Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

ความหนาแนน ความดัน

ความดันของเหลวที่แปรผันตามความลึก

http://www.schoolphysics.co.uk/age11-
14/Matter/text/Pressure_in_liquids/index.html โดย อัมพร บุญญาสถิตสถาพร
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
จ.นครปฐม
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 1
ความหนาแนน โดยทั่วไปจะหมายถึง
ความหนาแนนมวล (mass density)

ความหนาแนน ( ρ ) เปนอัตราสวนระหวางมวล
(m) และปริมาตร (V) ของวัตถุนั้น มีคาคงตัวเฉพาะ
สําหรับสารแตละชนิด มีความสัมพันธดังสมการ
m
ρ= มีหนวย กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร,
V (kg/m3)
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 2
m
ρ=
V

ความหนาแนนเปนปริมาณสเกลาร
มีหนวยกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m3)

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 3


ตัวอยาง ปรอทมีความหนาแนน 13.6x103 kg/m3
ดังนั้น ความหนาแนนสัมพัทธ ของปรอท
3 3
13 .6 x10 kg / m หมายความวาปรอทมีความ
=
1.0 x10 3 kg / m 3 หนาแนนเปน 13.6 เทาของ
= 13 .6 ความหนาแนนของน้ํา หรือ
ปรอทมีมวลเปน 13.6 เทา
ของน้ํา เมื่อสารทั้งสองมี
ปริมาตรเทากัน
- จากตาราง ทองมีความหนาแนน 19.3x103 kg/m3
จงหาความหนาแนนสัมพัทธของทอง
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 4
กลศาสตรของไหล

- เราสามารถจําแนกสสารออกเปน 3 สถานะ คือ ของแข็ง


ของเหลวและกาซ
- ของแข็งมีปริมาตรและรูปทรงชัดเจน
ของเหลวมีปริมาตรที่ชัดเจนแตรูปทรงไมแนนอนขึ้นกับ
ภาชานะที่บรรจุของเหลวนั้น
สวนกาซจะมีปริมาตรและรูปทรงไมแนนอน
- การที่สสารจะอยูในสถานะใดนั้นขึ้นอยูกับอุณหภูมิและ
ความดัน
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 5
- อาจบอกความหนาแนนของสารใด ๆ เปน
ความหนาแนนสัมพัทธ (relative density)
- ความหนาแนนสัมพัทธของสารใด เปน
อัตราสวนระหวางความหนาแนนของสารนั้น
และความหนาแนนของสารอางอิง
- นิยมใชน้ําบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิ 4 oC ซึ่งมีความ
หนาแนนมากที่สุดเทากับ 1.000x103 kg/m3
(อาจเรียกความหนาแนนของสารเทียบกับความ
หนาแนนของน้ําวาความถวงจําเพาะ)
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 6
- การที่สสารจะเปลี่ยนสถานะไดตองมีแรงภายนอกมา
กระทํา

- ของไหลจะเปนกลุมของโมเลกุลอยูรวมกันอยางไร
ระเบียบ (randomly) โดยมีแรงยึดเหนี่ยว (cohesive
force)นอยมาก
- สสารที่เปนของเหลวและกาซ เรียกวาเปนของไหล(Fluid)

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 7


-หรือ ความดัน (Pressure)
ขนาดของแรง (F) ที่กระทําตั้งฉากตอพื้นที่(A) หนึ่งหนวย
เรียกวา ความดัน (P) เขียนสมการไดวา
F
P= หรือ F = PA
A

ความดันเปนปริมาณสเกลาร
มีหนวยนิวตันตอตารางเมตร (N/m2)
หรือ พาสคัล (pascal) ซึ่งยอวา Pa
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 8
กิจกรรม สังเกต รวมอภิปราย

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 9


กิจกรรม สังเกตและรวมอภิปราย

นักเรียนทํากิจกรรมโดยใส
น้ําในขวดพลาสติกที่เจาะรู
เรียงลงในแนวดิ่ง 5 รู
สังเกตระยะสายน้ําที่พุงออก
ตางกันอยางไร เพราะเหตุใด

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 10


- ปริมาตรของสสารแปรผันตรงกับอุณหภูมิ
- ในสภาวะปกติที่ o C ความดัน 1 บรรยากาศ
o

ความหนาแนนของกาซเปน 1/100 เทาของของแข็ง


และของของเหลว ดังนั้น ระยะหางระหวางโมเลกุล
ของกาซจึ่งมีคาเปน 10 เทาของกรณีของแข็งและ
ของของเหลว

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 11


- ของไหลจะไมมีความเคนเฉือน (shearing stress)
ตอวัตถุที่จมในของเหลว แตมีความเคนตอวัตถุใน
แนวตั้งฉากกับพื้นที่หนาตัด ดังรูป

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 12


- อุปกรณใชสําหรับวัดความดันเนื่องจากของไหล ดังรูป
ประกอบดวย
กระบอกสูบทรงกระบอกที่เปนสุญญากาศ
โดยมีลูกสูบติดกับสปริง เมื่อนําอุปกรณนี้
จุมในของไหลจะมีแรงดัน
-สปริงจะถูกอัดเขาไปจนแรงในสปริงเทากับ
แรงดันของของไหล ถาทราบคุณสมบัติ
สปริงและระยะที่สปริงถูกอัดเขาไปจะ
คํานวณ หาความดันของของไหลได
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 13
- เมื่อทราบแรง F และพื้นที่หนาตัด A ของลูกสูบ
จะไดความดัน P ดังนี้
F
P=
A

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 14


ถาความดันเปลี่ยนตามพื้นที่ เราสามารถคํานวณหา
แรงคานอย ๆ dF ที่กระทําตอพื้นที่เล็ก ๆ dA

dF = PdA
F = ∫ PdA

หนวยของความดัน เปน N/m2 หรือ Pa (pascal)


1 Pa = 1 N/m2

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 15


การเปลี่ยนแปลงความดันกับความลึก
(Variation of Pressure with Depth)
- พิจารณาของเหลวมีความหนาแนน ρ
อยูในภาชนะที่เปดรับบรรยากาศ
ภายนอก

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 16


- พิจารณาของเหลวในคอลัมน ( column)
ทรงกระบอกมี พื้นที่หนาตัด A ลึกจากผิว
d ถึง d+ h
- แรงที่กระทําตอทุก ๆ จุดบนผิวตัวอยาง
มีทิศตั้งฉากกับผิว
- ความดันที่มีตอดานลางของตัวอยาง
ของเหลวนี้คือ P2 และความดันดานบน
คอลัมบคือ P1 (ไมคิดความดันอากาศ)
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 17
- แรงดานที่กระทําโดยของเหลวดานนอกที่สวนลาง
ของทรงกระบอกมีขนาด P2A
- แรงกระทําลงที่ดานบนของทรงกระบอกมีขนาด P1A
(มีทิศตรงขามกับแรงดานลาง)
- มวลของของเหลวในทรงกระบอก
M = ρV = ρAh
- น้ําหนักของของเหลวในทรงกระบอก
มีคา Mg = ρVg = ρAhg
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 18
- เนื่องจากของเหลวในทรงกระบอกอยู
ในสมดุล แรงลัพธที่กระทําเทากับศูนย
ดังนั้น
v
∑ F = P2 Aˆj − P1 Aˆj − Mgˆj = 0

P2 A − P1 A − ρAhg = 0

P2 A − P1 A = ρAhg

รูป แสดงความดันกับความลึก P2 − P1 = ρgh


P2 = P1 + ρgh

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 19


ถาคอลัมบของเหลวเปดสูอากาศ
และความดันบรรยากาศเทากับ P0
Po = 1atm ≈ 1.01x 10 Pa 5

ความดันของเหลวดานลางมีคา ดังนี้

P = Po + ρgh

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 20


ความดันสัมบูรณ (absolute pressure): P
ความดัน P ที่ความลึก h ใตผิวของของเหลวที่เปดรับ
ความดันบรรยากาศ จะมีคามากกวาความดันบรรยากาศ
เทากับ ρgh

ความดันสัมบูรณ , P = Po + ρgh
สรุปไดวา
ความดันของเหลวที่ตําแหนงที่มีความลึก
เทากัน จะมีความดันเทากันดวย
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 21
• คาความดันของลําของเหลวที่สามารถอานไดจาก
เครื่องมือวัดโดยตรงนี้เรียกความดันนี้วา
ความดันเกจ (gauge pressure : Pg)
Hydrostacic Paradox QT Movie Demonstration

http://www.ac.wwu.edu/~vawter/PhysicsNet/QTMovies/PressureFluids/HydrostaticParadoxMain.html

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 22


ตัวอยาง: ถาความสูงของผิวของของเหลวเหนือ
กนของภาชนะทั้งหามีคาเทากัน ภาชนะใบใดมี
ความดันของของเหลวที่ดานลางของภาชนะ
มากที่สุด โดยที่จํานวนของเหลวในแตละ
ภาชนะไมจําเปนตองเทากัน

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 23


ภาชนะดังรูป: รูปทรงไมตรง ความดันที่กน
ภาชนะมีคาเทาไร อธิบายพรอมแสดงวิธีคิด
ประกอบ

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 24

You might also like