บทที่ 3

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

บทที่ 3

วิ ธีการวิ จยั
การเก็บรวบรวมข้อมูล

ข้อมูลทีใ่ ช้ในการศึกษาครัง้ นี้เป็ นข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) โดยผูว้ จิ ยั ได้เก็บรวบรวมข้อมูล


โดย ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง โดยประชากรคือ ผูใ้ ช้บริการ Food
Delivery ในประเทศไทย โดยสุ่ม ตัวอย่างจากผู้ใ ช้บริการ Food Delivery ในกรุ ง เทพมหานคร ด้วย
วิธกี ารสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling)

การกาหนดขนาดของตัวอย่าง (n)
(Z^2)(𝑆^2)
n=
(E^2)

1. E = Sampling Error = | xbar - µ |

2. Z = ค่าปกติมาตรฐานจากการแจกแจงแบบปกติ

3. ความเชื่อมั ่นทางสถิติ ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05

การวิ เคราะห์ข้อมูล
การวิ เคราะห์เชิ งพรรณนา
สถิตเิ ชิงพรรณนาทีใ่ ช้เพื่ออธิบายลักษณะของกลุม่ ตัวอย่าง ได้แก่ จานวนและร้อยละ ใช้เพื่ออธิบาย
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ ความรู้ เพศ ช่วงอายุ ระดับการศึกษา การไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การ
ไม่คานึงถึงลักษณะบรรจุ และการอบรมเลีย้ งดูเรื่องการจัดการขยะ ส่วนทัศนคติ วิถชี วี ติ และการไม่
สามารถเข้าถึงจุดรับคัดแยกขยะ ซึง่ เป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้ค่าเฉลีย่ ในการอธิบาย และใช้ค่าความ
แปรปรวนและค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ในการวัดการกระจายของข้อมูล การวิเคราะห์เชิงพรรณนาดังกล่าว
ใช้เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคล วิถชี วี ติ และปัจจัยทางสังคมระหว่างผูใ้ ช้บริการ Food
Delivery ทีม่ พี ฤติกรรมการจัดการขยะพลาสติกและไม่มพี ฤติกรรมการจัดการขยะพลาสติกการวิเคราะห์
เชิงปริมาณ

(เกริ่น)
การวิ เคราะห์สถิ ติเชิ งอนุมาน
- t-test ทดสอบสมมติฐาน โดยมีขอ้ สมมติ
โดยมีขอ้ สมมติ
1.การกระจายตัวของแต่ละประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ
- One – way ANOVA(F-test)
โดยมีขอ้ สมมติ
1.การกระจายตัวของแต่ละประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ
2.ความแปรปรวนของแต่ละประชากรเท่ากัน
H0 : ระดับการจัดการขยะไม ่ขึ้นอยู ่ในเรื่องการจัดการขยะ (β1=β2=β3=0)
่กับระดับความรู
Ha : ระดับการจัดการขยะขึ้นอยู ่ในเรื่องการจัดการขยะ (βi อย
่กับระดับความรู ่อย1ตัว≠0)
่างน

H0 : ระดับการจัดการขยะพลาสติก่ขึ
ไม ้นอยู
่กับ่วงอายุ
ช (β4=β5=β6=β7=β8=β9=0)
Ha : ระดับการจัดการขยะพลาสติกขึ้นอยู
่กับ่วงอายุ
ช (βi อย ่อย1ตัว≠0)
่างน
การวิเคราะห์ การถดถอยพหุคูณ (Multiple Linear Regression)

การวิเคราะห์การถดถอยพหุคณ ู เป็ นวิธกี ารทางสถิตทิ ใ่ี ช้ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระที่


มีมากกว่าหนึ่งตัวแปร (Independent Variable) กับตัวแปรตามหนึ่งตัว (Dependent Variable) ซึง่ เป็ น
การศึกษาความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง (Linearity) สามารถอธิบายการเปลีย่ นแปลงค่าของตัวแปรตามได้
ส่วนหนึ่ง ในส่วนของการเปลีย่ นแปลงทีไ่ ม่สามารถอธิบายได้น้ี เรียกว่า ค่าความคาดเคลื่อนในการ
พยากรณ์ (Error) ซึง่ การวิเคราะห์เชิงถดถอยแบบพหุคณ ู จะเป็ นการพยากรณ์หาค่าสัมประสิทธิ ์ α และ
βi ทีไ่ ด้จากการคานวณ โดยกลุ่มตัวอย่าง โดยหลักการวิเคราะห์ คือ ค่าสัมประสิทธิ ์ทีค่ านวณได้จะต้อง
เป็ นค่าสัมประสิทธิ ์ทีท่ าให้สมการมีค่าความคาดเคลื่อนกาลังสองรวมกันน้อยทีส่ ุด (Ordinary Least
Square : OLS)

1. ความผิดพลาด (error) ต้องเป็ นตัวแปรสุ่ม และมีการแจกแจงแบบโค้งปกติ


2. ความแปรปรวนของตัวแปรตามในทุกค่าของตัวแปรอิสระจะต้องเท่ากัน
3. ค่าความผิดพลาดของตัวแปรตามแต่ละค่าเป็ นอิสระกัน
4. ตัวแปรอิสระทีน่ ามาวิเคราะห์จะต้องเป็ นอิสระกัน

โดยมีสมมติฐานในการทดสอบ ดังนี้
H0 : β i = 0 หมายถึง ตัวแปรอิสระไม่มคี วามสัมพันธ์กบั ระดับพฤติกรรมจัดการขยะพลาสติก

Ha : β i ≠ 0 หมายถึง ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์กบั ระดับพฤติกรรมจัดการขยะพลาสติก จะยอมรับ


สมมติฐานหลัก (H0) ก็ต่อเมื่อ ค่า P-Value มากกว่าค่าระดับนัยสาคัญทางสถิติ แสดงว่าตัวแปรอิสระไม่
มีความสัมพันธ์กบั คะแนนวิชาคณิตศาสตร์อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ

จะปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ก็ต่อเมื่อ ค่า P-Value น้อยกว่าค่าระดับนัยสาคัญทางสถิติ แสดงว่าตัว


แปรอิสระมีความสัมพันธ์กบั คะแนนวิชาคณิตศาสตร์อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ

สมการถดถอยเชิงพหุคณ
ู ของประชากร

Y = α + β1X1 + β2X2 + .... + βiXi +  สมการถดถอยเชิงพหุคณ ู ของกลุ่มตัวอย่าง


Y = a + b1X1 + b2X2 +....+ biXi + e การวิเคราะห์เชิงถดถอยเชิงพหุคณู มีเงื่อนไขทีส่ าคัญ คือ

1. ความผิดพลาด (error) ต้องเป็ นตัวแปรสุ่ม และมีการแจกแจงแบบโค้งปกติ


2. ความแปรปรวนของค่าคลาดเคลื่อนต้องคงที่
3. ค่าความผิดพลาดของตัวแปรตามแต่ละค่าเป็ นอิสระกัน
4. ตัวแปรอิสระทีน่ ามาวิเคราะห์จะต้องเป็ นอิสระกัน
สมมติ ฐาน

- การไม
่มีความรู
่เกี่ยวกับการจัดการขยะด
่วยวิธีอื่น ๆ นอกเหนือจากการทิ้ง โดยผู
่บริโภคจะใช
่วิธีการทิง้
โดยไม
่มีการนามาใช่ซ้า ่น
ไม ากลับมาใช
่ใหม่ และไม ่มีการจัดการขยะตามหลักการลาดับขั้นการจัดการ
ขยะที่นมิ
่เป ตรต
่อสิ่งแวดล่อม่งผลให
ส ่ผ ่่บริ
ใช การ Food Delivery มีพฤติกรรมการไม ่จัดการขยะ
พลาสติก
- ่จจั
ป ย่านประชากรศาสตร
ด ่่งผลต
ส ่อพฤติกรรมการไม ่จัดการขยะของผู
่ใช
่บริการ Food Delivery

• คนที่อ่ในช
ยู ่วงอายุ่างกั
ต นมีพฤติกรรมการไม ่จัดการขยะพลาสติก่างกั
ต น
• คนที่นเพศชายมี
่เป พฤติกรรมการไม
่จัดการขยะพลาสติก มากกว
่าเพศหญิง
• คนที่มีระดับการศึกษาต่ามีพฤติกรรมการไม
่จัดการขยะพลาสติก

- ทัศนคติในเรื่องการรักษาสิง่ แวดล
่อมไม
่ดี ่น เช การไม
่มีความตระหนักถึง่ญหาและผลกระทบของ

ปริมาณขยะทีเ่ พิ่มมากขึ้น่งผลให
ส ่ผู ่ใช
่บริการ Food Delivery มีพฤติกรรมการไม ่จัดการขยะ
พลาสติก
- การไม
่สามารถเข ่าถึ่อมู
งข ล่าวสารที
ข เ่ กี่ยวข
่องกับหน ่วยงานหรือโครงการต ่าง ๆ ทีม่ ่วนช
ีส ่วยในการลด
ขยะหรือแคมเปญที่สิ ่ให ทธิประโยชน่ต
่าง ๆ ซึง่ จะช ่วยเพิ่มแรงจูงใจในการลดขยะได
่ ่น เช แคมเปญคืน
ขวดแก
่วหรือขวดพลาสติกแล ่วได
่รับเงิน่าขวดคื
ค น โครงการ EcoBricks ่นต
เป ่น่งผลให
ส ่ผู ่ใช
่บริการ
Food Delivery มีพฤติกรรมการไม ่จัดการขยะพลาสติก
- การไม
่คานึงถึงการเลือกสั่งอาหารจากร่านค ่าที่บรรจุ
่ใช ภัณ่ที ฑ ่สามารถนากลับมาใช
่ใหม ่ได
่ ่น
เช กล
่อง
บรรจุภัณ่ใส
ฑ่อาหารที่มีความทนทาน สามารถนากลับมาใช ่ใหม่ได
่่งผลให
ส ่ผู ่ใช
่บริการ Food
Delivery มีพฤติกรรมการไม ่จัดการขยะพลาสติก
- ่ใช
ผู่บริการ Food Delivery ที่มีวิถีชีวิตที่งรี
่เร บ่วนใหญ
ส ่ ่มี ไม เวลาในการคัดแยกและจัดการขยะหลัง
การบริโภค มีพฤติกรรมการไม ่จัดการขยะพลาสติก

- การสัง่ สอน อบรมเลี้ยงดูในเรื่องการจัดการขยะในครอบครัว่งผลให


ส ่ผู ่ใช
่บริการ Food Delivery มี
พฤติกรรมการมี่วนร
ส ่วมในการช ่วยลดขยะมากขึ้น สมมติฐานนี่รั
้ได บการสนับสนุนจากผลการศึกษา
จากงานวิจัย “พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ่ที่ 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา”
โดยเสาวนิต่ย มงคลสกุณ
- จุดรับขยะหรือคัดแยกขยะที่มจี านวนมากพอและครอบคลุมตามพื้นที่าง่ต ๆ่งผลให
ส ่ผู ่ใช
่บริการ
Food Delivery มีพฤติกรรมการมี่วนร ส ่วมในการช่วยลดขยะมากขึ้น สมมติฐานนี่รั
้ได บการสนับสนุน
จากเหตุผลตามความคิดของผู ่วิจัย
แบบจาลองที่ใช้ในการวิ จยั

Y = α + β1 Know1i + β2 Know2i + β3 Know3i + β4 Age1 + β5 Age2 + β6 Age3


+ β7 Age4 + β8 Age5 + β9 Age6 + β10 Femalei + β11 Edu1i + β12 Edu2i + β13 Edu3i + β14
Edu4i + β15 Attii + β16 Infoi + β17 Packi + β18 Lifei + β19 Distancei + β20 Sociali + ui

โดยกาหนด

Y คือ ระดับพฤติกรรมการจัดการขยะของผู
้ใช
้บริการ food delivery

Know คือ ระดับความรู ้ในเรื่องการจัดการขยะพลาสติก


Know1 คือ ระดับความรู
่ในเรือ่ งการจัดการขยะพลาสติก่อย

่นตั
เป วแปรหุ
่น โดยกาหนดให ่ มั่นใจ = 1 และทางเลือกอื่นๆ = 0
Know2 คือ ระดับความรู
่ในเรือ่ งการจัดการขยะพลาสติกปานกลาง
่นตั
เป วแปรหุ
่น โดยกาหนดให ่ มั่นใจ = 1 และทางเลือกอื่นๆ = 0
Know3 คือ ระดับความรู
่ในเรือ่ งการจัดการขยะพลาสติกมาก
่นตั
เป วแปรหุ
่น โดยกาหนดให ่ มั่นใจ = 1 และทางเลือกอื่นๆ = 0

Age คือ ้วงอายุ


ช ้)
(ป
Age1 คือ ่วงอายุ
ช 16-20
Age2 คือ ่วงอายุ
ช 21-25
Age3 คือ ่วงอายุ
ช 26-30
Age4 คือ ่วงอายุ
ช 31-35
Age5 คือ ่วงอายุ
ช 36-40
Age6 คือ ่วงอายุ
ช 40 ขึ้นไป

Female คือ เพศ ่นตั


เป วแปรหุ
่น โดยกาหนดให
่ เพศหญิง = 1 และ เพศชาย = 0
Edu คือ ระดับการศึกษา
Edu1 คือ ระดับการศึกษาต่ากว
่าปริญญาตรี
่นตั
เป วแปรหุ
่น โดยกาหนดให ่ มั่นใจ = 1 และทางเลือกอื่นๆ = 0
Edu2 คือ ระดับการศึกษาปริญญาตรี
่นตั
เป วแปรหุ
่น โดยกาหนดให ่ มั่นใจ = 1 และทางเลือกอื่นๆ = 0
Edu3 คือ ระดับการศึกษาปริญญาโท
่นตั
เป วแปรหุ
่น โดยกาหนดให ่ มั่นใจ = 1 และทางเลือกอื่นๆ = 0
Edu4 คือ ระดับการศึกษาปริญญาเอก
่นตั
เป วแปรหุ
่น โดยกาหนดให ่ มั่นใจ = 1 และทางเลือกอื่นๆ = 0

Atti คือ ทัศนะคติเรื่องการรักษาสิ่งแวดล


้อม(คะแนน)

Info คือ การเข


้าถึง้อมู
ข ล้าวสารเกี
ข ่ยวกับโครงการต
้างๆที่ม้วนช
ีส ้วยในการจัดการขยะพลาสติก
หรือ campaign ที่เพิ่มแรงจูงใจในการช
้วยลดขยะพลาสติก้ ได
่รู = 1 และ ่รู
ไม่ = 0

Pack คือ การคานึงถึงบรรจุภณ ั ้ฑ


คานึงถึงบรรจุภัณ่ฑ = 1 และ ่ค
ไม านึงถึงบรรจุภัณ่ฑ = 0
Life คือ วีถีชีวิต(ชั่วโมง)

Distance คือ การเข


้าถึงจุดคัดแยกขยะ(เมตร)

Social คือ การอบรมเลีย้ งดูจากครอบตรัว(คะแนน)

You might also like