Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 61

รางวัล

สารบัญ
6 สารประธานกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
นักเทคโนโลยี ด
ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

ี ด่ น
8 สารผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช บุญแสง และคณะ
10 สารผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนโยบายการอุดมศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมแห่งชาติ
34 ผลงาน แพลตฟอร์ ม เทคโนโลยี ฐ านด้ า น การบู ร ณาการระบบ (System Integration)
12 สารประธานกรรมการรางวัล เพื่องานหุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์ ส�ำหรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0
นักเทคโนโลยีดีเด่น (CiRA CORE) (System Integration platform for robotic automation and AI for
industrial 4.0 applications (CiRA CORE))

86 ประวัติมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
รางวัล
นักเทคโนโลยี ด เ
ี ด่ น
88 ใบอนุญาตจัดตั้งมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

89 หนังสือให้อ�ำนาจจัดตั้งมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 90 หนังสือพระราชทานพระมหากรุณาให้มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน


พระบรมราชูปถัมภ์

รายชื่อคณะวิจัย 91 มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นองค์การหรือ
สถานสาธารณกุศล
• ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์
• ดร.เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี 92 รายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี พ.ศ. 2561 มูลนิธส
ิ ง
่ เสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
• ดร.กฤษณ์ไกรพ์ สิทธิเสรีประทีป ในพระบรมราชูปถัมภ์
• และคณะ
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 98 โครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่

14 ผลงาน เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สามมิติแบบล�ำรังสีทรงกรวย 102 รายนามนักเทคโนโลยีดีเด่น


(3D Cone-Beam Computed Tomography)
112 รายนามนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่

114 คณะกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
สารประธานกรรมการ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

การน�ำประเทศไทยออกจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง เป็นที่ทราบว่าจะต้องน�ำเทคโนโลยี ในนามของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ผมขอขอบคุณ


และนวัตกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจ/อุตสาหกรรมการผลิตของประเทศ ซึ่งมีบุคลากรวิจัยเป็นทรัพยากรที่ ส�ำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สอวช.) และส�ำนักงานพัฒนา
ส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ใช้ผลักดันในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศให้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ขอขอบคุณองค์กรหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่
สามารถเจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาชาติ โดยจากการเสริมสร้างสมรรถนะความสามารถของผู้ประกอบ ให้การสนับสนุนในการด�ำเนินงานให้ส�ำเร็จลุล่วง รวมถึงคณะกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และ
การในประเทศ มีส่วนร่วมในการดูดซับเทคโนโลยีเข้ามาในประเทศ น�ำมาต่อยอดพัฒนาเทคโนโลยี คณะท� ำ งานทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ สละเวลาและท� ำ งานอย่ า งทุ ่ ม เทจนได้ ม าซึ่ ง ผู ้ ไ ด้ รับ รางวั ลในปี นี้ สุ ด ท้ า ยนี้
ขึ้นภายใน น�ำไปสู่การลดสัดส่วนการน�ำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และ ผมขอแสดงความยินดีกับนักเทคโนโลยีดีเด่นประจ�ำปี พ.ศ. 2562 และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการเชิดชูเกียรติ
สามารถแข่งขันได้ในระดับโลก ในครั้งนี้จะเป็นแรงผลักดันในการพัฒนาคนเพื่อสร้างสมรรถนะความสามารถให้กับประเทศต่อไป
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ตระหนักถึงความส�ำคัญของ
ทรัพยากรบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา จึงได้ด�ำเนินการคัดเลือกผู้ที่มีความ
เหมาะสมให้ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2544
จนถึงปัจจุบัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชิดชูเกียรตินักวิจัยที่ประสบความส�ำเร็จ มีผลงานโดดเด่น และเป็น
ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นที่ประจักษ์แก่บุคคลทั่วไป รวมถึงเพื่อเป็นการสร้างเสริมก�ำลังใจและสร้าง (รองศาสตราจารย์ ดร. ศักรินทร์ ภูมริ ตั น)
แรงบันดาลใจให้กับนักเทคโนโลยีรุ่นเยาว์ รุ่นหลังๆ ที่จะถือเป็นตัวอย่าง เจริญรอยตามนักเทคโนโลยีรุ่นพี่ ประธานกรรมการ
ที่ประสบความส�ำเร็จและมีชื่อเสียงมาก่อน มูลนิธสิ ง่ เสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

6 7
สารผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

จากผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆทัว่ โลก (World Competitiveness) คือมีการก�ำหนดนโยบายที่ชัดเจน ให้การสนับสนุนทรัพยากร และงบประมาณวิจัยที่มากพอและต่อเนื่อง


ปี 2562 โดยสถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: รวมทั้งสร้างระบบนิเวศ วทน. (Science Technology and Innovation Ecosystem) ที่แข็งแกร่ง ผมมี
IMD) สิงคโปร์ขึ้นเป็นอันดับ 1 ส่วนประเทศไทยมีอันดับดีขึ้นถึง 5 อันดับ เป็นอันดับที่ 25 ซึ่งนับเป็นอันดับ ความเชือ่ มัน่ ว่า งานวิจยั จากนักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีของไทย มีความเป็นไปได้สงู ทีจ่ ะส่งผลกระทบ
สูงที่สุดในรอบกว่า 10 ปีที่ผ่านมา นอกเหนือจากประเด็นด้านเศรษฐกิจที่ท�ำให้ผลการจัดอันดับดีขึ้น กับชีวิต ธุรกิจ และสังคมในอนาคตอันใกล้
ยังมีประเด็นด้านโครงสร้างพื้นฐาน และด้านประสิทธิภาพของภาครัฐ โดยในประเด็นด้านโครงสร้างพื้น สวทช. มีความยินดีอย่างยิง่ ในการร่วมสนับสนุนการเชิดชูเกียรตินกั เทคโนโลยีของไทยผูเ้ ป็นแรงผลักดัน
ฐาน ในส่วนโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่เป็นรากฐานของการสร้างความสามารถในการแข่งขันใน และเป็นต้นแบบของนักคิด นักพัฒนา ที่มีความมุ่งมั่นคิดค้นเทคโนโลยี เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ
ระยะยาว มีอันดับสูงขึ้นถึง 4 อันดับจากปีก่อน (จากล�ำดับที่ 42 เป็นล�ำดับที่ 38) แต่สิ่งที่เป็นประเด็น และสังคม และขอแสดงความยินดีแก่ทุกท่าน ที่ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ประจ�ำปี 2562 หวังว่า
ท้าทายของไทย คือการท�ำให้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทีค่ ดิ ค้นพัฒนาขึน้ สูภ่ าคการผลิตและการใช้งานอย่าง ทุกท่านจะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยน�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทคี่ ดิ ค้นและพัฒนาขึน้
จริงจัง อันจะส่งผลต่อการลดการน�ำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ รวมถึงการพัฒนาก�ำลังคนให้เท่าทัน มาประยุกต์ใช้ หรือพัฒนาต่อยอดเป็นนวัตกรรมที่ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและเศรษฐกิจของ
เทคโนโลยี และพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงในโลกอนาคตต่อไป ประเทศไทยอย่างมั่นคงและยั่งยืนสืบไป
นับเป็นทีน่ า่ ยินดีทกี่ ระแสการตืน่ ตัวเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ผนวกกับ
นโยบายและมาตรการของรัฐที่สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในการวิจัยและพัฒนามากขึ้นใน
ช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา ได้สง่ ผลให้คา่ ใช้จา่ ยเพือ่ การวิจยั และพัฒนาของประเทศเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง จาก
0.48% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) ในปี 2558 เป็น
0.62% และ 1% ในปี 2560 และ 2561 ตามล�ำดับ ซึ่งถือว่าเป็นทิศทางขับเคลื่อนประเทศให้มีการเติบโต (นายณรงค์ ศิรเิ สิศวรกุล)
อย่างยั่งยืน ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
การวิจยั และพัฒนา ท�ำให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ ทีส่ ามารถน�ำไปพัฒนาต่อให้เกิดเป็นเทคโนโลยี
ที่ช่วยในการท�ำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น อุปกรณ์, เครื่องมือ, เครื่องจักร, หรือ วัสดุ ฯลฯ
ในการน� ำ องค์ ค วามรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากการวิ จั ย ไปพั ฒ นาต่ อ เป็ น เทคโนโลยี ที่ ส ามารถน� ำ ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้
และต่อยอดเป็นนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ความต้องการของสังคมและของประเทศ ต้องอาศัยนักเทคโนโลยีที่
มีความมุ่งมั่น รวมถึงสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ�ำนวย ซึ่งหากหน่วยงานด้านนโยบาย หน่วยงานจัดสรรทุนวิจัย
และหน่วยงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือ วทน. รวมพลังขับเคลื่อนไปด้วยกัน

8 9
สารผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

ในปัจจุบันพบว่าการที่จะท�ำให้ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันทัดเทียมกับนานา เป้าหมายในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ และได้ตระหนักถึงความจ�ำเป็นของการจัดเตรียมบุคลากร


ประเทศ มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน และก้าวพ้นจากกับดักของประเทศรายได้ปานกลาง (Middle Income วิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพสูงให้มีประสิทธิภาพ โดยบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม ประกอบด้วยบุคลากร
Trap) นั้นจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) นักวิจัย หมายถึงผู้ที่ท�ำหน้าที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการใหม่
เนือ่ งจากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมมีบทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาและขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและ ระบบใหม่ รวมถึงการบริหารจัดการโครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) ผู้ช่วยนักวิจัย หมายถึงช่างเทคนิคหรือ
สังคมของประเทศ และเป็นกลไกในการกระตุน้ ให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนเพือ่ ยกระดับความสามารถ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโครงการวิจัยและพัฒนาที่ต้องอาศัยความรู้เชิงเทคนิคและประสบการณ์ใน
ในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของนักวิจัย และ 3) บุคลากรสนับสนุนอื่น ๆ
ส� ำ นั กงานสภานโยบายการอุดมศึก ษา วิท ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ในโอกาสนี้ สอวช. ขอแสดงความยินดีกับผู้ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และขอแสดงความ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหน่วยงานหลักที่มีบทบาทส�ำคัญในการ ยินดีกับคณะกรรมการโครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นฯ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จัดท�ำนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่สอดคล้องกับ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ในฐานะผู้จัด
แพลตฟอร์มในการพัฒนา 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาก�ำลังคนและสถาบันความรู้ การวิจัยและสร้างนวัตกรรม งาน ขออวยพรให้ทกุ ท่านมีสขุ ภาพพลามัยสมบูรณ์ และประสบความส�ำเร็จ สมหวังในสิ่งอันพึงปรารถนา
เพื่อตอบโจทย์ท้าทายของสังคม การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน และ ทุกประการ
การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล�้ำ รวมถึงแผนกลยุทธ์การพัฒนา
บุคลากรวิจัย และนวัตกรรม โดยมุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมให้ครอบคลุม 10 อุตสาหกรรม

(ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์)
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

10 11
สารประธานกรรมการ
รางวั ล นั ก เทคโนโลยีดีเด่น

ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านต่างๆ ทั่วโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผมขอขอบพระคุณคณะกรรมการฯ ผู้ทรงคุณวุฒิและคณะท�ำงานทุกท่านที่ได้สละเวลาท�ำงาน


โดยเฉพาะทางด้าน Digital transformation ในขณะที่เทคโนโลยีด้านอื่นๆก็มีการคิดค้นและเกิด อย่างเต็มก�ำลังความสามารถในการเสนอความคิดเห็น วิเคราะห์และวิจารณ์โครงการต่างๆ จ�ำนวนมาก
เทคโนโลยีใหม่ๆ ขึ้นตลอดเวลาซึ่งจะเข้าไปแทนที่ท�ำให้เทคโนโลยีที่มีอยู่เดิมล้าสมัยและไม่มีผู้ใช้งาน ที่ได้รับการเสนอเข้ามา โดยใช้หลักวิชาการอย่างละเอียดถี่ถ้วน มีความยุติธรรม และโปร่งใส รวมทั้ง
ต่อไป เป็น Disruptive technology ซึ่งหากองค์กรหรือประเทศไม่มีการเตรียมพร้อมก็จะท�ำให้เกิด การใช้เวลาเข้าไปเยี่ยมชมสถานที่ปฏิบัติงานของผู้เสนอผลงานเพื่อรับทราบข้อมูลเพิ่มเติม ซึ่งช่วยให้
การล้าหลังและขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลกลดต�่ำลง ส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศโดย การพิจารณามีความถูกต้องแม่นย�ำมากขึ้น ซึ่งท�ำให้การพิจารณาสรุปรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและ
รวม นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ในปี 2562 นี้เป็นไปได้ด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการเชิดชูเกียรติในครั้งนี้ จะ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เห็นความส�ำคัญในข้อ ช่วยให้เกิดเป็นแรงบันดาลใจแก่นักเทคโนโลยีให้มีความมุ่งมั่นในการท�ำงาน เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่ดี
นี้ จึงได้จัดให้มีโครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. และเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไป
2543 เป็นต้นมา เพื่อเปิดโอกาสให้นักเทคโนโลยีคนไทยซึ่งมีศักยภาพสูงได้มีเวทีในการน�ำผลงานที่
คิดค้นขึ้นมาได้ส่งเข้ามาเพื่อพิจารณารางวัลและในปีถัดๆไปทางมูลนิธิฯ จะได้น�ำเทคโนโลยีที่เคยได้
รับรางวัลในปีก่อนๆมาน�ำเสนอความก้าวหน้าของงานให้สาธารณชนได้รับทราบต่อไป
ในฐานะประธานกรรมการคั ด เลื อ กรางวั ล นั ก เทคโนโลยี ดี เ ด่ น และนั ก เทคโนโลยี รุ ่ น ใหม่
ประจ�ำปี 2562 ผมขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยที่ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นในปีนี้ทั้ง 2 โครงการ (นายสัตวแพทย์ รุจเวทย์ ทหารแกล้ว)
ซึ่งเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์และความพยายามของนักวิจัยที่ได้ทุ่มเทให้กับงานวิจัย ประธานกรรมการ
ที่ได้ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องมีเทคโนโลยีที่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดผลกระทบทางสังคม รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น / รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่
และเศรษฐกิจที่เป็นรูปธรรม ส�ำหรับรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ในปีนี้ไม่มีโครงการที่ได้รับรางวัล

12 13
9 16 15
11 14 17 19
12 13 10

7 6 5 2 1 3 4 18 8

ชื่อ – นามสกุล First Name and Last Name

1 ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ Prof. Dr. Pairash Thajchayapong


2 ดร.เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี Dr. Saowapak Thongvigitmanee
3 ดร.กฤษณ์ไกรพ์ สิทธิเสรีประทีป Dr. Kriskrai Sitthiseripratip
4 ดร.พสุ สิริสาลี Dr. Pasu Sirisalee
5 ดร.วลิตะ นาคบัวแก้ว Dr. Walita Narkbuakaew
6 ดร.อุดมชัย เตชะวิภู Dr. Udomchai Techavipoo
7 นายสรพงศ์ อู่ตะเภา Mr. Sorapong Aootaphao
8 นายธนพล ศรีวงษา Mr. Tanapon Srivongsa
9 นายอัฐศักดิ์ เกียงเอีย Mr. Atthasak Kiang-ia
10 นางสาวชาลินี ธนทรัพย์สมบัติ Miss Chalinee Thanasupsombat
11 นายก้องยศ วังคะออม Mr. Kongyot Wangkaoom
12 นายกิตติ ขุนสนิท Mr. Kitti Koonsanit
13 นางสาวนภวรรณ กังสัมฤทธิ์ Miss Nopawan Kangsumrith
14 นางสาวดวงกมล บรรณสาร Miss Duangkamol Banarsarn
ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ 15 นายจตุรงค์ จิตต์สอาด Mr. Jaturong Jitsaard
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 16
17
นายทศพล จันทร์คีรี
นายสุรพล ฉันทวีโรจน์
Mr. Thossapol Chunkiri
Mr. Surapol Chantaweroad
NATIONAL SCIENCE AND TECHNOLOGY DEVELOPMENT AGENCY (NSTDA)
18 ดร.ดนุ พรหมมินทร์ Dr. Danu Prommin
ผลงาน เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สามมิติแบบล�ำรังสีทรงกรวย 19 นายปริญญา จันทร์หุณีย์ Mr. Parinya Junhunee
(3D Cone-Beam Computed Tomography)

15
ประวัติส่วนตัว
ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ได้รับทุนรัฐบาลไทยไปศึกษาและจบปริญญาตรีด้าน ดร.เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี ได้รับทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เพื่อไปศึกษาระดับ
วิศวกรรมไฟฟ้า (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากอิมพีเรียลคอลเลจลอนดอน (Imperial College ปริญญาตรี-โท-เอก ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรม
of Science, Technology and Medicine) และปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ไฟฟ้า จาก Cornell University, Ithaca, New York ในปี พ.ศ. 2540 และจบศึกษาระดับ
สหราชอาณาจั กร เริ่ มรับ ราชการเป็นอาจารย์สอนหนังสือและท�ำวิจัยที่ส ถาบันเทคโนโลยี ปริญญาโทและเอกสาขา Electrical Engineering: Systems เน้นทางด้าน Signal Processing
พระจอมเกล้าธนบุรี แล้วย้ายไปที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง มีผลงาน จาก University of Michigan, Ann Arbor ในปี พ.ศ. 2541 และ 2546 ตามล�ำดับ หลังจากนั้น
วิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับสากลด้านการประมวลสัญญาณดิจิทัลกว่า 30 เรื่องได้รับ กลับมาปฏิบัติงาน ณ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ตั้งแต่ปี
พระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 10 เมื่ออายุ 39 ปี และระดับ พ.ศ. 2546 ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งนักวิจัยอาวุโสและหัวหน้าทีมวิจัยระบบสร้างภาพทางการแพทย์
11 เมื่ออายุ 40 ปีเศษ และด�ำรงต�ำแหน่งอธิการบดี 2 สมัยติดต่อกัน ขณะเดียวกันก็ได้ไปช่วยงาน ศูนย์วจิ ยั เทคโนโลยีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกและเครือ่ งมือแพทย์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีแห่งชาติ เคยได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2551 จากมูลนิธิ
แห่งชาติ หรือเนคเทค (NECTEC: National Electronics and Computer Technology Center) ส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์, รางวัลผลงานประดิษฐ์คดิ ค้นระดับชมเชย
ซึง่ ปัจจุบนั สังกัดส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยเป็นผูอ้ ำ� นวยการ ประจ�ำปี พ.ศ. 2552 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
คนแรกของเนคเทค ต่อมาเลื่อนขึ้นเป็นผู้อ�ำนวยการของ สวทช. จนครบวาระ 2 สมัย ก็ได้ และรางวัลชนะเลิศ ประจ�ำปี พ.ศ. 2553 จากงาน ICT Award ของกระทรวงเทคโนโลยี
รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร
ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้วเมื่อกันยายน พ.ศ. 2548 แต่ยังท�ำงานด้านวิจัยและพัฒนาเป็น
ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญพิเศษของ สวทช. กรรมการสภากาชาดไทย กรรมการและเลขาธิการ ดร.กฤษณ์ไกรพ์ สิทธิเสรีประทีป ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรม
มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี อุตสาหการ จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรม
และประธานกิตติมศักดิ์ KBTG (Kasikorn Business-Technology Group) จนปัจจุบัน รางวัล ระบบการผลิต จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์
ที่ส�ำคัญ ได้แก่ นักวิจัยดีเด่นของส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2527, รางวัล จากมหาวิทยาลัยแคทอลิกแห่งลูเวน เบลเยียม การศึกษาระดับปริญญาเอก จากสถาบันเทคโนโลยี
นักวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยมจากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ แห่งเอเชีย ปัจจุบัน ดร.กฤษณ์ไกรพ์ ด�ำรงต�ำแหน่งนักวิจัยอาวุโสและหัวหน้าทีมวิจัยเทคโนโลยี
พ.ศ. 2534, รางวัลบุคคลดีเด่นด้านไอที จากสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศแห่งประเทศไทย วัสดุฝงั ในทางการแพทย์ ศูนย์วจิ ยั เทคโนโลยีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกและเครือ่ งมือแพทย์ ส�ำนักงาน
พ.ศ. 2538, รางวัลส่งเสริมการใช้ดาวเทียมระหว่างประเทศในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จาก พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เคยได้รับรางวัลโครงการวิจัยดีเด่นของชาติ สาขา
กระทรวงไปรษณีย์และโทรเลข (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงการสื่อสารและกิจการภายใน) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจ�ำปี 2550 คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ส�ำนักงาน
ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ.2541, รางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลดีเด่น สมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทยประจ�ำปี สร้ า งเสริ ม เอกลั ก ษณ์ ข องชาติ มี ผลงานตี พิม พ์ ใ นวารสารระดั บ นานาชาติ จ� ำ นวน 48 เรื่ อ ง
2547, รางวัล “ผู้น�ำการจัดการเทคโนโลยี” (LTM) จาก PICMET (Portland International ทางด้านการแพทย์และวิศวกรรมชีวการแพทย์ และมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคเอกชนเพื่อ
Center for Management of Engineering and Technology) สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2548, สร้างอุตสาหกรรมการผลิตและบริการทางด้านการแพทย์และทันตกรรม จ�ำนวน 4 เทคโนโลยี
และรางวัล “มหิดลทยากร” ประจ�ำปี 2560 เป็นต้น ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก เมื่อ พ.ศ. 2540 และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ เมื่อ พ.ศ. 2548 จาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้ัน
Order of the Rising Sun, Gold Rays with Neck Ribbon จากสมเด็จพระจักรพรรดิญี่ปุ่นใน
ปี พ.ศ. 2550

16 17
The second type of NSTDA’s CBCT machines named “MobiiScan” was
Abstract designed to be portable and used with a patient in a supine position since 2011.
Due to a larger flat panel X-ray detector, MobiiScan can be used to diagnose
Cone-Beam Computed Tomography (Cone Beam CT or CBCT) is a diagnostic and plan the surgery for the patients with craniofacial anomalies including the
medical device which can provide three-dimensional (3D) images of internal patients with cleft lip and/or cleft palate. Moreover, MobiiScan can also be used
organs noninvasively. In Thailand, CBCT has been designed, researched, and for extremity imaging as well as in the operating room. Like DentiiScan, MobiiScan
developed by the research and development team from the National Science passed the radiation safety test and the electrical safety test. The ISO 13485 of
and Technology Development Agency (NSTDA) since 2007, considerably the first MobiiScan has been certified since April 2017. Currently, MobiiScan was installed
team in Thailand to dedicatedly develop CBCT technology. Three different types at 3 clinical sites and used more than 1,000 scans in real patients.
of CBCT machines have been developed based on the same CBCT technology to
accommodate different applications.
DentiiScan is the CBCT for dental and maxillofacial surgery applications,
which can provide 3D images showing the internal anatomy in oral and facial areas
without distortion unlike typical 2D X-ray machines. Therefore, diagnosis and
treatment planning for dental implants and maxillofacial surgery are safer and
more accurate with CBCT. Moreover, CBCT provides much lower radiation dose MobiiScan and Software
to a patient than medical CT. DentiiScan already passed the radiation safety
test from the Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health and the
electrical safety test from the Electrical and Electronic Product Testing Center (PTEC).
The quality management system for medical devices (ISO 13485) of DentiiScan
The third type of NSTDA’s CBCT machines named “MiniiScan” is used
has been certified since April 2016. Moreover, DentiiScan production has been
for diagnosis of breast specimens in the operating room. MiniiScan can assist
licensed since February, 2017. Currently, there are 2 models of DentiiScan in service:
surgeons to verify the negative resection margin in breast conservation surgery.
DentiiScan 1.1 and DentiiScan 2.0, which have been used more than 7,000 scans.
MiniiScan has been researched and developed by the NSTDA team since 2014,
There will be the total of 60 DentiiScan machines in service by the end of 2019.
based on the same CBCT technology as DentiiScan and MobiiScan, but this machine
rotates the specimen itself. MiniiScan already passed the radiation safety test
and the electrical safety test. Now, more than 100 scans of breast specimens
have been operated at the Faculty of Medicine, Prince of Songkla University.

DentiiScan 1.1, DentiiScan 2.0 and Software

MiniiScan and Software

18 19
บทสรุปรายละเอียดของผลงานเทคโนโลยี เน้นการตรวจหาขอบเขตทางรังสีของก้อนเนื้อเต้านมในห้องผ่าตัด เครื่องโคนบีมซีทีที่วิจัยและ
พัฒนาขึน้ ได้มกี ารทดสอบคุณภาพของภาพด้วยแฟนทอม (Phantom) มาตรฐาน ผ่านการตรวจสอบ
การพัฒนาเครือ่ งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ครัง้ แรกในประเทศเริม่ ตัง้ แต่สมัย ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ความปลอดภัยทางรังสีและไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีขั้นตอนตามหลักสากล แล้วจึงเข้าสู่
ท�ำวิจัยที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังในช่วง พ.ศ. 2523-2533 สมัยนั้น กระบวนการทดสอบทางคลินิกก่อนน�ำไปสู่การใช้งานจริงกับผู้ป่วย ในขั้นตอนสุดท้าย ก่อนจะน�ำ
สามารถพั ฒ นาอั ล กอริ ทึ ม และน� ำ มาพิ สู จ น์ โ ดยการถ่ า ยภาพตั ด ขวางของวั ต ถุ แ ละสิ่ ง มี ชี วิ ต ออกไปผลิตจ�ำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจในการใช้งานในประเทศ คณะวิจยั จึงขอ
เช่น หนูทดลอง เป็นต้น แต่ยังไม่สามารถพัฒนาและวิศวกรรมไปสู่การใช้งานกับมนุษย์ได้ เนื่องด้วย รับรองมาตรฐานสากล ISO 13485 (ระบบการบริหารจัดการคุณภาพอุตสาหกรรมเครือ่ งมือแพทย์)
ข้อจ�ำกัดหลายประการ ประการแรกด้านทรัพยากรทุนวิจัยของประเทศที่จะน�ำมาจัดหาคอมพิวเตอร์ ของกระบวนการผลิตในโรงงานน�ำร่องของ สวทช. ที่จัดตั้งขึ้นมาอีกด้วย
สมรรถนะสูง ประการทีส่ องยังไม่มกี ารจ�ำหน่ายชิน้ ส่วนส�ำคัญทีจ่ ะน�ำมาประกอบเป็นเครือ่ งซีทไี ด้และ
ประการที่สามความสามารถเชิงบริหารจัดการโครงการที่ซับซ้อนลักษณะนี้เพื่อน�ำไปสู่ผลิตภัณฑ์ที่ใช้
งานได้จริงยังไม่ถึงระดับที่เพียงพอ

การพัฒนาเครื่องเดนตีสแกนได้รับความร่วมมือจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและ
เอกชน อาทิเช่น คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ศูนย์ทันตกรรมเอสดีซี,
เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ, ส�ำนักงานการวิจยั แห่งชาติ, โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข กระทรวงกลาโหม และกรุงเทพมหานคร, บริษัท พิกซาเมด จ�ำกัด เป็นต้น ในส่วนของ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 มีความต้องการจากทันตแพทย์ทตี่ อ้ งการให้มกี ารพัฒนาเครือ่ งเอกซเรย์
เครื่องโมบีสแกนคณะวิจัย สวทช. เริ่มวิจัยและพัฒนากับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา
คอมพิวเตอร์ทางทันตกรรมขึ้นเองในประเทศและจากการเติบโตของงานทันตกรรมรากฟันเทียมที่
นคริ น ทร์ ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2554 จากนั้ น ขยายผลความร่ ว มมื อ กั บ คณะแพทยศาสตร์ แ ละ
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ในอดีตสามารถแก้ไขได้ จึงเป็นที่มาของการรวมตัว
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ส่วนเครือ่ ง
ของคณะวิจัยน�ำโดย ศ.ดร.ไพรัช เป็นผู้อ�ำนวยการโครงการ ดร.เสาวภาคย์ เป็นหัวหน้าทีมวิจัยระบบ
มินสี แกน เริม่ วิจยั และพัฒนากับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2557
ซอฟต์แวร์ ดร.กฤษณ์ไกรพ์ เป็นหัวหน้าทีมวิจัยระบบฮาร์ดแวร์ และนักวิจัยอีกจ�ำนวนหนึ่งของ
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในการริเริ่มงานวิจัยและพัฒนาเครื่อง
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สามมิติแบบล�ำรังสีทรงกรวย (Cone-Beam CT หรือ CBCT) ขึ้นในปี พ.ศ.
2550 เป็นรายแรกของประเทศไทย โดยเริ่มจากงานทันตกรรมเป็นอันดับแรก ตั้งแต่การออกแบบ
วิจัย พัฒนา ผลิตต้นแบบตามมาตรฐานสากล จนกระทั่งถ่ายทอดสู่ผู้ใช้ประโยชน์ได้จริงจนปัจจุบัน
เครือ่ งโคนบีมซีทไี ด้รบั การออกแบบผลิตออกมาเป็น 3 ลักษณะเพือ่ สนองความต้องการของผูใ้ ช้ ได้แก่
1) เครื่องเดนตีสแกน (DentiiScan) เน้นงานทันตกรรม 2) เครื่องโมบีสแกน (MobiiScan) สามารถ
เคลือ่ นย้ายได้ เน้นการแก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ 3) เครือ่ งมินสี แกน (MiniiScan)

20 21
รายละเอียดของเทคโนโลยี การค�ำนวณของเครื่องเดนตีสแกนนั้นต้องอาศัยคณิตศาสตร์ที่เรียกว่า การแปลงราดอน
แสดงให้เห็นถึงปริมาณเทคโนโลยี และความพยายามในการพัฒนา (Radon Transform) ซึง่ สามารถพรรณนาออกมาเป็นอัลกอริทมึ การฉายกลับแบบกรอง (Filtered
เทคโนโลยีขึ้นในประเทศไทย Back Projection) ของเฟลด์แคมป์ เดวิส และเครสส์ (Feldkamp Davis and Kress)
ในการสร้างภาพตัดขวางสามมิติ อย่างไรก็ดีเนื่องจากการใช้เทคโนโลยีล�ำรังสีทรงกรวยและหน่วย
เครื่ อ งเดนตี ส แกนให้ ข ้ อ มู ล ภาพอวั ย วะภายในช่ อ งปากและใบหน้ า แบบสามมิ ติ ตรวจรับรังสีเอกซ์ชนิดแบนราบส�ำหรับการใช้งานแต่ละประเภทมีสัญญาณรบกวนในรูปแบบ
ปราศจากการบิดเบือนของข้อมูล ซึง่ แตกต่างจากเครือ่ งถ่ายภาพเอกซเรย์แบบสองมิตทิ ใี่ ช้กนั ทัว่ ไป ทีแ่ ตกต่างกัน ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นต้องวิจยั และพัฒนาอัลกอริทมึ ในการลดสัญญาณรบกวนรูปแบบต่าง ๆ
ท�ำให้การวินจิ ฉัยโรคและวางแผนการผ่าตัดมีความแม่นย�ำและปลอดภัยมากขึน้ สามารถใช้ในการ เช่น การลดสัญญาณรบกวนจากการกระเจิงของรังสีเอกซ์ (Scatter Artifact Reduction)
วินิจฉัยและวางแผนการรักษาในงานทันตกรรมรากฟันเทียม การผ่าฟันคุด และการผ่าตัดบริเวณ การลดสัญญาณรบกวนที่เกิดจากโลหะ (Metal Artifact Reduction) การลดสัญญาณที่
ช่องปาก ขากรรไกร และใบหน้า เป็นต้น เครื่องเดนตีสแกนประกอบด้วยระบบฮาร์ดแวร์ที่ส�ำคัญ เกิดจากการตัดข้อมูล (Truncation Artifact Reduction) เป็นต้น การพัฒนาซอฟต์แวร์
ได้แก่ ส่วนเครื่องก�ำเนิดรังสีเอกซ์และหน่วยตรวจรับรังสีเอกซ์ ส่วนกลไกการหมุน (Gantry) และ สร้างภาพตัดขวางสามมิติซึ่งรวมถึงการลดสัญญาณรบกวนต่าง ๆ เป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่าง
ส่วนคอมพิวเตอร์ หลักการท�ำงานนั้นคือ เครื่องจะฉายรังสีเอกซ์ผ่านผู้ป่วยไปยังหน่วยตรวจรับ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) และหน่วยประมวลผลจีพียู (GPU:
รังสีเอกซ์รอบศีรษะผู้ป่วย 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ 18 วินาที เพื่อเก็บข้อมูลดิบจากหน่วยตรวจ Graphics Processing Unit) ที่ท�ำงานลักษณะขนาน (Paralleling Processing) เพื่อการ
รับรังสีเอกซ์ในแต่ละมุม จากนั้นป้อนเข้าไปยังคอมพิวเตอร์เพื่อท�ำการค�ำนวณสร้างภาพตัดขวาง ค�ำนวณที่รวดเร็วและการประมวลผลที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
สามมิติ (Image Reconstruction) ของอวัยวะภายในร่างกายแล้วแสดงภาพที่ได้ออกมาที่จอ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งภายในระบบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย ซอฟต์แวร์หลักในการบริหาร
จัดการระบบฮาร์ดแวร์และระบบซอฟต์แวร์ให้ทำ� งานร่วมกัน, ซอฟต์แวร์สงั่ ถ่ายภาพรังสี (Acquisition),
ซอฟต์แวร์สร้างภาพตัดขวางสามมิติ, ซอฟต์แวร์แสดงภาพสามมิติ (3D Image Viewer) และ
ซอฟต์แวร์ช่วยวางแผนการผ่าตัดรากฟันเทียม (DentiPlan), ซอฟต์แวร์สอบเทียบเชิงเรขาคณิต
(Geometric Calibration) และซอฟต์แวร์น�ำออกเป็นไฟล์ไดคอม (DICOM) และเชื่อมต่อกับ
ระบบแพ็กซ์ (PACS: Picture Archiving and Communication System) ของโรงพยาบาล

การลดสัญญาณรบกวนจากการกระเจิงของรังสีเอกซ์

หลักการท�ำงานของเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สามมิติแบบล�ำรังสีทรงกรวยและภาพตัดขวางสามมิติ การลดสัญญาณรบกวนจากโลหะ

22 23
ซอฟต์แวร์แสดงภาพสามมิตแิ ละซอฟต์แวร์เดนตีแพลนทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ รับข้อมูลภาพสามมิติ เครื่องโมบีสแกนเป็นเครื่องโคนบีมซีทีแบบเคลื่อนย้ายได้ส�ำหรับผู้ป่วยที่ต้องนอน
ในรูปแบบไดคอม (DICOM) มาแสดงภาพตัดขวางในมุมมองต่างๆ ได้แก่ มุมมองจากบนลงล่าง ระหว่างการถ่ายรังสี ซึ่งหน่วยตรวจรับรังสีเอกซ์มีขนาดใหญ่กว่ากรณีเดนตีสแกนเพื่อให้ถ่ายภาพ
(Axial), มุมมองจากซ้ายไปขวา (Sagittal), มุมมองจากหน้าไปหลัง (Coronal), มุมมองตั้งฉากกับ ได้กว้างมากขึน้ ถูกน�ำใช้ในการวินจิ ฉัยและวางแผนการผ่าตัดในผูป้ ว่ ยเด็กและผูใ้ หญ่ทมี่ คี วามพิการ
แนวโค้งของฟัน (Cross-Sectional), มุมมองตามแนวโค้งของฟัน (Panoramic), มุมมองเสมือน บริเวณใบหน้า กะโหลกศีรษะ และขากรรไกร รวมทั้งผู้ป่วยโรคปากแหว่งเพดานโหว่, ใช้ในการ
ภาพจากเครื่องพาโนรามิก (X-Ray Ray Sum), การขึ้นภาพสามมิติ (3D Rendering), การน�ำ วินิจฉัยและวางแผนการรักษาบริเวณมือและเท้า และสามารถใช้ในห้องผ่าตัดได้
เข้าข้อมูลจากเครื่องถ่ายพื้นผิวภายในช่องปาก (Intraoral Scanner), การจ�ำลองการฝังรากฟัน
เทียมจากคลังข้อมูลรากฟันเทียม, การวาดต�ำแหน่งของคลองเส้นประสาท และออกรายงานแผน
การผ่าตัดได้ ตลอดจนการส่งออกข้อมูลสามมิติและแผนการผ่าตัดในรูปแบบไฟล์เอ็สทีแอ็ล (STL:
Stereolithography) เพื่อใช้ในการขึ้นรูปโมเดลสามมิติด้วยเทคโนโลยีต้นแบบรวดเร็ว (Rapid
Prototyping) ทางการแพทย์และออกแบบเครื่องมือน�ำร่องส�ำหรับเจาะ (Drill Guide)

เครื่องมินีสแกนเป็นเครื่องโคนบีมซีทีขนาดเล็กส�ำหรับถ่ายชิ้นเนื้อมะเร็งเต้านมใน
ห้องผ่าตัด เพื่อประเมินขอบเขตทางรังสีของก้อนเนื้องอกและหินปูนขนาดเล็กในเต้านมที่ได้รับ
การผ่าตัดแล้ว ในมาตรฐานปัจจุบนั ผูป้ ว่ ยทีม่ กี อ้ นเนือ้ จะไม่มกี ารส่งชิน้ เนือ้ เพือ่ ตรวจทางรังสี แต่
ชิน้ เนือ้ จะได้รบั การส่งไปยังแผนกพยาธิวทิ ยา หากผลรายงานว่าตัดชิน้ เนือ้ ออกไม่หมด ผูป้ ว่ ยจะต้อง
ได้รบั การผ่าตัดอีกครัง้ ส่วนผูป้ ว่ ยทีม่ หี นิ ปูนผิดปกติ จะมีการส่งชิน้ เนือ้ ไปตรวจด้วยวิธแี มมโมแกรม
(Specimen Mammogram) ซงึ่ แสดงผลเป็นภาพสองมิติ อาจท�ำให้การแปลผลคลาดเคลือ่ นได้งา่ ย
และยังใช้เวลารอผลนานจากการส่งชิ้นเนื้อไปนอกห้องผ่าตัด เนื่องจากเครื่องมินีสแกนใช้ถ่ายวัตถุ
จึงถูกออกแบบให้ถ่ายภาพวัตถุหลายรอบ แล้วน�ำมาเฉลี่ยก่อนสร้างเป็นภาพตัดขวางสามมิติ เพื่อ
เพิม่ สัญญาณให้กบั ภาพและลดสัญญาณรบกวนต่าง ๆ ทีเ่ กิดจากข้อจ�ำกัดทางฮาร์ดแวร์ของเครือ่ ง

ซอฟต์แวร์ช่วยวางแผนการผ่าตัดรากฟันเทียม (DentiPlan)

24 25
แสดงตัวอย่างของการน�ำไปประยุกต์ใช้
หรือศักยภาพในการพัฒนาเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์จริง

ปัจจุบนั เครือ่ งเดนตีสแกนมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งไปแล้วถึง 2 รุน่ คือ เครือ่ งเดนตีสแกน


รุ่น 1.1 และ เครื่องเดนตีสแกนรุ่น 2.0 ที่มีขนาดเล็กกว่าและผู้ป่วยสามารถถ่ายในท่ายืน ท่านั่ง
และใช้รถเข็นได้ เครือ่ งเดนตีสแกนจะถูกติดตัง้ ทีส่ ถานพยาบาลรวม 60 เครือ่ งภายในปี พ.ศ. 2562
ปัจจุบันเครื่องเดนตีสแกนมีการใช้งานมากกว่า 7,000 ครั้ง

รากฟันเทียม โรคมะเร็งกรามช้าง

ภาพจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาพจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ถุงน�้ำหรือเนื้องอกและฟันฝัง ขากรรไกรล่างหัก

ภาพจากโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ภาพจากโรงพยาบาลแพร่

26 27
เครื่องโมบีสแกนมีการติดตั้งจ�ำนวน 3 แห่ง ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์, คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผลกระทบต่อประเทศ
สภากาชาดไทย เครือ่ งโมบีสแกนได้ให้บริการผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามผิดปกติบริเวณใบหน้า กะโหลกศีรษะ ทางด้านอุตสาหกรรม ด้านสังคม และเศรษฐกิจ
และขากรรไกร และผู้ป่วยทางทันตกรรมมากกว่า 1,000 ครั้ง พบว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพใน
การรักษาได้เป็นอย่างดี ผลกระทบทางด้านอุตสาหกรรม
การวิจัยและพัฒนาเครื่องเดนตีสแกนท�ำให้เกิดผลกระทบด้านความก้าวหน้าของการ
บริหารจัดการงานวิจัยและพัฒนาเครื่องมือแพทย์ของ สวทช. และประเทศไทยจากห้องปฏิบัติการ
ไปสู่การผลิตและการใช้งานได้จริง การได้รับรองมาตรฐานระบบบริหารคุณภาพส�ำหรับเครื่องมือ
แพทย์ ISO 13485 ซึ่ง สวทช. ได้ลงทุนโรงงานต้นแบบการผลิตที่ได้มาตรฐานเองเพื่อน�ำร่อง
ก่อนถ่ายทอดให้เอกชนได้มั่นใจที่จะลงทุนในอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
และสามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ นับเป็นการยกระดับประเทศไทยอย่างที่ไม่เคยท�ำมาก่อน

ภาพผู้ป่วยเด็กที่มีความผิดปกติบริเวณใบหน้า จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เครื่ อ งมี นี ส แกนถู ก ติ ด ตั้ ง ที่ ค ณะแพทยศาสตร์


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปี พ.ศ. 2559 การทดสอบ
ทางคลินิกตั้งแต่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ถึง 30 มิถุนายน
พ.ศ. 2561 พบว่า สามารถเห็นหินปูนขนาดเล็กในชิ้นเนื้อ
เต้านมได้ดี ปัจจุบนั เครือ่ งมินสี แกนมีการใช้งานทัง้ สิน้ จ�ำนวน
มากกว่า 100 ครั้ง
ชิ้นเนื้อมะเร็งเต้านมที่ผ่าตัดออกมาและภาพชิ้นเนื้อเต้านมที่มีหินปูนขนาดเล็ก
(Microcalcification) จากโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

28 29
ผลกระทบทางด้านสังคม ใบหน้ากะโหลกศีรษะ และขากรรไกร รวมทั้งผู้ป่วยโรคปากแหว่งเพดานโหว่ ที่คณะแพทยศาสตร์
เครื่องเดนตีสแกนได้เข้าไปเป็นส่วนส�ำคัญในการสนับสนุนให้ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ และ และคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่แล้ว จ�ำนวนมากกว่า 100 ราย และอยูร่ ะหว่าง
คนพิการได้เข้าถึงการท�ำทันตกรรมรากฟันเทียม ผ่านโครงการคืนความสุขในการบดเคี้ยวให้กับ การจัดตั้ง “ศูนย์แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตาม
ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ และคนพิการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลทางทันตกรรมเพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระราชด�ำริ ฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” นั้น มีการประเมินว่าจะมีผู้ป่วยที่ต้องใช้เครื่องโมบีสแกน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ (ระยะที่ 1) (พ.ศ. 2558-2560) ในการฝังรากฟันเทียมให้กบั ผูป้ ว่ ย มากขึน้ ซึง่ มีความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลเครือข่ายภาคเหนือ 8 จังหวัด ส�ำหรับเครือ่ งมินสี แกน
ที่สูญเสียฟันทั้งปากเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 63 ราย และโครงการคืนความสุขในการบดเคี้ยวให้กับ ช่วยลดระยะเวลาในการใช้ห้องผ่าตัดและการดมยาสลบของผู้ป่วย ส่งผลให้แพทย์สามารถผ่าตัด
ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ และคนพิการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลทางทันตกรรมเพื่อเฉลิมพระเกียรติ ได้เร็วขึ้น และลดค่าใช้จ่ายในการรักษารวมทั้งช่วยลดค่าใช้จ่ายแก่ผู้ป่วยเนื่องจากการผ่าตัด
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ (ระยะที่ 2) (พ.ศ. 2560–2562) ในการขยายผลการประยุกต์ใช้ ก้อนเนื้อมะเร็งเต้านมซ�้ำ
เทคโนโลยีดิจิทัลทางทันตกรรมให้กับผู้ที่สูญเสียฟันบางส่วนจ�ำนวน 400 ราก

ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ
เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สามมิติแบบล�ำรังสีทรงกรวยที่น�ำเข้าจากต่างประเทศเพื่องาน
ช่องปาก ขากรรไกรและใบหน้าทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ กล้เคียงกับเครือ่ งเดนตีสแกนนัน้ มีราคาสูง หากนับ
จ�ำนวนตั้งแต่ติดตั้งจนครบ 60 เครื่องใน พ.ศ. 2562 จะลดการสูญเสียเงินตราไปต่างประเทศ
ไม่ต�่ำกว่า 270 ล้านบาท

บริษัท พิกซาเมด จ�ำกัด ที่ได้รับถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเครื่องเดนตีสแกนนั้น ได้มี


ตัวอย่างผู้ป่วยยากไร้ที่ได้รับการรักษาในโครงการ
การลงทุนเพือ่ ด�ำเนินการผลิตเครือ่ งเดนตีแกน รวมทัง้ การจ้างงานช่างเทคนิคและวิศวกรใหม่ ถือเป็น
การส่งเสริมการสร้างอุตสาหกรรมทางการแพทย์ ซึง่ เป็นอุตสาหกรรม New S-Curve ตามนโยบาย
ประเทศไทย 4.0
นอกจากนี้ โครงการขยายผลงานวิจัย DentiiScan เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องมือ
แพทย์ไทย สวทช. ได้รับมอบหมายจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ด�ำเนินการ
โครงการขยายผลงานวิจัย DentiiScan เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ไทย
ติดตัง้ เครือ่ งเดนตีสแกนจ�ำนวน 50 เครือ่ งในโรงพยาบาลรัฐ 50 แห่งทัว่ ประเทศ ในโครงการนีม้ กี าร
เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการสร้ า งเครื อ ข่ า ยทั น ตแพทย์ ที่ ใ ช้ แ พลตฟอร์ ม ดิ จิ ทั ล ทั น ตกรรมบน
ฝึกอบรมทันตแพทย์ให้มีความช�ำนาญในการฝังรากฟันเทียมมากขึ้นด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลทาง
โครงสร้างพืน้ ฐานเครือ่ งเดนตีสแกน 60 เครือ่ งทีถ่ กู ติดตัง้ ทีโ่ รงพยาบาลทัว่ ประเทศ การใช้เทคโนโลยี
ทันตกรรมจากนวัตกรรมไทยในงานทันตกรรมรากฟันเทียมอย่างครบวงจร ซึ่งในการเสริมสร้าง
ดิจิทัลทางทันตกรรมต่าง ๆ เข้ามาสนับสนุนการท�ำงานของทันตแพทย์ จะช่วยลดความเสี่ยง
ความช�ำนาญของทันตแพทย์จะมีฝังรากฟันเทียมไทยจ�ำนวน 3,000 ราก ด้วยบริการของ
และเวลาที่ใช้ในการท�ำงานของทันตแพทย์ และเพิ่มความมั่นใจของทันตแพทย์รุ่นใหม่ในการท�ำ
โรงพยาบาลรัฐ นับเป็นการลดความเหลื่อมล�้ำในการเข้าถึงบริการทันตกรรมรากฟันเทียม
รากฟันเทียม ท�ำให้มีจ�ำนวนทันตแพทย์เข้าสู่วงการทันตกรรมรากฟันเทียมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้
ยังสามารถจัดการต้นทุนของการให้บริการทันตกรรมรากฟันเทียมได้ดขี นึ้ ค่าใช้จา่ ยทีล่ ดลงจะส่งผล
นอกเหนือจากการท�ำรากฟันเทียมเพื่อสังคมดังกล่าวข้างต้นแล้ว เครื่องเดนตีสแกนยังช่วย
ให้มีการเข้าถึงการท�ำรากฟันเทียมมากขึ้น
ทันตแพทย์และแพทย์ในการวินิจฉัยโรคอื่นๆ เช่น ขากรรไกรหักเนื่องจากอุบัติเหตุมอเตอร์ไซค์
โรคมะเร็งกรามช้าง โรคไซนัส เป็นต้น ให้กับผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐที่ติดตั้งทั้งระดับจังหวัด
และอ�ำเภอ นับเป็นการสร้างผลกระทบเชิงสังคมเชิงสุขภาพประชาชนในชนบทอีกด้วยในส่วน
เครื่องโมบีสแกนได้เข้าไปสนับสนุนการวินิจฉัยให้กับการรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติบริเวณ

30 31
Telecommunication, and Information Technology (ECTI-CON), Hua Hin, Thailand,
ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร June 24-27, 2015, pp. 1-6, 2015 (Best paper award).
9) Saowapak S. Thongvigitmanee, Suthasinee Kasemsarn, Pasu Sirisalee, Sorapong
Aootaphao, Jartuwat Rajruangrabin, Pinyo Yampri, Tanapon Srivongsa, Vera Sa-Ing,
บทความตีพมิ พ์ในวารสารและงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ จ�ำนวน 27 เรือ่ ง อาทิเช่น and Pairash Thajchayapong, “DentiiScan: the First Cone-Beam CT Scanner for
1) Chalinee Thanasupsombat, Saowapak S. Thongvigitmanee, Sorapong Dental and Maxillofacial Imaging Developed in Thailand,” Proc. of IEEE Nuclear
Aootaphao, and Pairash Thajchayapong, “A Simple Scatter Reduction Method Science Symposium and Medical Imaging Conference, Seoul, South Korea,
in Cone-Beam Computed Tomography for Dental and Maxillofacial October 27 - November 2, 2013, pp. 1-3.
Applications Based on Monte Carlo Simulation,” BioMed Research 10) Saowapak S. Thongvigitmanee, Napapong Pongnapang, Sorapong Aootaphao,
International, Vol. 2018, Article ID 5748281, 15 pages, January 2018. Pinyo Yampri, Tanapon Srivongsa, Pasu Sirisalee, Jartuwat Rajruangrabin, and
2) Sorapong Aootaphao, Saowapak S. Thongvigitmanee, Jartuwat Rajruangrabin, Pairash Thajchayapong, “Radiation Dose and Accuracy Analysis of Newly Developed
Chalinee Thanasupsombat, Tanapon Srivongsa, and Pairash Thajchayapong,” Cone-Beam CT for Dental and Maxillofacial Imaging,” Proc. of the IEEE Engineering
X-Ray Scatter Correction on Soft Tissue Images for Portable Cone Beam CT,” in Medicine and Biology Society, Osaka, Japan, July 3-7, 2013, pp. 2356 – 2359.
BioMed Research International, Vol. 2016, Article ID 3262795, pp. 1-12, February
2016. สิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร จ�ำนวน 17 เรื่อง อาทิเช่น
3) Ruben Pauwels, Kazuyuki Araki, Jeffrey H. Siewerdsen and Saowapak
S. Thongvigitmanee, “Technical aspects of dental CBCT: state of the art,” 1) เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี, วิทยา จิรัฐิติเจริญ, วลิตะ นาคบัวแก้ว, วศิน สินธุภิญโญ, และไพรัช
Dentomaxillofacial Radiology, Vol. 44, No. 1, January 2015. ธัชยพงษ์, “วิธีการสร้างภาพเอกซเรย์ตัดขวางแบบสามมิติโดยใช้ล�ำแสงแบบกรวย” สิทธิบัตร
4) Saowapak S. Thongvigitmanee, Sorapong Aootaphao, Chalinee Thanasupsombat, การประดิษฐ์เลขที่ 68776
Atthasak Kiang-ia, Walita Narkbuakaew, Kongyot Wangkaoom, Parinya 2) เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี และวลิตะ นาคบัวแก้ว, “ระบบและวิธีการส�ำหรับการค้นหาคลอง
Junhunee, Suphawat Laohawiriyakamol, Puttisak Puttawibul and Pairash
Thajchayapong, “Cone-Beam CT for Breast Specimens in Surgery: The Phantom เส้นประสาทเบ้าฟันล่างบนชุดข้อมูลภาพถ่ายรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบอัตโนมัติ,”
Study,” Proc. of IEEE Nuclear Science Symposium and Medical Imaging สิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ 64402
Conference, Sydney, Australia, November 10-17, 2018. 3) วลิตะ นาคบัวแก้ว, เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี, สรพงศ์ อู่ตะเภา, วันทนา อารีประยูรกิจ, ภิญโญ
5) Sorapong Aootaphao, Saowapak S. Thongvigitmanee, Chalinee Thanasupsombat, แย้มพราย, จาตุวัฒน์ ราชเรืองระบิน, วศิน สินธุภิญโญ, และไพรัช ธัชยพงษ์, “วิธีการเทียบ
Thossapol Chunkiri, Atthasak Kiang-ia and Pairash Thajchayapong, “The Effects มาตรฐานเชิงเรขาคณิตของเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ด้วยล�ำแสงแบบทรงกรวย” สิทธิบัตร
of Detector Gain Capacitances on Image Quality and Radiation Doses,” Proc. การประดิษฐ์ ค�ำขอเลขที่ 1101002389 ยื่นจดทะเบียนเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554
of IEEE Nuclear Science Symposium and Medical Imaging Conference, Sydney,
Australia, November 10-17, 2018. 4) ธนพล ศรีวงษา, สรพงศ์ อู่ตะเภา, ปริญญา จันทร์หุณีย์, พสุ สิริสาลี, ลิขิต เริงสมุทร,
6) Chalinee Thanasupsombat, Sorapong Aootaphao, Saowapak S. Thongvigitmanee, ดนุ พรหมมินทร์, วีระ สอิ้ง, ภิญโญ แย้มพราย, เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี และไพรัช ธัชยพงษ์,
and Pairash Thajchayapong “Investigation of Image Quality on Short-Scan “อุปกรณ์ส�ำหรับช่วยในการตรวจสอบการติดตั้งฉากรับภาพรังสีในเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
CBCT Reconstruction,” Proc. of IEEE Nuclear Science Symposium and Medical แบบล�ำแสงกรวยส�ำหรับงานทันตกรรม” สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ค�ำขอเลขที่ 1201004688
Imaging Conference, Sydney, Australia, November 10-17, 2018. ยื่นจดทะเบียนเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2555
7) Saowapak S. Thongvigitmanee, Walita Narkbuakaew, Sorapong Aootaphao, 5) สรพงศ์ อู่ตะเภา, เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี, ธนพล ศรีวงษา, ภิญโญ แย้มพราย, จาตุวัฒน์
Chalinee Thanasupsombat, Kongyot Wangkaoom, Atthasak Kiang-ia, Jaturong
Jitsaard, Thossapol Chunkiri, Puttisak Puttawibul, and Pairash Thajchayapong, ราชเรืองระบิน, และไพรัช ธัชยพงษ์, “อุปกรณ์สร้างภาพตัดขวางด้วยล�ำแสงทรงกรวยกับแผง
“Quantitative Performance Evaluation of Mobile Cone-Beam CT for Head ตัวตรวจจับคลื่นเอกซเรย์แบบแผ่นเรียบ” สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ค�ำขอเลขที่ 1301005538
and Neck Imaging, In: Lhotska L., Sukupova L., Lacković I., Ibbott G. (eds) World ยื่นจดทะเบียนเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556
Congress on Medical Physics and Biomedical Engineering 2018. IFMBE Proceedings, 6) ชาลินี ธนทรัพย์สมบัติ, สรพงศ์ อู่ตะเภา, อัฐศักดิ์ เกียงเอีย, เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี, และไพรัช
Springer, Singapore, Vol. 68/1, pp 63-67. ธัชยพงษ์, “ระบบก�ำหนดจ�ำนวนรอบของการสแกนถ่ายภาพของเครือ่ งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และวิธี
8) Kongyot Wangkaoom, Paruj Ratanaworabhan and Saowapak S. Thongvigitmanee, การดังกล่าว,” สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ค�ำขอเลขที่ 1801003523 ยื่นจดทะเบียน เมื่อวันที่
“High-Quality Web-Based Volume Rendering in Real-Time,” Proc. of the Twelfth
Annual International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, 15 มิถุนายน พ.ศ. 2561

32 33
ผลงาน

แพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้าน การบูรณาการระบบ (System Integration)


เพื่ อ งานหุ ่ น ยนต์ ระบบอั ต โนมั ติ แ ละปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ ส� ำ หรั บ ใช้ ง านใน
ระบบอุตสาหกรรม 4.0 (CiRA CORE) (System Integration platform for
robotic automation and AI for industrial 4.0 applications (CiRA CORE)

รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช บุญแสง

คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

การศึกษา
• วศ.บ วิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง (เกียรตินิยม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง /2538
• M.Sc. in Electrical and Electronic Engineering (Electronic Instrumentation System)
University of Manchester Institute of Science and Technology (UMIST), Manchester, UK. /2544
• Ph.D. in Instrumentation, University of Manchester Institute of Science and Technology
(UMIST), Manchester, UK. / 2547

ประสบการณ์ด้านการบริหาร
2548-2551 รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักวิจัยร่วมด้านเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูล
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2551-2556 รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง
สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง
2556-ปัจจุบัน คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

35
ประสบการณ์การท�ำงาน
และด้านการวิจัยในโครงการวิจัยร่วมภาคเอกชน
(มากกว่า 30 โครงการ)

2538 - 2543 วิศวกรไฟฟ้า ฝ่ายวิศวกรรมและโครงการ บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) 7. โครงการ “Solder ball thermal and mechanical characterization” ในปี 2550,
ด�ำเนินโครงการด้านอนุรักษ์พลังงานและโครงการพลังงานทดแทนให้กับ สนับสนุนโดย บริษทั Western Digital Company, Total project funded, 120,000 THB,
โรงงานผลิตปูนซิเมนต์ในกลุ่ม บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) 8. โครงการ “A simulation and experimental study of the relationship between a
2543 – 2547 นักเรียนทุน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศึกษาต่อที่ประเทศ tweaking force and deflection responses of a hard-disk actuator arm in a
สหราชอาณาจักร ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระดับปริญญาโท-เอก laser-micrometer guided tweaking machine” ในปี 2551, สนับสนุนโดย NECTEC,
2547 – 2552 อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์คณะวิศวกรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยี Total project funded 500,000 THB,
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 9. โครงการ “Development of a measurement system for dynamic behavior and
wetting angle of solder jet droplet deposition on HGA slider/suspension assemblies”
ในปี 2551, สนับสนุนโดย NECTEC, Total project funded 500,000 THB,
การวิจัยร่วมกับภาครัฐและเอกชนดังต่อไปนี้ 10. โครงการ “Anti-vibration structure for HGA fabrication process” ในปี 2551,
1. โครงการ “Development of a tissue characterization method based on the สนับสนุนโดย Western Digital Company, Total project funded, 320,000 THB,
estimation of ultrasonic backscatter and attenuation coefficients” ในปี 2548, 11. โครงการ “Power system reliability improvement by the optimal design of on-site
สนับสนุนโดย NSTDA, Ministry of Science and Technology, distributed generators (DG) o other plant facility storages (PFS)” ในปี 2551,
2. โครงการ “Development of measurement technique of fat contents in liquid food” สนับสนุนโดย Western Digital Company, Total project funded, 420,000 THB,
ในปี 2548, สนับสนุนโดย Faculty of Engineering, KMITL, 12. โครงการ “The evaluation of a Solder Tail Bonding” ในปี 2552, สนับสนุนโดย Western
3. โครงการ “Development of a frequency domain photoacoustic method Digital Company, Total project funded, 349,412THB,
for the determination of optical properties of biological tissues” ในปี 2549 13. โครงการ “3D modeling of HGA assemblies’s solder joint using the Surface
สนับสนุนโดย Thai Research Fund (TRF), Evolver program” ในปี 2552, สนับสนุนโดย Western Digital Company, Total project
4. โครงการ “Development of thermal imaging camera system” ในปี 2550 สนับสนุนโดย funded, 345,882 THB,
ส�ำนักปลัดกระทรวงกลาโหม, in 2007, Total project funded 2,500,000 THB
5. โครงการ “Development of a surveillance system for a small military barrack”
ในปี 2550 สนั บสนุนโดย ส�ำนัก ปลัดกระทรวงกลาโหม, Total project funded 2553 – 2557 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
1,500,000 THB, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. โครงการ “Development of a novel cavitation sensor for optimizing an ultrasonic
cleaner of hard drive parts” ในปี 2550, สนับสนุนโดย NECTEC, Total project funded
500,000 THB,

36 37
การวิจัยร่วมกับภาครัฐและเอกชนดังต่อไปนี้ 2557-ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
1. โครงการ “Study of an ESD induced pinned layer reversal effect in a TuMR head” สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ในปี 2553, สนับสนุนโดย Western Digital Company, Total project funded,
518,823 THB,
2. โครงการ “Development of a flying height measurement system with a controlled การวิจัยร่วมกับภาครัฐและเอกชนดังต่อไปนี้
temperature and humidity” ในปี 2553, สนับสนุนโดย Seagate Technology, Total 1. โครงการ “A real time optical interference system for monitoring lubricant
project funded, 1,152,941 THB, Role “Principal investigator”, Project Status /contamination transferred to slider’s air bearing surface” สนับสนุนโดย Seagate
“Completed” Technology, Total project funded, 783,150THB,” ในปี 2558
3. โครงการ “Development of a heterodyne polarization interferometer for FH 2. โครงการ “A real time optical interference system for monitoring lubricant &
measurement precision of 0.1nm” ในปี 2553, สนับสนุนโดย Seagate Technology, contamination transferred to Slider’s air bearing surface”สนับสนุนโดย Seagate
Total project funded, 859,118 THB, Technology, Total project funded, 760,150THB ในปี 2559
4. โครงการ “Development of an on-spot n and k compensation algorithm for an 3. โครงการ “Consultant based collaboration research for advanced techniques for
intensity interferometer based flying height tester” ในปี 2553, สนับสนุนโดย flying height tester development” สนับสนุนโดย Seagate Technology, Total project
Seagate Technology, Total project funded, 451,765 THB, funded, 398,800THB, ในปี 2560
5. โครงการ “Development of an optical system for measurement laser spot size 4. โครงการ “การพัฒนาระบบติดตามข้อมูลพิกดั ภายในอาคารแบบผสมผสานในรถล�ำเลียงวัตถุดบิ
reduction of flying height tester” ในปี 2553, สนับสนุนโดย Seagate Technology, อัตโนมัติอัจฉริยะ” สนับสนุนโดย Seagate Technology และ สกว-พวอ. Total project
Total project funded, 230,000 THB, funded, 1,500,000THB, ในปี 2560
6. โครงการ “Development of a flying height measurement system with a controlled 5. โครงการ “การพัฒนาสือ่ สารสอนการควบคุมหุน่ ยนต์ดว้ ยระบบปฎิบตั กิ าร ROS” สนับสนุนโดย
temperature and humidity (Phase II:D6 machine and Cleanroom specification)”, NSTDA, Ministry of Science and Technology, Total project funded, 1,991,000 THB,
สนับสนุนโดย Seagate Technology, Total project funded, 713,000THB, ในปี 2560
7. โครงการ “เครื่องมือวัดความหนาแน่นของกระเบื้องก่อนเผา” สนับสนุนโดย บริษัท เซรามิก 6. โครงการ “ต้นแบบหุ่นยนต์เติมน�้ำมันอากาศยาน” สนับสนุนโดย สกว. ฝ่ายอุตสาหกรรม, Total
อุตสาหกรรมไทย จ�ำกัด (COTTO) ทุนวิจัย 1.2 ล้านบาท ในปี 2555 project funded, 4,501,000.00 THB, ในปี 2561
8. โครงการ “โรงงานต้นแบบผลิตเชือ้ เพลิงอัดเม็ด” สนับสนุนโดย บริษทั สยามฟอเรสทรี จ�ำกัด 7. โครงการ “การพัฒนาแขนกลอุตสาหกรรมส�ำหรับกระบวนการผลิตก้านล็อคประตูไฟฟ้า”
(SCG paper) ทุนวิจัย 8.5 ล้านบาท ในปี 2556 สนับสนุนโดย สกว. ฝ่ายอุตสาหกรรม,Total project funded, 3,004,600.00 THB, ในปี 2561
9. โครงการ “การพัฒนาเฮทเทอร์โรดายน์โพราไรเซชันอินเตอร์เฟียร์โรมิเตอร์ส�ำหรับการวัด 8. โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้าน การบูรณาการระบบ (System Integration)
ระดับการบินของหัวบันทึกข้อมูลของฮาร์ดดิสก์” สนับสนุนโดย Seagate Technology เพื่องานหุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์ ส�ำหรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0
และสกว - พวอ. Total project funded, 300,000THB, ในปี 2557 (CiRACORE Platform)” สนับสนุนโดย สกว. ฝ่ายอุตสาหกรรม, Total project funded,
15,190,000 THB, ในปี 2561
9. โครงการ “การพัฒนาหุ่นยนต์ขัดพื้นผิวชิ้นงาน”สนับสนุนโดย NSTDA, Ministry of Science
and Technology, Total project funded, 1,792,000 THB, ในปี 2562

38 39
9. M. Lohakan, T. Jamnongkan, C. Pintavirooj, S. Kaewpirom, S. Boonsang, “A numerical
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ผ่านมา model for ultrasonic measurements of swelling and mechanical properties of a
บทความวารสารวิชาการระดับนานาชาติ (ISI database) swollen PVA hydrogel” ULTASONICS 50 (8), pp 782-78, 2010 (ISI, IF = 1.942)
19 เรื่องนับถึงปี 2019 10. Dutton B, Boonsang S, Dewhurst RJ “Modelling of magnetic fields to enhance
the performance of an in-plane EMAT for laser-generated ultrasound”
ULTRASONICS, 44 (SUPPL.), pp. e657-e665. 2006 (ISI, IF = 1.942)
1. Yokpradit A, Tongloy T, Kaewpirom S, Boonsang. S, “A Real-time Rheological 11. Lohakan, M., Wiriyanuruknakorn, O., Boonsang, S., Pintavirooj, C. “Time dependent
Measurement for Biopolymer 3D Printing Process”, SENSORS AND MATERIALS, analysis of magnetic fluid based on Navier-Stokes equations, Maxwell’s equations
PP, 2199 - 2209, (2018) 10.18494/SAM.2018.1851 and heat equations” WSEAS Transactions on Electronics, 3 (8), pp. 410-416.
2. Khunrattanasiri W, Yokpradit A, Tongloy T, Boonsang S, “Cloud-based Optical 2006 (Scopus)
Characterization of Hard Disk Drive Recording Heads”, SENSORS AND MATERIALS, 12. K aewpirom S, Boonsang S “Electrical response characterisation of poly
PP. 2235 - 2246, (2018), 10.18494/SAM.2018.1850 (ethyleneglycol) macromer (PEGM)/chitosan hydrogels in NaCl solution”
3. Sanhawong W, Banhalee P, Boonsang S, Kaewpirom S, “Effect of concentrated EUROPEAN POLYMER JOURNAL 42 (7): pp:1609-1616, 2006 (ISI, IF = 3.005)
natural rubber latex on the properties and degradation behavior of cotton-fiber- 13. Boonsang S, Dewhurst RJ “A sensitive electromagnetic acoustic transducer for
reinforced cassava starch biofoam” INDUSTRIAL CROPS AND PRODUCTS, PP picometer-scale ultrasonic displacement measurements” SENSORS AND
756- 766, (2017), 10.1016/j.indcrop.2017.07.046 ACTUATORS A-PHYSICAL 127 (2): pp:345-354, 2006 (ISI, IF = 1.903)
4. Boonsang, S , Lertkittiwattanakul, W , “A flash photography method for the 14. D utton B, Boonsang S, Dewhurst RJ “A new magnetic configuration for
measurements of the fluid flow dynamic of a fluid dispensing system” a small in-plane electromagnetic acoustic transducer applied to laser-
MEASUREMENT Volume: 102 Pages: 57-63 (2017) ultrasound mea surements: Modelling and validation” SENSORS AND ACTUATORS
5. Srihata, W , Jamnongkan, T , Rattanasak, U , Boonsang, S, Kaewpirom, S, A-PHYSICAL 125 (2): pp: 249-259, 2006 (ISI, IF = 1.903)
“Enhanced electrostatic dissipative properties of chitosan/gelatin composite 15. B oonsang S, Dewhurst RJ “Signal enhancement in Rayleigh wave
films filled with reduced graphene oxide” Journal of materials science-materials interactions using a laser-ultrasound/EMAT imaging system” ULTRASONICS
in electronics, Volume: 28 Issue: 1 Pages: 999-1010 (2017) 43 (7): pp: 51 2- 523 2005 (ISI, IF = 1.942)
6. Phuchaduek, W., Jamnongkan, T., Rattanasak, U., Boonsang, S., Kaewpirom, S., 16. Boonsang S, Dewhurst RJ “Pulsed photoacoustic signal characterization
“Improvement in physical and electrical properties of poly(vinyl alcohol) hydrogel incor porating near- and far-field diffraction effects” MEASUREMENT SCIENCE &
conductive polymer composites,” Journal of Applied Polymer Science, 132 TECH NOLOGY 16 (4): pp: 885-899, 2005 (ISI, IF = 1.433)
(28), art. no. 42234, 2015. (ISI, IF = 1.768) 17. Boonsang S, Zainal J, Dewhurst RJ “Synthetic aperture focusing techniques in
7. Roajanasiri, R., Afzulpurkar, N., Boonsang, S., “A solder bridging rework study time and frequency domains for photoacoustic imaging” INSIGHT 46 (4):
and an experimental investigation of the TuMR magnetic head,”, IEICE Electronics pp:196-199, 2004 (ISI, IF = 0.535)
Express, 9 (21), pp. 1683-1694., 2012. (ISI, IF = 0.320) 18. Boonsang S, Dewhurst RJ “Enhancement of laser-ultrasound/electromagnet
8. Roajanasiri, R., Afzulpurkar, N., Boonsang, S., “The simulation of solder bridging icacoustic transducer signals from Rayleigh wave interaction at surface features”
on TuMR magnetic head connector,”, Applied Mechanics and Materials, 157- APPLIED PHYSICS LETTERS 82 (19): pp: 3348-3350,2003 (ISI, IF = 3.302)
158, pp. 144-148, 2012. (Scopus) 19. S.Boonsang, “Photoacoustic generation mechanism and measurement systems
for biomedical applications”, International Journal of applied biomedical engineering,
2(1), pp 17-23,2009.
40 41
บทความการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 7. Boonsang, S., Dewhurst, R.J. “A highly sensitive laser-EMAT imaging system for
(42 เรื่องนับถึงปี 2019) biomedical applications” (2014) Proceeding of the International Electrical
Engineering Congress, iEECON 2014, art. no. 6925962. (Scopus)
8. Boonsang, S., Aroonjarernchay, W. “Uncertainty analysis of polarization
1. Tongloy T., Chuwongin S., Jaksukam K., Chousangsuntorn C., Boonsang S., interferometric measurements of hard disk drive recording head-media dynamic
“Asynchronous deep reinforcement learning for the mobile robot navigation spacing” (2012) Proceedings of the 11th International Conference on Optical
with supervised auxiliary tasks” 2nd International Conference on Robotics and Communications and Networks ICOCN 2012, art. no. 6486234. (Scopus)
Automation Engineering PP 68-72 (2018) 9. Roajanasiri, R., Afzulpurkar, N., Boonsang, S. “The rework study and simulation
2. Tongloy T., Boonsang S. “An image-based visual servo control system based on on solder bridging of TuMR magnetic head” (2012) Proceedings of 2012 IEEE
an eye-in-hand monocular camera for autonomous robotic grasping” Proceedings International Conference on Information Science and Technology, ICIST 2012,
of the 2016 International Conference on Instrumentation, Control, and Automation art. no. 6221607, pp. 55-61. (Scopus)
PP. 132-136 (2016) 10. Boonsang, S., Aroonjarernchay, W. “Uncertainty analysis of polarization
3. Khunrattanasiri W., Boonsang S., “A micro-ellipsometry method based on interferometric measurements of hard disk drive recording head-media dynamic
polarization shifting interferometry for determining complex reflective index” spacing” (2012) Proceedings of the IASTED Asian Conference on Power and
Proceedings of the 2016 International Conference on Instrumentation, Control, Energy Systems, AsiaPES 2012, pp. 236-239. (Scopus)
and Automation PP 66-69, (2016) 11. Boonsang, S., Niltarach, W., Aroonjarernchay, W. “An environmental controlled
4. Wasapinyokul K., Kaewpirom S., Chuwongin S., Boonsang S., “Highly-transparent system for the flying height measurement” (2012) Proceedings of the IASTED
multi-layered spin-coated silk fibroin film” Proceedings of SPIE - The International Asian Conference on Power and Energy Systems, AsiaPES 2012, pp. 214-217.
Society for Optical Engineering, (2016) (Scopus)
5. Sakunwanthanasak I., Boonsang S., “Indirect vector control of induction motors 12. Lohakan, M., Jamnongkan, T., Kaewpirom, S., Boonsang, S. “A system
using a PI-fuzzy controller with the simplified implementation without current identification model for ultrasonic characterization of a swollen PVA hydrogel”
sensors” Proceedings - 2015 7th International Conference on Information (2008) Proceeding of the 5th International Conference on Electrical Engineering/
Technology and Electrical Engineering: Envisioning the Trend of Computer, Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology,
Information and Engineering, PP 364-369, (2015) ECTI-CON 2008, 2, art. no. 4600511, pp. 625-628. (Scopus)
6. Khunrattanasiri, W., Boonsang, S. “An interferometric back focal plane 13. Lohakan, M., Junchaichanakun, P., Boonsang, S., Pintavirooj, C. “A computational
microellipsometry for the determination of optical properties of a slider’s model of magnetic drug targeting in blood vessel using finite element method”
air bearing surface” (2014) Proceeding of the Asia-Pacific Signal and Information (2007): Proceeding of the 2nd IEEE Conference on Industrial Electronics and
Processing Association Annual Summit and Conference, APSIPA 2014, art. no. Applications ICIEA 2007, art. no. 4318405, pp. 231-234. (Scopus)
7041800. (Scopus) 14. Lohakan, M., Junchaichanakun, P., Boonsang, S., Pintavirooj, C. “A computational
model of magnetic drug targeting in blood vessel using finite element method”
(2007): Proceeding of the 2nd IEEE Conference on Industrial Electronics and
Applications ICIEA 2007, art. no. 4318405, pp. 231-234. (Scopus)

42 43
15. Lohakan, M., Seetao, C., Boonsang, S., Pintavirooj, C. “Simulation of magnetic fluid 23. P.Yimmuang, S.Boonsang, “Finite Element Analysis of A HDD Actuator Arm
flow based on Maxwell’s equations and navier-stokes equations” (2006) Proceeding Tweaking Process” (2010) Proceeding of the 3rd international conference of
of the International Symposium on Communications and Information Technologies, Data Storage Technology, DST-CON2010, May 26-28 2010, pp 77-80.
ISCIT, art. no. 4141567, pp. 323-326. (Scopus) 24. R. Roajanasiri, N. Afzulpurkar, S.Boonsang, “The Rework process prototype
16. Lohakan, M., Yensiri, C., Boonsang, S., Pintavirooj, C. “A computational model design for Solder Jet Bonding Process” (2010) Proceeding of the 3rd international
of ferrofluid flow using Maxwell’s equations and Navier-Stokes equations” conference of Data Storage Technology, DST-CON2010, May 26-28 2010, pp
(2006) - Proceedings of the 2006 International Conference on Biomedical and 176-179.
Pharmaceutical Engineering, ICBPE 2006, art. no. 4155946, pp. 467-470. (Scopus) 25. A. Thongsuksai, S.Boonsang, “A Level Set Method for the Simulation of the
17. Lohakan, M., Janchaichanakun, P., Boonsang, S., Pintavirooj, C., Sangworasil, M. Soldering Process at HGA Long Tail” (2010) Proceeding of the 3rd international
“A computational model of magnetic fluid flow based on Maxwell’s equation conference of Data Storage Technology, DST-CON2010, May 26-28 2010, pp
and Navier-Stokes equations” (2006) Proceeding of the 12th Biennial IEEE 183-185.
Conference on Electromagnetic Field Computation, CEFC 2006, art. no. 1632922. 26. T. Tanoi, S.Boonsang, “Phase Difference Measurement Using a One-Dimensional
(Scopus) Discrete Hilbert Transform for Application in Fly Height Tester” (2010) Proceeding
18. Lohakan, M., Janchaichanakun, P., Boonsang, S., Pintavirooj, C., Sangworasil, M. of the 3rd international conference of Data Storage Technology, DST-CON2010,
“A computational model of magnetic fluid flow based on Maxwell’s equation May 26-28 2010, pp 281-283.
and Navier-Stokes equations” (2006) Proceeding of the 12th Biennial IEEE 27. P.Yimmuang, S.Boonsang, “ A Closed Loop Force Control for HDD Actuator Arm
Conference on Electromagnetic Field Computation, CEFC 2006, art. no. 1632922. Tweaking Process”, Proceeding of the Joint International Conference on Information
(Scopus) & Communication Technology, Electronic and Electrical Engineering, 2010 JICT
19. S Anucha, S Boonsang “Laser energy effects of Tunneling Magnetoreisitive EE 2010, December 21-24 2010, pp 351-353.
Heads in Heat-Assisted Magnetic Recording” (2010) Proceeding of the 3rd 28. S.Athisonbodee, S.Boonsang, J.Thongsee, “The effect of ultrasonic cleaning on
international conference of Data Storage Technology, DST-CON2010, May 26-28 solder bond joint” Proceeding of the 5th international Conference on Data
2010, pp 31-33. Storage Technology, 2013 DST-CON2013, Feb 14-15, pp 65-69.
20. N.Poeutai, S.Boonsang, “The Contact Angle Analysis of A Slider Surface 29. S.Boonsang, W.Lertkittiwattanakul, “A Flash Photography Method for the
Contaminated by A Transferred Lubricant” (2010) Proceeding of the 3rd Measurements of the Fluid Flow Dynamic of a Fluid Dispensing System”,
international conference of Data Storage Technology, DST-CON2010, May 26-28 Proceeding of the 4th international Conference on Data Storage Technology,
2010, pp 37-40. 2013 DST-CON2011 Jan 9-11 2012, pp 333-337.
21. N.Soipet, S.Boonsang, “A New Fiber Optic Sensor for Online Monitoring of 30. S.Boonsang, K. Ruangbunkumsuk, P. Sinwattanakul and M. Lohakan, “Finite
Cavitaion Activities in Ultrasonic Cleaning Vessel” (2010) Proceeding of the 3rd element analysis of an EMAT transducer for picometer-scale ultrasonic displacement
international conference of Data Storage Technology, DST-CON2010, May 26-28 measurements”, Proceeding of the 2006 ECTI international conference, ECTI-CON
2010, pp 48-51. 2006, May 10-13, 2006 pp 299-302.
22. N.Khongmee, S.Boonsang, “An Algorithm for Laser Alignment Automation in A 31. M. Lohakan, N. Pueiam, S. Boonsang and C. Pintavirooj, “ Application of a Fourier
Solder Jet Bonding Machine” (2010) Proceeding of the 3rd international conference centroid shift method for estimation of ultrasonic attenuation coefficients”,
of Data Storage Technology, DST-CON2010, May 26-28 2010, pp 77-80. Proceeding of the 2007 ECTI international conference, ECTI-CON 2007, May
9-12, 2007, pp 81-84.
44 45
32. M. Lohakan, N. Pueiam, S. Boonsang and C. Pintavirooj, “ Quantitative estimation 40. S.Boonsang, B.Dutton and R.J. Dewhurst, “Characterisation of rear surface defects:
of ultrasonic attenuation coefficients in a solid immersed case with multinarrow image processing based on the generalized Radon transform” Proceeding of
band technique”, Proceeding of the 2007 ECTI international conference, ECTI-CON the BINDT annual conference 14 –16 September 2004 at Torquay, UK.
2007, May 9-12, 2007, pp 161-164. 41. Dutton, S.Boonsang, and R.J.Dewhurst, “Enhancement of an in-plane EMAT for
33. M. Lohakan, N. Pueiam, S. Boonsang and C. Pintavirooj, “Effect of window laser-ultrasound: modelling and validation” Proceeding of the BINDT annual
function in ultrasonic attenuation estimation with Fourier centroid shift method”, conference 14 –16 September 2004 at Torquay, UK.
Proceeding of the international conference on Engineering, Applied Science and 42. S.Boonsang, B.Dutton and R.J. Dewhurst, “A laser-ultrasound imaging system
Technology, ICEAST, Nov 21-23, pp 630-633. combined with a generalized Radon transform for characterisation of rear surface
34. M. Lohakan, T. Jamnongkan, S. Kaewpirom, and S. Boonsang, “ Experimental defects in metal”, Proceeding of the Photon’04 international conference, 6- 9
validation for ultrasonic characterization in a PVA hydrogel”, Proceeding of the September 2004, Glasglow, UK.
3 international symposium on biomedical engineering, ISBME 2008, Nov 10-11,
2008, pp 230-233.
35. Boonsang, S., Zainal, J., Dewhurst, R.J, “Photoacoustic imaging using a frequency บทความในวารสารวิชาการระดับชาติและการประชุม
domain synthetic aperture focusing technique”, Progress in Biomedical Optics วิชาการระดับชาติ
and Imaging - Proceedings of SPIE, ALT’03 International Conference on Advanced
Laser Technologies: Biomedical Optics, Volume 5, Issue 30, 2004, Article number 1. นั ฐ กานต์ โพอุ ทัย และ ศิ ริเ ดช บุ ญ แสง, “เทคนิ ค การตรวจสอบฟิ ล์ ม บางของสารหล่ อ ลื่ น
5486-41, Pages 267-273. ที่ ป นเปื ้ อ นบนหั ว บั น ทึ ก สไลเดอร์ ข องฮาร์ ด ดิ ส ก์ ไ ดรฟ์ ด ้ ว ยการวิ เ คราะห์ มุ ม สั ม ผั ส ”
36. Boonsang, S., Dewhurst, R.J., “Modelling of near-field and far-field diffraction วิศวสารลาดกระบัง, ปี 2554, ปีที่ 28, เล่มที่ 2, หน้าที่ 13-18
effects of optoacoustic measurements in tissues”, Progress in Biomedical Optics 2. ศิริเดช บุญแสง และ วันชัย อรุณเจริญฉาย, “การพัฒนาเลเซอร์ด็อปเพลอร์ไวโบรมิเตอร์
and Imaging - Proceedings of SPIE, ALT’03 International Conference on Advanced แบบไมเคิลสันและมัค-เซนเดอร์ อินเตอร์เฟียร์โรมิเตอร์” วิศวสารลาดกระบัง, ปี 2555, ปีที่ 29,
Laser Technologies: Biomedical Optics, Volume 5, Issue 30, 2004, Article number เล่มที่ 1, หน้าที่ 7-12
5486-41, Pages 257-266. 3. ศิริเดช บุญแสง วิทยา นิลทะราช และ วันชัย อรุณเจริญฉาย, “การพัฒนาระบบการวัดระดับ
37. R.J. Dewhurst, S.Boonsang, “ A laser-ultrasound/EMAT system” in BINDT annual การบิ น ของหั ว อ่ า นเขี ย นภายใต้ ส ภาวะทางอุ ณ หภู มิ แ ละความชื้ น ที่ ค วบคุ ม ได้ ”
conference 17th –19th September 2002 at The Prince of Wales hotel, Southport, วิศวสารลาดกระบัง, ปี 2555, ปีที่ 29, เล่มที่ 2, หน้าที่ 54-58
UK. 4. ณัฐินี ภู่เอี่ยม อัญชิสา หยกประดิษฐ์ มีชัย โลหะการ ชูชาติ ปิณฑวิรุจน์ และ ศิริเดช บุญแสง,
38. R.J. Dewhurst, S.Boonsang and P.R. Murray, “A Laser-Ultrasound/EMAT imaging “การประมาณเชิงปริมาณของค่าสัมประสิทธิการลดทอนอัลตร้าซาวด์ในเนื้อเยื่อสังเคราะห์”
system for near surface examination of defects” Proceeding of the 11th Proceeding of the 1st symposium on Thai biomedical engineering, ThaiBME
International Symposium on Non-Destructive Characterisation of Materials, June 2007, 18-19 ธ.ค. 2550, หน้า 144-149
24th-28th 2002.
39. S.Boonsang, J. Zainal and R.J. Dewhurst, “Photoacoustic imaging in reflection
mode using a frequency domain synthetic aperture focusing technique” Proceeding
of the BINDT annual conference, 17th –19th September 2003 at Worcester, UK.

46 47
บทความดีเด่นและบทความที่ได้รับรางวัลในการประชุม
วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

สิทธิบัตร (ประเทศไทย) “อุปกรณ์วัดปริมาณคาวิเตชั่น เพื่อใช้ในกระบวนการท�ำความสะอาดที่ใช้


บทความเรื่อง, “A low noise preamplifier circuit for a highly sensitive EMAT transduc- คลื่นอัลตร้าโซนิค, สิทธิบัตรการประดิษฐ์” เลขที่ค�ำขอ 1001000932
er for picometer scale ultrasonic measurements”, ได้รับรางวัล Best Paper Award ใน
งาน การประชุม The 2005 Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommu-
nications and Information Technology International Conference (ECTI-CON 2005), หนังสือ/ต�ำรา
12-13 พฤษภาคม 2548, พัทยา, ชลบุรี
Ultrasound: Theory and Applications, ส�ำนักพิมพ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.
บทความวิชาการในหนังสือต่างประเทศ
วารสารวิชาการนานาชาติที่เคยเป็น Reviewer
Dewhurst, R. J., S. Boonsang, et al. (2003). A laser-ultrasound/EMAT imaging system • Sensors and Actuators
for near surface examination of defects. Nondestructive Characterization of Materi- • Optical and Laser Technologies
als Xi. Berlin, SPRINGER-VERLAG BERLIN: ISBN: 978-3-540-40154-4, pp: 13- 19. • Ultrasonics

48 49
การวิจัยมีดังต่อไปนี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สันทัด ชูวงค์อินทร์ 2555 ร่วมพัฒนานาโนเมมเบรนเลเซอร์โดยใช้ 2D ซิลคิ อนโฟโตนิคส์คริสตอลเป็นเลเซอร์
คาวิตี้ โดยเป็นกลุ่มวิจัยที่พัฒนาอุปกรณ์ชนิดนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก
หัวหน้าศูนย์วิจัยร่วมภาครัฐ 2556 ร่วมพัฒนานาโนเมมเบรนเลเซอร์แบบอิเล็คติคอลปัม๊ โดยใช้ 2D ซิลคิ อนโฟโตนิคส์
และเอกชนวิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง คริสตอลเป็นเลเซอร์คาวิตี้
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2557 พัฒนาระบบการวัดความสว่างของหลอดไฟมาตรฐานให้กับสถาบันมาตรวิทยา
โดยใช้เทคนิค ไฟไนต์ดิฟเฟอเรนไทม์โดเมน (FDTD) เพื่อเป็นตัวเปรียบเทียบ
มาตรฐานของประเทศ
2559 พัฒนางานวิจยั ด้านฟิลม์ บางสะท้อนแสงประสิทธิภาพสูง โดยใช้เทคนิค Rigorous
การศึกษา Coupled Wave Analysis (RCWA) ร่วมกับเทคนิค ไฟไนต์ดฟิ เฟอเรนไทม์โดเมน
• วศ.บ วิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง / 2538 (FDTD)
• M.Sc. in Electrical Engineering, The University of Texas at Arlington, USA / 2552. 2560 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งระบบปฏิบตั กิ ารแขนกลอุตสาหกรรมส�ำหรับกระบวนการ
• Ph.D. in Electrical Engineering, The University of Texas at Arlington, USA / 2555. ผลิตก้านล็อคประตูรถยนต์ ให้กับบริษัทร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนันสนุนงาน
วิจัยจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ประสบการณ์ด้านการบริหาร 2560 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อการสอนการควบคุมหุ่นยนต์ด้วยระบบ
2559 – ปัจจุบัน หัวหน้าศูนย์วิจัยร่วมภาครัฐและเอกชน วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง ปฏิบตั กิ าร ROS โดยได้รบั ทุนสนันสนุนงานวิจยั จากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
2561 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องต้นแบบหุ่นยนต์เติมน�้ำมันอากาศยานให้กับบริษัทร่วม
ประวัติการท�ำงาน ทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.)
2561 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาหุน่ ยนต์ขดั พืน้ ผิวชิน้ งาน โดยได้รบั ทุนสนับสนุน
2559 – ปัจจุบัน หัวหน้าศูนย์วิจัยร่วมภาครัฐและเอกชน และอาจารย์ประจ�ำภาควิชาเทคโนโลยี งานวิจัยจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ระบบการผลิต วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขัน้ สูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า 2561 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้านการบูรณาการ
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ระบบ (System Integration) เพือ่ งานหุน่ ยนต์ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์
2556– 2559 นักมาตรวิทยาระดับ 6 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ส�ำหรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0 (CiRACORE Platform) ให้กับบริษัท
และเทคโนโลยี ต่ า งๆ ที่ ร ่ ว มทุ น วิ จั ย โดยได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น งานวิ จั ย จากส� ำ นั ก งานกองทุ น
2549 – 2555 Nanofab Researcher at The University of Texas at Arlington in Prof. สนับสนุนการวิจัย (สกว.)
Weidong Zhou ‘s group. 2562 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องโครงการพัฒนาหุ่นยนต์ขัดพื้นผิวส�ำหรับเครื่องสุขภัณฑ์
2538 – 2549 วิศวกรอาวุโส บริษัท จัสมิน เทเลคอม ซิสเต็มส์ จ�ำกัด (มหาชน) ประเภทก๊อกน�้ำ ให้กับบริษัทที่ร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก
2549 - 2555 ได้รับทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์ ไปศึกษาต่อระดับ โท-เอก ณ ประเทศสหรัฐ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
อเมริกา ด้านนาโนโฟโตนิกส์ 2562 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องหุ่นยนต์ผสมยาเคมีบ�ำบัดให้กับโรงพยาบาลมะเร็งอุดร
โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

50 51
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ผ่านมา
บทความวารสารวิชาการระดับนานาชาติ (ISI database)
11 เรื่องนับถึงปี 2019

1. Q. Zexuan, Y. Hongjun, S. Chuwongin, Z. Deyin, M. Zhenqiang, and Z. Weidong, 7. W. Zhou, Z. Ma, S. Chuwongin, Y.-C. Shuai, J.-H. Seo, D. Zhao, H. Yang, and W. Yang,
“Design of Fano Broadband Reflectors on SOI,” Photonics Technology Letters, IEEE, “Semiconductor nanomembranes for integrated silicon photonics and flexible
vol. 22, pp. 1108-1110, 2010. Photonics,” Optical and Quantum Electronics, vol. 44, pp. 605-611, 2012.
2. H. Yang, S. Chuwongin, Z. Qiang, L. Chen, H. Pang, Z. Ma, and W. Zhou, “Resonance 8. D. Zhao, H. Yang, S. Chuwongin, J.H. Seo, Z. Ma and W. Zhou, “Design of photonic
control of membrane reflectors with effective index engineering,” Applied Physics crystal membrane reflector based VCSELs”, IEEE Photon. J.
Letters, vol. 95, pp. 023110-023110-3, 2009. 9. Chadha, D. Zhao, S. Chuwongin, Z. Ma, and W. Zhou, “Polarization- and angle-dependent
3. Y. Hongjun, Z. Deyin, S. Jung-Hun, S. Chuwongin, K. Seok, J. A. Rogers, M. Zhenqiang, characteristics in two dimensional photonic crystal membrane reflector”, Appl. Phys.
and Z. Weidong, “Broadband Membrane Reflectors on Glass,” Photonics Technology Lett 103.21 (2013):211107
Letters, IEEE, vol. 24, pp. 476-478, 2012. 10. R. Li, S. Wang, S. Chuwongin, and W. Zhou, “Nanoscale Silver-Assisted Wet Etching
4. Weidong Zhou, Zhenqiang Ma, Hongjun Yang, Zexuan Qiang, Guoxuan Qin, Huiqing ofCrystallineSiliconforAnti-ReflectionSurfaceTextures”, J.NanoscieceandNanotech.
Pang, Li Chen, Weiquan Yang, Santhad Chuwongin, and Deyin Zhao, “Flexible Vol. 13(1), 493-7 (2013).
photonic-crystal Fano filters based on transferred semiconductor 11. W. Zhou, D. Zhao, Y. Shuai, H. Yang, S. Chuwongin, A. Chadha, J.-H. Seo, K. Wang,
nanomembranes,” Journal of Physics D: Applied Physics, vol. 42, 234007, 2009. V. Liu, Z. Ma, and S. Fan, “Fano resonance photonic crystal nanomembrane photonics
5. Rui Li, Shuling Wang, Santhad Chuwongin,Weidong Zhou, “Nanoscale Silver-assisted (Invited review)”, Prog. Quantum. Electron. 38, 1-74 (2014).
Wet Etching of Crystalline Silicon for Flexible Large Area Photovoltaics,” Journal of
Nanoscience and Nanotechnology, 2012.
6. H. Yang, D. Zhao, S. Chuwongin, J.-H. Seo, W. Yang, Y. Shuai, J. Berggren, M. Hammar,
Z. Ma and W. Zhou, “Transfer printing stacked nanomembrane lasers on silicon”,
Nature Photonics 6, 617-622 (2012). AOP July 22, 2012. http://www.nature.com/
nphoton/journal/vaop/ncurrent/full/nphoton.2012.160.html.

52 53
บทความการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 9. S. Chuwongin, H. Yang, J.-H. Seo, D. Zhao, W. Yang, J. Berggren, M. Hammar, Z. Ma,
(16 เรื่องนับถึงปี 2019) and W.D. Zhou, “ “Nanomembrane Transfer Printing for MR-VCSELs on Silicon,”
in IEEE Photonics 2012 conference, 2012.
10. Santhad Chuwongin, Deyin Zhao, Y. Shuai,Hongjun Yang, Weidong Zhou, Jung-Hun
1. Y. Hongjun, S. Chuwongin, C. Li, Q. Zexuan, Z. Weidong, P. Huiqing, and M. Seo, Zhenqiang Ma, “Transfer printed 2D crystalline semiconductor nanomem-
Zhenqiang, “Spectral trimming of fano reflectors on silicon and glass substrates,” branes for photonic crystal Fano resonance filters and reflectors on Si and flexible
in IEEE LEOS Annual Meeting, Long Beach, CA, Nov. 9-13, 2008, pp. 818-819. substrates,” in US-KOREA JSNT 2012(Poster).
2. S. Chuwongin, Y. Weiquan, Y. Hongjun, Z. Weidong, and M. Zhenqiang, “Flexible 11. S. Chuwongin, D. Zhao, H. Yang, J.-H. Seo, J. Berggren, M. Hammar, Z. Ma and
crystalline InP nanomembrane LED arrays,” in IEEE Photonics Society Annual W.Zhou, “Transfer printing photonic crystal nanomembrane lasers on silicon
Meeting, Denver, Nov. 8-11, 2010, pp. 643-644. with low optical pumping threshold (POSTDEADLINE paper)”, 9th International
3. W. Zhou, Z. Ma, H. Yang, L. Chen, W. Yang, Z. Qiang, G. Qin, H. Pang, S. Chuwongin, Conference on Group IV Photonics, Aug. 29-31, 2012, San Diego, CA.
and D. Zhao, “Semiconductor nanomembranes for stacked and flexible photonics 12. A. Gribovskiy, T. D. Miller, and M. Rakhmanov, S. Chuwongin, D. Zhao, andW.
(Invited),” in Photonics West, Silicon Photonics V, San Francisco, California, Zhou, “Wide-Angle Polarization-Dependent Diffraction in a Silicon Nano-Patterned
USA, 2010, pp. 76060U-10. Membrane Reflector”, Texas section American Physical Society Fall 2012 Meeting,
4. W. Zhou, Z. Ma, W. Yang, S. Chuwongin, Y.-C. Shuai, J.-H. Seo, D. Zhao, H. Yang Lubbock, TX, Oct. 25-27, 2012.
and R. Soref, “Semiconductor nanomembranes for integrated and flexible 13. W. Fan, D. Zhao, S. Chuwongin, J.-H. Seo, H. Yang, J. Berggren, M. Hammar, Z.
photonics,” (INVITED), in International Topical Meeting on Information Photonics, Ma, and W. Zhou, “Electrically-pumped membrane-reflector surface-emitters
Ottawa, Canada, May 18-20, 2011, pp. 1-2. on silicon”, IEEE Summer Topicals Meeting on Micro- and Nano-cavity Integrated
5. W. Yang, H. Yang, S. Chuwongin, J.-H. Seo, Z. Ma, J. Berggren, M. Hammar, and W. D. Photonics, July 8-10, 2013, Hilton Waikoloa Village, Waikoloa Hawaii, USA.
Zhou, “Frame-Assisted Membrane Transfer for Large Area Optoelectronic 14. W. Fan, D. Zhao, S. Chuwongin, J.-H. Seo, H. Yang, J. Berggren, M. Hammar, Z. Ma,
Devices on Flexible Substrates”, in IEEE Winter 2011 Topicals on Photonic and W. Zhou, “Fabrication of Electrically-pumped Resonance-cavity Membrane-
Materials and Integration Architecuture, Keystone, CO, Jan. 10-12, 2011, pp. reflector Surface-emitters on Silicon”, IEEE Photonics Conference 2013, Sept.
113-114. 8-12, 2013, Hyatt Regency Bellevue, Bellevue, Washington, USA.
6. A. S. Chadha, W. Yang, T. K. Saha, S. Chuwongin, Y. Shuai, W. Zhou, Z. Ma, and 15. Wasapinyokul K., Kaewpirom S., Chuwongin S., Boonsang S., “Highly-transparent
G. J. Brown, “Spectral selective absorption enhancement from stacked multi-layered spin-coated silk fibroin film” Proceedings of SPIE - The International
ultra-thin InGaAs/Si Fano resonance membranes,” in San Francisco, California, Society for Optical Engineering, (2016)
USA, 2012, pp. 82680G-7. 16. Tongloy T., Chuwongin S., Jaksukam K., Chousangsuntorn C., Boonsang S.,
7. M. Rakhmanov, T. Miller, A. Gribovskiy, B. Frost, S. Chuwongin, D. Zhao, W. Zhou, “Asynchronous deep reinforcement learning for the mobile robot navigation
“Sub-Wavelength Diffraction Losses in a Silicon Nano-Patterned Membrane,” in with supervised auxiliary tasks” 2nd International Conference on Robotics and
IEEE Photonics 2012 conference, Hyatt Regency San Francisco Airport Burlingame, Automation Engineering PP 68-72 (2018)
California USA, 2012.
8. Rui Li, Santhad Chuwongin ,Shuling Wang, Weidong Zhou, “Ag-Assisted
Electrochemical Etching of Silicon for Antireflection in Large Area Crystalline
Thin-Film Photovoltaics,” in 38th IEEE Photovoltaic Specialists Conference, 2012.
54 55
2557 พัฒนาหน่วยวัดแห่งชาติทางด้านสนามคลื่นอัลตราซาวด์ (Ultrasound Field
ดร. คมกฤษ จักษุค�ำ Characteristics) โดยได้รบั ทุนสนับสนุนงานวิจยั จากสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ประจ�ำ วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง 2557 พัฒนาหน่วยวัดแห่งชาติทางด้านแรงกดคลืน่ อัลตราซาวด์ (Ultrasound pressure,
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร Hydrophone calibrations and Acousto-optic measurements) โดยได้
ลาดกระบัง รับทุนสนับสนุนงานวิจัย จากสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
2552 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องระบบการตรวจวัดสภาพการใช้งานของโครงสร้างทาง
วิศวกรรมโยธา โดยใช้แนวความคิดของเครือข่ายตัวตรวจรู้ โดยได้รบั ทุนสนับสนุน
การศึกษา งานวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• อส.บ เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2560 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งระบบปฏิบตั กิ ารแขนกลอุตสาหกรรมส�ำหรับกระบวนการ
• M.Eng. in Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Thammasat University ผลิตก้านล็อคประตูรถยนต์ ให้กับบริษัทร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนับสนุนงาน
• Ph.D. in Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Thammasat University วิจัยจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
2560 พัฒนาหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมด้วยซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ROS โดยได้รบั ทุนสนันสนุน
ประสบการณ์ด้านการบริหาร งานวิจัยจาก วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
2557 พัฒนามาตรฐานการวัดแห่งชาติทางด้านอัลตราซาวด์ในระดับปฐมภูมิ (Primary เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Standard) และทุติยภูมิ (Secondary Standard) ภายในประเทศ และสร้าง 2560 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อการสอนการควบคุมหุ่นยนต์ด้วยระบบ
ระบบการสอบย้อนกลับได้ (Traceability) ของประเทศ โดยได้รับทุนสนับสนุน ปฏิบตั กิ าร ROS โดยได้รบั ทุนสนับสนุนงานวิจยั จากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
งานวิจัย จากสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
2553 เข้าร่วมการเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างประเทศ Bilateral Comparison 2561 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องต้นแบบหุ่นยนต์เติมน�้ำมันอากาศยานให้กับบริษัทร่วม
ระหว่างสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (มว.) กับสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติของ ทุนวิจยั โดยได้รบั ทุนสนับสนุนงานวิจยั จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
ประเทศญี่ปุ่น National Metrology Institute of Japan (NMIJ) ในสาขาการ 2561 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาหุน่ ยนต์ขดั พืน้ ผิวชิน้ งาน โดยได้รบั ทุนสนับสนุน
วัดทางด้านก�ำลังคลื่นอัลตราซาวด์ งานวิจัยจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
2555 ร่วมพัฒนาวิจัยหน่วยวัดแห่งชาติทางด้านก�ำลังคลื่นอัลตราซาวด์ (Ultrasonic 2561 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้านการบูรณาการ
power measurements) โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัย จากสถาบันมาตร ระบบ (System Integration) เพือ่ งานหุน่ ยนต์ ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์
วิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส�ำหรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0 (CiRACORE Platform) ให้กบั บริษทั ต่างๆ
2555 ร่วมพัฒนาและออกแบบระบบระบบฐานข้อมูลการให้บริการระบบงานสินเชื่อ ทีร่ ว่ มทุนวิจยั โดยได้รบั ทุนสนับสนุนงานวิจยั จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ
เช่าซื้อของบริษัท ศักดิ์สยาม พาณิชย์ลิสซิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) วิจัย (สกว.)
2556 พัฒนาระบบการวัดและสร้างชุดมาตรฐานในการสอบเทียบ ตรวจสอบเครื่องมือ 2562 ร่วมพัฒนางานวิจัยการปรับปรุงกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ทาง
วัดชนิด High Intensity Focussed Ultrasound (HIFU) ที่ถูกน�ำไปใช้ในทาง ชีวภาพของระบบคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากเปลือกทุเรียน (Carboxymethyl
ด้านการแพทย์เพื่อการบ�ำบัดและรักษามะเร็ง Cellulose (CMC)) โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากส�ำนักงานการวิจัย
แห่งชาติ (วช.)

56 57
2562 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องโครงการพัฒนาหุ่นยนต์ขัดพื้นผิวส�ำหรับเครื่องสุขภัณฑ์ 4. โครงการวิจัย การพัฒนาระบบการตรวจวัดสภาพการใช้งานของโครงสร้างทางวิศวกรรมโยธา
ประเภทก๊อกน�้ำ ให้กับบริษัทที่ร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก โดยใช้แนวความคิดของเครือข่ายตัวตรวจรู้ ทุนวิจยั ทุนรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหิดล ประจ�ำปี 2551 แหล่งทุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ระยะเวลา 1 ปี
2562 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องหุ่นยนต์ผสมยาเคมีบ�ำบัดให้กับโรงพยาบาลมะเร็งอุดร (ตุลาคม พ.ศ. 2550 – กันยายน พ.ศ. 2551) ต�ำแหน่ง ผู้ร่วมวิจัย
โดยได้รับทุนสนันสนุนงานวิจัยจากกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 5. โครงการวิจยั การพัฒนาหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมด้วยซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ROS ทุนวิจยั ทุนรายได้
2560 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเทคโนโลยีระบบการผลิต วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้น วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประจ�ำปี 2561 แหล่งทุน วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
2550 – 2558 นักมาตรวิทยาระดับ 7 ฝ่ายมาตรวิทยาเสียงและการสั่นสะเทือน สถาบันมาตร เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ระยะเวลา 1 ปี (ตุลาคม พ.ศ. 2561 – กันยายน พ.ศ. 2562) ต�ำแหน่ง
วิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวหน้าโครงการวิจัย
2547 – 2552 อาจารย์ประจ�ำ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโลยีอิเล็กทรอนิกส์ 6. โครงการวิจยั การพัฒนาระบบปฏิบตั กิ ารแขนกลอุตสาหกรรมส�ำหรับกระบวนการผลิตก้านล็อค
และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ประตู รถยนต์ ที่ ร่ ว มกั บ บริ ษัท ไทยสตี ลเคเบิ ล จ� ำ กั ด (มหาชน) สนั บ สนุ น โดย สกว. ฝ่ า ย
2552 – 2554 อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตเทเวศร์ อุตสาหกรรม
2550 – 2551 ที่ปรึกษา โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยโรงงานควบคุม ภายใต้ 7. โครงการวิจัย UR Robot Application for Backend Test (Integration) ทุนวิจัยจาก บริษัท
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) แหล่งทุน บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ระยะ
เวลา 1 ปี (กรกฎาคม พ.ศ. 2560 – ธันวาคม พ.ศ. 2561)
8. โครงการวิ จั ย ต้ น แบบหุ ่ น ยนต์ เ ติ ม น�้ ำ มั น อากาศยานที่ ร่ ว มกั บ บริ ษัท บาฟส์ อิ น โนเวชั่ น
ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนับสนุนโดย สกว. ฝ่ายอุตสาหกรรม
ผลงานด้านการวิจัยร่วมกับภาครัฐและเอกชนที่ผ่านมา 9. โครงการวิจัย “การพัฒนาสื่อสารสอนการควบคุมหุ่นยนต์ด้วยระบบปฎิบัติการ ROS” สนับสนุน
โดย สวทช.
1. โครงการวิจัย สถาปนาหน่วยวัดแห่งชาติทางด้านก�ำลังคลื่นอัลตราซาวด์ ทุนวิจัย กระทรวง 10. โครงการวิจัย “การพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยี ด้านการบูรณาการระบบเพื่องานหุ่นยนต์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ่านสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ระยะเวลา 3 ปี (ตุลาคม พ.ศ. ระบบอัตโนมัตแิ ละปัญญาประดิษฐ์สำ� หรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0 (CIRACORE Platform)”
2552 – กันยายน พ.ศ. 2555) ต�ำแหน่ง หัวหน้าโครงการวิจัย กับบริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)
2. โครงการวิจัย สถาปนาหน่วยวัดแห่งชาติทางด้านสนามคลื่นอัลตราซาวด์ ทุนวิจัย กระทรวง บริษัท ไทยสตีลเคเบิล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ซีร่า โรโบติกส์ จ�ำกัด สนับสนุนโดย สกว. ฝ่าย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ่านสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ระยะเวลา 3 ปี (ตุลาคม พ.ศ. อุตสาหกรรม
2554 – กันยายน พ.ศ. 2557) ต�ำแหน่ง หัวหน้าโครงการวิจัย 11. โครงการวิจัย “อาชีวะ พรีเมี่ยม สจล.เพื่อตอบสนอง Thailand 4.0 และ Industry 4.0”
3. โครงการวิจัย การพัฒนาระบบและออกแบบซอฟต์แวร์ด้วยระบบ Web Application ทุนวิจัย ร่วมกับ สอศ.
บริษัท ศักดิ์สยามพาณิชย์ลิสซิ่ง (มหาชน) จ�ำกัด แหล่งทุน บริษัท ศักดิ์สยามพาณิชย์ลิสซิ่ง
(มหาชน) จ�ำกัด ระยะเวลา 3 ปี (มกราคม พ.ศ. 2553 – ธันวาคม พ.ศ. 2555) ต�ำแหน่ง หัวหน้า
โครงการวิจัย

58 59
บทความที่ตีพิมพ์

[1] “A Study on Data Collection Behaviors for a Class of Multi-hop Wireless Sensor [6] “Development of Ultrasonic Power Measurement Standards in Thailand” with
Networks Based on Probability Model” Komgrit Jaksukam and Supachai Vorapojpisu, Komgrit Jaksukam and Sumet Umchid, The 10th International Conference on
International Review on Computers and Software (I.RE.CO.S.), Vol. 10 No.6, 2015. Electronic Measurement & Instruments (IEEE ICEMI’2011) 15-18 August 2011,
[2] “A PRIMARY LEVEL ULTRASONIC POWER MEASUREMENT SYSTEM DEVELOPED AT Chengdu China.
NATIONAL INSTITUTE OF METROLOGY” with Komgrit Jaksukam and Sumet Umchid, [7] “Ultrasound DEVELOPMENT OF A PRIMARY LEVEL ULTRASONIC POWER
THAILAND INTERNATIONAL JOURNAL OF APPLIED BIOMEDICAL ENGINEERING MEASUREMENT SYSTEM AT NIMT” with Komgrit Jaksukam, Virat Plangsangmas
VOL.4, NO.1 2011 and Sumet Umchid, The 3th Biomedical Engineering International Conference
[3] “การตรวจสอบคุณสมบัติสนามคลื่นของอัลตราซาวด์ทรานสดิวเซอร์ในย่านความถี่ 1MHz - (BMEiCon2010) August 27-28, 2010, Kyoto, Japan, 2010.
15MHz” คมกฤษ จักษุคา, อริญชยา พันธุ์พานัก, วิรัตน ปลั่งแสงมาศ, ในวารสารวิชาการ [8] “Development of the Primary Level Ultrasound Power Measurement System in
Metrology Info ฉบับประจ�ำเดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2555 Thailand” with Sumet Umchid and Komgrit Jaksukam, The 4th International
[4] “Asynchronous deep reinforcement learning for the mobile robot navigation Symposium on Biomedical Engineering (IEEE ISBME 2009), Bangkok, Thailand 2009.
with supervised auxiliary tasks”, T. Tongloy, S. Chuwongin, K. Jaksukam, [9] “The development of sensor network for structural health monitoring using
C Chousangsuntorn, S. Boonsang, et al,. 2nd International Conference on CANopen protocol” with W.Punurai and K.Jaksukam, East Asia Pacific Conference
Robotics and Automation Engineering (ICRAE), , Shanghai, China, 2017. on Structural Engineering and Construction (EASEC-11) , National Taiwan University
[5] “A Probability Model of a Class of Multi-hop WSNs” Komgrit Jaksukam and Taipe , Taiwan 2008
Supachai Vorapojpisut International Conference on Embedded Systems and
Intelligent Technology (ICESIT), Gwangju, KOREA, September 18th – 20th, 2014.

60 61
2560 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อการสอนการควบคุมหุ่นยนต์ด้วยระบบ
ปฏิบัติการหุ่นยนต์ ROS โดยได้รับทุนสนันสนุนงานวิจัยจากส�ำนักงานพัฒนา
นายธีรวัฒน์ ทองลอย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
2561 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องต้นแบบหุ่นยนต์เติมน�้ำมันอากาศยานให้กับบริษัทร่วม
วิศวกร วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง
ทุนวิจยั โดยได้รบั ทุนสนันสนุนงานวิจยั จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สกว.)
2561 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาหุน่ ยนต์ขดั พืน้ ผิวชิน้ งาน โดยได้รบั ทุนสนับสนุน
งานวิจัยจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
2561 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้าน การบูรณาการ
การศึกษา ระบบ (System Integration) เพือ่ งานหุน่ ยนต์ ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์
วศ.บ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ส�ำหรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0 (CiRACORE Platform) ให้กับบริษัท
ต่างๆ ทีร่ ว่ มทุนวิจยั โดยได้รบั ทุนสนันสนุนงานวิจยั จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.)
ประวัติการท�ำงาน 2562 พัฒนาระบบควบคุมการเคลือ่ นทีต่ ามเวลาจริง (Real-time Motion Controller)
2557 นั ก ศึ ก ษาฝึ ก งานในต� ำ แหน่ ง Software development engineer ให้กับ CiRA CORE ส�ำหรับการสั่งงานหุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรม ที่ท�ำงาน
แผนก Test engineering บนระบบปฏิบัติการหุ่นยนต์ ROS
2559 – ปัจจุบัน พนักงานในต�ำแหน่ง วิศวกรคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง 2562 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งโครงการพัฒนาหุน่ ยนต์ขดั พืน้ ผิวส�ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประเภทก๊อกน�้ำ ให้กับบริษัทที่ร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนันสนุนงานวิจัยจาก
2553 เข้าร่วมการแข่งคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติครั้งที่ 6 (6 Thailand ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
Olympiad In Informatics) 2562 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องหุ่นยนต์ผสมยาเคมีบ�ำบัดให้กับโรงพยาบาลมะเร็งอุดร
2559 พัฒนาระบบการควบคุมวงปิด (closed loop control) ส�ำหรับการสั่งงาน โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
หุ่นยนต์ โดยใช้ข้อมูลจากภาพโดยตรง
2560 พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงลึกแบบเสริมก�ำลังที่ไม่ประสานเวลาร่วมกับงาน
เสริ ม แบบแนะน� ำ ส� ำ หรั บ การน� ำ ทางหุ ่ น ยนต์ (Asynchronous Deep
Reinforcement Learning for the Mobile Robot Navigation with
Supervised Auxiliary Tasks)
2560 ร่ ว มพั ฒ นางานวิ จั ย เรื่ อ งระบบปฏิ บั ติ ก ารแขนกลอุ ต สาหกรรมส� ำ หรั บ
กระบวนการผลิตก้านล็อคประตูรถยนต์ ให้กับบริษัทร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุน
สนับสนุนงานวิจัยจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

62 63
2557 รับต�ำแหน่งวิศวกร ประจ�ำวิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการข้อมูล สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ออกแบบและติดตั้งระบบอบไล่ความ
นายนฤชิต สร้อยเพ็ชร
ชื้นจากวัสดุธรรมชาติ เพื่อเป็นเชื้อเพลิงให้กับโรงไฟฟ้าจังหวัดก�ำแพงเพชร
ร่วมกับบริษัท SCG
วิศวกร วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง
2558 ออกแบบและติดตัง้ แขนกลอุตสาหรรมเพือ่ การศึกษา ประจ�ำวิทยาลัยนวัตกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การผลิ ต ขั้ น สู ง สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง
ออกแบบและติ ด ตั้ ง ระบบสายพานล� ำ เลี ย งท� ำ งานอั ต โนมั ติ เ พื่ อ การศึ ก ษา
ประจ�ำวิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การศึกษา 2560 ร่วมวิจัยระบบปฏิบัติการแขนกลอุตสาหกรรมในกระบวนการผลิตก้านล็อค
• วศ.บ อิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประตูรถยนต์
• วศ.ม. อิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2561 รับต�ำแหน่งสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ เช เกวารา ออกอากาศช่อง Work point TV
2562 วิจยั และออกแบบระบบเครือ่ งทดสอบฟังเสียงปอดผิดปกติในเด็กเล็ก วิทยาลัย
ประวัติการท�ำงาน พยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี
2550 ผู้ร่วมวิจัยโครงการกล้องตรวจการณ์ในเวลากลางคืน (Thermal camera)
ส�ำนักปลัดกระทรวงกลาโหม
2551 สิทธิบัตรเครื่องตรวจวัดปริมาณการเกิดฟองอากาศในถังท�ำความสะอาด
(Cavitation sensor in ultrasonic cleaning)
2553 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เข้าท�ำงานในต�ำแหน่ง
วิศวกร ประจ�ำวิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการข้อมูล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2554 สร้างเครื่องต้นแบบระบบการหลอมขึ้นรูปเม็ดพลาสติกเพื่ออุตสาหกรรมการ
ผลิตไส้ดูดน�้ำมันในไฟแช็ค
2555 รับต�ำแหน่งผูจ้ ดั การโรงงานบริษทั TR&D (Thee research and Development)
จ�ำกัด ผลิตและวิจัยเชื้อเพลิงจากวัสดุธรรมชาติ (Wood Pellet) ส�ำหรับ
โรงงานอุตสาหกรรม ร่วมกับบริษัท SCG ออกแบบและติดตั้งระบบการผลิต
wood pellet ทั้งระบบ

64 65
2561 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาหุน่ ยนต์ขดั พืน้ ผิวชิน้ งาน โดยได้รบั ทุนสนันสนุน
งานวิจัยจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
นางสาวญาตินันท์ ทันวงษา
2561 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้าน การบูรณาการ
ระบบ (System Integration) เพือ่ งานหุน่ ยนต์ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์
นักศึกษาปริญญาโท วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง
ส�ำหรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0 (CiRACORE Platform) ให้กับบริษัท
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ต่างๆ ที่ร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากส�ำนักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย (สกว.)
2562 ร่วมพัฒนางานวิจยั เรือ่ งโครงการพัฒนาหุน่ ยนต์ขดั พืน้ ผิวส�ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ์
ประเภทก๊อกน�้ำ ให้กับบริษัทที่ร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก
การศึกษา ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
วศ. บ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2562 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องหุ่นยนต์ผสมยาเคมีบ�ำบัดให้กับโรงพยาบาลมะเร็งอุดร
โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
2562 พัฒนาการใช้งานระบบการคาดคะเนผลลัพธ์ของเครื่องจักรด้วยการเรียนรู้
ประวัติการท�ำงาน เชิงลึกเพื่ออุตสาหกรรม
2555 เข้าร่วมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สาขาคอมพิวเตอร์ ค่ายสอง ณ ศูนย์สอวน.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2558 เข้าร่วมการแข่งขันเขียนโปรแกรมแก้โจทย์ปัญหาระดับอุดมศึกษา ACM-ICPC
ระดับประเทศ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล
2559 ฝึกงานภาคฤดูร้อนจัดท�ำรายงานคุณภาพสินค้า ด้วย php และ sql ร่วมกับ
บริษัท ขอนแก่นแหอวน จ�ำกัด
2560 ฝึกงานภาคฤดูร้อนจัดท�ำระบบการขึ้นทะเบียนเกษตรกรด้วย Blockchain
โดยใช้ Hyperledger Fabric Client เป็นตัวกลางเชือ่ มต่อกับหน้าเว็บ ร่วมกับ
ห้องปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีการวิเคราะห์กระบวนการเชิงค�ำนวณ NECTEC
2561 ร่วมพัฒนางานวิจัยเรื่องต้นแบบหุ่นยนต์เติมน�้ำมันอากาศยานให้กับบริษัท
ร่วมทุนวิจัย โดยได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.)

66 67
Abstract ผลงาน
แพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้าน การบูรณาการระบบ
Thai industry sector has strived for the development of production
systems to be so-called “Industrial 4.0 or Smart Factory Industry 4.0”, which
(System Integration) เพือ่ งานหุน่ ยนต์ ระบบอัตโนมัติ
is a concept related to the process of increasing production efficiency and และปัญญาประดิษฐ์สำ� หรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0
management by combining the collaboration of process automation and in- (CiRA CORE) (System Integration platform for robotic
formation technology. These include a production system utilized robotics automation and AI for industrial 4.0 applications (CiRA CORE)
to manage the entire production process. Developing a industrial platform
named CiRACORE under the ROS operating system is primarily applied to ที่มาและแนวคิด
robotics automation and artificial intelligence for the applications and inte-
grations with modern automation. CiRACORE focuses on being an industry
4.0 platform with a variety of capabilities to support the integration of ro- อุ ต สาหกรรมในประเทศไทยได้ มี ก ารตื่ น ตั ว เรื่ อ งการพั ฒนาระบบการผลิ ต ส� ำ หรั บ
bot systems, automation systems and information technology. This capability โรงงานอุตสาหกรรม 4.0 (Smart Factory Industry 4.0) ซึ่งเป็นแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ
makes it efficient and convenient and reduces the limitations of linking and กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการ โดยการผสมผสานการท�ำงาน
installing various devices. This platform is developed from open source soft- ร่วมกันของระบบอัตโนมัติและเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึงระบบการผลิตโดยใช้แขนกล
ware which is available at minimum cost and also reduce development time อัตโนมัติ เพื่อการจัดการกระบวนการผลิตทั้งหมด การพัฒนาคอร์แพลตฟอร์ม (Core Plat-
and flexibility for programming in the robotics and automation systems. This form) เทคโนโลยีฐานที่มีชื่อว่า CiRACORE ภายใต้ระบบปฏิบัตการ ROS เพื่องานหุ่นยนต์
platform is the collection of tools and libraries into different categories. As a ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์ส�ำหรับใช้งานอยู่ในอุตสาหกรรมและเพื่อการบูรณาการ
result, reducing the cost of importing the industrial platform with high costs ให้ท�ำงานร่วมกับระบบอัตโนมัติสมัยใหม่ มุ่งเน้นให้เป็นแพลตฟอร์มของหุ่นยนต์และระบบ
from abroad and support research and development in robotics and automa- อัตโนมัติ ที่มีความหลากหลายสามารถรองรับควบรวมระบบหุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติและ
tion in Thailand. เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มีประสิทธิภาพและสะดวกรวดเร็ว ลดข้อจ�ำกัดในการเชื่อมโยงและ
ติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งแพลตฟอร์มนี้เป็นพัฒนาจากโอเพ่นซอร์ส (Open-source) ที่สามารถ
พัฒนาโดยมีต้นทุนทางด้านซอฟต์แวร์ที่สามารถเข้าถึงได้ อีกทั้งยังเป็นช่องทางหนึ่งของ
นักพัฒนาที่ช่วยลดเวลาในการพัฒนาและมีความยืดหยุ่นส�ำหรับการเขียนโปรแกรมทางด้าน
หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ โดยได้รวบรวมเครื่องมือและไลบรารีไว้เป็นหมวดหมู่ ลดความ
ซับซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานกับแพลตฟอร์มที่หลากหลายของหุ่นยนต์ เพื่อ
สนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการบริการในภาคอุตสาหกรรมหุน่ ยนต์เฉพาะทางยังส่งผล
ให้ ล ดค่ า ใช้ จ ่ า ยในการน� ำ เข้ า แขนกลอุ ต สาหกรรมและระบบปฏิ บั ติ ก ารในการอั พ เกรด
ระบบที่มีค่าใช้จ่ายที่สูงจากต่างประเทศ และสนับสนุนงานวิจัย พัฒนาองค์ความรู้ทางด้าน
หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robot and automation) ภายในประเทศ

68 69
รายละเอียดของเทคโนโลยี
ในปัจจุบนั อุปกรณ์และฮาร์ดแวร์สำ� หรับแพลตฟอร์มทีเ่ ชือ่ มต่อกันรวมกับข้อมูลมากมาย นอกจากนี้ CiRACORE ยังมีส่วนของ Deep Learning หรือ DL เป็นเรื่องเกี่ยวกับการ
จากอุปกรณ์ภาคสนาม (field devices) ซึ่งมีแนวโน้มด้านราคาที่ลดลงอย่างมาก รวมไปถึงการ ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อ “เรียนรู้” ว่าจะจัดการปัญหาอย่างไร โดยไม่ต้อง “โปรแกรม” DL เป็นสาขา
เปลี่ยนผ่านไปสู่ดิจิทัลเทคโนโลยี เช่น หุ่นยนต์อัจฉริยะ เทคโนโลยีโดรน เซ็นเซอร์อัจฉริยะ ปัญญา ของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence, AI) DL เป็นที่นิยมขึ้นอย่างมากในช่วงเวลาไม่กี่
ประดิษฐ์ (Artificial Intelligent) นาโนเทคโนโลยี การพิมพ์ 3 มิติ และรวมไปถึงเทคโนโลยี ปีมานี้ CiRACORE ท�ำให้การใช้งาน DL เป็นไปได้ในทางอุตสาหกรรม และส่งผลข้อมูลจ�ำนวน
อุตสาหกรรม 4.0 ที่ซึ่งทุกสิ่งในโรงงานเชื่อมต่อถึงกันทั้งหมดแบบออนไลน์ และในบางกรณีระบบ มหาศาลในอุตสาหกรรมการผลิต (Big data) สามารถน�ำมาใช้วิเคราะห์เพื่อขยายผลทางธุรกิจ
มีความฉลาดมีความสามารถในการตัดสินใจด้วยตัวเองได้ดว้ ย กอร์ปกับแรงกดดันด้านการลดต้นทุน ด้วยอัลกอริทึมใหม่ๆ เช่น Deep learning ด้วย CNN เป็นต้น ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงด้วย GPU ที่มี
การผลิ ต เพื่ อให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์สามารถแข่ง ขันได้ ศูนย์หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติ ความสามารถสูง
(Center of industrial Robot and Automation : CiRA) วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง CiRACORE ประกอบไปด้วย Module หลักๆ ทีเ่ ป็นทัง้ ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ดงั ต่อไปนี้
สจล. ได้ พั ฒ นา platform กลางขึ้ น มา ภายใต้ ชื่ อ CiRACORE ดั ง แสดงในรู ป ที่ 1 ซึ่ ง เป็ น ฮาร์ดแวร์ : Customized robots แบบ 3-4-5-6 แกนที่สามารถปรับได้ตามลักษณะ
แพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้าน การบูรณาการระบบ (System Integration) เพื่องานหุ่นยนต์ การใช้งาน, Real-time motion controllers, Time-sensitive-network gateway เป็นต้น
ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์ ส�ำหรับใช้งานอยู่ในอุตสาหกรรม 4.0 โดยการพัฒนาอยู่บน ซอฟท์แวร์ : CiRA CORE, CiRA-AI (Deep learning video/image object detection)
ระบบปฏิบัติการ ROS (Robot Operating System) ซึ่งเป็นเฟรมเวิร์ก (Framework) ที่เป็น and AI-training system, CiRA-Time series (LSTM Deep learning for predictive
โอเพ่นซอร์ส (Open source) ที่สามารถกระจายข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำงานของระบบหุ่นยนต์ maintenance), CiRA-IO universal interface library เป็นต้น
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ไปตาม node ที่แตกต่างกันตามหน้าที่ของแต่ละ node โดยการเชื่อม
ต่อระบบปฏิบัติการที่ควบคุมแขนกล (ROS) เข้ากับฮาร์ดแวร์ที่เกี่ยวข้องกับแขนกลต่างๆ โดยจุด
ประสงค์หลักเพื่อให้เป็นแกนหลักของการพัฒนา platform กลางส�ำหรับ ระบบอัตโนมัติในแบบ
อุตสาหกรรม 4.0

รูปที่ 1 ภาพรวมและโครงสร้างของ CiRACORE และการใช้ รูปที่ 2 การใช้งาน CiRACORE กับ System Integration
งานทีง่ า่ ยด้วย วิธี Drag&Drop และ Node-flow programming ที่มีหุ่นยนต์ Industrial Robots แบบ commercial

รูปที่ 3 การใช้งาน CiRACORE กับ System Integration ที่มี


หุ่นยนต์ customized industrial robot ที่เป็นการออกแบบ
ทั้งฮาร์ดแวร์และ motion controller เองทั้งหมด

70 71
การน�ำไปประยุกต์ใช้ หรือศักยภาพในการพัฒนาเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์จริง
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) (SCG)
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ได้มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีการตรวจจับวัตถุด้วย
การน�ำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิตบนแพลตฟอร์ม CiRA CORE ส�ำหรับหุ่นยนต์ วิธีโครงข่ายประสาทเทียมคอนโวลูชั่น (Convolution neural networks-CNN) บน YOLO
อุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติ ได้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับหน่วยงานต่างๆ ด้วยการ (Real-Time Object Detection with YOLO) เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล (เข้า-ออกในพื้นที่
สนับสนุนให้เกิดการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ การอบรมการผูใ้ ช้งาน CiRACORE ก่อนน�ำไปใช้งาน ใช้งานเฉพาะ) และข้อมูลสิทธิการเข้าใช้ระบบ และ ระบบการจ่ายปูนซิเมนต์ด้วยเทคโนโลยีเรียน
บริษทั ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ำกัด (Seagate) รู้เชิงลึก
บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีการตรวจจับ • การติดตั้งและทดสอบการน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อการผลิต : ระบบการตรวจจับใบหน้า
บริเวณใบหน้าบุคคลด้วยวิธโี ครงข่ายประสาทเทียมคอนโวลูชนั่ (Convolution neural networks (Face detection)
-CNN) บน YOLO (Real-Time Object Detection with YOLO) เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล
(เข้า-ออกในพื้นที่ใช้งานเฉพาะ) และข้อมูลสิทธิการเข้าใช้ระบบ รวมไปถึงการใช้การเรียนรู้เชิงลึก
(Deep learning) ส�ำหรับการอ่านตัวอักษร (OCR) ในสภาวะที่ไม่เอื้ออ�ำนวยในระบบ OCR
เทคนิคเดิมๆอ่านได้
• การติดตั้งและทดสอบการน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อการผลิต: ระบบตรวจจับใบหน้าและ
ท่าทางของพนักงาน
• การเรียนรูเ้ ชิงลึก (Deep learning) ส�ำหรับการอ่านตัวอักษร (OCR) ในสภาวะทีไ่ ม่เอือ้
อ�ำนวย

รูปที่ 6 การติดตั้งและทดสอบระบบตรวจจับใบหน้า

รูปที่ 4 การติดตั้งและทดสอบระบบตรวจจับใบหน้าและท่าทางของพนักงาน

รูปที่ 5 การเรียนรู้เชิงลึก (Deep learning)


ส�ำหรับการอ่านตัวอักษร (OCR) ในสภาวะที่ไม่เอื้ออ�ำนวย

รูปที่ 7 ระบบการจ่ายปูนซิเมนต์ด้วยเทคโนโลยีเรียนรู้เชิงลึก

72 73
บริษัท Denso (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (TAT)
บริษัท Denso ประกอบธุรกิจผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ โดยทางบริษัทฯ ได้มีแผนงานในการพัฒนา บริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด มีแผนการปรับปรุงระบบการตรวจจับและ
กระบวนการผลิตด้วยหุ่นยนต์ที่มีราคาถูกส�ำหรับใช้ในการผลิตของโรงงาน ตัวอย่างเช่น หุน่ ยนต์ คัดแยกถุงอาหารในกระบวนการผลิตของโรงงาน จากแนวทางดังกล่าวได้นำ� ไปสูก่ ารปรับใช้เทคโนโลยี
หยิบจับแบริง่ (bearing) หรือชิน้ ส่วนของเครือ่ งจักรกลที่ สามารถแยกแยะชิ้นงานที่ต่างชนิดกัน ระบบปัญญาประดิษฐ์ส�ำหรับการแยกแยะชิ้นงานด้วยการประมวลผลภาพถุงอาหาร (Object
ด้ ว ยเทคโนโลยี โครงข่ ายประสาทเทียมคอนโวลูชั่น (Convolution neural networks-CNN) detection) ภายใต้สภาพแวดล้อมของโรงงานดังแสดงในรูปที่ 11
ที่ควบคุมการท�ำงานบนแพลตฟอร์ม CiRA CORE • การติดตั้งและทดสอบการน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อการผลิต
• การติดตั้งและทดสอบการน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อการผลิต

รูปที่ 7 การติดตั้งและทดสอบระบบปัญญา
ประดิษฐ์ส�ำหรับการแยกแยะถุงอาหาร

รูปที่ 8 โปรแกรมทดสอบระบบการนับจ�ำนวนถุงอาหารในกระบวนการผลิต
รูปที่ 6 การติดตั้งและทดสอบหุ่นยนต์ส�ำหรับใช้ในการผลิตของโรงงาน (Denso robot)

74 75
บริษัท ไทยสตีลเคเบิล จ�ำกัด (มหาชน) (TSC) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) (CPF)
บริษัท ไทยสตีลเคเบิล จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งประกอบธุรกิจสายควบคุมส�ำหรับรถยนต์ และรถ บริษัท ซีพีเอฟ จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร ได้มีแผนงานใน
จักรยานยนต์ และชุดควบคุมรางกระจกหน้าต่างรถยนต์ จึงได้ให้ความส�ำคัญอย่างมากด้วยการพัฒนา การพัฒนากระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีระบบปัญญาประดิษฐ์ส�ำหรับการแยกแยะชิ้นงาน
เทคโนโลยีที่มุ่งเน้นด้านประสิทธิภาพและการควบคุมคุณภาพ โดยมีแผนการในการใช้เทคโนโลยี ด้วยการประมวลผลภาพถุงอาหาร (Object detection) ด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
แขนกลอุตสาหกรรมส�ำหรับกระบวนการผลิตสายควบคุมยานยนต์ของก้านล็อคประตูรถยนต์ที่มี Intelligence) ทั้งนี้ทางบริษัทฯ ได้น�ำแพลตฟอร์ม CiRE CORE ไปประยุกต์ใช้ส�ำหรับการนับ
ขนาดและรูปทรงที่แตกต่างกันโดยอาศัยการแยกแยะและการตรวจสอบคุ ณ ภาพของชิ้ น งาน จ� ำ นวนถุ ง อาหารในขั้ น ตอนการจ�ำหน่ายถุงอาหารเนื่องจากไม่สามารถทราบถึงจ�ำนวนถุง
ด้ ว ยระบบปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ (Artificial Intelligence) บน YOLO (Real-Time Object อาหารครบตามจ�ำนวนหรือเกินจ�ำนวนที่ก�ำหนดไว้จากโรงงานจ่ายอาหารเพื่อเป็นการตรวจนับ
Detection with YOLO) การจ่ายถุงอาหารครบถ้วนเทียบกับวิธีการชั่งน�้ำหนักซ�้ำอีกครั้ง ดังแสดงในรูปที่ 18
• การติดตั้งและทดสอบการน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อการผลิต

รูปที่ 9 การทดสอบระบบการแยกแยะและตรวจสอบคุณภาพ รูปที่ 11 การติดตั้งและทดสอบตรวจสอบคุณภาพ


ของชิ้นงาน ด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ ของชิน้ งานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์
รูปที่ 12 พื้นที่ในการการติดตั้งและทดสอบในขั้นตอน
การจ�ำหน่ายถุงอาหารของโรงงาน

รูปที่ 10 การทดสอบกระบวนการผลิตสายควบคุมยานยนต์ของ รูปที่ 13 การทดสอบแพลตฟอร์ม CiRE CORE น�ำไปประยุกต์ใช้


ก้านล็อคประตูรถยนต์ ส�ำหรับการนับจ�ำนวนถุงอาหาร

ดูผลงานได้ที่ CiRA AMI youtube channel


https://www.youtube.com/channel/UCyIBgz7Q9dvwkF6gmsSazDg
76 77
ผลกระทบต่อประเทศ
ทางด้านอุตสาหกรรม ด้านสังคมและเศรษฐกิจ

ผลกระทบต่อประเทศทางด้านสังคม นอกจากนี้ การพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเรียนรู้เชิงลึกยังได้น�ำไปสู่งานด้านการวิจัยด้าน


CiRA CORE ที่เป็นเทคโนโลยีด้านแพลตฟอร์มอุตสาหกรรม 4.0 ที่ใช้เทคโนโลยีด้านปัญญา การสาธารณสุข เช่นการตรวจจับชนิด และเพศ ของยุงลายและยุงก้นปล่องด้วยเทคโนโลยีเรียนรู้
ประดิษฐ์และการเรียนรู้เชิงลึก สนับสนุนนโยบายรัฐบาลที่จะพัฒนา อุตสาหกรรมในประเทศไทย เชิงลึก (De e p Learning) ด้วย CiRA CORE เพื่อเป็นการศึกษาการแพร่ระบาดของยุงในจังหวัดตาก
เรื่องการพัฒนาระบบการผลิตส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม 4.0 (Smart Factory Industry 4.0) ดังรูปด้านล่าง ซึง่ จากผลการทดลองไปใช้งานพบว่าสามารถตรวจจับชนิดและเพศของยุงได้ถกู ต้อง
โดยเฉพาะ กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ซึ่งจะได้รับประโยชน์ และแม่นย�ำได้กว่า 95% ซึ่งเป็นการต่อยอดเทคโนโลยีเรียนรู้เชิงลึกไปด้านสาธารณสุขได้อย่างดี
โดยตรงด้านการใช้เทคโนโลยีขนั้ สูง อีกทัง้ ยังมีราคาทีป่ ระหยัดกว่าการน�ำเข้าเทคโนโลยีดงั กล่าวจาก
ต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการต่อยอดการวิจัยและพัฒนาให้สู่การปฏิบัติจริงในภาคอุตสาหกรรม

78 79
อีกตัวอย่างของการน�ำเทคโนโลยีเชิงลึกด้วย CiRA CORE ไปใช้งานด้านสาธารณสุขคือ สุดท้ายด้านผลกระทบทางสังคม ของการน�ำเทคโนโลยีเชิงลึกด้วย CiRA CORE ได้แก่
การน�ำไปใช้ดา้ นช่วยการวิเคราะห์ผล X-Ray ปอดเพือ่ ตรวจสอบหาโรคชนิดต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับปอด การน�ำไปใช้ในการเรียนการสอนของนักเรียนตั้งแต่ระดับประถม มัธยม และ อุดมศึกษา ให้มี
ดังตัวอย่างในรูปด้านล่าง ความคุ้นเคยและสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ต่อยอดในการศึกษาต่อไป

80 81
ผลกระทบต่อประเทศทางด้านอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจ

ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีดา้ นแพลตฟอร์มอุตสาหกรรม 4.0 ทีใ่ ช้เทคโนโลยีดา้ นปัญญาประดิษฐ์


และการเรียนรู้เชิงลึก ซึ่งตารางต่อไปนี้แสดงบริษัทที่ร่วมโครงการอยู่ระหว่างการประยุกต์ใช้ และมี
แผนใช้งานในอนาคต พร้อมแสดง impact ในด้านเศรษฐกิจดังต่อไปนี้ ล�ำดับ ชื่อสถานประกอบการ การประยุกต์ใช้ในงาน / Impact ในด้านเศรษฐกิจ
ที่น�ำผลงานมาใช้ ประมาณการจ�ำนวนที่ใช้

ล�ำดับ ชื่อสถานประกอบการ การประยุกต์ใช้ในงาน / Impact ในด้านเศรษฐกิจ 3 บริษัท ไทยสตีลเคเบิล 1. วิ ธี ก ารตรวจจั บ ชิ้ น งาน 1. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก
ที่น�ำผลงานมาใช้ ประมาณการจ�ำนวนที่ใช้ จ�ำกัด (มหาชน) (TSC) (Object detection) และ ต่างประเทศ (Deep learning
การตรวจสอบคุณภาพของ SW CognexVidi) ประมาณ
1 บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี 1. การตรวจจับใบหน้า (Face 1. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก ชิ้ น งาน (Inspection) 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน
(ประเทศไทย) จ�ำกัด detection)ลงเวลาในการ ต่างประเทศ (face rec. SW) ประมาณ 5 จุด ประมาณ 4 ล้านบาท
(Seagate) เข้าปฏิบัติงาน/ จ�ำนวน 5 ประมาณ 6 แสนบาท
จุดติดตั้ง 2. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก บริษทั เด็นโซ่ (ประเทศไทย) 1. หุน่ ยนต์ราคาถูกเพือ่ หยิบจับ 1. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก
4
2. OCR ส�ำหรับการอ่านเลข ต่างประเทศ (Deep learning จ�ำกัด (DENSO) แบริ่ ง (Robot Design) ต่างประเทศ (Deep learning
รหั ส สิ น ค้ า ด้ ว ย Deep SW Cognex Vidi) ประมาณ การควบคุ ม การท� ำ งาน SW CognexVidi) ประมาณ
learning /ประมาณ 60 จุด 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน หุน่ ยนต์ราคาถูก การแยกแยะ 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน
3. Deep learning ส�ำหรับ ประมาณ 48 ล้านบาท ชิ้ น ส่ ว นแบริ่ ง (Bearing) ประมาณ 4 ล้านบาท
การท�ำการตรวจหาต�ำแหน่ง 3. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก ประมาณ 1 จุด
และปรับต�ำแหน่งชิ้นงาน/ ต่างประเทศ (Deep learning
ประมาณ 30 จุด SW Cognex Vidi) ประมาณ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย 1. การตรวจจับใบหน้า (Face 1. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก
5
8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน จ�ำกัด (มหาชน) (SCG) detection) ใช้ในการเปิด ต่ า งประเทศ (face rec.
ประมาณ 24 ล้ า นบาท /ปิด ประตูเข้าส�ำนักงาน SW) ประมาณ 6 แสนบาท
รวมประมาณ 72 ล้านบาท ลงเวลาในการเข้าปฏิบตั งิ าน 2. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก
และยังมีส่วนที่ขยายผลใน 2. Deep learning ส�ำหรับการ ต่างประเทศ (Deep learning
ต�ำแหน่งอื่นๆ อีก ท� ำ การตรวจหาต� ำ แหน่ ง SW Cognex Vidi) ประมาณ
ปลายท่อเติมปูนซีเมนต์ลง 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน
2 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ 1. วิธกี ารตรวจจับและการนับ 1. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก รถขนส่ง ประมาณ 50 จุด ประมาณ 40 ล้านบาท
อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวนถุงอาหาร (Object ต่างประเทศ (Deep learning 3. Deep learning ส�ำหรับ 3. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก
(CPF) detection) การนั บ ถุ ง SW CognexVidi) ประมาณ การท�ำการตรวจหาหินเกิน ต่างประเทศ (Deep learning
อาหารในกระบวนการขนส่ง 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน ขนาดก่ อ นเข้ า crusher SW Cognex Vidi) ประมาณ
ถุงอาหารในขัน้ ตอนการจัด ประมาณ 20 ล้านบาท ประมาณ 20 จุด 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน
จ�ำหน่ายของโรงงาน ประมาณ ประมาณ 16 ล้านบาท
20 จุด

82 83
ล�ำดับ ชื่อสถานประกอบการ
ที่น�ำผลงานมาใช้
การประยุกต์ใช้ในงาน /
ประมาณการจ�ำนวนที่ใช้
Impact ในด้านเศรษฐกิจ ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ สิทธิบัตร

6 บริษัท สยามโตโยต้า 1. Deep learning ส�ำหรับ 1. ลดการน�ำเข้า SW จาก 1. Asynchronous deep reinforcement learning for the mobile robot navigation with
มอเตอร์ จ�ำกัด (STM) การตรวจสอบคุณภาพ ต่างประเทศ (Deep learning supervised auxiliary tasks Tongloy, T., Chuwongin, S., Jaksukam, K., Chousangsuntorn,
เกลียวของเครื่องยนต์ SW Cognex Vidi) ประมาณ C., Boonsang, S. Proceedings of the 2nd International Conference on Robotics
ประมาณ 10 จุด 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน and Automation Engineering, ICRAE 2017
2. Deep learning ส�ำหรับ ประมาณ 8 ล้านบาท 2. “An image-based visual servo control system based on an eye-in-hand monocular
การวิเคราะห์เสียงเครือ่ งยนต์ 2. ลดการน�ำเข้า SW จาก
camera for autonomous robotic grasping” Tongloy, T., Boonsang, S. Proceedings of
ประมาณ 20 จุด ต่างประเทศ (Deep learning
the 2016 International Conference on Instrumentation, Control, and Automation,
3. แขนกลขนาดเล็กเพื่อ SW Cognex Vidi) ประมาณ
ประกอบชิ้นงาน คาดว่า 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน ICA 2016
จะมีการติดตั้งไม่น้อยกว่า ประมาณ 16 ล้านบาท 3. Cloud-based optical characterization of hard disk drive recording heads
30 จุด 3. ลดการน�ำเข้าหุ่นยนต์จาก Khunrattanasiri, W., Yokpradit, A., Tongloy, T., Boonsang, S. Sensors and Materials
ต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 2018
9 ล้านบาท 4. A Real-time rheological measurement for biopolymer 3D printing process
Yokpradit, A., Tongloy, T., Kaewpirom, S., Boonsang, Sensors and Materials 2018
7 บริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ 4. ระบบการคัดแยกและนับ 4. ลดการน� ำ เข้ า SW จาก 5. ศิริเดช บุญแสง วิทยา นิลทะราช และ วันชัย อรุณเจริญฉาย, “การพัฒนาระบบการวัดระดับ
แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด ถุ ง อาหารสั ต ว์ (Label ต่างประเทศ (Deep learning การบิ น ของหั ว อ่ า นเขี ย นภายใต้ สภาวะทางอุ ณ หภู มิ แ ละความชื้ น ที่ ค วบคุ ม ได้ ” วิ ศ วสาร
(TAT) reading and belt counter) SW Cognex Vidi) ประมาณ ลาดกระบัง, ปี 2555, ปีที่ 29, เล่มที่ 2, หน้าที่ 54-58
การนับจ�ำนวนผลิตภัณฑ์ 8 แสนบาทต่อจุด เป็นเงิน 6. สิทธิบัตร (ประเทศไทย) “อุปกรณ์วัดปริมาณคาวิเตชั่น เพื่อใช้ในกระบวนการท�ำความสะอาด
ในกระบวนการผลิตของ ประมาณ 16 ล้านบาท ที่ใช้คลื่นอัลตร้าโซนิค , สิทธิบัตรการประดิษฐ์” เลขที่ค�ำขอ 1001000932
สายพานล�ำเลียง ประมาณ
20 จุด

84 85
ประวัติ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

ความเป็นมา การสรรหาและรางวัล
ในปีเฉลิมฉลองสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ฯ พ.ศ. 2525 นั้น สมาคมวิทยาศาสตร์แห่ง มู ล นิ ธิ ฯ แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการรางวั ล นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ดี เ ด่ น และคณะกรรมการรางวั ล
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ได้จดั งานวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติเป็นครัง้ แรกในวันที่ 18 สิงหาคม นักเทคโนโลยีดีเด่น เพื่อด�ำเนินการสรรหาโดยอิสระโดยเปิดเผยเฉพาะชื่อประธานเท่านั้น ผู้ได้รับรางวัล
โดยในพิธีเปิดองคมนตรีผู้แทนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จะได้รับโล่พระราชทาน (สาขาวิทยาศาสตร์) หรือพระบรมรูป เหรียญพระราชทาน (สาขาเทคโนโลยี)
เป็นผู้มอบ “รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น” ซึ่งได้รับความสนใจและเผยแพร่ข่าวในสื่อมวลชน และเงินรางวัลตามที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับแต่ละระดับสาขา โดยจ�ำนวนเงินได้ปรับเพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับตาม
อย่างกว้างขวาง รางวัลดังกล่าวจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของพิธีเปิดงานวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินและการสนับสนุนของผู้บริจาค ผู้สนับสนุนเงินรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
ต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน เพื่อให้มีองค์กรรับผิดชอบการให้รางวัลโดยเฉพาะ สมาคมฯ จึงระดมทุน และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ปัจจุบันคือ เอสซีจี (SCG) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
เพื่อจัดตั้งมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งได้รับอนุมัติให้จดทะเบียนเป็นทางการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
เมื่ อ วั น ที่ 15 กรกฎาคม 2526 และเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2548 ได้รับพระราชทาน และเทคโนโลยี (สสวท.) และตั้งแต่ปี พ.ศ.2558 เป็นต้นมา บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ได้เริ่มให้
พระมหากรุณาธิคุณรับมูลนิธิฯ อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต่อมากระทรวงการคลังได้ประกาศให้ การสนับสนุนอีกองค์กรหนึง่ ส่วนรางวัลนักเทคโนโลยีดเี ด่นและรางวัลนักเทคโนโลยีรนุ่ ใหม่นนั้ ผูส้ นับสนุน
มูลนิธิฯ เป็นองค์การสาธารณกุศลว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2545 เงินรางวัลประกอบด้วย ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และส�ำนักงาน
สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
กิจกรรม
นอกจากการให้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่นในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติทกุ ปีแล้ว เพือ่ พัฒนา การเผยแพร่กิตติคุณและการขยายผล
ฐานนักวิจัยรุ่นกลางให้กว้างขึ้น มูลนิธิฯ จึงได้ตั้งรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ แก่นักวิจัย มูลนิธฯิ จัดท�ำหนังสือแสดงผลงานของผูร้ บั รางวัลดีเด่นวันดังกล่าวด้วย อนึง่ ผูไ้ ด้รบั รางวัลจะได้
อายุ ไม่ เ กิ น 35 ปี ขึ้ น ในปี 2534 นอกจากนั้นมูลนิธิฯ ยังเห็นเทคโนโลยีมีค วามส�ำคัญคู่กับ รับเชิญไปบรรยายในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทท.) รวมทัง้ ตามสถานศึกษาต่างๆ
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน จึงเพิ่มการให้รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ผูไ้ ด้รบั รางวัลหลายคนได้รบั การเสนอให้ได้รบั รางวัลระดับภูมภิ าค นอกจากนีส้ ว่ นใหญ่ของผูไ้ ด้รบั รางวัลจะได้
ในปี 2544 โดยมีการรับรางวัลในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ ซึ่งตรงกับวันที่ 19 ตุลาคม ของทุกปี รับทุนวิจัยประเภทต่างๆ ของ สกว. สวทช. และส�ำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เพื่อผลิตงาน
วิจัยที่มีคุณค่าให้ประเทศสืบต่อไป

86 87
ใบอนุญาตจัดตั้ง หนังสือให้อ�ำนาจจัดตั้ง
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

ด้านหน้า

ด้านหลัง

88 89
หนังสือพระราชทานพระมหากรุณาให้ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็ นองค์ ก ารหรื อสถานสาธารณกุ ศล ล� ำ ดั บที่ 481 ของประกาศกระทรวงการคลั ง

90 91
รายงานผลการด�ำเนินงาน ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 การเข้ารับพระราชทาน
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ.2561

การวางพานพุ่มถวายราชสักการะในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ การเข้ารับพระราชทานรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำ


ในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ วันที่ 18 สิงหาคม 2561 รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพากร ลิมปเสนีย์ ปี พ.ศ.2561 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานโล่รางวัลแก่
เหรัญญิกและกรรมการมูลนิธิฯ ร่วมพิธีถวายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 ในวันที่ 29 ตุลาคม
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2561 ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44
(วทท.44) ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

งานแถลงข่าว/ งานเลี้ยงแสดงความยินดี
แก่นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2561
มูลนิธิฯ ได้จัดงานแถลงข่าวรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท
เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร และมูลนิธิฯ ร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ
ได้ จั ด งานเลี้ ย งแสดงความยิ น ดี แ ก่ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ในวั น ที่ 18 สิ ง หาคม พ.ศ. 2561
ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร การบรรยายของนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
ประจ�ำปี พ.ศ. 2561
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 ได้แก่
1) ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ดี เ ด่ น ให้ ก ารบรรยายเมื่ อ
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ในการประชุมวิชาการ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44
รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 ได้แก่ (วทท. 44) ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค
1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจ้าทรัพย์ บุญมาก บางนา กรุงเทพมหานคร
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2) ดร.จุฬารัตน์ วัฒนกิจ
ส�ำนักวิชาวิทยาการพลังงาน
สถาบันวิทยสิริเมธี
92 93
การวางพานพุ่ม งานแถลงข่าว/ งานเลี้ยงแสดงความยินดีแก่
ถวายราชสักการะในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ นักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2561

ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2561 รองศาสตราจารย์ ดร.นภาวรรณ มูลนิธิฯ ร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ ได้จัดงานประกาศผลรางวัลและร่วมแสดงความ
นพรัตนราภรณ์ ที่ปรึกษามูลนิธิมูลนิธิฯ ร่วมพิธี ถวายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาท ยินดีแก่ผู้ที่ได้รับรางวัล นักเทคโนโลยีดีเด่นและนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 เมื่อวัน
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และถวายสดุดีเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ณ ห้องแอทธินี คริสตัล ฮอลล์ ชั้น 3 โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล
มหาภูมิพลอดุลยเดช พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย ณ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เมอริเดียน กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร

94 95
การเข้ารับพระราชทาน
รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2561

รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 มี 1 รางวัล ดังนี้


1) คุณสุวัฒน์ รติวัชรากร และ คณะแผนกระบบควบคุมเครื่องจักรไฟฟ้า กองเครื่องจักรไฟฟ้า
ฝ่ายบ�ำรุงรักษาไฟฟ้า ส�ำนักงาน กฟผ. ไทรน้อย ผลงาน “ระบบควบคุมแรงดันของเครื่องก�ำเนิด
ไฟฟ้าแบบ Redundancy”

รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 มี 1 รางวัล ดังนี้


1) ดร.ธิดารัตน์ นิ่มเชื้อ
ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีเอนไซม์ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์และชีวเคมีภัณฑ์
ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ผลงาน “เอนอีซ เอนไซม์อัจฉริยะเพื่อกระบวนการการผลิตสิ่งทอที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานโล่รางวัลแก่นกั เทคโนโลยี
ดี เ ด่ น และนั ก เทคโนโลยี รุ่ น ใหม่ ประจ� ำ ปี พ.ศ. 2561 ในเมื่ อ วั น ที่ 29 ตุ ลาคม พ.ศ. 2561
ในการประชุ ม วิ ชาการวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ประเทศไทย ครั้ ง ที่ 44 (วทท. 44)
ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

96 97
ความเป็นมา

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มด�ำเนินงานโครงการ
รางวัล “นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น” มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 และโครงการรางวัล “นักวิทยาศาสตร์
รุน่ ใหม่” ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2534 โดยหวังว่ารางวัลอันทรงเกียรติน ี้ จะเป็นแรงกระตุน้ ให้นกั วิทยาศาสตร์
ไทย มีก�ำลังใจในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ และเป็นเป้าหมายที่เยาวชน
จะพึงมุ่งพัฒนาตนให้เป็นก�ำลังด้านวิทยาศาสตร์และและเทคโนโลยีของประเทศในอนาคต
อย่างไรก็ดี ปัจจุบนั การพัฒนาเทคโนโลยีในโลกเป็นไปด้วยอัตราทีส่ งู มาก ท�ำให้ประเทศไทย
อยู่ในสภาพที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศและขาดอ�ำนาจการต่อรอง มูลนิธิฯ เห็นความ
จ�ำเป็นต้องกระตุ้นอัตราการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อลดปัญหาดังกล่าวของประเทศอย่างเร่งด่วน
จึงสถาปนาโครงการรางวัล “นักเทคโนโลยีดีเด่น” และรางวัล “นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่” ขึ้นขนาน
กับรางวัลทางวิทยาศาสตร์ โดยได้รบั การสนับสนุนจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) และได้เริ่มด�ำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2543

นิยาม

เทคโนโลยี คือ สิ่งที่เพิ่มขีดความสามารถของมนุษย์ในการท�ำกิจกรรมใดๆ เริ่มตั้งแต่การ


พัฒนาเครื่องมือก้อนหินสมัยโบราณ เครื่องมือเหล็กในสมัยเหล็ก เครื่องจักรไอน�้ำ เครื่องไฟฟ้า
ตลอดจนเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือเครื่องจักรเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์เชิงอุตสาหกรรมต่างๆ
และรวมถึงเทคโนโลยีรุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบัน เช่น เทคโนโลยีทางวัสดุ เทคโนโลยีทางการเกษตร
พันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีทางการแพทย์

99
ขั้นตอนการสรรหาและเกณฑ์การพิจารณา
นักเทคโนโลยีดีเด่นและนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่

การสรรหา เกณฑ์การพิจารณา
คณะท�ำงานรางวัลนักเทคโนโลยีดเี ด่น ด�ำเนินการประชาสัมพันธ์รางวัลนักเทคโนโลยีดเี ด่น คณะกรรมการจะพิจารณาผลงานที่เสนอตามเกณฑ์ต่อไปนี้
ให้แก่หน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดยจะเชิญบุคลากรหรือองค์กรต่างๆ ได้แก่ หน่วยงาน 1) ปริมาณเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นในประเทศไทยหรือโดยคนไทย (Technology Content)
วิจัยและพัฒนา หน่วยงานสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาของภาครัฐ มหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและ 2) ระดับของการพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Readiness Level) ได้แก่ระดับ Concept,
เอกชนในประเทศ บริษัทเอกชน สภาและสมาคมวิชาชีพ สมาคมธุรกิจต่างๆ ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน Formulation, Lab Demonstration, Engineering Prototype และ Full Operation
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ และผู้ที่เคยได้รับรางวัลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3) ผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตร์และสังคมของเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นหรือศักยภาพที่จะท�ำให้
เพือ่ เสนอชือ่ ผูท้ เี่ ห็นควรได้รบั การยกย่องเป็นนักเทคโนโลยีดเี ด่น และนักเทคโนโลยีรนุ่ ใหม่ การสมัคร เกิดขึ้น (Impact)
โดยเสนอส่ ง ผลงานต่ อ คณะกรรมการผ่านทาง http://www.promotion-scitec.or.th/
และอีเมล์ thaitechaward@gmail.com โดยรางวัลนักเทคโนโลยีดเี ด่นจะต้องได้รบั การเสนอชือ่ รางวัล
จากบุคคลอื่นเท่านั้น ส่วนรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ (อายุไม่เกิน 38 ปี) สามารถสมัครได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
ด้วยตนเองหรือโดยการเสนอชื่อจากบุคคลอื่น พระบรมราชานุญาตให้โครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ใช้ “เรือใบ
ภายหลั ง ปิ ด รั บ สมัคร คณะท�ำงานฯ จะรวบรวมรายชื่อผู้เสนอผลงานเข้ารับรางวัล ซุปเปอร์มด” ซึ่งเป็นผลงานของพระองค์ท่านที่แสดงถึงการพัฒนาการให้เกิดประสิทธิภาพการใช้
นักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ และเสนอต่อคณะกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดี งานทีเ่ ป็นเลิศ เป็นแบบฉบับกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างครบวงจร โดยนักเทคโนโลยีดเี ด่น
เด่นฯ อันประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิในเทคโนโลยีด้านต่างๆ หลากหลายสาขาจากหน่วยงานทั้ง จะได้รบั ประติมากรรมเรือใบซุปเปอร์มด และนักเทคโนโลยีรนุ่ ใหม่จะได้รบั เหรียญเรือใบซุปเปอร์มด
ภาครัฐและเอกชน โดยครอบคลุมผลงานที่ส่งเข้ามาทั้งหมด เพื่อพิจารณากลั่นกรองเบื้องต้น และ
เสนอผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางเพื่อเป็นผู้ประเมินโครงการที่เสนอขอรับรางวัล ประเภทของรางวัล
3 ท่านต่อโครงการ เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิได้ประเมินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะน�ำผลที่ได้มาประมวลผล รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น เงินรางวัลรวม 1,000,000 บาท
อภิปราย และจัดล�ำดับโครงการที่มีศักยภาพสูง และคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาเฉพาะทางให้ รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ เงินรางวัลรวม 200,000 บาท
ความเห็นเพิ่มเติม รวมถึงการเข้าชมเทคโนโลยี ณ สถานที่ปฏิบัติงานของผู้เสนอผลงานเพื่อรับ * ทางคณะกรรมการฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณารางวัลและเงินรางวัลให้ตามความเหมาะสม
ทราบข้อมูลเพิ่มเติมซึ่งช่วยให้การพิจารณามีความถูกต้องแม่นย�ำมากขึ้น ก่อนจะมีการพิจารณา
คัดเลือกผู้สมควรได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ส�ำหรับปี 2562

100 101
รายนามนักเทคโนโลยีดีเด่น ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน
(Lists of Outstanding Technologists)
2547 1. กลุม่ นักเทคโนโลยีดเี ด่น บริษทั ไทยออพติคอล
กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออพติคอล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)
ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน • นายสาโรจน์ ประจักษ์ธรรม บริษัท ไทยออพติคอลกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)
• นายธรณ์ ประจักษ์ธรรม บริษัท ไทยออพติคอลกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)
2545 1. กลุม่ พัฒนาการใช้ประโยชน์เถ้าลอยลิกไนต์ไทย • นายธีรชัย สุรวัฒนกุล บริษัท ไทยออพติคอลกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)
• รองศาสตราจารย์ ดร.พิชัย นิมิตยงสกุล สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย 2. นายปิยะ จงวัฒนา บริษัท พัฒน์กล จ�ำกัด (มหาชน)
• รองศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
• นายสมชัย กกก�ำแหง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2548 1. กลุม่ นักเทคโนโลยีดเี ด่น “การพัฒนาเทคโนโลยีฟลิ ม์บรรจุภณ
ั ฑ์แอคทีฟส�ำหรับยืดอายุผกั และผลไม้สด”
• รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก ตั้งเติมสิริกุล สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร • ดร.วรรณี ฉินศิริกุล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• รองศาสตราจารย์ ดร.ชัย จาตุรพิทักษ์กุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • ดร.อศิรา เฟื่องฟูชาติ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• นางวราภรณ์ คุณาวนากิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาณี ชนเห็นชอบ ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ มหาวิทยาลั เกษตรศาสตร์
• นายสุรเชษฐ์ จึงเกษมโชคชัย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2. รองศาสตราจารย์ นพ.ประกิต เทียนบุญ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• รองศาสตราจารย์ ดร.ไกรวุฒิ เกียรติโกมล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
• ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เอนก ศิริพานิชกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2549 1. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น “กลุ่มห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพทางอาหาร”
• รองศาสตราจารย์ ดร.บุญไชย สถิตมั่นในธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ดร.รุจ วัลยะเสวี ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
• รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา เกษมเศรษฐ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ไบโอเทค) สวทช.
• รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ สุวรรณวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ดร.พงษ์สุดา ผ่องธัญญา ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
• รองศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล สัจจวาณิชย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ไบโอเทค) สวทช.
2. ศาสตราจารย์ ดร.เมธี เวชารัตนา New Jersey Institute of Technology • ดร.วรรณพ วิเศษสงวน ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
(ไบโอเทค) สวทช.
2546 1. กลุม่ พัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ อุตสาหกรรมกุง้ กุลาด�ำ • ดร.เวทชัย เปล่งวิทยา ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
• ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (ไบโอเทค) สวทช.
• ศาสตราจารย์ ดร.สกล พันธุ์ยิ้ม มหาวิทยาลัยมหิดล • ดร.เพลินพิศ ลักษณะนิล ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
• ศาสตราจารย์ ดร.บุญเสริม วิทยช�ำนาญกุล มหาวิทยาลัยมหิดล (ไบโอเทค) สวทช.
• ศาสตราจารย์ ดร.ทิมโมที เฟลเกล มหาวิทยาลัยมหิดล • ดร.นิภา โชคสัจจะวาที ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
• ศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ทัศนาขจร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ไบโอเทค) สวทช.
• ศาสตราจารย์ ดร.ชัยณรงค์ วงศ์ธีรทรัพย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ • นางปรีณาภา เทพกสิกุล ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
• ดร.ศิราวุธ กลิ่นบุหงา ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ (ไบโอเทค) สวทช.
แห่งชาติ • นางสาวมณชยา รัตนประเสริฐ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
2. ศาสตราจารย์ นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล มหาวิทยาลัยมหิดล (ไบโอเทค) สวทช.
3. รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา ฐิติมัชฌิมา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ • นางสาวศรีอนันต์ วรรณเสน ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ทหารลาดกระบัง (ไบโอเทค) สวทช.
2. รองศาสตราจารย์ ดร.ไสยวิชญ์ วรวินิต คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

102 103
ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน

2550 1. กลุม่ นักเทคโนโลยีดเี ด่น “กลุม่ เทคโนโลยีการค�ำนวณเพือ่ วิเคราะห์และออกแบบทางวิศวกรรม” 2551 • ดร.ราชพร เขียนประสิทธิ์ ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็คทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
• ศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ เดชะอ�ำไพ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เนคเทค) สวทช.
(เอ็มเทค) สวทช. • นาวสาวชวนชม อ่วมเนตร ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ลิ่มตระการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • นายธรรมรักษ์ สุขสมทรง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• ดร.ชินะ เพ็ญชาติ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นางสุรีย์รัตน์ จิตตเมตตากุล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
(เอ็มเทค) สวทช.
• ดร.นิพนธ์ วรรณโสภาคย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 1. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น “กลุ่มเทคโนโลยีโรงเรือนปุ๋ยสั่งตัด เพื่อการผลิตพืชอย่างยั่งยืน”
• ดร.สุทธิศักดิ์ พงศ์ธนาพานิช สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • ศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• ดร.สุวัฒน์ จีรเธียรนาถ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิบูลย์ กังแฮ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(เอ็มเทค) สวทช. • ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชัยฤกษ์ สุวรรณรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• นางสาวฝอยฝน ศรีสวัสดิ์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • ดร.เสาวนุช ถาวรพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(เอ็มเทค) สวทช. • ดร.บุรี บุญสมภพพันธ์ กรมพัฒนาที่ดิน
• นายธนสาร อินทรก�ำธรชัย ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นายสหัสชัย คงทน กรมพัฒนาที่ดิน
(เอ็มเทค) สวทช. • นายชัยรัตน์ วรรณรักษ์ กรมพัฒนาที่ดิน
• นายศกร ปทุมวัลย์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นายทวีศักดิ์ เวียรศิลป์ กรมพัฒนาที่ดิน
(เอ็มเทค) สวทช. • นายอัธยะ พินจงสกุลดิษฐ กรมพัฒนาที่ดิน
• นายเสฏฐวรรธ สุจริตภวัตสกุล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นายเจตน์ ล่อใจ กรมพัฒนาที่ดิน
(เอ็มเทค) สวทช. • นายหริ่ง มีสวัสดิ์ กรมวิชาการเกษตร
• นายชัยวิวัฒน์ เกยูรธ�ำรงค์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นายสันติ ธีราภรณ์ กรมวิชาการเกษตร
(เอ็มเทค) สวทช. • นายบุญช่วย สงฆนาม กรมวิชาการเกษตร
• นายปิยพงศ์ เปรมวรานนท์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นายนิตย์ วงษา กรมวิชาการเกษตร
(เอ็มเทค) สวทช. • นายประดิษฐ์ บุญอ�ำพล กรมวิชาการเกษตร
2. รองศาสตราจารย์ ทพ.ดร. ปิยวัฒน์ พันธุ์โกศล คณะทันตแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • นายวีรวัฒน์ นิลรัตนคุณ กรมวิชาการเกษตร
• นายสุกิจ รัตนศรีวงศ์ กรมวิชาการเกษตร
2551 1. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น “กลุ่มเทคโนโลยีโรงเรือนเพื่อเพิ่มผลิตภาพของพืชผล” • นายกู้เกียรติ สร้อยทอง กรมส่งเสริมการเกษตร
• ดร.จิตติ์พร เครือเนตร ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นายณรงค์ วุฒิวรรณ กรมส่งเสริมการเกษตร
(เอ็มเทค) สวทช. • นายปรีชา สมบูรณ์ประเสริฐ กรมส่งเสริมการเกษตร
• ดร.ธรรมรัตน์ ปัญญธรรมาภรณ์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นางจันทร์จิรา สุนทรภัทร์ กรมส่งเสริมการเกษตร
(เอ็มเทค) สวทช. • นางสาวอรุณี เจริญศักดิ์ศิริ กรมส่งเสริมการเกษตร
• ดร.วิโรจน์ ลิ่มตระการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • นางสาวชัญญา ทิพานุกะ กรมส่งเสริมการเกษตร
• ดร.ธนศาสตร์ สุขศรีเมือง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ • นายรังสรรค์ กองเงิน กรมส่งเสริมการเกษตร
(เอ็มเทค) สวทช. • นายอานันท์ ผลวัฒนะ กรมการข้าว
• ดร.อุทัย วิชัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร • นางสาวสมจิต คันธสุวรรณ กรมการข้าว
• นายคงพันธ์ รุ่งประทีปถาวร ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็คทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ • นายปัญญา ร่มเย็น กรมการข้าว
แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. • ดร. นิวัฒน์ นภีรงค์ กรมการข้าว
104 105
ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน

2552 • นายเฉลิมชาติ ฤาไชยคาม กรมการข้าว 2554 1. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น “การพัฒนาการผลิตไรฝุ่นและวัคซีนไรฝุ่นสู่ภาคอุตสาหกรรม”


• นางไพลิน รัตน์จันทร์ กรมการข้าว • รองศาสตราจารย์ วรรณะ มหากิตติคุณ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
• นางสาวนลินี เจียงวรรธนะ กรมการข้าว • ศาสตราจารย์ พญ.นวลอนงค์ วิศิษฏสุนทร คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
• ดร.ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน • ศาสตราจารย์เกียรติคณ
ุ พญ.ฉวีวรรณ บุนนาค คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
2. รองศาสตราจารย์ นพ.สิทธิพร บุณยนิตย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • รองศาสตราจารย์ ดร. พญ.อัญชลี ตัง้ ตรงจิตร คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
• ดร.นิทัศน์ สุขรุ่ง คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
2553 1. 1. กลุม่ นักเทคโนโลยีดเี ด่น “หน่วยปฏิบตั กิ ารค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว” • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐ มาลัยนวล คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แ ละศู น ย์ พั น ธุ วิ ศ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ • นายธีรพงษ์ วางอภัย คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
• รองศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นางสาวประภากร นิลสนิท คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
• ดร.สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว 2. ดร.เกรียงไกร สุขแสนไกรศร ฝ่ายวิศวกรรมและเทคนิค บริษทั เอสซีจี ซิเมนต์ จ�ำกัด
• ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว
• ดร.วินิตชาญ รื่นใจชน หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว 2555 1. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น “เทคโนโลยีการตรวจวัดคุณภาพของอะลูมิเนียมเหลว
• นายวินธัย กมลสุขยืนยง หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว ส�ำหรับการผลิตงานหล่อคุณภาพ”
• นายเอกวัฒน์ ไชยชุมภู หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • ดร.จุลเทพ ขจรไชยกุล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• นายศิริพัฒน์ เรืองพยัคฆ์ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นายอมรศักดิ์ เร่งสมบูรณ์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• นายเกียรติพงศ์ คัมภีรศาสตร์ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นายสมภพ เพชรคล้าย ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• นายมีชัย เซี่ยงหลิว หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นายฤทธิไกร สิริชัยเวชกุล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• Dr.Jonaliza Lanceras-Siangliw หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นายวิทยา สามิตร ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• นายไวพจน์ กันจู หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นายนครินทร์ มูลรินทร์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
• นางสาวกาญจนา ปัญญาแวว หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว 2. รองศาสตราจารย์ ดร. นพ.นพพร สิทธิสมบัติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• นายศิวเรศ อารีกิจ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว
• นางสาวนงนาถ พ่อค้า หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว 2556 1. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น “รถตัดอ้อยที่มีกระบะบรรจุท่อนอ้อยท�ำงานแบบอัตโนมัติ”
• นายอนุชา พลับพลา หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นายสามารถ ลี้ธีระนานนท์ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด สามารถเกษตรยนต์
• นางสาวสุภาพร พรหมพันธุ์ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นายวิฑูร ลี้ธีระนานนท์ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด สามารถเกษตรยนต์
• นายเอกพล ภูวนารถนฤบาล หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว 2. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น “การวิจัยพัฒนาและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีจีโนม :
• นางสาวกฤตยา สายสมัย หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว เทคโนโลยีฐานจีโนมิกส์กับการตรวจสอบจีโนมอย่างรวดเร็วเพื่อช่วยควบคุมคุณภาพสินค้าใน
• นายวิศวรุต สุขเกตุ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว การส่งออกอาหารและการปรับปรุงพันธุ์พืชอายุยืนแบบก้าวกระโดด”
• นางสาวชนากานต์ วงษาพรหม หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • ดร.สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ
• นายเรวัติ สุวิมล หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว แห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช.
• นายสุพัฒน์ ทองเจือ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว • นางสาววิรัลดา ภูตะคาม สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ
แห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช.
• ดร.สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ
แห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช.
• นางสาวนุกูล จอมชัย สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ
แห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช.
106 107
ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน

2556 • นางสาวทิพวัลย์ อยู่ชา สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี 2557 1. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น “การพัฒนาการผลิตไรฝุ่นและวัคซีนไรฝุ่นสู่ภาคอุตสาหกรรม”


ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. • ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• นายเจอร์มี เชียร์แมน สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี • นายไพบูลย์ บุญลิปตานนท์ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. • นายอาคม สิงหบุญ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• นางปัณฑิตา เรืองอารีย์รัตน์ สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี • นางสาววรรเพ็ญ ค�ำมี กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. • นางสาวพัชรี ซุ่นสั้น กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• นางสาวพิชาภัค อุทัยไพศาลวงศ์ สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี • นายธวัช ศรีวีระชัย กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. • นายไวยพจน์ เครือเสน่ห์ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• นางสาวสุธาสินี สมยง สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี • นางฉันทนา แก้วตาปี กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. • นางพิชญา ชัยนาค กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• นางดวงใจ แสงสระคู สถาบันจีโนม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี • นายยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. • นายอัตรา ไชยมงคล กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• รศ.ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • นายพุทธ ส่องแสงจินดา กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เกษตรศาสตร์ • นางภมรพรรณ ฉัตรภูมิ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• นางสาวอภิวรรณ อยู่จินดา ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • นางพรทิพย์ ทองบ่อ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เกษตรศาสตร์ • นางสาวปริศนา คลิ้งสุขคล้าย กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• นางขันติพร นาถวรานันต์ ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • นายสง่า สิงห์หงส์ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เกษตรศาสตร์ • นายชัยยุทธ พุทธิจุน กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• นางสาวจรรญา ฝ่าผล ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย 2. รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา วรรณสินธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เกษตรศาสตร์
• นายนิวัฒน์ ปุริสังข์ ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย 2558 1. กลุ่มนักเทคโนโลยีดีเด่น ”Platinum Mortar การวิจัยและพัฒนา ปูนซีเมนต์ส�ำเร็จรูปป้องกัน
เกษตรศาสตร์ การแตกร้าวเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น”
• นายถิระ ภมรพล ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • คุณอ้อมใจ ปิ่ณฑะแพทย์ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
เกษตรศาสตร์ • คุณวรรณจนา วรรณะพาหุณ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
• นายฝุก เซี่ยงฉิน ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • คุณภูวนารถ ตุลยาทร บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
เกษตรศาสตร์ • คุณวุฒินันท์ เจียวิทยนันท์ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
• นางสาวอัญชลี ลิ้มอ�ำนวย ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • คุณธีระยุทธ พันธ์มีเชาว์ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
เกษตรศาสตร์ • คุณปาลิดา วรวุฒิคุณา บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
• นางสาวสกุณา พิมพิสาร ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • คุณพัฐสุดา วิชัยค�ำ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
เกษตรศาสตร์ • คุณสุภาภรณ์ แสงทรัพย์ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
• นางสาวอมรรัตน์ ปาละมะ ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • คุณพัชราวิไล พงวิชุลลดา บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
เกษตรศาสตร์ • คุณภราดร เลียวฤวรรณ์ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด
• นายมนัญ วิมูลชาติ ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย • คุณมนตรี ศรีจันทร์ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จ�ำกัด

108 109
ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน

2559 1. รองศาสตราจารย์ ดร.วีระศักดิ์ สุระเรืองชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2562 2. กลุม่ นักเทคโนโลยีดเี ด่น “แพลตฟอร์มเทคโนโลยีฐานด้าน การบูรณาการระบบ (System Instegration)
2. รองศาสตราจารย์ ดร.มัลลิกา อิ่มวงศ์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่องานหุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์ ส�ำหรับใช้งานในระบบอุตสาหกรรม 4.0
(CiRACORE)”
2560 1. ศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • รองศาสตราจารย์ ดร.ดร.ศิริเดช บุญแสง วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง (สจล.)
• ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สันทัด ชูวงค์อนิ ทร์ วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง (สจล.)
2561 1. กลุ
ม่ นักเทคโนโลยีดเี ด่น “ระบบควบคุมแรงดันของเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าแบบ Redundancy” • ดร.คมกฤษ จักษุค�ำ วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง (สจล.)
• นายสุวัฒน์ รติวัชรากร ฝ่ายบ�ำรุงรักษาไฟฟ้า ส�ำนักงาน กฟผ.ไทรน้อย • นายธีรวัฒน์ ทองลอย วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง (สจล.)
• นายธนบดี ดวงสร้อยทอง ฝ่ายบ�ำรุงรักษาไฟฟ้า ส�ำนักงาน กฟผ.ไทรน้อย • นายนฤชิต สร้อยเพชร วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง (สจล.)
• นายฐิติวัฒน์ วิวัฒน์วิศวกร ฝ่ายบ�ำรุงรักษาไฟฟ้า ส�ำนักงาน กฟผ.ไทรน้อย • นางสาวญาตินันท์ ทันวงษา วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง (สจล.)

2562 1. กลุม่ นักเทคโนโลยีดเี ด่น “เครือ่ งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สามมิตแิ บบล�ำรังสีทรงกรวย”


• ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• ดร.เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• ดร.กฤษณ์ไกรพ์ สิทธิเสรีประทีป ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• ดร.พสุ สิริสาลี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• ดร.วลิตะ นาคบัวแก้ว ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• ดร.อุดมชัย เตชะวิภู ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายสรพงศ์ อู่ตะเภา ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายธนพล ศรีวงษา ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายอัฐศักดิ์ เกียงเอีย ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นางสาวชาลินี ธนทรัพย์สมบัติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายก้องยศ วังคะออม ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายกิตติ ขุนสนิท ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นางสาวนภวรรณ กังสัมฤทธิ์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นางสาวดวงกมล บรรณสาร ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายจตุรงค์ จิตต์สะอาด ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายทศพล จันทร์คีรี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายสุรพล ฉันทวีโรจน์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• ดร.ดนุ พรหมมินทร์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• นายปริญญา จันทร์หุณีย์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

110 111
รายนามนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน
(Lists of Young Technologists)
2553 1. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. โชติรตั น์ รัตนามหัทธนะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิมทอง ทองนพคุณ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
ปี พ.ศ. ชื่อ มหาวิทยาลัย/หน่วยงาน 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยอดเยี่ยม ทิพย์สุวรรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2545 1. รองศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2554 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภินิติ โชติสังกาศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. นายธนดล สัตตบงกช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. ดร. นิศรา การุณอุทัยศิริ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
(ไบโอเทค) สวทช.
2546 1. ดร. จันทร์จิรา สินทนะโยธิน ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. 2555 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชินวัชร์ สุรัสวดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
2. ดร. ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. 2556 1. ดร. บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2547 1. ดร. อดิสร เตือนตรานนท์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ 2557 1. ดร. ปราการเกียรติ ยังคง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. 2. ดร. บรรพท ศิริเดชาดิลก หน่วยเทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์
2. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

2548 1. รองศาสตราจารย์ ดร. จิตต์ลดั ดา ศักดาภิพาณิชย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558 1.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนันท์ บุญยงมณีรัตน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2549 1. รองศาสตราจารย์ ดร. วิมลวรรณ พิมพ์พันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2559 1. รองศาสตราจารย์ ดร.พานิช อินต๊ะ วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ
2. นายทนงศักดิ์ มูลตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา

2550 1. ดร. กิติกร จามรดุสิต มหาวิทยาลัยมหิดล 2560 1. ดร.วิรัลดา ภูตะคาม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ


2. ดร. สุรพิชญ ลอยกุลนันท์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช.
(เอ็มเทค) สวทช.
2561 1. ดร.ธิดารัตน์ นิ่มเชื้อ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
2551 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ. ตวงสิทธิ์ วัฒกนารา มหาวิทยาลัยมหิดล (ไบโอเทค) สวทช.
2. ดร. เสาวภาคย์ โสตถิวิรัช ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. 2562 ไม่มีผู้ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่

2552 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจษฎา วรรณสินธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


2. ดร. ฉันท์ทิพ ค�ำนวณทิพย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

112 113
คณะกรรมการ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

ที่ปรึกษา ผู้ช่วยกรรมการ
1) นายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 1) คุณวิมลพร ใบสนธิ์ ผู้ช่วยกรรมการมูลนิธิ
2) ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2) คุณบ�ำรุง ไตรมนตรี ผู้ช่วยกรรมการมูลนิธิ
3) ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั
4) ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมแห่งชาติ
ประธานกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5) ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6) ดร. กอปร กฤตยากีรณ ในพระบรมราชูปถัมภ์
7) ดร. อาชว์ เตาลานนท์ 1) นายบุญเยี่ยม มีศุข 2526 – 2538
8) คุณยุทธนา เจียมตระการ 2) ศาสตราจารย์ ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต 2539 – 2549
3) ดร. กอปร กฤตยากีรณ 2549 – 2554
4) ศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ 2554 – 2557
กรรมการ 5) รองศาสตราจารย์ ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน 2557 – ปัจจุบัน
1) รองศาสตราจารย์ ดร. ศักรินทร์ ภูมริ ตั น ประธานกรรมการ
2) ศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ กรรมการ
ประธานกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
3) รองศาสตราจารย์ ดร. ก�ำจัด มงคลกุล กรรมการ
1) ศาสตราจารย์ ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต 2525 – 2535
4) ศาสตราจารย์ ดร. วันเพ็ญ ชัยค�ำภา กรรมการ
2) ดร. กอปร กฤตยากีรณ 2536 – 2538
5) รองศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ กรรมการ
3) ศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ 2539 – 2542
6) ศาสตราจารย์ นพ. วิจารณ์ พานิช กรรมการ
4) ศาสตราจารย์ นพ. วิจารณ์ พานิช 2543 – 2546
7) ศาสตราจารย์ ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ กรรมการ
5) ศาสตราจารย์ ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์ 2547 – 2553
8) ศาสตราจารย์ ดร. อภิชาต สุขส�ำราญ กรรมการ
6) ศาสตราจารย์ ดร. อมเรศ ภูมิรัตน 2554 – 2557
9) รองศาสตราจารย์ ดร. ก�ำธร ธีรคุปต์ กรรมการ
7) ศาสตราจารย์ ดร. จ�ำรัส ลิ้มตระกูล 2558 – ปัจจุบัน
10) ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ บัวรอง ลิว่ เฉลิมวงศ์ กรรมการ
11) ดร. กัญญวิมว์ กีรติกร กรรมการ
12) ศาสตราจารย์ ดร. จ�ำรัส ลิม้ ตระกูล กรรมการและประธานโครงการรางวัล ประธานกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น
13) นายสัตวแพทย์ รุจเวทย์ ทหารแกล้ว นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น 1) ดร. วิโรจน์ ตันตราภรณ์ 2544 – 2548
กรรมการและประธานโครงการรางวัล 2) ศาสตราจารย์ นพ. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล 2549 – 2553
14) รองศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร ลิมปเสนีย์ นักเทคโนโลยีดีเด่น 3) รองศาสตราจารย์ ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน 2554 – 2557
กรรมการและเหรัญญิก 4) นายสัตวแพทย์ รุจเวทย์ ทหารแกล้ว 2558 – ปัจจุบัน
15) ศาสตราจารย์ ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์ กรรมการและเลขานุการ

114 115
คณะผู้จัดท�ำ

ผู้แต่ง
ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ดร.เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ดร.กฤษณ์ไกรพ์ สิทธิเสรีประทีป ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รศ.ดร.ศิริเดช บุญแสง และคณะ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

เรียบเรียง
MR. TERRENCE HENRY COMMINS นางสาวสุภาพรรณ จงจตุรโชค
นางสาววิชชุดา เจริญราษฎร์ นางสาวกรรณิการ์ ส่องจ้า

พิมพ์ที่ ชื่อหนังสือ
บริษัท แพนแปซิฟิค ปรินติ้ง จ�ำกัด รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและ
272 ซอยวัดจันทร์นอก ถนนพระราม 3 นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจ�ำปี
แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม พ.ศ. ๒๕๖๒
กรุงเทพมหานคร 10120
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่พิมพ์
โทรศัพท์ 0-2689-3994-5, โทรสาร 0-2689-3996
พ.ศ. 2562 ครั้งที่ 1

จัดท�ำโดย
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

116
WORLD

You might also like