Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 737 2549

ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต
WELDED FABRIC STEEL FOR THE REINFORCEMENT OF CONCRETE

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 77.140.15 ISBN 978-974-292-365-5
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต

มอก. 737 2549

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทัว่ ไป เลม 124 ตอนที่ 77ง


วันที่ 27 มิถนุ ายน พุทธศักราช 2550
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 485
มาตรฐานลวดเหล็กกลาเสริมคอนกรีตเหล็กรีดเย็น
ประธานกรรมการ
นายวัฒนชัย สมิทธากร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
กรรมการ
นายศิรชิ ยั กิจจารึก กรมโยธาธิการและผังเมือง
นายอานนท เหลืองบริบรู ณ กรมทางหลวง
นายปยดุล สุขโข กรมชลประทาน
นายบุญตวง สารศักดิ์ สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร
นายสุรศักดิ์ กิตติวบิ ลู ย การเคหะแหงชาติ
นายผริณ ทีรฆฐิติ บริษทั เหล็กสยาม (2001) จำกัด
นายมนตชยั เปย มกุลวนิช หางหนุ สวนจำกัด สามชัยตะแกรงเหล็ก
นายพรเทพ จิตอนันตพร บริษทั ที.เอ็ม.ตะแกรงเหล็ก จำกัด
- วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
- บริษทั ศรีอำพล จำกัด
กรรมการและเลขานุการ
นายธีรยุทธ รตนะวรรธน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

(2)
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีตนี้ ไดประกาศใชครัง้ แรกเปนมาตรฐาน
ผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรมตะแกรงลวดเหล็ ก กล า เชื่ อ มติ ด เสริ ม คอนกรี ต มาตรฐานเลขที่ มอก.737-2531
ในราชกิจจานุเบกษา เลม 105 ตอนที่ 182 วันที่ 8 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2531 และมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ตะแกรงลวดเหล็กกลาขอออยเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต มาตรฐานเลขที่ มอก.926-2531 ในราชกิจจานุเบกษา เลม
107 ตอนที่ 76 วันที่ 8 พฤษภาคม พุทธศักราช 2533 ตอมาไดพจิ ารณาเห็นสมควรแกไขปรับปรุงในสาระสำคัญ
ของมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมดังกลาว โดยรวมมาตรฐานทัง้ สองเปนมาตรฐานเดียวกัน และไดแกไขปรับปรุง
รายละเอียดบางประการเพือ่ ใหทนั ตอเหตุการณ ทางวิชาการตลอดจนเนือ้ หาใหเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพ
การผลิตภายในประเทศยิง่ ขึน้ จึงไดแกไขปรับปรุงโดยยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมตะแกรงลวดเหล็กกลา
เชือ่ มติดเสริมคอนกรีต และมาตรฐานผลิตภัณฑตะแกรงลวดเหล็กกลาขอออยเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต และกำหนด
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต ขึน้ ใหม
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนดขึน้ โดยอาศัยเอกสารตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
ISO 6935-3 : 1992 (E) Steel for the reinforcement of concrete - Part 3 : Welded fabric
มอก.20-2543 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม เหล็กเสนเสริมคอนกรีต : เหล็กเสนกลม
มอก.24-2548 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม เหล็กเสนเสริมคอนกรีต : เหล็กขอออย
มอก.747-2531 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ลวดเหล็กกลาดึงเย็นเสริมคอนกรีต
มอก.943-2533 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ลวดเหล็กกลาขอออยดึงเย็นเสริมคอนกรีต
มอก.2172-2547 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม การทดสอบโลหะโดยการดึงที่อุณหภูมิ
หองโดยรอบ
มอก.2173-2547 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม การทดสอบโลหะโดยการดัดโคง

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม


มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(3)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 3725 ( พ.ศ. 2550 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ตะแกรงลวดเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต
และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต

โดยทีเ่ ปนการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ตะแกรงลวดเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต


มาตรฐานเลขที่ มอก.737-2531
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ.2511
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1266 (พ.ศ.2530)
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ.2511 เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ
อุตสาหกรรม ตะแกรงลวดเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต ลงวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2530 และประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม ฉบับที่ 1420 (พ.ศ.2531) ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ.2511
เรือ่ ง แกไขมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ตะแกรงลวดเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต (แกไขครัง้ ที่ 1) ลงวันที่
17 ตุลาคม พ.ศ.2531 และออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริม
คอนกรีต มาตรฐานเลขที่ มอก.737-2549 ขึน้ ใหม ดังมีรายการละเอียดตอทายประกาศนี้
ทัง้ นี้ ใหมผี ลเมือ่ พนกำหนด 90 วัน นับแตวนั ทีป่ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2550


โฆสิต ปน เปย มรัษฎ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(5)
มอก. 737-2549

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้กำหนดเฉพาะตะแกรงเหล็กกลาเชื่อมติดเสริมคอนกรีต ทำจากลวด
เหล็กกลาดึงเย็นหรือเหล็กเสนเสริมคอนกรีต ขนาดเสนผานศูนยกลางตัง้ แต 4 มิลลิเมตรถึง 16 มิลลิเมตร
ใชสำหรับเสริมแรงโครงสรางคอนกรีต

2. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ มีดงั ตอไปนี้
2.1 ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต ซึง่ ตอไปในมาตรฐานนีจ้ ะเรียกวา “ตะแกรง” หมายถึง ตะแกรง
ลักษณะเปนผืนหรือมวน ทำขึ้นโดยนำลวดเหล็กกลาดึงเย็นหรือเหล็กเสนเสริมคอนกรีตมาเชื่อมแบบความ
ตานทานไฟฟา (electrical resistance welding) ติดกันเปนตะแกรง โดยทีต่ าตะแกรงเปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั
หรือสีเ่ หลีย่ มผืนผาก็ได (ดูรปู ที่ 1 ถึง รูปที่ 4 ประกอบ)

ความยาว ความกวาง
ระยะหาง

ระยะหาง
สวนยืน่

ลวดยืน
ลวดขวาง

รูปที่ 1 ตาตะแกรงรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั แบบลวดเดีย่ ว


(ขอ 2.1)

-1-
มอก. 737-2549

ความยาว

ความกวาง
ระยะหาง
ระยะหาง

สวนยื่น
ลวดยืน
ลวดขวาง

รูปที่ 2 ตาตะแกรงรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผาแบบลวดเดีย่ ว


(ขอ 2.1)
ความยาว
ความกวาง
ระยะหาง

ระยะหาง
สวนยืน่

ลวดยืน
ลวดขวาง

รูปที่ 3 ตาตะแกรงรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั แบบลวดคู


(ขอ 2.1)

-2-
มอก. 737-2549

ความยาว

ความกวาง
ระยะหาง
ระยะหาง

สวนยืน่
ลวดยืน
ลวดขวาง

รูปที่ 4 ตาตะแกรงรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผาแบบลวดคู


(ขอ 2.1)

2.2 ลวดเหล็กกลาดึงเย็นหรือเหล็กเสนเสริมคอนกรีต ซึง่ ตอไปในมาตรฐานนีจ้ ะเรียกวา “ลวด” หมายถึง


2.2.1 ลวดเหล็กกลาดึงเย็น หมายถึง ลวดเหล็กกลาเสนกลมหรือขอออย ทีท่ ำโดยการรีดเย็นเหล็กลวดทีไ่ ดจากการ
รีดรอนเหล็กแทงจากเตาหลอมแบบโอเพนฮารท (open hearth) เบสิกออกซิเจน (basic oxygen) หรือ
อิเล็กทริกอารกเฟอรเนซ (electric arc furnace)
2.2.2 เหล็กเสนเสริมคอนกรีต หมายถึง เหล็กเสนทีท่ ำขึน้ จากเหล็กแทง (billet) เหล็กแทงใหญ (bloom) หรือ
เหล็กแทงหลอ (ingot) โดยตรงดวยกรรมวิธกี ารรีดรอน โดยตองไมมกี ารแปรรูปเปนผลิตภัณฑอยางอืน่
กอน และเหล็กแทงดังกลาวตองทำมาจากเตาหลอมแบบโอเพนฮารท (open hearth) เบสิกออกซิเจน (basic
oxygen) หรืออิเล็กทริกอารกเฟอรเนซ (electric arc furnace)
2.3 ลวดยืน หมายถึง ลวดทีเ่ ปนแกนหลักในการทำ อาจเปนลวดเดีย่ วหรือลวดคกู ไ็ ด
2.4 ลวดขวาง หมายถึง ลวดเดีย่ วทีน่ ำมาเชือ่ มขวางกับลวดยืนใหเปนตาตะแกรง
2.5 ลวดคู หมายถึง ลวดสองเสน ชนิด ชัน้ คุณภาพ และขนาดเดียวกัน ทีอ่ ยปู ระชิดติดกันเปนคู ใชเฉพาะลวดยืน
(ดูรปู ที่ 5 ประกอบ)
2.6 ความยาว หมายถึง ดานยาวของตะแกรง โดยไมคำนึงถึงทิศทางในการผลิต
2.7 ความกวาง หมายถึง ดานสัน้ ของตะแกรง โดยไมคำนึงถึงทิศทางในการผลิต

-3-
มอก. 737-2549

2.8 สวนยืน่ หมายถึง ระยะของลวดขวางสวนทีพ่ น ลวดยืนเสนริม ดังนี้ (ดูรปู ที่ 5 ประกอบ)


- ลวดเดีย่ ว วัดจากเสนแนวแกนสมมาตรของลวดยืนเสนริม
- ลวดคู วัดจากจุดสัมผัสของลวดยืนเสนริม
ลวดขวาง (ลวดเดี่ยว) ลวดขวาง (ลวดเดี่ยว)

สวนยื่น ระยะหาง สวนยื่น ระยะหาง


ลวดยืน (ลวดเดี่ยว) ลวดยืน (ลวดคู)

รูปที่ 5 สวนยืน่ และระยะหาง


(ขอ 2.5 ขอ 2.8 และ ขอ 2.9)

2.9 ระยะหาง หมายถึง ระยะระหวางลวดยืนกับลวดยืนหรือลวดขวางกับลวดขวางทีอ่ ยขู า งเคียง ดังนี้ (ดูรปู ที่ 5


ประกอบ)
- ลวดเดีย่ ว วัดจากเสนแนวแกนสมมาตรของลวดขางเคียง
- ลวดคู วัดจากจุดสัมผัสของลวดยืนขางเคียง
2.10 มัด หมายถึง ตะแกรงจำนวนตัง้ แตสองผืนขึน้ ไปทีม่ ดั รวมกัน

3. ชนิด ชัน้ คุณภาพ และแบบ


3.1 ตะแกรงแบงตามวัสดุทใี่ ชทำเปน 4 ชนิด คือ
3.1.1 ชนิดทำจากลวดเหล็กกลาดึงเย็นเสริมคอนกรีต มาตรฐานเลขที่ มอก.747
3.1.2 ชนิดทำจากลวดเหล็กกลาขอออยดึงเย็นเสริมคอนกรีต มาตรฐานเลขที่ มอก.943
3.1.3 ชนิดทำจากเหล็กเสนเสริมคอนกรีต : เหล็กเสนกลม มาตรฐานเลขที่ มอก.20 ชัน้ คุณภาพ SR 24
3.1.4 ชนิดทำจากเหล็กเสนเสริมคอนกรีต : เหล็กขอออย มาตรฐานเลขที่ มอก.24 ชั้นคุณภาพ SD 30
SD 40 และ SD 50
3.2 ตะแกรงแบงเปน 2 แบบ คือ
3.2.1 แบบลวดเดีย่ ว เปนตะแกรงทีท่ ำจากลวดยืนเดีย่ ว เชือ่ มกับลวดขวางเดีย่ ว
3.2.2 แบบลวดคู เปนตะแกรงทีท่ ำจากลวดยืนคู เชือ่ มกับลวดขวางเดีย่ ว

-4-
มอก. 737-2549

4. ขนาด มวล และเกณฑความคลาดเคลือ่ น


4.1 ขนาด มวล และเกณฑความคลาดเคลือ่ นของลวด ใหเปนไปตามมาตรฐานเชนเดียวกับขอ 3.1 และขนาด
เสนผานศูนยกลางระบุของลวดยืนและลวดขวาง ตองเปนดังนี้
- แบบลวดเดีย่ ว
dmin ≥ 0.6dmax
เมื่อ dmax คือ ขนาดเสนผานศูนยกลางระบุของลวดเสนใหญ
dmin คือ ขนาดเสนผานศูนยกลางระบุของลวดเสนเล็ก
- แบบลวดคู
0.7dT ≤ dL ≤ 1.25dT
เมื่อ dT คือ ขนาดเสนผานศูนยกลางระบุของลวดขวาง
dL คือ ขนาดเสนผานศูนยกลางระบุของลวดยืน
4.2 ขนาดตะแกรงใหเปนไปตามขอตกลงระหวางผูซื้อกับผูขาย โดยมีเกณฑความคลาดเคลื่อนไดตามที่กำหนด
ในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 เกณฑความคลาดเคลือ่ นของตะแกรง
(ขอ 4.2)

มิติ เกณฑความคลาดเคลื่อน
ความยาวและความกวาง ± 25 mm หรือ ± รอยละ 0.5
แลวแตคาใดจะมากกวา
ระยะหาง 1) ± 10 mm หรือ ± รอยละ 7.5
แลวแตคาใดจะมากกวา
หมายเหตุ 1) - ระยะห า งของลวดยื น แนะนำให มี ข นาดเป น พหุ คู ณ ของ 50
มิลลิเมตร และไมควรต่ำกวา 100 มิลลิเมตร
- ระยะหางของลวดขวาง แนะนำใหมีขนาดเปนพหุคูณของ 25
มิลลิเมตร และไมควรต่ำกวา 100 มิลลิเมตร
- ในกรณีที่ไมกำหนดสวนยื่น แนะนำใหสวนยื่นมีขนาดไมนอยกวา
25 มิลลิเมตร

-5-
มอก. 737-2549

5. คุณลักษณะทีต่ อ งการ
5.1 ลักษณะทัว่ ไป
ตะแกรงตองมีตาเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผา และตะแกรงตองปราศจากสนิมขุม แตอาจมีสนิม
ที่ผิวของลวดได สนิมที่ผิวนี้เมื่อแปรงดวยแปรงทองเหลืองแลว จะหายไปโดยที่เสนผานศูนยกลางของลวด
ไมเปลีย่ นแปลง
การทดสอบใหทำโดยการวัดและตรวจพินจิ
5.2 จุดเชื่อม
5.2.1 จุดเชือ่ มในตะแกรงยอมใหหลุดไดไมเกินรอยละ 1 ของจำนวนจุดเชือ่ มทัง้ ผืนหรือไมเกินรอยละ 1 ของ
จำนวนจุดเชือ่ มในพืน้ ที่ 14 ตารางเมตรสำหรับตะแกรงทีเ่ ปนมวน
5.2.2 จุดเชื่อมที่หลุดในลวดเสนใดเสนหนึ่งตองไมเกินครึ่งหนึ่งของจำนวนจุดเชื่อมที่ยอมใหสูงสุดตามที่
กำหนดในขอ 5.2.1
การทดสอบใหทำโดยการตรวจพินจิ
5.3 สมบัตทิ างกล
5.3.1 แรงเฉือนของจุดเชื่อม
เมือ่ ทดสอบตามขอ 8.3 แลวคาแรงเฉือนของจุดเชือ่ มเปนนิวตัน ตองไมนอ ยกวารอยละ 30 ของความเคน
ที่จุดครากหรือความเคนพิสูจนที่กำหนดเปนเมกะพาสคัล คูณพื้นที่หนาตัดระบุของลวดเสนใหญเปน
ตารางมิลลิเมตร
5.3.2 การดึง
เมือ่ ทดสอบลวดดวยการดึงตัวอยางตามขอ 8.4 แลว ตองมีสมบัตกิ ารดึงเปนไปตามทีก่ ำหนดของวัสดุ
ทีใ่ ชทำตะแกรงดังขอ 3.1
5.3.3 การดัดโคง
เมือ่ ทดสอบลวดดวยการดัดโคงตัวอยางตามขอ 8.5 แลว ตองมีสมบัตกิ ารดัดโคงเปนไปตามทีก่ ำหนด
ของวัสดุทใี่ ชทำตะแกรงดังขอ 3.1

6. เครือ่ งหมายและฉลาก
6.1 ทีต่ ะแกรงทุกผืนหรือทุกมัดหรือทุกมวน ตองมีปา ยผูกติดอยู และทีป่ า ยนัน้ อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือ
เครือ่ งหมายแจงรายละเอียดตอไปนีใ้ หเห็นไดงา ย และชัดเจน
(1) คำวา “ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต”
(2) ชนิด และชัน้ คุณภาพ (ถามี)
(3) สัญลักษณหรือชือ่ ขนาดของลวดยืน และ สัญลักษณหรือชือ่ ขนาดของลวดขวาง (ในกรณีทลี่ วดยืนและ
ลวดขวางมีขนาดเทากันใหทำเครือ่ งหมายทีล่ วดยืนดวย)
(4) ระยะหางของลวดยืนและลวดขวาง เปนมิลลิเมตร
(5) ขนาดของผืนหรือมวนตะแกรง (ความยาวและความกวาง) เปนเมตร

-6-
มอก. 737-2549

(6) จำนวนผืน (กรณีทเี่ ปนมัด)


(7) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน
ในกรณีทใี่ ชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ ำหนดไวขา งตน
ตัวอยาง การแจงรายละเอียด
“ตะแกรงเหล็กกลาเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต มอก.737-2549
แบบลวดเดีย่ ว ชนิดทำจากลวดเหล็กกลาดึงเย็นเสริมคอนกรีต มอก.747
สัญลักษณของลวดยืน CDR 5 และลวดขวาง CDR 6
ระยะหางของลวดยืน 150 มิลลิเมตร และลวดขวาง 200 มิลลิเมตร
ขนาดตะแกรงยาว 5 เมตร กวาง 2 เมตร จำนวน 20 ผืน
ผทู ำ ....................................”

7. การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน
7.1 การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน ใหเปนไปตามภาคผนวก ก.

8. การทดสอบ
8.1 ขนาด มวล ของลวด
วิธที ดสอบ ใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในมาตรฐานตามวัสดุทใี่ ชทำ (ขอ 3.1)
8.2 ขนาดตะแกรง
8.2.1 ความยาวและความกวาง
ใชเครือ่ งวัดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร วัดความยาวและความกวาง ทีต่ ำแหนงประมาณกึง่ กลางของตะแกรง
8.2.2 ระยะหาง
8.2.2.1 ใชเครือ่ งวัดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร วัดระยะหาง 1 ตาตะแกรงภายในทุก 0.5 เมตร ตลอดความยาว
ทัง้ ผืน ตะแกรงทีเ่ ปนมวน ใหวดั ระยะหางจากความยาวประมาณ 5 เมตร
8.2.2.2 ใหรายงานผลคาเฉลีย่
8.3 แรงเฉือนของจุดเชื่อม
8.3.1 เครื่องมือ
มีลกั ษณะดังแสดงในรูปที่ 6 หรือเครือ่ งมือทีส่ ามารถใหผลการทดสอบโดยหลักการเดียวกันได

-7-
มอก. 737-2549

รูปที่ 6 การทดสอบแรงเฉือนของจุดเชือ่ ม
(ขอ 8.3.1)

8.3.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ


ตัดลวดยืนเพือ่ ใหไดลวดขวางทัง้ เสนแลวเลือกสมุ จุดเชือ่ มมา 4 จุด ดังตัวอยางในรูปที่ ก.1 แตละจุดตัด
ใหลวดขวางยืน่ ออกจากลวดยืนทัง้ สองขางประมาณ 25 มิลลิเมตร สวนลวดยืนตองยาวพอที่หวั จับจะยึด
ไวไดโดยสะดวก และกรณีเปนตะแกรงลวดคู จะทดสอบโดยการดึงลวดยืนเพียงเสนเดียว สวนอีกเสน
ใหตดั ออกจากลวดขวางโดยไมใหมผี ลตอการทดสอบแรงเฉือนจุดเชือ่ ม (ดูรปู ที่ 8)
8.3.3 วิธที ดสอบ
จับชิน้ งานใหไดศนู ย เลือกรองยึดใหเหมาะสมคือ มีขนาดใกลเคียงกับขนาดลวดยืน ใหลวดยืนสัมผัสกับ
ลูกกลิง้ โดยอิสระ ลวดขวางวางบนแทนรองรับ ดึงลวดจากปลายดานลางดวยอัตราความเคนไมเกิน 690
เมกะพาสคัลตอนาที
8.3.4 การรายงานผล
บันทึกคาแรงเฉือนของจุดเชือ่ มทัง้ 4 จุด แลวรายงานคาเฉลีย่

-8-
มอก. 737-2549

25 25 25 25

50

50
150

150
แบบลวดเดีย่ ว แบบลวดคู
หนวยเปนมิลลิเมตร
รูปที่ 7 การตัดชิน้ ทดสอบแรงเฉือนของจุดเชือ่ ม
(ขอ 8.3.2)

8.4 การดึง
8.4.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดลวดเสนทีจ่ ะทดสอบทัง้ ลวดยืนและลวดขวาง ใหมจี ดุ เชือ่ มและอยรู ะหวางจุดเชือ่ ม อยางละ 1 ชิน้ รวม
4 ชิน้ ใหมคี วามยาวเพียงพอทีจ่ ะนำไปทดสอบ ดังตัวอยางในรูปที่ ก.1 กรณีชนิ้ ทดสอบทีม่ จี ดุ เชือ่ ม ใหจดุ
เชือ่ มอยปู ระมาณกึง่ กลางของชิน้ ทดสอบ และตัดลวดอีกทางหนึง่ ใหยนื่ ออกไปจากลวดเสนทดสอบทัง้ สอง
ขางประมาณ 25 มิลลิเมตร
8.4.2 วิธที ดสอบ
ใหปฏิบตั ติ ามมอก.2172
8.4.3 การรายงานผล
ใหรายงานผลการดึงทัง้ 4 ชิน้

-9-
มอก. 737-2549

8.5 การดัดโคง
8.5.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดลวดเสนทีจ่ ะทดสอบทัง้ ลวดยืนและลวดขวาง อยางละ 1 ชิน้ รวม 2 ชิน้ ใหอยรู ะหวางจุดเชือ่ มใหมี
ความยาวเพียงพอทีจ่ ะนำไปทดสอบ ดังตัวอยางในรูปที่ ก.1
8.5.2 วิธที ดสอบ
ใหปฏิบตั ติ ามมอก.2173 โดยมีมมุ การดัดโคง และเสนผานศูนยกลางของหัวกดตามทีก่ ำหนดในมอก.
ของวัสดุทใี่ ชทำตามขอ 3.1
8.5.3 การรายงานผล
ใหรายงานผลการดัดโคงทัง้ 2 ชิน้

-10-
มอก. 737-2549

ภาคผนวก ก.
(ขอ 7.1)

ก.1 รนุ ในทีน่ ี้ หมายถึง ตะแกรงแบบและขนาดเดียวกัน มีระยะหางเทากัน ทีท่ ำจากลวดชนิดและชัน้ คุณภาพเดียวกัน


ทีท่ ำหรือสงมอบหรือซือ้ ขายในระยะเวลาเดียวกัน
ก.2 การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กำหนดตอไปนี้ หรืออาจใชแผนการชัก
ตัวอยางอืน่ ทีเ่ ทียบเทากันทางวิชาการกับเกณฑทกี่ ำหนดไว
ก.2.1 การชักตัวอยางและการยอมรับ สำหรับการทดสอบขนาด มวล ลักษณะทัว่ ไป และจุดเชือ่ ม
ก.2.1.1 ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ ตามแผนการชักตัวอยาง ในตารางที่ ก.1
ก.2.1.2 จำนวนตัวอยางทีไ่ มเปนไปตามขอ 4. ขอ 5.1 และขอ 5.2 ตองไมเกินเลขจำนวนทีย่ อมรับในตาราง
ที่ ก.1 จึงจะถือวาตะแกรงรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ตารางที่ ก.1 แผนการชักตัวอยางสำหรับการทดสอบขนาด มวล
ลักษณะทัว่ ไปและจุดเชือ่ ม
(ขอ ก.2.1)

ขนาดรุน ขนาดตัวอยาง เลขจํานวนที่ยอมรับ


ตารางเมตร ผืนหรือมวน
ไมเกิน 7 000 3 0
เกิน 7 000 13 1
ก.2.2 การชักตัวอยางและการยอมรับ สำหรับการทดสอบสมบัตทิ างกล
ก.2.2.1 ใหชักตัวอยางตะแกรง 1 ผืน ตอจำนวนตะแกรง 25 000 ตารางเมตรหรือเศษของ 25 000
ตารางเมตร แลวตัดตัวอยางตามแนวความกวางของตะแกรง ลึกเขาไป 1 เมตร หรือมีลวดขวาง
ไมนอ ยกวา 6 เสน จากนัน้ นำไปตัดเปนชิน้ ทดสอบ (ตามรูปที่ ก.1) สำหรับทดสอบแรงเฉือนของ
จุดเชือ่ ม การดึง และการดัดโคง
ก.2.2.2 เมือ่ ทดสอบตามขอ 8.3 แลว ถาผลการทดสอบไมเปนไปตามขอ 5.3.1 ใหทดสอบจุดเชือ่ มทีเ่ หลือ
ทัง้ หมดในลวดขวางเสนเดียวกัน แลวนำคาทีไ่ ดมาเฉลีย่ รวมกับคราวแรก คาเฉลีย่ ของผลการทดสอบ
ทัง้ หมดตองเปนไปตามขอ 5.3.1 จึงจะถือวาตะแกรงรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ก.2.2.3 เมือ่ ทดสอบตามขอ 8.4 แลว ถาผลการทดสอบไมเปนไปตามขอ 5.3.2 ไมเกิน 1 ชิน้ ใหใชชนิ้ ทดสอบ
อีก 2 ชิน้ ทีม่ ลี กั ษณะเดียวกันจากลวดเสนอืน่ ในดานเดียวกันมาทดสอบซ้ำ คาเฉลีย่ ของผลการทดสอบ
ทัง้ 3 ชิน้ นีต้ อ งเปนไปตามขอ 5.3.2 ทัง้ นีผ้ ลการทดสอบแตละชิน้ ตองไมนอ ยกวารอยละ 80 ของ
ขอ 5.3.2 จึงจะถือวาตะแกรงรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ก.2.2.4 เมือ่ ทดสอบตามขอ 8.5 แลว ถาผลการทดสอบ 1 ชิน้ จากลวดดานใดไมเปนไปตามขอ 5.3.3 ใหใช
ชิน้ ทดสอบอีก 2 ชิน้ จากลวดดานนัน้ มาทดสอบซ้ำ ผลการทดสอบตองเปนไปตามขอ 5.3.3 จึงจะ
ถือวาตะแกรงรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
-11-
มอก. 737-2549

2 3

2 3
2
2

1 แรงเฉือนของจุดเชื่อม
2 การดึง
3 การดัดโคง

รูปที่ ก.1 ตัวอยางแสดงตำแหนงการตัดชิน้ ทดสอบ


(ขอ 8.3.2 ขอ 8.4.1 และขอ 8.5.1 และขอ ก.2.2.1)

ก.3 เกณฑตดั สิน


ตัวอยางตะแกรงตองเปนไปตามขอ ก.2.1.2 ขอ ก.2.2.2 ขอ ก.2.2.3 และขอ ก.2.2.4 ทุกขอ จึงจะถือวา
ตะแกรงรนุ นัน้ เปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้

-12-

You might also like