Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 70

ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี

วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1


มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
1 

2 

3 

4 

5 

6 

7 

8 

9 

10 

11 

12 

13 

14 

15 

16 

17 

18 

~1~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
19 

20 

21 

22 

23 

24 

25 

26 

27 

28 

29 

30 

31 

32 

33 

34 

35 

36 

37 

38 

39 

40 

~2~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
41 

42 

43  

44 

45 

46 

47 

48 

49 

50  

51  

52  

53 

54 

55 

56 

57 

58 

59 

60 

61  

62 

~3~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
63 

64 

65 

66 

67 

68 

69 

70 

71 

72 

73 

74 

75 

76 

77 

78 

79 

80 

81 

82 

83 

84 

~4~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
85 

86 

87 

88 

89 

90 

91 

92 

93 

94 

95 

96 

97 

98 

99 

100 



~5~
สังคมศึกษาฯ ชุดที่ 1
คะแนนเต็ม

ชั้นมัธยมศึกษาปีท4ี่ 1 จานวน 100 ข้อ 100

เวลาสอบ

ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. พระเจ้าอโศกมหาราชมีบทบาทสาคัญต่อการวางรากฐานพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อย่างไร
1. ทรงเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2. ทรงส่งสมณทูตเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3. ทรงให้การอุปถัมภ์การก่อสร้างศาสนสถานทางพระพุทธศาสนาที่สําคัญต่างๆ
4. ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 ที่เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
2. “ถ้าหากจะต้องแข่งขันเอาชนะกัน ก็ควรเอาชนะกันด้วยธรรม หรือ “ธรรมวิชัย” อันเป็นชัยชนะขั้น
สูงสุด” สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะสาคัญใดของพระพุทธศาสนา
1. เป็นศาสนาแห่งทุกข์ 2. เป็นศาสนาแห่งการให้
3. เป็นศาสนาแห่งสันติ 4. เป็นศาสนาแห่งการแข่งขัน
3. หลักธรรมใดในพระพุทธศาสนา ช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศสมาชิกในกลุ่ม
ประชาคมอาเซียน
1. สังคหวัตถุ 4 2. ดรุณธรรม 6
3. สัปปุริสธรรม 7 4. กุศลกรรมบถ 10
4. สานวนที่ว่า “เกาะชายผ้าเหลืองขึ้นสวรรค์” แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของพระพุทธศาสนาในด้านใด
1. เป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทย ด้านศิลปะและดนตรี
2. เป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทย ด้านวงจรชีวิตของบุคคล
3. เป็นเอกลักษณ์และมรดกของไทย ด้านความเมตตากรุณา
4. เป็นเอกลักษณ์และมรดกของไทย ด้านความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์
5. “ในน้ามีปลา ในนามีข้าว” นามาสู่การสร้างมรดกทางพระพุทธศาสนาในข้อใด
1. ปราสาทหินพนมรุ้ง 2. อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี
3. พระราชวังบางปะอิน 4. วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย

~6~
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 6. - 7.
ครูสมหญิงเป็นครูปรึกษาประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ซึ่งมีเด็กชายสมเดช ผู้เป็นหลานชายของครูสมหญิง
เป็ น นั ก เรี ย นอยู่ ใ นห้ อ งเรี ย นนี้ ด้ ว ย วั น หนึ่ ง ขณะที่นั ก เรี ย นในห้ อ งทุ ก คนก าลั ง นั่ ง สอบปลายภาควิ ช า
พระพุทธศาสนาอยู่นั้น เด็กชายสมเดชซึ่งไม่ได้อ่านหนังสือ เพราะต้องช่วยพ่อออกไปขายอาหารในตลาด
แอบหันไปถามคาตอบจากเด็กชายสมบัติที่นั่งอยู่โต๊ะข้างๆ แต่เด็กชายสมบัติปฏิเสธ เพราะรู้สึกละอายใจและ
กลัวถูกครูลงโทษ ทาให้เด็กชายสมเดชเกิดอาการโกรธ เมื่อออกจากห้องสอบก็เข้าไปชกต่อยเด็กชายสมบัติ
จนได้รับบาดเจ็บ ครูสมหญิงจึงสั่งลงโทษเด็กชายสมเดชตามระเบียบของโรงเรียนแต่เพียงคนเดียว

6. การตัดสินลงโทษเด็กชายสมเดชของครูสมหญิง ตั้งอยู่บนหลักอธิปไตย 3 ข้อใด


1. อัตตาธิปไตย 2. โลกาธิปไตย
3. ธัมมาธิปไตย 4. ประชาธิปไตย
7. ความรู้สึกละอายใจและการกลัวถูกครูลงโทษของเด็กชายสมบัติ แสดงให้เห็นว่าเด็กชายสมบัติมี
คุณธรรมข้อใด
1. เคารพตนเองและเคารพกฎหมาย 2. เคารพสถานที่และเคารพผู้อาวุโส
3. รู้จักกาลเทศะและรักวิถีประชาธิปไตย 4. รู้จักให้เกียรติผู้อื่นและรักความยุติธรรม
8. “มัชฌิมาปฏิปทา” เป็นหนทางที่พระสิทธัตถะทรงดาเนินตามจนกระทั่งตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ซึ่งตรง
กับการเลือกดาเนินชีวิตตามแนวทางของบุคคลในข้อใด
1. ดิน วางแผนการใช้ชีวิตไว้อย่างชัดเจน
2. น้ํา ใช้ชีวิตอยู่บนความหรูหรา ฟุ่มเฟือย
3. ลม ใช้ชีวิตบนทางสายกลาง กินอยู่ตามฐานะของตน
4. ไฟ ปฏิบัติตามศีล 5 อย่างเคร่งครัดและเข้าวัดฟังธรรมอยู่เสมอ
9. คุณธรรมข้อใดของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เหมาะต่อการนามาใช้เป็น
แนวทางในการศึกษาเล่าเรียนให้สาเร็จมากที่สุด
1. มีความคิดริเริ่ม 2. มีความอ่อนน้อม
3. มีความประหยัด 4. มีความใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา
10. “มิตตวินทุกชาดก” มีคุณค่าต่อพุทธศาสนิกชนอย่างไร
1. ให้คติสอนใจเรื่อง “จับปลาสองมือ”
2. ให้คติสอนใจเรื่อง “โลภมาก ลาภหาย”
3. ให้คติธรรมเรื่อง “สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ”
4. ให้คติธรรมเรื่อง “ดีชั่วอยู่ที่ตัวทํา สูงต่ําอยู่ที่ทําตัว”

~7~
11. เด็กชายต้นกล้าปฏิบัติกรรมชั่วทางวาจา แสดงว่าเด็กชายต้นกล้าไม่ปฏิบัติตามเบญจศีลข้อใด
1. มุสาวาทา 2. อทินนาทานา
3. ปาณาติปาตา 4. กาเมสุมิจฉาจารา
12. สังคมจะเกิดความสุขสงบร่มเย็นได้ หากทุกคนในชาติปฏิบัติตามธรรมข้อใดและละจากธรรมข้อใด
1. ปฏิบัติสมบัติ 4 ละศีล 5
2. ปฏิบัติพรหมวิหาร 4 ละดรุณธรรม 6
3. ปฏิบัติกุศลกรรมบถ 10 ละอบายมุข 6
4. ปฏิบัติอกุศลกรรมบถ 10 ละทศพิธราชธรรม 10
13. หากต้องการศึกษาพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าที่ทรงแสดงแก่บุคคลต่างๆ ในวาระโอกาสต่างกัน
ควรเลือกอ่านพระไตรปิฎกในหมวดใด
1. พระวินัยปิฎก 2. พระสุตตันตปิฎก
3. พระอภิธรรมปิฎก 4. พระกถาวัตถุปิฎก
14. “กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก : ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว” พุทธศาสนสุภาษิตนี้ มีส่วนในการ
สร้าง “สังคมแห่งคนดี” อย่างไร
1. สอนให้บุคคลลงมือกระทําก่อนแล้วคิดทีหลัง
2. สอนให้บุคคลปฏิบัติตนอยู่บนความสุขสบายทางกาย
3. ชี้ให้บุคคลเห็นถึงผลดีและผลเสียของการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
4. ชี้ให้บุคคลเห็นผลแห่งกรรมและเกรงกลัวในการกระทํากรรมชั่ว
15. ศาสนิกชนที่ดีและน่ายกย่อง ควรปฏิบัติตนต่อบิดามารดาอย่างไร
1. ให้การศึกษาเล่าเรียน 2. คอยอบรมให้เป็นคนดี
3. เลี้ยงดูท่านเมื่อท่านแก่ชรา 4. หาคู่ครองที่ดีและเหมาะสมให้
16. เจ้าบ้านที่ดีควรมีปฏิสันถารต่อแขกที่มาเยี่ยมอย่างไร
1. ทักทายด้วยถ้อยคําที่สุภาพเหมาะสม
2. แสดงสีหน้าบึ้งตึงใส่เมื่อแขกขอลากลับ
3. ทํางานบ้านไปพร้อมกับการสนทนากับแขก
4. บอกให้แขกหาน้ําดื่มและของว่างรับประทานเอง
17. การทาบุญตักบาตรในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติอย่างไร
1. ได้บุญมากกว่าการทําบุญตักบาตรในวันธรรมดา
2. ช่วยชําระจิตใจให้สะอาด เกิดความเบิกบานและสงบ
3. ทําให้ผู้อื่นเห็นว่าตนเป็นชาวพุทธที่รักษาศีลอย่างเคร่งครัด
4. ก่อให้เกิดความมั่งคั่ง ร่ํารวยขึ้นในครอบครัวและญาติมิตร

~8~
18. เหตุการณ์สาคัญทางพระพุทธศาสนาในข้อใด เกิดขึ้นตามลาดับต่อเนื่องในวันเพ็ญเดือน 8
1. เจ้าชายสิทธัตถะประสูติ  พระสิทธัตถะตรัสรู้  พระพุทธเจ้าปรินิพพาน
2. เจ้าชายสิทธัตถะประสูติ  พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนา  พระพุทธเจ้าปรินิพพาน
3. พระพุทธเจ้าแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูต ร  เกิดพระสงฆ์รูปแรกของโลก  พระรัตนตรัยครบ
องค์ 3
4. พระสงฆ์ 1,250 รูป มาประชุ ม กั นโดยมิไ ด้นัดหมาย  พระพุ ทธเจ้าแสดงโอวาทปาฏิโมกข์
ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 19.
วันคริสต์มาส (Christmas) เป็นวันสมโภชการประสูติของพระเยซู ซึ่งคริสต์ศาสนิกชน
ถื อ เป็ น ช่ ว งเวลาแห่ ง ความชื่ น ชมยิ น ดี โดยจะร่ ว มกั น ประกอบศาสนพิ ธี แ ละร้ อ งเพลง
คริสต์มาสในโบสถ์ มีการประดับตกแต่งสถานที่อย่างสวยงามและร่วมกันจัดงานเฉลิมฉลอง
กันอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่พระพุทธศาสนาได้กาหนดให้วันเพ็ญเดือน 6 ซึ่งเป็นวันคล้ายวัน
ประสู ติ ตรั ส รู้ และปริ นิ พ พานของพระพุ ท ธเจ้ า เป็ น วั น ส าคั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนา
พุทธศาสนิกชนจะร่วมกันตักบาตรทาบุญ ฟังธรรมที่วัดในช่วงเช้า และร่วมกันประกอบพิธี
เวียนเทียนรอบพระอุโบสถหรือพระสถูปเจดีย์ในช่วงค่า

19. จากข้อความข้างต้นสะท้อนให้เห็นคุณค่าสากลของศาสนพิธีในด้านใดอย่างเด่นชัด
1. เป็นตัวสร้างความรัก ความสามัคคีในหมู่ศาสนิกชน
2. เป็นเครื่องนําทางไปสู่สวรรค์และความเป็นนิจนิรันดร
3. เป็นศูนย์กลางในการรับฟังทุกปัญหาและแนะนําทางออก
4. เป็นสิ่งสร้างสรรค์เยาวชนให้เติบโตขึ้นเป็นคนดีและคนฉลาด
20. พิธีในข้อใด สะท้อนให้เห็นความผูกพันระหว่างวิถีชีวิตคนไทยกับพระพุทธศาสนาและศาสนา
พราหมณ์-ฮินดูอย่างชัดเจน
1. พิธีตักบาตรเทโวโรหณะ
2. พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
3. พระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินทางชลมารค
4. พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
21. บุคคลใดบรรลุผลแห่งการบริหารจิตตามหลักอานาปานสติ
1. กวาง เข้ารับการรักษาสิวบนใบหน้าที่คลินิกเสริมความงาม
2. ไก่ เกิดความกังวลเพราะกลัวว่าจะสอบวิชาสังคมฯ ไม่ผ่าน
3. กุ้ง ยับยั้งใจไม่ให้โกรธเมื่อถูกเพื่อนล้อเลียนเกี่ยวกับปมด้อย
4. กบ ขับขี่รถจักรยานยนต์ด้วยความเร็วสูงเพื่อรีบไปเรียนให้ทัน

~9~
22. หากตั้งเป้าหมายต้องการที่จะเป็นแพทย์รักษาผู้ป่วย ควรยึดหลักวิธีคิดแบบใดเพื่อทาเป้าหมายให้สาเร็จ
1. คิดแบบน้ําใจนักกีฬา 2. คิดแบบอรรถสัมพันธ์
3. คิดแบบประชาธิปไตย 4. คิดแบบเข้าข้างตัวเอง
23. หากครูผู้สอนวิชาพระพุทธศาสนามีคาสั่งให้นักเรียนนั่งขัดสมาธิเพชร เพื่อบริหารจิตตามหลัก
อานาปานสติ ควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกต้อง
1. นั่งเอาขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ตัวตั้งตรง
2. นั่งเอาขาซ้ายทับขาขวา มือซ้ายทับมือขวา ตัวตั้งตรง
3. นั่งเอาขาซ้ายทับขาขวา เท้าขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ตัวตั้งตรง
4. นั่งเอาขาซ้ายทับขาขวา เท้าซ้ายทับเท้าขวา มือซ้ายทับมือขวา ตัวตั้งตรง
24. พระพุทธศาสนาสอนให้พุทธศาสนิกชนดารงตนอยู่ในยุคแห่งการ “บริโภคนิยม” อย่างไร
1. เดินทางสายกลาง 2. งดการบริโภคโดยสิ้นเชิง
3. ทํางานให้มากขึ้นเพื่อให้มีเงินเพิ่มขึ้น 4. เงินทองของมีค่าต้องรีบหาและรีบใช้
25. “ประเทศจะอยู่ได้ก็ด้วยคนไทยล้วนหมายสมัครสมานสามัคคี รักใคร่ ปองดอง ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน
และกัน ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่าย ไม่กดขี่ข่มเหงกันเอง” ซึ่งจะสาเร็จได้ด้วยธรรมกลุ่มใด
1. วิบัติ 4 ขันธ์ 5 อกุศลกรรมบถ 10 2. อบายมุข 6 ดรุณธรรม 6 วิญญาณ 6
3. สมบัติ 4 ธรรมคุณ 6 อกุศลกรรมบถ 10 4. พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 สาราณียธรรม 6
26. บุคคลในข้อใดพ้นจากความเป็นผู้เยาว์
1. นิด อายุครบ 19 ปีบริบูรณ์
2. ชัย ทําบัตรประชาชนใบแรกที่อําเภอ
3. ฟ้า ทําพินัยกรรมเมื่อมีอายุครบ 15 ปีบริบูรณ์
4. เอก สมรสกับนางสาวแดงโดยได้รับความยินยอม
27. การกระทาใดฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยการจ้างแรงงานเด็ก
1. นายจ้างให้ลูกจ้างอายุ 16 ปี ทํางานบัญชี
2. นายจ้างให้ลูกจ้างอายุ 17 ปี ทํางานในวันหยุด
3. นายจ้างให้ลูกจ้างอายุ 16 ปี ลาเพื่อเข้ารับการอบรม
4. นายจ้างให้ลูกจ้างอายุ 18 ปี พักเที่ยงเป็นเวลา 2 ชั่วโมง
28. หลักการใดสอดคล้องกับสังคมประชาธิปไตย
1. อัตตาธิปไตย 2. ระบบอุปถัมภ์
3. ความเสมอภาค 4. การเลือกปฏิบัติ
29. พฤติกรรมใดแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
1. แยกขยะก่อนทิ้ง 2. ลอกข้อสอบเพื่อน
3. นอนหลับทับสิทธิ์ 4. ใช้จ่ายอย่างประหยัด

~ 10 ~
30. บุคคลใดเป็นตัวอย่างของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
1. แจ๊ค มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับเพื่อนอยู่บ่อยครั้ง
2. ก้อย ทิ้งเศษอาหารลงพื้นหลังจากรับประทานเสร็จ
3. โอ๊ต ชวนเพื่อนไปใช้สิทธิเลือกตั้งกรรมการนักเรียน
4. แจ๋ว ชอบซื้อของราคาแพงเพื่อมาอวดเพื่อนเป็นประจํา
31. สถาบันทางสังคมใดมีหน้าที่หลักในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพ
1. สถาบันศาสนา 2. สถาบันการเมือง
3. สถาบันเศรษฐกิจ 4. สถาบันการศึกษา
32. สถาบันครอบครัวมีบทบาทสาคัญอย่างไร
1. สร้างแบบแผนการผลิตสินค้า
2. อบรมขัดเกลาสมาชิกให้เป็นคนดี
3. รักษาความสงบเรียบร้อยของประเทศชาติ
4. นําเสนอความคิดเห็นของประชาชนออกสู่สาธารณะ
33. กิจกรรมข้อใดมีความเกี่ยวข้องกับสถาบันนันทนาการ
1. เลือกตั้งประธานนักเรียน 2. รับชมข่าวสารทางโทรทัศน์
3. แสดงละครเวทีในเทศกาลปีใหม่ 4. รักษาความสงบเรียบร้อยให้ชุมชน
34. วัฒนธรรมการบริโภคอาหารของประเทศในกลุ่มใดที่มีความคล้ายคลึงกับประเทศไทย
1. จีน ญี่ปุ่น เกาหลี 2. ตุรกี อิรัก อิหร่าน
3. อินเดีย เนปาล คูเวต 4. ซีเรีย จอร์แดน เยเมน
35. ประเพณีและวัฒนธรรมในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
1. พิธีเวียนเทียน 2. พิธีรับศีลมหาสนิท
3. ประเพณีเข้าพรรษา 4. ประเพณีตักบาตรเทโว
36. วัฒนธรรมด้านการกีฬามีส่วนช่วยปลูกฝังค่านิยมใดให้แก่คนในสังคม
1. ความเมตตากรุณา 2. ความกตัญํูกตเวที
3. ความทะนงตัวอวดดี 4. ความสามัคคีกลมเกลียว
37. กฎหมายใดที่ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร ในสถานการณ์อันมีความจาเป็นรีบด่วน
1. พระราชกําหนด 2. พระราชบัญญัติ
3. พระราชกฤษฎีกา 4. กฎกระทรวงมหาดไทย
38. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติต้องเสนอให้ฝ่ายใดพิจารณาเป็นลาดับแรก
1.วุฒิสภา 2. คณะกรรมาธิการ
3. สภาผู้แทนราษฎร 4. สภาองค์กรนิติบัญญัติ

~ 11 ~
39. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร
1. ให้ความสําคัญกับรูปแบบเป็นหลัก
2. ต้องอยู่ในรูปของข้อความและตัวเลขเท่านั้น
3. มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและสามารถจับต้องได้
4. ช่วยให้ทราบถึงข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
40. บุคคลใดมีแนวทางในการรับข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม
1. สน เลือกรับข้อมูลข่าวสารเฉพาะในอินเทอร์เน็ต
2. แวว ใช้วิจารณญาณในการชมภาพยนตร์ช่วงหัวค่ํา
3. มุก เชื่อในความเห็นส่วนใหญ่ว่าถูกต้องและดีเสมอ
4. แมน รวบรวมข้อมูลเพื่อเอื้อประโยชน์ให้แก่พวกของตน
41. ผู้ใดต่อไปนี้มีโอกาสทางการออมเงินมากที่สุด
1. โต้งมีภาระต้องผ่อนบ้าน ผ่อนรถ ทุกๆ เดือน
2. พิมได้ค่าขนมวันละ 100 บาท และมีค่าใช้จ่ายวันละ 60 บาท
3. หนูมีต้นทุนทําก๋วยเตี๋ยวขายวันละ 1,000 บาท แต่ขายได้วนั ละ 700 บาท
4. แตงได้เงินเดือน 20,000 บาท แต่มีค่าใช้จ่ายในบ้าน เดือนละ 30,000 บาท
42. ข้อใดถือเป็นการผลิตสินค้าและบริการในขั้นปฐมภูมิ
1. ชาวประมงออกหาปลาในเขตน้ําลึก
2. โรงงานเร่งผลิตน้ําอัดลมให้ได้มากขึ้น
3. รถบรรทุกรับจ้างขนส่งของทุกชนิดทั่วประเทศ
4. บริษัทประกันภัยมีกรมธรรม์หลายประเภทให้เลือก
43. กรณีใดต่อไปนี้ช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าและบริการได้
1. สมชายใช้วัตถุดิบราคาถูกทําก๋วยเตี๋ยวขาย
2. วินัยตั้งราคาขายเสื้อยืดสูงเพราะต้องการกําไร
3. อนันต์ยึดการผลิตแก้วเซรามิกโดยใช้วิธีดั้งเดิม
4. สุธีร์ออกแบบบรรจุภัณฑ์สําหรับใส่ขนมไทยให้สวยงาม
44. หากภายในชุนชนของนักเรียนมีทรัพยากรต้นกกมาก จะสามารถนาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้
อย่างไรจึงจะช่วยให้เกิดรายได้
1. ตัดต้นกกขายเป็นขยะ
2. กําจัดต้นกกทิ้งเพื่อนําพื้นที่มาใช้
3. จัดตั้งกลุ่มแม่บ้านผลิตเสื่อจากต้นกกขาย
4. ขายพื้นที่ที่มีต้นกกขึ้นอยู่ให้แก่นายทุนเพื่อเอากําไร

~ 12 ~
45. หลักการทาธุรกิจในท้องถิ่นตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงควรมีลักษณะอย่างไร
1. มุ่งผลกําไรสูง 2. ไม่ลงทุนเกินตัว
3. เน้นการเป็นผู้ผูกขาดตลาด 4. พึ่งพาเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิต
46. ผู้ใดปฏิบัติตนเพื่อคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคของตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. ติ๊กเลือกใช้แต่เครื่องสําอางราคาถูกเท่านั้น
2. อั้มต่อว่าแม่ค้าขายส้มที่ไม่ยอมลดราคาให้
3. ติ๋มดูข้อความบนฉลากผลไม้กระป๋องทุกครั้งก่อนซื้อ
4. พรซื้อพัดลมที่ไม่มีเครื่องหมาย มอก. เพื่อความประหยัด
47. หากต้องการซื้อหมวกนิรภัยมาใช้ ควรเลือกหมวกนิรภัยที่มีสัญลักษณ์ใดเพื่อให้มั่นใจในคุณภาพ

1. 2.

3. 4.

48. ในระบบเศรษฐกิจใดที่ผู้ผลิตจะต้องทาการแข่งขันทางตลาดสูงที่สุด
1. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม 2. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
3. ระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง 4. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
49. ข้อใดสอดคล้องกับระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
1. เอกชนสามารถผลิตสินค้าได้อย่างเสรี
2. ผู้ผลิตมุ่งปรับปรุงคุณภาพสินค้าอยู่เสมอ
3. รัฐมีส่วนร่วมกับเอกชนในการดําเนินธุรกิจ
4. รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทั้งหมดของสังคม
50. ข้อใดแสดงถึงการพึ่งพากันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
1. ผู้ผลิตยางรถยนต์ของญี่ปุ่นให้ความสนใจตั้งโรงงานในไทยเพราะเป็นแหล่งวัตถุดิบ
2. หลายประเทศในเอเชียขายข้าวราคาต่ํากว่าราคากลางมากเพราะต้องการส่วนแบ่งตลาด
3. ประเทศเกาหลีใต้และสิงคโปร์เป็นผู้นําด้านอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งต่างพัฒนาสินค้าของตนอยู่ตลอดเวลา
4. ประเทศจีนเร่งพัฒนาศักยภาพการผลิตสินค้าให้มีมาตรฐานสูงเพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้นําทางเศรษฐกิจ

~ 13 ~
51. ประเทศไทยมีจุดแข็งในเรื่องใดที่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจกับประเทศในภูมิภาคเอเชียได้
1. มีทรัพยากรเชื้อเพลิงมาก
2. มีสาธารณูปโภคพื้นฐานครบครัน
3. มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ
4. มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
52. ประเทศไทยต้องพึ่งพาทรัพยากรในข้อใดจากประเทศอื่นเป็นจานวนมาก
1. ทรัพยากรป่าไม้ 2. ทรัพยากรน้ํามัน
3. ทรัพยากรอาหาร 4. ทรัพยากรถ่านหิน
53. ประเทศที่มีทรัพยากรใดมาก จะมีความได้เปรียบทางเศรษฐกิจสูง
1. สัตว์ป่า 2. แร่ทองคํา
3. แหล่งท่องเที่ยว 4. เครื่องเทศและสมุนไพร
54. ร้านมินิมาร์ทที่มีอยู่ทั่วไปส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจใด
1. ห้างค้าส่ง 2. ตลาดสด
3. ห้างสรรพสินค้า 4. ร้านขายของชํา
55. ประเทศไทยควรมีการพัฒนาในด้านใดเพื่อสร้างเสริมศักยภาพการแข่งขันเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
1. พัฒนาฝีมือแรงงาน เพิ่มคุณภาพสินค้า
2. ยึดถือการผลิตสินค้าแบบดั้งเดิม สร้างเอกลักษณ์
3. เพิ่มปริมาณการนําเข้าสินค้า สร้างความทันสมัย
4. พึ่งพาเงินกู้ระหว่างประเทศเป็นหลัก เน้นหลักวัตถุนิยม
56. นายอาณัติบังเอิญได้รับเอกสารสมัยอยุธยามาชิ้นหนึ่ง เขาต้องการทราบว่าเป็นของจริงหรือของปลอม
นักเรียนในฐานะที่ศึกษาเกี่ยวกับการประเมินคุณค่าของหลักฐานมาแล้ว จะแนะนานายอาณัติให้
พิจารณาจากสิ่งใด
1. ข้อมูลจากหลักฐาน
2. สถานที่เจอหลักฐาน
3. วัตถุประสงค์ของการจัดทํา
4. วัสดุที่ใช้เขียน รูปแบบตัวเขียน สํานวนภาษา
ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้อ 57.-58.

“…ลักษณะการพลเรือนแต่โบราณจัดเป็น 4 แผนก เรียกว่า เวียง วัง คลัง นา หรือเรียกรวมกัน


ว่ า “จตุส ดมภ์ ” แปลว่ า หลั ก ทั้ง 4 ลั กษณะที่จัด ระเบี ยบการฝ่า ยพลเรือนเป็ น 4 แผนกนั้ น
สันนิษฐานว่าจะเป็นตารามาแต่อินเดีย ด้ว ยประเทศอื่นที่ใกล้เคียงกับพม่าก็ดี เขมรก็ดี ตลอดจน
ชวา มลายู แบ่งเป็น 4 แผนก ทานองเดียวกันทั้งนั้น ไทยเราคงได้แบบมาจากพวกขอม…”

~ 14 ~
57. จากข้อความดังกล่าวข้างต้น ข้อใดเป็นความจริง
1. ไทยเราคงได้แบบมาจากพวกขอม
2. สันนิษฐานว่าจะเป็นตํารามาแต่อินเดีย
3. ลักษณะการพลเรือนแต่โบราณจัดเป็น 4 แผนก หรือจตุสดมภ์
4. ด้วยประเทศใกล้เคียง เช่น พม่า เขมร ชวา มลายู แบ่งเป็น 4 แผนก
58. ข้อความใดเป็นข้อเท็จจริง
1. เวียง วัง คลัง นา หรือจตุสดมภ์
2. “จตุสดมภ์” แปลว่า หลักทั้ง 4
3. สันนิษฐานว่าจะเป็นตํารามาแต่อินเดีย
4. ด้วยประเทศอื่นที่ใกล้เคียงกับพม่าก็ดี เขมรก็ดี ตลอดจนชวา มลายู แบ่งเป็น 4 แผนก
59. ข้อใดคือประโยชน์สาคัญของการตีความทางประวัติศาสตร์
1. เพื่อหาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
2. เพื่ออธิบายเรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
3. เพื่อประเมินความน่าเชือ่ ถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
4. เพื่อวิเคราะห์จุดประสงค์ของการสร้างหลักฐานทางประวัติศาสตร์
60. ในพระราชพงศาวดารกล่าวว่า “เสด็จทรงช้างต้นพญาไชยานุภาพ เสด็จออกรบมหาอุปราชา (ที่) ตาบล
หนองสาหร่าย ...แลได้ชนช้างด้วยพระมหาอุปราชานั้น...ครั้งนั้นมหาอุปราชาขาดคอช้าง ตายในที่นั้น”
ข้อใดตีความได้ถูกต้อง และครบถ้วนสมบูรณ์
1. พระมหาอุปราชาทรงช้างต้นพระยาไชยานุภาพ
2. พระมหาอุปราชาสิ้นพระชนม์ที่หนองสาหร่าย
3. สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงรบกับพระมหาอุปราชา
4. สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาที่หนองสาหร่าย และทรงฟันพระ
มหาอุปราชาขาดบนคอช้างจนสิ้นพระชนม์
61. สภาพชุมชนไทยบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างก่อนการสถาปนาอาณาจักรอยุธยามีลักษณะตรง
กับข้อใด
1. อาศัยอยู่โดดเดี่ยว 2. รวมตัวเป็นอาณาจักรใหญ่
3. อยู่รวมเป็นชุมชนขนาดย่อม 4. เป็นกลุ่มที่ขอมวางรากฐานในการก่อตั้ง
62. ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาข้อใดมีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองด้านเศรษฐกิจมากที่สุด
1. เป็นที่ตั้งของแหล่งอารยธรรมโบราณ
2. เป็นเมืองท่าค้าขายซึ่งอยู่ระหว่างอินเดียกับจีน
3. เป็นพื้นที่ลุ่มแม่น้ําทําให้ขนส่งสินค้าได้สะดวก
4. เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเพาะปลูก

~ 15 ~
63. เหตุผลส าคั ญในข้อ ใดที่ทาให้ ส มเด็ จ พระบรมไตรโลกนาถทรงทาการปฏิ รูปการปกครองแผ่นดิ น
ครั้งใหญ่
1. เกิดกบฏภายในบ่อยครั้ง 2. ขาดบุคลากรมาช่วยบริหาร
3. ได้รับแนวคิดจากเพื่อนบ้าน 4. อาณาจักรกว้างใหญ่ดูแลไม่ทั่วถึง
64. ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการประกอบอาชีพของชาวอยุธยามากที่สุดคืออะไร
1. ทําเลที่ตั้ง 2. จํานวนประชากร
3. พ่อค้าชาวต่างชาติ 4. ขนาดของอาณาจักร
65. นายทองเหม็นเดินทางมาติดต่อกับทางราชการทาเรื่องขอโฉนดที่นา เพื่อป้องกันมิให้ผู้อื่นมาบุกรุกที่นา
ของตน นายทองเหม็นจะต้องเสียภาษีอะไรให้แก่ทางราชการ
1. ส่วย 2. ฤชา
3. อากร 4. จังกอบ
66. ระบบศักดินาส่งผลต่อสังคมไทยสมัยอยุธยาอย่างไร
1. เกิดระบบชนชั้นในสังคม
2. เกิดการแบ่งอํานาจการปกครอง
3. เกิดการกระจายการถือครองที่ดิน
4. เกิดความขัดแย้งระหว่างขุนนางกับเชื้อพระวงศ์
67. ลักษณะความสัมพันธ์ของอาณาจักรอยุธยากับรัฐใกล้เคียงส่วนใหญ่เป็นด้านใด
1. ศาสนา 2. เศรษฐกิจ
3. การทหาร 4. วัฒนธรรม
68. ภูมิปัญญาด้านศิลปกรรมสมัยอยุธยาได้รับอิทธิพลจากอะไรมากที่สุด
1. พระพุทธศาสนา 2. ธรรมชาติที่งดงาม
3. การประกอบอาชีพ 4. อารยธรรมตะวันตก
69. หลังจากพระยาตาก (สิน) สามารถกอบกู้เอกราชได้สาเร็จ ข้อใดนับเป็นจุดเริ่มต้นของการรวบรวม
ราชอาณาจักรที่แตกสลายให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
1. การฟื้นฟูเศรษฐกิจ 2. การฟื้นฟูพระพุทธศาสนา
3. การปราบปรามชุมนุมต่างๆ 4. การยกทัพไปตีเขมรและล้านช้าง
70. เพราะเหตุใดสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงทรงซื้อข้าวจากพ่อค้าต่างชาติในราคาแพง
1. เพื่อให้สินค้าส่งออกของอาณาจักรธนบุรีราคาสูงขึ้น
2. เพื่อให้ชาวต่างชาติชว่ ยอาณาจักรธนบุรีทําสงครามกับพม่า
3. เพื่อจูงใจให้พ่อค้าต่างชาตินําสินค้ามาขายในอาณาจักรธนบุรี
4. เพื่อแสดงความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของอาณาจักรธนบุรี

~ 16 ~
71. ปัญหาในข้อใดที่ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางสังคมของกรุงธนบุรีอย่างมาก
1. เกิดโรคระบาด 2. โจรผู้ร้ายชุกชุม
3. จํานวนทหารมีน้อย 4. ความหวาดกลัวภัยจากพม่า
72. ข้อใดคือภูมิปัญญาไทยในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเรื่องการขาดแคลนข้าวของสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช
1. เร่งรัดให้ราษฎรทํานา 2. ขยายพื้นที่ทํานาข้าวมากขึ้น
3. ให้หัวเมืองส่งข้าวแก่ส่วนกลาง 4. ซื้อข้าวจากต่างประเทศแจกจ่ายราษฎร
73. พระมหากษัตริย์พระองค์ใดที่มีบทบาทในการสร้างความสมัครสมานสามัคคีระหว่างคนไทยที่สุโขทัย
กับอยุธยา
1. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) 2. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
3. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช 4. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
74. บุคคลใดนาแบบอย่างความดีของสมเด็จพระสุริโยทัยไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
1. โต้งขยันทําการบ้านอย่างสม่ําเสมอ
2. ต้อมเข้าไปห้ามปรามเพื่อนที่กําลังทะเลาะกัน
3. ต่ายเสียสละที่นั่งบนรถประจําทางให้ผู้สูงอายุ
4. แต้วเข้าร่วมในกิจกรรมรณรงค์ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
75. สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเมื่อครั้งดารงพระยศเป็นพระมหาอุปราชทรงกอบกู้เอกราชให้แก่แผ่นดิน
ไทยด้วยวิธีการใด
1. รวบรวมกําลังคนให้พร้อมแล้วยกทัพไปตีพม่า
2. อยู่เฉยๆ แต่ไม่ยอมส่งเครื่องราชบรรณาการอีกต่อไป
3. ประกาศท้ารบ หากผู้ใดชนะยอมให้ครอบครองดินแดน
4. ประกาศอิสรภาพ ไม่ยอมตกเป็นเมืองประเทศราชของใคร
76. ข้อใดคือแบบอย่างของออกพระวิสุทธสุนทร (ปาน) ที่นักเรียนควรนาไปใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์
1. การมีไมตรีกับผู้อื่น
2. ศึกษาภาษาต่างประเทศ
3. เดินทางท่องเที่ยวในสถานที่ต่างๆ
4. จดบันทึกเรื่องราวที่ได้รับทราบมา
77. ในฐานะที่ นั ก เรี ย นศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ ธ นบุ รี ม าแล้ ว นั ก เรี ย นคิ ด ว่ า ภาพลั ก ษณ์ ข้ อ ใดที่
สอดคล้องกับบุคลิกภาพของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมากที่สุด
1. นักรบ 2. นักปราชญ์
3. นักปกครอง 4. นักปฏิบัติธรรม

~ 17 ~
78. เพราะเหตุใดจีนจึงเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์
1. พรรคคอมมิวนิสต์จีนชนะการเลือกตั้ง
2. พรรคคอมมิวนิสต์จีนยึดอํานาจจากจักรพรรดิ
3. ความล้มเหลวของการปกครองแบบสาธารณรัฐ
4. ถูกสหภาพโซเวียตยึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
79. จุดประสงค์สาคัญของการปฏิรูปสมัยเมจิของญี่ปุ่นคือข้อใด
1. เพื่อลดทอนอํานาจของจักรพรรดิ
2. เพื่อต่อสู้กับมหาอํานาจตะวันตก
3. เพื่อปรับปรุงประเทศให้เจริญทัดเทียมชาติตะวันตก
4. เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของกลุ่มพ่อค้านักธุรกิจ
80. ภูมิภาคเอเชียใต้มีความขัดแย้งกันเรื่องใดมากที่สุด
1. ความแตกต่างทางศาสนา 2. ความแตกต่างทางการเมือง
3. ความแตกต่างทางเศรษฐกิจ 4. ความแตกต่างทางการศึกษา
81. ปัจจัยใดที่ส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ดารงชีวิตแบบเร่ร่อน
1. ภัยธรรมชาติและโรคระบาด
2. ความเชื่อเกี่ยวกับการเผชิญโชค
3. การแสวงหาพื้นที่ใหม่ๆ ที่มีแหล่งน้ํามัน
4. สภาพภูมิศาสตร์ที่แห้งแล้งและยากลําบาก
82. ปัจจัยใดที่ทาให้ในอดีตดินแดนเอเชียกลางปกครองแบบชนเผ่า
1. สภาพภูมิประเทศ 2. ความแตกต่างทางศาสนา
3. ความแตกต่างทางเศรษฐกิจ 4. การขาดผู้นําที่มีอํานาจเด็ดขาด
83. “ฮ่องเต้อู๋ตี้ปกครองจีนอย่างโหดร้ายทารุณ ทาให้ราษฎรได้รับความทุกข์ยากลาบาก ขุนพลหวังหลี่ซึ่ง
เป็นคนมีคุณธรรมจึงตัดสินใจรวบรวมผู้คนทาการล้มล้างการปกครอง แล้วสถาปนาตนเองเป็นฮ่องเต้
แทน” นักเรียนคิดว่าการกระทาของขุนพลหวังหลี่มีความชอบธรรมหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ชอบธรรม เพราะใครมีอํานาจย่อมได้เป็นผู้นํา
2. ชอบธรรม เพราะสวรรค์ประทานอํานาจให้แก่ผู้ปราบปรามยุคเข็ญ
3. ไม่ชอบธรรม เพราะเป็นขุนนางที่คิดทรยศต่อฮ่องเต้
4. ไม่ชอบธรรม เพราะไม่คืนอํานาจที่ได้มาให้แก่ราษฎร
84. เมื่อเปรียบเทียบกับอารยธรรมลุ่มแม่น้าอื่น ๆ เรื่องที่อารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุไม่มีหลักฐานชัดเจนคือ
เรื่องใด
1. การวางผังเมือง 2. การจัดระเบียบการปกครอง
3. การแยกแยะอาชีพของพลเมือง 4. การมีบันทึกที่เป็นลายลักษณ์อักษร

~ 18 ~
85. กาแพงเมืองจีนเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงเรื่องใด
1. ความยิ่งใหญ่ของจีน 2. ความสามัคคีของชาวจีน
3. การแบ่งแยกจีนจากชนชาติอื่น 4. ความสามารถในการก่อสร้างของชาวจีน
86. เครื่องมือชนิดใดสามารถนามาใช้วางแผนเพื่อจัดการภัยพิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. รีโมตเซนซิง 2. เครื่องจีพีเอส
3. รูปถ่ายทางอากาศ 4. ภาพจากดาวเทียม
87. ข้อใดเป็นลักษณะเด่นที่สุดของการนาเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์แบบกราฟิก
1. สื่อข้อมูลองค์รวมได้ดี 2. ให้รายละเอียดข้อมูลได้มาก
3. นําเสนอข้อมูลได้ทุกประเภท 4. ดึงดูดความสนใจและอ่านเข้าใจง่าย
ใช้แผนที่ที่กาหนดให้ ตอบคาถามข้อ 88.-89.

88. “ฟีออร์ด” เป็นลักษณะภูมิประเทศบริเวณใด และเกิดขึ้นจากสาเหตุใด


1. หมายเลข 1 : แผ่นดินไหว
2. หมายเลข 2 : ภาวะโลกร้อน
3. หมายเลข 3 : การเคลื่อนตัวของธารน้ําแข็ง
4. หมายเลข 4 : การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
89. ข้อใดเป็นเหตุผลสาคัญที่สุดที่ทาให้บริเวณหมายเลข 2 มีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง
1. อากาศหนาวเย็น 2. เกิดภัยพิบัติบ่อยครั้ง
3. การคมนาคมไม่สะดวก 4. ได้รับผลกระทบจากโลกร้อน
90. ปัจจัยสาคัญที่สุดที่ทาให้เศรษฐกิจของทวีปยุโรปมีความมั่นคงคืออะไร
1. ประชากรมีคุณภาพ 2. รัฐบาลมีเสถียรภาพ
3. ทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ 4. เทคโนโลยีเจริญก้าวหน้า
91. เพราะเหตุใดการเข้ามาพานักอาศัยของชาวต่างชาติในทวีปยุโรปจึงก่อให้เกิดสังคมใหม่
1. การขยายตัวเมืองขึ้นอย่างรวดเร็ว 2. การเกิดความขัดแย้งกับคนในท้องถิ่น
3. การนําความเชื่อต่างๆ เข้ามาเผยแพร่ 4. การตั้งเป็นชุมชนกลางชุมชนชาวยุโรป

~ 19 ~
92. หลายประเทศในทวีปยุโรปได้มีการส่งเสริมการลงทุนสีเขียวเพื่อวัตถุประสงค์ใด
1. ลดแก๊สเรือนกระจก 2. ประหยัดการใช้พลังงาน
3. ส่งเสริมการค้าและการลงทุน 4. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
93. ข้อใดเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศในทวีปยุโรป
1. ภาวะโลกร้อน 2. การเพิ่มจํานวนประชากร
3. การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรม 4. ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
94. ปัจจัยใดที่ช่วยให้สัตว์ป่าในทวีปแอฟริกายังคงมีจานวนมากในปัจจุบัน
1. พื้นที่ยังคงรกร้างว่างเปล่า 2. การอนุรักษ์มีประสิทธิภาพ
3. สัตว์ป่าแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว 4. ชาวแอฟริกันไม่ชอบล่าสัตว์ป่า
95. เมื่ อ พิ จารณาถึ งสภาพภูมิ ประเทศของทวีปแอฟริกา ควรสนับ สนุนให้ประชากรประกอบอาชีพ ใด
มากที่สุด
1. เลี้ยงสัตว์ 2. ทําป่าไม้
3. ทําเหมืองแร่ 4. เพาะปลูกพืชไร่
96. ผลผลิตทางการเกษตรชนิดใดที่ควรส่งเสริมให้ปลูกในทวีปแอฟริกา เพราะเหตุใด
1. กาแฟ เพราะมีราคาดี 2. ฝ้าย เพราะมีต้นทุนต่ํา
3. ยางพารา เพราะดูแลง่าย 4. ธัญพืช เพราะเอาไว้บริโภค
97. ข้อใดถือเป็นสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมของทวีปแอฟริกา
1. ชุมชนชาวเอเชีย 2. การเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อน
3. การท่องเที่ยวแบบซาฟารี 4. การย้ายที่อยู่ของชนเผ่ามาไซ
98. ปัญหาความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นในทวีปแอฟริกาส่งผลต่อประชากรทางด้านใดมากที่สุด
1. การย้ายถิ่นฐาน 2. ปัญหาทุพภิกขภัย
3. ความขัดแย้งทางการเมือง 4. ความขัดแย้งทางด้านเชื้อชาติ
99. การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของทวีปแอฟริกาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในด้านใด
1. การส่งออกสินค้า 2. การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่
3. การพัฒนาสาธารณูปโภค 4. การเปลี่ยนแปลงจํานวนประชากร
100. หากพื้นที่ป่าไม้ของทวีปแอฟริกาถูกทาลายจานวนมากจะส่งผลกระทบต่อโลกอย่างไร
1. เกิดโรคระบาดร้ายแรง 2. อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้น
3. สัตว์ป่าสูญพันธุ์จํานวนมาก 4. ประชากรย้ายถิ่นฐานมากขึ้น



~ 20 ~
ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 2
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
1                                            

2                                            

3                                            

4                                            

5                                            

6                                            

7                                            

8                                            

9                                            

10                                            

11                                            

12                                            

13                                            

14                                            

15                                            

16                                            

17                                            

18                                            

~ 21 ~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
19                                            

20                                            

21                                            

22                                            

23                                            

24                                            

25                                            

26                                            

27                                            

28                                            

29                                            

30                                            

31                                            

32                                            

33                                            

34                                            

35                                            

36                                            

37                                            

38                                            

39                                            

~ 22 ~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
40                                            

41                                            

42                                            

43                                            

44                                            

45                                            

46                                            

47                                            

48                                            

49                                            

50                                            

51                                            

52                                            

53                                            

54                                            

55                                            

56                                            

57                                            

58                                            

59                                            

60                                            

~ 23 ~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
61                                            

62                                            

63                                            

64                                            

65                                            

66                                            

67                                            

68                                            

69                                            

70                                            

71                                            

72                                            

73                                            

74                                            

75                                            

76                                            

77                                            

78                                            

79                                            

80                                            

81                                            

~ 24 ~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ส 1.1 มฐ ส 1.2 มฐ ส 2.1 มฐ ส 2.2 มฐ ส 3.1 มฐ 3.2 มฐ ส 4.1 มฐ ส 4.2 มฐ ส 4.3 มฐ ส 5.1 มฐ ส 5.2
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4
82                                            

83                                            

84                                            

85                                            

86                                            

87                                            

88                                            

89                                            

90                                            

91                                            

92                                            

93                                            

94                                            

95                                            

96                                            

97                                            

98                                            

99                                            

100                                            



~ 25 ~
สังคมศึกษาฯ ชุดที่ 21
คะแนนเต็ม

ชั้นมัธยมศึกษาปีท4ี่ 1 จานวน 100 ข้อ 100

เวลาสอบ

ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. การเปลี่ ย นผู้ ป กครองและการล่ า อาณานิ ค มของชาติ ต ะวั น ตก ส่ ง ผลต่ อ ความเปลี่ ย นแปลงของ
พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างไร
1. ทําให้เกิดเป็นยุครุง่ เรืองและยุคเสื่อมโทรมของพระพุทธศาสนา
2. ทําให้พระพุทธศาสนากลายเป็นศาสนาประจําชาติของทุกประเทศ
3. ทําให้พระพุทธศาสนาเกิดการแตกแยกออกเป็นหลายนิกาย หลายสํานัก
4. ทําให้เกิดการต่อต้านพระพุทธศาสนาจากคนพื้นเมืองดั้งเดิมที่นับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์
2. แนวทางการสร้า งสั มพั นธไมตรีกับ มิต รประเทศของพระเจ้า อโศกมหาราชที่เรียกว่า “ธรรมวิชัย ”
สะท้อน ให้เห็นถึงความสาคัญของพระพุทธศาสนาในด้านใดมากที่สุด
1. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีด้วยเหตุผล 2. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีด้วยสันติวิธี
3. ยุติความขัดแย้งด้วยการให้อภัยทาน 4. ยุติความขัดแย้งด้วยการบําเพ็ญทาน
3. การกระทาของประเทศใด สอดคล้องกับ “เมตตากายกรรม” ในหลัก “สาราณียธรรม”
1. ประเทศ ก ออกแถลงการณ์ข่าวสารเกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้าน
2. ประเทศ ข พยายามชักจูงประเทศเพื่อนบ้านให้ร่วมทําสงคราม
3. ประเทศ ค ชมเชยแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนของประเทศเพื่อนบ้าน
4. ประเทศ ง ส่งยารักษาโรคไปช่วยผู้ประสบอุทกภัยในประเทศเพื่อนบ้าน
4. ข้อใดเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นว่าพระพุทธศาสนามีส่วนสาคัญในการปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีให้แก่คนไทย
1. โครงการ “โตไปไม่โกง” 2. สุภาษิต “ปากว่าตาขยิบ”
3. สมญานาม “สยามเมืองยิ้ม” 4. คํากล่าว “ทําอะไรตามใจคือไทยแท้”
5. คาว่า “ไม่เป็นไร” แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของพุทธศาสนิกชาวไทยด้านใด
1. ความเป็นคนยึดมั่นกตัญํูต่อผู้อาวุโส 2. ความเป็นคนอารมณ์ร้อน ไม่ฟังเหตุผล
3. ความเป็นคนมีระเบียบวินัยในตนเองสูง 4. ความเป็นคนมีใจกว้างและรู้จักปล่อยวาง

~ 26 ~
6. เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงมุ่งเน้นการพัฒนาทางด้านจิตใจมากกว่าวัตถุ
1. เพราะจิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว 2. เพราะจิตสามารถสื่อสารกับสิ่งลี้ลับได้
3. เพราะวัตถุเป็นสิ่งด้อยค่าและมีราคาต่ํา 4. เพราะวัตถุทําให้คนตกอยู่ในกิเลสตัณหา
7. ภาพยนตร์โฆษณา “เมาไม่ขับ” และ “ไม่สูบบุหรี่ในที่สาธารณะ” สอดคล้องกับการจัดระเบียบสังคม
ตามแนวทางของพระพุทธศาสนาอย่างไร
1. กระตุ้นให้คนปฏิบัตติ ามกฎหมายของบ้านเมือง
2. กระตุ้นให้คนเกิดจิตสํานึกละอายต่อการกระทําความผิด
3. กระตุ้นให้คนดําเนินชีวิตตามหลักจารีตประเพณีอย่างเคร่งครัด
4. กระตุ้นให้คนเกิดจิตสาธารณะเพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม
8. พระพุทธรูป “ปางมารวิชัย” หรือ “ปางผจญมาร” ให้ข้อคิดเพื่อการดาเนินชีวิตเรื่องใด
1. พึงสร้างกุศลด้วยการให้ 2. พึงพอใจในสิ่งที่ตนมีและเป็นอยู่
3. พึงเอาชนะกิเลสด้วยคุณความดี 4. พึงพิจารณาทุกสิ่งด้วยสติและปัญญา
9. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างของพระสารีบุตรในข้อใด ควรนาไปใช้เพื่อแสดงถึงการเป็นบุตรที่ดี
ของบิดามารดาและการเป็นศิษย์ที่ดีของครูอาจารย์
1. มีความกตัญํูกตเวทิตา 2. มีความเป็นผู้มีปัญญาหลักแหลม
3. มีความปรารถนาดีต่อพระพุทธศาสนา 4. มีความสามารถในการถ่ายทอดธรรมะ
10. ข้อคิดจากเรื่อง “ราโชวาทชาดก” สอดคล้องกับข้อคิดใดมากที่สุด
1. เด็กฉลาดชาติเจริญ 2. มือสะอาดชาติไม่ล่ม
3. ไทยทํา ไทยใช้ ไทยเจริญ 4. ไทยนี้รักสงบแต่ถึงรบไม่ขลาด
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้อ 11. - 12.
ฟ้ามืดนานแล้ว แต่แสงจากเทียนเล่มน้อยที่ลุงตองบรรจงจุดและจัดวางไว้ตามแนวขอบ
ระเบียงส่ายวับแวมทอแสงเย็นตา ราวกับจะท้าแข่งกับดวงจันทร์สุกสว่างกลางฟ้า แสงสีเงินทอลงสู่
ผืนน้าที่สะท้อนรับอย่างเต็มใจ แม่แหงนหน้ามองดวงจันทร์และบอกกะทิว่า อีกไม่นานแม่จะไปอยู่
บนนั้น และคอยเฝ้าดูกะทิตลอดไป
กะทินั่งอยู่เป็นเพื่อนแม่เงียบๆ พระจันทร์สวยจริงๆ จนกะทิอยากให้ทุกคืนเป็นคืนเดือนเพ็ญ
พี่อ้อยพยาบาลของแม่เอาผ้าคลุมไหล่มาให้ กะทิจึงลุกออกมา ตั้งใจจะไปรินน้าดื่มในห้องเตรียม
อาหาร ภาพที่กะทิเห็นคือน้าฎากอดยายร้องไห้จนตัวสั่น น้าตาไหลอาบแก้ม ลุงตอง น้ากันต์กับตา
ยืนหันหลัง กะทิมองเห็นดอกสีม่วงบอบบางของผักบุ้งทะเลบนหลังตู้เย็นสลดเหี่ยว ใครคงลืมเติม
น้าในแจกันตอนยกมาตั้งไว้
งามพรรณ เวชชาชีวะ. (2555). ความสุขของกะทิ. หน้า 55 - 56.

~ 27 ~
11. “ทุกข์” ที่ปรากฏในเหตุการณ์นี้คืออะไร
1. การเกิดและการร่วงโรย 2. การชื่นชมและการตาย
3. การจากลาและการดีใจ 4. การเจ็บป่วยและการเสียใจ
12. จากข้อ 11. “สติปัฏฐาน 4” มีความสาคัญต่อทุกข์นั้นอย่างไร
1. ช่วยระงับเหตุแห่งทุกข์ เพราะสติปัฏฐาน 4 คือ ความจริงอันประเสริฐเกี่ ยวกับการเกิดและการดับ
ของทุกข์
2. ช่ วยระงั บ เหตุแ ห่ง ทุ ก ข์ เพราะสติปัฏ ฐาน 4 คื อ ทางแห่งอกุ ศ ลกรรมหรือทางแห่งกรรมชั่วอั น
นําไปสู่ความเสื่อม
3. ช่วยขจัดให้ทุกข์นั้นสิ้นไป เพราะทําให้บุคคลสามารถใช้สติพิจารณาภายในกายจนรู้เห็นความจริง
ว่า “สิ่งทั้งหลายย่อมมีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดา”
4. ช่วยขจัดให้ทุกข์นั้นสิ้นไป เพราะทําให้บุคคลสามารถใช้วิจารณญาณพิจารณาในธรรม จนรู้เห็น
ความจริงว่า “ความสวยงามทั้งหลายล้วนเกิดจากกิเลสตัณหา”
13. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับโครงสร้างของพระไตรปิฎกได้ถูกต้อง
1. พระไตรปิฎกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ สุตตวิภังค์ ขันธกะ และปริวาร
2. พระวินัยปิฎก เป็นคัมภีร์ว่าด้วยเรื่องพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า
3. พระสุตตันตปิฎก เป็นคัมภีร์ว่าด้วยเรื่องสิกขาบทหรือศีลของพระสงฆ์
4. พระอภิธรรมปิฎก เป็นคัมภีร์ว่าด้วยเรื่องการอธิบายหลักธรรมในรูปวิชาการ
14. “สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการให้และการทาบุญ เพราะคนไทยส่วนหนึ่งเชื่อว่าการสั่งสมบุญไว้ขณะยัง
มีชีวิตอยู่จะส่งผลให้ได้ขึ้นสวรรค์เมื่อตายไป” สะท้อนให้เห็นว่าคนไทยพึงระลึกอยู่เสมอว่าอะไร
1. สุโข ปุํฺญสฺส อุจฺจโย 2. ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา
3. อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย 4. ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ
15. หากได้รับมอบหมายให้เป็นผู้บรรยายเพื่อเผยแผ่ศาสนาในที่สาธารณะ ข้อปฏิบัติ ใดที่ควรคานึงถึงมาก
ที่สุด
1. สวมชุดสุภาพและมีสีสันสะดุดตา
2. ไม่กล่าวถ้อยคําเชิงดูหมิ่นศาสนาอื่น
3. เลือกใช้คําเฉพาะที่ยากต่อการเข้าใจ
4. กล่าวแต่เพียงข้อดีของศาสนาที่ตนนับถือ
16. พุทธศาสนานิกชนที่ต้องการจัดพิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ควรมีการเตรียมงานอย่างไร
1. เชิญผู้นับถือศาสนาอื่นมาร่วมพิธี
2. ฝึกปฏิบัติการเจริญสมาธิและปัญญา
3. กําหนดวัน เวลา และสถานที่ให้แน่นอน
4. นิมนต์พระสงฆ์ที่มีชื่อเสียงด้านการเทศน์จํานวน 4 รูป

~ 28 ~
17. ศาสนพิธีสร้างสังคมให้มีความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันได้อย่างไร
1. ทําให้ศาสนิกชนเกิดการรวมกลุ่มกันเพื่อเผยแผ่ศาสนา
2. ทําให้ศาสนิกชนเกิดความศรัทธาในศาสนาของตนมากขึ้น
3. ทําให้ศาสนิกชนไม่เบียดเบียนกัน เพราะหันมาประกอบอาชีพเดียวกัน
4. ทําให้ศาสนิกชนมีความรักสามัคคีกัน เพราะได้ปฏิบัติศาสนพิธีร่วมกัน
18. วั นเฉลิ ม ไปทาบุ ญที่วั ด ในวั นที่พ ระพุ ทธเจ้า แสดงธรรมเทศนา “พระโอวาทปาฏิ โมกข์ ” แสดงว่ า
วันเฉลิมไปทาบุญในวันใด
1. วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 3 2. วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6
3. วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 8 4. วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้อ 19.
การบริจาคซะกาต หรือ การให้ทาน เป็นหลักปฏิบัติสาคัญประการหนึ่งของ
ศาสนาอิสลาม มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงความศรัทธาที่มีต่ออัลลอฮ์ และ
เพื่อซักฟอกทรัพย์สินที่หามาได้ด้วยความสุจริตให้บริสุทธิ์ อีกทั้งยังช่วยชาระขัด
เกลาจิตใจของผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สินให้สะอาด ลดความตระหนี่ ความเห็นแก่ตัว
ไม่ให้เกิดความละโมบ และให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
19. การบริจาคซะกาตมีวัตถุประสงค์ที่คล้ายคลึงกับศาสนพิธีใดในพระพุทธศาสนา
1. พีธีอุปสมบท/บรรพชา 2. พิธีถวายเครื่องไทยธรรม
3. พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ 4. พิธีเวียนเทียนรอบพระอุโบสถ
20. ใน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 10 ประเทศ ซึ่งมีความแตกต่าง
กั น ทางด้ า นเชื้ อ ชาติ ศาสนา และศิ ล ปวั ฒ นธรรม จะมารวมตั ว กั น เป็ น หนึ่ ง เดี ย วในนามของ
“ประชาคมอาเซียน” ในฐานะที่เป็นศาสนิกชนคนหนึ่ง ควรเตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับความแตกต่าง
ดังกล่าวอย่างไร
1. รณรงค์ให้ใช้ศาสนาที่ตนเองนับถือเป็นศาสนาประจําอาเซียน
2. จัดสร้างวัตถุมงคลของทุกศาสนาเพื่อจําหน่ายให้แก่นักท่องเที่ยว
3. ศึกษากฎเกณฑ์ ข้อห้าม ความแตกต่างและความกลมกลืนของทุกศาสนา
4. เพิ่มศรัทธาในศาสนาของตนให้มากขึ้นเพื่อป้องกันการถูกโน้มน้าวให้เปลี่ยนศาสนา
21. ประโยชน์ของการบริหารจิตข้อใด ช่วยลดจานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
1. ทําให้มีความใฝ่สัมฤทธิ์สูง
2. ทําให้นอนหลับและตื่นง่าย
3. ทําให้มีสมรรถภาพทางสมอง
4. ทําให้มีสติสัมปชัญญะอยู่เสมอ

~ 29 ~
22. หากต้องการปลูกฝังนิสัย ไม่ เป็นคนผัดวันประกันพรุ่ง ควรชี้แนะให้บุคคลคิดแบบใด
1. คิดแบบผักชีโรยหน้า 2. คิดแบบประชาธิปไตย
3. คิดแบบปลุกเร้าคุณธรรม 4. คิดแบบนักปรัชญาโบราณ
23. ข้อใดเป็นวิธีปฏิบัติในการบริหารจิตและเจริญปัญญาที่ถูกต้องเหมาะสม
1. เลือกสถานที่สงบ เลือกเวลาที่เหมาะสม ทําการสมาทานศีลและแผ่เมตตาก่อนตัดกังวล
2. เลือกสถานที่สวยงาม แต่งกายด้วยชุดรัดรูป ทําการเดินจงกรมและกรวดน้ําก่อนตัดกังวล
3. เลือกเวลาเช้าตรู่ อาบน้ําชําระร่างกายให้สะอาด ทําการตักบาตรและทําวัตรเช้าก่อนตัดกังวล
4. เลือกเวลาหลังรับประทานอาหารเย็น แต่งกายด้วยชุดดํา จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยก่อนตัดกังวล
24. เพราะเหตุใดหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา จึงเหมาะแก่การนามาปรับใช้ในโลกยุคบริโภคนิยม
1. เพราะส่งเสริมให้คนต่อต้านการบริโภค
2. เพราะเน้นเรื่องการดําเนินชีวิตบนทางสายกลาง
3. เพราะเชิดชูความเป็นอยู่แบบสังคมเกษตรกรรม
4. เพราะปฏิเสธความมั่งคั่งและความหรูหรา ฟุ่มเฟือย
25. ทุกศาสนาสอนให้ศาสนิกชนปฏิบัติตนเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติบนพื้นฐานของธรรมข้อใด
1. ความรัก ความเมตตา 2. ความสงสาร ความอาลัย
3. ความฉลาด ความรอบคอบ 4. ความมุ่งมั่น ความกล้าหาญ
26. การทานิติกรรมใดที่ผู้เยาว์ต้องขอความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
1. รับมอบรางวัลเรียนดี 2. ซื้อบ้านพักตากอากาศ
3. จดทะเบียนรับรองบุตร 4. ทําพินัยกรรมเมื่ออายุครบ 15 ปี
27. การหมั้นจะสมบูรณ์เมื่อปฏิบัติตามข้อใด
1. ส่งมอบของหมั้น 2. โอนเงินค่าสินสอด
3. จดทะเบียนการหมั้น 4. ได้รับอนุญาตจากศาล
28. แนวคิดใดเป็นพื้นฐานของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
1. แบ่งแยกชนชั้น 2. ยึดตนเองเป็นใหญ่
3. เอื้อประโยชน์ให้พวกพ้อง 4. เคารพในความแตกต่างของบุคคล
29. ข้อใดเป็นการปฏิบัติตนตามบทบาทของนักเรียนได้อย่างเหมาะสม
1. ก้อง มาโรงเรียนสายเป็นประจํา 2. โชค ส่งการบ้านที่ครูมอบหมายล่าช้า
3. แจ๋ว ตั้งใจศึกษาหาข้อมูลเพื่อไปทํารายงาน 4. แอน ลอกข้อสอบเพื่อนเพื่อหวังได้คะแนนดี
30. กิจกรรมในข้อใดส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ให้แก่เยาวชน
1. ออกรอบตีกอล์ฟ 2. รณรงค์ต่อต้านสิ่งเสพติด
3. เรียนรู้เทคนิคการขายหุ้น 4. เล่นเกมออนไลน์กับเพื่อนฝูง

~ 30 ~
31. สถาบันการศึกษามีบทบาทสาคัญอย่างไร
1. ส่งเสริมความร่ํารวยให้แก่คนในสังคม
2. รักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ
3. พัฒนาความรู้ความสามารถให้กับคนในสังคม
4. เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ข่าวสารออกสู่สาธารณชน
32. สถาบันใดมีบทบาทหน้าที่ในการช่วยจัดระเบียบทางสังคม นอกเหนือจากกฎหมาย
1. สถาบันศาสนา 2. สถาบันเศรษฐกิจ
3. สถาบันนันทนาการ 4. สถาบันสื่อสารมวลชน
33. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสถาบันเศรษฐกิจ
1. เป็นศูนย์รวมความศรัทธาของประชาชน
2. เป็นแหล่งกระจายสินค้าและบริการแก่สังคม
3. เป็นสื่อกลางการรับรู้ข่าวสารของคนในสังคม
4. เป็นแหล่งปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามแก่คนในสังคม
34. ข้อใดเป็นวัฒนธรรมอาหารของคนในภาคใต้
1. แกงไตปลากับผักสด 2. ขนมจีนน้ํายากับไข่ต้ม
3. น้ําพริกกะปิกับปลาทูทอด 4. ข้าวเหนียวส้มตํากับไก่ย่าง
35. ข้อใดเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน
1. ลักษณะเชื้อชาติ 2. สภาพแวดล้อม
3. วิถีการดําเนินชีวิต 4. สถาบันทางสังคม
36. กิจกรรมใดสอดคล้องกับวัฒนธรรมด้านเนติธรรม
1. เวียนเทียนในวันเข้าพรรษา
2. จัดนิทรรศการลดภาวะโลกร้อน
3. เข้าร่วมแข่งขันตอบปัญหากฎหมาย
4. แสดงละครเวทีในช่วงเทศกาลขึ้นปีใหม่
37. บุคคลใดมีอานาจเสนอร่างพระราชกฤษฎีกา
1. อัยการ 2. รัฐมนตรี
3. ประธานศาลฎีกา 4. เลขาธิการรัฐสภา
38. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
1. การชุมนุมทางการเมืองต้องขออนุญาตจากรัฐ
2. การแสดงความคิดเห็นทางการเมืองจํากัดเฉพาะในเคหสถาน
3. การแปรญัตติต้องได้รับความเห็นชอบจากประชาชนส่วนใหญ่ก่อน
4. การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนต้องมีจํานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน

~ 31 ~
39. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร
1. จํากัดข้อมูลข่าวสาร 2. รวบรวมข้อมูลข่าวสาร
3. ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร 4. จัดประเภทข้อมูลข่าวสาร
40. พฤติกรรมใดสอดคล้องกับแนวทางการเลือกรับข้อมูลข่าวสาร
1. เอก เลือกรับข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น
2. ฟ้า ใช้เหตุผลส่วนตัวในการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร
3. ป้อ ใช้วิจารณญาณในการชมภาพยนตร์ที่มีความรุนแรง
4. นัท เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่บิดเบือนความจริงต่อสาธารณชน
41. การลงทุนของใครมีความเสี่ยงน้อยที่สุด
1. กุ๊กลงทุนซื้อที่ดินเพื่อเก็งกําไร 2. อุ้มฝากเงินในธนาคารพาณิชย์
3. ต่ายซื้อพันธบัตรรัฐบาลจํานวนมาก 4. ฟ้ากู้เงินมาเปิดร้านอาหารอิตาเลียน
42. อาชีพใดต่อไปนี้จัดอยู่ในกลุ่มแรงงานมีฝีมือ
1. วิศวกร 2. กรรมกร
3. นักการภารโรง 4. คนขับรถรับจ้าง
43. ข้อใดเป็นการเลือกใช้ทรัพยากรในการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. เลือกใช้เครื่องจักรทันสมัยเพื่อการผลิตสินค้าในครัวเรือน
2. พิจารณาตั้งโรงงานผลิตสินค้าให้อยู่ไกลจากแหล่งวัตถุดิบ
3. จัดหาคนงามเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการเพิ่มปริมาณการผลิตสินค้า
4. ใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการผลิตที่มีอายุสั้นจะได้เปลี่ยนบ่อยๆ
44. การดาเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิ่นควรคานึงถึงสิ่งใดเป็นสาคัญ
1. การแข่งขัน 2. การพึ่งพาตนเอง
3. ยอดจําหน่ายสินค้า 4. ผลกําไรจากการขายสูงสุด
45. การกระทาในข้อใด ไม่ สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. มุ่งผลิตสินค้าคุณภาพ มีประโยชน์ต่อชุมชน
2. ศึกษาข้อมูลเพื่อการลงทุน รอบรู้ในการผลิต
3. วางแผนการผลิต ขยายธุรกิจอย่างระมัดระวัง
4. ทุ่มเงินลงทุนสูง ระดมทุนโดยกู้เงินจากหลายแหล่ง
46. สินค้าในข้อใดมีลักษณะของการละเมิดสิทธิผู้บริโภค
1. อุปกรณ์เครื่องตัดไฟฟ้ามีเครื่องหมาย มอก. รับรอง
2. ยาพาราเซตามอลมีเครื่องหมาย อย. ติดบนฉลาก
3. น้ําตาลทรายแดงบรรจุถุงไม่มีป้ายบอกราคาสินค้า
4. เครื่องดื่มชูกําลังมีคําเตือนห้ามดื่มเกินวันละ 2 ขวด

~ 32 ~
47. พฤติกรรมของใครเสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิผู้บริโภคมากที่สุด
1. ก้อยดูวันที่ผลิตและวันหมดอายุบนฉลากปลากระป๋องก่อนซื้อ
2. โอ๋ซื้อยาสมุนไพรมารับประทานเพราะคนขายบอกว่ารักษาโรคมะเร็งได้
3. ดาวซื้อข้าวสารที่มีบรรจุภัณฑ์สะอาด มีป้ายราคาและน้ําหนักบรรจุชัดเจน
4. แดงเลือกซื้อเครื่องสําอางยี่ห้อที่น่าเชื่อถือ มีชื่อที่อยู่ผู้ผลิตชัดเจน และผ่านการรับรองจาก อย.
48. ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมคืออะไร
1. มีการแข่งขันน้อย
2. ไม่มีการผูกขาดทางการค้า
3. ภาวะตลาดมีความผันแปรน้อย
4. ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่ดี มีคุณภาพ และราคาถูก
49. ในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมผู้ใดเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทั้งหมด
1. นายทุน 2. ชาวนา
3. รัฐบาล 4. ผู้ใช้แรงงาน
50. การพึ่งพาทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียก่อให้เกิดผลดีอย่างไร
1. ราคาสินค้าจะสูงขึ้น 2. ต้นทุนการผลิตจะลดลง
3. ช่วยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ 4. สินค้าเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป
51. สินค้าประเภทใดของไทยที่มีความได้เปรียบสามารถแข่งขันในภูมิภาคเอเชียได้
1. สินค้าเกษตรกรรม 2. สินค้าเทคโนโลยี
3. สินค้าปิโตรเลียม 4. สินค้าเครื่องจักรกล
52. ประเทศที่มีความเชี่ยวชาญและมีศักยภาพสูงในการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม แสดงว่าประเทศนั้นมี
ทรัพยากรใดมาก
1. ทรัพยากรทุน 2. ทรัพยากรแร่
3. ทรัพยากรป่าไม้ 4. ทรัพยากรการท่องเที่ยว
53. กลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียต่อไปนี้มีทรัพยากรน้ามันมาก
1. จีน เวียดนาม ญี่ปุ่น 2. ไต้หวัน พม่า ฟิลิปปินส์
3. คูเวต บรูไน ซาอุดีอาระเบีย 4. กัมพูชา เกาหลีไต้ สิงคโปร์
54. แนวทางใดช่วยให้ประเทศสามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียได้
1. ลดปริมาณสินค้าส่งออก เพิ่มปริมาณการนําเข้าสินค้า
2. เพิ่มกําแพงภาษีนําเข้า จํากัดโควตาปริมาณสินค้านําเข้า
3. ลดอัตราการจ้างแรงงาน พึ่งพาการกู้ยืมเงินระหว่างประเทศ
4. ส่งเสริมการบริโภคสินค้าในประเทศ เร่งเพิ่มปริมาณสินค้าส่งออก

~ 33 ~
55. สินค้าที่สามารถแข่งขันในตลาดภูมิภาคเอเชียได้นั้นควรมีลักษณะอย่างไร
1. คุณภาพดี มีราคาถูก
2. ผลิตจากวัตถุดิบราคาต่ํา
3. เป็นสินค้าที่เหมือนกับประเทศอื่นๆ
4. มีอายุการใช้งานสั้นผู้บริโภคต้องซื้อเปลี่ยนบ่อย
56. เพราะเหตุใดเอกสารทางราชการจึงมีความน่าเชื่อถือกว่าบันทึกส่วนบุคคล
1. มีรายละเอียดครบถ้วนสมบูรณ์
2. บันทึกส่วนบุคคลเขียนขึ้นเพื่อตนเอง
3. บันทึกส่วนบุคคลเขียนด้วยความรู้สึก
4. มีการตรวจสอบความถูกต้องจากหน่วยงานต่างๆ
57. หากนัก เรีย นพบหลั ก ฐานประเภทหนึ่ง กล่ า วถึ งเหตุก ารณ์ สาคั ญสมัย อยุธ ยา โดยระบุ เ วลาในช่ว ง
ร.ศ. 112 นักเรียนจะเชื่อถือหลักฐานดังกล่าวหรือไม่
1. เชื่อถือ เพราะมีการระบุเวลาชัดเจน
2. เชื่อถือ เพราะหาหลักฐานที่กล่าวถึงอยุธยาได้ยาก
3. ไม่น่าเชื่อถือ เพราะเวลาที่ระบุผิดไปจากความจริง
4. ไม่น่าเชื่อถือ เพราะหลักฐานสมัยอยุธยาสูญหายไปหมดแล้ว
ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้อ 58-59
“สมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ กรมพระยาด ารงราชานุ ภ าพทรงแสดงเหตุ ผ ลที่
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเลือกธนบุรีเป็นที่ตั้งราชธานีแห่งใหม่ไว้ว่า เป็นเพราะกรุง
ธนบุรีอยู่ไม่ห่างไกลจากกรุงศรีอยุธยาเท่าใดนัก... อีก ประการหนึ่ง กรุงธนบุรีตั้งอยู่บริเวณที่มี
ลาน้าลึกใกล้ทะเล ข้าศึกมาทางบก ไม่มีทัพเรือเป็นกาลังด้วยแล้ว ก็ยากที่จะมาตีกรุงธนบุรีได้”
58. จากเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ข้างต้น ข้อใดคือความจริงในประวัติศาสตร์
1. พระยาตาก (สิน) ได้ย้ายราชธานีมาอยู่ที่กรุงธนบุรี
2. กรุงธนบุรีอยู่ติดทะเลทําให้สะดวกแก่การค้าขายกับชาวต่างชาติ
3. กรุงธนบุรีตั้งอยู่บริเวณที่มีน้ําลึกทําให้ยากแก่การเข้าโจมตีของข้าศึก
4. กรุงธนบุรีเป็นเมืองขนาดย่อมที่กําลังของพระยาตาก (สิน) จะรักษาเมืองไว้ได้
59. ข้อใดคือข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์
1. พระยาตาก (สิน) เลือกกรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่
2. พระยาตาก (สิน) กระทําพิธีบรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์
3. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงครองราชสมบัติจนถึง พ.ศ. 2325
4. พระยาตาก (สิน) เลือกกรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ เพราะกรุงธนบุรีเป็นเมืองป้อมปราการ

~ 34 ~
60. ข้อความในพระราชพงศาวดารกล่าวว่า “ศักราช 804 จอศก (พ.ศ. 1985) สมเด็จพระบรมราชาธีราชเจ้า
เสด็จไปเอาเมืองเชียงใหม่ แลเข้าปล้นเอาเมืองมิได้ พอทรงพระประชวรแลทัพหลวงเสด็จกลับคืน ”
นักเรียนตีความได้ว่าอย่างไร
1. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ตีได้เมืองเชียงใหม่
2. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ทรงประชวรขณะเข้าตีเมืองเชียงใหม่
3. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ประชวรขณะเสด็จเมืองเชียงใหม่ จึงยกทัพกลับ
4. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เสด็จไปตีเมืองเชียงใหม่แต่เอาชนะไม่ได้พอทรง
ประชวรจึงยกทัพกลับ
61. ปัจจัยใดที่ส่งผลให้การสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นผลสาเร็จมากที่สุด
1. ความช่วยเหลือจากขอม 2. ความสามัคคีของคนไทย
3. ความสามารถของผู้นําไทย 4. ความอ่อนแอของอาณาจักรใกล้เคียง
62. ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยามีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองด้านสังคมและวัฒนธรรมอย่างไร
1. เป็นที่ตั้งของแหล่งอารยธรรมโบราณ
2. เป็นพื้นที่ลุ่มแม่น้ําขนส่งสินค้าได้สะดวก
3. เป็นเมืองท่าทางทะเลระหว่างอินเดียกับจีน
4. เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเพาะปลูก
63. เพราะเหตุใ ดสมเด็ จ พระบรมไตรโลกนาถจึ งทรงแบ่ ง การควบคุ ม กาลัง พลออกเป็น ฝ่า ยทหารกั บ
ฝ่ายพลเรือน
1. เพื่อแบ่งไพร่พลตามความสามารถ 2. เพื่อแบ่งขุนนางตามความสามารถ
3. เพื่อแบ่งหน้าที่ในการดูแลอาณาจักร 4. เพื่อแบ่งความรับผิดชอบของหัวเมือง
64. การค้าขายกับต่างประเทศส่งผลดีต่ออาณาจักรอยุธยาอย่างไร
1. มีพันธมิตรในการทําสงคราม 2. มีรายได้ในการพัฒนาอาณาจักร
3. ช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนสินค้า 4. มีสินค้าแปลกใหม่มาให้เลือกมากมาย
65. การค้ากับต่างประเทศในสมัยอยุธยามีลักษณะตามข้อใด
1. เป็นการผูกขาดโดยพระคลังสินค้า 2. เป็นการผูกขาดโดยพ่อค้าต่างชาติ
3. เป็นการค้าเสรีโดยไม่กีดกันชาวต่างชาติ 4. เป็นการค้าเสรีภายใต้การควบคุมของขุนนาง
66. ไพร่สมที่รับใช้มูลนายสามารถส่งส่วยเหมือนไพร่หลวงได้หรือไม่
1. ไม่ได้ เพราะจะทําให้มูลนายขาดแคลนแรงงาน
2. ไม่ได้ เพราะกฎหมายอนุญาตให้เฉพาะไพร่หลวง
3. ได้ เพราะไพร่ทุกคนสามารถส่งส่วยแทนการเกณฑ์แรงงานได้
4. ได้ เพราะไพร่สมสามารถขอเปลี่ยนเป็นไพร่หลวงแล้วจึงส่งส่วยได้

~ 35 ~
67. การติดต่อสัมพันธ์กับชาติตะวันตกช่วยส่งเสริมความมั่นคงของอาณาจักรอยุธยาอย่างไร
1. ทําให้ได้อาวุธที่ทันสมัย 2. ทําให้ได้กําไรจากการค้า
3. ได้รับวัฒนธรรมตะวันตก 4. ได้เรียนรู้วิทยาการสมัยใหม่
68. ภูมิปัญญาในการควบคุมกาลังคนในระบบไพร่ส่งผลดีต่ออาณาจักรอยุธยาอย่างไร
1. ป้องกันการก่อกบฏ 2. ช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ของกษัตริย์
3. ทําให้แรงงานไพร่มีจํานวนเพิ่มมากขึ้น 4. ทําให้กลุ่มคนไทยรวมกันได้อย่างมั่นคง
69. เพราะเหตุใ ดสมเด็ จ พระเจ้า ตากสิ นมหาราชจึงต้องปราบปรามชุมนุมต่า งๆ ทั้งที่เป็นกลุ่มคนไทย
ด้วยกัน
1. เพื่อสร้างเอกภาพภายในชาติ
2. เพื่อแสดงฐานะพระมหากษัตริย์ของไทย
3. เกรงว่าชุมนุมต่างๆ จะร่วมมือกันโจมตีธนบุรี
4. เกรงว่าชุมนุมต่างๆ จะเข้มแข็งเกินกว่าจะปราบได้
70. ข้อใดคือสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจสมัยธนบุรี
1. การขอปูนบําเหน็จของเหล่าขุนนาง
2. การกวาดต้อนทรัพย์สินและผู้คนของพม่า
3. การสร้างราชธานีใหม่และบูรณะฟื้นฟูบ้านเมือง
4. โจรผู้ร้ายชุกชุมจนประชาชนไม่สามารถประกอบอาชีพได้
71. เหตุการณ์ที่นาไปสู่การจลาจลในกรุงธนบุรีเป็นลาดับแรกคือข้อใด
1. การปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง
2. ขุนแก้วชวนพระยาสรรค์ก่อกบฏ
3. จวนผู้รักษาเมืองกรุงเก่าถูกปล้น
4. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงผนวช
72. หากพิจารณาจากทาเลที่ตั้งของเมืองธนบุรี และเมืองชลบุรี ข้อใดเป็นเหตุผลในการเลือกให้เป็นราชธานี
ในสมัยธนบุรี และเป็นเมืองสาคัญทางเศรษฐกิจแห่งหนึ่งในปัจจุบัน
1. อยู่ติดทะเล 2. มีขนาดใหญ่
3. มีจํานวนประชากรมาก 4. มีป้อมปืนป้องกันข้าศึกทางน้ํา
73. พระราชกรณียกิจใดของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) ที่ทาให้สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบัน
ทางการปกครองที่สาคัญของไทย
1. ตรากฎมณเฑียรบาล
2. นําลัทธิเทวราชามาปรับใช้
3. กําหนดงานพระราชพิธีต่างๆ
4. กําหนดพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์

~ 36 ~
74. พระปรีชาสามารถและความกล้าหาญของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสะท้อนให้ เห็นจากเหตุการณ์ใด
มากที่สุด
1. ตีเมืองคัง 2. ตีกรุงหงสาวดี
3. กระทํายุทธหัตถี 4. ประกาศอิสรภาพ
75. เพราะเหตุใดสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจึงทรงสร้างสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศส
1. ต้องการเรียนรู้วิทยาการสมัยใหม่ 2. ต้องการผลกําไรทางการค้าเรือสําเภา
3. ต้องการให้บาทหลวงมาเผยแผ่ศาสนา 4. ต้องการให้มาถ่วงดุลอํานาจกับฮอลันดา
76. เพราะเหตุใดออกพระวิสุทธสุนทร (ปาน) จึงเข้าเฝ้าพระเจ้า หลุยส์ที่ 14 ได้ถูกต้องตามธรรมเนียม
การทูตฝรั่งเศส
1. เคยเป็นราชทูตเข้าเฝ้าพระเจ้าแผ่นดินฮอลันดา
2. ศึกษาธรรมเนียมการทูตจากคณะราชทูตฝรั่งเศส
3. อยุธยาใช้ธรรมเนียมการทูตแบบเดียวกับฝรั่งเศส
4. ทําตามอย่างราชทูตของประเทศอื่นที่เข้าเฝ้าพร้อมกัน
77. ข้อ ใดคือ แบบอย่า งของสมเด็ จเจ้า พระยามหากษั ต ริย์ศึก (ทองด้วง) และเจ้า พระยาสุรสีห์ (บุ ญมา)
ที่นักเรียนควรเอาแบบอย่าง
1. ความขยันหมั่นเพียร 2. การปกป้องบ้านเมือง
3. ความซื่อสัตย์ต่อเจ้านาย 4. การช่วยเหลือญาติพี่น้อง
78. ปัจจัยที่ทาให้ญี่ปุ่นขยายอานาจยึดครองดินแดนต่างๆ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 คือข้อใด
1. ลัทธิทหารนิยม
2. การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
3. การช่วยเหลือของสหรัฐอเมริกา
4. การฟื้นฟูพระราชอํานาจของจักรพรรดิ
79. “นางหม่ามีอายุมากแล้ว เราต้องให้ความเคารพนับถือและเชื่อฟังท่าน” คากล่าวนี้สะท้อนให้เห็นถึง
อิทธิพลของหลักคาสอนในลัทธิความเชื่อข้อใด
1. ลัทธิเต๋า 2. ลัทธิขงจื๊อ
3. ลัทธิฟาเฉีย 4. พระพุทธศาสนา
80. หากกล่าวถึงอุตสาหกรรมของภูมิภาคเอเชียใต้ นับว่ามีลักษณะตรงกับข้อใด
1. ทั้งภูมิภาคเป็นอุตสาหกรรมโรงงาน
2. อุตสาหกรรมโดยรวมมีความเจริญมาก
3. มีการทําอุตสาหกรรมหนักกันอย่างแพร่หลาย
4. อุตสาหกรรมมีการพัฒนามากโดยเฉพาะในอินเดีย

~ 37 ~
81. เพราะเหตุใดพ่อค้าอาหรับจึงมีอิทธิพลต่อการค้าของโลกในอดีต
1. พ่อค้าอาหรับเป็นผู้ผูกขาดทางการค้า
2. พ่อค้าอาหรับมีความสามารถทางการเดินเรือ
3. พ่อค้าอาหรับมีความสามารถในการเลียนแบบสินค้า
4. จักรวรรดิอาหรับตั้งอยู่บนดินแดนที่เชื่อมเส้นทางการค้า
82. เหตุใดภูมิภาคเอเชียกลางในอดีตจึงมีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
1. ตั้งอยู่บนเส้นทางสายแพรไหม 2. เป็นแหล่งเพาะเลี้ยงม้าพันธุ์ดี
3. เป็นแหล่งแร่ธาตุที่อุดมสมบูรณ์ 4. มีทรัพยากรธรรมชาติมากและหลากหลาย
83. เพราะเหตุใดราชวงศ์ชิงซึ่งเป็นชาวแมนจูจึงสามารถปกครองจีนได้ยาวนานถึง 200 กว่าปี
1. มีความเข้มแข็งทางการทหาร 2. ใช้อารยธรรมจีนปกครองชาวจีน
3. ได้รับความช่วยเหลือจากมองโกล 4. นําดินปืนมาผลิตอาวุธที่มีประสิทธิภาพ
84. การศึกษาเกี่ยวกับแหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุต้องศึกษาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ข้อใด
1. คัมภีร์พระเวท 2. มหากาพย์รามายณะและมหาภารตะ
3. เมืองโบราณฮารัปปาและโมเฮนโจ-ดาโร 4. เสาศิลาจารึกของพระเจ้าอโศกมหาราช
85. พระราชวังหลวงสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงที่นครปักกิ่งมีความสาคัญในเรื่องใด
1. สร้างด้วยสถาปัตยกรรมนานาชาติ 2. เป็นพระราชวังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
3. มีพิพิธภัณฑ์จัดแสดงของมีค่าจากทั่วโลก 4. สร้างด้วยศิลปกรรมจีนหลากหลายแขนง
86. นักเรียนจะเลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ข้อใด ในการศึกษาการขยายตัวของเมืองสาคัญในทวีปยุโรป
1. ลูกโลก 2. แผนที่เล่ม
3. รีโมตเซนซิง 4. ภาพจากดาวเทียม
87. ถ้ า ต้ อ งการน าเสนอข้ อ มู ล การน าเข้ า สิ น ค้ า ส าคั ญ ของประเทศในทวี ป แอฟริ ก า 10 อั น ดั บ แรก
ควรนาเสนอข้อมูลแบบใด
1. แบบกราฟ 2. แบบแผนที่
3. แบบตาราง 4. แบบแผนภูมิ
88. บริเวณใดของทวีปยุโรปที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุด
1. เขตไซบีเรีย 2. คาบสมุทรอิตาลี
3. คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย 4. ทางเหนือทะเลแคสเปียน
89. กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศใดในทวีปยุโรปที่สัมพันธ์กันมากที่สุด
1. สวีเดน – การทําป่าไม้
2. ลิทัวเนีย – การท่องเที่ยว
3. สวิตเซอร์แลนด์ – การทําประมง
4. มอนเตเนโกร – อุตสาหกรรมขนาดใหญ่

~ 38 ~
90. ชาวยุโรปใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหาข้อจากัดเรื่องขนาดพื้นที่และแรงงานภาคเกษตรกรรม
1. การเปิดเสรีทางการเกษตร 2. ปรับปรุงพื้นที่รกร้างว่างเปล่า
3. ส่งเสริมการรวมกลุ่มกันทางเกษตร 4. ใช้วิทยาการสมัยใหม่และเครื่องจักรกล
91. ข้อ ใดเป็นสาเหตุหลั ก ที่ทาให้มี ชุม ชนชาวต่า งชาติจ ากทุกทวีปเข้า ไปพ านักอาศัยในยุโรปตะวันตก
1. การท่องเที่ยว 2. การศึกษาต่อ
3. การเข้าไปทํางาน 4. การประกอบธุรกิจ
92. ทวีปยุโรปมีความพยายามในการผลักดันพิธีสารเกียวโตโดยมีวัตถุประสงค์หลักในเรื่องใด
1. ลดปริมาณประชากรของยุโรป 2. การอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ํา
3. ลดปริมาณแก๊สเรือนกระจก 6 ชนิด 4. การควบคุมการค้าสัตว์ป่าและพืชป่า
93. ข้อใดเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในทวีปยุโรป
1. ภัยธรรมชาติ 2. จํานวนประชากร
3. ลักษณะภูมิประเทศ 4. การพัฒนาอุตสาหกรรม
94. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสิ่งแวดล้อมของทวีปยุโรปส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร
1. เกิดปัญหาขยะล้นเมือง 2. สภาพภูมิอากาศแปรปรวน
3. ต้นทุนการผลิตสินค้าสูงขึ้น 4. ประชากรย้ายถิ่นฐานมากขึ้น
ใช้แผนที่ที่กาหนดให้ ตอบคาถามข้อ 95.-96.

95. หากนักเรียนต้องการไปศึกษาเกี่ยวกับแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ของทวีปแอฟริกาควรไปสารวจบริเวณ
หมายเลขใด เพราะเหตุใด
1. หมายเลข 1 : มีอารยธรรมลุ่มแม่น้ําไนล์
2. หมายเลข 2 : มีแหล่งอารยธรรมกลางทะเลทรายสะฮารา
3. หมายเลข 3 : มีอารยธรรมของกลุ่มชนในพื้นที่ป่าดงดิบคองโก
4. หมายเลข 4 : มีอารยธรรมของกลุ่มชนบริเวณเทือกเขาแอตลาส

~ 39 ~
96. เพราะเหตุใดบริเวณหมายเลข 1 จึงมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
1.เป็นเขตทุ่งหญ้าเวลด์ 2. เป็นบริเวณลุ่มแม่น้ําไนล์
3. เป็นแหล่งเกษตรกรรมที่สําคัญ 4. เป็นที่ตั้งของเมืองสําคัญหลายเมือง
97. การยึดมั่นในวิถีชีวิตแบบชนเผ่าของชาวแอฟริกันดั้งเดิมส่งผลต่อสังคมแอฟริกาในปัจจุบันอย่างไร
1. สังคมที่ล้าหลัง 2. สังคมแบบดั้งเดิม
3. สังคมที่แตกต่างกัน 4. สังคมแบบผสมผสาน
98. เหตุใดทวีปแอฟริกาจึงต้องมีความร่วมมือกับองค์กรนานาชาติในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
1. ข้อจํากัดด้านจํานวนประชากร
2. ข้อจํากัดด้านพื้นที่ทางภูมิศาสตร์
3. ข้อจํากัดด้านงบประมาณและความรู้
4. ข้อจํากัดทางด้านทัศนคติและความเชื่อ
99. ข้อใดเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้พื้นที่ป่าของทวีปแอฟริกาลดลงอย่างมาก
1. มีการลงทุนในอุตสาหกรรมมากขึ้น
2. การส่งเสริมธุรกิจการค้าไม้ส่งออก
3. ประชากรส่วนใหญ่มีการย้ายถิ่นบ่อยครั้ง
4. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทําได้ยาก
100. เพราะเหตุใดการค้าขายระหว่างประเทศไทยกับประเทศในทวีปแอฟริกาจึงยังมีไม่มากนัก
1. อุปสรรคทางด้านภาษาและการสื่อสาร
2. มีสินค้าทางการเกษตรชนิดที่ใกล้เคียงกัน
3. ประเทศในทวีปแอฟริกานิยมค้าขายกันเอง
4. ทวีปแอฟริกามีประชากรน้อย ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน



~ 40 ~
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1
1. 2 2. 3 3. 1 4. 2 5. 4
6. 3 7. 1 8. 3 9. 4 10. 2
11. 1 12. 3 13. 2 14. 4 15. 3
16. 1 17. 2 18. 3 19. 1 20. 4
21. 3 22. 2 23. 3 24. 1 25. 4
26. 4 27. 2 28. 3 29. 1 30. 3
31. 4 32. 2 33. 3 34. 1 35. 2
36. 4 37. 1 38. 3 39. 4 40. 2
41. 2 42. 1 43. 4 44. 3 45. 2
46. 3 47. 1 48. 2 49. 4 50. 1
51. 3 52. 2 53. 2 54. 4 55. 1
56. 4 57. 3 58. 4 59. 2 60. 4
61. 3 62. 2 63. 4 64. 1 65. 2
66. 1 67. 3 68. 1 69. 3 70. 3
71. 2 72. 4 73. 2 74. 3 75. 4
76. 4 77. 1 88. 3 99. 3 80. 1
81. 4 82. 1 83. 2 84. 4 85. 3
86. 4 87. 4 88. 3 89. 1 90. 1
91. 4 92. 1 93. 3 94. 1 95. 1
96. 4 97. 1 98. 3 99. 1 100. 2



~ 41 ~
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2
1. 1 2. 2 3. 4 4. 3 5. 4
6. 1 7. 2 8. 3 9. 1 10. 2
11. 4 12. 3 13. 4 14. 1 15. 2
16. 3 17. 4 18. 1 19. 2 20. 3
21. 4 22. 3 23. 1 24. 2 25. 1
26. 2 27. 1 28. 4 29. 3 30. 2
31. 3 32. 1 33. 2 34. 4 35. 1
36. 3 37. 2 38. 4 39. 1 40. 3
41. 3 42. 1 43. 3 44. 2 45. 4
46. 3 47. 2 48. 4 49. 3 50. 2
51. 1 52. 1 53. 3 54. 4 55. 1
56. 4 57. 3 58. 1 59. 4 60. 4
61. 2 62. 1 63. 3 64. 2 65. 1
66. 3 67. 1 68. 4 69. 1 70. 2
71. 3 72. 1 73. 2 74. 3 75. 4
76. 2 77. 2 88. 1 99. 2 80. 4
81. 3 82. 1 83. 2 84. 3 85. 4
86. 4 87. 4 88. 2 89. 1 90. 4
91. 2 92. 3 93. 4 94. 3 95. 1
96. 2 97. 3 98. 3 99. 2 100. 2



~ 42 ~
เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1
เฉลยอย่างละเอียด
1. ตอบ ข้อ 2. ในรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดียนั้น พระพุทธศาสนาได้รับ
การทํานุบํารุงจนมีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก โดยพระราชกรณียกิจที่สําคัญประการหนึ่ง
ของพระองค์ คือ ทรงจัดให้มีการสังคายนาพระธรรมวินัยขึ้นเป็นครั้งที่ 3 ซึ่งหลังจากเสร็จ
สิ้นการสังคายนาครั้งนี้แล้ว พระองค์ได้ส่งสมณทูตเดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายัง
ดินแดนต่างๆ รวม 9 สายด้วยกัน ในครั้งนั้นพระโสณเถระและพระอุตตรเถระได้เดินทาง
มาเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนายั ง ดิ น แดนสุ ว รรณภู มิ ซึ่ ง ก็ คื อ บริ เ วณที่ เ ป็ น ภู มิ ภ าคเอเชี ย -
ตะวันออกเฉี ย งใต้ใ นปั จจุบัน ทําให้พ ระพุ ทธศาสนาได้รับการเผยแผ่และมีก ารนับถื อ
สืบเนื่องมาจนกระทั่งปัจจุบัน พระเจ้าอโศกมหาราชจึงถือเป็นบุคคลสําคัญท่านหนึ่งที่มี
บทบาทต่อการวางรากฐานพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2. ตอบ ข้อ 3. ธรรมวิชั ย หมายถึง การเอาชนะด้วยธรรมซึ่งเป็นแนวทางการสร้างสัมพันธไมตรีของ
พระเจ้ า อโศกมหาราชโดยยึ ด หลั ก ความสั น ติ ข องพระพุ ท ธศาสนาเป็ น ที่ ตั้ ง เพื่ อ ให้
สอดคล้ อ งกั บ คํ า สอนของพระพุ ท ธเจ้ า ที่ ท รงเน้ น ว่ า ผู้ ป กครองประเทศนอกจากจะมี
คุณธรรมของผู้ปกครองและมีความสามารถในการบริหารประเทศของตนให้สุขสงบแล้ว
ยังต้องสร้างสัมพันธไมตรีกับมิตรประเทศข้างเคียง เพื่อความเข้าใจอันดีและอยู่ร่วมกัน
อย่ า งสั น ติ ด้ ว ย การสร้ า งสั ม พั น ธไมตรี ด้ ว ยแนวทางธรรมวิ ชั ย จึ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งสันติและรักในความสงบ
3. ตอบ ข้อ 1. สังคหวัตถุ 4 หมายถึง วิธีในการสงเคราะห์ ซึ่งเป็นหลักปฏิบัติเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างมี
ความสุข มีทั้งสิ้น 4 ประการ ได้แก่
1. ทาน คือ การแบ่งปันเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน
2. ปิยวาจา คือ การพูดจาน่ารัก น่านิยมนับถือ
3. อัตถจริยา คือ การบําเพ็ญประโยชน์ ช่วยเหลือสาธารณะ
4. สมานั ต ตตา คื อ ความมี ต นเสมอ ทํ า ตั ว ให้ เ ข้ า กั น ได้ ไม่ ถื อ ตั ว และร่ ว มสุ ข
ร่วมทุกข์กัน ทั้งนี้ หากบุคคล ชุมชน และประเทศชาติ ยึดสังคหวัตถุ 4 เป็นที่ตั้งใน
การดําเนินชีวิ ตหรือดําเนินนโยบายระหว่างประเทศ ก็จะช่วยให้มี ความสัมพันธ์
อันดีกับบุคคลรอบข้างหรือมิตรประเทศได้เป็นอย่างดี
4. ตอบ ข้อ 2. สํานวน “เกาะชายผ้าเหลืองขึ้นสวรรค์ ” หมายถึง การอาศัยบุญจากการบวชเป็นพระสงฆ์
หรือการบรรพชาเป็นสามเณรของลูก ช่วยให้พ้นจากบาป สะท้อนให้เห็นถึงความสําคัญ
ของพระพุท ธศาสนาในฐานะที่เป็นรากฐานสําคัญของวิถีชีวิตไทยหรือวั ฒนธรรมไทย
ซึ่งวัฒนธรรมการบวชและการบรรพชานั้น จัดอยู่ในวัฒนธรรมด้านวงจรชีวิตของบุคคล

~ 43 ~
ที่ มี พิ ธี ก รรมทางพระพุ ท ธศาสนาเข้ า มาเกี่ ย วข้ อ งตั้ ง แต่ เ กิ ด จนกระทั่ ง เสี ย ชี วิ ต เช่ น
การตั้งชื่อบุตร การโกนผมไฟ การบวช การแต่งงาน การทําบุญอายุ การทําพิธีศพ เป็นต้น
ดังนั้น คําตอบในข้อนี้จึงตรงกับตัวเลือกข้อที่ 2. มากที่สุด
5. ตอบ ข้อ 4. พระพุทธศาสนา ถือเป็นมรดกล้ําค่าประเภทหนึ่งของสังคมไทย เพราะได้รับการสืบทอดมา
ตั้งแต่สมัยบรรพกาล และก่อให้เกิดมรดกทางวัฒนธรรมอื่นๆ ตามมาอีกมาก ซึ่งสามารถ
แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ มรดกทางรูปธรรม และมรดกทางนามธรรม โดยมรดกทาง
รูปธรรม หมายถึง โบราณวัตถุและโบราณสถานต่างๆ ที่สร้างขึ้นด้วยความศรัทธาใน
พระพุทธศาสนา เช่น วัดวาอารามต่างๆ พระพุทธรูป จิตรกรรมฝาผนัง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้
บ่งบอกถึงสภาพชีวิตและจิตใจของคนไทยได้เป็นอย่างดี ว่าคนไทยแต่โบราณมีความกินดี
อยู่ดี สภาพบ้านเมืองอุดมสมบูรณ์ดังเช่นคําที่ว่า “ในน้ํามีปลา ในนามีข้าว” ส่งผลให้เกิด
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการสร้างโบราณสถานที่มีความใหญ่และสวยงามไว้
เป็นมรดกแก่คนรุ่นหลัง ดังนั้น คําตอบในข้อนี้จึงตรงกับตัวเลือกข้อที่ 4. ส่วนตัวเลือกข้อที่
1. เป็นศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู ตัวเลือก ข้อที่ 2. เป็นสิ่งก่อสร้างเพื่อ ยกย่อง
วีรชนของชาติ และตัวเลือกข้อที่ 3.สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์
6. ตอบ ข้อ 3. ธัมมาธิปไตย แปลว่า ความมีธรรมเป็นใหญ่ ถือธรรมเป็นใหญ่ กระทําการด้วยปรารภความ
ถูกต้อง เป็นจริง สมตามธรรมเป็นประมาณ หมายถึง การบริหารจัดการที่บุคคลพึงกระทํา
โดยมุ่งความถูกต้องเป็นจริง มีเหตุผล และมีความเป็นธรรม ซึ่งการตัดสินลงโทษเด็กชาย
สมเดชของครูสมหญิงนั้น ถือว่าสอดคล้องกับหลักธัมมาธิปไตย เพราะผู้กระทําความผิดคือ
เด็ ก ชายสมบั ติ เ พี ย งคนเดี ย ว จึ ง ควรแก่ ก ารถู ก ลงโทษแต่ เ พี ย งฝ่ า ยเดี ย ว แม้ จ ะมี
ความสัมพันธ์เป็นหลานของผู้ ตัดสินก็ตาม ดังนั้น การตัดสินของครูสมหญิงจึงตั้งอยู่บน
พื้นฐานของความถูกต้อง ความมีเหตุผล และความเป็นธรรม
7. ตอบ ข้อ 1. โดยปกติแล้ว การที่บุคคลไม่นิยมกระทําความผิดนั้นมีสาเหตุได้ 2 ประการ คือ
1. กลัวได้รับการลงโทษหรือกลัวคนอื่นติเตียน สิ่งนี้เรียกว่า “การเคารพกฎหมาย” คือ
การเคารพในระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับ จารีตประเพณีที่สังคมกําหนดขึ้น เพื่อใช้
ควบคุมสังคมให้มีระเบียบ ไม่สับสนอลหม่าน
2. เกิดความละอายและความขยะแขยงต่อความผิด สิ่งนี้เรียกว่า “การเคารพตนเอง”
เพราะรู้จักใช้สติปัญญาพิจารณาด้วยตนเอง แล้วเห็นว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งผิดไม่อยากทํา
ซึ่งพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นสิ่งที่สําคัญมากกว่าการเคารพกฎหมาย
8. ตอบ ข้อ 3. “มัชฌิมาปฏิปทา” ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ทางสายกลาง คือ การไม่ยึดถือสุดทาง
ทั้ง 2 ได้แก่ การประกอบตนเองให้ลําบากเกินไป และการพั วพันในความสบายจนมาก
เกินไป ซึ่งพระสิทธัตถะได้ทรงค้นพบทางสายกลาง หลังจากทรงแสวงหาทางดับทุกข์ด้วย
วิธีการต่างๆ มากว่า 6 ปี แต่ไม่สําเร็จผล จึงทรงเลิกจากการบําเพ็ญทุกกรกิริยา แล้วหันทรง

~ 44 ~
ดําเนินตามทางสายกลาง จนตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ําเดือน 6 ก่อน
พุ ท ธศั ก ราช 45 ปี ดั ง นั้ น เมื่ อ พิ จ ารณาจากตั ว เลื อ กทั้ ง 4 ข้ อ แล้ ว ตั ว เลื อ กข้ อ ที่ 3.
จึงสอดคล้องกับ มัชฌิมาปฏิปทา มากที่สุด
9. ตอบ ข้อ 4. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
มีหลายประการ เช่น ทรงมีความใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา ทรงมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ทรงมีความคิด
ริเริ่ม ทรงมีวิสัย ทัศน์กว้างไกล เป็นต้น ซึ่คุณธรรมที่ควรนํามาใช้เป็นแบบอย่าง เพื่อให้
ประสบความสํ า เร็ จในการศึก ษาเล่า เรี ย น คือ มี ความใฝ่ รู้ ใ ฝ่ ศึก ษา เพราะการเรี ย นคื อ
การศึกษาหาความรู้ เพื่อนําความรู้นั้นไปใช้ในการดําเนินชีวิตในทุก ๆ ด้าน ผู้เรียนจึงควร
หมั่นศึกษาหาความรู้ มีความเพียรพยายามในการศึกษาให้สําเร็จ ระงับจิตใจมิให้หลงไปกับ
สิ่งยั่วยุต่างๆ จนทําให้เสียการเรียน เป็นต้น
10. ตอบ ข้อ 2. มิตตวินทุกชาดก เป็นเรื่องราวของชายชื่อมิตตวินทุกะ ผู้ได้รับผลกรรมเห็นกงจักรเป็น
ดอกบัว เพราะเป็นผู้มีความโลภ ต้องการได้ทรัพย์สมบัติจํานวนมาก ทําให้เมื่อเขาได้พบกับ
ปราสาทแก้วผลึก ปราสาทเงิน ปราสาทแก้วมณี และปราสาททอง เขาก็เลือกที่จะเดินผ่า เข้า
ไปเรื่อยๆ เพราะหวังว่าจะได้พบกับทรัพย์ล้ําค่ามากขึ้น จนในที่สุดความโลภนั้น ได้ชักให้
มิตตวินทุกะได้พบเจอกับผีเปรตที่ มีก งจักรบดศีรษะอยู่ แต่มิตตวินทุกะกลับเห็นว่าเป็น
เทพบุตรที่มีดอกบัวประดับศีรษะ จึงร้องขอดอกบัวนั้น ทําให้ต้องเสวยผลกรรมต่อจากผี
เปรตตนนั้น ถูกกงจักรบดศีรษะได้รับ ความทรมานยิ่งนัก ดังนั้น คติสอนใจที่ได้จากชาดก
เรื่องนี้ คือ “โลภมาก ลาภหาย ”
11. ตอบ ข้อ 1. “มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ ” เป็นคําสมาทานศีล 5 ข้อที่ 4 คือ การงดเว้นจาก
การพูดเท็จ คําไม่เป็นจริง และคําล่อลวง อําพรางผู้อื่น ตรงกับหลักธรรมอกุลศลกรรมบถ
10 หรือ ทางแห่งอกุศลกรรมทางแห่งความชั่ว ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ทาง ได้แก่
1. กรรมชั่วทางกาย ได้แก่ การทําให้สัตวโลกถึงแก่ความตาย ตตรงกับ ศีล 5 ข้อที่ 1)
การขโมยของผู้อื่น ตตรงกับศีล5 ข้อที่ 2) และการประพฤติผิดในกาม
ตตรงกับ ศีล 5 ข้อที่ 3)
2. กรรมชั่วทางวาจา ได้แก่ การพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดคําหยาบ
และการพูดเพ้อเจ้อ ตตรงกับศีล5 ข้อที่ 4)
3. กรรมชั่วทางใจ ได้แก่ คิดเพ่งเล็งอยากได้ของเขา คิดร้ายผู้อื่น
และเห็นผิดจากคลองธรรม
12. ตอบ ข้อ 3. กุศลกรรมบถ 10 หมายถึง ทางแห่งการกระทําของผู้ฉลาดหรือคนดี เพื่อก่อให้เกิดความดี
และความถูกต้อง แบ่งออกเป็น 3 ทาง คือ ความประพฤติดีทางกาย ได้แก่ เว้นจากการ
ฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักขโมย และเว้นจากการประพฤติผิดในกาม ความประพฤติดีทางวาจา
ได้แก่ เว้นจากการพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดคําหยาบ และการพูดเพ้อเจ้อ และความ

~ 45 ~
ประพฤติดีทางใจ ได้แก่ ไม่อยากได้ของคนอื่น ไม่คิดพยาบาท และมีความเห็นชอบ ดังนั้น
กุศลกรรมบถ 10 จึงเป็นธรรมที่ควรปฏิบัติร่วมกับธรรมข้ออื่น เช่น พรหมวิหาร 4 ศีล 5
ดรุณธรรม 6 ทศพิธราชธรรม 10 เป็นต้น เพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติ ขณะที่
อบายมุ ข 6 หมายถึ ง ทางแห่ ง ความเสื่ อ ม 6 ประการ ได้ แ ก่ ติ ด สุ ร า และของมึ น เมา
ชอบเที่ยวกลางคืน ชอบเที่ยวดูการละเล่น ติดการพนัน คบคนชั่วเป็นมิตร และ เกี ย จค ร้ า น
การงาน ถือเป็นเหตุแห่งความเสื่อม เช่นเดียวกับหลักธรรม อกุศลกรรมบถ 10 ซึ่ ง เป็ น ทาง
แห่งความชั่ว บุคคลจึงควรงดเว้นจากการปฏิบัติ เพราะจะนําความเดือดร้อนมาสู่ต่อตนเอง
และสังคม
13. ตอบ ข้อ 2. พระไตรปิฎก แปลว่า คัมภีร์ 3 หมายถึง คัมภีร์ที่บรรจุหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา
ซึ่งแบ่งโครงสร้างออกเป็น 3 หมวดใหญ่ ได้แก่
1. พระวินัยปิฎก คือ ส่วนที่ว่าด้วยสิกขาบท หรือศีลของภิกษุและพระภิกษุณี
2. พระสุตตันตปิฎก คือ ส่วนที่ว่าด้วยพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า ตและของพระ
สาวกบางส่วน) ที่ทรงแสดงแก่บุคคลต่างๆ ในวาระโอกาสต่างกัน
3. พระอภิ ธ รรมปิ ฎ ก คื อ ส่ ว นที่ ว่ า ด้ ว ยการอธิ บ ายหลั ก ธรรมในรู ป วิ ช าการ
ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลและเหตุการณ์
14. ตอบ ข้อ 4. พุทธศาสนสุภาษิต “กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ : ทําดีได้ดี ทําชั่วได้ชั่ว” หมายถึง
การกระทํากรรมเช่นไร ย่อมได้รับผลกรรมเช่นนั้น สอนให้พุทธศาสนิกชนละเว้นจากการ
กระทํากรรมชั่วและหันมาสร้างกรรมดีทั้งทางกาย วาจา และใจ ทั้งนี้ เพื่อสร้างความสะอาด
ให้ เ กิ ด ขึ้ น แก่ จิ ต ทํ า ให้ คุ ณ ภาพจิ ต สู ง ขึ้ น ดํ า รงตนอยู่ ใ นสั ง คมอย่ า งมี ค วามสุ ข และ
สร้างสรรค์สังคมให้พัฒนาก้าวหน้าต่อไป
15. ตอบ ข้อ 3. หน้าที่สําคัญของพุทธศาสนิกชนประการหนึ่ง คือการปฏิบัติตนเป็นบุตรที่ดีของบิดามารดา
โดยสามารถปฏิบัติตามหลักทิศ 6 ด้วย 5 สถาน คือ ท่านเลี้ยงดูเราแล้ว เราต้องเลี้ยงดูท่าน
ช่วยทําธุระของท่าน ดํารงวงศ์สกุล ประพฤติตนให้เหมาะสมกับความเป็นทายาทและเมื่อ
ท่ า นล่ ว งลั บ ไปแล้ ว ทํ า บุ ญ อุ ทิ ศ ส่ ว นกุ ศ ลให้ ท่ า น ดั ง นั้ น คํ า ตอบในข้ อ นี้ จึ ง ตรงกั บ
ตัวเลือกข้อที่ 3. ส่วนตัวเลือกข้อที่ 1. 2. และ 4. เป็นหลักปฏิบัติของบิดามารดาต่อบุตร
16. ตอบ ข้อ 1. การต้อนรับ หรือ การปฏิสันถารที่ดีและเหมาะสม ถือเป็นมารยาทสําคัญประการหนึ่งที่
ชาวพุ ท ธพึ ง มี ซึ่ง มารยาทหรือการปฏิสันถารที่ พุ ทธศาสนิก ชนควรปฏิบั ติต่อแขกผู้ม า
เยี่ยมเยือนนั้นกระทําได้หลายวิธี เช่น การทักทายแขกก่อนด้วยถ้อยคําสุภาพอ่อนหวานและ
ใบหน้ายิ้ม แย้ม การให้ที่พักพิงแก่แขก การเอาใจใส่แขกที่มาเยี่ยมในทุ กๆ ด้าน เป็นต้น
ทั้งนี้ เจ้าบ้านที่ดี ไม่ควรแสดงสีหน้าบึ้งตึงใส่แขก หรือละเลยแขกเพื่อไปทําธุระอื่น

~ 46 ~
17. ตอบ ข้อ 2. การตักบาตร หมายถึง การถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ด้วยการใส่ภัตตาหารลงไปในบาตร
ของพระสงฆ์ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ตักบาตรในหลายประการ เช่น ช่ วยขจัดความ
ตระหนี่ของผู้ตักบาตร ช่วยชําระจิตใจให้สะอาด ช่วยให้เกิดความเบิกบานและสงบแก่จิต
ช่วยให้เกิดความเมตตากรุณา เป็นต้น
18. ตอบ ข้อ 3. ในวันขึ้น 15 ค่ําเดือน 8 ซึ่งตรงกับวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา “วันอาสาฬหบูชา” ได้เกิด
เหตุ ก ารณ์ สํ า คั ญ ต่ อ เนื่ อ งกั น ตามลํ า ดั บ คื อ เป็ น วั น แรกที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ทรงประกาศ
พระพุทธศาสนา โดยแสดงปฐมเทศนา ชื่อ “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” แก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5
ซึ่งหลังจากพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมจบ ท่านโกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรม บรรลุเป็น
พระโสดาบันท่านแรก จึงกราบทูลขอบวช ซึ่งพระพุทธเจ้าก็ทรงอนุญาต เกิดเป็น พระสงฆ์
รูปแรกของโลก และทําให้มีพระรัตนตรัยครบองค์ 3 คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
เกิดขึ้นตามลําดับในวันเดียวกัน ดังนั้น ตัวเลือกข้อที่ 3. จึงเป็นคําตอบที่ถูกต้อง
19. ตอบ ข้อ 1. จากข้อความที่กําหนดให้ สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าสากลของศาสนพิธีที่สําคัญประการหนึ่ง
คือ เป็นตัวสร้างความรัก ความสามัคคีในหมู่ศาสนิกชน เพราะศาสนพิธี คือ พิธีกรรมทาง
ศาสนาที่กําหนดขึ้นเพื่อให้ศาสนิกชนได้ถือปฏิบัติตามแบบอย่างเดียวกัน ซึ่งจะก่อให้เกิด
ความรัก ความสามัคคี ความเมตตาต่อกัน สร้างสํานึกแห่งความรู้สึกเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน
พร้อมจะช่วยเหลือและปฏิบัติดีต่อกันในทุกด้าน ทุกเวลา
20. ตอบ ข้อ 4. พระราชพิ ธี พื ช มงคลและจรดพระนั ง คั ล แรกนาขวั ญ เป็ น พระราชพิ ธี ที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ ให้
สัญญาณแก่เกษตรกรว่า ฤดูกาลแห่งการทํานาและเพาะปลูกได้เริ่มขึ้นแล้ว และเพื่อระลึกถึง
ความสําคัญของการทําเกษตรกรรม ซึ่งมีความสําคั ญอย่างยิ่งต่อเศรษฐกิจและสังคมไทยมา
อย่างช้านาน โดยพระราชพิธีจะจัดขึ้น 2 วันต่อเนื่อง คือ
1. พระราชพิธีพืชมงคล จัดขึ้นในวันแรก เป็นพิธีทางพุทธศาสนา โดยมีพระสงฆ์เจริญ
พระพุ ท ธมนต์ ทํ า ขวัญเมล็ดพื ชพั นธุ์ต่างๆ เพื่ อให้เมล็ดพั นธุ์เหล่านั้น ปราศจาก
โรคภัยและให้มีความอุดมสมบูรณ์เจริญงอกงามดี
2. พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ จัดขึ้นในวันที่สอง เป็นพิธีทางศาสนา
พราหมณ์ -ฮิ น ดู โดยเริ่ ม ต้ น การไถนาเพื่ อ หว่ า นเมล็ ด ข้ า ว เพื่ อ ให้ สั ญ ญาณแก่
เกษตรกรว่า ฤดูกาลแห่งการทํานาและเพาะปลูกได้เริ่มขึ้นแล้ว
21. ตอบ ข้อ 3. การบริหารจิตตามหลักอานาปานสติ หมายถึง การฝึกอบรมจิตให้ดีงาม นุ่มนวล มีความ
หนัก แน่น มั่นคง ผ่อนคลาย และสงบด้วยวิธีกําหนดลมหายใจ ซึ่งจะก่ อให้เกิดผลดีต่อ
ผู้ปฏิบัติในหลายด้าน เช่น ทําให้จิตใจสบาย หายจากความวิตกหวาดกลัว ช่วยให้นอนหลับ
ง่ายขึ้น สร้างความกระฉับกระเฉง ว่องไว รู้ จักตัดสินใจเหมาะสมแก่สถานการณ์ ช่วยให้มี
ความใฝ่สัมฤทธิ์สูง ทําให้มีสติสัมปชัญญะ ช่วยให้มี ประสิ ท ธิ ภ าพในการทํ า งาน เป็ น ต้ น
ดังนั้น บุคคลผู้บรรลุผลแห่งการบริหารจิตตามหลักอานาปานสติ คือ กุ้ง

~ 47 ~
22. ตอบ ข้อ 2. วิธีคิดแบบอรรถสัมพันธ์ เป็นหนึ่งในวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ หมายถึง คิดหลักการให้
สัมพันธ์กับความมุ่งหมาย คือ การคิดเพื่อเชื่อมโยงหลักการกระทํากับเป้าหมายที่วางไว้ให้
สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อให้เห็นแนวทางไปสู่เป้าหมาย และกระทําตาม
แนวทางนั้นจนบรรลุเป้าหมายได้สําเร็จ เช่น หากตั้งเป้าหมายที่จะเป็นแพทย์รัก ษาผู้ป่วย
ก็ควรคิดหลักการที่นําไปสู่เป้าหมาย คือ ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร์
คณิ ต ศาสตร์ และภาษาอั ง กฤษ เพื่ อ เตรี ย มตั ว สอบเข้ า เรี ย นคณะแพทยศาสตร์
ในระดับอุดมศึกษา เป็นต้น
23. ตอบ ข้อ 3. การนั่ง ขั ดสมาธิเพชร ถื อเป็น ขั้นตอนหนึ่ ง ในการฝึก สมาธิต ามหลั ก อานาปานสติหรื อ
การกําหนดลมหายใจ โดยท่านั่งขัดสมาธิเพชรที่ถูกต้อง คือ นั่งเอาขาซ้ายทับขาขวา เท้าขวา
ทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ลําตัวตั้งตรง
24. ตอบ ข้อ 1. โลกและสังคมมนุษย์ในกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกยุคปัจจุบัน เรียกว่าอยู่ในยุ คแห่ง
การ “บริโภคนิยม” หมายถึง การได้กินมากๆ กินดีๆ และใช้มากๆ ใช้ดีๆ มีความพอใจใน
วัตถุและความหรูหราฟุ่มเฟือย ซึ่งทําให้เกิดความโลภขึ้นในตัวบุคคล นําไปสู่การเห็นผิด
และประพฤติผิด พระพุทธศาสนาซึ่งเน้นความสุขสงบทางจิตใจมากกว่าวัตถุ จึงสอนให้
พุทธศาสนิกชนเลือกเดินทางสายกลาง หรือ มัชฌิมาปฏิปทา โดยไม่ลุ่มหลงหรือยึดติดอยู่
กั บ วั ต ถุ จ นขาดการพิ จ ารณาด้ ว ยสติ ละเลยหลั ก คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ซึ่ ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด
ความเดือดร้อนแก่ตนเองและสังคมตามมา
25. ตอบ ข้อ 4. หลักธรรมที่จะช่วยให้คนในชาติเกิดความรัก ความสามัคคี มีเมตตากรุณ าต่อกัน และไม่
เบียดเบียนข่มเหงกัน คือ
1. พรหมวิหาร 4 ได้แก่ เมตตา คือ ความปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข กรุณา คือ คิดช่วย
ให้ผู้อื่นพ้นจากความทุกข์ มุทิตา คือ ยินดีด้วยเมื่อเห็นผู้อื่นมีความสุข และอุเบกขา
คือ ทําใจเป็นกลางเมื่อเห็นเพื่อนมนุษย์ได้รับผลดีผลชั่วจากการกระทําของตน
2. สั ง คหวั ต ถุ 4 ได้ แ ก่ ทาน คื อ การแบ่ ง ปั น เอื้ อ เฟื้ อ เผื่ อ แผ่ กั น ปิ ย วาจา คื อ
การพูดจาน่ารัก น่านิยมนับถือ อัตถจริยา คือ การบําเพ็ญประโยชน์ และสมานัตตตา
คือ ความมีตนเสมอ ทําตัวให้เข้ากันได้
3. สาราณียธรรม 6 ได้แก่ เมตตากายกรรม คือ การกระทํา ต่อกันด้วยเมตตา เมตตา
วจีกรรม คือ การพูดต่อกันด้วยเมตตา เมตตามโนกรรม คือ การคิดถึงกันด้วยเมตตา
สาธารณโภคี คื อ การแบ่งปันสิ่งของให้แก่ กั น สีล สามัญญตา คือ เป็นผู้มีความ
ประพฤติเสมอกัน และทิฏฐิสามัญญตา คือ เป็นผู้มีความคิดเห็นเสมอกัน
26. ตอบ ข้อ 4. การสมรสของผู้เยาว์โดยได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม เป็นเหตุให้พ้นจาก
ความเป็นผู้เยาว์ กลายเป็นบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะตามกฎหมาย

~ 48 ~
27. ตอบ ข้อ 2. นายจ้างให้ลูกจ้างอายุ 17 ปี ทํางานในวันหยุด เป็นการกระทําที่ฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วย
การจ้างแรงงานเด็ก
28. ตอบ ข้อ 3. ความเสมอภาค เป็นหลักการที่สอดคล้องกับสังคมประชาธิปไตย ที่เน้นความเท่าเทียมกัน
ในการใช้สิทธิและเสรีภาพของประชาชนภายใต้กรอบที่กฎหมายกําหนด เพื่อทุกคนจะได้
อยู่กันอย่างมีความสุข
29. ตอบ ข้อ 1. การแยกขยะก่อนทิ้ง ถือเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นตัวอย่าง
ที่ ดี แ ก่ บุ ค คลอื่น ที่ ไ ด้พ บเห็น นอกจากนี้ ยั ง เป็ น การช่ ว ยลดขั้ นตอนการคั ดแยกขยะอี ก
ทางหนึ่งด้วย
30. ตอบ ข้อ 3. การที่โอ๊ตชวนเพื่อนไปใช้สิทธิเลือกตั้งกรรมการนักเรียน ถือเป็นตัวอย่างของพลเมืองดีตาม
วิถีประชาธิปไตย
31. ตอบ ข้อ 4. สถาบันการศึกษา มีหน้าที่หลักในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพ
โดยมีทั้งความรู้และคุณธรรมควบคู่กัน
32. ตอบ ข้อ 2. การอบรมขั ด เกลาสมาชิ ก ให้ เ ป็ น คนดี เป็ น บทบาทสํ า คั ญ ของสถาบั น ครอบครั ว ใน
การปลูกฝังให้บุคคลเป็นคนดีทั้งกาย วาจา และใจ เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
33. ตอบ ข้อ 3. การแสดงละครเวทีในเทศกาลปีใหม่ เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสถาบันนันทนาการซึ่งช่วย
สร้างความบันเทิงให้แก่ผู้ชมและเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
34. ตอบ ข้อ 1. จี น ญี่ ปุ่ น เกาหลี มี วั ฒ นธรรมการบริ โ ภคอาหารที่ มี ค วามคล้ ายคลึ ง กั บ ไทย โดย
ส่วนประกอบหลักจะเป็นข้าว เนื้อสัตว์ และพืชผัก ซึ่งจะมีวิธีการทํา และใช้เครื่องปรุงรสที่
ใกล้เคียงกัน เช่น น้ําปลา เครื่องเทศต่างๆ เป็นต้น
35. ตอบ ข้อ 2. พิธีรับศีลมหาสนิท เป็นประเพณีและวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างจากข้ออื่น เนื่องจากเป็น
ประเพณีของศาสนาคริสต์
36. ตอบ ข้อ 4. วัฒนธรรมด้านการกีฬามีส่วนช่วยปลูกฝังความสามัคคีให้แก่คนในสังคม โดยใช้กีฬาเป็น
ตัวเชื่อมในการสร้างความสัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้น
37. ตอบ ข้อ 1. พระราชกําหนด เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหารในสถานการณ์อันมีความจําเป็นรีบด่วน
เพื่อประโยชน์แห่งรัฐ
38. ตอบ ข้อ 3. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติต้องเสนอให้สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้พิจารณาเป็นลําดับแรก
ตามขั้นตอนที่กฎหมายกําหนด
39. ตอบ ข้อ 4. ข้ อ มู ล ข่ า วสาร คื อ สิ่ง ที่ สื่อ ความหมายให้ท ราบถึ ง เรื่ อ งราวหรื อ ข้อ เท็ จจริ งในเรื่อ งใด
เรื่องหนึ่ง ทําให้เราสามารถเข้าใจและรู้ความหมายของเรื่องราวต่างๆที่เกิดขึ้นได้
40. ตอบ ข้อ 2. การใช้วิจารณญาณก่อนตัดสินใจเชื่อในเรื่องราวต่างๆ ถือเป็นแนวทางในการเลือกรับข้อมูล
ข่าวสารได้อย่างเหมาะสม

~ 49 ~
41. ตอบ ข้อ 2. พิมได้ค่าขนมวันละ 100 บาท แต่มีค่าใช้จ่าย วันละ 60 บาท ดั้งนั้น เงินที่เหลืออีก 40 บาท
สามารถนําไปเก็บออมได้ พิมจึงถือเป็นผู้ที่มีโอกาสในการออมมากกว่าคนอื่นๆ ที่ไม่มีเงิน
เหลือเก็บ
42. ตอบ ข้อ 1. ชาวประมงที่ อ อกทะเลหาปลานั้ น ถื อ เป็ น การผลิ ต สิ น ค้ า และบริ ก ารในขั้ น ปฐมภู มิ
เพราะเป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยตรง มีกระบวนการที่ไม่ซับซ้อน
43 ตอบ ข้อ 4. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงาม จะช่วยเพิ่มความน่าสนใจให้ตัวสินค้ามากขึ้น
ทําให้สินค้าดูดี มีราคา ช่วยเพิ่มมูลค่าของสินค้าได้อย่างดี
44. ตอบ ข้อ 3. หั ว ใจสํ า คั ญ ของการนํ า หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ ใ นชุ ม ชน คื อ การนํ า
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ใกล้ตัวมาสร้างมูลค่า โดยมีการรวมกลุ่มของชาวบ้านหรือสมาชิก
ชุมชนร่วมกันดําเนินธุรกิจ เพื่อสร้างงานสร้างรายได้
45. ตอบ ข้อ 2. การดําเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะต้องค่อยเป็นค่อยไป ไม่ทําอะไร
ที่เกินตัวเกินกําลัง การจะขยายธุรกิจจะดําเนินอยู่บนหลักการและเหตุผล และเน้นการพึ่งพา
ตนเองเป็นสําคัญ
46. ตอบ ข้อ 3. การเลือกซื้อผลไม้กระป๋อง เราจะต้องพิจารณาข้อมูลต่างๆ ที่อยู่บนฉลาก เช่น วันที่ผลิตวัน
หมดอายุ ส่วนประกอบ ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ผลิต เป็นต้น จึงจะทําให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพ เป็น
การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคของตนเองในทางหนึ่ง
47. ตอบ ข้อ 1. หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพนั้น จะต้องผ่านการทดสอบและรับประกันจากสํานักงานมาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ตสมอ.) และจะต้องมีตราสัญลักษณ์ มอก. ติดอยู่บนสินค้า


48. ตอบ ข้อ 2. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมให้เสรีภาพแก่เอกชนในการผลิตสินค้าต่างๆได้อย่างอิสระ
ดังนั้นผู้ผลิตสินค้าในตลาดจึงมีจํานวนมาก การแข่งขันจึงมีสูง ส่งผลให้ผู้ผลิตจะต้องทําการ
แข่งขันทางเศรษฐกิจอย่างมากเพื่อให้ได้ส่วนแบ่งทางการตลาด
49. ตอบ ข้อ 4. ในระบบเศรษฐกิ จ แบบสั ง คมนิ ย ม รั ฐ จะเป็ น เจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ใ นทรั พ ย์ สิ น ต่ า งๆ
ของสังคม ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยการผลิต ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งรัฐจะเป็นผู้วางแผน และ
ควบคุมการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด
50. ตอบ ข้อ 1. เป็นลักษณะของการพึ่งพาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เนื่องจากประเทศญี่ปุ่นสนใจเข้า
มาลงทุนสร้างโรงงานผลิตยางรถยนต์ในไทย เพราะประเทศไทยเป็นแหล่งปลูกยางพาราซึ่ง
เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตยางรถยนต์ เมื่อฐานการผลิตอยู่ ใกล้แหล่งวัตถุดิบก็ช่วยให้
ประหยัดต้นทุนการผลิตได้ ในขณะเดียวกันก็เกิดการจ้างงานสร้างรายได้ให้กับคนในพื้นที่
51. ตอบ ข้อ 3. ประเทศไทยมี ผืนแผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์ มีพื ชพั นธุ์ธัญญาหารที่หลากหลาย รวมไปถึง
ทรัพยากรธรรมชาติจํานวนมาก ซึ่งถือเป็นความได้เปรียบทางเศรษฐกิจเพราะมีวัตถุดิบ
เป็นต่อการผลิตสินค้ามาก

~ 50 ~
52. ตอบ ข้อ 2 ประเทศไทยต้องพึ่งพาการนําเข้าสินค้าน้ํามันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศเป็นจํานวนมาก
เพราะน้ํามันที่หาได้ภายในประเทศมีปริมาณน้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการในแต่ละวัน
53. ตอบ ข้อ 2. แร่ท องคํ า เป็ นสิ่ง ที่ ป ระเทศสากลกํ าหนดใช้ เป็นทุนสํารองการเงิ นของประเทศ ดังนั้ น
ประเทศที่มีแร่ทองคําและมีศักยภาพในการแยกทองคําออกมาใช้ ย่อมมีฐานะทางการเงินที่
มั่งคั่งและมีความได้เปรียบทางเศรษฐกิจสูง
54. ตอบ ข้อ 4. ร้านมินิมาร์ท เป็นคู่แข่งสําคัญของร้านขายของชํา เพราะร้านมินิมาร์ทมีสินค้าหลากหลาย
ให้เลือกซื้อ ราคาถูก ตกแต่งร้านสวยงาม ลูกค้าสามารถซื้อสินค้าได้อย่างสะดวกสบาย
ทํ า ให้ ร้ า นขายของชํ า ได้รั บ ผลกระทบอย่ า งมาก เพราะคนส่ว นใหญ่ เ ลื อกซื้ อ ของจาก
ร้านมินิมาร์ท
55. ตอบ ข้อ 1. ประเทศไทยควรพัฒนาคุณภาพฝีมือแรงงานไทย รวมถึงส่งเสริมการผลิตสินค้าและบริการ
ที่ มี คุ ณภาพสูง จึ ง จะทํ า ให้ประเทศมีความได้เปรีย บทางเศรษฐกิ จ สามารถแข่งขันกั บ
ประเทศต่างๆ ได้เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
56. ตอบ ข้อ 4. การประเมินคุณค่าของหลักฐานโดยพิจารณาว่าหลักฐานใดเป็นของแท้หรือของปลอม ให้ดู
ได้จากวัสดุที่ใช้เขียน รูปแบบตัวเขียน สํานวนภาษา อักขรวิธี เช่น สมัยอยุธยา หลักฐาน
ต่างๆ ส่วนใหญ่จะเขียนลงบนสมุดข่อยหรือสมุดไทย ไม่นิยมสลักเป็นศิลาจารึก หรือเขียน
บนกระดาษฝรั่ง เป็นต้น
57. ตอบ ข้อ 3. ความจริง คือ ข้อมูลหรือเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง จากข้อความที่ยกมา ข้อ 3. เป็นความจริง
ข้ อ 1. และข้ อ 2. เป็ นความคิดเห็น โดยพิ จารณาจากคําว่า “คงได้ ” และ สันนิษ ฐานว่ า
ส่วนข้อ 4. เป็นข้อเท็จจริง
58. ตอบ ข้อ 4. ข้อเท็จจริง คือ ข้อมูลที่เป็นคําอธิบายที่ปรากฏในหลักฐาน ซึ่งสอดคล้องกับข้อ 4. ข้อ 1.และ
ข้อ 2. เป็นความจริง ส่วนข้อ 3. เป็นความคิดเห็น
59. ตอบ ข้อ 2. การตี ค วามทางประวั ติ ศ าสตร์ มี ป ระโยชน์ ใ นการอธิ บ ายเรื่ อ งราว เหตุ ก ารณ์ ท าง
ประวัติศาสตร์ ทั้งนี้เพื่อสร้างความเข้าใจต่อเรื่องราวที่ศึกษา
60. ตอบ ข้อ 4. การตีความเพื่ออธิบายเหตุการณ์ที่ยกมานี้ คือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทํายุทธหัตถี
กั บ พระมหาอุ ป ราชาที่ หนองสาหร่าย และทรงฟั นพระมหาอุปราชาขาดบนคอช้างจน
สิ้นพระชนม์
61. ตอบ ข้อ 3. พื้นที่บริเวณลุ่มแม่น้ําเจ้าพระยาตอนล่างก่อนจะมีการสถาปนาอาณาจักรอยุธยาได้มีชุมชน
รวมตัวกันขึ้นมาก่อนแล้ว และได้พัฒนาความเจริญจนมีฐานะเป็นแคว้น ที่สําคัญ ได้แก่
แคว้นสุพรรณภูมิ (สุพรรณบุร)ี และแคว้นละโว้ (ลพบุรี)
62. ตอบ ข้อ 2. กรุง ศรีอยุธ ยาเป็นเมืองท่าค้าขายซึ่งตั้งอยู่กึ่ งกลางเส้นทางเดินเรือระหว่างอินเดียกั บจีน
จึงเป็นศูนย์กลางการค้าทางทะเลที่สําคัญ ส่งผลให้มีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านเศรษฐกิจ

~ 51 ~
63. ตอบ ข้อ 4. สืบเนื่องจากในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ไทยได้นครธมซึ่งเป็น
ราชธานีข องเขมร และในสมัย สมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ ก็ ไ ด้ ผนวกรวมอาณาจัก ร
สุโขทัยเข้ากับราชอาณาจักรอยุธยา ทําให้มีอาณาเขตแผ่ขยายกว้างขวาง มีหัวเมืองต่างๆ
มากขึ้ น พลเมื องเพิ่ ม ขึ้ นกว่า เดิม ขณะที่ วิธีก ารปกครองแบบเก่ ายั งไม่ทั่วถึ งและรัดกุ ม
เพียงพอ จึงจําเป็นต้องปฏิรูปการปกครองแผ่นดินครั้งใหญ่
64. ตอบ ข้อ 1. ชาวอยุธยาประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ทั้งนี้เพราะกรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่บริเวณที่ราบ
ลุ่มแม่น้ําสําคัญหลายสาย ได้แก่ แม่น้ําเจ้าพระยา แม่น้ําป่าสัก และแม่น้ําลพบุรี จึงมีแหล่ง
น้ําอุดมสมบูรณ์ซึ่งเอื้อต่อการเกษตรกรรมโดยเฉพาะการปลูกข้าว
65. ตอบ ข้อ 2. เมื่อนายทองเหม็นมาติดต่อทําเรื่องกับทางราชการ เขาจะต้องเสียฤชาให้แก่รัฐ ซึ่งฤชาก็คือ
ค่าธรรมเนียมที่ทางราชการเรียกเก็บจากราษฎรซึ่งได้รับประโยชน์จากรัฐเป็นการเฉพาะตัว
66. ตอบ ข้อ 1. ศักดินาเป็นเกณฑ์กําหนดฐานะ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคคลในสังคม ซึ่งมี
ผลทําให้สังคมไทยสมัยอยุธยาแบ่งออกเป็นชนชั้นต่างๆ นอกจากนี้ เกณฑ์ศักดินายังถู ก
นําไปใช้เป็นอัตราสําหรับปรับไหมหากมีการกระทําความผิดต่อกันด้วย เช่น ผู้ใหญ่ทําผิด
ต่อ ผู้ น้ อ ยก็ ป รั บ ไหมตามศัก ดิ น าของผู้ ใ หญ่ ถ้ า ผู้ น้ อยทํ า ผิ ดต่ อ ผู้ ใ หญ่ก็ ป รั บ ผู้น้ อ ยตาม
ศักดินาของผู้ใหญ่ เป็นต้น
67. ตอบ ข้อ 3. ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศระหว่ า งอยุ ธ ยากั บ รั ฐ ใกล้ เ คี ย งส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น เรื่ อ ง
การทหาร ไม่ว่าจะเป็น สุโขทัย ซึ่งอยุธยาได้แผ่ขยายอิทธิพลเข้าไปปกครอง ล้านนา เป็น
การทําศึกสงครามเพื่อขยายอิทธิพลเข้าไปปกครอง มอญ มีความสัมพันธ์ทางการค้าและเข้า
ไปปกครองในฐานะเมื อ งขึ้ น พม่ า เป็ น การทํ า สงครามกั น มาโดยตลอด เขมร
มีความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและเข้าไปปกครองในฐานะเมืองขึ้น ญวน เป็นการทํา
สงครามเพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่เหนือเขมร
68. ตอบ ข้อ 1. ภูมิปัญญาด้านศิลปกรรมสมัยอยุธยาส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางพระพุทธศาสนา เพราะ
คนไทยตั้งแต่สมั ยก่ อนหน้าที่จะสถาปนาอาณาจักรอยุธ ยาจนถึงสมัยอยุธยาล้วนนับถือ
เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากงานศิลปกรรมประเภทต่างๆ
ทั้งสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม จะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
69. ตอบ ข้อ 3. ภายหลังจากพระยาตาก (สิน) กอบกู้เอกราชและสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีพร้อมกับ
กระทําพิธีบรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ บรรดาหัวเมืองต่างๆ ที่รอดจากการรุกราน
ของพม่ า ได้พ ากั นตั้ง ตัวเป็นใหญ่จนเกิดชุมนุมต่างๆ ขึ้น และเพื่อเสริมสร้างความเป็น
เอกภาพและความเป็ น ปึ ก แผ่ น ของราชอาณาจั ก รในการทํ า สงครามกั บ พม่ า ต่ อ ไป
สมเด็จพระเจ้า ตากสิน มหาราชจึงทําการปราบปรามชุมนุมต่างๆ ให้อยู่ ภายใต้พ ระราช
อํานาจของพระองค์

~ 52 ~
70. ตอบ ข้อ 3. อาณาจักรธนบุรีขาดแคลนข้าวและสินค้า ดังนั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงทรงรับ
ซื้อข้าวและสินค้าจากพ่อค้าต่างชาติในราคาแพง เพื่อจูงใจให้พ่อค้าต่างชาตินําสินค้ามาขาย
ในอาณาจักรธนบุรี ซึ่งช่วยแก้ไขปัญหาความขาดแคลนภายในราชอาณาจักร เมื่อมีพ่อค้า
นําสินค้ามาขายมาก ราคาสินค้าจะลดลงตามกลไกราคา
71. ตอบ ข้อ 2. ปัญหาโจรผู้ร้ายที่ออกปล้นสะดมพ่อค้าและราษฎร ทําให้ผู้คนพากันหวาดกลัวภัย อาศัยอยู่
อย่างไม่มีความสุข นับเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อเสถียรภาพทางสังคมในสมัยธนบุรีอย่างมาก
72. ตอบ ข้อ 4. ในระยะแรกของการตั้งราชธานี ผู้คนพากันอดอยากหิวโหยเพราะขาดแคลนข้าวไว้บริโภค
ประกอบกับ ไม่ สามารถทํานาข้าวได้พ อกั บผู้คน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงทรง
แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าด้วยการซื้อข้าวสารจากพ่อค้าสําเภาจีนมาแจกจ่ายให้ แก่ราษฎร
คนละ 1 ถังต่อ 20 วัน
73. ตอบ ข้อ 2. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงสร้างความผสมกลมกลืนระหว่างอาณาจักรสุโขทัยกับ
อาณาจักรอยุธยาให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ด้วยการเสด็จไปประทับที่เมืองพิษณุโลกซึ่งเคย
เป็นเมืองลูกหลวงของสุโขทัยมาก่อน นอกจากนี้ พระองค์ทรงมีพระมารดาเป็นเจ้าหญิงจาก
ราชวงศ์สุโขทัย ในระหว่างประทับอยู่ที่พิษณุโลก พระองค์ได้ทรงออกผนวชที่วัดจุฬามณี
เช่นเดียวกับที่พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ของสุโขทัยทรงผนวชที่วัดป่ามะม่วง ดังนั้น
จึงทําให้สุโขทัยกับอยุธยารวมตัวกันได้เป็นปึกแผ่นในเวลาต่อมา
74. ตอบ ข้อ 3. แบบอย่ า งความดี ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด ของสมเด็ จ พระสุ ริ โ ยทั ย คื อ ความเสี ย สละเพื่ อ รั ก ษา
และเทิ ดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ดังจะเห็นได้จากเมื่อครั้งพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้แห่ง
กรุ ง หงสาวดี ย กทั พ มาตี ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา สมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ ไ ด้ ทํ า ยุ ท ธหั ต ถี กั บ
พระเจ้าแปร แต่พลาดท่า เสียทีข้าศึก สมเด็จพระสุริโยทัยจึงทรงขับช้างเข้าขวางและถูก
พระเจ้าแปรฟันจนสิ้นพระชนม์ ซึ่งการกระทําของต่าย ก็แสดงให้เห็นถึงความเสียสละที่
สอดคล้องกับคุณความดีของสมเด็จพระสุริโยทัย
75. ตอบ ข้อ 4. สืบเนื่องจากพระเจ้านันทบุเรงแห่งกรุงหงสาวดีทรงส่งกองทัพไปปราบเมืองอังวะที่แข็งข้อ
ทางอยุธยาได้ส่งพระนเรศวรคุมกองทัพไปช่วย แต่พระเจ้านันทบุเรงเกิดความหวาดระแวง
ว่าอยุธยาจะเอาใจออกห่างไปช่วยอังวะ จึงคิดกําจัดพระนเรศวรด้วยการส่งพระยาเกียรติ
พระยาราม ขุ นนางชาวมอญมารอรับและหาทางกําจัดเสีย แต่ทั้งสองกลับมาปรึกษากั บ
พระมหาเถรคันฉ่องซึ่งเป็นอาจารย์ของตน พระมหาเถรคันฉ่องได้แนะนําให้ทั้งสองบอก
ความจริงให้พระนเรศวรทรงทราบ พระนเรศวรจึงได้ประกอบพิธีประกาศอิสรภาพของ
กรุงศรีอยุธยาที่เมืองแครง ไม่ขึ้นกับกรุงหงสาวดีอีกต่อไป พร้อมกับอพยพคนไทยที่เคยถูก
พม่ากวาดต้อนไปกลับคืนกรุงศรีอยุธยา

~ 53 ~
76. ตอบ ข้อ 4. แบบอย่างของออกพระวิสุทธสุนทร ตปาน) ในการจดบันทึกเรื่องราวที่ได้รับทราบมาเป็น
แบบอย่างที่ดีที่ควรนําไปใช้ เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาประวัติศาสตร์และเป็นความรู้ติด
ตัวต่อไปในอนาคต
77. ตอบ ข้อ 1. จะเห็ น ได้ ว่ า ตลอดระยะเวลาที่ ส มเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราชเสด็ จ ครองราชย์ 15 ปี
พระองค์ทรงมีพระราชกรณียกิจสําคัญในการทําศึกสงครามป้องกันพระราชอาณาจักรให้
มั่นคงและปลอดภัย ที่สําคัญ ได้แก่ การกอบกู้เอกราชจากพม่า การรวมพระราชอาณาจักร
ด้วยการปราบชุมนุมต่างๆ ที่ตั้งตัวเป็นใหญ่หลังเสียกรุงศรีอยุธยา และการทําสงครามขับไล่
ข้าศึกที่เข้ามารุกรานเพื่อป้องกันพระราชอาณาเขต
78. ตอบ ข้อ 3. จากความล้มเหลวของการปกครองแบบสาธารณรัฐ ทําให้ปัญญาชนจีนแสวงหารูปแบบ
การปกครองใหม่ จนนําไปสู่การก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีนขึ้นเพื่อเผยแพร่แนวคิดของ
ลัทธิคอมมิวนิสต์ ต่อมาสามารถได้รับชัยชนะในสงครามกลางเมืองด้วยการสนับสนุนจาก
ประชาชน และปกครองประเทศด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ ค.ศ.1949 จนถึงปัจจุบัน
79. ตอบ ข้อ 3. การปฏิรูป สมั ย เมจิมี จุดประสงค์สําคัญเพื่ อปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย อย่ างตะวันตก
ซึ่ง กํ า ลัง คุ ก คามญี่ปุ่ นอยู่ ใ นขณะนั้น รัฐบาลสมัย เมจิไ ด้มีนโยบายที่จะเสริมสร้างความ
เข้มแข็งของประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรืองและมีกองทัพที่สามารถในการป้องกันประเทศ
จึ ง ต้ อ งรั บ รู ป แบบการพั ฒ นาประเทศและการใช้ เ ทคโนโลยี อ ย่ า งตะวั น ตกโดยให้
ความสําคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมและจัดตั้งระบบการศึกษาแบบใหม่ มีการส่งคณะ
นักเรียนไปศึกษาและดูงานต่างประเทศเพื่อกลับมาเป็นกําลังสําคัญในการปฏิรูปสมัยเมจิ
80. ตอบ ข้อ 1. ภูมิภาคเอเชียใต้มีความขัดแย้งกันทางศาสนามากที่สุด เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดู
กับชาวมุสลิมในอินเดีย ความขัดแย้งระหว่างชาวพุทธกับชาวฮินดูในศรีลังกา เป็นต้น
81. ตอบ ข้อ 4. จากสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ที่มีทั้งเขตที่ราบลุ่ม
แม่น้ํา เขตทุ่งหญ้าและทะเลทราย พื้นที่ส่วนใหญ่จึงมีอากาศร้อน แห้งแล้ง และมีฝนตกน้อย
ซึ่งสภาพภูมิศาสตร์เช่นนี้ทําให้ยากลําบากต่อการเพาะปลูก ประชากรส่วนใหญ่จึงมีอาชีพ
เร่ร่อน เลี้ยงสัตว์ และเดินทางค้าขายเป็นกองคาราวานไปตามเมืองต่างๆ โดยจะอยู่รวมกัน
เป็นกลุ่มหรือเผ่าเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
82. ตอบ ข้อ 1. จากสภาพภูมิประเทศของภูมิภาคเอเชียกลางเป็นที่ราบกว้างใหญ่และเขตทะเลทรายสลับ
กับแนวเทือกเขา การคมนาคมลําบาก ทําให้ประชากรในภูมิภาคพากันตั้งถิ่นฐานกระจายตัว
ตามพื้นที่ต่างๆ เป็นกลุ่มเล็กๆ จึงมีการปกครองแบบชนเผ่า
83. ตอบ ข้อ 2. การกระทําของขุนพลหวังหลี่นับว่ามีความชอบธรรม ทั้งนี้เพราะอิทธิพลจากความเชื่อของ
ชาวจีนโบราณในเรื่องอาณัติแห่งสวรรค์และโอรสแห่งสวรรค์ ที่เชื่อว่าสวรรค์หรื อฟ้าจะ
มอบอาณัติหรืออํานาจให้แก่กษัตริย์ผู้ปกครอง ซึ่งถือว่าเป็นโอรสแห่งสวรรค์ โดยมีเงื่อนไข
ว่าจะต้องปกครองบ้านเมืองให้สงบสุข ถ้าผู้ปกครองไม่ปกครองโดยธรรม ทําให้ราษฎร

~ 54 ~
เดือดร้อน สวรรค์ก็จะถอนอาณัติและมอบให้บุคคลอื่นที่มีคุณธรรมมาปกครองแทน ดังนั้น
หากผู้ปกครองไร้คุณธรรมก็สามารถถูกล้มล้าง แล้วให้ผู้ที่มีความสามารถมาปกครองและ
ตั้งราชวงศ์ใหม่ได้
84. ตอบ ข้อ 4. จากการขุดค้นทางโบราณคดีที่เมืองฮารัปปาและโมเฮนโจ-ดาโร มีการพบที่ประทับตรา
มากกว่า 2,000 ชิ้น ซึ่งอาจเป็นเครื่องหมายหรือตัวอักษรแต่ยังอ่านไม่ได้ ตราประทับมัก ทํา
เป็ นรูปสัตว์ เช่น วัว ควาย เสือ ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่าอารยธรรมลุ่มแม่น้ําสินธุยั งไม่มี
หลักฐานชัดเจนเรื่องบันทึกที่เป็นลายลักษณ์อักษร
85. ตอบ ข้อ 3. กําแพงเมืองจีนเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจีนโดยแสดงถึงการแบ่งแยกจีนจากชนชาติอื่น
86. ตอบ ข้อ 4. เครื่องมือที่สามารถนํามาใช้วางแผนเพื่อจัดการภัยพิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ ภาพจาก
ดาวเทียม เนื่องจากดาวเทียมมีวงโคจรแน่นอนจึงมีข้อมูลต่อเนื่อง ทําให้สามารถนําภาพจาก
ดาวเทียมมาใช้ในการวางแผนเพื่อจัดการภัยพิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
87. ตอบ ข้อ 4. การนําเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์แบบกราฟิกเป็นการใช้เส้น รูปวาด ภาพถ่าย สี หรืออื่นๆ
เพื่อสื่อความหมายให้การแสดงข้อมูลเข้าใจง่าย เห็นภาพรวม และมีความสวยงามดึงดูด
ความสนใจ
88. ตอบ ข้อ 3. ลัก ษณะภูมิ ประเทศแบบฟี ออร์ด หรือฟยอร์ด พบได้บริเวณหมายเลข 3 ซึ่งเป็นบริเวณ
ชายฝั่งของประเทศนอร์เวย์ เกิดขึ้นจากการเคลื่อนตัวของธารน้ําแข็ง ทําให้เกิดเป็นอ่าวเล็กๆ
แคบและยาว เว้าลึกเข้าไปในพื้นดิน และมีลักษณะสูงชัน
89. ตอบ ข้อ 1. บริเวณหมายเลข 2 คือ ตอนเหนือของทวีปยุโรป เป็นบริเวณที่มีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง
เนื่องจากมีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี ไม่สามารถทําการเกษตรได้ จึงไม่เหมาะสมใน
การตั้งถิ่นฐาน
90. ตอบ ข้อ 1. ปัจจัย สําคั ญที่สุดที่ทํา ให้เศรษฐกิจของทวีปยุโรปมีความมั่นคง คือ ประชากรมีคุณภาพ
มีการศึกษาสูง จึงทําให้มีรัฐบาลที่มีคุณภาพ มีการคิดค้นเทคโนโลยีสมัยใหม่ และสามารถ
จัดการทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
91. ตอบ ข้อ 4. การตั้ ง ชุ ม ชนของชาวต่ า งชาติเป็น สิ่งแวดล้อมใหม่ที่ เกิ ด ขึ้นในทวีปยุ โรป เนื่อ งจาก
ชาวต่างชาติมักจะมีการรวมตัวเป็นชุมชนเล็กๆ แทรกอยู่กลางชุมชนชาวยุโรป เมื่อมีผู้คน
มากขึ้นก็จะมีการสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมาเพื่อระลึกถึงบ้านเกิดของตนเอง และในวันหยุ ดก็จะมี
การรวมตัวเพื่อสังสรรค์และจัดกิจกรรมต่างๆ ในกลุ่มชนของตน
92. ตอบ ข้อ 1. หลายประเทศในทวีปยุโรปได้มีการส่งเสริมการลงทุนสีเขีย ว เพื่อลดปริมาณแก๊สเรือน
กระจกที่ยุโรปปล่อยออกไป เช่น ลงทุนพัฒนาพลังงานสะอาด การปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่สี
เขียว เป็นต้น
93. ตอบ ข้อ 3. ปัญหามลพิษทางอากาศในทวีปยุโรปมีสาเหตุสําคัญมาจากการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรม
ทําให้มีการปล่อยสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมปริมาณมากในแต่ละปี

~ 55 ~
94. ตอบ ข้อ 1. ทวี ป แอฟริ ก ามี สัต ว์ ป่ า อุด มสมบูร ณ์ ที่ สุ ดแห่ ง หนึ่ง ของโลก โดยมี ม ากบริ เ วณทุ่ ง หญ้ า
สะวันนาถัดจากทะเลทรายสะฮาราลงมา สัตว์ป่าที่สําคัญ เช่น สิงโต ม้าลาย ยีราฟ แรด
เป็นต้น ปัจจัยที่ช่วยให้สัตว์ป่าในทวีปแอฟริกายังคงมีจํานวนมากในปัจจุบัน เนื่องจากพื้นที่
ยังคงรกร้างว่างเปล่าจํานวนมาก และประเทศต่างๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดูแลรักษาสัตว์
ป่ามากขึ้น
95. ตอบ ข้อ 1. ทวีปแอฟริกามีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง ที่สูง ทะเลทราย และมีทุ่งหญ้า
เขตอบอุ่น พื้นที่สําหรับการเพาะปลูกมีจํากัด จึงควรสนับสนุนให้ประชากรประกอบอาชีพ
เลี้ยงสัตว์
96. ตอบ ข้อ 4. ผลผลิตทางการเกษตรที่ ควรส่งเสริมให้ปลู ก ในทวีปแอฟริ ก า คือ ธัญพื ช เพราะเอาไว้
บริโภค เนื่องจากทวีปแอฟริกามีพื้นที่เพาะปลูกจํากัด จึงไม่สามารถผลิตพืชอาหารมาเลี้ยง
ประชากรได้อย่างเพียงพอ
97. ตอบ ข้อ 1. สิ่งแวดล้อมใหม่ คือ สิ่งที่มีความแตกต่างไปจากสภาพแวดล้อมของสังคมเดิม ซึ่งสามารถ
มองเห็นเป็ นรูป ธรรมได้ชัดเจน ชุมชนชาวเอเชีย ที่ตั้งขึ้ นท่ามกลางชุมชนชาวแอฟริกั น
ดั้งเดิม ถือเป็นสิ่งแวดล้อมใหม่ เพราะมีความแตกต่างจากสิ่งแวดล้อมเดิมอย่างเห็นได้ชัด
98. ตอบ ข้อ 3. ปั ญ หาความแห้ ง แล้ง ของทวีป แอฟริ ก าทํ า ให้ ไ ม่ ส ามารถปลู ก พื ชพรรณธั ญญาหารได้
ประชากรจํานวนมากต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหาร ส่งผลให้เกิดปัญหาทุ พภิกขภัย
ตามมา
99. ตอบ ข้อ 1. การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของทวีปแอฟริกากระทบต่อการส่งออกสินค้าของไทย เพราะ
แอฟริ ก าเป็ น ตลาดสํ า คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ที่ ป ระเทศไทยส่ ง ออกสิ น ค้ า หลายชนิ ด เช่ น ข้ า ว
มันสําปะหลัง อาหารกระป๋อง อาหารสําเร็จรูปต่างๆ
100. ตอบ ข้อ 2. แต่เดิมทวีปแอฟริกาเป็นแหล่งพื้นที่ป่าเขตร้อนที่สําคัญ แต่เนื่องจากในปัจจุบันมีการบุกรุก
ทําลายป่าอย่างมาก พื้นที่ป่าจํานวนมหาศาลสูญเสียไป ส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน



~ 56 ~
เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2
เฉลยอย่างละเอียด
1. ตอบ ข้อ 1. การเปลี่ยนผู้ปกครองและการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ถือเป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้
เกิ ดเป็ นยุ ค รุ่ง เรืองและยุ คเสื่ อมโทรมของพระพุ ท ธศาสนา เพราะผู้อุ ปถัมภ์ สําคั ญของ
พระพุทธศาสนา คือ พระมหากษัตริย์หรือผู้มีอํานาจสูงสุดในการปกครองอาณาจักรนั้นๆ
ดั ง นั้ น หากผู้ ป กครองคนใดให้ ก ารอุ ป ถั ม ภ์ ค้ํ า ชู พ ระ พุ ทธ ศาส นาด้ ว ย ความ
เอาใจใส่ เช่น พ่อขุนรามคําแหงมหาราช พระเจ้าอลองพญา พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช เป็นต้น
ในยุ ค สมั ย นั้ น พระพุ ท ธศาสนาก็ จ ะเจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง ในขณะที่ หากมี ก ารเปลี่ ย นแปลง
ผู้ ป กครอง และผู้ ป กครองนั้ น ขาดความใส่ ใ จต่ อ การทํ า นุ บํ า รุ ง พระพุ ท ธศาสนาหรื อ
เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอื่น เช่น กษัตริย์ระเด่นปาทา แห่งอาณาจักรมัชปาหิต ทรงมีศรัทธา
ในศาสนาอิสลาม และประกาศห้ามเผยแพร่พระพุทธศาสนา ทําให้พระพุทธศาสนาใน
ประเทศอินโดนีเซียเสื่อมลง หรือการตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งและอังกฤษของลาวและ
พม่า ก็ส่งผลให้พระพุทธศาสนาเสื่อมลงเช่นกัน เพราะขาดการทํานุบํารุงเอาใจใส่ เป็นต้น
2. ตอบ ข้อ 2. ธรรมวิชัย หมายถึง การเอาชนะด้วยธรรม ซึ่งเป็นแนวทางการสร้างสัมพั นธไมตรีของ
พระเจ้ า อโศกมหาราช โดยยึ ด หลั ก ความสั น ติ ข องพระพุ ท ธศาสนาเป็ น ที่ ตั้ ง เพื่ อ ให้
สอดคล้ อ งกั บ คํ า สอนของพระพุ ท ธเจ้ า ที่ ท รงเน้ น ว่ า ผู้ ป กครองประเทศนอกจากจะมี
คุณธรรมของผู้ปกครองและมีความสามารถในการบริหารประเทศของตนให้สุขสงบแล้ว
ยังต้องสร้างสัมพันธไมตรีกับมิตรประเทศข้างเคียง เพื่อความเข้าใจอันดีและอยู่ร่วมกัน
อย่ า งสั น ติ ด้ ว ย การสร้ า งสั ม พั น ธไมตรี ด้ ว ยแนวทางธรรมวิ ชั ย จึ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง
ความสําคัญของพระพุทธศาสนาว่า เป็นศาสนาแห่งสันติหรือเน้นการสร้างความสัมพันธ์ที่
ดีด้วยสันติวิธี
3. ตอบ ข้อ 4. สาราณียธรรม หมายถึง หลักการอยู่ร่วมกันเพื่อให้เกิดความสามัคคี อยู่ด้วยกันได้อย่าง
กลมกลืน นึกถึงซึ่งกันและกัน ซึ่งมี 6 ประการ ได้แก่ เมตตากายกรรม คือ กระทําต่อกันด้วย
เมตตา เมตตาวจีกรรม คือ การพูดต่อกันด้วยเมตตา เมตตามโนกรรม คือ การคิดถึงกันด้วย
เมตตา สาธารณโภคี คื อ การแบ่งปันสิ่งของให้แก่ กัน สีล สามัญญตา คือ เป็นผู้มีความ
ประพฤติเสมอกัน และทิฏฐิสามัญญตา คือ เป็นผู้มีความคิดเห็นเสมอกัน ดังนั้น การส่งยา
รักษาโรคไปช่วยผู้ประสบอุทกภัยในประเทศเพื่อนบ้าน จึงแสดงให้เห็นถึงการมีเมตตา
กายกรรม เพราะเป็นกระทําที่เกิดจากความมีเมตตาต่อกัน
4. ตอบ ข้อ 3. วิ ถี ชี วิ ต ของคนไทยผู ก พั น กั บ พระพุ ท ธศาสนามาอย่ า งช้ า นาน โดยคํ า สอนของ
พระพุทธศาสนาได้แทรกซึมเข้าไปยังจิตใจของคนไทย ตลอดถึงกิจกรรมแทบทุกด้านของ
ชีวิต โดยเฉพาะในด้านจิตใจที่พระพุทธศาสนาได้หล่อหลอมให้คนไทยมีลักษณะนิสัยไม่

~ 57 ~
เหมื อ นกั บ ชนชาติใ ด คื อ เป็ นคนมีจิตใจกว้ างขวาง มีใ จบุญสุ นทาน รัก ในการให้และ
การทําบุญ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นมิตรกับคนอื่นได้ง่าย จนได้รับสมญา
นามว่า “สยามเมืองยิ้ม”
5. ตอบ ข้อ 4. ความสํ า คั ญ ของพระพุ ท ธศาสนาประการหนึ่ ง คื อ เป็ น สิ่ ง สร้ า งเอกลั ก ษณ์ ใ ห้ แ ก่
พุทธศาสนิกชนในสังคมไทย กล่าวคือ หลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนาสอนให้คน
ไทยเป็นผู้ที่มีความเมตตากรุณา มีจิตใจกว้างขวาง รู้จักให้อภัย ไม่เห็นแก่ตัว ไม่ยึดมั่นถือ
มั่ น เกิ น ไป เป็ น ต้ น ดั ง นั้ น คํา ว่ า “ไม่ เ ป็น ไร” ซึ่ งแสดงถึ งการไม่ ถื อโกรธ การให้ อ ภั ย
ตลอดจนการให้กําลังใจและการรู้จักปล่อยวาง ตปลง) จึงสะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์ของ
พุทธศาสนิกชาวไทยในด้านความเป็นคนมีใจกว้างและรู้จักปล่อยวาง
6. ตอบ ข้อ 1. พระพุทธศาสนามุ่งเน้นการพัฒนาทางด้านจิตใจมากกว่าวัตถุ เพราะจิตเป็นผู้บงการ สั่งการ
ให้กายและวาจาทําตามความต้องการของจิต ดังคํากล่าวที่ว่า “จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว”
ดังนั้น การพัฒนาจิตใจให้เป็นผู้รักในความมีระเบียบวินัย ความสามัคคี ความซื่อสัตย์ ความ
ไม่เห็นแก่ตัว ความขยันหมั่นเพียร ความไม่ประมาท ความพอดีความเหมาะสม ตลอดจน
สามารถระงับจิตไม่ให้เพลิดเพลินไปกับสิ่งยั่วยุทั้งหลาย จึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสําคัญเป็น
อย่างยิ่ง เพราะเมื่อจิตมีคุณธรรมทั้งหลายเหล่านี้แล้ว บุคคลก็ย่อมพูดและกระทําในสิ่งที่ดี
เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและบ้านเมือง ซึ่งจะช่วยให้เกิดการพัฒนาที่มั่ นคงและยั่งยืน
ต่อไป
7. ตอบ ข้อ 2. พระพุ ท ธศาสนาสอนให้ ค นทํ า ความดี แ ละละเว้ น จากการทํ า ความชั่ ว ทั้ ง ปวง โดย
พระพุทธศาสนาเน้นว่า คนเราจะต้องมี “หิริโอตตัปปะ” คือ ความละอายและเกรงกลัวต่อ
บาป ซึ่งมิใช่ความกลัวว่าจะถูกผู้อื่นตําหนิติเตียนแต่กลัวเพราะสิ่งนั้นเป็นความชั่วและรู้สึก
ละอายใจที่จะทําความชั่วนั้น ด้วยเหตุนี้จึงกล่าวว่า พระพุทธศาสนามีส่วนช่วยจรรโลงให้
สั ง คมมี ร ะเบี ย บและเกิ ด ความสงบสุ ข ซึ่ ง การจั ด ระเบี ย บสั ง คมตามแนวทางของ
พระพุทธศาสนานี้ สอดคล้องกับการนําเสนอภาพยนตร์โฆษณา “เมาไม่ขับ” และ “ไม่สูบ
บุหรี่ในที่สาธารณะ” เพื่อต้องการกระตุ้นให้คนเกิดความรู้สึกละอายที่จะขับขี่ยานพาหนะ
ขณะมึนเมาและสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ เพราะมีแต่จะสร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเอง
คนรอบข้าง ครอบครัว และสังคม
8. ตอบ ข้อ 3. พระพุ ท ธรู ป “ปางมารวิ ชั ย ” หรื อ “ปางผจญมาร” เป็ น สิ่ ง จํ า ลองเหตุ ก ารณ์ ท าง
พระพุทธศาสนาตอนหนึ่ง คือ ครั้งที่พญามารนามวสวัตดี มาผจญพระสิทธัตถะขณะทรง
นั่งสมาธิเพื่อแสวงหาหนทางดับทุกข์ แต่ต้องพ่ายแพ้กลับไป เพราะพระแม่ธรณีบีบมวยผม
บันดาลให้เป็นกระแสน้ําหลากมาท่วมกองทัพมาร ซึ่งหากพิจารณาตามภาษาธรรมแล้ว
“มาร” หมายถึง กิเลส ได้แก่ โลภะ โทสะ และโมหะ ที่ มารบกวนพระทัยพระสิทธัตถะณะ
นั่ ง สมาธิ ส่ ว นพระแม่ ธ รณี คื อ บารมี ทั้ ง 10 ที่ ท รงบํ า เพ็ ญ มา การอ้ า งพระแม่ ธ รณี

~ 58 ~
จึงหมายถึงการอ้างคุณความดีที่ทรงบําเพ็ญมา เพื่อใช้เป็นกําลังใจให้ต่อสู้กับอํานาจของ
กิเลสได้สําเร็จ ดังนั้น ข้อคิดที่ได้จากเหตุการณ์ครั้งนี้ คือ พึงเอาชนะกิเลสด้วยคุณความดี
9. ตอบ ข้อ 1. คุณธรรมสําคัญประการหนึ่งของพระสารีบุตร คือ เป็นผู้มีความกตัญํูกตเวทิตาธรรมเป็น
เลิศ ซึ่ ง เป็ นคุ ณธรรมที่ ค วรแก่ ก ารนํ ามาใช้ เป็นแบบอย่ างเพื่ อแสดงถึงการเป็น บุตรที่ ดี
ของบิดามารดาและการเป็นศิษย์ที่ดีของครูอาจารย์ เพราะความกตัญํูกตเวทิตา หมายถึง
ความเป็นผู้รู้คุณที่ท่านทําให้และสนองคุณของท่านด้วยการกระทําที่ดีและเหมาะสม ซึ่งการ
แสดงความกตัญํูกตเวทิตาต่อบิดามารดาและครูอาจารย์นั้น สามารถกระทําได้หลายวิธี
เช่ น เชื่ อ ฟั ง คํ า สั่ ง สอนของท่ า น ตั้ ง ใจศึ ก ษาเล่ า เรี ย นให้ สํ า เร็ จ ช่ ว ยแบ่ ง เบาธุ ระต่ า งๆ
ของท่าน ไม่สร้างความทุกข์กายและทุกข์ใจให้แก่ท่าน ดูแลท่านให้มีความสุขกายสบายใจ
เป็นต้น
10. ตอบ ข้อ 2. ราโชวาทชาดก เป็นเรื่องราวที่สั่งสอนให้ผู้นําประเทศปกครองประเทศโดยธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริต ไม่คดโกง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สุขของประชาราษฎร์เ ป็นสําคัญ โดยข้อคิด
สําคัญที่ได้จากเรื่องราโชวาทสามารถสรุปได้ 2 ประการ คือ 1. ผู้ปกครองที่ดีต้องประพฤติ
ตนเป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อให้ผู้น้อยปฏิบัติตาม ซึ่งจะช่วยให้สังคมสงบสุข และ 2. ธรรมหรือ
คุณความดีนํามาซึ่งความสงบร่มเย็นของบ้านเมือง ผู้ปกครองที่ประพฤติธรรม จึ งทําให้
ประชาราษฎร์อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข ดังนั้น ข้อคิดที่สอดคล้องกับข้อคิดจากเรื่องราโชวาท
ชาดก คือ มือสะอาดชาติไม่ล่ม เพราะเน้นให้นักปกครองพัฒนาชาติบนพื้นฐานของความ
ซื่อสัตย์สุจริต
11. ตอบ ข้อ 4. ทุกข์ เป็นความจริงอันประเสริฐข้อหนึ่งในอริยสัจ 4 หมายถึง ความจริงว่าด้วยความทุกข์
ความไม่ ส บายกาย ไม่ ส บายใจ ดั ง นั้ น ความทุ ก ข์ ที่ ป รากฏให้ เ ห็ น ในข้ อ ความ คื อ
การเจ็บป่วยของแม่ การเสียชีวิตของแม่ และการโศกเศร้าเสียใจเพราะการจากไปของแม่
12. ตอบ ข้อ 3. สติปัฏฐาน 4 หมายถึง ที่ตั้งของสติ เป็นองค์มรรคข้อหนึ่งในมรรคมีองค์ 8 และเป็นหนึ่ง
หนทางแห่งการดับทุกข์ มุ่งเน้นให้บุคคลพิจารณาโลกตามความจริงและดํารงชีวิตอยู่บน
ความไม่ประมาท ดังเช่นพระดํารัสของพระพุทธเจ้าที่ว่า “สิ่งทั้งหลายที่ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น
ย่อมมีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจงยังประโยชน์ที่มุ่งหมายให้สําเร็จด้วย
ความไม่ ป ระมาทเถิ ด ” ดั ง นั้ น ความทุ ก ข์ ที่ ก ะทิ แ ละคนรอบข้ า งกํ า ลั ง เผชิ ญ อยู่ นั้ น
สติปัฏฐาน 4 มีความสําคัญในแง่ของการช่วยขจัดให้ทุกข์นั้นสิ้นไป ด้วยการใช้สติพิจารณา
ภายในกาย ให้รู้เห็นตามความเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียงกายไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่
ตัวตนของเรา ไม่ใช่ตัวตนของเขา ซึ่งจะช่วยให้จิตปล่อยวาง ไม่ยึดมั่นถือมั่น ความโศกเศร้า
เสียใจซึ่งเป็นทุกข์ก็จะน้อยลง

~ 59 ~
13. ตอบ ข้อ 4. พระไตรปิฎก แปลว่า คัมภีร์ 3 หมายถึง คัมภีร์ที่บรรจุหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา
ซึ่งแบ่งโครงสร้างออกเป็น 3 หมวดใหญ่ ได้แก่
1. พระวินัยปิฎก คือ ส่วนที่ว่าด้วยสิกขาบท หรือศีลของภิกษุและพระภิกษุณี
2. พระสุ ต ตั น ตปิ ฎ ก คื อ ส่ ว นที่ ว่ า ด้ ว ยพระธรรมเทศนาของพระพุ ท ธเจ้ า
ตและของพระสาวกบางส่วน) ที่ทรงแสดงแก่บุคคลต่างๆ ในวาระโอกาสต่างกัน
3. พระอภิธรรมปิฎก คือ ส่วนที่ว่าด้วยการอธิบายหลักธรรมในรูปวิชาการ ไม่เกี่ยวด้วย
บุคคลและเหตุการณ์
ดังนั้น ตัวเลือกข้อที่ 4. จึงเป็นคําตอบที่ถูกต้อง
14. ตอบ ข้อ 1. พุทธศาสนสุภาษิต “ทุสุโข ปุํฺญสฺส อุจฺจโย” แปลว่า การสั่งสมบุญนําสุขมาให้ หมายถึง
การทํ า บุ ญย่ อมให้ค วามสุขแก่ผู้ก ระทํา ทั้งนี้ เพราะการทําบุญหรือ การให้ทาน ถือเป็น
การขั ด เกลากิ เ ลส ทํ า ให้ จิ ต ใจผ่ อ งใส ทํ า ให้ เ ป็ น คนดี มี ศี ล ธรรม เป็ น ต้ น ดั ง นั้ น
พุทธศาสนิกชนชาวไทยจึงนิยมทําบุญและให้ทาน เพราะเมื่อทําแล้วก่อให้เกิดความสุขและ
มีค วามเชื่ อมาแต่โบราณว่า การสั่งสมบุญไว้ขณะยั งมีชีวิตอยู่ จะส่งผลให้ไ ด้ขึ้นสวรรค์
เมื่อตายไปส่วนพุทธศาสนสุภาษิต “ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา” แปลว่าเหย้าเรือนที่ปกครองไม่ดี
นําทุกข์มาให้ พุทธศาสนสุภาษิต “อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย” แปลว่าชนะตนนั้นแลดีกว่า และ
พุทธศาสนสุภาษิต “ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ ” แปลว่าผู้บูชาย่อมได้รับการบูชา
ตอบ ผู้ไหว้ย่อมได้รับการไหว้ตอบ
15. ตอบ ข้อ 2. การบรรยายเพื่ อเผยแผ่ศ าสนา ถือเป็นการฝึก บทบาทของตนในการช่วยเผยแผ่ศาสนา
ซึ่งเป็นหนึ่งในหน้าที่ของศาสนิกชน โดยในการบรรยายนั้น มีข้อปฏิบัติที่ควรคํานึงถึง ดังนี้
1. อย่าดูหมิ่นศาสนาอื่น ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม เพราะศาสนาเป็นเรื่องของ
ความศรัทธา จึงควรให้เกียรติและเคารพซึ่งกันและกัน
2. ต้องดูกาลเทศะที่เหมาะสม ไม่บรรยายหรืออธิบายพร่ําเพรื่อ ไปในงานพิธีกรรมของ
ศาสนาอื่น ไม่ควรพูดถึงแต่ศาสนาของตน
3. หลีกเลี่ยงการเปรีย บเทียบหากรู้น้อยหรือรู้ไ ม่จริง เมื่อจําเป็นต้องเปรีย บเทียบกั บ
ศาสนาอื่น ควรแยกให้ออกว่าอะไรเป็นข้อเท็จจริง อะไรเป็นความเห็น
16. ตอบ ข้อ 3. การเตรียมการเพื่อจัดพิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ควรปฏิบัติดังนี้
1. ผู้จัดกําหนดวัน เวลา สถานที่ที่แน่นอน ตสถานที่ควรจัดในหอประชุม)
2. จัดหาคณะกรรมการร่วมมือเพื่อดําเนินการประมาณ 4-5 คน
3. จัดเครื่องสักการะ ตกระทงดอกไม้ ธูปแพ เทียนแพ) ให้พร้อม
4. นิมนต์พระ 7 หรือ 9 รูปตามศรัทธา
5. เตรียมจัดที่บูชาพระพร้อมอาสน์สงฆ์เท่าจํานวนพระที่นิมนต์มา

~ 60 ~
17. ตอบ ข้อ 4. คุ ณ ค่ า สํ า คั ญ ประการหนึ่ ง ของศาสนพิ ธี คื อ เป็ น ตั ว สร้ า งความรั ก ความสามั ค คี ใ น
หมู่ศาสนิกชน เพราะศาสนพิธี หมายถึง พิธีกรรมทางศาสนาที่กําหนดขึ้นเพื่อให้ศาสนิกชน
ได้ถือปฏิบัติตามแบบอย่างเดียวกัน ทําให้ศาสนิกได้มีโอกาสมาพบเจอและช่วยเหลือกัน
เพื่ อ ประกอบศาสนพิ ธี ซึ่ ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความรั ก ความสามั ค คี ความเมตตาต่ อ กั น
สร้างสํานึกแห่งความรู้สึกเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน พร้อมจะช่วยเหลือและปฏิบัติดีต่อกันใน
ทุกด้าน ทุกเวลา ดังนั้น เมื่อคนในสังคมมีความรัก มีความสามัคคี มีความเมตตาต่อกัน
สังคมนั้นก็จะเป็นสังคมแห่งความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียว
18. ตอบ ข้อ 1. วันขึ้น 15 ค่ําเดือน 3 ตรงกับวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา คือ วันมาฆบู ชา ซึ่งเป็นวันที่
ปรากฏเหตุการณ์อันน่าอัศจรรย์ยิ่งขึ้นในพระพุทธศาสนา นั่นคือ พระอรหันตสาวก จํานวน
1,250 รู ป มาประชุ ม พร้ อ มกั น โดยมิไ ด้ นัด หมาย ณ เวฬุ วัน มหาวิ หาร กรุ งราชคฤห์
พระพุ ทธเจ้าจึงทรงพระธรรมเทศนา “พระโอวาทปาฏิโมกข์ ” โดยมีใจความสําคัญ คือ
“การไม่ทําความชั่วทั้งปวง การทําแต่ความดี และการทําจิตใจให้สะอาดบริสุทธิ์”
19. ตอบ ข้อ 2. การบริจ าคซะกาตของชาวมุ ส ลิม มี วัตถุ ประสงค์ เพื่ อแสดงให้เห็ นถึ งความศรัทธาที่ มี
ต่ออัลลอฮ์ และเพื่อซักฟอกทรัพย์สินที่หามาได้ด้วยความสุจริตให้บริสุทธิ์ อีกทั้งยังช่วย
ชําระขัดเกลาจิตใจของผู้เป็ นเจ้าของทรัพย์สินให้สะอาด ลดความตระหนี่ ความเห็นแก่ตัว
ไม่ให้เกิดความละโมบ และให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งสอดคล้องกับการถวายเครื่องไทย
ธรรมของพุทธศาสนิกชน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อถวายความอุปถัมภ์แด่พระภิกษุสงฆ์ และ
ลดความตระหนี่ ความเห็นแก่ตัวของผู้ถวาย ช่ วยไม่ให้เกิดความละโมบ และให้มีความ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นต้น
20. ตอบ ข้อ 3. การเปิดประชาคมอาเซียนอย่างเป็นรูปธรรมใน พ.ศ. 2558 ตค.ศ. 2015) จะทําเราให้ได้พบ
เจอหรือติดต่อกับบุคคลจากหลายเชื้อชาติ หลายศาสนา ที่มีความแตกต่างกันในด้านของ
ความเชื่อ ความศรัทธา และพิ ธีกรรม ดังนั้น สิ่งที่ศาสนิกชนควรปฏิบัติต่อกันเพื่อการอยู่
ร่วมกันอย่างสันติสุข คือ ควรศึกษากฎเกณฑ์ ข้อห้าม ความแตกต่างและความกลมกลืนของ
ทุกศาสนา เพื่อจะได้ปฏิบัติต่อกั นอย่างถูกต้อง ไม่ผิดใจกัน หรือถูกเข้าใจผิดว่าไปดูถูก
ดูหมิ่นสิ่งเคารพหรือบุคคลที่เขานับถือ เป็นต้น นอกจากนั้น ศาสนิกชนควรมีความจริงใจ
ต่อกั น อย่ า ยึ ดความเห็น ของตนเป็ นใหญ่ อย่ า เปรีย บเที ย บว่ าศาสนาใดดีก ว่า กั น และ
อย่าพยายามเปลี่ยนให้ศาสนิกชนศาสนาอื่นมานับถือศาสนาของตน
21. ตอบ ข้อ 4. ประโยชน์ สํ า คั ญ ข้ อ หนึ่ ง ของการบริ ห ารจิ ต และการเจริ ญ ปั ญ ญา คื อ ทํ า ให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ มี
สติสัมปชัญญะอยู่เสมอ มีความรู้เท่าทันปรากฏการณ์ และรู้จักยับยั้งชั่งใจได้อย่างดีเยี่ยม
ซึ่ง ความมี ส ติรู้ตัวอยู่ เ สมอและรู้จัก ยั บยั้ งชั่ งใจนี้ จะช่วยให้บุคคลลดความประมาทใน
การขับขี่ยานพาหนะลง ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุและการสูญเสียเสียชีวิตน้อยลงตามมา

~ 61 ~
22. ตอบ ข้อ 3. วิธีคิดแบบปลุกเร้าคุณธรรม หรือ วิธีคิดแบบสร้างสรรค์ หมายถึง การคิดหาเหตุผลหรือ
อุบายเพื่อให้เกิดการกระทําที่เป็นกุ ศล เช่น หากนักเรีย นคิดว่าการทําการบ้านเป็นเรื่อง
น่าเบื่อและทําให้ร่างกายเหน็ดเหนื่อย จึงควรนอนเอาแรงเสียก่ อน แล้วค่อยตื่นมาทําหรือ
ปล่อยไว้ค่อยทําเพราะยังไม่ต้องรีบส่ง การคิดเช่นนี้ถือว่าเป็นความประมาท เป็นความคิด
ในเชิงไม่สร้างสรรค์ แต่หากนักเรียนคิดว่าควรรีบทําการบ้านให้เสร็จ เพื่อจะได้มีเวลาไป
ปฏิบัติกิจธุระอื่นต่อ และจะได้ไม่ต้องเหนื่อยในภายหลังเพราะต้องรีบทําการบ้านส่งให้
ทันเวลา การคิดเช่นนี้เรียกว่า การคิดแบบปลุกเร้าคุณธรรม ซึ่งมีส่วนในการปลูกฝังนิสัย
บุคคลไม่ให้เป็นคนผัดวันประกันพรุ่งได้
23. ตอบ ข้อ 1. ข้อปฏิบัติในการบริหารจิตและเจริญปัญญาที่ถูกต้องและเหมาะสม คือ
1. เลือกสถานที่ให้เหมาะสม เช่น ไม่เป็นที่อับลม ไม่มีเสียงดังรบกวน เป็นห้องสําหรับ
ฝึกสมาธิ เป็นต้น
2. เลือกเวลาที่เหมาะสม ซึ่งไม่ควรเป็นช่วงที่เพิ่งรับประทานอาหารอิ่มใหม่ หรือเวลาที่
เพิ่งกลับจากทํางานเหนื่อยๆ
3. ทําการสมาทานศีล โดยการนิมนต์พระมาให้ศีล หรือตั้งจิตงดเว้นด้วยตนเอง เพื่อให้
จิตเกิดความสงบ และบริสุทธิ์
4. นมัสการพระรัตนตรัย โดยการสวดรําลึกถึงคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
5. แผ่เมตตา เพื่อส่งความปรารถนาดีไปยังสรรพสัตว์ทั้งหลาย โดยเริ่มจากแผ่เมตตาให้
ตนเอง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย และสรรพสัตว์ทั้งหลายตามลําดับ
6. ตั ด กั ง วล หมายถึ ง การตั ด ความห่ ว งทุ ก อย่ า งให้ ห มดสิ้ น ไป ไม่ คิ ด ถึ งเรื่ อ งใดๆ
นอกจากกําหนดเฉพาะเรื่องที่ฝึกสมาธิอยู่ในขณะนั้น
24. ตอบ ข้อ 2. โลกและสังคมมนุษย์ ในกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกยุคปัจจุบัน เรียกว่าอยู่ ในยุ ค
แห่งการ “บริโภคนิยม” หมายถึง การได้กินมากๆ กินดีๆ และใช้มากๆ ใช้ดีๆ มีความพอใจ
ในวัตถุและความหรูหราฟุ่มเฟือย ซึ่งทําให้เกิดความโลภขึ้นในตัวบุคคล นําไปสู่การเห็นผิด
และประพฤติผิด พระพุทธศาสนาซึ่งเน้นความสุขสงบทางจิตใจมากกว่าวัตถุ จึงมุ่งเน้น
การสอนให้พุทธศาสนิกชนเลือกเดินทางสายกลาง หรือ มัชฌิมาปฏิปทา โดยไม่ลุ่มหลง
หรือยึดติดอยู่ กับวัตถุจนขาดการพิจารณาด้วยสติ ละเลยหลักคุณธรรม จริย ธรรม ซึ่งจะ
ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและสังคมตามมา
25. ตอบ ข้อ 1. หลักธรรมที่เกี่ยวกับความรักและความเมตตากรุณาที่ปรากฏอยู่ในทุกศาสนา นับว่ามีส่วน
สําคัญต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุขของศาสนิกชน เพราะความรักและความ
เมตตา ช่วยขจัดความขัดแย้งของคนในสังคม ช่วยลดความเห็นแก่ตัวของบุคคล สอนให้มี
น้ําใจไมตรีต่อกัน สมัครสมานสามัคคีกันเพื่อสร้างประโยชน์ต่อส่วนรวม ซึ่งเมื่อศาสนิกชน

~ 62 ~
ทุกคนมีคุณธรรมข้อนี้อยู่ในตนแล้ว ก็ย่อมทําให้สังคมเกิดความสงบสุขและมีการพัฒนาที่
มั่นคง
26. ตอบ ข้อ 2. การทํานิติกรรมซื้อบ้านพักตากอากาศของผู้เยาว์ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบ
ธรรมก่อน ถ้าฝ่าฝืนจะมีผลเป็นโมฆียะ โดยผู้แทนโดยชอบธรรมอาจบอกล้างนิติกรรมใน
ภายหลังได้
27. ตอบ ข้อ 1. การหมั้นจะมีผลสมบูรณ์เมื่อฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้นให้แก่
หญิงแล้ว
28. ตอบ ข้อ 4. การเคารพในความแตกต่างของบุคคล เป็นพื้นฐานของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
29. ตอบ ข้อ 3. การตั้งใจศึกษาหาข้อมูลเพื่อไปทํารายงาน เป็นการปฏิบัติตนตามบทบาทของนักเรียนได้
อย่างเหมาะสม
30. ตอบ ข้อ 2. รณรงค์ ต่ อ ต้ า นสิ่ ง เสพติ ด เป็ น กิ จ กรรมที่ ช่ ว ยส่ ง เส ริ ม ความเป็ น พลเมื อ งดี ต ามวิ ถี
ประชาธิปไตย ให้แก่เยาวชน เป็นการปลูกฝังให้เยาวชนเห็นถึงโทษของสิ่งเสพติด เพื่อที่จะ
ได้ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่งเสพติดทุกชนิด
31. ตอบ ข้อ 3. สถาบันการศึกษามีบทบาทสําคัญในการพัฒนาความรู้ความสามารถของคนในสังคมให้มี
คุณภาพ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่สําคัญที่ส่งผลต่อความเจริญของชาติในอนาคต
32. ตอบ ข้อ 1. สถาบันศาสนา มีบทบาทหน้าที่ในการช่วยจัดระเบียบทางสังคม นอกเหนือจากการควบคุม
โดยใช้ตัวบทกฎหมาย
33. ตอบ ข้อ 2. สถาบันเศรษฐกิจ มีบทบาทที่สําคัญในฐานะที่เป็นกลไกในการกระจายสินค้าและบริการ
แก่สังคม
34. ตอบ ข้อ 4. พิ ธี ส าบานตน เป็ น พิ ธี อั นศั ก ดิ์ สิ ทธิ์ ข องศาสนาพราหมณ์ ที่ ท ราบกั น โดยทั่ว ไป ได้ แ ก่
พิธีถือน้ําพิพัฒน์สัตยา ซึ่งเป็นพิธีสาบานตนในการเข้ารับราชการของข้าราชการ เป็นต้น
35. ตอบ ข้อ 1. แกงไตปลากับผักสด เป็นอาหารที่นิยมของชาวใต้ ซึ่งจะมีรสจัด ต้องรับประทานกับผักสด
36. ตอบ ข้อ 3. การเข้ า ร่ ว มแข่ ง ขั น ตอบปั ญ หากฎหมาย เป็ น กิ จ กรรมที่ ส อดคล้ อ งกั บ วั ฒ นธรรมด้ า น
เนติธรรม
37. ตอบ ข้อ 2. รัฐมนตรีซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้อง มีอํานาจตามกฎหมายในการเสนอร่างพระราชกฤษฎีกาต่อ
คณะรัฐ มนตรี ใ ห้พิ จ ารณา โดยร่ า งพระราชกฤษฎีก านั้น จะต้ อ งไม่ ขัด ต่ อ รัฐ ธรรมนู ญ
พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนดที่เกี่ยวข้อง
38. ตอบ ข้อ 4. การเสนอกฎหมายของภาคประชาชน ต้องมีประชาชนผู้มี สิทธิเลือกตั้งจํานวนไม่น้อยกว่า
หนึ่งหมื่นคนร่วมลงชื่อเสนอกฎหมายต่อรัฐสภา เป็นการแสดงถึงการมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของประชาชน
39. ตอบ ข้อ 1. การจํากัดข้อมูลข่าวสาร ไม่ใช่ขั้นตอนของการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร

~ 63 ~
40. ตอบ ข้อ 3. การใช้ วิจารณญาณในกาชมภาพยนตร์ที่มีความรุนแรง เป็นพฤติก รรมที่ส อดคล้องกั บ
การเลือกรับ ข้ อมู ล ข่ า วสาร โดยจะต้องแยกแยะข้อดีและข้อเสีย ที่เกิ ดจากการรับข้อมูล
ข่าวสารได้
41. ตอบ ข้อ 3. พันธบัตรรัฐบาล คือ ตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาล ผู้ที่ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลมีฐานะ
เป็ นเจ้า หนี้ ซึ่งจะได้ผลตอบแทนในรูปดอกเบี้ย และจะได้รับเงินคืนตามเวลาที่ระบุไ ว้
การลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลจึงมีความเสี่ยงต่ํา เพราะรัฐบาลเป็นผู้กู้เงินเอง
42. ตอบ ข้อ 1. อาชีพวิศวกรถือเป็นแรงงานมีฝีมือ เพราะเป็นผู้ที่รับการอบรมความรู้เฉพาะทางมาเป็น
อย่างดี มีความรู้และความชํานาญในอาชีพสูง
43. ตอบ ข้อ 3. การคํานึงถึงปริมาณลูกจ้างแรงงานและปริมาณการผลิตที่สัมพันธ์กันเป็นการใช้ทรัพยากร
การผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ
44. ตอบ ข้อ 2. การดําเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิ่น ควรมุ่งเน้นการพึ่งพาตนเอง
เป็นหลัก มีความรอบคอบ และอยู่บนพื้นฐานของเหตุผล ก็จะช่วยให้ธุรกิจมีความเข้มแข็ง
และมีภูมิคุ้มกันที่ดี
45. ตอบ ข้อ 4. เพราะการใช้เงินทุนสูงในธุรกิจ รวมถึงการกู้เงินจากแหล่งต่ างๆ ก่อให้เกิดหนี้ ซึ่งขัดกับ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุ่งดําเนินธุรกิจอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่ก่อหนี้ ไม่ทําอะไร
เกินตัว
46. ตอบ ข้อ 3. การไม่ มี ป้ า ยราคาติ ดแสดงไว้ บ นสิน ค้ า ถื อเป็ น การละเมิด สิ ท ธิผู้ บ ริ โ ภคประการหนึ่ ง
ผู้ประกอบการที่ไม่แสดงราคาสินค้าย่อมมีความผิดตามกฎหมาย
47. ตอบ ข้อ 2. พฤติกรรมการบริโภคที่ดีนั้น ผู้บริโภคจะต้องมีวิจารณญาณในการพิจารณาคุณภาพสินค้า
ไม่หลงเชื่อคําโฆษณาโดยง่าย ก็จะช่วยปกป้องคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคของตนเองได้
48. ตอบ ข้อ 4. ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ผู้ผลิตสามารถผลิตสินค้าได้อย่างเสรี ทําให้การแข่งขันมีสูง
โดยผู้ผลิตจะพยามลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพสูงอยู่เสมอ ผู้บริโภคจึง
ได้รับประโยชน์จากการมีสินค้าให้เลือกหลากหลาย มีคุณภาพดี และราคาถูก
49. ตอบ ข้อ 3. ในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม รัฐบาลจะเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตของสังคมทั้งหมด
นอกจากนี้รัฐยังเป็นผู้ดําเนินการผลิต การแลกเปลี่ยน และการแจกจ่ายผลผลิตต่างๆ
50. ตอบ ข้อ 2. การพึ่ง พาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย จะทําให้ผู้ผลิตสามารถเข้าถึง
วัตถุดิบทางการผลิตได้โดยง่าย จึงเกิดผลดีทําให้ต้นทุนการผลิตสินค้าลดลง
51. ตอบ ข้อ 1. ประเทศไทยมีผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพดี เป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าเกษตรกรรม
เป็นอันดับต้นๆ ของโลก จึงถือได้ว่ามีความได้เปรียบในตลาด ซึ่งรัฐควรมีการส่งเสริมเพื่อ
นําไปสู่การเป็นผู้นําทางด้านสินค้าเกษตรกรรม

~ 64 ~
52. ตอบ ข้อ 1. เพราะทรัพยากรทุน เช่น เครื่องจักร โรงงาน เงินทุน เป็นปัจจัยสําคัญในการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรม ประเทศที่มีทรัพยากรทุนมาก มักเป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงมีความได้เปรียบทางการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
53. ตอบ ข้อ 3. ประเทศคูเวต บรูไน และซาอุดี อาระเบีย เป็นกลุ่ มประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีทรัพยากร
น้ํามันมาก มีรายได้จากการขายน้ํามันจํานวนมหาศาล สร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจให้แก่
ประเทศของตน
54. ตอบ ข้อ 4. การที่ประเทศไทยจะสามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจกับประเทศต่างๆในภูมิภาคเอเชียได้นั้น
สิ่งสําคัญประการหนึ่งจะต้องเร่งสร้างเสริมความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจภายในประเทศ โดย
เน้นการใช้สินค้าภายในประเทศ ลดการพึ่งพาสินค้าจากภายนอก และเร่งพัฒนาคุณภาพ
สินค้าต่างๆ ให้สูงขึ้นเพื่อเพิ่มปริมาณการส่งออก ทําให้ประเทศมีดุลการค้าเกินดุล
55. ตอบ ข้อ 1. ตลาดสิ น ค้ า ในภู มิ ภ าคเอเชี ย มี ก ารขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า มี จํ า นวนมาก
การแข่ ง ขั นจึง สูง ดัง นั้น สินค้ าที่จ ะสามารถแข่ง ขันในตลาดได้และเป็น ที่ต้อ งการของ
ผู้บริโภค คือ สินค้าที่มีคุณภาพสูงแต่มีราคาต่ํา
56. ตอบ ข้อ 4. เอกสารทางราชการมีระเบียบในการเขียนและการตรวจสอบความถูกต้องจากหน่วยงาน จึง
มีความน่าเชื่อถือกว่าบันทึกส่วนบุคคลที่เขียนขึ้นตามความรู้สึกนึกคิด และอาจแฝงความ
คิดเห็นส่วนตัวลงไป
57. ตอบ ข้อ 3. หลักฐานดังกล่า วไม่น่าเชื่อถือ เพราะระบุเวลาเป็น ร.ศ. ซึ่ง ร.ศ. นั้นเกิ ดขึ้นภายหลังใน
สมัยรัตนโกสินทร์ หากเทียบ ร.ศ. 130 เป็น พ.ศ. ให้บวกด้วย 2324 จะตรงกับ พ.ศ. 2436
ซึ่งไม่ใช่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา
58. ตอบ ข้อ 1. พระยาตาก (สิ น ) ได้ ย้ า ยราชธานี ม าอยู่ ที่ ก รุ ง ธนบุ รี จั ด เป็ น ความจริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน
ประวัติศาสตร์
59. ตอบ ข้อ 4. เหตุผ ลที่ เลื อกกรุง ธนบุ รีเ ป็นราชธานี เช่ น กํ าลังพลน้อ ย กรุ งศรี อยุ ธ ยาทรุ ดโทรมมาก
กรุงธนบุรีอยู่ไม่ไกลจากกรุงศรีอยุธยา เป็นเมืองป้อมปราการป้องกันข้าศึกโจมตี เป็นต้น
จัดเป็นข้อเท็จจริง ซึ่งเป็นเหตุผลอธิบายว่า ทําไมพระยาตาก (สิน) จึงย้ายราชธานีมาอยู่ที่
กรุงธนบุรี
60. ตอบ ข้อ 4. จากข้อความที่ยกมา เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นใน พ.ศ. 1985 ซึ่งตรงกับสมัยสมเด็จพระบรม
ราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) โดยประโยค “เสด็จไปเอาเมืองเชียงใหม่ แลเข้าปล้นเอา
เมืองมิได้” ตีความได้ว่า เสด็จไปตีเมืองเชียงใหม่แต่เอาชนะไม่ได้ ขณะที่ประโยค “พอทรง
พระประชวรแลทั พ หลวงเสด็ จ กลั บ คื น ” ตี ความได้ ว่ า พอทรงประชวรจึ ง ยกทั พ กลั บ
ซึ่งสอดคล้องกับข้อ 4.
61. ตอบ ข้อ 2. หากคนไทยทั้งหลายไม่มีความสามัคคีร่วมมือร่วมใจกัน อาศัยเพียงแต่ความสามารถของ
ผู้นําเพียงคนเดียว ก็คงไม่สามารถสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นมาได้สําเร็จ

~ 65 ~
62. ตอบ ข้อ 1. กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ในแหล่งอารยธรรมของแคว้น โบราณบริเวณลุ่มแม่น้ําเจ้าพระยา เช่น
ทวารวดี ละโว้ สุพรรณภูมิ ทําให้มีพื้นฐานความเจริญรุ่งเรืองด้านสังคมและวัฒนธรรมมา
ก่อน จึงสนับสนุนให้อาณาจักรอยุธยามีความเจริญรุ่งเรืองด้านสังคมและวัฒนธรรม
63. ตอบ ข้อ 3. การแบ่ ง หน้า ที่ ข องอัค รมหาเสนาบดีใ นการควบคุมกํ าลังพลออกเป็นฝ่ายทหารกับฝ่าย
พลเรือนนั้น ก็เพื่อแบ่งหน้าที่ในการดูแลควบคุมกําลังคนทั่วราชอาณาจักร ทําให้เกิดความ
สะดวกในการปกครองกําลังคน และมีความเป็นระเบียบแบบแผน อย่างไรก็ดี หน้าที่ฝ่าย
ทหารและพลเรือนที่แยกจากกันนี้เป็นอยู่ในขณะที่บ้านเมืองปกติ แต่หากเกิดศึกสงคราม
ขุนนางทั้ง 2 ฝ่ายจะต้องรวมกําลังกันป้องกันบ้านเมือง
64. ตอบ ข้อ 2. การค้าต่างประเทศเป็นแหล่งรายได้สําคัญของอาณาจักรอยุธยาที่นํามาใช้ในการพัฒนา
ประเทศในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายเบี้ยหวัดให้แก่เจ้านายและขุนนาง การสร้างวัง วัด
และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การซื้ อสินค้าที่จําเป็นจากต่างประเทศ รวมทั้งอาวุธ และการพัฒนา
ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
65. ตอบ ข้อ 1. พระคลั ง สิ น ค้ า เป็ น หน่ ว ยงานที่ ค วบคุ ม การค้ า กั บ ต่ า งประเทศ โดยมี ห น้ า ที่ สํ า คั ญ คื อ
ตรวจเรือสินค้ าต่า งประเทศเพื่ อเลือกซื้อสินค้าที่ทางราชการต้องการไว้ก่อน เช่น อาวุ ธ
กระสุน และกําหนดสินค้าบางประเภทให้เป็น “สินค้าต้องห้าม” ซึ่งห้ามมิให้ราษฎรขาย
ให้แก่ชาวต่างประเทศ เช่ น รังนก งาช้าง นอแรด ไม้กฤษณา ไม้จันทน์ เป็นต้น ดังนั้น
จึงกล่าวได้ว่า การค้ากับต่างประเทศสมัยอยุธยาเป็นการผูกขาดโดยพระคลังสินค้า ซึ่งสร้าง
รายได้ให้แก่ราชอาณาจักรอย่างมาก
66. ตอบ ข้อ 3. ไพร่ทุกคนสามารถส่งเงินหรือสิ่งของตามที่ทางราชการหรือมูลนายกําหนดเป็นส่วยแทน
การเกณฑ์แรงงานได้
67. ตอบ ข้อ 1. การเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติตะวันตกทําให้อาณาจักรอยุธยาได้รับอาวุธที่มีประสิทธิภาพ
มาใช้ใ นการต่อสู้กั บข้ าศึ กที่เข้ ามารุกราน และมีทหารรับจ้างชาวต่างชาติอยู่ ในกองทัพ
จึงทําให้มีความเข้มแข็งทางการทหาร บ้านเมืองมีความมั่นคง
68. ตอบ ข้อ 4. ในการควบคุมกําลังคนสมัยอยุธยากําหนดให้ไพร่ต้องสังกัดมูลนาย มูลนายจะต้องดูแลไพร่
ในแต่ละกรมกอง ซึ่งการควบคุมแรงงานไพร่ในแต่ละกรมจะมี การควบคุมเป็นลําดับชั้น
แต่ล ะกรมจะจัดทํ า บั ญชี ร ายชื่อและที่ อยู่ ของไพร่ หลวงที่สังกั ดกรมของตน ระบบการ
ควบคุ ม กํ า ลั ง คนเช่ น นี้ ส่ ง ผลดี ต่ อ อาณาจั ก รอยุ ธ ยา ทํ า ให้ ผู้ ค นสามารถรวมกั น ได้ เ ป็ น
กลุ่มก้อน ไม่กระจัดกระจาย และสามารถระดมคนได้หากเกิดสงคราม
69. ตอบ ข้อ 1. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเล็งเห็นความสําคัญของการสร้างเอกภาพภายในชาติ
เพื่ อให้เกิ ดความสามั ค คี กั นในการป้องกั นราชอาณาจัก ร จึงทรงเร่งปราบชุมนุมต่างๆ
ที่ตั้งตัวเป็นอิสระ

~ 66 ~
70. ตอบ ข้อ 2. การกวาดต้อนทรัพย์สินและผู้คนของพม่า ทําให้ธนบุรีขาดแคลนทรัพย์และกําลังคนในการ
ฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจ
71. ตอบ ข้อ 3. เหตุ ก ารณ์ ที่ นํ า ไปสู่ ก ารจลาจลในกรุ งธนบุ รีเป็ นลํ าดั บแรก คื อ จวนพระยาอิน ทรอภั ย
ผู้รักษาเมืองกรุงเก่า ถูกชาวกรุงเก่ากลุ่มหนึ่งปล้น ประกอบด้วย ขุนสุระ นายบุนนาค บ้าน
แม่ลา กับขุนแก้ว น้องพระยาสรรค์ และพรรคพวก พระยาอินทรอภั ยสู้ไม่ได้จึงหลบหนี
มายัง กรุง ธนบุ รี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงรับสั่งให้พ ระยาสรรค์ไ ปสืบสวนคดี
แต่กลับไปเข้ากับพวกกบฏและยกกองกําลังมาตีกรุงธนบุรี
72. ตอบ ข้อ 1. เมื องธนบุ รีมี ทํ า เลที่ ตั้ง เหมาะสมแก่ ก ารเป็ นราชธานีใ นสมัย ธนบุรี กล่าวคือ ตั้งอยู่ ใ น
บริเวณที่มีน้ําลึกอยู่ใกล้ทะเล ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการโจมตีของข้าศึก อีกทั้งสามารถติดต่อ
ค้าขายและซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์จากพ่อค้าต่างชาติได้สะดวก การพิจารณาจากทําเลที่ตั้ง
เช่นนี้ก็ได้มีอิทธิพลต่อปัจจุบันเช่นกัน ดังเช่น เมืองชลบุรีที่อยู่ใกล้ทะเล นับว่าเป็นเมืองที่มี
ความสําคัญทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรม และยังคงเป็นที่ตั้งฐานทัพเรือและ
สนามบินขนาดใหญ่ที่มีความสําคัญต่อประเทศด้วย
73. ตอบ ข้อ 2. สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ที่ 1 (อู่ ท อง) ทรงนํ า ลั ท ธิ เ ทวราชาจากเขมรมาปรั บ ใช้ ทํ า ให้
พระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะเป็นเสมือนเทพเจ้า ที่ประชาชนต้องเคารพนับถือและทําตาม
พระราชประสงค์ของพระมหากษัตริย์ ทําให้สถาบันพระมหากษัตริย์ได้กลายเป็นสถาบัน
ทางการปกครองที่สําคัญของไทย
74. ตอบ ข้อ 3. เมื่ อพระมหาอุป ราชาแห่งกรุงหงสาวดีย กทั พ มาตีก รุง ศรีอยุ ธ ยาใน พ.ศ. 2135 ไทยส่ ง
กองทั พไปสู้รบแต่พ่ ายแพ้กลับมา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจึงยกทัพ หลวงไปตีสกั ด
ทั พ พม่ า แต่ เ นื่ อ งจากการให้ สั ญ ญาณไม่ ทั่ ว ถึ ง แม่ ทั พ บางคนตามไม่ ทั น ทํ า ให้
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถกับทหารรักษาพระองค์ส่วนน้อยตกอยู่
ในวงล้อมของข้ า ศึ ก สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงใช้ไ หวพริบท้าพระมหาอุปราชา
กระทํ า ยุ ท ธหั ต ถี กั น ซึ่ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง พระปรี ช าสามารถและความกล้ า หาญของ
พระองค์ไ ด้เป็นอย่า งดี หากไม่เช่นนั้นก็คงถูกพม่ารุมรบจนอาจส่งผลเสียใหญ่หลวงแก่
ชาติไทยก็ได้
75. ตอบ ข้อ 4. เนื่องจากในช่ วงเวลานั้น อยุ ธยาถูก ฮอลันดาคุกคามอย่างหนัก จนถึงกั บส่งเรือรบมาปิด
อ่าวไทย ทําให้ต้องเปิดการเจรจาและทําสนธิสัญญาระหว่างกัน ซึ่งเป็นสนธิสัญญาที่ทําให้
อยุธยาต้องเสียเปรียบ จากการกระทําของฮอลันดา ทําให้อยุธยาต้องหาวิธีที่จะนําอังกฤษมา
ถ่วงดุลอํานาจกับฮอลันดาแต่อังกฤษไม่สนใจ ภายหลังจึงหันไปกระชับความสัมพันธ์กับ
ฝรั่งเศสแทน และสามารถดําเนินนโยบายจนทําให้ไทยรอดพ้นจากการคุกคามของฮอลันดา
ได้ในที่สุด

~ 67 ~
76. ตอบ ข้อ 2. ออกพระวิสุทธสุนทร ตปาน) เข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้ถูกต้องตามธรรมเนียมการทูต
ฝรั่งเศส เพราะได้ศึก ษาธรรมเนียมการทูตจากคณะราชทูตฝรั่งเศสขณะโดยสารเรือไป
ฝรั่งเศสด้วยกัน
77. ตอบ ข้อ 2. นั ก เรี ย นควรเอาแบบอย่ า งของสมเด็ จ เจ้ า พระยามหากษั ต ริ ย์ ศึ ก (ทองด้ ว ง) และ
เจ้ า พระยาสุร สีห์ ตบุ ญ มา) ในเรื่ องการปกป้ องบ้า นเมือ ง ซึ่ง สามารถทํา ได้ โดยไม่ต้ อ ง
ทําสงคราม เช่น คอยสอดส่องดูแลความปลอดภัยของชุมชน หรือแจ้งผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่
ของรัฐเมื่อพบเจอบุ คคลที่มีพฤติกรรมที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชุมชนหรือสังคม
มีความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ของตน ช่วยเหลือประเทศในโอกาสต่างๆ เป็นต้น
78. ตอบ ข้อ 1. ลัทธิทหารนิยมที่เชื่อว่าอํานาจทางการทหารจะสร้างจักรวรรดิญี่ปุ่นให้ยิ่งใหญ่ได้เป็นปัจจัย
ผลักดันให้ญี่ปุ่นส่งกองทัพเข้ายึดครองดินแดนต่างๆ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
79. ตอบ ข้อ 2. ลัทธิขงจื๊อ มีหลักคําสอนในเรื่องความกตัญํูกตเวที การกราบไหว้บูชาบรรพบุรุษที่ล่วงลับ
ไปแล้ว การเน้นคุณธรรม จริยธรรม การศึกษาหาความรู้ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการดําเนินชีวิต
ของชาวจีนตั้งแต่สมัยโบราณมาจนถึงปัจจุบัน ลัทธิเต๋า มีหลักคําสอนที่เกี่ยวข้องกับการมี
ชีวิตอยู่กับธรรมชาติ ลัทธินิติธรรมหรือฟาเฉีย มีความเชื่อว่าโดยธรรมชาติมนุษย์เกิดมาเป็น
คนเลว มี กิเลสตัณหา จึงต้องควบคุมโดยวิธีการลงโทษผู้กระทําผิด และให้รางวัลแก่
ผู้กระทําความดี ส่วน พระพุทธศาสนา มีหลักคําสอนที่ให้คนละความชั่ว ทําแต่ความดี และ
ทําจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส โดยมีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ ความดับทุกข์หรือพ้นทุกข์
80. ตอบ ข้อ 4. หากกล่าวถึงอุตสาหกรรมในภูมิภาคเอเชียใต้ ประเทศอินเดียนับได้ว่ามีความเจริญก้าวหน้า
มากกว่าประเทศอื่นๆ เพราะมีวัตถุดิบ ได้แก่ แร่เหล็กและถ่านหินมาก สําหรับใช้ในการ
ประกอบอุ ต สาหกรรมหนั ก และอุ ต สาหกรรมประเภทอื่ น ๆ นอกจากนี้ ภาครั ฐ ยั ง ให้
ความสําคัญกับการลงทุนทั้งในด้านอุตสาหกรรม การค้า และบริการ ทําให้มีบริษั ทต่างชาติ
สนใจเข้ามาลงทุนมากขึ้น
81. ตอบ ข้อ 3. จักรวรรดิอาหรับตั้งอยู่บนดินแดนที่เชื่ อมเส้นทางการค้าในอดีต คือ เชื่อมระหว่างเอเชีย
แอฟริกาตะวันออก และมหาสมุทรอินเดีย ทําให้พ่อค้าอาหรับทําหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลาง
ออกเดินทางค้าขายไปยังดินแดนต่างๆ ทั้งทางบกและทางทะเล
82. ตอบ ข้อ 1. ดินแดนเอเชียกลางตั้งอยู่บนเส้นทางสายแพรไหม ซึ่งเป็นเส้นทางการค้ าที่สําคัญในอดีต
ทําให้ดินแดนนี้มีความสําคัญทางเศรษฐกิจในอดีต
83. ตอบ ข้อ 2. ราชวงศ์ชิ งแม้ว่าจะเป็นชาวแมนจูแต่ไ ด้ใ ช้อารยธรรมจีนปกครองชาวจีน ทําให้ชาวจีน
ยอมรับการปกครองของราชวงศ์ชิงแม้ว่าจะเป็นชาวต่างชาติ แสดงถึงการให้ความสําคัญต่อ
อารยธรรมมากกว่าผู้ปกครอง

~ 68 ~
84. ตอบ ข้อ 3. หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ําสินธุอยู่ที่เมืองโมเฮนโจ-
ดาโรและเมื อ งฮารั ป ปา (ปั จ จุ บั น อยู่ ใ นประเทศปากี ส ถาน) จากการศึ ก ษาจากแหล่ ง
โบราณคดีทั้ง 2 เมืองทําให้ทราบว่าพวกแรกที่สร้างอารยธรรมเริ่มแรกให้แก่อินเดีย คือ
พวกทราวิฑ หรือดราวิเดียน ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองดั้งเดิมของอินเดีย ภายหลังต่อมาถูกพวก
อารยันจากเอเชียกลางขับไล่ให้ถอยลงไปอยู่ทางใต้
85. ตอบ ข้อ 4. พระราชวัง หลวงสมั ย ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงที่นครปัก กิ่ งสร้างด้วยศิล ปกรรมจีน
หลากหลายแขนง โดยอดีตเคยเป็นที่ประทับของจักรพรรดิจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15-20
รวม 24 พระองค์ แต่ในปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ในพระราชวังเป็นแหล่งรวมและจัด แสดงของ
มีค่าของจีนตลอด 2,000 ปี
86. ตอบ ข้อ 4. เครื่องมือทางภูมิ ศาสตร์ที่ใ ช้ใ นการศึกษาการขยายตัวของเมืองสําคัญในทวีปยุโรป คือ
ภาพจากดาวเทียม เนื่อ งจากดาวเทียมมีวงโคจรแน่นอนจึงสามารถบันทึกข้อมูลได้อย่าง
ต่อเนื่อง ทําให้สามารถนําภาพจากดาวเทียมมาวิเคราะห์การขยายตัวของเมืองสําคัญในทวีป
ยุโรปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
87. ตอบ ข้อ 4. การนํา เสนอข้ อมู ล การนําเข้าสินค้าสําคัญของประเทศในทวีปแอฟริก า 10 อันดับแรก
ควรนําเสนอข้อมูลแบบแผนภูมิ เนื่องจากการนําเสนอข้อมูลแบบแผนภูมิทําให้ง่ายต่อการ
ทําความเข้าใจในเชิงปริมาณของมูลค่าของสินค้าแต่ละชนิดได้อย่างชัดเจน
88. ตอบ ข้อ 2. บริเวณที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นของทวีปยุโรป คือ คาบสมุทรอิตาลี เนื่องจากเป็น
บริเวณที่มีที่ราบลุ่มแม่น้ํา อันอุดมสมบูรณ์และเป็นที่ตั้งของเมืองสําคัญของประเทศอิตาลี
เช่น มิลาน ตูริน เวนิส เป็นต้น
89. ตอบ ข้อ 1. กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศในทวีปยุโรปที่สัมพันธ์กันมากที่สุด คือ สวีเดน การทํา
ป่าไม้ เนื่องจากสวีเดนอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้ไม่ผลัดใบและไม้สน เช่น ต้นเฟอร์ สปรูซ
ลาช บีช เป็นต้น และมีการจัดการดูแลพื้นที่ป่าไม้อย่างดี เน้นการปลูกป่าไม้ชดเชยพื้นที่ที่
ถูกตัดออกไป
90. ตอบ ข้อ 4. การที่ประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรปมีข้อจํากัดเรื่องขนาดพื้นที่และแรงงานภาคเกษตรกรรม
จึงมีการนําวิทยาการสมัยใหม่และเครื่องจักรกลเข้ามาช่วย มีการคิดค้นเทคนิควิธีต่างๆ เพื่อ
ช่วยเพิ่มผลผลิตและไม่ทําลายสิ่งแวดล้อม
91. ตอบ ข้อ 2. สาเหตุหลักที่ทําให้มีชุมชนชาวต่างชาติจากทุกทวีปเข้าไปพํานักอาศัยในยุโรปตะวันตก คือ
การเข้า ไปทํา งาน เนื่องจากการว่าจ้างแรงงานที่เป็นชาวยุโรปจะต้องจ่ายค่าแรงสูงและ
นายจ้างต้องดูแลจัดสวัสดิการต่างๆ ทําให้งานหลายประเภทโดยเฉพาะงานทางด้านบริการ
จําเป็นต้องพึ่งพาแรงงานจากต่างชาติทดแทน

~ 69 ~
92. ตอบ ข้อ 3. พิธีสารโตเกียวเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่ทวีปยุโรปมีบทบาทสําคัญในการผลักดันให้
เกิ ดขึ้ น โดยมี วัตถุป ระสงค์สําคัญอยู่ ที่ก ารลดการปล่อยแก๊ สเรือนกระจก 6 ชนิด ได้แก่
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน แก๊สไนตรัสออกไซด์ แก๊สไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน
แก๊สเปอร์ฟลูออโรคาร์บอน และแก๊สซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์
93. ตอบ ข้อ 4. การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ งของทวี ป ยุ โ รป เป็ น ปั จ จั ย ที่ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให้ เ กิ ด
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม เช่น มลพิษทางอากาศ ขยะและสิ่งปฏิกูล เป็นต้น
94. ตอบ ข้อ 3. ยุโรปให้ความสนใจในเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ดังนั้นจึงมีการกําหนดมาตรฐาน
ของสินค้าที่จะนําเข้าไปขายในยุโรปว่าจะต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นย่อมส่งผลให้
การผลิตสินค้าต้องมีการพัฒนามากขึ้น ต้นทุนในการผลิตสินค้าก็สูงขึ้น
95. ตอบ ข้อ 1. หากต้องการไปศึ กษาเกี่ ย วกั บแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ของทวีปแอฟริก า ควรไปสํารวจ
บริเวณหมายเลข 1 ซึ่งเป็นเขตลุ่มแม่น้ําไนล์ที่สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับพื้นที่แถบนั้น
จนทํ า ให้ เ กิ ด แหล่ ง อารยธรรมโบราณที่ สํ า คั ญ คื อ อารยธรรมอี ยิ ป ต์ ที่ เ จริ ญ รุ่ ง เรื อ ง
เมื่อ 5,000 ที่ผ่านมา
96. ตอบ ข้อ 2. บริเวณหมายเลข 1 คือ บริเวณลุ่มแม่น้ําไนล์ เป็นพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
เนื่ อ งจากเป็ น บริ เ วณที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ เหมาะสมในการตั้ ง ถิ่ น ฐาน มี เ มื อ งใหญ่
หลายเมือง เช่น กรุงไคโร เมืองอะเล็กซานเดรียของอียิปต์ เป็นต้น
97. ตอบ ข้อ 3. การยึดมั่นในวิถีชีวิตแบบชนเผ่าของชาวแอฟริกันดั้งเดิมส่งผลต่อสังคมแอฟริกาในปัจจุบัน
ให้มีลักษณะทางสังคมที่แตกต่างกัน เช่น ชาวแอฟริกันดั้งเดิมที่ยึดมั่นในวิถีชีวิตแบบชนเผ่า
มักจะอยู่อาศัยรวมกัน ใช้ภาษาของชนเผ่าในการสื่อสาร และยึดถือประเพณีประจําเผ่าของ
ตน ซึ่ ง แตกต่ า งจากลุ่ ม ชนเชื้ อ สายอื่ น ๆ ที่ อ าศั ย อยู่ ใ นเขตเมื อ ง ซึ่ ง จะได้ รั บ การศึ ก ษา
สมัยใหม่ ยอมรับวัฒนธรรมสมัยใหม่จากตะวันตก มีการใช้ชีวิตแบบสังคมเมือง เป็นต้น
98. ตอบ ข้อ 3. ทวีปแอฟริกาต้องประสบกับปัญหาความยากจนและความอดอยาก การแก้ไขปัญหาด้าน
สิ่งแวดล้อมจึงมิใช่เรื่องง่าย จึงมีความจําเป็นต้องมีความร่วมมือกับนานาชาติเพื่อช่วยกัน
แก้ไขปัญหา
99. ตอบ ข้อ 2. ปัญหาการทํ า ลายป่ า ไม้ เป็นปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมที่สําคัญของทวีปแอฟริกา ทั้งนี้
สาเหตุสําคัญมาจากการส่งเสริมการทําธุรกิจค้าไม้
100. ตอบ ข้อ 2. การค้ า ขายระหว่า งประเทศไทยกั บประเทศในทวีปแอฟริกายังมีไม่มาก เพราะมีสินค้า
ทางการเกษตรชนิดที่ใกล้เคียงกัน



~ 70 ~

You might also like