Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 96

2 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำ�ปี พ.ศ. 2562


สงวนลิขสิทธิ์ โดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
พิมพ์ครั้งที่ 22 กรกฎาคม 2562
จำ�นวนพิมพ์ 1,300 เล่ม

จัดทำ�โดย
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

ดำ�เนินการโดย
คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
ข้อมูลทางบรรณานุกรม

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำ�ปี พ.ศ. 2562.-- กรุงเทพฯ : มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2562.
92 หน้า.
1. นักวิทยาศาสตร์ I. ชื่อเรื่อง.
509.2
ISBN 978-616-8154-03-8
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 3

สารบัญ

สารประธานคณะกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 4
สารมูลนิธิเอสซีจี 5
สารมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม 6
สารสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 7
สารสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 8
คำ�ปรารภประธานคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น 9
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น พ.ศ. 2562 (2019 Outstanding Scientist Award)
คำ�ประกาศเกียรติคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ 10
Curriculum Vitae: Assistant Professor Dr. Montree Sawangphruk 17
List of Publications: Assistant Professor Dr. Montree Sawangphruk 21
The Achievements of Assistant Professor Dr. Montree Sawangphruk 30
งานวิจัยทางด้านวัสดุกราฟีน วัสดุนาโน และวัสดุผสมระดับนาโนหลากหลายชนิด
สู่นวัตกรรมอุปกรณ์กักเก็บพลังงานไฟฟ้า 38
รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ พ.ศ. 2562 (2019 Young Scientist Awards)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เอกพันธ์ ไกรจักร์ 48
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภูวดล ธนะเกียรติไกร 56
ดร. ธีรพงศ์ ยะทา 64
ประวัติมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 72
ใบอนุญาตจัดตั้งมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 73
หนังสือให้อำ�นาจจัดตั้งมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 74
หนังสือพระราชทานพระมหากรุณาให้มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ 75
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นองค์การ
หรือสถานสาธารณกุศล ลำ�ดับที่ 481 ของประกาศกระทรวงการคลังฯ 76
รายงานผลการดำ�เนินงาน มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในพระบรมราชูปถัมภ์ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 77
โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ 81
รายนามนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น (List of Outstanding Scientists) 83
รายนามนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ (List of Young Scientists) 88
คณะกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 91
4 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

สารประธานคณะกรรมการ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เล็งเห็นและ
ตระหนักดีว่าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีความสําคัญยิ่งต่อการพัฒนา
ประเทศไทยให้สามารถยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนคนไทย ให้ทด ั เทียม
นานาอารยประเทศ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านวิทยาศาสตร์เป็น
ปัจจัยพื้นฐานที่สําคัญที่สุด จึงได้ดําเนินโครงการ “รางวัลนักวิทยาศาสตร์
ดีเด่น” มาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2525 เพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทย
ที่มีผลงานดีเด่นเป็น ที่ประจักษ์ทางด้านวิชาการ ได้อุทิศตนพัฒนางาน
วิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนื่องจนเกิดผลกระทบที่สําคัญต่อ แวดวงวิชาการ
และสังคม และเป็นผู้ที่มีความประพฤติดีมีจรรยาบรรณ เป็นที่เคารพนับถือ
เป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อให้เยาวชนได้ยึดถือเป็นแนวทางในการดําเนินรอยตามได้
และเพื่อสร้างนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ซึ่งจะเป็นกําลังสําคัญของประเทศต่อไปในอนาคต
มูลนิธิ ฯ จึงได้ริเริ่มให้มีการมอบ “รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่” ขึ้นในปีพุทธศักราช 2534 โดยการสรรหาบุคคล
อายุไม่เกิน 35 ปี ที่มีความสามารถในการวิจัยให้ได้รับรางวัลนี้ เพื่อเป็นก�ำลังใจและเป็นแรงผลักดันให้นักวิจัยรุ่นใหม่
มีความมุ่งมั่นสร้างผลงานวิจัยให้มีคุณภาพดียิ่งๆ ขึ้น และพัฒนาต่อไปอย่างเต็มศักยภาพ ให้สามารถเป็นแรงขับเคลื่อน
ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศได้อย่างต่อเนื่อง

มูลนิธิฯ ใคร่ขอขอบคุณประธานและกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ที่ร่วมกันทํางานอย่างเข้มแข็งและยุติธรรม


จนได้มาซึ่งนักวิทยาศาสตร์ผูม
้ ีความสามารถสมควรได้รับเกียรติในปีนี้ และขอขอบคุณ มูลนิธิเอสซีจี สํานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
(สกสว.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม โดยกลุ่ม ปตท.
ที่ให้การสนับสนุนเงินรางวัลเพื่อเป็นกําลังใจแด่นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ด้วยดีเสมอมา
และขอถือโอกาสนี้แสดงความยินดีกับนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจําปีพุทธศักราช 2562
ทุกๆ ท่าน ขอแสดงความชื่นชมในผลงานที่ทรงคุณค่าและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ประเทศชาติ พร้อมทั้งขอส่งกําลังใจ
ให้ท่านสามารถปฏิบัติงานค้นคว้าวิจัยต่อไปได้อย่างราบรื่นไม่หยุดนิ่ง ไม่ท้อถอย เพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่
ประเทศชาติ และสังคมโลกอย่างยั่งยืนสืบไป

(รองศาสตราจารย์ ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน)


ประธานคณะกรรมการ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 5

สารมูลนิธิเอสซีจี

ในการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศนั้น มีความจ�ำเป็น
ที่จะต้องใช้ทักษะและความช�ำนาญในสาขาต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะปัจจุบัน
ประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสู่ยุค 4.0 ที่ต้องก้าวให้ไวไปให้ทันกับยุคเทคโนโลยี
ดิสรับชั่น ซึ่งปฏิเสธไม่ได้เลยว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีส่วนส�ำคัญ
เป็นอย่างมาก

มูลนิธิเอสซีจีได้ด�ำเนินงานเพื่อประโยชน์สาธารณะ ภายใต้หลักปรัชญา
“เชื่อมั่นในคุณค่าของคน” ซึ่งการท�ำงานดังกล่าวน�ำไปสู่งานด้านการพัฒนา
และส่งเสริมศักยภาพให้คนมีความเข้มแข็งจากภายใน ส่งเสริมแนวทางการ
พัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เป็น “คนเก่งและดี” อันเป็นภารกิจหลักที่มูลนิธิฯ ด�ำเนิน
การอย่างต่อเนื่อง ผ่านการให้ทุนการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน โดยสอดคล้องกับความ
เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกและของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging
Society) และยุคที่จะต้องใส่ใจการเปลี่ยนแปลงของธรรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับทุกคนผ่านการ
รณรงค์ภายใต้แนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ซึ่งมูลนิธิฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของบุคลากรที่
จะมารองรับเรื่องดังกล่าวในอนาคต ดังนั้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นภารกิจส�ำคัญในการพัฒนาคนของมูลนิธิฯ
โดยเฉพาะในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในโอกาสนี้มูลนิธิฯ ขอแสดงความยินดีกับ ผศ. ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ส�ำนักวิชาวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยสิริเมธี


ที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ขอแสดงความยินดีกับ ผศ. ดร. เอกพันธ์
ไกรจักร์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผศ. ดร. ภูวดล ธนะเกียรติไกร
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ ดร. ธีรพงศ์ ยะทา หน่วยวิจัย
นาโนเทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ ที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

มูลนิธิเอสซีจีขอขอบคุณท่านคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และนักวิทยาศาสตร์ทุกท่านที่มุ่งมั่นสร้างผลงานที่เป็นประโยชน์
ต่อคนไทย และเชื่อมั่นว่ารางวัลดังกล่าวจะเป็นก�ำลังใจให้นักวิทยาศาตร์ไทยมีพลังใจ ใช้ความรู้ ความสามารถในการ
วิจัยและสร้างสรรค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาให้ประเทศไทยก้าวทันนานาประเทศ รวมถึงเป็นแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน
รุ่นใหม่ก้าวเข้าสู่วงการวิทยาศาสตร์ไทยต่อไป

(นายรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส)
ประธานกรรมการ
มูลนิธิเอสซีจี
6 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

สารมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม

กลุ่ม ปตท. ในฐานะบริษัทพลังงานแห่งชาติมีภารกิจหลักในการสร้างความมั่นคง


ทางด้านพลังงานให้กับประเทศมาตลอด 40 ปี ด้วยประสบการณ์การท�ำงานและ
องค์ความรู้ทางด้านพลังงานที่สั่งสมมาตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ได้เล็งเห็น
ถึงความจ�ำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
ให้กับประเทศ จึงได้จัดตั้งมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม (Power
of Innovation Foundation) เพื่อเป็นองค์กรที่ส่งเสริม สนับสนุน
มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีของชาติให้แก่เยาวชน และบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีของไทยให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น ด้วยความเชื่อว่าวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีจะเป็นส่วนส�ำคัญในการผลักดันประเทศไทยให้พัฒนาทัดเทียมกับ
นานาอารยประเทศได้อย่างเต็มภาคภูมิ

มูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นผู้ถือใบอนุญาตจัดตั้งสถาบันวิทยสิริเมธี (Vidyasirimedhi Institute of


Science and Technology : VISTEC) เป็นสถาบันระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นงานวิจัยชั้นแนวหน้าและสร้างบุคลากร
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ดีเลิศในระดับโลก ส่งเสริม และพัฒนาความรู้ความสามารถให้แก่นักวิทยาศาสตร์
นักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ และมีศักยภาพ อันจะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการต่อยอดและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมให้เกิดขึ้นในประเทศ โดยเน้นการเรียนการสอนแบบบูรณาการวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรรมศาสตร์เข้าด้วยกัน ซึ่งจะมีส่วนร่วมในการสร้างงานวิจัยที่เชื่อมโยงกับทิศทางของโลก และสร้างองค์ความรู้
เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศและ Thailand 4.0

ในวาระที่ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ด�ำเนินโครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์


ดีเด่นและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2562 เพื่อมอบรางวัลเป็นเกียรติให้แก่นักวิทยาศาสตร์ไทยที่มี
ผลงานวิจัยโดดเด่นทางด้านวิทยาศาสตร์และงานวิจัย ที่เป็นที่ยอมรับในแวดวงวิทยาศาสตร์ทั้งภายในและต่างประเทศ
มูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม ขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
ประจ�ำปี 2562 ซึ่งทุกท่านนับเป็นบุคลากรที่มีคุณค่าอย่างยิ่งต่อประเทศในการสร้างองค์ความรู้พัฒนานวัตกรรม
และเทคโนโลยี อันจะน�ำมาซึ่งองค์ความรู้ที่พัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ไทย และเป็นรากฐานที่เข้มแข็งให้ประเทศให้มี
ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

(นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)


ประธานกรรมการมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 7

สารสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม
ท่ามกลางสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน เป็นที่น่ายินดียิ่งที่
รัฐบาลได้ก�ำหนดเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ที่ใช้
เป็นแนวทางในการปฏิบต ั เิ พือ
่ ให้ประเทศไทยบรรลุวส
ิ ย
ั ทัศน์ “ประเทศไทยมีความ
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง” เพือ ่ ความสุขของคนไทยทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ
พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพือ ่ ยกระดับขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศให้ก้าวพ้นประเทศรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศ
รายได้สงู สู่ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) บนรากฐานเศรษฐกิจทีข่ บ ั เคลือ
่ น
ด้วยองค์ความรู้ ควบคู่กับการขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

โดยเฉพาะในห้วงปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรมให้มีการท�ำงานอย่างบูรณาการ เพื่อสามารถพัฒนาบุคลากรและผลิตผล
งานวิจัยตรงกับความต้องการของประเทศ โดยเฉพาะการมุ่งพัฒนาศักยภาพนักวิจัยให้มี
คุณภาพในระดับสากล รวมทั้งสามารถผลักดันให้มีการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ซึ่งส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ถือได้ว่า
เป็นการสร้างรากฐานของระบบวิจัยและนวัตกรรมของไทย โดยมีการบริหารจัดการงานวิจัยอย่างเป็นระบบ

นับตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม 2562 ที่ผ่านมา โดยพระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ


นวัตกรรมแห่งชาติ ให้ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย ั (สกว.) เปลีย
่ นเป็น ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) มีภารกิจหลักในการก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ รวมทั้งจัดท�ำแผนด้านวิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตลอดจนจัดสรรงบประมาณให้กับหน่วยงานในระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
แม้จะเปลี่ยนภารกิจหน้าที่แต่ สกสว. ตระหนักดีว่า การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศนั้น
จ�ำเป็นต้องส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในส่วนของการพัฒนาบุคลากรวิจัย การส่งเสริมการวิจัยและการน�ำ
ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ควบคู่กันไป เนื่องจากวิทยาศาสตร์เป็นหัวใจส�ำคัญของความเข้มแข็งทางการวิจัยในทุกๆ
ด้าน ทุกระดับของประเทศ โดยเฉพาะการวิจัยด้านทฤษฎีและการปฏิบัติท่ีเป็นจุดเริ่มต้นของการค้นพบที่ส�ำคัญ และ
เป็นฐานความรู้ในการพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์ และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น
สกสว. เชื่อมั่นว่า การวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศในอนาคตจะเป็นกลไกส�ำคัญ
ในการสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ให้กับประเทศไทยสืบไป

ในโอกาสนี้ สกสว. ขอแสดงความชื่นชมมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ได้ริเริ่ม


โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่อันทรงคุณค่า และขอร่วมแสดงความยินดีกับ
ผู้ได้รับรางวัล “นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น” และ “นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่” ประจ�ำปี 2562 ทุกท่าน อันจะเป็นต้นแบบที่ดี
และเป็นแรงบันดาลใจให้กับเยาวชนและบุคลากรในวงการวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในการคิดค้นผลงานวิจัย
อันน�ำไปสู่การต่อยอดและพัฒนาประเทศให้ทด ั เทียมนานาอารยประเทศ โดย สกสว. พร้อมเป็นส่วนหนึง่ ในการส่งเสริม
และสนับสนุนให้เกิดพลังการวิจัย เพื่อเปลี่ยนแปลงสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน

(ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ)


ผู้อำ�นวยการ
สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
8 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

สารสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ตลอดระยะเวลากว่า 27 ปี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) ภายใต้ก�ำกับของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม
ได้ด�ำเนินการพัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อ
เป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม โดยได้มุ่งส่งเสริมการวิจัย พัฒนา ออกแบบ และวิศวกรรม
(Research Development Design and Engineering) จนสามารถ
ถ่ายทอดไปสู่การใช้ประโยชน์ รวมถึงส่งเสริมด้านการพัฒนาก�ำลังคน
และโครงสร้างพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่จ�ำเป็นเพื่อสร้าง
ขีดความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาประเทศ

จากเป้าหมายการพัฒนาประเทศตามที่ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ด้านการเพิม
่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ได้ระบุถงึ ความจ�ำเป็นทีป ่ ระเทศไทย จะต้อง
ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ และต้องลดความเหลือ ่ มลำ�้ โดยต้องเพิม
่ ผลิตภาพ สร้างมูลค่าเพิม
่ ต้องปรับโครงสร้างภาค
การผลิตและภาคบริการ ไปสู่ภาคการผลิตและบริการใหม่ที่มีศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม และ
น�ำเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้ในภาคการผลิตและภาคอุตสาหกรรม

การพัฒนางานวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ของไทยควรวางเป้าหมาย ไม่เพียงเพื่อให้ได้มูลค่า


เพิม
่ ทางเศรษฐกิจสูงขึน
้ เท่านัน
้ แต่ต้องพัฒนาบุคลากรทีจ่ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลือ
่ นประเทศด้วย วทน. ซึง่ รวมถึง
บุคลากรวิจย
ั และนวัตกรรม แรงงานในภาคการผลิตและบริการ และนักเรียน นักศึกษา ทีม ่ คี วามสามารถด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เพื่อเป็นตัวป้อนเข้าสู่เส้นทางอาชีพสายวิจัยและนวัตกรรมต่อไป

ในการนี้ สวทช. ขอขอบคุณ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ได้ริเริ่มโครงการรางวัล


นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ซึ่งสวทช. ได้รับเกียรติจากมูลนิธิฯ ในการร่วมสนับสนุนใน
กิจกรรมดังกล่าว โดยมีความมุ่งหวังร่วมกันว่า นอกจากจะช่วยท�ำให้นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
เกิดความภาคภูมิใจในรางวัลที่ได้รับแล้ว ยังส่งต่อสร้างแรงบันดาลใจ จุดประกายความคิดให้กับนักวิจัยรุ่นต่อๆ ไปได้
รวมทัง้ กระตุ้นให้สงั คมไทยเกิดความเข้าใจและตระหนักถึงความส�ำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทม ี่ ต
ี ่อการพัฒนา
ประเทศโดยรวม

สวทช. มีความยินดีอย่างยิ่งในการร่วมสนับสนุน การเชิดชูเกียรตินักวิจัย และนักวิทยาศาสตร์ของไทย และขอแสดง


ความยินดีแก่ทก ุ ท่าน ทีไ่ ด้รบ
ั รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น และนักวิทยาศาสตร์ร่น
ุ ใหม่ ประจ�ำปี 2562 หวังว่าทุกท่านจะ
เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศไปสู่สงั คมฐานความรู้ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมัน ่ คงและยัง่ ยืนสืบไป

(ดร. ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล)


ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 9
คำ�ปรารภประธานคณะกรรมการ
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
งานวิจัยที่มีคุณภาพดีเด่นด้านวิทยาศาสตร์ เป็นพื้นฐานส�ำคัญที่เพิ่มขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรม ช่วยให้
ประเทศไทยมีเศรษฐกิจเจริญเติบโต อย่างมีเสถียรภาพ ยัง่ ยืน และสามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้การวิจย ั ขัน
้ แนวหน้า (Frontier
Research) ทีค ่ รอบคลุมทางด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม (Energy and Environment) วัสดุขน ั้ สูง (Advanced materials)
เทคโนโลยีชวี ภาพ (Biotechnology)และดิจท ิ ล
ั (Digital) รวมทัง้ การส่งเสริมความเป็นเลิศในสาขาวิจย ั ทีส
่ ร้างศักยภาพให้กบ ั ประเทศ
การเชือ ่ มโยงวิทยาศาสตร์ขนั้ แนวหน้า และ 5 เทคโนโลยีหลักได้แก่ เทคโนโลยีห่น ุ ยนต์ขน
ั้ ก้าวหน้า (Advanced Robotics) ปัญญา
ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)อินเทอร์เน็ต IoT (Internet of Things), Enterprise wearables และ เทคโนโลยีการ
พิมพ์แบบสี่ มิติ (4D printing) และการสนับสนุนให้เกิดการลงทุนด้านการวิจัยเพื่อเร่งผลิตนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย วิศวกร ฯลฯ
ที่มีคุณภาพสูง การคัดสรรนักวิจัยและผู้น�ำกลุ่มนักวิจัยชั้นแนวหน้า ให้เพียงพอต่อความต้องการ ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยส�ำคัญ
ในการผลักดันโครงการเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน

มูลนิธสิ ่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ มีการมอบรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่นและนักวิทยาศาสตร์ร่น ุ ใหม่


เป็นประจ�ำทุกปี โดยรางวัลนักวิทยาสตร์ดเี ด่นเริม
่ มีการมอบรางวัลตัง้ แต่ปพี ท
ุ ธศักราช 2525 เป็นต้นมา การให้รางวัลนักวิทยาศาสตร์
ดีเด่น (Outstanding Scientist Award) และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ (Young Scientist Award) มีวัตถุประสงค์หลัก
เพื่อเป็นขวัญและก�ำลังใจให้กับนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับคัดเลือก ก่อเกิดพลังในการมุ่งมั่นท�ำงานวิจัย ประกอบคุณงามความดีเพื่อ
ประเทศชาติและมนุษยชาติต่อไปในอนาคต ตลอดจนสร้างแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน นักศึกษาและเยาวชนของชาติให้สังคมไทยได้
มองเห็นและร่วมยกย่องเชิดชู เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นจึงได้วางแนวทางการ
คัดเลือกนักวิทยาศาสตร์ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ (Academic Excellence) มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ (High Quality
Research Output) และสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด (High Impact) อีกทั้งยังมีความส�ำคัญและเป็นคุณประโยชน์
ต่อประเทศชาติ (Nationally Important) และเป็นทีป ่ ระจักษ์ในระดับสากล (Globally Visible) รวมถึงพิจารณาจากคุณสมบัติ
ส่วนบุคคลในด้านการอุทศ ิ ตนเพือ
่ งานด้านวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนือ ่ ง มีความประพฤติเป็นทีน ่ ่าเคารพนับถือและมีลก ั ษณะเป็นผู้น�ำ
ทางวิชาการ เหมาะสมทีจ่ ะได้รบ ั การยกย่องให้เป็น “นักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น” และ “นักวิทยาศาสตร์ร่น ุ ใหม่” ทีจ่ ะเป็นต้นแบบทีด่ งี าม
ของสังคมไทยและสังคมโลก

ในการสรรหานักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ประจ�ำปีพุทธศักราช 2562 นั้น คณะกรรมการฯ ได้เชิญ


ผู้ทรงคุณวุฒิให้เสนอชื่อนักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเกณฑ์การพิจารณา นอกจากนี้คณะกรรมการฯ ยังได้น�ำ
รายชื่อนักวิทยาศาสตร์ที่อยู่ในล�ำดับสูงของการพิจารณาในปีที่ผ่านมา เข้ามาร่วมพิจารณาด้วย โดยในปีนี้คณะกรรมการฯได้มี
มติเป็นเอกฉันท์ ยกย่อง ผศ.ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ประจ�ำส�ำนักวิชาวิทยาการพลังงาน (School of Energy Science and
Engineering) สถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) ผู้คิดค้นและพัฒนาวัสดุกราฟีนสู่นวัตกรรมอุปกรณ์กักเก็บพลังงานไฟฟ้า ได้รับ
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจ�ำปี 2562

ส�ำหรับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2562 มี 3 ท่านได้แก่


1. ผศ. ดร. เอกพันธ์ ไกรจักร อาจารย์ประจำ�ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผลงานวิจัย
“ความหลากหลายนิเวศวิทยาและวิวัฒนาการของไบรโอไฟต์และไลเคนส์”
2. ผศ. ดร. ภูวดล ธนะเกียรติไกร อาจารย์ประจำ�ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผลงานวิจัย “นวัตกรรมนิติพันธุศาสตร์ แก้ไขปัญหาความมั่นคง”
3. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา นักวิจัยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ผลงานวิจัย
“ตัวพาอนุภาคนาโน...เพื่อการนำ�ส่งยาในร่างกายอย่างแม่นยำ�”
กระผมขอขอบพระคุณ คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และผู้ร่วมงานทุกท่านที่ได้ช่วยให้การพิจารณารางวัล
นักวิทยาศาสตร์ดเี ด่นและรางวัลนักวิทยาศาสตร์ร่น ุ ใหม่ในปีนส
ี้ �ำเร็จลุล่วงด้วยดี และในนามของคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์
ดีเด่น ขอแสดงความชื่นชมยินดีต่อนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ประจ�ำปีพุทธศักราช 2562 โดยหวัง
เป็นอย่างยิง่ ว่า ผลงานและเกียรติประวัตอ
ิ น
ั ดีเด่นของทุกท่านจะช่วยเป็นแรงบันดาลใจให้ผ้เู กีย ่ วข้องทุกฝ่าย ตระหนักถึงความส�ำคัญ
ของวิทยาศาสตร์ และร่วมส่งเสริมให้วงการวิทยาศาสตร์ไทยมีความโดดเด่นและก้าวหน้าสืบไป

(ศาสตราจารย์ ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล)


ประธานคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
10 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

คำ�ประกาศเกียรติคุณ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาไฟฟ้าเคมี
ประจำ�ปีพุทธศักราช 2562

ด้วยคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ได้พิจารณาเห็นว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ เป็น


ผู้มีผลงานโดดเด่นในด้านไฟฟ้าเคมี โดยเป็นผู้ที่เล็งเห็นถึงความส�ำคัญและผลักดันให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในด้าน
อุปกรณ์เชิงไฟฟ้าเคมีหลากหลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์กักเก็บพลังงานไฟฟ้า เช่น ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมี
ยิง่ ยวด แบตเตอรี่ เป็นต้น อีกทัง้ ยังเป็นผู้บก
ุ เบิกในการน�ำวัสดุกราฟีนและวัสดุผสมของกราฟีนมาประยุกต์ใช้ในอุปกรณ์
ดังกล่าว และยังได้มุ่งมั่นสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพสูงระดับสากล เพื่อน�ำไปต่อยอดสร้างเทคโนโลยี
ของคนไทยที่ใช้งานได้จริงในอนาคต

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ และคณะ มุ่งเน้นสร้างสรรค์งานวิจัยคุณภาพสูงทางด้านวัสดุกราฟีน


มีผลงงานตีพม ิ พ์เกีย
่ วกับวัสดุดงั กล่าวกว่า 56 เรือ
่ ง จากข้อมูล ISI Web of Science ณ วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
ถือได้ว่าเป็นจ�ำนวนสูงสุดในบรรดานักวิจัยไทย มีการประยุกต์ใช้วัสดุกราฟีนในระดับห้องปฏิบัติการถึงระดับ
อุตสาหกรรม เช่น สารยับยั้งเชื้อรา อุปกรณ์ตรวจวัดเชิงไฟฟ้าเคมีและเชิงชีวภาพ สารเติมแต่งในพลาสติก ตัวเร่ง
ปฏิกิรยิ าเชิงไฟฟ้าเคมีส�ำหรับเซลล์เชือ ้ เพลิงและการผลิตแก๊สไฮโดรเจน และขัว้ ไฟฟ้าของอุปกรณ์กก ั เก็บพลังงานไฟฟ้า
หลากหลายชนิด อีกทั้งเป็นผู้ริเริ่มพัฒนาวัสดุกราฟีนแอโรเจลที่มีพื้นที่ผิวและรูพรุนจ�ำเพาะสูง ลดการซ้อนทับกันของ
แผ่นกราฟีน น�ำไปประยุกต์ใช้ในอุปกรณ์ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียิ่งยวด แบตเตอรี่ชนิดลิเทียม-ซัลเฟอร์ และอุปกรณ์
กักเก็บพลังงานแบบผสมที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นต้น

นอกจากนี้กลุ่มวิจัยของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ยังได้น�ำเสนอแนวคิดใหม่ในการรวมจุดเด่นของ


เซลล์แสงอาทิตย์และแบตเตอรี่เข้าด้วยกันเป็นอุปกรณ์แบบผสม โดยเรียกว่า Hybrid Energy Conversion and
Storage Cell (HECS) สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการประจุไฟฟ้าของอุปกรณ์กักเก็บพลังงานด้วยแสงอาทิตย์
โดยใช้วัสดุตัวเร่งปฏิกิริยาว่องไวแสงที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าและกักเก็บพลังงาน
ไว้ภายในวัสดุดังกล่าวเองเป็นขั้วไฟฟ้าเคมี โดยตลอดระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา กลุ่มวิจัยของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ HECS ชนิดใหม่ อาทิ ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียิ่งยวดว่องไวแสงของวัสดุ
กึ่งตัวน�ำโคบอลต์ไฮดรอกไซด์ และแบตเตอรี่ชนิดซิงค์-อากาศที่ว่องไวแสงของวัสดุโคบอลต์ออกไซด์ เป็นต้น

ส�ำหรับผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ มีผลงานตีพิมพ์ท้ังหมดจ�ำนวน


88 เรื่อง จากข้อมูล ISI Web of Science ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2562 โดยผลงานส่วนใหญ่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ เป็นนักเขียนผู้รับผิดชอบบทความ ผลงานเกือบทั้งหมดได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Quartile 1
โดยมากกว่า 12 เรื่องได้รับการตีพิมพ์ในวารสารกลุ่ม Nature Index ที่มีคุณภาพสูง และมีงานวิจัยจ�ำนวน
9 เรื่อง ที่ได้รับเชิญให้ตีพิมพ์ภาพประกอบบนหน้าปกของวารสาร
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 11

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจ สามารถแบ่งเวลา


ให้กบ ั ภาระหน้าทีท
่ ก
ุ ด้านได้เป็นอย่างดี เป็นผู้รเิ ริม
่ และผลักดันให้เกิดการก่อตัง้ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีกก ั เก็บ
พลังงาน (Centre of Excellence for Energy Storage Technology, CEST) ที่มีขีดความสามารถทางด้าน
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีกักเก็บพลังงานทัดเทียมนานาชาติ โดยได้รับการสนับสนุนหลักจากกระทรวงพลังงานและ
บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ได้สร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพตลอดระยะ
เวลาการท�ำงานกว่าสิบปีในประเทศไทย ได้สร้างสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมมากมาย โดยได้ยื่นจดสิทธิบัตรแล้วจ�ำนวน
53 เรื่อง จากผลงานอันเป็นที่ประจักษ์ท�ำให้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับ
ประเทศและระดับนานาชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ เป็น 1 ใน 40 ของผู้ได้รับการคัดเลือกให้เป็น
“Asian Rising Stars” และได้รับเชิญให้ไปน�ำเสนอผลงานวิจัยในงานประชุม The Asian Chemical Congress
ครั้งที่ 18 ณ ประเทศไต้หวัน และยังได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติระดับชาติมากมาย เช่น รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
ประจ�ำปีพุทธศักราช 2557 จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ รางวัล TRF-CHE-
Scopus Young Researcher Awards ประจ�ำปีพุทธศักราช 2557 จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.) ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส�ำนักพิมพ์ Elsevier รางวัล TRF-OHEC-Scopus
Researcher Award ประจ�ำปีพุทธศักราช 2561 รางวัลผลงานวิจัยและรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น จากส�ำนักงาน
คณะกรรมการวิจย ั แห่งชาติ ต่อเนือ
่ งตัง้ แต่ปีพท
ุ ธศักราช 2556 ถึง 2562 และรางวัลผลงานวิจย ั เด่น สกว. ด้านวิชาการ
ประจ�ำปีพุทธศักราช 2561 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ยังได้รับเชิญให้เป็นผู้ประเมินข้อเสนอทุนวิจัย
ของต่างประเทศและพิจารณาบทความวิจัยให้แก่วารสารชั้นน�ำระดับนานาชาติมากกว่า 25 วารสาร และได้รับเชิญ
ให้น�ำเสนอผลงานและบรรยายในงานประชุมวิชาการชั้นน�ำของวงการวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติหลายครั้ง

จากอดีตจนถึงปัจจุบัน กลุ่มวิจัยของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ได้มีการพัฒนางานวิจัยทางด้านวัสดุ


ขั้นสูงหลากหลายชนิดส�ำหรับใช้ในอุปกรณ์กักเก็บพลังงานไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง น�ำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม
มากมาย รวมไปถึงการก่อตัง้ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีกกั เก็บพลังงาน และโรงงานต้นแบบส�ำหรับผลิตอุปกรณ์
กักเก็บพลังงานของประเทศไทย ณ สถาบันวิทยสิริเมธี จังหวัดระยอง ซึ่งส่งผลให้ประเทศไทยมีขีดความสามารถ
ในการสร้างผู้เชี่ยวชาญ เช่น นักวิทยาศาสตร์และวิศวกร ด้านเทคโนโลยีกักเก็บพลังงานทัดเทียมอารยประเทศต่อไป

ด้วยเหตุที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยคุณวุฒแ


ิ ละคุณธรรม คณะกรรมการรางวัล
นักวิทยาศาสตร์ดเี ด่นจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ยกย่อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น
สาขาไฟฟ้าเคมี ประจ�ำปีพุทธศักราช 2562
12 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
ประจำ�ปี พ.ศ. 2562

ประวัติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ เกิดเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2523 เป็นบุตรคนที่สองในจ�ำนวนบุตร
สองคนของ นายบุญมี และ นางส�ำลี สว่างพฤกษ์ สมรสกับนางสาวนุชศรา สมัครคุณ มีบุตรสองคน คือ ด.ช. มนัสวิน
สว่างพฤกษ์ (นาโน) และ ด.ช. มนัสวัน สว่างพฤกษ์ (โนเบล)

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2546 วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาเคมี) (เกียรตินย
ิ ม) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
(ทุนมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์)
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาเคมีเชิงฟิสก
ิ ส์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2553 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สาขาเคมีเชิงฟิสก
ิ ส์และทฤษฎี) มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด
สหราชอาณาจักร

ประวัติการรับราชการและตำ�แหน่งทางวิชาการ
3 ก.ย. พ.ศ. 2553 - 17 เม.ย. พ.ศ. 2556 อาจารย์ ประจำ�ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
18 เม.ย. พ.ศ. 2556 - 21 มิ.ย. พ.ศ. 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำ�ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
22 มิ.ย. พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำ�สำ�นักวิชาวิทยาการพลังงาน
สถาบันวิทยสิริเมธี
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 13

ประสบการณ์การด้านการบริหารงานวิจัย
พ.ศ. 2553-ปัจจุบัน หัวหน้าโครงการวิจัยร่วมกับบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน หัวหน้าโครงการวิจัยร่วมกับสถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)
พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน หัวหน้าโครงการวิจัยร่วมกับบริษัท ปตท. สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)
พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน หัวหน้าโครงการวิจัยร่วมกับบริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)
พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีกักเก็บพลังงาน (Centre of
Excellence for Energy Storage Technology, CEST)
สนับสนุนโดยกระทรวงพลังงาน และ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

ประวัติการได้รับรางวัลและประกาศเกียรติคุณ
พ.ศ. 2542 ทุนมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ จากมูลนิธจิ ุมภฏ-พันธุ์ทพ
ิ ย์
พ.ศ. 2549 รางวัลมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร. แถบ นีละนิธิ จากมูลนิธศ
ิ าสตราจารย์ ดร. แถบ นีละนิธิ
พ.ศ. 2550-2553 Graduate Fellowship in Science and Medicine (One fellowship a year)
จาก St Catherine’s College, University of Oxford
พ.ศ. 2552 The Anglo-Thai Society Award for Educational Excellence in Science
& Medicine (an annual award in Science & Medicine for Thai students
in the UK) จาก The Anglo-Thai Society in the United Kingdom
14 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

พ.ศ. 2553 เกียรติบัตร The best oral presentation award จากสำ�นักงานคณะกรรมการการ


อุดมศึกษา (สกอ.)
พ.ศ. 2555 KU Research Star สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ นักวิจัยรุ่นเยาว์ผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัย
ตีพิมพ์ระดับนานาชาติจำ�นวนและคุณภาพสูงสุดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2556 เกียรติบัตรผลงานวิจัยดีเยี่ยมแบบโปสเตอร์จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
และสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
พ.ศ. 2556 รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น (รางวัลประกาศเกียรติคุณ) ด้านวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
เรื่อง “ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมีย่ิงยวดของวัสดุมหัศจรรย์ “กราฟีน”” จากสำ�นักงาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2557 รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น (ระดับดี) ด้านวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช เรื่อง “ผลิตภัณฑ์
แผ่นนาโนคาร์บอน “กราฟีน” สำ�หรับยับยั้งเชื้อราบนแผ่นยางพารา” จากสำ�นักงาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2557 รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ จากมูลนิธส
ิ ่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรม
ราชูปถัมภ์
พ.ศ. 2557 ศิษย์เก่าดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
พ.ศ. 2557 TRF-CHE-Scopus Young Researcher Award (Chemical & Pharmaceutical
Sciences including Chemical Engineering) จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.) สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสำ�นักพิมพ์ Elsevier
พ.ศ. 2557 บุคลากรดีเด่นสายวิชาการ ด้านวิจัยและนวัตกรรม (อายุน้อยกว่า 35 ปี) จากมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2558 ศิษย์เก่าดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2559 รางวัลผลงานวิจัย (รางวัลระดับดีมาก) เรื่อง “การเพิ่มประสิทธิภาพตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมี
ยิ่ ง ยวดของแท่ ง นาโนแมงกานี ส ไดออกไซด์ ด้ ว ยแผ่ น นาโนคาร์ บ อน” จากสำ�นั ก งาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 รางวัลผลงานประดิษฐ์คด
ิ ค้น (รางวัลระดับดี) เรือ
่ ง “ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวดแบบกระดุม
ของวัสดุกราฟีนแอโรเจลที่เจือด้วยไนโตรเจน” จากสำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 Open Innovation Award “Photoactive supercapacitors: A new charging
concept based on the photovoltaic effect” จากบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล
จำ�กัด (มหาชน)
พ.ศ. 2560 รางวัลผลงานวิจย ั (รางวัลระดับดีมาก) เรือ
่ ง “แนวคิดใหม่ของตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวด
ทีป
่ ระจุไฟฟ้าโดยอาศัยปรากฏการณ์โฟโตโวลตาอิก” จากสำ�นักงานคณะกรรมการวิจย ั แห่งชาติ
พ.ศ. 2561 รางวัลผลงานประดิษฐ์คด ิ ค้น (รางวัลระดับดีมาก) เรือ่ ง “ลิเทียมซัลเฟอร์แบตเตอรีพ
่ ลังงาน
สูงของวัสดุซล
ั เฟอร์ทถ
่ี ก
ู ห่อหุม
้ ด้วยวัสดุนาโนสองชัน
้ ” จากสำ�นักงานคณะกรรมการวิจย ั แห่งชาติ
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 15

พ.ศ. 2561 TRF-OHEC-Scopus Researcher Award สาขา Physical Science จาก


สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
และสำ�นักพิมพ์ Elsevier
พ.ศ. 2562 รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น (รางวัลระดับดี) เรื่อง “ อุปกรณ์กักเก็บพลังงานแบบไฮบริด
เก็บพลังงานสูงและประจุไฟฟ้าอย่างรวดเร็ว” จากสำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2562 ผลงานวิจย
ั เด่น สกว. ด้านวิชาการประจำ�ปี 2561 เรือ
่ ง “นวัตกรรมอุปกรณ์ กักเก็บพลังงาน
ไฟฟ้าเคมีจากวัสดุผสมกราฟีนแอโรเจล”

หน้าที่และกิจกรรมในองค์กรระดับประเทศ
พ.ศ. 2553-ปัจจุบัน ได้รับเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความเพื่อตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ เช่น
KKU Science Journal, Chiang Mai Journal of Science
พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน ได้รบ
ั เชิญเป็นผูท
้ รงคุณวุฒพ
ิ จิ ารณาบทคัดย่อและบทความจากการประชุมวิชาการ เช่น Nano
Thailand, PACCON, การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน ได้รบ
ั เชิญเป็นผูท
้ รงคุณวุฒพ
ิ จิ ารณาทุนวิจย
ั ภายในประเทศ เช่น สกว. สกอ. ทุนงบประมาณ
แผ่นดินตามมหาวิทยาลัยต่างๆ
พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน ภาคีสมาชิก บัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (บวท.)

หน้าที่และกิจกรรมในองค์กรระดับนานาชาติ
พ.ศ. 2553-ปัจจุบัน ได้รบ
ั เชิญเป็นผูท
้ รงคุณวุฒพ
ิ จิ ารณาบทความเพือ
่ ตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
เช่น Chemical Communications/ Analytical Chemistry/Chemical Society
Reviews/ Journal of the American Chemical Society/ Angewandte
Chemie International Edition/ Nano Letters/ The Journal of Physical
Chemistry Letters/ The Journal of Physical Chemistry C/ Advanced
Materials/ Advanced Energy Materials/ Advanced Functional Materials/
Nano Energy/ Carbon/ Journal of Materials Chemistry A/ Nature
Communications/Langmuir/ Chemical Engineering Journal/ Nanoscale/
Chemistry of Materials/ Green Chemistry/ Physical Chemistry Chemical
Physics/ Industrial & Engineering Chemistry/ ACS Sustainable Chemistry
& Engineering/ ACS Applied Materials & Interfaces/ Journal of the
Electrochemical Society/ Electrochimica Acta/ Journal of Power Sources/
International Journal of Hydrogen Energy
พ.ศ. 2556 Invited speaker การประชุมวิชาการนานาชาติ PACCON 2013, Chonburi, Thailand
พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน สมาชิกของสมาคม The American Chemical Society (ACS)
พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน สมาชิกของสมาคม The Electrochemical Society (ECS)
พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน ได้ รั บ เชิ ญ เป็ น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พิ จ ารณาโครงการวิ จั ย เพื่ อ ให้ ทุ น วิ จั ย แก่ นั ก วิ จั ย ของ
ประเทศโปแลนด์
16 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน สมาชิกของสมาคม the International Society of Electrochemistry (ISE)


พ.ศ. 2560 Invited speaker การประชุมวิชาการนานาชาติ The 1st Materials Research
Society of Thailand International Conference, Chiang Mai, Thailand
พ.ศ. 2561 Invited speaker การประชุมวิชาการนานาชาติ iCeMS Retreat, Kyoto University,
Japan
พ.ศ. 2562 Invited speaker การประชุมวิชาการนานาชาติ ASIAN Conference on X-ray
Absorption Spectroscopy 2019, Chiang Mai, Thailand
พ.ศ. 2562 Keynote speaker การประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ ASEAN Workshop on
Photoemission Electron Spectroscopy and Microscopy (AWPESM2019)
พ.ศ. 2562 Invited speaker การประชุมวิชาการนานาชาติ ISEECAP2019 international
meeting/Panel Discussion (160 key researchers in supercapacitor),
Nantes, France
พ.ศ. 2562 Invited speaker การประชุมวิชาการนานาชาติ PACCON 2019, Bangkok, Thailand
พ.ศ. 2562 Nominated as Invited Speaker การประชุมวิชาการนานาชาติ The 18th Asian
Chemical Congress เพื่อให้คำ�บรรยายใน the Commemorative Session on
“Asian Rising Stars”, Taiwan
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 17

CURRICULUM VITAE
ASSISTANT PROFESSOR
DR. MONTREE SAWANGPHRUK

DATE OF BIRTH 3 August 1980


PLACE OF BIRTH Mueang district, Roi Et province
MARITAL STATUS Married to Miss Nuchsara Samakkoon with two sons, Manassawin (Nano)
and Manassawon (Nobel)
EDUCATION
2003 B.Sc. (Chemistry) (Honours), Ubon Ratchathani University, Thailand
(Chumphot-Pantip Scholarship)
2006 M.Sc. (Physical Chemistry), Kasetsart University, Thailand
2010 D.Phil. (Physical & Theoretical Chemistry), University of Oxford,
United Kingdom

PROFESSIONAL EXPERIENCES
3 September 2010 - 17 April 2013 Lecturer, Department of Chemical Engineering,
Kasetsart University, Thailand
18 April 2013 - 21 June 2015 Assistant Professor, Department of Chemical
Engineering, Kasetsart University, Thailand
22 June 2015 - present Assistant Professor, School of Energy Science
and Engineering, Vidyasirimedhi Institute
of Science and Technology, Thailand

EXECUTIVE POSITIONS
2010-present Principal Investigator, IRPC Public Company Limited
2015-present Principal Investigator, PTT Innovation Institute (PTT InI)
2017-present Principal Investigator, PTT Exploration and Production (PTTEP)
2018-present Principal Investigator, Thai Oil Public Company Limited
2019-present Director of Centre of Excellence for Energy Storage Technology (CEST)
18 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

HONORS AND AWARDS


1999 Chumbhot-Pantip Foundation Award from Chumbhot-Pantip Foundation
2006 The Professor Dr. Tab Nilanidhi Foundation Award from Professor Dr.
Tab Nilanidhi Foundation
2007-2010 Graduate Fellowship in Science and Medicine (only one fellowship a
year) from St Catherine’s College, University of Oxford
2009 The Anglo-Thai Society Award for Educational Excellence in Science
& Medicine (An annual award in Science & Medicine for Thai students
in the UK) from The Anglo-Thai Society in the United Kingdom
2010 The best oral presentation award from the Office of the Higher Education
Commission (OHEC)
2012 KU Research Rising Star from Kasetsart University
2013 National Invention Award from National Research Council of Thailand
(NRCT) “Graphene-based Supercapacitor”
2014 National Invention Award from National Research Council of Thailand
(NRCT) “Antifungal Product of graphene for natural rubber sheets”
2014 National Young Scientist Award from the Foundation for the Promotion
of Science and Technology under the Patronage of His Majesty the King
2014 TRF-CHE-Scopus Young Research Award in Chemical & Pharmaceutical
Sciences (including Chemical Engineering)
2014 An Outstanding Lecturer in Research and Innovation from Kasetsart
University
2016 National Research Award from National Research Council of Thailand
(NRCT) “Turning conductive carbon nanospheres into nanosheets for
high-performance supercapacitors of MnO2 nanorods”
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 19

2017 National Invention Award from National Research Council of Thailand


(NRCT) “Coin-cell Supercapacitors of N-doped Graphene Aerogel”
2017 Open Innovation Award “Photoactive supercapacitors: A new charging
concept based on photovoltaic effect” from PTT Global Chemical
2017 National Research Award from National Research Council of Thailand
(NRCT) “A new concept of charging supercapacitors based on the
photovoltaic effect”
2018 National Invention Award from National Research Council of Thailand
(NRCT) “High-energy lithium-sulphur battery of sulphur core@carbon
double shell”
2018 TRF-OHEC-Scopus Research Award in Physical Science
2019 National Invention Award from National Research Council of Thailand
(NRCT) “Hybrid Energy Storage with High Energy and Fast Charging
Process”
2019 An outstanding academic research award from Thailand Research Fund

MEMBERSHIP/COMMITTEE MEMBER – THAILAND


2010-Present Invited Reviewer for National Journals e.g., KKU Science Journal, Chiang
Mai Journal of Science
2013-Present Invited Reviewer for National Conferences e.g., Nano Thailand, PACCON,
Congress on Science and Technology of Thailand (STT)
2015-Present Invited Reviewer for National Research Grants e.g., TRF-CHE, NRCT,
Thai Universities
2016-present Member Party of Thai Academy of Science and Technology (TAST)
20 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

MEMBERSHIP/COMMITTEE MEMBER – INTERNATIONAL


2010-present Reviewer for international journal including Chemical Communications/
Analytical Chemistry/Chemical Society Reviews/ Journal of the
American Chemical Society/ Angewandte Chemie International Edition/
Nano Letters/ The Journal of Physical Chemistry Letters/ The Journal
of Physical Chemistry C/ Advanced Materials/ Advanced Energy
Materials/ Advanced Functional Materials/ Nano Energy/ Carbon/
Journal of Materials Chemistry A/ Nature Communications/Langmuir/
Chemical Engineering Journal/ Nanoscale/ Chemistry of Materials/
Green Chemistry/ Physical Chemistry Chemical Physics/ Industrial &
Engineering Chemistry/ ACS Sustainable Chemistry & Engineering/
ACS Applied Materials & Interfaces/ Journal of the Electrochemical
Society/ Electrochimica Acta/ Journal of Power Sources/ International
Journal of Hydrogen Energy etc.
2013 Invited speaker at the PACCON 2013, Chonburi, Thailand
2015-present Section Member of the Electrochemical Society (ECS)
2015-present Member of the American Chemical Society (ACS)
2016-present Invited Reviewer for the international granting agency, National Science
Centre (Poland)
2017 Invited speaker at the 1st Materials Research Society of Thailand
International Conference, Chiang Mai, Thailand
2018-present Member of the International Society of Electrochemistry (ISE)
2018 Invited speaker at the iCeMS Retreat, Kyoto University, Japan
2019 Invited speaker at the ISEECAP2019 international meeting/Panel
Discussion (only 160 key researchers in supercapacitors), Nantes,
France
2019 Keynote speaker at the ASEAN Workshop on Photoemission Electron
Spectroscopy and Microscopy (AWPESM2019), Nakhon Ratchasima,
Thailand
2019 Invited speaker at the ASIAN Conference on X-ray Absorption
Spectroscopy 2019, Chiang Mai, Thailand
2019 Invited speaker at the PACCON 2019, Bangkok, Thailand
2019 Nominated as Invited Speaker of ACC to Deliver a Lecture in the
Commemorative Session on “Asian Rising Stars” at the 18th Asian
Chemical Congress, Taiwan
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 21

LIST OF PUBLICATIONS
ORIGINAL RESEARCH ARTICLES

1. Sawangphruk, M., & Foord, J. S. 2009. Fabrication of TiO2 and Ag wires and arrays using
opal polystyrene crystal templates. Journal of Vacuum Science & Technology B, 27(3),
1484-1488.
2. Jones, S., Tedsree, K., Sawangphruk, M., Foord, J. S., Fisher, J., Thompsett, D., & Tsang,
S. C. E. 2010. Promotion of direct methanol electro-oxidation by Ru terraces on Pt by
using a reversed spillover mechanism. ChemCatChem, 2(9), 1089-1095.
3. Sawangphruk, M., & Foord, J. S. 2010. Localized electrodeposition of praseodymium
oxide on boron-doped diamond. Diamond and Related Materials, 19(7-9), 885-888.
4. Sawangphruk, M., & Foord, J. S. 2010. Permselective properties of polystyrene opal
films at diamond electrode surfaces. Physical Chemistry Chemical Physics, 12(28),
7856-7864.
5. Sawangphruk, M., Sanguansak, Y., Suktha, P., & Klunbud, P. 2011. Facile synthesis of
highly dispersed silica-silver core-shell nanospheres for enzymeless hydrogen peroxide
detection. Electrochemical and Solid-State Letters, 15(1), F5-F7.
6. Sawangphruk, M., Srimuk, P., Chiochan, P., Sangsri, T., & Siwayaprahm, P. 2012. Synthesis
and antifungal activity of reduced graphene oxide nanosheets. Carbon, 50(14), 5156-
5161.
7. Sawangphruk, M., & Kaewsongpol, T. 2012. Direct electrodeposition and superior
pseudocapacitive property of ultrahigh porous silver-incorporated polyaniline films.
Materials Letters, 87, 142-145.
8. Sawangphruk, M., Pinitsoontorn, S., & Limtrakul, J. 2012. Surfactant-assisted
electrodeposition and improved electrochemical capacitance of silver-doped manganese
oxide pseudocapacitor electrodes. Journal of Solid State Electrochemistry, 16(8), 2623-
2629.
9. Sawangphruk, M., & Limtrakul, J. 2012. Effects of pore diameters on the pseudocapacitive
property of three-dimensionally ordered macroporous manganese oxide electrodes.
Materials Letters, 68, 230-233.
10. Sawangphruk, M., Srimuk, P., Chiochan, P., Krittayavathananon, A., Luanwuthi, S., &
Limtrakul, J. 2013. High-performance supercapacitor of manganese oxide/reduced
graphene oxide nanocomposite coated on flexible carbon fibre paper. Carbon, 60,
109-116.
11. Sawangphruk, M., Suksomboon, M., Kongsupornsak, K., Khuntilo, J., Srimuk, P., Sanguansak,
Y., Klunbud, P., Suktha, P., & Chiochan, P. 2013. High-performance supercapacitors
based on silver nanoparticle–polyaniline–graphene nanocomposites coated on flexible
carbon fibre paper. Journal of Materials Chemistry A, 1(34), 9630-9636.
22 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

12. Sawangphruk, M., Krittayavathananon, A., & Chinwipas, N. 2013. Ultraporous palladium
on flexible graphene-coated carbon fibre paper as high-performance electro-catalysts
for the electro-oxidation of ethanol. Journal of Materials Chemistry A, 1(4), 1030-1034.
13. Sawangphruk, M., Krittayavathananon, A., Chinwipas, N., Srimuk, P., Vatanatham, T.,
Limtrakul, S. & Foord, J.S. 2013. Ultraporous palladium supported on graphene-coated
carbon fiber paper as a highly active catalyst electrode for the oxidation of methanol.
Fuel Cells, 3(5), 881-888.
14. Suktha, P., Lekpet, K., Siwayaprahm, P., & Sawangphruk, M. 2013. Enhanced mechanical
properties and bactericidal activity of polypropylene nanocomposite with dual-function
silica–silver core-shell nanoparticles. Journal of Applied Polymer Science, 128(6), 4339-4345.
15. Krittayavathananon, A., Srimuk, P., Luanwuthi, S., & Sawangphruk, M. 2014. Palladium
nanoparticles decorated on reduced graphene oxide rotating disk electrodes toward
ultrasensitive hydrazine detection: effects of particle size and hydrodynamic diffusion.
Analytical Chemistry, 86(24), 12272-12278.
16. Sawangphruk, M., Sanguansak, Y., Krittayavathananon, A., Luanwuthi, S., Srimuk, P.,
Nilmoung, S., Maensiri, S., Meevasana, W., & Limtrakul, J. 2014. Silver nanodendrite
modified graphene rotating disk electrode for nonenzymatic hydrogen peroxide detection.
Carbon, 70, 287-294.
17. Sanguansak, Y., Srimuk, P., Krittayavathananon, A., Luanwuthi, S., Chinvipas, N., Chiochan,
P., Khuntilo, J., Klunbud, P., Mungcharoen, T., & Sawangphruk, M. 2014. Permselective
properties of graphene oxide and reduced graphene oxide electrodes. Carbon, 68,
662-669.
18. Suksomboon, M., Srimuk, P., Krittayavathananon, A., Luanwuthi, S., & Sawangphruk, M.
2014. Effect of alkaline electrolytes on the charge storage capacity and morphology of
porous layered double cobalt hydroxide-coated graphene supercapacitor electrodes.
RSC Advances, 4(100), 56876-56882.
19. Srimuk, P., Luanwuthi, S., Krittayavathananon, A., & Sawangphruk, M. 2015. Solid-type
supercapacitor of reduced graphene oxide-metal organic framework composite coated
on carbon fiber paper. Electrochimica Acta, 157, 69-77.
20. Suktha, P., Chiochan, P., Iamprasertkun, P., Wutthiprom, J., Phattharasupakun, N.,
Suksomboon, M., Kaewsongpol, T., Sirisinudomkit, P., Pettong, T. & Sawangphruk, M. 2015.
High-performance supercapacitor of functionalized carbon fibre paper with high surface
ionic and bulk electronic conductivity: effect of organic functional groups. Electrochimica
Acta, 176, 504-513.
21. Kaewsongpol, T., Sawangphruk, M., Chiochan, P., Suksomboon, M., Suktha, P., Srimuk, P.,
Krittayavathananon, A., Luanwuthi, S., Iamprasertkun, P. Wutthiprom, J., Phattharasupakun,
N., Sirisinudomkit, P., Pettong, T., & Limtrakul, J. 2015. High-performance supercapacitor
of electrodeposited porous 3D polyaniline nanorods on functionalized carbon fibre paper:
Effects of hydrophobic and hydrophilic surfaces of conductive carbon paper substrates.
Materials Today Communications, 4, 176-185.
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 23

22. Luanwuthi, S., Krittayavathananon, A., Srimuk, P., & Sawangphruk, M. 2015. In situ synthesis
of permselective zeolitic imidazolate framework-8/graphene oxide composites: rotating
disk electrode and Langmuir adsorption isotherm. RSC Advances, 5(58), 46617-46623.
23. Shepherd, C., Hadzifejzovic, E., Shkal, F., Jurkschat, K., Moghal, J., Parker, E. M., Sawangphruk, M.,
Slocombe, D. R., Foord, J. S., & Moloney, M. G. 2016. New routes to functionalized carbon
black for polypropylene nanocomposites. Langmuir, 32(21), 7917-7928.
24. Iamprasertkun, P., Krittayavathananon, A., & Sawangphruk, M. 2016. N-doped reduced
graphene oxide aerogel coated on carboxyl-modified carbon fibre paper for high-
performance ionic-liquid supercapacitors. Carbon, 102, 455-461.
25. Pettong, T., Iamprasertkun, P., Krittayavathananon, A., Sukha, P., Sirisinudomkit, P.,
Seubsai, A., Chareonpanich, M., Kongkachuichay, P., Limtrakul, J., & Sawangphruk, M.
2016. High-performance asymmetric supercapacitors of MnCo2O4 nanofibers and
N-doped reduced graphene oxide aerogel. ACS Applied Materials & Interfaces, 8(49),
34045-34053.
26. Iamprasertkun, P., Krittayavathananon, A., Seubsai, A., Chanlek, N., Kidkhunthod, P.,
Sangthong, W., Maensiri, S., Yimnirun, R., Nilmoung, S., Pannopard, P., Ittisanronnachai, S.,
Kongpatpanich, K., Limtrakul, J., & Sawangphruk, M. 2016. Charge storage mechanisms
of manganese oxide nanosheets and N-doped reduced graphene oxide aerogel for
high-performance asymmetric supercapacitors. Scientific Reports, 6, 37560.
27. Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Chiochan, P., Suktha, P., Suksomboon, M., Kalasina,
S., & Sawangphruk, M. 2016. Turning conductive carbon nanospheres into nanosheets
for high-performance supercapacitors of MnO2 nanorods. Chemical Communications,
52(12), 2585-2588.
28. Deerattrakul, V., Dittanet, P., Sawangphruk, M., & Kongkachuichay, P. 2016. CO2
hydrogenation to methanol using Cu-Zn catalyst supported on reduced graphene oxide
nanosheets. Journal of CO2 Utilization, 16, 104-113.
29. Krittayavathananon, A., Iamprasertkun, P., & Sawangphruk, M. 2016. Enhancing the charge-
storage performance of N-doped reduced graphene oxide aerogel supercapacitors by
adsorption of the cationic electrolytes with single-stand deoxyribonucleic acid. Carbon,
109, 314-320.
30. Krittayavathananon, A., & Sawangphruk, M. 2016. Electrocatalytic oxidation of ethylene
glycol on palladium coated on 3D reduced graphene oxide aerogel paper in alkali media:
effects of carbon supports and hydrodynamic diffusion. Electrochimica Acta, 212, 237-
246.
31. Tanggarnjanavalukul, C., Phattharasupakun, N., Kongpatpanich, K., & Sawangphruk, M.
2017. Charge storage performances and mechanisms of MnO2 nanospheres, nanorods,
nanotubes and nanosheets. Nanoscale, 9(36), 13630-13639.
24 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

32. Iamprasertkun, P., Tanggarnjanavalukul, C., Krittayavathananon, A., Khuntilo, J., Chanlek,
N., Kidkhunthod, P., & Sawangphruk, M. 2017. Insight into charge storage mechanisms of
layered MnO2 nanosheets for supercapacitor electrodes: in situ electrochemical X-ray
absorption spectroscopy. Electrochimica Acta, 249, 26-32.
33. Suktha, P., Phattharasupakun, N., Dittanet, P., & Sawangphruk, M. 2017. Charge storage
mechanisms of electrospun Mn3O4 nanofibres for high-performance supercapacitors.
RSC Advances, 7(16), 9958-9963.
34. Sirisinudomkit, P., Iamprasertkun, P., Krittayavathananon, A., Pettong, T., Dittanet, P., &
Sawangphruk, M. 2017. Hybrid energy storage of Ni (OH)2-coated N-doped graphene
aerogel//N-doped graphene aerogel for the replacement of NiCd and NiMH batteries.
Scientific Reports, 7(1), 1124.
35. Kalasina, S., Pattanasattayavong, P., Suksomboon, M., Phattharasupakun, N., Wutthiprom,
J., & Sawangphruk, M. 2017. A new concept of charging supercapacitors based on the
photovoltaic effect. Chemical Communications, 53(4), 709-712. (Cover)
36. Krittayavathananon, A., Pettong, T., Kidkhunthod, P., & Sawangphruk, M. 2017. Insight
into the charge storage mechanism and capacity retention fading of MnCo2O4 used
as supercapacitor electrodes. Electrochimica Acta, 258, 1008-1015.
37. Krittayavathananon, A., & Sawangphruk, M. 2017. Impedimetric sensor of ss-HSDNA/
reduced graphene oxide aerogel electrode toward aflatoxin B1 detection: effects of
redox mediator charges and hydrodynamic diffusion. Analytical Chemistry, 89(24),
13283-13289.
38. Kaewruang, S., Chiochan, P., Phattharasupakun, N., Suktha, P., Kongpatpanich, K., Maihom,
T., Limtrakul, J. & Sawangphruk, M. 2017. Strong adsorption of lithium polysulfides on
ethylenediamine-functionalized carbon fibre paper interlayer providing excellent capacity
retention of lithium-sulphur batteries. Carbon, 123, 492-501.
39. Sirisinudomkit, P., Iamprasertkun, P., Krittayavathananon, A., Pettong, T., Dittanet, P.,
Kidkhunthod, P., & Sawangphruk, M. 2017. Hybrid energy storage of battery-type nickel
hydroxide and supercapacitor-type graphene: redox additive and charge storage
mechanism. Sustainable Energy & Fuels, 1(2), 275-279.
40. Chiochan, P., Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Suksomboon, M., Kaewruang, S., Suktha,
P., & Sawangphruk, M. 2017. Core-double shell sulphur@ carbon black nanosphere@
oxidized carbon nanosheet composites as the cathode materials for Li-S batteries.
Electrochimica Acta, 237, 78-86.
41. Krittayavathananon, A., Ngamchuea, K., Li, X., Batchelor-McAuley, C., Kätelhön, E.,
Chaisiwamongkhol, K., Sawangphruk, M. & Compton, R. G. 2017. Improving single-carbon-
nanotube–electrode contacts using molecular electronics. The Journal of Physical
Chemistry Letters, 8(16), 3908-3911.
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 25

42. Chiochan, P., Kaewruang, S., Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Maihom, T., Limtrakul,
J., Nagarkar, S. S., Horike, S., & Sawangphruk, M. 2017. Chemical adsorption and physical
confinement of polysulfides with the Janus-faced interlayer for high-performance lithium-
sulphur batteries. Scientific Reports, 7(1), 17703.
43. Suksomboon, M., Khuntilo, J., Kalasina, S., Suktha, P., Limtrakul, J., & Sawangphruk, M.
2017. High-performance energy storage of Ag-doped Co(OH)2-coated graphene paper:
In situ electrochemical X-ray absorption spectroscopy. Electrochimica Acta, 252, 91-100.
44. Suktha, P., & Sawangphruk, M. 2017. Electrospinning of carbon–carbon fibre composites
for high-performance single coin-cell supercapacitors: effects of carbon additives and
electrolytes. Industrial & Engineering Chemistry Research, 56(36), 10078-10086.
45. Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Suktha, P., Iamprasertkun, P., Chanlek, N., Shepherd,
C., Hadzifejzovic, E., Moloney, M. G., Foord, J. S. & Sawangphruk, M. 2017. High-performance
supercapacitors of carboxylate-modified hollow carbon nanospheres coated on flexible
carbon fibre paper: Effects of oxygen-containing group contents, electrolytes and
operating temperature. Electrochimica Acta, 238, 64-73.
46. Bouson, S., Krittayavathananon, A., Phattharasupakun, N., Siwayaprahm, P., & Sawangphruk, M.
2017. Antifungal activity of water-stable copper-containing metal-organic frameworks.
Royal Society Open Science, 4(10), 170654.
47. Wutthiprom, J., Phattharasupakun, N., Khuntilo, J., Maihom, T., Limtrakul, J., & Sawangphruk, M.
2017. Collaborative design of Li–S batteries using 3D N-doped graphene aerogel as a
sulphur host and graphitic carbon nitride paper as an interlayer. Sustainable Energy &
Fuels, 1(8), 1759-1765.
48. Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Kaenket, S., Maihom, T., Limtrakul, J., Probst, M.,
Nagarkar, S. S., Horike, S., & Sawangphruk, M. 2017. A proton-hopping charge storage
mechanism of ionic one-dimensional coordination polymers for high-performance
supercapacitors. Chemical Communications, 53(86), 11786-11789.
49. Klunbud, P., Suktha, P., & Sawangphruk, M. 2017. Decoration of graphene oxide nanosheets
with amino silane-functionalized silica nanoparticles for enhancing thermal and mechanical
properties of polypropylene nanocomposites. Journal of Applied Polymer Science,
134(2), 44382. DOI: 10.1002/APP.44382.
50. Wutthiprom, J., Phattharasupakun, N., & Sawangphruk, M. 2017. Turning carbon black
to hollow carbon nanospheres for enhancing charge storage capacities of LiMn2O4,
LiCoO2, LiNiMnCoO2, and LiFePO4 lithium-ion batteries. ACS Omega, 2(7), 3730-3738.
51. Ma, N., Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Tanggarnjanavalukul, C., Wuanprakhon, P.,
Kidkhunthod, P., & Sawangphruk, M. 2018. High-performance hybrid supercapacitor of
mixed-valence manganese oxide/N-doped graphene aerogel nanoflower using an ionic
liquid with a redox additive as the electrolyte: in situ electrochemical X-ray absorption
spectroscopy. Electrochimica Acta, 271, 110-119.
26 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

52. Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Suktha, P., Ma, N., & Sawangphruk, M. 2018.
Enhancing the charge storage capacity of lithium-ion capacitors using nitrogen-doped
reduced graphene oxide aerogel as a negative electrode: a hydrodynamic rotating disk
electrode investigation. Journal of The Electrochemical Society, 165(3), A609-A617.
53. Tanggarnjanavalukul, C., Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Kidkhunthod, P., &
Sawangphruk, M. 2018. Charge storage mechanisms of birnessite-type MnO2 nanosheets
in Na2SO4 electrolytes with different pH values: In situ electrochemical X-ray absorption
spectroscopy investigation. Electrochimica Acta, 273, 17-25.
54. Krittayavathananon, A., Li, X., Sokolov, S. V., Batchelor-McAuley, C., Sawangphruk, M., &
Compton, R. G. 2018. The solution phase aggregation of graphene nanoplates. Applied
Materials Today, 10, 122-126.
55. Kalasina, S., Phattharasupakun, N., & Sawangphruk, M. 2018. A new energy conversion
and storage device of cobalt oxide nanosheets. Journal of Materials Chemistry A, 6(1),
36-40.
56. Wuamprakhon, P., Krittayavathananon, A., Ma, N., Phattharasupakun, N., Maihom, T.,
Limtrakul, J., & Sawangphruk, M. 2018. Layered manganese oxide nanosheets coated on
N-doped graphene aerogel for hydrazine detection: Reaction mechanism investigated
by in situ electrochemical X-ray absorption spectroscopy. Journal of Electroanalytical
Chemistry, 808, 124-132.
57. Maihom, T., Sawangphruk, M., Probst, M., & Limtrakul, J. 2018. A computational study
of the catalytic aerobic epoxidation of propylene over the coordinatively unsaturated
metal–organic framework Fe3(btc)2: formation of propylene oxide and competing
reactions. Physical Chemistry Chemical Physics, 20(9), 6726-6734.
58. Kosasang, S., Ma, N., Wuamprakhon, P., Phattharasupakun, N., Maihom, T., Limtrakul, J., &
Sawangphruk, M. 2018. Insight into the effect of intercalated alkaline cations of layered
manganese oxides on the oxygen reduction reaction and oxygen evolution reaction.
Chemical Communications, 54(62), 8575-8578. (Cover)
59. Sathyamoorthi, S., Phattharasupakun, N., & Sawangphruk, M. 2018. Environmentally benign
non-fluoro deep eutectic solvent and free-standing rice husk-derived bio-carbon based
high-temperature supercapacitors. Electrochimica Acta, 286, 148-157.
60. Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Ma, N., Suktha, P., & Sawangphruk, M. 2018. High-
performance supercapacitors of N-doped graphene aerogel and its nanocomposites
with manganese oxide and polyaniline. Journal of The Electrochemical Society, 165(7),
A1430-A1439.
61. Maihom, T., Kaewruang, S., Phattharasupakun, N., Chiochan, P., Limtrakul, J., & Sawangphruk, M.
2018. Lithium bond impact on lithium polysulfide adsorption with functionalized carbon
fibre paper interlayers for lithium–sulphur batteries. The Journal of Physical Chemistry
C, 122(13), 7033-7040.
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 27

62. Wutthiprom, J., Phattharasupakun, N., & Sawangphruk, M. 2018. Designing an interlayer of
reduced graphene oxide aerogel and nitrogen-rich graphitic carbon nitride by a layer-
by-layer coating for high-performance lithium sulphur batteries. Carbon, 139, 945-953.
63. Cao, M., Xue, Z., Niu, J., Qin, J., Sawangphruk, M., Zhang, X., & Liu, R. 2018. Facile
electrodeposition of Ni–Cu–P dendrite nanotube films with enhanced hydrogen evolution
reaction activity and durability. ACS Applied Materials & Interfaces, 10(41), 35224-35233.
64. Krittayavathananon, A., Li, X., Batchelor-McAuley, C., Sawangphruk, M., & Compton, R. G.
2018. Comparing the effect of different surfactants on the aggregation and electrical
contact properties of graphene nanoplatelets. Applied Materials Today, 12, 163-167.
65. Kalasina, S., Phattharasupakun, N., Suksomboon, M., Kongsawatvoragul, K., & Sawangphruk, M.
2018. Asymmetric hybrid energy conversion and storage cell of thin Co3O4 and N-doped
reduced graphene oxide aerogel films. Electrochimica Acta, 283, 1125-1133.
66. Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Ma, N., Chanlek, N., & Sawangphruk, M. 2018.
Sodium-ion diffusion and charge transfer kinetics of sodium-ion hybrid capacitors using
bio-derived hierarchical porous carbon. Electrochimica Acta, 286, 55-64.
67. Gatemala, H., Kosasang, S., & Sawangphruk, M. 2018. Bifunctional electrocatalytic CoNi-
doped manganese oxide produced from microdumbbell manganese carbonate towards
oxygen reduction and oxygen evolution reactions. Sustainable Energy & Fuels, 2(6),
1170-1177. (Cover)
68. Suktha, P., Phattharasupakun, N., & Sawangphruk, M. 2018. Transparent supercapacitors
of 2 nm ruthenium oxide nanoparticles decorated on a 3D nitrogen-doped graphene
aerogel. Sustainable Energy & Fuels, 2(8), 1799-1805.
69. Sarawutanukul, S., Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., & Sawangphruk, M. 2018.
Oxidative chemical vapour deposition of a graphene oxide carbocatalyst on 3D nickel
foam as a collaborative electrocatalyst towards the hydrogen evolution reaction in
acidic electrolyte. Sustainable Energy & Fuels, 2(6), 1305-1311.
70. Sarawutanukul, S., Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., & Sawangphruk, M. 2018.
Oxidative chemical vapour deposition of a graphene oxide carbocatalyst on 3D nickel
foam as a collaborative electrocatalyst towards the hydrogen evolution reaction in
acidic electrolyte. Sustainable Energy & Fuels, 2(6), 1305-1311.
71. Krittayavathananon, A., Li, X., Batchelor-McAuley, C., Sawangphruk, M., & Compton, R. G.
2018. Electrolyte-induced electrical disconnection between single graphene nanoplatelets
and an electrode. The Journal of Physical Chemistry Letters, 9(19), 5822-5826.
72. Li, C., Qin, J., Sawangphruk, M., Zhang, X., & Liu, R. 2018. Rational design and synthesis
of SiC/TiC@ SiOx/TiO2 porous core–shell nanostructure with excellent Li-ion storage
performance. Chemical Communications, 54(89), 12622-12625.
28 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

73. Nilmoung, S., Sonsupap, S., Sawangphruk, M., & Maensiri, S. 2018. Fabrication and
electrochemical properties of activated CNF/Cux Mn1- x Fe2O4 composite nanostructures.
Applied Physics A, 124(6), 427.
74. Kalasina, S., Phattharasupakun, N., Maihom, T., Promarak, V., Sudyoadsuk, T., Limtrakul,
J., & Sawangphruk, M. 2018. Novel Hybrid Energy Conversion and Storage Cell with
Photovoltaic and Supercapacitor Effects in Ionic Liquid Electrolyte. Scientific Reports,
8(1), 12192.
75. Ma, N., Kosasang, S., Krittayavathananon, A., Phattharasupakun, N., Sethuraman, S., &
Sawangphruk, M. 2019. Effect of intercalated alkali ions in layered manganese oxide
nanosheets as neutral electrochemical capacitors. Chemical Communications, 55(9),
1213-1216. (Cover)
76. Lee, J. S. M., Sarawutanukul, S., Sawangphruk, M., & Horike, S. 2019. Porous Fe–N–C
catalysts for rechargeable zinc–air batteries from an iron-imidazolate coordination
polymer. ACS Sustainable Chemistry & Engineering, 7(4), 4030-4036.
77. Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., Duangdangchote, S., & Sawangphruk, M. 2019. A
3D free-standing lithiophilic silver nanowire aerogel for lithium metal batteries without
lithium dendrites and volume expansion: in operando X-ray diffraction. Chemical
Communications, 55(40), 5689-5692. (Cover)
78. Kosasang, S., Ma, N., Phattharasupakun, N., & Sawangphruk, M. 2019. Lithium intercalated-
Layered manganese oxide and reduced graphene oxide composite as a bifunctional
electrocatalyst for ORR and OER. Journal of The Electrochemical Society, 166(8),
A1543-A1549.
79. Aphirakaramwong, C., Phattharasupakun, N., Suktha, P., Krittayavathananon, A., &
Sawangphruk, M. 2019. Lightweight multi-walled carbon nanotube/N-doped graphene aerogel
composite for high-performance lithium-ion capacitors. Journal of The Electrochemical
Society, 166(4), A532-A538.
80. Ma, N., Kosasang, S., Phattharasupakun, N., & Sawangphruk, M. 2019. Addition of redox
additive to ionic liquid electrolyte for high-performance electrochemical capacitors of
N-doped graphene aerogel. Journal of The Electrochemical Society, 166(4), A695-A703.
81. Sarawutanukul, S., Phattharasupakun, N., & Sawangphruk, M. 2019. 3D CVD graphene
oxide-coated Ni foam as carbo-and electro-catalyst towards hydrogen evolution reaction
in acidic solution: in situ electrochemical gas chromatography. Carbon, 151, 109-119.
(Cover)
82. Le Calvez, E., Sathyamoorthi, S., Phattharasupakun, N., Sarawutanukal, S., & Sawangphruk, M.
2019. High cell-potential and high-rate neutral aqueous supercapacitors using activated
biocarbon: In situ electrochemical gas chromatography. Electrochimica Acta, 313, 31-40.
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 29

83. Yang, C., Xue, Z., Qin, J., Sawangphruk, M., Rajendran, S., Zhang, X., & Liu, R. 2019. Visible-
light driven photocatalytic H2 generation and mechanism insights on Bi2O2CO3/G-C3N4
Z-scheme photocatalyst. The Journal of Physical Chemistry C. 123, 4795-4804.
84. Sathyamoorthi, S., & Sawangphruk, M. 2019. A simple and practical hybrid ionic liquid/
aqueous dual electrolyte configuration for safe and ion-exchange membrane-free high
cell potential supercapacitor. Electrochimica Acta, 305, 443-451.
85. Tomon, C., Sarawutanukul, S., Duangdangchote, S., Krittayavathananon, A., & Sawangphruk, M.
2019. Photoactive Zn–air batteries using spinel-type cobalt oxide as a bifunctional
photocatalyst at the air cathode. Chemical Communications, 55, 5855-5858. (Cover)
86. Kalasina, S., Ketsuda, K., Nutthaphon, P., & Sawangphruk, M. 2019. Thin-film photoelectrode
of p-type Ni-doped Co3O4 nanosheets for a single hybrid energy conversion and storage
cell. Journal of The Electrochemical Society, 12(4), A2444-A2452.
87. Selvamani, V., Phattharasupakun, N., Wutthiprom, J., & Sawangphruk, M. 2019. High-
performance spinel LiMn2O4@ carbon core-shell cathode materials for Li-ion batteries.
Sustainable Energy & Fuels. DOI: 10.1039/C9SE00274J. (Cover)
88. Li, C., Zhe, X., Jiaqian, Q. Sawangphruk, M., Saravanan, R., Xinyu, Z., & Riping, L. 2019.
SiCx/TiCx nanostructured material from Ti3SiC2 for high rate performance of lithium
storage. Chemistry Select, DOI: 10.1002/slct.201901318.

BOOK CHAPTER
1. Sawangphruk, M. “Chapter 6: Antibacterial and antifungal activities of graphene nanosheets”.
In : Graphene Science Handbook: Applications and Industrialization; Aliofkhazraei, M.,
Ali, N., Milne, W. I., Ozkan, C. S., Mitura, S., & Gervasoni, J. S. (Ed). Florida : CRC Press,
Taylor & Francis Group, LLC., 2016, pp. 71-79.

PATENTS
A total of 53 Thai patent applications have been filed.
30 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

THE
ACHIEVEMENTS OF
ASSISTANT PROFESSOR
DR. MONTREE SAWANGPHRUK

ADVANCED GRAPHENE NANOCOMPOSITES


FOR INNOVATIVE ENERGY STORAGES

Assistant Professor Dr. Montree Sawangphruk and his team


have been doing researches in graphene, nanomaterials and
nanocomposites for uses in many electrochemical energy
storages and sensors since 2010. Dr. Sawangphruk’s selected
research and achievements can be summarized as follows:

1. Electrochemical energy storages of graphene aerogel

Global warming, air pollution, and the shortage of fossil


fuels require society to move towards sustainable and
renewable energies with low carbon emission. Technologies
for generating electricity from renewable energy resources
such as sunlight and wind are on a steady trajectory of falling
cost. However, a big problem in this area is that there is no
high-performance electrical energy storage available to
store energy for use whenever needed. To overcome this
problem, high-efficiency energy storage devices such as
batteries and supercapacitors are needed. Unlike batteries,
supercapacitors can operate at high charge and discharge
rates over an almost unlimited number of cycles and enable
energy recovery in heavier-duty systems. Supercapacitors
have higher power density and longer life cycle, but lower
energy density as compared to batteries.
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 31

Dr. Sawangphruk and his team synthesized can introduce high porosity, high electrical
various advanced functional nanomaterials conductivity, and permselectivity. Whilst, tiny
including graphene aerogel, manganese oxide nanoparticles of manganese oxide (ca. 1.8 nm
nanoparticles/nanosheets, and metal-organic in diameter) can storage charges via their
frameworks as well as their composites for surface redox reactions. In addition, MOFs
uses in electrochemical energy storages. They can absorb and adsorb the electrolyte due
investigated the structural and morphological to its porous structure in nature reducing the
properties of the synthesized materials using diffusion path range. Overall, the composite
many spectroscopy and microscopy techniques. having many advanced functional properties is
They studied the charge storage mechanism suitable for high-performance energy storages.
of materials by using in situ and in operando The Sawangphruk group has also applied
techniques such as Electrochemical Quartz the concept of using composite materials to
Crystal Microbalance (EQCM), in situ X-ray different energy storage devices such as Li-
absorption spectroscopy (XAS), in situ Raman ion and Na-ion batteries, hybrid Li- and Na-ion
spectroscopy, and in operando X-ray diffraction capacitor, Li-S batteries, Li-air and Zn-air. In
(XRD) together with electrochemical methods. addition, they have produced different sizes
and shapes of batteries including coin, pouch,
The Sawangphruk group introduced many
composite materials to the research community
of energy storages. For example, the
composite of graphene aerogel, manganese
oxide and metal-organic framework (MOF) has
outstanding properties as compared with its
starting materials. This is because including
graphene aerogel with a very high specific
surface area of >1,300 m2/g, a very high specific
pore volume of > 7.0 cc/g to the composite
32 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

and cylindrical cells from the lab scale to


pilot scale in order that our country Thailand
will have our own technology.

2. New concept of charging energy storages


with light

Recently, supercapacitors and solar cells,


e.g. organic photovoltaics (OPVs) and
dye-sensitized solar cells (DSSCs), were
combined so that the supercapacitors
were charged using electricity generated
from the solar cells. These are known as
“photo-supercapacitors”. Both OPVs and
DSSCs act as charge generators while
the supercapacitors serve as a charge
collector in the photo-supercapacitors. In
this system, the active electrode materials
in the supercapacitors do not need to be
photoactive materials. As the supercapacitors
are limited in terms of specific energy, the
“photo-supercapacitors” are not yet practical
when compared to solar cell/battery systems.
The Sawangphruk group introduced a new
concept of charging supercapacitors under
light illumination using the photoactive
energy storage material cobalt hydroxide,
Co(OH)2, which has an energy band gap
of 2.85 eV. The material can be activated
by solar light and immediately storing the
energy itself. Thus, this system does not
need a solar cell as in the conventional
‘‘photo-supercapacitors”. Under blue light
illumination, the as-fabricated Co(OH)2
supercapacitors can generate a hole (h+) in
the valence band and an excited electron
(e-) in the conduction band of the Co(OH)2 via
the photovoltaic effect. The new concept of
charging photoactive supercapacitor materials
may lead to sustainable energy storage and
may further reduce global emissions (Chem.
Commun. 2017, 53, 709-712, Cover).
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 33

The Sawangphruk group has recently introduced


a photoactive Co3O4 nanostructured microrods
as a bifunctional photo-electrocatalyst
at the air cathode of zinc-air batteries
(ZAB). The photoenergy can enhance the
electrocatalyst activity by reducing the energy
barrier towards OER/ORR processes at the
cathode. The optical absorption of the Co3O4
electrode shows direct and indirect optical
bandgaps of ca. 2.20 eV and ca. 1.35 eV,
respectively, which cover the visible light
region (1.8-3.1 eV). Under visible light, the
specific capacity of the ZAB cell increases
ca. 8-10% as compared to those under dark
condition. This finding may lead to an ideal
energy conversion and storage device
for renewable energy applications (Chem.
Commun. 2019, 55, 5855-5858, Cover).

3. Lithium-sulphur batteries

Lithium-sulphur battery (LSB) is the remarkable


energy storage device due to its high theoretical
specific energy (2,567 Wh kg-1) and energy
density (2800 Wh L-1). The specific capacity
of the LSB is 3-5 times higher than that of
Li-ion batteries. Sulphur, specifically octa-
sulphur or octathiocane (S8) with α phase,
is a low-cost and abundant material in the
34 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

Earth’s crust. From its advantages, sulphur is group synthesized novel core-double shell
an attractive cathode material for the next- sulphur@carbon nanosphere@oxidized carbon
generation high energy batteries. However, the nanosheet composites as the cathode materials
commercial production of the LSB is hindered for the LSB. The first carbon nanosphere
by several drawbacks. At the sulphur cathode, shell can reduce the volume expansion of
sulphur (S8) and lithium sulphide (Li2S) have the sulphur during the charging process
low electrical conductivity. The LSB has low and enhance the electrical conductivity. The
capacity retention due to the large volume second oxidized carbon nanosheet shell can
expansion (~80% upon full lithiation to lithium accommodate the volume expansion of the
sulphide) according to the difference in the sulphur and decrease the “redox shuttle
density of S8 (2.03 g cm-3) and Li2S (1.66 g effect”. This newly designed core-double
cm-3), and dissolution of intermediate lithium shell sulphur@carbon nanosphere@oxidized
polysulphides into the electrolytes. At the lithium carbon nanosheet structure is expected to
anode, the drawbacks include polysulphide be used as a promising cathode of LSBs for
shuttle effect, non-uniform solid electrolyte practical applications (Electrochim. Acta.
interphase (SEI) leading to undesired side 2017, 237, 78-86). The Sawangphruk group
reactions, and dendrite growth of lithium has also introduced the interlayer to the LSBs
metal leading to a safety concern. The shuttle significantly enhancing their charge storage
effect is because the reduction of long-chain performances (Carbon 2018, 139, 945-953;
lithium polysulphides (Li2S4 to Li2S8) in the Carbon 2017, 123, 492-501, Sust. Energy
liquid phase dissolved in the electrolytes Fuels 2017, 1, 1759-1765, Cover).
at an open-circuit potential spontaneously
occurs on the Li anode surface forming the 4. Bifunctional catalysts for metal-air batteries
short-chain lithium polysulphides, which can be
The oxygen reduction reaction (ORR) and
re-oxidized at the sulphur cathode. The redox
the oxygen evolution reaction (OER) are two
shuttle reactions infinitely occur resulting in
key reactions for high-energy rechargeable
poor coulombic efficiency, poor cycle life, and
metal–air batteries (e.g., Zn–air and Li–air).
low utilization of active material. To reduce
However, the kinetics of the ORR and OER
the drawbacks of the LSB, the Sawangphruk
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 35

are rather sluggish. The Sawangphruk group


investigated the influence of the intercalated
cations in birnessites including Li–MnOx, Na–
MnOx, K–MnOx, Rb–MnOx, and Cs–MnOx on their
catalytic activities towards the ORR and OER.
The ORR and OER activities of these materials
were measured via linear sweep voltammetry
technique (LSV). The voltammograms show
that the catalytic activities of both reactions
are Li–MnOx > Na–MnOx > K–MnOx > Rb–MnOx >
Cs–MnOx. Additionally, the changes in oxidation
states of the Mn was also studied via in situ
Mn K-edge x-ray absorption spectroscopy (in
situ Mn K-edge XAS) which can observe more
positive and more negative of Mn oxidation
number during the OER and ORR process,
respectively. Interestingly, The first-principles
density functional theory calculations (DFT
calculations) clearly demonstrate OER and
ORR overpotentials which Li–MnOx, Na–MnOx,
K–MnOx, Rb–MnOx, and Cs–MnOx provide
OER overpotentials of 1.64, 1.70, 1.79, 1.83,
and 1.84 V, respectively as well as ORR
overpotentials of 0.71, 1.06, 1.13, 1.15, and
1.14 V vs. RHE, respectively, suggesting the
higher catalytic activities of the Li-MnOx as
compared to the others (Chem. Commun.
2018, 54, 8575 - 8578, Cover).
36 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

The Sawangphruk group has also synthesized when compared to other aflatoxins leading to
spinel-type cobalt oxide (Co3O4) and it has human liver cancer. AFB1 is widely infected
been used as a photoactive bifunctional in a wide range of agricultural and animal
electrocatalyst towards OER and ORR at products such as cereals, nuts, peanuts,
the air cathode of zinc-air battery (ZAB). The corn, fruits, and dried fruits during growth and
Co3O4 having the direct and indirect band storage. Hence, many countries have drawn
gap energies of ca. 2.20 eV and ca. 1.35 a regulation of the maximum level of AFB1
eV can absorb the visible light generating that can be contaminated in foodstuffs. The
photogenerated carriers and photoelectron via European Commission has set a maximum
the photoelectric effect. Under the exposure of value of AFB1 at 2 μg/kg. The U.S. Food and
visible light, the Co3O4 exhibits ca. 30% higher Drug Administration (FDA) has limited 20 μg/
current density than that under dark condition kg for all aflatoxins in the human food. Also,
and provides the lower overpotentials of OER the aflatoxins in an agricultural product are
and ORR around 10-20% as compared to controlled by ISO/IEC 17025.
those under the dark condition. Under visible
Dr. Sawangphruk and his team developed an
light, the improved specific capacity of the
impedimetric biosensor for determination and
as-fabricated photoactive ZAB cell is ca. 10%
quantification of an aflatoxin B1 (AFB1) level
as compared to that under dark condition
using a reduced graphene oxide aerogel
(Chem. Commun. 2019, 55, 5855-5858, Cover).
decorated with a single strand DNA (ss-HSDNA/
5. Electrochemical Sensor of single strand rGOae) modified on a rotating disk electrode
DNA/graphene aerogel composite towards (RDE). Owing to the large biomolecule biding
the detection of aflatoxin B1 on the electrode, an electron transfer is
interrupted and not easily accessible to a
Aflatoxin B1 (AFB1) is one type of aflatoxins target molecule. To address this issue, the
that is a group of highly toxic compounds Sawangphruk group aimed to study two effects;
produced by Aspergillus species. Among one considers electro-redox mediators and
more than 20 aflatoxin species, only four the other considers the hydrodynamic effect.
species (B1, B2, G1, and G2) have been By observing the electrochemical response
classified as human carcinogens. According to from three different charges of the redox
International Agency for Research on Cancer mediator in the solution phase, the current
(IARC) report, AFB1 is the most toxic agent respond magnitude of the ss-HSDNA/rGOae
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 37

electrode is significantly dominated by the ultra-high-temperature (UTH) milk (Anal. Chem.


charge of the redox probe for which neutral 2014, 86 (24), 12272-12278; Anal. Chem.
FcCH2OH provides higher current than cationic 2017, 89 (24), 13283–13289).
Ru(NH3)63+ and anionic Fe(CN)64-, respectively.
The cationic Ru(NH3)63+ and anionic Fe(CN)64- Acknowledgements
molecules are dominant with the electrostatic
Assistant Professor Dr. Montree Sawangphruk
force. In the case of neutral FcCH2OH, which
is grateful to every single student and member
is the best mediator in this work, aromatic
of his remarkable research team and his
cyclopentadienyl rings on its structure can
collaborators. He believes that when all work
interact with an aromatic group (i.e., benzene
together, share ideas and opinions openly with
rings on the graphene structure and aromatic
love and strong determination, great success
groups on the amino acid) via pi-pi interaction
will then follow. He sends his appreciation
and interact with cation molecules containing
to these wonderful people and wishes them
on DNA and rGO structures via cation/pi
tremendous success. The work could not
interaction. The hydrodynamic diffusion was
be possible without financial supports from
further considered using the electrochemical
The Thailand Research Fund (TRF), Kasetsart
impedance spectroscopy (EIS) method
University, Vidyasirimedhi Institute of Science
with the ss-HSDA/rGOae modified on the
and Technology (VISTEC), National Research
RDE in the PBS (pH 7.4) solution containing
Council of Thailand (NRCT), National Science
FcCH2OH and AFB1 molecules. By applying
and Technology Development Agency (NSTDA),
different rotating speeds, the charge transfer
Office of the Higher Education Commission
resistance was reduced as increasing rotating
(OHEC), Ministry of Energy, and many private
speeds resulting in the lower detectable
sectors. He is greatly indebted to the love,
level for AFB1 quantification as compared
supports, and understanding from his family,
with previous studies. In the case of 4000
friends, and colleagues.
rpm, the AFB1 can be detected with a limit of
detection of 0.04 ng/mL and a linear range of
1 × 10–10 to 7 × 10–8g/mL. In term of practical
application, the Sawangphruk group has
also demonstrated that the as-developed
method can be applied to detect aflatoxin in
38 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

งานวิจัยทางด้านวัสดุกราฟีน
วัสดุนาโน และวัสดุผสม
ระดับนาโนหลากหลายชนิด
สู่นวัตกรรมอุปกรณ์กักเก็บ
พลังงานไฟฟ้า
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์
งานวิจัยที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ทางเลือกมาใช้ในยานยนต์ไฟฟ้า ทำ�ให้เทคโนโลยีการผลิต
และคณะฯ ร่วมกันทำ�อย่างต่อเนื่องตลอด 10 ปีที่ผ่านมา ไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือก เช่น พลังงานแสงอาทิตย์และ
เกีย
่ วข้องกับวัสดุกราฟีน วัสดุนาโน และวัสดุผสมระดับนาโน พลังงานลม ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมีต้นทุน
หลากหลายชนิดสำ�หรับการประยุกต์ใช้งานด้านอุปกรณ์ ในการผลิตที่ต่ําลง อย่างไรก็ตามพลังงานทางเลือกยัง
กั ก เก็ บ พลั ง งาน และอุ ป กรณ์ ต รวจวั ด เชิ ง ไฟฟ้ า เคมี ประสบปัญหาในด้านความต่อเนื่องของการผลิตพลังงาน
งานวิจย ั และความสำ�เร็จของผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ไม่สามารถผลิตได้ในเวลากลางคืน
สว่างพฤกษ์ สามารถกล่าวโดยสรุปดังนี้ ซึ่ ง เป็ น ปั ญ หาสำ�คั ญ ในการใช้ ง านพลั ง งานทางเลื อ ก
เพือ ่ แก้ปญ ั หาดังกล่าว การใช้งานพลังงานทางเลือกจำ�เป็น
1. อุ ป กรณ์ กั ก เก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า ของวั ส ดุ ผ สมของ ต้องมีอุปกรณ์กักเก็บพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงและ
กราฟีนแอโรเจล มีความจุเพียงพอที่จะใช้งานได้ในระยะยาวควบคู่กัน
โดยอุปกรณ์กักเก็บพลังงานประสิทธิภาพสูงทีน ่ ย
ิ มใช้งาน
เนือ่ งจากปัญหาทางมลพิษทางอากาศ (โดยเฉพาะอย่างยิง่
ได้แก่ แบตเตอรี่และตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียิ่งยวด
ฝุ่นพิษ PM 2.5) ปัญหาโลกร้อน ปัญหาการเปลี่ยนแปลง
สภาพอากาศเฉียบพลัน และการขาดแคลนแหล่งพลังงาน กลุ่มวิจัยของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์
จากเชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล ทำ�ให้ ว งการวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ ได้ทำ�การสังเคราะห์วัสดุกราฟีนแอโรเจล นาโนแมงกานีส
อุตสาหกรรมหันไปให้ความสำ�คัญกับพลังงานหมุนเวียน ออกไซด์ โครงข่ายโลหะสารอินทรีย์ และวัสดุผสมชนิด
และพลังงานทางเลือกมากขึ้น อีกทั้งจากการส่งเสริมการ ใหม่จากวัสดุทั้งสามชนิดสำ�หรับใช้เป็นขั้วไฟฟ้าในตัว
ใช้ยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles; EVs) เพื่อลด เก็บประจุไฟฟ้าเคมีย่งิ ยวด ซึ่งวัสดุทั้งหมดที่สังเคราะห์ได้
การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก และฝุ่นพิษ PM 2.5 ออก ถูกนำ�มาวิเคราะห์และศึกษาสมบัติเชิงเคมีและกายภาพ
สู่สิ่งแวดล้อม โดยยานยนต์ไฟฟ้านั้นพึ่งพาพลังงานไฟฟ้า ด้ ว ยเทคนิ ค กล้ อ งจุ ล ทรรศน์ อิ เ ล็ ค ตรอน เทคนิ ค ทาง
เป็นหลัก จึงต้องการอุปกรณ์เก็บพลังงานประสิทธิภาพสูง สเปกโตรสโกรปี อีกทั้งยังศึกษากลไกการเก็บประจุฟ้า
ในประเทศที่พัฒนาแล้วนิยมนำ�ไฟฟ้าจากแหล่งพลังงาน เคมีของวัสดุดังกล่าวด้วยเทคนิคการตรวจวัดมวลสารที่
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 39

เปลี่ยนแปลงระดับไมโครขณะประจุและคายประจุไฟฟ้า
ด้วยผลึกควอตซ์ (Electrochemical Quartz Crystal
Microbalance, EQCM) และการเปลี่ยนแปลงเลข
ออกซิเดชันของธาตุแมงกานีสในวัสดุผสมด้วยเทคนิคการ
ดูดกลืนรังสีเอ็กซ์แบบอิน-ซิตู (In situ X-ray absorption
spectroscopy; XAS) เทคนิครามานสเปกโทรสโคปี
แบบอิน-ซิตู (In situ Raman spectroscopy) และ
เทคนิควิเคราะห์การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์แบบอิน-
โอโพเรนโด (In operando X-ray diffraction, XRD)
เป็นต้น

จากการวิจัยพบว่าวัสดุผสมของนาโนแมงกานีสออกไซด์
โครงข่ายโลหะ-สารอินทรีย์และกราฟีนแอโรเจล มีสมบัติ
ทีแ
่ ตกต่างไปจากวัสดุตงั้ ต้น เนือ ่ งจากการเพิม ่ วัสดุกราฟีน
แอโรเจล ที่มีพื้นที่ผิวจำ�เพาะสูงกว่า 1300 ตารางเมตร
ต่อกรัม และปริมาตรรูพรุนจำ�เพาะทีส ่ งู กว่า 7.0 ลูกบาศก์
เซนติเมตรต่อกรัม ลงในวัสดุผสมทำ�ให้วัสดุมีความเป็น
รูพรุนและการนำ�ไฟฟ้าสูงขึ้น มีสมบัติการเป็นเยื่อเลือก
ผ่านในสารละลายมาตรฐานที่มีประจุไฟฟ้าต่างกัน โดย
สมบัติดังกล่าวมีความสำ�คัญต่อการเก็บประจุไฟฟ้าใน
อิเล็กโตรไลต์ทม ี่ ป
ี ระจุไฟฟ้าแตกต่างกันไปด้วย นอกจากนี้
เมือ่ ทำ�การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเก็บประจุไฟฟ้า
พบว่า วัสดุผสมดังกล่าวให้ค่าการเก็บประจุสูงที่สุดเมื่อ
เทียบกับวัสดุตั้งต้น และงานวิจัยก่อนหน้าอื่นๆ เนื่องจาก
นาโนแมงกานีสออกไซด์ขนาดอนุภาคเล็กประมาณ 1.8
นาโนเมตร สามารถเก็บประจุไฟฟ้าแบบการแลกเปลี่ยน
อิเล็กตรอนผ่านปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีบนพื้นผิวของวัสดุได้ดี
มาก นอกจากนี้วัสดุกราฟีนแอโรเจลยังมีหมู่ฟังก์ชันของ
ไนโตรเจนในโครงสร้าง ซึ่งช่วยเพิ่มค่าการนำ�ไฟฟ้าและ
ค่าการนำ�ไอออนิก และหมูฟ ่ งั ก์ชน ั ดังกล่าวยังสามารถเก็บ
ประจุไฟฟ้าผ่านปฏิกิรย ิ ารีดอกซ์ได้อีกด้วย เมื่อรวมตัวกับ
โครงข่ายโลหะ-สารอินทรียซ ์ งึ่ มีรพู รุนจึงสามารถทำ�หน้าที่
ดูดซับ(ซึม)อิเล็กโทรไลต์ได้อย่างดี ซึง่ ส่งผลให้ความเข้นข้น
ของอิเล็กโทรไลต์บนขัว้ ไฟฟ้าสูง ลดระยะทางการแพร่ของ
อิเล็กโตรไลต์ขณะประจุและคายประจุไฟฟ้า

จากการค้นพบสมบัติและศึกษากลไกการเก็บประจุไฟฟ้า
เคมีของวัสดุผสมดังกล่าวทำ�ให้สามารถนำ�วัสดุดังกล่าว
มาประยุกต์ใช้งานในตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวด รวมถึง
เทคโนโลยีกกั เก็บพลังงานไฟฟ้าชนิดใหม่อน ื่ ๆ เช่น แบตเตอรี่
ชนิดลิเทียมและโซเดียมไอออน ตัวเก็บประจุแบบไฮบริด
ลิเทียมและโซเดียม แบตเตอรีช่ นิดลิเทียม-ซัลเฟอร์ แบตเตอรี่
ชนิดลิเทียม-แอร์ แบตเตอรีช่ นิดซิงค์-แอร์ และตัวเก็บประจุ
แบบไฮบริดลิเทียมและโซเดียม เป็นต้น นอกจากนั้น
40 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

ทีมวิจัยของ ดร. มนตรี ยังมุ่งเน้นศึกษาเชิงลึกเพื่อเข้าใจ


กลไกการเก็บพลังงานของวัสดุดว้ ยเทคนิคทางวิทยาศาสตร์
ที่หลากหลายชนิด และได้นำ�เสนอกลไกการเก็บพลังงาน
แบบใหม่ เข้าใจกลไกการเก็บพลังงานของวัสดุได้ถูกต้อง
และชัดเจนมากขึ้น เช่น กลไกการเก็บพลังงานของวัสดุ
แมงกานีสออกไซด์ เป็นต้น

จากความเข้าใจกลไกการเก็บพลังงานของวัสดุหลากหลาย
ชนิด ทำ�ให้กลุ่มวิจัยของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี
สว่างพฤกษ์ มีองค์ความรู้ที่สามารถเลือกวัสดุที่เหมาะสม
และดีที่สุดสำ�หรับอุปกรณ์เก็บพลังงานแต่ละชนิด และ
เพือ ่ สร้างนวัตกรรมด้านอุปกรณ์เก็บพลังงานไฟฟ้า โดยได้
มุง่ เน้นพัฒนากระบวนการผลิตตัวเก็บประจุฟา้ เคมียง่ิ ยวด
และแบตเตอรีช ่ นิดต่าง ๆ ทีพ
่ ร้อมใช้งานได้จริง โดยตลอด
สิบปีทผ ี่ า่ นมากลุม่ วิจย
ั ของผูช
้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี
สว่างพฤกษ์ ได้พฒ ั นาตัง้ แต่อปุ กรณ์กกั เก็บพลังงานไฟฟ้า
แบบถ่านกระดุม (Coin cell) จนถึงแบบกระเป๋า (Pouch
Cell) และแบบทรงกระบอก (Cylindrical Cell) ในระดับ
โรงงานต้นแบบ สร้างเทคโนโลยีอุปกรณ์กักเก็บพลังงาน
ของประเทศไทยทีส ่ ามารถใช้งานได้ในหลากหลายอุปกรณ์
ลดการนำ�เข้าจากต่างประเทศ สร้างความมั่นคง มั่งคั่ง
และยั่งยืนให้แก่ประเทศชาติในระยะยาว

2. แนวคิดใหม่ในการเพิม
่ ประสิทธิภาพการประจุไฟฟ้าของ
อุปกรณ์กักเก็บพลังงานด้วยแสงอาทิตย์

ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวดนับเป็นอุปกรณ์เก็บพลังงาน
ที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน โดยตัวเก็บประจุไฟฟ้า
เคมีย่งิ ยวดมักจะถูกใช้ควบคู่กับเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar
cells) เช่น เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสารประกอบอินทรีย์
(OPVs) และเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสียอ ้ มไวแสง (DSSCs)
ซึง่ ถูกประกอบเข้ากับตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวด อุปกรณ์
ดังกล่าวนี้ถูกเรียกว่า “ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมีย่ิงยวดที่
ประจุไฟฟ้าได้ด้วยแสง (Photo-supercapacitors)”
โดยเซลล์แสงอาทิตย์จะทำ�หน้าที่เป็นตัวสร้างประจุไฟฟ้า
ในขณะที่ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมีย่ิงยวดจะทำ�หน้าที่เป็น
ตัวกักเก็บประจุไฟฟ้าที่ได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งวัสดุ
ที่ใช้สำ�หรับทำ�ขั้วไฟฟ้าในตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียิ่งยวด
(Active electrode materials) ไม่จำ�เป็นทีจ่ ะต้องเป็น
วัสดุทสี่ ามารถถูกกระตุน
้ ด้วยแสงได้ เนือ
่ งจากอุปกรณ์กกั เก็บ
พลังงานชนิดดังกล่าวมีส่วนที่ทำ�หน้าที่สร้างประจุไฟฟ้า
จากแสง (เซลล์แสงอาทิตย์) และส่วนที่ทำ�หน้าที่กักเก็บ
ประจุไฟฟ้า (ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวด) แยกออกจากกัน
โดยตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมีย่งิ ยวดที่ประจุไฟฟ้าด้วยไฟฟ้า
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 41

ยั ง คงมี ข้ อ จำ�กั ด ที่ สำ�คั ญ คื อ มี ค่ า พลั ง งานจำ�เพาะตํ่ า


อีกทัง้ ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวดทีป ่ ระจุไฟฟ้าได้ดว้ ยแสง
ยังคงมีประสิทธิภาพด้อยกว่าเมือ ่ เปรียบเทียบกับอุปกรณ์
เก็บพลังงานชนิดเซลล์แสงอาทิตย์และแบตเตอรี่ กลุม ่ งาน
วิจัยของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ได้นำ�
เสนอแนวคิดใหม่ในการประจุไฟฟ้าด้วยแสงโดยใช้วส ั ดุกกั
เก็บพลังงานทีส ่ ามารถถูกกระตุน ้ ด้วยแสงได้ โดยการศึกษา
คุณสมบัตท ิ างแสงของวัสดุที่ใช้ทำ�วัสดุขั้วไฟฟ้าในตัวเก็บ
ประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวด ได้แก่ สารประกอบโคบอลต์ไฮดรอกไซด์
(Co(OH)2) ซึ่งมีช่องว่างระหว่างแถบพลังงานเท่ากับ
2.85 อิเล็กตรอนโวลต์ ส่งผลให้วัสดุดังกล่าวสามารถถูก
กระตุน ้ ให้ประจุไฟฟ้าได้ดว้ ยแสงอาทิตย์ในช่วงคลืน ่ ทีม ่ อง
เห็นได้ พร้อมกับกักเก็บพลังงานได้ด้วยตัวเองโดยไม่ต้อง
ใช้ควบคูก ่ บ
ั เซลล์แสงอาทิตย์ (Chem. Commun. 2017,
53, 709-712, Cover; J. Mater. Chem. A 2018,
6, 36-40) ซึ่งสามารถใช้ทดแทนตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมี
ยิ่งยวดที่สามารถประจุไฟฟ้าได้ด้วยแสงแบบเดิมได้ โดย
แนวคิดนีจ้ ะช่วยลดส่วนประกอบของตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมี
ยิ่งยวดที่สามารถประจุไฟฟ้าได้ด้วยแสงและลดขั้นตอน
ในกระบวนการเตรียมเซลล์แสงอาทิตย์ โดยสารประกอบ
โคบอลต์ไฮดรอกไซด์เป็นวัสดุทส ี่ ามารถถูกกระตุน ้ ด้วยแสง
และดูดกลืนแสงในช่วงแสงสีนำ�้ เงิน เมื่อวัสดุดังกล่าวอยู่
ภายใต้การกระตุน ้ ด้วยแสง สารประกอบโคบอลต์ไฮดรอกไซด์
ที่ใช้เป็นวัสดุกักเก็บพลังงานจะสามารถสร้างช่องว่างที่
เกิ ดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนที่ถูกกระตุ้นหรือ
โฮล (h+) และอิเล็กตรอนทีถ ่ ก
ู กระตุน ้ (e-) ผ่านปรากฏการณ์
โฟโตโวลตาอิก (Photovoltaic effect) แนวคิดใหม่ในการ
ประจุไฟฟ้าด้วยแสงสำ�หรับตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียง่ิ ยวดนี้
สามารถนำ�ไปสู่เทคโนโลยีการกักเก็บไฟฟ้ารูปแบบใหม่
และมี ศั ก ยภาพเพี ย งพอที่ จ ะใช้ ง านในด้ า นพลั ง งาน
ทางเลือกอย่างยั่งยืน ซึ่งมีส่วนอย่างมากในการช่วยลด
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อนต่อไปในอนาคต

นอกจากตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมีย่ิงยวด ดร. มนตรี และ


คณะได้ พั ฒ นาแบตเตอรี่ ช นิด ซิง ค์ - อากาศ ที่ ใ ช้ ส าร
กึ่งตัวนำ�จากวัสดุโคบอลต์ออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่
ว่องไวต่อแสง ซึง่ สามารถเพิม
่ ประสิทธิภาพการประจุไฟฟ้า
ของแบตเตอรี่ได้อย่างมีนัยสำ�คัญ (Chem. Commun.
2019, 55, 5855-5858, Cover, Nature Index)
42 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

3. แบตเตอรี่ชนิดลิเทียม-ซัลเฟอร์

กลุ่มวิจัยของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์


ได้ทำ�การวิจยั เกีย
่ วกับแบตเตอรีช่ นิดลิเทียม-ซัลเฟอร์อย่าง
ต่อเนื่องมายาวนาน โดยแบตเตอรี่ชนิดลิเทียม-ซัลเฟอร์
เป็นอุปกรณ์กักเก็บพลังงานที่โดดเด่นเนื่องจากมีค่าการ
เก็บพลังงานทางทฤษฎีสงู ถึง 2,567 วัตต์ชวั่ โมงต่อกิโลกรัม
หรือ 2800 วัตต์ชั่วโมงต่อลิตร ซึ่งสูงกว่าแบตเตอรี่ชนิด
ลิเทียมไอออนทีใ่ ช้กน ั อย่างแพร่หลายในปัจจุบน ั ประมาณ
3-5 เท่า วัสดุซัลเฟอร์ที่ใช้เป็นขั้วไฟฟ้าแคโทดอยู่ในรูป
ของออกตะซัลเฟอร์ (S8) ที่มีลักษณะเป็นวง โดยเป็นวัสดุ
ที่มีราคาถูกและมีอยู่ในปริมาณมาก ทำ�ให้แบตเตอรี่ชนิด
ลิเทียม-ซัลเฟอร์เหมาะแก่การศึกษาและพัฒนาเพื่อใช้
สำ�หรับเป็นอุปกรณ์กักเก็บพลังงานที่มีค่าความหนาแน่น
พลังงานสูงในระดับอุตสาหกรรมในอนาคต อย่างไรก็ตาม
แบตเตอรีช ่ นิดลิเทียม-ซัลเฟอร์ยงั คงมีปญ ั หาหลักทีจ่ ำ�กัด
การใช้งานจริงในหลากหลายอุปกรณ์ ได้แก่

1. วัสดุซล
ั เฟอร์ในแบตเตอรีช่ นิดลิเทียม-ซัลเฟอร์ จะเกิด
ปฏิกิริยากับลิเทียมไอออนในระหว่างกระบวนการ
คายประจุไฟฟ้าได้สารผลิตภัณฑ์เป็นสารลิเทียม
ไดซัลไฟด์ โดยวัสดุซล ั เฟอร์ตงั้ ต้นและสารผลิตภัณฑ์
มีความหนาแน่นทีต ่ า่ งกัน ส่งผลให้เกิดการขยายตัว
เชิงปริมาตรประมาณร้อยละ 80 ทำ�ให้ประสิทธิภาพ
ของแบตเตอรี่ชนิดนี้ลดลง
2. วัสดุซล
ั เฟอร์และลิเทียมไดซัลไฟด์เป็นวัสดุทม ี่ ค
ี วาม
สามารถในการนำ�ไฟฟ้าที่ตํ่ามาก ซึ่งทำ�ให้วัสดุ
ซัลเฟอร์ตั้งต้นที่ถูกใช้งานในการเกิดปฏิกิริยาน้อย
กว่าความเป็นจริง ทำ�ให้ค่าประสิทธิภาพที่ได้ของ รีดักชันได้เป็นสารมัธยันตร์ลิเทียมพอลิซัลไฟด์ที่
แบตเตอรี่ชนิดนี้น้อยกว่าค่าทางทฤษฎี นอกจากนี้ มีสายโซ่สั้นลง และสามารถเกิดปฏิกิริยาต่อเนื่อง
ยังเป็นการจำ�กัดการเพิม ่ ปริมาณวัสดุซล
ั เฟอร์ตงั้ ต้น กลายเป็นสารผลิตภัณฑ์ลิเทียมไดซัลไฟด์เกาะติด
ในขั้วไฟฟ้าแคโทดซึ่งส่งผลต่อค่าการเก็บและคาย บนพื้นผิวของโลหะลิเทียม ทำ�ให้อายุการใช้งาน
ประจุไฟฟ้าต่อเซลล์ของแบตเตอรี่ชนิดนี้อีกด้วย ของขั้วไฟฟ้าแอโนดสั้นลง นอกจากเกิดปฏิกิริยา
3. การเกิดปรากฏการณ์กระสวย (Shuttle Mechanism) ดังกล่าวแล้วแล้วสารมัธยันตร์ดังกล่าวยังสามารถ
เนือ
่ งมาจากสารมัธยันตร์ลเิ ทียมพอลิซล
ั ไฟด์สายโซ่ แพร่กลับไปที่ขั้วไฟฟ้าแคโทดเพื่อเกิดปฏิกิริยากับ
ยาวที่เกิดขึ้นระหว่างการคายประจุของแบตเตอรี่ ซั ล เฟอร์ และได้ เ ป็ น สารมั ธ ยั น ตร์ พ อลิ ซั ล ไฟด์
ชนิดลิเทียม-ซัลเฟอร์มค ี วามสามารถในการละลาย สายโซ่ยาวอีกครัง้ ทำ�ให้เกิดการสูญเสียวัสดุซล ั เฟอร์
ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ประเภทอีเทอร์ที่ดีมาก ตั้งต้นของขั้วแคโทด ส่งผลต่อความสามารถในการ
โดยเมื่อทำ�การคายประจุวัสดุซัลเฟอร์ตั้งต้นจะถูก เก็บพลังงานของแบตเตอรี่ชนิดลิเทียม-ซัลเฟอร์
รีดวิ ซ์เป็นซัลเฟอร์ไอออน ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิรย
ิ า นอกจากนี้ลิเทียมพอลิซัลไฟด์สายโซ่ยาวสามารถ
กับลิเทียมไอออนที่อยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ แพร่ ไ ปมาระหว่ า งขั้ ว ไฟฟ้ า แอโนดและแคโทด
ได้ง่าย ได้เป็นสารมัธยันตร์ลิเทียมพอลิซัลไฟด์สาย โดยแพร่ผา่ นแผ่นกัน้ แบตเตอรี่ ทำ�ให้แบตเตอรีช ่ นิด
โซ่ยาว ซึ่งสามารถแพร่ผ่านแผ่นกั้นไปยังขั้วไฟฟ้า ลิเทียม-ซัลเฟอร์สญู เสียประสิทธิภาพคูลอมบิกและ
แอโนดที่ทำ�มาจากโลหะลิเทียมและเกิดปฏิกิริยา
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 43

ความสามารถในการเก็บพลังงานในแต่ละรอบการ
เก็บและจ่ายพลังงาน
ด้วยเหตุนี้กลุ่มวิจัยของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี
สว่างพฤกษ์ จึงได้พัฒนาวัสดุซัลเฟอร์ที่ถูกห่อหุ้มด้วย
วัสดุนาโนคาร์บอนสองชั้นเป็นขั้วไฟฟ้าแคโทดเพื่อช่วย
ลดการขยายตัว ลดการเกิดปรากฏการณ์กระสวยและ
เพิ่มการนำ�ไฟฟ้าของวัสดุซัลเฟอร์ ประกอบกับการแก้ไข
ปัญหาดังกล่าวด้วยการเพิ่มกระดาษเส้นใยคาร์บอนที่
ผ่านการปรับปรุงพื้นผิวเป็นแผ่นกั้นกลาง (Interlayer)
ที่อยู่ระหว่างขั้วไฟฟ้าแคโทดและแผ่นกั้นพอลิเมอร์ของ
แบตเตอรี่ชนิดลิเทียม-ซัลเฟอร์จากการศึกษาและพัฒนา
พบว่าขั้วไฟฟ้าแคโทดจากวัสดุซัลเฟอร์ที่ถูกห่อหุ้มด้วย
วัสดุนาโนคาร์บอนสองชัน ้ และแผ่นกัน
้ กลางทีม
่ ห
ี มูฟ
่ งั ก์ชน

อินทรีย์ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของแบตเตอรี่ชนิด
ลิเทียม-ซัลเฟอร์ได้เป็นอย่างดี
44 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

4. ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าสองหน้ า ที่ สำ � หรั บ แบตเตอรี่ ช นิ ด


โลหะ-อากาศ

ปฏิกิริยารีดักชันและออกซิเดชันของแก๊สออกซิเจนเป็น
ปฏิ กิ ริ ย าที่ มี ค วามสำ�คั ญ อย่ า งมากในแบตเตอรี่ ช นิ ด
โลหะ-อากาศหรือโลหะ-ออกซิเจน (lithium-air หรือ
lithium-oxygen batteries) โดยแบตเตอรี่ชนิดนี้มี
ค่าการเก็บพลังงานทีส ่ งู กว่าแบตเตอรีช่ นิดลิเทียมไอออนที่
ใช้งานกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบน ั อย่างไรก็ตามปฏิกิรย ิ า
รีดักชันและออกซิเดชันของแก๊สออกซิเจนมีอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาที่ค่อนข้างช้า ทำ�ให้แบตเตอรี่ชนิดโลหะ-อากาศ
มีข้อจำ�กัดในการนำ�ไปใช้งานจริง ดังนั้นการศึกษาและ
พัฒนาตัวเร่งปฏิกิรยิ าของทัง้ สองปฏิกิรยิ าดังกล่าวจึงมีความ
สำ�คัญอย่างมาก โดยกลุม ่ งานวิจย
ั ของผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์
ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ได้ศึกษาอิทธิพลของไอออนโลหะ
อัลคาไลน์ทแ ี่ ทรกอยูร่ ะหว่างแผ่นนาโนแมงกานีสออกไซด์
ต่อความสามารถในการเร่งปฏิกิรย ิ ารีดก ั ชันและออกซิเดชัน
ของแก๊สออกซิเจน โดยไอออนโลหะอัลคาไลน์ที่ทำ�การ เทคนิค in situ X-ray absorption spectroscopy
ศึกษา ได้แก่ ลิเทียม โซเดียม โพแทสเซียม รูบิเดียมและ (in situ Mn K-edge XAS) ร่วมกับเทคนิคทางไฟฟ้า
ซีเซียม จากการทดลองด้วยกระบวนการทางไฟฟ้าเคมีพบว่า เคมีโครโนแอมเพอโรเมทรี (Chronoamperometry)
แนวโน้มของความสามารถในการเร่งปฏิกิริยารีดักชัน ซึ่งเป็นการให้ศักย์ไฟฟ้าคงที่ขณะทำ�การวัดค่า โดยพบว่า
และออกซิเดชันของแก๊สออกซิเจนเป็นดังนี้ วัสดุแมงกานีส เลขออกซิเดชันของแมงกานีสมีคา่ เป็นบวกเพิม ่ ขึน
้ เมือ
่ เกิด
ออกไซด์โครงสร้างแบบแผ่นนาโนทีม ่ ไี อออนโลหะอัลคาไลน์ ปฏิกิริยาออกซิเดชันและเป็นบวกลดลงเมื่อเกิดปฏิกิริยา
เป็นลิเทียมไอออน > โซเดียมไอออน > โพแทสเซียมไอออน > รีดกั ชันของแก๊สออกซิเจน นอกจากนีก
้ ารคำ�นวณทางทฤษฎี
รูบเิ ดียมไอออน > ซีเซียมไอออน และการเปลีย ่ นแปลงเลข Density Functional Theory (DFT) พบว่าศักย์ไฟฟ้า
ออกซิเดชันของแมงกานีสระหว่างการเกิดปฏิกิรย ิ ารีดก
ั ชัน ส่วนเกิน (Overpotential) ที่ต้องใช้ในการเกิดปฏิกิริยา
และออกซิเดชันของแก๊สออกซิเจนสามารถศึกษาได้ด้วย ออกซิเดชันของแก๊สออกซิเจนของวัสดุแมงกานีสออกไซด์
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 45

โครงสร้างแบบแผ่นนาโนโดยมีไอออนโลหะอัลคาไลน์ โกปี (Mass spectroscopy หรือ MS) เพื่อควบคุม


เป็นลิเทียม โซเดียม โพแทสเซียม รูบิเดียมและซีเซียม ปริมาณของอะฟลาทอกซิน บี 1 ตั้งแต่แหล่งที่มาจาก
มีค่าเท่ากับ 1.64 1.70 1.79 1.83 และ 1.84 โวลต์ตาม อุตสาหกรรมการเกษตรไปจนถึงบริษัทที่ผลิตผลิตภัณฑ์
ลำ�ดับ และศักย์ไฟฟ้าส่วนเกินทีต ่ อ
้ งใช้ในการเกิดปฏิกิรย
ิ า สำ�หรับบริโภค อย่างไรก็ตาม เทคนิคการวิเคราะห์เหล่านี้
รีดักชันของแก๊สออกซิเจนเท่ากับ 0.71 1.06 1.13 1.15 มีราคาแพง ใช้ระยะเวลานานในการวิเคราะห์และจำ�เป็น
และ 1.14 โวลต์ตามลำ�ดับ ซึง่ ผลจากการคำ�นวณทางทฤษฎี ต้องใช้ผเู้ ชีย่ วชาญในการวิเคราะห์ กลุม ่ งานวิจย ั ของผูช้ ว่ ย
สอดคล้องกับผลจากการทดลอง โดยแมงกานีสออกไซด์ ศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ได้นำ�เสนอ “เซนเซอร์
ทีม
่ ล
ี เิ ทียมไอออนแทรกในโครงสร้างมีความสามารถในการ ทางไฟฟ้าเคมี” สำ�หรับการหาปริมาณของอะฟลาทอกซิน
เร่งปฏิกิริยาสูงสุด โดยจากการศึกษาในเชิงลึกนี้สามารถ บี 1 ทีไ่ ด้ปรับปรุงความว่องไวในการตรวจวัด ทัง้ ยังใช้งาน
ต่อยอดและพัฒนาเพื่อนำ�ไปสู่การใช้งานจริงของตัวเร่ง ง่ายและสามารถพกพาได้สะดวก โดยขั้วไฟฟ้าที่ใช้จะถูก
ปฏิกิรย ิ าดังกล่าวในแบตเตอรีช่ นิดโลหะ-อากาศได้อก ี ด้วย ปรับปรุงพื้นผิวด้วยวัสดุกราฟีนแอโรเจลโครงสร้าง 3 มิติ
และดีเอ็นเอสายเดี่ยวที่มีความจำ�เพาะกับอะฟลาทอกซิน
5. เซนเซอร์ไฟฟ้าเคมีสำ�หรับตรวจวัดอะฟลาทอกซิน บี 1
บี 1 แต่เนือ ่ งจากดีเอ็นเอสายเดีย ่ วเป็นสารชีวโมเลกุลขนาด
สารพิษจากเชื้อราอย่างอะฟลาทอกซินที่เจือปนในอาหาร ใหญ่ที่ไม่นำ�ไฟฟ้า ซึ่งจะลดความสามารถในการถ่ายโอน
สามารถนำ�ไปสูป ่ ญ
ั หาด้านสุขภาพของผูบ ้ ริโภค โดยในกลุม่ อิเล็กตรอนไปยังโมเลกุลเป้าหมาย ทางกลุม ่ วิจยั ของผูช้ ว่ ย
ของสารพิษอะฟลาทอกซินทั้งหมดนั้น อะฟลาทอกซิน ศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์จึงตั้งเป้าหมาย
บี 1 นับเป็นชนิดทีม่ ค
ี วามเป็นพิษสูงและยังเป็นสารทีก
่ อ
่ ให้ ในการศึกษาเพือ ่ แก้ไขปัญหานี้ คือ การพิจารณาสารตัวกลาง
เกิดโรคมะเร็งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ฉะนั้นการตรวจวัด ในการเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เหมาะสมและพิจารณาผล
ปริมาณอะฟลาทอกซิน บี 1 ในอาหารจึงเป็นสิง่ จำ�เป็นอย่างยิง่ ทางอุทกพลศาสตร์ (Hydrodynamic effect) โดยค่า
ซึ่งในปัจจุบันมีการตรวจวัดปริมาณอะฟลาทอกซิน บี 1 สัญญาณทางไฟฟ้าเคมีจากเทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตทรี
หลากหลายวิธบ ี นพืน ้ ฐานของกระบวนการโครมาโตกราฟี (Cyclic voltammetry หรือ CV) ที่ได้จากขั้วไฟฟ้า
ของเหลวประสิทธิภาพสูง (High performance liquid ดีเอ็นเอสายเดีย ่ ว-กราฟีนแอโรเจลโครงสร้าง 3 มิติ ในสาร
chromatography หรือ HPLC) และแมสสเปกโทรส ตั ว กลางการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย ารี ด อกซ์ ที่ มี ป ระจุ เ ป็ น กลาง
46 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

เช่น เฟอร์โรซีน เมทานอล (Ferrocene methanol)


ประจุบวก เช่น เฮกซะแอมมีนรูทีเนียม (III) คลอไรด์
(Hexaammineruthenium (III) chloride) และประจุลบ
เช่น เฟอร์โรไซยาไนด์ (Ferrocyanide) ในสารละลาย
บัฟเฟอร์ฟอสเฟตที่มีอะฟลาทอกซิน บี 1 ที่อัตราการให้
ศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 50 มิลลิโวลต์ต่อนาที จะได้ค่ากระแส
ไฟฟ้าแอโนดิกเท่ากับ 825 615 และ 550 มิลลิแอมป์
ต่อตารางเซนติเมตรตามลำ�ดับ ซึง่ เป็นผลมาจากประจุของ
สารตัวกลางที่ใช้ ส่วนผลของการแพร่อุทกพลศาสตร์ของ
ขัว้ ไฟฟ้าแบบหมุนของวัสดุดเี อ็นเอสายเดีย ่ ว-กราฟีนแอโร
เจลโครงสร้าง 3 มิตท ิ ม
ี่ ต
ี อ
่ การตรวจวัดอะฟลาทอกซิน บี 1
ซึ่งใช้ เฟอร์โรซีน เมทานอลเป็นสารตัวกลางรีดอกซ์ จะใช้
ช่วงความเร็วในการหมุนขั้วไฟฟ้าตั้งแต่ 500 ถึง 4,000
รอบต่อนาที โดยการเพิ่มความเร็วในการหมุนขั้วไฟฟ้า
จะช่วยลดความต้านทานในการถ่ายโอนประจุ ส่งผลให้
สามารถตรวจวัดปริมาณอะฟลาทอกซิน บี 1 ทีค ่ วามเข้มข้น
ตํ่าลงได้ ซึ่งในกรณีที่ใช้ความเร็วในการหมุนขั้วไฟฟ้า
4,000 รอบต่อนาที จะสามารถตรวจวัดอะฟลาทอกซิน
บี 1 ได้ด้วยขีดจำ�กัดการตรวจวัดเท่ากับ 0.04 นาโนกรัม
ต่อมิลลิลิตร และมีช่วงความเป็นเส้นตรงตั้งแต่ 1x10-10
ถึง 7x10-8 กรัมต่อมิลลิลิตร
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 47

กิตติกรรมประกาศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ขอแสดงความขอบคุณอย่างสุดซึ้งต่อลูกศิษย์และสมาชิกห้องปฏิบัตก ิ ารทั้ง
รุน
่ ก่อนและรุน ่ ปัจจุบน
ั ทุกคน ในความทุม ่ เท อุทศิ กำ�ลังกายกำ�ลังใจและกำ�ลังสติปญ ั ญา ในการทำ�งานวิจย ั อย่างต่อเนือ่ ง
นับสิบปี ขอขอบคุณผูร้ ว่ มงานวิจย ั ทุกท่านทัง้ ในอดีตและปัจจุบนั และทัง้ ในและต่างประเทศ ทำ�ให้เกิดผลสัมฤทธิใ์ นงานวิจย ั
เป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณครูบาอาจารย์ทกุ ท่านโดยเฉพาะ ศาสตราจารย์ ดร. จำ�รัส ลิม ้ ตระกูล อาจารย์ทป ี่ รึกษาระดับปริญญาโท
อาจารย์พเี่ ลีย
้ งทุนนักวิจยั รุน
่ ใหม่ และอธิการบดีสถาบันวิทยสิรเิ มธีในปัจจุบน ั ทีใ่ ห้การสนับสนุนเรือ ่ งงานวิจย ั และเป็นแบบ
อย่างของนักวิจย ั มืออาชีพระดับสากล ขอขอบพระคุณแหล่งทุนวิจย ั ต่างๆ ทีเ่ คยได้รบั ทัง้ ในอดีตและปัจจุบน ั เช่น ทุนจาก
สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย ั (สกว.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันวิทยสิรเิ มธี สำ�นักงานคณะกรรมการวิจย ั
แห่งชาติ (วช.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(สกอ.) ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปโิ ตรเคมีและวัสดุ กองทุนเพือ ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานและสำ�นักงานนโยบายและ
แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน และทุนจากภาคอุตสาหกรรม ทีใ่ ห้การสนับสนุนอย่างต่อเนือ ่ งตลอดระยะเวลากว่าสิบปี และ
เชื่อมั่นในความทุ่มเทและความรับผิดชอบของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ขอขอบพระคุณกัลยาณมิตร
ครูบาอาจารย์ทงั้ ในและต่างประเทศทีไ่ ด้สงั่ สอนให้ความรู้ เพือ ่ นร่วมงานและผูบ ้ ริหารของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ
สถาบันวิทยสิริเมธีที่ให้การสนับสนุนในการทำ�งานวิจัย ท้ายที่สุดขอขอบคุณสมาชิกครอบครัว นายบุญมีและนางสำ�ลี
สว่างพฤกษ์ (บิดาและมารดา) นางสาวนุชศรา สมัครคุณ (ภรรยา) และบุตร 2 คน คือ ด.ช. มนัสวิน สว่างพฤกษ์ (นาโน)
และ ด.ช. มนัสวัน สว่างพฤกษ์ (โนเบล) สำ�หรับการสนับสนุนทุกเรือ ่ ง ความเข้าใจ และความรักทีอ ่ บอุน ่ ซึง่ เป็นแรงผลักดัน
ให้มีกำ�ลังใจในการทำ�งานวิจัยอย่างมีความสุขเสมอมา

รายชื่อผู้ร่วมงานในประเทศไทย
• สถาบันวิทยสิรเิ มธี : ศาสตราจารย์ ดร. วินชิ พรมอารักษ์ ดร. กนกวรรณ กองพัฒน์พาณิ ชย์ ดร. สรียา บุรแี ก้ว ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ
ดร. พิชญ พัฒนสัตยวงศ์
• มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : รองศาสตราจารย์ ดร. ธำ�รงรัตน์ มุง่ เจริญ รองศาสตราจารย์ ดร. สุนน
ั ท์ ลิม
้ ตระกูล ศาสตราจารย์
ดร. เมตตา เจริญพานิช รองศาสตราจารย์ ดร. ไพศาล คงคาฉุยฉาย รองศาสตราจารย์ ดร. เทอดไทย วัฒนธรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภีรพรรณ ดิษฐเนตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนุสรณ์ สืบสาย ดร. ธนา ไม้หอม ดร. พัชราภรณ์
ศิวายพราหมณ์
• มหาวิทยาลัยขอนแก่น : รองศาสตราจารย์ ดร. สุปรีดิ์ พินิจสุนทร
• มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี : ศาสตราจารย์ ดร. สันติ แม้นสิริ รองศาสตราจารย์ ดร. วรวัฒน์ มีวาสนา
• จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : Dr. Jiaqian Qin
• สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณิน เนื่องโนราช
• สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) : ดร. พินิจ กิจขุนทด ดร. ณรงค์ จันทร์เล็ก

รายชื่อผู้ร่วมงานในต่างประเทศ
• อังกฤษ : Professor Dr. Richard G. Compton (University of Oxford) Professor Dr. John S. Foord
(University of Oxford) Professor Dr. Mark Molony (University of Oxford)
• สหรัฐอเมริกา : Professor Dr. Arumugam Mantilum (University of Texas at Austin)
• ญี่ปุ่น : Professor Dr. Satoshi Horike (Kyoto University)
• ฝรั่งเศส : Professor Dr. Thierry Bruce (University of Nantes)
• เยอรมนี : Professor Dr. Volker Presser (Saarland University)
48 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

ASSISTANT
PROFESSOR
DR. EKAPHAN
KRAICHAK
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. เอกพันธ์ ไกรจักร์

นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
ประจำ�ปี พ.ศ. 2562
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เอกพันธ์ ไกรจักร์ เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.
2527 ที่จังหวัดสมุทรปราการ เป็นบุตรคนเดียวของ นายสมภพ และ
นางอรชร ไกรจักร์ สำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจาก
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร ซึง่ เป็นสถานทีเ่ ริม่ ต้นในการวิจย

ด้านความหลากหลายทางชีวภาพอย่างจริงจัง โดยเข้าร่วมโครงการพัฒนา
อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีส�ำ หรับเด็กและเยาวชน (JSTP)
เพือ่ ทำ�งานโครงการวิจย
ั เกีย
่ วกับป่าชายเลนใน จังหวัดสมุทรปราการ ภายใต้
การควบคุมของ ศาสตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เมื่อสำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รับคัดเลือกให้ไป
ศึกษาต่อสาขา Life Science ด้วยทุนไทยพัฒน์ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา
สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิชาเอกชีววิทยา (Honors) เกียรตินย ิ ม
Magna Cum Laude และวิชาโทศึกษาศาสตร์จาก Bowdoin College
ในปี พ.ศ. 2551 ระหว่างทีศ ่ ก
ึ ษาในระดับปริญญาตรี ได้รบ
ั รางวัล Kimball
Prize for the most outstanding student in natural science
หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอก สาขาชีววิทยาเชิงบูรณาการ
(Integrative Biology) ณ University of California, Berkeley
ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีหัวข้อวิทยานิพนธ์เรื่อง “ลักษณะการปรับตัว
และการก่อร่างชุมชีพของไบรโอไฟต์องิ อาศัยบนใบไม้” ภายใต้การควบคุม
ของ Professor Dr. Brent Mishler ระหว่างการศึกษาระดับปริญญา
ดร. เอกพันธ์ ได้รบั รางวัล Outstanding Graduate Student Instructor
และได้รบ ั ทุนวิจย
ั เพือ
่ ทำ�การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาชีววิทยา
ภาคสนามและการสอนวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 49

เมื่อสำ�เร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ในปี พ.ศ. 2556


ได้เข้าทำ�งานในฐานะ Postdoctoral Scientist ที่ Field
Museum of Natural History ณ เมือง Chicago ประเทศ
สหรัฐอเมริกา โดยรับผิดชอบงานวิจัยด้านความหลากหลาย
และวิวัฒนาการของไลเคนส์วงศ์ Graphidaceae ภายใต้
การควบคุมของ Dr. H. Thorsten Lumbsch และเป็น
อาจารย์พิเศษในสาขาสิ่งแวดล้อมศึกษา ที่ Lake Forest
College รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อนจะ
เดินทางกลับประเทศไทย เพื่อเข้าบรรจุเป็นอาจารย์ประจำ�
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2558 และได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รง
ตำ�แหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2560 ดร.เอกพันธ์
ได้รับทุนส่งเสริมศักยภาพในการทำ�งานวิจัยของอาจารย์รุ่น
ใหม่ของ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในปี
พ.ศ. 2559 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. กัณฑรีย์ บุญประกอบ
และ Dr. H. Thorsten Lumbsch เป็นนักวิจัยพี่เลี้ยง
นอกจากนี้ยังได้รับทุนวิจัยอื่นๆ จากทางหน่วยงานทั้งไทย
และต่างประเทศ เช่น สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
(วช.) ฝ่ายอุตสาหกรรมของ สกว. และ Smithsonian
Tropical Research Institute ประเทศสหรัฐอเมริกา

ผลงานวิจย
ั ทีผ
่ า่ นมาจนถึงปัจจุบน
ั ของ ดร. เอกพันธ์ เกีย
่ วข้อง
กับการใช้ข้อมูลที่หลากหลายในการศึกษาเกี่ยวกับความ
หลากหลาย นิเวศวิทยา และ วิวฒ ั นาการของไบรโอไฟต์และ
ไลเคนส์ โดยงานวิจัยหลักเน้นไปที่การประยุกต์ใช้วิธีการ
ทางนิเวศวิทยาและวัฒนาการชาติพันธุ์ (phylogenetics)
50 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

เพื่อศึกษาที่มาและรูปแบบของความหลากหลายของพืช
ผ่านการสำ�รวจเก็บข้อมูลภาคสนาม และการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ผลที่ได้จากการศึกษานำ�ไปสู่การค้นพบชนิด
และสกุลใหม่ของไลเคนส์ วิธก ี ารทางสถิตทิ นี่ �ำ มาใช้การระบุ
ชนิดและสร้างระบบจัดจำ�แนกทางอนุกรมวิธานที่สามารถ
ตรวจสอบได้ชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากหัวข้อวิจัยหลักแล้ว
ดร. เอกพันธ์ ยังมีความร่วมมือทางการวิจย ั กับสถาบันทัง้ ใน
และต่างประเทศ เป็นส่วนหนึง่ ของเครือข่ายนักวิจยั นิเวศวิทยา
ในการศึกษาพลวัติและการรักษาระดับความหลากหลาย
ในป่าเขตร้อน และเป็นที่ปรึกษาให้กับหลายหน่วยวิจัยด้าน
การใช้สถิติในชีววิทยา และการสอนชีววิทยา

ปัจจุบัน ดร. เอกพันธ์ มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ


นานาชาติจ�ำ นวน 32 เรือ่ งโดยเป็นผูว้ จิ ยั หลัก (corresponding
author) จำ�นวน 14 เรือ ่ ง ในวารสารด้านความหลากหลาย
ทางชีววิทยา นิเวศวิทยา และวิวฒ ั นาการ รวมถึงทำ�หน้าทีเ่ ป็น
ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการของวารสารระดับนานาชาติ MycoKeys
และผู้ทรงคุณวุฒิตรวจบทความของวารสารระดับชาติและ
นานาชาติจ�ำ นวน 18 วารสาร นอกจากนี้ ดร. เอกพันธ์ ยังได้
รับการแต่งตัง้ ให้เป็นนักวิจยั ร่วม (Researcher Associate)
ของ Field Museum of Natural History Museum
และได้รับรางวัลผลงานตีพิมพ์ยอดเยี่ยม ในปีพ.ศ. 2561
และ อาจารย์ดีเด่นด้านการเรียนการสอน ปี พ.ศ. 2562
จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 51

ผลความสำ�เร็จที่เกิดขึ้นกับ ดร. เอกพันธ์ ในวันนี้เป็นผล


สืบเนื่องมาจากการดูแลและโอกาสที่ครอบครัวให้อิสระ
ในการเลือกในสิง่ ทีต ่ นเองสนใจมาตัง้ แต่เด็ก ครูบาอาจารย์
ทุกท่านทีเ่ ป็นต้นแบบทัง้ ในฐานวิชาชีพครูและนักวิทยาศาสตร์
ที่ยึดนำ�เอาความชื่นชอบและหลงไหลในธรรมชาติและ
วิทยาศาสตร์เป็นตัวตัง้ ในการทำ�งานก่อนสิง่ อืน
่ ใด โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ Professor Dr. Nathaniel Wheelwright และ
Dr. H. Thorsten Lumbsch ที่เป็นแบบอย่างที่ดีย่ิง
ในการดำ�รงชีวิตและการเป็นนักวิทยาศาสตร์ ความสำ�เร็จ
ในวันนี้และในวันข้างหน้าต่อไป จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย หาก
ขาดการสนับสนุนจากคณาจารย์ บุคลากร และนิสิตของ
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ และ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ ที่ทำ�ให้ทุก ๆ วัน ของการเป็นอาจารย์และ
นักวิจัยเป็นวันที่มีคุณค่าเสมอมา
52 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

ASSISTANT PROFESSOR
DR. EKAPHAN KRAICHAK

Assistant Professor Dr. Ekaphan Kraichak was


born on December 24, 1984 in Samut Prakan
Province, an only child to Mr. Somphobe
and Mrs. Orachorn Kraichak. He received
his high school diploma from Triam Udom
Suksa School, where he started to pursue
his interests in biodiversity. Here he joined
the Junior Science Talent Project (JSTP) to
conduct a research on mangrove forest in
Samut Prakan Province under the supervision
of Professor Dr. Sanit Aksornkeaw, Kasetsart
University.

After high school, he earned a scholarship


from the Royal Thai Government to study Life
Science in the U.S. In 2008, he graduated
with Magna Cum Laude from Bowdoin College,
Maine, USA, with a major in Biology (honors)
and a minor in Education Studies. During his
undergraduate career, he was awarded with
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 53

Kimball Prize for the most outstanding student


in natural science. After that, he pursued
his Ph.D. in Integrative Biology at University
of California, Berkeley with his dissertation,
entitled, “Adaptive Traits and Community
Assembly of Epiphyllous Bryophytes” under
the supervision of Dr. Brent Mishler. During this
time, he received the Outstanding Graduate
Student Instructor Award and grants for
developing a curriculum for field biology and
biology outreach for high school students.

Upon finishing his Ph.D. in 2013, Dr. Kraichak


joined the Field Museum of Natural History
in Chicago as a postdoctoral scientist to
work on diversity and evolution of lichens in
family Graphidaceae under supervision of Dr.
H. Thorsten Lumbsch, and also served as an
adjunct instructor for environmental studies at
Lake Forest College, IL. In 2015, he returned
to Thailand to accept the lecturer position at
the Department of Botany, Faculty of Science,
Kasetsart University and was promoted to
the rank of Assistant Professor in 2017. He
received The Grant for New Researchers
from The Thailand Research Fund (TRF) with
Associate Professor Dr. Kansri Boonpragob and
Dr. H. Thorsten Lumbsch as his mentors. He
also received funding from various agencies,
including the National Research Council of
Thailand (NRCT), Industry Division of TRF,
and Smithsonian Tropical Research Institute.

Dr. Kraichak’s current research revolves


around using diverse sources of data to
study diversity, ecology, and evolution of
bryophytes and lichens with an emphasis
in using ecological and phylogenetic
54 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

techniques to study the origin and patterns


of plant diversity through field collection
and computer programming. The results of
his research have led to the discoveries of
a new species and new genera of lichens,
and statistical methods for reproducible
systematics studies. Outside his main research
area, Dr. Kraichak maintains various domestic
and international collaborations. He is a part
of a global network to study dynamics and
diversity of tropical forests and serves as
a consultant for statistics in biology and
biology teaching.

To this day, Dr. Kraichak published a total


of 32 articles, in 14 of which he was the
corresponding author, in international journals
in the field of biodiversity, ecology, and
evolution. He also serves as a subject editor
for MycoKeys, an international journal, as well
as a reviewer for 18 national and international
journals. He is now a Research Associate at
the Field Museum of Natural History Museum
and a recipient of Outstanding Publication
Award and Outstanding Lecturer Award from
Faculty of Science, Kasetsart University.
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 55

The success of Dr. Kraichak today is a product


of the care and freedom that his family have
given to him to pursue freely his interest from
the early age. Many teachers and professors
served as models for how to use passion for
science and natural history to propel their
careers. Professor Dr. Nathaniel Wheelwright
and Dr. H. Thorsten Lumbsch, in particular,
provided the best model of how to live a happy
life and how to be a productive scientist.
None of these would not be possible with
the gracious support from the faculty, staff
members, and students at the Department
of Botany and Faculty of Science, Kasetsart
University. They are a constant a reminder
that a life of teacher and scientist is the one
worth living.
56 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

ASSISTANT
PROFESSOR
DR. PHUVADOL
THANAKIATKRAI
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. ภูวดล ธนะเกียรติไกร

นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
ประจำ�ปี พ.ศ. 2562
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภูวดล ธนะเกียรติไกร เกิดเมื่อ
วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2528 ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
เป็นบุตรลำ�ดับที่สองของ นายพิทักษ์ ธนะเกียรติไกร และ
นางสุภาพรรณ์ ธนะเกียรติไกร สำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยม
จากโรงเรียนนานาชาติเอกมัย (เหรียญทอง) ได้รบ ั ปริญญา
Bachelor of Science in Biological Science
(First Class Honors) จาก Mahidol University
International College (MUIC) ซึง่ ในช่วงทีก ่ �ำ ลังศึกษา
ในระดับปริญญาตรี ดร. ภูวดล ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทน
ประเทศไทยไปร่วมงาน London International Youth
Science Forum 2004 ในฐานะ Young Thai Science
Ambassadors จากนั้นเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท
ในสาขานิตวิ ทิ ยาศาสตร์ ณ University of Strathclyde,
Glasgow สหราชอาณาจักร ด้วยทุนการศึกษาบางส่วนจาก
ทางมหาวิทยาลัย (Partial scholarship) และสำ�เร็จการ
ศึกษาด้วยเกียรตินยิ มอันดับหนึง่ (Distinction) และได้รบ ั
รางวัล “Most Meritorious Student” จาก United
Kingdom Forensic Science Society สำ�หรับผู้ที่มี
ผลการเรี ย นสู ง สุ ด ในชั้ น ปี ต่ อ มาได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษา
Overseas Research Students Awards Scheme
2008 (United Kingdom) จากรัฐบาลสหราชอาณาจักร
เพื่อศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในสาขานิติพันธุศาสตร์
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 57

ณ University of Strathclyde โดยวิจัยบทบาทของ วิจัยทางนิติพันธุศาสตร์ที่เข้มแข็ง มุ่งพัฒนาเทคนิคหรือ


นิวคลีโอโซมต่อการป้องกันการเสือ ่ มสภาพของดีเอ็นเอ และ นวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและโอกาส
ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้รับเพิ่มโอกาสความสำ�เร็จในการ ความสำ�เร็จในการจัดทำ�รูปแบบสารพันธุกรรมมนุษย์จาก
ตรวจพิสจู น์ดเี อ็นเอเพือ่ ระบุเอกลักษณ์บคุ คลจากวัตถุพยาน ตัวอย่างเสื่อมสภาพในงานนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อสนับสนุน
ชีวภาพทีเ่ สือ่ มสภาพในงานนิตวิ ท ิ ยาศาสตร์ ภายใต้การดูแล การบังคับใช้กฎหมาย และเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหา
ของ Dr. Lindsey Welch และ Professor Dr. Peter ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทย โดยได้รบ ั
Gill ซึง่ เป็นผูบ
้ ก
ุ เบิกและได้รบ
ั การยกย่องให้เป็นหนึง่ ในบิดา การสนับสนุนทุนวิจย ั รวมกว่า 10 ล้านบาท จากหลายแหล่ง
ของงานด้านนิติพันธุศาสตร์มนุษย์ ทั้งนี้ ดร. ภูวดล สำ�เร็จ ทุนวิจย
ั เช่น อุตสาหกรรมความมัน ่ คงและเทคโนโลยีอวกาศ
การศึกษาระดับปริญญาเอกในปี พ.ศ. 2554 ด้วยผลงาน ฝ่ายอุตสาหกรรม สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย ั (สกว.)
วิจัยที่เผยแพร่ในวารสารวิชาการอันดับหนึ่งในสายงาน อุตสาหกรรมการแพทย์ ฝ่ายอุตสาหกรรม สกว. ทุนพัฒนา
ศักยภาพในการทำ�งานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ สกว. แผน
ในปี พ.ศ. 2554 ดร. ภูวดล ได้รับการบรรจุเข้าทำ�งาน
บูรณาการวิจย ั และนวัตกรรม สำ�นักงานคณะกรรมการวิจย ั
ในตำ�แหน่งอาจารย์ประจำ�หลักสูตรนิตวิ ท ิ ยาศาสตร์ ภาควิชา
แห่งชาติ (วช.) และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัจจุบัน
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติจำ�นวน
สงขลานครินทร์ และได้รบ ั การแต่งตัง้ เป็นผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์
กว่า 30 เรื่อง ในจำ�นวนนี้มีผลงานวิจัย 18 เรื่องได้รับ
ในปี พ.ศ. 2557 ตลอดระยะเวลาการทำ�งานกว่า 8 ปี
การตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติระดับ 1st Quartile หรือ
ดร. ภูวดล ทำ�วิจยั เชิงประยุกต์และบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน
2nd Quartile ของฐานข้อมูล Web of Science เช่น
ความมั่นคงภาครัฐในประเทศหลายภาคส่วน สร้างทีม
Forensic Science International: Genetics, Food
58 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

Chemistry, และ Molecular Ecology Resources


ซึ่งได้รับการอ้างถึงรวมกันมากกว่า 250 ครั้ง รวมทั้งมีการ
ยืน
่ จดสิทธิบตั รผลงานจำ�นวน 1 ฉบับ และอนุสท
ิ ธิบต
ั รจำ�นวน
2 ฉบับ ด้วยผลงานทีก ่ ล่าวมา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้
มอบรางวัลรางวัลนักวิจัยที่มีจำ�นวนผลงานตีพิมพ์สูงสุด
20 อันดับแรก จากฐานข้อมูล Web of Science ในงาน
คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำ�ปี 2560 (PRIDE of PSU
2017) และรางวัลเชิดชูเกียรติ ในงานวันวิทย์ภาคภูมิ คณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำ�ปี 2561

ดร. ภูวดล มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถนำ�ไปใช้


ให้เกิดประโยชน์กบ ั สังคมส่วนรวมได้อย่างชัดเจน เช่น ผลงาน
วิจยั พบรูปแบบและวิธก ี ารเก็บกูด ้ เี อ็นเอทีเ่ กิดจากการสัมผัส
บนหลักฐานระเบิดแสวงเครือ ่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ซึง่ สามารถ
เพิม
่ โอกาสในการได้รบ ั รูปแบบสารพันธุกรรมของผูป ้ ระกอบ
ระเบิดหรือมีความเกี่ยวข้องในคดีได้อย่างมีนัยสำ�คัญทาง
สถิติ ผลงานวิจัยดังกล่าวถูกนำ�ไปใช้ประโยชน์แรกเริ่มโดย
กลุม ่ งานตรวจชีววิทยาและดีเอ็นเอ ศูนย์พส ิ จู น์หลักฐาน 10
สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ ต่อมาภายหลังทุกหน่วยงานพิสจู น์
หลักฐานทัว่ ประเทศได้เปลีย ่ นมาใช้รป ู แบบการเก็บดีเอ็นเอ
ดังกล่าวนี้ นอกจากนีม ้ ผ ี ลงานวิจย ั เปรียบเทียบประสิทธิภาพ
ชุดนาํ้ ยาตรวจพิสจู น์ดเี อ็นเอในงานนิตวิ ท ิ ยาศาสตร์ เพือ ่ เป็น
ข้อมูลให้แก่ศูนย์พส ิ ูจน์หลักฐาน สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ
ประกอบการตัดสินใจเลือกชุดนํ้ายาตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอ
ผลงานวิจย ั และสิง่ ประดิษฐ์คด ิ ค้นเรือ ่ ง “PSU-VisDNA Kit”
สามารถพัฒนากระบวนการตรวจพิสจู น์ดเี อ็นเอจากวัตถุพยาน
ชีวภาพทั้งระบบ โดยสร้างนวัตกรรมสำ�หรับระบุตำ�แหน่ง
ของดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานด้วยชุดนํ้ายา
สารเรืองแสงควบคู่กับการพัฒนาอุปกรณ์แหล่งกำ�เนิดแสง
ทางเลือกภาคสนามได้สำ�เร็จ ซึ่งสามารถลดค่าใช้จ่ายและ
ระยะเวลาในการตรวจวิเคราะห์ อีกทัง้ ลดการสูญเสียดีเอ็นเอ
จากหลักฐานและเพิ่มคุณภาพ รวมถึงโอกาสในการได้รับ
รูปแบบสารพันธุกรรม ผลงานวิจัยดังกล่าวนี้ได้รับรางวัล
ผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับดีมาก ประจำ�ปีงบประมาณ
2562 จากสำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

นอกเหนือจากงานวิจัย ดร. ภูวดล ยังทุ่มเทปฏิบัติหน้าที่


อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถทัง้ งานสอน งานบริการวิชาการ
รวมถึงงานจิตอาสาและงานส่วนรวมขององค์กรครบทุกด้าน
จากการทำ�งานวิจัย มีผ ลงานเป็นที่ประจัก ษ์แ ละตีพิมพ์
เผยแพร่ผลงานในระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้
ดร. ภูวดล ได้รบั ความไว้วางใจให้ค�ำ ปรึกษาทางวิชาการและ
บริการวิชาการอย่างต่อเนื่องแก่หน่วยงานนิติวิทยาศาสตร์
ภาครัฐในประเทศ เช่น วิทยากรบรรยายให้ความรู้และ
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 59

เชิงปฏิบัติการแก่ ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 10 สำ�นักงานตำ�รวจ


แห่งชาติ และยังได้รับเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน
ผลงานวิจย ั และบทความวิจย ั ทีส
่ ง่ เผยแพร่ในวารสารวิชาการ
ทางนิติพันธุศาสตร์ระดับนานาชาติ นอกจากนี้ในปี พ.ศ.
2555-2558 ดร. ภูวดล รับตำ�แหน่งผู้ช่วยคณบดี คณะ
วิทยาศาสตร์ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ซึง่ มีหน้าทีก่ �ำ กับดูแลหน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์
และเป็นผู้ประสานงานกับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ ในเรื่องการเรียนการสอน ดร. ภูวดล ยัง
ดำ�รงตำ�แหน่งประธานหลักสูตรนิตวิ ท ิ ยาศาสตร์ตง้ั แต่ปี พ.ศ.
2554 จนถึงปัจจุบันอีกด้วย

ความสำ�เร็จทีก ่ ล่าวมาข้างต้นจะเกิดขึน ้ ไม่ได้เลยหากไม่ได้รบ ั


โอกาสและการสนับสนุนจากบุคคลหรือหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้อง
อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
ฐิติกา กิจพิพิธ ผู้ซึ่งเป็นทั้งเพื่อนร่วมงาน และภรรยาที่
สนับสนุน ผลักดันและร่วมอุดมการณ์เดียวกันในทุกเรื่อง
ทีมวิจย ั นิตพ
ิ น
ั ธุศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศาสตราจารย์ ดร.
วิไลวรรณ โชติเกียรติ ศาสตราจารย์ ดร. อมรรัตน์ พงศ์ดารา
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ อดุลย์ เทีย ่ งจรรยา ได้ให้โอกาสและการ
สนับสนุนตลอดระยะเวลาการทำ�งาน รวมทั้งความร่วมมือ
และสนับสนุนจากเครือข่ายนิตพ ิ น ั ธุศาสตร์แห่งประเทศไทย
พันตำ�รวจเอก วาที อัศวุตมางกุร พันตำ�รวจเอกหญิง
สุเจตนา โสตถิพน ั ธุ์ พันตำ�รวจเอกหญิง วรรณรัตน์ นองมณี
พันตำ�รวจตรีหญิง สุกัญญา เพชรเพ็ง รองศาสตราจารย์
ดร. บุษบา ฤกษ์อำ�นวยโชค และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
ชิตนนท์ บูรณชัย สำ�หรับรางวัลอันทรงเกียรตินี้ ขอมอบ
ให้แก่ทีมวิจัยทุกท่านที่ร่วมกันสรรค์สร้างผลงานสำ�หรับ
แก้ปญ ั หาและพัฒนาสายงานนิตพ ิ นั ธุศาสตร์ในประเทศไทย
ดร. ภูวดลขอขอบพระคุณครอบครัว ซึ่งรวมถึงคุณพ่อ
คุณแม่ พีช่ ายและน้องชายสำ�หรับการปลูกฝังนิสย ั รักการอ่าน
และการยืนหยัดให้อิสระทางความคิดอย่างเต็มที่ และ
ขอขอบคุณกำ�ลังใจทีส ่ �ำ คัญทีส
่ ด ุ จากความรักแบบไร้เงือ ่ นไข
ที่มอบให้ตลอดเวลาของ บุตรสาว ด.ญ. ฟ้า ธนะเกียรติไกร
60 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

ASSISTANT PROFESSOR
DR. PHUVADOL THANAKIATKRAI
Assistant Professor Dr. Phuvadol Thanakiatkrai He was then supported by the Overseas
was born on December 10, 1985 in Bangkok, Research Students Awards Scheme 2008
Thailand. He is the second son of Mr. (United Kingdom) for his pursuit of a Doctor
Pitak Thanakiatkrai and Mrs. Supaphan of Philosophy at the Department of Pure and
Thanakiatkrai. He earned his High School Applied Chemistry, University of Strathclyde.
Diploma (Valedictorian, First Class Honors) His doctoral thesis focuses on the role that
from Ekamai International School in Bangkok. nucleosomes play in protecting certain DNA
He completed his Bachelor of Science in regions from environmental degradation and
Biological Science (First Class Honors) from the possibility of leveraging that knowledge
Mahidol University International College (MUIC). for human identification from degraded DNA
During his time at MUIC, he won the Young Thai samples. Under the guidance of Dr. Lindsey
Science Ambassadors Award and participated Welch (nee Dixon) and Professor Dr. Peter
in the London International Youth Science Gill, who pioneered forensic DNA analysis, he
Forum in 2004. With partial scholarship from completed his Ph.D. in 2011 and published his
the University of Strathclyde, he continued findings in the top-ranking forensic science
his postgraduate studies in Glasgow, United journal – Forensic Science International:
Kingdom and obtained a Master’s Degree in Genetics.
Forensic Science (Distinction). He was also
After completing his studies, Dr. Thanakiatkrai
awarded the “Most Meritorious Student” by
moved back to Thailand and started his
the United Kingdom Forensic Science Society
career as a lecturer in the Forensic Science
for his excellent academic performance.
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 61

Program, Department of Applied Science, Division, The Thailand Research Fund (TRF);
Faculty of Science, Prince of Songkla University. Medical Industry Program, Industry Division,
He received his Assistant Professorship in TRF; Research Grant for New Scholar, Basic
2014, less than three years after he started Research Division, TRF; the National Research
working. In the past eight years of his career Council of Thailand (NRCT); Prince of Songkla
as a university lecturer and researcher, his University; and the Faculty of Science, Prince
research focuses mainly on the applications of Songkla University. He has published over
of new forensic knowledge to actual cases 30 international research articles, 18 of which
and the integration of research with the are indexed in the Web of Science in the first
criminal justice organizations in Thailand. He or second quartile ranking of their respective
built a strong research team with the goal fields, such as Forensic Science International:
of increasing the likelihood of obtaining a Genetics, Food Chemistry, and Molecular Ecology
DNA profile from degraded and low-template Resources. He is the corresponding author
DNA, especially from terrorism-related of nine of those articles and has been cited
evidence, with the ultimate aim of carrying over 250 times. Prince of Songkla University
out justice and resolving the conflicts of the and the Faculty of Science, Prince of Songkla
three Southern Border Provinces. The team University recognize his contributions with two
has obtained over ten million Thai Baht of awards: Top 20 Researchers with the Highest
research funding through various granting Number of Web of Science Publications, Pride
agencies, including the Space Technology of PSU 2017 and Honorary Award, Pride of
and Security Industry Program (SSIP), Industry Science 2018.
62 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

Dr. Thanakiatkrai has produced findings and latent DNA by leveraging the fluorescence
innovations that have been directly utilized when DNA is in contact with cyanine dye. The
by the Thai security industry. For example, his user can then photograph the fluorescing
team has discovered the optimal collection DNA directly with a universal, portable light
method for cellular materials and DNA on source and filter attachment for a smartphone
improvised explosive device (IED) evidence, included in the kit. This invention has the
which is commonly used in terrorism-related potential to save countless working hours
incidences in the three Southern provinces of and millions of Thai Baht that are spent for
Thailand. The findings have been put to good forensic DNA analysis. This invention has
use by the Biology and DNA Sub-Division, received the NRCT Innovation Award (Very
Office of Police Forensic Science Center Good Level) on Thailand Inventor’s Day 2019.
10 to analyze actual IED casework samples.
In addition to his research achievements,
The method has significantly increased
Dr. Thanakiatkrai dedicates his time for
the number of perpetrators identified and
other duties including teaching, consulting
incarcerated. Currently this method is being
and administration. Due to his experience in
used by all police forensic DNA analysts in
research in forensic DNA analysis, he offers
Thailand. His team has also evaluated and
teaching and consultation services to criminal
compared different DNA profiling kits to aid
justice organizations in Thailand, such as by
the Royal Thai Police’s decision-making
holding lectures and workshops for forensic
process. Additionally, they have developed
DNA analysts and police officers of Office
the “PSU-VisDNA kit”, an innovative process
of Forensic Science 10, Royal Thai Police.
that improves the results of DNA profiling
Moreover, he has been invited to serve as a
from biological evidence. The PSU-VisDNA kit
reviewer for leading forensic journals. During
enables forensic scientists to locate invisible,
2012-2015, he served the Faculty as the
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 63

Assistant Dean for International Affairs and and Assistant Professor Adul Thiengchanya.
Health Science, administering the International Moreover, his colleagues and partners in the
Affairs and Public Relations Unit and liaising industry and extended research network –
with the Faculty of Medicine regarding basic Police Colonel Watee Asawutmangkul, Police
science teaching. He has been the Program Colonel Sujettana Sotthibandhu, Police
Director of Forensic Science, Department of Colonel Wannarat Nongmanee, Police Major
Applied Science, Faculty of Science, Prince Sukanya Phetpeng, Associate Professor Dr.
of Songkla University since 2011. Budsaba Rerkamnuaychoke, and Assistant
Professor Dr. Chittanon Buranachai – have
Dr. Thanakiatkrai’s personal and professional
contributed tremendously to the success of
achievements could not have been possible
his research. He dedicates this prestigious
without the continuous support of his greatest
award to everyone, especially for their
teammate, counselor, and wife – Assistant
joint effort in solving crimes and improving
Professor Dr. Thitika Kitpipit. Her ambitions,
forensic science in Thailand. He wishes to
drive, and passion have never failed to push
express his deepest gratitude to this two
him forward to try just that little bit harder
brothers, mother, and late father for providing
and never settle for the low-hanging fruits.
him with the best learning environment,
He also dedicates this award to his research
the love of reading, and the commitment
team, who synergistically contributes more
to always support his decision. Lastly, he
to the publications, innovations, patents,
is forever grateful for his daughter’s – Fah
and ideas more than he could have ever
Thanakiaktrai – unconditional love for her
done alone, as well as the Department of
Papa that always pick him up off the floor
Applied Science, Faculty of Science, Prince
on the hardest of days.
of Songkla University, Professor Dr. Wilaiwan
Chotigeat, Professor Dr. Amornrat Phongdara,
64 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

DR. TEERAPONG YATA


ดร. ธีรพงศ์ ยะทา
นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
ประจำ�ปี พ.ศ. 2562
ดร. ธีรพงศ์ ยะทา เกิดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2527 ที่จังหวัดเชียงราย
เป็นบุตรคนแรกของนายจำ�ลอง ยะทา และนางอนินทิกา ยะทา สำ�เร็จการศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
(ปัจจุบน
ั คือ โรงเรียนวิทยาศาสตร์จฬ ุ าภรณราชวิทยาลัย เชียงราย) ความสนใจ
ทางด้านวิทยาศาสตร์ของ ดร. ธีรพงศ์ เริม ่ ต้นขึน
้ ขณะทีก่ �ำ ลังศึกษาในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ทีโ่ รงเรียนสามัคคีวท ิ ยาคม จังหวัดเชียงราย หลังได้รบั
คัดเลือกเข้าร่วมโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สำ�หรับเด็กและเยาวชน (JSTP) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) และโครงการค่ายโอลิมปิกวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งโครงการเหล่านี้ได้จุดประกายและเริ่มบ่มเพาะ
พั ฒ นาทั ก ษะความสามารถทางวิ ท ยาศาสตร์ ข อง ดร.ธี ร พงศ์ โดยมี
นักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง ที่เป็นอาจารย์และนักวิจัยในมหาวิทยาลัยและ
สถาบันวิจัย ที่ช่วยให้แนะนำ�และดูแลในการทำ�วิจัย จนทำ�ให้ ดร. ธีรพงศ์
ได้ตด
ั สินใจด้วยความมุง่ มัน
่ ทีจ่ ะเลือกเดินเส้นทางของการเป็นนักวิทยาศาสตร์
ในเวลาต่อมา นอกจากนี้ ดร. ธีรพงศ์ ยังได้รับรางวัลพระราชทานเยาวชน
ดีเด่นแห่งชาติ สาขาการศึกษาและวิชาการ ประจำ�ปี พ.ศ 2545 อีกด้วย

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษา


ลำ�ดับต่อมาของ ดร.ธีรพงศ์ ในการเริม
่ ต้นของการเรียนรู้ เพือ
่ สร้างความเป็น
นักวิทยาศาสตร์ให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ตามความฝันของตัวเอง โดยตลอด
การศึกษาในระดับปริญญาตรีนั้น ดร. ธีรพงศ์ ได้รับทุนการศึกษาภายใต้
โครงการพัฒนากำ�ลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่ง
ประเทศไทย) ภายหลังสำ�เร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีดว้ ยเกียรตินย ิ ม
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 65

อันดับหนึง่ (เหรียญทอง) ในปี พ.ศ. 2550 ดร. ธีรพงศ์ ได้รบ ั


ทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อศึกษาต่อ
ต่างประเทศ โดยได้ศก ึ ษาต่อ ณ คณะแพทยศาสตร์ อิมพีเรียล
คอลเลจ ลอนดอน สหราชอาณาจักร ระดับปริญญาโท
สาขา Molecular Medicine และระดับปริญญาเอก
สาขา Clinical Medicine Research และด้วยผลงาน
วิจัยวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ซึ่งมีผลงานวิจย ั 3 เรื่อง
ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ บทในหนังสือ
วิชาการ (book chapter) จำ�นวน 1 บท และ สิทธิบัตร
จำ�นวน 2 เรื่อง ทำ�ให้ ดร. ธีรพงศ์ ได้รับรางวัล Anglo-
Thai Society Educational Award ด้านวิทยาศาสตร์
การแพทย์ ซึง่ เป็นรางวัลนีท้ ม
ี่ อบให้นก
ั ศึกษาไทยในประเทศ
อังกฤษที่มีผลการศึกษาและผลงานวิจัยที่โดดเด่น ผลงาน
ดังกล่าวยังได้รบ
ั รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีเด่น จากสำ�นักงาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) อีกด้วย

หลังสำ�เร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2557 ดร. ธีรพงศ์ กลับมา


ทำ�งานในตำ�แหน่งนักวิจัย ทีมวิจัยเวชศาสตร์นาโน ศูนย์
นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ ในช่วงเวลา 5 ปีที่ผ่านมา ได้
สร้างผลงานที่มีความโดดเด่นในวงการวิชาการจำ�นวนมาก
และเป็นทีย่ อมรับในวงการอุตสาหกรรมและผูป ้ ระกอบการ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ
่ งของการสร้างนวัตกรรมทางด้าน
สัตวแพทย์ และได้รับรางวัลต่างๆ มากมายจากเวทีแข่งขัน
66 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

นวัตกรรมระดับนานาชาติหลายรายการ โดย ดร. ธีรพงศ์ มี ในปีทผ ี่ า่ นมาถึงช่วงต้นปี 2561 ดร. ธีรพงศ์ ได้รบ
ั รางวัลจาก
ผลงานสิง่ ประดิษฐ์ทย ี่ น
ื่ จดสิทธิบต ั รและอนุสท ิ ธิบต
ั ร จำ�นวน เวทีตา่ งๆ ระดับนานาชาติ จากผลงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์
13 รายการ และผลงานวิจย ั ทีต ่ พ ี ม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับ นวัตกรรม ร่วมกับผู้ประกอบการและบริษัทเอกชนหลาย
นานาชาติ จำ�นวน 11 เรื่อง โดยผลงานจำ�นวน 7 เรื่องเป็น รายการ จากเวทีการประกวดนวัตกรรมสำ�คัญของโลก เช่น
ผูว้ จิ ย
ั หลัก ผลงานเหล่านีเ้ กีย ่ วข้องกับการพัฒนาระบบนาํ ส่ง รางวัลเหรียญทอง และเหรียญเกียรติยศ “Tilmicosin
โดยใช้นาโนเทคโนโลยีในการนําส่งแบบมุง่ เป้าประสิทธิภาพสูง Nanoparticle: Innovative Strategy for the Oral
ของยา วัคซีน ชีววัตถุและสารออกฤทธิช ์ วี ภาพจากสมุนไพร Delivery of Tilmicosin Antimicrobial Agent using
เพื่อผลิตภัณฑ์นวัตกรรมยาและวัคซีน สําหรับป้องกันและ Nanoscale Carrier” จาก 11th International Warsaw
รักษาโรคในคนและสัตว์ นอกจากนี้ ดร. ธีรพงศ์ ยังเป็น Invention Show (IWIS2017) ณ กรุงวอร์ซอ ประเทศ
ผู้ได้รับทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ จาก สำ�นักงานกองทุน โปแลนด์ รางวัลเหรียญเงิน จากผลงานเรื่อง “ระบบนำ�ส่ง
สนับสนุนการวิจัย (สกว.) เพื่อสนับสนุนการทำ�วิจัย เรื่อง วัคซีนต้านเชื้อสเตรปโตคอคคัสเพื่อการพัฒนาวัคซีนแบบ
“พาหะนำ�ส่งระดับนาโนจากแบคทิริโอฟาจที่ถูกดัดแปลง จุ่มที่สภาวะความดันออสโมติกสูงสำ�หรับปลานิล” จาก
เพือ ่ การนำ�ส่งอย่างมีเป้าหมายของดีเอ็นเอวัคซีน” และล่าสุด การเข้าร่วมประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงาน the 13th
เพิง่ ได้รบั ทุนส่งเสริมนักวิจย ั รุน ่ กลาง จาก สกว. เช่นกัน เพือ ่ Invention and Prototype Show and Student
สนับสนุนการทำ�วิจย ั เรือ ่ ง “การนำ�ส่งของสารออกฤทธิท ์ าง Business Plan Competition, 42th International
ชีวภาพไปยังบริเวณลำ�ไส้ดว้ ยพาหะลูกผสมอัจฉริยะ (นาโน Invention Show, (budi uzor inova 2017) ประเทศ
สตรักเจอร์ลพ ิ ด
ิ แครีเออร์ในไมโครสเฟียร์ทต ี่ อบสนองต่อค่า โครเอเชีย รางวัลเหรียญเงิน จากผลงานเรื่อง “อนุภาค
พีเอช)” ล่าสุด ดร. ธีรพงศ์ ได้รบ ั การคัดเลือกให้ได้รบ ั รางวัล นาโนทิลมิโคซินสำ�หรับการป้องกันและรักษาการติดเชื้อ
นาไก (Nagai Award) ซึ่งมอบโดย Nagai Foundation ในระบบทางเดินหายใจในสัตว์เศรษฐกิจ” และ รางวัลเหรียญ
ประเทศญี่ปุ่น เป็นรางวัลที่มีเกียรติและทรงคุณค่าทางการ ทองแดง จากผลงานเรือ ่ ง “บิโลนิโอโซม: อนุภาคนาโนลูกผสม
วิจย ั และจัดเป็นรางวัลทีม ่ ผ
ี รู้ จู้ กั มากทีส ่ ด
ุ รางวัลหนึง่ ในสาขา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการนำ�ส่งสารอาหารกลุ่มไมโคร
เภสัชกรรมและเภสัชศาสตร์ นิวเทรียนท์ (วิตามินและเกลือแร่) ผ่านระบบทางเดินอาหาร
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 67

สำ�หรับการเลี้ยงปศุสัตว์” จากการเข้าร่วมประกวดผลงาน ทีเ่ กิดจากความเครียดของสัตว์นาํ้ โดยออกฤทธิเ์ ป็นยาสลบ


สิ่งประดิษฐ์ในงาน 46th International Exhibition of ลดความบอบช้ำ�หรือเสียหายของสัตว์นํ้าระหว่างการขนส่ง
Inventions Geneva” กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์ และสามารถการยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของแบคที เ รี ย
แลนด์ เป็นต้น และนอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ก่อโรคในปลา และล่าสุด ได้พฒ ั นานวัตกรรมการคุมกำ�เนิด
อันดับหนึ่ง Samart Innovation Award 2018 ใน สุนขั และแมวเพศผูด้ ว้ ยสารสกัดจากธรรมชาติ ซึง่ พัฒนาวิธี
โครงการ Young Technopreneur 2018 ซึ่งเป็นการ คุมกำ�เนิดสุนัขและแมวเพศผู้ ทดแทนการผ่าตัดทำ�หมัน
ค้นหาผูป
้ ระกอบการด้านเทคโนโลยีทส ี่ ามารถนำ�ไปต่อยอด โดยใช้เทคโนโลยีระบบนำ�ส่งสารเหนี่ยวนำ�การฝ่อของ
ทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีได้จริง และมีความแปลกใหม่ จาก ลูกอัณฑะจากสารธรรมชาติ มีความปลอดภัย ข้อดีของ
ผลงานเรือ่ ง “ไมโครแคปซูลอัจฉริยะ นวัตกรรมทีช่ ว่ ยกักเก็บ นวัตกรรมนี้ คือ สามารถทำ�หมันสัตว์เพศผู้โดยไม่ต้อง
สารอาหารทีม ่ ป
ี ระโยชน์และปล่อยเข้าสูร่ า่ งกายสัตว์ได้อย่าง ผ่าตัด ลดความเจ็บปวด และลดโอกาสติดเชือ ้ จากแผลผ่าตัด
จําเพาะเจาะจงและเต็มประสิทธิภาพ” มีความปลอดภัย ลดต้นทุนจากการผ่าตัดทำ�หมัน

นอกจากนี้ ดร. ธีรพงศ์ ยังมีผลงานทีม ่ ศ


ี ก
ั ยภาพสูงในการนำ� ด้วยความตระหนักถึงความสำ�คัญของการพัฒนาบุคลากร
ไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ วิจย ั ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ ่ รองรับกับความ
ซึ่งเป็นผลจากการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใหม่ ต้องการของประเทศ อีกภารกิจสำ�คัญ ที่ ดร. ธีรพงศ์ มีความ
ร่วมกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัง้ ใจและมีความประสงค์ทจี่ ะมีสว่ นร่วมเสมอในทุกครัง้ ทีม ่ ี
เช่น การพัฒนานาโนวัคซีนเกาะติดเยื่อเมือก เพื่อใช้ในการ โอกาส คือ การสร้างนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ เช่น การเป็น
ให้วัคซีนแบบแช่ ช่วยป้องกันและลดความเสียหายจากการ นักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยงให้กับนักศึกษาทุน สวทช. และการ
เกิดโรคติดเชือ ้ ในปลานิล ทีส ่ ามารถใช้กบ ั ปลาทุกขนาด ทีละ มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้นโดย บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร
จำ�นวนมากๆ ซึง่ เมือ ่ เทียบกับแบบเดิมทีใ่ ช้วธิ ฉ
ี ด
ี ด้วยเข็มทีละ เป็นต้น ซึง่ ดร. ธีรพงศ์มคี วามเชือ ่ มัน
่ ว่า จะเป็นการสร้างคน
ตัว วิธีนี้จะมีต้นทุนที่ต่ำ� ประหยัดเวลาและแรงงานกว่ามาก รุน
่ ใหม่ทมี่ ค
ี ณ
ุ ภาพ เพือ
่ ทีจ่ ะได้ก�ำ ลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์
นอกจากนี้ยังมีผลงาน อนุภาคนาโนกักเก็บนํ้ามันกานพลู และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพของประเทศในอนาคต
เพื่อลดความเสียหายระหว่างการขนส่งและเคลื่อนย้าย
68 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

DR. TEERAPONG YATA

Dr. Teerapong Yata was born on December for a career in this field. The B.Sc. program
1, 1984 in Chiang Rai. He is the eldest son of in Biology at the Faculty of Science, Chiang
Mr. Chamlong Yata and Mrs. Aninthika Yata. Mai University, Thailand has matured him as
He completed his middle school education a scientist, as it has sparked his interest in
from Princess Chulabhorn’s College Chiang biotechnology. Throughout his undergraduate
Rai (presently know as Princess Chulabhorn studies in biology, he was fully funded by the
Science High School Chiang Rai). He first Human Resource Development in Science
became interested in science and research Project (Science Achievement Scholarship
when he was a high school student at Samakkhi of Thailand, SAST). After his first degree
Witthayakhom School after attendances at with First-Class Honors and a gold medal
the Junior Science Talent Project (JSTP) from award, he was awarded the Royal Thai
National Science and Technology Development Government scholarship to study abroad.
Agency (NSTDA) and the Northern Thailand He was subsequently enrolled at Imperial
Regional Biology Olympiad Camp at Chiang College London, where he gained his Masters
Mai University. Being surrounded and trained of Science (M.Sc.) in Molecular Medicine,
by scientists have made him realized it is his followed by Doctor of Philosophy (Ph.D.) in
calling to be a research scientist. He was Clinical Medicine Research from the Faculty
also a recipient of The National Outstanding of Medicine. Due to his exceptional academic
Youth in 2002. achievements and outstanding performance
during his time of Ph.D. study as demonstrated
Without hesitation, Dr. Yata was highly
in 3 research publications, 1 book chapter
determined to further his education and aim
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 69

and 2 international patents, he was given two international journals, in which he served
awards, the Anglo-Thai Society Educational as the corresponding author for 7 papers.
Award for Excellence in Medical Science in He has also invented and co-invented a
2013 and the Outstanding Thesis Award from number of intellectual properties, including
the National Research Council of Thailand 10 patent applications and 3 petty patents.
(NRCT) in 2016. An important element common to each of
them is an emphasis on the development
Dr. Yata is currently working in the Nanomedicine
of biomimetics, nature-inspired carriers
and Veterinary Research Team at The National
and the application of state-of-the-art
Nanotechnology Centre (NANOTEC), Thailand
nanobiotechnology. Moreover, he was a
(2015-present). He has been recognized
recipient of The Thailand Research Fund
as an outstanding researcher in a specific
(TRF) Grant for New Researcher in 2016-2017.
academic-industrial area, as evidenced by a
He generated delivery platforms based on
number of internationally recognized awards
from various international invention events,
publications in high-impact journals, as well
as a number of patent applications and petty
patents. Some of the intellectual property
platforms have already been translated into
innovative products.

Dr. Yata’s current area of research is in the


field of nanomedicine, particularly in the area
of targeted drug and vaccine delivery with
a focus on developing innovative therapies
to tackle a wide variety of diseases in both
humans and animals. During the last 5 years at
NANOTEC, he has authored and co-authored
more than 11 research articles published in
70 นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2562

engineered bacteriophage (derived from


a virus of bacteria and non-pathogenic for
humans and animals) for targeted gene
delivery to mammalian cells, which presents
a breakthrough in the delivery of therapeutic
genes. Recently, he was awarded the TRF
Research Grant for Mid-Career Researcher
(2019-2021) under the title of “Precision
Delivery of Bioactive Compounds to Specific
Areas in the Intestine by a Smart Hybrid Carrier
System (Nanostructured Lipid Carriers-in-pH
Responsive Microsphere)”. More recently,
he was a recipient of The Nagai Award
Thailand 2019 (Pharmaceutical Sciences)
from Professor Tsuneji Nagai, Chairman of
Board of Trustees of the Nagai Foundation.
Due to these outstanding successes, he has
demonstrated noteworthy achievement and
public recognition in academic research.
Dr. Yata has been invited to be a speaker
in honorary lectures of both national and
international conferences and symposiums.

Dr. Yata has received a number of internationally


recognized innovation awards. In 2017, he was
awarded gold medal and special prize for the
innovation entitled “Tilmicosin Nanoparticle:
Innovative Strategy for the Oral Delivery of
Tilmicosin Antimicrobial Agent using Nanoscale
Carrier” from the 11th International Warsaw
Invention Show (IWIS2017), Warsaw, Poland.
In 2018, he received silver medal and bronze
medal for two innovative products entitled
“Tilmicosin Nanoparticle used for Preventing
and Treating Respiratory Diseases in Livestock”
and “Biloniosome: Hybrid Nanoparticle for
Improved Oral Delivery of Animal Feed
Micronutrients (vitamins and minerals)” from
the 46th International Exhibition of Inventions
Geneva, Switzerland. Moreover, he was the
2019 YOUNG SCIENTIST AWARDS 71

recipient of the Samart Innovation Award oil nanoparticles is considered a valuable


(The 1st runner-up) for an innovative product innovation in particular for aquaculture in
and business plan entitled “ActiveBoost; order to reduce the widespread use broad-
Smart Microcapsule and High-Performance spectrum antibiotics, leading to more drug-
Nanocarriers” in the Young Technopreneur resistant bacteria, and to replace chemical
2018 Contest. anesthetics with herbal anesthetics for food
safety and consumer health. Recently, they
Recently, Dr. Yata and his colleagues
invented a novel herbal-based sterilant for
have developed three innovative products
non-surgical castration of male animals
resulting from their inventions, which led to
which could be a promising platform that
a breakthrough in veterinary medicines. For
may be considered as an alternative to
example, he and his colleagues invented
surgical castration in male animals in order
an effective, affordable, and easy-to-
to address the health and welfare in free-
administer mucoadhesive nanovaccines
roaming animals on a large scale.
against infectious Flavobacterium columnare
which has now been identified as one of the Another task that Dr. Yata would like to
most serious infectious diseases in farmed undertake is to play a role in creating
tilapia. Such design of vaccine carrier could tomorrow’s scientists. More specifically, he
be a valuable tool in particular for resource- would like to get involved in nurturing young
poor developing countries that sometimes scientific talents in Thailand. He has been
conventional vaccines fail to reach the participating in several volunteering activities
farmers who need them most. They also organized by NSTDA and Sirindhorn Science
invented an effective, cheap, safe, and easy- Home. He strongly believes that this will help
to-administer form of clove oil nanoparticles strengthening the scientific and technological
used for safe anesthesia and antibiotic workforce in Thailand in the future.
alternatives. The so-called bifunctional clove
72 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

ประวัติ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในพระบรมราชูปถัมภ์

ความเป็นมา
ในปีเฉลิมฉลองสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ฯ พ.ศ. 2525 นั้น สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
ได้จด
ั งานวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติเป็นครัง้ แรกในวันที่ 18 สิงหาคม โดยในพิธเี ปิด องคมนตรีผแ ู้ ทนพระองค์ในพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นผู้มอบ “รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น” ซึ่งได้รับความสนใจและเผยแพร่ข่าวในสื่อมวลชนอย่าง
กว้างขวาง รางวัลดังกล่าวจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของพิธเี ปิดงานวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติตอ ่ เนือ
่ งมาจนปัจจุบนั เพือ
่ ให้มี
องค์กรรับผิดชอบการให้รางวัลโดยเฉพาะ สมาคมฯ จึงระดมทุนเพือ ่ จัดตัง้ มูลนิธส
ิ ง่ เสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึง่ ได้
รับอนุมัติให้จดทะเบียนเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2526 และเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2528 ได้รับพระราชทาน
พระมหากรุณาธิคุณรับมูลนิธฯ ิ อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต่อมากระทรวงการคลังได้ประกาศให้มูลนิธฯ ิ เป็นองค์การ
สาธารณกุศลว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2545

กิจกรรม
นอกจากการให้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติทุกปีแล้ว เพื่อพัฒนาฐานนักวิจัยรุ่นกลางให้
กว้างขึ้น มูลนิธิฯ จึงได้ตั้งรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ แก่นักวิจัยอายุไม่เกิน 35 ปี ขึ้นในปี 2534 นอกจากนั้น
มูลนิธฯ
ิ ยังเห็นว่าเทคโนโลยีมค ี วามสำ�คัญคูก
่ บ
ั วิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน จึงเพิม
่ การให้รางวัลนักเทคโนโลยีดเี ด่น และ รางวัล
นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ในปี 2544 โดยมีการรับรางวัลในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ (19 ตุลาคม) ของทุกปี

การสรรหาและรางวัล
มูลนิธิฯ แต่งตั้งคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และคณะกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น เพื่อดำ�เนิน
การสรรหาโดยอิสระโดยเปิดเผยเฉพาะชื่อประธานเท่านั้น ผู้ได้รับรางวัลจะได้รับโล่พระราชทาน (สาขาวิทยาศาสตร์)
หรือพระบรมรูปเหรียญพระราชทาน (สาขาเทคโนโลยี) และเงินรางวัลตามที่ก�ำ หนดไว้สำ�หรับแต่ละระดับและสาขา
โดยจำ�นวนเงินได้ปรับเพิ่มขึ้นเป็นลำ�ดับตามการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินและการสนับสนุนของผู้บริจาค ผู้สนับสนุนเงิน
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ปัจจุบัน คือ เอสซีจี (SCG) สำ�นักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา บริษัท ปตท. จำ�กัด
(มหาชน) (ปตท.) ได้เริ่มให้การสนับสนุนอีกองค์กรหนึ่ง ส่วนรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่
มีส�ำ นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และ สวทช. เป็นผูส ้ นับสนุน

การเผยแพร่กิตติคุณและการขยายผล
มูลนิธฯ
ิ จัดทำ�หนังสือแสดงผลงานของผู้ได้รับรางวัลเพื่อแจกในวันแถลงข่าว วันพิธีเปิดงานวันวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี
แห่งชาติ รวมทัง้ งานแสดงปาฐกถาของผูไ้ ด้รบ ั รางวัลดีเด่นในวันดังกล่าวด้วย อนึง่ ผูไ้ ด้รบ
ั รางวัลจะได้รบ
ั เชิญไปบรรยาย
ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทท.) การประชุมนักวิจัยรุ่นใหม่พบเมธีวจิ ัยอาวุโส สกสว. รวมทั้ง
ตามสถานศึกษาต่างๆ ผู้ได้รับรางวัลหลายคนได้รับการเสนอให้ได้รับรางวัลระดับภูมภ ิ าค นอกจากนี้ส่วนใหญ่ของผู้ได้
รับรางวัลมักจะได้รบ ั ทุนวิจย
ั ประเภทต่างๆ ของ สกสว. สวทช. และสำ�นักงานคณะกรรมการวิจย ั แห่งชาติ (วช.) เพือ
่ ผลิต
งานวิจัยที่มีคุณค่าให้ประเทศสืบต่อไป
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 73

ใบอนุญาตจัดตั้ง
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ใบอนุญาตจัดตั้ง
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์


74 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562
หนังสือให้อำนาจจัดตั้ง
หนังสือให้อำ�นาจจั
มูลนิธิส่งเสริดมตั
วิท้ง
ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
ด้านหน้า

ด้านหน้า

ด้านหลัง
ด้านหลัง
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 75

หนังสือพระราชทานพระมหากรุ ณาให้
หนังสือพระราชทานพระมหากรุณาให้
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์


76 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์
เป็นองค์มูกลรหรื
นิธิสอ่งสถานสาธารณกุ
เสริมวิทยาศาสตร์ศแลละเทคโนโลยี อยู่ในพระบรมราชู
ลำ�ดับที่ 481 ปถัมภ์
ของประกาศกระทรวงการคลั งฯ
เป็นองค์กรหรือสถานสาธารณกุศล ลำดับที่ 481 ของประกาศกระทรวงการคลังฯ


2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 77

รายงานผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี พ.ศ. 2561


มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

การวางพานพุ่มถวายราชสักการะในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ วันที่ 18 สิงหาคม 2561 รองศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร ลิมปเสนีย์ เหรัญญิกและ
กรรมการมูลนิธฯ
ิ ร่วมพิธถ
ี วายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรียพ
์ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห
่ วั ณ กระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถนนพระรามที่หก กรุงเทพฯ

งานแถลงข่าวรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561


มูลนิธิฯ ได้จัดงานแถลงข่าวรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561
เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพฯ

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ได้แก่


ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ได้แก่


(1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจ้าทรัพย์ บุญมาก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(2) ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ สำ�นักวิชาวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยสิรเิ มธี
78 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

งานเลี้ยงแสดงความยินดีแก่นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561


มูลนิธิฯ ร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ ได้จัดงานเลี้ยงแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับรางวัล เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2561
ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพฯ โดยมี ดร. ไพรินทร์ ชูโชติถาวร รัฐมนตรีชว่ ยว่าการ
กระทรวงคมนาคม เป็นประธานในพิธี
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 79

การเข้ารับพระราชทานรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานรางวัลแก่นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์
รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ในวันที่ 29 ตุลาคม 2561 ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
แห่งประเทศไทยครั้งที่ 44 (วทท. 44) ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

การบรรยายของนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ. 2561


นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นให้การบรรยายเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2561 ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งประเทศไทยครั้งที่ 44 (วทท. 44) ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

การวางพานพุ่มถวายราชสักการะในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ
ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 19 ตุลาคม 2561 รองศาสตราจารย์ ดร. นภาวรรณ นพรัตนราภรณ์ ที่ปรึกษามูล
นิธิฯ ร่วมพิธีถวายพานพุ่มและถวายราชสดุดีเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช ในฐานะทรงเป็นพระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย เนือ
่ งในวันเทคโนโลยีของไทย ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ณ กระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถนนพระรามที่หก กรุงเทพฯ
80 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

การเข้ารับพระราชทานรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานรางวัลแก่นก ั เทคโนโลยีดเี ด่นและนักเทคโนโลยีรน
ุ่ ใหม่
ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ในวันที่ 29 ตุลาคม 2561 ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 44 (วทท. 44) ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

งานแถลงข่าวรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561


วันที่ 18 ตุลาคม 2561 มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดงานประกาศผลรางวัล
นักเทคโนโลยีดเี ด่น และนักเทคโนโลยีรน
ุ่ ใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน กรุงเทพฯ
รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 มี 1 รางวัล ได้แก่
นายสุวฒั น์ รติวชั รากร และคณะ กองเครือ
่ งจักรไฟฟ้า ฝ่ายบำ�รุงรักษาไฟฟ้า สำ�นักงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
สำ�นักงานไทรน้อย จากผลงานระบบควบคุมแรงดันของเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าแบบ Redundancy
รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 มี 1 รางวัล ได้แก่
ดร. ธิดารัตน์ นิ่มเชื้อ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จากผลงานการพัฒนา เอนอีซ เอนไซม์อัจฉริยะเพื่อกระบวนการผลิตสิ่งทอที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม
โดยมี ดร. กัญญวิมว์ กีรติกร ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจำ�กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นประธานในงานฯ
และ มูลนิธิฯ ร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ ได้ร่วมแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับรางวัลในโอกาสเดียวกันนี้
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 81
โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่

รางวัลนี้เกิดขึ้นจากความริเริ่มของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ เกณฑ์การตัดสิน
ที่มีความห่วงใยต่อสภาวการณ์ที่วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เกี่ยวกับผลงาน
อันได้แก่ ฟิสก ิ ส์ เคมี ชีววิทยา และสาขาวิชาทีค ่ าบเกีย ่ วกับ
สาขาวิชานี้ ไม่ได้รบ ั ความสนใจและการสนับสนุนเท่าทีค ่ วร • เป็น ผลงานที่ แ สดงคุ ณ ลั ก ษณะของความคิ ด ริ เ ริ่ ม
จากผู้ บ ริ ห าร ประชาชนทั่ ว ไป และเยาวชน ทั้ ง ๆ ที่ ผลิ ต ความรู ้ใ หม่ เป็น ผลงานที่ เ ป็น ที่ ย อมรั บ ใน
วิทยาศาสตร์พื้นฐานเป็นเสมือนเสาหลักที่สำ�คัญต่อความ วงการวิทยาศาสตร์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี แต่ขณะนีเ้ ยาวชนไทยยังเลือก และพิสจู น์ได้แน่ชด
ั ว่าเป็นผลงานของบุคคลนัน ้ จริง
เรียนวิทยาศาสตร์พื้นฐานกันน้อย อาจเป็นเพราะเยาวชน
• เป็นงานที่มีศักยภาพซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่อง
เหล่านี้มีความสนใจวิทยาศาสตร์พื้นฐานน้อย แต่มีความ
สมควรเป็นตัวอย่างอันดีแก่นักวิทยาศาสตร์ด้วยกัน
สนใจมากในวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือวิศวกรรมศาสตร์
หรือวิทยาศาสตร์ประยุกต์อื่นๆ ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมี เกี่ยวกับตัวบุคคล
นักวิทยาศาสตร์พน ื้ ฐานทีม ่ ค
ี วามสามารถสูงอยูจ่ �ำ นวนไม่นอ ้ ย
• มีบุคลิก การวางตัว อุปนิสัยเป็นที่น่านิยม
ซึ่งมีผลงานดีเด่นทัดเทียมต่างประเทศ และหากได้รับการ
สนับสนุนอย่างจริงจังจะสามารถส่งผลงานเหล่านีต ้ อ
่ ไปยัง • อุ ทิ ศ ตนเพื่ อ งานวิ ท ยาศาสตร์อ ย่า งต่อ เนื่ อ งด้ว ย
นักเทคโนโลยีหรือผูอ ้ ยูใ่ นสาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์เอาไป ความส�ำนึกในการสร้างวิทยาศาสตร์เพื่อส่วนรวม
ใช้ประโยชน์ต่อไปได้ ฉะนั้นจึงได้เกิดความคิดที่จะรณรงค์ • ประพฤติตนเป็นที่น่าเคารพนับถือ มีลักษณะเป็น
ให้คนไทยเกิดความตืน ่ ตัวและภูมใิ จในนักวิทยาศาสตร์ไทย ผู ้น�ำทางวิ ช าการ เหมาะสมที่ จ ะได้รั บ การยกย่อ ง
วัตถุประสงค์ของรางวัล ให้เป็นแบบอย่างนักวิทยาศาสตร์ที่ดีงาม

• เพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์สัญชาติไทย ที่มี ทัง้ นี้ งานวิทยาศาสตร์ทม ี่ งุ่ เน้นคือ ด้านวิทยาศาสตร์พน ื้ ฐาน


ผลงานดีเด่นและเพือ ่ เป็นก�ำลังใจให้กบ
ั นักวิทยาศาสตร์ และ/หรือแขนงซึ่งคาบเกี่ยวกันระหว่างสาขาต่างๆ ของ
รุ่นใหม่ที่มีศักยภาพสูงในการท�ำงานวิจัยที่มีคุณภาพ วิทยาศาสตร์พน ื้ ฐาน โดยมีผลงานทีก ่ ระทำ�ภายในประเทศ
เป็นส่วนใหญ่ในลักษณะต่อเนื่องกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า
• เพื่อเป็นตัวอย่างแก่นักวิทยาศาสตร์และเยาวชนให้
5 ปี เป็นผลงานทีก ่ อ
่ ให้เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาวงการ
เจริญรอยตาม
วิทยาศาสตร์ และ/หรือการพัฒนาประเทศ เช่น ยกระดับ
ก. โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น การวิจย ั ยกระดับการศึกษาวิทยาศาสตร์ระดับสูง ก่อให้เกิด
ความงอกงามทางวิชาการ สร้างชือ ่ เสียงให้แก่ประเทศชาติ
ลักษณะรางวัล
รางวั ล มี มู ล ค่ า รางวั ล ละ 400,000 บาท และโล่ วิธีการสรรหา
พระราชทานความแตกต่างของรางวัลนี้จากรางวัลทาง คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นผู้เชิญให้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอื่นๆ ที่มีการมอบอยู่แล้ว ผู้ทรงคุณวุฒท ิ ม
ี่ ป
ี ระสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์เป็นผู้เสนอชือ ่
ในประเทศไทย คือ ประการที่หนึ่ง มีการเสาะแสวงหา โดยเชิญจากนักวิทยาศาสตร์ที่มีผลงาน ผู้บริหารงาน
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นโดยไม่มีการสมัคร ประการที่สอง วิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัย สถาบันวิจย ั และบริษท ั เอกชน
บุ ค คลผู้ นี้ จ ะต้ อ งมี ผ ลงานทางวิ ท ยาศาสตร์ พื้ น ฐาน ทีม่ ก
ี ารวิจย
ั และพัฒนาวิทยาศาสตร์และนักวิจย ั ทีเ่ คยได้รบ

ทีม
่ คี วามสำ�คัญต่อเนือ ่ งมาเป็นเวลานาน มิใช่ผลงานชิน ้ เดียว รางวัลต่างๆ และคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น
และประการสุ ด ท้ า ยมี ก ารพิ จ ารณาถึ ง คุ ณ สมบั ติ ข อง
ตัวบุคคล ทั้งในฐานะที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ และในฐานะ เมือ
่ ได้รายชือ
่ มาแล้ว คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์
ที่ มี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมสู ง อั น จะเป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ดีเด่นก็สืบเสาะหาผลงานอย่างละเอียดสัมภาษณ์ผู้ทรง
ก่ อ ให้ เ กิ ด ศรั ท ธาในนั ก วิ ท ยาศาสตร์ ด้ ว ยกั น และต่ อ คุณวุฒิในวงการนั้นๆ พิจารณาผลงานและบุคคลตาม
เยาวชนของชาติที่จะยืดถือปฏิบัติตาม เกณฑ์ที่วางไว้ ในชั้นต้นจะเน้นการประเมินผลงานวิจัย
82 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

ย้อนหลัง 5 ปี โดยพิจารณาปริมาณผลงาน เปรียบเทียบ ข. โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่


กับนักวิทยาศาสตร์ในสาขาเดียวกัน พิจารณาคุณภาพของ
ลักษณะรางวัล
ผลงานในด้านของความคิดริเริม ่ การผลิตความรูใ้ หม่ การเป็น
ที่ยอมรับในวงการวิทยาศาสตร์ทั้งในประเทศและต่าง รางวัลมีมล ู ค่า รางวัลละ 100,000 บาท และโล่พระราชทาน
ประเทศ การเป็นผลงานทีม ่ ศ ี ก
ั ยภาพซึง่ ก่อให้เกิดการพัฒนา มีวตั ถุประสงค์เพือ ่ คัดเลือกบุคคลสัญชาติไทยทีม ่ อ
ี ายุไม่เกิน
ต่อเนื่อง สมควรเป็นแบบอย่างอันดีแก่นักวิทยาศาสตร์ 35 ปี มีผลงานวิจย ั ในสาขาวิทยาศาสตร์พน ื้ ฐาน เช่น ฟิสก ิ ส์
พิจารณาคุณภาพของวารสารที่ตีพิมพ์ผลงานว่าอยู่ใน เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และ
ระดับใดของวารสารทีต ่ พ
ี ม ิ พ์ผลงานประเภทเดียวกัน โดยดู ได้ตพ ี ม
ิ พ์ผลงานวิจย ั ทีม
่ ค ี ณ
ุ ภาพดีและเผยแพร่ในวารสารที่
Impact factor และพิจารณา Publication credit มีมาตรฐานจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 3 เรือ ่ ง โดยผู้เสนอควรเป็น
(ผลรวมของ impact factor ของวารสารที่ผลงานได้ ผู้วิจัยหลัก และงานวิจัยเหล่านั้นท�ำในประเทศไทย ทั้งนี้
รับการตีพิมพ์) ทั้งค่ารวมและค่าเฉลี่ย (Gross และ ต้องไม่ใช่ผลงานวิจย ั ทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของวิทยานิพนธ์เพือ ่ รับ
Net publication credits) ประกอบด้วย พิจารณา ปริญญาระดับใดระดับหนึง่ และเป็นผู้ท�ำการวิจย ั และพัฒนา
ว่าเป็นผู้วิจัยหลัก (Major contributor) มากน้อย วิทยาศาสตร์อย่างจริงจัง มีคณ ุ ธรรมและมนุษยสัมพันธ์ทด ี่ ี
เพียงใด ได้มีการผลิตผลงานออกมาอย่างต่อเนื่องหรือไม่
การเสนอชื่อรับรางวัล
และผลงานดังกล่าวได้ผลิตขึน ้ ในประเทศมากน้อยเพียงใด
สำ�หรับด้านตัวบุคคลนั้น พิจารณาบุคลิก การวางตัวและ สามารถกระท�ำได้ 2 แบบ คือ โดยการสมัครด้วยตนเอง
อุปนิสย ั ทีน
่ า่ นิยม ความซือ่ สัตย์ในวิชาชีพด้านวิชาการ การ และคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่นเชิญให้ผ้ท
ู รง
อุทิศตนเพื่องานวิทยาศาสตร์โดยส่วนรวมและความเป็น คุณวุฒิที่มีประสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์เป็นผู้เสนอชื่อ
ผู้นำ�ทางด้านวิชาการ การพิจารณาขั้นตอนต่างๆ ข้างต้น
กระทำ�เป็นความลับโดยไม่เปิดเผยให้แก่ผท ู้ จี่ ะได้รบ
ั รางวัล แนวทางการตัดสิน
จนคณะกรรมการฯ มีมติขน ั้ สุดท้ายให้เชิญนักวิทยาศาสตร์ คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น น�ำรายชื่อผู้ที่
ผู้นั้นเป็นผู้ได้รับรางวัล สมัครและผู้ทไี่ ด้รบ
ั การเสนอชือ ่ เพือ
่ รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์
รุ่นใหม่มาตรวจสอบเบือ ้ งต้นว่าเป็นไปตามเกณฑ์อันได้แก่
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สัญชาติ อายุ และสาขาวิชา ตรวจสอบจ�ำนวนผลงานวิจัย
การสดุดีเกียรติคุณบุคคลและผลงาน จะเป็นสิ่งที่โน้มนำ� ที่ผู้สมัครหรือได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้วิจัยหลัก ตรวจสอบ
เยาวชนทีม่ ค
ี วามสามารถให้มงุ่ ศึกษาและวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์ ว่าการวิจย ั เหล่านัน
้ ท�ำในประเทศไทย และไม่เป็นส่วนหนึง่
พื้นฐาน อันเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์ประยุกต์และ ของวิทยานิพนธ์ พิจารณาคุณภาพของผลงานว่าตีพิมพ์
เทคโนโลยีทั้งหลายในระยะยาว สังคมที่มุ่งยกย่องบุคคล ในวารสารที่มี Impact factor สูงมากน้อยเพียงใด เมื่อ
ที่มีผลงานดีเด่นและคุณธรรมจะเป็นสังคมที่สามารถยก เปรียบเทียบกับวารสารทีต ่ พ
ี ม
ิ พ์ในสาขานัน ้ แล้วอยู่ในระดับใด
ระดับคุณภาพชีวิตและสังคมให้ดีขึ้น มี Publication credit มากน้อยเพียงใด โดยพิจารณา
Gross publication credit และ Net publication
credit ประกอบด้วย พิจารณาว่างานวิจย ั ทีท
่ �ำได้มก
ี ารตัง้
โจทย์วจิ ยั อย่างหนักแน่นจริงจังเพียงใด ต้องใช้ความสามารถ
พิเศษหรือไม่ มีการพิจารณาด้านคุณธรรมและความซือ ่ สัตย์
ที่มีต่องานวิจัย รวมทั้งมนุษยสัมพันธ์ที่มีต่อผู้อื่น
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 83

รายนามนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น

ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน


Year Name Field Institution
2525 ศาสตราจารย์ ดร. วิรุฬห์ สายคณิต ฟิสิกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1982 Professor Dr. Virulh Sa-yakanit Physics Chulalongkorn University
B.Sc. (Hons., Chulalongkorn),
Ph.D. (Gothenberg)
2526 ศาสตราจารย์นายแพทย์ ประเวศ วะสี พันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
1983 Professor Dr. Prawase Wasi Genetics Mahidol University
M.D. (Siriraj), Ph.D. (Colorado)
2527 ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว.พุฒิพงศ์ วรวุฒิ ชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1984 Professor Dr. M.R. Puttiponge Varavudhi Biology Chulalongkorn University
B.Sc. (Chulalongkorn), Ph.D.
(Weizmann Institute)
ศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
Professor Dr. Yongyuth Yuthavong Biochemistry Mahidol University
B.Sc. (Hons., London), D.Phil. (Oxford)
2528 รองศาสตราจารย์ ดร. สกล พันธุ์ยิ้ม ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
1985 Associate Professor Dr. Sakol Panyim Biochemistry Mahidol University
B.S. (Berkeley), Ph.D. (lowa)
2529 รองศาสตราจารย์ ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์ เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
1986 Associate Professor Chemistry Mahidol University
Dr. Yodhathai Thebtaranonth
B.Sc. (Medical Science), Ph.D. (Sheffield)
2530 ศาสตราจารย์ ดร. สุทัศน์ ยกส้าน ฟิสิกส์ทฤษฎี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
1987 Professor Dr. Suthat Yoksan Theoretical Srinakharinwirot University
B.Sc. (Hons., London), Ph.D. (California) Physics
2531 ศาสตราจารย์ ดร. สถิตย์ สิริสิงห จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
1988 Professor Dr. Stitaya Sirisinha Microbiology Mahidol University
B.S. (Hons., Jacksonville State),
Ph.D. (Rochester)
2532 ศาสตราจารย์ ดร. ถาวร วัชราภัย พฤกษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1989 Professor Dr. Thavorn Vajrabhaya Botany Chulalongkorn University
B.S. (Cornell), Ph.D. (Cornell)
2533 รองศาสตราจารย์ สดศรี ไทยทอง ชีววิทยา (สัตววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1990 Associate Professor Sodsri Thaithong Biology Chulalongkorn University
B.Sc. (Hons., Chulalongkorn), M.Sc. (Mahidol) (Zoology)
ศาสตราจารย์ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้ ชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
(พันธุศาสตร์)
Professor Dr. Visut Baimai B.Sc. (Hons., Biology Mahidol University
Queensland), Ph.D. (Queensland) (Genetics)
84 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน


Year Name Field Institution
2534 ศาสตราจารย์ ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ วิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
คอมพิวเตอร์ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
1991 Professor Dr. Pairash Thajchayapong Computer King Mongkut’s Institute of
B.Sc. (Hons., London), Ph.D. (Cambridge) Science Technology Ladkrabang
2535 ศาสตราจารย์ ดร. อมเรศ ภูมิรัตน เทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล
1992 Professor Dr. Amaret Bhumiratana Biotechnology Mahidol University
B.Sc. (Hons., U.C. at Davis), Ph.D.
(Michigan State)
2536 ศาสตราจารย์ ดร. ณัฐ ภมรประวัติ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การแพทย์
1993 Professor Dr. Natth Bhamarapravati Medical Mahidol University
M.D. (Siriraj), D.Sc. (Pennsylvania) Science
2537 ศาสตราจารย์นายแพทย์ วิศิษฏ์ สิตปรีชา วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การแพทย์
1994 Professor Dr. Visith Sitprija Medical Chulalongkorn University
M.D. (Medical Science), Ph.D. (Colorado) Science
ศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี วัลยะเสวี วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การแพทย์
Professor Dr. Aree Valyasevi Medical Mahidol University
M.D. (Siriraj), D.Sc. (Pennsylvania) Science
2538 ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ โศภน เซลล์ชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
1995 Professor Dr. Prasert Sobhon Cell Biology Mahidol University
B.Sc. (Western Australia), Ph.D. (Wisconsin)
2539 ศาสตราจารย์ ดร. วัลลภ สุระกำ�พลธร ฟิสิกส์เชิง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
คณิตศาสตร์ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
1996 Professor Dr. Wanlop Surakampontorn Mathematical King Mongkut’s Institute of
B.Eng. (KMITL), Ph.D. (Kent at Canterbury) Physics Technology Ladkrabang
2540 รองศาสตราจารย์ ดร. ประพนธ์ วิไลรัตน์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
1997 Associate Professor Dr. Prapon Wilairat Biochemistry Mahidol University
B.Sc. (Hons., A.N.U.), Ph.D. (Oregon)
ศาสตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การแพทย์
Professor Dr. Yong Poovorawan Medical Chulalongkorn University
M.D. (Chulalongkorn) Science
2541 รองศาสตราจารย์ ดร. อภิชาต สุขสำ�ราญ เคมีอินทรีย์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง
1998 Associate Professor Organic Ramkhamhaeng University
Dr. Apichart Suksamrarn Chemistry
B.Sc. (Hons., Mahidol), Ph.D. (Cambridge)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศกรณ์ มงคลสุข เทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล
Assistant Professor Dr. Skorn Mongkolsuk Biotechnology Mahidol University
Biotechnology Mahidol University
B.Sc. (Hons., London), Ph.D. (Maryland)
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 85

ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน


Year Name Field Institution
2542 ศาสตราจารย์ ดร. วันเพ็ญ ชัยคำ�ภา วิทยาภูมิคุ้มกัน มหาวิทยาลัยมหิดล
1999 Professor Dr. Wanpen Chaicumpa Immunology Mahidol University
D.V.M. (Hons., Kasetsart), Ph.D. (Adelaide)
2543 ศาสตราจารย์ ดร. จงรักษ์ ผลประเสริฐ วิศวกรรม สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
สิ่งแวดล้อม
2000 Professor Dr. Chongrak Polprasert Environmental Asian Institute of
B.Sc. (Chulalongkorn), Ph.D. (Washington) Engineering Technology
ศาสตราจารย์ ดร. สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ เทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี
Professor Dr. Somchart Soponronnarit Energy King Mongkut’s University
B.Eng. (Hons., Khon Kaen), Dr.-lng. (ENSAT) Technology of Technology Thonburi
2544 รองศาสตราจารย์ ดร. เกตุ กรุดพันธ์ เคมีวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2001 Associate Professor Dr. Kate Grudpan Analytical Chiang Mai University
B.S. (Chiang Mai), Ph.D. Chemistry
(Liverpool John Moores)
2545 ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว.ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
2002 Professor Dr. M.R. Jisnuson Svasti Biochemistry Mahidol University
B.A. (Hons., Cambridge), Ph.D. (Cambridge)
ศาสตราจารย์นายแพทย์ สุทัศน์ ฟู่เจริญ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การแพทย์
Professor Dr. Suthat Fucharoen Medical Mahidol University
M.D. (Chiang Mai) Science
2546 รองศาสตราจารย์ ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2003 Associate Professor Dr. Jumras Limtrakul Chemistry Kasetsart University
B.Sc. (Khon Kaen), Ph.D. (Innsbruck)
รองศาสตราจารย์ ดร. สุพจน์ หารหนองบัว เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Associate Professor Dr. Supot Hannongbua Chemistry Chulalongkorn University
B.Sc. (Khon Kaen), Ph.D. (Innsbruck)
2547 ศาสตราจารย์นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การแพทย์
2004 Professor Dr. Thiravat Hemachudha Medical Chulalongkorn University
M.D. (Chulalongkorn) Science
2548 ศาสตราจารย์นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การแพทย์
2005 Professor Dr. Rajata Rajatanavin Medical Mahidol University
M.D. (Mahidol) Science
ศาสตราจารย์นายแพทย์ บุญส่ง องค์พิพัฒนกุล วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การแพทย์
Professor Dr. Boonsong Ongphiphadhanakul Medical Mahidol University
M.D. (Hons., Mahidol) Science
86 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน


Year Name Field Institution
2549 ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะสาร ประเสริฐธรรม วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006 Professor Dr. Piyasan Praserthdam Chemical Chulalongkorn University
B.Eng. (Chulalongkorn), Dr.-lng. (Toulouse) Engineering
ศาสตราจารย์ ดร. สมชาย วงศ์วิเศษ วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี
Professor Dr. Somchai Wongwises Mechanical King Mongkut’s University of
B.Eng. (KMITT), Dr.-lng. (Hannover) Engineering Technology Thonburi
2550 ศาสตราจารย์ ดร. ยงค์วิมล เลณบุรี คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2007 Professor Dr. Yongwimon Lenbury Mathematics Mahidol University
B.Sc. (Hons., A.N.U.), Ph.D. (Vanderbilt)
ศาสตราจารย์ ดร. สมพงษ์ ธรรมพงษา คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Professor Dr. Sompong Dhompongsa Mathematics Chiang Mai University
B.Sc. (Srinakharinwirot),
Ph.D. (IIIinois at Urbana-Champaign)
2551 ศาสตราจารย์ ดร. วัชระ กสิณฤกษ์ วิทยาภูมิคุ้มกัน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2008 Professor Dr. Watchara Kasinrerk Immunology Chiang Mai University
B.Sc. (Chiang Mai), Ph.D. (Boku)
ศาสตราจารย์นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การแพทย์
Professor Dr. Apiwat Mutirangura Medical Chulalongkorn University
M.D. (Chiang Mai), Ph.D. (BCM, USA) Science
2552 ศาสตราจารย์ ดร. สายชล เกตุษา วิทยาการพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2009 Professor Dr. Saichol Ketsa Horticultural Kasetsart University
B.Sc. (Kasetsart), Ph.D. (Michigan State) Science
ศาสตราจารย์ ดร. อารันต์ พัฒโนทัย วิทยาศาสตร์เกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Professor Dr. Aran Patanothai Agricultural Khon Kaen University
B.S. (Hons., Kasetsart), Ph.D. (Iowa State) Science
2553 ศาสตราจารย์นายแพทย์ ประเสริฐ เอื้อวรากุล ไวรัสวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
2010 Professor Dr. Prasert Auewarakul Virology Mahidol University
M.D. (Mahidol), Ph.D. (Heidelberg)
นายแพทย์ วิศิษฎ์ ทองบุญเกิด โปรตีโอมิกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Dr. Visith Thongboonkerd Proteomics Mahidol University
M.D. (Chiang Mai)
2554 ศาสตราจารย์ ดร. สุทธวัฒน์ เบญจกุล วิทยาศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เทคโนโลยีอาหาร
2011 Professor Dr. Soottawat Benjakul Food Science Prince of Songkla
B.Sc. (Prince of Songkla), and Technology University
Ph.D. (Oregon State)
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 87

ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน


Year Name Field Institution
2555 ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะรัตน์ โกวิทตรพงศ์ ประสาท มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาศาสตร์
2012 Professor Dr. Piyarat Govitrapong Neuroscience Mahidol University
B.Sc. (Mahidol), Ph.D. (Nebraska)
ศาสตราจารย์นายแพทย์ นิพนธ์ ฉัตรทิพากร สรีรวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทางไฟฟ้าของหัวใจ
Professor Dr. Nipon Chattipakorn Cardiac Chiang Mai University
M.D. (Chiang Mai), Ph.D., Electrophysiology
(Alabama at Birmingham)
2556 ศาสตราจารย์ ดร. โสพิศ วงศ์คำ� ชีวเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2013 Professor Dr. Sopit Wongkham Biochemistry Khon Kaen University
B.Sc. (Hons., Mahidol), Ph.D. (Mahidol)
รองศาสตราจารย์ ดร. บรรจบ ศรีภา พยาธิชีววิทยา มหาวิยาลัยขอนแก่น
Assosiate Rrofessor Banchob Sripa Pathology Khon Kaen University
B.Sc. (Khon Kaen), Ph.D. (Queensland)
2557 ศาสตราจารย์ ดร. ธวัชชัย ตันฑุลานิ เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2014 Professor Dr. Thawatchai Tuntulani Chemistry Chulalongkorn University
B.Eng. (Chiang Mai), Ph.D. (Texas A&M)
ศาสตราจารย์ ดร. ธีรยุทธ วิไลวัลย์ เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Professor Dr. Tirayut Vilaivan Chemistry Chulalongkorn University
B.Sc. (Hons., Chulalongkorn), D.Phil. (Oxford)
2558 ศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
2015 Professor Dr. Pimchai Chaiyen Biochemistry Mahidol University
B.Sc. (Hons., Prince of Songkla),
Ph. D. (Michigan)
2559 ศาสตราจารย์นายแพทย์ วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ เวชพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2015 Professor Dr. Vorasuk Shotelersuk Medical Chulalongkorn University
M.D. (Chulalongkorn) Genetics
2560 ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. เดวิด รูฟโฟโล ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2017 Professor Dr. David Ruffolo Physics Mahidol University
B.S. (Cincinnati), Ph.D. (Chicago)
2561 ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เคมีวิเคราะห์​ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2018 Professor Dr. Orawon Chailapakul Analytical Chulalongkorn University
B.Sc. (Mahidol), Ph.D. (New Mexico) Chemistry​
2562 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ ไฟฟ้าเคมี สถาบันวิทยสิริเมธี
2019 Assistant Professor Electrochemistry Vidyasirimedhi Institute of
Dr. Montree Sawangphruk Science and Technology
B.Sc. (Hons, Ubon Ratchathani),
M.Sc. (Kasetsart), D.Phil. (Oxford)
88 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

รายนามนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่

ปี พ.ศ. ชื่อ-สกุล สาขาวิชา สถาบัน


2534 1. ผศ. ดร. ดุสิต เครืองาม วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ดร. จรัญญา เงินประเสริฐศิริ พันธุวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. ผศ. ดร. วรชาติ สิรวราภรณ์ ชีววิทยาโมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล
4. ผศ. ดร. ศกรณ์ มงคลสุข พันธุวิศวกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล
2535 1. ผศ. ดร. สุพจน์ หารหนองบัว เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ดร. สุพรรณ ฟู่เจริญ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. ผศ. ดร. จิระพันธ์ กรึงไกร ชีวเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2536 1. ผศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ผศ. วันชัย มาลีวงษ์ ปาราสิตวิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2537 1. ดร. ชนันท์ อังศุธนสมบัติ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
2. ผศ. ดร. อัญชลี ทัศนาขจร ชีวเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. ดร. สุเจตน์ จันทรังษ์ อิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
2538 1. ผศ. ดร. ศันสนีย์ ไชยโรจน์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
2. ดร. เกศรา ณ บางช้าง ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
2539 1. ผศ. นพ. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล วิทยาภูมิคุ้มกัน มหาวิทยาลัยมหิดล
2. ผศ. ดร. ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ เคมี (พอลิเมอร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ผศ. ดร. รศนา วงษ์รัตนชีวิน จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4. นพ. อภิวัฒน์ มุทิรางกูร พันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2540 1. ดร. ประสาท กิตตะคุปต์ ชีวเคมี ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี


ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช.
2. ผศ. ดร. สุภา หารหนองบัว เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2541 1. ผศ. ดร. ธวัชชัย ตันฑุลานิ เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2542 1. ดร. เฉลิมพล เกิดมณี สรีรวิทยา (พืช) ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช.
2. ดร. สนอง เอกสิทธิ์ วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
และวิศวกรรม
2543 1. ผศ. ดร. ธีรยุทธ วิไลวัลย์ เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ. ดร. ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย ฟิสิกส์พอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ผศ. ดร. ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ เทคโนโลยีพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี
4. ดร. สมชาติ ฉันทศิริวรรณ วัสดุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5. ผศ. นพ. ประเสริฐ เอื้อวรากุล จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
6. ดร. ศิราวุธ กลิ่นบุหงา พันธุศาสตร์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช.
2544 1. ผศ. ดร. ชาคริต สิริสิงห พอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2. ผศ. ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ ควอนตัมฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ผศ. ดร. รุ่งนภา ศรีชนะ เภสัชเคมี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
4. ผศ. ดร. สุทธวัฒน์ เบญจกุล เทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 89

ปี พ.ศ. ชื่อ-สกุล สาขาวิชา สถาบัน


2545 1. ผศ. ดร. มงคล สุขวัฒนาสินิทธิ์ เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. รศ. ดร. ธนัญชัย ลีภักดิ์ปรีดา วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. ผศ. ดร. พิชญ์ ศุภผล วิศวกรรมพอลิเมอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. นพ. วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ พันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2546 1. ดร. จรูญ จักร์มุณี เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2. ดร. จิรันดร ยูวะนิยม ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ผศ. ดร. พลังพล คงเสรี เคมีอินทรีย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
4. ดร. วรรณพ วิเศษสงวน วิทยาศาสตร์อาหาร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช.
5. ผศ. ดร. ศราวุฒิ จิตรภักดี ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
6. รศ. ดร. สุทธิชัย อัสสะบำ�รุงรัตน์ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2547 1. ดร. จินตมัย สุวรรณประทีป เทคโนโลยีวัสดุการแพทย์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ,
สวทช.
2. ดร. เทียนทอง ทองพันชั่ง เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ผศ. ดร. พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ เทคโนโลยีเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
4. ผศ. ดร. มัลลิกา เจริญสุธาสินี ชีววิทยา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
5. ดร. ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร โฟโทนิกส์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ, สวทช.
6. ผศ. ดร. สุพล อนันตา ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2548 1. ผศ. ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล


2. ผศ. ดร. ยุทธนา ตันติรุ่งโรจน์ชัย เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
3. รศ. ดร. สุกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2549 1. ผศ. ดร. จูงใจ ปั้นประณต วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. รศ. ดร. ชนพ ช่วงโชติ พยาธิวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. ผศ. ดร. พวงรัตน์ ไพเราะ ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
4. นพ. วิศิษฎ์ ทองบุญเกิด อายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
5. ผศ. ดร. อภินภัส รุจิวัตร์ เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2550 1. ผศ. ดร. เฉลิมชนม์ สถิระพจน์ วิศวกรรมสำ�รวจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ. ดร. นวดล เหล่าศิริพจน์ วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี
3. ผศ. ดร. วินิช พรมอารักษ์ เคมี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
4. ผศ. ดร. สันติ แม้นศิริ ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5. ผศ. ดร. อทิตยา ศิริภิญญานนท์ เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
6. ดร. อานนท์ ชัยพานิช วัสดุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2551 1. ผศ. นพ. ดร. นรัตถพล เจริญพันธุ ์ สรีรวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล


2. ดร. นราธิป วิทยากร วัสดุศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ดร. บุรินทร์ กำ�จัดภัย ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
4. ผศ. ดร. สาธิต แซ่จึง คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5. ผศ. ดร. อาทิวรรรณ โชติพฤกษ์ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2552 1. ผศ. ดร. ธรรมนูญ ศรีทะวงศ์ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ. ดร. สุรัตน์ ละภูเขียว เคมี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
3. ผศ. ดร. อมรชัย อาภรณ์วิชานพ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
90 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

ปี พ.ศ. ชื่อ-สกุล สาขาวิชา สถาบัน


2553 1. ดร. เครือวัลย์ จันทร์แก้ว ธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ดร. ชนากานต์ พรมอุทัย พืชไร่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. ดร. บรรจง บุญชม เคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร
4. ดร. วีระวัฒน์ แช่มปรีดา ชีวเคมี ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช.
5. ผศ. ดร. สอาด ริยะจันทร์ พอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
6. ดร. อุรชา รักษ์ตานนท์ชัย นาโนเทคโนโลยี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ, สวทช.
2554 1. ดร. ขจรศักดิ์ เฟื่องนวกิจ วิศวกรรมเคมี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ, สวทช.
2. ผศ. ดร. ปิติ จันทร์วรโชติ เซลล์ชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. รศ. ดร. ยงยุทธ หล่าศิริถาวร ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4. ดร. ยุทธนันท์ บุญยงมณีรัตน์ วัสดุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2555 1. ดร. วรวัฒน์ มีวาสนา ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2. ดร. สิทธิโชค ตั้งภัสรเรือง ชีววิทยาโมเลกุลของพืช ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช.
3. ผศ. ดร. สัมฤทธิ์ วัชรสินธุ์ เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2556 1. ผศ. นพ. ดร. ฉัตรชัย เหมือนประสาท สรีรวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
2. ผศ. ดร. ดวงกมล เบ้าวัน คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ดร. ประสิทธิ์ ทองใบ ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4. ผศ. ดร. วิทยา เงินแท้ เคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2557 1. ผศ. ดร. ทรงยศ นาคอริยกุล วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2. ผศ. ดร. ธงไทย วิฑูรย์ วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. ดร. ปริญญา การดำ�ริห์ ฟิสิกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2558 1. ผศ. ดร. นงลักษณ์ มีทอง ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ดร. เพียงพักตร์ สุขรักษ์ ชีววิทยา มหาวิทยาลัยบูรพา
3. รศ. ดร. วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
2559 1. ผศ. ดร. การุณ ทองประจุแก้ว วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2. ผศ. ดร. พนิดา สุรวัฒนาวงศ์ เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ผศ. ดร. ศิริลตา ยศแผ่น เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
4. ผศ. ดร. อติพร แซ่อึ้ง ชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2560 1. รศ. ดร. เบญจพล เฉลิมสินสุวรรณ เคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ. ดร. บูรภัทร์ อินทรีย์สังวร เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. ผศ. ดร. วโรดม เจริญสวรรค์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
4. ผศ. ดร. วิบุญ ตั้งวโรดมนุกูล วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี
2561 1. ผศ. ดร. เจ้าทรัพย์ บุญมาก เคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ เคมี สถาบันวิทยสิริเมธี
2562 1. ผศ. ดร. เอกพันธ์ ไกรจักร์ พฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. ผศ. ดร. ภูวดล ธนะเกียรติไกร วิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
3. ดร. ธีรพงศ์ ยะทา นาโนเทคโนโลยี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ, สวทช.
2019 OUTSTANDING SCIENTIST AWARD 91

คณะกรรมการ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

กรรมการ
1. รศ. ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานคณะกรรมการ
2. ศ.ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ กรรมการ
3. รศ. ดร. กำ�จัด มงคลกุล กรรมการ
4. ศ. ดร. วันเพ็ญ ชัยคำ�ภา กรรมการ
5. รศ. ดร. คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ กรรมการ
6. ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช กรรมการ
7. ศ. ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ กรรมการ
8. ศ. ดร. อภิชาต สุขสำ�ราญ กรรมการ
9. รศ. ดร. กำ�ธร ธีรคุปต์ กรรมการ
10. ผศ. บัวรอง ลิ่วเฉลิมวงศ์ กรรมการ
11. ดร. กัญญวิมว์ กีรติกร กรรมการ
12. ศ. ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล กรรมการและประธานคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
13. นสพ. รุจเวทย์ ทหารแกล้ว กรรมการและประธานคณะกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น
14. รศ. ดร. ทิพาพร ลิมปเสนีย์ กรรมการและเหรัญญิก
15. ศ. ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์ กรรมการและเลขานุการ

ที่ปรึกษา
1. นายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
2. ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
3. ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
4. เลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ
5. ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6. ดร. กอปร กฤตยากีรณ
7. ดร. อาชว์ เตาลานนท์
8. คุณยุทธนา เจียมตระการ

ผู้ช่วยกรรมการ
1. คุณวิมลพร ใบสนธิ์
2. คุณบำ�รุง ไตรมนตรี
92 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2562

ประธานคณะกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
1. นายบุญเยี่ยม มีศุข 2526 - 2538
2. ศ. ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต 2539 - 2549
3. ดร. กอปร กฤตยากีรณ 2549 - 2554
4. ศ. ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ 2554 – 2557
5. รศ. ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน 2557 - ปัจจุบัน

ประธานคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
1. ศ. ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต 2525 - 2535
2. ดร. กอปร กฤตยากีรณ 2536 - 2538
3. ศ. ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ 2539 - 2542
4. ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช 2543 - 2546
5. ศ. ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์ 2547 - 2553
6. ศ. ดร. อมเรศ ภูมิรัตน 2554 - 2557
7. ศ. ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล 2558 - ปัจจุบัน

ประธานคณะกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น
1. ดร. วิโรจน์ ตันตราภรณ์ 2544 - 2548
2. ศ. นพ. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล 2549 - 2553
3. รศ. ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน 2554 - 2557
4. นสพ. รุจเวทย์ ทหารแกล้ว 2558 - ปัจจุบัน

You might also like