Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

8/23/2019 5843/2543

ฎีกาตัดสินเกียวกับปั ญหาข้อกฎหมาย

คําพิพากษาศาลฎีกาที 5843/2543 พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก์


บริษทั เพรนทิซ-ฮอล อิงค์ จํากัด กับพวก โจทก์รว่ ม
นายกนกชัย เพชรดาวงศ์ จําเลย

พ.ร.บ.ลิขสิทธิ พ.ศ. มาตรา 32

พฤติการณ์ทจํี าเลยทําซําโดยถ่ายเอกสารงานอันมีลขิ สิทธิของโจทก์รว่ มไว้หลายชุดแล้วเก็บไว้ทร้ี านค้าของจําเลยซึง


อยูใ่ กล้มหาวิทยาลัย ซึงมีการเรียนการสอนโดยใช้หนังสือของโจทก์รว่ มและมีโอกาสทีจําเลยจะขายเอกสารทีทําซําขึนแก่
นักศึกษาได้สะดวก เป็ นการทําซํางานอันมีลขิ สิทธิของโจทก์รว่ มโดยการถ่ายสําเนาเอกสารจํานวน 43 ชุดไว้เพือขาย เสนอ
ขาย และมีไว้เพือขายอันเป็ นการทีจําเลยทําซําขึนเองเพือการค้าและแสวงหาประโยชน์จากการขายสําเนางานทีจําเลยทําซําขึน
มา มิใช่การรับจ้างถ่ายเอกสารจากนักศึกษาทีต้องการได้สาํ เนางานทีเกิดจากการทําซําไปใช้ในการศึกษาวิจยั อันเป็ นเหตุ
ยกเว้นมิให้ถอื ว่าการทําซําของจําเลยเป็ นการละเมิดลิขสิทธิตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิฯ มาตรา 32(1) แต่อย่างใด

___________________________

โจทก์ฟ้องว่า ผูเ้ สียหายทังสามเป็ นเจ้าของลิขสิทธิงานวรรณกรรมหนังสือรวมห้าเล่ม โดยหนังสือทังห้าเล่มดังกล่าว


เป็ นงานอันมีลขิ สิทธิตามกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึงเป็ นภาคีอนุสญ ั ญากรุงเบอร์นว่าด้วยการคุม้ ครองงาน
วรรณกรรมและศิลปกรรม ซึงเป็ นอนุสญ ั ญาว่าด้วยการคุม้ ครองลิขสิทธิทีประเทศไทยร่วมเป็ นภาคีดว้ ยตามประกาศกระทรวง
พาณิชย์เรือง การกําหนดรายชือประเทศภาคีแห่งอนุสญ ั ญาว่าด้วยการคุม้ ครองลิขสิทธิหรืออนุสญ
ั ญาว่าด้วยการคุม้ ครองสิทธิ
ของนักแสดง จําเลยได้ละเมิดลิขสิทธิงานวรรณกรรมของผูเ้ สียหายทังสามดังกล่าวโดยการทําสําเนาด้วยเครืองถ่ายเอกสารจาก
ต้นฉบับหนังสือทังห้าเล่มของผูเ้ สียหายดังกล่าวบางบท อันเป็ นการทําซําเพือการค้าในส่วนอันเป็ นสาระสําคัญ โดยไม่ม ี

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 1/11
8/23/2019 5843/2543

ลักษณะเป็ นการจัดทํางานขึนใหม่และโดยไม่ได้รบั อนุญาตจากผูเ้ สียหายทังสาม ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ พ.ศ.


2537 มาตรา 4, 6, 8, 15, 27, 61, 69, 75, 76, ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32, 33 และให้เอกสารอันเป็ นการละเมิด
ลิขสิทธิจํานวน 43 ชุด ตกเป็ นของเจ้าของลิขสิทธิ และริบเครืองถ่ายเอกสารของกลางจํานวน 3 เครืองกับให้จา่ ยเงินค่าปรับกึง
หนึงแก่เจ้าของลิขสิทธิ
จําเลยให้การปฏิเสธ
ระหว่างพิจารณา ผูเ้ สียหายที 1 ที 2 และที 3 ยืนคําร้องขอเข้าร่วมเป็ นโจทก์ ศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้า
ระหว่างประเทศกลางอนุญาต
ศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลางพิจารณาแล้วพิพากษายกฟ้ อง
โจทก์รว่ มทังสามอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศวินิจฉัยว่า "ข้อเท็จจริงฟั งได้เป็ นยุตวิ า่ โจทก์รว่ มทัง
สามเป็ นเจ้าของลิขสิทธิงานวรรณกรรมหนังสือ 5 เล่มตามฟ้ อง จําเลยประกอบกิจการรับจ้างถ่ายเอกสาร เย็บเล่มและเข้าปก
หนังสือมีสถานประกอบการอยูต่ ดิ กับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ซึงการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยดังกล่าวใช้หนังสือซึงเป็ น
งานอันมีลขิ สิทธิของโจทก์รว่ มทังสามในการให้การศึกษาแก่นกั ศึกษาของมหาวิทยาลัย จําเลยได้ทาํ ซํางานบางส่วนของ
หนังสือทังห้าเล่มโดยจัดทําเป็ นเอกสารจํานวน 43 ชุด ปรากฏตามรายการชือเจ้าของลิขสิทธิชือหนังสืออันเป็ นงานวรรณกรรม
จํานวนบททังหมดของหนังสือ จํานวนบททีจําเลยทําซําและจํานวนชุดทีจําเลยทําซําเอกสารท้ายฟ้ องหมายเลข งาน
วรรณกรรมอันเป็ นวัตถุทมีี การละเมิดลิขสิทธิจํานวน 5 เล่มและบัญชีของกลางคดีอาญา
มีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์รว่ มทังสามว่า การทีจําเลยทําซํางานวรรณกรรมหนังสือ 5 เล่มของโจทก์
ร่วมแต่ละคนนันเป็ นการละเมิดลิขสิทธิของโจทก์รว่ มเพือการค้า โดยไม่มเี หตุอนั เป็ นข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิตามพระราช
บัญญัตลิ ขิ สิทธิ พ.ศ. 2537 มาตรา 32 หรือไม่ โจทก์รว่ มทังสามอุทธรณ์วา่ การทําซํางานอันมีลขิ สิทธิของโจทก์รว่ มทังสาม มิใช่
การรับจ้างทําซําโดยถ่ายสําเนาเอกสารจากนักศึกษาทีว่าจ้างจําเลยให้ทาํ ซําขึนเพือการศึกษาวิจยั โดยไม่ขดั ต่อการแสวงหา
ประโยชน์จากงานอันมีลขิ สิทธิตามปกติของโจทก์รว่ มทังสาม และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอนั ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของ
ลิขสิทธิเกินสมควร อันถือเป็ นข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิแต่อย่างใด ปั ญหานีโจทก์และโจทก์รว่ มทังสามมีนายสุรชัย สิรวิ ฒั นา

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 2/11
8/23/2019 5843/2543

พาทเบิกความเป็ นพยานว่า พยานได้รบั มอบอํานาจช่วงจากนางจริยา เปรมปราณีรชั ต์ซงเป็ ึ นผูร้ บั มอบอํานาจจากโจทก์รว่ มทัง


สาม ให้พยานมีอาํ นาจแจ้งความร้องทุกข์ให้พนักงานสอบสวนดําเนินคดีแก่ผกู้ ระทําละเมิดลิขสิทธิของโจทก์รว่ มทังสาม ก่อนที
จะมีการจับกุมจําเลย พยานสืบทราบการกระทําละเมิดลิขสิทธิของจําเลยจึงแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตํารวจจนมีการจับกุม
จําเลย โดยพยานได้รว่ มไปกับเจ้าพนักงานตํารวจในการตรวจค้นจับกุมจําเลยด้วย และในข้อเท็จจริงเกียวกับการตรวจค้น
จับกุมจําเลยนัน นายสุรชัยกับร้อยตํารวจตรีชวลิต ชวลิตพงศ์พนั ธุ์ เจ้าพนักงานตํารวจทีไปตรวจค้นจับกุมจําเลยก็เบิกความ
สอดคล้องต้องกันว่า ในวันที 3 ธันวาคม 2541 เจ้าพนักงานตํารวจได้ขอหมายค้นจากศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้า
ระหว่างประเทศกลางและไปตรวจค้นทีร้านค้าของจําเลย พบเอกสารทีมีการทําซําโดยการถ่ายสําเนาหนังสือของโจทก์รว่ มทัง
สามรวม 43 ชุดตามเอกสารหมาย จ. จําเลยรับว่ามีเอกสารดังกล่าวไว้เพือขายแก่นกั ศึกษาและบุคคลทัวไป นายสุรชัยจึง
ยืนยันให้รอ้ ยตํารวจตรีชวลิตจับกุมจําเลย ร้อยตํารวจตรีชวลิตแจ้งข้อหาแก่จาํ เลยว่าละเมิดลิขสิทธิของผูอ้ นด้
ื วยการทําซํางาน
อันมีลขิ สิทธิเพือขาย เสนอขาย หรือมีไว้เพือขาย จําเลยให้การรับสารภาพ จึงยึดเอกสารทีทําซําตามเอกสารหมาย จ. ทัง 43
ชุด พร้อมด้วยเครืองถ่ายเอกสาร 3 เครือง ซึงจําเลยรับว่าได้ใช้เครืองถ่ายเอกสารดังกล่าวในการถ่ายเอกสารทีทําซําตาม
เอกสารหมาย จ. เป็ นของกลางและทําบันทึกการตรวจค้นจับกุมไว้ตามเอกสารหมาย จ. และโจทก์กบั โจทก์รว่ มทังสามยัง
มีพนั ตํารวจตรีหญิงสมจิตร สาคร พนักงานสอบสวนเบิกความเป็ นพยานสนับสนุนว่า ชันสอบสวนพยานแจ้งข้อหาแก่จาํ เลยว่า
ละเมิดลิขสิทธิของผูอ้ นเพื
ื อการค้า โดยการทําซํางานอันมีลขิ สิทธิของผูอ้ นเพื
ื อขาย เสนอขายหรือมีไว้เพือขาย จําเลยให้การรับ
สารภาพและจําเลยให้การด้วยว่าจําเลยประกอบอาชีพรับจ้างถ่ายเอกสารมา 3 ปี ส่วนการละเมิดลิขสิทธิงานอันมีลขิ สิทธิของ
โจทก์รว่ มได้ทาํ มาแล้ว 1 เดือนเศษ รายละเอียดปรากฏตามบันทึกคําให้การของผูต้ อ้ งหาเอกสารหมาย จ. จากพยานหลัก
ฐานของโจทก์และโจทก์รว่ มทังสามดังกล่าว เห็นได้วา่ จําเลยทําซําโดยถ่ายเอกสารงานอันมีลขิ สิทธิของโจทก์รว่ มทังสามไว้
หลายชุดแล้วเก็บไว้ทร้ี านค้าของจําเลยซึงอยูใ่ กล้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ซึงมีการเรียนการสอนโดยใช้หนังสือของโจทก์รว่ มทัง
สาม พฤติการณ์เช่นนีย่อมมีโอกาสทีจําเลยจะขายเอกสารทีจําเลยทําซําขึนมาดังกล่าวแก่นกั ศึกษาได้สะดวกทังในชันจับกุม
และสอบสวนจําเลย ซึงกระทําในวันเดียวกัน จําเลยก็ให้การรับสารภาพว่าทําซํางานอันมีลขิ สิทธิของผูอ้ นเพื
ื อขาย เสนอขาย
หรือมีไว้เพือขาย พยานหลักฐานของโจทก์และโจทก์รว่ มทังสามสอดคล้องต้องกันและมีเหตุผล มีนําหนักให้รบั ฟั งได้วา่ จําเลย
ทําซํางานอันมีลขิ สิทธิของโจทก์รว่ มทังสามตามเอกสารหมาย จ. โดยการถ่ายสําเนาเอกสารจํานวน 43 ชุดไว้เพือขาย เสนอ
ขาย และมีไว้เพือขาย อันเป็ นการทีจําเลยทําซําขึนเองเพือการค้าและแสวงหาประโยชน์จากการขายสําเนางานทีจําเลยทําซํา
ขึนมา มิใช่การรับจ้างถ่ายเอกสารจากนักศึกษาทีต้องการได้สาํ เนางานทีเกิดจากการทําซําไปใช้ในการศึกษาวิจยั อันเป็ นเหตุ

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 3/11
8/23/2019 5843/2543

ยกเว้นมิให้ถอื ว่าการทําซําของจําเลยไม่เป็ นการละเมิดลิขสิทธิตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ พ.ศ. 2537 มาตรา 32(1) แต่อย่าง


ใดทีจําเลยอ้างว่าจําเลยทําซํางานดังกล่าวตามทีได้รบั การว่าจ้างจากนักศึกษาให้ถ่ายเอกสารให้นนั หากเป็ นจริงและจําเลยมี
หลักฐานเกียวกับการรับจ้างถ่ายเอกสารจากนักศึกษาตามเอกสารหมาย ล. ถึง ล. จริง ในชันจับกุมและชันสอบสวนจําเลย
ย่อมสามารถให้การปฏิเสธโดยอ้างข้อเท็จจริงดังกล่าวพร้อมทังแสดงหลักฐานเอกสารหมาย ล. ถึง ล. ต่อเจ้าพนักงานตํารวจ
ผูจ้ บั กุมและพนักงานสอบสวนได้ทนั ที แต่จาํ เลยหาได้กระทําไม่ กลับให้การรับสารภาพตลอดมาทังในชันจับกุมและชัน
สอบสวน และเพิงจะนําเอกสารหมาย ล. ถึง ล. มาอ้างเป็ นหลักฐานในภายหลังเมือถูกฟ้ องคดีนีแล้วอันเป็ นข้อพิรธุ ทัง
ข้อความตามเอกสารดังกล่าวก็ไม่ปรากฏชัดว่าเป็ นเอกสารเกียวกับการรับจ้างนักศึกษาถ่ายเอกสารทีจําเลยทําซําขึนจริงหรือ
ไม่ อย่างไรนอกจากนีจําเลยยังไม่สามารถนําผูท้ จํี าเลยอ้างว่าเป็ นผูว้ า่ จ้างจําเลยให้ถ่ายเอกสารมาเบิกความเป็ นพยานจําเลยได้
แม้แต่รายเดียว คงมีแต่คาํ เบิกความกล่าวอ้างลอย ๆ ของจําเลยเพียงปากเดียว จึงไม่มนี ําหนักหักล้างพยานหลักฐานของโจทก์
และโจทก์รว่ มทังสามได้ ข้อเท็จจริงฟั งได้วา่ จําเลยกระทําความผิดตามฟ้ องจริงทีศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่าง
ประเทศกลางพิพากษายกฟ้ องนัน ศาลฎีกาแผนกคดีทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศไม่เห็นพ้องด้วย อุทธรณ์
ของโจทก์รว่ มทังสามฟั งขึน"
พิพากษากลับ จําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ พ.ศ. มาตรา 27(1), 69 วรรคสอง ให้ปรับจําเลย
100,500 บาท จําเลยให้การรับสารภาพชันสอบสวนเป็ นประโยชน์แก่การพิจารณามีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้หนึงในสาม
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงปรับ 67,000 บาท ไม่ชาํ ระค่าปรับให้จดั การตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
29, 30 สําเนาหนังสือของกลางทีเกิดจากการทําซํางานอันมีลขิ สิทธิของโจทก์รว่ มแต่ละคนให้ตกเป็ นของเจ้าของลิขสิทธิ ส่วน
เครืองถ่ายเอกสารของกลาง 3 เครืองให้รบิ และให้จา่ ยเงินค่าปรับทีได้ชาํ ระตามคําพิพากษาจํานวนกึงหนึงให้แก่เจ้าของ
ลิขสิทธิ

(ยงยศ นิสภัครกุล-ทวีชยั เจริญบัณฑิต-ยินดี วัชรพงศ์ ต่อสุวรรณ)

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 4/11
8/23/2019 5843/2543

แหล่งทีมา สํานักงานส่งเสริมงานตุลาการ

แผนก

หมายเลขคดีแดงศาลชันต้น

หมายเหตุ
(1) ภายใต้กฎหมายของประเทศต่าง ๆ การใช้ทเป็ ี นธรรม (fairuse) หรือการจัดการทีเป็ นธรรม (fairdealing) เป็ นข้อยกเว้น
การละเมิดลิขสิทธิทีสําคัญประการหนึง กฎหมายกําหนดให้บุคคลทัวไปมีสทิ ธิพเิ ศษทีจะใช้งานอันมีลขิ สิทธิ โดยไม่ตอ้ งได้รบั
ความยินยอมจากเจ้าของลิขสิทธิหากการใช้นนเป็ ั นการใช้ทเป็
ี นธรรม การใช้ทเป็ ี นธรรมเป็ นข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิทีมี
วัตถุประสงค์ทจะสร้
ี างดุลยภาพระหว่างการปกป้ องผลประโยชน์อนั ชอบธรรมของเจ้าของลิขสิทธิและการรักษาประโยชน์ของ
สาธารณชนในอันทีจะใช้งานอันมีลขิ สิทธิ ซึงหลักการว่าด้วยดุลยภาพนีเป็ นหลักการพืนฐานของกฎหมายลิขสิทธิของทุก
ประเทศ โดยมีความมุง่ หมายทีจะส่งเสริมให้เกิดการสร้างงานทีมีคณ ุ ค่าและเป็ นประโยชน์ต่อสังคมและให้สงั คมสามารถใช้งาน
นันได้โดยไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของผูส้ ร้างสรรค์งาน การกระทําลักษณะหนึงทีกฎหมายถือว่าเป็ นการใช้ทเป็ ี นธรรมได้แก่
การใช้งานอันมีลขิ สิทธิในการศึกษามาตรา 32 วรรคสอง (1) ของพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ พ.ศ. 2537 บัญญัตวิ า่ "การวิจยั หรือ
ศึกษางานนันอันมิใช่การกระทําเพือหากําไร" เป็ นการกระทําทีไม่เป็ นการละเมิดลิขสิทธิเจตนารมณ์ของข้อยกเว้นนีคือเพือให้
ครูอาจารย์นกั วิชาการนิสติ นักศึกษาและบุคคลทัวไปสามารถใช้ประโยชน์จากงานอันมีลขิ สิทธิเพือศึกษาหาความรูจ้ ากงานนัน
หรือใช้งานนันเพือสร้างงานขึนมาใหม่ (2) ดังทีศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศได้วนิ ิจฉัยไว้ในคําพิพากษา
คดีหมายเลขดําที อ. / คดีหมายเลขแดงที อ. / ว่า การจะเข้าข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิตามมาตรา วรรค
สอง (1) จะต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ 3 ประการ ดังนี เป็ นการกระทําเพือการวิจยั หรือศึกษางานนัน การกระทํานันมิได้
เป็ นการกระทําเพือหากําไร และ การกระทํานันไม่ขดั ต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิและไม่กระทบ
กระเทือนถึงสิทธิอนั ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิเกินสมควร (3) สําหรับหลักเกณฑ์ประการแรก จากคําพิพากษาของ
ศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง คําว่า "วิจยั " หมายความถึงการค้นคว้าเพือหาข้อมูลอย่างถีถ้วนตาม
หลักวิชา ส่วนคําว่า "ศึกษา" ได้แก่การเล่าเรียน ฝึกฝนและอบรม ดังนัน การวิจยั หรือศึกษาจึงมีความหมายกว้างรวมถึงกรณีที

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 5/11
8/23/2019 5843/2543

บุคคลศึกษาเรียนรูง้ านอันมีลขิ สิทธิเพือหาความรูเ้ ป็ นส่วนตัวและศึกษางานเพือสร้างงานขึนใหม่ ดังนัน การทําสําเนางาน


วรรณกรรมอันเป็ นงานอันมีลขิ สิทธิของผูอ้ นื เพือนําไปใช้อา่ นหรือใช้ประกอบการเรียนในชันเรียนเพือให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจ
ย่อมเป็ นการกระทําทีอยูใ่ นความหมายของการวิจยั หรือศึกษางานนันตามมาตรา 32 วรรคสอง (1) ข้อเท็จจริงในคําพิพากษานี
มิได้เกียวกับการทําสําเนางานอันมีลขิ สิทธิเพือใช้ในการวิจยั หรือศึกษางานนันโดยตรง หากแต่เป็ นการทําสําเนางานเพือให้ผู้
อืนใช้เพือการดังกล่าว ปั ญหาว่าการรับจ้างถ่ายเอกสาร เย็บเล่มและเข้าปกหนังสือ ให้แก่นกั ศึกษาเพือใช้ประกอบการเรียนการ
สอนของมหาวิทยาลัย จะถือว่าเป็ นการใช้ทเป็ ี นธรรมหรือไม่ซงทั ึ งศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
และศาลฎีกา ได้วนิ ิจฉัยโดยสอดคล้องกันไปในแนวทางว่าผูร้ บั จ้างถ่ายเอกสารให้แก่บุคคลอืนเพือการวิจยั หรือศึกษางานนัน
สามารถอ้างหลักการใช้ทเป็ ี นธรรมตามข้อยกเว้นนีได้ เช่นเดียวกับผูท้ ทํี าสําเนางานเพือการวิจยั หรือศึกษางานนันโดยตนเอง
อย่างไรก็ดี ศาลฎีการับฟั งข้อเท็จจริงในคดีนีแตกต่างจากศาลชันต้นโดยศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ
กลางเห็นว่า จําเลยกระทําการดังกล่าวด้วยการรับจ้างนักศึกษาทําสําเนางาน ส่วนศาลฎีกาเห็นว่าการกระทําของจําเลยมิใช่
การรับจ้างถ่ายเอกสาร หากแต่เป็ นการทําซํางานอันมีลขิ สิทธิไว้เพือขาย เสนอขาย และมีไว้เพือขาย ซึงเป็ นการกระทําเพือ
การค้าและหากําไรจากการขายสําเนางานทีจําเลยทําซําขึนมา ซึงถ้าหากจําเลยสามารถแสดงพยานหลักฐานพิสจู น์ให้เห็นว่า
เอกสารทีจําเลยทําสําเนาเป็ นเอกสารเกียวกับการรับจ้างถ่ายเอกสาร ศาลฎีกาก็คงจะพิพากษายืนตามคําพิพากษาของศาลชัน
ต้นให้ยกฟ้ องโจทก์เป็ นแน่ (4) ประเด็นทีควรพิจารณาคือ เพราะเหตุใดการทําซํางานเพือนําสําเนางานออกจําหน่ายจึงเป็ นการ
ละเมิดลิขสิทธิ และเหตุใดการรับจ้างนักศึกษาทําสําเนางานเพือให้นกั ศึกษานําสําเนางานทีเกิดจากการทําซําไปใช้ในการศึกษา
วิจยั จึงเป็ นการใช้ทเป็
ี นธรรม เหตุทการทํ
ี าซํางานไว้เพือแสวงหาประโยชน์จากการจําหน่ายสําเนางานเป็ นการละเมิดลิขสิทธิ ก็
เนืองจากการกระทําดังกล่าวมีลกั ษณะเป็ นการใช้สทิ ธิเด็ดขาดทีกฎหมายสงวนไว้สาํ หรับเจ้าของลิขสิทธิ กฎหมายคุม้ ครองผู้
สร้างสรรค์งานด้วยการให้เจ้าของงานมีสทิ ธิแต่เพียงผูเ้ ดียว (exclusiverights) ทีจะทําซําหรือดัดแปลงงานเพือจําหน่ายหรือ
แสวงหาประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ บุคคลทัวไปไม่อาจกระทําการทีเป็ นการล่วงละเมิดสิทธิเด็ดขาดทีเจ้าของลิขสิทธิมีตาม
กฎหมาย การทําสําเนางานอันมีลขิ สิทธิของผูอ้ นเพื
ื อนําออกจําหน่าย มีลกั ษณะเป็ นการแทรกแซงโดยตรงต่อสิทธิในทาง
เศรษฐกิจของเจ้าของลิขสิทธิเนืองจากเป็ นการค้าขายแข่งขันกับเจ้าของ แต่การรับจ้างผูอ้ นทํ ื าสําเนางานนันมีลกั ษณะทีต่าง
ออกไป ผูร้ บั จ้างทําสําเนามิได้กระทําการในลักษณะทีเป็ นการรบกวนโดยตรงต่อการใช้สทิ ธิเด็ดขาดของเจ้าของลิขสิทธิ
อย่างไรก็ดี แม้การรับจ้างทําสําเนาอาจมีลกั ษณะเป็ นการกระทําเพือการวิจยั หรือศึกษางาน แต่ผรู้ บั จ้างจะอ้างการใช้ทเป็
ี น
ธรรมได้กต็ ่อเมือการรับจ้างทําสําเนานันมิใช่การกระทําเพือหากําไรและเป็ นการกระทําทีไม่ขดั ต่อการแสวงหาประโยชน์ตาม

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 6/11
8/23/2019 5843/2543

ปกติของเจ้าของลิขสิทธิ และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอนั ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิเกินสมควร ดังจะได้กล่าวถึง


ต่อไป (5) พระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิฯ มีบทบัญญัตเิ กียวกับการทําสําเนางานเพือให้ผอู้ นทํ
ื าการวิจยั หรือศึกษาอยูส่ องมาตรา
ได้แก่ มาตรา 36 วรรคสอง ( )และมาตรา 34(2) กรณีแรกเกียวกับการทําสําเนางานโดยผูส้ อนหรือสถาบันการศึกษาเพือแจก
จ่ายหรือจําหน่ายแก่ผเู้ รียน โดยไม่ได้กระทําเพือหากําไรส่วนกรณีทสองเกี ี ยวกับการทีบรรณารักษ์หอ้ งสมุดทําซํางานบางตอน
ตามสมควรให้แก่บุคคลอืนเพือประโยชน์ในการวิจยั หรือการศึกษา เมือกฎหมายมีบทบัญญัตเิ กียวกับเรืองนีไว้เป็ นการเฉพาะ
แล้วจึงมีปัญหาว่าบุคคลทีทําสําเนางานเพือให้ผอู้ นใช้
ื ประโยชน์ในการวิจยั หรือการศึกษาทีมิใช่สองกรณีดงั กล่าว จะอ้างการใช้
ทีเป็ นธรรมได้หรือไม่ การตีความกฎหมายอย่างเคร่งครัดว่า เฉพาะแต่การทําสําเนางานเพือให้ผอู้ นใช้ ื ประโยชน์ในการวิจยั หรือ
การศึกษาโดยผูส้ อนหรือสถาบันการศึกษาหรือโดยบรรณารักษ์หอ้ งสมุดเท่านัน ทีเข้าข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิจะก่อให้เกิด
ปั ญหามากทังนีเพราะในประเทศไทย การทําสําเนางานมักจะมีลกั ษณะเป็ นการจ้างตามสัญญาจ้างทําของ เช่น จ้างร้านถ่าย
เอกสารหรือจ้างเจ้าหน้าทีห้องสมุดให้ทาํ สําเนางาน ซึงแตกต่างไปจากในต่างประเทศทีมักจะไม่มกี ารให้บริการถ่ายเอกสาร ผูท้ ี
ต้องการทําสําเนาเอกสารต้องทําสําเนาด้วยตนเอง ด้วยการซือบัตรถ่ายเอกสารจากผูใ้ ห้บริการเครืองถ่ายเอกสารอีกทีหนึง (6)
ในความเป็ นจริง ผลกระทบต่อสิทธิของเจ้าของลิขสิทธิจากการทีนักศึกษาทําสําเนางานสําหรับการวิจยั หรือศึกษางานนันโดย
ตนเองกับผลกระทบจากการทีผูร้ บั จ้างเป็ นผูท้ าํ สําเนาเพือให้ผอู้ นใช้
ื ในการวิจยั หรือศึกษา หาได้มคี วามแตกต่างกันแต่ประการ
ใดไม่ ผูร้ บั จ้างถ่ายเอกสารมีฐานะเสมือนเป็ นตัวแทนของนักศึกษา ดังนัน หากการกระทําของนักศึกษาไม่เป็ นการละเมิด
ลิขสิทธิแล้ว การกระทําของร้านถ่ายเอกสารก็ไม่ควรเป็ นการทําละเมิดเช่นเดียวกัน คําพิพากษาของศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญา
และการค้าระหว่างประเทศกลางได้ตดั สินไว้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อสภาพเศรษฐกิจสังคมของประเทศโดยเฉพาะในการ
วินิจฉัยว่าร้านถ่ายเอกสารมีฐานะเสมือนเป็ นเครืองมือหรือตัวแทนในการถ่ายเอกสารหรือในการทําสําเนาของนักศึกษา และข้อ
ยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิทีใช้กบั นักศึกษาย่อมสามารถใช้กบั ร้านค้าได้ดว้ ย เพราะหากตีความว่าเฉพาะแต่ผทู้ ต้ี องการวิจยั หรือ
ศึกษางานเท่านันทีมีสทิ ธิอา้ งการใช้ทเป็
ี นธรรม ก็จะทําให้ผรู้ บั จ้างถ่ายเอกสารมีความผิดตามกฎหมายลิขสิทธิและจะส่งผลให้
ธุรกิจรับจ้างถ่ายเอกสารซึงเป็ นธุรกิจทีแพร่หลายและสร้างงานแก่คนไทยจํานวนมากต้องสูญสินไปในทีสุด (7) หลักเกณฑ์
ประการทีสองของการใช้ทเป็ ี นธรรมตามมาตรา 22 วรรคสอง (1) ได้แก่ การกระทํานันมิได้เป็ นการกระทําเพือหากําไร เมือ
ผูร้ บั จ้างถ่ายเอกสารสามารถอ้างการกระทําเพือวิจยั หรือศึกษางานนันได้ปัญหาทีต้องพิจารณาต่อไปคือการรับจ้างถ่ายเอกสาร
หรือทําสําเนางานโดยร้านถ่ายเอกสารเป็ นการกระทําเพือหากําไรหรือไม่ สําหรับนักศึกษา การทําสําเนางานก็เพือใช้ประกอบ
การเรียนการสอนในชันเรียนอันมิได้มคี วามมุง่ หมายเพือหากําไร หากแต่กระทําเพือแสวงหาความรูใ้ ห้แก่ตนเองกรณียอ่ มแตก

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 7/11
8/23/2019 5843/2543

ต่างไปหากการทําสําเนานันได้กระทําโดยองค์กรธุรกิจ เช่น การทําสําเนางานอันมีลขิ สิทธิโดยบริษทั แห่งหนึงเพือนําสําเนางาน


นันไปใช้ประโยชน์สาํ หรับการวิจยั หรือศึกษาตลาดของสินค้า เป็ นต้น อย่างไรก็ดี มีนกั วิชาการหลายท่านให้ความเห็นใน
ทํานองว่าการกระทําใดจะมีลกั ษณะเป็ นการกระทําเพือหากําไรหรือไม่นนั มิได้ขนอยู ึ ก่ บั ว่าใครเป็ นผูท้ าํ การวิจยั หรือศึกษางาน
หากแต่ขนอยูึ ก่ บั วัตถุประสงค์ของการวิจยั หรือศึกษาเป็ นสําคัญ ซึงตามความเห็นนี การกระทําเพือการวิจยั หรือศึกษางานโดย
องค์กรธุรกิจ ก็อาจเป็ นการใช้ทเป็
ี นธรรมได้หากการวิจยั หรือศึกษางานนันมิได้มคี วามมุง่ หมายเพือหากําไร สําหรับการกระทํา
ของร้านถ่ายเอกสารทีรับจ้างทําสําเนางานจะเป็ นการกระทําเพือหากําไรหรือไม่นนั คงต้องดูทวัี ตถุประสงค์ของการจ้างเป็ น
สําคัญ คําพิพากษาของทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลางได้ให้เหตุผลไว้อย่างน่ารับฟั งว่า "การรับจ้างถ่าย
เอกสารมีลกั ษณะเป็ นการแบ่งสรรแรงงาน โดยมิตอ้ งให้นกั ศึกษาแต่ละคนทําการถ่ายเอกสารคนละหนึงชุด ผูร้ บั จ้างถ่าย
เอกสารให้บริการแก่นกั ศึกษาในลักษณะทางการค้า โดยคิดค่าแรง ค่าเครืองถ่ายเอกสารและค่ากระดาษ อันเป็ นการกระทําการ
ตามสัญญาจ้าง และค่าตอบแทนทีได้กเ็ ป็ นสินจ้าง ซึงเป็ นค่าตอบแทนทีได้จากการทํางานตามสัญญามิใช่กาํ ไรทีเกิดจากการทํา
สําเนางานอันมีลขิ สิทธิ" ในกรณีเช่นนีอาจเปรียบเทียบได้กบั การทีนักการของมหาวิทยาลัย ทําสําเนางานอันมีลขิ สิทธิเพือให้
อาจารย์ใช้เพือการวิจยั หรือการศึกษานักการซึงได้คา่ จ้างจากมหาวิทยาลัยเพือเป็ นการตอบแทนการทํางานของตนก็มไิ ด้ทาํ
สําเนางานเพือหากําไร (8) หลักเกณฑ์ประการสุดท้ายของมาตรา 32 วรรคสอง (1) คือ การรับจ้างถ่ายเอกสารเป็ นการกระทํา
ทีขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ และเป็ นการกระทําทีกระทบกระเทือนถึงสิทธิอนั ชอบด้วยกฎหมาย
ของเจ้าของลิขสิทธิเกินสมควรหรือไม่ ปั จจัยทีศาลต่างประเทศใช้ประกอบการพิจารณาในเรืองนี มีอยูห่ ลายประการด้วยกัน
รวมทังลักษณะของงานอันมีลขิ สิทธิ คุณค่าของงานนัน และปริมาณหรือสัดส่วนของงานทีมีการทําซํา รวมทังพิจารณาว่าการ
กระทําดังกล่าวได้ทาํ ให้การขายและผลกําไรของเจ้าของงานลดลงหรือไม่ ลอร์ดเด็นนิง (LordDenningMR) นักนิตศิ าสตร์คน
สําคัญของประเทศอังกฤษได้แสดงความเห็นในเรืองนีไว้ในคดี HubbardvVosper([1972]2WLR394) ว่า "การพิจารณาว่าการ
กระทําใดเป็ นการกระทําทีเป็ นธรรม จะต้องคํานึงถึงขีดระดับ (degree) ของการกระทําเป็ นสําคัญ กล่าวคือ พิจารณาว่าส่วนทีมี
การลอกเลียนนันเมือรวมกันทังหมดแล้วคิดเป็ นปริมาณทีมากหรือไม่หากเป็ นปริมาณมาก จึงพิจารณาต่อไปถึงลักษณะของ
การใช้ ว่าเป็ นการใช้เพือถ่ายทอดข้อความหรือข้อสนเทศในลักษณะเดียวกับเจ้าของลิขสิทธิหรือไม่หากการใช้นนได้ ั กระทําใน
ลักษณะทีเป็ นคูแ่ ข่งกับเจ้าของลิขสิทธิ การกระทําดังกล่าวย่อมไม่เป็ นธรรม" (9) ปริมาณหรือสัดส่วนของงานทีมีการทําสําเนา
เป็ นปั จจัยทีมีความสําคัญต่อการพิจารณาการใช้ทเป็ ี นธรรม ในต่างประเทศกลุม่ เจ้าของลิขสิทธิต่าง ๆได้ทาํ ความตกลงกําหนด
หลักเกณฑ์วา่ ด้วยการใช้ทเป็ ี นธรรมขึน เช่นกําหนดว่าในกรณีหนังสือหรือตํารา การทีจะเป็ นการใช้ทเป็ ี นธรรมจะต้องเป็ นการ

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 8/11
8/23/2019 5843/2543

ทําสําเนาไม่เกินร้อยละ 5 หรือร้อยละ 10 ของงานทังหมด หรือไม่เกิน 1 บทของหนังสือและต้องเป็ นการทําสําเนาไม่เกิน 1 ชุด


เป็ นต้น หรือกรณีบทความในวารสารการทําสําเนางานจะกระทําได้เพียงไม่เกิน 1 บทความจากบทความทังหมดทีมีอยูใ่ น
วารสารนัน และทําสําเนาได้เพียง 1 ชุด เป็ นต้น มีขอ้ สังเกตว่า หลักเกณฑ์ทกล่
ี าวมานี เป็ นแต่เพียงแนวปฏิบตั ิ (guidelines) ที
กําหนดขึนโดยภาคเอกชนทีไม่มผี ลบังคับเป็ นกฎหมาย และไม่ผกู พันศาลให้ตอ้ งวินิจฉัยตาม ในคดีนี ศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญา
และการค้าระหว่างประเทศกลางและศาลฎีกามิได้กาํ หนดหลักเกณฑ์วา่ การทําสําเนางานในปริมาณและสัดส่วนเท่าใด จึงจะ
ถือว่าเป็ นการใช้ทเป็
ี นธรรม เพียงแต่ศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลางได้วนิ ิจฉัยว่า "งานทีทําซํา
จํานวน 43 ชุด เป็ นการทําซําจากหนังสือ OrganizationalBehavior จํานวน 5 บท คิดเป็ นร้อยละ 25 ของหนังสือทังเล่ม
จํานวน 20 ชุด และทําซําจากหนังสือ EnvironmentalScience จํานวน 5 บทคิดเป็ นร้อยละ 20.83 ของหนังสือทังเล่ม จํานวน
19 ชุด" ถือเป็ นการกระทําพอสมควรเพือประโยชน์ในการศึกษา ซึงมีปัญหาน่าคิดว่า หากเป็ นการทําสําเนางานเกินปริมาณ
หรือสัดส่วนดังกล่าวผูก้ ระทําจะอ้างการใช้ทเป็
ี นธรรมได้หรือไม่ หลักเกณฑ์ทใช้
ี อยูใ่ นต่างประเทศ เป็ นหลักเกณฑ์ทกํี าหนดขึน
โดยกลุม่ เจ้าของลิขสิทธิ โดยคํานึงถึงประโยชน์ของเจ้าของเป็ นสําคัญการนําหลักเกณฑ์ดงั กล่าวมาใช้ในประเทศไทยจําเป็ น
ต้องคํานึงถึงความเหมาะสมด้วย ประเทศไทยเป็ นประเทศกําลังพัฒนาทีมีความต้องการใช้ขอ้ มูลความรูจ้ ากหนังสือและตําราใน
การเรียนการสอน เพือยกระดับความรูแ้ ละภูมปิ ั ญญาของคนในประเทศ การนําหลักเกณฑ์ทใช้ ี อยูใ่ นต่างประเทศมาประกอบ
การตีความข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ จะส่งผลให้การศึกษาของประเทศมีตน้ ทุนทีสูงขึน ดังทีศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและ
การค้าระหว่างประเทศกลางได้แสดงเหตุผลไว้ดงั นี "การศึกษาวิจยั จําต้องใช้ขอ้ มูลทีอยูใ่ นตําราและบทความจํานวนมากการ
กําหนดให้นกั ศึกษาทําสําเนาได้เฉพาะหนึงบทความในวารสารทังฉบับหรือหนึงบทในหนังสือทังเล่ม จึงอาจทําให้นกั ศึกษาไม่
เข้าใจความคิดหรือปรัชญาทีซ่อนอยูใ่ นหนังสือได้อย่างชัดเจน การให้นกั ศึกษาต้องซือหนังสือทุกเล่มหรือเป็ นสมาชิกวารสาร
ทุกฉบับโดยกฎหมายมิได้ให้ขอ้ ยกเว้นอันควรย่อมจะเป็ นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าทางการศึกษาและวิชาการในสังคม" (10)
นอกจากสัดส่วนและปริมาณงานทีมีการทําซําแล้วศาลทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ยังได้นําปั จจัยอืน
มาใช้ประกอบการพิจารณาด้วยกล่าวคือ ต้องพิจารณาว่าเจ้าของลิขสิทธิได้อาํ นวยความสะดวก ให้แก่ผปู้ ระสงค์จะขออนุญาต
ใช้งานอันมีลขิ สิทธิหรือไม่ หากเจ้าของลิขสิทธิละเลยไม่กระทําการดังกล่าว ก็ไม่อาจถือได้วา่ การทําสําเนางานเป็ นการกระทําที
ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของ และเป็ นการกระทําทีกระทบกระเทือนถึงสิทธิอนั ชอบด้วยกฎหมายของ
เจ้าของลิขสิทธิ ซึงข้อวินิจฉัยนีนับว่าสอดคล้องกับแนวคิดธุรกิจแผนใหม่ทเชื
ี อว่าผูป้ ระกอบธุรกิจต้องมีหน้าทีและความรับผิด
ชอบต่อสังคม รวมทังยังสอดคล้องต่อปรัชญาพืนฐานของการคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปั ญญา ทีเจ้าของสิทธิจะต้องให้ประโยชน์

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 9/11
8/23/2019 5843/2543

แก่สงั คมเพือตอบแทนการทีสังคมได้รบั รองและคุม้ ครองสิทธิของตน 1. ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิในเรือง "การใช้อย่างเป็ น


ธรรม" หรือ"fairuse" เป็ นหลักการพืนฐานของกฎหมายลิขสิทธิของทุกประเทศเพือทีจะดุลระหว่างประโยชน์ของเจ้าของงาน
ลิขสิทธิและประโยชน์สาธารณชนในภาพรวม หลัก "fairuse" นีให้อาํ นาจศาลโดยตรงทีจะป้ องกันหรือหลีกเลียงความแข็ง
กระด้างของการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ ทังเป็ นการให้อาํ นาจศาลทีจะวินิจฉัยจากพืนฐานของข้อเท็จจริงในแต่ละกรณี ซึงอาจ
ใช้เกณฑ์หรือระดับทีแตกต่างกันในแต่ละประเทศ โดยต้องขึนอยูก่ บั สภาพสังคม สภาพเศรษฐกิจของประเทศนัน ๆ ด้วย 2. คํา
พิพากษาศาลฎีกาทีหมายเหตุนีเป็ นคําวินิจฉัยทีสําคัญมากสําหรับการทดสอบระดับหรือเกณฑ์ทศาลฎี ี กาใช้วดั มาตรฐานของ
การกระทําทีจะไม่ถอื เป็ นการละเมิดลิขสิทธิในประเทศไทย ในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา เป็ นต้น จําเลยนิยมอ้างหลัก
"fairuse"เป็ นข้อต่อสูเ้ พือให้พน้ จากการละเมิดลิขสิทธิ ซึงจะเห็นเป็ นประเด็นในคดีจาํ นวนมากแต่ดเู หมือนคูค่ วามโดยเฉพาะ
จําเลยในศาลไทยยังใช้หรืออ้างหลักการนีน้อย แม้แต่ในคําพิพากษาศาลฎีกาฉบับนี คําให้การและทางนําสืบของจําเลยก็ไม่
ชัดเจนนักว่าได้มงุ่ ทีจะใช้หลัก "fairuse" เป็ นข้อต่อสูห้ ลัก แต่เป็ นเพราะความละเอียดลึกซึงของผูพ้ พิ ากษาผูเ้ รียงคําพิพากษา
ในศาลชันต้น จึงได้สรุปและวินิจฉัยประเด็นตามมาตรา 32 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิฯ อย่างชัดเจนและครอบคลุม
สํานวนคดีนีจึงอาจถือเป็ นจุดเริมทีสําคัญทีผูเ้ กียวข้องต่าง ๆ จะได้เห็นประเด็นสําคัญของเรืองนี ซึงอาจใช้ยกเว้นการละเมิด
ลิขสิทธิได้เพือให้การบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิอยูบ่ นพืนฐานของการดุลประโยชน์ทเหมาะสมระหว่
ี างเจ้าของงานและสาธารณะ
3. การปรับใช้มาตรฐานของหลัก "fairuse" นีแตกต่างกันในแต่ละประเภทใดขึนอยูก่ บั สภาพสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
ของประเทศนัน ๆศาลของประเทศต่าง ๆ รวมทังศาลไทยคงต้องรับหน้าทีทีจะปรับเกณฑ์ให้เหมาะสมกับประเทศ โดยต้อง
คํานึงถึงการเปิ ดโอกาสให้คนส่วนใหญ่ในประเทศสามารถทีจะใช้ทรัพย์สนิ ทางปั ญญาในการพัฒนาศาสตร์และศิลปแขนงต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสมด้วย แม้แต่ในประเทศทีพัฒนาแนวความคิดในการปกป้ องลิขสิทธิอย่างมากอย่างสหรัฐอเมริกา ศาลก็ยงั
ยึดถือเป็ นบทบาทสําคัญของศาลทีจะทําหน้าทีป้ องกันหรือหลีกเลียงความแข็งกระด้างของการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ โดย
ปรับใช้หลัก "fairuse" ไปใช้ในข้อเท็จจริงต่าง ๆ หลายกรณีเพือดุลระหว่างผลประโยชน์ของเจ้าของงานและสาธารณะ หาก
เทียบดูแล้ว จะเห็นได้วา่ ศาลสหรัฐอเมริกาได้ใช้หลัก "fairuse"ช่วยแก้ไขความแข็งกระด้างของกฎหมายลิขสิทธิหลายกรณี
เฉพาะในประเด็นของปริมาณและสาระสําคัญของงานซึงเป็ นประเด็นในคําพิพากษาศาลฎีกาฉบับนี ศาลสหรัฐอเมริกาก็ได้
หาเหตุผลไปสนับสนุนหลัก "fairuse" หลายกรณีเช่นกัน เช่น (ก)"parody" หรือ "งานล้อเลียนต่าง ๆ" ซึงใช้โครงร่างของงาน
ต้นแบบเช่นคดี Campellv.Acuff-RoseMusic,Inc.,114S.Ct.1164(1994)ข้อเท็จจริงนักร้องเพลงเร็บได้ขออนุญาตเจ้าของสิทธิ
เพลง "Oh,PrettyWoman" ไปแปลงเนือหาและทํานองเป็ นเพลงเร็บ เจ้าของสิทธิไม่อนุญาต แต่ผขู้ อก็กลับนําเพลงดังกล่าวไป

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 10/11
8/23/2019 5843/2543

แปลงทํานองและเนือหาเป็ นเพลงเร็บชือ "PrettyWoman"และนําออกจําหน่ายในทีสุด U.S.SupremeCourt วินิจฉัยในตอนหนึง


เกียวกับปริมาณของงานว่า ศาลอุทธรณ์วนิ ิจฉัยไม่ถกู ต้องในประเด็นว่าเพลงล้อเลียนได้แปลงโดยใช้สาระสําคัญและปริมาณ
ของเพลงต้นฉบับสูงจนเกินกว่าทีจะเป็ น"fairuse" โดย U.S.SupremeCourt วินิจฉัยว่า กรณีของงานล้อเลียนนันสาระสําคัญ
และปริมาณเป็ นส่วนสําคัญทีจะต้องใช้ในการทํางานล้อเลียนและเป็ นวัตถุประสงค์หลักของการล้อเลียน ซึงหมายความว่าศาล
จะยึดถือว่าหากมีการดัดแปลงงานในปริมาณทีมากแล้ว ก็จะเป็ นการละเมิดลิขสิทธิเสมอไปไม่ได้ เพราะหากเป็ นงานแปลงที
เป็ นงานล้อเลียนแล้ว ปริมาณและสาระสําคัญของงานทีถูกดัดแปลงต้องมีมากแน่นอน แต่กย็ งั อาจเป็ น "fairuse" ได้ ซึงไม่
เป็ นการละเมิดลิขสิทธิ (ข)"transactioncostormarketaccess" กล่าวคือ หากปรากฏว่าค่าใช้จา่ ยในการได้ใช้งานนันสูงเกินควร
หรือผูใ้ ช้สว่ นใหญ่ไม่สามารถใช้งานได้ตามสมควร ศาลจะถือว่าความต้องการของสังคมทีจะได้ใช้งานนันเป็ นสิงทีมีความสําคัญ
กว่า แม้จะมีลกั ษณะเป็ นการละเมิดสิทธิเจ้าของงาน แต่กเ็ ป็ น"fairuse" เพราะว่าในกรณีเช่นนีการให้ประโยชน์หรือสิงจูงใจแก่
เจ้าของงานมีคา่ น้อยกว่าความจําเป็ นของประโยชน์ของคนส่วนใหญ่มาก 4. จากสาระสําคัญในคําพิพากษาศาลฎีกาฉบับนี ผู้
หมายเหตุยงั ใคร่ทจะสรุ
ี ปว่าศาลฎีกาเห็นด้วยกับคําพิพากษาของศาลชันต้นในประเด็นว่า หลัก "fairuse" ของนักศึกษา
อาจสามารถใช้กบั ร้านรับจ้างถ่ายสําเนาได้และการรับจ้างถ่ายสําเนางานจากนักศึกษาไปใช้ในการศึกษาวิจยั อาจไม่เป็ นการ
กระทําเพือหากําไรทีขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิหรือไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอนั เกินสมควรได้
นอกจากนัน สัดส่วนและปริมาณงานทีทําซําเพือวัตถุประสงค์ในการวิจยั หรือศึกษาในประเทศกําลังพัฒนาอย่างประเทศไทยก็
น่าจะมีสดั ส่วนและปริมาณทีเหมาะสมและสูงเพียงพอทีทําให้การพัฒนาศาสตร์และศิลป์ แขนงต่าง ๆ เป็ นไปเพือประโยชน์
สาธารณะในภาพรวมด้วย เพียงแต่วา่ จําเลยในคดีนีเบิกความกล่าวอ้างลอย ๆ เพียงปากเดียวโดยไม่สามารถนําสืบแสดง
เอกสารเกียวกับการรับจ้างนักศึกษาถ่ายเอกสารว่าทําในลักษณะใดและเข้าข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิอย่างใด ดังนัน คํา
พิพากษาศาลฎีกาฉบับนีจึงไม่ได้เป็ นการปิ ดการยกข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิขึนอ้างในข้อเท็จจริงเกียวกับการรับจ้างถ่าย
สําเนาเสียทีเดียว ในอนาคตศาลไทยอาจยกประเด็นของความจําเป็ นทีสังคมจะต้องสนับสนุนการให้โอกาสทางการศึกษาแก่
เยาวชนในประเทศกําลังพัฒนาอย่างประเทศไทยขึนเป็ นเกณฑ์พจิ ารณา "การใช้อย่างเป็ นธรรม" ก็ได้ ทังนีเพือรักษาประโยชน์
ของสาธารณะในระดับทีเหมาะสมและเพือให้สงั คมสามารถมีโอกาสได้รบั พัฒนาการอย่างมีประสิทธิภาพ จักรกฤษณ์ ควร
พจน์,จุมพล ภิญโญสินวัฒน์

http://deka.supremecourt.or.th/printing/deka 11/11

You might also like