บทที่ 1 สิ่งที่เครื่องมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 68

เข้าใจพฤติกรรมเขือ

่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

บทที่ 1 สิง่ ทีเ่ ครือ


่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง
ในบทนี้ ขออธิบายถึงการนาข้อมูลค่าอ่านที่ได้มาใช้ ประเมินความปลอดภัยของเขื่อน
ตั้ ง แ ต่ เ ริ่ ม จ า ก ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ค่ า อ่ า น ดิ บ ที่ อ่ า น ไ ด้
วิธีคานวณและแปลงค่าทีอ ่ า่ นได้ไปสูต
่ วั แปรทีส
่ ามารถใช้อธิบายพฤติกรรมของเขือ ่ นไ
ด้ ร ว ม ๆ แ ล้ ว ทั้ ง ห ม ด นี้ จ ะ อ ยู่ ใ น ขั้ น ต อ น Data processing
ซึ่ ง เ ป็ น ขั้ น ต อ น ส า คั ญ ก่ อ น ก า ร แ ป ล ผ ล พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ขื่ อ น
เพ ร าะ ห าก เร า วิ เ ค ร าะ ห์ ค่ าอ่ าน จ าก เพี ย ง เห็ น ค่ าเป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป เท่ านั้ น
ย่ อ ม ไ ม่ ส า ม าร ถ อ ธิ บ าย ถึ ง ค ว าม มั่ น ค ง ห รื อ เส ถี ย ร ภ า พ ข อ ง ตั ว เขื่ อ น ไ ด้
และไม่ส ามารถน าไปใช้ในการจัด การด้านความปลอดภัย ของเขื่อ นได้จริงอี กด้วย
ทัง้ นี้ ผเู้ ขียนได้เลือกอธิบายวิธีการคานวณทีล่ ะเครือ ่ งมือ

พิโซมิเตอร์
ม า ต ร วั ด ร ะ ดั บ น้ า ห รื อ ที่ นิ ย ม เ รี ย ก กั น ว่ า “ พิ โ ซ มิ เ ต อ ร์ ”
เป็ นเครื่องมื อวัดฯที่เกือบทุกเขื่อนติดตัง้ ไว้ ทัง้ แบบที่เป็ นท่อฝังไว้ในตัวเขื่อน เช่น
ห ลุ ม วั ด ร ะ ดั บ น้ า (Observation well) กั บ Open standpipe piezometer
ซึ่ ง วั ด ร ะ ดั บ น้ า ด้ ว ย ก า ร ห ย่ อ น Dip meter
ค่าระดับน้ าจะได้จากการหักลบความลึกของระดับน้ าในหลุมออกจากระดับที่ปากท่อ
ดั ง อ ธิ บ า ย ใ น รู ป ที่ 1 -1
ต่อมาเป็ นแบบทีม ่ ีหวั วัดสัญญาณไฟฟ้ าหรือค่าทางไฟฟ้ าฝังในชัน ้ ดิน เช่น Vibrating
wire piezometer ห รื อ Strain gage piezometer
ค่าอ่านทีไ่ ด้จะเป็ นค่าทางไฟฟ้ าซึง่ ต้องแปลงเป็ นค่าความดันน้าทีก ่ ระทากับหัววัดก่อน
แ ล ะ แ บ บ สุ ด ท้ า ย เ ป็ น ก า ร น า เ ก จ วั ด ค ว า ม ดั น ( Mechanical Gauge)
ม า ติ ด ตั้ ง ที่ ป า ก ห ลุ ม ซึ่ ง จ ะ วั ด เ ป็ น ค ว า ม ดั น เ ฉ ลี่ ย ภ า ย ใ น ห ลุ ม
น อ ก จ า ก นี้ ใ น อ น า ค ต อ า จ วั ด ค ว า ม ดั น น้ า ด้ ว ย เท ค นิ ค ข อ ง Fiber optic
ซึง่ จะไม่กล่าวถึงในหนังสือเล่มนี้
ค่ า ที่ ไ ด้ จ ากก ารอ่ า น พิ โ ซ มิ เ ต อร์ อ าจถู ก รายงาน ห รื อ น าเสน อ ได้ 3 ลัก ษ ณ ะ
ซึ่ ง เ ห ม า ะ ที่ จ ะ ใ ช้ อ ธิ บ า ย พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ขื่ อ น ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น
โดยมีรายละเอียดของการได้มาดังนี้
ความดัน น้ า (Pressure) เป็ นค่ า ที่ ห วั วัด ทางไฟฟ้ าทั่ว ไปจะวัด ได้ ไม่ ว่ า จะเป็ น
pressure transducer, vibrating wire piezometer
หรื อ ค่า ความดัน น้ า ที่ อ่า นได้ จ าก Mechanical Gauge เช่ น Purdon pressure
gauge ความดันน้าทีว่ ดั ได้มีหน่ วยเป็ น bar หรือ ksc หรือ MPa
ความสู ง ความดัน (Pressure head) เป็ นความสู ง น้ าที่ ห วั วัด ในหน่ ว ยเมตร-น้ า
ห รื อ m H2O ซึ่ ง แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม สู ง ข อ ง น้ า ที่ ย ก ขึ้ น จ า ก ร ะ ดั บ หั ว วั ด
แต่อาจเปรียบเทียบกับระดับอืน่ ก็ได้ เช่น พิโซมิเตอร์ตด ิ ตัง้ อยูต่ ่ากว่าท่อส่งน้า 1 เมตร
วัดความสูงความดันได้ 4 เมตร ความสูงความดันทีร่ ะดับใต้ทอ ่ ส่งน้าเป็ น 3 เมตร

-1-
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

ค ว า ม สู ง น้ า ( Piezometric head)
ใช้ อ ธิบ ายระดับ น้ าในบริเวณหัววัด โดยทั่วไปจะอ้างอิง กับ ระดับ น้ าทะเลปานกลาง
เพื่ อให้ สาม ารถ เป รี ย บ เที ย บ กับ จุ ด อื่ น ๆ ได้ อ ย่ า งไม่ มี อค ติ จึ ง มี ห น่ วยเป็ น
เ ม ต ร จ า ก ร ะ ดั บ น้ า ท ะ เ ล ป า น ก ล า ง ห รื อ ย่ อ ว่ า “ เ ม ต ร ร ท ก . ”
ห า ก มี หั ว วั ด อ ยู่ ห ล า ย ตั ว ใ น ห น้ า ตั ด
อาจลากเชื่ อ มต่ อ ความสู ง น้ าของหัว วัด เป็ น เส้ น ระดับ น้ าได้ และที่ ส าคัญ คื อ
ความสูงน้านี้ สามารถเปรียบเทียบกับระดับน้าในอ่างฯ ได้เพราะอยูใ่ นหน่ วยเดียวกัน

-2-
Measuring pressure Measuring pressure
from Readout unit from Readout unit
Top of tube

Ground surface

Measuring depth

Water level Water level

Head (Height of water)

-3-
@ tip

Midpoint of tip EL Midpoint of tip EL

Piezometric Head = Top of tube – Measuring depth Pressure at tip = Measuring pressure Pressure at gauge = Measuring pressure
Head at tip = Water level – Midpoint of tip EL Head at tip = Measuring pressure / Unit weight of water Head at gauge = Measuring pressure / Unit weight of water
Pressure at tip = Head x Unit weight of water Piezometric Head = Measuring Pressure Head + EL of tip Piezometric Head = Measuring Pressure Head + EL of gauge
เข้าใจพฤติกรรมเขือ

รูปที่ 1-1 การคานวณหาตัวแปรทางความดันน้า


่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

หน้าทีข
่ องพิโซมิเตอร์
เครือ
่ งมือวัดความดันน้าหรือพิโซมิเตอร์ทต ี่ ด
ิ ตัง้ อาจมีตาแหน่ งเป็ นหน้าตัดคล้ายกับ
รู ป ที่ 1-2
ซึง่ หากเส้นทางการไหลซึมผ่านในบริเวณทีม ่ ีหวั วัดจะสามารถเห็นการเปลีย่ นแปลงคว
า ม ดั น น้ า ที่ ผิ ด ป ก ติ ไ ด้ แ ล ะ ร ะ บุ เ ส้ น ท า ง ก า ร ไ ห ล ซึ ม ไ ด้ ด้ ว ย
ทั้ ง ก า ร ไ ห ล ซึ ม ผ่ า น ตั ว เ ขื่ อ น ห รื อ ก า ร ไ ห ล ซึ ม ผ่ า น ฐ า น ร า ก เ ขื่ อ น
ห รื อ ก า ร ไ ห ล ซึ ม จ า ก ตั ว เ ขื่ อ น สู่ ฐ า น ร า ก ไ ด้
แต่ในทางกลับกันหากการไหลซึมที่ เกิดขึ้นอาจไม่ผ่านหน้ าตัดที่ตด ิ ตัง้ พิโซมิเตอร์ไว้
ห รื อ อ า จ ผ่ า น ไ ด้ เ พี ย ง บ า ง ต า แ ห น่ ง ที่ ติ ด ตั้ ง พิ โ ซ มิ เ ต อ ร์
จึง เป็ นไปได้ ที่ พิ โ ซมิ เ ตอร์ ที่ ติ ด ตั้ง จะไม่ ส ามารถประเมิ น เส้ น ทางการ ไหลซึ ม ได้
การตรวจสภาพเขือ ่ นในสนามจึงเป็ นมาตรการหนึ่งทีล่ ดปัญหาของความไม่พอเพียงข
อ ง พิ โ ซ มิ เ ต อ ร์ ไ ด้
และหากด้านท้ายน้ าได้ติดตัง้ เครื่องมื อวัดอัตราการไหลซึมที่รองรับน้ าที่ไหลซึม ได้
ย่อมเป็ นเครือ ่ งมือทีน่ ่ าเชือ
่ ถือว่าสามารถติดตามการไหลซึมทีผ ่ ด
ิ ไปจากคาดการณ์ ไว้ไ
ด้

รูปที่ 1-2 หน้าตัดทั่วไปของตาแหน่ งพิโซมิเตอร์


ข้อจากัดของพิโซมิเตอร์
พิโซมิเตอร์มีข้อจากัดที่ไม่สามารถระบุว่าการกัดเซาะภายในได้ ตง้ ั แต่เริ่มเกิดขึ้น
การกัดเซาะต้องเกิดขึน ้ ไประยะหนึ่งจนทาให้ความซึมน้ าโดยรวมเพิม ้ จึงจะสามาร
่ ขึน
ถ ต ร ว จ วั ด ค ว า ม ดั น น้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ไ ด้
เพราะการไหลซึ ม ในขั้น เริ่ม ต้ น จะเกิด การเปลี่ ย นแปลงในระดับ ขนาดที่ เ ล็ ก มาก
เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ติ ด ตั้ ง เ พื่ อ ต ร ว จ วั ด ก า ร ไ ห ล ซึ ม ไ ด้ แ ก่
พิ โซ มิ เ ต อร์ จ ะไม่ ส าม ารถ ต รวจวัด พ ฤ ติ ก รรม ใน ระดั บ ข น าด ที่ เล็ ก ม าก ได้
แ ต่ เ มื่ อ ก า ร ไ ห ล ซึ ม ข ย า ย ตั ว จ น ค ว า ม ซึ ม น้ า ไ ด้ บ ริ เ ว ณ นั้ น สู ง ขึ้ น
พิโซมิเตอร์จะสามารถวัดความดันน้ าที่ผด ิ ปกติได้ ตัวอย่างเช่น Open Standpipe

-4-
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

Piezometer ที่ ฝั ง อ ยู่ ใ น ชั้ น ดิ น ถ ม เ ขื่ อ น ใ น รู ป ที่ 1 -3


ทีก
่ ารกัดเซาะภายในเริม ่ จากรอยแตกภายในเนื้ อดินเหนี ยวแกนเขือ่ นขนาดเล็กประมา
ณ 3 มม. ขณะที่ ร ะยะการตรวจวัด (Sensing Length) ของ Open Standpipe
Piezometer จ ะ ย า ว ถึ ง 4 เ ม ต ร
นั่นคือความดันน้าทีต ่ รวจวัดจากพิโซมิเตอร์จะเป็ นความดันน้า เฉลีย่ ตลอดระยะการต
ร ว จ วั ด
จึงเป็ นไปไม่ได้ทีพ
่ โิ ซมิเตอร์นี้จะใช้ตรวจวัดความดันน้าในรอยแตกทีเ่ ริม่ เกิด กัดเซาะ
แ บ บ Concentrated leak 1
ไ ด้
เมื่ อ รอยแตกขยายออกจากการกัด เซาะภายในและขยายเป็ นโพรงที่ ใ หญ่ ขึ้ น
ความดันน้าทีต ่ รวจวัดได้จากพิโซมิเตอร์ยอ ่ มสูงจากเดิมชัดเจน
ในกรณี ที่ว สั ดุ ถ มเขื่อ นมี Plastic Index น้ อ ยกว่า 7 มี ค วามเป็ นไปได้ที่ จะเกิด
Backward erosion2 ใ น วั ส ดุ นั้ น ไ ด้
บ ริ เ ว ณ ร อ ย ต่ อ ร ะ ห ว่ า ง แ ก น ดิ น เ ห นี ย ว แ ล ะ ชั้ น ก ร อ ง
ที่ ค า ด ว่ า จ ะ เ กิ ด ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว จ น ท า ใ ห้ เ กิ ด Exit point
พิโซมิเตอร์ทีต ่ ด
ิ ตัง้ ในแกนดินเหนี ยวทีต
่ รวจวัดพฤติกรรมการไหลซึมได้เมือ ่ วัสดุถมไ
ด้ถูกกัดเซาะและพัดพาแล้ว ไม่สามารถตรวจวัดได้ในทันทีที่ Backward erosion
เริม ้ ทีเ่ กิดขึน
่ ต้นขึน ้ ใกล้ Exit point
ส าหรับ การกัด เซาะบริเ วณรอยต่ อ ระหว่ า งวัส ดุ ที่ เ รี ย กว่ า Contact erosion3
จ ะ ต ร ว จ พ บ ไ ด้ เมื่ อ ติ ด ตั้ ง เค รื่ อ ง มื อ วั ด ค ว า ม ดั น น้ า ที่ บ ริ เว ณ ร อ ย ต่ อ
ซึง่ ทาได้ยากในทางปฏิบตั จิ าเป็ นต้องมีผลการเจาะสารวจทีช ่ ดั เจน
โ ด ย ส รุ ป ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค ว า ม ดั น น้ า ที่ จ ะ ต ร ว จ วั ด
เกิดขึน้ เมือ
่ ความซึมน้ าของวัสดุใกล้จุดทีต ่ ด
ิ ตัง้ พิโซมิเตอร์เพิม ้ ไปมากจนทาให้เกิด
่ ขึน
ค ว า ม ดั น น้ า เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ด้
การเปลีย่ นแปลงเพียงเล็กน้อยขณะทีเ่ ริม ่ เกิดการกัดเซาะภายในไม่สามารถตรวจพบไ
ด้ดว้ ยพิโซมิเตอร์หรือเครือ ่ งมือวัดความดันน้าทีต ่ ด
ิ ตัง้ ในสนาม

1 Concentrated leak เป็ นกลไกของการเริม ่ ต้นของการกัดเซาะภายใน ซึง่ ถูกอธิบายในหัวข้อ


กระบวนการการกัดเซาะภายใน ของบทที่ 2
2 Backward erosion เป็ นกลไกของการเริม ่ ต้นของการกัดเซาะภายใน ซึง่ มีคาอธิบายในหัวข้อ
กระบวนการการกัดเซาะภายใน ของบทที่ 2
่ ต้นของการกัดเซาะภายใน ซึง่ มีคาอธิบายในหัวข้อ
3 Contact erosion เป็ นกลไกของการเริม

กระบวนการการกัดเซาะภายใน ของบทที่ 2

-5-
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

OSP
Dam crest

Crack Sensing
width 3mm Length
crack
4m

รูปที่ 1-3 ความดันน้าทีต


่ รวจวัดได้จาก Open Standpipe Piezometer
ทีเ่ กิดรอยแตกในชัน
้ ดินบดอัด

-6-
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

หลุมวัดระดับน้าใต้ดน

โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ บ ริ เ ว ณ ไ ห ล่ เ ข า ห รื อ บ ริ เ ว ณ ด้ า น ท้ า ย น้ า
มั ก พ บ ห ลุ ม วั ด ร ะ ดั บ น้ า ใ ต้ ดิ น ห รื อ Observation well ตั้ ง อ ยู่
เ พื่ อ ใ ช้ ร ะ บุ ร ะ ดั บ น้ า ใ ต้ ดิ น ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น รู ป ที่ 1 -4
ที่ แ ส ด ง ร ะ ดั บ น้ า ด้ า น ท้ า ย น้ า ต ล อ ด ค ว า ม ย า ว เ ขื่ อ น
ซึ่ ง จะเห็ น ว่ า ระดับ น้ าในหลุ ม มี เ ปลี่ ย นแปลงโดยเฉพาะบริ เ วณ ไหลเขาฝั่ งซ้ า ย
ส่ ว น ฝั่ ง ข ว า จ ะ ค่ อ น ข้ า ง ค ง ที่
ระดับน้ าใต้ดน ิ ยังนามาใช้ประกอบการพิจารณาที่มาของความดันน้ าบริเวณตัวเขื่อน
โดยหากติดตั้งเป็ นโครงข่ายสามารถใช้ ความสูงน้ าระบุ การเส้น ทางไหลของน้ าได้
และในการวิ เ คราะห์ ก ารไหลซึ ม ก็ น าระดับ น้ าใต้ ดิ น ไปใช้ เ ป็ นเงื่ อ นไขที่ ข อบ
(Boundary condition)
โดยทั่วไประดับน้าด้านท้ายเขือ ่ นเป็ นตัวชี้วดั ที่ดีสาหรับการระบุความผิดปกติของการ
ไ ห ล ซึ ม ข อ ง น้ า ใ น อ่ า ง ฯ
ซึ่ ง จ ะ ยื น ยั น ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ไ ด้ ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ซึ ม
ส า ห รั บ บ ริ เ ว ณ ไ ห ล่ เ ขื่ อ น
ระดับน้าทีต ่ รวจวัดจากหลุมวัดระดับน้าใต้ดน ิ อาจมีระดับเปลีย่ นแปลงตามระดับน้าใต้
ดิ น ธ ร ร ม ช า ติ ( Natural ground water level)
ตรงกันข้ามกับบริเวณหน้าตัดลึกทีส ่ ดุ ทีม
่ ีระดับน้าค่อนข้างคงที่

รูปที่ 1-4 ระดับน้าในฐานยันเขือ


่ นและความแปรปรวน
อิทธิพลของระดับน้าใต้ดน
ิ ธรรมชาติบริเวณไหล่เขือ
่ น
ในบางเขือ ่ นอาจพบว่าระดับน้าในอ่างเก็บน้าและระดับน้ าใต้ดน ิ ในไหล่ เขือ ่ นมีควา
ม สั ม พั น ธ์ กั น ซึ่ ง ท า ใ ห้ เข้ า ใ จ ว่ า มี ก า ร ไ ห ล ซึ ม ผ่ า น ไ ห ล่ เขื่ อ น เกิ ด ขึ้ น
ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น รู ป ที่ 1 -5 ร ะ ดั บ น้ า จ า ก OB-7/3
ที่ อ ยู่ บ นไหล่ เ ขื่ อ นมี ค วามสัม พัน ธ์ ก บ
ั ระดับ น้ า อ่ า งฯ ขณ ะที่ OB-8 และ OB-9
ซึ่ ง อ ยู่ ถั ด ล ง ไ ป แ ส ด ง ร ะ ดั บ น้ า แ ท บ จ ะ ค ง ที่
หากเมือ ่ ตรวจสอบอัตราการไหลซึมกับระดับน้ าในอ่างเก็บน้าอาจไม่มีความสัมพันธ์ก ั

-7-
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง


การตรวจสอบทาได้โดยนาหลุมวัดระดับน้ าใต้ดน ิ ที่อยูเ่ หนื อระดับน้ าในอ่างฯมาพิจาร
ณ า
ซึง่ จะทาให้เห็นว่าน้าใต้ดน
ิ ธรรมชาติในไหล่เขือ
่ นเป็ นสาเหตุของการเปลีย่ นแปลงระดั
บน้าของ OB-7/3

-8-
-9-
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ

รูปที่ 1-5 ระดับน้าในฐานยันเขือ่ นทีเ่ ปลีย่ นแปลงตามระดับน้าในดินธรรมชาติ


่ งมือวัดฯ
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ใ น ท า ง ส ถิ ติ
อาจพิจารณาให้ระดับน้าทีต ่ รวจวัดได้จากหลุมวัดระดับน้าบนไหล่เขือ ่ นมีความสัมพัน
ธ์กบั ระดับน้ าใต้ดินธรรมชาติได้โดยใช้ข้อมูลในอดีตย้อนหลัง 1 ปี หรือจานวน 30
ข้ อ มู ล ห า ก สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ ์ ส ห สั ม พั น ธ์ ( Correlation coefficient)
ร ะ ห ว่ า ง ค่ า ร ะ ดั บ น้ า ทั้ ง ส อ ง ( ต า ม ส ม ก า ร ด้ า น ล่ า ง ) มี ค่ า สู ง ก ว่ า 0.6
ถือว่ามีความสัมพันธ์

𝐶𝑂𝑉(𝑥, 𝑦)
𝐶𝑜𝑟𝑟 (𝑥, 𝑦) =
𝜎𝑥 𝜎𝑦
เมือ

𝐶𝑜𝑟𝑟 (𝑥, 𝑦) แทน Correlation coefficient ระหว่างชุดข้อมูล 𝑥 และชุดข้อมูล 𝑦
𝐶𝑂𝑉(𝑥, 𝑦) แทน Covariance ระหว่างชุดข้อมูล 𝑥 และชุดข้อมูล 𝑦
𝜎𝑥 แทน standard deviation ของชุดข้อมูล 𝑥
𝜎𝑦 แทน standard deviation ของชุดข้อมูล 𝑦

ฝายวัดอัตราการไหล
อัตราการไหลซึมของน้าผ่านตัวเขื่อนและฐานรากถูกวัดด้วยฝายวัดอัตราการไหลซึม
(Seepage measuring weir) ที่นิยมเป็ นที่สุดในประเทศไทยเป็ นแบบ V-Notch
มุ ม ฉ า ก ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 1 -6
ซึง่ สามารถคานวณหาค่าปริมาณน้าทีไ่ หลซึมได้จากวัดความสูงของระดับน้าจากท้องข
อง weir ดังสมการ
5
𝑞 = 1380 ℎ2
เมือ

𝑞 = ปริมาณการไหลซึม เป็ น ลิตรต่อวินาที
ℎ = ความสูงของระดับน้าจากท้องฝาย เป็ น เมตร
หรือ
5
𝑞 = 0.00262 ℎ2
แต่ ℎ มีหน่ วยเป็ นมิลลิเมตร
หน่ วยของอัตราการไหลทีเ่ หมาะสมสาหรับการไหลซึมผ่านตัวเขือ ่ นและฐานรากทีแ ่ น
ะ น า คื อ ลิ ต ร ต่ อ น า ที อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม อ า จ ใ ช้ ห น่ ว ย อื่ น ๆ
ที่ เห ม า ะ กั บ อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ข อ ง เขื่ อ น ที่ พิ จ า ร ณ า ไ ด้ เช่ น ลิ ต ร ต่ อ วิ น า ที
หากมีปริมาณน้ามากจากน้าทีไ่ หลซึมจากหลายแหล่งมาตรวจวัดทีจ่ ุดเดียวอาจมีหน่ วย
ทีเ่ หมาะสมเป็ น ลบ.ม.ต่อวินาที ก็ได้

- 10 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-6 ลักษณะของฝายวัดอัตราการไหล (USBR, ไม่มีปี)

- 11 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

น อก จาก ฝ าย วัด อัต ราก ารไห ลรู ป ตัว V แ ล้ ว ยัง มี รู ป ร่ า งอื่ น ที่ นิ ย ม อี ก เช่ น
ฝ า ย รู ป สี่ เห ลี่ ย ม ค า ง ห มู ( Trapezoidal weir) ซึ่ ง มี ชื่ อ ว่ า ฝ า ย Cipolletti
หากด้ า น ข้ า งมี ส ด ั ส่ ว น 4 ทางราบ กับ 1 ทางดิ่ ง ห รื อ ฝายรู ป สี่ เ ห ลี่ ย มผื น ผ้ า
( Rectangular weir) ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 1-6
ซึ่ ง แ ต่ ล ะ แ บ บ เ ห ม า ะ กั บ ร ะ ดั บ อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น
สมการหาอัตราการไหลสาหรับฝายแบบอืน ่ ๆ มีดงั นี้
ฝาย Cipolletti
3
𝑞 = 1860 𝐿 ℎ2
ฝายรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า
3
𝑞 = 1838 (𝐿 − 0.2ℎ)ℎ2
เมือ

𝑞 = ปริมาณการไหลซึม เป็ น ลิตรต่อวินาที
ℎ = ความสูงของระดับน้าจากท้องฝาย เป็ น เมตร
𝐿 = ความยาวของสันฝาย เป็ น เมตร
พื้นทีก
่ ารไหลซึมทีฝ
่ ายรองรับ
เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ก า ร วั ด อั ต ร า ก า ร ไ ห ล คื อ
เพื่ อ น า ค่ า อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ซึ ม ที่ ไ ด้ ไ ป เป รี ย บ เที ย บ กั บ ค่ า ที่ ค า ด ก า ร ณ์ ไ ว้
ห รื อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ค่ า ที่ อ่ า น ไ ด้ ใ น ค รั้ ง ก่ อ น ๆ
ซึ่ ง ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ ร ะ บุ ถึ ง ก า ร ไ ห ล ซึ ม ที่ ผิ ด ป ก ติ ไ ด้
แต่หากฝายวัดอัตราการไหลซึมทีต ่ ด
ิ ตัง้ ไม่สามารถรองรับน้าทีไ่ หลซึมจากเขื่อนหรือฐ
านรากเขื่ อ นได้ ต ามต้ อ งการ ไม่ มี ล ารางให้ น้ าบางส่ ว นไหลเข้ า มายัง ฝายได้
ย่อมเชื่อมั่นได้ยากว่าอัตราการไหลซึมทีต ่ รวจวัดจะสามารถสะท้อนหรือเป็ นตัวแทนข
องการไหลซึมที่เกิดขึ้น จริง ถ้านาไปเปรียบเทียบค่าที่คาดการณ์ ย่อมเป็ นที่น่าสงสัย
ใน ท างกลับ กัน ห ากเราท ราบ พื้ น ที่ ร ับ น้ าที่ แ ต่ ล ะฝ ายรอบ รับ ม าอย่ า งชัด เจน
จะท าให้ ส ามารถแยกแยะหรื อ ประเมิ น ได้ ว่ า มี ก ารไหลซึ ม เกิ ด ขึ้ น จากบริเ วณใด
ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ เ ป็ น ที่ ย อ ม รั บ ว่ า
ฝ า ย วั ด อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ซึ ม อ า จ ไ ม่ ส า ม า ร ถ รั บ น้ า ที่ ไ ห ล ซึ ม ไ ด้ ทั้ ง ห ม ด
เพราะฝายวัดอัตราการไหลซึมมักตัง้ อยูบ ่ ริเวณตีนเขือ ่ นด้านท้ายน้าต่อจากระบบระบา
ย น้ า
หากไม่มีทอ ่ รับน้าภายในจะเป็ นไปได้ยากทีน ่ ้าจะไหลมาถึงตีนเขือ ่ นด้านท้ายน้าได้
บ่ อ ย ค รั้ ง ที่ ข น า ด ข อ ง พื้ น ที่ รั บ น้ า ถู ก ม อ ง ข้ า ม ไ ป อ ย่ า ง น่ า เสี ย ด า ย
จ น อ า จ เป็ น ผ ล ใ ห้ วิ เค ร า ะ ห์ พ ฤ ติ ก ร ร ม อั ต ร า ก า ร ไ ห ล อ ย่ า ง ไ ม่ ร อ บ ค อ บ
แต่ ค วรมองอย่ างยุ ติ ธ รรมที่ พิ จ ารณาขนาดของพื้ น ที่ ร บ ั น้ าก่ อ นไหลมาสู่ฝ ายด้ ว ย
เพราะหากฝายวัดอัตราการไหลซึมใดมีพื้นทีร่ บ ั น้ามากย่อมมีโอกาสที่จะวัดได้อตั ราก
ารไหลซึมที่สูงกว่าฝายที่มีพื้นที่รบ ั น้ าน้ อยกว่า ในประเด็น นี้ Wright et al (1992)

- 12 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

ใ น Penman et al (1999)
ได้นามาใช้อธิบายประสิทธิภาพของการปิ ดกัน
้ ในระยะยาวด้วยดัชนี อตั ราการไหลซึม
(Seepage and Leakage Index) ทีห ่ าได้จาก
𝑞
𝑄𝐼 =
1000 𝐴 ∙ 𝑖 ∙ 𝑘
เมือ

𝑄𝐼 = seepage and leakage index
𝑞 = อัตราการไหลทีผ
่ า่ นส่วนทึบน้าทีค
่ วบคุมการไหล มีหน่ วยเป็ น ลิตรต่อวินาที
𝐴 = พื้ น ที่ของส่วนทึบ น้ าที่สม
ั ผัสกับ น้ า ทิศทางตัง้ ฉากกับ การไหล มี ห น่ วยเป็ น
ตารางเมตร
𝑖 = ลาดระดับน้า (Hydraulic gradient) เฉลีย่ ทีผ
่ า่ นส่วนทึบน้า
𝑘 = สัมประสิทธิค์ วามซึมน้าของส่วนทึบน้า มีหน่ วยเป็ น เมตร ต่อวินาที
อัต ราส่ ว น 𝑄𝐼 นี้ เป็ น การเปรี ย บเที ย บ อัต ราการไหลซึ ม ที่ ต รวจวัด ได้ 𝑞 กับ
อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ผ่ า น ส่ ว น ทึ บ น้ า ที่ ป ร ะ ม า ณ นั่ น เ อ ง โ ด ย พื้ น ที่ 𝐴
จ ะ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ว่ า ฝ า ย วั ด อั ต ร าก าร ไ ห ล ร อ ง รั บ น้ าจ า ก เขื่ อ น ส่ ว น ใด ม า บ้ า ง
หากมีการไหลซึมทีเ่ ป็ นปกติ 𝑄𝐼 ควรมีคา่ น้อยกว่า 1
ผลกระทบของน้าฝนต่ออัตราการไหลซึม
บ่ อ ยครั้ง ที่ พ บว่ า อัต ราการไห ลที่ ต รวจวัด ได้ จ ากฝ ายวัด อัต ราการไห ลซึ ม
(Seepage measuring weir) มีคา่ แปรปรวนจากน้าฝนทีต ่ กลงบนบริเวณตัวเขือ ่ น
ซึง่ หมายความว่าอัตราการไหลทีต ่ รวจวัดนี้ ไม่เป็ นเพียงอัตราการไหลซึมผ่านตัวเขือ ่ น
ห รื อ ฐ า น ร า ก เ ขื่ อ น
แต่บางส่วนเป็ นอัตราการไหลของน้ าผิวดินจากปริมาณน้ าฝนที่ตกบริเวณเขื่อนด้วย
การขจัดข้อมูลอัตราการไหลทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากน้าฝนในลักษณะดังกล่าวจาเป็ นต้อ
ง เ ข้ า ใ จ ถึ ง ปั จ จั ย ที่ ส ร้ า ง ผ ล ก ร ะ ท บ ลั ก ษ ณ ะ นี้ ไ ด้
ฝายวัด อัต ราการไหลซึ ม ที่ จ ะได้ ร บ ั ผลกระทบจากน้ า ฝนมัก ถู ก ติ ด ตั้ง ในที่ โ ล่ง แจ้ ง
มี ก า ร ไ ห ล ข อ ง น้ า ผิ ว ดิ น เ ข้ า สู่ ฝ า ย อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ซึ ม
และลาดเขือ ่ นทีเ่ ป็ นพื้นทีร่ บั น้าฝนหากมีพื้นทีใ่ หญ่มากย่อมจะสร้างผลกระทบได้มาก
กระบวนตรวจสอบวันทีน ่ ้าฝนทีต่ กมากและต่อเนื่องมากเกินไปจนทาให้ได้อตั รากา
ร ไ ห ล ซึ ม ที่ สู ง เ กิ น จ ริ ง พิ จ า ร ณ า จ า ก ป ริ ม า ณ น้ า ฝ น ร า ย วั น 1
วันก่อนทีจ่ ะวัดอัตราการไหล และปริมาณน้าฝนรายวันสะสม 2 วัน ของวันที่ 2 และ
3 ก่ อ น ที่ จ ะ วั ด อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น รู ป ที่ 1 -7
วิธีการปรับแก้อท ิ ธิพลของน้าฝนนี้ ยงั อยูใ่ นขัน
้ วิจยั

- 13 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

(ก) Time history


160

140

120
Daily rainfall (mm)

100
All rainfall records
80
Records on measuring
60 Exceedance of W1
40 Exceedance of W2
20

0
0 50 100 150 200 250 300
2 days accumulative rainfall (mm)

(ข) ขอบเขตของน้าฝนรายวันและน้าฝนสะสม 2 วันก่อนหน้า


ทีท ้
่ าให้อตั ราการไหลซึมทีว่ ดั ได้สงู ขึน
รูปที่ 1-7 อิทธิพลของน้าฝนต่ออัตราการไหลซึมทีว่ ดั ได้จากฝายน้าล้นทีอ
่ ยูก
่ ลางแจ้ง

- 14 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

Inclinometer
เนื่ อ งจากการเคลื่อ นตัว ของลาดเขื่ อ นดิน ถมอาจเป็ นจุ ด เริ่ม ต้น ของการเคลื่อ นพัง
จึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง ติ ด ต า ม พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว
โดยตลอดความสู ง ของเขื่ อ นเพราะยากที่จ ะระบุ ไ ด้ว่าจะเกิด ระนาบการเคลื่อ นพัง
( Failure plane) ที่ จุ ด ใ ด เ ขื่ อ น ดิ น ทั้ ง ห ล า ย จ ะ ติ ด ตั้ ง Inclinometer
เป็ นเครื่องมื อวัดการเคลื่อนตัวในแนวราบ ซึ่งมี ลกั ษระเป็ นท่อที่ฝังอยู่ในตัวเขื่อน
ปลายท่อด้านล่างฝังอยูใ่ นชัน ้ ฐานรากที่พจิ ารณาว่าชัน ้ ฐานรากนั้นไม่มีการเคลือ ่ นทีห
่ รื
อมี เ คลื่ อ นที่ น้ อ ย การอ่ า นค่ า จะใช้ หัว วัด หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า Inclinometer probe
ห ย่ อ น ล ง ไ ป ใ น ท่ อ Inclinometer ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น รู ป ที่ 1 -8
จ ะ อ่ า น ไ ด้ มุ ม เ อี ย ง ข อ ง แ น ว ท่ อ (Angle of tilt, 𝜃) ไ ป จ า ก แ น ว ดิ่ ง
เมื่ อ น า พิ จ าร ณ าให้ ต ล อ ด ค ว าม ย าว ข อ ง Probe เอี ย ง ไ ป ด้ ว ย มุ ม เดี ย ว กั น
จะได้ ระย ะก ารเอี ย ง (Deviation, 𝑑) ซึ่ งอธิ บ าย ก ารเอี ย งข องท่ อ เป็ น ระย ะ
โดยมี ค่ า ตามมุ ม การเอี ย งตัว ของท่ อ และความยาวของการวัด (Measurement
interval, 𝐿) ตามสมการด้านล่าง ซึง่ โดยทั่วไป Probe มีความยาวของการวัด 0.50
เ ม ต ร Deviation
จากแต่ละช่วงทีห ่ ย่อนจึงแสดงถึงระยะทีเ่ ส้นท่อเบีย่ งเบนไปจากแนวดิง่
𝑑 = 𝐿 𝑠𝑖𝑛𝜃
เมื่ อ น า Deviation มาหาผลรวมสะสมจากปลายด้ า นล่ า งตลอดแน วเส้ น หรื อ
Cumulative deviation
จะแสดงถึงแนวเส้นท่อตลอดความยาวของท่อ ทีเ่ อียงไปจากแนวดิง่ ในความเป็ นจริง
ไม่ใช้เรือ่ งง่ายที่ตด ิ ตัง้ ท่อ Inclinometer ให้อยูใ่ นแนวดิง่ ได้ ทาให้คา่ Cumulative
deviation จะมีคา่ ไม่เป็ นศูนย์ ดังนั้น หากต้องการหาระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ
(Lateral displacement) จะต้ อ งน าไป เป รี ย บ เที ย บ Cumulative deviation
กับค่าอ่านทีอ ่ า้ งอิง
ท่อ Inclinometer สามารถใช้วดั การเคลื่อนที่ในแนวราบของลาดเขื่อนได้สองแนว
ทั้ง ในแนวตั้ง ฉากกับ แนวแกนเขื่ อ น วัด การเคลื่อ นตัวในทิศ ทางเหนื อ น้ า -ท้ายน้ า
แ ล ะ ต า ม แ น ว แ ก น เ ขื่ อ น ห รื อ ต า ม แ น ว ย า ว ข อ ง เ ขื่ อ น
สัง เกตว่ า ท่ อ สามารถใช้ อ่ า นได้ ท ้ งั สองแนวจากหน้ าตัด ท่ อ ที่ มี ร่ อ ง (Groove)
ทีต
่ ง้ ั ฉากกัน ดังแสดงในรูปที่ 1-9 จึงกาหนดให้ แนวตัง้ ฉากกับแกนเขือ ่ นเป็ น แกน
A และตามแนวแกนเขือ ่ นเป็ น แกน B
ใ น อ ดี ต Inclinometer probe ส า ม า ร ถ อ่ า น ไ ด้ ค รั้ ง ล ะ แ น ว
ท า ใ ห้ แ ต่ ล ะ ร อ บ ก า ร อ่ า น ต้ อ ง อ่ า น 4 ร อ บ ปั จ จุ บั น Probe
สามารถอ่านค่าได้ทง้ ั สองแกนในครั้งเดียว จึงช่วยลดเวลาไปได้มาก โดยรอบแรก
จะได้ ค่ า อ่ า น ใน แน ว 𝐴0 และ 𝐵0 ซึ่ ง เป็ นแน วที่ ค าดกว่ า จะเกิ ด การเคลื่ อ น ตัว
แ ล ะ เ มื่ อ ก ลั บ Probe ไ ป อี ก ด้ า น ( 180 อ ง ศ า ) จ ะ ไ ด้ 𝐴180 แ ล ะ 𝐵180
ทั้ง สองรอบจะให้ ค่ า อ่ า นในแนวที่ ต รงข้ า มกัน หรื อ มี เ ครื่ อ งหมายตรงข้ า มกัน

- 15 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

ใน การห าค่ า Deviation จะใช้ ค่ า เฉ ลี่ ย จากการอ่ า น สองรอบ โดยหาค่ า เฉ ลี่ ย


(Average) จาก
A𝑎𝑣𝑒𝑟𝑎𝑔𝑒 = (𝐴0 − 𝐴180 )/2

B𝑎𝑣𝑒𝑟𝑎𝑔𝑒 = (𝐵0 − 𝐵180 )/2

จาก นั้ น จึ ง น าไป ห าก Cumulative deviation ทั้ ง ส อ งแ ก น A𝑐𝑢𝑚 แ ละ B𝑐𝑢𝑚


โดยเป็ นผลรวมสะสมจาก Deviation ทีป ่ ลายท่อด้านล่างมายังปากท่อด้านบน
หลายคนเข้ า ใจผิ ด คิ ด ว่ า จบการวิ เ คราะห์ เ พี ย งเท่ า นี้ และคิ ด ว่ า Cumulative
deviation เป็ น ค่ า ก า ร เค ลื่ อ น ตั ว แ ล้ ว อั น ที่ จ ริ ง Cumulative deviation
เ ป็ น เ พี ย ง แ น ว เ ส้ น ท่ อ 4 ( Profile)
ใน การติ ด ตั้ง จะท าให้ ไ ด้ แ น วเส้ น ท่ อ ที่ เ ป็ น แ น วดิ่ ง นั้ น แท บ จะเป็ น ไม่ ไ ด้ เ ลย
ดัง นั้ น การค าน วณ การเค ลื่ อ น ตัว (Displacement) ที่ แ ต่ ล ะชั้น จะได้ จ ากน า
Cumulative deviation ข อ ง แ ต่ ล ะ ชั้ น ม า ล บ กั บ ค รั้ ง ที่ อ้ า ง อิ ง ( Reference
reading) จากนั้น น า Displacement ไปใช้ ป ระมาณค่ า แรงเฉื อน (%Shear)
ได้จากสมการด้านล่าง ตามลาดับ ตัวอย่างกราฟที่ได้จากการวิเคราะห์แสดงในรูป ที่
1-10
𝐷𝑖𝑠𝑝𝑙𝑎𝑐𝑒𝑚𝑒𝑛𝑡𝑡 = 𝐶𝑢𝑚𝑢𝑙𝑎𝑡𝑖𝑣𝑒 𝑑𝑒𝑣𝑖𝑎𝑡𝑖𝑜𝑛𝑡 − 𝐶𝑢𝑚𝑢𝑙𝑎𝑡𝑖𝑣𝑒 𝑑𝑒𝑣𝑖𝑎𝑡𝑖𝑜𝑛𝑟𝑒𝑓
𝐷𝑖𝑠𝑝𝑙𝑎𝑐𝑒𝑚𝑒𝑛𝑡
%𝑆ℎ𝑒𝑎𝑟 = ∗ 100
𝐿𝑒𝑛𝑔𝑡ℎ 𝑜𝑓 𝑃𝑟𝑜𝑏𝑒
ในเขือ ่ นทีม่ ีความสาคัญ อาจติดตัง้ เครือ
่ งมือพฤติกรรมการเคลือ ่ นตัวแบบ Real-time
เ ช่ น In-placed Inclinometer แ ล ะ Shape AccelArray, SAA
เพื่ อ ติ ด ตามการเคลื่ อ นตัว ในแนวราบได้ ซึ่ ง ต่ า งมี ห ลัก การค านวณที่ ค ล้ า ยกัน
แต่อาจมีชว่ งการวัด Length อาจจะไม่เท่ากับ 0.5 เมตร

4คาว่า “เส้นท่อ” ผูเ้ ขียนได้เห็นการใช้คานี้ครัง้ แรกในรายงานเครือ่ งมือวัดเขียนโดยคุณ ไพศาล นพคุณ


ระหว่างทีผ่ เู้ ขียนทางานทีโ่ ครงการเขือ
่ นคลองท่าด่าน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ (ในปัจจุบน ั คือ
เขือ่ นขุนด่านปราการชล)

- 16 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-8 การวัดการเอียงของท่อจาก Inclinometer (Slope Indicator


Company, 2011)

(ข)
ตาแหน่ งหัววัดเมือ
่ หย่อนลงในท่อ
(ก) ทิศทางของหัววัดการเคลือ
่ นตัว
(Probe)
รูปที่ 1-9 แกนอ่านค่า Inclinometer (Slope Indicator Company, 2011)

- 17 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

ข้อควรระวัง
การหย่ อ น Probe ที่ ถู ก ต้ อ งเพื่ อ ให้ เ ครื่ อ งหมายของค่ า อ่ า นเป็ นบวกใน A 0
ห รื อทิ ศ ท างก ารเค ลื่ อ น ตั ว ที่ ค าด ว่ า จะเกิ ด ขึ้ น (E xp e c te d d ire c tio n o f
movement) ต้องพิจารณาอย่างดี ตัวอย่างเช่น Probe ของ Slope Indication
จะต้ อ งให้ ฝั่ งที่ ล้ อ ยก ขึ้ น (U p p e rw h e e l) ไป ท างด้ า น ที่ เ ป็ น ก ารเค ลื่ อ น ตัว
ทัง้ นี้ บ ริษ ัท ผู้ผ ลิต Probe อาจก าหนดทิศ ทางการอ่านค่าของ Probe แตกต่างกัน
จาเป็ นทีต ่ อ้ งศึกษาคูม ่ ือการอ่านค่าก่อน

- 18 -
Shear strain (%)
-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 10 09
8 23 Aug
Deviation (mm) Absolute displacement from baseline (mm) 0 26 Sep 09
0 200 400 600 800 1000 1200 -100 0 100 200 300 400 500
23 Oct 09
0 0
10 29 Nov 09
25 Dec 09
10 10 31 Jan 10
20 26 Feb 10
26 Mar 10
20 20 27 Apr 10
30
25 May 10
30 30 25 Jun 10
40 23 Jul 10
24 Aug 10
40 40 28 Sep 10
50 29 Oct 10
23 Nov 10
50 50
60 27 May 11
24 Aug 11
60 60 21 Sep 11
70 25 Oct 11
21 Nov 11

Depth (m)
70 23 Aug 09 26 Sep 09 70 23 Dec 11
23 Oct 09 29 Nov 09
80
23 Aug 09 26 Sep 09 8 Jan 12

Depth (m)
Depth (m)
25 Dec 09 31 Jan 10 23 Oct 09 29 Nov 09
80 80 21 Jan 12
26 Feb 10 26 Mar 10 25 Dec 09 31 Jan 10 90 9 Feb 12
27 Apr 10 25 May 10 26 Feb 10 26 Mar 10 22 Feb 12
25 Jun 10 23 Jul 10 27 Apr 10 25 May 10
90 90 10 Mar 12
24 Aug 10 28 Sep 10 25 Jun 10 23 Jul 10 100
29 Oct 10 23 Nov 10 21 Mar 12
24 Aug 10 28 Sep 10
26 Dec 10 24 Jan 11 4 Apr 12
100 100 29 Oct 10 23 Nov 10
23 Feb 11 27 May 11 110 19 Apr 12
27 May 11 24 Aug 11
24 Aug 11 21 Sep 11 8 May 12
21 Sep 11 25 Oct 11
110 25 Oct 11 21 Nov 11 110 23 May 12
21 Nov 11 23 Dec 11
23 Dec 11 8 Jan 12 120 27 Jun 12
8 Jan 12 21 Jan 12
21 Jan 12 9 Feb 12

- 19 -
9 Feb 12 22 Feb 12 26 Jul 12
120 22 Feb 12 10 Mar 12 120
10 Mar 12 21 Mar 12 26 Sep 12
21 Mar 12 4 Apr 12 130
4 Apr 12 19 Apr 12 27 Oct 12
19 Apr 12 8 May 12
130 8 May 12 23 May 12 23 Nov 12
23 May 12 27 Jun 12 130
27 Jun 12 26 Jul 12 140 25 Dec 12
26 Jul 12 26 Sep 12
27 Oct 12 23 Nov 12 26 Sep 12 27 Oct 12 16 Jan 13
140 25 Dec 12 16 Jan 13 140 23 Nov 12 25 Dec 12
16 Jan 13

Displacement 𝑡 = 𝐷𝑖𝑠𝑝𝑙𝑎𝑐𝑒𝑚𝑒𝑛𝑡
(ก) Profile เส้นท่อ %𝑆ℎ𝑒𝑎𝑟 = ∗ 100
𝐶𝑢𝑚𝑢𝑙𝑎𝑡𝑖𝑣𝑒 𝑑𝑒𝑣𝑖𝑎𝑡𝑖𝑜𝑛𝑡 − 𝐿𝑒𝑛𝑔𝑡ℎ
𝐶𝑢𝑚𝑢𝑙𝑎𝑡𝑖𝑣𝑒 𝑑𝑒𝑣𝑖𝑎𝑡𝑖𝑜𝑛𝑟𝑒𝑓
เข้าใจพฤติกรรมเขือ

(ค) %Shear
(ข) Displacement
่ นผ่านเครือ

รูปที่ 1-10 ตัวอย่างผลการวิเคราะห์จาก Inclinometer


่ งมือวัดฯ
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

Magnetic settlement gauges หรือ Soil Extensometer


หมุดวัดการทรุดตัวในตัวเขื่อนเป็ นเครื่องมือที่ติดตัง้ ไปพร้อมกับท่อ Inclinometer
โดยฝัง Magnetic plate หรือ Spider magnet หรือ Magnetic Ring ดังรูปที่ 1-
11 ไ ว้ ด้ า น น อ ก ข อ ง ท่ อ เ ป็ น ช่ ว ง ๆ ที่ มี ร ะ ย ะ ห่ า ง เ ท่ า ๆ กั น
ก า ร อ่ า น ค่ า ก า ร ท รุ ด ตั ว ภ า ย ใ น ตั ว เ ขื่ อ น ท า โ ด ย ห ย่ อ น Probe
ที่ ต อบสนองกับ สนามแม่ เ หล็ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น บริ เ วณ Magnetic plate หรื อ spider
magnet ทาให้ทราบความลึกของ plate จากปากหลุม
การอ่านค่าจะใช้ Magnetic Probe ซึง่ คล้ายกับ Dipmeter สาหรับหลุมวัดระดับน้า
แต่ใช้หลักของกระแสแม่เหล็กเป็ นสือ ่ ในการอ่านที่แต่ละ Gauge ต้องอ่านความลึก
4 ค่ า ตามสัญ ญ าณ เสี ย งทั้ง ดัง และเงี ย บ เพราะสน ามแม่ เ หล็ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น รอบ
Magnetic Ring เป็ นเส้นโค้งบรรจบกันเป็ นวง ดังรูปที่ 1-12 ความลึกของ Gauge
ซึง่ จะเป็ นตัวแทนสาหรับการคานวณเป็ นค่าเฉลีย่ จากการอ่านทัง้ สีค
่ รัง้
ใ น ท า ง ท ฤ ษ ฎี ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร ท รุ ด ตั ว ภ า ย ใ น ตั ว เ ขื่ อ น
จ ะ เ ริ่ ม จ า ก ห า ค่ า ร ะ ดั บ ข อ ง แ ต่ ล ะ Gauge
ซึ่ ง ไ ด้ จ า ก ก า ร หั ก ล บ ค ว า ม ลึ ก ที่ วั ด ไ ด้ จ า ก ร ะ ดั บ ป า ก ห ลุ ม
แ ล้ ว เ ป รี ย บ เ ที ย บ ร ะ ดั บ ที่ น้ อ ย ล ง จ า ก ค่ า ร ะ ดั บ เ ริ่ ม ต้ น ที่ ติ ด ตั้ ง
แต่จากประสบการณ์ ของผูเ้ ขียนพบว่ามักไม่สารวจหาค่าระดับของปากหลุมได้ทุกครัง้
ที่ อ่ า น ค่ า ค ว า ม ถี่ ข อ ง ก า ร อ่ า น ค่ า Settlement gauge
กับการสารวจระดับปากหลุมไม่ตรงกัน ไม่มีระดับปากหลุมทีค ่ งทีใ่ นช่วงเวลาก่อสร้าง
จึ ง ท า ใ ห้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ไ ด้ ค่ า ร ะ ดั บ ข อ ง Gauge ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง
และหาน าค่ า ระดับ ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งนี้ ไ ปใช้ ย่ อ มได้ ค่า การทรุ ด ตัว ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งไปด้ ว ย
ดังตัวอย่างในรูปที่ 1-13(ก)
เ ท ค นิ ค ที่ แ น ะ น า คื อ
การคานวณการเคลือ ่ นทีข่ องมาตรวัดการทรุดตัวควรพิจารณาใช้ระดับของมาตรวัดก
าร ท รุ ด ตั ว ที่ อ ยู่ ใก ล้ หิ น ฐ าน ร าก ม าก ที่ สุ ด เป็ น ตั ว อ้ าง อิ ง ( Datum Gauge)
ซึ่งจะมี ข้อ ผิด พลาดน้ อยกว่าการใช้ ระดับ ปากท่อมาค านวณหาการทรุ ด ตัว เพราะ
d a t u m g a u g e ฝั ง อ ยู่ ใ น ชั้ น ที่ ไ ม่ มี ก า ร ท รุ ด ตั ว ห รื อ ท รุ ด ตั ว น้ อ ย
และไม่ เ ปลี่ ย นแปลงระดับ เมื่ อ เที ย บกับ ปากหลุ ม ดัง นั้น จ าเป็ นต้ อ งหาระดับ ของ
datum gauge อย่าให้ผด ิ พลาด ดังตัวอย่างในรูปที่ 1-13(ข)
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม
หากคานวณหาค่าการทรุดตัวของวัสดุถมทีอ ่ ยูร่ ะหว่างมาตรวัดทีต่ ด
ิ กันแทนการทรุ ดตั
ว ข อ ง ม า ต ร วั ด ก า ร ท รุ ด ตั ว โ ด ย ต ร ง ไ ด้ จ ะ ดี ก ว่ า ม า ก
เ พ ร า ะ ข จั ด ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด จ า ก ป า ก ห ลุ ม ห รื อ d a t u m g a u g e
ท า ใ ห้ ไ ด้ ก า ร ท รุ ด ตั ว ภ า ย ใ น ที่ แ ท้ จ ริ ง โ ด ย อ ธิ บ า ย เ ป็ น ค่ า Strain
หรือ %การทรุดตัวภายใน ดังแสดงวิธีการคานวณในรูปที่ 1-14

- 20 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

(ก) Spider magnet

(ข) Magnet plate


รูปที่ 1-11 ภาพถ่ายของ Spider magnet และ Magnetic plate

- 21 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

รูปที่ 1-12 เส้นกระแสแม่เหล็กและลาดับการอ่านค่า

(ก) ค่าการทรุดตัวทีค
่ ด
ิ จาก Top tube

(ข) ค่าการทรุดตัวทีค
่ ด
ิ จาก Datum Ring
รูปที่ 1-13 ค่าการทรุดตัวของ Gauge ทีค
่ านวณได้ของเขือ
่ นลาตองตอนบน

- 22 -
- 23 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ

รูปที่ 1-14 การคานวณการทรุดตัวจากมาตรวัดการทรุดตัวภายใน


่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

Crossarm
กลุ่ม วัดการทรุดตัวภายใน ซึ่ง USBR พัฒ นาขึ้น มาใช้ตง้ ั แต่ปี ค.ศ. 1936 ที่เขื่อน
C a b a llo ( USBR, 1987) จึ ง เ รี ย ก ว่ า USBR Crossarm ซึ่ ง จั ด เ ป็ น
Mechanical Settlement Gauge ดังรูปที่ 1-15 จะเห็นว่า Crossarm ใช้เหล็ก
C h a n n e l วางข ว างบ น ชั้ น ดิ น โด ย ยึ ด อ ยู่ ก ั บ ท่ อ ที่ ต่ อ กั บ ป ล อ ก เป็ น ช่ ว งๆ
เ พื่ อ ใ ห้ ท รุ ด ตั ว ไ ด้ อิ ส ร ะ ใ น ก า ร ติ ด ตั้ ง Crossarm
ต้องดาเนิ นการระหว่างบดอัดชัน ้ ดินเท่านั้น ไม่สามารถติดตัง้ ในหลุมอย่าง Spider
Magnet ได้ ด้ ว ยเห ตุ นี้ ปั จ จุ บ ั น C ro s sa rm จึ ง ถู ก แ ท น ที่ ด้ ว ย Magnetic
Settlement Gauge อย่ า งไรก็ ต าม ใน ประเทศไท ยมี เขื่ อ น ที่ ฝั ง Crossarm
อยู่ บ้ า งโดยเฉพาะเขื่ อ นขนาดใหญ่ เช่ น เขื่ อ นสิริกิติ ์ ในปี พ.ศ. 2514 (ทวี ศ ก ั ดิ ,์
2519) เขือ ่ นแม่งดั สมบูรณ์ ชล ในปี พ.ศ. 2527 (วิกรม, 2530) เป็ นต้น
วิธี ก ารอ่านค่ามี วิธี แ ละเครื่องมื อแตกต่างไปจาก Magnetic Settlement Gauge
โดยหย่อ นหัววัด ที่เป็ นกระเดื่องดังรู ป ที่ 1-15(ข) อ่านค่าความลึก จากปากหลุ ม ถึง
Crossarm จากบนลงล่ า ง การค านวณการทรุ ด ตัว จะหาค่ า ระยะห่ า งระหว่ า ง
Crossarm ท านองเดี ย วกัน กับ Magnetic Settlement Gauge ที่แ สดงในรู ป ที่
1 -1 4 โ ด ย เ ริ่ ม จ า ก ก า ร ห า ค่ า ร ะ ดั บ ข อ ง Crossarm
ก่อนทีจ่ ะหาค่าระยะห่างของแต่ละ Crossarm ทีเ่ ปลีย่ นแปลงจากครัง้ ทีใ่ ช้อา้ งอิง

- 24 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

(ข) Crossarm Torpedo (USBR, 1987)

(ก) Crossarm (USBR,


1987)

(ค) ภาพถ่าย Crossarm ทีต ่ ด


ิ ตัง้ ณ
เขือ
่ นแม่งดั สมบูรณ์ ชล
ได้รบั อนุเคราะห์จาก รศ.ดร. วรากร ไม้เรียง
รูปที่ 1-15 USBR Crossarm

- 25 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

Foundation Settlement Plate


ในอดีตมีหลายเขือ ่ นหินถม ได้ตด ิ ตัง้ Foundation Settlement Plate
ไว้ทรี่ ะดับฐานเขือ่ น เพือ
่ ใช้ตอ
้ งการหาการทรุดตัวของชัน ้ ฐานราก เช่น
เขือ่ นวชิราลงกรณ (เขือ ่ นเขาแหลม) จังหวัดกาญจนบุรี
อ่างพักน้าของโรงไฟฟ้ าลาตะคองชลภาวัฒนา (เขือ ่ นลาตะคองตอนบน)
จังหวัดนครราชสีมา ดังรูปที่ 1-16 เครือ ่ งมือนี้ ประกอบด้วย Plate
ทีต
่ ง้ ั ไว้บนชัน
้ ฐานเขือ
่ น มีแกนเหล็กทีต ่ ง้ ั ตรงจาก Plate ไปถึงระดับผิวลาดเขือ
่ น
เมือ ่ ฐานรากทรุดตัวจะประมาณได้จากค่าระดับของแกนเหล็กนี้
โดยนาค่าระดับปลายท่อและความสูงของท่อไปคานวณหาระดับของ Plate
แล้วจึงหาค่าการทรุดตัวของ Plate ตามเวลา ดังแสดงในรูปที่ 1-17

รูปที่ 1-16 Foundation Settlement Plate


ทีอ
่ า่ งพักน้าของโรงไฟฟ้ าลาตะคองชลภาวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา

- 26 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-17 การคานวณการทรุดตัวของ Foundation Settlement Plate

Hydraulic Settlement Cell


เ นื่ อ ง จ า ก เ ขื่ อ น หิ น ถ ม ค อ น ก รี ต ด า ด ห น้ า
มีแผ่นคอนกรีตดาดหน้าทีอ ่ อ่ นไหวต่อการทรุดตัวของหินถมที่เป็ นฐานรากรองรับ แผ่
น ค อ น ก รี ต ไ ว้ ดั ง นั้ น จึ ง จ า เป็ น ที่ ต้ อ ง ติ ด ตั้ ง Hydraulic Settlement Cell
เพื่ อ ติ ด ต า ม ก า ร ท รุ ด ตั ว ภ า ย ใ น หิ น ถ ม ที่ เกิ ด ขึ้ น ใ น ร ะ ดั บ มิ ล ลิ เม ต ร ไ ด้
ห ลัก ก ารท างาน ใน รู ป ที่ 1-18 (ก ) Hydraulic Settlement Cell แ บ บ ดั้ ง เดิ ม
ที่ ถู ก ฝั ง ในหิ น ถม ภายใน C ell มี ท่ อ น้ าที่ มี ป ลายเปิ ด ส่ ว นปลายอี ก ด้ า นอยู่ ใ น
C ham ber นอกตัว เขื่ อ น ซึ่ ง ใช้ ยึ ด ท่ อ กับ ไม้ บ รรทัด เพื่ อ ระบุ ค วามสู ง ของน้ า
เ มื่ อ หิ น ถ ม ท รุ ด ตั ว น้ า ที่ อ ยู่ ใ น ท่ อ จ ะ ล้ น อ อ ก ภ า ย ใ น C e l l
แ ต่ ใ น ที่ สุ ด ร ะ ดั บ น้ า ทั้ ง ส อ ง ฝั่ ง จ ะ เ ข้ า สู่ ส ม ดุ ล ใ ห ม่
แ ล ะ ค ว าม สู ง น้ าจึ ง ใช้ เป็ น ตั ว ร ะ บุ ก าร ท รุ ด ตั ว ข อ ง หิ น ถ ม ปั จ จุ บั น C e ll
ยัง มี แ บบอัต โนมัติ ที่ ใ ช้ Vibrating wire ที่ มี ท่ อ น้ าและเชื่ อ มต่ อ กับ Reservoir
ที่ตดิ กับผนังของ Instrument Chamber ที่ด้านท้ายลาดชันเขื่อน ดังแสดงในรูป ที่
1-18(ข) ความสูงของน้าทีก ่ ระทากับ Cell จะเพิม ่ ขึน้ เมือ
่ หินถมทรุดตัว
ในการค านวณหาค่ า การทรุ ด ตัว ภายในจะหาค่ าระดับ ของ Cell แบบ Overflow
จะได้ โ ดยอ้า งอิง กับ พื้ น ของ Chamber และบวกด้ ว ยจากความสู ง น้ าจากพื้ น ห้ อ ง
ส่ ว น Cell แ บ บ Vibrating wire จ ะ อ้ า ง อิ ง ที่ Reservoir
แล้วหักระดับความสูงน้าออก ทัง้ นี้ เนื่องจากการทรุดตัวของหินถมจะเกิดขึน้ น้อยมาก
และความดัน น้ าที่ว ด ั จะแปรตามกับ ความดัน บรรยากาศ จึง ต้ อ งน า Barometric
Pressure มาปรับ แก้ ด้ ว ย นอกจากนี้ Chamber อาจเกิ ด การทรุ ด ตัว ไปด้ ว ย
จาเป็ นต้องสารวจหาค่าระดับของ Chamber เสมอ

- 27 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

- 28 -
(ก) Overflow Settlement Cell (Dunnicliff, 1993)

(ข) Vibrating Wire Cell (Roctest, 2017)

รูปที่ 1-18 ส่วนประกอบของ Hydrualic Settlement Cell


เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

Fixed Embankment Extensometer


นอกจากการทรุดตัวแล้วในเขือ ่ นวัสดุถมยังอาจสนใจในการเคลือ ่ นตัวในแนวราบภาย
ในเขือ ่ นด้วย โดยวัสดุถมสามารถยืดหดตัวได้ จึงอาจติดตัง้ Fixed Embankment
Extensometer ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 1-19(ก )
เป็ นเครื่องมื อ ติด ตามการยื ดหดตัวได้ Fixed Embankment Extensometer
แต่ ล ะชิ้ น ประกอบด้ ว ย แกนที่ ยื ด หดได้ ภายในแกนกลางจะมี Vibrating wire
sensor ที่ ว ด ั การยื ด หดได้ และปลายทั้ง สองของแกนมี ห น้ า แปลน (Flange)
ที่ เ สมื อ นเป็ นแผ่ น สมอเมื่ อ ฝั ง ในดิ น ตัว เขื่ อ น ในการติ ด ตั้ง จะต่ อ เนื่ อ งเป็ นชุ ด
ดังตัวอย่างในรูปที่ 1-19(ข) เป็ นการติดตัง้ ทีเ่ ขือ ่ นน้างึม2 ประเทศลาว

(ก) ส่วนประกอบของ Fixed Embankment Extensometer (Roctest, 2009)

(ข) การติดตัง้ Fixed Embankment Extensometer ทีเ่ ขือ


่ นน้างึม2 ประเทศลาว
รูปที่ 1-19 Fixed Embankment Extensometer

- 29 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

ก า ร ค า น ว ณ ห า ค่ า ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ใ น แ น ว ร า บ
เ ริ่ ม จ า ก แ ป ล ง ค่ า สั ญ ญ า ไ ฟ ฟ้ า ที่ อ่ า น ไ ด้ เ ป็ น ค่ า ร ะ ย ะ ท า ง
แ ล้ ว จึ ง น า ไ ป หั ก ล บ ด้ ว ย ค่ า เริ่ ม ต้ น จ ะ ไ ด้ ค่ า ก า ร เค ลื่ อ น ตั ว ใ น แ น ว ร า บ
ห าค่ า ค วาม เค รี ย ด ได้ จาก ค่ า ก ารเค ลื่ อ น ตั ว ใน แ น วราบ ห ารด้ ว ย ค วาม ย าว
ซึง่ แน่ นอนทีจ่ ะต้องพิจารณาทิศทางตามผลการสอบเทียบว่าเครือ ่ งหมายใดจะให้เป็ นก
ารหดหรือการยืด
เนื่ อ ง จ า ก ก า ร วั ด ก า ร เค ลื่ อ น ตั ว จ า ก Fixed embankment extensometer
เ ป็ น ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว เ ชิ ง สั ม พั ท ธ์ ร ะ ห ว่ า ง Flange ทั้ ง ส อ ง ด้ า น
ดังนั้นอาจเข้าในว่าเป็ นการเคลือ ่ นตัว การนาไปใช้จะพิจารณาเป็ นระบบ ดัง รูปที่ 1-
2 0
ทีว่ สั ดุเขือ
่ นเมือ
่ สิน
้ สุดการก่อสร้างจะยืดออกและหดตัวเมือ ้ มากในบริเ
่ เก็บน้าจะเกิดขึน
วณลาดเขือ ่ น ขณะทีแ ่ นวศูนย์แกนเขือ ่ นอาจไม่มีการเคลือ
่ นตัว

(ก) สิน
้ สุดการก่อสร้าง

(ข) เก็บกักน้า
รูปที่ 1-20 Relative movement จาก Fixed Embankment Extensometer

- 30 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

Direct pendulum หรือ Plumbline


เครื่องมือวัดที่ท่ วั โลกนิ ย มใช้วดั การเอียงตัวของเขื่อนคอนกรี ต มากที่สุดคือ Direct
pendulum ห รื อ Plumbline เ ค รื่ อ ง มื อ นี้ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
น้ า ห นั ก ซึ่ ง อ ยู่ ที่ ห้ อ ง อ่ า น ค่ า ที่ อ ยู่ ต อ น ล่ า ง ข อ ง เ ขื่ อ น
ตุ้ ม น้ าห นั ก ถู ก ห้ อ ย อ ยู่ ก ั บ ล วด ที่ ป ลาย ด้ าน ห นึ่ งยึ ด อ ยู่ ก ั บ ค าน บ น สัน เขื่ อ น
โ ด ย เ ส้ น ล ว ด นี้ จ ะ รั ก ษ า แ น ว ดิ่ ง ต า ม แ ร ง โ น้ ม ถ่ ว ง อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า
การเคลื่อ นที่ข องลวดที่ว ด ั จากห้อ งอ่านจะท าให้ท ราบถึง การเคลื่อนที่ข องสัน เขื่อ น
ดั ง ตั ว อ ย่ างรู ป ก าร เอี ย ง ตั ว ข อ งเขื่ อ น ค อ น ก รี ต ถ่ ว งน้ าห นั ก ใน รู ป ที่ 1-2 1
ที่ ก า ร เ อี ย ง ตั ว ข อ ง สั น เ ขื่ อ น อ า จ พ อ ค า ด ก า ร ณ์ ไ ว้ ว่ า
จะโน้ มลงมาด้ า นเหนื อน้ าเมื่ อ เที ย บกับ แนวดิ่ ง หลัง การก่ อ สร้า งเสร็ จ (End of
construction) เพราะหน้าตัดเขือ ่ นทีม ่ ีจุดศูนย์ถว่ งเยื้องไปทางด้านเหนื อน้าเล็กน้อย
แ ล ะ ใ น ท า ง ต ร ง กั น ข้ า ม เ มื่ อ เ ขื่ อ น เ ริ่ ม เ ก็ บ กั ก น้ า ( Impounding)
จะทาให้ตวั เขือ ่ นเอียงตัวไปยังทิศทางด้านท้ายน้าเนื่องจากแรงดันน้าทีบ ่ ริเวณด้านหน้
า เ ขื่ อ น Pendulum
จึงสามารถวัดการเคลือ ่ นทีท ่ แ
ี่ ตกต่างกันระหว่างสันเขือ ่ นกับฐานเขือ ่ นได้
ในบางครัง้ เพือ ่ ให้ได้คา่ การเคลือ่ นตัวของตัวเขือ่ นทีเ่ หมาะสมต้องเปรียบเทียบกับค่าอ่
านจากครัง้ ที่ใช้อา้ งอิง (Reference reading) ซึ่งอาจไม่ใช่ค่าอ่านเริม ่ ต้น (Initial
reading) เพราะการติด ตัง้ อาจเกิดขึ้น ในสภาวะที่เขื่อ นอาจมี ก ารเคลื่อ นที่ไปก่อ น
บ่อยครัง้ ทีก่ ารติดตัง้ ไม่ได้เกิดขึน้ หลังจากเขือ
่ นสร้างเสร็จในทันทีและมักได้เก็บน้า ไป
ก่ อ น แ ล้ ว
ค่าอ่านเริม่ ต้นจึงไม่ได้แสดงถึงการเคลื่อนตัวจากการเก็บน้ าที่เกิดขึน ้ ก่อนการติดตัง้
ดั ง นั้ น จ า เ ป็ น ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า เ ป รี ย บ กั บ ค่ า อ่ า น อ้ า ง อิ ง แ ท น
สาหรับเขือ ่ นคอนกรีตค่าอ่านอ้างอิงทีเ่ หมาะสมควรเป็ นการอ่านในขณะทีต ่ วั เขือ
่ นมีก
ารเคลื่ อ นตัว น้ อ ยที่ สุ ด เช่ น ณ หลัง การก่ อ สร้า งทัน ที หรื อ ในครั้ง ที่ น้ า ในอ่า งฯ
มีระดับต่า

- 31 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

ASSUME INITIAL END OF CONSTRUCTION IMPOUNDING


POSITION

PENDULUM CHAMBER

DIRECT PENDULUM Rock


Foundation
+20.00 m.MSL

text

INVERTED PENDULUM
Bottom Elevation,
-35.00 m.MSL

Rock Foundation

รูปที่ 1-21 การตอบรับของดิง่ วัดการเคลือ


่ นตัว
ค่าการเคลื่ อ นตัว ของเส้น ลวดนี้ อ าจน าไปค านวณเป็ นมุ ม การเอี ย งตัว ของเขื่ อ น
ซึ่ ง โ ด ย ส ม ม ติ ใ ห้ ตั ว เ ขื่ อ น เ ป็ น วั ต ถุ แ ข็ ง เ ก ร็ ง (Rigid Body)
เ มื่ อ ตั ว เ ขื่ อ น รั บ แ ร ง ดั น น้ า ด้ า น ห น้ า เ ขื่ อ น
เขื่ อ น ยัง ค งสาม ารถรัก ษ ารู ป ร่ า งไว้ โ ด ยไม่ มี ก ารเสี ย รู ป แ ละไม่ มี ก ารบิ ด ตัว
ดั ง นั้ น สั ด ส่ ว น ก า ร เ อี ย ง ตั ว ห รื อ
มุมการเอียงตัวของตัวเขือ ่ นสามารถคานวณหาได้จากสมการด้านล่าง ตามรูปที่ 1-22
𝑑
𝑆𝑙𝑜𝑝𝑒 =
𝐻
𝑑
𝜃 = tan−1 ( )
1000 × 𝐻
เมือ่
𝑆𝑙𝑜𝑝𝑒 = สัดส่วนการเอียงตัว หน่ วย มิลลิเมตรต่อเมตร
𝜃 = มุมการเอียงตัว (Tilting) หน่ วยเป็ นองศา
𝑑 = การเคลือ่ นตัวของเส้นลวด (Displacement) หน่ วยเป็ นมิลลิเมตร
𝐻 = ความสูงจากโต๊ะอ่านถึงจุดห้อย Pendulum บนสันเขือ ่ น (Height)
หน่ วยเป็ นเมตร

- 32 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

Deflection, d

Tilting, q

0. 8

Height, H
Direct
Pendulum

0. 4

1
Deflection, d

Instrument
Chamber

Inverted
Pendulum

รูปที่ 1-22 การวิเคราะห์การเอียงตัวจาก Direct Pendulum


ก ร ณี ที่ มี โ ต๊ ะ อ่ า น ม า ก ก ว่ า ห นึ่ ง จุ ด
ค่ า ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ข อ ง เ ส้ น ล ว ด ที่ ไ ด้ วั ด จ า ก ต า แ ห น่ ง ที่ ฐ า น เ ขื่ อ น
ซึ่ ง พิ จ ารณาให้ ฐ านเขื่ อ นไม่ มี ก ารเคลื่ อ นที่ จะเป็ นค่ า การเคลื่ อ นตัว ที่ ส น
ั เขื่ อ น
ตัวอย่างเช่นทีเ่ ขื่อนภูมพ ิ ล ปลายลวดด้านบนแขวนไว้ที่ Utility gallery ระดับ +256
ม . ร ท ก . ซึ่ ง ใ น ที่ นี้ พิ จ า ร ณ า ใ ห้ เ ป็ น ตั ว แ ท น ข อ ง สั น เ ขื่ อ น
ด้ ว ย น้ า ห นั ก ที่ ถ่ ว ง ไ ว้ ที่ ป ล า ย ด้ า น ล่ า ง ข อ ง เ ส้ น ล ว ด
จ ะ ป รั บ ใ ห้ แ น ว ข อ ง เ ส้ น ล ว ด เ อ ง อ ยู่ ใ น แ น ว ดิ่ ง
ค่าการเคลือ ่ นตัวทีว่ ดั ได้จากจุดอ่านทีฐ่ านเขือ
่ นเป็ นการเปรียบเทียบระหว่างสันเขือ ่ นกั
บ ฐ า น เ ขื่ อ น ส า ห รั บ ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ข อ ง ตั ว เ ขื่ อ น ที่ จุ ด อื่ น ๆ
จะคานวณหาได้จากการเปรียบเทียบกับการเคลือ ่ นตัวทีจ่ ุดทีพ
่ จิ ารณากับการเคลือ ่ นตัว
ที่ สั น เ ขื่ อ น ซึ่ ง อ ธิ บ า ย ด้ ว ย รู ป ที่ 1-23
ย ก ตั ว อ ย่ างก ารค าน วณ ห าค่ าก าร เค ลื่ อ น ตั ว ข อ งตั ว เขื่ อ น ใน Block 12 ณ
ตาแหน่ งต่างๆ เป็ นดังนี้
- ค่ า ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ข อ ง สั น เ ขื่ อ น ( เ ที ย บ กั บ ฐ า น เ ขื่ อ น ) เ ท่ า กั บ
ค่าอ่านจากจุ ด อ่านที่ระดับ +122 ม.รทก. ลบด้วย ค่าการเคลื่อ นตัวของฐานเขื่อ น
(ซึง่ กาหนดให้เป็ นศูนย์)
- ค่าการเคลือ
่ นตัวของตัวเขือ
่ นทีร่ ะดับ +150 ม.รทก. (เทียบกับฐานเขือ
่ น) เท่ากับ
ค่าอ่านจากจุดอ่านที่ระดับ +122 ม.รทก. ลบด้วย ค่าอ่านจากจุ ดอ่านที่ระดับ +150
ม.รทก.

- 33 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

- ค่าการเคลือ
่ นตัวของตัวเขือ
่ นทีร่ ะดับ +208 ม.รทก. (เทียบกับฐานเขือ
่ น) เท่ากับ
ค่าอ่านจากจุดอ่านที่ระดับ +122 ม.รทก. ลบด้วย ค่าอ่านจากจุดอ่านที่ระดับ +208
ม.รทก.

- 34 -
Reference Present Reference Present

RWL at present Displacement The displacement at top = the movement of the wire at the base
at top
Plumbline is hang at the top.
There is no reading at the top.

The displacement at intermediate = the displacement at the top - the movement at the intermediate

Displacement
at intermediate The movement at the intermediate

The reading of plumbline is the


movement of the wire relative to
movement of the gallery (or
reading table).

- 35 -
The displacement at dam base (is very small) = 0
Very small
Displacement The movement of plumbline at the dam base
at dam base presents the displacement of the top.
RWL at reference

Assume no movement at dam base

Displacement of dam body Reading of plumbline Calculation for the displacement


เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ

รูปที่ 1-23 การคานวณหาการเคลือ


่ นตัวในตัวเขือ
่ นจาก Plumbline
่ งมือวัดฯ
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

Tiltmeter
ก า ร เ อี ย ง ตั ว ข อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ยั ง ส า ม า ร ถ ต ร ว จ วั ด ไ ด้ ด้ ว ย Tiltmeter
ซึ่ ง ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ก ล ไ ก ก า ร อ่ า น ค่ า ด้ ว ย ท า ง ไ ฟ ฟ้ า
ภายในบรรจุ ห ลอดแก้ ว ที่ มี ข องเหลวอยู่ ภ ายในที่ มี ฟ องอากาศ ที่ ห ลอดแก้ ว มี ข ้วั
Electrode ฟ อ ง อ า ก า ศ จ ะ อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง ขั้ ว Electrode ดั ง รู ป ที่ 1-24
เมื่ อ เกิ ด การเอี ย งตัว ไปฟองอากาศเคลื่ อ นที่ ท าให้ ค วามต่ า งศัก ย์ ที่ Electrode
เ ป ลี่ ย น ไ ป Tiltmeter แ บ บ นี้ เ รี ย ก ว่ า Electro-level
น อ ก จ า ก ก ล ไ ก นี้ แ ล้ ว ยั ง มี แ บ บ ที่ ใ ช้ Vibrating wire ด้ ว ย
ใน เขื่ อ น ค อน ก รี ต สาม ารถ น า Tiltmeter ห ลายตัว ม าติ ด ตั้ง ใน แ น วเดี ยวกัน
เพือ่ ประมาณการโก่งตัวในลักษณะเดียวกันกับ Pendulum ดังแสดงในรูปที่ 1-25

Reading range: ±3 degree


Reading unit: Voltage, V
Polynomial equation:
q=
A+BV+CV2+DV3+EV4+FV5
Sign Notation: + CW, -CCW
รูปที่ 1-24 หลักการทางานของ Tiltmeter

รูปที่ 1-25 การนา Tiltmeter มาใช้วเิ คราะห์การโก่งตัวของเขือ


่ นคอนกรีต
(Applied Geomechanics Inc., 2007)

- 36 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

ก า ร ค า น ว ณ ห า ก า ร เ อี ย ง ตั ว จ า ก Tiltermeter
จ ะ ยั ง ค ง ยึ ด ห ลั ก ก า ร เ ดิ ม ข อ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง จ า ก ค่ า อ้ า ง อิ ง
ซึ่ ง โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ ใ ช้ ค่ า อ่ า น ห ลั ง ก า ร ติ ด ตั้ ง
แต่หากพิจารณาอย่างละเอียดก็ ไม่จาเป็ นที่จะน าค่าเริ่มต้น เท่านั้น มาใช้เปรียบเทียบ
ที่สาคัญ คือการใช้ค่าที่รูส
้ ถานะของแรงกระท าที่น้ อยที่สุด เช่น ก่อนเริ่ม การเก็ บ น้ า
หรือขณะทีร่ ะดับเก็บกักต่าทีส ่ ด
ุ ก็อาจให้ผลลัพธ์ทด ี่ ีกว่าได้
ผลจากการยืดและหดตัวของแท่นรองรับที่เป็ นโลหะ
ปกติ จ ะติ ด ตั้ง Tiltmeter บน ผิ ว คอน กรี ต ได้ ห ากผิ ว อยู่ ใ น ดิ่ ง ห รื อ แน วราบ
กรณี ของเขื่อนหินถมคอนกรีตดาดหน้ าที่ลาดเขื่อนเอียงไม่อยู่ในแนวราบ จะติดตัง้
Tiltmeter บ น ฐ า น ที่ เ ป็ น โ ล ห ะ ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 1-26( ก )
ในระหว่างการก่ อ สร้างบริเวณลาดเขื่ อ นด้ านเหนื อ น้ า มี อุ ณ หภู มิที่ แ ปรปรวนมาก
ซึ่ง ย่อ มส่ง ผลต่ อ ฐานโลหะ จากตัวอย่างในรู ป ที่ 1-26(ข) พบว่า การเอี ย งตัว ของ
Tiltmeter จ ะ มี ค ว า ม ผ ก ผั น กั บ อุ ณ ห ภู มิ ใ น ร ะ ห ว่ า ง ก่ อ ส ร้ า ง
แต่ เ มื่ อ เก็ บ น้ า แล้ ว เครื่ อ งมื อ อยู่ ใ ต้ ร ะดับ น้ า จึง ไม่ มี ก ารเปลี่ย นแปลงตามอุ ณ หภู มิ
ในระหว่างก่อสร้างอุณหภูมแ ิ ละการเอียงตัวมีความสัมพันธ์ดงั แสดงในรูปที่ 1-26(ค)
ทาให้หลังการปรับแก้อุณหภูมจิ งึ ทาให้คา่ การเอียงตัวไม่แปรปรวน ดังแสดงในรูป ที่
1-26(ข)

- 37 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

(ก) แท่นโลหะรองรับ Tiltermeter บนคอนกรีตดาดหน้าของเขือ


่ นน้างึม2
ประเทศลาว
1.00 45
0.90 Before Correction
After Correction 40
0.80
0.70 Temperature
35
0.60
Angular Rotation (degree)

0.50 30

Temperature ( C)
0.40

o
25
0.30
0.20
20
0.10
0.00 15
-0.10
10
-0.20
-0.30
5
-0.40
-0.50 0
4 Aug 09 3 Sep 09 3 Oct 09 2 Nov 09 2 Dec 09 1 Jan 10 31 Jan 10
Date

(ข) ผลกระทบของการยืดหดของแท่นโลหะตามการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิ


0.100

0.050
Change of angle (degree)

0.000

-0.050

y = -0.00749x
2
R = 0.85818
-0.100
-15.0 -10.0 -5.0 0.0 5.0 10.0
Temperature Change (oC)

(ค) ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมท
ิ เี่ ปลีย่ นแปลงกับมุมทีว่ ดั ได้
รูปที่ 1-26 ผลกระทบการเอียงในแท่นโลหะจากการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิ

- 38 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

Inverted pendulum
เครื่ อ งมื อ วัด พฤติ ก รรมเขื่ อ นชนิ ด นี้ พบว่ า มี ก ารติ ด ตั้ง เฉพาะในเขื่ อ นคอนกรี ต
ที่ ต้ อ ง ก า ร ท ร า บ ว่ า ตั ว เ ขื่ อ น เ ลื่ อ น ไ ถ ล ห รื อ ไ ม่ Inverted pendulum
ถู ก ติ ด ตั้ ง ใ ห้ ก ลั บ ท า ง จ า ก Direct pendulum
โดยให้ ส ม อยึ ด ลวดฝั ง อยู่ ใ น ชั้น หิ น ฐาน รากที่ พิ จ ารณ าว่ า ไม่ มี ก ารเคลื่ อ น ตัว
ปลายด้านบนของเส้น ลวดที่ใช้ห ย่อนสมอถูกขึงไว้กบ ั ทุ่น ที่วางอยู่ในอ่างน้ าด้านบน
ดัง แสดงในรู ป ที่ 1-27 ดัง นั้น หากตัว เขื่ อ นมี ก ารเคลื่อ นที่ ไ ปที่ ร อยต่อ กับ ฐานราก
จะสามารถตรวจวัด ได้ ทั้ง นี้ สิ่ ง ส าคัญ ที่ สุ ด ในการติ ด ตั้ง Inverted pendulum
ให้เครือ ่ งมือมีประสิทธิภาพจาเป็ นต้องเจาะหลุมและติดตัง้ ท่อต้องทาให้ได้ดงิ่ เพียงพอ
เพือ่ ไม่ให้เส้นลวดเคลือ ่ นไปสัมผัสท่อได้ โดยทั่วไปกาหนดให้เอียงไปมากกว่า 1 มม.
ต่อ 1 เมตร
การประเมินค่าการเลือ ่ นตัวพิจารณาจากตาแหน่ งของเส้นลวดทีเ่ คลือ ่ นไปจากตาแหน่
ง ตั้ ง ต้ น ซึ่ ง อ า จ เป็ น ณ เว ล า ที่ ติ ด ตั้ ง เส ร็ จ ห รื อ เว ล า ที่ ก่ อ ส ร้ า ง แ ล้ ว เส ร็ จ
หรือเวลาก่อนเริม ่ เก็บกักน้า และแปลผลร่วมกับระดับถม หรือระดับน้าในอ่างเก็บน้า

0. 8

Direct 1
Pendulum

0. 4

Deflection, d

Instrument
Chamber

Deflection, d

Inverted
Pendulum

รูปที่ 1-27 การวิเคราะห์การเลือ


่ นไถลจาก Inverted Pendulum

Rod extensometer และ Rocmeter


Rod extensometer เป็ นเครื่องมื อวัด การเคลื่อนตัวระหว่างตัว เขื่อ นกับ ฐานราก
เครื่ อ งมื อ นี้ ติ ด ตั้ง ในหลุ ม เจาะไปถึ ง ชั้น ฐานรากที่ พิ จ ารณาว่ า ไม่ มี ก ารเคลื่ อ นตัว
ห รื อ มี ห น่ ว ย แ ร ง เ กิ ด ขึ้ น น้ อ ย Rod extensometer ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
แ ท่ งวัส ดุ ที่ มี ก ารห ด ตั ว น้ อ ย เช่ น F ib e rg la s s ที่ ป ลาย ด้ าน ล่ า งมี หั ว ส ม อ
ใ ช้ ยึ ด กั บ ชั้ น หิ น ฐ า น ร า ก แ ล ะ ป ล า ย ด้ า น บ น ข อ ง Rod extensometer

- 39 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

ถู ก ป ล่ อ ย อิ ส ร ะ อ ยู่ ที่ ป า ก ห ลุ ม
ฝาครอบทีย่ ด ึ กับโครงสร้างมีชอ ่ งวัดระยะห่างจากโครงสร้างถึงปลายด้านบนของ Rod
ตัว อย่ า งของเครื่ อ งมื อ นี้ ที่ ติ ด ตั้ง ที่ เ ขื่ อ น ไซ ยะบุ รี ประเท ศลาว ใน รู ป ที่ 1-28
ใ น ห ลุ ม ห นึ่ ง มี R o d จ า น ว น ส า ม ท่ อ น รู ป ที่ 1-28 ( ก )
เป็ นการติดตัง้ ในหลุมทีเ่ อียงไปทางด้านท้ายน้ า ดังนั้นหากมีการทรุดตัวของตัวเขือ ่ น
(โดยเทียบกับชัน ้ หินฐานรากที่ไม่เคลื่อนตัว) ทาให้ระยะห่างปลายด้านบนของ Rod
extensometer กั บ ป า ก ห ลุ ม ล ด น้ อ ย ล ง ไ ป ด้ ว ย
( ป า ก ห ลุ ม จ ะ เ ค ลื่ อ น เ ข้ า ห า ป ล า ย ด้ า น บ น ข อ ง Rod extensometer
ที่ อ ยู่ ภ า ย ใ น ท่ อ ม า ก ขึ้ น ) รู ป ที่ 1-28 ( ข )
เ ป็ น ก า ร ติ ด ตั้ ง ใ น ห ลุ ม ที่ ว า ง ใ น แ น ว น อ น ไ ป ท า ง ด้ า น เ ห นื อ น้ า
หากมีการเคลือ ่ นตัวของตัวเขือ ่ นไปด้านท้ายน้า ย่อมทาให้ระยะห่างปลายด้านบนของ
Rod extensometer กับ ปากหลุ ม เพิ่ ม ขึ้น ประเทศไทยมี ติด ที่ เ ขื่ อ นรัช ชประภา
( เ ขื่ อ น เ ชี่ ย ว ห ล า น ) จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี
แต่เป็ นทีล่ าดชันหินใกล้โรงไฟฟ้ าไม่ใช่ทีฐ่ านรากเขือ ่ น

(ก) หลุมเจาะในแนวเอียงไปด้านท้ายน้า

(ข) หลุมเจาะในแนวราบไปทางเหนื อน้า

- 40 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-28 ตัวอย่างการติดตัง้ Rod Extensometer กับเขือ


่ นคอนกรีต
การคานวณหาการเคลือ ่ นตัวของเครือ ่ งมือยังคงต้องพิจารณาจากค่าอ่านทีเ่ ปลีย่ นไปจ
า ก ค่ า เ ริ่ ม ต้ น แ ต่ ทิ ศ ท า ง ท า ง ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ
จ า ก นั้ น จึ ง พิ จ า ร ณ า ถึ ง ก า ร ว า ง ตั ว ข อ ง ห ลุ ม เ จ า ะ
จึ ง จ ะ น า ม า ใ ช้ วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ข อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ขื่ อ น ไ ด้
ทั้ง นี้ ทิ ศ ท างใด จะเป็ น เค รื่ อ งห ม าย บ วก จะมี ห ลัก ก ารเบื้ องต้ น ที่ แ น ะน าคื อ
ทิ ศ ท า ง ที่ ค า ด ว่ า โ ค ร ง ส ร้ า ง จ ะ เ ค ลื่ อ น ตั ว ไ ป จ ะ เ ป็ น บ ว ก เ ช่ น
กาหนดให้เป็ นบวกสาหรับการเคลือ ่ นตัวไปด้านท้ายน้า เป็ นต้น
ปัญหาการแปลผล
ใน ก ร ณี ที่ ติ ด ตั้ ง เค รื่ อ ง มื อ วั ด (Sensor) ที่ ป าก ห ลุ ม สิ่ ง ที่ ต้ อ ง ร ะ วั ง คื อ
ทิ ศ ท างก ารเค ลื่ อ น ตัว ที่ ว ัด ได้ ก ับ ค่ า อ่ า น โด ยดู ได้ จ าก ผ ลก ารสอบ เที ยบ ใน
Calibration sheet ในกรณี นี้ เมื่อ sensor อ่านค่าได้ม ากขึ้น แสดงว่า sensor
ก าลัง หดตัว หรื อ เมื่ อ ติ ด ตั้ง sensor ปากหลุ ม จะหมายถึ ง sensor หรื อ rod
เคลือ่ นตัวเข้าหากัน ในทางกลับกัน เมือ ่ sensor อ่านค่าได้น้อยลง แสดงว่า sensor
ยื ด อ อ ก ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 1 -2 9 ( ข )
ซึ่ งแ น่ น อ น ว่ า ผู้ ผ ลิ ต แ ต่ ล ะ ราย อ าจก าห น ด เค รื่ อ งห ม าย แ ต ก ต่ างไป จาก นี้
ทั้ ง นี้ พึ ง ร ะ ลึ ก ไ ว้ เ ส ม อ ว่ า
ก่อ นเริ่ม การแปลผลเครื่อ งมื อ ลัก ษณะนี้ จ าเป็ นที่จ ะต้อ งก าหนดเครื่อ งหมาย sign
notation โดยพิจารณาจากทัง้ ผลการสอบเทียบและรูปแบบการติดตัง้ เครือ ่ งมือ

(ก) ทิศทางของการเคลือ
่ นทีจ่ ากการอ่านค่าด้วย Vernier caliper

- 41 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

(ข) ทิศทางของการเคลือ
่ นทีก
่ ารอ่านค่าด้วย Linear Displacement Transducer
รูปที่ 1-29 ทิศทางการเคลือ
่ นตัวจากเครือ
่ งมือ Rod Extensometer

Jointmeter เพือ
่ วัดการเคลือ
่ นตัวทีร่ อยต่อ
ใ น เขื่ อ น ที่ มี ค อ น ก รี ต เป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง มั ก มี ร อ ย ต่ อ ( Joint)
ที่ อ อ ก แ บ บ ไ ว้ เ พื่ อ ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ข อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง
อ งค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ งโค ร ง ส ร้ า ง ทั้ ง ฝั่ งข อ ง ร อ ย ต่ อ อ าจ เค ลื่ อ น ไ ด้ แ ต ก ต่ าง กั น
ซึ่ ง ส า ม า ร ถ วั ด ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ที่ ร อ ย ต่ อ นี้ ไ ด้ ด้ ว ย Jointmeter
ลัก ษ ณ ะการติ ด ตั้ง ที่ ต้ อ งคร่ อ มรอยต่ อ ข องโครงสร้ า งอาจติ ด ตั้ง Jointmeter
เพี ยงตัวเดียว ดังตัวอย่างในรู ป ที่ 1-30(ก) หรือติดตัง้ เป็ นชุ ดที่มีม ากกว่ าที่แนวได้
ตัวอย่างในรูปที่ 1-32 และ 1-33 ทีต ่ ด
ิ ตัง้ ทัง้ สามแกน
จ า ก รู ป ทั้ ง ส อ ง
จะเห็นว่าการเคลือ ่ นตัวทีว่ ดั ได้เป็ นความแตกต่างระหว่างกันของโครงสร้างทัง้ สองฝั่ง
ของรอยต่อ (Relative displacement) โดยทั่วไปจะอ้างอิงกับ ค่าเริ่ม ต้น (Initial
reading) ที่ วั ด ห ลั ง ก า ร ติ ด ตั้ ง เ ค รื่ อ ง มื อ
แ ล้ ว เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ค่ า ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ วั ด ไ ด้ ใ น ค รั้ ง ถั ด ไ ป
จึ ง เป็ น ก าร อ ธิ บ าย ก าร เค ลื่ อ น ตั ว จ าก ก าร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ที่ เป รี ย บ เที ย บ กั บ
ค่ า ที่ ไ ด้ จ า ก เ ว ล า ที่ อ้ า ง อิ ง ( Reference value) อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม
อาจเปรียบเทียบกับค่าทีช ่ ่วงอืน ่ ก็ได้ เช่น ก่อนเริม่ เก็บกักน้า วันที่สน ิ้ สุดการก่ อสร้าง
ก็ได้

- 42 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

(ก) เครือ
่ งมือ Jointmeter ทีค
่ ร่อมรอยต่อ

(ข) ข้อมูลการสอบเทียบ Jointmeter


รูปที่ 1-30 ตัวอย่างผลการสอบเทียบของ Jointmeter
การเคลื่ อ นตัว ของรอยต่ อ เป็ นการวัด ระยะห่ า งของจุ ด ที่ อ ยู่ ค นละฝั่ งของรอยต่ อ
โ ด ย ก า ห น ด ใ ห้ จุ ด ห นึ่ ง เ ป็ น อ้ า ง อิ ง ห นึ่ ง ข อ ง อี ก จุ ด ห นึ่ ง
ห รื อ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว เ ชิ ง สั ม พั ท ธ์ ( Relative movement)
ดังตัวอย่างในรูป ที่ 1-31 บล็อกที่อยู่ฝ่ งั ซ้ายถูกกาหนดให้เป็ นจุดอ้างอิง หาก Block
ที่ อ ยู่ ติ ด กั น มี ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ไ ป เ ท่ า ๆ กั น ร อ ย ต่ อ ร ะ ห ว่ า ง Block
อาจมี ก ารเค ลื่ อ น ตัว น้ อย แ ม้ ตัว เขื่ อ น ทั้ง ห น้ าตัด จะเค ลื่ อ น ที่ ไ ป ม าก ก็ ต าม
นอกจากนี้ พฤติกรรมการเคลือ ่ นตัวระหว่างบล็อกยังขึน ้ อยูก
่ บั การยึดรัง้ อีกด้วย

- 43 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

Uniform load

Concrete blocks

Direction of movement refer to the left hand block

Fix Fix

Fix

Fix

รูปที่ 1-31 การเคลือ


่ นตัวของรอยต่อระหว่างบล็อกคอนกรีต
ปัญหาการแปลผล
ก า ร ร ะ บุ ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ที่ ร อ ย ต่ อ
น อ ก จ า ก จ ะ ต้ อ ง ค า น ว ณ ห า ข น า ด ข อ ง ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ แ ล้ ว
ยั ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง ร ะ บุ ทิ ศ ท า ง ข อ ง ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ที่ ด้ ว ย
ซึ่ ง ขึ้ น อยู่ ก บ
ั ผลการสอบเที ย บและกลไกวัด ของเครื่ อ งมื อ ตามล าดับ ยกตัว อย่ า ง
Jointmeter ใน รู ป ที่ 1 -3 0 (ก ) ติ ด ตั้ ง ใน แ น ว ก าร เปิ ด แ ล ะ ปิ ด ข อ งร อ ย ต่ อ
ดัง นั้น การระบุ ทิศ ทางสาหรับ แนวนี้ คื อ ขยายและหดตัว หากน าผลการสอบเที ย บ
(Calibration) จาก ผู้ ผ ลิ ต ใน รู ป ที่ 1 -3 0 (ข ) ม าพิ จารณ า ซึ่ งใน ที่ นี้ ใช้ ค าว่ า
Displacement แทนการเคลื่ อ นตัว ของเครื่ อ งมื อ โดยเมื่ อ กด Jointmeter จน
Spring ภายในเคลือ ่ นสุด จะมีคา่ Displacement มากทีส ่ ด
ุ (Full scale) เป็ น 100
ม ม . แ ต่ ห า ก ป ล่ อ ย ใ ห้ เ ป็ น อิ ส ร ะ มี ค่ า เ ป็ น 0 ม ม .
จะเห็ น ว่ า ค่ า ที่ อ่ า น ได้ แ ต่ ล ะค รั้ง จึ ง ไม่ ส าม ารถอธิ บ ายถึ ง Displacement ได้
ดัง นั้ น ใน ท างป ฏิ บ ั ติ จึ ง ห าค่ า ค วาม แ ต ก ต่ า งจาก ค รั้ง ที่ อ้ า งอิ ง ตัว อย่ า งเช่ น
ใ น ข ณ ะ เริ่ ม เก็ บ กั ก น้ า อ่ า น ค่ า จ า ก Jointmeter ตั ว นี้ ไ ด้ 3 6 4 4 .8 3 LU
ห รื อ คิ ด เป็ น ค่ า อ่ า น เริ่ ม เต้ น ( initial reading, D0 ) เท่ า กั บ 2 5 .3 3 ม ม .
แ ล้ ว ต่ อ ม า ห ลั ง ก า ร เก็ บ น้ า ไ ด้ 1 ปี พ บ ว่ า มี ค่ า อ่ า น เป็ น 3 8 1 3 .0 2 LU
ห รื อ คิ ด เป็ น ค่ าอ่ า น ที่ 1 ปี D1 yr เท่ ากั บ 2 7 .9 7 ม ม . ซึ่ งจ ะ ไ ด้ Relative
Displacement เ ท่ า กั บ 2 7 . 9 7 – 2 5 . 3 3 = + 2 . 6 4 ม ม .
ใ น ข ณ ะ ที่ ทิ ศ ท า ง จ ะ พิ จ า ร ณ า จ า ก ก ล ไ ก ก า ร อ่ า น ค่ า ข อ ง เ ค รื่ อ ง มื อ
ในกรณี นี้ เมื่อสปริงหดไปมากเท่าใดจะมี ค่าอ่านมากเท่านั้น ดังนั้น หาก Relative
displacement มีคา่ เพิม ่ ขึน้ แสดงว่า รอยต่อหดเข้าหากัน

- 44 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

ผลกระทบจากอุณหภูมิ
ก ร ณี ที่ Jointmeter ติ ด ตั้ ง อ ยู่ กั บ โค ร งเห ล็ ก ที่ ยึ ด อ ยู่ ภ าย น อ ก โค ร งส ร้ า ง
ซึ่งย่อมทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดจากอุณ หภู มิด้วย ยกตัวอย่าง Jointmeter
ที่ตดิ ตัง้ บน Naviagation Lock ของเขื่อนไซยะบุรี ประเทศลาว เครือ่ งมือในรูปที่ 1-
3 2 ( ก ) อ ยู่ ภ า ย น อ ก สั ม ผั ส กั บ อ า ก า ศ โ ด ย ต ร ง เ มื่ อ พ . ศ . 2 5 5 9
มีอากาศหนาวเย็นจึงมีคา่ อ่านทีล่ ดลงผิดปกติ ดังแสดงในรูปที่ 1-32(ค) Jointmeter
ทีพ่ จิ ารณาอยูใ่ นแนวดิง่ หากแปลความว่าเกิดการทรุดตัวทีแ ่ ตกต่างย่อมเกิดข้อสงสัยต
า ม ม า
จาเป็ นต้องไปดูในสนามด้วยว่ามีหลักฐานหรือไม่ซงึ่ ในกรณี นี้ไม่พบการทรุดตัวแตกต่
า ง ใ ห้ เ ห็ น ใ น ส น า ม เ นื่ อ ง จ า ก ชุ ด ที่ ยึ ด Jointmeter
กั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ว่ า เ กิ ด ก า ร ห ด ตั ว จ า ก ค ว า ม ห น า ว เ ย็ น
การปรับแก้ผลกระทบจากอุณหภูมเิ ริม ่ จากหาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมท ้
ิ ีเ่ กิดขึน
กั บ ค่ า อ่ า น ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น รู ป ที่ 1 -3 2 ( ข )
ป รั บ แ ก้ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ โ ด ย ก า ห น ด อุ ณ ห ภู มิ ฐ า น ไ ว้
จะได้ผลการเคลือ ่ นตัวทีแ
่ กว่งตัวลดลง
ผลกระทบของน้าหนักของโครงเหล็กยึด Jointmeter ต่อการเคลือ
่ นตัว
ผลการตรวจวัดในระยะเวลา 1 ปี หลัง การติดตั้ง ดัง แสดงตัวอย่างในรู ป ที่ 1-33
พบว่าการเคลื่อนตัวของรอยต่อทัง้ 3 ชุ ด ในทุ กทิศทางมีค่าน้ อยมาก (น้ อยกว่า 0.5
ม ม . ) แ ล ะ ไ ม่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ร ะ ดั บ น้ า ใ น อ่ า ง ฯ
แต่ห ลัง การติดตั้ง การเคลื่อนตัวเปลี่ย นแปลงตามเวลา จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2556
ค่ า การเคลื่ อ นตัว สุ ท ธิ ท ้ งั สามทิ ศ ทางเริ่ ม คงตัว เมื่ อ พิ จ ารณาลัก ษณะการติ ด ตั้ง
Jointmeter ซึ่ งท าให้ ท ร าบ ว่ า เค รื่ อ งมื อถู ก ยึ ด กับ โค รงเห ล็ ก ดั ง รู ป ที่ 1-3 3
โครงเห ล็ ก ฝั่ งซ้ า ยมี น้ าห นั ก ม ากเมื่ อ ห้ อ ยอยู่ น าน ท าให้ เ กิ ด การเคลื่ อ น ตัว ได้
ดังนั้นการเคลือ ่ นตัวที่วดั ได้ในรูปที่ 1-34 จะไม่ใช่การเคลื่อนตัวของรอยต่อทีแ ่ ท้จริง
พฤติกรรมการเคลือ ่ นตัวของรอยต่อควรเปลีย่ นแปลงตามน้าหนักทีก ่ ระทา

- 45 -
สิง่ ทีเ่ ครือ

(ข) ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมก
ิ บั ค่าอ่าน
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

(ก) Jointmeter ทีต


่ ด
ิ ตัง้ ภายนอก

- 46 -
(ค) ผลการปรับแก้อณ
ุ หภูมิ

รูปที่ 1-32 Jointmeter แบบกลุม



เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-33 ลักษณะโครงเหล็กเพือ


่ การติดตัง้ Jointmeter ณ เขือ
่ นภูมพ
ิ ล
จังหวัดตาก Relative Displacement Data Plot (December 2012)
3D-Jointmeter No. JM 2 (Block 12 and 13)
0.00 245
Notation
X for opening: (+) Open (-) Close
Y for shearing: (+) Slide down (-) Slide up
Z for settling: (+) Move upstream 240
(-) Move downstream
-0.05

IBJ12-D1
235
Relative Displacement [mm.]

-0.10

กม. 0+536.10Notation

Water Level [m.msl]


230
X for opening: (+) Open (-) Close
-0.15 Y for shearing: (+) Slide down (-) Slide up
Z for settling: (+) Move upstream (-) Move downstream
225

-0.20
220
X - Tangential
Y - Vertical
-0.25 Z - Radial
215
X-Y Resultant
X-Y-Z Resultant
RWL
-0.30 210
18 Oct 12 26 Jan 13 6 May 13 14 Aug 13 22 Nov 13 2 Mar 14 10 Jun 14 18 Sep 14
Date

รูปที่ 1-34 การเคลือ


่ นตัวของรอยต่อจาก Jointmeter ระหว่าง Block 12 และ 13

เครือ
่ งมือวัดอุณหภูมิ
สาหรับเขือ ่ นคอนกรีตความร้อนหรืออุณหภูมเิ ป็ นปัจจัยทีท ่ าให้เกิดหน่ วยแรงค้างในตั
ว เ ขื่ อ น
ดังนัน้ การวัดอุณหภูมจิ งึ ต้องการสาหรับเขือ ่ นคอนกรีตอย่างยิง่ ในระหว่างการก่อสร้าง
เค รื่ อ ง มื อ ที่ นิ ย ม ใ ช้ วั ด อุ ณ ห ภู มิ ไ ด้ แ ก่ Thermocouple แ ล ะ Thermistor
เครือ
่ งมือเหล่านี้ อาศัยหลักการเปลีย่ นแปลงทางไฟฟ้ ากับอุณหภูมิ (Thermoelectric
effect) น อ ก จ า ก นี้ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ยุ โ ร ป ใ ช้ Fiber optic cable
สาหรับเขือ ่ นดินถมใช้เครือ ่ งมือเหลือนี้ วดั อุณหภูมเิ พือ
่ บ่งบอกถึงจุดทีม่ ีการรั่วซึม ผ่าน
ตัวเขือ่ นได้

- 47 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

Thermocouple ส า ย หั ว วั ด ท า จ า ก โ ล ห ะ ส อ ง ช นิ ด
ซึ่ ง ใน งาน อุ ต สาห กรรม นิ ยม ใช้ ว ัด แ ละค วบ คุ ม ค วาม ร้ อ น ใน ขบ วน การผ ลิ ต
Thermocouple มาตรฐานสามารถแบ่ ง ได้ เป็ น 7 ประเภทตามชนิ ด ของคู่ โ ลหะ
อั น ไ ด้ แ ก่ ป ร ะ เ ภ ท E (Chromel/Constantan), J (Iron/Constantan), K
(Chromel/Alumel), T (Copper/Constantan), R (Platinum-13%
Rhodium/Platinum), S (Platinum-10% Rhodium/Platinum), B
(Platinum-30% Rhodium/Platinum-6% Rhodium)
แต่ละประเภทจะมีช่วงการอ่านอุณ หภู มิ ความละเอียด และความไวตัวแตกต่างกัน
อุ ป ก ร ณ์ ป ร ะ เ ภ ท นี้ มี ร า ค า ไ ม่ สู ง ติ ด ตั้ ง ง่ า ย
และสามารถเชือ ่ มต่อกับระบบอ่านค่าแบบอัตโนมัตไิ ด้ดี
ส า ห รั บ ง า น เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ขื่ อ น จ ะ ใ ช้ ป ร ะ เ ภ ท T
เพราะมี ช่ วงการอ่านค่าระหว่าง -200 ถึง 350 oC มี ค่าผิด พลาดร้อ ยละ ±1 หรื อ
± 0 . 7 5 o
C
วัดอุณหภูมไิ ปเพือ
่ ตรวจวัดอุณหภูมใิ นตัวเขื่อนคอนกรีตในระหว่างการก่อสร้างถึ งกา
ร เ ก็ บ กั ก น้ า ใ ช้ ง า น
และใช้ประเมินหน่ วยแรงทีเ่ กิดขึน ้ จากการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิ
Thermocouple ใช้ วัด อุ ณ ห ภู มิ ได้ โด ย อาศัย ห ลัก ก ารข อ ง Thermoelectric
ที่ ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า จ ะ ไ ห ล อ ยู่ ภ า ย ใ น ว ง จ ร ปิ ด ที่ มี โ ล ห ะ ส อ ง ช นิ ด เป็ น ตั ว น า
เ มื่ อ บ ริ เ ว ณ จุ ด เ ชื่ อ ม มี อุ ณ ห ภู มิ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
จ ะ เ กิ ด ค ว า ม ต่ า ง ศั ก ย์ ไ ฟ ฟ้ า ขึ้ น โ ด ย มี ข น า ด ขึ้ น อ ยู่ กั บ ช นิ ด ข อ ง โ ล ห ะ
จากศักย์ไฟฟ้ าสามารถแปลงให้เป็ นค่าอุณหภูมไิ ด้ดว้ ยใช้เครือ ่ งอ่าน ซึ่งปัจจุบน ั ได้ใช้
sensor อืน ่ เช่น Thermister วัดอุณหภูมท ิ ี่จุดต่อแทนการแช่จุดต่อในอ่างน้ าแข็ง
ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 1 -3 5 ดั ง นั้ น ห า ก T h e r m i s t e r
เสียย่อมทาให้ผลการอ่านค่าอุณหภูมจิ าก Thermocouple ผิดไปด้วย

Vm = VMJ – VRJ TMJ = Vm + VRJ


VRJ = 0 @ T = 0oC VRJ measured by another sensors
TMJ = Vm
รูปที่ 1-35 การอ่านค่าอุณหภูมด
ิ ว้ ย Thermocouple
Resistance Thermometer หรือ Resistance Temperature Device (RTD)
คื อ เ ท อ ร์ ม อ มิ เ ต อ ร์ ช นิ ด ค ว า ม ต้ า น ท า น
อาศัยสมบัตค ิ วามต้านทานของตัวนาที่เป็ นโลหะบริสุทธิ ์ เช่น แพลทินม ั เงิน ทองแดง
ซึ่ ง จะมี ค่ า แปรผัน ตรงกับ อุ ณ หภู มิ อุ ป กรณ์ ประเภทนี้ จะให้ ค่ า ความแม่ น ย าสู ง

- 48 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

มีเสถียรภาพ (Stability) และความคงทนสูง ช่วงการวัดของแพลทติน้น


ั อยูร่ ะหว่าง -
258 ถึง 900 C นิ เกิลอยู่ระหว่าง -150 ถึง 300 C และทองแดงระหว่าง -200
o o

ถึง 120 oC
Thermistor เป็ นอุปกรณ์ วดั อุณหภูมท ิ ีอ
่ าศัยการเปลีย่ นความต้านทานของวัสดุคล้าย
RTD แ ต่ ผ ลิ ต จ า ก ค า ร์ บ อ น ห รื อ ส า ร กึ่ ง ตั ว น า ( Semiconductor) เช่ น
อ อ ก ไ ซ ด์ ข อ ง แ ม ง ก า นี ส กั บ ท อ ง แ ด ง เ ซ ร า มิ ก ส์ ห รื อ โ พ ลิ เ ม อ ร์
ซึ่งมี สม ์ ารเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานสูงหรือความไวตัว (Sensitive)
ั ประสิท ธิก
ต่ อ ค ว า ม ร้ อ น สู ง แ ต่ แ ต ก ต่ า ง กั บ RTD
ที่ ค ว า ม ต้ า น ท า น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว เ มื่ อ อุ ณ ห ภู มิ สู ง ขึ้ น
ประเภทที่ ค วามต้ า นทานเพิ่ ม ขึ้ น เรี ย กว่ า Positive Temperature Coefficient
(PTC) ส่ ว น ประเภทที่ ค วามต้ า นทาน ลดลงเรี ย กว่ า Negative Temperature
Coefficient (NTC) โดยทั่วไป Thermistor มีชว่ งการวัดตัง้ แต่ -30 ถึง 130 oC
ต า ร า ง ที่ 1-1 ไ ด้ ส รุ ป คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง เค รื่ อ ง มื อ วั ด อุ ณ ห ภู มิ แ ต่ ล ะ ช นิ ด
เพือ
่ การเลือกใช้ตด ิ ตัง้ ในเขือ
่ น
ตารางที่ 1-1 การเปรียบเทียบคุณสมบัตข
ิ องเครือ
่ งมือวัดอุณหภูมิ
คุณสมบัติ Thermocouple RTD Thermistor
ลักษณะภายนอก

Repeatability 1 ถึง 8 oC 0.03 ถึง 0.06 oC 0.1 ถึง 1 oC


เสถียรภาพการใช้ 0.5 ถึง 1 oC ต่อปี น้อยกว่าร้อยละ 0.1 ถึง 3 oC
งานทีเ่ ปลีย่ นแปล 0.10ภายใน 5 ปี ภายใน 1 ปี
งได้
ความไวตัว 10 ถึง 50 µV/oC 0.2 ถึง 10 /oC 100 ถึง 1000
/oC
Linearity ดี ดี ไม่ดี

Distributed fiber optic for temperature


เ ค เ บิ ล ใ ย แ ก้ ว ส า ห รั บ ก า ร วั ด อุ ณ ห ภู มิ ( Distributed Fiber Optic for
Temperature, DFOT)
อาศัย คุ ณ สมบัติ ข องวัส ดุ ใ ยแก้ ว ที่ อ่ อ นไหวต่ อ อุ ณ หภู มิ ม าเป็ นหัว วัด ( sensor)
ห า ก แ ส ง เล เซ อ ร์ ถู ก ส่ ง เ ข้ า ไ ป ใ น เ ส้ น ใ ย แ ก้ ว ที่ ร ว ม อ ยู่ ใ น ส า ย เค เ บิ ล
จะมี ส ญ ั ญ าณ แสงที่ มี ค วามเข้ ม ต่ า สะท้ อ นกลับ (backscatter) จากระยะต่ า งๆ
ตลอดความยาวของสาย สัญ ญาณแสงที่สะท้อนกลับ มานี้ มี ท ง้ ั แสงแบบ Rayleigh
ซึ่ ง เป็ นสัญ ญาณหลัก ที่ ส ะท้ อ นกลับ มาเท่ า นั้น ยัง มี แ สงแบบ Raman และแบบ

- 49 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

Brillouin ซึ่งมีความเข้มต่ากว่าสะท้อนกลับมาพร้อมกันด้วย ดังแสดงในรูป ที่ 1-36


ทั้ ง นี้ ค ว า ม เ ข้ ม ข อ ง แ ส ง แ บ บ Brillouin
จะขึ้น อยู่ก บ
ั อุ ณ หภู มิแ ละความเครี ย ดที่ เกิด ขึ้น ภายในสายเคเบิล ขณะที่ แ สงแบบ
Raman ด้ า น Anti-Stoke จะมี ค วาม เข้ ม ขึ้ น อยู่ ก ับ อุ ณ ห ภู มิ เ พี ยงอย่ า งเดี ย ว
ดัง นั้น ในการตรวจวัด อุ ณ หภู มิ จึ ง พิ จ ารณาแสงแบบ Raman ด้ า น Anti-Stoke
นี้ ม า ใ ช้ วิ เ ค ร า ะ ห์ ไ ด้
แต่ จ าเป็ นที่ ต้ อ งติ ด ตั้ง สายเคเบิ ล ให้ อ ยู่ ใ นต าแหน่ งที่ ไ ม่ มี ค วามเครี ย ด (strain)
ม า ร บ ก ว น ร ะ ย ะ ท า ง จ า ก จุ ด ป ล่ อ ย แ ส ง ไ ป ถึ ง จุ ด ต่ า ง ๆ
ใ น ส า ย เ ค เ บิ ล ส า ม า ร ถ ห า ไ ด้ ด้ ว ย ก า ร จั บ เ ว ล า ( time domain OTDR)
ห รื อ ก า ร จั บ ค ว า ม ถี่ ( frequency domain OFDR) ก็ ไ ด้
โ ด ย ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ห นึ่ ง ร อ บ อ ยู่ ใ น ช่ ว ง ร ะ ห ว่ า ง วิ น า ที
ถึง หลายนาที ขึ้น อยู่กบ ั ความแม่น ย าที่ต้องการ การตรวจวัด สามารถท าได้ทุ ก ระยะ
0.25 ถึง 1.0 เมตร ของสายเคเบิล ค่าอุณหภูมท ิ ี่ตรวจวัดได้จะมีความแม่นยา ±0.2
องศาเซลเซี ย ส ในทางวิศ วกรรมเขื่ อ น ระบบการตรวจวัด อุ ณ หภู มิ ด้ ว ยแสงแบบ
Raman ได้ถูกใช้งานมากว่าหนึ่งทศวรรษแล้ว (Großwig et al., 2001)

รูปที่ 1-36 หลักการอ่านค่า DFOT (Großwig et al., 2001)


สมการความสัมพันธ์ของอุณหภูมก ิ บั สัดส่วนความเข้มของแสง Anti-Stoke และ
Stoke เป็ นดังนี้
𝐼𝑎 (𝜈𝑜 + 𝜈𝑘 )4 ℎ𝑐𝜈
− 𝑘𝑇𝑘
= 𝑒𝑥𝑝
𝐼𝑠 (𝜈𝑜 − 𝜈𝑘 )4
เมือ

𝐼𝑎 = intensity of Anti-Stokes-component
𝐼𝑠 = intensity of Stokes-component
𝜈𝑜 = light wave number
𝜈𝑘 = shift of light wave number
ℎ = Planck action quantum
𝑐 = velocity of the light within the optical fiber
𝑘 = Boltzmann-constant
𝑇 = temperature

- 50 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

Total Pressure cell


ส า ห รั บ ค ว า ม ดั น ห รื อ ห น่ ว ย แ ร ง
ซึ่งเป็ นพฤติกรรมหนึ่ งที่แสดงถึงความมั่น คงของเขื่อนได้ สามารถตรวจวัดได้ด้วย
Total Pressure Cell ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง ใ น วั ส ดุ เขื่ อ น ใ น ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง
ห รื อ อ า จ ติ ด ตั้ ง ร ะ ห ว่ า ง ตั ว เ ขื่ อ น กั บ ผิ ว ข อ ง อ า ค า ร ป ร ะ ก อ บ
รู ป แบบการติ ด ตั้ง ท าได้ ท ้ งั แบบวัด แกนเดี ย ว หรื อ ติ ด ตั้ง เป็ นชุ ด ที่ มี ท ้งั สามแกน
ห รื อ อ า จ ติ ด ตั้ ง เ ป็ น ร ะ บ บ Rosette
ซึ่ง อย่างหลังมี ข้อดี ที่ท าให้ได้ ทิศ ทางของหน่ วยแรงหลัก (Principal Stress) ด้ว ย
ตัว อย่ า งการติ ด ตั้ง T ota l P ressure C e ll แบ บ แ กน เดี ยว ที่ เ ขื่ อ น น้ างึ ม 2
ประเทศลาว แสดงในรู ป ที่ 1-37 และการติดตัง้ แบบสามแกนในเขื่อนรัชชประภา
(เขื่อนเชี่ยวหลาน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี แสดงในรูปที่ 1-38 ลักษณะการติดตัง้ แบบ
Rosette แสดงในรู ป ที่ 1-39 ซึ่ ง เป็ นแบบจากเขื่ อ นแม่ ก วงอุ ด มธาราฝั่ งซ้ า ย
จังหวัดเชียงใหม่

รูปที่ 1-37 การติดตัง้ Total Pressure Cell แบบแกนเดียว เขือ


่ นน้างึม2
ประเทศลาว

- 51 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

รูปที่ 1-38 การติดตัง้ Total Pressure Cell แบบสามแกน เขือ


่ นรัชชประภา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี

- 52 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-39 แบบการติดตัง้ แบบ Rosette ใน Trench เขือ


่ นแม่กวงอุดมธารา ฝั่งซ้าย
จังหวัดเชียงใหม่

- 53 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

การคานวณหาหน่ วยแรงสามารถนาวงกลม Mohr มาใช้อธิบายได้ จากรูปที่ 1-40


𝜎𝑥 = 𝜎1 + 𝜎3 − 𝜎2
𝜎𝑧 = 𝜎2
𝜎3 − 𝜎1
𝜏𝑥𝑧 =
2

𝜎𝑥 + 𝜎𝑧 + √(𝜎𝑥 − 𝜎𝑧 )2 + 4𝜏𝑥𝑧 2
𝜎𝑚𝑎𝑥 =
2
𝜎𝑥 + 𝜎𝑧 − √(𝜎𝑥 − 𝜎𝑧 )2 + 4𝜏𝑥𝑧 2
𝜎𝑚𝑖𝑛 =
2
2𝜏𝑥𝑧
tan 2𝛼 =
𝜎𝑥 − 𝜎𝑧
เมือ

max = major principal stress
min = minor principal stress
 = direction of major principal stress
x z = coordination
x = normal stress in x direction
z = normal stress in z direction
xz = shear stress on xz plane

s3 s1
s2

45o 45o

ARRANGEMENT OF PRESSURE CELL GROUP

s1 s3
90

45 45

s2
X

- 54 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-40 Force diagram ของหน่ วยแรงจาก Total Pressure Cell


ทีต
่ ด
ิ ตัง้ แบบ Rosette

Strainmeter
ส า ห รั บ เ ขื่ อ น หิ น ถ ม ค อ น ก รี ต ด า ด ห น้ า
ห รื อ อ า ค า ร ป ร ะ ก อ บ ที่ ส น ใ จ ป ร ะ ม า ณ ค่ า ห น่ ว ย แ ร ง ภ า ย ใ น โ ค ร ง ส ร้ า ง
เ ร า ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก ติ ด ตั้ ง S t r a i n m e t e r ฝั ง ไ ว้ ใ น ค อ น ก รี ต
เพื่ อ วัด ความเครี ย ดในคอนกรี ต ก่ อ นน าไปประเมิ น หน่ วยแรงในคอนกรี ต ต่ อ ไป
ในปัจจุ บ น ั Strainmeter ถูกพัฒ นาต่อยอดจากเครื่องมื อ Vibrating wire มาใช้
จึ ง มี รู ป ร่ า งคล้ า ยกับ เครื่ อ งมื อ วัด ความดัน น้ า แต่ ส มการของการหาค่ า Strain
มีลกั ษณะแตกต่างไปดังตัวอย่างด้านล่าง
1 1
Δε = 𝜀1 − 𝜀0 = 𝐾 ∗ 109 ∗ [ 2− ]
𝑁1 𝑁0 2
เมือ

Δε = Total strain measurement in microstrain
𝜀1 = Current strain reading in microstrain
𝜀0 = Initial strain reading in microstrain
𝐾 = gauge constant
𝑁1 = Current period reading in microsec
𝑁0 = Initial period reading in microsec
หรือ
Δε = 𝐿1 − 𝐿0
เมือ

𝐿1 = Current reading in Linear unit
𝐿0 = Initial reading in Linear unit

- 55 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

รู ป แ บ บ ก ารติ ด ตั้ ง S tra in m e te r ฝั ง ไว้ ใ น ค อน ก รี ต มี ทั้ ง แ บ บ แ ก น เดี ย ว


ซึ่ ง จะท าให้ ไ ด้ ข นาดความเครี ย ดในแนวที่ Strainm eter วางตัว รู ป ที่ 1-41
Strainmeter หรือติดตัง้ เป็ นกลุ่ม แบบ Rosette ที่ป ระกอบด้วย strainmeter 3
ตัวที่จ ด
ั เรี ย งกัน เช่ น 45 rosette วางตัวท ามุ ม 0, 45 และ 90 องศา กับ แนวราบ
ดัง ตัว อย่ า งในรู ป ที่ ซึ่ ง ท าให้ ส ามารถหาขนาดและทิ ศ ทางของความเครี ย ดหลัก
(principal strain) ตามสมการด้านล่าง

𝜀𝜃 = 𝜀𝑥 𝑐𝑜𝑠 2 𝜃 + 𝜀𝑦 𝑠𝑖𝑛2 𝜃 + 𝛾𝑥𝑦 𝑠𝑖𝑛𝜃𝑐𝑜𝑠𝜃

𝛾𝑥𝑦 = 2𝜀2 − (𝜀3 + 𝜀1 )

𝜀1 + 𝜀3 (𝜀3 − 𝜀1 )2 + (2𝜀2 − (𝜀3 + 𝜀1 ))2


𝜀𝑛 = −√
2 2

𝜀1 + 𝜀3 (𝜀3 − 𝜀1 )2 + (2𝜀2 − (𝜀3 + 𝜀1 ))2


𝜀𝑚 = + √
2 2

2𝜀2 − (𝜀3 + 𝜀1 )
tan 2𝜙 =
𝜀3 − 𝜀1
เมือ

m = major principal strain
n = minor principal strain
 = direction of major principal strain
x y = coordination
q = normal strain along angle q with x-axis
x = normal strain in x direction
y = normal strain in y direction
xy = shear strain on xy plane

หากโครงสร้า งบางควรพิ จ ารณาขจัด อิท ธิ พ ลจากปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี ใ นคอนกรี ต


ดังสมการด้านล่าง ซึ่ง thermal strain และ shrinkage จะได้จาก Strainmeter
ที่ ฝั ง ห รื อ เ รี ย ก ว่ า Non stress strainmeter
โ ด ย ฝั ง ใ น ค อ น ก รี ต ที่ จั ด เ ต รี ย ม ไ ว้ พิ เ ศ ษ ดั ง รู ป ที่ 1 -4 2 (ก )
หรือฝังไว้ในกล่องทีภ
่ ายในบรรจุโฟม ดังรูปที่ 1-42(ข)
𝐸𝑓𝑓𝑒𝑐𝑡𝑖𝑣𝑒 𝑆𝑡𝑟𝑎𝑖𝑛 = 𝑇𝑜𝑡𝑎𝑙 𝑠𝑡𝑟𝑎𝑖𝑛 – (𝑡ℎ𝑒𝑟𝑚𝑎𝑙 𝑠𝑡𝑟𝑎𝑖𝑛 + 𝑠ℎ𝑟𝑖𝑛𝑘𝑎𝑔𝑒)

- 56 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-41 การติดตัง้ Strainmeter ทีเ่ ขือ


่ นวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี

- 57 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

(ก) แบบการฝังในคอนกรีตให้แยกจากโครงสร้าง เขือ


่ นวชิราลงกรณ
จังหวัดกาญจนบุรี

(ข) กล่องบรรจุโฟม ในเขือ


่ นน้างึม2 ประเทศลาว
รูปที่ 1-42 การติดตัง้ Non-stress strainmeter
การประเมิ น การแตกร้ า วใน คอน กรี ต สาม ารถวิ เ ค ราะห์ จากค่ า ความ เครี ย ด
ซึ่ ง จะเพิ่ ม ขึ้ น หลัง จากคอนกรี ต แข็ ง ตัว แล้ ว ดัง นั้น ค่ า เริ่ ม ต้ น (Initial reading)
ที่เหมาะสม สาหรับ Strainmeter ที่ฝังอยู่ในคอนกรีต ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ
เ พ ร า ะ ค่ า ค ว า ม เ ค รี ย ด จ ะ เ ริ่ ม ต้ น จ า ก 0 ข ณ ะ ที่ ติ ด ตั้ ง
แ ล ะ จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น ทั น ที ร ะ ห ว่ า ง เ ท ค อ น ก รี ต
แ ล ะ จ น ไ ป ถึ ง ร ะ ห ว่ า ง ที่ ค อ น ก รี ต แ ข็ ง ตั ว ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ
ดั ง นั้ น ห า ก ใ น ร ะ ห ว่ า ง นั้ น ยั ง ไ ม่ มี แ ร ง ก ร ะ ท า อื่ น ๆ
ที่ เ ป็ น น้ า ห นั ก บ ร ร ทุ ก ก ร ะ ท า กั บ ค อ น ก รี ต
ย่ อ ม ไ ม่ ค ว ร พิ จ า ร ณ า ค่ า ค ว า ม เ ค รี ย ด ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นี้
เมื่อกาหนดได้ว่าคอนกรีตแข็ งตัวแล้ว จึงน าค่ าความเครียดนั้น มาใช้เป็ นค่าเริ่ม ต้น
ทั้ ง นี้ เ งื่ อ น ไ ข ก า ร พิ จ า ร ณ า ว่ า ค อ น ก รี ต เ กิ ด ร อ ย แ ต ก ร้ า ว ไ ด้ คื อ
ที่ ค ว า ม เ ค รี ย ด เ พิ่ ม ขึ้ น เ กิ น 300 microstrain
แต่ ห ากต้ อ งการประเมิ น หาหน่ วยแรงภายในย่ อ มท าได้ โ ดยวิเ คราะห์ อ าศัย หลัก
Elasticity เช่น ในแผ่นคอนกรีตใช้ระบบ Plane stress ได้

Rebar stressmeter และ Rebar strainmeter


อัน ที่ จ ริ ง แ ล้ ว เค รื่ อ งมื อวัด นี้ วัด ค วาม เค รี ย ด ใน เห ล็ ก เสริ ม ไม่ ใ ช่ ห น่ วยแ รง
ในงานเขื่อนใช้ติดตัง้ ในโครงสร้างคอนกรีตเสริม เหล็ ก วัด ค่าความเครี ยดที่เกิดขึ้น
แ ล้ ว จึ ง น าไป ใช้ ป ระม าณ ค่ า ห น่ วยแ รง รู ป ที่ 1 -4 3 เป็ น ก ารติ ด ตั้ง Rebar
strainmeter ใ น แ ผ่ น ค อ น ก รี ต ด า ด ห น้ า เ ขื่ อ น น้ า งึ ม 2 ป ร ะ เ ท ศ ล า ว
โ ด ย ติ ด ตั้ ง ต่ อ กั บ เ ห ล็ ก เ ส ริ ม ด้ า น ล่ า ง ข ณ ะ ที่ Strainmeter
สาหรับคอนกรีตจะอยูด ่ า้ นบนของแผ่นคอนกรีตดาดหน้า

- 58 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

ค่ า อ่ า น ที่ ไ ด้ จ ะมี วิ ธี ค าน วณ ท าน องเดี ยวกับ Strainmeter ดัง ที่ ก ล่ า วม าแ ล้ ว


แต่ถา้ ต้องการค่าหน่ วยแรงตามแนวเหล็กเสริมต้องคูณด้วยพื้นทีห ่ น้าตัดของเหล็กเสริ
มช่วงที่ Rebar strainmeter ต่ออยู่

รูปที่ 1-43 Rebar strainmeter ทีเ่ ขือ


่ นน้างึม2 ประเทศลาว

Accelerometer
Accelerometer ใช้ วัด อัต ราเร่ ง ณ ต าแ ห น่ งที่ เค รื่ อ งมื อ นี้ ตั้ ง อ ยู่ ซึ่ ง ไม่ ใช่
Seismometer ต่ า ง กั น ที่ ร ะ ดั บ ค ว า ม อ่ อ น ไ ห ว ต่ อ ก า ร สั่ น ส ะ เ ทื อ น
และการน าผลการอ่ า นค่ า มาใช้ ง าน ซึ่ ง Seismometer ที่ แ สดงในรู ป ที่ 1-44
จะต้องติดตัง้ เป็ นโครงข่ายเพื่อใช้สาหรับระบุตาแหน่ งของศูนย์กลางแผ่นดินไหวและ
ขนาดความรุ น แรง ส่ว น Accelerometer จะวัด อัต ราเร่ง ที่ โครงสร้างถู ก กระท า
หากตัง้ อยูท
่ ส
ี่ น
ั เขือ
่ นย่อมอาจเปลีย่ นแปลงจากทีฐ่ านเขือ
่ น
ลักษณะการติดตัง้ ของเครือ ่ งมือวัดอัตราเร่ง จะแบ่ง เครือ ่ งวัดแบบแกนเดียว (Mono
axial) ติ ด ตั้ ง ส า ม ทิ ศ ท า ง กั บ เ ค รื่ อ ง วั ด แ บ บ ส า ม แ ก น ( Triaxial)
ซึ่ ง ใ ช้ ง า น ไ ด้ ทั้ ง ส อ ง แ บ บ ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น รู ป ที่ 1 -4 5
โดยแต่ ล ะแกนในแนวราบอาจวางตามแนวแกนเขื่ อ นและตั้ง ฉากกับ แกนเขื่ อ น
ห รื อ ว า ง ใ น แ น ว เ ห นื อ ใ ต้ แ ล ะ ต ะ วั น อ อ ก ต ะ วั น ต ก ก็ ไ ด้
แต่แบบแรกสามารถนาไปใช้วเิ คราะห์ความมั่นคงของเขือ ่ นจากแรงกระทาแผ่นดินไ
หวได้ทน ั ที
การวัดอัตราเร่งด้วย Accelerometer อาจถูกรบกวนด้วยแหล่งการสั่นสะเทือนอืน ่ ๆ
ได้ เช่น คลืน
่ ลม คลืน่ น้า การสัญจรบนสันเขือ ่ น และรวมถึงเครือ ่ งผลิตกระแสไฟฟ้ า
ก า ร ก า ห น ด ต า แ ห น่ ง จุ ด ติ ด ตั้ ง แ ล ะ ก า ร ตั้ ง บั น ทึ ก ค่ า อ่ า น ส า คั ญ ม า ก
เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ค ลื่ น สั่ น ส ะ เ ทื อ น ที่ ไ ม่ ถู ก ร บ ก ว น ด้ ว ย
หากหลีกเลีย่ งไม่ได้จาเป็ นต้องขจัดออก

- 59 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

รูปที่ 1-44 Seisomograph แบบ Analog

(ก) แบบ Mono axial 3 ตัว เขือ


่ นแควน้อยบารุงแดน จังหวัดพิษณุ โลก

- 60 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

(ข) แบบ Triaxial ทีเ่ ขือ


่ นวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี
รูปที่ 1-45 รูปแบบของ Accelerograph ทีใ่ ช้ตด
ิ ตัง้ ในงานเขือ
่ น

- 61 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

หนังสืออ้างอิง
ทวีศกั ดิ ์ มหาสันทนะ (2519) การวิเคราะห์ความมั่นคงปลอดภัยของตัวเขือ
่ นสิรก ิ .ิ ์
ิ ต
ฝ่ ายก่อสร้างโรงจักรพลังน้า, การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย.
วิกรม วิกรมประสิทธิ (2530) พฤติกรรมของเขือ
่ นดินแม่งดั ในระหว่างการก่อสร้าง.
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Applied Geomechanics Inc. (2007). Dam Monitoring With Tiltmeters.
USA.
Dunnicliff J. (1993). Geotechnical Instrumentation for Monitoring Field
Performance. John Wiley and Sons, USA.
Großwig, S., A. Graupner, E. Hurtig, K. Kühn and A. Trostel.
Distributed Fibre Optical Temperature Sensing Technique – A
Variable Tool for Monitoring Tasks. , Proceedings of the 8th
International Symposium on Temperature and Thermal
Measurements in Industry and Science, 2001, pp. 9-17.
Penman A.D.M., K.R. Saxena and V.M. Sharma (1999).
Instrumentation, Monitoring and Surveillance: Embankment Dams.
A.A. Balema. Rotterdam.
Roctest (2009). Instruction Manual: Vibrating Wire Fill Extensometer
Model ERI. Canada.
Roctest (2017). Instruction Manual: Soil Settlement Gage Model
SSG. Canada.
Slope Indicator Company (2011). Digital Inclinometer Probe. USA.
USBR (1987). Embankment Dam Instrumentation Manual.

- 62 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

บทที่ 1 สิง่ ทีเ่ ครือ


่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง ............................................1
พิโซมิเตอร์ .........................................................................................1
หน้าทีข ่ องพิโซมิเตอร์ ........................................................................4
ข้อจากัดของพิโซมิเตอร์ .....................................................................4
หลุมวัดระดับน้าใต้ดน ิ บริเวณไหล่เขาและท้ายเขือ ่ น ......................................7
อิทธิพลของระดับน้าใต้ดน ิ ธรรมชาติบริเวณไหล่เขือ ่ น ...............................7
ฝายวัดอัตราการไหล ........................................................................... 10
พื้นทีก่ ารไหลซึมทีฝ ่ ายรองรับ ............................................................ 12
ผลกระทบของน้าฝนต่ออัตราการไหลซึม ............................................. 13
Inclinometer .................................................................................. 15
Magnetic settlement gauges หรือ Soil Extensometer .................... 20
Crossarm ...................................................................................... 24
Foundation Settlement Plate ........................................................ 26
Hydraulic Settlement Cell ............................................................. 27
Fixed Embankment Extensometer ................................................ 29
Direct pendulum หรือ Plumbline .................................................... 30
Tiltmeter........................................................................................ 36
ผลจากการยืดและหดตัวของแท่นรองรับทีเ่ ป็ นโลหะ ................................ 37
Inverted pendulum ........................................................................ 39
Rod extensometer และ Rocmeter .................................................. 39
ปัญหาการแปลผล ........................................................................... 41
Jointmeter เพือ ่ วัดการเคลือ่ นตัวทีร่ อยต่อ .............................................. 42
ปัญหาการแปลผล ........................................................................... 44
ผลกระทบจากอุณหภูมิ .................................................................... 45
ผลกระทบของน้าหนักของโครงเหล็กยึด Jointmeter ต่อการเคลือ ่ นตัว ...... 45
เครือ่ งมือวัดอุณหภูมิ ........................................................................... 47
Distributed fiber optic for temperature ........................................... 49
Total Pressure cell ........................................................................ 51
Strainmeter ................................................................................... 55
Rebar stressmeter และ Rebar strainmeter .................................... 58
Accelerometer .............................................................................. 59

- 63 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

หนังสืออ้างอิง ................................................................................... 62

รูปที่ 1-1 การคานวณหาตัวแปรทางความดันน้า ............................................. 3


รูปที่ 1-2 หน้าตัดทั่วไปของตาแหน่ งพิโซมิเตอร์ ............................................. 4
รูปที่ 1-3 ความดันน้าทีต ่ รวจวัดได้จาก Open Standpipe Piezometer
ทีเ่ กิดรอยแตกในชัน ้ ดินบดอัด .................................................................... 6
รูปที่ 1-4 ระดับน้าในฐานยันเขือ ่ นและความแปรปรวน ................................... 7
รูปที่ 1-5 ระดับน้าในฐานยันเขือ ่ นทีเ่ ปลีย่ นแปลงตามระดับน้าในดินธรรมชาติ ...... 9
รูปที่ 1-6 ลักษณะของฝายวัดอัตราการไหล (USBR, ไม่มีปี) .......................... 11
รูปที่ 1-7 ขอบเขตของน้าฝนรายวันและน้าฝนสะสม 2 วันก่อนหน้า
ทีท ้ ........................................................ 14
่ าให้อตั ราการไหลซึมทีว่ ดั ได้สงู ขึน
รูปที่ 1-8 การวัดการเอียงของท่อจาก Inclinometer (Slope Indicator
Company, 2011)............................................................................... 17
รูปที่ 1-9 แกนอ่านค่า Inclinometer (Slope Indicator Company, 2011) ... 17
รูปที่ 1-10 ตัวอย่างผลการวิเคราะห์จาก Inclinometer ................................. 19
รูปที่ 1-11 ภาพถ่ายของ Spider magnet และ Magnetic plate ................... 21
รูปที่ 1-12 เส้นกระแสแม่เหล็กและลาดับการอ่านค่า ...................................... 22
รูปที่ 1-13 ค่าการทรุดตัวของ Gauge ทีค ่ านวณได้ของเขือ ่ นลาตองตอนบน ...... 22
รูปที่ 1-14 การคานวณการทรุดตัวจากมาตรวัดการทรุดตัวภายใน .................... 23
รูปที่ 1-15 USBR Crossarm ................................................................ 25
รูปที่ 1-16 Foundation Settlement Plate
ทีอ ่ า่ งพักน้าของโรงไฟฟ้ าลาตะคองชลภาวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา................. 26
รูปที่ 1-17 การคานวณการทรุดตัวของ Foundation Settlement Plate......... 27
รูปที่ 1-18 ส่วนประกอบของ Hydrualic Settlement Cell .......................... 28
รูปที่ 1-19 Fixed Embankment Extensometer .................................... 29
รูปที่ 1-20 การตอบรับของดิง่ วัดการเคลือ ่ นตัว ............................................. 32
รูปที่ 1-21 การวิเคราะห์การเอียงตัวจาก Direct Pendulum ......................... 33
รูปที่ 1-22 การคานวณหาการเคลือ ่ นตัวในตัวเขือ ่ นจาก Plumbline ................. 35
รูปที่ 1-23 หลักการทางานของ Tiltmeter .................................................. 36
รูปที่ 1-24 การนา Tiltmeter มาใช้วเิ คราะห์การโก่งตัวของเขือ ่ นคอนกรีต
(Applied Geomechanics Inc., 2007) ................................................. 36
รูปที่ 1-25 ผลกระทบการเอียงในแท่นโลหะจากการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิ...... 38
รูปที่ 1-26 การวิเคราะห์การเลือ ่ นไถลจาก Inverted Pendulum.................... 39

- 64 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

รูปที่ 1-27 ตัวอย่างการติดตัง้ Rod Extensometer กับเขือ ่ นคอนกรีต ............. 41


รูปที่ 1-28 ทิศทางการเคลือ ่ นตัวจากเครือ ่ งมือ Rod Extensometer ................ 42
รูปที่ 1-29 ตัวอย่างผลการสอบเทียบของ Jointmeter ................................... 43
รูปที่ 1-30 การเคลือ ่ นตัวของรอยต่อระหว่างบล็อกคอนกรีต ............................ 44
รูปที่ 1-31 Jointmeter แบบกลุม ่ ............................................................. 46
รูปที่ 1-32 ลักษณะโครงเหล็กเพือ ่ การติดตัง้ Jointmeter ณ เขือ ่ นภูมพิ ล จังหวัดตาก
......................................................................................................... 47
รูปที่ 1-33 การเคลือ ่ นตัวของรอยต่อจาก Jointmeter ระหว่าง Block 12 และ 13
......................................................................................................... 47
รูปที่ 1-34 การอ่านค่าอุณหภูมด ิ ว้ ย Thermocouple .................................... 48
รูปที่ 1-35 หลักการอ่านค่า DFOT (Großwig et al., 2001) ........................ 50
รูปที่ 1-36 การติดตัง้ Total Pressure Cell แบบแกนเดียว เขือ ่ นน้างึม2
ประเทศลาว .......................................................................................... 51
รูปที่ 1-37 การติดตัง้ Total Pressure Cell แบบสามแกน เขือ ่ นรัชชประภา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ................................................................................ 52
รูปที่ 1-38 แบบการติดตัง้ แบบ Rosette ใน Trench เขือ ่ นแม่งดั สมบูรณ์ ชล
จังหวัดเชียงใหม่ .................................................................................... 53
รูปที่ 1-39 Force diagram ของหน่ วยแรงจาก Total Pressure Cell
ทีต
่ ด
ิ ตัง้ แบบ Rosette ............................................................................ 55
รูปที่ 1-40 การติดตัง้ Strainmeter ทีเ่ ขือ ่ นวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี ....... 57
รูปที่ 1-41 การติดตัง้ Non-stress strainmeter ......................................... 58
รูปที่ 1-42 Rebar strainmeter ทีเ่ ขือ ่ นน้างึม2 ประเทศลาว .......................... 59
รูปที่ 1-43 Seisomograph แบบ Analog ................................................ 60
รูปที่ 1-44 รูปแบบของ Accelerograph ทีใ่ ช้ตด ิ ตัง้ ในงานเขือ ่ น ..................... 61
รูปที่ 1-4 ระดับน้าในฐานยันเขือ ่ นและความแปรปรวน .................................. 67

- 65 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

Index
No index entries found.

- 66 -
เข้าใจพฤติกรรมเขือ
่ นผ่านเครือ
่ งมือวัดฯ

เอาไปไว้เรือ
่ งการไหลซึม
ตัวอย่างการเปลีย่ นแปลงของระดับน้าบริเวณไหล่เขือ ่ นและด้านท้ายน้าของลาดเขือ ่ น
ในรู ป ที่ 1-4 จากหลุ ม วัด ระดับ น้ าจากเขื่ อ นแห่ ง หนึ่ งที่ มี ค วามสู ง 120 เมตร
ข้อมูลในช่วง 20 ปี ระดับน้ าดังกล่าวมีศกั ย์ลดลงจากระดับน้ าในอ่างฯ ในช่วงแคบๆ
แ ล ะ ไ ม่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ร ะ ดั บ น้ า ใ น อ่ า ง ฯ
ร ะ ดั บ น้ า ด้ า น ท้ า ย เ ขื่ อ น เ ป็ น ตั ว ชี้ วั ด ที่ บ อ ก ถึ ง ก า ร ไ ห ล ซึ ม ผิ ด ป ก ติ
ห า ก มี ค่ า สู ง ย่ อ ม บ่ ง บ อ ก ถึ ง ก า ร ไ ห ล ซึ ม ผ่ า น เข้ า ม า ก ข อ ง น้ า ใ น อ่ า ง ฯ
ส า ห รั บ บ ริ เ ว ณ ไ ห ล่ เ ขื่ อ น
ร ะ ดั บ น้ า ที่ ต ร ว จ วั ด จ า ก ห ลุ ม วั ด ร ะ ดั บ น้ า ใ ต้ ดิ น ห รื อ พิ โ ซ มิ เ ต อ ร์
อาจมี ร ะดับ เปลี่ ย นแปลงตามระดับ น้ า ใต้ ดิน ธรรมชาติ (Natural ground water
level) ตรงกันข้ามกับบริเวณหน้าตัดลึกทีส ่ ดุ ทีม่ ีระดับน้าค่อนข้างคงที่
250
02 Feb 1982
18 J ul 1994

200 OSP-1 11 Nov 2002


25-30m
E levation (mAS L )

OSP-2
50m
OSP-3,7
150 50m
OSP-6
30m
OSP-4,5
100 10m

50

0
0 50 100 150 200 250 300
Offs et from Axis of Dam (m)
โปรไฟล์ดีกว่า
ทีเ่ ลือกวันทีน
่ ้าในอ่างฯมากกับน้อย
รูปที่ 1-4 ระดับน้าในฐานยันเขือ
่ นและความแปรปรวน
ส าหรับ Probe ที่ ใ ช้ ม าเป็ นเวลานาน ควรตรวจสอบความแม่ น ย าของเครื่ อ งมื อ
โด ยห าค่ า Check Sum ที่ เ ป็ น ผ ลรวม ข องค่ า อ่ า น ทั้ง สองรอบ ห าก Probe
อ ยู่ ใ น ส ภ า พ ดี จ ะ ใ ห้ ค่ า Check Sum ค ว ร มี ค่ า ใ ก ล้ เ คี ย ง ศู น ย์
เพราะค่าอ่านในสองฝั่ง ที่มี ขนาดใกล้ก น ั แต่มี เครื่องหมายตรงกัน ข้าม ค่า Check
sum นี้ ไม่ ไ ด้ ใ ช้ ค านวณการเคลื่ อ นตัว ของท่ อ แต่ มี ป ระโยชน์ ที่ ร ะบุ ว่ า Probe
เริม
่ มีความบกพร่องแล้วหรือยังเป็ นปกติดีอยู่
A𝑐ℎ𝑒𝑐𝑘𝑠𝑢𝑚 = 𝐴0 + 𝐴180
B𝑐ℎ𝑒𝑐𝑘𝑠𝑢𝑚 = 𝐵0 + 𝐵180

- 67 -
สิง่ ทีเ่ ครือ
่ งมือวัดฯอ่านได้และข้อควรระวัง

- 68 -

You might also like