Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 74

ธุรกิจน้ํามัน: จากผูผลิต…สูผูบริโภค

มนูญ ศิริวรรณ
16 มีนาคม 2560
หัวขอการนําเสนอ
1. การตลาดและคาปลีก

2. โครงสรางราคาหนาโรงกลั่น/คาปลีก

3. เชื้อเพลิงชีวภาพ

4. การสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร (SPR)

5. แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง
2
หัวขอการนําเสนอ
1. การตลาดและคาปลีก

2. โครงสรางราคาหนาโรงกลั่น/คาปลีก

3. เชื้อเพลิงชีวภาพ

4. การสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร (SPR)

5. แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง

3
วงจรชีวิตน้ํามัน

4
การจัดหา ผลิต และจําหนายน้ํามันในประเทศ
มกราคม – กันยายน 2559
Supply Production Sales

279.3 KBD

Source : Investor Update January 2017 (http://www.pttplc.com)


Remark : KBD = พันบารเรลตอวัน 5
ระบบการขนสงน้ํามัน

Source : Petroleum Institute of Thailand


ระบบการรับ – จาย - จําหนายน้ํามัน

ที่มา : Petroleum Institute of Thailand 7


การขนสงน้ํามัน
ทางเรือ

ทางท่อ THAPPLINE
ทางท่อ FPT

ทางรถไฟ
ทางรถยนต์

ทางเรือ
8
ทีม่ า : Petroleum Institute of Thailand 9
ระบบขนสงน้ํามันและกาซ LPG
ี งใหม่
เชย

ลําปาง


เด่นชย
พิษณุ โลก ขอนแก่น

นครสวรรค์

สระบุร ี อุบลราชธานี
บางปะอิน ลําลูกกา
บางจาก พระโขนง
สมุทรสาคร เขาบ่อยา
บ้านโรงโป๊ะ
ั บ) REFINERIES
ศรีราชา (สตหี
REFINERIES

ชุมพร

สุราษฎร์ธานี
ภูเก็ต โครงขายทอขนสงน้ํามัน
สงขลา ทางท่อ THAPPLINE ทางรถยนต์
ทางท่อ FPT ทางเรือ
ท่อ JP-One Asset
คลังนํ้ ามัน
(มักกะสัน-สุวรรณภูม)ิ
ทางรถไฟ คลัง LPG
10
โครงสรางทอขนสงน้ํามัน

ทางท่อ THAPPLINE
ทางท่อ FPT
ท่อ JP-One Asset
(มักกะสัน-สุวรรณภูม)ิ
ทางรถไฟ

11
ระบบการขนสงเชื้อเพลิงทางทอ

ที่มา : Petroleum Institute of Thailand 12


การขนสงน้ํามันสําเร็จรูปผานทอ

ที่มา : Petroleum Institute of Thailand 13


ตลาดน้ํามันในประเทศ
ผูคาน้ํามัน / ผูขนสงน้ํามัน
 ผูคามาตรา 7 : ผูคารายใหญ (เกิน 120 ลานลิตร หรือ 100,000 ตันตอป หรือ
LPG เกิน 50,000 ตันตอป) นําเขา สงออกได ตองสํารองน้ํามัน 6+1% (36 ราย)

 ผูคามาตรา 7 พิเศษ : ผูคารายใหญ สงออกเปนหลัก คาขายนอกประเทศได ไดรับสิทธิ


ลดหยอนภาษีเงินได จาก 30% เปน 10% (7 ราย)

 ผูคามาตรา 10: ผูคารายเล็ก (Jobber) ปริมาณการคา 30,000 – 100,000 ตันตอป หรือมี


ความจุคลังมากกวา 200,000 ลิตร นําเขาน้ํามันไมได ไมตองสํารองน้ํามัน (144 ราย)

 ผูคามาตรา 11 สถานีบริการขายปลีกน้าํ มัน (19,068 ราย)

่ : Petroleum Institute of Thailand


ทีมา 15
การคาน้ํามัน (Marketing Supply Chain)

ที่มา : Petroleum Institute of Thailand 16


ปริมาณจําหนาย และ สวนแบงการตลาด
สวนแบงตลาดรวมทุกผลิตภัณฑ จํานวนสถานีบริการ

รวม 4,578.71 ลานลิตร รวม 4,250 แหง


22.6%
40.4% 9% 4%
180 25%
Others 13%

11.0% 363 12%

6.9% 38%
537
10.3% 8.8%

ปริมาณการจําหนาย (ลานลิตร/วัน)
499
ประเทศ ปตท.

นํา้ ม ันเบนซน 30.64 11.17
นํา้ ม ันดีเซล 66.03 23.04 1,062
นํา้ ม ันอากาศยาน 18.89 8.92
นํา้ ม ันเตา 6.33 4.41 1,609
ก๊าซหุงต้ม 25.73 12.13
รวม 147.55 59.67
หมายเหตุ : นับเฉพาะสถานีบริการน้ํามันของผูคารายใหญ ณ กันยายน 2559
หมายเหตุ : ขอมูลจากกรมธุรกิจพลังงาน ณ เดือนธันวาคม 2559 : บางจาก รวมสถานีบริการชุมชน 616 แหง (ณ กันยายน 2559)
17
ธุรกิจสถานีบริการน้ํามัน
• เปนธุรกิจที่ลงทุนสูง ผลตอบแทนต่ํา แตมีสภาพคลองสูง (Cash Cow)
- สถานีบริการขนาดกลาง (เนื้อที่ 1 ไร) เงินลงทุนไมรวมคาที่ดิน 20 ลานบาท
- ขนาดใหญ (พิ้นที่ไมเกิน 5 ไร) เงินลงทุน 30 ลานบาท
- สถานีบริการชุมชนแบบครบวงจร (เนื้อที่ 5 ไรขึ้นไป) เงินลงทุนไมตา่ํ กวา 50 ลานบาท
• กําไรของผูประกอบการ
- คาการตลาด 80 ส.ต./ลิตร (กรณีลงทุนเอง-DODO)
- ยอดขายเฉลี่ย 500,000 ลิตร/เดือน
- กําไรสุทธิ 200,000 บาท/เดือน
- ระยะเวลาคืนทุน 10-20 ป
• จึงตองแสวงหากําไรจากธุรกิจ Non-Oil เปนหลัก
ธุรกิจคาปลีกน้ํามันขยายไปสูธุรกิจคาปลีกอื่นๆ มากขึ้น
รานสะดวกซื้อ รานกาแฟสด ธุรกิจอื่นๆ

- -

19
สัดสวน EBITDA ของธุรกิจ Oil : Non oil ของ ปตท.

15,434
14,583
16,000
13,361
14,000 11,578

12,000

10,000
13,603 11,340

8,000 11,197
8,828

6,000

4,000

2,000 2,750 3,243


1,831 2,164

-
2555 2556 2557 2558

Non oil Oil

ที่มา : เอกสารนําเสนอ Analyst Meeting (http://www.pttplc.com) 20


ทิศทางของธุรกิจน้ํามันในอนาคต
Customer CSV
Centric

Energy Tough Starting Competitive Green


Attempts at
Security Point Scenario Awareness
Innovation
Evolving

• กําไรจากการขายปลีก
้ นลดลง • สถานี สเี ขียว
นํ ามั
• บริษท
ั ข ้ามชาติ (IOCs) • สร ้างสรรค ์นวัตกรรมใน
ถอนการลงทุน สถานี บรืการ
• Facility

• บริษท
ั พลังงานแห่งชาติ • Alternative Fuels
(NOCs) ขยายธุรกิจ
• Logistic

CSV = Creating Shared Value การสร ้างคุณค่าร่วมกันระหว่างธุรกิจและชุมชน 21


หัวขอการนําเสนอ
1. การตลาดและคาปลีก

2. โครงสรางราคาหนาโรงกลั่น/คาปลีก

3. เชื้อเพลิงชีวภาพ

4. การสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร (SPR)

5.แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง
22
THAILAND EX-REFINERY
PRICE STRUCTURE

23
โครงสรางราคาขายปลีกน้ํามันในประเทศไทย

ราคาอ้างอิง ต ้นทุนในการขนสง่ นํ้ ามันจากสงิ คโปร์มายังประเทศไทย ราคา


สงิ คโปร์
(MOPS)
+ รวมชดเชยค่าใชจ่้ ายอืน ่ สว่ นต่างคุณภาพ, สารเติม
่ ๆ เชน
แต่ง, ค่าประกันภัย และอืน ่ ๆ
= ณ
โรงกลน่ั

ภาษี กองทุนนํ้ ามัน


ราคา
+ + + ภาษีมล
ู ค่า
=
สรรพสามิต ื้ เพลิง
เชอ ราคา

ภาษี ท ้องที/่ กองทุนอนุรักษ์ เพิม
่ 7% ขายสง่
โรงกลน่ั เทศบาล พลังงาน

ราคา
ขายสง่ + ค่า
การตลาด + ภาษีมล
เพิม
ู ค่า
่ 7% = ราคาขาย
ปลีก

24
ตลาดซื้อขายน้ํามันของโลก

ทําไมราคาน้ํามันในประเทศ
ตองอิงราคาตลาดที่สิงคโปร
 สิงคโปรมีกําลังกลั่นอยูที่ 214.3 ลานลิตร/วัน (1,348 พันบารเรลตอวัน) และเปนโรงกลั่นที่
ทันสมัย ในขณะที่มีความตองการใชในประเทศนอย (ประมาณ 47.7 ลานลิตร หรือ 23% ของ
ปริมาณการกลั่น) จึงสงออกเปนหลัก
 ราคาสิงคโปรเปนราคาซื้อขายในภูมิภาคนี้ และประกาศโดยบริษัทฯ ที่อิสระ ไมใชเปนราคา
ที่ประกาศโดยประเทศสิงคโปร หรือโรงกลั่นสิงคโปร หรือขายปลีกสิงคโปร
 ทั้งสิงคโปรและไทยตางตองนําเขาน้ํามันดิบจากตะวันออกกลางเปนสวนใหญ จึงมีตนทุนคลายกัน
ตางกันตรงที่คาขนสงเทานั้น
 การอางอิงราคาตลาดที่สิงคโปร ก็เพื่อมิใหโรงกลั่นในประเทศตั้งราคาที่สูงเกินไป มิฉะนั้น ผูคา
สามารถนําเขาจากสิงคโปรไดถูกกวา
 โรงกลั่นในประเทศ มีตนทุนที่สูงกวาจากคุณภาพน้ํามันที่รัฐกําหนดดีกวา อีกทั้งผูคาและโรงกลั่น
ตองมีการสํารองน้ํามันตามกฎหมายรวม 6% ของความตองการ 25
ทําไมตองอางอิงราคาสิงคโปร

26
Import Parity vs. Export Parity

• Import Parity :

mops Singapore + freight + insurance + quality improvement

• Export Parity :

mops Singapore + quality improvement

27
ทําไมราคาน้ํามันหนาโรงกลั่นตองเทียบเคียงการนําเขา
(Import Parity)
 โรงกลั่นน้ํามันในไทยตั้งขึ้นเพื่อทดแทนการนําเขา
 ราคาเทียบเคียงการนําเขาจึงเปนเพียงเพดานราคาที่ใชอางอิงวา
ราคาในประเทศจะไมสูงกวาราคานําเขา
 ถาโรงกลั่นฯตั้งสูงเกินไปก็จะมีผูนําเขามาแขงขัน
 ถาต่ําเกินไปก็จะมีผูซื้อไปสงออกจนในประเทศขาดแคลนได
 ในที่สุดราคาก็จะกลับมาอยูที่ราคาใกลเคียงการนําเขาอยูดี
 โรงกลั่นในไทยมีตนทุนสูงกวาโรงกลั่นในสิงคโปร
- คาขนสงน้ํามันสูงกวา/ระยะทางไกลกวา
- ตองสํารองน้ํามันตามกฏหมาย 6% ในขณะที่สิงคโปรไมตอง
28
ทําไมราคาน้ํามันขายปลีกของไทยจึงแพงกวา
ประเทศเพื่อนบานบางประเทศ

 ทรัพยากรปโตรเลียมตางกัน - มีมาก/มีนอย
 เปนผูสงออก/นําเขา (สุทธิ)
 นโยบายพลังงานตางกัน
- ใชใหคุมคา มีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนา
- ใชสิ้นเปลือง เพื่อความสะดวกสบาย
 นโยบายราคาตางกัน
 โครงสรางภาษีตางกัน

29
30
โครงสรางราคาขายปลีกน้ํามันเชื้อเพลิง

31
โครงสรางราคาขายปลีกน้ํามันในประเทศไทย (2)
มติ ครม. ป 2534:
ยกเลิกการควบคุมราคา และใหลอยตัวราคาน้ํามัน
ตามกลไกตลาด (ยกเวน LPG)
ราคา
ขาย คาการตลาด ภาษี รัฐเปนผูกําหนดในอัตราคงที่ / เปอรเซ็นต
ปลีก ภาษีมูลคาเพิ่ม ของราคาขาย
กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน คณะกรรมการ
พลังงาน
กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงานเปนผูกําหนด
ภาษีมูลคาเพิ่ม
ภาษี รัฐเปนผูกําหนดในอัตราคงที่ / เปอรเซ็นต
กองทุนน้ํามันฯ ของราคาขาย
ราคา
ขายสง ภาษีสรรพสามิต กองทุนน้ํามันฯ
ภาษีเทศบาล รัฐเปนผูกําหนดอัตราการจัดเก็บ
หนา
ภาษีสรรพสามิตและภาษีเทศบาล
โรงกลั่น
รัฐเปนผูกําหนดและจัดเก็บ
ราคา ณ โรงกลั่น ราคา ณ โรงกลั่น (ยกเวน LPG) จะอิงราคา
สิงคโปร บวกคาขนสง คาประกันภัย คาปรับปรุง
คุณภาพ* และคาใชจายอืน่ ๆ
32
ภาษี เงินกองทุน และค่าการตลาด

33
ภาษี / เงินที่เรียกเก็บจากผูใชน้ํามัน

 ภาษีสรรพสามิต
 ภาษีเทศบาล
 ภาษีมูลคาเพิ่ม
 กองทุนน้ํามัน
 กองทุนอนุรักษพลังงาน

34
อัตราภาษีสรรพสามิตและเทศบาล (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2560)
หนวย : บาทตอลิตร

ชนิดน้ํามัน สรรพสามิต เทศบาล

เบนซิน 95 6.50 0.65


Gasohol 95 (E 10) 5.85 0.585
Gasohol 95 (E 20) 5.20 0.52
Gasohol 95 (E 85) 0.975 0.0975
Gasohol 91 5.85 0.585
Diesel 5.85 0.585
FO 600 (2%) 0.6372 0.0637
FO 1500 (2%) 0.6151 0.0615
LPG 2.17 0.217
35
กองทุนนํ้ามัน/อนุรกั ษ์พลังงาน
อัตราเรียกเก็บเงินเขากองทุน (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2560)
หนวย : บาทตอลิตร

ชนิดน้ํามัน กองทุนน้ํามัน กองทุนอนุรักษพลังงาน

เบนซิน 95 6.31 0.25


Gasohol 95 (E 10) 0.35 0.25
Gasohol 95 (E 20) - 3.00 0.25
Gasohol 95 (E 85) - 9.35 0.25
Gasohol 91 0.35 0.25
Diesel (B-5) 0.01 0.25
FO 600 (2%) 0.06 0.07
FO 1500 (2%) 0.06 0.07
LPG - 6.6336 0.00
37
คาการตลาดคืออะไร
 เปนกําไรขั้นตนไมใชกําไรสุทธิ
 ตองแบงกันระหวางบริษัทผูคาน้ํามันและเจาของสถานีบริการ
 หลังจากหักคาใชจายของบริษัทผูคาน้ํามันและเจาของสถานีบริการ จึงเหลือเปนกําไรสุทธิ

38
คาการตลาดที่ผูคาน้ํามันไดรับต่ํากวาระดับที่ควรจะเปน
คาการตลาด : ไมใชกําไรของบริษัทผูคาน้ํามัน เปนเพียงสวนตางของราคาขายปลีกลบดวยราคาขายสงน้ํามันหนาโรงกลั่น
ซึ่ง ยังไมไดหักคาใชจาย ดําเนินการของบริษัทผูคาน้ํามัน รวมถึงสวนที่บริษัทผูคาน้ํามันตองจายใหกับ
เจาของสถานีบริการ
รายการคาใชจาย
คาการตลาด ที่ยังไมไดหักออกจากคาการตลาด
สัดสวนคาการตลาดตอราคาขายปลีก
(บาท/ลิตร) สวนของบริษัทน้ํามัน
6.5% 7.0%
2.20 5.4% 4.8% • คาขนสง
2.00 4.4% 4.1% 4.4% 4.4% 4.8% • คาดําเนินการปฏิบัติงานคลัง
1.80 • คาสารเติมแตง
1.60 • ตนทุนการเงินสํารองผลิตภัณฑ
1.64 1.64 สวนของสถานีบริการน้ํามัน
1.40 1.56
1.20 1.36 1.39 1.43 1.29 1.43 1.41 • คาขนสง
• คาแรงงาน
1.00
• คาสาธารณูปโภค
0.80 • คาเชาที่ดิน และคาบํารุงรักษาสถานีบริการ
0.60
0.40 คาใชจายที่ปรับเพิ่มขึ้น
0.20 • คาขนสง
0.00 • คาแรงงาน
2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 • คาสาธารณูปโภค
• คาใชจายดานสิ่งแวดลอม
ที่มา : ปตท.
หมายเหตุ : ขอมูลสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 39
โครงสรางราคาน้ํามันของไทย

 รัฐบาลเก็บภาษีและกองทุนน้ํามันสูงถึง 33-48% ของราคาขายปลีก


o ทําใหน้ํามันมีราคาแพงเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบาน
 ประเทศเพื่อนบานบางประเทศไมเก็บภาษีน้ํามัน/เก็บในอัตราต่ํา/มีการอุดหนุนราคาน้ํามัน เชน
มาเลเซีย / เมียนมาร / บรูไน
 ราคาหนาโรงกลั่นของทุกประเทศในเอเชียอิงราคาสิงคโปรหมด
o ราคาไมแตกตางกันมาก
 ราคาขายปลีกที่แตกตางขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐบาล
o โครงสรางภาษีและเงินอุดหนุน
 คาการตลาดของผูประกอบการอยูที่ 5-6% ของราคาขายปลีก
o มีผลตอราคานอยมาก
40
41
โครงสรางราคาน้ํามันกลุม “เบนซิน 95”

ที่มา : Facebook/S.Vitoonkijvanich (ที่มาของขอมูล สนพ. และ Petron) 43


44
What do we pay for in a gallon of diesel fuel ?

ที่มา : U.S. Energy Information Administration, averages based on Gasoline and Diesel Fuel Update 45
ราคาขายปลีก LPG ภาคครัวเรือนประเทศไทยและเพื่อนบาน
บาท / กิโลกรัม
45
40.87
39.55
40
34.78
35
28.92
30
26.00
25
20.29
20
15.48
15

10

0
Malaysia Thailand Myanmar Cambodia Laos Philippines Vietnam
หมายเหตุ : - ไทย ราคา ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2559
- มาเลเซีย กัมพูชา พมา ลาว เวียดนาม ราคา ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2559*
- ฟลิปปนส ราคา ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2559**
มาเลเซียอุดหนุนราคาโดยภาครัฐ
ที่มา : สํานักงานแผนและนโยบายพลังงาน ไทย อุดหนุนราคา LPG สําหรับครัวเรือนผูมีรายไดนอยที่ 18.13 บาท/กิโลกรัม 46
ราคาขายปลีก LPG รถยนตของประเทศไทยและตางประเทศ
บาท/ลิตร
35
32.10

30 28.02 28.12
26.09

25 24.12
22.70 22.50
21.39
20.01
19.43
20 19.15

16.96
15.96 15.96
14.90
15
10.96
11.35

10

Asia Europe - Russia Australia America

ทีม
่ า: 1 http://www.doe.gov.ph/lpg-auto-lpg-prices/lpg-auto-lpg-prices-metro-manila ไทย ราคา ณ วันที่ 24 ม.ค. 2560
1ฟิ ลป
ิ ปิ นส์
ราคา ณ วันที่ 3 ก.ย. 2558
2 http://www.mynrma.com.au/motoring-services/petrol-watch/fuel-prices.htm 2ออสเตรเลีย ราคา ณ วันที่ 24 ม.ค. 2560
3 http://www.mylpg.eu/lpg-prices-across-europe 3 ประเทศกลุม
่ ยุโรป ราคา ณ วันที่ 24 ม.ค. 2560
4 http://www.globalpetrolprices.com 4ประเทศอืน่ ๆ ราคา ณ วันที่ 23 ม.ค. 2560 47
แนวทางการเปดเสรีธุรกิจ LPG ของภาครัฐ
ตามมติที่ประชุม กพช. เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 รับทราบขอสรุปการดําเนินงานเพื่อเปดเสรีธุรกิจกาซ LPG
ตามที่ประชุม กบง. เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2559 ซึ่งมีมติเห็นชอบ โดยใหลดการควบคุมธุรกิจการผลิตและ
จัดหาลงอยางตอเนื่อง เพื่อมิใหกระทบถึงราคาขายปลีกมากจนเกินไป นําไปสูการเปดเสรีธุรกิจกาซ LPG
ทั้งระบบ โดยขั้นตอนการดําเนินการเพื่อเปดเสรีธุรกิจกาซ LPG แบงเปน 2 ระยะ สรุปดังนี้

1) ชวงเปลี่ยนผานกอนเปดเสรีทั้งระบบ 2) เปดเสรีทั้งระบบ
ควบคุ ม ราคาโรงกลั่ น และโรงแยกก า ซฯ แตจ ะเปด เสรี ยกเลิ กการควบคุ มราคาและปริมาณทุกแหลง ผลิ ตและ
เฉพาะในสวนการนําเขา โดยใหยกเลิกระบบโควตาการ จัด หา รวมถึ งยกเลิ กการประกาศราคา ณ โรงกลั่นและ
นําเขา และสามารถสงออกเนื้อกาซที่ผลิตในประเทศได ราคาขายสง ณ คลังกาซ ภายหลัง พ.ร.บ. กองทุนน้ํามัน
แต ต อ งอยู ภ ายใต ก ารควบคุ ม ของกรมธุ ร กิ จ พลั ง งาน เชื้อเพลิง พ.ศ..... มีผลบังคับใช
ทั้งนี้ ใหเริ่มดําเนินการเปดเสรีในสวนนําเขาตั้งแตเดือน
มกราคม 2560 เปนตนไป
เก็บเงินเข ้า
เก็บเงินเข ้า กองทุน
กองทุน

CP+X ทุกแหลง
Cost CP CP+X

GSP Refinery Import GSP Refinery Import


ที่มา : สํานักงานแผนและนโยบายพลังงาน 48
การปรับโครงสรางราคา LPG ทําใหความตองการใช
และการนําเขา LPG ลดลง
หน่วย: KTON Import Demand GSP + Refinery
8,000 7,515
7,276 7,426

7,000 6,759 6,731

6,000 5,775
5,473
5,939
4,968 5,690
5,000 4,658 5,506 5,513
5,292
5,120
4,035
4,000 4,389
4,225 4,227 4,204

3,000
2,009
2,000 1,735
1,571 1,467 1,337 1,218
1,000 740
433 427

0
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559
(JAN-NOV)
ที่มา : สํานักงานแผนและนโยบายพลังงาน 49
หัวขอการนําเสนอ
1.
1. การตลาดและคาปลีก

2. โครงสรางราคาหนาโรงกลั่น/คาปลีก

3. เชื้อเพลิงชีวภาพ

4. การสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร (SPR)

5. แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง
50
ชนิดของน้ํามันที่จําหนายในสถานีบริการน้ํามัน
ในประเทศไทยปจจุบัน


เครืองยนต ์เบนซิน
ULG 95 Gasohol 95 Gasohol 91
แก๊สโซฮอล ์ อี 10 แก๊สโซฮอล ์ อี 10
เบนซินออกเทน 95 ออกเทน 95 ออกเทน 91

E20
แก๊สโซฮอล ์ อี 20

E85
แก๊สโซฮอล ์ อี 85


เครืองยนต ์
ดีเซล
HSD HSD
Premium ดีเซลหมุนเร็ว

51
Gasohol
Gasohol = น้ํามันเบนซิน + แอลกอฮอล

E10 = 90 + 10

E20 = 80 + 20

E85 = 15 + 85

5252
B5 = น้ํามันดีเซล + B100 *
95% 5%

* B100 = ไบโอดีเซล คือน้ํามันเชื้อเพลิงที่ผลิตจากน้ํามันพืช หรือไขมันสัตว โดยผานกระบวนการ


ทางเคมี เพื่อ เปลี่ ยนโครงสรา งโมเลกุ ล (Transesterification)ให มี คุณ สมบั ติ ใ กล เคี ย งกั บ น้ํ า มั น
ดีเซลหมุนเร็วจากฟอสซิล สามารถนํามาใชเปนน้ํามันเชื้อเพลิงไดโดยไมกอใหเกิดความเสียหาย
ตอเครื่องยนต และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
53
ปริมาณจําหนายน้ํามันแกสโซฮอลและการใชเอทานอล
ออย มันสําปะหลัง
ปริมาณการใชเอทานอล (ลานลิตรตอวัน)
3.78 3.82
3.75
3.63 3.68 3.66
3.57 3.55 3.58 3.60
3.50 3.45
3.20

ปริมาณการใชแกสโซฮอล (ลานลิตรตอวัน)
28.379
28.797 29.019
27.433 27.073 28.007
26.216 27.201 27.759
30.000 25.011 25.576 26.722
0.891 0.833 0.946
0.818 0.896 0.890 0.933
0.813 0.861 0.920
22.073 0.820 5.015 4.978
25.000 0.869 4.664 5.103 4.783 4.732 4.797
4.637 4.817 4.697
4.479
0.940 4.138
20.000 3.728
10.548 10.799 11.190 11.570
9.988 10.421 10.400 10.922 11.070 11.336
8.993 10.652
15.000
7.505

10.000

11.011 10.929 11.403 11.203 11.585 11.124 11.760 11.157 11.526 10.884 10.452 10.941
5.000 9.900

0.000
ปี 57 ปี 58 ม.ค.59 ก.พ.59 มี.ค.59 เม.ย.59 พ.ค.59 มิ.ย.59 ก.ค.59 ส.ค.59 ก.ย.59 ต.ค.59 พ.ย.59

- แก๊สโซฮอล์ อี10 ออกเทน 91 - แก๊สโซฮอล์ อี10 ออกเทน 95 - แก๊สโซฮอล์ อี20 - แก๊สโซฮอล์ อี85
54
ปริมาณการจําหนายน้ํามันดีเซลหมุนเร็ว และการใชไบโอดีเซล
ปาลมน้ํามัน
ปริมาณการใช B-100 (ลานลิตร/วัน)
4.30 4.26 4.13 4.22
4.09 4.04
3.61
3.30
2.90
2.69
2.20
1.80 1.76

ปริมาณการจําหนายน้ํามันดีเซล (ลานลิตร/วัน)

66.000
64.369 63.989 63.704
64.000 62.520 62.558
61.900
62.000 61.093

60.000 58.548
58.000
57.212
56.210 56.240 55.933
56.000 54.468
54.000

52.000

50.000

48.000
ปี 57 ปี 58 ม.ค.59 ก.พ.59 มี.ค.59 เม.ย.59 พ.ค.59 มิ.ย.59 ก.ค.59 ส.ค.59 ก.ย.59 ต.ค.59 พ.ย.59

55
Biofuel Price Structure

56
ประเด็นปญหาดานนโยบายและโครงสรางราคา
 นโยบายขาดความชัดเจนและมีความไมแนนอนในการดําเนินการตามแผน
• สัดสวนการผสม B100 สูงสุดจะเปนเทาไร/เมื่อใด (B3/B7/B10)
• จะสงเสริมแกสโซฮอลชนิดใดเปนหลัก (E10-95/E10-91/E20/E85)
• ปญหาของการผลิต - ตนน้ํา/กลางน้ํา/ปลายน้ํา
o วัตถุดิบ (ความผันผวนของปริมาณและราคา)
o ตนทุนการผลิต (ประสิทธิภาพในการผลิตและการบริหาร)
o การตลาด (การจัดสรรโควตาระหวางพืชเพื่อการบริโภคและพลังงาน)
 การเพิ่มประสิทธิภาพและการลดตนทุนการผลิต
- ทําไดหรือไม/อยางไร
 โครงสรางราคาเชื้อเพลิงชีวภาพในปจจุบันสูงกวาราคาน้ํามันมาก
- ระยะยาวยังควรสงเสริมหรือปรับเปลี่ยนอยางไร ถาราคาน้ํามันอยูในระดับต่ําไปนานๆ
 การปรับตัวของผูผลิต/ผูคาไบโอดีเซล ในกรณีเปดใหมีการแขงขันเสรี และยกเลิกการคุมครอง
57
ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
• ควรลดชนิดของเชื้อเพลิงในกลุมเบนซินแกสโซฮอลลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต/จําหนาย

• ลดการอุดหนุน เพื่อใหผูผลิตตองปรับปรุงประสิทธิภาพใหตนทุนสามารถแขงขันได

• ปฏิรูประบบการผลิตดานการเกษตร เพื่อใหตนทุนวัตถุดิบต่ําลง โดยไมกระทบรายไดของ


เกษตรกร

• สรางระบบสํารองวัตถุดิบในการผลิตใหเพียงพอตอการบริโภคในทุกฤดูกาล

• มีกองทุนเชื้อเพลิงชีวภาพไวรองรับความผันผวนของราคาวัตถุดิบทางการเกษตร

• จัดตั้งคณะกรรมการบริหารนโยบายเชื้อเพลิงชีวภาพแหงชาติ เพื่อประสานแผนงานของทุก
หนวยงาน ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน
หัวขอการนําเสนอ
1. การตลาดและคาปลีก

2. โครงสรางราคาหนาโรงกลั่น/คาปลีก
.
3. เชื้อเพลิงชีวภาพ

4. การสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร (SPR)

5. แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง
59
การสํารองผลิตภัณฑปโตรเลียมในประเทศไทย
ปรับอัตราสํารองน้ํามันเชื้อเพลิง อัตราสํารองเดิม ปรับลดอัตราสํารองน้ํามันสําเร็จรูปแบบขั้นบันได
อัตราสํารองน้ํามันเชื้อเพลิง ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58 ต.ค. 58 พ.ย. 58
อัตราสํารองน้ํามันดิบ 6% 6% 6% 6% 6%
อัตราสํารองน้ํามันสําเร็จรูป 6% 5% 4% 2% 1%
อัตราสํารองน้ํามันสําเร็จรูปนําเขา 12% 11% 10% 8% 7%
จํานวนวันสํารอง (วัน) 43 25

การสํารอง
น้ํามันเชื้อเพลิง
 สํารองเพื่อการคา/สํารองตามกฎหมายเปน
ปจจุบัน : สํารองโดยผูคาน้ํามัน(เอกชน) อนาคต: สํารองโดยภาครัฐ / องคกรเฉพาะ ภาระของภาคเอกชน
 ปกติจํานวนวันสํารองเพื่อการคาอยูที่ 3 วัน
 สํารองทางยุทธศาสตรเปนภาระของภาครัฐ
สํารองตาม สํารองทาง  จํานวนวันสํารองทางยุทธศาสตรขึ้นอยูกับ
สํารองเพื่อการคา
กฎหมาย ยุทธศาสตร ภาวะวิกฤติของโลก เชน สงคราม ผูผลิต
เกิดภัยพิบัติ

60
สถานการณวิกฤตขั้นสูงสุดที่ใชในการพิจารณา

10 – 15 วัน

Ref: Oil Transportation - Transportation Routes 61


ตารางเปรียบเทียบปริมาณสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงของประเทศตางๆ

ประเทศ ผูดําเนินการจัดเก็บ ชนิดน้ํามันเชื้อเพลิงที่จัดเก็บ จํานวนวันที่จัดเก็บ (วัน)

ประเทศสมาชิกสํานักงานพลังงานสากล (IEA: International Energy Agency)


กําหนดใหสมาชิกเก็บสํารองน้ํามันเทียบกับปริมาณการนําเขาของประเทศไมนอยกวา 90 วัน
ญี่ปุน รัฐบาล และเอกชน  น้ํามันดิบ 153
 น้ํามันสําเร็จรูป
 กาซปโตรเลียมเหลว

เกาหลีใต รัฐบาล และเอกชน  น้ํามันดิบ 199


 น้ํามันสําเร็จรูป
 กาซปโตรเลียมเหลว

เยอรมัน รัฐบาล  น้ํามันดิบ 90


 น้ํามันสําเร็จรูป

สหรัฐอเมริกา รัฐบาล  น้ํามันดิบ 111

62
ตารางเปรียบเทียบปริมาณสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงของประเทศตาง ๆ
ประเทศ ผูดําเนินการจัดเก็บ ชนิดน้ํามันที่จัดเก็บ จํานวนวันที่จัดเก็บ (วัน)
ประเทศนอกสมาชิกสํานักงานพลังงานสากล (IEA: International Energy Agency)
โดยมากเปนรูปแบบการสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฏหมาย
 น้ํามันดิบ
ไตหวัน รัฐบาล และเอกชน 130
 น้ํามันสําเร็จรูป
เอกชน
สิงคโปร  น้ํามันเตา 90 (ตามกฎหมาย)
(เฉพาะผูผลิตไฟฟาเทานั้น)
บรูไน ดารุสซาลาม เอกชน 31 (ตามกฎหมาย)

กัมพูชา เอกชน 30 (ตามกฎหมาย)

ไทย เอกชน 25 (ตามกฎหมาย)

ลาว เอกชน 15 (ตามกฎหมาย)

โรงกลั่น 15
ฟลิปปนส
ผูนําเขา 7 (ตามกฎหมาย)
63
สถานการณวิกฤตขั้นสูงสุดที่ใชในการพิจารณา
• สืบเนื่องจากการประชุมเชิงปฎิบัติการซอมแผนรองรับสภาวะฉุกเฉินดานพลังงานของ
ประเทศประจําป 2558 ของกระทรวงพลังงานมีสถานการณวิกฤติสมมุติวาประเทศไทย
ไมสามารถนําเขาน้ํามันดิบ สืบเนื่องจากการปดชองแคบฮอรมุซในตะวันออกกลางเปน
เวลา 40 วัน
• ทั้งนี้ไดนําขอเท็จจริงเกี่ยวกับระยะเวลาการขนสงน้ํามันดิบของตะวันออกกลางมายัง
ประเทศไทยและการกระจายน้ํามันดิบไปยังโรงกลั่นตางๆ ซึ่งอยูระหวาง 10 - 15 วัน
มาเปนปจจัยเสริมการเสนอปริมาณการสํารองทางยุทธศาสตรที่เหมาะสมดวยเชนกัน
• เมื่อ พิจ ารณาถึง สถานการณวิก ฤติขั้น สูง สุด รวมทั้ง ระยะเวลาการขนสง น้ํา มัน จาก
กลุ ม ประเทศตะวั น ออกกลาง จึ ง มี ค วามเห็ น เบื้ อ งต น ว า ประเทศไทยควรจะมี น้ํ า มั น
สํารองเพื่อใชไดภายในประเทศอยางนอย 55 วัน
• ทั้งนี้เมื่อพิจารณาถึงปริมาณสํารองน้ํามันที่เอกชนตองจัดเก็บตามกฏหมายอยูแลวซึ่ง
เทียบเทากับการใช 25 วัน คณะทํางานฯ จึงเสนอภาครัฐพิจารณาความเปนไปไดที่จะ
สํารองน้ํามันเชื้อเพลิงทางยุทธศาสตรสวนเพิ่มเทียบเทากับการใชภายในประเทศอีก
30 วัน 64
หัวขอการนําเสนอ
1. การตลาดและคาปลีก

2. โครงสรางราคาหนาโรงกลั่น/คาปลีก

3. เชื้อเพลิงชีวภาพ

6. การสํารองน้ํามันทางยุทธศาสตร (SPR)

7. แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง
65
แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง (OIL PLAN) ป 2558 - 2579

่ : กรมธุรกิจพลังงาน
ทีมา 66
แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง (OIL PLAN) ป 2558 - 2579

่ : กรมธุรกิจพลังงาน
ทีมา 67
แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง (OIL PLAN) ป 2558 - 2579

่ : กรมธุรกิจพลังงาน
ทีมา 68
แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง (OIL PLAN) ป 2558 - 2579

่ : กรมธุรกิจพลังงาน
ทีมา 69
มาตรฐานเชื้อเพลิงในอาเซียน
ปจจุบัน มาตราน้ํามันเชื้อเพลิงในประเทศอาเซียนยังแตกตางกัน…. แตในอนาคตมีแนวโนมที่จะปรับใชมาตรฐานที่ใกลเคียงกันมากขึ้น

2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018

สิงคโปร Euro II Euro IV

Euro IV Euro V

ประเทศไทย Euro IV

มาเลเซีย Euro II Euro IV

ฟลิปปนส Euro II Euro IV

เวียดนาม Euro II Euro IV

อินโดนีเซีย Euro II Euro IV

น้ํามันเบนซิน Source: Emission Standards for new light-duty vehicles, April 2014

70
แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง (OIL PLAN) ป 2558 - 2579

่ : กรมธุรกิจพลังงาน
ทีมา 71
แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง (OIL PLAN) ป 2558 - 2579

่ : กรมธุรกิจพลังงาน
ทีมา 72
แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง (OIL PLAN) ป 2558 - 2579

่ : กรมธุรกิจพลังงาน
ทีมา 73

You might also like