Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

ปิยวรรณ ปนิทานเต

• ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

ระบบการผลิต
อัจฉริยะเป็นอย่างไร ใน
ยุคอุตสาหกรรม 4.0
ทั่วโลกก�ำลังตื่นตัวกับการเปลี่ยนแปลงระบบอุตสาหกรรมครั้งยิ่งใหญ่ เรียกว่า
เป็น “การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4” การปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 1 เริ่มใน
ค.ศ. 1784 มีการใช้พลังงานไอน�้ำเพื่อขับเคลื่อนเครื่องจักร และมีรถจักรไอน�้ำ
ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการคมนาคมขนส่ง และกระตุ้นให้เกิดการบริโภค
สินค้าอุตสาหกรรม

การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 - 4
42

การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 2 เริม่ ใน ค.ศ. 1870 จุดเด่นของระบบการผลิตอัจฉริยะ


มีการใช้พลังงานไฟฟ้าและระบบสายพานการผลิต ​ จากเดิมระบบการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
ในโรงงานอุตสาหกรรม ทำ�ให้ผลิตสินค้าได้ครัง้ ละมากๆ จะบริหารจัดการจากหน่วยควบคุมกลาง ที่เรียกว่า
คุณภาพของสินค้าทัดเทียมกับงานหัตถกรรมแต่ราคา ระบบศูนย์รวม (centralization) แต่ในยุคอุตสาหกรรม
ถูกกว่ามาก ทุกคนสามารถเข้าถึงสินค้าอุตสาหกรรมได้ 4.0 ระบบการผลิตจะเปลี่ยนเป็นการควบคุมแบบ
เกิดเป็นกระแสบริโภคนิยมกระจายไปทั่วทุกภูมิภาค แยกส่วน (decentralization) โดยที่แต่ละส่วนของ
ของโลก ​ ระบบผลิต ไม่ว่าจะเป็น เครื่องจักร เครื่องมือวัด
การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 3 เริม่ ใน ค.ศ.1969 การประกอบผลิตภัณฑ์ ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์
เป็นการนำ�อิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงหน่วยอื่นๆ จะสามารถรับรูข้ อ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มูล
มาใช้ ในกระบวนการผลิต ทำ�ให้เครื่องจักรทำ�งาน เพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน และกำ�หนดรูปแบบได้
ได้รวดเร็ว และละเอียดแม่นยำ�มากขึ้น อีกทั้งเริ่มมี ด้วยตัวเองผ่านเทคโนโลยีที่เรียกว่า ระบบไซเบอร์-
การนำ�ระบบการผลิตแบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์มา กายภาพ (Cyber-Physical System, CPS)
ใช้ทำ�ให้ผลิตสินค้าได้จำ�นวนมากในเวลาน้อย ระบบไซเบอร์ - กายภาพเป็ น เทคโนโลยี ที่
​ การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ที่เริ่มมาเมื่อปี ผสมผสานโลกดิจทิ ลั เข้ากับโลกแห่งความเป็นจริง ทำ�ให้
ค.ศ. 2010 เป็นการบูรณาการโลกของการผลิต โดย การติดต่อสื่อสาร แลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่างเครื่องจักร
นำ�เทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตมาใช้ทุกหน่วย กับเครื่องจักร ระบบกับเครื่องจักร และคนกับเครื่องจักร
ของการผลิต ไม่ว่าจะเป็น วัตถุดิบ เครื่องจักร เกิดขึ้นได้แบบทันทีทันใด เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
เครื่องมือ อุปกรณ์วัดและตรวจสอบ ระบบอัตโนมัติ และการบริหารจัดการทุ ก อย่ า งในระบบการผลิ ต
และหุ่นยนต์ถูกติดตั้งเซ็นเซอร์ที่สามารถเก็บข้อมูล อย่างมหาศาล
แล้วเชื่อมโยงกับระบบเครือข่ายผ่านสัญญาณไร้สาย ​จากความต้องการที่หลากหลายของผู้บริโภค
(wireless) เพื่อสื่อสารและแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่างกัน ทำ�ให้กระบวนการผลิตต้องมีความยืดหยุ่นมากพอที่
ได้อย่างอิสระ ทำ�ให้มีการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล จะผลิตสินค้าที่หลากหลายได้อย่างรวดเร็ว ต่างกับ
การผลิตแบบเรียลไทม์ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ระบบการผลิ ต ในอดี ต ที่ ผ่ า นมาที่ มี ก ารผลิ ต สิ น ค้ า
ในแง่สามารถผลิตสินค้าได้หลากหลายรูปแบบตาม แบบเดียวกันได้รวดเร็วภายในพริบตา ทำ�ให้ปริมาณ
ความต้องการของผูบ้ ริโภคแต่ละรายในเวลาชัว่ พริบตา สินค้าแบบเดียวกันมีจำ�นวนมากเกินความต้องการ
การสั่งซื้อ สินค้าจะเป็น ขั้น ตอนเดียวกัน กับการสั่ง ของผู้บริโภค กลายเป็นความสูญเสียทรัพยากรไป
ผลิตสินค้า โดยผู้บริโภคจะสั่งผ่านระบบออนไลน์ โดยเปล่าประโยชน์ ระบบการผลิตแบบอัจฉริยะต้อง
โดยตรง ไม่จำ�กัดจำ�นวน อาจจะเพียงชิ้นเดียวหรือ
หลายชิ้นก็ ได้ และการส่งมอบสินค้าให้กับผู้บริโภค
จะสั่งการด้วยระบบอัจฉริยะของโรงงานผลิต
​บ ทความนี้ พ าไปรู้ จั ก ระบบการผลิ ต อั จ ฉริ ย ะ
(smart manufacturing) จากตัวอย่างโรงงานอัจฉริยะ
(smart factory) ว่ามีลกั ษณะอย่างไร ต้องเปลีย่ นแปลง
ปรับปรุง และเพิ่มเติมอะไรมากน้อยแค่ไหน

ระบบการผลิตกึ่งอัตโนมัติ ผลิตสินค้าที่เหมือนกันได้ในปริมาณมาก
อย่างรวดเร็ว
43

ระบบผลิตอัจฉริยะ แต่ละส่วนของระบบจะรับและส่งข้อมูล และทำ�การผลิตตามคำ�สั่งจนเสร็จสิ้น

มีอุปกรณ์ตรวจจับอัจฉริยะ (smart sensors) ติดอยู่ ประมวลผลจากภาพเพื่อคำ�นวณขนาดตัว จากนัน้ เรา


กับทุกส่วนของหน่วยการผลิต ทำ�หน้าที่เก็บข้อมูลส่ง จึงเลือกรูปแบบของเสือ้ ผ้า ซึง่ จะมีขอ้ มูลรูปแบบต่างๆ
ไปยังคลังข้อมูลที่ไว้ ใจได้ (cloud system) ในขณะ เป็นจำ�นวนมากอยู่ในระบบ
เดียวกันอุปกรณ์อัจฉริยะนี้ก็ยังทำ�หน้าที่รับข้อมูลมา เมื่อเลือกแบบเสื้อแล้วระบบก็จะจัดการทำ�แบบ
วิเคราะห์และกำ�หนดรูปแบบการทำ�งานของหน่วย โดยใช้ข้อมูลขนาดตัวที่วัดไว้ และส่งแบบนั้นต่อไป
การผลิตนั้นด้วยตัวเอง ยังแผนกตัดเย็บ เมื่อแผนกตัดเย็บรับคำ�สั่งก็จะผลิต
ตามคำ�สัง่ และส่งงานต่อไปยังแผนกถัดไปโดยอัตโนมัติ
ระบบประมวลผลด้วยภาพกับการวัด จนกระทั่งเมื่อตัดเย็บตามออร์เดอร์เสร็จเรียบร้อย
ตัวสำ�หรับตัดเสื้อผ้า
​ ในปัจจุบัน (ค.ศ. 2016) ถ้าต้องการซื้อเสื้อผ้า
ใหม่ ก็ ส ามารถซื้ อ ที่ ห้ า ง/ร้ า นค้ า หรื อ ผ่ า นระบบ
ออนไลน์ โดยเลือกแบบ สี และขนาด เช่น S M L
XL ตามที่ต้องการ ซึ่งการซื้อแบบนี้มักมีปัญหาเรื่อง
ขนาดของเสื้อผ้าที่อาจไม่พอดีกับรูปร่างแต่ปัญหา
นี้จะหมดไปเมื่อใช้ระบบการผลิตอัจฉริยะ กล่าวคือ
เมื่อเราต้องการเสื้อผ้าใหม่ก็ ให้แจ้งความต้องการ
ผ่านระบบออนไลน์ไปยังผู้ประกอบการ กระบวนการ
ผลิตจะเริ่มจากการวัดขนาดด้วยกล้อง 4 ตัว แล้ว การวัดขนาดตัวเพื่อตัดเสื้อผ้าโดยใช้ระบบประมวลผลด้วยภาพ
44

แผนกจัดส่งก็จะส่งเสื้อผ้ามาให้ตามที่อยู่ที่แจ้งไว้ ใน
ตอนแรก
จากตั ว อย่ า งกระบวนการผลิ ต เสื้ อ ผ้ า แบบ
อัจฉริยะทำ�ให้เห็นการเปลีย่ นแปลงของระบบการผลิต
จากเดิมอย่างชัดเจน มีความจำ�เพาะเจาะจงมากขึ้น
ไม่จำ�เป็นต้องผลิตจำ�นวนมาก ผลิตได้รวดเร็ว มีข้อ
ผิดพลาดน้อย ที่สำ�คัญโรงงานผลิตไม่จำ�เป็นต้อง
คาดการณ์ความต้องการของตลาด แต่จะผลิตต่อ
เมื่อมีคำ�สั่งซื้อมาเท่านั้น ซึ่งช่วยให้การใช้ทรัพยากร หุ่นยนต์ Kuka ประกอบรถยนต์
ธรรมชาติมีประสิทธิภาพดีขึ้น

ยกระดับจาก “อัตโนมัติ” สู่


“อัจฉริยะ”
อุตสาหกรรมยุคที่ 3 มีการใช้ระบบอัตโนมัติ
และหุน่ ยนต์ เพื่อช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพด้านความเร็ว
ในการผลิต ทำ�ให้ต้นทุนในการผลิตต่ำ�ลง ราคา
สินค้าถูกลง แต่ยังคงมีปัญหาในเรื่องปริมาณสินค้า หุ่นยนต์ Umi ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
ที่ผลิตออกมามากเกินความต้องการของตลาด และ
โรงงานไม่อาจจะผลิตจำ�นวนน้อยได้
ทั้ ง ระบบอั ต โนมั ติ แ ละหุ่ น ยนต์ รั บ ข้ อ มู ล หรื อ เป้าหมายของระบบผลิตอัจฉริยะทีส่ มบูรณ์แบบ
คำ�สั่งในการผลิตได้ทางเดียว แต่เมื่อติดตั้งเซ็นเซอร์ คือ ให้ทุกหน่วยของการผลิตมีความเป็น “อัจฉริยะ”
ทำ � ให้ ร ะบบอั ต โนมั ติ ห รื อ หุ่ น ยนต์ นั้ น ถู ก ยกระดั บ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยผลิตชิ้นส่วน หน่วยประกอบ และ
มาเป็นระบบอัจฉริยะ สามารถรับ-ส่งข้อมูล และ หน่วยวัดหรือทดสอบต่างๆ รวมถึงหน่วยควบคุม
ประมวลผลได้ด้วยตัวเอง เรียกว่าสื่อสารได้สองทาง การใช้พลังงานในการผลิต แต่การเปลี่ยนแปลงทุก
นอกจากจะสื่อสารกันได้เอง ก็ยังสื่อสารกับคนและ หน่วยพร้อมๆ กันเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก ดังนั้น
กับระบบการผลิตได้ด้วย การเปลี่ยนแปลงเพื่อเข้าสู่ระบบการผลิตอัจฉริยะ
จึ ง มี ก ารพั ฒ นาและเปลี่ ย นแปลงไปที ล ะส่ ว นหรื อ
ตัวอย่างหุ่นยนต์อัตโนมัติ Kuka ของบริษัท
ทีละหน่วยในระบบการผลิต
Kuka Robotics สามารถโต้ตอบกับหุ่นยนต์ตัวอื่นได้
รวมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนการทำ�งานให้เปลี่ยนไป
ตามไลน์การผลิต หรือ หุ่นยนต์ Umi ของบริษัท ABB ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนเพื่อ
สามารถประกอบชิ้นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคียงข้าง ยกระดับระบบผลิตให้มีความเป็น
กับมนุษย์ เพราะมีเซ็นเซอร์และหน่วยควบคุมระดับสูง “อัจฉริยะ”
เช่น ระบบคอมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision)
ทำ � ให้ มั น สามารถจดจำ � ชิ้ น ส่ ว นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ไ ด้ ​ หัวใจของระบบผลิตอัจฉริยะอยู่ที่การเชื่อมต่อ
อย่างแม่นยำ� สามารถป้องกันการปะทะกับคนหรือ ระหว่างหน่วยผลิตด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ
สิ่งของทำ�ให้การทำ�งานมีความปลอดภัยสูง ให้คาดการณ์การทำ�งานทั้งหมดได้
45

เป้าหมายของระบบผลิตอัจฉริยะของบริษัท Flex ที่ประกอบด้วยหลายหน่วยอัจฉริยะ

ตัวอย่างบริษัทผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ Flex นิยามของคำ�ว่า “อัจฉริยะ” ที่บริษัทใช้เป็น


ทีเ่ มือง Fuyong ประเทศจีนต้องการยกระดับระบบผลิต เป้าหมายในการยกระดับระบบผลิต คือ มีกลยุทธ์ ใน
ให้เป็นอัจฉริยะ เพื่อการผลิตทีม่ คี วามยืดหยุน่ สูง หรือ การกำ�หนดมาตรฐาน มีกระบวนการผลิตทีล่ ดของเสีย
ทีเ่ รียกว่า High-Mix/Low-Volume, HMLV หมายถึง มีเครื่องมือและซอฟต์แวร์เป็นระบบอัตโนมัติ มีการ
ผลิตสินค้าได้หลายรูปแบบ โดยแต่ละรูปแบบไม่จ�ำ กัด ควบคุมข้อมูลการผลิตแบบเรียลไทม์ มีการควบคุม
จำ�นวนการผลิต ผลิตสินค้าได้คณ ุ ภาพสม่�ำ เสมอ และ คุณ ภาพด้วยการคาดการณ์สิ่งที่กำ�ลังจะเกิดขึ้นใน
ลดค่าใช้จ่าย กระบวนการผลิตเพื่อหาทางป้องกันและแก้ไขได้ทัน
ท่วงที

ตัวอย่าง roadmap ของโรงงานอัจฉริยะของบริษัท Flex แบ่งออกเป็น 5 เฟส


46

จาก roadmap จะเห็นว่าการยกระดับระบบ บทส่งท้าย


การผลิตต้องทำ�ทีละเฟส ซึ่งบริษัท Flex แบ่งเป็น ​โ ลกแห่ ง การผลิ ต กำ � ลั ง เปลี่ ย นแปลงอย่ า ง
5 เฟส โดยในบทความที่เผยแพร่ของบริษัทระบุว่า รวดเร็ว การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับ
เฟสแรกทำ�สำ�เร็จเรียบร้อยแล้ว บริษัทยังได้บันทึก ระบบการผลิตแบบอัตโนมัติจะช่วยทำ�ให้การผลิต
ประสบการณ์จริงที่ได้รบั จากการปรับปรุงระบบการผลิต สินค้ามีความยืดหยุน่ มากขึน้ สามารถผลิตจำ�นวนน้อย
โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคแต่ละรายได้
1. ระบบมาตรฐานถื อ ว่ า เป็ น พื้ น ฐานของการเป็ น ด้วยราคาต่อหน่วยที่ไม่แพง ทำ�ให้ทรัพยากรถูกใช้
อัจฉริยะ อย่างเหมาะสม ไม่มสี นิ ค้าทีผ่ ลิตออกมาเกินจนล้นตลาด
2. ระบบมาตรฐานที่ดีจะทำ�ให้เกิดการเชื่อมโยง การประหยัดพลังงานในกระบวนการผลิตด้วย
3. ระบบอัจฉริยะจะเริ่มต้นเมื่อมีการเชื่อมโยง การติดระบบเซ็นเซอร์ไว้ตรวจวัดการใช้พลังงานเพื่อ
4. ระบบอัจฉริยะถูกขับเคลื่อนด้วยการเชื่อมโยง ปรับเพิ่มหรือลดอุณหภูมิ ความดัน ความชื้น ฯลฯ
5. ระบบอัจฉริยะต้องมีการทำ�นายสิ่งที่กำ�ลังจะเกิด จะช่วยลดการสูญเสียพลังงานในภาพรวม และ
ขึ้นในกระบวนการผลิตได้แบบเรียลไทม์ การควบคุมคุณภาพด้วยเครื่องจักรหรือหุ่นยนต์จะ
6. ระบบการผลิตจะต้องมีการปรับเปลีย่ นซอฟต์แวร์ ทำ�ให้ความผิดพลาดลดน้อยลง การคาดการณ์สิ่งที่
ก่อนแล้วค่อยปรับส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์ จะเกิดขึน้ ในกระบวนการผลิตได้อย่างทันท่วงทีจะช่วย
7. ระบบฐานข้อมูลอัตโนมัติต้องสร้างให้เสร็จก่อน ให้หาทางป้องกัน ก่อนจะกลายเป็นความผิดพลาด
แล้ ว จึ ง ค่ อ ยทำ � ให้ เ ครื่ อ งจั ก รเปลี่ ย นเป็ น ระบบ ให้ตอ้ งแก้ไขสิง่ ต่างๆ เหล่านีล้ ว้ นแต่ท�ำ ให้ประสิทธิภาพ
อัตโนมัติ ของการผลิตดีขึ้นในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แหล่งอ้างอิงและภาพประกอบ
1. http://waynepau.blogspot.ca/2014/11/iot-3cs-of-internet-of-things-aka.html
2. http://www.cadtechsolutions.in/3d_scanner
3. http://www.ti.com/lit/wp/sszy013/sszy013.pdf
4. http://smt.iconnect007.com/index.php/article/99499/?skin=smt&p=1
5. http://smartfactory.lgcns.com/Contents/EN/Industry/Automotive.aspx
6. http://new.abb.com/products/robotics/industrial-robots/yumi
7. http://www.hepcomotion.com/blog/latest-news/hepcoautomation-partnership-agreement-to-ex-
pand-kuka-robot-activities-in-general-automation/#.WBmf_S194dU

You might also like