]
[aa •  • aa [aa •  • ōō  • āā• ]

[ส๡พ๬พรติ฾ [ธัม๨มรติ ชินาติ


[ •  •  [ •  ••]
[aa •  • ii [aa •   • āā• ]

[ตัณ๎ห๣ก์ขโย [ส๡พ๬พทุก์ขํ ชินาติ


[ •  •  •  [ •  •  •  ••]
[aa• a •  • ōō [aa •  • u u • aa  • āā• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] [เอ็-] [โอ็-] -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
222 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 356
Dhammapada 356

Aṅkuravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 223

พระธัมมบท 356
Dhammapada 356

Aṅkuravatthu

29 -382

[ติณโทสานิ เขต์ตานิ
[ •  •  •   •  • ]
[ • ōō• āā•   • āā• ]

[ราคโทสา [อยํ ปชา


[ •  •  •  [ •   • ]
[āā•  • ōō• āā [ • aa  • āā]

[ตัส๎มา [หิ วีตราเคสุ


[ •  [  •  •  •  • ]
[aa• ā [  •  • āā• ēē• ]

[ทิน๪นํ [โหติ มห๣ปผลํ


[ •  [ •   •  •  • ]
[ii • aa [ōō•   • aa •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
224 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 360
Dhammapada 360

Pañcabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 225

พระธัมมบท 360
Dhammapada 360

Pañcabhikkhuvatthu

29 -387

[จัก์ขุนา [สํวโร สาธุ


[ •  •  [ •  •  •]
[aa •  • āā [aa •  • ōō āā• ]

[สาธุ [โสเตน สํวโร


[ •  [ •  •   •  • ]
[āā•  [ōō• ēē•  aa •  • ōō]

[ฆาเนน [สํวโร สาธุ


[ •  •  [ •  •  •]
[āā• ēē•  [aa •  • ōō āā• ]

[สาธุ [ชิว๎หาย สํวโร


[ •  [ •  •   •  • ]
[āā•  [ii• ā •  aa •  • ōō]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
226 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 379
Dhammapada 379

Naṅgalakulattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 227

พระธัมมบท 379
Dhammapada 379

Naṅgalakulattheravatthu

29 -406

[อ๡ต์ตนา โจทย๡ต์ตานํ
[ •  •   •  •  •  • ]
[a •  • āā ōō•  • aa • āā• aa]

[ปฏิมํเสถ อ๡ต์ตนา
[ •  •  •  ••]
[ • aa • ēē•  a •  • āā]

[โส [อ๡ต์ตคุต์โต สติมา


[ [ •  •  •   • ]
[ōō [a •  • u
u • ōō  • āā]

[สุขํ [ภิก์ขุ วิหาหิสิ


[ •  [ •  ••]
[ • aa [ii •   • āā• ]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
228 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 381
Dhammapada 381

Vakkalittheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 229

พระธัมมบท 381
Dhammapada 381

Vakkalittheravatthu

29 -408

[ปาโมช๮ชพหุโล ภิก์ขุ
[ •  •  •  •]
[āā•  •  • ōō ii • ]

[ปส๡น๪โน พุท๢ธสาสเน
[ •  •   •  •  •  • ]
[ • aa • ōō u
u •  • āā•  • ēē]

[อธิคัจ฼เฉ [ปทํ ส๡น๪ตํ


[ •  •  [ •   • ]
[ • aa • ēē [ • aa aa • aa]

[สํขารูปสมํ สุขํ
[ •  •  •  •  •]
[aa • āā• ū ū•  • aa  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [-] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
230 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 391
Dhammapada 391

Mahāpajāpatigotamīvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 231

พระธัมมบท 391
Dhammapada 391

Mahāpajāpatigotamīvatthu

29 -419

[ย๡ส๠ส [กาเยน วาจาย


[ •  [ •  •   •  • ]
[aa •  [āā• ēē•  āā• āā• ]

[มนสา [น๥ต์ถิ ทุก์กฏํ


[ •  [ •  ••]
[ • āā [aa •  uu •  • aa]

[สํวุตํ [ตีหิ าเนหิ


[ •  •  [ •   •  • ]
[aa •  • aa [ •  āā• ēē• ]

[ตมหํ [พ๎รูมิ พ๎ราห๎มณํ


[ •  [ •  ••]
[ • aa [ū •  ā •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
232 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 400
Dhammapada 400

Sāriputtattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 233

พระธัมมบท 400
Dhammapada 400

Sāriputtattheravatthu

29 -428

[อ๡ก์โกธนํ วตวัน๪ตํ
[ •  •  •  ••]
[a • ōō•  • aa  • aa • aa]

[สีลวัน๪ตํ อนุส๠สทํ
[ •  •  •  •••]
[ •  • aa • aa  • u
u •  • aa]

[ท๣น๪ตํ อ๡น๪ติมสารีรํ
[ •  ••••]
[aa • aa a •  • āā•  • aa]

[ตมหํ [พ๎รูมิ พ๎ราห๎มณํ


[ •  [ •  ••]
[ • aa [ū •  ā •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
234 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 405
Dhammapada 405

Aññatarabhikkhuvatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 235

พระธัมมบท 405
Dhammapada 405

Aññatarabhikkhuvatthu

29 -433

[นิธาย [ท๣ณ๦ฑํ ภูเตสุ


[ •  •  [ •  ••]
[ • āā•  [aa • aa ū ū• ēē• ]

[ตเสสุ [ถาวเรสุ จ
[ •  •  [ •  •  •  ]
[ • ēē•  [āā•  • ēē•  ]

[โย [น [ห๣น๪ติ [น ฆาเตติ


[ [ [ •  [  •  • ]
[ōō [ [aa •  [ āā• ēē• ]

[ตมหํ [พ๎รูมิ พ๎ราห๎มณํ


[ •  [ •  ••]
[ • aa [ū •  ā •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] [ อ็า-] อิ


[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
236 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 408
Dhammapada 408

Pilindavacchattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 237

พระธัมมบท 408
Dhammapada 408

Pilindavacchattheravatthu

29 -436

[อกัก์กสํ วิ๤าปนิ฾
[ •  •  •   •  •  • ]
[ • aa •  • aa ii • āā•  • ii]

[คิรํ ส๡จ฼จมุทีรเย
[ •  ••••]
[ • aa aa •  •  •  • ēē]

[ยาย [นาภิสเช กั๤จิ


[ •  [ •  •   • ]
[āā•  [āā•  • ēē aa • ]

[ตมหํ [พ๎รูมิ พ๎ราห๎มณํ


[ •  [ •  ••]
[ • aa [ū •  ā •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
238 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 409
Dhammapada 409

Aññatarattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 239

พระธัมมบท 409
Dhammapada 409

Aññatarattheravatthu

29 -437

[โยธ [ทีฆํ [ว [รัส๠สํ วา


[ •  [ •  [ [ •  ]
[ōō•  [ • aa [ [aa • aa āā]

[อณุํ [ถูลํ สุภาสุภํ


[ •  [ •  •••]
u [ū
[ • u ū• aa  • āā•  • aa]

[โลเก [อทิน๪นํ นาทิยติ


[ •  [ •  •   • ]
[ōō• ēē [ • ii • aa āā• ]

[ตมหํ [พ๎รูมิ พ๎ราห๎มณํ


[ •  [ •  ••]
[ • aa [ū •  ā •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
240 ธัม์มปทปาฬิ : พระไตรปิฎก จ.ป.ร. อักษรสยาม พ.ศ.๒๔๓๖ อักขะระสยาม-ปาฬิ

พระธัมมบท 410
Dhammapada 410

Sāriputtattheravatthu
“ธัธัม์มปทปาฬิ” พิมพเสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ และ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 241

พระธัมมบท 410
Dhammapada 410

Sāriputtattheravatthu

29 -438

[อาสา [ย๡ส๠ส [น วิช๮ชัน๪ติ


[ •  [ •  [  •  • ]
[ā • āā [aa •  [ ii • aa • ]

[อ๡ส๎มิ฾ [โลเก [ปรัม๎หิ จ


[ •  [ •  [ •  •  ]
[a • i [ōō• ēē [ • aa•  ]

[นิราสาสํ วิสํยุต์ตํ
[ •  •  •  •••]
[ • āā• āā• aa  • aa • u
u • aa]

[ตมหํ [พ๎รูมิ พ๎ราห๎มณํ


[ •  [ •  ••]
[ • aa [ū •  ā •  • aa]

ละหุ - พยางคที่ออกเสียงเร็ว [อะ] อ็า-]


[ อิ
[ ] อุ
[ ] เอ็-]
[ โอ็-]
[ -
คะรุ - พยางคที่ออกเสียงนานขึ้น [ -] [] [] [] 
[ ] [] 
[ ] [
] [
] []
243

ดัชนีหัวข้อพระธัมมบท
Dhammapada Index
ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 245

ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ

พระธัมมบท 5
29 -6 เรื่องกาฬยักขิณี
Kāḷayakkhinīvatthu

พระธัมมบท 12
29 -13 เรื่องพระสารีบุตรเถระ
Sāriputtattheravatthu

พระธัมมบท 14
29 -15 เรื่องพระนันทเถระ
Nandattheravatthu

พระธัมมบท 16
29 -17 เรื่องอุบาสกผูตั้งอยูในธัมม
Dhammikaupāsakavatthu

พระธัมมบท 18
29 -19 เรื่องนางสุมนเทวี
Sumanadevīvatthu

พระธัมมบท 21
29 -23 เรื่องพระนางสามาวดี
Sāmāvatīvatthu

พระธัมมบท 22
29 -24 เรื่องพระนางสามาวดี
Sāmāvatīvatthu

พระธัมมบท 24
29 -26 เรื่องกุมพโฆสกเศรษฐี
Kumbaghosakaseṭṭhivatthu

พระธัมมบท 29
29 -31 เรื่องภิกขุสองสหายผูประมาทและไมประมาท
Pamattāpamattadvesahāyakabhikkhuvatthu
246 ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ

พระธัมมบท 30
29 -32 เรื่องทาวมฆะ
Maghavatthu

พระธัมมบท 33
29 -36 เรื่องพระเมฆิยเถระ
Meghiyattheravatthu

พระธัมมบท 36
29 -39 เรื่องภิกขุผูกระสันรูปใดรูปหนึ่ง
Aññataraukkaṇṭhitabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 39
29 -42 เรื่องพระเถระผูรักษาจิตต
Cittahatthattheravatthu

พระธัมมบท 43
29 -46 เรื่องนายโสเรยยะ
Soreyyavatthu

พระธัมมบท 44
29 -48 เรื่องภิกษุหารอยรูปขวนขวายในปฐวีกถา
Pathavikathāpasutapañcasatabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 49
29 -53 เรื่องโกสิยเศรษฐีขี้ตระหนี่
Macchariyakosiyaseṭṭhivatthu

พระธัมมบท 52
29 -56 เรื่องอุบาสกผูถือรม
Chattapāṇiupāsakavatthu

พระธัมมบท 54
29 -58 เรื่องปญหาของพระอานันทเถระ
Ānandattherapañhavatthu
ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 247

พระธัมมบท 60
29 -65 เรื่องชายคนใดคนหนึ่ง
Aññatarapurisavatthu

พระธัมมบท 61
29 -66 เรื่องสัทธิวิหาริกของพระมหากัสสปะ
Mahākassapasaddhivihārikavatthu

พระธัมมบท 65
29 -70 เรื่องภิกขุอาชีวกสามสิบรูป
Tiṃsapāveyyakabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 68
29 -73 เนื่องนายสุมนมาลาการ
Sumanamālākāravatthu

พระธัมมบท 79
29 -85 เรื่องพระมหากัปปนเถระ
Mahākappinattheravatthu

พระธัมมบท 80
29 -86 เรื่องสามเณรบัณฑิต
Paṇḍitasāmaṇeravatthu

พระธัมมบท 81
29 -87 เรื่องพระลกุณฑกภัททิยเถระ
Lakuṇḍakabhaddiyattheravatthu

พระธัมมบท 82
29 -88 เรื่องกาณมารดา
Kāṇamātāvatthu

พระธัมมบท 85
29 -91 เรื่องพระธัมมัสสวนเถระ
Dhammassavanattheravatthu
248 ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ

พระธัมมบท 86
29 -92 เรื่องพระธัมมัสสวนเถระ
Dhammassavanattheravatthu

พระธัมมบท 88
29 -94 เรื่องภิกขุอาคันตุกะหารอยรูป
Pañcasataāgantukabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 90
29 -97 เรื่องปญหาของชีวก
Jīvakapañhavatthu

พระธัมมบท 101
29 -109 เรื่องพระพาหิยทารุจีริยเถระ
Bāhiyadārucīriyattheravatthu

พระธัมมบท 103
29 -111 เรื่องพระกุณฑลเกสีเถรี
Kuṇḍalakesitherīvatthu

พระธัมมบท 109
29 -117 เรื่องอายุวัฒนกุมาร
Āyuvaḍḍhanakumāravatthu

พระธัมมบท 115
29 -123 เรื่องพระพหุปุตติกาเถรี
Bahuputtikattherīvatthu

พระธัมมบท 118
29 -127 เรื่องเทพธิดาขาวตอก
Lājadevadhītāvatthu

พระธัมมบท 124
29 -133 เรื่องนายพรานกุกกุฏมิตต
Kukkuṭamittanesādavatthu
ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 249

พระธัมมบท 126
29 -135 เรื่องพระติสสเถระผูเขาถึงสกุลนายชางแกว
Maṇikārakulūpakatissattheravatthu

พระธัมมบท 127
29 -136 เรื่องชน ๓ คน
Tayojanavatthu

พระธัมมบท 145
29 -155 เรื่องสามเณรสุข
Sukhasāmaṇeravatthu

พระธัมมบท 151
29 -162 เรื่องพระนางมัลลิกาเทวี
Mallikādevīvatthu

พระธัมมบท 159
29 -171 เรื่องพระปธานิกติสสเถระ
Padhānikatissattheravatthu

พระธัมมบท 160
29 -172 เรื่องมารดาของพระกุมารกัสสปเถระ
Kumārakassapamātuttherivatthu

พระธัมมบท 166
29 -178 เรื่องพระอัตตทัตถเถระ
Attadatthattheravatthu

พระธัมมบท 169
29 -182 เรื่องพระเจาสุทโธทนะ
Suddhodanavatthu

พระธัมมบท 172
29 -185 เรื่องพระสัมมัชชนเถระ
Sammajjanattheravatthu
250 ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ

พระธัมมบท 174
29 -187 เรื่องธิดาของนายชางหูก
Pesakāradhītāvatthu

พระธัมมบท 175
29 -188 เรื่องภิกขุสามสิบรูป
Tiṃsabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 177
29 -190 เรื่องอสทิสทาน
Asadisadānavatthu

พระธัมมบท 178
29 -191 เรื่องนายกาละบุตรของอนาถบิณฑิกเศรษฐี
Anāthapiṇḍikaputtakālavatthu

พระธัมมบท 181
29 -195 เรื่องยมกปาฏิหาริย
Devorohaṇavatthu

พระธัมมบท 182
29 -196 เรื่องนาคราชชื่อเอรกปตต
Erakapattanāgarājavatthu

พระธัมมบท 183
29 -197 เรื่องปญหาของพระอานันทเถระ
Ānandattherapañhavatthu

พระธัมมบท 191
29 -205 เรื่องปุโรหิตชื่ออัคคิทัต
Aggidattabrāhmaṇavatthu

พระธัมมบท 193
29 -207 เรื่องปญหาของพระอานันทเถระ
Ānandattherapañhavatthu
ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 251

พระธัมมบท 194
29 -208 เรื่องภิกขุหลายรูป
Sambahulabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 200
29 -216 เรื่องมาร
Māravatthu

พระธัมมบท 201
29 -217 เรื่องความปราชัยของพระเจาโกศล
Kosalaraññoparājayavatthu

พระธัมมบท 204
29 -220 เรื่องพระเจาปเสนทิโกศล
Pasenadikosalavatthu

พระธัมมบท 205
29 -221 เรื่องพระติสสเถระ
Tissattheravatthu

พระธัมมบท 208
29 -225 เรื่องทาวสักกะ
Sakkavatthu

พระธัมมบท 217
29 -235 เรื่องเด็กหารอยคน
Pañcasatadārakavatthu

พระธัมมบท 220
29 -238 เรื่องนายนันทิยะ
Nandiyavatthu

พระธัมมบท 221
29 -240 เรื่องเจาหญิงโรหิณี
Rohinīkhattiyakaññāvatthu
252 ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ

พระธัมมบท 223
29 -242 เรื่องอุตตราอุบาสิกา
Uttarāupāsikavatthu

พระธัมมบท 224
29 -243 เรื่องปญหาของพระโมคคัลลานเถระ
Mahāmoggallānapañhavatthu

พระธัมมบท 225
29 -244 เรื่องปญหาที่ภิกษุทูลถาม
Buddhapitubrāhmaṇavatthu

พระธัมมบท 226
29 -245 เรื่องนางปุณณทาสี
Puṇṇadāsīvatthu

พระธัมมบท 228
29 -247 เรื่องอตุลอุบาสก
Atulaupāsakavatthu

พระธัมมบท 229
29 -248 เรื่องอตุลอุบาสก
Atulaupāsakavatthu

พระธัมมบท 230
29 -249 เรื่องอตุลอุบาสก
Atulaupāsakavatthu

พระธัมมบท 232
29 -251 เรื่องภิกขุฉัพพัคคีย
Chabbaggiyavatthu

พระธัมมบท 234
29 -253 เรื่องภิกขุฉัพพัคคีย
Chabbaggiyavatthu
ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 253

พระธัมมบท 236
29 -256 เรื่องบุตรของคนฆาโค
Goghātakaputtavatthu

พระธัมมบท 238
29 -258 เรื่องบุตรของคนฆาโค
Goghātakaputtavatthu

พระธัมมบท 241
29 -261 เรื่องพระลาฬุทายีเถระ
Lāḷudāyīvatthu

พระธัมมบท 257
29 -278 เรื่องมหาอำมาตยผูวินิจฉัย
Vinicchayamahāmattavatthu

พระธัมมบท 261
29 -282 เรื่องพระลกุณฏกภัททิยเถระ
Lakuṇḍakabhaddiyattheravatthu

พระธัมมบท 263
29 -284 เรื่องภิกขุหลายรูป
Sambahulabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 265
29 -286 เรื่องภิกขุชื่อหัตถกะ
Hatthakavatthu

พระธัมมบท 273
29 -295 เรื่องภิกขุหารอยรูป
Pañcasatabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 277
29 -299 เรื่องอนิจจลักษณะ
Aniccalakkhaṇavatthu
254 ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ

พระธัมมบท 279
29 -301 เรื่องอนัตตลักษณะ
Anattalakkhaṇavatthu

พระธัมมบท 290
29 -313 เรื่องบุรพกรรมของพระองค
Attanopubbakammavatthu

พระธัมมบท 303
29 -326 เรื่องจิตตฤหบดี
Cittagahapativatthu

พระธัมมบท 319
29 -343 เรื่องสาวกเดียรถีย
Titthiyasāvakavatthu

พระธัมมบท 321
29 -346 เรื่องของพระองค
Attadantavatthu

พระธัมมบท 322
29 -347 เรื่องของพระองค
Attadantavatthu

พระธัมมบท 330
29 -355 เรื่องภิกขุหลายรูป
Sambahulabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 331
29 -356 เรื่องมาร
Māravatthu

พระธัมมบท 332
29 -357 เรื่องมาร
Māravatthu
ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ 255

พระธัมมบท 348
29 -374 เรื่องอุคคเสน
Uggasenavatthu

พระธัมมบท 354
29 -380 เรื่องปญหาของทาวสักกะ
Sakkapañhavatthu

พระธัมมบท 356
29 -382 เรื่องอังกุรเทพบุตร
Aṅkuravatthu

พระธัมมบท 360
29 -387 เรื่องภิกขุหารูป
Pañcabhikkhuvatthu

พระธัมมบท 379
29 -406 เรื่องพระนังคลกูฏเถระ
Naṅgalakulattheravatthu

พระธัมมบท 381
29 -408 เรื่องพระวักกลิเถระ
Vakkalittheravatthu

พระธัมมบท 391
29 -419 เรื่องพระนางมหาปชาบดีโคตมี
Mahāpajāpatigotamīvatthu

พระธัมมบท 400
29 -428 เรื่องพระสารีบุตรเถระ
Sāriputtattheravatthu

พระธัมมบท 405
29 -433 เรื่องภิกขุรูปใดรูปหนึ่ง
Aññatarabhikkhuvatthu
256 ดัชนีหัวขอพระธัมมบทปาฬิ : พิมพ์เสียงปาฬิดวย อักขะระสยาม-ปาฬิ คูขนานกับ สัททะอักขะระ-ปาฬิ

พระธัมมบท 408
29 -436 เรื่องพระปลินทวัจฉเถระ
Pilindavacchattheravatthu

พระธัมมบท 409
29 -437 เรื่องพระเถระรูปใดรูปหนึ่ง
Aññatarattheravatthu

พระธัมมบท 410
29 -438 เรื่องพระสารีบุตรเถระ
Sāriputtattheravatthu
โครงการพระไตรปฎก ากล
กองทุน นทนาธัมมนำ ุข ทานผู ญิง ม.ล. มณีรัตน บุนนาค
ในพระ ังฆราชูปถัมภ
มเด็จพระญาณ ังวร มเด็จพระ ังฆราช กลม า ังฆปริณายก
พระองคที่ ๑๙ แ งกรุงรัตนโก ินทร

จัดทำตนฉบับ

มูลนิธิพระไตรปฎก ากล
เผยแผเปนพระธัมมทาน

You might also like