Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 386

1

แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺนูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย์
กับการประยุกต์ ใช้ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
Educational Thoughts of Muhammad Bin Sahnun and Burhanuddin al-Zarnuji
and Their Application in Islamic Private Schools

อาหะมะ คาเด
Ahama Kaday

วิทยานิพนธ์ นี้สาหรับการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต


สาขาวิชาอิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
A Thesis Submitted in Fulfillment of the Requirements for the Degree of
Doctor of Philosophy in Islamic Studies
Prince of Songkla University
2559
ลิขสิ ทธิ์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2

ชื่อวิทยานิพนธ์ แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียก์ บั การ


ประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ผู้เขียน นายอาหะมะ คาเด
สาขาวิชา อิสลามศึกษา

อาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ หลัก คณะกรรมการสอบ

......................................................................... ..................................................ประธานกรรมการ
(รองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต) (รองศาสตราจารย์ ดร.อับดุลเลาะ การี นา)

................................................................กรรมการ
(รองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต)

................................................................กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อะห์มดั ยีส่ ุ่ นทรง)

................................................................กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ)

................................................................กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อาหะมะกอซี กาซอ)

บัณฑิ ตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ อนุ มตั ิ ให้นับวิทยานิ พนธ์ ฉบับ นี้
สาหรับการศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา

............................................................
(รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระพล ศรี ชนะ)
คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย
3

ขอรับรองว่า ผลงานวิจยั นี้มาจากการศึกษาวิจยั ของนักศึกษาเอง และได้แสดงความขอบคุณบุคคลที่


มีส่วนช่วยเหลือแล้ว

ลงชื่อ..................................................................
(รองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต)
อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์หลัก

ลงชื่อ.......................................................
(นายอาหะมะ คาเด)
นักศึกษา
4

ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ผลงานวิจยั นี้ไม่เคยเป็ นส่ วนหนึ่งในการอนุมตั ิปริ ญญาในระดับใดมาก่อนและ


ไม่ได้ถูกใช้ในการยืน่ ขออนุมตั ิปริ ญญาในขณะนี้

ลงชื่อ ......................................................
(นายอาหะมะ คาเด)
นักศึกษา
5

ชื่อวิทยานิพนธ์ แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์


กับการประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ผู้เขียน นายอาหะมะ คาเด
สาขาวิชา อิสลามศึกษา
ปี การศึกษา 2558

บทคัดย่ อ
การวิจยั นี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาชี วประวัติของอิบนุ สะหฺ นูนและบุรฮานุ ด
ดีนอัลซัรณูญีย ์ 2) ศึกษาแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์
3) ศึกษาระดับความคาดหวังของครู สอนศาสนาอิสลามต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 4) ศึกษา
แนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมัหมั มัด บินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์
ในโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลาม โดยการเก็ บ ข้อ มู ล ทั้ง ในเชิ ง คุ ณ ภาพจากเอกสาร การ
สัมภาษณ์เชิ งลึ กและการสนทนากลุ่มผูท้ รงวุฒิจานวน 17 คน และเก็บข้อมูลเชิ งปริ มาณจากผูใ้ ห้
ข้อมูลหลักอีกจานวน 278 คน
ผลการวิจัยพบว่า
มุหมั มัด อิบนุ สะหฺ นุน คือ อบูอบั ดิลลาฮฺ มุหมั มัด บิน อบี สะอีด สะหฺ นูน บิน สะ
อีด บิน หะบี บ บิน หิ สาน บิน ฮิลาล บิน บักการ บิน เราะบี อะฮฺ อัตตะนู คียเ์ กิ ดในปี ฮ.ศ. 202 ใน
บ้านที่เต็มไปด้วยวิชาความรู ้ เกิดที่หมู่บา้ น เฆาะดัตในเมืองกอยเราะวานซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นหนึ่ งที่มีการ
แพร่ ขยายของมัซฮับ มาลิกียแ์ ละได้เสี ยชี วิตแทบชายฝั่งประเทศตูนิเซี ยในปี ฮ.ศ.256 หลังจากบิดา
ของท่านได้เสี ยชีวติ 16 ปี และได้ฝั่งศพในเมืองก็อยเราะวาน
คาว่า ซัรนูญีย ์ มาจากคาว่า ซัรนูจ ซึ่ งเป็ นชื่อหนึ่งของเมืองในเปอร์ เซี ย เมืองหลวง
ของแคว้น อัซซะจีสฐานในสมัยก่อน อัลซัรนูญียไ์ ด้เติบโตท่ามกลางของความหลากหลายทางด้าน
ความรู้ประเพณี และวัฒนธรรม และได้ซึมซับด้วยภาษาอาหรับและได้เสี ยชีวติ ในปี ที่ ฮ.ศ.591
แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หั ม มัด บิ น สะหฺ นู น เป็ นแนวคิ ด ที่ เ น้น การสอน
อัลกุรอานและคุณลักษณะของผูส้ อนที่ตอ้ งปฏิบตั ิต่อผูเ้ รี ยน และเป็ นแนวคิดที่ให้ความสาคัญทั้งใน
ด้านวัตถุประสงค์การศึกษา หลักสู ตร กระบวนการเรี ยนการสอน ผูส้ อนและผูเ้ รี ยน
แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาของบุ ร ฮานุ ด ดี น อัล ซัร นู ญี ย ์ เป็ นแนวคิ ด ที่ เ น้น ในเรื่ อ ง
กระบวนการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยน และเช่ นกันเป็ นแนวคิ ดที่ ให้ความสาคัญทั้งในด้านวัตถุ ประสงค์
6

การศึกษา หลักสู ตร กระบวนการเรี ยนการสอน ผูส้ อนและผูเ้ รี ยน ผลการศึกษาในเชิ งปริ มาณพบว่า


ความคาดหวังของครู อิสลามศึกษากับการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน
และบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนู ญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับความ
คาดหวังมาก
ส่ ว นผลการสั ง เคราะห์ ข้อ เสนอแนะจากผู้ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ กี่ ย วกับ แนวทางการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนู ญียใ์ นโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลามสรุ ปได้ดงั นี้ คือ 1) สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก เกี่ ยวกับ
แนวคิ ดทางการศึ ก ษาของ มุ หัม มัด บิ น สะหฺ นู นและบุ รฮานุ ด ดี น อัล ซัร นู ญีย ์ใ ห้ผูบ้ ริ หาร ฝ่ าย
วิช าการ ครู ผูส้ อน และผูเ้ รี ย น 2) จัดกิ จกรรมต่า งๆที่ มุ่ ง สร้ างความเข้า ใจเกี่ ย วกับแนวคิ ดทาง
การศึ กษาของ มุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญี 3) จัดนิ เทศให้กบั ผูบ้ ริ หารและ
ครู ผสู้ อน 4) สร้างแรงจูงใจและมอบรางวัลให้กบั คุณครู ในการจัดการเรี ยนการสอนที่ได้เน้นแนวคิด
ทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญีย ์ 5) จัดอมรมผูบ้ ริ หาร ฝ่ าย
วิชาการ ครู ผสู้ อนและผูเ้ รี ยนให้เข้าใจแนวคิดทางการศึกษามุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน
อัลซัรนูญีย ์ 6) ให้ชุมชน หรื อ หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทาหลักสู ตรที่เน้นแนวคิดทาง
การศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญีย ์ 7)โรงเรี ยนต้องส่ งเสริ มในการ
จัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิดของที่เน้นแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีน
อัลซัรนู ญียอ์ ย่างเต็มที่ 8) ผูบ้ ริ หารและครู ร่วมกันสร้ างหลักสู ตรที่เน้นแนวคิดทางการศึกษาของ
มุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญีย ์ 9) สร้างกระบวนการพัฒนาครู ให้เป็ นไปตาม
เนื้อหาของแนวคิดทางการศึกษาของ มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์ 10) ศึกษา
ดูงานตามสถานศึกษาต่างๆที่ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี น
อัลซัรนูญีย ์
7

Thesis Title Educational Thoughts of Muhammad Bin Sahnun and Burhanuddin


al-Zarnuji and Their Application in Islamic Private Schools
Author Ahama Kaday
Major Program Islamic Studies
Academic year 2015

ABSTRACT

This research aimed to study 1) Ibnu Sahnun and Burhanuddin al-zarnuji


biography 2) the educational concepts of Muhammad bin sahnun and Burhanuddin al-zarnuji
3) the religious teachers’ level of expectation towards Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin
al-zarnuji’s educational concepts application in Islamic private schools 4) the application methods
of Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin al-zarnuji’s educational concepts in Islamic private
schools. The qualitative data was collected from documents, in-depth interview, and group
discussion of 17 knowledgeable people and the quantitative data was from 278 key informants.

The research findings:


Muhammad ibnu Sahnun was Abu abdillah Muhammad bin Abi sa-id sahnun bin
Sa-id bin Habib bin Hisan bin Hilal bin Bakar bin Rabi-ah attanukhi, born in the year 202 A.H.
among academic atmosphere family in Gka-dad village, Querowan city. The Gka-dad village was
a spreading area of Mazhab Maliqi. He passed away in the coast of Tunisia in the year of 256
A.H. after 16 years of his father death. His graveyard was in Querowan.
The word zarnuji had the origin from zarnuj which was the name of a city in
Persia in which a capital city of Assajistan in the ancient times. Al-zarnuji had grown up among
diversity of traditions, cultures and knowledge and he was absorbed by Arabic language. He
passed away in the year of 591 A.H.
Muhammad bin sahnun’s educational concept emphasized on Quranic teachings
and required characteristics of the teachers for teaching students. Furthermore, his concept
concerned about the importance of study objectives, curriculum, teaching methods, teachers and
learners.
8

Burhanuddin al-zarnuji’s educational concept emphasized on learning method of


the learners and also concerned about the importance of study objectives, curriculum, teaching
methods, teachers and learners. The quantitative study result found that the expectation of Islamic
studies teachers on Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin al-zarnuji’s educational concepts
application in Islamic private schools for 5 aspects was at the very high level.
The synthesization of the suggestions from the knowledgeable people about the
application of Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin al-zarnuji’s educational concepts in
Islamic private schools can be summarized as follows;
1) establish the comprehension and awareness about Muhammad bin sahnun’s
and Burhanuddin al-zarnuji’s educational concepts for the school directors, academic section,
teachers and learners 2) operate diversity of learning activities to establish the comprehension
about Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin al-zarnuji’s educational concepts 3) supervise
the school directors and teachers 4) motivate and give the teachers presents for conducting
teaching and learning which emphasized on Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin
al-zarnuji’s educational concepts 5) conduct the training for the school directors, academic
section, teachers and learners to understand Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin al-
zarnuji’s educational concepts 6) allow community or organizations to participate in constructing
the curriculum emphasized on Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin al-zarnuji’s educational
concepts 7) the school must fully support learning which emphasized on Muhammad bin
sahnun’s and Burhanuddin al-zarnuji’s educational concepts 8) the school directors and teachers
cooperate to construct the curriculum emphasized on Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin
al-zarnuji’s educational concepts 9) construct the development procedure to develop teacher
according to Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin al-zarnuji’s educational concepts
10) conduct job observation trip to schools that apply Muhammad bin sahnun’s and Burhanuddin
al-zarnuji’s educational concepts.
‫‪9‬‬

‫األفكار الرتبوية عند حممد بن سحنون وبرهان الدين الزرنوجي وتطبيقها‬ ‫املوضوع‬
‫على املدارس اإلسالمية األهلية‬
‫أمحد كادي‬ ‫الباحث‬
‫الدراسات اإلسالمية‬ ‫القسم‬
‫‪2015‬م‬ ‫العام الدراسي‬

‫مستخلص البحث‬

‫يهدف هذا البحث إىل ‪ )1‬دراسة سرية حياة حممد بن سحنون وبرهان الدين الزرنوجي‬
‫‪ )2‬دراسة األفكار الرتبوية عند حممد بن سحنون وبرهان الدين الزرنوجي ‪ )3‬دراسة مدى توقعات معلمي‬
‫الرتبية اإلسالمية لتحقيقها وتطبيقها على املدارس اإلسالمية األهلية ‪ )4‬دراسة طرق تطبيقها على‬
‫املدارس اإلسالمية األهلية ملعلمي الرتبية اإلسالمية ويتم مجع املعلومات للمنهج النوعي من الكتب‬
‫والوثائق اليت ذات العالقة باملوضوع واملقابلة الشخصية املتعمقة وجمموعة الرتكيزعددهم ‪ 17‬شخصا وأما‬
‫بنسبة املنهج الكمي يتم مجع املعلومات عن طريق اإلستبانات جمموعهم ‪ 278‬شخصا‬
‫وتوصل البحث إىل النتائج كالتايل ‪:‬‬
‫حممد بن سحنون هو أبو عبد اهلل حممد بن سحنون بن سعيد بن حبيب بن حسان‬
‫بن هالل بن بكار بن ربيعة التنوخي ولد يف بيت علم عام ‪ 202‬هـ وهي مدينة غدت مركز اشعاع املذهب‬
‫املالكي يف مغرب وتويف ابن سحنون بالساحل سنة ‪ 256‬هـ بعد موت أبيه بست عشرة سنة فدفن‬
‫بالقريوان‪.‬‬
‫ينسب برهان الدين الزرنوجي لبلدة زرنج وهي مدينة يف بالد فارس وهي العاصمة‬
‫املقدسة السابقة إلقليم سجستان تثقف بالثقافة اإلسالمية القائمة على القرآن الكرمي واحلديث الشريف‬
‫والفقه – وخاصة الفقه احلنفي واللغة والشعر واألدب جبانب الثقافة الفارسية مبا فيها من أدب وحكمة‬
‫وفلسفة ومنطق وفلك وجنم وتويف سنة ‪ 591‬ه ـ‬
‫إ ن الفكرالرتبوي عند ابن سحنون يركز على تعليم القرآن الكرمي وآداب املعلم جتاه‬
‫املتعلم وكذلك يركز على فلسفة الرتبية وأهدافها واملنهاج وطرق التدريس وأساليبه وآداب املعلم واملتعلم‬
‫وأما بنسبة الفكر الرتبوي عند برهان الدين الزرنوجي يركز على طرق وأساليب التعلم‬
‫عند املتعلمني وكذلك يركز على فلسفة الرتبية وأهدافها واملنهاج وطرق التدريس وأساليبه وآداب املعلم‬
‫واملتعلم‬
‫‪10‬‬

‫وأما النتائج للبجث الكمي يظهر أن توقعات معلمي الرتبية اإلسالمية يف تطبيق‬
‫األفكار الرتبوية عند حممد بن سحنون وبرهان الدين الزرنوجي يف الدرجة العالية‬
‫وأما نتائج الرتكيب القراحات بعض اخلرباء واملشاهري يف جمال التعليم حول طرق‬
‫تطبيقها على املدارس اإلسالمية األهلية كما يلي ‪:‬‬
‫‪-1‬بناء الفهم والوعي حول األفكار الرتبوية عند حممد بن سحنون وبرهان الدين‬
‫الزرنوجي للمدبرين وقسم التعليم واملعلمني واملتعلمني‬
‫‪-2‬تكوين األنشطة اليت هتدف إىل خلق الوعي والفهم حول األفكار الرتبوية عند حممد‬
‫بن سحنون وبرهان الدين الزرنوجي‬
‫‪-3‬تقدمي احلوافز واملكافئات للمعلمني الذين ركزوا يف تدريسهم على األفكار الرتبوية‬
‫عند حممد بن سحنون وبرهان الدين الزنوجي‬
‫‪-4‬قيام الدورة الرتبوية حول األفكار الرتبوية عند حممد بن سحنون وبرهان الدين‬
‫الزرنوجي للمدبرين ومسئول قسم التعليم واملعلمني واملتعلمني‬
‫‪-5‬املسامهة من قبل اجملتمع والوكاالت اخلارجية يف اعداد املناهج الدراسية مع املدرسة‬
‫‪-6‬تقوم املدرسة بتعزيز تام على تطبيق األفكار الرتبوية عند حممد بن سحنون وبرهان‬
‫الدين الزرنوجي على املدرسة‬
‫‪-7‬املسامهة من قبل املدبرين واملعلمني يف اعداد املناهج اليت تركز على األفكار الرتبوية‬
‫عند حممد بن سحنون وبرهان الدين الزرنوجي‬
‫‪-8‬بناء وانشاء عملية تطوير املعلمني وفقا ملضمون األفكار الرتبوية عند حممد بن‬
‫سحنون وبرهان الدين الزرنوجي‬
‫‪-9‬تكوين الرحلة الدراسية إىل املدارس اليت طبقت يف تدريسها ومناهجها وفقا األفكار‬
‫الرتبوية عند حممد بن سحنون وبرهان الدين الزرنوجي‬
11

กิตติกรรมประกาศ

การสรรเสริ ญทั้งมวลเป็ นเอกสิ ทธิ์ ของอัลออฮฺ  ผูท้ รงอภิบาลแห่งสากลโลก การ


ประสาทพรและความสันติจงประสบแด่ท่านศาสดามุหมั มัด ผูท้ รงเปี่ ยมล้นด้วยบุคลิกภาพและ
จริ ยธรรมอันสู งส่ ง และเป็ นแบบอย่างแก่มวลมนุษยชาติ
อัล หั ม ดุ ลิ ล ลาฮฺ ด้ ว ยความช่ ว ยเหลื อ และความโปรดปราณจากอัล ลอฮฺ 
วิทยานิ พนธ์ ฉบับนี้ สาเร็ จลุ ล่วงไปด้วยดี ผูว้ ิจยั ขอขอบคุ ณ รองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์
รักษาเขต อาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นอย่างสู งที่ท่านได้เสี ยสละเวลาในการให้คาปรึ กษา คาแนะนา ความ
ช่วยเหลือและตรวจทานแก้ไข ทาให้ผวู้ จิ ยั สามารถดาเนินการวิจยั จนเสร็ จสมบูรณ์
ขอขอบคุ ณผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร. อับดุลเลาะ การี นา ประธานคณะกรรมการ
บริ ห ารหลัก สู ต รปริ ญ ญาเอก วิท ยาลัย อิ ส ลามศึ ก ษาที่ ไ ด้เ สี ย สละเวลาอัน มี ค่ า ในการติ ด ตาม
ความก้าวหน้าในการดาเนินการจัดทาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้
ขอขอบคุ ณรองศาสตราจารย์ ดร. อับดุลเลาะ การี นา ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์
ดร.อะห์ ม ัด ยี่ สุ่ น ทรง ผูช้ ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.มู ฮามัส สกรี มัน ยูนุ และผูช้ ่ วยศาสตราจารย์
ดร.อาหะมะกอซี กาซอ ที่ ให้เกี ยรติ มาเป็ นคณะกรรมการสอบวิท ยานิ พ นธ์ และให้คาปรึ กษา
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อทาให้วิทยานิ พนธ์ฉบับนี้ มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และขอขอบคุณสานักงาน
คณะกรรมการอุดมศึกษาที่สนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่ผวู ้ จิ ยั
ขอขอบคุณบรรดาคณาจารย์วทิ ยาลัยอิสลามศึกษา รวมทั้งเจ้าหน้าที่บณ ั ฑิตศึกษา ที่
ได้อานวยความสะดวกและให้การช่วยเหลือในการติดต่อประสานงานเป็ นอย่างดี
ขอขอบคุณผูบ้ ริ หาร ครู อิสลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ที่ให้
ความร่ วมมือในการให้ขอ้ มูลในการจัดทาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้
ขอขอบคุณนายสอเหาะ คาเด (บิดา) นางบีเดาะ คาเด (มารดา) และนางนู เราะห์
คาเด (ภรรยา) รวมทั้งญาติ พี่นอ้ ง และเพื่อนๆที่คอยให้กาลังใจมาโดยตลอด ตลอดจนบุคคลอื่นๆที่
มิได้กล่าวถึง ณ ที่น้ ี ที่มีส่วนในการทาให้วทิ ยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็ จด้วยดี
สุ ดท้ายผูว้ จิ ยั ขอพรจากเอกองค์อลั ลอฮฺ ได้โปรดประทานความรัก ความเมตตา
และความปลอดภัย แก่บุคคลดังกล่าวด้วยเทอญ และผูว้ ิจยั หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าวิทยานิ พนธ์ฉบับนี้ จะ
เป็ นประโยชน์แก่ผอู ้ ่านทุกท่าน อามีน
อาหะมะ คาเด
12

สารบัญ

หน้ า
บทคัดย่อ......................................................................................................................................... 5
ABSTRACT................................................................................................................................... 7
‫مستخلص البحث‬............................................................................................................................. 9
กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................ 11
สารบัญ.......................................................................................................................................... 12
รายการตาราง................................................................................................................................ 15
ตารางปริ วรรตอักษร..................................................................................................................... 19
บทที่
1 บทนา............................................................................................................................. 23
1.1 ความเป็ นมาของปั ญหาและปัญหา…........................................................... 23
1.2 อัลกุรอาน อัลหะดิษ เอกสาร และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง................................... 30
1.3 คาถามการวิจยั .............................................................................................. 50
1.4 วัตถุประสงค์การวิจยั .................................................................................... 50
1.5 ประโยชน์ของการวิจยั ................................................................................... 51
1.6 ขอบเขตการวิจยั ............................................................................................. 51
1.7 กรอบแนวคิดในการวิจยั ................................................................................. 53
1.8 นิยามคาศัพท์เฉพาะ........................................................................................ 55
1.9 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิจยั .............................................................................. 56
1.10 ข้อตกลงเบื้องต้น.......................................................................................... 57
2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง....................................................................................... 58
2.1 ความหมายของแนวคิด.................................................................................. 58
2.2 ความหมายของการศึกษา............................................................................... 60
2.3 ความสาคัญของการศึกษาในอิสลาม.............................................................. 63
2.4 แหล่งที่มาของอัลตัรเบียะห์ อัลอิสลามียะห์.................................................... 67
2.5 สถาบันการศึกษาในอิสลาม........................................................................... 73
2.6 คุณลักษณะของการศึกษาในอิสลาม............................................................... 79
13

สารบัญ (ต่ อ)

บทที่ หน้า
3 วิธีดาเนินการวิจัย......................................................................................................... 85
3.1 การวิจยั เอกสาร.................................................................................................. 85
3.1.1 การรวบรวมข้อมูล..................................................................................... 85
3.1.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูล.................................................................................... 86
3.1.3 การสังเคราะห์ขอ้ มูล................................................................................... 86
3.1.4 การตรวจสอบความเชื่อถือได้ของข้อมูล..................................................... 86
3.2 การวิจยั เชิงปริ มาณ............................................................................................. 88
3.2.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่างและวิธีการสุ่ มกลุ่มตัวอย่าง...................................... 88
3.2.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ............................................................................. 92
3.2.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูล...................................................................................... 93
3.3 การวิจยั เชิงคุณภาพ............................................................................................. 94
3.3.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่าง............................................................................... 94
3.3.2 การสร้างเครื่ องมือ..................................................................................... 95
3.3.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูล..................................................................................... 96
4 ชี วประวัติของมุหัมมัด บิน สะหฺนูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์ ................................. 97
4.1 ภูมิหลังและชีวประวัติของท่านอิบนุสะหฺ นูน..................................................... 97
4.1.1 ภูมิหลังท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูน............................................................... 97
4.1.2 ชีวประวัติของท่านอิบนุสะหฺ นูน................................................................ 102
4.2 ภูมิหลังและชีวประวัติของท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย.์ .................................... 112
4.2.1 ภูมิหลังท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย.์ ......................................................... 112
4.2.2 ชีวประวัติของท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย.์ ............................................... 115
5 แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺนูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย์................. 120
5.1 แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน................................................. 120
5.2 แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย.์ ............................................ 163
5.3 สรุ ปแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและ
บุรฮานุ ด ดีนอัลซัรนูญีย.์ ............................................................................................. 246
14

สารบัญ(ต่ อ)

6 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล...................................................................................... 260


6.1 ข้อมูลเชิงปริ มาณจากแบบสอบถาม................................................................ 260
6.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึก.................................................. 285
6.3 ข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสนทนากลุ่ม............................................................ 288
7 สรุ ปผลวิจยั และข้อเสนอแนะ.............................................................................. 294
7.1 สรุ ปผลการวิจยั ........................................................................................ 299
7.2 อภิปรายผลการวิจยั .................................................................................. 312
7.3 ข้อเสนอแนะ.......................................................................................... 327

บรรณานุกรม 329
ภาคผนวก 340
ภาคผนวก ก หนังสื อขอความอนุเคราะห์ .....................................................................341
ภาคผนวก ข เครื่ องมือการวิจยั ......................................................................................347
ภาคผนวก ค คุณภาพเครื่ องมือการวิจยั .........................................................................363
ภาคผนวก ง การตัครี จญ์หะดิษ.....................................................................................368
ภาคผนวก จ ตัวอย่างหนังสื อ........................................................................................377
ประวัติผ้ เู ขียน..............................................................................................................................388
15

รายการตาราง

ตารางที่ หน้ า
1 รายชื่อโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปั ตตานี ตามจานวนแต่ละ
อาเภอ.................................................................................................................. 88
2 รายชื่ออาเภอและโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี ตามที่
ได้จบั ฉลาก.......................................................................................................... 90
3 จานวนอาเภอโรงเรี ยน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.................................................. 91
4 จานวนและร้อยละของของครู อิสลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ใน
ระบบประเภทสอนศาสนาควบคู่วชิ าสามัญ สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน
จังหวัดปั ตตานี จาแนกตามเพศ............................................................................ 206
5 จานวนและร้อยละของของครู อิสลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ใน
ระบบประเภทสอนศาสนาควบคู่วชิ าสามัญ สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน
จังหวัดปั ตตานี จาแนกตามอายุ............................................................................ 261
6 จานวนและร้อยละของของครู อิสลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ใน
ระบบประเภทสอนศาสนาควบคู่วชิ าสามัญ สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน
จังหวัดปั ตตานี จาแนกตามระดับการศึกษาสู งสุ ด............................................... 261
7 จานวนและร้อยละของของครู อิสลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ใน
ระบบประเภทสอนศาสนาควบคู่วชิ าสามัญ สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน
จังหวัดปั ตตานี จาแนกตามประสบการณ์ในการสอน......................................... 262
8 ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนและบุร
ฮานุดดีนอัลซัรนูญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม.. 263
9 ผลการวิเคราะห์ดา้ นปรัชญาและเป้าหมายของการศึกษา แยกเฉพาะด้าน
ปรัชญาและเป้าหมายของการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูน............................ 264
10 ผลการวิเคราะห์ดา้ นปรัชญาและเป้าหมายของการศึกษา แยกเฉพาะด้าน
ปรัชญาและเป้าหมายของการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย.์ ....................... 264
11 ผลการวิเคราะห์ดา้ นหลักสู ตร แยกเฉพาะด้านหลักสู ตรการศึกษาของมุหัมมัด
บิน สะหนูน.............................................................................................. 26
12 ผลการวิเคราะห์ดา้ นหลักสู ตร แยกเฉพาะด้านหลักสู ตรการศึกษาของบุรฮานุด
ดีน อัลซัรนูญีย.์ ......................................................................................... 266
16

13 ผลการวิเคราะห์ดา้ นกระบวนการเรี ยนการสอน แยกเฉพาะด้านกระบวนการ


เรี ยนการสอนของมุหมั มัด บิน สะหนูน........................................................ 268
14 ผลการวิเคราะห์ดา้ นกระบวนการเรี ยนการสอน แยกเฉพาะด้านกระบวนการ
เรี ยนการสอนของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย.์ ......................................................... 269
15 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะด้านภาระหน้าที่ของผูส้ อน ตามแนวคิด
ของมุหมั มัด บิน สะหนูน.................................................................................... 272
16 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะบุคลิกภาพของผูส้ อน ด้านวิชาความรู ้
ตามแนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน................................................................. 274
17 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะบุคลิกภาพของผูส้ อน ด้านมารยาทของ
ผูส้ อน ตามแนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน................................................. 275
18 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะการลงโทษ ด้านเงื่อนไขของการลงโทษ
ตามแนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน............................................................ 276
19 ผลการวิเคราะห์ ด้านผูส้ อน แยกเฉพาะการลงโทษ ด้านรู ปแบบและวิธีการ
ลงโทษ ตามแนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน............................................. 277
20 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะการลงโทษ ด้านอุปกรณ์สาหรับใช้ใน
การตีตามแนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน.................................................... 278
21 ผลการวิเคราะห์ ด้านผูส้ อน แยกเฉพาะด้า นคุ ณสมบัติเกี่ ยวกับศักยภาพของ
ผูส้ อน ตามแนวคิดของบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย.์ ............................................ 279
22 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะด้านคุณสมบัติเกี่ยวกับหน้าที่ของผูส้ อน
ตามแนวคิดของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย.์ ...................................................... 280
23 ผลการวิเคราะห์ ด้านผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทผูเ้ รี ยนต่ออัลกุรอานและ
วิชาความรู ้ตามแนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน............................................. 280
24 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนกับอัลลอฮุ ตาม
แนวคิดของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย.์ ............................................................. 282
25 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อตนเอง
ตามแนวคิดของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย.์ ....................................................... 283
26 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อสังคม ตาม
แนวคิดของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย.์ ............................................................... 284
27 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อเพื่อนฝูง ตาม
แนวคิดของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย.์ ........................................................... 284
17

28 จานวนผูท้ รงคุณวุฒิ ผูต้ อบแบบสัมภาษณ์เชิงลึก............................................. 285


29 ความเห็ นของผูท้ รงคุณวุฒิต่อผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิ งปริ มาณเกี่ ยวกับระดับ
ความคาดหวังของครู สอนศาสนาต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของ
มุ หัม มัด บิ น สะหฺ นูน และบุ รฮานุ ด ดี นอัล ซัร นู ญีย ์ใ นโรงเรี ย นเอกชนสอน
ศาสนาอิสลามทั้ง 5 ด้าน............................................................................. 286
30 ข้อเสนอแนะของผูท้ รงคุณวุฒิเรี ยงตามลาดับความถี่ต่อการประยุกต์ใช้แนวคิด
ทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม.............................................................................. 287
18

รายการภาพประกอบ

หน้ า
ภาพประกอบ
1 กรอบแนวคิดในการวิจยั ………………………………………………….. 53
19

ตารางการปริวรรตอักษรอาหรับ – ไทย
วิทยาลัยอิสลามศึกษา 2535
พยัญชนะอาหรับ คาอ่าน พยัญชนะไทย
‫ا‬ อลีฟ อ
‫ب‬ บาอ์ บ
‫ء‬ ฮัมซะฮฺ อ. (อ์ในกรณี เป็ นตัวสะกดสุ ดท้าย)
‫ت‬ ตาอ์ ต
‫ث‬ ษาอ์ ษ
‫ج‬ ญีม ญ (จญ์ ในกรณี เป็ นตัวสะกด)
‫ح‬ หาอ์ ห (ยกเว้น มุฮมั มัด รอฮีม เตาฮีด)
‫خ‬ คออ์ ค
‫د‬ ดาล ด
‫ذ‬ ษาล ษฺ
‫ر‬ รออ์ ร
‫ز‬ ซาล ซ
‫س‬ สี น ส (ยกเว้น มูซา อีซา)
‫ش‬ ชีน ช
‫ص‬ ศอด ศ
‫ض‬ ฎอด ฎ
‫ط‬ ฎออ์ ฏ
‫ظ‬ ซฺ ออ์ ซฺ
‫ع‬ อัยนฺ อฺ
‫غ‬ ฆอยนฺ ฆ
‫ف‬ ฟาอ์ ฟ
‫ق‬ กอฟ กฺ
‫ك‬ กาฟ ก
20

‫ل‬ ลาม ล
‫م‬ มีม ม
‫ن‬ นูน น
พยัญชนะอาหรับ คาอ่ าน พยัญชนะไทย
‫ه‬ ฮาอฺ ฮ (ในกรณี เป็ นตัวสะกดใช้ ฮฺ)
‫و‬ วาว ว
‫ي‬ ยาอ์ ย
_ )‫(الفتحة‬ -(ในกรณี มีตวั สะกด เช่น มัรวาน อาดัม ฯ) ะ,
เ-าะ (อ็ ในกรณี มีตวั สะกด) ละสระในบาง
กรณี เช่น อลี บนี ฯ)
‫الكسرة‬ ิิ
)‫(الضمة‬ ิุ
)‫(الفتحة املمدودة‬ า (อ ในกรณี มีตวั สะกด เช่น อัลฟา รอบ ฯ)
‫الكسرة املمدودة‬ ิี
)‫(الضمة املمدودة‬ ิู
‫ الشمسية‬- ‫ال‬ อั-ตามด้วยพยัญชนะตัวแรกของคาต่อไป
เช่น อัดดีน อัฏฏีนฯ
‫ القم رية‬- ‫ال‬ อัล ตามด้วยคาต่อไปโดยไม่ตอ้ งเว้นวรรค
เช่น อัลกุรอาน อัลลอฮฺ อัลอิสลาม ฯ
21

ตารางการปริวรรตอักษรอาหรับ – อังกฤษ
หอสมุดรัฐสภา สหรัฐอเมริกา

พยัญชนะอาหรับ คาอ่าน พยัญชนะอังกฤษ


‫ا‬ อลีฟ A
‫ب‬ บาอ์ B
‫ء‬ ฮัมซะฮฺ a, I, u
‫ت‬ ตาอ์ T
‫ث‬ ษาอ์ Th
‫ج‬ ญีม J
‫ح‬ หาอ์ H
‫خ‬ คออ์ Kh
‫د‬ ดาล D
‫ذ‬ ษาล Dh
‫ر‬ รออ์ R
‫ز‬ ซาล Z
‫س‬ สี น S
‫ش‬ ชีน Sh
‫ص‬ ศอด S
‫ض‬ ฎอด D
‫ط‬ ฎออ์ T
‫ظ‬ ซฺ ออ์ Z
‫ع‬ อัยนฺ ‘a, ‘I, ‘u
‫غ‬ ฆอยนฺ Gh
‫ف‬ ฟาอ์ F
‫ق‬ กอฟ Q
‫ك‬ กาฟ K
22

‫ل‬ ลาม L
‫م‬ มีม M
‫ن‬ นูน N
‫ه‬ ฮาอฺ W
‫و‬ วาว H
‫ي‬ ยาอ์ Y
23

บทที่ 1
บทนำ

1. 1 ควำมเป็ นมำของปัญหำและปัญหำ

การศึ ก ษาเป็ นรากฐานที่ สาคัญในการสร้ างสรรค์ค วามเจริ ญก้าวหน้าและแก้ไ ข


ปั ญหาต่างๆในสังคมเป็ นกระบวนการที่ช่วยให้คนได้พฒั นาตนเองและรู้เป้ าหมายของการดาเนิ น
ชี วิตอยู่บนโลกนี้ เช่ นเดี ยวกันการศึกษาเป็ นกระบวนการที่มุ่งพัฒนาคนให้เป็ นมนุ ษย์ที่มีคุณภาพมี
ความสามารถเต็ ม ศัก ยภาพ มี ก ารพัฒ นาที่ ส มดุ ล ทั้ง สติ ปั ญ ญา จิ ต ใจ ร่ า งกาย และสั ง คม เพื่ อ
เสริ มสร้ างการพัฒนาและการเจริ ญเติ บ โตทางเศรษฐกิ จและสัง คมของประเทศ (ศู นย์ก ารศึ กษา
ทางไกลไทยคม. 2542 : 1)

การจัดการศึกษาของชาติจะบรรลุจุดมุ่งหมายได้ยอ่ มขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบหลาย


ด้าน อาทิ เช่น นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการศึกษา การลงทุนทางการศึกษา หลักสู ตรครู และนักเรี ยน
แต่ สิ่ ง ที่ สาคัญอย่างยิ่ง คื อปรั ช ญาการศึ ก ษา ซึ่ ง มี บ ทบาทส าคัญในการก าหนดทิ ดทางการศึ ก ษา
กล่ า วคื อปรั ช ญาการศึ ก ษาพิ จารณาองค์ป ระกอบทุ ก ๆส่ วนของการศึ ก ษาอย่า งถี่ ถ้วนและความ
คิดเห็นเกี่ ยวกับการศึกษานี้ จะใช้เป็ นเครื่ องมือนาทางหรื อหลักยึดในการศึกษาและพิจารณาปั ญหา
ต่างๆทางการศึกษาโดยส่ วนรวม(ศักดา ปรางค์ประทานพร 2526: 45)

เนื่ อ งจากการจัด การศึ ก ษามี ค วามจ าเป็ นที่ จ ะต้อ งมี ป รั ช ญาหรื อ แนวคิ ด ทาง
การศึกษาเป็ นหลักยึดถื อ ดังนั้นแนวคิดทางการศึกษาหรื อปรัชญาการศึกษา จึงนับว่าเป็ นรากฐาน
ทางการศึกษาที่สาคัญต่อการจัดการศึกษาทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบตั ิ ปรัชญาและแนวคิด
ทางการศึกษาจะช่ วยวางรู ปแบบกาหนดนโยบาย ทิศทางในการจัดการศึกษา จึงกล่าวได้วา่ แนวคิด
และปรัชญาทางการศึ กษาที่ดีจะนาไปสู่ นโยบายการศึกษาที่ดีและนโยบายการศึกษาที่ดีจะนาไปสู่
การบริ หารการศึกษาที่ดี ผลดีของผูเ้ รี ยนจะได้ประโยชน์เต็มที่จากการได้รับการศึกษาที่ดี ที่เกิดจาก
ปรัชญาหรื อแนวคิดทางการศึก ษาที่ ถู กต้องเหมาะสมจึ ง สามารถสร้ างพลเมื องที่ ดีมีคุ ณค่า ให้แก่
สั ง คมและประเทศ ฉะนั้น ปรั ช ญาหรื อ แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาจึ ง เป็ นสิ่ ง ที่ ข าดไม่ ไ ด้ใ นการจัด
การศึกษา (ศักดา ปรางค์ประทานพร: 2522: 16)

แนวคิดทางการศึกษาในอิสลามถือว่ามีความจาเป็ นมากที่สุดสาหรับมุสลิมปั จจุบนั


เพราะการศึกษาแนวคิดทางการศึกษาในอิสลามเป็ นการศึกษาที่ค รอบคลุ มทุกองค์ประกอบของ
24

การศึ กษาทั้งเป้ าหมาย หลักสู ตร กระบวนการเรี ย นการสอน คุ ณลักษณะของผูเ้ รี ย นและผูส้ อน


ตลอดจนการวัดและการประเมินผล และแนวคิดทางการศึกษาในอิสลามมีแหล่งอ้างอิงมากจากอัล
กุรอานและสุ นนะฮฺ
แนวคิดทางการศึกษาในอิสลามเริ่ มจากวัฒนธรรม มรดก สังคม ที่สามารถแก้ไข
ปั ญหาการศึกษาที่ประสบอยูป่ ั จจุบนั และการศึกษาในอดี ต ไม่วา่ จะเป็ นการศึกษามรดกทางปั ญญา
หรื อการศึกษาวัฒนธรรมของอิสลาม เป็ นการศึกษาที่มีความจาเป็ นอย่างยิ่งสาหรับมุสลิม แนวคิด
ทางการศึกษาในอิสลาม เป็ นแนวคิดที่อุดมสมบูรณ์ เป็ นแนวคิดที่เปิ ดกว้างและตอบรับอารยธรรม
ของมนุษยชนในอดีต
ในปั จ จุ บ นั แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาในอิ ส ลามได้มี ก ารปะปนและผสมผสานกับ
แนวคิดและทฤษฎีของชาติตะวันตกโดยส่ วนมากอันเนื่ องจากการตอบสนองที่ไร้เหตุผลกับแนวคิด
ของชาติตะวันตกที่ขดั กับแนวคิดของอิสลามและสังคมมุสลิม โดยเฉพาะสมัยปั จจุบนั ที่มีความท้า
ทายกับสังคมมุสลิมอย่างมากมาย(al-Hamidi, n.d : 5) ส่ วนสาเหตุของการที่สังคมมุสลิมปั จจุบนั
ไม่ ไ ด้ใ ห้ ค วามส าคัญ เกี่ ย วกับ แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาและระบบการเรี ย นการสอนอิ ส ลามอัน
เนื่ องมาจากสองสาเหตุ หลักด้วยกัน คื อ สาเหตุ แรก นักการศึกษามุสลิ ม ในโลกอาหรับและโลก
อิสลามได้รับการถ่ายทอดแนวคิดทางการศึกษาจากชาติตะวันตก เมื่อพวกเขาต้องการศึกษาเกี่ยวกับ
การศึกษาก็จะเอาแหล่งอ้างอิงจากตาราและหนังสื อของชาติตะวันตกโดยไม่ได้ไปศึกษาจากหนังสื อ
ของการศึกษาในอิสลามที่เขียนโดยนักปราชญ์และนักวิชาการมุสลิม(Abdul Addaim, 1978 : 5)
สาเหตุที่สองคือ ชาติตะวันตกเมื่อพวกเขาได้แต่งตาราเกี่ยวกับการศึกษาพวกเขาก็พยายามหลีกเลี่ยง
ที่จะเขียนเกี่ยวกับประวัติการศึกษาในอิสลาม(Mursi,1977:61)
ในบรรดานักปราชญ์มุสลิมที่มีอิทธิ ผลต่อแนวคิดทางการศึกษา และชาวตะวันตก
ได้ใ ห้ ค วามส าคัญ กับ แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาของพวกเขาโดยมี ก ารแปลต าราของพวกเขาเป็ น
ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส นัน่ คือ มุหมั มัดบินสะหฺ นูน และบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
บุ ค คลแรกของบรรดานัก ปราชญ์มุ ส ลิ ม ที่ ไ ด้เ ขี ย นต าราที่ มี ค วามเกี่ ย วข้อ งกับ
การศึกษาและได้กล่าวถึงคุณสมบัติของผูส้ อนเป็ นพิเศษ คือท่านอิมาม มุหมั มัดบินสะหฺ นูน อัลมัฆริ
บีย ์ ( Nur Abdul Amir Shamsuddin, 1978: 41) โดยเฉพาะเกี่ยวกับการเรี ยนการสอนวิชาอัลกุรอ่าน
อัลอัหฺวานีย ์ ถือว่า ตารา อาดาบุลมุอลั ลิมีน ของท่าน มุหมั มัด มุหมั มัดบินสะหฺ นูน เป็ นแหล่งอ้างอิง
ของตาราที่เขียนโดยอัลกอบิสีย ์ ใน ศตวรรษที่สี่ฮิจเราะฮฺ ศกั ราช (al-Ahwani, 1978 :57)
25

มุหัมมัดบินสะหฺ นูน ได้ถือกาเนิ ดในเมื องมัฆริ บ1และได้รับการอบรมสั่งสอนขัด


เกลาเป็ นอันดับแรกจากบิดาของท่านเอง ซึ่ งบิดาของท่านเป็ นผูท้ ี่มีชื่อเสี ยงในวิชาความรู ้โดยเฉพาะ
ในแขนงวิชาฟิ กฮฺของมัซฮับอิมามมาลิก2และเป็ นผูท้ ี่ให้ความสาคัญและเอาใจใสต่อลูกในการศึกษา
อบรมโดยสังเกตจากคาสั่งเสี ยของอิมามสะหฺ นูนที่มีต่อมุหัมมัดบินสะหฺ นูนโดยกล่ าวว่า “อย่าสั่ง
สอนอบรมเขานอกจากด้วยการชื่ นชมและคาพูดที่อ่อนโยน และเขามิได้อยูใ่ นจาพวกที่ตอ้ งสั่งสอน
อบรมด้วยการตีและใช้ความรุ นแรง” (al-Maliki, 1994 : 443)
มุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้แต่งตาราหลายเล่ มและในหลายแขนงวิชาจนมีรายงานว่า
จานวนตาราที่ได้แต่งโดยท่านถึง 200 เล่ม (al-Shafiae, n.d: 251) และในบรรดาผลงานต่างๆ ของ
ท่าน ผลงานที่มีความสาคัญที่สุดและมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการศึกษา นัน่ คือหนังสื ออาดาบอัล
มุอลั ลิมีน)‫(آداب املعلمني‬หรื อหนังสื ออาดาบอัลมุอลั ลิมีน วัลมุตะอัลลิมีน )‫(آداب املعلمني واملتعلمني‬
เป็ นหนังสื อที่มีขนาดเล็ก แต่มีเนื้ อหาและสาระมากหมาย และเป็ นหนังสื อแรกๆ ที่ได้เขียนเกี่ยวกับ
การเรี ยนการสอนโดยเฉพาะในเรื่ องการสอนเด็ก (al-Shafiae, n.d : 252) และท่านได้จาแนกหัวข้อ
ในหนังสื ออาดาบอัลมุอลั ลิมีนดังนี้ คือ การสอนวิชาอัลกุรอาน การปฏิบตั ิตวั เท่าเทียมกันต่อผูเ้ รี ยน
สิ่ งที่ควรและไม่ควรปฏิ บตั ิ ระหว่างการเรี ยนการสอน จริ ยธรรมระหว่างการเรี ยนการสอน การ
สาเร็ จการศึ กษา การให้ของรางวัล ข้อจากัดของอิ สรภาพของผูเ้ รี ยน บทบาทและการประเมิ น
ผูเ้ รี ยน ค่าตอบแทนของผูส้ อน นโยบายการให้ยมื และการขอหนังสื อ

1
เมืองมัฆริ บในสมัยการพิชิตของอิสลามจะครอบคลุมถึงสามประเทศปั จจุบนั คือ มอร็ อคโค อัลเจเรี ย และตูนิเซี ย
ซึ่ งมุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้ถือกาเนิ ดในเมืองก็อยเราะวาน ซึ่ งปั จจุบนั อยู่ในประเทศตูนิเซี ย ห่ างไกลจากตัวเมือง
ประมาณ 160 กิโลเมตร
2
อิหม่ามมาลิกมีนามเต็มว่าอบูอบั ดุลลอฮฺ มาลิก อิบนฺ อนัส อิบนฺ อบีอามิรอัลอัสบาฮียท์ ่านเกิดที่นครมาดี นะฮฺแต่
ประวัติศาสตร์ ไม่ได้ระบุวนั เดือนปี สถานที่เกิดของอิหม่ามอย่างชัดเจนแต่บางรายงานระบุวา่ ท่านเกิดระหว่างปี
ฮ.ศ .90/ ค.ศ 708 และ ฮ.ศ .97/ค.ศ .715 ประวัติได้บนั ทึกไว้หลายรายงายด้วยกันเช่นอุลามาอฺ บางท่านกล่าวว่าท่าน
เกิดที่นครมาดีนะฮฺ ฮ . ศ . 93/ค.ศ.711 บางท่านกล่าวว่าท่านเกิดที่ซูลมัรวะฮทางเหนื อของนครมาดีนะฮฺและยังมี
การบันทึกอีกว่าท่านเกิดเมื่อ ฮ . ศ .95/ค.ศ. 713 แต่บนั ทึกที่น่าเชื่อถือกว่าและอุลามาอฺ ส่วนใหญ่มีความเห็นตรงกัน
ก็คือท่านเกิดเมื่อ ฮ . ศ .93/ค.ศ.711ณซูลมัรวะฮฺทางภาคเหนือของนครมาดีนะฮประเทศซาอุดีอ าระเบียปั จจุบนั ใน
สมัยการปกครองของเคาะลีฟะฮฺอลั วะลีด บิน อับดุลมะลิก บิน มัรวาน
26

แนวคิดทางการศึกษาของท่านที่ปรากฎอยูใ่ นตาราอาดาบุลมุอลั ลิมีนส่ วนใหญ่แล้ว


ท่านจะพาดพิ งไปยังหะดิ ษ ของท่านนบี  และส่ วนใหญ่ ในตาราเล่ ม นี้ ท่านจะกล่ า วถึ งการสอน
อัล กุ ร อานและมารยาทของผูส้ อนซึ่ งท่ า นได้เ สนอวิ ธี ก ารสอนแบบครู เ ป็ นศู น ย์ก ลาง(Teacher
Center) โดยระหว่างการเรี ยนการสอนนั้นครู ผสู้ อนจะต้องมีการเสริ มแรงให้กบั ผูเ้ รี ยน
หลังจากการเสี ยชีวติ ของท่านอิมามมุหมั มัดบินสะหฺ นูนแล้ว แนวคิดทางการศึกษา
ในอิสลามได้เริ่ มมีการวิวฒั นาการขึ้นเรื่ อยๆ หนังสื อของท่านได้ทรงมีอิทธิ ผลต่อแนวคิดของนักคิด
มุ ส ลิ ม หลายๆ ท่ า น เช่ น ท่ า นอิ ม ามอัล กอบิ สี ย ์ ได้แ ต่ ง ต าราที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การศึ ก ษาที่ มี ชื่ อ ว่า
อัรริ ส าละห์ อัล มุฟั ส เศาะละฮฺ ลิ อะหฺ วาล อัลมุ อลั ลิ มี น วัลมุ ตะอัลลิ มี น ‫(الرسالة املفصلة ألحوال‬
)‫املعلمني و أحكام املعلمني و املتعلمني‬ในศตวรรษที่สี่ แห่ งฮิจญ์เราะฮ์ศกั ราช ต่อมาในปลายศตวรรษ
ที่หกแห่ งฮิจญ์เราะฮ์ศกั ราช ได้มีนักคิดที่ชื่อว่าอิมามบุ รฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญียไ์ ด้แต่งตาราเกี่ ยวกับ
การศึกษา ชื่อว่าตะอฺลีมุล มุตะอัลลิม เตาะรี กุตตะอัลลุม)‫( (تعليم املتعلم طريق التعلم‬สอนวิธีการเรี ยน
ให้กบั ผูเ้ รี ยน)โดยมีเนื้ อหาที่โดดเด่ นและน่ าสนใจทั้งนี้ เพราะเขาได้เสนอแนวคิดเกี่ ยวกับรู ปแบบ
และวิธีการศึกษาได้อย่างสมบูรณ์และมากกว่าเมื่อเปรี ยบเทียบกับแนวคิดและทฤษฎีของนักคิดรุ่ น
ก่อนๆ
อัลซัรนู ญียไ์ ด้รับอิ ทธิ ผลทางแนวคิ ดจากนักคิ ดรุ่ นก่ อนๆโดยเฉพาะมุหัมมัดบิน
สะหฺ นูน ผูท้ ี่เป็ นบุคคลแรกที่ได้เขียนตาราเกี่ยวกับการศึกษาที่นกั คิดหลายๆ ท่านได้รับอิทธิ ผลทาง
แนวคิดจากท่านเช่นเดียวกัน เช่น แนวคิดที่เกี่ยวกับการสอนและการเรี ยนอัลกุรอาน ความเสมอภาค
ระหว่างผูเ้ รี ยน และคุณสมบัติของผูส้ อน ซึ่ งในบรรดานักการศึกษาต่างให้ความสาคัญกับหนังสื อ
เล่มนี้ ไม่ว่าจะเป็ นชาวอาหรับหรื อชาวตะวันตก และตาราเล่มนี้ ได้มีการแปลเป็ นภาษาต่างประเทศ
โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ หนังสื อเล่มนี้ได้บรรจุแนวคิดทางการศึกษาที่โดดเด่นพอสรุ ปได้ดงั นี้
1) เสรี ภาพทางการศึกษากล่าวคือ ผูเ้ รี ยนสามารถที่จะเลือกวิชาที่จะเรี ยน สามารถ
เลือกอาจารย์ผสู้ อน และเพื่อน 2)การเรี ยนแบบค่อยเป็ นค่อยไปสาหรับผูท้ ี่เริ่ มเรี ยนให้เลือกหนังสื อ
ที่สามารถอ่านและเข้าใจได้ ด้วยการสอนซ้ าสองรอบแต่ละบท และให้เลือกหนังสื อที่เล่มเล็กๆและ
ชัดเจน 3)ให้ความสาคัญกับความแตกต่างระหว่างบุคคล 4) การสังเกตและเข้าใจ 5) การทวนซ้ า
ในแง่หลักสู ตรการเรี ยนการอสอน อัลซัรนูญียไ์ ด้ให้ความสาคัญกับหลักสู ตรการ
เรี ยนการสอนโดยได้จาแนกประเภทออกเป็ น 2 วิชา คือ วิชาที่เรี ยกว่า อิลมุลหาล คือวิชาที่เกี่ยวกับ
หลักการศรัทธาและบทบัญญัติอิสลาม ซึ่ งได้แบ่งออกเป็ น 4 ประเภทด้วยกัน คือ อิลมุลอิบาดาต อิล
27

มุลมุอามาลาต อิลมุลอัหฺวาลุลกอลบฺ อิลมุลอัคลาก ประเภทที่ 2 คือวิชาที่ไม่เกี่ยวกับหลักการศรัทธา


และบทบัญญัติอิสลาม
สาหรับเทคนิคและวิธีการเรี ยนการสอน อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“มันเป็ นสิ่ ง ที่ จาเป็ นส าหรั บผูเ้ รี ย นที่ ต้องมี ก ารทบทวนบทเรี ย น
อภิปราย การตั้งคาถาม และสมควรทั้งสองอย่างนั้น ฟั งอย่างเงี ยบ
ระมัดระวังและสมาธิ และพยายามหลี กเลี่ ยงจากการโต้แย้งและ
โกรธ แท้จ ริ ง แล้ว การทบทวนและอภิ ป รายนั้น ถื อ ว่ า เป็ นการ
ประชุ ม นั้นคือหนทางในการสกัดเอาออกสิ่ งที่ถูกต้อง แท้จริ งแล้ว
จะบรรลุ สิ่งนั้นด้วยการสังเกตและระมัดระวังและการฟั ง และจะ
ไม่ได้รับด้วยการโกรธและโต้แย้ง” (al-Zarnuji, 1986 : 87)
ท่านได้กล่าวอีกว่า
“ผูเ้ รี ย นควรมี ค วามมุ่ ง มัน่ ในการที่ จะเข้าใจค าพูดของผูส้ อนโดย
สังเกตจากคาพูด คิดและทบทวน แท้จริ งแล้วการที่ไม่รีบร้อนในการ
ที่จะข้ามบทเรี ยนและด้วยการทบทวนหลายๆ ครั้งและการสังเกต
สามารถที่ จะรู้ และเข้าใจ และไม่ ค วรที่ จะหละหลวมในการที่ จะ
เข้าใจ” (al-Zarnuji, 1986 : 86)
สังเกตจากคากล่าวของท่านจะเห็นได้วา่ ท่านมีแนวคิดเกี่ยวกับเทคนิคการเรี ยนการ
สอนที่หลากหลายและสอดคล้องกับทฤษฎีการศึกษาปั จจุบนั ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ(Child Center)
เพื่อที่จะเกิดความเข้าใจ ส่ วนแนวคิดที่เกี่ยวกับการสอนที่โดดเด่นของอัลซัรนุญียพ์ อสรุ ปได้ดงั นี้ คือ
การอภิปราย การทบทวน การตั้งคาถาม การเข้าใจ การคิด การทวนซ้ าและการสังเกต
แนวคิ ดทางการศึ กษาแต่ละยุคแต่ละสมัย และแต่ละบุ คคลย่อมแตกต่างกันตาม
สภาพแวดล้อมของสัง คมในสมัย นั้น และสิ่ ง ที่ บุค คลนั้นได้ประสบในชี วิตตั้งแต่ เกิ ดจนกระทัง่
เสี ยชีวติ เช่น การศึกษาสภาพชีวติ ในวัยต่างๆ การและเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็ นต้น
สภาพแวดล้อมแต่ละสมัยย่อมมีอิทธิ พลต่อแนวคิดทางการศึกษาของนักคิ ดสมัย
นั้นๆ โดยเฉพาะสภาพทางการเมืองและสภาพทางการศึกษา ซึ่ งสภาพแวดล้องในสมัย ของท่าน
มุหมั มัดสะหฺ นุนจะมีความแตกต่างกับสภาพสมัยของอัลซัรณูญียอ์ ย่างมาก
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้ถือกาเนิดท่ามกลางความเจริ ญของประเทศสมัยนั้น ไม่วา่ จะ
เป็ นด้านการเมืองการปกครองและด้านการศึกษา การปกครองประเทศโดยราชวงค์บนีอลั อัฆลับซึ่ ง
28

สามารถปกครองเกื อบทุกประเทศในทวีปแอฟริ กาและได้มีการพิชิตเมื องต่างๆ และในส่ วนของ


การศึกษานั้น อิมามมาลิ กถื อว่าเมืองก็อยเราะวานเป็ นเมืองที่ สามของแหล่งการการเรี ยนรู ้ ศาสนา
หลังจากเมืองมะดีนะฮฺและกูฟะฮฺ (Maktabah al-Tarbiah al-Arabiah al-Islamiah li Dualil khalij:
224-223 ) มัซฮับที่มีการเผยแพร่ ในสมัยนั้น คือมัซฮับอิมามมาลิก ซึ่ งมุหมั มัดบินสะหฺ นูนคือหนึ่งใน
บรรดานักปราชญ์ที่ได้มีการเผยแพร่ มซั ฮับอิมามมาลิกโดยได้รับการเผยแพร่ มซั ฮับอิมามมาลิกจาก
บิดาของท่านเอง
บุรฮานุ ดดีนอัลซัรนู ญียไ์ ด้ถือกาเนิ ดที่เมื องซัรนู จญ์(al-Qurashi: 1978:312/2) ซึ่ ง
ปั จจุ บ นั ตั้ง อยู่ใ นประเทศอัฟ กานิ ส สถาน บุ คคลแรกที่ ไ ด้พิ ชิ ตเมื อ งนี้ คื อ อัล -หัจ ญาจญ์บิ น ยูสุ ฟ
อัษ-ษะเกาะฟี ย์3 ด้วยคาสัง่ ของเคาะลีฟะห์อบั ดุลมาลิก บิน มัรวาน
ชี วประวัติเกี่ ยวกับบุรฮานุ ดดี นอัลซัรนู ญียไ์ ม่ค่อยเป็ นที่รู้จกั เท่าไรนัก ถ้าเทียบกับ
หนังสื อตะลี มุลมุ ตะอัลลิ มเตาะรี กอตตะอัลลุ มของท่าน บรรดานักปราชญ์มกั จะรู้ จกั หนังสื อของ
ท่านมากกว่า แต่สามารถทราบคุ ณลักษณะของอัลซัรนูญียด์ ว้ ยการสังเกตจากผลงานของท่านจาก
หนังสื อตะลี มุลมุค ะอัลลิ ม พอสรุ ปได้ว่า ท่านเป็ นนัก ฟิ กฮฺ ที่ ยึดถื อมัซฮับ หะนาฟี โดยสังเกตจาก
คาพูดของท่านที่อยูใ่ นหนังสื อ โดยภาพรวมแนวคิดส่ วนใหญ่รับมาจากนักฟิ กฮฺ ที่มีตน้ สังกัดมัซฮับ
หะนาฟี ท่านเป็ นผูท้ ี่มีเชื้ อสายไม่ใช่ชาวอาหรับและไม่มีแหล่งที่มาที่ชดั เจนยืนยันว่าอัลซัรนูญียไ์ ด้
เกิดและได้เสี ยชี วิตในปี ใด นอกจากจะพบในตาราสมัยใหม่ที่ระบุวา่ อัซซัรนูญียไ์ ด้เสี ยชี วิตในช่วง
ท้า ยของศตวรรษที่ หกแห่ ง ฮิ จญ์เราะฮฺ ศ กั ราช อัล อะหฺ วานี ย ์ได้ก ล่ า วในหนังสื อ อัตตัรบี ยะห์ ฟิ ล
อิสลามว่าอัลซัรนูญียไ์ ด้เสี ยชีวิตในปี ที่ 591 ฮิจญ์เราะฮฺศกั ราช (Al-Ahwani: 2002: 238) แต่อลั กุรอ
ชี ย ์ไ ด้ ก ล่ า วในหนั ง สื อ อัล ญะวาฮิ ร ว่ า อัล ซั ร นู ญี ย ์อ ยู่ ใ นระดับ ตอบากอฮฺ นุ อฺ ม าน อิ บ นุ อิ ร อ
ฮีมอัลซัรนู ญีย ์ ที่เสี ย ชี วิตในปี ที่ 640 แห่ งฮิ จญ์เราะฮฺ ศกั ราช ฉะนั้นสรุ ป ว่าอัซซัรนู ญียม์ ี ชีวิตอยู่
ในช่วงปลายของศตวรรษที่หกและช่วงต้นของศตวรรษที่เจ็ด
อัล ซัร นู ญีย ์ก็ เหมื อนกับ คนอื่ น ๆที่ มี แนวคิ ดทางการศึ ก ษาซึ่ งได้รับอิ ทธิ พ ลจาก
สภาพการเมืองการปกครองและการศึ กษาสมัยนั้น ถื อว่าสมัยที่มีความขัดแย้งทางการเมืองและมี
ความแตกแยกอย่างมากจนกระทัง่ ถึงขั้นแบ่งอาณาเขตการปกครองของรัฐอิสลามสมัยนั้น ตามฝ่ าย
ตามมี อิทธิ พลไม่แพ้กนั ในขณะเดี ยวกันมี การเจริ ญเติ บโตด้านวัตถุ และความเจริ ญก้าวหน้าด้าน
การศึกษาแถมยังสามารถผลิต นักปราชญ์ที่ความเชี่ ยวชาญเกื อบทุกแขนงวิชา ในช่ วงการปั่ นป่ วน

3
คืออัล-หัจญาจญ์บินยูสุฟอัษ -ษะเกาะฟี ย์คืออะบู มุหัมมัด อัล-หัจญาจญ์บินยูสุฟ บิ นอัล-หะกัมบิ นอะบี อุกยั ลฺ
บินมัสอูดบินอามิรบินมุทอิบบินมาลิกบินกะอับบินอัมรู บินสะอฺ ดฺบินเอาฟฺบินษะกีฟอัษ-ษะกอฟี ย์เกิดที่เมืองเตาะ
อีฟในปี ฮ.ศ.ที่ 41 เป็ นแม่ทพั ในสมัยการปกครองอับดุลมาลิกบินมัรวาน เสี ยชีวิต ใน ฮ.ศ.ที่ 95ด้วยโรคมะเร็ งใน
กระเพาะอาหาร
29

ทางการเมื อ งของรั ฐ อิ ส ลามในขณะนั้น เนื่ อ งจากมี ก ารสู ้ รบทั้ง ในและนอกประเทศได้มี ค วาม


เจริ ญก้าวหน้าด้านการศึ กษาโดยเฉพาะในช่ วงสมัยการปกครองของอัลสัลญูกีย4์ ซึ่ งมี การก่อสร้ าง
สถานศึกษาไม่ว่าจะเป็ นมัสยิด โรงเรี ยน หรื อสถาบันการศึกษาต่างๆ และเช่นเดียวกันในช่ วงการ
ปกครองรัฐอิสลามโดยราชวงศ์อลั อัยยูบี ย5์ ที่ ใช้เวลาในการปกครองตั้งแต่ปี 546 -647 ฮ.ศ. ได้มี
ความก้าวหน้าด้านการศึกษามากกว่าสมัยการปกครองของอัสสัลญูกียโ์ ดยได้มีการสร้างสถานศึกษา
และมีการขยายหลักสู ตรการเรี ยนการสอนอีกด้วย
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็ นพื้นที่ที่มีลกั ษณะเฉพา และมีสภาพปั ญหาที่แตกต่าง
กับ พื้ นที่ อื่นๆ ของประเทศ ทั้ง ในด้า นสั ง คม เศรษฐกิ จ การเมื อง การปกครองและความมัน่ คง
โดยเฉพาะปั ญหาด้านสังคมวิทยา ซึ่ งเป็ นปั ญหาที่ มีความละเอี ยดอ่อนที่ มีสาเหตุ มาจากความไม่
เข้าใจ ความหวาดระแวง รวมทั้ง ความรู ้ สึกแตกต่างกันด้านศาสนาและวัฒนธรรม ทั้งนี้ เพราะว่า
ประชากรส่ วนใหญ่นบั ถื อศาสนาอิสลาม จึงมีโครสร้างทางสังคมอันประกอบด้วยเชื้ อชาติ ศาสนา
ภาษา ขนบธรรมเนี ย มประเพณี และวัฒ นธรรมที่ แตกต่ า งกันออกไป ดัง นั้น การที่ ช าวมุ ส ลิ ม มี
เอกลักษณ์ ที่แตกต่างกับคนส่ วนใหญ่ของประเทศ ทาให้ผูม้ ีอานาจทางการเมืองเห็ นว่า ชนกลุ่มนี้ มี
ปัญหาเฉพาะต้องใช้นโยบายพิเศษในการปกครอง(อารง สุ ทธาศาสน์, 2535 : 133)
ดังนั้น การกาหนดนโยบายด้านการศึกษาของรัฐจึงยากที่จะหลีกเลี่ยงอิ ทธิ พล และ
อานาจทางการเมื อง เพราะการศึ กษาเป็ นระบบย่อยระบบหนึ่ งของสังคม และแต่ละระบบสังคม
ประกอบไปด้วยโครงสร้างทางอานาจและค่านิ ยมอย่างใดอย่างหนึ่ ง ซึ่ งจะเป็ นตังกาหนดโครงสร้าง
แนวทางปรัชญา และแผนการจัดการศึกษา ตลอดจนหลักสู ตรและวิธีการเรี นการสอน
ด้วยเหตุผลและความสาคัญดังกล่าวข้างต้น ผูว้ ิจยั มีความสนใจที่จะศึกษาแนวคิด
ทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺ นูน และแนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัล ซัรนูญียแ์ ละ
การนาแนวคิดทางการศึกษามาประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม เพราะแนวคิดของ

4
อัสสัลญูกีย(์ seljuq)คือรัฐหนึ่ งที่มีความแข็งแกร่ งทางด้านการปกครองในสมัยก่อนซึ่ งได้ปกครอง หลายประเทศ
เช่น อิหร่ าน อิรัก ซีเรี ย และเอเชียไมเนอร์ ได้ปกครองในปี ค.ศ.1038-1157
5
ผูก้ ่อตั้งราชวงค์ อัลอัยยูบีย ์ คือ ศอลาฮุดดีน อัลอัยยูบีย ์ หรื อที่ชาวตะวันตกเรี ยกว่า ซาลาดิน มีชื่อภาษาอาหรับเต็ม
ว่า ศอลาฮุดดี น ยูซุฟ อิบนุอยั ยูบ บางครั้งก็ถูกเรี ยกว่า อัลมาลิก อัลนาศิร ศอลาฮุดดีน ยูซุฟ เกิดเมื่อ ค.ศ.1137 ใน
ตาบลติกรี ต (ปั จจุบนั อยูใ่ นอิรัก) และเสี ยชี วิตในวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1193 ที่ เมืองดามัสคัส เป็ นหนึ่ งในบรรดา
ผูป้ กครองมุสลิมผูม้ ีชื่อเสี ยงที่สุด และเป็ นสุ ลต่านมุสลิมผูป้ กครองอียิปต์ซีเรี ยเยเมนและปาเลสไตน์ ในสงคราม
ต่อต้านการรุ กรานของนักรบครู เสด ศอลาฮุดดี นประสบความสาเร็ จในขั้นสุ ดท้ายด้วยการยึดเมื องเยรู ซาเลม
กลับคืนมาได้ในวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1187 ซึ่งทาให้การยึดครองของพวกแฟรงค์เป็ นเวลา 88 ปี ต้องสิ้นสุดลง
30

ทั้งสองนักคิดดังกล่าวได้ให้ความสาคัญกับสององค์ประกอบสาคัญของการเรี ยนรู ้หรื อการศึกษานั้น


คือผูส้ อนและผูเ้ รี ยนซึ่ ง มุหัมหมัด บิน สะหฺ นูนจะเน้นหนักในเรื่ องของผูส้ อน และอัลซัรนูญียจ์ ะ
เน้นหนักในเรื่ องผูเ้ รี ยน

1.2 อัลกุรอำน อัลหะดีษ เอกสำร และเอกสำรงำนวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

1.2.1 อัลกุรอำนทีเ่ กีย่ วข้ อง


อัลกุรอานเป็ นคัมภีร์ที่ครอบคลุมเนื้ อหาในทุกๆด้านของการดาเนิ นชี วิตของมนุ ษย์
อัลกุรอานจึงเพียบพร้ อมด้วยอายะฮฺ ที่สามารถตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุ ษย์เพื่อ
เป็ นบรรทัดฐานในการปฏิบตั ิไปสู่ ความสาเร็ จทั้งโลกนี้และโลกหน้า
จากการทบทวนอายะหฺ อลั กุรอานที่เกี ยวข้องกับการศึกษาในด้านต่างๆจึงพบว่ามี
อายะหฺ อลั กุรอานจานวนมากมายได้กล่าวถึงการศึกษาในด้านต่างๆดังนี้

1. ปรัชญำและเป้ำหมำยของกำรศึกษำ
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

        

(19:‫(حممد‬        

ความว่า “ฉะนั้นพึงรู ้เถิดว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใด(ที่ถูกกราบไหว้โดย


เที่ยงแท้) นอกจากอัลลอฮฺ และจงขออภัยโทษต่อความผิดเพื่อตัว
เจ้าและเพื่อบรรดาผูศ้ รัทธาชายและบรรดาผูศ้ รัทธาหญิง”
(มุหมั มัด :19)

อัลลอฮฺได้กาชับท่านนบี ให้รู้ถึงเป้ าหมายอันสู งสุ ดของการดาเนิ นชี วิตอยูบ่ น


โลกนี้ คือ ไม่มีพระเจ้าอื่ นไดที่ สมควรได้รับการเคารพภักดี นอกจากอัลลอฮฺ ดังนั้นจะเห็ นได้ว่า
เป้ าหมายอันสุ งสุ ดของการศึกษาในอิสลามคือการศึกษาที่สามารถเข้าถึงและรู้จกั พระองค์อลั ลอฮฺ
31

อัลลอฮฺตรัสว่า

             

ความว่า “บรรดาผูท้ ี่ มีความรู ้ จากปวงบ่าวของพระองค์เท่านั้นที่


เกรงกลัวอัลลอฮฺ แท้จริ งอัลลอฮฺ น้ นั เป็ นผูท้ รงอานาจ ผูท้ รงอภัย
เสมอ”
(ฟาฏิร : 28)

อิหม่ามอัลเฏาะบารี ยไ์ ด้กล่าวในตัฟสี รของท่านว่า “แท้จริ งผูท้ ี่ยาเกร่ งต่ออัลลอฮฺ ที่


แท้จริ งคือ บรรดาอุลามาอฺ เพราะพวกเขาเหลานั้นเป็ นผูท้ ี่รู้ดีในเรื่ องของบทลงโทษสาหรับผูท้ ี่ฝ่าฝื น
และเนรคุ ณต่ออัลลอฮฺ และเช่ นเดี ยวเป็ นผูท้ ีรู้ดีในเรื่ องของผลบุลสาหรับผูท้ ี่ภกั ดี ต่ออัลลอฮฺ (al-
Tabari:2000:20/462)
จากอายะฮฺ อลั กุรอานดังกล่าวเราสังเกตเห็นได้วา่ ผูท้ ี่ยาเกรงต่ออัลลอฮฺ ที่แท้จริ งใน
บรรดาปวงบ่าวของพระองค์ นั้นก็คือ อุ ลามาอฺ คื อผูท้ ี่ มีความรู ้ อย่างลึ กซึ้ งและกว้างขวาง ดังนั้น
เป้ าหมายของการศึกษาในอายะฮฺน้ ีก็คือ เพื่อให้ได้มาซึ่ งความรู ้ และความยาเกรงต่ออัลลอฮฺ

2. หลักสู ตร
อัลลอฮฺ ได้ตรัสว่า

        

       

     

ความว่า “พระองค์ (อัลลอฮฺ ) คือผูท้ รงส่ งรอซู ลคนหนึ่ งไปในหมู่ผู ้


ไม่รู้หนังสื อจากพวกเขาเองเพื่อสาธยายอายะฮฺ ต่างๆของพระองค์
แก่พวกเขาและขัดเกลาพวกเขาให้บริ สุทธิ์ และสอนคัมภีร์และฮิก
มะฮ์แก่พวกเขาและแม้วา่ ก่อนหน้านี้พวกเขาอยูใ่ นการหลงผิดอย่าง
ชัดแจ้งก็ตาม”
(อัลญุมุอะฮ์ : 2)
32

อิบนุ กะษิรได้อรรถาธิ บายอายะฮฺ น้ ี วา่ ในอายะฮฺ น้ ี ถือว่าเป็ นการตอบรับของอัลลอฮฺ


จากการขอดุอาอฺ ของท่านอิบรอฮีมุลเคาะลี ล ซึ่ งท่านได้ขอให้พระองค์อลั ลอฮฺ ได้โปรดประทาน
ให้กบั ชาวมักกะฮฺ ซ่ ึ งนบีที่มีภาระหน้าที่ในการสาธยายอายะฮฺ ต่างๆของพระองค์แก่พวกเขา และขัด
เกลาพวกเขาให้บริ สุทธิ์ และสอนคัมภีร์และฮิกมะฮ์แก่พวกเขา และแล้วอัลลอฮฺ ก็ได้ประทานให้กบั
พวกเขาซึ่งนบีที่มาพร้อมด้วยศาสนบัญญัติที่สมบูรณ์ ครบถ้วน(Ibn Kthir,1999:116)

อัลลอฮฺตรัสอีกว่า

        

        

ความว่า “และสิ่ งที่ท่านเราะซูลของพวกเจ้าได้นามาจงรับมันไว้ และ


สิ่ ง ที่ ท่ า นเราะซู ล ของพวกเจ้า ห้ า มจงละทิ้ ง มันเสี ย พวกเจ้า จงย า
เกรงอัลลอฮฺเถิด แท้จริ งอัลลอฮฺเป็ นผูท้ รงเข้มงวดในการลงโทษ”
(อัลหัชรฺ : 7)

3. กระบวนกำรเรียนกำรสอน

อัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานว่า

        

ความว่า“ดังนั้น สู เจ้าจงถามผูร้ ู ้ หากสู เจ้าไม่รู้”


(อันนะหลฺ : 43)

บรรดาอุลามาอฺ ได้มีมติเอกฉันท์ว่า อายะฮฺ น้ ี ใช้ให้ผทู ้ ี่ไม่รู้หุกุ่มและหลักฐานของ


มัน ทาการตามผูท้ ี่มีความรู ้กบั สิ่ งดังกล่าว และบรรดาอุลามาอฺ อุซูลุลฟิ กห์ทวั่ ไปก็ยึดอายะฮฺ น้ ี มาเป็ น
หลักฐานว่า จาเป็ นบนคนเอาวามทัว่ ไปต้องตักลีดตามผูร้ ู ้ที่เป็ นมุจญฺ ตะฮิด(al.Uthaimin,2000:49/14)

4. ผู้สอนและผู้เรียน
อัลกุรอานได้พดู ถึงผูส้ อนและผูเ้ รี ยนในหลายๆอายะฮฺ ดังนี้
33

อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

           

         

  

ความว่า “ไม่บงั ควรที่บรรดาผูศ้ รัทธาจะออกไปสู ้รบทั้งหมด ทาไม


แต่ ล ะกลุ่ ม ในหมู่ พ วกเขาจึ ง ไม่ อ อกไป เพื่ อ หาความเข้า ใจใน
ศาสนา และเพื่อจะได้ตกั เตือนหมู่คณะของพวกเขา เมื่อพวกเขาได้
กลับมายังหมู่คณะของพวกเขา โดยหวังว่าหมู่คณะของพวกเขาจะ
ได้ระมัดระวัง”
(อัตเตาบะห์ : 122)

อัลลอฮฺตรัสอีกว่า

           

     

ความว่า “และเรามิได้ส่งผูใ้ ดมาก่อนหน้าเจ้า นอกจากเป็ นผูช้ ายที่


เราได้วะฮีแก่พวกเขา ดังนั้น พวกเจ้าจงถามบรรดาผูร้ ู้ หากพวกเจ้า
ไม่รู้”
(อัน.นะห์ลฺ :43 )
อัลลอฮฺตรัสอีกว่า

           

ความว่า“และทรงสอนเจ้าในสิ่ งที่เจ้าไม่เคยรู ้มาก่อนและความโปรด


ปรานของอัลลอฮฺ ต่อเจ้านั้มหาศาลนัก”
(อันนิสาอฺ :113)
34

อัลลอฮฺตรัสอีกว่า

         

          

ความว่า “อัล ลอฮฺ ท รงยื น ยัน ว่า ไม่ มี พ ระเจ้า อื่ น ใดแล้ว นอกจาก
พระองค์ บรรดามลาอิ กะฮ์ และบรรดาผูม้ ี ความรู ้ (ก็ต่างยืนยัน
ดัง กล่ า วเช่ น กัน )ว่า ไม่ มี ผูท้ ี่ ค วรได้รั บ การเคารพสั ก การะใด ๆ
นอกจากพระองค์ผทู ้ รงเดชานุภาพ ผูท้ รงปรี ชาญาณเท่านั้น”

(อาลิอิมรอน :18)

อัลลอฮฺตรัสอีกว่า

         

    

ความว่า“จงกล่าวเถิดว่าผูท้ ี่มีความรู ้กบั ผูท้ ี่ไม่มีความรู ้น้ นั เท่าเทียม


กันกระนั้นหรื อแท้จริ งบรรดาผูม้ ีสติปัญญาเท่านั้นที่จะใคร่ ครวญ”

(อัซซุมรั :9)

1.2.2 อัลหะดีษทีเ่ กีย่ วข้ อง

1.ปรัชญำและเป้ำหมำยของกำรศึกษำ
จากการทบทวนอัล หะดี ษ ที่ เ กี ย วข้อ งกับ การศึ ก ษาซึ่ ง มี จ านวนมากหมายที่ ไ ด้
กล่าวถึงวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายของการศึกษาดังนี้
35

จากท่านอิบนุ อุมรั จากท่านนบีได้กล่าวว่า

‫)) عن ابن عمر عن النيب صلى اهلل عليه وسلم قال من طلب العلم‬
‫ليماري به السفهاء أو ليباهي به العلماء أو ليصرف وجوه الناس إليه‬
(( ‫فهو يف النار‬

ความว่า “รายงานจากอิบนิ อุมรั จากท่านบี  กล่าวว่า “ ผูใ้ ด


แสวงหาความรู ้ เพื่อโต้เถียงเอาชนะกับบรรดาคนไม่รู้ หรื อ เพื่อ
โอ้อวดภูมิปัญญากับบรรดาผูร้ ู ้ หรื อ เพื่อต้องการเป็ นจุดเด่นให้
ผูค้ นสนใจเขา ดังนั้นเขาจะอยูใ่ นนรก”
(Ibn Majah,2009 :253)
ในหะดี ษบทนี้ ท่านนบีได้ให้ขอ้ ตักเตือนและข้อระมัดระวังสาหรับผูท้ ี่แสวงหา
ความรู ้ ที่มีเป้ าหมายหรื อได้ต้ งั เจตนาที่ไม่บริ สุทธ์ เช่ น เพื่อโต้เถียงเอาชนะกับบรรดาคนไม่รู้ หรื อ
เพื่อโอ้อวดภูมิปัญญากับบรรดาผูร้ ู ้ หรื อ เพื่อต้องการเป็ นจุดเด่นให้ผคู ้ นสนใจ กับการเข้าไปอยูใ่ น
ไฟนรกของอัลลอฮฺ  ดังนั้นเป้ าหมายในการแสวงหาความรู้ในอิสลาม คือ เพื่อความโปรดปราน
ของอัลลฮฮฺ

‫ قال رسول اهلل صلى اهلل‬: ‫((عن عمر بن اخلطاب رضي اهلل عنه قال‬
‫ " إمنا األعمال بالنيات وإمنا لكل امرئ ما نوى فمن‬: ‫عليه وسلم‬
‫كانت هجرته إىل اهلل ورسوله فهجرته إىل اهلل ورسوله ومن كانت‬
))‫هجرته لدنيا يصيبها أو امرأة ينكحها فهجرته إىل ما هاجر إليه‬

ความว่า รายงานจากท่านอุมรั อิบนุ ลคอตตอบ รอดิ ย้ ลั ลอฮุอนั ฮุ


กล่ า วว่า ท่ า นนบี มุ ฮ ัม มัด  ได้ก ล่ า วว่า “แท้จ ริ ง กิ จ การงาน
ทั้งหลายนั้นขึ้นอยูก่ บั เจตนาและแท้จริ งสาหรับทุกคนนั้น เขาก็จะ
ได้รับในสิ่ งที่เขาได้ต้ งั เจตนาไว้ ดังนั้นผูใ้ ดที่การอพยพของเขา(มี
เจตนา)เพื่ออัลลอฮ์และศาสนทูต(รอซู ล)ของพระองค์ก็ถือว่าการ
อพยพของเขานั้นมีข้ ึนเพื่ออัลลอฮ์และศาสนทูตของพระองค์(เพื่อ
แสวงความพอพระทัยจากอัลลอฮ์ )และผูใ้ ดที่การอพยพของเขา
เพื่อโลกนี้ (ทรัพย์สินเงินทองหรื อเพื่อความสุ ขทางโลกเพียงอย่าง
36

เดี ยว)หรื อเพื่อสตรี ที่เขาต้องการ จะสมรสด้วย ดังนั้นการอพยพ


ของเขานั้นจึงนาไปสู่ สิ่งที่เขาตั้งเป้ าหมายเอาไว้
(al-Bukhari,1986:6467,Muslim,1996:3537)

2. หลักสู ตรกำรเรียนกำรสอน
หลักสู ตรเป็ นสิ่ งสาคัญของการจัดการศึกษา เพราะเป็ นสิ่ งที่กาหนดแนวทางการ
ปฏิบตั ิในการจัดการเรี ยนการสอนให้บรรลุ จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ ท่านนบีได้กล่าวในหลายๆ
หะดีษที่มีความเกี่ยวข้องกับหลักสู ตรการเรี ยนการสอน ดังนี้

ท่านนบี ได้กล่าว่า

)) ‫((خريكم من تعلم القرآن وعلمه‬

ความว่า “คนที่ดีเลิศในจานวนพวกท่านคือ คนที่เรี ยนรู้อลั กุรอาน


เเละสอนกุรอาน”
(al.Bukhari,1986:4739)
สังเกตจากหะดี ษของท่านนบี  ดังกล่าวจะเห็ นได้ว่า วิชาที่มีเกี ยรติและที่ ได้ผล
บุญมากที่สุด ในการเรี ยนการสอนในอิ สลาม นั้นก็คือวิชาอัลกุรอาน เพราะอัลกุรอานเป็ นคาตรั ส
ของพระองค์อลั ลอฮฺ แต่ อย่า งไรก็ ตามอิ สลามไม่ ปฏิ เสธในแขนงวิช าอื่ นๆที่ ม นุ ษย์ทุ กคนได้รับ
ประโยชน์จากการศึกษาหาความรู้และเป็ นหนทางในการที่จะรู้จกั พระองค์อลั ลอฮฺ
รายงานจากมุอาซบินญะบัลได้กล่าวว่า

‫((عن معاذ أن رسول اهلل صلى اهلل عليه وسلم ملا بعثه إىل اليمن قال‬
, ‫ أقضي بكتاب اهلل‬: ‫ كيف تقضي إذا عرض لك قضاء ؟ قال‬: ‫له‬
: ‫ قال‬, ‫ فبسنة رسول اهلل‬: ‫ فإن مل جتد يف كتاب اهلل ؟ قال‬: ‫قال‬
‫ أجتهد‬: ‫ وال يف كتاب اهلل ؟ قال‬, ‫فإن مل جتد يف سنة رسول اهلل‬
, ‫ فضرب رسول اهلل صلى اهلل عليه وسلم صدره‬, ‫ وال آلو‬, ‫رأيي‬
)) ‫ احلمدهلل الذي وفق رسول رسول اهلل ملا يرضي رسول اهلل‬: ‫وقال‬
37

ความว่า “จากมุ อาซว่า"ในขณะที่ท่านนบี ได้ส่งมุ อาซฺ ไปยัง


เยเมน ท่านเราะซู ลลกล่าวว่า "ท่านจะตัดสิ นอย่างไรหากมีคดีหนึ่ ง
เกิดขึ้นกับท่าน ?" เขากล่าวว่า "ฉันจะตัดสิ นด้วยกับสิ่ งที่อยูใ่ นกิตา
บุลลอฮ์" ท่านเราะซู ลลุ ลเลาะฮฺ กล่าวว่า "หากไม่มีระบุไว้ในกิ ตา
บุลลอฮ์ล่ะ?" เขากล่าวว่า "ก็ดว้ ยซุ นนะฮ์ของเราะซู ลลุลเลาะฮ์"
ท่านนบีกล่าวว่า "หากไม่มีระบุไว้ในซุ นนะฮ์ของเราะซู ลลุลเลาะฮ์
ล่ะ?" เขาตอบว่า "ฉันก็จะทาการวินิจฉัยกับความเห็นของฉัน โดย
ฉันจะไม่ทาให้บกพร่ อง" ดังนั้น ท่านเราะซู ลลุลเลาะฮ์  ก็ได้ตบ
อกของมุอาซฺ แล้วกล่าวว่า การสรรเสริ ญเป็ นอภิสิทธิ์ ของอัลเลาะฮ์
ผูท้ รงชี้ นาทูตของเราะซู ลลุ ลลอฮ์ให้กบั สิ่ งที่ทาให้เราะซู ลลุ ลลอฮ์
พอใจ"
(Abu Dawud,1969:3594)

3. กระบวนกำรเรียนกำรสอน
จากการทบทวนหลัก ฐานอัล หะดี ษ ของท่ า นนบี ในหลายๆตัว บทได้พ บว่ า
อิ ส ลามได้ใ ห้ ค วามส าคัญ กับ กระบวนการเรี ย นการสอน ซึ่ งกระบวนการเรี ย นการสอนเป็ น
องค์ประกอบสาคัญที่จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนนั้นได้มาซึ่ งความรู ้อย่างง่ายดายและรวดเร็ วขึ้น ท่านนบี ได้
ใช้กระบวนการเรี ยนการสอนในหลายๆสถานการณ์ ดังเช่นในหะดีษที่ท่านนบีได้กล่าวว่า

‫ كان النيب صلى اهلل عليه و سلم بارزا يوما‬: ‫((عن أيب هريرة قال‬
‫للناس فأتاه جربيل فقال ما اإلميان ؟ قال ( أن تؤمن باهلل ومالئكته‬
‫ قال ما اإلسالم ؟ قال ( اإلسالم أن‬. ) ‫وبلقائه ورسله وتؤمن بالبعث‬
‫تعبد اهلل وال تشرك به وتقيم الصالة وتؤدي الزكاة املفروضة وتصوم‬
‫ قال ما اإلحسان ؟ قال ( أن تعبد اهلل كأنك تراه فإن مل‬. ) ‫رمضان‬
‫ قال مىت الساعة ؟ قال ( ما املسؤول عنها‬. ) ‫تكن تراه فإنه يراك‬
‫بأعلم من السائل وسأخربك عن أشراطها إذا ولدت األمة رهبا وإذا‬
‫ مث‬. ) ‫تطاول رعاة اإلبل البهم يف البنيان يف مخس ال يعلمهن إال اهلل‬
‫تال النيب صلى اهلل عليه و سلم { إن اهلل عنده علم الساعة } اآلية‬
38

‫مث أدبر فقال ( ردوه ) فلم يروا شيئا فقال ( هذا جربيل جاء يعلم‬
)) ‫الناس دينهم‬
ความว่า : จากท่านอบูฮุรอยเราะห์รายงานว่า :ขณะที่ ท่านเราะสู
ลุลลอฮฺ  ปรากฏตัวต่อสาธรณะในวันหนึ่ งได้มีชายผูห้ นึ่ งมาหา
ท่านโดยกล่าวว่าโอ้ท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺ อัลอีหม่านคืออะไร
ท่านตอบว่าคือการที่ท่านต้องศรัทธาต่อพระองค์อลั ลลอฮฺ มะลาอิ
กะห์ของพระองค์,คัมภีร์ของพระองค์,และการพบกัพระองค์(วัน
แห่ งการสอบสวนและตัดสิ น)บรรดาศาสนทูตของพระองค์,และ
การที่ท่านต้องศรัทธาต่อการฟื้ นคืนชี พในวันอาคิเราะห์ เขากล่าว
ว่า โอ้ท่ านศาสนทูตของอัลลอฮฺ อัลอิ ส ลามคื ออะไรท่า นตอบว่า
อัลอิสลามก็คือ การที่ท่านสักการะต่อพระองค์อลั ลอฮฺ โดยไม่มีภาคี
ใดๆกับพระองค์,และการดารงละหมาดที่ถูกบัญญัติไว้,การจ่ายซะ
กาตที่ถูกกาหนดไว้,และการถือศีลอดเดือนรอมฏอน เขากล่าวว่า
โอ้ท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺ อัลอิหฺซาน คืออะไร ท่านตอบว่า คือ
การที่ ท่ า นสั ก การะต่ อ พระองค์อ ัล ลอฮฺ ป ระหนึ่ ง ว่า ท่ า นได้เ ห็ น
พระองค์หากแต่ท่ านมิ ได้เห็ นพระองค์แต่ พระองค์ท รงเห็ นท่า น
เขากล่าวว่า โอ้ท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺ กาลอวสานจะเกิ ดขึ้ น
เมื่อไหร่ ท่านตอบว่า หาใช่วา่ ผูถ้ ูกถามจะรู ้ดีไปกว่าผูถ้ ามอย่างไรก็
ตามฉันจะบอกถึ งสัญญาณต่างๆของมันให้ทราบคือเมื่อนางทาส
คลอดผูเ้ ป็ นนายของนางออกมา นี่แหละคือหนึ่งในสัญญาณของ
มัน และเมื่อผูไ้ ม่มีอาภรณ์สวมใส่ ผูม้ ีแต่เท้าเปล่า ได้เป็ นนายคน นี่
ก็เป็ นอีกสัญญาณหนึ่งของมัน และเมื่อชาวชนบทที่ตอ้ นฝูงแกะได้
แข่งขันกันสร้างอาคารสู ง นี่ ก็เป็ นอีกสัญญาณหนึ่ งของมันแต่ยงั มี
อีกห้าประการซึ่ งไม่มีผใู ้ ดรู ้ ได้นอกจากพระองค์อลั ลอฮฺ หลังจาก
นั้น ท่านรอซู ลุลลลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ก็ได้อ่าน (อัล
กุรอาน) “แท้จริ ง ณ พระองค์อลั ลออ์น้ นั มีความรู ้เรื่ องกาลอวสาน
พระองค์ทรงทาให้ฝนหลัง่ ลงมาจากฟากฟ้ าและพระองค์ทรงรู ้ดีถึง
สิ่ งที่มีอยูใ่ นมดลูกไม่มีผใู ้ ดรู ้ถึงสิ่ งที่เขาจะได้รับในวันรุ่ งขึ้น และ
ไม่มีผใู ้ ดรู ้วา่ เขาจะเสี ยชีวติ ณ.แผ่นดินใด แท้จริ งพระองค์อลั ลอฮฺผู้
39

ทรงรอบรู ้ อย่างถี่ ถว้ น”เขา(อบูฮุรอยเราะห์) กล่าวว่า หลังจากนั้น


ชายผูถ้ ามก็กลับไป ท่านเราะสู ลุลลอฮฺ  จึงได้กล่าวว่า พวกเจ้า
จงไปตามชายผูน้ ้ นั กลับมาหาฉัน พวกเขาจึงไปตามหาแต่ไม่พบ
ร่ องรอยของเขาเลย ท่านเราะสู ลุลลอฮฺ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิ
วะซัล ลัมได้กล่ าวว่า เขาคื อญี บรี ล ที่มาเพื่อสอนผูค้ นในเรื่ อง
ศาสนาของพวกเขา
(Muslim,1996:50)

ในหะดีษบทนี้ ท่านญิบรี ลใช้เทคนิ คและวิธีการสอนแบบถามตอบ ซึ่ งได้ถามท่าน


นบีTเกี่ ยวกับสิ่ งสาคัญตามลาดับนั้นคือ อิมาน อิสลาม และอิหฺสาน ซึ่ งโดยปกติแล้ว วิธีการสอน
แบบ ถาม.ตอบ (Question.Answer Method) มีจุดประสงค์ ดังนี้

1. เพื่อวัดผลการสอน
2. เพื่อทบทวนเนื้ อหาต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ ว
3. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดความสนใจโดยมีส่วนร่ วมในการที่จะตอบคาถาม
4. เพื่อฝึ กให้ผเู้ รี ยนรู้จกั ฟังและคิดตามด้วยเหตุและผล
5. เพื่อฝึ กให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั เรี ยงลาดับขั้นความคิด
6. เพื่อให้ผเู้ รี ยนสามารถสรุ ปบทเรี ยนได้

จากท่านอบูฮุร็อยเราะฮฺได้เล่าว่า:ท่านเราะสู ลุลลอฮฺTได้ถามเศาะหาบะฮฺวา่

‫ املفلس فينا يا رسول اهلل من ال درهم له‬: ‫((أتدرون من املفلس؟ قالوا‬


‫ املفلس من أميت من‬: ‫ قال رسول اهلل صلى اهلل عليه وسلم‬، ‫وال متاع‬
‫ ويأيت قد شتم هذا وقذف‬، ‫يأيت يوم القيامة بصالته وصيامه وزكاته‬
‫ وضرب هذا فيقعد فيقتص‬، ‫ وسفك دم هذا‬، ‫ وأكل مال هذا‬، ‫هذا‬
‫ فإن فنيت حسناته قبل أن‬، ‫ وهذا من حسناته‬، ‫هذا من حسناته‬
‫يقتص ما عليه من اخلطايا أخذ من خطاياهم فطرح عليه مث طرح يف‬
))‫النار‬
40

ความว่า: พวกท่านรู ้ ไหม ว่า ใครคือ บุคคลล้มละลาย? พวกเขา


ตอบว่า "บุคคลล้มละลายในหมู่พวกเรา คือ ผูท้ ี่ไม่มีเงิน และไม่มี
ทรัพย์สิน แล้วท่านเราะสู ลุลลอฮฺ  ก็กล่าวว่า "แท้จริ ง บุคคล
ล้ม ละลายจากอุ ม มะฮของฉั นคื อผูท้ ี่ ม าในวัน กิ ย ามะฮด้ว ยการ
ละหมาดการถือศีลอดและ การจ่ายซะกาตและเขามาโดยที่ เขา
เคยด่าว่าคนนี้เคยกล่าวหาคนนี้ เคยกินทรัพย์สินคนนี้ เคยนองเลือด
กับคนนี้ และเคยทุบตีคนนี้ แล้วบรรดาความดี ของเขาถูกนามาให้
คนนี้ แล้ว ถ้า บรรดาความดี ข องเขาหมดก่ อนที่ จะถู ก ชดใช้จ าก
ความผิดต่าง ๆ แล้ว ความผิดของพวกเขา (คนที่ เขาทาไม่ดีไว้)ก็
ถูกเอามาแล้วโยนให้เขาผูน้ ้ นั รับภาระหลังจากนั้นเขาก็ถูกโยนลง
ในนรก"
( Muslim,1996 :6744)
ในหะดี ษบทนี้ ท่านนบีใช้วิธีการสอนแบบถามตอบโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เศาะ
หาบะฮฺ เกิ ดความสนใจและมี ส่ วนร่ วมในการที่ จะตอบคาถาม โดยท่ า นนบี จะบอกสิ่ ง ที่ เศาะ
หาบะฮฺ ยงั ไม่รู้ในสิ่ งที่ท่านจะกล่าว โดยถามว่า พวกท่านรู ้ ไหม ว่า ใครคือ บุคคลล้มละลาย เป็ น
คาถามที่ผคู ้ นมักจะตอบว่า บุคคลล้มละลาย คือ ผูท้ ี่ไม่มีเงิ น และไม่มีทรัพย์สิน แต่ท่านนบีได้
ตอบในมุมมองของอิสลามคือผูท้ ี่มาในวันกิยามะฮ ด้วยการละหมาด การถือศีลอดและการจ่ายซะ
กาต และเขามา โดยที่เขาเคยด่าว่าคนนี้ เคยกล่าวหาคนนี้ เคยกินทรัพย์สินคนนี้ เคยนองเลือดกับคน
นี้ และเคยทุบตีคนนี้ แล้วบรรดาความดีของเขาถูกนามาให้คนนี้ แล้วถ้าบรรดาความดีของเขาหมด
ก่อนที่จะถูกชดใช้จากความผิดต่าง ๆ แล้ว ความผิดของพวกเขา(คนที่เขาทาไม่ดีไว้)ก็ถูกเอามาแล้ว
โยนให้เขาผูน้ ้ นั รับภาระหลังจากนั้นเขาก็ถูกโยนลงในนรก

ท่านอะบูฮุร็อยเราะฮฺ ได้รายงานว่า มีเศาะฮาบะฮฺคนหนึ่งได้ถามท่านนบีว่า

‫ أن رسول اهلل صلى اهلل عليه و سلم قال‬: ‫(( عن أبيه عن أيب هريرة‬
‫أتدرون ما الغيبة؟ قالوا اهلل ورسوله أعلم قال ذكرك أخاك مبا يكره قيل‬
‫أفرأيت إن كان يف أخي ما أقول؟ قال إن كان فيه ما تقول فقد اغتبته‬
))‫وإن مل يكن فيه فقد هبته‬
41

ความว่า “รายงานจากท่านอบีฮุร็อยเราะฮฺ โดยได้กล่าวว่า ท่านนบี


ได้กล่าวว่า พวกเจ้าทราบไหมว่า การนินทาคืออะไร?เศาะหาบะฮฺ
ตอบว่าอัลลอฮฺ และเราะซู ลลทรงรู ้ ดี ท่านนบีกล่าวว่า การที่ท่าน
พูดถึงพี่นอ้ งของท่านในเรื่ องที่เขาไม่ชอบ เศาะฮาบะฮฺ บางท่านได้
ถามต่อว่า ถ้าหากว่าเรื่ องที่ฉนั พูดถึงนั้นเป็ นเรื่ องจริ งล่ะ ท่านจะว่า
เช่นไร ท่านนบี ตอบว่า ถ้าหากว่าสิ่ งที่ท่านพูดถึงเป็ นเรื่ องจริ งนัน่
ก็หมายความว่าท่านได้นินทาเขาแล้ว และถ้าหากว่าสิ่ งที่ท่านพูดถึง
นั้นเป็ นเรื่ องไม่จริ ง ก็หมายความว่าท่านได้ปรักปราเขา”
(Muslim,1996 :70)
มีรายงานจากอับดุลลอฮฺบินมัสอูดได้กล่าวว่า
‫ خط لنا رسول اهلل صلى اهلل عليه وسلم‬:‫))عن عبد اهلل بن مسعود قال‬
‫ مث خط خطوطا عن ميينه وعن مشاله مث‬،‫ هذا سبيل اهلل‬:‫خطا مث قال‬
‫ يزيد متفرقة على كل سبيل منها شيطان يدعو‬:‫ قال‬،‫ هذه سبل‬:‫قال‬
‫إليه مث قرأ ) إن هذا صراطي مستقيما فاتبعوه وال تتبعوا السبل فتفرق‬
(3928 :‫ رقم احلديث‬،‫بكم عن سبيله( )رواه أمحد‬
ความว่า “จากอับดุลลอฮฺ เบ็น มัสอูด เล่าว่า : “ท่านนบี ได้ขีดเส้น
หนึ่ งเส้ น ให้ พ วกเรา หลั ง จากนั้ น ท่ า นกล่ า วว่ า “นี่ คื อ แนวทาง
ของอัล ลอฮฺ ” หลังจากนั้นท่ านได้ขี ดอี ก เส้ นอี กหลายๆ เส้ นจาก
ทางขวาของท่าน และทางซ้ายของท่าน หลังจากนั้นท่านก็กล่าวว่า “
นี้ คือแนวทางที่หลากหลาย” ท่านก็กล่าวต่อไปว่ามันจะเพิ่มขึ้นบน
ทุกๆ เส้นทางที่ หลากหลายนั้นมีชยั ฏอนที่คอยเชิ ญชวนไปกับมัน
หลังจากนั้นท่านนบีก็ได้อ่านอายะฮฺ อลั กุรอานความว่า “และแท้จริ ง
นี้ คือทางของข้าอันเที่ยงตรงพวกเจ้าจงปฏิ บตั ิตามมันเถิ ด และอย่า
ปฏิบตั ิตามหลายทาง เพราะมันจะทาให้พวกเจ้าแยกออกจากทางของ
พระองค์
(Ahmad,1995 : 3924)
42

4. ผู้สอนและผู้เรียน
อิสลามได้ให้ความสาคัญกับผูเ้ รี ยน โดยกาชับให้มุสลิมทุกคนศึกษาหาความรู ้ ท่านน
บี  ได้กล่าวในหะดีษบทหนึ่งว่า

‫((الدنيا ملعونة وملعون من فيها إال ذكر اهلل وماوااله أو عامل أو‬
2322: ‫متعلم )) رواه الرتمذي‬

“ ดุ นยำนี้ถูกสำปแช่ ง ถู กสำปแช่ งทุกสิ่ งทุกอย่ ำงยกเว้ นสิ่ งที่รำลึก


ถึงอัลลอฮฺ และสิ่ งกระทำเพื่อรำลึกถึ งพระองค์ อัลลอฮฺ และผู้สอน
และผู้เรียน”
(al-Tirmidhi,1975 : 2322)
ท่านนบีได้กล่าวว่า
‫))فضل العامل على العابد كفضلي على أدناكم إن اهلل ومالئكته وأهل‬
‫السموات واألرض حىت النملة يف جحرها وحىت احلوت ليصلون على معلم‬
((‫الناس اخلري‬

ความว่า“ความประเสริ ฐของผูม้ ี ความรู ้ เหนื อคนทาอิ บาดะฮ์น้ นั


เปรี ยบเสมือนความประเสริ ฐของฉันเหนื อพวกท่าน แท้จริ งอัลลอ
ฮฺ บรรดามลาอิกะฮ์ ผูท้ ี่อยูใ่ นชั้นฟ้ าและผืนแผ่นดินแม้กระทัง่ มดที่
อยูใ่ นรู หรื อปลานั้นต่างสดุดีต่อผูท้ ี่สอนความดีแก่ผคู ้ น”
(al-Tirmidhi,1975:2901)

‫ إمنا ورثوا‬،‫ إن األنبياء مل يورثوا دينارا وال درمها‬،‫((العلماء هم ورثة األنبياء‬


))‫ فقد أخذ حبظ وافر‬،‫ فمن أخذ به‬،‫العلم‬

ความว่า“บรรดาอุลามาอ์น้ นั คือผูส้ ื บทอดของบรรดานบี แท้จริ ง


บรรดานบีไม่ได้ทิ้งเงินทองเอาไว้ ทว่าพวกท่านได้ทิ้งไว้ซ่ ึ งความรู ้
ดังนั้นผูใ้ ดที่ได้มนั ไปเขาผูน้ ้ นั ได้รับความดีอนั มากมายไปแล้ว”

(Ibn Majah,2009:228)
43

ท่านนบีได้กล่าวอีกว่า

))‫((الدنيا ملعونة ملعون ما فيها إال ذكر اهلل وما وااله وعاملا أو متعلما‬

ความว่า“ดุนยำนี้ถูกสำปแช่ ง ถูกสำปแช่ งทุกสิ่ งทุกอย่ ำงที่อยู่ในดุน


ยำยกเว้น กำรรำลึกถึงอัลลอฮฺและสิ่ งที่ทำให้ รำลึกถึงพระองค์ และ
ผู้ร้ ู และผู้เรียน”(al.Tirmidhi:2495)
รายงานจากท่านอิบนุอบั บาส 

‫ أجود‬.‫صلى اهلل عليه وسلم‬. ‫((عن ابن عباس قال كان رسول اهلل‬
‫الناس باخلري وكان أجود ما يكون ى شهر رمضان إن جربيل عليه‬
‫السالم كان يلقاه ى كل سنة ى رمضان حىت ينسلخ فيعرض عليه‬
‫ القرآن فإذا لقيه جربيل كان رسول‬.‫صلى اهلل عليه وسلم‬. ‫رسول اهلل‬
))‫ أجود باخلري من الريح املرسلة‬.‫صلى اهلل عليه وسلم‬. ‫اهلل‬

ความว่ า จากท่ า นอิ บ นุ อ ับ บาสได้ก ล่ า วว่ า ท่ า นเราะซู ลุ ล ลอฮฺ


ศ็อลลัล ลอฮุ อะลัย ฮิ วะสัล ลัม เป็ นบุ คคลที่ ใ จบุญที่ สุ ดในบรรดา
มนุ ษ ย์ท้ ัง หลาย และท่ า นจะท าความดี ม ากที่ สุ ด ในเดื อ นเราะ
มะฎอน โดยเฉพาะเมื่อยามที่ท่านมะลาอิกะฮฺ ญิบรี ลได้มาหาท่าน
ในทุกๆ คืนของเดือนเราะมะฎอน และทั้งสองก็จะศึกษาอัลกุรอาน
ด้วยกัน

(Muslim,1996:6149)

คาว่า มุดาเราะซะฮฺในภาษาอาหรับมีความหมายเหมือนกับคาว่า มุฟาอะละฮฺ คือ


ทั้งสองฝ่ ายได้มีส่วนร่ วมในการศึกษาเรี ยนรู ้เกี่ยวกับอัลกุรอาน
ท่านนบีได้กล่าวอีกว่า

: ‫ قال رسول اهلل صلى اهلل عليه وسلم‬: ‫عن أيب هريرة رضي اهلل عنه قال‬
‫)) من جاء مسجدي هذا مل يأته إال خلري يتعلمه أو يعلمه فهو يف منزلة‬
44

‫ ومن جاءه لغري ذلك فهو مبنزلة الرجل ينظر إىل‬، ‫اجملاهد يف سبيل اهلل‬
(227) ‫متاع غريه (( [أخرجه ابن ماجه‬

ท่า นรอซู ลุ้ลอฮ ศ็อลลัล ลอฮุ อะลัยฮิ วะสัล ลัม กล่ า วว่า (ผูใ้ ด
มามัส ญิ ดของฉันแห่ ง นี้ เขาไม่ ไ ด้ม าที่ น้ ี เพื่ ออื่ นใด นอกจากเพื่ อ
ความดี ซึ่งเขาได้เรี ยนหรื อได้สอนมัน ดังนั้นเขาคือผูอ้ ยูใ่ นฐานะผู ้
ที่ดิ้นรนต่อสู ้ในวิถีทางของอัลลอฮฺ และผูใ้ ดมาเพื่ออื่นจากนั้น เขา
คือผูท้ ี่อยูใ่ นฐานะชายคนหนึ่งที่มองดูเครื่ องประดับของผูอ้ ื่น”
(Ibn Majah,2009:227)
‫((ال حسد إال يف اثنتني رجل آتاه اهلل ماال فسلط على هلكته يف‬
.(( ‫ ورجل آتاه اهلل احلكمة فهو يقضي هبا ويعلمها‬، ‫احلق‬

ความว่า “ ห้ามอิจฉานอกจากต่อบุคคล 2 ประเภท คือ บุคคล


ที่อลั ลอฮฺให้เขาได้รับอัลกุรอานแล้วเขาได้ยืนอยูก่ บั มันทั้งกลางวัน
และกลางคืน และต่อบุคคลที่อลั ลอฮฺประทานทรัพย์สินมากมายแก่
เขาแล้ ว เขาได้ ใ ช้ จ่ า ยในหนทางของอัล ลอฮฺ ท้ ัง กลางวัน และ
กลางคืน
(al.Bukhari,1986 :1343, Muslim,1996 :1933)
. (( ‫((من يرد اهلل به خريا يفقهه يف الدين‬

ความว่า “ผูใ้ ดที่อลั ลอฮฺ ประสงค์ให้ความดี กบั เขา อัลลอฮฺ ให้เขาผู ้


นั้นเข้าใจในศาสนาของพระองค์”
(al.Tirmidhi,1975 : 2645)

1.2.3 เอกสำรทีเ่ กีย่ วข้ อง

1.2.3.1 เอกสำรทีเ่ กีย่ วข้ องกับแนวคิดของมุหัมมัดบินสะหฺนูนพอสรุ ปดังนี้


นูรอับดุ ลอะมีร ซัมสุ ดดี น(1985) ได้กล่ าวถึ งบางส่ วนของแนวคิดการศึ กษาของ
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนในหนังสื อ (al-Fikr al-Tarbawi inda Ibn Sahnun wal Qabisi) โดยได้แบ่ง
หนังสื อออกเป็ นสามบท บทแรกเกี่ยวกับนิ ยามและประวัติความเป็ นมาของฟิ กฮฺ บทที่สองเกี่ยวกับ
45

ประวัติของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและอัลกอบิสีย ์ และได้กล่าวถึงสภาพทางศาสนาและการศึกษาสมัย


นั้นพร้ อมได้กล่าวถึ งการแพร่ ขยายของทัศนะอิมามมาลิกในมัฆริ บและในทางตอนเหนื อของทวีป
แอฟริ กา บทที่สามได้กล่าวถึงบางส่ วนของแนวคิดการศึกษาของท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูน ในบท
นี้ ได้กล่าวถึ งคุ ณค่าและความสาคัญของความรู ้ และนักปราชญ์ และได้กล่าวถึ งหน้าที่และมารยาท
ของผูเ้ รี ยน มารยาทในการลบโองการของอัลลอฮฺ การสั่งใช้ให้ละหมาดและอายุที่เหมาะสมในการ
เริ่ มละหมาด มารยาทในการอ่านอัลกุรอาน ค่าตอบแทนและของขวัญสาหรับครู ผสู ้ อน

ชาซลียอ์ ลั ฟี ตูรีย ์ ได้กล่าวในหนังสื อ มิน อะอฺ ลามี อัตตัรเบียะฮฺ อัลอิสลามิยะฮฺ ( ‫من‬


‫ )أعالم الرتبية اإلسالمية‬ถึงสภาพทางการเมืองและทางความคิดในเมืองกอยเราะวานในศตวรรษที่
สามแห่ งฮิ จญ์เราะฮฺ ศ กั ราชและได้ก ล่ าวถึ ง ประวัติและแนวคิ ดของท่ านสะหฺ นูนและได้ก ล่ า วถึ ง
ผลงานชิ้ นสาคัญของท่านสะหฺ นูน (ผูเ้ ป็ นบิดา) เช่ น เคยเป็ นผูพ้ ิพากษาในช่ วงท้ายของชี วิต ส่ วน
ตาราที่โด่งดังของท่าน ก็คือ หนังสื ออัลมุดาวะนะฮฺ อัลกุบรอ(‫ )املدونة الكربى‬ซึ่งได้รวบรวมฟิ กฮฺของ
ท่านอิมามมาลิก และได้กล่าวถึงแนวคิดทางการศึกษาของท่านอิมามสะหฺ นูน โดยท่านสะหฺ นูนเป็ น
ที่ ช อบประณี ป ระนอมระหว่ า งสองคนที่ ท ะเลาะกั น ในหนัง สื อ ได้ แ นะน าหนั ง สื อ อาดาบ
อัลมุ อลั ลิ มีนซึ่ งเป็ นการสนทนาระหว่างสะหฺ นูน(ผูท้ ี่เป็ นพ่อ)กับมุ หัมมัดบินสะหฺ นูน(ผูท้ ี่ เป็ นลูก)
และได้กล่าวถึ งเป้ าหมายการศึกษาของท่านมุหัมมัดบินสะหฺ นูนก็คือการศึกษาอัลกุรอาน และได้
กล่าวถึงหลักการและแนวทางทีตอ้ งปฏิบตั ิตาม ซึ่ งมีดงั นี้
1. ผูส้ อนต้องมีคุณลักษณะที่สามารถดึงดูดผูป้ กครองของเด็กในการที่จะเลือกครู
ให้กบั ลูกของพวกเขา คุณลักษณะที่กล่าวนั้นก็คือ มีประสบการณ์ในการสอนอัลกุรอานและความรู้
ที่เกี่ยวกับอัลกุรอาน ผูท้ ีละเว้นและปลีกห่างจากการกระทาความชัว่ ผูท้ ี่ซื่อตรง และผูท้ ี่มีคุณธรรม
2.ใช้ความอ่อนโยนต่อนักเรี ยนหรื อใช้ความรุ นแรงตามสถานการณ์ของเด็กที่ได้ตก
ลงระหว่างครู กบั ผูป้ กครอง
3. ผูป้ กครองจาเป็ นต้องให้ค่าใช้จ่ายกับครู ผสู ้ อนโดยเฉพาะหลังจากจบเรี ยนอัลกุ
รอาน
4.ในการเรี ยนการสอนจาเป็ นต้องแยกแยะระหว่างชายกับหญิง
อิบรอฮี ม มุหัมมัด ชะฟิ อี ยไ์ ด้กล่ าว ในหนังสื อมิน อะลามิ อัตตัรเบี ยะห์อลั อะรอ
เบียะห์ อัลอิสลามิยะห์ (‫(من أعالم الرتبية العربية اإلسالمية‬ในหัวข้อเรื่ อง แนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนว่า ปั จจัยที่มีอิทธิ ผลต่อแนวคิดการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน ดังนี้
1. ความเสมอภาคระหว่างมนุษย์ในมุมมองอิสลาม
2. ความแตกต่างระหว่างผูช้ ายกับผูห้ ญิง
46

3. สัญชาติญาณอันดีงามและบริ สุทธิ์ ของมนุษย์


4.ใช้กฎหมายลงโทษของอิสลามอัลหุดูด 6(‫ )احلدود‬เพื่อความเป็ นธรรมในโลกนี้
5.การรักษาเกียรติของมุสลิม
6.โลกหน้าคือโลกที่ดีกว่าและโลกที่ชวั่ นิรันดร
7.การมีชีวติ นี้คือหนทางเพื่อไปสู่ โลกหน้า
8.การให้เกียรติกบั ศาสนาพร้อมชักชวนเพื่อปฏิบตั ิตาม
มุหัมมัด นาซี ร(Muhammad Nasir:1987) ได้กล่าวในหนังสื ออัลฟิ กรฺ อัตตัรบะวีย ์
อัลอะรอบีย ์ อัลอิสลามีย ์ )‫(الفكر الرتبوي العريب اإلسالمي‬ถึ งบางส่ วนแนวคิดของท่านสะหฺ นูนและ
ท่าน บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์ ว่า ท่านสะหฺ นูน คือ นักฟิ กฮฺ นักปราชญ์ และนักประวัติศาสตร์ ที่มี
ชื่ อเสี ยงโดยเฉพาะชื่ อเสี ยงของตาราที่ท่านได้แต่งเกี่ ยวกับการศึกษาโดยเฉพาะ คือ หนังสื อ อาดาบ
อัลมุอลั ลิ มีน )‫ (آداب املعلمني‬ถึ งแม้ว่า เป็ นหนังสื อขนาดเล็กมี เพียงไม่กี่ หน้าแต่ได้ค รอบคลุ มทุ ก
เนื้ อหาของการศึกษาโดยในหนังสื อได้อา้ งอิงหลักฐานจากอัลกุรอานและสุ นนะฮฺ และการยอมรับ
ของท่าน เศาะหาบะฮฺ และบรรดานักปราชญ์มุสลิม และหนังสื อยังมีอิทธิ ผลต่อการแต่งตาราในด้าน
การศึกษาของนักคิดหลายๆท่าน อาทิ เช่น ท่านอัลกอบิสีย ์ ท่านบุรฮานุ ดดีนอัซซัรนูญีย ์ และนักคิด
ท่านอื่นๆ
มุหัมมัด หะซัน อัลอะมาเราะฮฺ (Muhammad Hassan Abdul Rahman:2000) ได้
กล่ าวในหนังสื ออัลวิกรุ ตตัรบะวีย ์ อัลอิสลามีย ์ )‫( الفكرالرتبوي اإلسالمي‬ถึ งบางส่ วนแนวคิ ดทาง
การศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน และ อัลซัรนูญีย ์ ส่ วนแนวคิดทางการศึกษาที่สาคัญของมุหมั มัด
บินสะหฺ นูน ดังนี้ เป้ าหมายและความสาคัญของการศึกษาอัลกุรอาน ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยน
มารยาทในการลบโองการของอัลลอฮฺ สิ่ งที่สมควรแก่การลงโทษผูเ้ รี ยน ของขวัญและการกาหนด
ปิ ดการเรี ยนการสอนในวันเทศกาลอีด ความสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน และค่าตอบแทนของ
ผูส้ อนและบางส่ วนแนวคิดทางการศึกษาของท่านบุรฮานุ ดดีน อัซซัรนูญีย ์ ผูแ้ ต่งได้กล่าวถึงแนวคิด
ที่ ส าคัญ มี ดัง นี้ อายุที่ เ หมาะสมในการเริ่ ม การเรี ย นการสอน ช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสมในการเรี ย น
เป้ าหมายการศึกษา ความสุ ขและความใจจดใจจ่อกับการเรี ยน การท่องและการลืม เงื่อนไขของการ
ท่องจาและการเรี ยนรู ้ กลักสู ตรการเรี ยนการสอน และคุณลักษณะของผูเ้ รี ยน
ญะมาล อับดุ ลนาซี ร ซะการิ ยา(Jamal Abdul NasirZakaria:2003) ได้กล่ าวใน
หนังสื อ PRINSIP.PRINSIP PENDIDIKAN ISLAM ถึ งบางส่ วนของแนวคิดการศึกษาของท่าน

6
บทลงโทษของอัลลอฮฺสาหรับผูฝ้ ่ าฝื นที่กาหนดขึ้นเพื่อปกป้ องชีวติ ทรัพย์สิน เกียรติยศศักดิ์ศรี และสติปัญญา
47

มุหมั มัดบินสะหฺ นูนว่า หลักสู ตรการเรี ยนการสอนตามแนวคิดของท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้แบ่ง


ออกเป็ นสองภาควิชา คือ ภาควิชาบังคับ และภาควิชาเลือก ส่ วนภาควิชาบังคับ วิชาอัลกุรอาน หะ
ดีษของท่านนบี และวิชาฟิ กฮฺ ส่ วนภาควิชาเลือก คือ วิชา คณิ ตศาสตร์ กวี ประวัติศาสตร์ อาหรับ ไว
ยกรณ์อาหรับ

1.2.3.1 เอกสำรทีเ่ กีย่ วข้ องกับแนวคิดของบุรฮำนุดดีนอัซซัรนูญยี ์


เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้องกับแนวคิดของอิหม่ามบุรฮานุ ดดีนอัซซัรนูญียพ์ อ
สรุ ปดังนี้
มุหมั มัด อับดุลกอดิร อะหฺ มดั (Muhammad abdul Qadir Ahmad:1985) ได้ศึกษา
วิเคราะห์ตน้ ฉบับหนังสื อ ตะลีมุลมุตะอัลลิม เตาะรี กอตตะอัลลุมของท่านบุรฮานุ ดดีน อัซซัรณู ญีย ์
ได้กล่าวถึ งหนังสื อ ตะลีมุลมุตะอัลลิ ม เตาะรี กอตตะอัลลุ ม และคุณค่าของหนังสื อและได้กล่าวถึ ง
ต้นฉบับของหนังสื อ หลังจากนั้นได้พดู ถึงการศึกษาในสมัยของท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์
มุศเตาะฟา อาชูร(Mustofa A’Shur : 1966)ได้กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของหนังสื อ คือ
เพื่ อ ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บต้น ฉบับ ของหนัง สื อ ซึ่ งต่ า งจากวัต ถุ ป ระสงค์ข องผู้วิ จ ัย ที่ ไ ด้
ทาการศึกษาแนวคิดทางการศึกษาของอัลซัรนูญียแ์ ล้วศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ซัยยิด อุซมาน อะหฺ มดั (Said Usman Ahmad : 1977) ได้กล่าวในบทนาเกี่ยวกับเรื่ อง
“ความรู ้อย่างต่อเนื่ อง” และได้กล่าวถึงหนังสื อ ตะลีมุลมุตะอัลลิมเตาะรี กอตตะอัลลุม หลังจากนั้น
ได้ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับบางส่ วนของแนวคิดทางการศึกษาของท่านบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียโ์ ดยได้
แยกเป็ นหัวข้อย่อยดังนี้ การเตรี ยมความพร้อมในการศึกษา มารยาททางใจ แรงจูงใจ การเลือกเรี ยน
(การเลือกวิชาและผูส้ อน) กิจกรรม การท่องจา การลืม การรักษาสุ ขภาพ และ การเรี ยนรู้ทางสังคม
มัรวาน กุบบานีย(์ Marwan al.Qubbani : 1980) ได้ทาการวิเคราะห์หนังสื อ ตะลี
มุลมุตะอัลลิ มเตาะรี กอตตะอัลลุม ของอัลซัรนูญีย ์ และได้กล่าวในบทนาเกี่ ยวกับมุมมองการศึกษา
ในอิ ส ลามหลัง จากนั้นได้บ อกประวัติและสมัย ของท่ า นอัซ ซัรนู ญีย ์ พร้ อ มได้แนะนาและบอก
ความสาคัญของหนังสื อ ตะอฺลีมุลมุตะอัลลีมเตาะรี กอตตะอัลลุม
48

1.2.4 เอกสำรงำนวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


เอกสารงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้องกับแนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺ นูนและ
บุรฮานุดดีนอัซซัรนูญียพ์ อสรุ ปดังนี้
ฟาญิซะฮฺ อะตอลลอฮฺ (Fayizah Atallah Muhammad Al Hasan)ได้ทาวิจยั เรื่ อง
แนวคิดทางการศึกษาของบุรอฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ ซึ่ งผลวิจยั ได้ออกมาว่า ตาราอาดาบอัลมุอลั ลิมีน
ที่ ไ ด้ แ ต่ ง โดยบุ ร ฮานุ ด ดี น อัล ซั ร นู ญี ย ์เ ป็ นต าราที่ ช าวยุ โ รปได้ใ ห้ ค วามส าคัญ มากพร้ อ มได้
ทาการศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับประเด็นทางการศึกษาในตาราดังกล่าว แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮา
นุ ดดีนอัลซัรนู ญียเ์ ป็ นแนวคิ ดที่ต้ งั อยู่บนหลักพื้นฐานของการศึกษาและปรัชญาที่หลากหลายเช่ น
การตั้งเจตนาที่บริ สุทธิ์ เพื่อลั ลอฮฺ การศึกษาอย่างต่อเนื่ อง เสรี ภาพทางการศึกษา การศึกษาแบบค่อย
เป็ นค่อยไป และการให้ความสาคัญในความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็ นต้น
อับดุลลาตีฟ การี (2550: บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจยั เรื่ อง การจัดการเรี ยนการสอนที่
เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญตามแนวปฏิรูปการศึกษาของครู อิสลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม จังหวัดปั ตตานี ผลการวิจยั พบว่า ระดับการดาเนิ นการในการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้น
ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของครู อิสลามศึกษาในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ในส่ วนของ
สภาพปัญหา ความต้องการและข้อเสนอแนะในการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของ
ครู อิสลามศึกษา ทั้ง 4 ด้าน พบว่า ปั ญหาที่พบมากที่สุดคือ ครู ไม่เข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิ จกรรมการ
เรี ยนการสอน การเขียนแผนการสอน การใช้สื่อประกอบการเรี ยนการสอน และการวัดประเมินผล
ตามสภาพจริ ง กอปรกับมีขอ้ จากัดในเรื่ องงบประมาณบริ หารโรงเรี ยนที่ไม่เพียงพอ ครู จึงต้องการ
และเสนอแนะให้ทางรั ฐบาลช่ วยเหลื อในเรื่ องงบประมาณมากเป็ นที่ สุด รองลงมาคื อครู อิสลาม
ศึกษาต้องการให้มีการอบรมในเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน

ฮอซาลี บินล่าเต๊ะ (2552: บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจยั เกี่ยวกับ หลักการจัดการศึกษา


ของผูบ้ ริ หารและครู อิสลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดปั ตตานี โดยกาหนด
ขอบเขตการวิจ ัย ใน 5 ด้า นคื อ เป้ าหมายและวัต ถุ ป ระสงค์ข องการศึ ก ษา หลัก สู ต รการศึ ก ษา
คุณลักษณะของครู ในอิสลาม มารยามของครู อิสลามศึกษา และรู ปแบบและวิธีการสอน ผลการวิจยั
พบว่า 1.การดาเนิ นการตามหลักการจัดการศึกษาของผูบ้ ริ หารด้านเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของ
การศึ ก ษาอยู่ใ นระดับ มาก ส่ ว นด้า นหลัก สู ต รการศึ ก ษาอยู่ ใ นระดับ ปานกลาง 2.ปั ญ หาและ
49

ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขเกี่ยวกับหลักการจัดการศึกษาของผูบ้ ริ หาร ปั ญหาที่พบมากที่สุดคือ


การดาเนิ นการตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์การศึกษาที่ต้ งั ไว้ไม่บรรลุผลเท่าที่ควร โรงเรี ยนควร
แก้ปัญหานี้ดว้ ยการจัดอบรม สัมมนากระบวนการดาเนินการให้บรรลุเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้เชิ งปฏิบตั ิการ
สาหรับอีกปั ญหาคือหลักสู ตรแต่ละโรงเรี ยนไม่เป็ นมาตรฐานเดียวกัน ควรแก้ปัญหาด้วยการจัดทา
หลักสู ตรอย่างเป็ นเอกภาพระหว่างโรงเรี ยน ส่ วนปั ญหาครู อิสลามศึกษาที่พบมาที่สุดคือ ไม่ตรงต่อ
เวลา โรงเรี ยนควรแก้ปัญหาด้วยการปลูกฝังจิตสานึกให้กบั ครู ปั ญหาการแต่งกายไม่สุภาพ โรงเรี ยน
ควรมี ระเบี ยบบังคับเรื่ องการต่างกายที่ ชัดเจนและครู ตอ้ งคนต้องปฏิ บตั ิ ตาม ปั ญหาครู ใช้เทคนิ ค
วิธีการสอบแบบเดิ ม ครู ตอ้ งแก้ปัญหาด้วยการหมัน่ ศึกษาหาความรู ้ เทคนิ ควิธีการสอนใหม่ๆอยู่
เสมอเพื่อนามาใช้ในการสอน

นินาวาลย์ ปานากาเซ็ ง (2544 : บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง คุณภาพการศึกษา


ของโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผลการวิจยั พบว่า คุ ณภาพ
การศึกษาของโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามส่ วนใหญ่อยูใ่ นระดับที่ควรปรับปรุ งโดยเร่ งด่วน
ถึ ง พอใช้ใ นทุ ก ปั จ จัย คุ ณ ภาพ ปั ญ หาและข้อ เสนอแนะของการปฏิ บ ัติ ง านตามเกณฑ์คุ ณ ภาพ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ซึ่ งโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ประสบอยู่มากที่สุดในแต่ละปั จจัยคุณภาพ คือ ไม่ปฏิบตั ิตามปรัชญาและเป้ าหมาย
ซึ่ งโรงเรี ยนควรแก้ไขด้วยการจัดให้นกั เรี ยนและบุคลากรทุกคนมีส่วนร่ วมในการกาหนดปรัชญา
และเป้ าหมายของโรงเรี ยน ปั ญหาการจัดหลักสู ตรและกระบวนการเรี ยนการสอนไม่สอดคล้องกับ
ปรัชญาและเป้ าหมายของโรงเรี ยน ตามความต้องการของนักเรี ยนและชุ มชน โรงเรี ยนควรแก้ไข
ด้วยการจัดหลักสู ตรและกระบวนการเรี ยนการสอนให้ส อดคล้องกับเป้ าหมายและปรั ชญาของ
โรงเรี ยนตามความต้องการของนักเรี ยนและชุมชน

ยุทธนา เกิ้อกูล (2550: บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจยั เกี่ยวกับ วิทยาการสอนของท่านนบี


มุฮมั มัด ผลการวิจยั พบว่า 1) รู ปแบบการสอนของท่านนบีมุฮมั มัด ได้แบ่งออกเป็ น 2 รู ปแบบคื อ
การสอนเป็ รายบุคคลและการสอนเป็ นรายกลุ่ม 2) วิธีการสอนของท่านนบีมุฮมั มัด มีความโดดเด่น
และมี ค วามหลากหลาย อาทิ เช่ น วิ ธี ก ารสอนแบบบรรยาย การสอนแบบสาธิ ต การสอนแบบ
อภิปราย การสอนแบบฝึ กฝนและปฏิบตั ิ การใช้คาถาม การสอนแบบตักเตือน การสอนแบบตัรฆีบ
และตัรฮีบ ฯลฯ ท่านนบมุฮมั มัดมิได้จากัดวิธีสอนวิธีใดวิธีหนึ่งเป็ นการเฉพาะเจาะจงในการสอนแต่
50

ละครั้งของท่าน แต่ท่านจะใช้วธิ ี การสอนและเทคนิคการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละบทเรี ยน


และตามสถานการณ์ ที่หลากหลาย ดังนั้น วิทยาการสอนของท่านจึงเป็ นวิทยาการสอนที่สมบูรณ์
และได้ถ่ายทอดจวบจนมาถึงปั จจุบนั

ฮาซั น บื อ ราเฮง (2553: บทคั ด ย่ อ ) ได้ ท าการศึ ก ษาเรื่ อง การศึ ก ษาใน


อิสลาม : แนวคิดและกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ผลการวิจยั พบว่า 1) ระบบการศึกษาในอิสลามเป็ น
ระบบการศึกษาแห่ งพระผูอ้ ภิบาล มีความเป็ นสากล ครอบคลุ มและสมบูรณ์ แบบ มีความยืดหยุน
และความทันสมัย สอดคล้องกับธรรมชาติของมนุ ษย์ เป็ นการศึกษาที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้
ในทุกยุคสมัย 2)การศึกษาอิสลามมีมีแนวคิดมาจากฐานที่มา 3 แหล่ง คือ อัลกุรอาน อัลหะดิษ และ
ทัศ นะของปราชญ์มุ ส ลิ ม มี จุด มุ่ ง หมายเพื่ อ พัฒ นาผูเ้ รี ย นให้ เ ป็ นผูท้ ี่ มี ค วามศรั ท ธามัน่ มี ค วาม
จงรักภักดีต่ออัลลอฮฺ พระเจ้าผูท้ รงสร้างสากลจักรวาลและเป็ นการศึกษาตลอดชีวิต 3) กระบวนการ
จัดการเรี ยนรู้ ในอิสลามประกอบด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ คือ หลักสู ตรที่ครอบคลุ มและสมดุ ล
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ที่มีประสิ ทธิ ภาพ สื่ อการเรี ยนรู ้ ที่เหมาะสม กระบวนการสอนที่มีคุณภาพ และ
การวัดประเมินผลที่ ต่อเนื่ อง นอกจากนี้ กระบวนการเรี ยนรู ้ ในอิสลามมิได้จากัดรู ปแบบที่ ตายตัว
หรื อวิธี ก ารใดวิธี การหนึ่ ง เฉพาะ แต่ เน้นรู ปแบบการจัดการเรี ย นรู ้ ที่ หลากหลาย ค านึ งถึ ง ความ
เหมาะสมของผูเ้ รี ยนและไม่ขดั กับหลักการอิสลาม

1.3 คำถำมวิจัย

ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้กาหนดคาถามวิจยั ไว้ 2 ข้อดังนี้


1.แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺ นูน และบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญียเ์ ป็ น
อย่างไร
2.มีแนวทางการประยุก ต์ใ ช้แนวคิ ดทางการศึ ก ษาของมุหัมมัดบิ นสะหฺ นูน และ
บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามอย่างไร
51

1.4 วัตถุประสงค์ กำรวิจัย

1.เพื่อศึกษาชีวประวัติของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์


2.เพื่ อ ศึ ก ษาแนวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หั ม มั ด บิ น สะหฺ นู น และบุ ร ฮานุ ด
ดีนอัลซัรนูญีย ์
3.เพื่อศึ กษาระดับ ความคาดหวังของครู อิส ลามศึ กษาต่อการประยุกต์ใช้แนวคิ ด
ทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนู ญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม
4.เพื่อศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมัหมั มัด บินสะหฺ นูน
และบุรฮานุดดีนอัลซัรณูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

1.5 ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับในกำรวิจัย

1. ทาให้ทราบถึ งชี วประวัติของมุหัมมัดบินสะหฺ นูน และบุรฮานุ ดดีนอัลซัรณู ญีย ์

2. ทาให้ท ราบถึ ง แนวคิด ทางการศึ ก ษาของมุหัมมัดบินสะหฺ นูน และบุรฮานุ ด


ดีนอัลซัรณูญีย ์
3. ทาให้ทราบถึ ง ระดับ ความคาดหวัง ของครู อิสลามศึ ก ษาต่อ การประยุก ต์ใ ช้
แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนู ญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลาม
4. ทาให้ทราบถึงแนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบิน
สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรณูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

1.6 ขอบเขตกำรวิจัย

การศึ ก ษาวิจยั ครั้ งนี้ เป็ นการวิจยั เชิ งคุ ณภาพและปริ มาณที่ มี ท้ งั การวิจยั เอกสาร
(Documentary Research) และการวิจยั ภาคสนาม การวิจยั เอกสารจะมุ่งเน้นการศึ กษาวิเคราะห์
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ การวิจยั ภาคสนามจะเป็ น
การศึกษาถึงระดับความคาดหวังของครู อิสลามศึกษาต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของ
52

มุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม และการวิจยั


เชิงคุณภาพเป็ นการศึกษาถึงแนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺ นูน
และบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โดยใช้แบบสอบถามกับบรรดา
ครู ผสู้ อน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึ กผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม และใช้การสนทนา
กลุ่มกับผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นอิสลามศึกษา

1) ขอบเขตด้านเอกสาร

ผูว้ จิ ยั เลือกศึกษาสองตารา คือ ตารา อาดาบุลมุอลั ลิมีน (‫ )آداب املعلمني‬ของมุหมั


มัดบินสะหฺ นูนและตารา ตะอฺลีมุลมุตะอัลลิมเตาะรี กอตตะอัลลุม (‫ )تعليم املتعلم طريق التعلم‬ของบุร
ฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์
2) ขอบเขตด้านเนื้อหา
ผูว้ ิจยั ได้กาหนดเนื้ อหาการศึกษาหลังจากได้ทาการศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบ
การศึกษาจากอัลกุรอาน อัสสุ นนะฮฺของท่านนบี และทฤษฎีของนักการศึกษาในปั จจุบนั เช่น ทฤษฎี
ยูซุฟ อัลหะมาดีย ์ (1986) ที่ได้แบ่งองค์ประกอบของการศึกษาออกเป็ น 6 ประการ ด้วยคาถาม ว่า

1.จะสอนใคร? (ผูเ้ รี ยน)


2.จะสอนอะไร? (หลักสู ตรการเรี ยนการสอน)
3.จะสอนทาไม? (ปรัชญาและเป้ าหมายการศึกษา)
4.จะสอนยังไง? (วิธีและเทคนิกการสอน)
5.ใครจะสอน? (ผูส้ อน)
6.สอนด้วยอะไร? (สื่ อการเรี ยนการสอน)
ซึ่ งเนื้ อหาดั ง กล่ า วได้ ส อดคล้ อ งกั บ ทฤษฎี ข องล าพอง บุ ญ ช่ ว ยที่ เ กี่ ย วกั บ
องค์ประกอบการเรี ยนการสอน 5 ประการ ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบการศึกษาดังนี้
1.ปรัชญาและเป้ าหมายของการศึกษา
2.กระบวนการเรี ยนการสอน(วิธีและเทคนิคการเรี ยนการสอน)
3.หลักสู ตรการเรี ยนการสอน
4.ผูส้ อน
5.ผูเ้ รี ยน
53

3) ขอบเขตด้านสถานที่
ผูว้ ิจ ัย ได้ก าหนดสถานที่ ก ารศึ ก ษา คื อ โรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามใน
จังหวัดปัตตานี

4) ขอบเขตด้านผูใ้ ห้ขอ้ มูล


ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก คือ บรรดาครู ผสู้ อน และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชน
สอนศาสนาอิสลามและผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นอิสลามศึกษา

1.7 กรอบแนวคิดในกำรทำวิจัย
การวิจ ยั เรื่ อง “แนวคิ ดทางการศึ ก ษาของมุ หัมมัดบิ น สะหฺ นูน และบุ ร ฮานุ ดดี น
อัล ซัรนู ญีย ์ เป็ นการวิจยั ประยุก ต์โดยใช้แนวคิ ดหลังจากได้ท าการวิเคราะห์ องค์ ป ระกอบของ
การศึกษาจากอัลกุรอานและอัลหะดี ษ มาเป็ นกรอบกาหนดองค์ประกอบของการศึ กษาออกเป็ น
5 ด้าน คือ 1) ปรัชญาและเป้ าหมายของการศึกษา 2) กระบวนการเรี ยนการสอน 3) หลักสู ตรการ
เรี ยนการสอน 4) คุณสมบัติของผูส้ อน และ 5) คุณสมบัติของผูเ้ รี ยน
54

วิจยั เอกสาร

แนวคิดทางการ แนวคิดทางการ
ศึกษาของมุหมั มัด ศึกษาของบุรฮา
บินสะหฺ นูน แนวคิดทางการศึกษา 5 ด้าน นุดดีน
1-เป้ าหมายและ อัลซัรนูญีย ์
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
2-หลักสู ตร
3-กระบวนการเรี ยน
การสอน
4-ผูเ้ รี ยน
5-ผูส้ อน

เก็บข้อมูลเชิงปริ มาณจากผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักซึ่ งประกอบด้วยครู สอนศาสนาอิสลามจากโรงเรี ยน


เอกชนสอนศาสนาอิสลามขนาดใหญ่ ในจังหวัดปัตตานี

ระดับความคาดหวังของครู อิสลามศึกษาต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการ
ศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชน
สอนศาสนาอิสลาม
ข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้แนวคิด
เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ

เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
โดยการสนทนากลุ่ม
โดยการสัมภาษณ์

ทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน


และบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม
55

1.8 นิยำมศัพท์ เฉพำะ


1. แนวคิดการเรี ยนการสอน หมายถึ งแนวความคิด หรื อระบบของความคิด ที่
เกี่ยวกับการเรี ยนการสอนของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียท์ ี่ปรากฎอยู่ในตารา
ของท่านทั้งสองที่สามารถใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิในทางการศึกษา
2. การศึกษา หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู้เพื่อความเจริ ญงอกงามของบุคคลและ
สังคมโดยการถ่ายทอด ความรู ้ การฝึ ก การอบรม การสื บสานทาง วัฒนธรรม การสร้างสรรค์
จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การ
เรี ยนรู้ การเรี ยนรู ้และปั จจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ องตลอดชีวิต
3. กระบวนการเรี ยนการสอน หมายถึ ง การจัดประสบการณ์ สถานการณ์ หรื อ
กิจกรรมอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดประสบการณ์ อนั จะเป็ นผลให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดการ
เรี ยนรู ้ได้ง่ายขึ้นและเร็ วขึ้น
4. ผูส้ อน คือ ผูท้ ี่ทาหน้าที่ ถ่ายทอดวิชา ตลอดจนการอบรมคุ ณธรรม ศิลธรรม
ให้แก่ ผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการสอนที่ ดีที่สุดเหมาะสมที่ สุดเท่าที่ จะทาได้ ในอันที่จะทาให้ผูเ้ รี ยนได้รับ
ประสบการณ์
5. ผูเ้ รี ยน หมายถึง ผูท้ ี่กาลังเรี ยนหรื อศึกษาหาความรู ้ โดยมีผสู ้ อน แต่ท้ งั นี้ ผเู ้ รี ยน
สามารถที่จะพัฒนาความรู ้ท้ งั ในโรงเรี ยนและความรู ้จากสิ่ งแวดลอม
6. อุลามาอฺ หมายถึงปราชญ์หรื อผูท้ ี่มีความรู้ในวิทยาการอิ สลามและนามาปฏิบตั ิ
หากปราศจากการปฏิบตั ิอิสลามไม่ถือว่าเป็ นอุลามาอฺ ที่แท้จริ ง
7 .บิน หมายถึงบุตรชายโดยตามธรรมเนียมของชาวมุสลิมจะนิยมกล่าวชื่อบิดาหลัง
ชื่อตัวบุคคลเช่นมุหมั มัดบินอับดุลลอฮฺ (มุหมั มัดบุตรชายอับดุลลอฮฺ ) ส่ วนบุตรหญิงจะใช้คาว่า “บิน
ตุ”เช่น (ฟาฏีมะฮฺบินตุมุฮมั หมัด)ฟาฏีมะฮฺบุตรหญิงมุฮมั หมัดเป็ นต้น
8.โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม หมายถึ ง สถานศึ กษามาตรา 15(1) แห่ ง
พระราชบัญญัติโรงเรี ยนเอกชน พ.ศ. 2525 ซึ่ งจัดการเรี ยนการสอนวิชาอิ สลามศึกษาควบคู่วิชา
สามัญในระบบโรงเรี ยน
56

1.9 สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ ในกำรวิจัย


ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ใช้สัญลักษณ์ดงั นี้
1. สัญลัก ษณ์ เป็ นภาษาอาหรั บ ที่ ม าจากคาว่า “สุ บหานะฮูวะตะอาลา”ซึ่ งมี
ความหมายว่า“พระองค์ทรงมหาบริ สุทธิ์ และสู งส่ งยิ่ง”เป็ นคาสุ ภาพที่ มุสลิ มใช้กล่ าวยกย่องและ
สรรเสริ ญพระองค์อลั ลอฮฺหลังจากที่ได้เอ่ยนามพระองค์
2. สัญลักษณ์เป็ นภาษาอาหรับที่มาจากคาว่า“ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ”ซึ่ งมี
ความหมายว่า“ขออัล ลอฮฺ ท รงประทานความโปรดปรานและความสันติ แด่ ท่าน”เป็ นคาสุ ภาพที่
มุสลิมใช้กล่าวยกย่องท่านศาสดามุฮมั มัดหลังจากที่ได้เอ่ยนามของท่าน
3. สั ญ ลัก ษณ์ เป็ นภาษาอาหรั บ ที่ ม าจากค าว่า “เราะฎิ ย ลั ลอฮุ อ ัน ฮุ ”ซึ่ งมี
ความหมายว่า“ขออัลลอฮฺ ทรงพึงพอพระทัยแก่เขา” เป็ นคาสุ ภาพที่มุสลิมใช้กล่าวให้เกียรติบรรดา
เศาะหาบะฮฺผซู ้ ่ ึ งได้ชีวติ ร่ วมสมัยกับท่านศาสดา
4. สั ญ ลัก ษณ์ เป็ นภาษาอาหรั บ ที่ ม าจากค าว่า “เราะฎิ ย ลั ลอฮุ อ ัน ฮุ ม ”ซึ่ งมี
ความหมายว่า“ขออัลลอฮฺ ทรงพึ งพอพระทัยแก่ พวกเขา”เป็ นคาสุ ภาพที่ มุสลิ ม ใช้กล่ าวให้เกี ยรติ
บรรดาเศาะหาบะฮฺผซู ้ ่ ึ งได้ใช้ชีวติ ร่ วมสมัยกับท่านศาสดา
5. .......วงเล็บปี กกาจะใช้สาหรับอายะฮฺอลั กุรอาน
6. ((......))วงเล็บคู่จะใช้สาหรับตัวบทอัลหะดีษ
7. (...…) วงเล็บเดียวจะใช้สาหรับการเขียนรายการอ้างอิ งและการอธิ บายศัพท์ที่
สาคัญ
8. “............”อัญประกาศจะใช้สาหรับการแปลอัลกุรอานอัลหะดีษชื่อหนังสื อและ
คาพูดของอุลามาอฺ
57

1.10 ข้ อตกลงเบือ้ งต้ น


ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้กาหนดข้อตกลงเบื้องต้นไว้ดงั นี้
1. การปริ วรรตอักษรอาหรับ -ไทยและศัพท์ด้านอิ สลามศึ กษาผูว้ ิจยั จะใช้ของ
มหาวิทยาลัยอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์วทิ ยาเขตปัตตานี
2. การปริ วรรตอักษรอังกฤษ - ไทยผูว้ จิ ยั จะใช้ของห้องสมุดรัฐสภาคองเกรส
สหรัฐอเมริ กา
3. การแปลความหมายคัมภีร์อลั กุรอานผูว้ ิจยั จะใช้ความหมายที่แปลเป็ นภาษาไทย
โดยสมาคมนักเรี ยนเก่าอาหรับที่พิมพ์โดยศูนย์กษัตริ ยฟ์ ะฮัดเพื่อการพิมพ์อลั กุรอานแห่ งนครมะดี
นะฮฺฮ.ศ.1419
4. การแนะนาชื่ อบุ คคลสถานที่ ผวู ้ ิจยั จะใช้ภาษาไทยพร้ อมกับใช้ภาษาอังกฤษ
ภายในวงเล็บ
5. การอ้างอิงผูว้ ิจยั จะใช้วิธีการอ้างอิงแบบนาม-ปี (Author-Date) โดยจะระบุชื่อผู้
แต่งปี ที่พิมพ์และเลขหน้าที่ใช้อา้ งอิงในเครื่ องหมายวงเล็บ (...) ทั้งนี้หากผูว้ จิ ยั เห็นว่ามีขอ้ มูลสาคัญที่
ควรอ้างอิงเพิ่มเติมผูว้ จิ ยั ก็จะใช้วธิ ี การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ(Footnote)
6. การขยายความคาศัพท์เฉพาะและสถานที่ในอดีตที่สาคัญๆผูว้ ิจยั จะอธิ บายไว้ใน
วงเล็บหรื อเชิงอรรถ
7. ประวัติยอ่ ของบุคคลที่สาคัญผูว้ จิ ยั จะเขียนประวัติโดยสังเขปไว้ในเชิงอรรถ
8 . การอ้างอิงอัลกุรอานผูว้ ิจยั จะใช้มาตรฐานการอ้างอิงโดยระบุชื่อสู เราะฮฺ และ
ลาดับอายะฮฺ
9. การอ้างอิงหะดีษผูว้ จิ ยั จะใช้วธิ ีการอ้างอิงแบบนาม-ปี (Author-Date) โดยจะระบุ
ชื่ อผูแ้ ต่งปี ที่พิมพ์และเลขที่หะดีษที่ใช้อา้ งอิงในเครื่ องหมายวงเล็บ (...) ทั้งนี้ หากตาราหะดี ษที่จะ
อ้างอิงไม่มีเลขที่หะดีษผูว้ จิ ยั ก็จะอ้างอิงเลขที่หน้าในเครื่ องหมายวงเล็บ
10. การแปลต าราหนัง สื อ และเอกสารต่ า งๆที่ เ ป็ นภาษาต่ า งประเทศมาเป็ น
ภาษาไทยผูว้ ิจยั จะแปลความหมายโดยภาพรวมและจะคงรักษาความหมายของข้อความเดิ มอย่าง
สมบูรณ์ที่สุด
11. ข้อมูลที่ได้จากหนังสื อหรื อตาราต่างๆผูว้ ิจยั จะอ้างถึ งด้วยวิธีการเขียนนามปี
โดยมีชื่อผูแ้ ต่งปี ที่พิมพ์และเลขหน้าที่ใช้อา้ งอิงในเครื่ องหมายวงเล็บ
58

บทที่ 2
แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง

แนวคิดและทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสารทางวิชาการ


และบทความต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็ นข้อมูลให้งานวิจยั นี้สมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น ซึ่ งผูว้ ิจยั ขอเสนอตามลาดับ
ดังนี้
2.1 ความหมายของแนวคิด
2.1.1 ความหมายของแนวคิดทัว่ ไป
2.1.2 ความหมายของแนวคิดทางการศึกษาในมุมมองของนักปราชญ์
อิสลาม
2.1.3 ความหมายและหลัก ฐานเกี่ ย วกับ องค์ประกอบของแนวคิ ดทาง
การศึกษา
2.2 ความหมายของการศึกษา
2.3 ความสาคัญของการศึกษาในอิสลาม
2.4 แหล่งที่มาของอัตตัรเบียะห์ อัลอิสลามิยะห์
2.5 วัตถุประสงค์ของการศึกษาในอิสลาม
2.6 สถาบันการศึกษาในอิสลาม
2.7 คุณลักษณะของการศึกษาในอิสลาม

2.1 ความหมายของแนวความคิด
2.1.1 ความหมายของแนวคิดทัว่ ไป
เดโซ สวนานนท์ (2520 :47-48) กล่าวว่า (concept)คือความรู้ ซึ่ งเป็ นผลจากการ
ประทับใจ จากสัมผัสต่างๆ อาจเป็ นภาพนึ กในความหมายกว้างๆ หรื อความคิดกว้างๆ เกี่ยวกับเรื่ อง
ใดเรื่ องหนึ่ง หรื อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง และจากการที่อินทรี ยร์ ับสัมผัสด้วยความเข้าใจในความหมายหลายๆ
ครั้ง ในเรื่ องเดี ยวกันหรื อในสิ่ งเดี ยวกัน ก็จะก่อรู ปความหมายรวม ในสิ่ งนั้นขึ้น โดยกระบวนการ
รวมความละม้า ยเหมื อนของเรื่ อง หรื อสิ่ ง เดี ย วกันนั้น เข้า ด้วย กันผลของการรวมความละม้า ย
เหมื อนกัน นี้ เราเรี ย กว่า แนวความคิ ด และ แนวความคิ ด ของแต่ ล ะคนนั้น ไม่ เหมื อ นกัน ทั้ง นี้
ย่อมขึ้นอยูก่ บั ประสบการณ์ของแต่ละคน
59

พรรณี ชูทยั (2522: 182) อ้างถึงกู๊ควิน และคลอสไมและคลอสไมเออร์ (Goodwin


& klausmeier: 1975) ซึ่ งให้ความหมายของ(Concept) ไว้ว่า แนวความคิดจะบอกให้เราทราบ
คุณลักษณะ ของสิ่ งต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นวัตถุ หรื อ เหตุการณ์ หรื อ ขบวนการซึ่ งทาให้เราแยกสิ่ งต่างๆ
นั้นออกจากสิ่ งอื่นๆ ได้ และในขณะเดียวกันก็สามารถเชื่ อมโยงเข้ากับกลุ่มสิ่ งของประเภทเดียวกัน
ได้ แนวความคิดนี้แบ่งออกเป็ นสองลักษณะ คือ
1. แนวความคิดที่เป็ นนามธรรม (mental construct) เป็ นแนวความคิดที่ อยู่กบั
ประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ โดยเฉพาะของแต่ละบุคคล ซึ่ งจะมีอิทธิ พลต่อการที่คนจะคิดเกี่ ยวกับสิ่ ง
ต่างๆรอบตัว
2. แนวความคิดที่เป็ นรู ปธรรม (public entity) ได้แก่ความหมายของคาต่างๆ ซึ่ งจะ
พบในพจนานุกรม สาระนุกรมและตามหนังสื อต่างๆ ซึ่ งความหมายเหล่านี้ จะเป็ นที่รับรู ้ร่วมกัน ใน
กลุ่มชนที่พดู ภาษาเดียวกัน
ชม ภูมิภาค (2523: 301) กล่าวว่า แนวความคิดเป็ นการจัดจาพวกของสิ่ งเร้า ซึ่ งมี
คุณลักษณะร่ วมกัน สิ่ งเร้า เหล่านี้อาจจะเป็ นวัตถุ เหตุการณ์ หรื อ บุคคล เช่น หนังสื อ สงคราม หรื อ
ผูห้ ญิง และ อาจจะไม่ตรงกับประสบการณ์ของคนเสมอไป แต่เป็ นความพยายามของมนุ ษย์ ที่จะจัด
ประเภทของประสบการณ์เข้าเป็ นพวกๆอย่างหยาบๆ แนวคิดมีความหมายกว้างมาก ดังนั้นเวลาเรา
พูดถึงแนวความคิดเราจะเพ่งเล็งเฉพาะที่สาคัญ
กมลรัตน์ หล้าสุ วงษ์ (2528: 234-235) กล่าวว่าแนวความคิดหมายถึง ความเข้าใจ
ประเภทของสิ่ งต่าง ๆ ได้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้ เช่ น การเข้าใจแนวความคิ ดของคาว่า
ปากกา หมายถึง สิ่ งที่ใช้เขียนมีสีต่างๆ ได้แก่ สี ดา สี แดง ฯลฯ เป็ นต้น
ปรี ดา คัมภีรปกรณ์ (ในสุ โขทัยธรรมาธิ ราช , 2530 : 33) อ้างถึง เฟรดเดอริ ก
เจ. แมคโดนัลค์ (Frederick J.Mcdonald) ซึ่ งให้ความหมายของ Concept ว่าเป็ นการแยกประเภท
ชนิด หรื อการจัดสิ่ งเร้า หรื อเหตุการณ์ต่างๆ ที่มีลกั ษณะร่ วมเหมือนกันเข้าด้วยกันอย่างมีระบบ
โดยสรุ ป แล้ว แนวความคิ ด เป็ นผลสรุ ป การรั บ รู้ ห ลายๆด้า น หรื อ เป็ นการจัด
ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของประสบการณ์ เข้าด้วยกันอย่างมีระบบ ทาให้เกิดเป็ นหน่วยของความคิด
แล้วจินตนาการออกมาแล้วว่าเป็ นอะไร หรื อเป็ นความเข้าใจ และเป็ นความคิดขั้นสุ ดท้ายที่มีต่อเรื่ อง
ใดเรื่ องหนึ่ ง แนวความคิดนี้ จดั เป็ นนามธรรมที่เกี่ยวกับเรื่ องนั้นๆ และอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปได้
ตามประสบการณ์หรื อการวุฒิภาวะเพิ่มขึ้น
60

2.1.2 ความหมายของแนวคิดทางการศึกษาในมุมมองของนักปราชญ์ มุสลิม


ความหมายของแนวคิดทางการศึกษาพอสังเขปดังนี้
อัลกอฎีย(์ al-Qadi, 1990 : 140-141) ได้ให้คานิ ยาม ของแนวคิดทางการศึกษาว่า
“การประมวลกฎเกณฑ์และหลักการต่างๆ ที่สามารถชี้ แนะกิจกรรมทางการศึกษาด้วยเป้ าหมายเพื่อ
พัฒนาความสามารถของผูเ้ รี ยนและอบรมดูแลพัฒนาบุคลิกภาพของพวกเขา และฝึ กฝนมารยาทที่ดี
งามภายใต้แนวทางของความคิด”
ในหนั ง สื อ อั ล ฟิ กรอั ต ตั ร บะวี ย ์ อั ล อิ ส ลามี ย์ ว ะตะหั ด ดี ย าตมุ ส ตั ก บาล
(Ali, 2006:18) ที่เขียนโดยท่านสะอีดอิสมะแอลอะลี ได้ให้นิยามเกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึกษาว่า
“การประมวลทัศ นคติ แนวคิ ด และทฤษฎี ที่ มี อ ยู่ ใ นต าราของนั ก ฟิ กฮฺ นัก ปรั ช ญา อุ ล ามาอฺ
(นัก วิ ช าการ) และมุ ส ลิ ม ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้อ งโดยตรงกับ ประเด็ น แนวคิ ด และปั ญ หาทางการ
การศึกษา”

2.2 ความหมายของการศึกษา

ความหมายของคาว่า “การศึกษา” ได้มีนกั วิชาการสาขาต่างๆแสดงทัศนะและความ


คิดเห็นของตนไว้ต่างๆดังนี้
อัลเฟรด นอร์ ธ ไวท์เฮด (Whitehead ,1929:78-81) ได้ให้คานิยามของการศึกษาไว้
ว่า การศึกษาคือ การแนะแนวทางให้บุคคลได้เข้าใจศิลปะของชี วิตอันหมายถึงความเจริ ญก้าวหน้า
ในกิจกรรมต่างๆ ที่แสดงออกถึงความศักยภาพของสัตว์โลกที่ตอ้ งผจญภัย สภาพแวดล้อมที่เป็ นอยู่
สานักงานคณะกรรมการศึ กษาแห่ งชาติ (2512:2) ได้ให้ ความหมายของค าว่า
“การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรี ยนรู ้เพื่อความเจริ ญงอกงามของบุคคล และสังคมโดยการ
ถ่ายทอดความรู ้ การฝึ กการอบรม การสื บสานทางวัฒนธรรม การสร้าสรรค์จรรโลงความก้าวหน้า
ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม การเรี ยนรู ้ และปั จจัยเกื้อหนุ นให้
บุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
คาร์ เตอร์ วี กู๊ต (Good 1973: 145) นักการศึกษาได้ให้ความหมายของการศึกษาว่า
การศึ กษา คื อ ผลรวมของกระบวนการทั้งหมดที่ บุคคลนามาพัฒนาความสามารถ ทัศนคติ และ
พฤติกรรมต่างๆที่มีคุณค่าเป็ นที่พึงปรารถนาในสังคมที่บุคคลนั้น อาศัยอยู่
ระวี ภาวิไล (2516:6) ได้ให้ความหมายของการศึกษาไว้ส้ นั ๆ ว่าการศึกษา คือ “การ
พัฒนามนุษย์”
61

ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์ (2525:18) ได้กล่าวถึงความหมายของการศึกษาไว้ 2 แนวดังนี้


แนวแรก หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดแนวคิด ความเชื่ อ พฤติกรรม ศิลปกรรม และ วัฒนธรรม
ต่างๆ ของสังคมจากชนรุ่ นหนึ่ งไปยังรุ่ นหนึ่ ง แนวที่ 2 หมายถึ งกระบวนการศึกษาเล่าเรี ยนที่เป็ น
รู ปแบบ
ความหมายของการศึกษาในมุมมองของนักปราชญ์มุสลิม
นักปราชญ์มุสลิมได้ให้นิยามเกี่ยวการศึกษาดังนี้
1. นะบี หฺ ยาซี น (Yasin, 1979:59) ได้ใ ห้ ค วามหมายของการศึ ก ษา ว่ า
“กระบวนการนาผูค้ นสู่ ค วามเข้าใจสาหรั บโลกและมวลมนุ ษย์ และบนพื้นฐานของความเข้าใจ
สามารถนาสู่ การพัฒนาและการเจริ ญเติ บ โตโดยผ่า นกระบวนการที่ หลากหลายและสมบูรณ์ ใ น
ชุมชน”
2. การแก้ไขและการปฏิรูปตนเองและเตรี ยมความพร้อมในการเป็ นผูน้ าในชุ มชน
จนกว่าเขาสามารถที่จะพึ่งพาอาศัยตัวเอง
3. การสร้างคุณงามความดี พร้อมมัน่ ใจว่าจะทางานให้เป็ นอย่างดี และทาแบบค่อย
เป็ นค่อยไป
4. การปฏิ บตั ิอย่างต่อเนื่ องโดยไม่หยุดยั้งในการที่จะเพิ่มพูนหรื อทาให้เจริ ญงอก
งาม และดู แลรักษาทุ กสิ่ งทุกอย่างที่ มีความเกี่ ยวข้องกับมนุ ษย์ในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็ น วิญญาณ
จิตใจ ปั ญญา และร่ างกาย (al-Sharif, 2006 : 12)
5. คอลิด อะหฺ มดั อัลหาซี มีย ์ (al-Hazimi, 2000 : 19) ได้ให้นิยามของการศึกษา
ทางด้านภาษาศาสตร์และวิชาการ ซึ่งทางด้านภาษาศาสตร์ การศึกษาคือ
1. การปฏิรูป
2. การขยายตัวและการเพิ่มขึ้น
3. การเติบโตขึ้น
4. การปกครอง
5. การถ่ายทอดความรู ้
ส่ วนตามหลักวิชาการ การศึกษา คือ การอบรมเลี้ ยงดูมนุ ษย์แบบค่อยเป็ นค่อยไป
ในทุ กๆด้าน เพื่อแสวงหาความสุ ขทั้งโลกนี้ และโลกหน้า ตามแนวทางของอิ สลาม และคาที่ มี
ความหมายเดียวกันกับ การศึกษา คือ
1. การปฏิรูป คือการปฏิรูปให้ดีข้ ึน
2. การอบรม คือการอบรมบ่มนิสัยให้มีคุณธรรม จริ ยธรรมและมีระเบียบวินยั
3. การมีระเบียบวินยั
62

4. การชาระล้าง คือการชาระล้างจากบาปกรรมทั้งหลาย
5. การอบรมเลี้ยงดู
6. มิกดาด ยัลญัน (Miqdad Yaljan, 1988:20) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับการศึกษาใน
อิ ส ลามว่า “การเตรี ย มตัวอย่า งสมบู รณ์ ใ นการเป็ นมุ ส ลิ ม ในทุ ก ๆด้า นและในทุ ก ๆขั้นของการ
เจริ ญเติบโตของชีวติ เพื่อความเป็ นอยูใ่ นโลกนี้และโลกหน้าภายใต้แนวทาง คุณค่า และวิธีการอบรม
เลี้ยงดูที่มาจากอิสลาม”
7. ซัฆลูล รอฆิบ อันนัจญาร (al-Najjar, 1995 : 85) ได้ให้คานิ ยามว่า “ระบบ
การศึกษาทีต้ งั บนพื้นฐานของศาสนาอิสลามที่ครอบคลุมในทุกๆด้าน”
8. อันนะกีบ (al-Naqib, 1996:17) ได้ให้ความหมายของการศึกษาในอิสลาม โดย
กล่าวว่า“คือ ระบบการศึกษาที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อผลิตคนที่ มีศิลธรรม จริ ยธรรม ที่มาจากอัลกุรอาน
และซุ นนะฮฺไม่วา่ จะมีอาชีพใดก็ตาม”
9. อันนะหฺ ลาวีย ์ (al-Nahlawi, 1982 : 21) ได้ให้นิยามว่า “การศึกษาในอิสลาม คือ
การจัดระบบทางจิตใจและสังคมซึ่ งจะนาไปสู่ การยึดมัน่ ในอิสลามและปฏิบตั ิตามทุกอย่างในชี วิต
ของบุคคลและชุมชน”
10. มุศเตาะฟา บะเราะกาต อะหฺ หมัด (Ahmad, 1982:47.53) ได้เสนอความหมาย
ของการศึกษาในอิสลาม พอสรุ ปได้ดงั นี้
1. การศึ ก ษา คื อ ความพยายามที่ มนุ ษ ย์ไ ด้พ ยายามเพื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ พึ ง
ประสงค์ในสภาพแวดล้อมและสังคม
2. การศึกษา คือความพยายามที่มนุ ษย์ได้พยายามเพื่ อมีการเปลี่ ยนแปลงที่พึ ง
ประสงค์ในสัตว์และมนุษย์
3. การศึกษา คือความพยายามที่มนุษย์ได้พยายามอย่างตั้งใจเพื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ที่พึงประสงค์ในมนุษย์
4. การศึกษา คือ ความพยายามที่ได้พยายามโดยมีเจตนาเพื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่พึง
ประสงค์ในผูเ้ รี ยน
11. คอลิด อับดุลการี มได้ให้นิยามของ การศึกษาในอิสลามว่า “ประมวลพฤติกรรม
ด้านการกระทาและคาพูด ที่ ได้เอามาจากอัลกุรอานและซุ นนะฮฺ หรื อการวินิจฉัยที่ อยู่บนพื้นฐาน
ของอัลกุรอานและซุนนะฮฺ” (al-Khayyat, 1991:24)
63

จากหลายๆนิ ยามข้างต้นพอสรุ ปได้วา่ การศึกษาในอิสลาม คือ ระบบการศึกษาที่


ครอบคลุ ม ที่ ใ ห้ ค วามส าคัญ กับ การเตรี ย มสร้ า งมนุ ษ ย์ที่ ดี ใ นทางศาสนาและทางโลกภายใต้
แหล่งที่มาของบทบัญญัติอิสลาม

2.3 ความสาคัญของการศึกษาในอิสลาม (‫)التربية اإلسالمية‬

อิสลามถื อว่าการศึกษา(‫)التربية اإلسالمية‬คือภารกิ จที่สาคัญและยิ่งใหญ่สาหรั บ


มวลมนุ ษย์ในการทีจะอาศัยอยู่ในสังคม และเพื่อที่จะบรรลุเป้ าหมายและความคาดหวังของสังคม
นั้นๆและที่สาคัญคาว่า อัตตัรเบี ยะห์ ในอิสลาม มาจากคาว่า ร็ อบ (‫ )رب‬ซึ่ งหมายความว่า พระผู้
อภิบาลหรื อผูเ้ ป็ นเจ้า ที่ทรงสร้ างมวลมนุ ษย์ท้ งั หลายพร้อมได้แต่งตั้งมนุ ษย์ให้เป็ น เคาะลี ฟะห์ ใน
พื้นพิภพ แห่งนี้
อิสลามได้ส่งเสริ มและสนับสนุ นให้มนุ ษย์มีความรู ้ ดังปรากฏในห้าอายะฮฺ แรก
ที่อลั ลอฮฺ ทรงประทานให้ท่านนบีมุหมั มัด  ซึ่ งได้เริ่ มด้วยอายะฮฺ ที่เกี่ ยวข้องกับการส่ งเสริ มให้มี
การศึกษาหาความรู ้ อัลลอฮฺได้ตรัสไว้วา่
           

           

 

)5-1:‫(سورة العلق‬

“จงอ่านด้วยพระนามแห่งผูอ้ ภิบาลของเจ้าผูท้ รงให้บงั เกิด ทรงให้


บังเกิ ดมนุ ษย์จากก้อนเลื อด จงอ่านเถิ ด และผูอ้ ภิบาลของเจ้านั้นผู ้
ทรงใจบุญยิง่ ผูท้ รงสอนการใช้ปากกา ผูท้ รงสอนมนุษย์ในสิ่ งที่เขา
ไม่รู้”
(อัลอะลัก: 1-5)

ความรู ้ เป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับมุ สลิ มทุกคน โดยเฉพาะความรู ้ เกี่ ยวกับศาสนา เช่ น
ความรู ้เกี่ยวกับการศรัทธา การปฏิบตั ิศาสนกิจ จริ ยธรรมมุสลิม เป็ นต้น ท่านรอซูล  ได้กล่าวว่า
64

))‫((من يرد اهلل به خريا يفقه يف الدين‬


ความว่า“ผูใ้ ดที่อลั ลอฮฺประสงค์ให้เขาได้รับความดีงาม พระองค์
จะทรงทาให้เขาเข้าใจศาสนา”
(al-Bukhari,1986 : 71)
โดยเฉพาะความรู ้ในด้านการศรัทธาต่ออัลลอฮฺน้ นั ยิง่ มีความสาคัญเป็ นอันดับแรก
อัลลอฮฺได้ตรัสไว้วา่

        

       

)19 :‫)سورة حممد‬

“พึงรู ้ เถิ ด (คื อต้องหาความรู ้ ) ว่า ไม่ มีพระเจ้าอื่ นใด (ที่ เที่ ยงแท้)
นอกจากอัลลอฮฺ และจงขออภัยโทษต่อความผิดเพื่อตัวเจ้าและเพื่อ
บรรดาผูศ้ รัทธาชายและบรรดาผูศ้ รัทธาหญิง”
(มุหมั มัด: 19)
ความจาเป็ นที่ตอ้ งหาความรู ้ไม่แตกต่างจากความจาเป็ นของการละหมาด การถือ
ศีลอด การจ่ายซากาต และบทบัญญัติอื่นๆที่จาเป็ นต้องปฏิบตั ิในอิสลาม ท่านนบีได้กล่าวไว้วา่

‫ وإن‬، ‫((من سلك طريقا يبتغي فيه علما سهل اهلل له طريقا إىل اجلنة‬
‫ وإن العامل‬، ‫ أجنحتها لطالب العلم رضاء مبا يصنع‬، ‫املالئكة لتضع‬
، ‫ ومن يف األرض حىت احليتان يف املاء‬، ‫ليستغفر له من يف السموات‬
‫ وإن‬، ‫وفضل العامل على العابد كفضل القمر على سائر الكواكب‬
، ‫ وال درمها وإمنا‬، ‫العلماء ورثة األنبياء وإن األنبياء مل يورثوا دينارا‬
(( ‫ورثوا العلم فمن أخذه أخذ حبظ وافر‬

)2682: ‫ والرتمذي‬، 2683 ‫(رواه أبو داود‬


65

ความว่า “ผูใ้ ดมุ่งอยูใ่ นหนทางแห่งการแสวงหาวิชาความรู ้ อัลลอฮฺ


จะให้ทางสะดวกแก่เขาสู่ สวรรค์ แท้จริ งมวลมาลาอีกะห์จะหุ บปี ก
เพราะมีความยินดีกบั ผูแ้ สวงหาวิชาความรู ้ แท้จริ งผูม้ ีความรู ้น้ นั ผู ้
ที่อยูบ่ นฟ้ า ผูท้ ี่อยูบ่ นแผ่นดิน แม้แต่ปลาที่อยูใ่ นน้ า จะขออภัยโทษ
ให้แก่ เขา และความประเสริ ฐของผูท้ ี่ มีความรู ้ น้ นั เหนื อกว่าผูท้ า
ความดีอย่างแกร่ งกล้าดุจดวงจันทร์ ที่มีแสงสว่างเหนื อดวงดาวทั้ง
หาหลาย แท้จ ริ ง ผูท้ ี่ มี ค วามรู้ คื อ ทายาทของบรรดานบี แท้จ ริ ง
บรรดานบี ไ ม่ไ ด้ทิ้ งเหรี ย ญทองและเหรี ย ญเงิ นไว้เป็ นมรดก แต่
พวกเขาได้ทิ้งวิชาความรู ้ ไว้เป็ นมรดก ดังนั้นผูใ้ ดได้เอามรดกใน
วิชาความรู ้ไว้ ถือว่าเขาได้รีบโชคอันใหญ่หลวง”
(Abu Dawud,1969:2683,al-Tirmidhi,1975:2682)

อิสลามกาชับให้มุสลิ มได้ศึกษาและแสวงหาความรู ้ ที่มีประโยชน์เท่านั้น ทั้งที่ มี


ประโยชน์ต่อการปฏิ บตั ิศาสนกิ จและการประกอบอิบาดะฮฺ ท่านรอซู ล  ได้กล่าวใน ดุ อาอฺ ของ
ท่านในตอนหนึ่งว่า
)) ً‫(( اللهم إين أسألك علماً نافعا‬
ความว่ า “โอ้ อัล ลอฮฺ แท้จ ริ ง ฉัน ขอจากพระองค์ซ่ ึ งความรู้ ที่ มี
ประโยชน์”
(Ibn Majah,2009 : 925)

ส่ วนความรู ้ที่มีประโยชน์ในการดาเนิ นชี วิตในโลกนี้ ก็เป็ นสิ่ งที่อิสลามสนับสนุ น


ให้ศึกษาเรี ยนรู้เช่นกัน ทั้งนี้ เพื่อเป็ นปั จจัยส่ งเสริ มในเรื่ อง อาคิเราะฮฺ อีกทอดหนึ่ ง ท่านรอซู ล ได้
กล่าวไว้วา่ ((‫“ ))أنتم أعلم بأمر دنياكم‬พวกท่านมีความรู ้มากกว่าฉัน เกี่ยวกับกิจการทางโลกของ
พวกท่าน” (Muslim,1996 : 4365)
มุสลิ มทุกคนจึงต้องเอาใจใส่ ในเรื่ องการศึกษาหาความรู้เพื่อให้เข้าใจศาสนาและ
ปฏิบตั ิได้ถูกต้อง โดยต้องหาความรู ้ที่เป็ นประโยชน์ ไม่วา่ จะเป็ นประโยชน์ในโลกนี้หรื อโลกหน้า
ดังนั้นขอสรุ ปความสาคัญและคุณค่าของการศึกษาในอิสลามดังนี้
66

1. ทาให้มนุษย์สามารถจัดระเบียบชีวติ ระหว่างเขากับอัลลอฮฺ ซึ่ งอัลลอฮฺเป็ นผูส้ ร้าง


และผูท้ รงประทานให้ปัจจัยยังชีพแก่มวลมนุษย์ที่สมควรได้รับการเคารพภักดี ส่ วนมนุ ษย์น้ นั คือผูท้ ี่
ถูกสร้างเพื่อการเคารพภักดีและทาการอิบาดะฮฺต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

       

)56: ‫(الذاريات‬

ความว่า“และข้ามิ ไ ด้สร้ างญิ น และมนุ ษ ย์เพื่ ออื่ นใด เว้นแต่เพื่ อ


เคารพภักดีต่อข้า”
(อัลซาริ ยาต :35)

อิ บ นุ ต ยั มิ ย ะฮฺ ไ ด้ใ ห้นิย ามค าว่า อิ บ าดะฮฺ ว่า ทุ ก ๆสิ่ ง ที่ อัล ลอฮฺ ทรงรั ก และพอ
พระทัย ไม่ ว่ า จะเป็ นค าพู ด ต่ า งๆ หรื อการกระท าที่ แ สดงออกมา และสิ่ ง ที่ อ ยู่ ภ ายในจิ ต ใจ
(al-Gunaiman, 1996:371)
2. การศึกษาในอิสลามทาให้มนุ ษย์น้ นั มีความสุ ขทั้งโลกดุ นยาและอาคิเราะฮฺ ซึ่ ง
มุสลิมรู ้ถึงคุณค่าของโลกดุนยาโดยถือว่าโลกดุนยานี้ เสมือนที่ดินสาหรับให้เพาะ ปลูกเมล็ดพันธุ์ที่
จะเก็บเกี่ยวในวันอคิเราะห์และการศึกษาในอิสลาม คือการศึกษาที่ให้ความสาคัญกับโลกดุนยาและ
อาคิเราะฮฺโดยไม่ได้แยกออกจากกัน อัลลอฮฺตรัสว่า
        

         

          



ความว่า“และจงแสวงหาสิ่ งที่อลั ลอฮฺ ได้ประทานแก่เจ้าเพื่อปรโลก


และอย่า ลื ม ส่ วนของเจ้า แห่ ง โลกนี้ และจงท าความดี เสมื อ นกับ
ที่อลั ลอฮฺได้ทรงทาความดีแก่เจ้า และอย่าแสวงหาความเสี ยหายใน
แผ่นดินแท้จริ ง อัลลอฮฺไม่ทรงโปรดบรรดาผูบ้ ่อนทาลาย”
(อัลเกาะศอศ : 77)
67

3. เสริ มสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมุสลิมกับชุมชนที่เขาอยูอ่ าศัย ท่านนบี ได้


กล่าวว่า

))‫ وشبك بني أصابعه‬، ً‫((املؤمن للمؤمن كالبنيان يشد بعضه بعضا‬

‫متفق عليه‬

“ความสัมพันธ์ระหว่างมุอฺมินนั้น เปรี ยบเสมือนกับสิ่ งก่อสร้ างที่


ส่ ว นหนึ่ ง จะต้อ งประสานกับ อี ก ส่ ว นหนึ่ ง และท่ า นนบี ก็ ไ ด้
ประสานนิ้วมือทั้งสองข้าง”
(al-Bukhari,1986: 5680, Muslim,1996 : 2585)

4.การศึกษาในอิสลามได้ให้ความสาคัญในทุกองค์ประกอบของมนุ ษย์ ทั้งร่ างกาย


จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ และแสวงหาเพื่อให้บรรลุความสมดุลที่สมบูรณ์ระหว่างส่ วนประกอบ
เหล่านี้ท้ งั หมดประเภทความสาคัญของการศึกษาในอิสลาม (อัลตัรเบียะห์ อัลอิสลามิยะฮฺ)

2.4 แหล่งทีม่ าของแนวคิดทางการศึกษาในอิสลาม(อัลตัรเบียะห์ อัลอิสลามิยะห์ )

แหล่ ง ที่ ม าของแนวคิ ด ทางการศึ ก ษาในอิ ส ลามคื อ แหล่ ง ที่ ม าอัน เดี ย วกัน กับ
แหล่งที่มาของบทบัญญัติอิสลาม เพราะการศึกษาในอิสลาม(อัตตัรเบียะห์ อิสลามิยะห์ ) คือการจัด
ระเบี ย บทางจิ ต ใจและสั ง คมที่ จ ะน าสู่ ก ารยึ ด มั่น กับ อิ ส ลามและการปฏิ บ ัติ อ ย่ า งครบถ้ว นใน
ชีวติ ประจาวันของบุคคลและสังคม (al-Amayiroh, 2007 : 42)
อัตตัรเบียะห์อิสลามิยะห์เป็ นสิ่ งที่จาเป็ นในการที่จะบรรลุวตั ถุ ประสงค์ตามความ
ประสงค์ของอัลลอฮฺ ฉะนั้นแหล่งที่มาของตัรเบียะห์อิสลามิยะห์คือแหล่งที่มาเดียวกันกับแหล่งที่มา
ของอิสลามและแหล่งที่มาที่สาคัญที่สุดนั้นก็คือ อัลกุรอานและซุ นนะฮฺ (al-Nahlawi, 1999 : 20)
แหล่งที่มาของแนวคิดทางการศึกษาในอิสลามสมารถแบ่งออกเป็ น สอง ประเภท
ใหญ่ๆ

1) แหล่งที่มาของการศึกษาที่มาจากพระเจ้า (‫ )املصادر اإلهلية‬หรื อเรี ยกว่า แหล่งเดิม


)‫(املصادر األصلية‬นั้นก็คือ อัลกุรอาน แล ซุนนะฮฺ
68

2) แหล่งที่มาของการศึกษาที่มาจากมนุษย์ )‫ (املصادر البشرية‬หรื อเรี ยกว่า แหล่ง


ย่อย ซึ่ งจะครอบคลุมถึงมรดกทางปั ญญาของบรรพชนมุสลิมที่ได้ทิ้งไว้ ไม่วา่ จะเป็ น แนวความคิด
การวินิจฉัย วรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการศึกษา
ส่ วนรายละเอียดของแหล่งที่มาของการศึกษาในอิสลามดังนี้
1. อัลกุรอาน

อัลกุรอาน มาจากรากศัพท์ ) ‫ ( قرأ قراءة‬หมายถึงการอ่าน หรื อการรวบรวม เพราะ


ก่ า นอ่า นนั้นเกิ ดจากการรวบรวมอัก ษรหลายๆตัว นอกจากนั้นอัล กุรอานยัง เป็ นที่ รวบรวมของ
ความรู ้แขนงต่างๆไว้ในเล่มเดียวกัน ดังปรากในอัลกุรอานว่า

       

  

ความว่า“และเราได้ให้คมั ภีร์แก่เจ้าเพื่อชี้ แจงแก่ทุกสิ่ งและเพื่อเป็ น


ทางนาและเป็ นความเมตตา และเป็ นข่าวดีแก่บรรดามุสลิม
(อันนะหฺ ลฺ:89)

ส่ ว นความหมายของอัล กุ ร อานในเชิ ง วิ ช าการ คื อ ค าตรั ส ของอัล ลอฮฺ ที่ ท รง


ประทานแก่นบีมุหัมมัด ซึ่ งได้รับการรายงานจากผูร้ ายงานจานวนมากมายในลักษณะที่เป็ นมุตะ
วาติร และการอ่านอัลกุรอานนั้นเป็ นอิบาดะฮฺ อย่างหนึ่ง
อัล กุ รอานเป็ นแล่ ง ความรู ้ ที่ ส าคัญที่ สุ ดส าหรั บ มนุ ษ ย์ ซึ่ ง เนื้ อของอัล กุ รอานจะ
ครอบคลุมวิชาความรู ้เกี่ยวกับพระเจ้า เหตุการณ์ที่ผา่ นมาในอดีต และที่จะมาถึงในอนาคต อย่างเช่น
วันปรโลก วันสิ้ นโลก ด้านกฎหมาย การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วิทยาสาสตร์ และการศึกษา มีหลาย
โองการที่อลั ลอฮฺ ได้ตรัสเกี่ยวกับการศึกษา ซึ่ ง 5 โองการแรกที่ถูกประทานลงมาถึงท่านนบีคือ
โองที่เกี่ยวการอ่านและการศึกษา เช่นเดียวกันในอัลกุรอานจะมีวิธีการและเทคนิ จต่างที่จะได้มาซึ่ ง
ความรู้เพื่อเข้าถึงและรู้จกั พระองค์อลั ลอฮฺ
69

2. ซุนนะฮฺ

คาว่า(‫ )السنة‬แปลว่าการปฏิ บตั ิ ที่ถูกกาหนดมาหรื อแนวทางส่ วน ส่ วนตามหลัก


วิชาการ คือ คาพูดการกระทาการยอมรับและคุณลักษณะตลอดจนชี วประวัติของท่านนบีมุฮมั หมัด
?
ซุ นนะฮฺ ของท่านนบี ถื อเป็ นแหล่งที่มาที่สาคัญของการศึกษาในอิสลามรองลงมา
จากอัลกุรอาน ซุ นนะห์จะมีความสัมพันธ์กบั อัลกุรอาน คือ ซุ นนะฮฺ จะยืนยันบทบัญญัติที่กล่าวไว้
ในอัลกุรอาน อธิ บายต่อบทบัญญัติที่อลั กุอานได้กาหนดไว้ และจะกาหนดหุ กมซึ่ งอัลกุรอานมิได้
กล่าวถึง
ซุ นนะฮฺมีเนื้ อหามากมายที่เกี่ยวข้องและส่ งเสริ มการศึกษา อย่างเช่น ท่านนบีได้
กล่าวว่า

( 229: ‫((طلب العلم فريضة على كل مسلم (( )رواه ابن ماجة‬

“การศึกษาหาความรู ้น้ นั เป็ นสิ่ งที่จาเป็ นสาหรับมุสลิมทุกคน”


(Ibn Majah,2009 : 229)
3. แนวทางและมรดกทางปั ญญาของบรรพบุรุษ มุสลิม ซึ่ งจะครอบคลุมถึง การวินิ
ฉัย แนวคิ ด ความคิ ดเห็ นของนัก ปราชญ์ นัก คิ ด นัก การศึ ก ษาของมุ ส ลิ ม ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้องกับ
ประเด็นการศึก ษาตลอดประวัติศ าสตร์ อิส ลาม รวมถึ งชี วประวัติของพวกเขาเหลานั้นที่ มีค วาม
เกี่ยวกับการศึกษาโดยมีเงื่อนไขว่าต้องไม่ขดั กับอัลกุรอานและซุ นนะฮฺ
4. แนวความคิดทางการศึกษาที่ร่วมสมัย หมายถึง การศึกษาวิจยั และบทความทุก
อย่างที่สามารถใช้เป็ นประโยชน์ในประเด็นทางการศึกษา(al-Alee:2007:14-15)

วัตถุประสงค์ ของการศึกษาในอิสลาม (ตัรเบียะห์ อิสลามิยะห์ )


วัตถุ ประสงค์ของอัตตัรเบียะห์ อัลอิสลามิยะห์ถือว่าเป็ นสิ่ งที่สาคัญและจาเป็ นใน
การตัรเบียะห์ในอิสลาม เป็ นสิ่ งที่ช่วยในการที่จะขับเคลื่อนในกิจกรรมต่างๆของตัรเบียะห์
70

จากการที่อิสลามได้ให้ความสาคัญ กับการตัรเบียะห์เราสามารถแบ่งวัตถุประสงค์
ของการตัรเบียะห์ออกเป็ นวัตถุประสงค์ทวั่ ไปและวัตถุประสงค์ยอ่ ย( al-Ajmi : 29 . 30)
หนึ่ง : วัตถุประสงค์ทวั่ ไปคือ การทาอิบาดะห์ต่ออัลลอฮฺ
อัตตัรเบียะห์ อิสลามิยะห์ มีเป้ าหมายที่จะเตรี ยมบุคคลที่เคารพภักดี และยาเกรง
ต่ออัลลอฮฺ เพื่อเป็ นบุคคลที่ มุสลิม ที่ อิบาดะหฺ ต่ออัลลอฮฺ มีความรู ้ และปฏิบตั ิตามคาสั่งของอัลลอฮฺ
และละทิ้งสิ่ งที่พระองค์ทรงห้าม อัลลอฮฺ ตรัสว่า
)56 : ‫ (الذاريات‬ 
 
 
      
    
 
  

ความว่า“และข้ามิได้สร้างญิน และมนุษ ย์เพื่ออื่นใด เว้นแต่เพื่อเคารพ


ภักดีต่อข้า”
(อัซซาริ ยาต : 56)

สวนหนทางที่จะนาไปสู่ การทาอิบดะห์และความยาเกรงต่ออัลลอฮฺ คือการแสวงหา


ความรู ้ อัลลอฮฺตรัสว่า

        
 

          

)28: ‫(فاطر‬

ความว่า “แท้จ ริ ง บรรดาผูท้ ี่ มี ค วามรู ้ จ ากปวงบ่ า วของพระองค์


เท่านั้นที่เกรงกลัวอัลลอฮฺ แท้จริ งอัลลอฮฺ นั้นเป็ นผูท้ รงอานาจ ผู ้
ทรงอภัยเสมอ”
(ฟาติร:28)

ส่ วนวัตถุ ป ระสงค์ย่อยคื อวัตถุ ประสงค์ที่ มาจากวัตถุ ประสงค์หลัก ที่ ครอบคลุ ม


ทางด้าน คุณธรรม สังคม จิตใจ ปัญญา อารมณ์จิตใจและทางด้านเศรษฐกิจมีดงั นี้(al-Ajmi: 2006:30)
1. วัตถุประสงค์ทางจริ ยธรรมคือวัตถุประสงค์ที่ให้ความสาคัญในการสร้างบุคคลที่
มีจรรยา มารยาทที่สมบูรณ์และที่ดีงาม ฝึ กอบรมมุสลิมในสิ่ งที่ดี และสิ่ งทีเป็ นการตออัตต่ออัลลอฮฺ
71

และเป็ นผูท้ ี่มีจริ ยธรรมที่ดีงามอย่างสม่ าเสมอที่จะพาสุ ขในวันอาคิเราะห์ เช่น ความซื่ อสัตย์สุจริ ต


ความไว้วางใจ ความจงรักภักดีและความบริ สุทธิ์
วัตถุประสงค์ดา้ นจริ ยธรรมได้เน้นในสิ่ งต่อไปนี้
1) อบรมฝึ กฝนในมารยาทของอิสลาม
2) อบรมฝึ กฝนมุสลิ มในการปฏิบตั ิตามศาสดามุหัมมัด  ในแง่ ของมารยาท
ของท่าน ไม่วา่ จะเป็ นคาพูดหรื อการกระทา อัลลอฮฺ  ทรงตรัสไว้วา่
 
    

)4 : ‫( القلم‬

ความว่า : “และแท้จริ ง เจ้านั้นอยูบ่ นคุณธรรมอันยิง่ ใหญ่”


(อัลเกาะลัม : 4 )
3) ขัดเกลาตัวเองจากบาปและกิเลสต่างๆให้สะอาดและบริ สุทธ์
4) ฝึ กฝนมุสลิมให้มีจิตใจที่บริ สุทธ์และยาเกรงต่ออัลลอฮฺ
2. วัตถุประสงค์ดา้ นสังคม คือ มีความตระหนักถึงคุณค่าของการเป็ นอุคุวะห์อลั อิส
ลามิยะห์และคุณค่าของการอยูร่ ่ วมกันในสังคม
3. วัตถุประสงค์ดา้ นสติปัญญาและความรู้
อิ ส ลามได้ ใ ห้ ค วามส าคัญ และเชิ ญ ชวนในการแสวงหาความรู้ และได้ ใ ห้
ความสาคัญกับปั ญญาของมนุษย์อย่างมาก อัลลอฮฺตรัสว่า

       

   

ความว่า“แท้จริ งในการสร้ างบรรดาชั้นฟ้ าและแผ่นดิ น และการที่


กลางวัน และกลางคื น ตามหลัง กัน นั้นแน่ นอนมี ห ลายสั ญญาณ
สาหรับผูม้ ีปัญญา”
(อาละอิมรอน: 190 )
72

4. วัตถุ ป ระสงค์ด้านอารมณ์ และจิตใจคื อการสร้ างความมัน่ ใจในตนเอง โดยมี


ความรู ้สึกว่าเขามีค่าในสังคมและสังคมมีความต้องการต่อเขา มีความรู ้สึกต้องการต่ออิมาน
5. วัตถุ ประสงค์ดา้ นทางเศรษฐกิ จ คื อ ฝึ กฝนมุ สลิ มในการใช้จ่ายที่ พอเพียงและ
หลีกเลี่ยงจากการใช้จ่ายที่สุรุ่ยสุ ร่าย

เป้าหมายการศึกษาอิสลามในทัศนะของนักคิดมุสลิม
นักคิดมุสลิมตั้งแต่ยคุ แรกๆของอิสลามจนถึงปั จจุบนั ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับ
เป้ าการศึกษาในอิสลามที่หลากหลายดังนี้
1. มุหมั มัด บิน สะหฺ นูน (Muhammad bin Sahnun) มุหมั มัดบินสะหฺ นูนไม่ได้พูด
โดยตรงเกี่ ยวกับเป้ าหมายของการศึกษาในอิสลามแต่ท่านพูดถึง การศึกษาอัลกุรอานที่เด็กควรเริ่ ม
ในการศึ ก ษาโดยเฉพาะช่ ว งที เด็ ก มี อายุย งั น้อย ซึ่ ง สั ง เกตุ จ ากค าพูด ของท่ า นจะเห็ น ว่า เป้ าของ
การศึ ก ษาของท่ า นคื อ การอิ บ าดะฮฺ ต่อ อัล ลอฮฺ  เพราะการศึ ก ษาอัล กุ ร อานั้น คื อการภัก ดี และ
อิบาดะหฺ ต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ
2. อัลฟารอบี (al-farabi) มีทศั นะว่าการขัดเกลาสติปัญญาคือเป้ าหมายสู งสุ ดของ
การศึกษา
3. อิบนุ สี นา (Ibn Sina) อิบนุสีนาได้ยึดเป้ าหมายสู งสุ ดของการศึกษา การขัดเกลา
สติปัญญา และได้กล่าวว่าสติปัญญาของมนุ ษย์มีเอกลักษณ์และแตกต่างจากสิ่ งถูกสร้างอื่นๆอิบนุ สี
นาได้กล่าวถึ งเป้ าหมายของการศึกษาอีกเป้ าหมายหนึ่ ง คือการเตรี ยมเด็กสาหรับภารกิ จในชี วิตใน
อนาคตข้างหน้า
4. บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์ มีทศั นะเกี่ยวกับเป้ าหมายของการศึกษาคือ การแสวงหา
ความรู้เพื่อความโปรดปรานของอัลลอฮฺและชีวติ ในอนาคตภายภาคหน้า ขจัดความอวิชาออกจากตัว
ผูเ้ รี ยน และจากผูท้ ี่ไม่มีความรู ้อื่นๆรักษาไว้ซ่ ึงศาสนาดารงไว้ซ่ ึงอิสลาม
5. อัล เฆาะซาลี (al-Gazali) อัล เฆาะซาลี ได้กาหนดเป้ าหมายของการศึกษา คือ
การศึกษาต้องเน้นถึงการสร้างบุคลิ กภาพและลักษณะนิ สัยที่สมบูรณ์ อันจะทาให้มนุ ษย์สามารถ
แยกแยะระหว่างความดีและความชัว่ (อิบรอเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต, 2550:64)
6. อิบนุ คอลดูน(Ibn Khaldun) ในทัศนะของอิบนุคอลดูนนั้น การศึกษามีเป้ าหมาย
4 ประการดังนี้
1) เพื่อให้ผเู้ รี ยนสามารถวางแผนการกระทา(ปฏิบตั ิ) เพื่อตอบสนองความต้อง
การของสังคม
2) ความพยายามในการแสวงหาความรู ้ที่อยูเ่ หนือกว่าประสาทสัมผัส
73

3) เพื่อพัฒนาบุคลิกนิ สัยที่ ดีให้สอดคล้องกับศาสนา เพราะเป็ นเรื่ องที่สาคัญของ


ศาสนา
4) เพื่อสร้างความมัน่ ใจกับวิธีการดาเนินชิวติ (Rosnani Hashim, 1996:86)

2.5 สถาบันการศึกษาในอิสลาม

สถาบันของการศึกษาในอิสลามมีบทบาทและอิทธิ ผลมากในการที่ ช่วยให้บรรลุ


วัตถุประสงค์ของการศึกษา ดังนี้
1) บ้านอัลอัรกอม
สถาบันแรกของการศึ ก ษาในอิ ส ลามตั้ง แต่ เ ริ่ ม แรกของการประทานอัล วะฮฺ ยู
(วิวรณ์ ) ต่อท่านนบี คือ บ้านอัล .อัรกอม บิน อบี อัล .อัรกอมที่ ได้รวบรวมผูศ้ รัทธาอย่างเงี ยบๆ
และณ บ้านแหล่งนี้ ท่านนบีได้สอนบรรดาเศาะหาบะฮฺ ของท่านเกี่ยวกับที่ถูกประทานลงมาถึ งท่าน
โดยญิบริ ล
2) ครอบครัวมุสลิมะห์
ครอบครัว คือ สภาพแวดล้อมทางสังคมสถานแรกที่ไ ด้รวบรวมเด็ก ซึ่ งเด็กได้
อาศัย และเติ บ โตในครอบครั ว โดยเด็ ก ได้รั บ อิ ท ธิ ผ ลด้า น ศี ล ธรรม จริ ย ธรรม นิ สั ย ประเพณี
พฤติกรรม ด้วยการปฏิบตั ิ หรื อ ประสบการณ์ หรื อ มารยาทที่ดีงาม จากบุคคลในครอบครัว
ครอบครัวมุสลิ ม ะห์ คือครอบครั วที่พยายามดาเนิ นการเพื่อที่จะบรรลุ เป้ าหมาย
หลักของการสร้างครอบครัวมุสลิมะห์ ถ้าเราสังเกตในบางอายะห์อลั กุรอานและหะดีษของท่านนบี
จะเห็นว่าวัตถุประสงค์หลักในการสร้างครอบครัวมุสลิมะห์คือ ดังนี้(al-Nahlawi: 1999:123)
1. สร้างครอบครัวมุสลิมทีภคั ดีต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ
2. ทาให้จิตใจสงบ อัลลอฮฺทรงตรัสว่า

          

           

         

) 189 : ‫)األعراف‬
74

ความว่า“พระองค์น้ นั คื อผูท้ ี่ ได้ทรงบังเกิ ดพวกเจ้าจากชี วิตเดี ยว


และได้ทรงให้มีข้ ึนจากชี วิตนั้นซึ่ งคู่ครองของชี วิตนั้นเพื่อชี วิตนั้น
จะได้มีความสงบสุ ขกับนางครั้นเมื่อชี วิตนั้นได้สมสู่ นาง นางก็อุม้
ครรภ์อย่างเบา ๆแล้วนางก็ผ่านมันไปครั้ นเมื่อนางอุม้ ครรภ์หนัก
เขาทั้งสองก็วิงวอนต่ออัลลอฮฺ ผูเ้ ป็ นพระเจ้าของเขาทั้งสองว่าถ้า
หากพระองค์ท รงประทานบุ ต รที่ ส มบู ร ณ์ ใ ห้ ข้า พระองค์แ ล้ว
แน่นอนข้าพระองค์ก็อยูใ่ นหมู่ผขู ้ อบคุณ”
(อัลอะอฺ รอฟ :189)
3. ป้ องกันจากไฟนรก ถือเป็ นหน้าที่ ของผูป้ กครองในการที่จะปกป้ อง
ลูกหลานให้พน้ จากสิ่ งชัว่ ร้ ายและไฟนรกของอัลลอฮฺ ที่กาลังรอผูท้ ี่ปฏิเสธศรัทธา อัลลอฮฺ
ตรัสว่า

        

         



   

)6: ‫(التحرمي‬

ความว่า “โอ้บรรดาผูศ้ รัทธาเอ๋ ย จงคุ ม้ ครองตัวของพวกเจ้าและ


ครอบครัวของพวกเจ้าให้พน้ จากไฟนรกเพราะเชื้ อเพลิงของมันคือ
มนุษย์ และก้อนหิ นมีมะลาอิกะฮฺ ผแู ้ ข็งกร้ าวหาญคอยเฝ้ ารักษามัน
อยู่พวกเขาจะไม่ฝ่าฝื นอัลลอฮฺ ในสิ่ งที่พระองค์ทรงบัญชาแก่พวก
เขาและพวกเขาจะปฏิบตั ิตามที่ถูกบัญชา”
(อัตตะหฺ รีม: 6)
3) มัสยิด
มัสยิดเป็ นองค์กรที่สาคัญยิง่ ในอิสลามเป็ นองค์กรที่มีส่วนสาคัญต่อการพัฒนาคน
และพัฒนามุสลิ มให้เป็ นมุ อฺมินที่ สมบูรณ์ มสั ยิดตัง่ แต่อดี ตจนถึ งปั จจุบนั ได้กลายเป็ นสัญลักษณ์ ที่
โดดเด่ นของชุ มชนมุ สลิ มและเป็ นสัญลักษณ์ ที่สามารถบ่งบอกถึ งความเจริ ญรุ่ งเรื องในทุ กๆด้าน
โดยเฉพาะในเรื่ องของการอบรมขัดเกลาจิตใจและการศึกษา มุสลิมได้มีการอบรมในมัสยิดทางด้าน
75

จิตใจ ความศรัทธา จริ ยธรรม และด้านความสัมพันธ์ในสังคม และได้มีการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับบทบัญญัติ


ต่างๆของศาสนา และเรื่ องของการเป็ นอยูใ่ นโลกดุ นยา มีการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับอัลกุรอาน ตัฟสี รอัลกุ
รอาน และสิ่ งที่หะลาลและหะรอม
ภารกิ จแรกของท่ านเราะซู ล ลุ ลลอฮฺ  เมื่ อท่า นถึ งนครมะดี นะห์ คือ การสร้ าง
มัสยิด เพราะมัสยิดคือสถานที่ในการพบปะ และหารื อในเรื่ องต่างๆของบรรดามุสลิ มในการที่จะ
บรรลุเป้ าสงค์ของอิสลามและปกป้ องจากสิ่ งที่ชวั่ ร้าย มีการช่วยเหลือในการที่เผชิ ญกับปั ญหาต่างๆ
ปกป้ องจากการรุ กรานด้านการศรัทธา ร่ างกาย และทรัพย์สิน เช่นเดียวกันมัสยิด คือสถานที่มุสลิ ม
ทุกคนกลับไปสู่ อลั ลอฮฺ ขอความช่วยเหลือ สถานทีพกั ทางจิตใจ
ในช่วงแรกของอิสลามมัสยิดถือว่าเป็ นสถาบันที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการพัฒนาคน
ในทุกๆด้านของชีวติ มุสลิม แต่ ณ วันนี้ มุสลิมไม่ได้ให้ความสาคัญกับมัสยิดยิง่ นัก
มัสยิด คือ ศูนย์กลางแห่ งการศึกษาหาความรู ้ และมีบทบาทในการอบรมบ่มเพาะ
จิตใจให้รักใคร่ ในสิ่ งที่ ดี และรักใคร่ ในวิชาความรู ้ และเป็ นสถานที่ ในการรั บรู ้ สิทธิ และหน้าที่
ต่างๆของมุสลิมต่อรัฐอิสลามที่ได้สร้างเพื่อบรรลุ วตั ถุประสงค์ในการตออัตต่ออัลลอฮฺ ปฏิบตั ิตาม
กฎหมายของพระองค์ มีคุณธรรม และมีความเมตตาระหว่ามนุษย์ดว้ ยกัน
มัสยิดคือจุดเริ่ มของการสอนการอ่านและการเขียน เริ่ มจากมัสยิดของท่านนบี
อัลลอฮฺทรงตรัสว่า

         

          

   

)18: ‫(التوبة‬
ความว่า “แท้จริ ง ที่ จะบูรณะบรรดามัศยิด ของอัล ลอฮฺ น้ ันคื อผูท้ ี่
ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ และวันปรโลกและได้ดารงไว้ซ่ ึ งการละหมาด
และชาระซะกาต และเขามิได้ยาเกรงนอกจากอัลลอฮฺ เท่านั้นดังนั้น
จึงหวังได้วา่ ชนเหล่านี้แหละจะเป็ นผูอ้ ยูใ่ นหมู่ผรู ้ ับคาแนะนา”
(อัต-เตาบะฮฺ :18)
จากท่านอบีฮุร็อยเราะ จากท่านนบีได้กล่าวว่า
76

‫((من غدا إىل املسجد أو راح أعد اهلل له ىف اجلنة نزال كلما غدا أو‬
()‫راح‬
)1556 : ‫(رواه مسلم‬
ความว่า ใครก็ตามที่ไปกลับมัสญิดทุกๆเช้าหรื อบ่ายเพื่อละหมาด
ญะมาอะฮฺ แล้ว อัลลอฮฺ จะเตรี ยมที่ อยู่หนึ่ งให้แก่เขาในสวรรค์ใน
ทุกๆเช้าหรื อบ่าย
(Muslim,1996 :1556)
และท่านนบีกล่าวอีกว่า

‫)(من تطهر يف بيته مث مشى اىل بيت من بيوت اهلل ليقضى فريضة من‬
()‫واألخرى ترفع درجة‬,‫كانت خطوتاه احدامهاحتط خطيئة‬,‫فراءض اهلل‬

)1553 :‫(رواه مسلم‬

ความว่า ผูใ้ ดก็ตามที่อาบน้ าละหมาดมาจากบ้านของเขา แล้วเดิ น


ไป ณ มัสญิดใดมัสญิดหนึ่ งเพื่อทาการละหมาด ถื อว่าในสองก้าว
เดิ นของเขานั้น ก้าวหนึ่ งเขาจะได้ลบบาป และอีกก้าวหนึ่ งเขาจะ
ได้ผลบุญ
(Muslim,1996:1553)
4) กุตตาบ
กุตตาบ( ‫ )ال ُكتَّاب‬เป็ นคาภาษาอาหรับ พหุ พจน์ ใช้ กะตาตีบ (‫ ) الكتاتيب‬หมายถึ ง
ศูนย์กลางหรื อสถาบันการศึกษาสมัยก่อนที่มีประวัติมายาวนาน โดยมีรายงานว่า กุตตาบได้เกิดขึ้น
ในสมัยการปกครองของราชวงค์อุมยั ยะฮฺที่เน้นการสอนอัลกุรอานและพื้นฐานของการอ่านและการ
เขียนให้กบั เด็ก ซึ่ งจะตั้งอยูท่ ี่บา้ นของผูส้ อน
กุตตาบจะมีอยู่สองประเภทด้วยกัน ประเภทแรกสาหรับลูกผูท้ ี่มีความสามารถใน
การเสี ยค่าใช้จ่ายในการศึกษา ส่ วนประเภทที่สองสาหรับผูท้ ี่มีรายได้นอ้ ยที่ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายใดๆ
หรื อเรี ยกว่า “กุตตาบ อัซซะบีล”
ระบบการเรี ยนการสอนในอัลกุตาบโดยเริ่ มเรี ยนในวันเสาร์ ถึงวันพฤหัสบดี มีการ
ปิ ดในวันศุกร์ และช่ วงบ่ายของวันพฤหัสบดี และเด็กๆจะเริ่ มเรี ยนด้วยการท่องจาคัมภีร์อลั กุรอาน
77

จนกระทัง่ ถึ งเวลาฎุหาหลังจากนั้นเริ่ มเรี ยนการเขียนจนกระทัง่ ถึ งเวลาเที่ยงและหลังจากนั้นเด็กก็


กลับบ้าน และบางส่ วนของอัลกุตตาบมีการสอนเพิ่มในช่ วงเย็นในบางรายวิชา อาทิเช่ น ไวย์กรณ์
อาหรับ คณิ ตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ อาหรับ และในวันพฤหัสบดีเป็ นวันเฉพาะของการทบทวน และ
มีการปิ ดเรี ยนในวันอีด(Mursi,1993 : 210)

5) โรงเรี ยน
โรงเรี ยนคือบ้านหลังที่สามหลังจากครอบครัวและมัสยิดทีมีบทบาทในการอบรม
ศึกษา และพัฒนาคนเพื่อสู่ ความสาเร็ จในโลกดุนยาและอาคิเราะห์ โรงเรี ยนมีความสาคัญและมี
บทบาทมากในการที่จะอบรมสั่งสอนนักเรี ยน เพราะนักเรี ยนได้ใช้ชีวติ อยูก่ บั โรงเรี ยนเป็ นเวลานาน
ความสาคัญของโรงเรี ยนจะอยูภ่ ายใต้กรอบสามด้านนี้
1. การสร้ างความสัมพันธ์ คือสร้ างความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยนโดยไม่มีความ
แตกต่างระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกัน
2. การสร้างจริ ยธรรม โรงเรี ยนมีหน้าที่ในการสร้างจริ ยธรรมให้กบั บรรดานักเรี ยน
โดยโรงเรี ยนทาการคัดเลือกผูส้ อนที่มีความยาเกรงต่ออัลลอฮฺ มีความซื่ อสัตย์และมีจริ ยธรรมที่ดีงาม
3. การเตรี ยมอาชี พ การเตรี ยมอาชี พไม่ใช่เฉพาะเตรี ยมอาชี พ การงานทัว่ ไปเพื่อ
ประโยชน์ของตนเองและส่ วนรวม แต่เตรี ยมอาชีพในที่น้ ีครอบคลุมทุกด้านคือการเตรี ยมสุ ภาพสตรี
ให้เป็ นภรรยาที่ดีรวมไปถึงเป็ นแม่ที่ดีของลูก
ในประวัติศาสตร์ อิสลามสถาบันการศึกษาที่เป็ นระบบโรงเรี ยนได้กาเนิ ดขึ้นครั้ง
แรกในสมัยการปกครองของราชวงค์ซลั ญูก ที่มีชื่อว่า นิ ซอม อัล.มุลก์ ที่เมืองแบกแดดในปี ฮิจเราะฮฺ
ที่ 458 และได้สร้างโรงเรี ยนในลักษณะดังกล่าวกระจ่ายตามเมืองอื่นๆ ที่ แบกแดด ที่บาลัค ที่นิซา
บูร ที่ฮรั รัน ที่อสั ฟาฮัน ที่บศั เราะฮฺ ที่มรั วฺ ที่อมัล ที่บริ สตัน และที่เมาซิ ล และทุกๆเมืองที่อิรักและ
เคาะรอซาน ในขณะเดียวกันอัสสุ บกียไ์ ดกล่าวว่า “ไม่ใช่เรื่ องจริ งที่นิซอม อัล.มุลก์เป็ นคนแรกที่ได้
สร้ างโรงเรี ยนในประวัติศาสตร์ อิสลาม อย่างที่นยั สาบูรซึ่ งได้มีโรงเรี ยนก่อนโรงเรี ยน นิ ซอม อัล
มุ ล ก์ โดยเฉพาะโรงเรี ย นอัส สะอฺ ดี ย ะฮฺ แ ละโรงเรี ย นอัล บัย ฮะกี ย ะฮฺ ที่ นัย ซาบู ร เช่ น เดี ย วกัน
(Mursi, 19931:213)
ส่ วนหลักสู ตรการเรี ยนการสอนในสมัยก่อน จะแบ่งออกเป็ นวิชาหลักหรื อพื้นฐาน
คือ วิชาศาสนา และวิทยาศาสตร์ ส่ วนวิชาเสริ มคือ คณิ ตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม และ
อื่นๆ
78

6) ดารุ ล หิกมะฮฺ(ห้องสมุด)
ดารุ ลหิ กมะฮฺ เกิ ดขึ้ นในสมัยการปกครองของ อัลอับบาสี ย ์ ได้ต้ งั ชื่ อว่า ดารุ ลหิ ก
มะฮฺ สื่ อให้เห็นถึงเกียรติและคุณค่าของความรู ้ เสมือนความรู ้คือกุญแจที่เป็ นหิ กมะฮฺ
สมัยก่อนดารุ ลฮิกมะฮฺเป็ นศูนย์แห่งการเรี ยนรู ้และการค้นคว้า ซึ่ งนักประวัติศาสตร์
บางคนมักจะเรี ยกเดารุ ลฮิกมะฮฺ วา่ อัลญามิอะฮฺ ซึ่ งแปลว่าว่ามหาวิทยาลัย เพราะเดารุ ลฮิกมะฮฺ ได้ทา
หน้าที่ของมหาวิทยาลัย คือเป็ นศูนย์แห่งการเรี ยนรู ้และค้นคว้า
สรุ ป ว่า ดารุ ล หิ ก มะฮฺ คื อ ศู น ย์เ พื่ อ การเรี ย นรู้ แ ละค้น คว้า วิจ ัย โดยเฉพาบรรดา
นักปราชญ์สมัยก่ อนมักจะไปที่ เดารุ ลหิ กมะฮฺ ในการที่ หาความรู ้ และที่ น้ นั มี การสอนวิชาความรู ้
ให้กบั เด็กนักเรี ยนด้วย ส่ วนเดารุ ลหิ กมะฮฺ ที่มีชื่อเสี ยงและเป็ นที่ รู้จกั สมัยนั้นคื อบัยตุ ลฮิกมะห์ ที่
แบกแดด และบัยตุลฮิกมะฮฺที่ เราะกอบะฮฺในภาคเหนือทวีปแอฟรี กา และเดารุ ลฮิกมะฮฺที่ไคโร
7) อัรริ บาตอต )‫(الرباطات‬

อัรริ บาต คือสถานที่หรื อบ้านที่อยูอ่ าศัยของผูข้ ดั สนและคนยากจนเพื่ออานวยความ


สะดวกในการทาอิ บาดะฮิต่ออัลลอฮฺ และในการศึกษาหาความรู ้ และริ บาต ที่มีชื่อเสี ยงและเป็ นที่
รู้จกั ในสมัยก่อนคือ ริ บาต อัลบัฆดาดิยะฮฺ ของซัยนับอัลบัฆดาดียะฮฺ เป็ นสถานที่อยูอ่ าศัยของผูห้ ญิง
ในการทาอิบาดะฮฺและศึกษาหาความรู้
8) โรงพยาบาล
โรงพยาลเป็ นสถานที่สาคัญในการรักษาผูป้ ่ วยและศึ กษาเกี่ ยววิชาทางการแพทย์
อัลมิกรี ซียไ์ ด้กล่าวว่า บุคคลแรกที่ได้สร้ างโรงพยาบาลในประวัติศาสตร์ อิสลาม คือ อัลวะลี ด บิน
อับดิลมะลิก(เสี ยชีวิต ฮ.ศ. 88) แต่ในทัศนะของดิวรันท์ ได้กล่าวว่า ฮารู น อัรรอชี ดเป็ นบุคคลแรกที่
ได้สร้างโรงพยาบาลในประวัติศาสตร์อิสลาม
ในหนังสื อประวัติศาสตร์ อิสลามได้กล่าว ดรงพยาบาลในประเทศมุสลิมสมัยก่อน
มีถึง 43 แห่ งแพร่ หลายในประเทศต่างๆ อาทิเช่ น เปอร์ เซี ย ซี เรี ย และ อียิปต์ ส่ วนในแบกแดดมี
หมอทั้งหมดจานวน 860 คน ในปี ฮ.ศ.931
79

9) บ้านผูร้ ู้
บ้านผูร้ ู้หรื ออุลามาอฺ มีบทบาทสาคัญในการที่ถ่ายทอดความรู ้ สู่ผคู ้ น ซึ่ งสมัยก่อน
ผูค้ นมักจะไปที่บา้ นผูร้ ู ้เพื่อถามเกี่ยวกับปั ญหาทางศาสนา
ทางประวัติศาสตร์ อิสลามได้จารึ กว่า บ้านของท่านอิหม่ามอะหฺ มดั เป็ นแหล่งของ
การเรี ยนรู ้ ศาสนาในสมัยก่ อนที่ ค่อยต้อนรั บบรรดาอุลามาอฺ และนักศึกษาที่เดินทางเพื่อแสวงหา
ความรู้(Mursi, 1993 : 223)

2.6 คุณลักษณะของการศึกษาในอิสลาม (ตัรเบียะห์ อสิ ลามิยะห์ )


การศึกษาในอิสลามมีคุณลักษณะและคุณสมบัติที่หลากหลายและแตกต่างกัน ดังนี้
1. อัรรอบานิยะห์ )‫ (الربانية‬มีความหมายว่า เป็ นศาสนาที่มีแหล่งที่มาจากพระ
เจ้าอัลลอฮฺและมีเป้ าหมายคือการกลับสู่ พระเจ้า คือ การตัรเบียะห์มุสลิมภายใต้กรอบของศาสนาและ
จริ ยธรรมที่ดีงามโดยมีการวางเป้ าหมาย วิธีการ และแนวทางของอิสลาม
คาว่า ร็ อบบานิยะห์ จะมีความแตกต่างกับแนวคิดและปรัชญาที่มาจากมนุ ษย์ ถือว่า
เป็ นความแตกต่างกันมากระหว่างสิ่ งที่มาจากพระเจ้ากับสิ่ งที่มาจากมนุษย์ อัลลอฮฺ ตรัสว่า

          

)162 : ‫(األنعام‬

ความว่า“จงกล่ าวเถิ ด (มุ ฮมั มัด) ว่า แท้จริ งการละหมาดของฉัน


และการ อิบาดะฮ์ของฉันและการมีชีวิตของฉันและการตายของ
ฉันนั้นเพื่ออัลลอฮฺผเู ้ ป็ นพระเจ้าแห่งสากลโลกเท่านั้น”
(อัลอันอาม: 162)

อัลลอฮฺได้ตรัสว่า
         

)9 : ‫(اإلسراء‬       


80

ความว่า“แท้จริ ง อัลกุรอานนี้ นาสู่ ทางที่เที่ยงตรงยิ่งและแจ้งข่าวดี


แก่ บรรดาผูศ้ รั ทธาที่ ประกอบความดี ท้ งั หลายว่าสาหรั บพวกเขา
นั้นจะได้รับการตอบแทนอันยิง่ ใหญ่”
(อัลอิสรออฺ :9)

อัลลอฮฺตรัสอีกว่า

           

)123: ‫(طه‬          

ความว่า “บางที เมื่อมี ค าแนะนา (ฮิ ดายะฮ์) จากข้ามายังพวกเจ้า


แล้วผูใ้ ดปฏิบตั ิตามคาแนะนา (ฮิดายะฮ์) ของข้า เขาก็จะไม่หลงผิด
และจะไม่ได้รับความลาบาก” (ตอฮา: 123)
ร็ อบบานิยะห์ คือ การมีความสัมพันธ์ระหว่างมุสลิมกับพระเจ้า ดังนั้นการมีชีวิตอยู่
บนโลกนี้ถือว่ามีความหมาย และการงานต่างๆถือว่าเป้ าหมาย ฉะนั้นด้วยเหตุน้ ี จึงมีแรงจูงใจในการ
หาความรู ้ มีการยกระดับด้านศีลธรรม มีจิตใจที่บริ สุทธิ์ และมีคุณสมบัติที่จะเป็ นเคาะลีฟะห์ในพื้น
แผ่นดิ นของ อัลลอฮฺ และร็ อบบานิ ยะห์มิใช่ กะหฺ นูติยะหฺ )‫(كهنوتيه‬ซึ่ งมีการแบ่งแยกระหว่างคนกับ
การดารงชี วิตหรื อแบ่งแยกระหว่างศาสนากับโลก แต่แท้จริ งแล้วร็ อบบานยิยะหฺ คือความผูกพัน
ระหว่างพระเจ้ากับมนุ ษย์โดยผ่านการศึกษาวิเคราะห์จากปรากฏการณ์ของจักรวาลและแง่มุมของ
การดารงชีวติ
2. อัชชุมูลิยะหฺ (การครอบคลุม)
อัชชุ มูลิยะหฺ คือ คุณลักษณะที่เด่นที่สุดในบรรดาคุ ณลักษณะของอัตตัรเบียะหฺ อิส
ลามิ ยะหฺ ที่ไ ด้ใ ห้ความสาคัญกับ บุ คลิ กภาพของมนุ ษย์ในทุ ก ๆด้าน ไม่ ว่า จะเป็ น ร่ า งกาย จิ ตใจ
ปัญญา จิตวิทยา สังคม คุณธรรม และอื่นๆ และมีการครอบคลุมทุกกลุ่มของสังคมและมีการยอมรับ
หลักการของความเสมอภาค อัลลอฮฺ ตรัสว่า
81

         

             

)13 : ‫(احلجرات‬
ความว่า“โอ้มนุษยชาติท้ งั หลาย แท้จริ งเราได้สร้างพวกเจ้าจากเพศ
ชาย และเพศหญิ ง และเราได้ให้พวกเจ้าแยกเป็ นเผ่า และตระกูล
เพื่อจะได้รู้จกั กัน แท้จริ งผูท้ ี่มีเกียรติยิ่งในหมู่พวกเจ้า ณ ที่อลั ลอฮฺ .
นั้นคือผูท้ ี่มีความยาเกรงยิ่งในหมู่พวกเจ้า แท้จริ งอัลลอฮฺ .นั้นเป็ นผู ้
ทรงรอบรู ้อย่างละเอียดถี่ถว้ น”
(อัลหุญุรอต : 13)
อัชชุมูลิยะห์ จะครอบคลุมความรู ้ท้ งั หมดที่ให้ประโยชน์ในการสร้างความก้าวหน้า
ในสังคมไม่วา่ จะเป็ นความรู ้ที่เกี่ยวกับ วัตถุ พืช สัตว์ และจักรวาล หรื อความรู ้ที่มีความเกี่ยวข้องกับ
ขั้นตอนของการเจริ ญเติบโตของมนุ ษย์หรื อความรู ้ ที่เกี่ ยวกับประวัติสาสตร์ ของประชาชาติก่อนๆ
อัลลอฮฺทรงตรัสว่า
           

          

        

            

)28-27 : ‫(فاطر‬
ความว่า“เจ้ามิได้พิจารณาดอกหรื อว่า แท้จริ งอัลลอฮฺ น้ นั ทรงให้น้ า
หลัง่ ลงมาจากฟากฟ้ าแล้วเราได้ให้พืชผลงอกเงยออกมาด้วยกัน
(จากน้ า) สี สรรของมันแตกต่างกันไป และในหมู่ภูเขาทั้งหลายมี
ชนิ ดต่าง ๆ ขาวและแดง หลากหลายสี และสี ดาสนิ ทและในหมู่
มนุษย์ และสัตว์ และปศุสัตว์ ก็มีหลากหลายสี เช่นเดียวกัน แท้จริ ง
บรรดาผู ้ที่ มี ค วามรู ้ จ ากปวงบ่ า วของพระองค์ เ ท่ า นั้ นที่ เ กรง
กลัวอัลลอฮฺ แท้จริ งอัลลอฮฺ นั้นเป็ นผูท้ รงอานาจ ผูท้ รงอภัยเสมอ”
(ฟาติร: 27.28)
82

อัตตัรเบียะห์มีคุณลักษณะที่ ครอบคลุมในความเสมอภาคของมนุ ษยชาติโดยถือว่า


มนุษย์ทุกคนเป็ นมัคลูกที่อลั ลอฮฺสร้างขึ้นมาเพื่อรู ้ในสิ่ งที่ดี ที่มีภาระหน้าที่ชกั ชวนผูค้ นในสิ่ งที่ดีและ
ห้ามปรามในสิ่ งที่ชวั่ และสร้างความเสมอภาคระหว่างมนุษย์ อัลลอฮฺตรัสว่า

         

             

ความว่า“โอ้มนุ ษยชาติท้ งั หลาย แท้จริ งเราได้สร้ างพวก เจ้าจาก


เพศชาย และเพศหญิ ง และเราได้ใ ห้ พ วกเจ้า แยกเป็ นเผ่า และ
ตระกูล เพื่ อจะได้รู้จกั กันแท้จริ ง ผูท้ ี่ มี เกี ย รติ ยิ่ง ในหมู่ พ วกเจ้า ณ
ที่อลั ลอฮฺ.นั้นคือผูท้ ี่มีความยาเกรงยิง่ ในหมู่พวกเจ้า แท้จริ งอัลลอฮฺ .
นั้นเป็ นผูท้ รงรอบรู ้อย่างละเอียดถี่ถว้ น” (อัล.หุญุรอต :13)
เช่ นเดียวกับอัชชุมูลิยะห์ ที่ได้ให้ความสาคัญกับบุคลิกภาพของมนุ ษย์ในทุกๆด้าน
ไม่วา่ จะเป็ นด้าน จิตวิญญาณ จิตใจ ร่ างกาย สังคม อารมณ์ความรู ้สึก และทางด้านปั ญญาและ อัชชุมู
ลิยะห์ได้ให้ความสาคัญในเรื่ องของทางโลกและทางธรรม อัลลอฮฺ ตรัสว่า

          

           

        

)77: ‫(القصص‬

ความว่า“และจงแสวงหาสิ่ งที่อลั ลอฮฺ ได้ประทานแก่เจ้าเพื่อปรโลก


และอย่า ลื ม ส่ วนของเจ้า แห่ ง โลกนี้ และจงท าความดี เสมื อนกับ
ที่อลั ลอฮฺได้ทรงทาความดีแก่เจ้าและอย่าแสวงหาความเสี ยหายใน
แผ่นดินแท้จริ ง อัลลอฮฺไม่ทรงโปรดบรรดาผูบ้ ่อนทาลาย”
(อัลเกาะศ็อศ: 77)
83

3. เส้นทางสายกลาง)‫)الوسطية‬

เอกลักษณ์พิเศษของศาสนาและประชาชาติอิสลาม คือ อัลวะสะติยะห์ คือศาสนาที่


ตั้งอยูพ่ ้นื ฐานของความเป็ น สายกลาง
อัลลอฮฺตรัสว่า

        

 
 
  
 
   
 
  

)143 : ‫(البقرة‬

“และในทานองเดี ย วกัน เราได้ใ ห้พวกเจ้าเป็ นประชาชาติ ที่ เป็ น


กลางเพื่ อ พวกเจ้า จะได้เ ป็ นสั ก ขี พ ยานแก่ ม นุ ษ ย์ท้ งั หลาย และ
เราะซูลก็จะเป็ นสักขีพยานแด่พวกเจ้า”
(อัล.บะเกาะเราะฮฺ :143)
คาว่า สายกลาง มาจากคาภาษาอาหรับว่า ‫ط‬ ُ ‫( اَلْ َو َس‬อัลวะซัฏ) ซึ่ งหมายถึง "ดีเลิศ
ที่สุดหรื อคุณภาพดีที่สุด" หรื อหมายถึง สิ่ งที่อยูร่ ะหว่างสองประการที่ถูกตาหนิ เช่ น ความ
เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่อยู่ระหว่างความตระหนี่ กบั ความสุ รุ่ยสุ ร่าย ความกล้าหาญอยูร่ ะหว่างความขลาด
กลัวกับความผลุนผลันมุทะลุ สายกลางในด้านการศรัทธา อิบาดาต ศีลธรรม ความคิด และสายกลาง
ในการปกป้ องสังคมมนุษย์จากการเบี่ยงเบนในด้านวัตถุและคุณธรรม
4.อัลวากิอียะห์)‫(الواقعية‬

อัล วากิ อี ย ะห์ คื อ ความสอดคล้ อ งระหว่ า งสั ญ ชาติ ญ าณที่ เ ที่ ย งตรงกั บ ขี ด
ความสามารถของมนุษย์ที่ไม่ใช่จินตนาการและอุดมคติต่างๆและมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ของบทบัญญัติอิสลามที่ เน้นให้เลื อกทาในสิ่ งที่ ง่ายและยกความลาบากออกจากมนุ ษย์ที่เหนื อขีด
ความสามารถของมนุษย์ อัลลอฮฺ ทรงตรัสว่า

       

)286: ‫(البقرة‬
84

“อั ล ลอฮฺ จะไม่ ท รงบั ง คั บ ชี วิ ต หนึ่ งชี วิ ต ใดนอกจากตาม


ความสามารถของชีวติ นั้นเท่านั้น”
(อัลบากอเราะห์ : 286)
อัลลอฮฺทรงตรัสอีกว่า

         

)185:‫(البقرة‬

“อัลลอฮฺ ทรงประสงค์ให้มีความสะดวกแก่พวกเจ้า และไม่ทรงให้


มีความลาบากแก่พวกเจ้า”(อัล.บะเกาะเราะฮฺ :185)
อัล วากิ อีย ะหฺ ใ นการศึ ก ษาในอิ สลามคื อ คานึ งถึ ง ความแตกต่ างส่ วนบุ ค คลของ
ผูเ้ รี ยน และคานึงถึงขีดความสามารถและการเตรี ยมตัวของผูเ้ รี ยน
85

บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย

งานวิจยั เรื่ องนี้ เป็ นการวิจยั ที่ผสมผสานระหว่างการวิจยั เชิ งคุณภาพ (Qualitative


Research) กับการวิจยั เชิงปริ มาณ โดยแบ่งเป็ น 3 ตอน ดังนี้คือ
ตอนที่ 1 เป็ นการวิจยั เอกสาร (Documentary Research)
ตอนที่ 2 เป็ นการเก็บข้อมูลเชิงปริ มาณ จากภาคสนาม และ
ตอนที่ 3 เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพจากภาคสนาม (Field Work Research) โดยเก็บ
ข้อมูลจากผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม และผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นอิสลามศึกษา

3.1 กำรวิจัยเอกสำร
เป็ นการวิจยั เอกสาร (Documentary Research) โดยเก็บข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิ
(Primary Sources) ซึ่ งประกอบด้วยตาราอาดาบุลมุอลั ลิมีน ของอิบนุ สะหฺ นูนและตาราตะอฺ ลีมุลมุ
ตะอัลลิมเตาะรี กอตตะอัลลุมของอัลซัรนูญียแ์ ละเอกสารทุติยภูมิ (Secondary Sources) ที่เกี่ยวข้อง
กับงานวิจยั ที่เน้นการวิเคราะห์เกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของท่านมุหัมมัด บิน สะหฺ นุน และ
บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์

3.1.1 กำรรวบรวมข้ อมูล


ผูว้ ิจยั ได้เก็บรวบรวมข้อมูลของการวิจยั เชิ งเอกสาร(Documentary Research) จาก
แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ดังนี้
1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) ประกอบด้วยดังนี้
1) อัลกุรอาน
2) หนังสื ออรรถาธิบายอัลกุรอาน
3) ตาราอัลหะดีษโดยเฉพาะตาราอัลหะดีษทั้งหกเล่ม (‫)كتب الستة‬
4) ตารา อาดาบ อัล มุอลั ลิ มีน (‫) آداب املعلمني‬ของท่ านมุ หัมมัด บิ น สะหฺ นูนและ
ตารา ตะอฺ ลีม อัลมุตะอัลลิม เตาะรี กอต ตะอัลลุม(‫ )تعليم املتعلم طريق التعلم‬ของ
ท่านบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
86

2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Sources) เป็ นเอกสารและตาราที่เกี่ยวข้องกับ


มุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์ และแนวคิดทางการศึกษาของท่านทั้งสอง

3.1.2 กำรวิเครำะห์ ข้อมูล


การวิเคราะห์ ขอ้ มูลในการวิจยั ครั้ ง นี้ คือการนาข้อมูลที่ ได้จากเอกสารข้างต้นมา
วิเคราะห์แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียต์ ามหลักการ
วิเคราะห์หาข้อสรุ ปเชิงอุปนัย (Analytical Induction) หรื อภาษาอาหรับเรี ยกว่า )‫(الطريقة اإلستقرائية‬
จากข้อย่อยๆมาสรุ ปเป็ นแนวคิดทางการศึกษา เสริ มด้วยหลักนิรนัย (Deduction) หรื อ ‫(الطريقة‬
)‫اإلستنباطية‬โดยเสริ มด้วยอายะห์อลั กุรอานและอัลหะดีษของท่านนบีประกอบการอธิบาย

3.1.3 กำรสั งเครำะห์


การสังเคราะห์ขอมูลในการวิจยั เชิงเอกสารครั้งนี้คือ การนาความคิดด้านการศึกษา
ที่ปรากฏอยู่ในวรรณกรรมของ อิ บนุ สะหฺ นูน และอัลซัรนู ญีย ์ อันเป็ นหน่ วยย่อย มาประกอบเข้า
ด้วยกันจนเป็ นเนื้ อเดี ยวกัน เพื่อให้ได้ขอ้ เท็จจริ ง สาหรับการพิจารณาว่า ความคิดด้านการศึกษาที่
ปรากฏอยูใ่ นวรรณกรรมของอิบนุ สะหฺ นูน และอัลซัรนูญีย ์ มีลกั ษณะเป็ นแนวคิดทางการศึกษาและ
เพื่อนาเสนอความคิดที่สังเคราะห์อย่างเป็ นระบบ

3.1.4 กำรตรวจสอบควำมเชื่ อถือได้ ของข้ อมูล


การตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากเอกสารและตารา ผูว้ ิจยั ใช้หลักการพิสูจน์หะดามา
ตรวจสอบข้อมูลโดยเฉพาะหะดีษของท่านนบี ซึ่ งจะใช้ สามรู ปแบบของการตัครี จญ์ ประกอบด้วย
การใช้ตารา ใช้โปรแกรมคอมพิเตอร์ และอินเตอร์เน็ต
1. การพิสูจน์หะดีษโดยใช้ตารา ผูว้ ิจยั เลือกใช้วิธีการตัครี จญ์หะดีษโดยใช้คาแรก
ของตัวบทหะดีษ โดยผูว้ จิ ยั ได้เลือกใช้ตาราที่เหมาะสมในการตัครี จญ์โดยวิธีน้ ี ดังนี้
1) ตาราอัลญามิอฺ อัศเศาะฆีรฟี อะหาดิษอัลบะชีร์อนั นะซีร์ ของอิหม่าม อัสสะยูตีย ์
)‫(اجلامع الصغري يف أحاديث البشري النذير‬
2) สารบั ญ ต าราตุ ห ฟะตุ ล อั ช รอฟ ของอั ล มิ ซ ซี ย์ บี ม ะอฺ รี ฟาติ ล อั ต รอฟ
)‫ (حتفة األشراف مبعرفة األطراف‬เล่มที่ 15.16 , ของญะมาลุดดีน อบิล หัจญาจญ์ยสู ุ ฟบิน อับ
ดุลเราะฮฺ มาน อัลมิซซี ย ์ ที่วิเคราะห์โดย อับดุลศอมัด ชัรฟุดดี น พิมพ์โดยดารุ ลกุตุบ อิลมี
ยะห์
87

2. การพิสูจน์หะดีษโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่ งผูว้ ิจยั เลือกใช้โปรแกรม มัก


ตะบะฮฺ อัชชามิละฮฺ )‫(مكتبة الشاملة‬1ในการตรวจสอบความน่ าเชื่ อถือของข้อมูลหะดีษของท่านนบี
ที่ได้จากเอกสารและตารา
3. การตัครี จญ์หะดีษโดยอาศัย อินเตอร์ เน็ต ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้เลือกเว็บไซด์ในการตัครี ย ์
คือ https://library.islamweb.net/hadith/hadithsrch.php ส่ วนเหตุ ผลที่ เลื อกเว็บไซด์น้ ี ก็คือ เป็ นเว็บ
ไซน์ที่ได้รวบรวมหนังสื อเป็ นจานวนมาก ง่ายต่อการค้นหา และได้บ่งบอกถึงประวัติผรู ้ ายงานแต่ละ
คนที่ได้รายงานหะดีษนั้นตั้งแต่ผบู ้ นั ทึกจนถึงเศาะหาบะฮฺของท่านนบี

กำรตรวจสอบข้ อมูลภำคสนำม
การตรวจสอบข้อมูล ภาคสนามผูว้ ิจยั ใช้หลัก การตรวจสอบข้อมูล แบบสามเส้ า
(triangulation) ) ได้แก่
1. การตรวจสอบสามเส้า
ด้านข้อมูล โดยพิจารณาแหล่ งเวลา แหล่งสถานที่ และแหล่ งบุ คคลที่แตกต่างกัน
กล่าวคือ ถ้าข้อมูลต่างเวลากันจะเหมือนกันหรื อไม่ ถ้าข้อมูลต่างสถานที่จะเหมือนกันหรื อไม่ และ
ถ้าบุคคลผูใ้ ห้ขอ้ มูลเปลี่ยนไปข้อมูลจะเหมือนเดิมหรื อไม่
2. การตรวจสอบสามเส้าด้านผูว้ จิ ยั โดยการเปลี่ยนตัวผูส้ ัมภาษณ์
3. การตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีรวบรวมข้อมูล โดยใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ
กัน เพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่ องเดียวกัน เช่นใช้วธิ ี สังเกตควบคู่ไปกับการสัมภาษณ์

3.1.5 แหล่ งเก็บข้ อมูล


ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้เก็บข้อมูลเอกสารจากแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้
1. สานักวิทยาบริ การมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี
2. ห้องสมุดวิทยาลัยอิสลามมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์วทิ ยาเขตปัตตานี
3. สานักวิทยบริ การมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
4. หอสมุดประชาชนนราธิวาส
5. หอสมุดมหาวิทยาลัยมาลายาประเทศมาเลเซีย (UM)

1
โปรแกรมมักตะบะฮฺ อัลชามิละฮฺ เป็ นโปรแกรมที่จดั ทาขึ้นโดย ดร.นาฟี อฺ โดยอาศัยโปรแกรม visual basic ซึ่งมี
เป้ าหมายเพื่อรวบรวมตาราในสาขาวิชาต่างๆ
88

6. หอสมุดมหาวิทยาลัยอิสลามนานาชาติประเทศมาเลเซีย (UIA)
8. เว็บไซต์ต่างๆ

3.2 กำรวิจัยเชิงปริมำณ
เป็ นการเก็บข้อมูลเชิ งปริ มาณ จากภาคสนาม โดยใช้แบบสอบถามกับผูใ้ ห้ขอ้ มูล
หลัก ที่ เป็ นครู ส อนศาสนาอิ ส ลามในโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามขนาดใหญ่ ใ นจังหวัด
ปั ตตานี เขต เพื่อมุ่งศึกษาระดับความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด
บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

3.2.1 ประชำกร กลุ่มตัวอย่ ำง วิธีกำรสุ่ มกลุ่มตัวอย่ ำง


3.2.1.1 ประชำกร

ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ ครู อิสลามศึกษา ในโรงเรี ยนเอกชนขนาด


ใหญ่ ในระบบ ประเภทสอนศาสนาควบคู่ วิช าสามัญ สั ง กัดส านัก งานการศึ กษาเอกชนจัง หวัด
ปัตตานี จานวนโรงเรี ยนทั้งหมด 21โรง มีประชากรทั้งหมด 906 คน

3.2.1.2 กลุ่มตัวอย่ ำง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ ครู อิสลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอน


ศาสนาอิสลาม จังหวัดปัตตานี รวมทั้งสิ้ น 278 คน

3.2.1.3 วิธีกำรสุ่ มตัวอย่ ำง


กำรสุ่ มกลุ่มตัวอย่ ำงมีข้ ันตอนดังนี้

ขั้นที่ 1 เลือกประเภทโรงเรี ยนขนาดใหญ่ของโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม


ในจังหวัดปั ตตานีซ่ ึ งมีดงั นี้
89

ตารางที่ 1รายชื่อโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปั ตตานี ตามจานวนแต่ละอาเภอ

อาเภอ โรงเรี ยน จานวนนักเรี ยน จานวนครู สอน


อิสลามศึกษา
เมืองปัตตานี จงรักสัตย์วทิ ยา 2921 30
ศาสนูปถัมภ์ 1888 24
เตรี ยมศึกษาวิทยา 1368 68
บารุ งอิสลาม 2140 61
หนองจิก
ศาสน์สามัคคี 1302 47
แสงประทีปวิทยา 1175 21
บากงพิทยา 1232 38
มูลนิธิชุมชนอิสลามศึกษา 1510 20
ยะหริ่ ง
ส่ งเสริ มศาสน์ 2310 52
ปะนาเระ
สมบูรณ์ศาสน์อิสลาม 1032 63
วัฒนธรรมอิสลาม 1637 72
ยะรัง
อัลอิสลามียะห์วทิ ยามูลนิธิ 2047 83
มายอ
ยุวอิสลามวิทยามูลนิธิ 1119 27
รัศมีสถาปนา 1490 47
โคกโพธิ์
มูลนิธิอาซิซสถาน 2455 17
พีระยานาวินคลองหิ นวิทยา 1301 13
สายบุรี
ศาสนศึกษา 1462 15
ดรุ ณศาสน์วทิ ยา 4075 72
สายบุรีอิสลามวิทยา 3387 89
90

ทุ่งยางแดง
อิสลามประชาสงเคราะห์ 1454 28
ภักดีวทิ ยา 1042 19
รวมทั้งหมด รวมทั้งหมด รวม รวม
9 อาเภอ 21โรง 38347 906

ขั้นที2่ คำนวณกลุ่มตัวอย่ ำงที่เหมำะสมโดยใช้ สูตร ทำโร่ ยำมำเน่ ( Yamane,


1973:727.728) ดังนี้

N
n= 1 + Ne 2

โดย n แทน ขนาดกลุ่มตัวอย่าง


N แทน ขนาดของประชากร
e แทน ความคาดเคลื่อนของกลุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้ (0.5)
แทนค่า
906
n= 1 + 906 (0.5) 2

n=278
ดังนั้นในการวิจยั ครั้งนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง 278 คน

ขั้นที่ 3 เลือกกึง่ หนึ่งของจำนวนอำเภอทีม่ ีโรงเรียนขนำดใหญ่ ท้งั หมดโดยกำรจับ


ฉลำก ปรำกฏว่ำได้ โรงเรียนดังนี้

ตารางที่ 2 รายชื่ออาเภอและโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี ตามที่ได้จบั ฉลาก

อาเภอ โรงเรี ยน จานวนนักเรี ยน จานวนครู สอน


อิสลามศึกษา
เมืองปัตตานี จงรักสัตย์วทิ ยา 2921 30
ศาสนูปถัมภ์ 1888 24
เตรี ยมศึกษาวิทยา 1368 68
91

บารุ งอิสลาม 2140 61


ยะหริ่ ง
ส่ งเสริ มศาสน์ 2310 52
ปะนาเระ
สมบูรณ์ศาสน์อิสลาม 1032 63
วัฒนธรรมอิสลาม 1637 72
สายบุรี
ศาสนศึกษา 1462 15
ดรุ ณศาสน์วทิ ยา 4075 72
สายบุรีอิสลามวิทยา 3387 89
ทุ่งยางแดง
อิสลามประชาสงเคราะห์ 1454 28
ภักดีวทิ ยา 1042 19
รวมทั้งหมด รวมทั้งหมด รวม รวม
5 อาเภอ 12โรง

ขั้นที่ 4 กาหนดกลุ่มตัวอย่างของแต่ละขนาดของโรงเรี ยน โดยวิธีเทียบสัดส่ วน


ประชากรแต่ละขนาดโรงเรี ยนกับขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้

ตำรำงที่ 3 จานวนอาเภอโรงเรี ยน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

อาเภอ โรงเรี ยน จานวนครู กลุ่มตัวอย่าง


เมือง จงรักสัตย์วทิ ยา 30 14
ศาสนูปถัมภ์ 24 11
เตรี ยมศึกษาวิทยา 68 32
บารุ งอิสลาม 61 29
ปะนาเระ สมบูรณ์ศาสน์อิสลาม 63 30
วัฒนธรรมอิสลาม 72 34
ยะหริ่ ง ส่ งเสริ มศาสน์ 52 24
สายบุรี ศาสนศึกษา 15 7
92

ดรุ ณศาสน์วทิ ยา 72 34
สายบุรีอิสลามวิทยา 89 42
ทุ่งยางแดง อิสลามประชาสงเคราะห์ 28 13
ภักดีวทิ ยา 19 9
278

3.2.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย

3.2.2 .1 แบบของเครื่องมือ
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ในตอนที่สองนี้ เป็ นแบบสอบถาม (Questionnaire) ดัง
รายละเอียดต่อไปนี้
แบบสอบถามมีท้ งั หมด 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามที่เกี่ยวกับข้อมูลส่ วนตัวของผูต้ อบแบบสอบถาม ซึ่งเป็ น
แบบสอบถามแบบ Cheek.list
ตอนที่ 2 แบบสอบถามที่เกี่ยวกับระดับการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ น 5 องค์ประกอบ คือ
1. เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
2. หลักสู ตร
3. กระบวนการเรี ยนการสอน
4. ผูส้ อน
5. ผูเ้ รี ยน

3.2.2.2 ขั้นตอนในกำรสร้ ำงเครื่องมือ


ขั้นตอนและวิธีการสร้างเครื่ องมือเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ ิจยั ได้ดาเนิน
การสร้างแบบสอบถามตามขั้นตอนดังนี้ คือ
1. สังเคราะห์ผลการวิจยั เอกสารในตอนที่หนึ่ ง เพื่อกาหนดประเด็นและกรอบ
แนวคิดในการสร้างแบบสอบถาม
2. สร้างแบบสอบถามชนิ ดมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) มีคาตอบ 5
ระดับของ ลิเคิร์ท (Likert 's Scale) โดยมีเนื้ อหาในการสอบถามในประเด็นที่มุ่งสอบถามในเรื่ อง
93

ระดับการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรอานุดดีน อัล ซัรนูญียใ์ น


โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
3. นาแบบสอบถามให้อาจารย์ที่ ปรึ ก ษาวิทยานิ พ นธ์ ตรวจสอบความถู ก ต้อ ง
สมบูรณ์และให้ขอ้ เสนอแนะมาแก้ไขปรับปรุ ง
4. นาแบบสอบถามให้ผเู้ ชี่ ยวชาญตรวจพิจารณา จานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบ
ตลอดจนความเหมาะสมด้านอื่นๆ เมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญได้ตรวจแล้วเห็นสมควรที่จะปรับปรุ งเพิ่มเติม จึง
นาไปแก้ไขปรับปรุ งตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ
5. นาแบบสอบถามไปทดลอง (Try Out) กับครู อิสลามศึกษาที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
การวิจยั จานวน 30 คน แล้วหาค่าความเชื่อมัน่ (Reliability)
ได้ค่าความเชื่อมัน่ เท่ากับ 0.89
6. นาแบบสอบถามมาปรั บปรุ งแก้ไขแล้วเสนอให้อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์
ตรวจสอบความสมบูรณ์อีกครั้ง
7. จัดทาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ เพื่อนาไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการ
วิจยั ต่อไป

3.2.3 กำรวิเครำะห์ ข้อมูล

1. วิธีกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังต่อไปนี้
1) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถามทุกฉบับเพื่อคัดเอาเฉพาะ
แบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์
2) นาข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าสถิติดว้ ยเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรม
สาเร็ จรู ป
3) คานวณหาค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ต ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของ
แบบสอบถามตอนที่ 2 ในแต่ละข้อคาถามและแต่ละด้าน อีกทั้งหาค่าเฉลี่ยรวมทั้ง5 ด้าน
4) เกณฑ์ในการให้คะแนน
4.1 แบบสอบถามตอนที่ 1 วิเคราะห์ ขอ้ มูลเกี่ ยวกับสถานภาพของผูต้ อบ
แบบสอบถามโดยใช้ค่าร้อยละเพื่อนามาประกอบการอภิปรายผล
94

4.2 แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความคาดหวังของ


ครู อิ ส ลามศึ ก ษาต่ อ การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ นวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หั ม มัด บิ น สะหฺ นู น และ
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามนามาให้คะแนนตามเกณฑ์ดงั นี้
1 หมายถึงความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ น้อยที่สุด
2 หมายถึงความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ น้อย
3 หมายถึงความคาดหวังต่อมีการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ ปานกลาง
4 หมายถึงความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ มาก
5 หมายถึงความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ มากที่สุด
แบบสอบถามตอนที่ 2 นี้ ให้ระดับคะแนนตามระดับความคิ ดเห็ นในแต่ละรายการแล้วนามา
วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหรื อค่า ( X ) และค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ตามเกณฑ์ของ
เบสต์ (Best W. John.1997, p 190) โดยแบ่งช่ วงของค่าตัวกลางเลขคณิ ต 5 กลุ่มในการแปล
ความหมายดังนี้คือ
1.00 – 1.49 หมายถึง ระดับความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ น้อยที่สุด
1.50 – 2.49 หมายถึง ระดับความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ น้อย
2.50 – 3.49 หมายถึง ระดับความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ ปานกลาง
3.50 – 4.49 หมายถึง ระดับความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ มาก
4.50 – 5.00 หมายถึง ระดับความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้อยูใ่ นระดับ มากที่สุด

3.3 กำรวิจัยภำคสนำมเชิงคุณภำพ
เป็ นการวิจยั ภาคสนามเชิ งคุณภาพ (Field Work Research) โดยเก็บข้อมูลจาก
ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการสัมภาษณ์แบบ
เจาะลึก (Indept Interview)และสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion: FGD) กับผูท้ รงคุณวุฒิ แล้ว
นาข้อมูลมาวิเคราะห์และสังเคราะห์มาเป็ นแนวคิดทางการศึกษา

3.3.1 ประชำกรกลุ่มตัวอย่ำง
การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก (Key Informants)
1. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
ผูว้ จิ ยั ได้คดั เลือกผูใ้ ห้ขอ้ มูลแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกจาก
ผูบ้ ริ หาร โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน 9 คน
95

2. การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)


ผูว้ ิจยั ใช้กลุ่มตัวอย่างผูท้ รงคุ ณวุฒิ ที่ไม่ใช่ เป็ นคนเดี ยวกับกลุ่มผูใ้ ห้การสัมภาษณ์
เชิงลึก จานวน 8 คน ประกอบด้วย ตัวแทนสำนักงำนคณะกรรมกำรส่ งเสริมกำรศึกษำเอกชน 1 คน
คณะกรรมการบริ หารสมาคมโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามสามจังหวัดชายแดนภาคใต้แต่ละ
ุ ิปริ ญญาเอกในสาขาที่เกี่ยวกับอิสลามหรื อมีตาแหน่งทาง
จังหวัด จังหวัดละ 1 คน รวม 3 คน ผูท้ ี่มีวฒ
วิ ช าการที่ เ กี่ ย วกับ อิ ส ลามศึ ก ษาจ านวน 2 คน และคณะกรรมการสมาคมเครื อ ข่ า ยโรงเรี ย น
คุณภาพอัสสาลามจานวน 3 คน

3.3.2 กำรสร้ ำงเครื่องมือ


การสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้เป็ นแบบสัมภาษณ์ที่ผวู ้ จิ ยั สร้างขึ้นเอง โดย
สร้างจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดทางการศึกษาของท่านมุหมั
มัด บิน สะหฺ นุนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์ เพื่อเป็ นแนวทางในการสร้างเครื่ องมือ และนาไปเก็บ
รวบรวมข้อมูลในการวิจยั

เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย
1. แบบแนวคาถามเพื่อการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interviews)
2. แบบแนวคาถามเพื่อการจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)

3.3.3 กำรเก็บข้ อมูล


ผูว้ ิจยั ได้ทาหนังสื อขอความร่ วมมือผูบ้ ริ หาร โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ตามเกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (Criteria) ที่ผวู ้ ิจยั กาหนดไว้ เพื่อ
นัดวัน เวลา และสถานที่ในการเก็บข้อมูล โดยผูว้ ิจยั ได้อธิ บายความเป็ นมา วัตถุประสงค์ของการ
วิจยั และขออนุญาตบันทึกเทป ซึ่ งมีวธิ ี การเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
1. การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยใช้แนวคาถาม (Interview Guide)
เป็ นแนวทางในการสัมภาษณ์ ซึ่ งแนวคาถามเหล่านี้ สร้างขึ้นจากผลการสังเคราะห์เอกสารพร้อมกับ
กาหนดประเด็นคาถามให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั ผูว้ จิ ยั จะสัมภาษณ์เชิงลึกผูบ้ ริ หาร
โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจัง หวัดชายแดนภาคใต้ จานวน 9 โรง โรงเรี ยนละ 1 คน
รวมเป็ น 9 คน โดยจะใช้เวลาในการสัมภาษณ์แต่ละครั้งประมาณ 1.30-2 ชัว่ โมง
96

2. การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ผูว้ ิจยั จะนาผลการสังเคราะห์จาก


เอกสารมาเป็ นแนวคาถามเพื่อกาหนดประเด็นการสนทนาของกลุ่ม และดาเนิ นการสนทนากลุ่มกับ
ผูท้ รงคุ ณวุฒิตามที่ กาหนดจานวน 9 คน โดยที่ผูว้ ิจยั ทาหน้าที่เป็ นผูด้ าเนิ นรายการ (Moderator)
ก ากับ การสนทนาของกลุ่ ม ให้ เ ป็ นไปตามแนวทางของหั ว ข้อ การศึ ก ษาและสอดคล้ อ งตาม
วัตถุประสงค์ของการวิจยั การสนทนากลุ่มจะใช้เวลาประมาณ 3 ชัว่ โมง ตั้งแต่เวลา 9.00 .12.00 น.
ณ ห้องประชุ มของตึกวิทยบริ การ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เนื้ อหาการสนทนานอกจากจะบันทึกเทป
แล้ว จะมีผจู ้ ดบันทึกด้วย เพื่อทาหน้าที่จดทุกคาพูดที่ จะจดทัน ตลอดจนการจดอากัปกิ ริยาท่าทาง
ของสมาชิกผูส้ นทนากลุ่ม ข้อบันทึกของผูจ้ ดบันทึกจะนาไปใช้ประกอบการถอดเทปข้อมูลด้วย

3.3.4 กำรวิเครำะห์ ข้อมูล


ข้อ มู ล ที่ ไ ด้จ ากการสั ม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึ ก และจากการสนทนากลุ่ ม ผู้วิ จ ัย จะน ามา
วิเคราะห์เชิ งเนื้ อหา(Content Analysis) และสังเคราะห์เนื้ อหา (Synthesis) แล้วนามาตีความและ
สร้างข้อสรุ ปแบบอุปนัย (Induction)
97

บทที่ 4

ชีวประวัติของท่ านมุหัมมัดบินสะหฺนูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย์

4.1 ภูมิหลังและชีวประวัติของท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูน


4.2 ภูมิหลังและชีวประวัติของท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์

4.1 ภูมิหลังและชีวประวัติของท่านมุหัมมัดบินสะหฺนูน

4.1.1 ภูมิหลังท่ านมุหัมมัดบินสะหฺนูน


1) สภาพทางการเมือง
เมืองก็อยเราะวานได้รับการสถาปนาขึ้นในปี ฮ.ศ. ที่ 50 สมัยเคาะลีฟะฮฺ มุอาวิยะฮฺ
ในช่ วงที่ ท่านอุกบะฮฺ บิน นาฟิ อฺ ถูกแต่งตั้ง เป็ นอมีรในแอฟรี กา ท่านก็ได้เดิ นทางออกไปยังเมือง
ก็อยเราะวาน จนกระทัง่ ได้เลือกสถานที่ทางทิศตะวันออก ที่ใกล้กบั ทะเลโดยประมาน 60 กิโลเมตร
และทางทิศตะวันตกซึ่ งเป็ นแหล่งภูเขาเป็ นที่พกั อาศัย ซึ่ งภารกิ จแรกของท่านอุกบะฮฺ คือ การสร้าง
มัส ยิด อัล ญามี อฺและท าเนี ย บการปกครองโดยใช้เวลา 5 ปี หมกมุ่ นกับการการสร้ างและพัฒนา
บ้านเมืองโดยไม่ได้ออกไปสู ้รบแต่อย่างใด (Ibn Khaldun,1956:646)
ระหว่างปี ฮ.ศ.ที่ 160 คือปี ที่ถือกาเนิ ดของ สะหฺ นูนถึงปี ฮ.ศ.ที่ 256 คือปี เสี ยชีวิต
ของท่านมุหัม มัดบิ นสะหฺ นูน ถื อว่า เป็ นปี ที่ ถึงจุ ดสู ง สุ ดของความรุ่ ง โรจน์ ความสุ ข สบาย ความ
มัน่ คงของเมืองก็อยเราะวาน โดยเฉพาะในสมัยการปกครองของจักรวรรดิ การปกครองอัฆละบีย
ยะฮฺภายใต้การนาของ อิบรอฮีม บิน อัลอัฆลับในปี ฮ.ศ.183 จนถึงสมัย อมีรมุหมั มัด อัสสานีย ์ ในปี
ฮ.ศ.261 ในราชวงศ์ ของบนี อัฆลับ1 เป็ นผูน้ าคนที่ 8 ของบนี อลั อัฆลับ และในสมัยนี้ เช่นเดียวกัน
จัก รวรรดิ อลั อัฆละบี ย ยะฮฺ ส ามารถครอบครองได้ เ กื อ บทุ ก ประเทศในแอฟรี ก า และในสมัย นี้
เช่ นเดี ยวกัน ท่านกอฏี อะสัด บิน อัลฟุรอต ได้เดินทางออกสู้รบที่ชายฝั งของศอกลี ยะฮฺ พร้ อมกับ
1
อัลอะฆอลิบะฮฺหรื อบะนู อัลอัฆฺลบั ฺ (ِ‫ ) بَنُ ْواَألَ ْغلَب‬เป็ นตระกูลของขุนนางที่มีอานาจในแอฟรี กาเหนื อ ระหว่างปี
ฮ.ศ.184-296 / คศ.800-909, มีนครอัลกอยฺร่อวาน เป็ นราชธานี , สถาปนาโดยอิบรอฮีมที่ 1 อิบนุ อัลอัฆฺลบั ซึ่ งเป็ น
ข้าหลวงของเคาะลีฟะฮฺ ฮารู น อัรร่ อชีด, ส่ วนหนึ่ งจากกษัตริ ยใ์ นราชวงศ์น้ ี คือ อิบรอฮีมที่ 2 ซึ่ งเข้ายึดครองซิ ซิลี
(ซิ กิลฺลียะฮฺ), มีซิยาดะตุลลอฮฺที่ 3 เป็ นกษัตริ ยอ์ งค์สุดท้ายในราชวงศ์, พวกอะฆอลิบะฮฺถูกอบู อับดิลลาฮฺ อัชชีอีย ์
(เป็ นชาวชีอะฮฺ) ผูเ้ รี ยกร้องเชิญชวนของพวกฟาฏีมียะฮฺปราบปราม, พวกอะฆอลิบะฮฺมีกองเรื อรบขนาดใหญ่ในยุค
ที่พวกเขาเรื องอานาจ
98

ทหาร อะรัมรัมในปี ฮ.ศ.ที่ 212 ในสมัย อบี มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม ทีมีสมยานามว่า ซิ ยาดาติลลาฮฺ
และในสมัยอัลเฆาะรอนี กสามารถพิชิตเมืองชายฝัง มาลิเตาะฮฺ ในปี ฮ.ศ.ที่ 255 และประชาชาติ
มุสลิมในสมัยนั้นสามารถอาศัยและมีชีวิตที่มงั่ คงใน ฎิฟฟะฮฺ ชิมาลิยะฮฺ แถว ทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน
)‫(البحرِاألبيضِاملتوسط‬

เมืองก็อยเราะวานได้มีความเจริ ญเติบโตในท่ามกลางสภาพทางการเมืองที่มนั่ คง
และมี การเพิ่มพูนในจานวนประชากร ตามที่ได้รายงานโดยอัลบักรี ยใ์ นหนังสื อ อัลมะสาลิ ก ได้
กล่ า วว่า จานวนประชากรผูท้ ี่ อยู่อาศัย ในเมื องก็ อยเราะวานในขณะนั้น ประมาณ หนึ่ ง แสนคน
และอัลยะอฺ กูบได้รายงานในหนังสื อ อัลบุลดานว่าจานวนประชากรในขณะนั้น มีจานวนมากมาย
พอสมควร จากอาหรั บ กุ เ รช อี ยิ ป ต์ เราะบี อ ะฮฺ กอฟตอน เคาะรอวาน บัร บัร รู ม และอื่ น ๆ
(al-Fituri, n.d : 222)

2) สภาพทางการศึกษา
สมัยนี้ ถือได้วา่ มีการเจริ ญรุ่ งเรื องทางด้านแนวคิดและศาสนาในเมืองก็อยเราะวาน
จนกระทัง่ อิ หม่ามมาลิ กถื อว่าก็อยเราะวานเป็ นหนึ่ งในสามของศูนย์ความรู้ ทางศาสนาตามที่ไ ด้
รายงานจาก อินุนญียใ์ นหนังสื อ อัลมะอาลิม แต่ไม่แปลกเพราะเมืองนี้ ได้ผลิตบุคคลแรกซึ่ งมีความรู ้
เกี่ยวกับอรรถาธิ บายอัลกุรอานนั้นคือ ยะหฺ ยา บิน สะลาม อัลบะศรี ย(์ 124-200 h) ที่มีความรู้ในเรื่ อง
ตัฟสี ร์ก่อนท่านอิหม่าม อัตตอบะรี ย ์ และเช่ นเดี ยวกัน อะสัด บิน อัลฟุรอต(142-213)ที่ได้รายงาน
จากมาลิก จากอะนัส และจาก บรรดาอุลามาอฺ ในสังกัดอิหม่ามอัลหะนาฟี ย์ มุหมั มัด บิน อัลหะสัน
และจากบางส่ วนของบรรดาอุลามาอฺ อวุโสในสมัยนั้น ได้แต่งตาราในเรื่ องฟิ กฮฺ ตามแนวทางมัซฮับ
ของซุ นนะฮฺ ที่โด่งดังที่ชื่อว่า อัลอะสาดียะฮฺ ถือว่าหนังสื ออ้างอิงเล่มแรกๆในเรื่ องฟิ กฮฺ ทวั่ ทวีปแอ
ฟรี กา จนกระทัง่ ชื่ อเสี ยงของ สะหฺ นูนได้โด่งดังทัว่ สารทิศของเมืองมัฆริ บ จนถึงแคว้นอันดะลุ เซี ย
และในสมัยนั้นนักปราชญ์ผทู ้ ี่มีความรู ้ประมาณ 60 คน ล้วนแต่เป็ นสานุ ศิษย์ของท่าน สะหฺ นูนที่ได้
พยายามและทุ่มเทเวลาในการแพร่ หลาย แนวคิดและการสอนของท่านสะหฺ นูน.นี้ คือสิ่ งที่เกี่ ยวกับ
ความรู ้ทางศาสนา ส่ วนความรู ้ วิชาอื่นๆ เช่น ภาษาอาหรับ วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ คณิ ตศาสตร์
ดาราศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ และอื่น
เมืองก็อยเราะวานได้มีพฒั นาและความเจริ ญรุ่ งเรื องทางการศึกษาหลังจาก สมัยที่
หยุดนิ่ งหรื อล้าหลังในเรื่ องของการศึกษาซึ่ งตัวอย่างที่ได้มีการพัฒนาทางการศึกษาในสมัยนั้นเฉก
เช่น ในเรื่ องของวิชาการแพทย์ โดยได้มีตารับตาราที่ได้แต่งขึ้นในสาขาวิชานี้ เช่น ตาราของซิ ยาด
99

บิน คอลฟูน อิสหาก บิน อิมรอน อิสหาก บิน สุ ลยั มาน ที่ได้มีการแปลงานเขียนและตาราของพวก
เขาเป็ นภาษาอังกฤษและยังเป็ นหลักสู ตรสอนในมหาวิทยาลัย ของยุโรป เริ่ มจากศตวรรษที่ 11 ค.ศ.
ทั้งหมดนี้ ได้บ่งบอกถึงความเจริ ญเติบโตและความก้าวหน้าทางการศึกษาในเมือง
ก็อยเราะวาน โดยเฉพาะในสมัยของ สะหฺ นูน และมุหมั มัดบินสะหฺ นูน (aL-Fituri,n.d.:222)

3) สภาพทางสั งคมและเศรษฐกิจ

สภาพทางสั งคม
สภาพทางสังคมของเมืองก็อยเราะวานในสมัยนั้น มีความหลากหลาย ซึ่ งสามารถ
แบ่งออกเป็ นประเภทและกลุ่มต่างๆ ของผูค้ นในสมัยนั้น ได้แก่ กลุ่มผูป้ ระกอบการค้า นักวิชาการ
ทหาร อะหฺ ลุลซิมมะฮฺ ทาส และผูข้ ดั สนหรื อ อัลฟุกอรออฺ (al-Janhani, 2005 : 110)
1. กลุ่มผูป้ ระกอบการค้า
กลุ่มนี้ถือว่าเป็ นกลุ่มที่มีเกียรติและโดดเด่นในก็อยเราะวาน เช่นสังคมเมืองอิสลาม
ในยุคกลาง กลุ่มนี้ ถือว่าเป็ นกลุ่มที่2 รองลงมาหลังจากกลุ่มผูน้ าและกลุ่มผูม้ ีอานาจในบ้านเมือง ซึ่ ง
ผลประโยชน์ของกลุ่ มนี้ จะยึดติ ดกับกลุ่มผูท้ ี่มีอานาจ ถึ งแม้ว่าจะเกิ ดความตึงเครี ยดระหว่างผูท้ ี่มี
อานาจกับกลุ่มผูป้ ระกอบการค้าก็ตาม หลังจากที่กลุ่มผูม้ ีอานาจได้เรี ยกเก็บค่าปรับสาหรับแหล่งที
มาของเงินทุน
การค้าขายในเมืองก็อยเราะวานได้มีการพัฒนาและเจริ ญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ ว ทา
ให้กลุ่ มผูป้ ระกอบการค้ากลายเป็ นกลุ่ มที่ โดดเด่ นหลังจากที่ ได้มีการสถาปนาเมืองก็อยเราะวาน
ขึ้นมา แต่หลังจากที่กุสัยละฮฺอูรุบบีย2์ ได้ครอบครองเมืองก็อยเราะวานในปี ฮ.ศ.ที่ 64 ชาวบ้านพากัน
หนี เหลือเพียงผูท้ ี่มีลูกหลานจานวนมาก และชาวอะหลุลซิ มมะฮ์ หลังจากนั้นเมืองก็อยเราะวาน
กลายเป็ นเมืองที่ลอ้ มด้วยผูค้ า้ จากตะวันออก อันดะลุสเสี ย และเมื องต่างๆจากมัฆริ บ เพื่ออาศัยอยู่
และประกอบอาชีพการค้าขาย

2
มีชื่อว่า กุสยั ละฮฺ บิน ลัมซัม อัลอุรุบบียอ์ ลั บัรบะรี ย ์ หนึ่งในบรรดาผูน้ าของชาวบัรบัร ที่เข้ารับอิสลามในสมัย
อุกบะฮฺ บิน นาฟิ อฺ
100

2. กลุ่มทหาร
กลุ่มทหารเป็ นกลุ่ มที่มีความสัมพันธ์ ที่ดีกบั ผูม้ ีอานาจและมีอิทธิ พลในบ้านเมือง
ขณะนั้น ถือว่าเป็ นหน้าที่หลักของทหารที่ตอ้ งรักษาความสงบสุ ขของบ้านเมือง ในขณะเดียวกันบาง
ช่วงเวลาก็ใช้ชีวติ ปกติเหมือนกับคนทัว่ ไป และค่าจ้างของทหารในสมัยนั้นก็ได้รับจากบัยติลมาล
3. กลุ่มนักปราชญ์
นักปราชญ์ไม่เพียงแต่มีบทบาทในเรื่ องของศาสนาอย่างเดี่ยวเท่านั้น แต่นกั ปราชญ์
มีบทบาทในทุกมิติของการดาเนิ นชีวิตของมนุษย์ ซึ่ งจะครอบคลุม การเมือง สังคม โดยสังเกตจาก
การมี ส่วนร่ วมของนักปราชญ์ในการพิชิตเมื องต่ างๆ และปกป้ องพิทกั ษ์เมื องอิ ส ลาม ซึ่ งบรรดา
นักปราชญ์หลายท่านที่ได้เดินทางและร่ วมสงคราม เช่น ท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนที่เคยเป็ นแม่ทบั ใน
การสงครามกับชาวรู ม

4. กลุ่มอะหลุลซิ มมะฮฺ3
กลุ่ ม อะหฺ ลุ ล ซิ ม มะฮฺ เ ป็ นกลุ่ ม หนึ่ ง ที่ ย งั คงอยู่ใ นเมื อ งก็ อ ยเราะวานซึ่ งกลุ่ ม นี้ มี
บทบาทในการทาค้าขายที่มีดอกเบี้ย และมีส่วนสาคัญในการกาหนดราคาสิ นค้าในเมืองก็อยเราะ
วาน และมีตลาดเป็ นของตัวเอง
5. กลุ่มทาส
กลุ่มทาสเป็ นกลุ่มสาคัญของบ้านเมืองเสมือนเป็ นเสาหลักของเมืองก็อยเราะวานที่
มีส่วนสาคัญในการสร้างเมืองให้เจริ ญรุ่ งโรจน์รุ่งเรื อง และถือว่าเป็ นพลังสังคมอันสาคัญ

4) สภาพทางเศรษฐกิจของเมืองก็อยเราะวาน
เมื อ งก็ อ ยเราะวานเป็ นเมื อ งที่ ไ ด้มี ก ารพัฒ นาในเรื่ อ งที่ พ ัก อาศัย อย่ า งรวดเร็ ว
หลังจากได้ก่อตั้งเมื องในปี ฮ.ศ. ที่ 50/670 ค.ศ.เป็ นเมื องที่เหมื อนกันทัว่ ไปกับเมืองอิสลามที่ เพิ่ง
เกิ ดขึ้ นใหม่ เป็ นเมื องที่ ภูมิศาสตร์ ที่สวยงาม คือตั้งอยู่ระหว่าง อัลอันดะลุ ส กับ มัฆรี บยั นิ คื อ อยู่
ระหว่างตะวันออกกลางในมุมหนึ่ งและประเทศมุสลิมอีกมุมหนึ่ ง ซึ่ งตั้งอยูแ่ ถวประเทศที่ทาการค้า
คือตั้งชายฝังของประเทศแอฟรี กา

3
ผูท้ ี่ยอมจานนอยูภ่ ายใต้การปกครองของรัฐอิสลาม ที่ไม่ใช่มุสลิม
101

ความเจริ ญรุ่ งเรื องของอาคารบ้านเรื องในสมัยนั้นได้มีการการพัฒนาอย่างรวดเร็ ว


จึงทาให้เศรษฐกิจได้มีการเจริ ญเติบโตคล้อยตามไปด้วยโดยเฉพาะในศตวรรษที่ 2 และ3 ฮ.ศ.
และด้วยเวลาที่ไม่ยาวนานนักหลังจากที่ท่านอุกบะฮฺ ได้สร้างมัสยิดและดารุ ลอิมาเราะฮฺ ประชาชน
ในสมัยนั้นพากันสร้างที่พกั อาศัย และผูค้ นพากันมาเยือนและพักอาศัย

การค้าขาย

เมืองก็อยเราะวานในสมัยนั้นได้มีการค้าขาย 2 ประเภทด้วยกัน คือ


1. การค้าขายขนาดเล็ก หรื อ ท้องถิ่น
2. การค้าขายขนาดใหญ่
การค้าขายขนาดท้องถิ่นเป็ นการค้าขายที่อาศัยกลุ่มนักธุ รกิจที่นาเข้าและส่ งออก
สิ นค้า ซึ่งทาให้เมืองก็อยเราะวานกลายเป็ นเมืองที่มีความเจริ ญรุ่ งเรื องด้านเศรษฐ์กิจ
ส่ วนรู ปแบบและเทคนิ คการทาธุ รกิ จคือตามหลักการทากิ จในตาราฟิ กฮฺ อิสลามีย ์
โดยเฉพา 2 สถาบันการศึกษาหลักในสมัยนั้น คือ สถาบันอัลหิ ญาซี ยะฮฺ และ สถาบันอัลอิรอกียะฮฺ
จุดนี้ขอกล่าว 3 ข้อสังเกต
1. ตลาดนัดเมืองก็อยเราะวานเริ่ มมีการรู ้จกั นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 ฮ.ศ.
2. ตลาดนัดเมืองก็ อยเราะวาน และสิ นค้า ถู กขโมยหลัง จากเกิ ดความวุ่นวานใน
บ้านเมือง
3. ทางผูน้ าและผูม้ ีอานาจในบ้านเมืองสมัยนั้นได้บงั คับผูค้ นให้เปิ ดตลาดนัดใหม่
เพื่อสามารถย้ายร้านของเขาไปแหล่งใหม่(al-Janhani, 2005 : 93)
เงินตราที่ใช้

เงินตราในสมัยก็อยเราะวานจะมีความสัมพันธ์และผูกพันกับเงินตราที่ใช้ในมัฆริ บ
เป็ นอันดับแรกและเงิ นตราที่ใช้ในประเทศอิสลาม โดยเงิ นตราจะมี ความสัมพันธ์ กบั การซื้ อขาย
ทองคาในสมัยนั้น .
ส่ วนเงิ นตราที่ ใช้ในขณะนั้น คื อ เงิ นตราที่ ใช้ในสมัยก่ อนรั ฐอัลอะฆอลิ บะฮฺ คือ
เงินตราที่มีการแพร่ หลายในประเทศอิสลาม คือ ดีนาร อัลบีซนั ตี และ ดิรฮัม อัลซาซานี และเงินตรา
อิสลามที่ได้ทาในสมัย อับดุลมาลิก บิน มัรวาน(al-Janhani, 2005 :104)
102

อาชีพและงานฝี มือ

การเจริ ญรุ่ งเรื องและการพัฒนาด้านวัตถุในเมืองก็อยเราะวานทาให้สังคมในสมัย


นั้นมี ความต้องการในการบริ โภคสิ่ งใหม่และทาให้มีความก้าวหน้าและหลากหลายด้านการงาน
อาชี พ งานฝี มื อกลายเป็ นงานหลักในการทามาหากิ นในสมัยนั้น เป็ นงานที่ มีส่วนให้บา้ นเมืองมี
ความเจริ ญรุ่ งเรื อง เช่น การทาพรม การทอผ้า โดยอาชี พหลักของบรรดาสตรี ในสมัยนั้น คือการทอ
ผ้าซึ่งพวกนางจะมีเครื่ องมือและอุปกรณ์ในการทอผ้าเก็บไว้ในบ้าน

ส่ วนอาชี พหลักทีผูป้ กครองบ้านเมื องในขณะนั้นได้ดาเนิ นเองคื อ การทาเหรี ยญ


ผลิตอาวุธสงคราม กาทอผ้าให้กบั ผูน้ า(al-Janhani, 2005 :106)

4.1.2 ชีวประวัติของท่ านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์

เชื้อสายและวงค์ ตระกูล
มุหมั มัดบินสะหฺ นุน คือ อบูอบั ดิลลาฮฺ มุหัมมัด บิน อบี สะอีด สะหฺ นูน บิน สะอีด
บิน หะบีบ บิน หิ สาน บิน ฮิลาล บิน บักการ บิน เราะบีอะฮฺ อัตตะนูคีย(์ al-maliki,1994:318) ปู่ ของ
เขาได้อพยพมาพร้อมๆกับทหารของเมืองหัมศ์(‫)محص‬4ไปยังเมืองมัฆรี บในการเข้าพิชิตเมืองดังกล่าว

ปู่ ของท่านมีชื่อสะอีด อิบนุ หะบีบ ได้พานักอยูใ่ นเมืองก็อยเราะวาน5จนกระทัง่ ได้


มีบุตรชายที่ชื่อว่า อับดุลสะลาม ที่รู้จกั กันในนาม สะหฺ นูน (เสี ยชี วิตในปี 240 ฮ.ศ.)(Husni, 1972 :
52)และที่ได้เรี ยกกันอับดุลสะลามว่าสะหฺ นูน อันเนื่องมาจากความเฉลียวฉลาดและความคิดที่เฉี ยบ
แหลม (al-Marakishi,1878:142)

สะหฺ นูน6ได้ศึกษาหาความรู้จากนักปราชญ์ชาวแอฟรี กา เช่น อลี ซิ ยาด7 มาลิก บิน


อะนัสและท่านอื่น ๆ จนกระทัง่ สะหฺ นูนเป็ นนักปราชญ์ที่มีความรู ้ และความเชี่ ยวชาญ ดังที่ อะสัด

4
เมืองหัมศ์ต้ งั อยูใ่ นภาคกลางของประเทศซีเรี ยเป็ นเมืองที่สามทีสาคัญทีสุดของประเทศซี เรี ยซึ่ งสมัยปกครองโดย
ชาวโรมันก่อน2300ค.ศ. เมืองหัมศ์ถูกเรี ยกว่าเมืองอะมีสา
5
กอยเราะวานเป็ นชื่อของเมืองหนึ่ งในประเทศตูนีเซี ยปั จจุบนั ซึ่ งห่ างไกลจากตัวเมืองตูนีเซี ยประมาน 160 ก.ม.
เมืองนี้ได้มีการพิชิตในสมัยเศาะหาบะห์โดยท่านอุกบะห์ บินนาฟิ อฺ ในปี ฮ.ศ.ที่ 50
6
คือ บิดาของท่านมุหมั มัด บิน สะหฺ นูน
103

บิน ฟุรอต8ได้ตอบคาถามเมื่อถูกถามว่า หลังจากท่านแล้วผูใ้ ดเล่า ทีพวกเราสมควรศึกษาหาความรู้


ท่านก็ตอบว่า เขาผูน้ ้ นั คือ สะหฺ นูนและฉันไม่เห็นว่ามีคนที่มีความรู ้เท่าเทียมกับ สะหฺ นูน (al-Maliki
, 1994 :253 )
สะหฺ นูนได้พยายามเผยแพร่ มซั ฮับ9อิหม่ามมาลิกตอนเหนือของทวีปแอฟรี กาและ
ถือว่าสะหฺ นุนเป็ นบุคคลแรกที่เผยแพร่ มซั ฮับมาลิกในทวิปแอฟรี กา ถึงแม้ท่านไม่เคยเห็นอิหม่ามมา
ลิกทั้งๆที่ท้ งั สองอยู่ในยุคเดียวกัน และท่านเคยถูกถามว่า อะไรที่เป็ นอุปสรรคในการที่จะไปศึกษา
กับท่านอิหม่ามมาลิก ท่านก็ตอบว่า ดิรฮัม10มีนอ้ ยมาก(Hijazi, 1987: 19)

การถือกาเนิด
ท่านมุหัมมัดบินสะหฺ นุนเกิ ดในปี ฮ.ศ. 202 ในบ้านที่เต็มไปด้วยวิชาความรู ้ เกิ ดที่
หมู่บา้ น เฆาะดัตในเมืองก็อยเราะวานซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นหนึ่งที่มีการแพร่ ขยายของมัซฮับ มาลิกีย ์ ท่าน
ได้รับการศึกษาอบรมแรกๆด้วยบิดาของท่านเองและได้เติบโตด้วยการดูแลของบิดาของท่านและ
บิดาของท่าน อิบนุ สะหฺ นูนได้ส่งท่านไปศึกษา ณ ยัง อัลกุตตาบ11ตามประเพณี ของชาวเมืองก็อย
เราะวานเพื่ อที่ จะศึ ก ษาอัลกุ รอานและพื้นฐานของการอ่า น บิ ดาของท่ านสะหฺ นูนได้ขอร้ องจาก
ผูส้ อนมิ ให้อบรมสั่ง สอนลู กของท่านนอกจากด้วยคาชื่ นชมและคาพูดที่ อ่อนโยนและต้องไม่ใ ช้
ความรุ นแรงซึ่ งเป็ นที่ชดั เจนบทบาทของท่านสะหฺ นูนในการอบรมสั่งสอนบุตรของท่านโดยมีการ
ให้ส่วนร่ วมระหว่างผูป้ กครองกับอัลกุตตาบหรื อโรงเรี ยนในการอบรมบุตร

อายุของท่านมุหัมมัดบินสะหฺ นูนไม่ยืนยาวมากนัก มีรายงานว่า ทุกครั้งที่สะหฺ นูน


ได้มองท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูน ท่านผูเ้ ป็ นบิดาได้กล่าวว่า ฉันมีความรู ้สึกกลัวว่าอายุของเจ้าจะสั้น
(al-Maliki , 1994 : 345)

7
มีชื่อว่า อบู อัลหะสัน อลี บิน ซิยาด เป็ นหนึ่งในบรรดาสานุศิษย์ของท่านอิหม่ามมาลิด และบุคคลแรกที่นาหนังมุ
วัตเตาะของท่านอิหม่ามมาลิกเข้าไปในมัฆริ บ
8
อะสัด บิน ฟุรอตมีนามว่า อบู อับดิลลาฮฺ อะสัด บิน อัลฟุรอต บิน สิ นาน หนึ่งในบรรดาสานุศิษย์ของท่านอิหม่าม
มาลิก เป็ นผูพ้ ิพากษาของเมืองก็อยเราะวาน เกิดในปี ฮ.ศ.142และเสี ยชีวติ ในปี ฮ.ศ.213
9
คือทัศนของนักวิชาการ ‫ العلماء‬และความเข้าใจของพวกเขาต่อบางปั ญหาและการวินิจฉัยของพวกเขา ‫إجتهادهم‬
ในปั ญหานั้นๆ
10
คือสกุลเงินที่ใช้สมัยนั้น
11
สถานศึกษาหรื อสถานที่เรี ยนศาสนาสมัยนั้น
104

มุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้เสี ยชี วิตแทบชายฝั่ งประเทศตูนิเซี ยในปี ฮ.ศ. 256. 16 ปี


หลังจากบิดาของท่านเสี ยชี วิต ราวๆอายุ ได้ 54 ปี ศพของท่านถูกฝั ง ที่ประตูนาฟิ อฺ ก็อยเราะวาน
บริ เวณใกล้กบั สุ สานของบิดาของท่าน

การศึกษา
อาจารย์ท่านแรกของมุหัมมัดบินสะหฺ นูน คือบิดาของท่านเอง ท่านได้ศึกษาอัลกุ
รอาน และได้มีการสนทนากับบิดาของท่าน ในเรื่ องราวต่างๆของศาสนา และท่านก็ได้อ่านหนังของ
บิดาของท่าน โดยผูค้ นจะรับฟั งท่านอ่านหนังสื อของบิดาของท่านก่ อนที่บิดาของท่านจะออกมา
สอน และหลังจากที่บิดาของท่านได้ออกมาสอนท่านก็จะร่ วมนัง่ กับผูค้ นในการศึกษาหาความรู ้

มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้ศึกษาหาความรู้จากนักปราชญ์ชาวแอฟรี กาที่มีชื่อเสี ยงมาก


เช่น มูซา บิน มุอาวิยะฮฺ อัสเศาะมาดิหีย(์ Musa bin Mu-Awiah al.Somadihi:225 ฮ.ศ)

มุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้มีความรู้เชิ งลึกด้านชารี อ ะห์ และมีชื่อเสี ยงในสังคม บิดา


ของท่านได้ให้คาแนะนาให้ไปทาฮัจญ์และเพิ่มพูนในความรู ้จากนักปราชญ์ชาวอิยิปต์ และหิ ญาซฺ 12
ในปี ฮ.ศ. 235 จากคาแนะนาของบิดาของท่านในสมัยนั้น คือ “..หากเจ้าต้องการทาฮัจญ์จงผ่านไปยัง
เมือง ตริ โปเลีย เพราะในเมืองนั้น มีนกั ปราชญ์ชาวมะดีนะห์ มีนกั รายงานหะดีษ มีความรู้ฟิกฮฺของ
อิหม่าม มาลิ ก และจงไปที่อียิปต์เพราะในเมืองนั้น มีนักรายงานหะดี ษ และจงไปเมื องมะดี นะห์
เพราะที่น้ นั อิหม่ามมาลิกได้ใช้ชีวิตอยู่ และจงไปมักกะฮฺ และใช้ความพยายามในการหาความรู ้ ...”
(Ibn Iyad, 1968: 171)

ในขณะที่ เ ดิ น ทางผ่ า น ประเทศอี ยิ ป ต์ เพื่ อ ไปบ าเพ็ ญ ฮัจ ญ์ ย ัง เมื อ งมัก กะฮฺ
นักปราชญ์ชาวอียปิ ต์ได้ให้การต้อนรับท่าน อีกทั้งผูค้ นมากมายที่พากันมาเพื่อที่จะรับฟั งคาสอนของ
ท่าน(ibnu iyad, 1968 : 93)ในขณะเดียวกันอัลมุซานี ย(์ al-Muzani)ซึ่ งเป็ นสาวกของท่านอิหม่าม
อัลชาฟิ อีย ์ หนึ่ งในบรรดาผูท้ ี่ มารับฟั งคาสอนของท่านมุหัมมัดบินสะหฺ นูน และเป็ นคนหนึ่ งที่ได้
ทุ่มเทเวลาในการศึกษากับท่านมุหัมมัดบินสะหฺ นูน เมื่อท่านได้จากมุหัมมัดบินสะหฺ นูนและมีผคู้ น
ถามเกี่ ยวกับมุหัมมัดบินสะหฺ นูน ท่านก็ตอบว่า “ขอสาบานต่ออัลลอฮฺ ฉันไม่เคยเห็ น คนที่อาลิ ม
ที่สุดและคนที่มีความคิดที่เฉียบแหลมนอกจากมุหมั มัดบินสะหฺ นูน”

12
คือเมืองมะดีนะห์และมักกะห์ซ่ ึงปั จจุบนั ตั้งอยูใ่ นประเทศซาอุดิอารเบีย
105

หลั ง จากได้ เ สร็ จสิ้ นการท าฮั จ ญ์ มุ หั ม มั ด บิ น สะหฺ นู น ได้ เ ยื อ นมะดี น ะหฺ
อัลมุนาวะรอฮฺและได้เข้าไปยังมัสยิดนบีศ็อล ในช่วงนั้นได้เจอกับผูค้ นที่ลอ้ มรอบ อบูมุศอับ บิน
อบี บักร อัซซุฮฺรีย ์ (เสี ยชีวติ 242 ฮ.ศ.)ในขณะที่ท่านกาลังนัง่ ตะแคงอยูอ่ นั เนื่ องจากความชรา ผูเ้ รี ยน
มีการโต้เถียงในเรื่ องหนึ่ ง เกี่ ยวกับเรื่ องแม่ลูก มุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้เตือนพวกเขาด้วยเรื่ องราวที่
แปลกมาก ท่านอบูมุศอับ นัง่ ตรงพร้อมทวนถาม แล้วถามมุหมั มัดบินสะหฺ นูนว่า เจ้าเป็ นคนมาจาก
ไหน? แล้วมุหมั มัดบินสะหฺ นูนตอบว่า มาจาก แอฟรี กา แล้วถามว่ามาจากเมืองอะไหร อิบนุ สะหฺ นูน
ตอบว่ า มาจากเมื อ งก็ อ ยเราะวาน แล้ ว ท่ า นอบู มุ ศ อั บ ก็ ถ ามอี ก ว่ า เจ้ า น่ า จะชื่ อ มุ หั ม มั ด
อิบนุ สะหฺ นูน หรื อไม่ก็ชื่อ อะหฺ มดั อิบนุ ลุบดะหฺ (หลานของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน) เพราะชาวก็อย
เราะวานไม่มีผใู ้ ดมายังมาดีนะห์นอกจากครอบครัวของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน อิบนุ สะหฺ นุนก็ตอบว่า
ฉัน คือ มุหมั มัดบินสะหฺ นูน หลังจากนั้น ท่านอัซซุ ฮรี ยก์ ็ได้ไปจับมือกับมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและให้
ที่พกั อาศัย

มุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้เรี ยนรู ้เพิ่มเติมจากองค์ความรู้ ในสานักคิดของท่านอิหม่าม


มาลิกโดยศึกษาผ่านสาวกของท่านอิหม่ามมาลิก เช่น อบูมุศอับอัซซุ ฮฺรี ยะอฺ กูบ บิน หุ มยั ดฺ บิน กา
สิ บ สาลามะฮฺ บิน ชาบีบ และท่านอื่นๆ(al-Maliki :1994:346)
มุหัมมัดบินสะหฺ นูน ได้กลับมายังเมื องก็อยเราะวานด้วยความรู ้ ที่กว้างขวางและ
หลากหลายสาขาในขณะที่คนอื่นมีความรู ้ที่ไม่เท่ากับมุหมั มัดบินสะหฺ นูน อิบนุสะหฺ ได้มีหะลากอฮฺ
สอนนอกเหนือจากหะลากอฮฺของบิดาของเขา(al-Maliki :1994 : 345)

ลักษณะและอุปนิสัย
มุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้รับอิทธิ ผลในด้านจรรยามารยาทจากบิดาของท่าน บิดาถื อ
ว่าเป็ นครู ท่านแรกกับมุหัมมัดบินสะหฺ นูน นิ สิตนักศึกษาของท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้รู้จกั ท่าน
ด้วยบุ คลิ กที่ ยาเกรงต่ออัลลอฮฺ ถ่อมตน และสมถะ และนอกจากนั้นยังมีความรู ้ เกี่ ยวกับฟิ กฮฺ และ
ศาสนา หนึ่งในบรรดาผูต้ ามอิหม่ามอะหฺ มดั บิน หันบัล13 ได้ถามเกี่ยวกับผูท้ ี่มาจากเมืองมัฆริ บที่อยู่
ในจาพวกที่ ใช้เวลาส่ วนหนึ่ ง ของเวลากลางคื นเพื่ ออ่ าน อิ บ าดะห์ และคอชู อฺต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ
มีการทบทวนเกี่ ยวกับเรื่ องต่างๆของศาสนา และหลังจากนั้นได้ทาการละหมาด ด้วยความรู ้ สึกที่
ประหลาดใจ ได้ถาม พวกเขาเหลานั้นเป็ นสาวกของใครเล่า?และใครที่สอนพวกเขา?พวกเขาได้มี

13
อะหฺ มดั บินหันบัล ชื่อเต็มว่า อะหฺ มดั บิน มุฮมั มัด บิน หันบัล บิน ฮิลาลอัล-ชัยบานียฺเกิดในกรุ งแบกแดดในวันที่
20 เดือนเราะบิอุล เอาวัล ฮ.ศ. 164 (ธันวาคม ค.ศ. 780) เขาเป็ นชาวอาหรับเผ่าบนี ชัยบาน ซึ่ งเป็ นเผ่าที่มีบทบาท
สาคัญในการพิชิตอิรักและเมืองคอรอซาน
106

การอภิปรายในความรู ้ และหลังจากนั้นได้ลุกขึ้นละหมาดตะฮัดยุด ขอสาบานต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ ฉนั


ไม่ เคยเห็ นเหมื อนผูค้ นเหลานี้ เ ลย ขอสาบานต่ อ เอกองค์อลั ลอฮฺ พวกเขาจะไม่ ถู ก บททดสอบ
นอกจากเขาจะยิ่งมีเกี ยรติ พวกเขาคือเพื่อนฝูงของสะหฺ นูน หนึ่ งในนั้นคือ มุหัมมัด บินสะหฺ นูน ที่
ได้รับอิทธิพลจรรยามารยาทที่ดีงามจากบิดาของเขา

การยาเกรงต่ ออัลลอฮฺ
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนเป็ นที่รู้จกั ในเหล่าบรรดาลูกศิษย์ของท่านว่าเป็ นคนสมถะ เป็ น
คนที่นอบน้อม และราลึกถึงวันปรโลก เป็ นผูท้ ี่ใกล้ชิดกับอัลลอฮฺในตอนกลางคืนและอ่านอัลกุรอาน
หนึ่งในบรรดาผูค้ นที่อาศัยอยูแ่ ถวก็อยเราะวานทางภาคใต้ของเมืองอัลกอศบะห์ได้ยินเสี ยงอ่านอัลกุ
รอาน จากบ้านที่อยูใ่ กล้กบั ที่อาบน้ าละหมาด กาลังอ่านอัลกุรอานในซู เราะฮฺ อัลอะอฺ รอฟ อายะฮฺ ที่
21.22 ดังนี้

        

        

        

          

      

)22.23:ِ‫ِِِِِِِِِِِِِِِِِِ(األعراف‬

ความว่า“และมันได้สาบานแก่ท้ งั สองนั้นว่าแท้จริ งฉันอยูใ่ นพวกที่


แนะนาท่ า นทั้ง สองแล้ว เราก็ ท าให้ท้ งั สองนั้น ตกอยู่ใ นสิ่ ง ที่ ม ัน
ต้องการ อันเนื่องจากการหลอกลวงครั้นเมื่อทั้งสองได้ลิ้มรสต้นไม้
ต้นนั้นแล้ว สิ่ งอันพึงละอายของเขาทั้งสองก็เผยให้ประจักษ์แก่เขา
ทั้งสองและเขาทั้งสองก็เริ่ มปกปิ ดบน(ส่ วนที่น่าละอาย)ของเขาทั้ง
สองจากใบไม้แห่ งสวนสวรรค์น้ นั และพระเจ้าของเขาทั้งสองจึง
ได้เรี ยกเขาทั้งสอง (โดยกล่าวว่า) ข้ามิได้ห้ามเจ้าทั้งสองเกี่ ยวกับ
ต้นไม้น้ นั ดอกหรื อ? และข้ามิได้กล่าวแก่เจ้าทั้งสองดอกหรื อว่า
107

แ ท้ จ ริ ง ชั ย ฏ อ น นั้ น คื อ ศั ต รู ที่ ชั ด แ จ้ ง แ ก่ เ จ้ า ทั้ ง ส อ ง ”


(อัล.อะอฺรอฟ: 22.23)
ผูอ้ ่านได้ทวนสองอายะหฺ ดงั กล่าวซ้ าพร้อมกับร้องให้ หลังจากได้เสร็ จสิ้ นภารกิจก็
กลับบ้านและยังได้ยินเสี ยงคนอ่านอัลกุรอานในซู เราะฮฺ และอายะฮฺ น้ นั พร้ อมกับ ร้ องให้ในคื นที่
หนาวจัด และในช่ วงท้ายของคาคื นนั้น ชายผูน้ ้ นั ก็ได้ลงเพื่อที่จะอาบน้ าละหมาดพร้ อมกับได้ยิน
เสี ย งอ่ า นอัล กุ รอานในอายะห์ ดังกล่ า ว เขาก็ ยืนเฝ้ าคนอ่ า นอัล กุรอานที่ ป ระตู จนกระทัง่ ถึ ง เวลา
ละหมาดซุ บฮฺ ทันใดคนอ่านอัลกุรอานก็ได้ออกจากบ้านดังกล่าวในสภาพที่ปิดหน้า ในที่สุดชายผู ้
นั้นก็ได้รู้จกั กับคนที่อ่านอัลกุรอาน เขาผูน้ ้ นั ก็คือ มุหมั มัดบินสะหฺ นูน(al-Maliki :1994 : 347.348)

ความอ่ อนโยนและความสั มพันธ์ ระหว่ างผู้คน


มุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้ปฏิบตั ิตามหลักคานาศีหตั ของบิดาของเขาเมื่อคลุกคลีและ
ความสัมพันธ์กบั เพื่อนมนุ ษย์วา่ “โอ้ ลูกของฉัน จงให้สาลามแก่ผคู ้ น แท้จริ งแล้วการให้สาลามนั้น
เป็ นสิ่ งที่ทาให้มีการรักใคร่ ซ่ ึ งกันและกัน และเจ้าจงให้สาลามแก่ศตั รู ของเจ้าและเพื่อนบ้านของพวก
เขาแท้จริ งแล้วเสาหลักของการศรัทธา คือ การให้เกียรติต่อเพื่อนมนุษย์”(Hijazi, 1986 : 24)

การเสี ยชีวติ
มีการรายงานว่าทุกครั้งเมื่อท่านสะหฺ นูน(ผูเ้ ป็ นบิดา)ได้มองไปยังมุหมั มัดบินสะหฺ
นู นได้ก ล่ า วว่า ฉัน กลัว ว่า ลู ก ของฉัน จะมี อายุ ส้ ั นนั้นก็ คื อความรู ้ สึ ก ของท่ า นสะหฺ นู นที่ มี ต่อลู ก
สุ ดท้ายความรู ้สึกของท่านสะหฺ นูนก็เกิดขึ้นจริ ง มุหมั มัดบินสะหฺ นูนจากโลกนี้ ไปโดยมีอายุเพียง 54
ปี
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้เสี ยชีวิตแทบชายฝั่งประเทศตูนิเซี ยในปี ฮ.ศ.256 หลังจาก
บิดาของท่านได้เสี ยชี วิต 6 ปี และได้ฝั่งศพในเมืองก็อยเราะวาน (Ibn Farhun, n.d : 237) โดยผูค้ น
ในเมืองก็อยเราะวานพากันรี บไปฝั งศพของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนโดยวันนั้นร้ านค้าและสถานศึกษา
ต่างๆได้ปิดทาการเพื่อให้เกียรติกบั ท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูน และผูน้ าละหมาดญะนาซะฮฺ ในวันนั้น
คือ อามีร มุหมั มัดอัษษานีย ์ (Muhammad al-thani)

ผลงานทางด้ านวิชาการ
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนเป็ นที่รู้จกั ของบรรดานักปราชญ์ในสมัยท่านว่า เป็ นผูท้ ี่ได้แต่ง
ตาราเป็ นจานวนมาก อิ บ นุ อัล หาริ ส ได้ก ล่ า วว่า “ มุ หัมมัดบิ นสะหฺ นูน เป็ นผูท้ ี่ แต่ ง หนัง สื อไว้
108

จานวนมาก มี ผลงานในงานเขียนอย่างมากมาย”หลังจากนั้นได้กล่าวอี กว่า อัลลอฮฺ ได้ทรงเปิ ดใจ


ให้กบั ท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนในเรื่ องของการเขียน
อัล มาลิ กี ย ์ ได้กล่ าว่วา อิ ยนุ สะหฺ นูนได้แต่ง ตาราในทุ ก แขนงวิช าไว้จานวนมาก
จนถึง 200 เล่ม
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้แต่งหนังสื อในหลายแขนงวิชา ถึงแม้นว่าท่านมีอายุส้ ันแต่
ท่านก็มีผลงานในการเขียนตาราไว้หลายเล่ม

หนังสื อทีท่ ่านได้ ประพันธ์ มีดังนี้


ส่ วนหนังสื อที่มีอยู่ ณ ปั จจุบนั คือ
1. อาดาบอัลมุอลั ลิมีน )‫(آدابِاملعلمني‬
2. อัจญ์วิบะห์ อิบนุสะห์นูน ِ)‫ (أجوبةِابنِسحنون‬ซึ่ งยังเป็ นมัคตูต14อยูย่ งั ไม่ได้มี
การตีพิมพ์(Hijazi:1986:34)
ส่ วนหนังสื อที่หายไป คือ
1. หนังสื อ อัลญามิอฺ )‫ (اجلامع‬ซึ่ งเป็ นหนังสื อที่ใหญ่ที่สุดที่ได้รวบรวมทุกสาขาวิชา
มีท้ งั หมดหนึ่ งร้อยเล่ม ยี่สิบเล่มในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ยี่สิบห้าเล่มในเรื่ องของการอุปมาอุปมัย
ของสาขาวิชาภาษาอาหรับ สิ บห้าเล่มในเรื่ องของการตัดสิ นคดีِ)‫ ِ(القضاء‬ห้าสิ บเล่มในเรื่ องของการ
แบ่ ง มรดกหรื อ อัล ฟะรออิ ด ِ)‫ (الفرائض‬แป็ ดเล่ มในเรื่ องของประวัติศ าสตร์ และชี วประวัติของ
ผูร้ ายงานหะดีษ ฯลฯ
2. หนังสื อ อัลมุสนัด ฟิ ลหะดีษ )‫(املسنديفِاحلديث‬
3. หนังสื อ ริ สาละห์ ฟี สุ นนะห์ )‫(رسالةيفِالسنة‬
4. หนังสื อ อัลอิบาหะห์ )‫(كتابِاإلباحة‬
5. หนังสื อ ตะห์รีมุลคอมรฺ )‫(كتابِحترميِاخلمر‬
6. หนังสื อ ริ สาละห์ ฟี มันสับบานบี )‫(رسالةِفيمنِسبِالنيب‬
7. ริ สาละฟ์ ฟี อะดาบิลมุตะนาซีรีน)‫(رسالةِيفِأدبِاملتناظرين‬
8. กิตาบุล หุ จญ์ญะห์ อะลาอัลเกาะดารี ยะห์ (‫)كتاب احلجة على القدرية‬
9. กิตาบุลหุ จญ์ญะห์ อะลาอันนะศอรอ (‫)كتاب احلجة على النصارى‬
10. กิตาบตัฟสี รมุวตั เตาะ (‫)كتاب تفسري املوطأ‬

14
เป็ นฉบับเดิมและตัวเขียนสมัยก่อน
109

11. กิตาบ อัรรอดอะลาอัลฟิ กรี ยะห์ (‫)كتاب الرد على الفكرية‬


12. กิตาบ อัลวะระอฺ (‫)كتاب الورع‬
13. กิตาบุลอีมานวารอดอะลาอัหฺลีชิรกฺ (‫)كتاب اإلميان والرد على أهل الشرك‬
14. กิตาบุลรอด อะลาอะหฺ ลีลบีดาอฺ (‫)كتاب الرد على أهل البدع‬
15. กิตาบเตาะบากิต อัลอุลามาอฺ (‫)كتاب طبقات العلماء‬
16. กิ ต าบอัล อะชฺ รี บ ะห์ ว าเฆาะรี บ อัล หะดี ษ (‫ ) كتاب األشربة وغريب احلديث‬มี
จานวนทั้งหมด สามเล่ม
17. กิ ตาบุ ล อิ หม่ า มะห์ (‫ ) كتاب اإلمامة‬มี จานวน สองเล่ ม ท่ า นอิ บ นุ ส ะห์ ไ ด้แต่ ง
ในขณะทีอยูใ่ นอียปิ ต์
18. กิตาบุลญิหาด (‫ )كتاب اجلهاد‬มีจานวนทั้งหมด สิ บเล่ม
19. อะหฺ กามุลกุรอาน(‫)أحكام الفرآن‬
20. กิตาบตาริ ค (‫)كتاب التاريخ‬
21. หนังอรรถาธิบายหนังสื ออัลมุดะวะนะหฺ (‫ )املدونة‬ของท่านสะหฺ นูน
22. หนังสื อาดาบ อัลกอฎีย)‫(آدابِالقاضي‬
์ ِ(Hijazi :1986 : 34)

คาชื่นชมของบรรดานักปราชญ์ต่อมุหัมมัดบินสะหฺนูน
อี ซ า บิ น มิ ส กี น 15 ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า “ บุ ค ค ล ที่ ดี ที่ สุ ด ที่ ฉั น เ ค ย เ ห็ น ม า คื อ
มุหมั มัดบินสะหฺ นูน โดยมุหมั มัดบินสะหฺ นูนเป็ นผูท้ ี่ได้รวบรวมคุณลักษณะที่ดีต่างๆ เช่ น ถ่อมตน
มี ค วามรู ้ มี ค วามเสี ย สละ และเป็ นคนที่ เ อาใจใส่ เ พื่ อ นฝูง และกล่ า วว่า ฉัน ไม่ เ คยเห็ น คนที่ มี
คุณลักษณะเหมือนกับมุหมั มัดบินสะหฺ นูน”
อบูลอะรอบ อัตตะมี มีย ์ อัลกอยเราะวานี ยไ์ ด้กล่ า วว่า “มุหัมมัดบินสะหฺ นูน เป็ น
อิ หม่ า มในสาขาฟิ กฮฺ มี ค วามเชื่ อถื อ มี ค วามรู ้ ด้า นอะษัร โดยในสมัย ท่ า นไม่ มี บุ ค คลที่ มี ค วามรู ้
มากกว่าท่าน เท่าทีทราบมา”
มุหัมมัด บิน หาริ ษ อัลคุ ซานี ยไ์ ด้กล่าวว่า มุหัมมัดบินสะหฺ นูน ในทัศนะของท่าน
อิหม่ามมาลิกเป็ นนักท่องจาที่อยูแ่ นวหน้า และในทัศนะอื่นเป็ นผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญในการสนทนา
เป็ นผูท้ ี่มีใจกว้าง เป็ นผูท้ ี่ให้อภัย เป็ นผูท้ ี่มีความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ เป็ นผูท้ ี่ชอบให้ความช่วยเหลือกับผูท้ ี่
ไปหาท่านเป็ น สิ บๆดีนาร์

15
ผูท้ ี่มีชีวติ ทันกับมุหมั มัด บิน สะหฺ นูน
110

อะหฺ มดั อัลญะซาร์ ได้กล่ าวว่า มุหัมมัดบินสะหฺ นูน เป็ นอิ หม่านในสมัยของท่าน
ในมัซฮับของอะหฺ ลุลมะดีน ะห์ในเมืองมัฆริ บเป็ นคนที่มีความรู้ครอบคลุมทุกด้าน ที่หาได้ยากจาก
ผูอ้ ื่น
หัม ดิ ส อัลกอตตอนได้กล่ า วว่า “ฉันได้เห็ นอุ ลามาอฺ ชาวมักกะฮฺ มะดี นะหฺ และ
อียิปต์ ฉันไม่เห็ นพวกเขาเหมือนกับ สะหฺ นูน และเหมือนกับมุหัมมัดบินสะหฺ นูน”(al-Qadi Eyad
,1998:1280)
อบู อัล อะรอบได้ก ล่ าวว่า “มุ หัมมัดบินสะหฺ นูน เป็ นบุคคลทีมี ความเชื่ อถื อได้ มี
ความรู ้ ในเรื่ องของฟิ กฮฺ มี ความรู ้ ในเรื่ องของอะษัร ไม่มีใครในสมัยท่านมุหัมมัดบินสะหฺ นูน ที่มี
ความรู ้ที่ครอบคลุมในทุกแขนงวิชาเหมือนกับมุหมั มัดบินสะหฺ นูน”(Ibn Hajar, 1986:2425)
ยะห์ยา บิน อุมรั ได้กล่าวว่า “มุหมั มัดบินสะหฺ นูนเป็ นบุคคนที่มีความเป็ นฮุจญะฮฺ 16
มากที่สุด และมีความชานาญในเรื่ องของการเป็ นฮุจญ์ญะฮฺและเคยได้มีการสนทนาในเรื่ องศาสนา
กับบิดาของท่าน”(al-Dhahabi, 1987:85/5)

หนังสื ออาดาบอัลมูอลั ลิมูน


ในช่ ว งชี วิ ต ของท่ า นอิ บ นู ส ะหนู น นั้ น ท่ า นได้ แ ต่ ง หนั ง สื อ เรื่ อง “Adab
almuallimin” (มารยาทของครู ผูส้ อน) ถื อว่าเป็ นตาราเล่มแรกที่เกี่ ยวกับศึ กษาศาสตร์ อิสลาม ซึ่ ง
ตีพิมพ์ครั้งแรกในตูนีเซี ย เมื่อปี ฮ.ศ.ที่1350 (al-Daim, 1964 : 208) หนังสื อเล่มนี้ ได้รวบรวมเนื้ อหา
พื้นฐานในการศึกษาของเด็ก จนถึงกฏเกณฑ์ในการให้ความรู ้แก่เด็ก.
หนังสื อดังกล่ าวมี แหล่ งอ้างอิงที่ครอบคลุ มด้วยอัลกุรอานและฮาดิ ษของท่านนบี
 ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอนอัลกุรอานแก่เด็กในช่วงวัยเยาว์ เนื่ องจากการสอนเด็กในช่ วงนี้
จะมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าช่วงอื่นๆ เปรี ยบเสมือนการแกะสลักลงบนโขดหิ น
ประเด็นต่างๆที่ อิบนุ หนูนได้นาเสนอในหนังสื ออาดาบอัลมูอลั ลีมู น(Adab al-
Muallimin) บันทึกไว้ มีดงั นี้
1. การศึกษาอัลกุรอาน
2. ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยน
3. การห้ามทาการสอนสิ่ งที่ ทาให้ห่างไกลจากการราลึ กถึ งอัลลอฮฺ  และสิ่ งที่
ส่ งเสริ มให้กระทา
4. จรรยามารยาทการกระทาที่อนุญาต และเป็ นที่ไม่อนุญาตในการประพฤติปฏิบตั ิ

16
คือมีความเชื่อถือได้
111

5. ความรับผิดชอบของผูส้ อนหลังจากเสร็ จสิ้ นการสอน


6. การให้ของขวัญในวันอีด
7. สิ่ งที่ควรหลีกห่างจากลูกศิษย์
8. สิ ทธิของผูส้ อนในการอยูร่ ่ วมกับผูเ้ รี ยน
9. ค่าจ้างกับครู ผสู ้ อนและการให้ของขวัญ
10. การซื้ อคัมภีร์อลั กุรอานและหนังสื อฟิ กฮฺต่างๆ เป็ นต้น
หนัง สื อ เล่ ม นี้ นับ ได้ว่า เป็ นต าราที่ ร วมรวบค าตอบให้ ก ับ ผู ้ที่ ส่ ง ค าถามมาถาม
มุหมั มัดบินสะหนูน จวบจนสามารถไขข้อข้องใจในประเด็นปั ญหาต่างๆที่ท่านได้ปรึ กษาหารื อกับ
คนอื่นการเก็บรวบรวมแนวความคิดการศึกษาของอิบนูซะฮ์นูน และ หนังสื อเล่มนี้ ก็เป็ นสิ่ งที่สาคัญ
มากในการใช้เป็ นแหล่งอ้างอิงในด้านศึกษาศาสตร์ อิสลาม เพราะเนื้ อหาในตาราเล่มนี้ ลว้ นเกี่ยวข้อง
กับ ทฤษฎี ก ารศึ ก ษาที่ ท นั สมัย และในศตวรรษที่ 4 ฮ.ศ.หนัง สื อเล่ ม นี้ ได้รับ การฟื้ นฟู ใ หม่ โดย
ท่ า น อั ล . ก อ บี ซี ( al-Qabisi) ผ่ า น ก า ร อ ธิ บ า ย ใ น ต า ร า ข อ ง ท่ า น ที่ ชื่ อ ว่ า
“alMufasalahlilihlalalmuta’alliminwa al ahkam al-Mualliminwa al-Muta’allimin”(รายละเอียด
เกี่ ย วกับ สถานะของผูเ้ รี ย นและกฎเกณฑ์ ข องผู ้เ รี ย นและผูส้ อน) เป็ นจ านวนสามเล่ ม ด้ว ยกัน
(Hijazi,1986:60)

สาเหตุของการแต่ งหนังสื อ อาดาบุลมอัลลิมีน


หลัง จากที่ มุ หั ม มัด บิ น สะหนู น ถู ก ถามหลายครั้ งหลายหนเกี่ ย วกับ ประเด็ น
การศึกษาโดยเฉพาะประเด็นค่าจ้างของผูส้ อนทาให้เกิดความคิดเห็นต่างๆนาๆ จึงทาให้มุหมั มัดบิน
สะหฺ นูนต้องแต่งหนังสื อ อาดาบุลมุอลั ลิมีน ขึ้นมาเพื่อที่จะตอบปั ญหาที่ยงั คาใจอยู่ เช่น ค่าจ้างของ
ผูส้ อน การตีเด็กและอื่นๆ
โดยทัว่ ไปแล้วหนังสื ออาดาบุลอัลลิมีนเป็ นตาราที่แต่งขึ้นมาเพื่อตอบข้อสงสัยหรื อ
ประเด็นปั ญหาทางการศึกษาที่คาใจในยุคของท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูน(Hijazi,1986:43)

ปัจจัยสาคัญทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อแนวคิดของท่านมุหัมมัดบินสะหฺนูน


สามปั จจัยสาคัญที่มีอิทธิ พลต่อแนวคิดของท่านอิบนุ สะหู นที่ทาให้ท่านไม่เพียงแต่
เป็ นผูร้ ู ้ในเรื่ องฟิ กฮฺ แต่ท่านยังเป็ นมุรอบบียห์ รื อนักการศึกษาในสมัยนั้น.
1. บิดาของท่าน ซึ่ งบิดาของท่านเป็ นหนึ่ งในบรรดาผูร้ ู ้ ของมัซฮับมาลิ กีย ์ ในตอน
เหนื อของทวีป แอฟรี ก า มี บุคลิ ก ที่ ย าเกรงต่ออัลลอฮฺ ส ารวมตน ออนโยน โดยท่านได้พยายาม
112

ฝึ กฝนสั่งสอนลูกของท่านในเรื่ องศาสนา ซึ่ งท่านมักจะฝึ กฝนให้ลูกได้มีการ อภิ ปราย โต้ตอบใน


ประเด็นวิชาการ
2. ความก้าวหน้าและเจริ ญรุ่ งเรื องทางด้านศิลปวิทยาการสมัยนั้น ซึ่ งถื อว่าเมื อง
ก็อยเราะวานเป็ นหนึ่ งในสามที่เป็ นศูนย์กลางของการรี ยนศึกษาสมัยนั้น คือ หิ ญาซ กอฮิเราะฮฺ และ
ก็อยเราะวาน
3. หลักอากิ ดะฮฺ ของอะฮฺ ลุซซุ นนะฮฺ ถื อว่ามี อิทธิ พลอย่างยิ่งต่อแนวคิ ดของท่าน
มุหมั มัดบินสะหฺ นูน สังเกตจากมัซฮับที่ท่านยึดถือ คือ มัซฮับ อิม่ามมาลิก และท่านอิม่ามมาลิกเป็ น
นักหะดีษ ที่ได้ท่องจาและได้บนั ทึกหะดีษจานวนมากจากท่านนบีT

4.2 ภูมหิ ลังและชีวประวัติของท่ านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย์

4.2.1 ภูมหิ ลังของท่ านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย์

1) สภาพทางการเมือง
หลังจากที่กษัตริ ยอ์ งค์สุดท้ายของคิลาฟะฮฺ อุมยั ยะฮฺ ที่มีชื่อว่า มัรวาน บิน มุหมั มัด
ถูกสังหารเสี ยชีวิต ในปี ฮิจเราะฮศักราชที่ 132 บะนุลอับบาสได้ยึดครองการเป็ นผูน้ าคิลาฟะฮฺ เป็ น
เวลา 5 ศตวรรษ ถือได้วา่ เป็ นยุคทองของคิลาฟะฮฺ อิสลามิยะฮฺ ในสมัยนี้ ในทุกมิติของการดาเนิ น
ชี วิต ในด้านความรู ้ ความเจริ ญรุ่ งเรื อง ด้านการผลิ ต นอกจากว่าสมัยนี้ มีการเปลี่ ยนแปลงทางด้าน
การเมื องการปกครองเป็ นการเปลี่ ยนแปลงที่ ร้ายแรงถึ ง ขั้นวิก ฤติ คือในสมัย การปกครองของคิ
ลาฟะฮฺ อบั บาสิ ยะฮฺ มีสองเหตุการใหญ่ๆที่เกิ ดขึ้น เหตุการณ์ แรก สงครามครู เสดที่เกิ ดขึ้นแถวชาม
และบัย ติลมักดิ ษ เป็ นเวลา สอง ศตวรรษ เหตุการณ์ ที่สอง สงครามมองโกเลี ย ที่ ทาลายระบบคิ
ลาฟะฮฺ อิสลามิยะฮฺที่แบกแดด และขจัดความรุ่ งโรจน์รุ่งเรื องของอิสลามในสมัยนั้น
นักประวัติศาสตร์ ได้จาแนกการปกครองสมัยอัลอับบาสี ย ์ ออกเป็ น สี่ สมัยด้วยกัน
คือ
สมัยแรก
เริ่ มจาก การได้รับอานาจการปกครองของอบี อสั สาฟาหฺ ในปี ฮ.ศ.ที่132 โดยเป็ น
ระยะเวลาการปกครองเป็ นหนึ่งศตวรรษ จนถึงสมัยการปกครองของ อัลมุตะวักกิล ในปี ที่ 232 ฮ.ศ.
ซึ่ ง ยุ ค นี้ ถื อได้ว่า เป็ นยุ ค ทองของคิ ล าฟะฮฺ อิ ส ลามิ ย ะฮฺ ที่ ส ามารถปกครองบริ หารบ้า นเมื อ งด้ว ย
คุณธรรมและความยุติธรรม
113

สมัยทีส่ อง
เริ่ มจากปี ฮ.ศ ที่ 232 –ฮ.ศ.ที่ 334 ด้วยการปกครองของ อัลบุวยั ฮี ย ์ ในสมัยนี้ มีการ
เปลี่ ยนแปลงทางการเมือง คือ ชาวอัลอัตรอกเป็ นผูท้ ี่ปกครองประเทศ และเป็ นที่อลั มุอฺตาสิ มพามา
อาศัยที่แบกแดด

สมัยทีส่ าม
สมัยนี้ ถูกเรี ยกว่าสมัย อัลบุ วยั ฮี ย ์ เริ่ มในปี ฮ.ศ. ที่ 334 ถึ ง ฮ.ศ.ที่ 447.เป็ นสมัยที่
อัลบุวยั ฮยูนเป็ นผูป้ กครองประเทศ

สมัยทีส่ ี่
สมัย นี้ ถู ก เรี ย กว่า สมัย สั ล ยูก เริ่ ม ด้ว ยการก าเนิ ดราชวงค์สั ล ยูก ตั้ง แต่ ปี ฮ.ศ.ที่
447.656 คือเป็ นสมัยที่ชาวมองโกเลียได้ครอบครองส่ วนใหญ่ของประเทศมุสลิม สมัยนี้ คือสมัยที่มี
ความสาคัญมากสาหรับผูว้ จิ ยั เพราะเป็ นสมัยที่กาเนิด ท่านบุรฮานุดีน อัลซัรนูญีย ์
สัล ยูก หรื อเซลจูค เป็ นกลุ่ ม หนึ่ ง ของชาวตุ ร กฺ ที่ มี อานาจในการบริ หารประเทศ
บ้านเมืองในแบกแดด ซึ่ งคอลี ฟะฮฺ ไม่มีอานาจใดๆนอกจากอานาจทางศาสนาในวันสาคัญเท่านั้น
เช่ น วันอี ด แต่ใ นเรื่ องความสัม พันธ์ ระหว่างคิ ล าฟะฮฺ ก ับอัสสั ลยูก ดี ก ว่า ความสั มพันธ์ ระหว่า ง
สถาบันคิลาฟะฮฺกบั อัลบุวยั ฮิยนี ในเรื่ องการให้เกียรติกบั สถาบันอัลคิลาฟะฮฺ โดยมูลเหตุที่ชาวอัลสัล
ยูกเป็ นกลุ่มที่ยดึ มัน่ ในศาสนา ดังนั้นจึงให้เกียรติกบั ศาสนาที่ได้นบั ถือโดยสถาบันคิลาฟะฮฺ อลั อับบา
สิ ยะฮฺ(Sakir, 1987 : 205)
ชื่ อเสี ยงของเมืองแบกแดดได้กลับมาอีกครั้ง ถื อว่าเป็ นเมืองหลวงที่บรรดาอัลคุลา
ฟาอฺ ได้ปฏิบตั ิภารกิจทางศาสนา และกลุ่มของอัลสะลาญิเกาะฮฺ ได้ยึดมัน่ ในทัศนะของอะหฺ ลุสสุ น
นะฮฺ ด้วยการยึดมัน่ มัซฮับอะหฺ ลุสสุ นนะฮฺ ของชาวอัลสะลาญิเกาะฮฺ ทาให้เป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้
บ้านเมืองเกิดความเข็มแขง และเป็ นปึ กแผ่นอันหนึ่งอันเดียวกัน

2) สภาพทางสั งคม
สภาพทางสังคมในสมัยท่านบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญียส์ ามารถจาแนกประเภทต่างๆ
ของการอาศัยอยูใ่ นสังคมดังนี้
ชนชั้นวรรณะของผูค้ นในสังคม
สามารถจาแนกระดับชนชั้นวรรณะของผูค้ นที่อาศัยอยูใ่ นสังคมดังนี้
1. ชนชั้นพิเศษ หรื อชนชั้นสู ง
114

คือชนชั้นเคาะลีฟะฮฺ หรื อผูค้ นในระดับเคาะลีฟะฮฺ เครื อญาติของเคาะลีฟะฮฺ รวมถึงคณะรัต


มนตรี คณะบริ หารประเทศ ศาลต่างๆรวมถึงนักปราชญ์ นักกวี
2. ชนชั้นอะหฺ ลุลซิ มมะฮฺ
คือชาวคริ ส ต์และชาวยิว ที่ ยืนยัดในศาสนาของพวกเขา จนกลายเป็ นเฉลยให้กบั
ประเทศอิ ส ลาม ส่ ว นสาเหตุ ก ารเรี ย กพวกคนเหล่ า นี้ ว่ า อะหฺ ลุ ล ซิ ม มะฮฺ ซึ่ ง ซิ ม มะฮฺ แ ปลว่ า
สนธิ สัญญา คือ การที่ ได้ทาสนธิ สัญญาระหว่างพวกเขาและมุสลิ ม ว่าต้องจ่ายญิ ซยะฮฺ เพื่อให้รัฐ
อิสลามได้ปกป้ องพวกเขาเหล่ านั้น และพวกเขาเหล่ านั้นต้องจานนอยู่ภายใต้การปกครองของรั ฐ
อิสลามพร้อมอยูภ่ ายใต้บทบัญญัติและรัฐธรรมนูญของอิสลาม อิสลามอนุ ญาติให้มุสลิมแต่งงานกับ
พวกเขา และอนุญาติรับประทานเนื้อสัตว์ที่ได้เชื อดโดยพวกเขา
3. ชาวอะฮฺ ลุลซิ มมะฮฺได้รับสิ ทธิ เสรี ภาพทางศาสนาจากรัฐอิ สลาม ซึ่ งโบสถ์ของ
พวกเขาได้แพร่ กระจ่ายในประเทศมุสลิม
4.ชนชั้นกลาง
คือบุคคลทัว่ ไป เช่นผูป้ ระกอบอาชีพ วิศวกรรม เกษตรกรรม ค้าขาย ทาสวน ทหาร
ชนชั้นนี้ มีทุ กเชื้ อชาติ และสี ผิว ไม่ว่าจะเป็ นคนอาหรั บ เปอร์ เซี ย ตุ รกฺ นัมตฺ อัรมัน อัก รอด และ
บัรบัร ล้วนแต่อยู่ใต้ธงการปกครองของอิ สลาม การที่ เรี ยกพวกเขาว่า อาหรั บมาจากสองสาเหตุ
ด้วยกัน หนึ่ง เพราะคนอาหรับถือเป็ นประชากรส่ วนใหญ่ของประเทศ สอง เพราะภาษาอาหรับเป็ น
ภาษาที่คนส่ วนใช้ในประเทศ โดยเฉพาะการติ ดต่อทางราชการ ส่ วนใหญ่จะใช้ภาษาอาหรับ (Ibn
Jauzi,1358:223)

5.ชนชั้นทาส
คือเฉลยศึกสงคราม เช่นชั้นทาสในประเทศมุสลิม มีหลากหลายเชื้ อชาติ เช่น อัศศอกละบีย ์
โรม ซันจีย ์ ตุรกี เป็ นต้น

3) สภาพทางเศรษฐกิจ
ตามที่ได้กล่ าวมาข้างต้นว่าชนชั้นวรรณะของผูค้ นในสมัยนั้นได้แบ่งออกเป็ น สี่
ชนชั้น คือชนชั้นพิเศษ มีความความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ มีชีวิตอยูท่ ี่ดี ส่ วนชนชั้นกลาง ประสบกับ
ความยากจน ขัดสน และได้มีการแพร่ หลายสมัยนั้นในเรื่ องการแบ่งที่ดินสาหรับผูน้ าและผูบ้ ริ หาร
ประเทศแทนเงินเดือนของพวกเขา และบุคคลแรกที่ได้กระทาเช่นนั้นคือ นิ ศอมุลมะลิก ในที่สุดผล
พวงจากการแบ่ งทรั พ ยากรที่ ไ ม่ เป็ นธรรม ท าให้เกิ ดชลมุ น วุ่นวายในบ้านเมื อง(al-Asfahani :
1978:187)
115

4) สภาพทางการศึกษา
สมัยนี้ มีความรุ่ งโรจน์รุ่งเรื อนในการแสวงหาความรู ้ ซึ่ งในสมัยนี้ มีการแพร่ หลาย
ของห้องสมุ ด โดยบรรดาเคาะลี ฟะฮฺ ผูน้ า รั ฐมนตรี ผูว้ ่า และบรรดาอุ ลามาอฺ ต่างกันซื้ อหนังสื อ
คัดลอก ดัง นั้น ท าให้ มี ก ารแพร่ ก ระจายของห้องสมุ ด และส่ ง ผลต่ อ การก าเนิ ดของสถานผลิ ต
กระดาษขึ้นมา ซึ่ งดารุ ล หิ กมะฮฺ ถือว่าเป็ นห้องสมุดแรกๆ ที่เคาะลีฟะฮฺ อัลมะอฺ มูนได้สร้างขึ้นมาที่
แบกแดด และได้รวบรวมหนังสื อของชาวกรี ก จากจักวรรดิ อัลบีซันตียะฮฺ ซ่ ึ งได้แปลเป็ นภาษา
อาหรับ ซึ่ งห้องสมุดนั้นได้มีหนังสื อทุกแขนงวิชาจนถึงมายุคของอัตตะตารในปี ที่ 656 ฮิ.ศ.(Amin
:1935:65.66)

4.2.2 ชีวประวัติของบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย์

เชื้อสายและวงศ์ ตระกูล
คาว่า ซัรนู ญีย ์ มาจากคาว่า ซัรนูจ ซึ่ งเป็ นชื่ อหนึ่ งของเมืองในเปอร์ เซี ย เมืองหลวง
ของแคว้น อัซซะจีสฐานในสมัยก่อน(al-Bagdadi: 1979:138) ยากูต อัลหะมาวียไ์ ด้กล่าวในหนังสื อ
มุอฺญมั อัลบุลดาน (‫ (معجمِالبلدان‬ว่าเมือง ซัรนูจ คือเมืองที่มีชื่อเสี ยงตั้งอยูหลังแม่น้ าหนึ่ งหลังจาก
เมืองคูญนั ด์คือตั้งอยูห่ ลังแม่น้ า ญีหูน(อามูดาร์ ยา)ในเคาะรอสาน และบุคคลแรกที่ได้ส่งกองทัพเพื่อ
พิชิตเมืองดังกล่าว คือ หัจญาจ บิน ยูยุฟอัสสะกอฟี ย์ดว้ ยคาสั่งของท่านเคาะลีฟะฮฺ อบั ดุ ลมาลิ ก บิน
มิรวาน(เสี ยชีวติ ฮ.ศ. 86)

การถือกาเนิด
หนังสื อประวัติศาสตร์ และหนังสื อ อัต เฏาะบากอตและหนังสื ออัตตะรอญุม ไม่ได้
ระบุ ถึงวันเดื อนปี เกิ ดของท่านอัลซัรนู ญีย ์ แต่ได้มีการถกเถี ยงกันในปี การเสี ยชี วิตของท่านโดย
บรรดานักประวัติศาสตร์ ในการกาหนดวันเดื อนปี ที่ เสี ยชี วิตของท่าน ส่ วนในหนังสื อที่ได้ทาการ
ตะหฺ กีกโดยท่าน อุษมาน ได้ระบุวา่ ท่านอัซซัรนูญียื ได้เสี ยชี วิตในปี ที่ ฮ.ศ.591(az.zarnuji:1397:25)
และได้มีการระบุในบางหนังสื อประวัติศาสตร์ วา่ ท่านได้เสี ยชีวติ ในปี ที่ ฮ.ศ. 620 เช่นหนังสื อ อัลญะ
วาฮิร อัลมุฎีอะห์ ( ‫)اجلواهرِاملضيئةِِللقرشي‬และหนังสื อ )‫(دائرةِاملعارفِاإلسالمية‬ได้กล่าวว่า อิหม่าม
อัลซัรนูญีย ์ ได้ร่วมสมัยและรุ่ นเดียวกับท่านอันนุอฺมาน บิน อิบรอฮีม อัลซัรนูญีย ์ ซึ่ งเสี ยชีวิตในปี ที่
ฮ.ศ.640 และในหนังสื อ )‫ (املوسوعةِامليسرة‬ว่าบุ รฮานุ ดดี นได้เสี ยชี วิตในปี ที่ ฮ.ศ.ที่ 620และผูแ้ ต่ง
หนังสื อ (ِ‫ )اهلداية‬บุ รฮานุ ดดี น อัลมิรฆินานี ย ์ ที่ท่านอัลซัรนูญียไ์ ด้ขอความเมตตาจากอัลลอฮฺ เพื่อ
116

ประสบให้กบั ท่านอัลมิรฆินานี ยเ์ ป็ นประจาโดยเฉพาะในหนังสื อของท่าน ซึ่ งท่านอัลมิรฆินานี ยไ็ ด้


เสี ย ชี วิตในปี ฮิ จเราะฮฺ ศ กั ราชที่ 593 ก็ แสดงว่า ท่ า นอัล ซัรนู ญีย ์ไ ด้เสี ย ชี วิตหลัง จากนั้น(al-
Ahwani:1955:239)
จากข้อมูลข้างต้นผูว้ ิจยั เห็นว่าท่านอัซซัรณู ญียไ์ ด้มีชีวิตอยูใ่ นช่วงท้ายของศตวรรษ
ที่เจ็ดและช่วงแรกของศตวรรษที่เป็ ดแห่งฮิจเราะฮฺศกั ราช

การเติบโต(ปฐมวัย)
บรรดานัก ปราชญ์ส่วนใหญ่ สมมติ ฐานว่า ท่านอัซซัรนญี ยไ์ ด้ใช้ชีวิตอยู่ในเมื อง
ซัรนูจ(zarnuj) ไม่ได้มีเรื่ องราวอะไรต่างๆที่บงชี้วา่ ท่านอัลซัรนูญียเ์ ป็ นนักเขียนที่โด่งดังหรื อนักกวีที่
มีชื่อเสี ยงแต่ไม่มีขอ้ สงสัยว่าท่านอัลซัรนู ญียเ์ ริ่ มแรกของการศึ กษาคือ ได้ศึกษาในสถานศึ กษาที่
เรี ยกว่า อัลกุตตาบ(alkuttab)โดยเหมือนกับคนทัว่ ไปในสมัยนั้นที่มกั จะส่ งลูกๆของพวกเขาไปเรี ยน
ที่ อลั กุ ตตาบที่ มี ก ารแพร่ หลายในสมัย นั้นซึ่ งมี ห ลัก สู ต รในการเรี ย นการสอนในอัล กุ ตตาบ คื อ
การศึ ก ษาอัล กุ ร อาน การเขี ย นอัก ษรภาษาอาหรั บ บทบัญ ญัติ ข องศาสนา ส่ ว นหนึ่ งของวิ ช า
คณิ ตศาสตร์ พื้นฐานภาษาอาหรับและไวยากรณ์ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์ เซี ย บางส่ วนของวิชากวี
และอะดับ โดยปกติแล้วหลังจากได้ศึกษาอัลกุรอาน นักเรี ยนจะไปเรี ยนต่อที่มสั ยิดจากคณาจารย์
หลายๆท่านพร้ อมกับศึกษาความรู ้ ในทุกแขนงวิชา และที่ชดั เจนอัลซัรนู ญียแ์ ป็ นลูกศิษย์ของบุรฮา
นุ ดดีน อัลมิรฆินานี ย ์ ผูแ้ ต่งหนังสื อ อัฮิดายะห์(alhidayah)ที่ได้จดั ทาการเรี ยนการสอนในมัสยิดใน
เมืองสะมุกอนด์และในเมืองบุคอรอ

การศึกษาของท่ านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์
อัลซัรนูญียไ์ ด้เติบโตท่ามกลางของความหลากหลายทางด้านความรู ้ ประเพณี และ
วัฒนธรรม และได้ซึมซับด้วยภาษาอาหรับเพราะในช่ วงที่ท่านอยู่ในวัยเด็กท่านได้ศึกษาเล่าเรี ยน
เกี่ ยวกับ การอ่าน การเขี ยน อัลกุรอาน ภาษาอาหรั บ กวี บทกลอนอาหรั บ วิชาฟิ กฮฺ วิชากุรอาน
วิ ช าตัฟ สี ร วิ ช ากิ ร ออาต วิ ช าอัล หะดี ษ วิ ช า อัล อัค บาร บรรดาวิ ช าเหลานี้ ท่ า นได้ศึ ก ษาใน
สถานศึกษาคือที่มสั ยิดของเมืองใหญ่ๆ เช่น สามุรกอนย์ และบุคอรอ
เช่นเดียวกันอัลซัรนูญียไ์ ด้สัมผัสกับวัฒนธรรมเปอร์ เซี ย และอินเดียโดยเฉพาะท่าน
สามารถที่จะใช้ภาษาเปอร์ เซี ยอย่างคล่อง เสมือนกับเป็ นเจ้าของภาษา ซึ่ งสามารถสังเกตจากบทกวีที
ท่านได้ประพันธ์เป็ นภาษาเปอร์ เซี ย และบางส่ วนของประโยคในหนังสื อ(ตะอฺ ลีม มุตะอัลลิม)ของ
ท่าน
117

จากแหล่ ง ข้อ มู ล ที่ ไ ด้ก ล่ า วข้า งต้นสามารถสรุ ป ได้ว่า ท่ า นอัล ซัรนู ญีย ์ไ ด้เรี ย นรู้
เกี่ ยวกับวัฒนธรรมและความรู ้ อิสลาม ที่ ยืนอยู่บนพื้นฐาน อัลกุรอาน อัลหะดีษ ฟิ กฮฺ โดยเฉพาะ
ฟิ กฮฺหะนาฟี ภาษาอาหรับ กวี เช่นเดียวกันได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับวัฒนธรรมและความรู้ของชาวเปอร์ เซี ย
วิชาดาราศาสตร์ ปรัชญา ตรรกวิทยาและอื่นๆ

บุคลิกภาพและอุปนิสัยของท่านอัลซัรนูญยี ์
การขาดข้อมูลเกี่ ยวชี วประวัติของท่านอัลซัรนู ญียไ์ ม่ใช่ สิ่งที่ เป็ นอุปสรรค์ในการ
วิเคราะห์เกี่ยวกับบุคลิกภาพของท่านอัลซัรนูญีย ์ จากที่ได้อ่านหนังสื อ ตะอฺ ลีมุลมุตะอัลลิมของท่าน
อัลซัรนูญีย ์ จะเห็นว่าท่านเป็ นนักฟิ กฮฺ ที่โน้มเอียงไปทางมัซฮับหะนาฟี ย์โดยสังเกตุจากหนังสื อของ
ท่านที่ได้ยก คากล่าวของนักปราชญ์ที่สังกัดมัซฮับหะนาฟี ในขณะที่หนังสื อไม่ได้มีความเกี่ยวข้อง
กับเรื่ องฟิ กฮฺแต่อย่างใด และไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับมัซฮับอบีหะนีฟะฮฺ

คณาจารย์ ของท่ านฮัซซัรนูญยี ์


อัลซัรนูญียไ์ ด้ศึกษาเล่าเรี ยนจากอาจารย์จานวนหลายท่าน โดยอาจารย์ที่โดงดังสมัย
ของท่าน และอาจารย์ที่ได้แต่งตาราเกี่ยวกับฟิ กฮฺและอะดับ อาจารย์ทุกท่านได้สังกัดมัซฮับหะนาฟี
ในหนังสื อ ตะอฺลีม อัลมุตะอัลลิม อัลซัรนูญียไ์ ด้อา้ งคาพูดถึงบรรดานักปราชญ์เหล่านี้
1.บุรฮานุดดีน อาลี บิน อะบี บักร อัลมิรฆินานี (เสี ยชีวิต ปี ฮ.ศ.593) ผูแ้ ต่งหนังสื อ
(‫ )اهلدايةِيفِالفقه‬และหนังสื ออื่นๆ และมี ผลงานทางด้านวิชาการอีกมากหมาย เช่ น หนังสื อ อัลฟะ
รออิด (‫ )الفرائض‬มัจญ์มูอฺอนั นะวาซิล(‫ )جمموعِالنوازل‬อัลมุนตะกอ(‫ )املنتقى‬กิฟายะตุลมุนตะฮา(ِ‫كفاية‬
‫ )املنتهى‬อัต ตะจญ์นี ส (‫)التجنيس‬และอัล มะซิ ด )‫( ( واملزيد‬Al-Mirghinani:1965:2 )และท่ า นเป็ น
นักปราชญ์อวุโสที่สังกัดมัซฮับหะนาฟี ในยุคนั้น (al-kurashi:1978:265)

2.มุ หั ม มั ด อิ บนุ บะ กั ร อั ล ญู ฆี ย์ ท่ า นเคย เป็ น มุ ฟ ตี ย์ ใน เมื องบุ คอรี ย์


(al-Zarkali,1984:54)
3.หัมมาด บิน อิบรอฮีม บิน อิสมาอิล บิน อะหฺ มดั บิน อิสหาก บิน ชาบีบ เกาะวา
มุดดีนอิบนุ อิหม่าม เกาะวามุดดีน อัศศอฟาร์ (เสี ยชี วิต ในปี ฮ.ศ. 493 ) เป็ นชาวบุคอรอ มีความรู้
เกี่ยวกับ อิลมุลกะลาม ฟิ กฮฺ และอะดับ เป็ นอิม่ามนาละหมาดในวันศุกร์ ไม่ได้เป็ นผูอ้ ่านคุตบะห์ นี้
คือประเภณี ของชาวบุอรอ เคาะฎีบจะไม่เป็ นอิม่ามนาละหมาดในวันศุกร์ โดยจะให้ผทู ้ ี่มีความรู ้และผู ้
น่าเชื่อถือมากกว่าเป็ นผูน้ าละหมาด(al-Tamimi,1403:182)
118

4.มัศอูด บินหุ เซน บิน มุหมั มัด บิน อิบรอฮีม อัลกิชตานี มีฉายานามว่า รุ กนุ ดดี น
(เสี ยชีวติ ปี ฮ.ศ.573)(al-Kanudi:d.n.:213)

5.อัหะสัน บิน มันศูร บิน มะหฺ มูด บิน อับดุลซี ซ อัลอุซญันดีย ์ อัลฟัรฆอนีย ์ อัลหะ
นาฟี ย์ เป็ นที่รู้จกั ด้วยกยฎีย(์ ผูพ้ ิพากษา) คอน ฟัครุ ดดีน อะบีลมุฟาคิร อะบิล มุหาสิ น นักปราชญ์และ
นั ก วิ นิ จ ฉั ย ในเรื่ องต่ า งๆของฟิ กฮฺ ผลงานทางวิ ช าการของท่ า น คื อ หนั ง สื อ อั ล ฟาวา
(kahalah:1376:297)
6.รุ กนุดดีน อัฟัรฆอนีย ์ เป็ น นักปราชญ์และ นักกวี (เสี ย ชีวติ ฮ.ศ. 594)
7.อัลหะสัน บิ น อลี บิน อับดุ ลอะซี ซ บิ น อับดุ ลเราะซาก บิน อบี นัศร์ อัลมิรฆิ
นานีย ์ (al-Tamimi: 1982:95)

วรรณกรรม และผลงานทางวิชาการของอัลซัรนูญยี ์
วรรณกรรมของท่ า นอัล ซัร นู ญี ย ์ ที่ ม าถึ งเราและที่ รู้จ ัก มี เ พี ย งวรรณกรรมเดี ย ว
เท่ า นั้น คื อ หนัง สื อ ตะอฺ ลี มุ ล มุ ต ะอัล ลิ ม เตาะรี กุ ต ตะอัล ลุ ม (‫( )تعليمِاملتعلمِطريقِالتعلم‬Gharbal:
1972:923) มุ หัมมัด บิ น อับดุ ลกอดี ร์ได้กล่ าวว่า สาเหตุ ที่วรรณกรรมของท่านอัลซัรนู ญีย ์ ไม่ได้
มาถึงเราคือเพราะ การสู ญหายของ มัคตูตอต(ต้นฉบับหนังสื อ)อาหรับ อันเนื่ องจากการเกิดสงคราม
มองโกเลี ยที่ชาวมองโกเลี ยได้ทิ้งหลายมัคตูตอตที่ได้เอามาจากห้องสมุดแบกแดดลงไปในทะเล
หรื อ สาเหตุมาจากความละเลยของมุสลิม(al-Zarnuji:1406 24: )

คุณค่ าและความสาคัญของหนังสื อ
วรรณกรรมเล่มนี้ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ซึ่ งถือว่าเป็ นงานชิ้นเอกและเป็ น
ผลงานที่ยิ่งใหญ่ของท่าน และยังเป็ นแหล่งอ้างอิงของเหล่านักเขียนหนังสื อทางวิชาการหลายท่าน
โดยเฉพาะในสาขาศึกษาศาสตร์ หนังสื อเล่มนี้เป็ นที่นิยมกันอย่างแพร่ หลายมิได้จากัดแค่นกั วิชาการ
มุสลิมเท่านั้น แต่ยงั ได้รับการยอมรับจากผูเ้ ชี่ ยวชาญในโลกตะวันออกและบรรดานักเขียนตะวันตก
อีกด้วย นอกจากนี้ยงั มีการเขียนหนังสื อเลียนแบบหนังสื อเล่มนี้ดว้ ย เช่น จีอี วอน กรานาบาวม์(G.E.
Von Grunabaum) และ ทีอ็ม อาเบล (T.M.Abel)โดยใช้ชื่อหนังสื อว่า “การเรี ยนการสอนของผูเ้ รี ยน
และวิธีการเรี ยนรู้ ” (‫ )تعليمِاملتعلمِطريقِالتعلم‬ยังมี คาร์ ล บรอกเกลแมน(Carl Brockelmann)ใช้ชื่อ
หนังสื อว่า “ประวัติความเป็ นมาของวรรณกรรมอาหรับ ” (Geschicte der ArabischenLittratur)และ
เมดฮี นากอสเทน (MedhiNakosten)กับงานเขียนของเขาที่ชื่อว่าประวัติของต้นกาเนิ ดอิสลาม ของ
119

การศึกษาตะวันตก (History of Islamic Origins of Western Education A.D.8001350) และอื่นๆเป็ น


ต้น ( Abuddin Nata, op.cit., h. 107)และนักการศึ กษาถื อว่าหนังสื อของท่านบุรฮานุ ด
ดี นอัลซัรนู ญีย ์เป็ นหนังสื อ พื้นฐานในการอบรมและการศึ กษาที่ เติ มไปด้วยค าตักเตื อนที่ มีความ
แตกต่างจากหนังสื อเล่มอื่นและหนังสื อเล่มนี้ ยงั ได้อา้ งอิงจากอัลกุรอานและหะดีษของท่านรอซู ล
 (al-Zarnuji, 1980 : 14)

ในประเทศอินโดนีเซีย หนังสื อ ‫ تعليمِاملتعلمِطريقِالتعلم‬ได้ใช้ในการเรี ยนการสอน


เกือบทุกสถาบันการศึกษาอิสลาม โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาแบบดั้งเดิมอย่างเช่น โรงเรี ยนประจา
(ปอเนาะ) และยังมีการใช้ในสถาบันการศึกษาแบบสมัยใหม่เช่น PondokPesantrenGontor ในเมือง
Ponorogoจังหวัดชวาตะวันออก ประเทศอินโดนีเซีย

จากหนังสื อดังกล่ าวนี้ ทาให้เราทราบเกี่ ยวกับแนวคิ ดทางการศึ กษาอิ สลามตาม


ที่อลั -ซัรนูญีได้เสนอไว้ ซึ่ งเนื้อหาโดยรวมในหนังสื อเล่มนี้พอจะสรุ ป ออกเป็ น 13 เรื่ อง ดังนี้
1. คุณค่าและความสาคัญของวิชาความรู ้และความเข้าใจทางศาสนา
2. การสร้างเจตนาที่ดี
3. การคัดเลือกวิชาความรู้ที่จะเรี ยน อาจารย์ผสู้ อนและเพื่อนฝูง
4. การให้เกียรติต่อวิชาความรู ้และอาจารย์ผสู ้ อน
5. ความอุตสาหะและฝ่ ายเรี ยนรู้
6. การเริ่ ม การกาหนดและการเรี ยงลาดับในการศึกษาเล่าเรี ยน
7. การศึกษาหาความรู้ให้อยูภ่ ายใต้การดูแลของอัลลอฮฺเพียงผูเ้ ดียว
8. ช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาหาความรู ้
9. ความรักความเมตตาและความตักเตือนซึ่ งกันและกัน
10. พยายามให้ได้มาซึ่ งความรู ้ ที่เป็ นประโยชน์และความเข้าใจในเนื้ อหาความรู ้
มารยาท
11.คุณลักษณะการสารวมตนในช่วงเวลาเรี ยน
12.เคล็ดลับช่วยจาและสาเหตุของการหลงลืม
13.ปั จจัยของการเพิม่ พูนหรื อตัดทอนปั จจัยยังชีพ ในการมีอายุยาวหรื อสั้นลง
120

บทที่ 5

แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺนูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย์

5.1 แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน


5.2 แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์
5.3 สรุ ปแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์

5.1.แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺนูน
ผู ้วิ จ ัย ได้ ก าหนดแนวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หัม มัด บิ น สะหฺ นู น หลัง จากได้
ทาการศึกษาและวิเคราะห์หนังสื อตะอฺ ลีมุล มุตะอัลลิ มของท่าน พร้ อมนาหลักฐานจากอัลกุรอาน
และอัลหะดีษของท่านนบีT มาประกอบการอธิ บาย ดังนี้

5.1.1 ปรัชญาและ เป้าหมายของการศึกษา

5.1.1.1 ปรัชญาการศึกษา
ปรั ช ญาการศึ ก ษาหมายถึ งความเชื่ อหรื อความคิ ด ที่ เกี่ ย วกับ การศึ ก ษาซึ่ ง แสดง
ออกมาในรู ปของอุดมการณ์ ทฤษฎี ต่างๆเพื่อเป็ นแนวทางในการจัดการศึกษาโดยปกติแล้วปรัชญา
การศึกษาจะตอบคาถาม 2 ประการ คือ การศึ กษาจะพัฒนาคนให้มีคุณลักษณะอย่างไร อะไรคื อ
ความรู ้ ที่ มี คุณค่ า และมี ป ระโยชน์ ต่ อมนุ ษย์ ซึ่ ง ในอิ ส ลามค าที่ ม กั ใช้แทนค าว่า ปรั ช ญา หรื อ
philosophy คือ คาว่า หิ กมะฮฺ ซึ่ งหมายถึ งวิทยปั ญญา คาว่าหิ กมะฮฺ จะถูกกล่าวไว้ใน อัลกุรอาน
บ่อยครั้ง(ณรงค์รักษาเขต, 2551: 4 )
เช่นในโองการ ของซูเราะฮฺ อลั บะกอเราะฮฺ ดังที่อลั ลอฮฺตรัสไว้วา่

        

          


121

ความว่า “พระองค์ท รงประทานหิ ก มะฮฺ ใ ห้ แ ก่ ผูท้ ี่ พ ระองค์ท รง


ประสงค์และผูใ้ ดได้รับหิ กมะฮฺ แน่นอนเขาก็ได้รับความอันดี”
(อัลบะกอเราะฮฺ : 269)
หลังจากผูว้ ิจยั ได้ศึ กษาวิเคราะห์ สัง เคราะห์ หนัง สื ออาดาบุ ล มุ อลั ลิ มี นของท่ า น
มุหมั มัดบินสะหฺ นูน จึงขอเสนอแนวคิดทางการศึกษาของท่านที่เกี่ยวกับปรัชญาการศึกษา ดังนี้
1. ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยน
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า ท่านนบีTได้กล่าวว่า
‫(( أميا مؤدب ويل ثالثة صبية من هذه األمة فلم يعلمهم بالسوية‬
))‫فقريهم مع غنيهم وغنيهم مع فقريهم حشر يوم القيامة مع اخلائنني‬

“ผูส้ อนท่ า นใดที่ ส อนผูเ้ รี ย นตั้ง แต่ ส ามคนขึ้ น ไปและไม่ ไ ด้ใ ห้


ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยนที่ยากจนกับผูเ้ รี ยนที่ร่ ารวยเขาจะถูก
รวบรวมในวัน กิ ย ามะฮฺ พ ร้ อ มกับ บรรดาผู ้ที่ ท รยศต่ อ อัล ลอฮฺ ”
(Ibn Sahnun, 1972:85)
ท่านได้กล่าวอีกว่า อัลหะซันได้กล่าวว่า

– ‫((إذا قوطع الْ ُمعلِّم على األجرة فلم يعدل بينهم – أي الصبيان‬
))‫ُكتب من الظلمة‬

“เมื่ อ ผู ้ส อนถู ก ก าหนดค่ า จ้า งแต่ เ ขาไม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามเสมอภาค


ระหว่างผูเ้ รี ยน เขาจะถูกบันทึกอยูใ่ นจาพวกที่อธรรม”
(Ibn Sahnun, 1972:85)
การให้ความเสมอภาคและความยุติธรรมต่อผูเ้ รี ยนเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นอย่างยิ่งสาหรับ
ผูส้ อนที่จะต้องปฏิบตั ิ เพราะผูส้ อนถือว่าเป็ นผูน้ าในห้องเรี ยนและผูเ้ รี ยนเท่ากับเป็ นผูต้ ามหรื อผูท้ ี่
อยูภ่ ายใต้การบังคับบัญชาของผูส้ อนและผูส้ อนจะถูกสอบสวนในวันกิยามะฮฺ ท่านนบีได้กล่าวว่า

))...‫((كلكم راع وكلكم مسئول عن رعيته‬

ความว่า“ทุ กคนในหมู่พวกท่านเป็ นผูร้ ั บผิดชอบ และทุ กคนใน


หมู่พวกท่านต้องถูกสอบสวนต่อความรับผิดชอบของเขา”
(al-Bukhari,1986 :849, Muslim,1996:3414)
122

อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

        

       

 

“แท้จริ ง อัล ลอฮฺ ทรงใช้ให้รั กษาความยุติธ รรมและทาดี และการ


บริ จาคแก่ญาติใกล้ชิดและให้ละเว้นจากการทาลามกและการชัว่ ช้า
และการอธรรมพระองค์ทรงตัก เตือนพวกเจ้าเพื่ อพวกเจ้าจัก ได้
ราลึก”
(อันนะห์ลฺ 16: 90)
2. คานึงถึงความแตกต่างระหว่างผูห้ ญิงกับผูช้ าย
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า
‫((وأكره للمعلم أن يعلم اجلواري خيلطهم مع الغلمان ألن ذلك‬
)) ‫فساد هلم‬

“ฉั น ไม่ เ ห็ น ด้ว ยที่ ผู ้ส อนต้อ งสอนเด็ ก ผู ้ห ญิ ง หรื อ มี ก ารปะปน


ระหว่างชายกับหญิงเพราะมันนาไปสู่ ฟะสาด” (การบ่อนทาลาย
และความเสี ยหาย) (Ibn Sahnun, 1972:117)

แท้จ ริ ง อัล ลอฮ์ท รงสร้ า งหญิ ง ชายให้ มี ค วามโดดเด่ น ในความเป็ นธรรมชาติ ที่
แตกต่างกัน เพื่อให้แต่ละฝ่ ายมีหน้าที่ที่ไม่เหมือนกัน โดยอัลลอฮ์ได้ทรงสร้างผูห้ ญิงคนแรก (นางฮา
วาฮ์) มาจากซี่ โครงของศาสดาอาดัม เพื่อให้เป็ นคู่ครองของท่าน ดังที่อลั ลอฮ์ทรงตรัสว่า
        

    


123

“พระองค์น้ นั คื อผูท้ ี่ ได้ทรงบังเกิ ดพวกเจ้าจากชี วิตเดี ยว (คือท่าน


อาดัม) และได้ทรงให้มีข้ ึนจากชี วิตนั้นซึ่ งคู่ครองของชี วิตนั้น (คือ
พระนางฮาวาฮ์) เพื่อเขาจะได้สงบมัน่ อยูก่ บั นาง”
(อัลอะร๊ อฟ: 189)

อัลลอฮฺได้ตรัสอีกว่า
        

        

        

        

         

ความว่ า “บรรดาชายนั้น คื อผูท้ ี่ ท าหน้าที่ ปกครองเลี้ ย งดู ผูห้ ญิ ง


เนื่ องด้วยการที่อลั ลอฮฺ ได้ทรงให้บางคนของพวกเขาเหนื อกว่าอีก
บางคน และด้วยการที่ พวกเขาได้จ่ายไปจากทรั พ ย์ข องพวกเขา
บรรดากุลสตรี น้ นั คือผูจ้ งรักภักดี ผูร้ ักษาในทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยูล่ บั
หลัง สามี เนื่ องด้วยสิ่ ง ที่ อลั ลอฮฺ ท รงรั กษาไว้ และบรรดาหญิ ง ที่
พวกเจ้า หวัน่ เกรงในความดื้ อดึ งของนางนั้น ก็ จงกล่ าวตักเตื อน
นางและทอดทิ้งไว้แต่ลาพังในที่นอน และจงเฆี่ยนนางแต่ถา้ นาง
เชื่ อฟั งพวกเจ้าแล้ว ก็จงอย่าหาทางเอาเรื่ องแก่นาง แท้จริ งอัลลอฮฺ
เป็ นผูท้ รงสู งส่ งผูท้ รงเกรี ยงไกร
(อัน-นิซาอฺ : 34)

อายะฮฺ ขา้ งต้นได้ประกาศให้ชายเป็ นเก๊าวามูน กล่ าวคื อเป็ นผูค้ ุ ม้ ครองและผูห้ า


ปั จจัยยังชี พในครอบครัวเพื่อสร้างความสงบสุ ขและความสามัคคีปรองดองภายในครอบครัว เก๊าวา
มูนหมายถึงบุคคลที่ตอ้ งรับผิดชอบในการปกป้ องผลประโยชน์ของบุคคลอื่น และได้มีรายงานจาก
ท่านอบีฮุรอยเราะห์ว่า ท่านนบีได้กล่าวถึงสตรี เพศว่า
124

‫ َوإِن أ َْع َو َج َش ْي ٍء‬،‫ت ِم ْن ِضلَ ٍع‬ ِ ِ ‫(( است وصوا بِالن‬


ْ ‫ فَِإن الْ َم ْرأََة ُخل َق‬،‫ِّساء‬
َ ُْ ْ َْ
1468 ‫ ومسلم برقم‬3331 ‫الضلَ ِع أ َْع ََلهُ )) رواه البخاري برقم‬ ِّ ‫ِف‬
ความว่า “พวกท่านจงกล่ าวกับสตรี ด้วยถ้อยคาที่ดีๆ แท้จริ งแล้ว
สตรี น้ นั ถูกสร้างมาจากซี่ โครง (ที่มีลกั ษณะงอ) และส่ วนที่งอที่สุด
ของซี่ โครงก็คือซี่ โครงด้านบนสุ ด ดังนั้นหากว่าท่านไปดัดให้มนั
ตรง มันต้องหักเป็ นแน่ และหากท่านปล่ อยให้มนั งออยู่อย่างนั้น
มันก็คงงออยูอ่ ย่างนั้น ดังนั้นพวกท่านจงกล่าวแก่สตรี ดว้ ยถ้อยคา
ที่ดี”
(al-Bukhari, 1986: 3331,Muslim,1996:1468)

จากวจนะของท่านศาสดานี้ช้ ี ชดั ว่าสตรี ใช่วา่ จะมีความแตกต่างจากผูช้ ายด้านสรี ระ


เพียงอย่างเดียว ยิง่ ไปกว่านั้นยังมีความแตกต่างทางจิตใจและสติปัญญาอีกด้วย ด้วยเหตุดงั กล่าว
ผูส้ อนต้องเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติด้ งั เดิมของผูห้ ญิงและผูช้ ายที่อลั ลอฮฺได้สร้างมาเพราะมันจะช่วย
ในการใช้วธิ ีและเทคนิคการสอนที่เหมาะสมของแต่ละเพศ

3. บทลงโทษมีไว้เพื่อสร้างความเสมอภาคและความยุติธรรม
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนอนุญาตให้ลงโทษผูเ้ รี ยนภายใต้เงื่อนไข หลายประการดังคา
กล่าวของท่านที่ได้กล่าวว่า
،‫ص به يوم القيامة‬ ِ
َ ‫ فما زاد عليه قُوص‬،‫((أدب الصيب ثَلث درر‬
‫ فما زاد عنه إىل‬،‫وأدب املسلم ف غري احلد عشر إىل مخس عشرة‬
))‫ضرب يوم القيامة‬
َ ُ‫العشرين ي‬
“การตีเด็กนั้นแค่สามครั้ง ถ้าหากว่าเกินกว่านั้นเขาจะถูกลงโทษใน
วันกิยามะฮฺ” (Ibn Sahnun, 1972:92-93)

ท่านได้กล่าวอีกว่า ท่านนบีได้กล่าวว่า

‫وأغلظهم على‬، ‫)) شرار أميت معلما صبياهنم أقلهم رمحة لليتيم‬
((‫املسكني‬
125

“บุ ค คลที่ เลวที่ สุ ดในประชาชาติ ข องฉัน คื อ ผูส้ อนที่ ไ ม่ มี ค วาม


เมตตาต่อเด็กและผูม้ ีจิตใจแข็งกระด้างต่อผูย้ ากไร้”
(Ibn Sahnun, 1972:89)

5.1.1.2 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ ของการศึกษา


เป้ าหมายและวัตถุประสงค์เป็ นสิ่ งที่สาคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการศึกษาตามแนวทาง
ของอิสลามและแนวทางของการศึกษาทัว่ ไป เพราะเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ถือได้ว่าเป็ นตัวที่
สาคัญและมีบทบาทอย่างยิง่ ในการที่จะกาหนดแนวทางและทิศทางในการจัดการศึกษา
ในตาราอาดาบุลมุอลั ลิมีน ท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนมิได้กล่าวอย่างชัดเจนเกี่ยวกับ
เป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์ของการศึกษา แต่ท่านพูดถึงเนื้ อหาหลักสู ตรและมารยาทของการศึกษา
ที่บ่งชี้ถึงเป้ าหมายของการศึกษา
จากการสังเกตหนังสื อของท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนซึ่ งสามารถสรุ ปได้วา่ เป้ าหมาย
ของการศึกษาตามแนวคิดของท่าน คือ
1. เพื่อยึดมัน่ ในศาสนา

การเรี ยนการสอนอัลกุรอาน และการศึกษาความรู ้ทางศาสนาทัว่ ไป เช่น ฟิ กฮฺ


(ศาสนบัญญัติ) อะกีดะฮฺ(หลักการศรัทธา) ตัฟสี ร(อรรถาธิบายอัลกุรอาน) และหะดีษ(วจนะของนบี)
เสมือนกับการทาอิบาดะฮฺ และเคารพภักดี ต่ออัลลอฮฺ ซึ่ งในประวัติศาสตร์ อิสลามตั้งแต่ยุคก่อนๆ
บรรดานัก ปราชญ์ไ ด้ทาการสอนศาสนาโดยไม่ไ ด้รับ ค่ าตอบแทนใดๆ แต่ ได้ท าการสอนเพื่ อ
แสวงหาผลบุญจากพระองค์อลั ลอฮฺ เท่านั้น ดังนั้นจะเห็นได้วา่ การสอนอัลกุรอานจะมีความผูกพัน
กับมัสยิดและถื อว่า เป็ นสถาบันแรกที่ ใ ช้ใ นการเรี ยนการสอนในอิ ส ลามตามที่ ท่านมุ หัมมัด บิ น
สะหฺ นูน ได้ยกหลักฐานจากหะดีษท่านรอซูลได้กล่าวว่า

))ُ‫(( َخْي ُرُك ْم َم ْن تَ َعلَّ َم ال ُق ْرآ َن َو َعلَّ َمه‬

ความว่า “ผูท้ ี่ประเสริ ฐที่สุดในหมู่พวกท่านคือผูท้ ี่ศึกษาและทาการ


สอนอัลกุรอาน”

(al-Bukhari,1986 : 5027 )
126

2. เพื่อเผยแพร่ ความรู ้ทางศาสนา

มุสลิมถูกกาชับเพื่อเผยแพร่ ศาสนาซึ่ง อัลลอฮฺ  ตรัสว่า

            

)108 :‫ (يوسف‬       

ความว่า :จงกล่าวเถิดมุฮมั มัด “นี่คือแนวทางของฉันฉันเรี ยกร้อง


ไปสู่ อลั ลอฮฺ อย่างประจักษ์แจ้งทั้งตัวฉันและผูป้ ฏิ บตั ิตามฉันและ
มหาบริ สุทธิ์ แห่งอัลลอฮฺ  ฉันมิได้อยูใ่ นหมู่ต้ งั ภาคี”(ยูซุฟ : 108)

การเผยแผ่อิสลามไม่เพียงแต่เฉพาะเผยแผ่ศาสนาให้กบั คนต่างศาสนิ กอย่างเดี ยว


เท่านั้น แต่อิสลามได้ให้ความสาคัญเช่นกันกับมุสลิมเพื่อให้เข้าใจในหลักศาสนาและบทบัญญัติของ
อิสลามซึ่ งสามารถปฏิบตั ิศาสนกิจอย่างถูกต้อง ท่านร่ อซูล ได้กล่าวในหะดีษบทหนึ่งว่า ในขณะที่
ส่ ง มุอาซ บิน ญะบัลไปเยเมน

َ ‫ لَ َّما بَ َع‬: ‫اس َر ِض َي اهللُ َعْن ُهماَ قاَ َل‬ ِ ‫((عن عب ِد‬
ٍ َّ‫اهلل بْ َن َعب‬
ُّ ِ‫ث الن‬
‫َِّب‬ َْ ْ َ
‫صلَّى اللَّهُ َعلَْي ِه َو َسلَّ َم ُم َعا َذ بْ َن َجبَ ٍل إىل حنو أهل اليمن قال له‬ َ
‫( إنك تقدم على قوم من أهل الكتاب فليكن أول ما تدعوهم إىل أن‬
‫يوحدوا اهلل تعاىل فإذا عرفوا ذلك فأخربهم أن اهلل فرض عليهم مخس‬
))...‫صلوات ف يومهم وليلتهم‬

ความว่า “เล่าจากอับดุลลอฮฺ บิน อับบาส d กล่าวว่าเมื่อครั้งที่


ท่านนบี  ส่ งท่าน มูอาซ บิน ญะบัล ไปยังเยเมนนั้นท่านได้กาชับ
เขาว่า “แท้จริ งท่า นกาลังมุ่งไปสู่ กลุ่ มชนหนึ่ งจากชาวคัมภี ร์
ประการแรกที่ท่านต้องกระทาคือ ท่านต้องเชิ ญชวนพวกเขาไปสู่
หลักเอกานุ ภาพแห่ งอัลลอฮฺ ฉะนั้น เมื่อพวกเขายอมรับในเรื่ อง
ดังกล่าวแล้ว ท่านก็จงบอกพวกเขาเถิดว่า แท้จริ งอัลลอฮฺ ทรง
บัญญัติการละหมาดแก่พวกเขาในวันหนึ่งและคืนหนึ่ง 5 เวลา ...”
(al-Bukhari,1986 : 6937)
127

3. เพิม่ พูนในวิชาความรู ้
สังเกตได้จากการทัศนศึกษาเพื่อแสวงหาความรู้ของ มุหมั มัดบินสะหฺ นูน ซึ่ งท่าน
ได้เดินทางไปยังหลายประเทศ เช่น อัล-หิ ญาซ1 อียิปต์ แล้วได้พบกับนักปราชญ์หลายท่านในเมือง
ดังกล่าว
4. เพื่อเกียรติยศและศักดิ์ศรี
ความรู ้ ส ามารถเพิ่ ม เกี ย รติ ใ ห้ก ับ ผูแ้ สวงหาและมี เกี ย รติ ระหว่า งผูค้ น ในบทกวี
อาหรับได้กล่าวไว้วา่
‫العلم يرفع بيتا ال عمادله واجلهل يهدم بيت العز والشرف‬

ความว่ า “อัน ความรู ้ น้ ัน จะยกเรื อ นที่ ไ ร้ เ สาให้ สู ง ส่ ง แต่ ค วาม


อวิชชานั้นจะทาลายเรื อนที่มีเกียรติ”

มุ หัม หมัด บิ น สะหฺ นู น เป็ นผูท้ ี่ พ ยายามฝึ กอบรมเลี้ ย งดู บุ ตรของท่ า นเองให้ มี
ความสามารถเหมือนกับท่านในการเป็ นนักปราชญ์ที่มีความรู้ในด้านวิชาฟิ กฮฺ (ศาสนบัญญัติ)ตาม
ทัศนะอิหม่ามมาลิก ซึ่ งทุกที่ที่ท่านไปสอนหรื อฟั ตวา(วินิจฉัยชี้ ขาด)ในเรื่ องของศาสนา ท่านจะพา
บุตรของท่านไปด้วย

5. เพื่อแสวงหาปัจจัยยังชีพ
มุหัมมัดบินสะหฺ นูน มีทศั นะว่า ผูส้ อนสามารถที่จะรับค่าตอบแทนจากการสอน
และมีสิทธิ์ ที่จะรับของขวัญและรางวัลจากการสอนอัลกุรอาน

6.เพื่อมารยาทที่ดีงาม
ในสมัยก่อนผูเ้ ป็ นบิดามารดาไม่เพียงแต่จะส่ งบุตรหลานของพวกเขาเพื่อแสวงหา
ความรู ้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ในขณะเดียวกันเพื่อฝึ กฝนจรรยามารยาทที่ดีงาม ซึ่ งอัลกุรอานถือว่า
เป็ นดารัสของอัลลอฮฺที่เต็มไปด้วย จรรยา มารยาทที่ดีงาม ดังนั้นบิดามารดาในสมัยก่อนมักนิ ยมส่ ง
บุตรหลานของพวกเขาไปเรี ยนอัลกุรอาน

1
คือ เมืองมักกะฮฺและมาดีนะห์ ซึ่งตั้งอยูป่ ัจจุบนั ในประเทศซาอุดีอาระเบีย
128

5.1.2 หลักสู ตรการเรียนการสอน


หลักสู ตรเป็ นหลักและหัวใจของการจัดการเรี ยนการสอน เพื่อนาไปสู่ เป้ าหมาย
ของการศึกษา ความเข้าใจในเรื่ องของหลักสู ตรการเรี ยนการสอนจะทาให้การจัดการศึกษาดาเนิ น
ไปด้ ว ย ดี ทั้ งแก่ ตั ว ผู ้ เ รี ยนเองและ ช่ วย ให้ ค รู ได้ มี ทิ ศ ทางและสิ่ งก าหนดใ นก ารสอน
(ปรี ยาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2535: 38-39)
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้จาแนกหลักสู ตรการเรี ยนการสอนออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1) ประเภทวิชาบังคับ
2) ประเภทวิชาเลือก
ประเภทวิ ช าบั ง คั บ คื อ วิ ช าอั ล กุ ร อาน ซึ่ งถื อ ว่ า ทุ ก คนมี ค วามจ าเป็ นต้ อ ง
ศึกษาอัลกุรอานโดยท่านได้ยกหลักฐานจากอายะฮฺอลั กุรอานที่อลั ลอฮฺได้ตรัสว่า

        

      

        

ความว่ า “และเราได้ให้คมั ภีร์ เป็ นมรดกสื บทอดมา แก่บรรดาผูท้ ี่เรา


คัดเลือกแล้วจากปวงบ่าวของเรา”
( ฟาฏิร :32)
หลังจากนั้น ท่านได้ยกหลักฐานจากหะดีษของท่านนบี ที่ได้กล่าวถึงคุณค่าของ
การศึกษาอัลกุรอานที่ได้บอกถึงเกียรติของผูท้ ี่ศึกษาอัลกุรอาน(Ibn Sahnun :1972:75)

((‫((أفضلكم من تعلم القرآن وعلمه‬

ความว่า “ผูท้ ี่ประเสริ ฐที่ สุดในหมู่พวกเจ้าคือผูท้ ี่ศึกษาอัลกุรอาน


และได้สอนอัลกุรอาน”
(al-Bukhari,1986 : 4665)
129

และท่านนบีได้กล่าวอีกว่า(Ibn Sahnun, 1972 :77)

))‫((يرفع اهلل أقواما بالقرآن‬

ความว่า อัลลอฮฺทรงยกระดับหลายๆกลุ่มชนด้วยอัลกุรอาน
(Muslim,1996:1359)2
ท่านได้กล่าวอีกว่า

))‫((عليكم بالقرآن فإنه ينفي النفاق كما تنفي النار من خبث احلديد‬

“พวกเจ้าจงศึกษาอัลกุรอ่านเถิ ด เพราะแท้จริ งแล้วมันกาจัดความ


กลับกลอกออกไปจากตัวเจ้า อุ ปมา ดัง่ ไฟที่ กาจัดสนิ มเกาะออก
จากเหล็ก”
(Ibn Sahnun, 1972:78)
ِ ُ ‫ال رس‬ ٍ ِ‫س ب ِن مال‬
ُ‫صلَّى اللَّه‬
َ ‫ول اللَّه‬ ُ َ َ َ‫ ق‬: ‫ال‬ َ َ‫ك رضي اهلل عنه ق‬ َ ْ ِ َ‫(( َع ْن أَن‬
‫ َم ْن‬، ‫ول اللَّ ِه‬ ِ ‫ني ِم ْن الن‬ ِ ِِ ِ
َ ‫ يَا َر ُس‬: ‫اس ) قَالُوا‬ َ ‫ ( إن لله أ َْهل‬: ‫َعلَْيه َو َسلَّ َم‬
َّ ‫ أ َْه ُل اللَّ ِه َو َخ‬، ‫آن‬
)) ُ‫اصتُه‬ ِ ‫ هم أَهل الْ ُقر‬: ‫ال‬
ْ ُ ْ ْ ُ َ َ‫ُه ْم ؟ ق‬
มี ร ายงานจากท่ า นอานัส กล่ า วว่ า ท่ า นรอซู ล ได้ก ล่ า ว
ว่า “แท้จริ งมนุ ษย์น้ นั มีอยู่สองกลุ่มด้วยกันที่เป็ นพวกของอัลลอฮฺ
 ศอฮาบะฮฺ ก็ได้เอ่ยถามขึ้ นว่า “คนเหล่ านั้นคื อใครกัน ?”ท่า น
นบี ได้ ต อบว่ า “พวกเขาคื อ ผู ้ ที่ ท่ อ งจ าและปฏิ บ ั ติ ต าม
อัลกรุ อ่าน และผูท้ ี่ใกล้ชิดต่ออัลลอฮฺ ”
(Ibn Majah :215,Ahmad:11870)

มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวอีกว่า


‫(( من تعلم القرآن يف شبيبته اختلط بلحمه ودمه ومن تعلمه يف كربه‬
))‫فهو ينفلت منه وهو يعود فيه فله أجره مرتني‬

ِ ‫ وي‬,‫اب أَقْ واما‬ ِ ِ


َ ‫آخ ِر‬
ด้วยสานวน(( ‫ين‬ َ َ َ ً َ ِ َ‫))إِن اللهَ يَْرفَ ُع ِبَ َذا الْكت‬
َ ‫ض ُع بِه‬
2
130

ความว่ า “ผู ้ใ ดที่ ไ ด้ ศึ ก ษาอัล กุ ร อานในช่ ว งวัย หนุ่ ม ของเขา


อัลกุรอานได้ผสมผสานระหว่างเนื้ อของเขากับเลือดของเขา และ
ผู ้ใ ดที่ ไ ด้ ศึ ก ษาอั ล กุ ร อานในช่ ว งวัย ชรา เขาจะอ่ า นอย่ า ง
ตะกุกตะกักแต่เขาไม่ทิ้งจากการอ่านเขาจะได้สองผลบุญ”

หลังจากนั้นมุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวถึงหลักสู ตรที่ผสู ้ อนควรปฏิ บตั ิโดยกล่าว


ว่า

،‫ والشكل‬،‫ وذلك الزم له‬،‫((وينبغي أن يعلِّ َمهم إعراب القرآن‬


‫ يلزمه‬،‫ والرتتيل‬،‫ والتوقيف‬،‫ والقراءة احلسنة‬،‫ واخلط احلسن‬،‫واهلِجاء‬
‫ وال بأس أن يُعلِّمهم الشعر مما ال يكون فيه فحش من كَلم‬،‫ذلك‬
))‫عليه‬ ‫بواجب‬ ‫ذلك‬ ‫وليس‬ ،‫وأخبارها‬ ‫العرب‬

“ควรสอนการอิ อฺ ร อบอัล กุ ร อาน (วิเ คราะห์ ห ลัก ไวยากรณ์


ในอัลกุรอาน) อย่างต่อเนื่อง สระ ตัวอักษร คัดลายมือให้สวย อ่าน
อย่างคล่อง การหยุด การอ่านอย่างตัรตีล”
(Ibn Sahnun, 1972:102)

มุหมั มัดบินสะหฺ นูนเป็ นผูท้ ี่ยดึ มัน่ ในสังกัดมัซฮับ(สานักคิด)มาลิกีย ์ ท่านที่ชื่นชอบ


ในการอ่านอัลกุรอานของชาวมะดีนะฮฺ โดยเฉพาะกิรออะฮฺ (วิธีการอ่านอัลกุรอาน) ของนาฟิ อฺ ตามที่
อิหม่ามมาลิกได้เคยอ่าน ถือว่าเป็ นการอ่านที่ดี เป็ นสิ่ งที่จาเป็ นสาหรับผูส้ อนที่ตอ้ งสอนการอ่านที่ดี
นั้ น คื อ การอ่ า นของนาฟิ อฺ และไม่ ถื อ ว่ า เป็ นสิ่ ง ที่ ผิ ด ถ้ า จะสอนหลัก การอ่ า นของผู ้อื่ น และ
เช่นเดียวกันทุกการอ่านของบรรดาสาวกของท่านนบี
ท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้เตือนในการสอนอัลกุรอ่านด้วยทานองเพลง เพราะใน
ทัศนะอิหม่ามมาลิ กไม่อนุ ญาตให้อ่านอัลกุรอ่านด้วยทานองเพลง และนอกจากนี้ แล้วท่านไม่เห็ น
131

ด้วยกับการสอนบทกวี เพราะสิ่ งนี้จะนาไปสู่ การร้องราทาเพลง ซึ่ งสิ่ งนั้นเป็ นสิ่ งที่น่ารังเกียจและไม่


ควรทาอย่างยิง่ (Ibn Sahnun, 1972:104)
ท่ า นได้น ารุ ก่ น อิ ส ลาม(หลัก การอิ ส ลาม)เข้า ในหลัก สู ต รการเรี ยนการสอน
โดยเฉพาะการละหมาดและเงื่อนไขของการละหมาด นี้เป็ นสิ่ งที่จาเป็ นสาหรับผูส้ อนต้องสอนเด็กๆ
(การอาบน้ าละหมาด การละหมาด เพราะมันเป็ นองค์ประกอบของศาสนา และจานวนการรอกูอฺ
กานสุ ญูดและการอ่าน การตักบีร รู ปแบบของการนัง่ การให้สลาม และสิ่ งที่จาเป็ นในการละหมาด
การอ่านตะชะฮูด การอ่านกุนูตในละหมาดซุ บฮฺ มันเป็ นสิ่ งที่สุนตั และวาญิบของการละหมาด (Ibn
Sahnun :1972:109)
หลัง จากที่ ไ ด้ส อนละหมาดวาญิ บ ก็ เ ลื่ อ นไปสอนเกี่ ย วกับ ละหมาดสุ นัต เช่ น
ละหมาดสุ นั ต ก่ อ นศุ บ ฮฺ ละหมาดวิ ต รฺ ละหมาดอี ด ทั้ง สอง ละหมาดขอฝน ละหมาดคุ สู ฟ
(จันทรุ ปราคาหรื อสุ รยุปราคา) จนกระทัง่ ได้สอนศาสนาที่จะนาไปสู่ ในการภักดี ต่ออัลลอฮฺ และ
สุ นนะฮฺของท่านนบีมุหมั มัด  (Ibn Sahnun, 1972 : 112)
หลังจากนั้นสอนเกี่ยวกับการละหมาดญะนาซะฮฺ (ละหมาดศพ) การขอดุอาอฺ และ
ไม่เพียงพอที่จะสอนทฤษฎีอย่างเดียวโดยเฉพาะในเรื่ องของการละหมาดและสิ่ งที่เป็ นสุ นตั ต่างๆแต่
ต้องสั่งให้ผูเ้ รี ยนได้ปฏิ บตั ิ การละหมาดเมื่อพวกมี อายุครบ 7 ขวบ และหากเขาไม่ปฏิ บตั ิจะต้อง
ลงโทษเมื่ออายุครบ 10 ขวบ(Ibn Sahnun :1972:104)

ประเภทวิชาเลือกในทัศนะของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนมีรายวิชาดังนี้


1. คณิ ตศาสตร์ (จาเป็ นต้องเรี ยน)
2. กวี คาแปลก ภาษาอาหรับและการเขียน
3. หลักไวยากรณ์อาหรับ (Ibn Sahnun, 1972:102)
วิชาเหล่านี้ ถือว่าเป็ นวิชาเลือก ตราบใดที่ครอบครัวของเด็กไม่ต้ งั เงื่อนไขให้ครู ได้
สอนเด็กในวิชาเหล่านี้ สาหรับครู ไม่จาเป็ นต้องสอนนอกจากมันจะกลายเป็ นวิชาที่จาเป็ นต้องเรี ยน
และเป็ นการสมัครใจของผูส้ อนในการสอน และไม่ผิดที่ผสู ้ อนจะสอนการอ่านคุตบะหฺ เมื่อพวกเขา
ต้องการ(Ibn Sahnun :1972:104)และเช่นเดียวกันกับการสอนบทกวีถา้ เนื้ อหามันปราศจากสิ่ งที่ไม่ดี
(Ibn Sahnun :1972:102).
132

มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้เตือนผูส้ อนมิให้บรรจุลงในหลักสู ตรการเรี ยนการสอนสิ่ งที่


ไม่ได้เป็ นประโยชน์กบั ผูเ้ รี ยนและสิ่ งที่หวังว่าจะไม่ได้รับประโยชน์โดยกล่าวว่า “ไม่เห็ นด้วยกับ
การสอน อบาญาด(คือสิ่ งที่ไม่ให้ประโยชน์กบั ผูเ้ รี ยน ( ‫( ) أباجاد‬Ibn Sahnun :1972:134) ซึ่ งมัน
เป็ นชื่ อของบรรดาชัยฏอน(มารร้าย) ที่อาหรับสมัยญะฮีลิยะฮฺ ได้เรี ยกกัน เป็ นที่ชดั เจนในการวาง
หลักสู ตรการเรี ยนการสอนของท่านอิบนุ สะหฺ นุนในช่วงระดับอิบติดาอียะฮฺ (ประถม) คือเน้นการ
วางรากฐานของการศึกษาอยูบ่ นวัฒนธรรมอิสลาม และยังสามารถปฏิบตั ิตามหลักสู ตรการเรี ยนการ
สอนที่สอดคล้องกับปรัชญาอิสลามที่มีการเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั วัฒนธรรมและคุณค่าของ
จิตวิญญาณ(Ibn Sahnun, 1972:135)
ปั จจุบนั ได้มีการเรี ยกร้องให้หลักสู ตรการเรี ยนการสอนนั้นมีความสอดคล้องกับ
ปรัชญาของสังคม ซึ่ งแท้จริ งแล้วแนวคิดของท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้สอดคล้องกับปรัชญาของ
สังคมและชุมชนในยุคสมัยของท่านโดยท่านได้วางเป้ าหมายของหลักสู ตรดังนี้
1. เพื่อเตรี ยมพร้ อมไปสู่ โลกหน้า ด้วยการสอนเด็กเกี่ ยวกับการขอบคุ ณพระเจ้า
และห่างไกลจากสิ่ งที่พระองค์ทรงห้าม
2. สนับสนุ นให้เด็กได้ศึกษาเล่าเรี ยนบางประเภทวิชาและทักษะที่มีส่วนช่ วยใน
การดาเนินชีวติ ให้อยูร่ อดในโลกนี้และยังสามารถให้ประโยชน์แก่สังคม

คุณลักษณะพิเศษของหลักสู ตรตามทัศนะของ มุหัมมัด บิน สะหฺนูน


หลังจากที่ผวู้ จิ ยั ได้ศึกษาและทบทวนตาราอาดาบ อัลมุอลั ลิมีนของท่าน จึงขอสรุ ป
เกี่ยวกับคุณลักษณะหลักสู ตรการเรี ยนการสอนตามทัศนะของท่าน มี 2 ข้อ ดังนี้
1. หลักสู ตรมีการผสมผสานระหว่างโลกดุนยากับอาคิเราะฮฺ
การศึ ก ษาในมุ ม มองของมุ ส ลิ ม ไม่ เ ฉพาะเพี ย งเพื่ อ โลกดุ น ยาเท่ า นั้ นที่ ใ ห้
ความสาคัญกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ เช่นการศึกษาในมุมมองของชาวกรี ก ชาวโรมัน ที่ได้จากัด
การศึกษาเฉพาะในเรื่ อง หลักไวยากรณ์ ตรรกศาสตร์ ดนตรี คณิ ตศาสตร์ และไม่ได้ยงุ่ เกี่ยวในเรื่ อง
ของศาสนาเลย และการศึกษาในทัศนะของมุสลิมจะมีความแตกต่างกับการศึกษาของชาวอิสรออิล
ในช่วงต้นๆที่ได้จากัดการศึกษานั้นเฉพาะศึกษาตาราที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับศาสนาเพียงอย่างเดียว แต่
เป้ าหมายการศึ กษาในทัศนะของมุ สลิ มนั้น คื อการเตรี ยมตัวเพื่อโลกดุ นยาและอาคิเราะฮฺ ตามที่
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้วางปรัชญาการศึกษาที่อา้ งอิงจาก อายะฮฺอลั กุรอาน ตามที่อลั ลอฮฺได้ตรัสว่า
133

        

         

          



ความว่า “และจงแสวงหาสิ่ ง ที่ อลั ลอฮฺ ได้ป ระทานแก่ เจ้า เพื่ อ


ปรโลก และอย่าลืมส่ วนของเจ้าแห่งโลกนี้และจงทาความดีเสมือน
กับ ที่ อลั ลอฮฺ ได้ท รงท าความดี แก่ เจ้า และอย่า แสวงหาความ
เสี ยหายในแผ่นดิ น แท้จริ ง อัลลอฮฺ ไม่ทรงโปรดบรรดาผูบ้ ่อน
ทาลาย”
(อัลกอศอศ : 77)

2. การอมรมพัฒนาทางจิตวิญญาณ
หลังจากการศึกษาทางด้านองค์ความรู้ มุหัมมัดบินสะหฺ นูนยังให้ความสาคัญกับ
การอมรมพัฒนาทางจิตวิญญาณที่เชื่ อมความสัมพันธ์ระหว่างมนุ ษย์กบั พระเจ้าที่การศึกษาปั จจุบนั
ไม่ได้ให้ความสาคัญมากนักกับการอบรมทางด้านจิตวิญญาณ มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้วางกฎเกณฑ์
การศึกษาที่มีการเชื่ อมสัมพันธ์ ระหว่างมนุ ษย์กบั สังคมและระหว่างมนุ ษย์กบั พระองค์อลั ลอฮฺ 
(al-Jamali:1979:109)

5.1.3 กระบวนการเรียนการสอน

หลังจากที่ ผูว้ ิจยั ได้อ่านและทบทวนหนังสื อ อาดาบุ ลมุ อลั ลิ มีนของมุหัมมัดบิ น


สะหฺ นูนสามารถวิเคราะห์ในเรื่ องของกระบวนการเรี ยนการสอนไว้ดงั นี้
134

1. วิธีสอนแบบบรรยาย
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า
،‫ والشَّكل‬،‫ وذلك الزم له‬،‫((وينبغي أن يعلِّ َمهم إعراب القرآن‬
‫ يلزمه‬،‫ والرتتيل‬،‫ والتوقيف‬،‫ والقراءة احلسنة‬،‫ واخلط احلسن‬،‫واهلِجاء‬
‫ وال بأس أن يُعلِّمهم الشعر مما ال يكون فيه فحش من كالم‬،‫ذلك‬
))‫ وليس ذلك بواجب عليه‬،‫العرب وأخبارها‬
“และควรสอนผู้เ รี ยนการเอี ย ะอฺ ร อบุ ล กุ ร อานและนี้ คื อ สิ่ ง ที่
จาเป็ นต้องสอน สระ ตัวอัก ษร การคัดลายมื อ ที่ ส วย การอ่านที่
ไพเราะ การหยุด การอ่านแบบตัรตี ล มันเป็ นสิ่ งที่ จาเป็ นสาหรั บ
เขา แต่ก็ไ ม่ผิดที่ จะสอนบทกวี ที่ ป ราศจากคาลามกอนาจารจาก
คาพูดและเรื่ องราวของชนอาหรับ แต่มนั ไม่ใช่สิ่งที่จาเป็ นสาหรับ
เขาที่จะต้องสอน”
(Ibn Sahnun: 1972:102)

อิบนุ ค็อลดูน (Ibn Khaldun, 1978 : 533) ได้อธิ บายถึงวิธีสอนแบบบรรยายใน


หนังสื อ “Muqaddimah” ของท่านว่า “จงทราบเถิ ดว่า การถ่ายทอดความรู ้ แก่ผเู ้ รี ยนเพื่อให้เกิ ด
ประโยชน์น้ นั ก็ต่อเมื่อมีการสอนแบบค่อยเป็ นค่อยไปทีละขั้นตอน โดยการถ่ายทอดประเด็นปั ญหา
จากศาสตร์ เบื้องต้นในแต่ละบทก่อน หลังจากนั้นก็อธิ บายศาสตร์ ขา้ งต้นโดยสรุ ปให้ผเู ้ รี ยนรับฟั ง
และพยายามสังเกตพฤติกรรมทางด้านความคิดและความสนใจของผูเ้ รี ยนในการรับรู ้สิ่งที่ผสู ้ อนได้
ถ่ายทอดจนกระทัง่ สิ้ นสุ ดการสอน และเมื่อการสอนโดยสรุ ปดังกล่าวสิ้ นสุ ดลง ผูเ้ รี ยนก็จะได้รับ
ความรู ้ตามความฉลาดของแต่ละคน ถึงแม้วา่ ความรู ้ดงั กล่าวจะเป็ นความรู ้ที่ถ่ายทอดโดยสรุ ปก็ตาม
โดยจุดประสงค์หลักเพื่อเตรี ยมความพร้อมในการเข้าใจศาสตร์ และได้รับรู้ผลสรุ ปของความรู้จาก
ประเด็นปั ญหาต่าง ๆ หลังจากนั้นผูส้ อนก็กลับไปสอนศาสตร์ ดงั กล่าวข้างต้นเป็ นครั้งที่ 2 โดย
ยกระดับการถ่ายทอดให้มีความชัดเจนมากกว่าเดิม เป็ นการอธิ บายและบรรยายที่สมบูรณ์ และได้
กล่าวถึงความแตกต่างและข้อคิดเห็นต่าง ๆ อย่างชัดเจน จนกระทัง่ สิ้ นสุ ดศาสตร์ การสอนดังกล่าวก็
จะทาให้ผเู้ รี ยนมีความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น ต่อมาก็ทบทวนใหม่อีกครั้งเป็ นครั้งที่ 3 โดยเก็บประเด็นที่
ยาก ประเด็นที่สาคัญ และสิ่ งที่ปกปิ ดไว้นามาอธิ บายให้ผเู ้ รี ยนรับฟั งทั้งหมด ดังนั้น เมื่อเรี ยนศาสตร์
ดังกล่าวจบ ผูเ้ รี ยนก็มีความรู ้ และความสามารถในศาสตร์ ขา้ งต้นอย่างเต็มรู ปแบบ และนี่คือวิธีสอน
135

ที่ได้ประโยชน์ ดังที่ประจักษ์แล้วว่าการถ่ายทอดในการสอนที่ดีน้ นั จะต้องมี การกล่าวย้ า 3ครั้ ง


เพราะผูเ้ รี ยนมีความฉลาดและความเข้าใจที่แตกต่างกัน”
อะลี อะหฺ มดั มัดกูร (Ali Ahmad Madkur, 1987 : 338) ได้กล่าวว่า “การสอนแบบ
บรรยาย เป็ นวิธีสอนที่เหมาะกับระดับปั ญญาชน และเป็ นวิธีสอนแบบดั้งเดิมของอิสลามศึกษา ดังที่
มีการสอนในมหาวิทยาลัยอัล -อัซฮัร โดยนักศึกษามีอิสระในการมาเรี ยนและเลือกอาจารย์ผสู้ อน
ส่ วนอาจารย์ผสู ้ อนก็มีอิสระในการกาหนดจานวนคาบและเลือกเวลาสอน อาจารย์บางท่านสอนวัน
ละ 1 คาบ และบางท่านสอนสัปดาห์ละ 1 คาบ ส่ วนการสอนจะเป็ นรู ปแบบหัลเกาะฮฺ ใช้วิธีสอน
แบบบรรยาย ทุก ๆ หัลเกาะฮฺจะมีอาจารย์เฉพาะที่ทาการสอน อาจารย์ผสู้ อนจะสอนทีละหัวข้อและ
จะพูดทุกหัวข้อ ส่ วนนักศึกษาก็จะนัง่ ฟังและอภิปรายร่ วมกันในแต่ละหัวข้อ”

มะหฺ มูด ก็อมบัร (Mahmud Qambar, 1991 : 395) ได้กล่าวว่า “การสอนแบบ


บรรยายมีความแตกต่างกับการอ่านคุฏบะฮฺ ซึ่ งโดยทัว่ ไปแล้วคุฏบะฮฺ จะกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ในสังคมากกว่าเรื่ องราวในวงวิชาการ และคุฏบะฮฺ จะกล่าวถึ งความรู ้ สึกก่อนที่จะกล่าวถึงการใช้
สติปัญญา ส่ วนสานวนที่ใช้จะเป็ นเชิ งเปรี ยบเทียบมากกว่าเชิ งวิชาการ การบรรยายเป็ นศิลปะและ
ความสามารถเฉพาะบุคคล เป็ นความชานาญเฉพาะด้านที่มีในบางคน แต่ในบางคนอาจจะไม่มี
ดังเช่นอิบนุ ค็อลดูน ที่ได้รับสมญานามว่า “คมดาบแห่ งการบรรยาย” (Saif al-Muhadarah)และอิบนุ
อัมมาร ที่ได้รับสมญานามว่า “ผูบ้ รรยายที่ให้ความเพลิดเพลิน” (Mumti’ al-Muhadarah)
การบรรยายเป็ นวิธีสอนที่ไม่ง่ายนักสาหรับครู สอนทัว่ ไป เนื่องจากต้องใช้คาพูดที่ชดั เจน มีสานวน
โวหารดี ครอบคลุมไปด้วยความคิดที่เฉียบแหลม และมีความเป็ นวิชาการ”

2. วิธีสอนแบบอภิปราย
‫وينبغي أن جيعل هلم وقتاً يعلمهم فيه الكتب وجيعلهم يتجاوزون؛ ألن‬
،‫ذلك مما يصلحهم وخيرجهم‬
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า
“ผูส้ อนควรให้เวลากับผูเ้ รี ยนเพื่อได้ฝึกฝนการอภิปรายและได้รู้ถึง
ความรู ้พ้นื ฐานของการอภิปราย และมารยาทของการฟัง”

(Ibn Sahnun, 1972:100)


136

ฮาชิ ม อะลี อัลอะฮฺ ดลั (Hashim ‘Ali al-Ahdal, 1992 : 126) ได้กล่าวว่า
“การอภิปรายเป็ นวิธีสอนอิสลามศึกษาที่ดียงิ่ วิธีหนึ่ง เป็ นวิธีสอนที่มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
ทั้งสองฝ่ าย โดยการรวบรวมทัศนะและแนวความคิดต่าง ๆ และให้โอกาสทั้งสองฝ่ ายได้ร่วมแสดง
ความคิดเห็น โต้ตอบ และอภิปรายซักถาม ความจริ งแล้วการอภิปรายดังกล่าวจะเป็ นลักษณะที่
ดาเนินไปด้วยความเรี ยบร้อย เป็ นความพยายามที่จะนานิยามที่ผิด หรื อสิ่ งคลุมเครื อ หรื อประเด็น
ปั ญหาที่สาคัญไปสู่ ควากระจ่าง ซึ่ งทั้งสองฝ่ ายไม่สามารถหาคาตอบได้ นอกจากโดยการใช้วิธีการ
อภิปราย”
ซัยนฺ มุฮมั มัด ชะฮาตะฮฺ (ม.ป.ป. : 110) ได้กล่าวว่า “การสอนในรู ปแบบอภิปราย
เหมาะสาหรับนักเรี ยนในทุกระดับชั้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ นักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาขึ้นไป ซึ่ ง
นับว่าเป็ นระดับที่เหมาะสาหรับจัดการเรี ยนการสอนในรู ปแบบของการอภิปรายหรื อโต้วาที โดย
การกาหนดหัวข้อและขอบเขตของเรื่ องที่จะทาการอภิปรายหรื อโต้วาทีให้ชดั เจนก่อนที่จะเริ่ มทา
การอภิปราย”
จากคาพูดข้างต้นชี้ ให้เห็นว่า วิธีสอนแบบอภิปรายเป็ นวิธีสอนหนึ่งในอิสลามที่มี
ความสาคัญ เพราะเป็ นวิธีสอนที่ส่งเสริ มและสนับสนุ นให้ผเู ้ รี ยนได้ใช้ความคิดตามความเข้าใจและ
ความสามารถของตนที่มีอยู่ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนกล้าพูด กล้าแสดงออก และจากการพูดคุยสนทนาและ
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็ นระหว่างกัน จะทาให้ผเู้ รี ยนสามารถเข้าใจในเรื่ องที่อภิปรายให้มี
ความกระจ่างและชัดเจนมากยิง่ ขึ้น

3.วิธีสอนแบบท่องจา
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า
“กาหนดในช่วงท้ายของสัปดาห์เพื่อการนัง่ ฟั งจากการท่องจาของ
ผูเ้ รี ยน และเพื่อที่จะแน่ใจว่าผูเ้ รี ยนได้เข้าใจเกี่ยวกับบทเรี ยนอย่าง
ลึกซึ้ งหรื อไม่”
(Ibn Sahnun, 1972:104)
ท่านได้กล่าวอีกว่า
‫((وال جيوز أن ينقلهم من سورة إىل سورة حىت حيفظوها بإعراِبا‬
))‫وكتابتها‬
137

“ไม่ควรที่จะเลื่อนจากซู เราะฮฺ หนึ่ งไปยังอีกซู เราะฮฺ หนึ่ งจนกว่าจะ


ได้ท่องจามันพร้อมกับได้อิอฺรอบ (วิเคราะห์เชิงไวยากรณ์) และได้
เขียน”
(Ibn Sahnun, 1972:106)
การท่ อ งจ าถื อ ว่ า เป็ นวิ ธี ก ารเรี ย นการสอนที่ อ ยู่ คู่ ก ับ มนุ ษ ย์ม าช้ า นาน ซึ่ งการ
ถ่ายทอดวิชาความรู ้ในอิสลามส่ วนใหญ่อาศัยวิธิการท่องจาจากบรรดานักปราชญ์ โดยเฉพาะความรู ้
วิชาอัลกุรอานและวิชาอัลหะดี ษ ที่จาเป็ นต้องอาศัยวิธีการท่องจาในการเผยแพร่ และถ่ายทอดวิชา
ความรู ้ ซึ่ งท่านนบีเป็ นบุคคลแรกที่ได้รับวะฮีย(์ วิวรณ์)จากญิบรี ลโดยอาศัยวิธีการท่องจา และด้วย
วิธีการท่องจาสามารถถ่ายทอดอัลกุรอานจนถึงปั จจุบนั และด้วยการท่องจา และการทบทวนอย่าง
ต่อเนื่ องสามารถช่วยให้ความรู ้สถิต มัน่ คงอยูใ่ นจิตใจ ไม่หลงลืม ดังที่มีรายงานจากอบูมูซา  ว่า
ท่านนบี  ได้กล่าวว่า :

ِ ِ
‫صيًا ِم َن ا ِإلبِ ِل ِِف‬ َ ‫اه ُدوا الْ ُق ْرآ َن فَ َوالَّذى نَ ْف ِسى بِيَدهِ َهلَُو أ‬
ِّ ‫َش ُّد تَ َف‬ َ ‫((تَ َع‬
‫عُ ُقلِ َها )) متفق عليه‬

ความว่า : “พวกท่านจงหมัน่ ทบทวนอัลกุรอานอยูเ่ สมอ ซึ่ งฉันขอ


สาบานด้วยพระผูซ้ ่ ึ งชี วิตของฉันอยู่ในพระหัตถ์ของพระองค์ว่า
มัน (การจาอัลกุรอาน) นั้น ช่ างเปรี ยวยิง่ กว่าอูฐที่ถูกล่ามเชื อกเสี ย
อีก ”

(al-Bukhari,1986 :5033,Muslim,1996:792)

อิบนุ อัลเญาซี ย ์ ได้กล่ าวว่า “แท้จริ งอัลลอฮฺ ได้ประทานคุณ ลักษณะพิเศษให้กบั


ประชาชาติของฉันด้วยการท่องจาอัลกุรอานและความรู ้ ซึ่ งบุ คคลที่ก่อนหน้าพวกฉัน พวกเขาได้
อ่านอัลกุรอานจากศุหุฟ และไม่สามารถที่จะท่องจามัน” (al-Haddad :1991:11-13) อิหม่ามอัลบุคอ
รี ยไ์ ด้ต้ งั หัวข้อหลักในตาราเศาะหี หฺของท่านโดยมีชื่อว่า การท่องจาความรู ้ เพื่อบ่งบอกถึ งคุ ณค่า
ความสาคัญ และสถานะของการท่องจาในอิสลาม.
138

ท่านนบีได้กล่าวว่า

‫ب مبلغ أوعى‬
َّ ‫((نضراهلل امرءا مسع مقاليت ووعاها فأداها كما مسعها فَ ُر‬
))‫من سامع‬

“ขออัลลอฮฺ ได้ทรงประทานความสุ ขสดชื่ น และความสวยงามแก่


บุคคลหนึ่ ง ที่เขาได้ยินค าพูดของฉัน เขามี ค วามเข้า ใจ แล้วเขาก็
นาไปรายงานต่อ (ยังผูอ้ ื่น) เหมือนกับที่ได้ยินมา บ่อยครั้งที่ผรู ้ ับ
รายงานมี ความเข้าใจดี กว่าผู ้ (ให้รายงาน) ที่ได้ยินมาเอง” (Abu
Dawood, 1986: 3177, al-Tirmidhi, 1975:2599)

อับดุลรอซาก อัศศอนอานีย ์ ได้กล่าว “ทุกๆความรู ้ที่ไม่สามารถพาเข้าไปในห้องน้ า


จะไม่เรี ยกว่าความรู ้”(al-Auni, 1997:1/37)

4.วิธีสอนแบบร่ วมมือ
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า
((‫)) وجيعلهم يتحايزون ألن ذلك مما يصلحهم وخيرجهم‬
“ผูส้ อนควรให้เวลากับ ผูเ้ รี ย นเพื่ อได้ฝึ กฝนการอภิ ป รายและได้
แข่งขันกัน เพราะมันจะเป็ นประโยชน์ให้กบั พวกเขา

(Ibn Sahnun, 1972: 100)

ผูเ้ รี ยนสามารถที่จะเขียนให้กนั และกันเพราะมันเป็ นประโยชน์ให้กบั ผูเ้ รี ยน และ


ผูส้ อนควรตรวจสอบการเขียนของผูเ้ รี ยน(Ibn Sahnun, 1972:106)
ค ากล่ า วของท่ า นมุ หั ม มัด บิ น สะหฺ นู น ข้ า งต้ น แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ท่ า นได้ ใ ห้
ความสาคัญในเรื่ องการได้ประโยชน์จากวิชาความรู ้ ระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกัน ซึ่ งท่านได้แนะนาให้
139

ผูส้ อนกาหนดเวลาให้กบั ผูเ้ รี ยนเพื่อฝึ กฝนการอภิปราย ระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกัน โดยมีวตั ถุ ประสงค์


เพื่อผูเ้ รี ยนได้รับประโยชน์จากการอภิปรายซึ่ งกันและกัน
การจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือนับว่าเป็ นการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
ส าคัญ โดยใช้ก ระบวนการกลุ่ ม ให้ผูเ้ รี ย นได้มี โอกาสท างานร่ วมกันเพื่ อผลประโยชน์ และเกิ ด
ความสาเร็ จร่ วมกันของกลุ่ม ซึ่ งการเรี ยนแบบร่ วมมือมิใช่เป็ นเพียงจัดให้ผเู ้ รี ยนทางานเป็ นกลุ่ม เช่น
ทารายงาน ทากิจกรรมประดิษฐ์หรื อสร้างชิ้นงาน อภิปราย ตลอดจนปฏิบตั ิการทดลองแล้ว ผูส้ อน
ท าหน้า ที่ ส รุ ป ความรู ้ ด้วยตนเองเท่ า นั้น แต่ ผูส้ อนจะต้อ งพยายามใช้ก ลยุท ธ์ วิธี ใ ห้ผูเ้ รี ย นได้ใ ช้
กระบวนการประมวลสิ่ งที่มาจากการทากิ จกรรมต่างๆ จัดระบบความรู ้ สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้ ด้วย
ตนเองเป็ นหลักการสาคัญ (พิมพันธ์ เดชะคุ ปต์, 2544 :15 ) ดังนั้น การจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ
ผูส้ อนจะต้องเลือกเทคนิคการจัดการเรี ยนที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน และผูเ้ รี ยนจะต้องมีความพร้อมที่จะ
ร่ วมกันทากิจกรรม รับผิดชอบงานของกลุ่มร่ วมกัน โดยที่กลุ่มจะประสบความสาเร็ จได้ เมื่อสมาชิ ก
ทุ ก คนได้เ รี ย นรู้ บ รรลุ ต ามจุ ด มุ่ ง หมายเดี ย วกัน นั่น คื อ การเรี ย นเป็ นกลุ่ ม หรื อ เป็ นที ม อย่า งมี
ประสิ ทธิ ภาพนัน่ เอง
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กล่าวว่า การจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือหรื อแบบ
มีส่วนร่ วม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถต่างกัน ได้ร่วมมือกัน
ทางานกลุ่มด้วยความตั้งใจและเต็มใจรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ในกลุ่มของตน ทาให้งานของ
กลุ่มดาเนินไปสู่ เป้ าหมายของงานได้
สลาวิน (Slavin, 1987 : 7-13) อ้างใน ไสว ฟักขาว (2544 : 192) ได้ให้ความหมาย
ของการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือว่า หมายถึง วิธีการจัดการเรี ยนการสอนที่ให้นกั เรี ยนทางานร่ วมกันเป็ น
กลุ่ มเล็ก ๆ โดยทัว่ ไปมีสมาชิ กกลุ่ มละ 4 คน สมาชิ กกลุ่ มมี ความสามารถในการเรี ยนต่างกัน
สมาชิ กในกลุ่มจะรับผิดชอบในสิ่ งที่ได้รับการสอน และช่วยเพื่อนสมาชิ กให้เกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ย มี
การช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน โดยมีเป้ าหมายในการทางานร่ วมกัน คือ เป้ าหมายของกลุ่ม
ไสว ฟักขาว (2544 : 193) กล่าวถึงการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือไว้วา่ เป็ นการจัดการ
เรี ยนการสอนที่ แบ่งผูเ้ รี ยนออกเป็ นกลุ่ มเล็ก ๆ สมาชิ กในกลุ่ มมีความสามารถแตกต่างกัน มี การ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือสนับสนุ นซึ่ งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่ วมกันทั้ง
ในส่ วนตน และส่ วนรวม เพื่อให้กลุ่มได้รับความสาเร็ จตามเป้ าหมายที่กาหนด
140

จากความหมายของการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือข้างต้น สรุ ปได้ว่า การจัดการเรี ยนรู ้


แบบร่ วมมือ หมายถึง การจัดการเรี ยนการสอนที่ผสู ้ อนจัดให้ผเู ้ รี ยนแบ่งเป็ นกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 4-6
คน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้โดยการทางานร่ วมกัน ช่ วยเหลื อซึ่ งกันและกัน และร่ วมกันรับผิดชอบ
งานในกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้เกิดเป็ นความสาเร็ จของกลุ่ม

วัตถุประสงค์ของการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ

สาหรับวัตถุ ประสงค์ของการจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 :


121) ได้กล่าวว่า ดังนี้
1. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้และฝึ กทักษะกระบวนการกลุ่มได้ฝึกบทบาทหน้าที่และ
ความรับผิดชอบในการทางานกลุ่ม
2. เพื่อให้ผูเ้ รี ยนได้พฒั นาทักษะการคิดค้นคว้า ทักษะการแสวงหาความรู้ ด้วย
ตนเอง
ทักษะการคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การตัดสิ นใจ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม การใช้ภาษา การ
พูด ฯลฯ
3. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกทักษะทางสังคม การอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่น การมีน้ าใจช่วยเหลื อ
ผูอ้ ื่น การเสี ยสละ การยอมรับกันและกัน การไว้วางใจ การเป็ นผูน้ า ผูต้ าม ฯลฯ
ลักษณะของการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กล่าวถึง การจัดกิจกรรมแบบร่ วมแรงร่ วมใจว่ามี
ลักษณะ ดังนี้
1. มีการทางานกลุ่มร่ วมกัน มีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม
2. สมาชิกในกลุ่มมีจานวนไม่ควรเกิน 6 คน
3. สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกันเพื่อช่วยเหลือกัน
4. สมาชิกในกลุ่มต่างมีบทบาทรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เช่น
1) เป็ นผูน้ ากลุ่ม (Leader)
2) เป็ นผูอ้ ธิบาย (Explainer)
3) เป็ นผูจ้ ดบันทึก (Recorder)
4) เป็ นผูต้ รวจสอบ (Checker)
5) เป็ นผูส้ ังเกตการณ์ (Observer)
141

6) เป็ นผูใ้ ห้กาลังใจ (Encourager) ฯลฯ


สมาชิ กในกลุ่มมีความรับผิดชอบร่ วมกัน ยึดหลักว่า “ความสาเร็ จของแต่ละคน
คือ ความสาเร็ จของกลุ่ม ความสาเร็ จของกลุ่ม คือ ความสาเร็ จของทุกคน”
5. การสอนแบบค่ อยเป็ นค่ อยไปทีล่ ะขั้น
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า

‫وال جيوز أن ينقلهم من سورة إىل سورة حىت حيفظوها بإعراِبا وكتابتها‬

“ไม่ควรที่จะเลื่อนจากซู เราะฮฺ หนึ่ งไปยังอีกซู เราะฮฺ หนึ่ งจนกว่าได้


ท่องจามันพร้ อมกับได้เอียะอฺ รอบ (วิเคราะห์ดา้ นไวยากรณ์) และ
ได้เขียน”
(Ibn Sahnun: 1972:106)
สังเกตจากคากล่าวของท่านข้างต้นจะเห็นได้วา่ ท่านได้กาชับมิให้ผสู ้ อนเลื่อนบท
หนึ่งไปยังอีกบทหนึ่ ง นอกจากว่า ผูส้ อนได้แน่ใจว่า ผูเ้ รี ยนได้บรรลุวตั ถุประสงค์ของการเรี ยนรู ้ใน
เรื่ องนั้นๆ เช่น ต้องท่องจา สามารถที่จะวิเคราะห์ดา้ นไวยากรณ์และเขียนได้ หลังจากนั้นก็สามารถ
เคลื่อนย้ายไปยังซูเราะฮฺใหม่ คือต้องค่อยเป็ นค่อยไปที่ละขั้น ไม่ควรรี บเร่ งในการสอน

เทคนิ คการสอนแบบค่อยเป็ นค่อยไปทีละขั้นตอน เป็ นเทคนิ คการสอนที่มีเนื้ อหา


เริ่ มจากเรื่ องหลักไปสู่ เรื่ องย่อย ดังมีรายงานจากยูสุฟ อิบนุ มาฮัก เล่าว่า

‫ إين عند عائشة أم املؤمنني (رضي اهلل‬:‫(( عن يوسف بن ماهك قال‬


‫ وحيك وما‬:‫ قالت‬،‫ أي الكفن خري‬:‫عنها) إذ جاءها عراقي فقال‬
‫ لعلي‬:‫ ملَ؟ قال‬:‫ قالت‬،‫ يا أم املؤمنني أريين مصحفك‬:‫يضرك؟ قال‬
‫ وما يضرك أيه قرأت‬:‫ قالت‬،‫أولف القرآن عليه فإنه يقرأ غري مؤلف‬
،‫ إمنا نزل أول ما نزل منه سورة من املفصل فيها ذكر اجلنة والنار‬،‫قبل‬
‫ ولو نزل أول شيء‬،‫حىت إذا ثاب الناس إىل اإلسَلم نزل احلَلل واحلرام‬
‫ ال‬:‫ ولو نزل ال تزنوا لقالوا‬،ً‫ ال ندع اخلمر أبدا‬:‫ال تشربوا اخلمر لقالوا‬
‫ندع الزنا أبداً لقد نزل مبكة على حممد (صلى اهلل عليه وسلم) وإين‬
142

‫جلارية ألعب "بل الساعة موعدهم والساعة أدهى وأمر" وما نزلت سورة‬
‫ فأخرجت له املصحف فأملت‬:‫ قال‬.‫(البقرة) و (النساء) إال وأنا عنده‬
)) ‫عليه آي السور‬
(4993:‫(رواه البخاري‬
ความว่า “ขณะที่ฉนั อยูก่ บั ท่านหญิงอาอิชะฮฺ ผูเ้ ป็ นมารดาแห่ งผู ้
ศรัทธาทั้งหลาย ชาวอิรักคนหนึ่ งได้มาหาเธอกล่าว (กับเธอ) ว่า
“ผ้าห่อผูต้ ายแบบไหนดีที่สุด?” เธอตอบว่า“ขออัลลอฮฺ โปรดเมตตา
ท่าน ท่านมีความประสงค์อย่างไร?” (จึงถามเช่นนี้ ) เขาก็กล่าวอีก
ว่า “โอ้มารดาของผูศ้ รัทธาทั้งหลาย ขอฉันดูอลั กุรอานฉบับที่ท่าน
มี” เธอตอบว่า “ทาไมละ?” เขาตอบว่า“เพื่อฉันจะรวบรวมมันและ
ใช้เป็ นหลัก ในการเรี ย บเรี ย ง เพราะมี ก ารอ่ า นอัล กุ รอานโดย
เรี ยงลาดับสู เราะฮฺ ไม่ถูกต้อง” เธอกล่าวว่า “และท่านมีประสงค์
อย่างไร? ท่านอ่านสู เราะฮฺ ใดเป็ นลาดับแรก?” แท้จริ งแรกเริ่ มการ
ประทานอัลกุรอานนั้นเป็ นการประทานสู เราะฮฺ หนึ่ งสู เราะฮฺ ใดที่
นามาจากอัลมุฟัศศ็อล ในสู เราะฮฺ น้ ี กล่าวถึงเรื่ องสวรรค์และนรก
จนกระทัง่ เมื่อผูค้ นกลับคืนสู่ อิสลามกันมากขึ้น อายะฮฺ ที่เกี่ยวกับ
หะลาล (สิ่ งอนุ มตั ิ)และหะรอม (สิ่ งที่ไม่อนุ มตั ิ) จึงถูกประทานลง
มา หากว่าสิ่ งแรกเป็ นเรื่ องที่วา่ ไม่ให้พวกท่านดื่มเหล้า พวกท่านก็
จะกล่าวว่า พวกเราไม่สามารถละทิ้งเหล้าได้ แต่ถา้ หากลงมาว่า
พวกท่านอย่าได้ละเมิดประเวณี พวกท่านก็จะกล่าวว่า พวกเราไม่
อาจเลิกการประเวณี ได้ ขณะที่อายะฮฺหนึ่งถูกประทานลงมาที่มกั
กะฮฺ ให้กบั ท่านนบีมุฮมั มัดมุฮมั มัด  นั้น ตัวฉันยังเป็ นเด็กหญิง
เล็ก ๆ วัยซุกซน ความว่า “แต่วา่ ยามอวสาน (วันกิยามะฮฺ ) นั้น เป็ น
กาหนดเวลา (การลงโทษ) ของพวกเขา และยามอวสานนั้นทุกข์
ทรมานยิ่ง และขมขื่นยิ่ง (อัลเกาะมัร : 46) ส่ วนสู เราะฮฺ อลั บะเกาะ
เราะฮฺและสู เราะฮฺ อนั นิ ซาอฺ น้ นั ประทานลงมา โดยที่ฉนั อยูก่ บั ท่าน
เราะสู ล  ด้วย เขา (ยูสุฟ) เล่าว่า ท่านหญิงอาอิชะฮฺ (เราะฎิยลั ลอ
ฮุอนั ฮา) จึงได้นาเอาอัลกุรอานฉบับที่มีอยู่ที่เธอออกมา และได้
อธิบายให้เขาฟังถึงลาดับสู เราะฮฺต่าง ๆ ”
(al-Bukhari, 1986 : 4993)
143

จากหะดีษข้างต้นชี้ ให้เห็นว่าการประทานอายะฮฺ อลั กุรอานได้ใช้เทคนิ คการสอน


แบบค่อยเป็ นค่อยไปที่ละขั้นตอน โดยเฉพาะการเริ่ มต้นกล่ าวถึ งสวรรค์และนรกก่อนแล้วค่อย
กล่าวถึงเรื่ องปลีกย่อยรองลงมา กล่าวคือ หากมนุษย์ตอ้ งการเป็ นชาวสวรรค์พวกเขาก็จะต้องปฏิบตั ิ
ตามคาสั่งของพระองค์อลั ลอฮฺ  และหากต้องการเป็ นชาวนรกพวกเขาก็จะต้องปฏิ บตั ิในสิ่ งที่
พระองค์ทรงห้าม ซึ่ งเป็ นการเปิ ดทางให้มนุ ษย์ได้คิดไตร่ ตรองในการเลื อกปฏิ บตั ิ ระหว่างสิ่ งที่
นาไปสู่ สวรรค์และนรก ต่อมาเมื่อมนุษย์ทราบถึงความสุ ขสบายในสวนสวรรค์และความทรมานอัน
แสนเจ็บปวดในนรกแล้ว พวกเขาก็สามารถเปิ ดใจรับทุกสิ่ งทุกอย่างได้ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องที่สั่งใช้หรื อ
สั่งห้าม เพราะจิตใจของพวกเขามีความพร้อมและเลือกปฏิบตั ิได้แล้ว เทคนิ คการสอนดังกล่าว เป็ น
เทคนิ คที่เข้าถึงความต้องการอย่างแท้จริ งของธรรมชาติความเป็ นมนุษย์ ซึ่ งธรรมชาติของพวกเขา
เอนเอียงไปในสิ่ งที่ง่ายมากกว่าสิ่ งที่ยากเพราะหากเริ่ มต้นในสิ่ งที่ยากก่อน จะทาให้หมดกาลังใจและ
รู ้สึกเบื่อหน่ายที่จะปฏิบตั ิ แต่หากเริ่ มต้นด้วยสิ่ งที่ง่ายและพยายามปรับตัวปรับใจโดยการหมัน่ ฝึ กฝน
ให้กา้ วไปทีละขั้นตอนจะเป็ นเทคนิ คการสอนที่ได้ผลมากกว่าและสอดคล้องกับความต้องการของ
มนุษย์ โดยเฉพาะผูเ้ รี ยนแล้ว หากสอนในสิ่ งที่ยากก่อนพวกเขาจะเบื่อหน่ายและไม่ค่อยสนใจใน
บทเรี ยน โดยเฉพาะผูเ้ รี ยนที่อยูใ่ นระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

6. ให้ ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล


ท่าน ได้ยกหะดีษ ของท่านนบี ซึ่ งได้กล่าวว่า
))‫ فاقرؤوا ما تيسر منه‬،‫((أنزل القرآن على سبعة أحرف‬
ความว่า"แท้จริ ง อัลกุรอาน ได้ถูกประทานลงมา 7 สาเนี ยงภาษา
ด้วยกัน ท่านทั้งหลาย จงอ่านสิ่ งที่ จะทาให้เกิ ดความง่ายดายจาก
อัลกุรอานนั้น"(Ibn Sahnun, 1972 :80)
สังเกตจากหะดีษของท่านนบี ข้างต้นจะเห็นว่า อิสลามได้ให้ความสาคัญในเรื่ อง
ของความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยเฉพาะในเรื่ องของการศึกษา การเรี ยนการสอน ซึ่ งในหะดีษบท
นี้ ท่านนบีได้กล่าวว่า อัลกุรอาน ได้ถูกประทานลงมา 7 สาเนี ยงภาษาด้วยกัน และผูอ้ ่านสามารถ
เลือกอ่านและเรี ยนรู ้อลั กุรอานตามความง่ายดายและความถนัดของตนเอง
ท่านอับดุลลอฮฺ บิน มัสอูด ได้กล่าวว่า
((‫))ما أنت مبحدث قوما حديثا ال تبلغه عقوهلم إال كان لبعضهم فتنة‬
144

ความว่ า “หากท่ า นตัก เตื อ นกลุ่ ม ชนหนึ่ งกลุ่ ม ชนใดในเรื่ องที่


สติปัญญาของพวกเขารับไม่ได้ เรื่ องเหล่านั้นอาจเป็ นฟิ ตนะฮฺ (ก่อ
ความเสี ยหายความวุน่ วาย)แก่พวกเขาก็ได้”
(Muslim,1996 : 9)
มีรายงานจากท่านอลี ได้กล่าวว่า
))‫ أحتبون أن يكذب اهلل ورسوله؟‬،‫((حدثوا الناس مبا يعقلون‬
ความว่า “พวกท่ า นจงพูดกับ บรรดามนุ ษ ย์ ด้ว ยกับ สิ่ ง ที่ พ วกเขา
เข้าใจหรื อว่าพวกท่านต้องการให้มีการกล่าวโกหกต่ออัลลอฮฺ และ
ร่ อซูลของพระองค์กระนั้นหรื อ?
(al-Bukhari,1986 :127)
จากคาพูดของเศาหาบะฮฺท้ งั สองจะเห็นได้วา่ อิสลามได้ยอมรับและให้ความสาคัญ
ในเรื่ องของความแตกต่างระหว่างบุคคลซึ่ งมันเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นอย่างยิ่งโดยเฉพาะในการเรี ยนการ
สอน
7. การสอนแบบการใช้สื่อการเรี ยนการสอน
ท่านได้กล่าวว่า
‫ ولو ال ذلك لقل كتاب‬،‫)) وال بد للناس من شراء املصاحف وبيعها‬
‫ وال بد للناس من معلم يعلم أوالدهم وأخذ على ذلك أجرا ولو‬،‫اهلل‬
(( ‫ذلك لكان الناس أميني‬
“มัน เป็ นสิ่ ง ที่ จ าเป็ นส าหรั บ ทุ ก คนที่ ต้อ งซื้ อ ขายอัล กุ ร อาน ถ้า
มิฉะนั้นแล้วจะทาให้คมั ภีร์ของอัลลอฮฺ เหลื อน้อยลง และมันเป็ น
สิ่ ง ที่ จาเป็ นสาหรั บทุ ก คนที่ ต้องมี ผูส้ อนให้กบั ลู ก ๆของพวกเขา
และควรที่ จะได้รับ ค่ า ตอบแทน ซึ่ ง มิ ฉ ะนั้นแล้วจะทาให้ผูค้ น
ทั้งหมดเป็ นคนที่อวิชชา”
(Ibn Sahnun, 1972:82)
145

สังเกตจากคาพูดของท่าน จะเห็นได้วา่ ท่านให้ความสาคัญกับสื่ อการเรี ยนการสอน


โดยกาชับให้ทุกคนต้องมีการซื้ อขายตารา ไม่วา่ จะเป็ นผูส้ อนหรื อผูเ้ รี ยน ซึ่ งถ้าไม่มีการซื้ อขายตารา
จะทาให้คมั ภีร์อลั กุรอานนั้นน้อยลง

8. การสอนแบบทัศนศึกษา
ท่านได้กล่าวว่า
ٍ ‫ َع ِن ا بْ ِن ِشه‬، ‫ َع ن ي ونُس بْ ِن ي ِزي َد‬، ‫(( ع ن ح ْفص بْ ن عُ مر‬
، ‫اب‬ َ َ َ ُْ ََ ُ ُ َ
ِ ِ ِ ِ ِ ِ ٍ ‫أَن سع َد بن أَِب وق‬
‫اب‬ َ َ‫اص " قَد َم بَر ُج ٍل م َن اْلعَراق يُ َعلِّ ُم أَبْ ن‬
َ َ‫اء ُه ْم اْلكت‬ َ َْ َْ
ِ ِ
)) ‫َجَر‬ ْ ‫ك ْاأل‬َ ‫بِالْ َمدينَ ِة َويُ ْعطُونَهُ َعلَى ذَل‬
จากหัฟ ศฺ บิ น อุ ม รั จากยูนุส บิ น ยะซี ด จาก อิ บนุ ชิ ฮาบ แท้จริ ง
สะอดฺ บิน วัก กอฟ ได้พ าผูช้ ายคนหนึ่ งจากอิรักเพื่อสอนลู กของ
ท่านที่มาดีนะฮฺเกี่ยวกับอัลกุรอานและท่านได้ให้ค่าจ้างกับผูช้ ายคน
นั้น (Ibn Sahnun, 1972:83)

อิสลามได้ให้ความสาคัญในเรื่ องการเดิ นทางเพื่ อแสวงหาความรู้ ซึ่ งสังเกตจาก


อัล กุ รอานและหะดี ษ ของท่ า นนบี จะเห็ นได้ว่า หลายๆอายะฮฺ อลั ลอฮฺ ไ ด้ใ ห้ความส าคัญของการ
เดิ นทางเพื่อแสวงหาความรู ้ และเช่ นเดี ยวในหะดี ษของท่านนบีหลายๆหะดี ษท่านได้พูดถึ งของ
การเดินทางเพื่อแสวงหาความรู้
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

         

        

      

ความว่า "..ท าไมแต่ ล ะกลุ่ ม ในหมู่ พ วกเขาจึ ง ไม่ ออกไปเพื่ อ หา


ความเข้าใจในเรื่ องศาสนา และเพื่อจะได้ตกั เตือนหมู่คณะของพวก
เขาเมื่อพวกเขาได้กลับมายังหมู่คณะของพวกเขา.."
146

(อัตเตาบะฮฺ :122)
‫ قال رسول ااهلل صلى ااهلل عليه‬:‫((عن أيب هريرة رضي ااهلل عنه قال‬
‫ من سلك طريقاً يلتمس فيه علماً سهل اهلل له به طريقاً إىل‬:‫وسلم‬
.))‫اجلنة‬
“ผูใ้ ดก็ตามที่ออกเดินทางเพื่อแสวงหาความรู ้ อัลลอฮฺจะทรงทาให้
หนทางไปสู่ สวรรค์สะดวกง่ายดายแก่เขา”
(Muslim: 2699)

9. การให้ ความเสมอภาคระหว่ างผู้เรียน


ท่านได้กล่าวว่า:
ِ
،‫وِل ثَلثة صبية من هذه األمة فلم يعلمهم بالسوية‬
َ ‫((أميا مؤدب‬
‫ حشر يوم القيامة مع‬،‫ وغنيهم مع فقريهم‬،‫فقريهم مع غنيهم‬
))‫اخلائنني‬
“ผูใ้ ดก็ตามที่ได้สอนผูเ้ รี ยนจากประชาชาติของฉันจานวนสามคน
ขึ้นไปโดยไม่สร้างความยุติธรรมระหว่างพวกเขา ระหว่างผูเ้ รี ยนที่
รวย กับผูเ้ รี ยนที่ ยากจน และระหว่างผูเ้ รี ยนที่ยากจนกับผูเ้ รี ยนที่
รวย เขาจะถูกคืนฟื้ นชีพในจาพวกผูค้ นที่ขาดทุน”
(Ibn Sahnun: 1972:84-85)

10. การสร้ างความเป็ นมิตร


ท่านได้กล่าวว่า
‫" وال حيل للمعلم أن ينشغل عن الصبيان إال أن يكون يف وقت ال‬
،‫ فَل بأس أن يتحدث وهو ف ذلك ينظر إليهم‬،‫يعرضهم فيه‬
‫ وال جيوز له الصَلة على اجلنائز إال فيما البد‬،‫ويتفقدهم وليتفرع هلم‬
147

،‫ ألنه أجري ال يدع عمله وال يتبع اجلنائز‬،‫له منه يلزمه النظر ف أمره‬
" .‫وال عيادة املرضى‬
“ผูส้ อนไม่ควรละเลยต่อผูเ้ รี ยนนอกจากเวลาที่ ไม่มีการเรี ยนการ
สอน ไม่ เ ป็ นไรที่ เ ขาจะพู ด คุ ย ในขณะที่ เ ขาก าลัง สอดส่ อ งดู แ ล
ผูเ้ รี ยน และควรสอบถามและให้เวลากับผูเ้ รี ยน และไม่ควรที่จะใช้
เวลาสอนในการไปละหมาดศพนอกจากมันเป็ นมีความจาเป็ นที่ไม่
อาจเลี่ ย งได้ โดยผูส้ อนสามารถใช้ดุ ล ยพิ นิ จของตนเอง เพราะ
ผู ้ส อนเป็ นผู ้ที่ ถู ก จ้า งมาเพื่ อ สอน ไม่ ค วรที่ จ ะทิ้ ง การสอนไป
ละหมาดศพ และ เยือนผูป้ ่ วย”
(Ibn Sahnun, 1972:98-100)

11.ฝึ กฝนปฏิบัติ
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า
‫ويضرِبم‬، ‫" ينبغي للمعلم أن يأمرهم للصَلة إذا كانوا بين سبع سنني‬
"‫عليها إذا كانوا بين عشر‬
“ผูส้ อนควรกาชับให้ผเู ้ รี ยนละหมาดตั้งแต่อายุเจ็ดขวบ และควร
ลงโทษ (ด้วยการตีเมื่อได้ทิ้งการละหมาด) ตอนอายุครบสิ บขวบ”
(Ibn Sahnun, 1972:109)
สังเกตจากคากล่ าวของท่านมุ หัมมัดบิ นสะหฺ นูนข้า งต้น จะเห็ นได้ว่า ท่านได้ใ ห้
ความสาคัญกับการฝึ กฝนปฏิบตั ิในการเรี ยนรู ้โดยเฉพาะการละหมาดซึ่ งมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ที่ตอ้ ง
ใช้เทคนิ คการฝึ กฝนปฏิ บตั ิในการเรี ยนรู้ เพื่อให้ผูเ้ รี ยนได้ฝึกฝนปฏิ บตั ิ การละหมาดอย่างถู กต้อง
เสมือนท่านนบีได้ละหมาด เพราะท่านนบี ได้กล่าวว่า
))‫)) صلوا كما رأيتموين أصلي‬
พวกท่านจงละหมาด ดังที่เห็นฉันละหมาด

(al-Bukhari,1986:598)
148

12. การสอนแบบตัรฆีบและตัรฮีบ3
ท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า
"‫"وال بأس أن يضرِبم على منافعهم‬
“และถือว่าไม่เป็ นไรสาหรับการตีเด็กเพื่อผลประโยชน์ของพวกเขา
”(Ibn sahnun, 1978:89)
สังเกตจากคากล่าวของท่านจะเห็ นได้ว่า ท่านใช้วิธีการตีในการลงโทษเด็ก และ
การลงโทษเด็กด้วยการตีน้ นั เป็ นวิธีหนึ่ งในการที่จะให้เด็กห่ างไกลจากสิ่ งที่ไม่ดี และให้เด็กเป็ นผูท้ ี่
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ซึ่ งวิธีน้ ีถูกเรี ยกเป็ นภาษาอาหรับว่า (‫)أسلوب الرتغيب والرتهيب‬
วิธีตรั ฆีบและตัรฮีบเป็ นวิธีสอนที่ผสู ้ อนส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้ผเู ้ รี ยนตระหนัก
ถึงการปฏิบตั ิในสิ่ งที่ดีงามและสิ่ งมีคุณค่า เพื่อแสวงหาความโปรดปรานจากพระองค์อลั ลอฮฺ 
และให้ห่างไกลจากสิ่ งที่ชั่วร้ ายและบทลงโทษของพระองค์ เป็ นวิธีสอนที่เตือนให้พึงระวังและ
เตรี ยมพร้ อมกับเหตุการณ์ที่ยงั มาไม่ถึง โดยครอบคลุมทั้งเหตุการณ์ ที่ดีและชัว่ วิธีสอนแบบตัรฆีบ
และตัรฮีบเป็ นวิธีสอนอิสลามศึกษาดั้งเดิมโดยธรรมชาติที่พระองค์อลั ลอฮฺ  ทรงประทานแก่
มนุษย์ โดยให้พวกเขามีความปรารถนากับความสุ ข ความโปรดปราน และชีวติ บั้นปลายที่มีความสุ ข
และห่างไกลกับความทุกข์ยาก ความขมขื่น ความทรมาน และชีวติ บั้นปลายที่มีแต่ความทุกข์

อัลหาซิ มีย ์ (Al-Hazimi, 2000 : 392)ได้กล่าวถึงความสาคัญของวิธีสอนแบบตัรฆีบ


และตัรฮีบในระบบการศึกษา ดังนี้
1.วิธีสอนแบบตัรฆีบและตัรฮีบเป็ นวิธีการสอนหนึ่ งที่อยูใ่ นหลักสู ตรอิสลามศึกษา
ในอัลกุรอานและสุ นนะฮฺจึงมีจานวนอายะฮฺ และหะดีษมากมายที่ได้กล่าวถึงวิธีสอนดังกล่าวโดยสั่ง
ให้มนุษย์ปฏิบตั ิในสิ่ งที่ใช้และละเว้นในสิ่ งที่หา้ ม
2.โดยธรรมชาติของมนุษย์ถูกสร้างมาเพื่อให้รักในสิ่ งที่ดีงามและเกลียดชังความชัว่
และความยากลาบาก ด้วยเหตุดงั กล่าวจึงผลักดันให้มนุ ษย์ตอบรับปฏิกิริยาต่าง ๆ ทั้งในสิ่ งที่ดีและ
สิ่ งที่ชวั่ โดยตัรฆีบและตัรฮีบคือสิ่ งสองสิ่ งที่ทาหน้าที่ท้ งั ความกลัวและความหวัง ซึ่ งทั้งสองเป็ นเส้น
สองเส้นที่อยูใ่ นตัวของมนุษย์ ดังนั้น หลักสู ตรอิสลามศึกษาจึงได้ใช้วธิ ี สอนดังกล่าว โดยในบางครั้ง
เพื่อขับเคลื่อนความรู ้สึกที่ดีดว้ ยการตัรฆีบในสิ่ งที่พระองค์อลั ลอฮฺ  ทรงให้สัญญาสาหรับบรรดา
ผูท้ ี่ มีความยาเกรงต่อพระองค์ และป้ องกันตัวเขาจากสิ่ งที่ หลงผิด และบางครั้ งเพื่อขับเคลื่ อน

3
คือการสอนแบบการส่งเสริ มและเตือน
‫‪149‬‬

‫้ ู‪ความรู ้สึกที่ไม่ดีดว้ ยการตัรฮีบในสิ่ งที่พระองค์อลั ลอฮฺ  ทรงขู่เข็ญและตักเตือนสาหรับบรรดาผ‬‬


‫‪ก่อความเสื่ อมเสี ยและหลงผิดจากหนทางที่ถูกต้อง‬‬

‫‪5.1.4 ผู้สอน‬‬

‫‪ครู ผสู ้ อนคือหัวใจหลักในการจัดการเรี ยนการสอนนับแต่อดี ตจวบจนปั จจุบนั ซึ่ ง‬‬


‫ี‪ครู น้ นั มีความสาคัญไม่ยงิ่ หย่อนลงเลย ญิบรี ล อะลัยฮิสลาม เปรี ยบเสมือนครู ท่านแรกให้กบั ท่านนบ‬‬
‫‪ ตามที่ท่านนบีได้กล่าวในหะดีษบทหนึ่งว่า‬‬

‫صلى اللهُ َعلَْي ِه َو َسل َم ِم ْن الْ َو ْح ِي ُّ‬


‫الرْؤيَا‬ ‫ئ بِِه رس ُ ِ‬ ‫ِ‬
‫ول الله َ‬ ‫))أَو ُل َما بُد َ َ ُ‬
‫ت ِمثْ َل فَلَ ِق ُّ‬ ‫ِ‬ ‫ِ‬
‫الصْب ِح‪ُُ ،‬ث‬ ‫الصاحلَةُ ِف الن ْوم‪ ،‬فَ َكا َن الَ يََرى ُرْؤيَا إِال َجاءَ ْ‬
‫ث فِ ِيه َوُه َو الت َعبُّ ُد‬ ‫ٍ‬
‫اخلََلَءُ‪َ ،‬وَكا َن َخيْلُو بِغَا ِر ِحَراء فَيَتَ َحن ُ‬ ‫ب إِلَْي ِه ْ‬ ‫ُحبِّ َ‬
‫ك ُُث يَ ْرِج ُع إِ َىل‬ ‫ِِ‬ ‫ِ‬
‫ع إِ َىل أ َْهل ِه َويَتَ َزو ُد ل َذل َ‬
‫ِ‬ ‫ِ‬
‫اِل َذ َوات الْ َع َدد قَ ْب َل أَ ْن يَْن ِز َ‬ ‫ِ‬
‫الليَ َ‬
‫ِ ٍ‬ ‫َخ ِدجيَةَ فَيَتَ َزو ُد لِ ِمثْلِ َها‪َ ،‬حىت َجاءَهُ ْ‬
‫احلَ ُّق َوُه َو ِف َغا ِر حَراء‪ ،‬فَ َجاءَهُ‬
‫َخ َذِين فَغَطَِّين َح ََّّت‬ ‫ال ‪ :‬فَأ َ‬ ‫ال ‪َ " :‬ما أَنَا بَِقا ِر ٍئ" قَ َ‬ ‫ال "اقْ َرأْ" قَ َ‬ ‫ك فَ َق َ‬ ‫الْ َملَ ُ‬
‫ت ‪َ " :‬ما أَنَا بَِقا ِر ٍئ"‬ ‫ال ‪" :‬اقْ َرأْ" قُ ْل ُ‬ ‫بَلَ َغ ِم ِّين ْ‬
‫اجلَ ْه َد ُُثَّ أ َْر َسلَ ِين‪ ،‬فَ َق َ‬
‫ال ‪" :‬اقْ َرأْ"‬ ‫اجلَ ْه َد ُُث أ َْر َسلَِين‪ ،‬فَ َق َ‬ ‫َخ َذِين فَغَطَّ ِني الثانِيَةَ َحىت بَلَ َغ ِم ِّين ْ‬ ‫فَأ َ‬
‫ال "اقْ َرأْ‬ ‫َخ َذِين فَغَطَِّين الثَّالِثَةَ ُُثَّ أ َْر َسلَ ِين‪ ،‬فَ َق َ‬ ‫ت ‪َ " :‬ما أَنَا بَِقا ِر ٍئ" فَأ َ‬ ‫فَ ُق ْل ُ‬
‫بِاس ِم ربِّ ِ‬
‫ك األَ ْكَرُم"‬ ‫ك الَّذي َخلَ َق‪َ ،‬خلَ َق ا ِإلنْ َسا َن ِم ْن َعلَ ٍق‪ ،‬اقَرأْ َوَربُّ َ‬ ‫ْ َ َ‬
‫…((‪ .‬متفق عليه‬

‫‪ความว่ า “วะห์ ยู (วิ ว รณ์ )ที่ ถู ก ประทานลงมาแก่ ร อซู ล ลุ ล ลอ‬‬


‫ฺ‪ฮ‬‬ ‫ิ‪ครั้ งแรกคื อ การฝั นอันเที่ ยงธรรมในขณะนอนหลับ ท่านม‬‬
‫‪เห็นสิ่ งใดในขณะที่ฝันเว้นแต่มนั จะมาเหมือนดังแสงฟ้ าในยามรุ่ ง‬‬
‫้‪อรุ ณ(คือชัดเจนยิ่ง) หลังจากนั้นอัลลอฮฺ ได้ประทานความรู ้สึกให‬‬
150

ท่านอยากปลี กตัว และท่านได้ปลีกตัวไปอยู่ในถ้ าหิ รออ์ - นัน่ คือ


การปฏิ บ ตั ิ ศ าสนกิ จ(ท าอิ บาดะฮฺ )ในนั้นเป็ นระยะเวลาหลายคื น
ก่อนที่จะได้กลับไปพบบรรดาญาติมิตรอีกครั้งเพื่อเตรี ยมสัมภาระ
ต่างๆ ในการกลับไปบาเพ็ญตัวในถ้ าอีก - ท่านจะกลับไปหาเคาะ
ดี ญะฮฺ และนางก็จะเตรี ยมสัม ภาระอย่า งที่ เคยจัดเตรี ย มในทุ ก ๆ
ครั้ง จนกระทัง่ วะห์ยูถูกประทานลงมาในขณะท่านอยู่ในถ้ าหิ รออ์
ซึ่ งได้มีมลาอิกะฮฺ (ญิบรี ล)มาพบท่านพร้ อมกับกล่าวว่า “จงอ่าน”
ท่านนบี  ตอบว่า “ ฉันไม่ใช่ผทู ้ ี่อ่านเป็ น” ท่านบอกว่า เขา(ญิบ
รี ล)ได้ดึงตัวฉันและกอดรัดตัวฉันจนฉันรู ้สึกแน่นแทบทนไม่ไหว
แล้วเขาก็ปล่อยฉันพร้อมกับได้กล่าวอีกครั้งว่า “จงอ่าน” ฉันก็ได้
ตอบไปอีกว่า “ฉันไม่ใช่ผทู ้ ี่อ่านเป็ น” จากนั้นญิบรี ลก็ได้ยึดตัวฉัน
และกอดรัดฉันอีกครั้งเป็ นครั้งที่สองจนฉันรู ้สึกอัดแน่ น แล้วเขาก็
ปล่อยฉันอีกครั้ง พร้ อมกับได้กล่าว(อีกเป็ นครั้งที่สาม) “จงอ่าน”
ฉันก็ตอบว่า “ฉันไม่ใช่ ผทู ้ ี่อ่านเป็ น” ญิบรี ลได้ดึงตัวฉันและกอด
รัดตัวฉันอีกเป็ นครั้งที่สามและหลังจากนั้นก็ได้ปล่อยตัวฉันพร้อม
กับกล่าวว่า

ِ
َ ُّ‫ اقْ َرأْ َوَرب‬،‫ َخلَ َق ا ِإلنْ َسا َن ِم ْن َعلَ ٍق‬،‫ك الذي َخلَ َق‬
‫ك‬ ْ ِ‫اقْ َرأْ ب‬
َ ِّ‫اس ِم َرب‬
‫األَ ْكَرُم‬

ความว่า “จงอ่านด้วยพระนามของอัลลอฮฺ ผูท้ รงสร้ าง ทรงสร้ า ง


มนุ ษย์จากก้อนเลือด จงอ่าน และพระผูอ้ ภิบาลแห่ งเจ้านั้นเป็ นผูท้ ี่
ทรงเปี่ ยมยิง่ ด้วยความใจบุญ...”(อัลอะลัก : 1-3)
(al-Bukhri,1986:3)
ผูส้ อนไม่เพียงแต่มีหน้าที่ให้การศึกษาเพียงอย่างเดียว แต่ผสู ้ อนมีหน้าทีมากกว่านั้น
กล่าวคือผูส้ อนมีหน้าที่ทุกอย่างแทนผูป้ กครองของเด็ก โดยเฉพาะมีหน้าที่สอนและอบรมบุคคลที่มี
หน้าที่สอนคือพ่อแม่แต่อนั เนื่ องจากพ่อแม่ที่ตอ้ งทางานหาปั จจัยยังชี พทาให้ไม่มีเวลาที่จะสอนลูก
ทาให้หน้าที่สอนตกกับคุณครู ผสู ้ อน
151

อิบนุสะหฺ นุนได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับผูส้ อนในหลายๆด้านด้วยกันซึ่ งผูว้ ิจยั ได้แยก


ประเด็นหรื อคุณลักษณะของผูส้ อนในด้านต่างๆออกเป็ นดังนี้

5.1.4.1 คุณลักษณะทางด้านวิชาชีพของผูส้ อน
1) ดูแลและให้ความสาคัญผูเ้ รี ยนโดยเฉพาะในช่วงแยกย้ายจากสถานศึกษากลับไป
ที่บา้ น (Ibn Sahnun: 1972:97) และควรตรวจสอบว่าเด็กกลับถึงบ้านหรื อไม่ แล้วหรื อยัง
2) ในช่ วงที่ผเู ้ รี ยนขาดเรี ยนผูส้ อนควรติดต่อกับผูป้ กครองของเด็ก (Ibn Sahnun:
1972:97)
3) ผูส้ อนควรสละเวลากับการสอนอย่างเต็มที่เพราะจะทาให้ภาระหน้าที่การสอน
จะได้เดินไปด้วยดีและสมบูรณ์ (Ibn Sahnun, 1972:100)
4) ผูส้ อนห้ามดาเนินภารกิจหรื อกิจการใดๆที่ไปรบกวนกิจการการสอนนอกจาก
ในเวลาที่ไม่มีการเรี ยนการสอน (Ibn Sahnun, 1972:98)
5) ไม่ควรที่จะกาชับให้คนหนึ่ งคนใดไปช่วยสอน นอกจากว่ามันจะให้ประโยชน์
กับผูเ้ รี ยน (Ibn Sahnun, 1972:98)
6) ผูส้ อนไม่ควรที่จะสั่งใช้ผเู ้ รี ยนไปรับใช้ในความต้องการส่ วนตัวของผูส้ อน
(Ibn Sahnun, 1972:109)
7) ผูส้ อนไม่ควรที่จะสอนอัลกุรอานและตารับตาราให้กบั บุตรของชาวคริ สต์(Ibn
Sahnun, 1972:112)
8) ผูส้ อนผูช้ ายไม่ควรที่ จะสอนผูเ้ รี ยนผูห้ ญิ ง และไม่ควรเรี ยนปะปนรวมกัน
ระหว่างผูห้ ญิงกับผูช้ าย (Ibn Sahnun, 1972:117)
9) ผูส้ อนสามารถที่ จะเป็ นคนที่ ร่ า รวยได้แต่ ไ ม่ ใ ช่ อาศัย ความร่ า รวยจากผูเ้ รี ย น
(Ibn Sahnun, 1972:104)
10) ไม่ควรที่ จะให้ผูเ้ รี ยนศึ กษากับผูเ้ รี ยนด้วยกันนอกจากด้วยการอนุ ญาตจาก
ผูป้ กครอง หรื อ บ้านของผูเ้ รี ยนอยูใ่ กล้กนั (Ibn Sahnun, 1972:97)
11) ในขณะที่มีการเรี ยนการสอนไม่ควรที่จะทิ้งภาระหน้าที่ดว้ ยการไปละหมาด
ญินาซะฮฺ (ละหมาดศพ) (Ibn Sahnun, 1972 :100)
152

12) ผูส้ อนไม่ควรที่จะให้ผเู ้ รี ยนขาดเรี ยนนอกจากด้วยการอนุ ญาตจากผูป้ กครอง


(Ibn Sahnun: 1972:95)
13) ผูส้ อนไม่ควรที่จะเขี ยนหรื ออ่านในขณะที่มีการเรี ยนการสอนนอกจากหลัง
เสร็ จภาระกิจการเรี ยนการสอน (Ibn Sahnun, 1972:101)
14) มีความรู ้เกี่ยวกับวิธีการสอน
สังเกตจากคาพูดของท่านมุหมั มัดยินสะหฺ นูนที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผูส้ อนจะเห็น
ว่าผูท้ ี่เป็ นครู จาเป็ นต้องมีความรู ้ เกี่ยวกับวิธีการสอน ซึ่ งด้วยเหตุน้ ี ท่านจึงตั้งชื่ อหนังสื อของท่านว่า
อาดาบ อัลมุอลั ลิมีน)‫(آداب املعلمني‬
อะหฺ มดั ชาลาบี ย ์ ได้กล่ าวว่า “ความรู ้ อย่างเดี ยวไม่สามารถที่ จะเป็ นอาวุธให้กบั
ผูส้ อนได้นอกจากจะต้องรู ้ เพิ่มเติมเกี่ ยวกับวิธีการอบรมสั่งสอนเด็ก เพื่อให้ผสู ้ อนได้รู้ถึงจิตวิทยา
ของเด็กเพื่อเป็ นสะพานที่สามารถเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยนเพื่อให้ได้มาซึ่ งความรู ้”

5.1.4.2 คุณลักษณะทางด้ านด้านวิชาความรู้ผ้ สู อน


1. ท่องจาอัลกุรอานโดยรู ้กฎการอ่านอัลกุรอาน (หลักตัจญ์วดี )
2. มีความรู้ เกี่ ยวกับฟิ กฮฺ (ศาสนบัญญัติ) เพื่อสามารถสอนเด็กในเรื่ องของการ
ละหมาดและบทบัญญัติต่างๆที่เกี่ยวกับการละหมาด การอาบน้ าละหมาด และเงื่อนไขตางๆของการ
ละหมาด
3. มีความรู ้เกี่ ยวกับไวยากรณ์ภาษาอาหรับเพื่อสามารถที่จะสอนเด็กเกี่ยวกับหลัก
พื้นฐานของการเขียนด้วยหลักไวยากรณ์ภาษาอาหรับ และสามารถแต่งประโยคได้อย่างถูกต้อง
4. การคัดลายมือ ผูส้ อนต้องเป็ นผูท้ ี่มีลายมือการเขียนที่สวยงาม
5. อ่ า นและค้นคว้า ความรู ้ เพิ่ ม เติ ม จากตาราที่ เป็ นมรดกทางวิชาการ เพื่ อผูเ้ รี ย น
สามารถท่องจาบทกวีอาหรับได้ (Ridwan, 1970:15)

5.1.4.3 คุณลักษณะทางด้ านส่ วนตัวของผูส้ อน


ผูส้ อนในทัศนะของอิสลาม คือผูท้ ี่สามารถเป็ นแบบอย่างให้กบั ผูเ้ รี ยนเพื่อผูเ้ รี ยน
ได้ตามและเลียนแบบในสิ่ งที่ดี และถือว่าเป็ นสิ่ งที่อนั ตรายอย่างยิ่งสาหรับผูเ้ รี ยนที่ได้ใช้ชีวิตอยูก่ บั
ผูส้ อนตลอดช่วงระยะเวลาในการศึกษาหาความรู ้ โดยทาตามหรื อเลียนแบบจรรยามารยาทมารยาท
153

ที่ไม่ดีจากผูส้ อน ดังนั้นผูส้ อนควรมีบุคลิ กนิ สัยที่ดี ในชี วิตประจาวันต่อหน้าผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผูเ้ รี ยน


สามารถตามแบบอย่างที่ดีได้ และยังสามารถปฏิ บตั ิในชี วิตประจาวัน เพราะผูเ้ รี ยนถือว่าผูส้ อนคือ
แบบอย่า งที่ จ าเป็ นต้อ งปฏิ บ ัติ ต าม และส าหรั บ ผูส้ อนควรห่ า งไกลจากสิ่ ง ที่ เ ป็ นชุ บ ฮาต(สิ่ ง ที่
คลุมเครื อระหว่างสิ่ งที่อนุ มตั ิกบั สิ่ งที่ตอ้ งห้าม) เพราะผูเ้ รี ยนมักจะอ้างคาพูดของผูส้ อนไม่วา่ จะถูก
หรื อผิด.
อบู อิสหาก อัลญุ บนิ ยานี ย ์ (เสี ยชี วิต ฮ.ศ.ที่379) หนึ่ งในบรรดาปราชญ์เมือง
ก็อยเราะวาน ที่ใช้ชีวติ อยูก่ บั การสอนได้กล่าวว่า“เจ้าจงอย่าส่ งลูกไปศึกษาหาความรู ้นอกจากกับผูท้ ี่
มีศาสนา เพราะศาสนาของเด็กจะยึดติดกับศาสนาของผูส้ อน” (Ibn Abdun, 1934:251)

จากการศึกษาวิเคราะห์แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยามารยาทของผูส้ อนในตาราอาดาบุล
มุอลั ลิมีน ผูว้ จิ ยั ขอเสนอดังนี้
1. ผูส้ อนต้องมีความบริ สุทธิ์ ใจ (อิคลาศ) เนื่ องจากผูส้ อนได้ทาหน้าที่ของพ่อแม่ใน
การอบรมสั่งสอนผูเ้ รี ยน ฉะนั้นผูส้ อนควรมีจิตใจที่อิคลาศ (บริ สุทธิ์ ใจ) ต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ ในหน้าที่
และการงานของเขา ควรคลุกคลีกบั เด็กเสมือนกับพ่อแม่ของเขาได้คลุกคลีกบั เขา ท่านมุหมั มัดบิน
สะหฺ นูนได้กล่าวว่า “ผูส้ อนสามารถที่จะรับค่าตอบแทนโดยปราศจากการขอและเงื่อนไขต่างๆแต้ถา้
หากว่าผูส้ อนไม่ได้รับค่าตอบแทนใดๆผูส้ อนไม่ควรที่จะเรี ยกร้องค่าตอบแทน”
2. ความย าเกรงต่ อ เอกองค์อลั ลอฮฺ ส าหรั บ ผูส้ อนต้องก าชับ ตัวเองเพื่ ออยู่ใ น
กรอบและบนแนวทางของอิ ส ลามโดยปฏิ บตั ิ สิ่ง ที่ อลั ลอฮฺ ท รงใช้ และห่ า งไกลจากสิ่ ง ที่ อลั ลอฮฺ
ทรงห้าม และทาให้เด็กได้ปฏิบตั ิตามในสิ่ งที่ดี และห่างไกลจากสิ่ งที่เบี่ยงเบน
3. มี ค วามรู ้ สึกรั บผิดชอบต่อหน้าที่ ผูเ้ รี ย นถื อว่าเป็ นอะมานะฮฺ อนั ยิ่งใหญ่ที่อยู่
ภายใต้การดูแลของผูส้ อน ที่จะถูกสอบสวนในวันกิ ยามะฮฺ ตามที่มุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า
“ให้หมัน่ พยายามในการสอนเด็กโดยให้เวลากับการสอนอย่างเต็มที่และไม่ควรที่จะทิ้งหน้าที่การ
สอนโดยไปละหมาดญินาซะฮฺ เพราะการสอนนั้นเป็ นสิ่ งที่วาญิบและละหมาดศพนั้นถือว่าเป็ นฟั รฎุ
กิฟายะฮฺ (สิ่ งที่ใช้บงั คับให้มีการปฏิบตั ิโดยภาพรวม) ดังนั้นจงพยายามในการสอนและควรให้เวลา
เต็มไปด้วยกับการสอน”
154

4. มีความอ่อนโยน ผูส้ อนได้ทาหน้าที่แทนบิดา และบิดาทุกคนได้เลี้ ยงดูลูกด้วย


ความรักและความเอ็นดู ฉะนั้นผูส้ อนควรสร้ างบรรยากาศในห้องเรี ยนเหมือนบรรยากาศที่บา้ นที่
เต็มไปด้วยความรักและความเอ็นดู (Hijazi, 1986:68)
5. มีความเสี ยสละ
ผูส้ อนควรเสี ยสละเวลาให้กบั ผูเ้ รี ยน และความดูแลและให้ความสาคัญกับผูเ้ รี ยน
นอกสถานศึกษาด้วย ดังนี้
1) ควรให้แน่ใจว่าผูเ้ รี ยนได้กลับถึงบ้านแล้วหรื อยัง
2) ควรปรึ กษาผูป้ กครองเด็กในเมื่อเด็กขาดเรี ยน
3) ควรกาชับผูเ้ รี ยนที่มีอายุ 7 ขวบขึ้นไปเพื่อทาการละหมาดโดยเฉพาะให้ละหมาด
ญะมาอะฮฺ (แบบหมู่คณะ) ในมัสยิด และให้แน่ใจว่าพวกเขาทุกคนได้มาละหมาดในมัสยิดทุกคน
หรื อไม่ (Hijazi, 1986:69)
6. มีความยุติธรรมและความเสมอภาค
ท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า ท่านร่ อซูล ได้กล่าวว่า
‫((أميا مؤدب ويل ثالثة صبية من هذه األمة فلم يعلمهم بالسوية‬
))‫فقريهم مع غنيهم وغنيهم مع فقريهم حشر يوم القيامة مع اخلائنني‬

“ผูส้ อนท่ า นใดที่ ส อนผูเ้ รี ย นตั้ง แต่ ส ามคนขึ้ นไปและไม่ ไ ด้ใ ห้


ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยนที่ ยากจนกับผูเ้ รี ย นที่ ร่ ารวยเขาจะ
ถูกรวบรวมในวันกิ ยามะฮฺ พร้ อมกับบรรดาผูท้ ี่ ทรยศต่ออัลลอฮฺ ”
(Ibn Sahnun, 1972: 85)

ท่านได้กล่าวอีกว่า อัลหะซันได้กล่าวว่า

– ‫(( إذا قوطع اْل ُمعلِّم على األجرة فلم يعدل بينهم – أي الصبيان‬
))‫ُكتب من الظلمة‬
155

“เมื่อผูส้ อนถูกกาหนดค่าตอบแทนแต่เขาไม่ได้ให้ความเสมอภาค
ระหว่ า งผู ้ เ รี ยน เขาจะถู ก บั น ทึ ก อยู่ ใ นจ าพวกที่ อ ธรรม”
(Ibn Sahnun, 1972 : 85)

5.1.4.4 คุณลักษณะทางด้ านความสั มพันธ์ กบั ผู้เรียน


1) ด้านการลงโทษในทัศนะของมุหมั มัดบินสะหฺ นูน
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้ให้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ษาวาบ(‫ )ثواب‬และอิกอบ(‫ )عقاب‬คือ
รางวัล และบทลงโทษ เพื่อให้ผูเ้ รี ยนได้แก้ไขในจรรยามารยาท และเพื่อให้รู้ว่าเป้ าหมายจากการ
ลงโทษคือไม่ใช่เพื่อที่จะแก้แค้น แต่เป็ นเครื่ องมือที่เปลี่ยนแปลงและแก้ไขผูเ้ รี ยนไปในทิศทางที่ดี
ขึ้น การลงโทษไม่ใช่อาวุธสาหรับผูส้ อนที่จะลงโทษผูเ้ รี ยนหรื อให้คนอื่นช่วยลงโทษแทนผูส้ อน ที่
ไม่มีความเมตตาและเอ็นดู ต่อเด็ก และการให้รางวัลนั้นคื อการสนับสนุ นผูเ้ รี ยนให้ทาภารกิ จของ
ผูเ้ รี ยนได้สาเร็ จลุล่วงด้วยดีโดยใช้ความพยายามเต็มที่
1.การลงโทษที่ไม่ดี
ท่านมุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้ยกหะดีษของท่านนบีโดยได้กล่าวว่า
(‫)أدب الصيب ثَلث فما زاد عليه قوصص به يوم القيامة‬
ความว่า “จงลงโทษเด็กถึ งสามครั้ง แต่ถ้ามากกว่านนั้นเขาจะถู ก
ลงโทษในวันกิยามะฮฺ”
มุหมั มัดบินสะหฺ นูน ได้ประสบปั ญหาการตีเด็กในอัลกุตตาบ(สถานศึกษาปฐมวัย
ในสมัยก่อน) เนื่องจากเด็กกลับไปบ้านในขณะที่ร้องให้ โดยได้กล่าว่า รายงานจากยูสุฟบินมุหมั มัด
ได้กล่าวว่า
‫ يا بين‬:‫ كنت جالسا عند سعد اخلفاف فجاءه ابنه يبكي فقال‬:‫"قال‬
‫قال أما و اهلل ألحدثنكم اليوم‬, ‫ ضربين املعلم‬: ‫ما يبكيك؟ قال‬
‫ قال رسول اهلل صلى اهلل عليه و‬: ‫حدثين عكرمة عن ابن عباس قال‬:
‫ أقلهم رمح ةً لليتي م و‬, ‫"ش رار أمت ي معلم وا صبياهنم‬: ‫سلم‬
"‫أغلظ هم على املسكي ن‬
156

“ฉันได้นั่งใกล้กบั สะอัด อัลเคาะฟาฟ แล้วลูกเขาได้มาหาเขาใน


ขณะที่ร้องให้ โดยสะอัดได้ถามว่า โอ้ลูกรัก อะไรเล่าทาให้เจ้าร้อง
ให้ ลูกเขาตอบว่า ครู ได้ตีฉนั ขอสาบานต่ออัลลอฮฺ ฉันจะบอก
พวกเจ้าในวันนี้ หะดีษที่มีการรายงานจากอิบนุ อบั บาส โดยได้
กล่าวว่า ท่านนบี ได้กล่าวว่า “คนที่เลวที่สุดในประชาชาติของ
ฉัน คื อ ผู ้ส อนที มี ค วามเมตตาต่ อ เด็ ก น้ อ ยสุ ด และรุ น แรงต่ อ ผู ้
ยากไร้อนั เนื่องจากการร้องเรี ยนจากผูค้ นมากมายเกี่ยวกับการตีเด็ก
ที่รุนแรงเพื่อรู้ถึงบทบัญญัติของศาสนาเกี่ยวกับการตีเด็ก”
(Ibn Sahnun, 1972 : 89)

2.หน้ าทีก่ ารลงโทษ


มุหัมมัดบินสะหฺ นู นพยายามที่จะบอกว่าการลงโทษเด็กนั้นเป็ นหน้าที่ของผูส้ อน
ผูส้ อนและครอบครัวของเขาต้องรับผิดชอบกับอันตรายทีเกิดขึ้นกับตัวเด็กอันเนื่ องมาจากการตี ที่
ไม่ได้ยึดตามหะดีษของท่านนบี  โดยท่านได้เสนอ บทบัญญัติ หลังจากนั้นได้เสนอสิ่ งได้ทาการ
วินิจฉัย และการวินิจฉัยของของทัศนะสานักคิดมาลิกียด์ งั กรณี ต่อไปนี้
กรณี ที่หนึ่ง
ถ้าผูส้ อนได้ลงโทษเด็กโดยได้ลงโทษตามสิ ทธิ์ ของผูส้ อน แต่เกิดการผิดพลาด ทา
ให้ดวงตาเสี ยหรื อถึ งขั้นเสี ยชี วิตซึ่ งผูส้ อนต้องจ่ ายกะฟาเราะฮฺ (ค่าปรั บ)โดยผูส้ อนต้องจ่ายดิ ยะฮฺ
(สิ นไหม)ถ้าเกินขอบเขตในการตี แต่ถา้ ไม่เกินขอบเขตก็ไม่จาเป็ นต้องจ่ายดิยะฮฺ
กรณี ที่สอง
ถ้าผูส้ อนได้ตีผูเ้ รี ยนตามสิ ทธิ์ ของผูส้ อน และถ้าหากว่าผูเ้ รี ยนได้เสี ยชี วิต หรื อเกิ ด
อันตรายต่อร่ างกาย ผูส้ อนไม่จาเป็ นที่ตองจ่ายกะฟาเราะฮฺ
กรณี ที่สาม
ถ้าผูส้ อนลงโทษเด็กเกินสิ ทธิ์ ของผูส้ อนในการลงโทษ และรู ้วา่ ผูส้ อนมีเจตนาที่จะ
ฆ่าเด็ก ผูส้ อนต้องถูกกิ ศอศ(ประหารชี วิต) ถ้าไม่เจตนาในการที่จะฆ่าเด็ก ผูส้ อนก็ตอ้ งจ่ายดิ ยะหฺ
ให้กบั ครอบครัวของผูต้ าย
157

3.วิธีการลงโทษ
อิบนุสะหฺ นุนได้ต้ งั เงื่อนไขในการลงโทษเด็กไว้ สองประการ ดังนี้
หนึ่ง มีเป้ าหมายเพื่อเด็กได้รับประโยชน์จากการลงโทษ
สอง ผูส้ อนไม่ควรตีเกินสามครั้ง นอกจากจะได้รับอนุญาตจากผูป้ กครอง โดยท่าน
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้กล่าวว่า ไม่สามารถตีเด็กเกินขอบเขตนอกจากจะได้การอนุ ญาตจาก
ผูป้ กครอง
1. การลงโทษทางด้านจิตใจ
การลงโทษเด็ ก ทางร่ า งกายนั้นไม่ ส ามารที่ จ ะกระท าได้น อกจากต้อ งผ่า นการ
ลงโทษทางด้านจิตใจก่อน ที่มีรูปแบบและวิธีการลงโทษดังนี้

1) ให้คาตักเตือน
2) ให้ผปู ้ กครองได้รับรู ้ ถึงนิ สัยมารยาทของเด็กและให้ผูป้ กครองมี่ ส่วนร่ วมใน
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงมารยาทของเด็ก
3) มีการเชื่ อมสัมพันธ์ ระหว่างผูส้ อนกับผูป้ กครองของเด็ก และผูส้ อนมี หน้าที่
ต้องแจ้งให้ผปู้ กครองรับทราบเวลาเด็กขาดเรี ยน
4) ในเมื่อเด็กไม่ได้มีการเปลี่ ยนแปลงแก้ไขตัวเอง ก็ควรใช้วิธีอื่นในการลงโทษ
คือ วิธีการตาหนิตามลาพัง หลังจากนั้นตาหนิต่อหน้าเพื่อนฝูงจานวนมาก
5) กักตัวเด็กหลังจากได้แยกย้ายจากการเล่ าเรี ยนโดยมีเงื่ อนไข อย่าห้ามเด็กใน
การรั บ ประทานอาหารและดื่ ม อัน เนื่ อ งเด็ ก ต้อ งการอาหารเพื่ อ ความ
เจริ ญเติบโตและพัฒนาร่ างกายให้แข็งแรง เพราะเป้ าหมายของการลงโทษคือ
การแก้ไขและเปลี่ ยนแปลงมารยาทของเด็กเท่านั้น ซึ่ งไม่ได้มีเป้ าหมายห้ามมี
การเจริ ญเติบโตด้านร่ างกายของเด็ก
6) เงื่อนไขในการลงโทษทางจิตใจ คือห้ามด่าและไม่ควรใช้คาที่ไม่สุภาพ
ผูส้ อนสามารถเลือกการตีเป็ นวิธีสุดท้ายจากวิธีการลงโทษเด็กหลังจากได้ใช้
วิธีการลงโทษทางจิตใจไม่สาเร็ จ แต่ตอ้ งมีเงื่อนไขดังนี้
1. ผูส้ อนควรลงโทษเด็กด้วยตนเองและไม่ควรสัง่ ผูอ้ ื่นตีแทนเพราะในการ
ตีของเด็กด้วยกันนั้นเป็ นการแก้แค้น และผูส้ อนควรใช้ความเมตตาใน
การตี
2. ไม่ควรที่จะตีผเู ้ รี ยนในขณะที่มีความโกรธแค้นเพราะในความโกรธ
แค้นนั้นไม่ทาให้ผสู ้ อนสู่ เป้ าหมายจากการลงโทษ.
158

4.อุปกรณ์ สาหรับใช้ ในการตี

1.ไม้เ ท้า โดยมี เ งื่ อ นไขว่า ไม่ ค วรที่ จ ะหนาเกิ น ไปซึ่ งท าให้ก ระดู ก ของเด็ ก นั้น
แตกหัก หรื อบางเกินไปจนทาให้อนั ตรายต่อร่ างกายของเด็ก
2.ไม้หวาย (‫درة‬-ดุ รเราะหฺ ) มี เงื่ อนไขว่า ต้องเปี ยกและอ่อนที่ ไม่ ทาอันตรายต่ อ
ร่ างกายของเด็ก
3. จุดที่จะตีน้ นั ต้องเป็ นจุดที่ปลอดภัย คือ ต้นขา และไม่ควรตีเด็กที่ศีรษะ อวัยวะ
เพศและใบหน้า
4.ไม่ควรตี เด็กที่อายุยงั ไม่ถึง 10 ขวบ ยึดตามหะดี ษของท่านนบี ‫مرو الصبيان‬
‫ بالصَلة لسبع سنني‬โดยการลงโทษทางจิตใจสามารถกระทาได้กบั เด็กที่อายุยงั ไม่ถึง 10 ขวบ
5.ไม่ควรตีเด็กโดยปราศจากการอนุ ญาตจากผูป้ กครอง ผูส้ อนมีสิทธิ ที่จะตีเด็กถึ ง
สาม ครั้งถ้าผูป้ กครองไม่มา เพราะการเรี ยนการสอนนั้นจาเป็ นต้องมีส่วนร่ วมระหว่างผูป้ กครองกับ
ผูส้ อน
6. ควรตีเด็กต่อหน้าเพื่อนฝูง เพื่อเป็ นบทเรี ยนและข้อคิดสาหรับเด็ก
7. ผูส้ อนต้องคานึ งถึงร่ างกายของผูเ้ รี ยนเวลาจะลงโทษ และผูส้ อนต้องรับผิดชอบ
ต่อผูเ้ รี ยน ถ้าตีเกินขอบเขตของการตีเด็ก

2) ของรางวัล (‫)اهلدية‬
ผูส้ อนไม่ควรที่จะเรี ยกร้องขอของขวัญนอกจากค่าตอบแทนที่ได้รับจากผูเ้ รี ยนแล้ว
ซึ่ ง ถ้า ผูส้ อนรับ ของขวัญจากผูเ้ รี ย นโดยความร้ องขอถื อว่าเป็ นสิ่ ง ที่ หะรอม(ต้องห้าม)และถ้ารั บ
ของขวัญดังกล่าวโดยปราศจากการร้องขอถือว่าเป็ นสิ่ งที่อนุญาต
การรับของขวัญสาหรับผูส้ อนถื อว่าเป็ นสิ่ งที่ตอ้ งห้ามนอกจากจะรับของขวัญใน
โอกาสต่างๆเช่น วันอีด ที่มิใช่มาจากการร้องขอ

3) สละเวลาเพื่อการสอน
อินสะหฺ นูนได้เน้นย้าให้ผสู ้ อนได้เสี ยสละเวลาเพื่อการสอนอย่างเต็มที่ โดยได้กล่าว
ว่า
159

“ผูส้ อนไม่ควรที่จะละทิ้งการสอนนอกจากว่าไม่ได้อยูใ่ นเวลาสอน”


และท่านได้กล่าวอีกว่า
“ผูส้ อนควรหมัน่ พยายามสละเวลาให้กบั การสอน และไม่ควรที่จะ
ไปละหมาดศพนอกจากมีเหตุจาเป็ นที่เลี่ยงไม่ได้”
ด้วยเหตุน้ ี มุหัมมัดบินสะหฺ นูนจึงได้กาหนดวันหยุดเปิ ดปิ ดการเรี ยนการสอน โดย
ให้หยุดในวันอีดิลฟิ ตรฺ 1-3 วัน วันอีดิลอัฎหา 3-5 วัน และให้มีวนั หยุดประจาสัปดาห์ โดยเริ่ มจาก
ช่วงเย็นของวันพฤหัสบดีถึงเช้าของวันเสาร์

4) สร้างความยุติธรรมและความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยน
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้เรี ยกร้องความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยนที่ฐานะยากจนกับ
ผูเ้ รี ยนที่ฐานะที่ร่ ารวย ซึ่ งท่านได้ยกหะดีษของท่านนบี  ได้กล่าวว่า
‫((أميا مؤدب ويل ثالثة صبية من هذه األمة فلم يعلمهم بالسوية‬
))‫فقريهم مع غنيهم وغنيهم مع فقريهم حشر يوم القيامة مع اخلائنني‬

“ผูส้ อนท่ า นใดที่ ส อนผูเ้ รี ย นตั้ง แต่ ส ามคนขึ้ นไปและไม่ ไ ด้ใ ห้


ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยนที่ยากจนกับผูเ้ รี ยนที่ร่ ารวยเขา จะ
ถู ก รวบรวมในวั น กิ ย ามะฮฺ พร้ อมกั บ บรรดาผู ้ ที่ ท รยศต่ อ
อัลลอฮฺ”(Ibn Sahnun,1972:85)

ท่านได้กล่าวอีกว่า อัลหะซันได้กล่าวว่า

– ‫((إذا قوطع املعلم على األجرة فلم يعدل بينهم – أي الصبيان‬


))‫ُكتب من الظلمة‬

“เมื่ อ ผู ้ส อนถู ก ก าหนดค่ า จ้า งแต่ เ ขาไม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามเสมอภาค


ระหว่ า งผู ้ เ รี ยน เขาจะถู ก บั น ทึ ก อยู่ ใ นจ าพวกที่ อ ธรรม”
(Ibn Sahnun, 1972:85)

5) เชื่อมความสัมพันธ์และความร่ วมมือระหว่างผูป้ กครองของเด็กกับผูส้ อน


160

สังเกตจากประเด็นการลงโทษเด็ก ซึ่ งมุหัมมัดบินสะหฺ นูนได้ต้ งั เงื่ อนไขในการ


ลงโทษว่าห้ามตีเกินกว่าสามครั้ง และผูป้ กครองต้องมีส่วนร่ วมในการกาหนดจานวนครั้งในการตี
และไม่ควรที่จะตีมากกว่า สามครั้งนอกจากจะได้รับอนุ ญาตจากผูป้ กครองก่อน และผูส้ อนควรแจ้ง
ให้ผปู้ กครองทราบเมื่อผูเ้ รี ยนได้ขาดเรี ยน
จากคากล่ าวของมุ หัมมัดบิ นสะหฺ นูน ดัง กล่ า วจะเห็ นได้ว่า มุ หัมมัดบิ นสะหฺ นูน
เรี ยกร้ องให้มีความร่ วมือจากผูป้ กครองของเด็กในการอบรมและสั่งสอนเด็กเพื่อการเรี ยนการสอน
ของเด็กจะได้บรรลุความสาเร็ จ

6) ติดตามและประเมินความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยน
มุหมั มัดบินสะหฺ นูนได้เน้นหนักในเรื่ องของการติดตามและประเมินผลผูเ้ รี ยนโดย
กาชับให้ผสู ้ อนได้ติดตามและประเมินผลผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่ องโดยท่านได้กล่าวว่า ผูส้ อนควรติดตาม
ผูเ้ รี ยนเมื่อผูเ้ รี ยนได้แยกย้ายกลับบ้าน และในเมื่อผู้เรี ยนขาดเรี ยนผูส้ อนควรแจ้งให้ผูป้ กครองได้รับ
ทราบ

5.1.4.5) คุณลักษณะของผู้สอนด้ านการบริหารสถานศึกษา


การศึกษาของเด็กมุสลิ มในยุคแรกนั้นได้มีการจัดเรี ยนการสอนในอัลกุตตาบ ซึ่ ง
เป็ นสถานที่ สาหรับ สอนเด็ก ซึ่ งการเรี ยนการสอนเด็ ก ในสมัย นั้นไม่ ได้จดั ในมัส ยิด ตามที่ ท่ า น
อิหม่ามมาลิกได้กล่าวไว้วา่ หลังจากที่ท่านถูกถามเกี่ยวกับการสอนเด็กในมัสยิด “ฉันมีความคิดเห็น
ว่าเป็ นสิ่ งที่ไม่ควรกระทา เพราะไม่สามารถที่จะป้ องกันไม่ให้เด็กทาความสกปรกได้”เพราะผูเ้ รี ยน
คือเด็กทียงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ซึ่ งอัลกุตตาบในสมัยก่อนนั้นจะตั้งอยูท่ ี่บา้ นผูส้ อน วิชาที่สอนได้แก่อลั
กุ รอานและหลัก การศาสนาเบื้ องต้นซึ่ ง บางอัล กุ ตตาบจะมี ก ารสอนวิช าการอ่ า นการเขี ย นและ
ภาษาศาสตร์ (Shalabi :1954:17)
ดังนั้นผูส้ อนควรมีคุณลักษณะในการบริ หารสถานศึกษาดังนี้
1. ผูส้ อนสามารถสอนผูอ้ ื่นที่นอกเหนือจากผูเ้ รี ยนประจาถ้าหากว่าผูส้ อนได้ปฏิบตั ิ
ภารกิจการสอนอย่างสมบูรณ์แล้ว
2. อนุญาตให้ผสู้ อนออกนอกสถานศึกษาพร้อมกับผูเ้ รี ยนเพื่อมุ่งหาประสบการณ์
ในการเข้าร่ วมกิจกรรมกับสังคม
161

3. ผูเ้ รี ย นไปสถานศึ กษาก็เพื่อหน้าที่ ที่ชัดเจน ดังนั้นผูส้ อนไม่ สามารถที่ จะสั่ ง


ผูเ้ รี ยนเพื่อช่วยในภารกิจส่ วนตัวของผูส้ อน
4. ผูส้ อนไม่ควรที่ จะแต่ งตั้งผูเ้ รี ยนเป็ นผูช้ ่ วยสอนแทนเมื่ อผูส้ อนขาดสอน แต่
อนุญาตในกรณี ดงั นี้
1) เมื่อผูช้ ่วยสอนมีความรู ้เท่าเทียมกับผูส้ อน
2) ไม่ควรที่จะแต่งตั้งผูช้ ่วยสอนนอกจากได้จบการศึกษาอัลกุรอาน
3) ผูช้ ่วยสอนต้องสาเร็ จการศึกษาทั้งหมดในสถานศึกษา
5. ผูส้ อนมีหน้าที่ตอ้ งรับผิดชอบในเรื่ องของอุปกรณ์การเรี ยนการสอน และไม่ควร
ที่จะขอจากผูเ้ รี ยนตลอดปี การศึกษา โดยได้กล่าวว่า “สาหรับผูส้ อนควรหาดุรเราะห์ และ อัลฟะลา
กอฮฺ(อุปกรณ์สาหรับลงโทษ) ที่ไม่ใช่มาจากทรัพย์สินของเด็ก

5.1.5 ผู้เรียน

ผูเ้ รี ย นในระบบการศึ ก ษาอิ ส ลามคื อมนุ ษ ย์ผูซ้ ่ ึ งจะเรี ย นรู้ ไ ปตลอดชี วิตของเขา
ดังนั้นผูเ้ รี ยนในอิสลามไม่เพียงแต่เป็ นเด็กที่กาลังอยูใ่ นความดูแลของบิดามารดา และไม่เพียงแต่
เป็ นเด็กในวัยกาลังเรี ยนอยูใ่ นโรงเรี ยนเท่านั้น
อิ ส ลามได้ใ ห้ค วามส าคัญการการศึ ก ษาหาความรู้ โดยได้ย กสถานะของผูเ้ รี ย น
เสมือนผูท้ ี่ได้ออกต่อสู ้ในหนทางของอัลลอฮฺ ตามที่ท่านนบีได้กล่าวว่า

))‫))من خرج ف طلب العلم فهو ف سبيل اهلل حىت يرجع‬

ความว่า “ผูใ้ ดออกไปในการแสวงหาความรู ้ เขาก็ อยู่ใ นหนทาง


ของอัลลอฮ จนกว่าจะกลับมา” (al-Tirmidhi,1975 : 2859)

ท่านนบีได้กล่าวอีกว่า
‫ أو عامل أو‬،‫(( الدنيا ملعونة ملعون من فيها إال ذكر اهلل وما وااله‬
))‫متعلم‬
ความว่า “พึงทราบเถิดว่า แท้จริ งโลกนั้นถูกโกรธกริ้ วถูกโกรธกริ้ ว
สิ่ ง ที่ อ ยู่ ใ นมัน นอกจาก การร าลึ ก ถึ ง อัล ลอฮฺ สิ่ ง ที่ ท าให้ ร าลึ ก
ถึงอัลลอฮฺ ผูส้ อน และผูเ้ รี ยน(al-Tirmidhi :2492)
162

ในหนังสื ออาดาบุลมุอลั ลิ มีน ท่านมุหัมมัดบินสะหฺ นูนไม่ได้กล่าวถึ งคุ ณลักษณะ


ของผูเ้ รี ยนมากเท่าไร แต่ส่วนใหญ่แล้วท่านจะกล่าวถึ งคุ ณลักษณะและจรรยามารยาทของผูเ้ รี ยน
กับอัลกุรอาน ซึ่ งมีดงั นี้
1. มีมารรยาทที่ดีงามตามแบบฉบับของท่านนบี และกฎเกณฑ์ที่ศาสนาได้
กาหนดไว้
2. สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผูเ้ รี ยนกับครู ผสู ้ อน
3. ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องปฏิบตั ิตามนัยแห่งคัมภีร์อลั กุรอาน เพื่อนามาสู่ ความเชื่ อมัน่ ใน
เกียรติยศอันสู งส่ งของคัมภีร์อลั กุรอาน
4. ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องอ่านอัลกุรอานในเวลาและสถานที่ที่เหมาะสม ไม่ควรอ่านตาม
ถนนสาธารณะหรื อในห้องน้ า
5. ไม่ควรที่จะจับต้องอัลกุรอ่านได้ นอกจากจะอยูใ่ นสภาพที่มีน้ าละหมาดเท่านั้น
แต่ก็ยงั อนุโลมให้กบั เด็กๆ ที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ สามารถจับต้องและอ่านอัลกุรอานได้ ถึงแม้จะไม่
มีน้ าละหมาดก็ตาม
6. ฝึ กฝนในการอาบน้ าละหมาด ละหมาดศพและดุอาอฺ ต่างๆ
7. ช่วงเวลาที่สุดในการศึกษาอัลกุรอานคือช่วงเช้า จนถึงตะวันลับขอบฟ้ า
8. ห้ามเลื่อนจากบทหนึ่ งไปยังอีกบทหนึ่ งนอกจากผูเ้ รี ยนจะท่องจาบทเก่าให้หมด
ก่อน
9.ไม่ควรที่จะใช้มสั ยิดเป็ นสถานที่เรี ยนเพราะเด็กไม่สามารถที่จะรักษาตัวเองจาก
นะญิส(สิ่ งโสโครก)ได้
10.ไม่ควรที่จะนอนและกินในมัสยิด
11. ผูเ้ รี ยนสามารถที่จะเป็ นผูช้ ่วยสอนให้กบั ครู ผสู ้ อน
5.2 แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย์
5.2.1 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ ของการศึกษา

อัลซัรนู ญียไ์ ด้กล่าวถึ งความสาคัญและวัตถุ ประสงค์ของศึกษาไว้ในหนังสื อของ


ท่าน ซึ่ งสามารถสรุ ปดังนี้

1. เพื่อการยาเกรงต่ออัลลอฮฺ โดยอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าว่า


163

‫"وإمنا ُشرف العلم لكونه وسيلة إىل التقوى اليت يستحق ِبا‬
"‫املرء الكرامة عند اهلل تعاىل والسعادة األبدية‬

“แท้จริ งความรู ้มีเกียรติ เพราะมันเป็ นสิ่ งที่จะนาพามนุ ษย์สู่การยาเกรงต่ออัลลอฮฺ ที่


มนุษย์ควรได้รับเกียรติจากอัลลอฮฺและความสุ ขชัว่ นิรันดร์ (al-Zarnuji, 1986:29)
2. เพื่อฝึ กฝนในจรรยามารยาทที่ ดีงามและละทิ้งในสิ่ งที่ ไม่ดี ท่านอัลซัรนู ญียไ์ ด้
กล่าวว่า

‫ فإن‬.‫ واجلراءة‬،‫ واجلنب‬،‫ والبخل‬،‫"وكذلك ىف سائر األخَلق حنو اجلود‬


‫ والميكن التحرز عنها إال‬،‫ واإلسراف حرام‬،‫ واجلنب‬،‫ والبخل‬،‫الكرب‬
."‫ فيفرتض على كل إنسان علمها‬،‫ وعلم ما يضادها‬،‫بعلمها‬

“และเช่นเดียวกันสามารถทราบถึงมารยาทต่างๆ และรู ้จกั แยกแยะ


ระหว่างความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่กบั ความตระหนี่ ถี่เหนี ยว การโอ้อวด
การสุ รุ่ยสุ ร่ายและการตระหนี่ ถี่เหนี ยว ถือว่าเป็ นสิ่ งที่หะรอมไม่
สามารถจะขจัดสิ่ งเหล่านี้ ได้นอกจากด้วยวิชาความรู ้เท่านั้น และรู ้
ถึงสิ่ งที่ตรงกันข้าม คือสิ่ งที่ดีและไม่ดี” (al-Zarnuji: 1986:30)

อัลกุรอานและอัลหะดีษได้พูดถึงมารยาทที่ดีงามพร้อมยังกาชับเให้มุสลิมได้ศึกษา
และปฏิบตั ิตามแหล่งที่มาของบทบัญญัติอิสลาม ดังหะดีษของท่านนบีซึ่ งท่านได้กล่าวว่า

))‫((إمنا بعثت ألمتم مكارم األخالق‬

ความว่า “แท้จริ งฉันถูกบังเกิดเพื่อเติมเต็มในจรรยามารยาทที่ดีงาม”


(al-Bayhaqi :21301(

3. เป็ นหนทางที่จะรู้ถึงความรู้ทางโลก
164

อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

      
  
   
  
 
          
  

       

“จงกล่าวเถิด (มุฮมั มัด) “พวกท่านจงดูวา่ มีอะไรในชั้นฟ้ าทั้งหลาย


และแผ่นดิน” และสัญญาณทั้งหลาย และการตักเตือนทั้งหลาย จะ
ไม่อานวยผลแก่กลุ่มชนที่ไม่ศรัทธา”
(ยูนุส :101)
อัลลอฮฺ ได้กาชับบ่าวของพระองค์น้ นั ได้พินิจพิเคราะห์ในสรรพสิ่ งของพระองค์ที่
ถู กสร้ า งมา เช่ นดวงดาวทั้งหลาย ดวงอาทิ ตย์ ดวงจันทร์ กลางคื น กลางวัน การสลับ หมุ นเวีย น
กลางคืนและกลางวัน ฟากฟ้ าที่สูงส่ ง และสวยงาม และน้ าฝนที่หลัง่ ลงมาจากฟากฟ้ า เพื่อเป็ นปั จจัย
ยังชีพ และผลไม้ที่หลากหลายนานาชนิด(Ibn Kathir, 1987 : 449)

ดังนั้นความรู ้ในทัศนะของอัลซัรนูญียม์ นั มีความหมายที่กว้างขวาง ความรู ้ในทัศนะ


ของอัลซัรนู ญียค์ ื อความรู ้ ที่มีประโยชน์แต่มีเงื่ อนไขว่าต้องไม่ขดั กับหลักศาสนา เช่ นความรู ้ ทาง
การแพทย์ และความรู ้ที่เกี่ยวกับดาราศาสตร์เป็ นต้น

4. เพื่อแสวงหาโลกหน้า
อัล ซั ร นู ญี ย ์ไ ด้แ นะน าให้ ผู้เ รี ย นศึ ก ษาหาความรู้ เ พื่ อ แสวงหาความพอพระทัย
จากอัลลอฮฺ เพื่อปกป้ องรักษาตนเองยับยั้งในการทาความชัว่ และเพื่อโลกอาคิเราะฮฺ
อัลซัรนู ญียไ์ ด้กล่ าวว่า “ผูเ้ รี ยนได้ศึกษาหาความรู ้ ด้วยความหมัน่ เพียรพยายามไม่
สมควรที่จะหันไปมองความสาคัญของโลกดุนยาที่พินาศ” และท่านได้กล่าวอีกว่า “ ไม่ควรสาหรับ
ผูท้ ี่มีสติปัญญาที่จะให้ความสาคัญในเรื่ องของโลกดุนยาเพราะจะเป็ นอันตรายและไม่ได้ประโยชน์
อะไรเลย และการโศกเศร้ าเสี ยใจในเรื่ องโลกดุ นยามันจะก่อให้เกิ ดความมื ดมนในจิตใจ และการ
โศกเศร้าเสี ยใจเพื่อโลกอาคิเราะฮฺมนั จะก่อให้เกิดแสงสว่างในจิตใจ"(al-Zarnuji:1986:129)
165

5. เพื่อรักษาไว้ซ่ ึงศาสนาและคงมีไว้ซ่ ึงอิสลาม

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ وتنفيذ‬،‫"اللهم إال إذا طلب اجلاه لألمر باملعروف والنهى عن املنكر‬


"‫ وإعزاز الدين ال لنفسه وهواه‬،‫احلق‬

“แท้จริ งการศึกษาหาความรู้ เพื่อเชิ ญชวนในสิ่ งที่ดี ห้ามปรามใน


สิ่ งที่ชวั่ ปฏิบตั ิในสิ่ งที่เป็ นสัจธรรม และทาให้ศาสนานั้นมีเกี ยรติ
ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของตนเองและอารมณ์ใฝ่ ต่า”
(al-Zarnuji:1986:39)
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวอีกว่า

"،‫إحياء الدين وإبقاء اإلسَلم‬... ‫"وينبغى أن ينوى املتعلم بطلب العلم‬

“ผูเ้ รี ยนควรตั้งเจตนาในการศึกษาหาความรู ้ เพื่อรั กษาซึ่ งศาสนา


และคงไว้ซ่ ึงอิสลาม” (al-Zarnuji, 1986 : 38)

6. ตอบแทนพระกรุ ณาธิคุณของอัลลอฮฺที่ประทานความรู้

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

"‫ وصحة البدن‬،‫الشكر على نعمة العقل‬:‫"وينوى به‬

“ผูเ้ รี ย นควรตั้ง เจตนาในการศึ ก ษาหาความรู ้ เพื่ อตอบแทนพระ


กรุ ณาธิ คุณของอัล ลอฮฺ ที่ พระองค์ไ ด้ประทานให้สติ ปัญญาและ
สุ ขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์” (al-Zarnuji, 1986 : 38)

7. หลีกเลี่ยงจากการหยิง่ ยโสโอ้อวดในวิชาความรู้
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
"‫"وال ينوى به إقبال الناس عليه‬
166

“ผูเ้ รี ยนไม่ควรตั้งเจตนาในการแสวงหาวิชาความรู ้เพื่อเอาใจผูค้ น”


(al-Zarnuji: 1986:38)

8.ห่างไกลจากผลประโยชน์ต่างๆของโลกดุนยา
อัลซัรนูญได้กล่าว่า
"‫"وال استجَلب حطام الدنيا‬

“ผู ้เ รี ยนไม่ ค วรตั้ง เจตนาในการศึ ก ษาหาความรู ้ เ พื่ อ ได้ม าซึ่ ง


ผลประโยชน์ของโลกดุนยา” (al-Zarnuji, 1986 : 38)

9. เพื่อปลูกฝังจรรยามารยาทที่ดีงาม
หลังจากที่อลั ซัรนูญียไ์ ด้พูดถึงเป้ าหมายของการศึกษาหาความรู้ ท่านได้กาชับให้
ผูเ้ รี ยนอบรมจรรยามารยาทของตนเองให้มีจรรยามารยาทที่ดีงาม โดยกล่าวว่า “ผูเ้ รี ยนควรตั้งเจตนา
ในการศึกษาหาความรู้เพื่ออบรมตัวเองให้มีจรรยามารยาทที่ดีงาม” (al-Zarnuji, 1986: 40)
10. เพื่อฝึ กฝนให้มีทกั ษะการคิดและสรุ ปความ

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ فإنه يتعلم العلم جبهد‬،‫ أن يتفكر ىف ذلك‬:‫"وينبغى لطالب العلم‬


."‫ فَليصرفه إىل الدنيا احلقرية القليلة الفانية‬،‫كثري‬

“ผูเ้ รี ย นควรคิ ดวิเคราะห์ ใ นเรื่ องนั้น แท้จริ ง แล้วเขาได้ศึก ษาหา


ความรู ้ ด้ว ยความหมั่น เพี ย ร จึ ง ไม่ ค วรที่ จ ะหัน ไปมองในเรื่ อ ง
ผลประโยชน์ของโลกอันน้อยนิดและพินาศ”

(al-Zarnuji, 1986: 39)

11. ศรัทธาด้วยการใช้สติปัญญา

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
167

‫ فإن إميان املقلد وإن كان صحيحا عندنا‬،‫"ويعرف اهلل تعاىل بالدليل‬
"‫لكن يكون آمثا برتك اإلستدالل‬

“การรู้ จกั อัล ลอฮฺ ด้วยการใช้ห ลัก ฐาน แท้จ ริ ง การศรั ท ธาของผู้
ตามที่ปราศจากหลักฐานถือว่าบาปถึงแม้วา่ จะถูกต้อง” (al-Zarnuji,
1986 : 45)

12. การศึกษาอย่างต่อเนื่อง

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ كنت بليدا أخرجتك‬:‫"قال أبو حنيفة رضى اهلل ألىب يوسف‬


."‫ وإياك والكسل فإنه شؤم وآفة عظيمة‬،‫املواظبة‬

“ท่ า นอบู หะนี ฟ ะฮฺ 4ได้ก ล่ า วแก่ อบู ยูซุ ฟ ซึ่ ง เป็ นศิ ษ ย์ข องท่ า นว่า
“เจ้าเคยเป็ นคนโง่เขลาและด้วยความมุ่งมัน่ ทาให้เจ้าออกจากการ
เป็ นคนโง่เขลา และพยายามห่ างไกลจากความขี้เกียจ แท้จริ งความ
ขี้เกียจนั้นเป็ นโชคร้ายที่สุด” (al-Zarnuji, 1986: 74)

13. คานึงถึงคุณค่าของความรู ้

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

4
อบูหะนี ฟะฮฺ มีนามเต็มว่า อันนุอฺมาน อิบนฺ ษาบิ ต อิบนฺ อัลมัรซะบาน ซึ่ งตระกูลของท่านมีเชื้อสายมาจากชาว
เปอร์ เ ซี ย ตามพจนานุ ก รมภาษาอาหรั บค าว่า อัล มัรซะบาน ไม่ใ ช่ ภ าษาอาหรั บ แต่เ ป็ นภาษาเปอร์ เซี ย ซึ่ ง มี
ความหมายว่า ผูน้ า อบูหะนี ฟะฮฺ เกิดที่นคร กูฟะฮ์ ประเทศ อิรัก เมื่อปี ฮิจเราะฮ์ศกั ราช ที่ 80ตรงกับคิริสศักราชที่
699นักประวัติศาสตร์บางท่านกล่าวว่าท่านเกิดที่เมืองอัมบาร แต่ส่วนใหญ่กล่าวว่าท่าน เกิดที่นคร กูฟะฮฺส่วนบิดา
ของท่านนั้นมีนามว่า ษาบิต อิบนุ ซุตอ
168

‫ فينبغى أن يتعب‬،‫" الكسل من قلة التأمل ىف مناقب العلم وفضائله‬


‫ فإن‬،‫نفسه على التحصيل واجلد واملواظبة بالتأمل ىف فضائل العلم‬
"‫العلم يبقى واملال يفىن‬

“ความขี้ เกี ยจนั้นมาจากการไม่ ได้ค านึ งถึ งคุ ณค่า และประโยชน์


ของความรู ้ และผูเ้ รี ย นควรส่ ง เสริ ม ตนเองในการที่ จะได้ม าซึ่ ง
ความรู ้ ดว้ ยความมุ่งมัน่ ต่อเนื่ องอย่างสม่ าเสมอ ด้วยการคานึ งถึ ง
คุณค่าของความรู ้ แท้จริ งความรู ้น้ นั จะคงอยู่ ส่ วนทรัพย์สินจะสู ญ
หาย” (al-Zarnuji, 75:1986)

14.ให้ความสาคัญกับโลกหน้า (อาคิเราะฮฺ )

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ ﻭال‬,‫"ﻭال يهتم ﺍلعاقل ألمر ﺍلدنيا ألﻥ ﺍلهم ﻭﺍلحزﻥ ال يرﺩ ﺍلمصيبة‬
‫ ﻭيهتم ألمر‬,‫ ﻭيخل بأعماﻝ ﺍلخير‬,‫ينفع بل يضر بالقلب ﻭﺍلعقل‬
."‫ﺍﻵخرﺓ ألنه ينفع‬

“ผูท้ ี่มีสติสัมปชัญญะที่ดีไม่ควรให้ความสาคัญกับทางโลก เพราะ


ความกังวลและความโศกเศร้ าเสี ยใจไม่สามารถที่ จะขัดขวางบท
ทดสอบของพระองค์อลั ลอฮฺ ได้ และจะไม่ได้ประโยชน์ แต่มนั จะ
ก่อให้เกิ ดอันตรายต่อสุ ขภาพจิต ร่ างกาย สติปัญญา และกีดกั้นใน
การทาความดี ดังนั้นจงให้ความสาคัญกับโลกหน้า เพราะมันได้
ประโยชน์"(al-Zarnuji, 1986 : 99)

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวอีกว่า

‫ ومهوم‬،‫"ال ينبغى للعاقل أن يهتم ألمر الدنيا ألنه يضر وال ينفع‬
‫ ومهوم اﻵخرة ال ختلو عن النور‬،‫الدنيا ال ختلو عن الظلمة ىف القلب‬
"،‫ىف القلب‬
169

“ผูเ้ รี ยนไม่ควรที่จะให้ความสาคัญกับโลกดุนยา เพราะมันจะทาให้


เกิดอันตรายต่อตัวเขาเองและเขาก็จะไม่ได้รับประโยชน์อนั ใดเลย
การโศกเศร้ าเสี ยใจให้กบั โลกดุ นยาจะทาให้จิตใจนั้นมื ดมน แต่
การโศกเศร้ า เสี ย ใจเพื่ อโลกหน้า จะท าให้จิต ใจของเขานั้นแสง
สว่างขึน (al-Zarnuji,1986:129)

ปรัชญาการศึกษา

หลังจากที่ผวู้ ิจยั ได้ทบทวนและได้ศึกษาวิเคราะห์หนังสื อตะอฺ ลีมุลมุตะอัลลิมของ


ท่านอัลซัรนูญีย ์ ผูว้ ิจยั จึงขอเสนอแนวคิดทางการศึกษาของท่านที่สามารถมาเป็ นปรัชญาการศึกษา
ดังนี้

1. แนะนาความรู้ที่เป็ นประโยชน์

ผูป้ กครองของเด็กนักเรี ยนควรแนะนาให้เด็กได้ศึกษาหาความรู้ที่เป็ นประโยชน์


ซึ่งท่านอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวไว้วา่

"‫"وأما حفظ ما يقع بعض األحايني ففرض على سبيل الكفاية‬

ความว่ า “และการพิ ท ัก ษ์ รั ก ษาความรู้ ที่ มี ค วามต้อ งการบาง


ช่วงเวลา ถือเป็ นฟัรฎกิู ฟายะฮฺ(Al-Zarnuji,1986:30)

2. สละเวลาให้กบั การศึกษาหาความรู ้(‫)استغَلل الوقت‬

อัลซัรนูญียไ์ ด้มีแนวคิดว่าผูเ้ รี ยนควรสละให้เวลากับการศึกษา เพื่อแสวงหาผลบุญ


จากอัลลอฮฺ โดยท่า นได้กล่ า วว่า “ผูเ้ รี ย นควรสละเวลาทั้งหมดด้วยการราลึ กถึ งพระองค์อลั ลอฮฺ
ดุอาอฺ วงิ วอนขอจากอัลลอฮฺ และด้วยการอ่านอัลกุรอาน” (al-Zarnuji, 1986 : 129)

3. การศึกษาอย่างต่อเนื่ อง

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
170

" ‫"وليس لصحيح البدن والعقل عذر ف ترك التعلم والتفقه‬

“แท้จ ริ ง แล้ว มัน ไม่ ใ ช่ เ หตุ ผ ลส าหรั บ คนที่ มี สุ ข ภาพร่ า งกายที่


แข็งแรงและสติ ปัญญาที่สมบูรณ์ ที่จะละทิ้งการศึ กษาหาความรู ้ ”
(al-Zarnuji, 1986: 91)

4. ความรู ้คู่คุณธรรม
การเชื่ อมสั ม พันธ์ ระหว่า งความรู ้ ก ับ คุ ณธรรมและศาสนานั้นไม่ ใ ช่ สิ่ ง ใหม่ ซึ่ ง
บรรดานักปราชญ์ยคุ ก่อนหลายท่านได้พดู ถึงเรื่ องนี้ เช่น อัลเฆาะซาลีย ์ ในหนังสื อ อิหยาอฺ อุลูมุดดีน
และปราชญ์ท่าน อื่นๆ
อัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานว่า

     

“จงอ่านด้วยพระนามของพระเจ้าของเจ้าผูท้ รงบังเกิด”
(อัล-อะลัก: 1)
สังเกตในอายะฮฺ ขา้ งต้นซึ่ งได้บ่งบอกถึ งความสัมพันธ์ ระหว่างความรู ้ กบั ศาสนา
กล่าวคือด้วยความรู ้สามารถรู ้จกั อัลลอฮฺซ่ ึ งเป็ นผูส้ ร้างมนุษย์และสรรพสิ่ งทั้งหลายในโลกนี้ จึงทาให้
ความรู ้น้ นั ได้ประโยชน์กบั บุคคลทัว่ ไปหรื อปั จเจกบุคคล และทุกๆการงานขึ้นอยูก่ บั การตั้งเจตนา
ของบุคคลนั้นๆ
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า “จาเป็ นอย่ายิง่ สาหรับผูเ้ รี ยนที่ตอ้ งตั้งเจตนาในการแสวงหา
ความรู ้เพราะการตั้งเจตนาคือรากฐานของการงานทั้งหมด ท่านนบีได้กล่าวว่า
((‫))إمنااألعمال بالنيات وإمنا لكل امرأ ما نوى‬
“การงานทุกอย่างขึ้นอยูก่ บั การตั้งเจตนา และเขาจะได้ตามที่เขาได้
ตั้งเจตนาไว้”(al-Bukhari,1986:1,Muslim,1996: 1907)

อัซซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

"‫"ومن وجد لذة التعلم والعلم والعمل به قلما يرغب فيما عند الناس‬
171

“ผู ้ใ ดที่ ไ ด้ ลิ้ ม รสของวิ ช าความรู ้ น้ ั น น้ อ ยมากที่ เ ขาจะหวัง


ผลประโยชน์จากเพื่อนมนุษย์ ด้วยกัน (al-Zarnuji, 1986 : 39)

5. ขจัดความไม่รู้หนังสื อ ‫حمو األمية‬


อิสลามเป็ นศาสนาที่ส นับสนุ นและส่ ง เสริ ม ให้ม นุ ษย์ไ ด้ศึก ษาหาความรู ้ เพราะ
การศึกษาเป็ นวิธีที่จะขจัดและดับความอวิชชาออกจากตัวของมนุ ษย์ โดยสังเกตจากอายะฮฺ แรกที่
ประทานลงมาถึงท่านนบี อัลลอฮฺได้ตรัสว่า
           

          

 

ความว่า “จงอ่ า นด้วยพระนามแห่ ง พระเจ้า ของเจ้า ผูท้ รงบัง เกิ ด


ทรงบังเกิดมนุษย์จากก้อนเลือด จงอ่านเถิด และพระเจ้าของเจ้านั้น
ผูท้ รงใจบุญยิง่ ผูท้ รงสอนการใช้ปากกา ผูท้ รงสอนมนุ ษย์ในสิ่ งที่
เขาไม่รู้ “(อัลอะลัก 1-5)

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

"‫إزالة اجلهل عن نفسه‬..‫"وينبغي أن ينوي ف طلب العلم‬

“ผูเ้ รี ยนควรตั้งเจตนาเพื่อขจัดอวิชชาออกจากตัวเขา”
(al-Zarnuji:1986:39)
6.การรักษาไว้ซ่ ึงอิสลาม
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
"‫إحياء الدين وإبقاء اإلسَلم‬..‫"وينبغي أن ينوي ف طلب العلم‬

“ผูเ้ รี ยนควรตั้งเจตนาเพื่อฟื้ นฟูศาสนา และคงไว้ซ่ ึ งอิสลาม แท้จริ ง


การรักษาเพื่อคงมีไว้อิสลามนั้นด้วยความรู ้”
(al-Zarnuji, 1986 : 39)
172

7.การศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้
อัลซัรนูญียไ์ ด้สั่งเสี ยผูเ้ รี ยนเพื่อไม่ให้หวังในผลประโยชน์ทางโลก และจงพยายาม
ห่างไกลจากสิ่ งที่ทาให้ความรู ้และผูเ้ รี ยนนั้นตกต่า โดยท่านได้กล่าวว่า
‫"وينبغى ألهل العلم أن اليذل نفسه بالطمع ىف غري املطمع وحيرتز‬
."‫عما فيه مذلة العلم وأهله‬

“และอะหฺ ลุลอิลมฺ ไม่ควรทาตัวเองต้องอับอายขายหน้าเพราะความ


โลภกับบางสิ่ งบางอย่างที่ไม่เหมาะสมและจงพยายามห่างไกลจาก
สิ่ งที่ทาให้ครามรู ้และผูร้ ู ้น้ นั ได้รับความความอัปยศอดสู ”

(al-Zarnuji, 1986 : 40)

8.เสรี ภาพในการเลือกผูส้ อน
ผูเ้ รี ยนในทัศนะของอัลซัรนูญียถ์ ือว่าผูเ้ รี ยนมีสิทธิ เสรี ภาพในการเรี ยน โดยเฉพาะ
ในการเลือกอาจารย์ผสู ้ อน อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
"‫"فينبغي أن خيتار األعلم واألروع واألسن‬

“ควรเลือกอาจารย์ที่มีความรู ้มากที่สุด ผูท้ ี่ยาเกรงต่ออัลลอฮฺ 


ผูส้ ารวมตน และผูท้ ี่อาวุโส” (al-Zarnuji, 1986 : 46)

9.เสรี ภาพในการเลือกวิชาเรี ยน
ผูเ้ รี ย นในทัศ นะของอัล ซัร นู ญี ย ์มี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพในการเลื อ กวิช าที่ จ ะเรี ย นโดย
กล่าวว่า

"‫"ينبغي لطالب العلم أن خيتار من كل علم أحسنه‬


“ผูเ้ รี ยนควรเลือกเรี ยนทุกวิชาที่ตนเองคิดว่าดี
” (al-Zarnuji, 1986: 45)
173

10.เสรี ภาพในการเลือกเพื่อนฝูง
ผูเ้ รี ยนนั้นมีสิทธ์เสรี ภาพในการเลือกเพื่อนฝูงที่จะคบด้วย ตามทีท่านได้กล่าวไว้วา่

، ‫ واملتفهم‬، ‫ وصاحب الطبع املستقيم‬، ‫"فينبغي أن خيتار اجملد الورع‬


"‫ويفر من الكسَلن واملعطل واملكثار واملفسد والفتان‬

“ควรเลื อกผูท้ ี่ ข ยันและย าเกรงและผูท้ ี่ มี มารยาทงามและเจ้าจง


ห่ างไกลจากผูท้ ี่เกียจคร้าน พูดจาไร้ สาระ มีมารยาทที่ไม่ดีและผูท้ ี่
นาไปสู่ ฟิตนะฮฺ (ความเสื่ อมเสี ย) (al-Zarnuji, 1986: 50)
ดังหะดีษของท่านเราะสู ลุลลอฮฺ  ได้กล่าวว่า
ِّ َ‫لى اْ ِلفطََرةِ إِالَّ أَنَّأَبَ َويْ ِه يُ َه ِودَّانِِه أويُن‬
((‫صَرانِِه أ َْوميَُ ِّج َسانِه‬ ٍ
َ ‫)) ُكلُّ َم ْولُْود يُ ْولَ ُد َع‬
ความว่า “เด็กทุกคนได้คลอดมาอยูบ่ นความบริ สุทธิ์ เว้นแต่วา่ บิดา
มารดาของเขาจะทาให้เขาเป็ นยิว เป็ นคริ สต์ หรื อเป็ นมะญูซีย(์ พวก
โซโรแอสเทอร์ที่บูชาไฟ)”(al-Bukhari:1319,Muslim:6926)

11.การศึกษาแบบค่อยเป็ นค่อยไป
อัลซัรนูญียไ์ ด้กาชับผูเ้ รี ยนให้เริ่ มเรี ยนด้วยวิชาที่มีความสาคัญมากและที่จาเป็ นต้อง
ศึกษาหลังจากนั้นก็เรี ยนวิชาอื่นๆ
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

“ควรเริ่ ม เรี ย นด้ว ยวิ ช าความรู ้ ที่ มี ค วามต้อ งการทางศาสนาใน


ปั จจุ บนั หลังจากนั้นก็เรี ยนวิชาที่มีความต้องการทางโลก” (al-
Zarnuji, 1986 : 45)

อัลซัรนูญียย์ งั ได้กล่าวอีกว่า

"‫"وينبغي أن يبتدئ بشئ من العلوم أقرب إىل فهمه‬

“และควรเริ่ มเรี ยนด้วยเนื้อหาที่ง่ายต่อการเข้าใจ” (al-Zarnuji, 1986:85)


174

อัล ซัรนู ญี ย ์ไ ด้ก ล่ า ว่า “ผูเ้ รี ย นควรอดทนกับ อาจารย์ผูส้ อนและอดทนกับ ต ารา


จนกว่าจะไม่ทิง้ มัน และไม่ควรที่จะเลื่อนย้ายจากบทหนึ่งสู่ อีกบทหนึ่งจนกว่าได้มีความเชี่ ยวชาญใน
เรื่ องนั้นๆ” (al-Zarnuji, 1986 : 49)

12.ใกล้ชิดกับผูส้ อน
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
"‫"فينبغي أن يثبت ويصرب على أستاذ وعلى كتاب حىت ال يرتكه أبرت‬

“จงอดทนกับอาจารย์ผสู ้ อนและอดทนกับตาราเรี ยนจนกว่าจะไม่


ทิง้ ตาราก่อนที่จะได้รับวิชาความรู ้” (al-Zarnuji: 1986:49)

13.ขอคาปรึ กษาแนะนาในการหาความรู้
อัล ซั ร นู ญี ย ์ ไ ด้ แ นะน าผู ้เ รี ยนให้ ข อค าปรึ กษาก่ อ นที่ จ ะเริ่ มเรี ยนเพราะการ
ปรึ กษาหารื อนั้นเป็ นสิ่ งที่สาคัญสาหรับมุสลิม ท่านได้กล่าวว่า
‫"وهكذا ينبغي أن يشاور ف كل أمر فإن اهلل تعاىل أمر رسوله عليه‬
"‫الصَلة والسَلم باملشاورة ف األمور‬

“ควรขอการปรึ กษาในทุกๆการงานแท้จริ งอัลลอฮฺ ได้กาชับท่าน


เราะซูล ให้ขอคาปรึ กษาในทุกๆเรื่ อง” (al-Zarnuji, 1986: 46-47)

14.ให้เกียรติความรู ้และผูร้ ู ้
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ وال ينتفع به إال بتعظيم العلم و‬,‫"اعلم بأن طالب العلم ال ينال العلم‬
"‫أهله‬

“จงรู ้เถิดว่า ผูเ้ รี ยนจะไม่ได้มาซึ่ งความรู ้นอกจากด้วยการให้เกียรติ


ความรู้และผูร้ ู้” (al-Zarnuji, 1986 : 55)

15.เชื่อฟังผูส้ อน
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
175

"‫"من تأذى من استاذه حيرم بركة العلم وال ينتفع به اال قليَل‬

“ใครที่ รบกวนอาจารย์ผูส้ อนเขาจะไม่ ได้มาซึ่ งความบารอกะฮฺ


(ความจ าเริ ญ ) ของความรู ้ แ ละจะไม่ ไ ด้ป ระโยชน์ จ ากความรู ้
นอกจากเพียงเล็กน้อยเท่านั้น” (al-Zarnuji,1986:58)

16.ให้เกียรติตาราเรี ยน
ท่านได้กล่าวว่า
"‫"فينبغى لطالب العلم أن ال يأخذ الكتاب إال بطهارة‬

“ผูเ้ รี ยนไม่ควรที่ จะจับต้องหนังสื อนอกจากจะอยู่ในสภาพที่มีน้ า


ละหมาด” (al-Zarnuji, 1986 : 60)

และได้กล่าวอีกว่า

‫"ويضع كتب التفسري فوق سائر الكتب وال يضع على الكتاب شيئا‬
"‫آخر‬

“และควรวางหนังสื อตัฟสี ร (อรรถาธิ บายอัลกุรอาน) บนหนังสื อ


อื่นๆและไม่ควรวางสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดบนหนังสื อ”
(al-Zarnuji, 1986 : 60)

17.มีมารยาทที่ดีและอ่อนโยนในขณะแสวงหาความรู ้
อัลซี รนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ وإن‬،‫"ينبغي لطالب العلم أن يستمع العلم واحلكمة بالتعظيم واحلرمة‬
"‫مسع مسئلةً واحدة و كلمة واحدة ألف مرة‬

“ผูเ้ รี ยนควรนัง่ ฟังความรู ้ดว้ ยการให้เกียรติความรู้ โดยฟังเรื่ องเดียว


ประมาณหนึ่งพันครั้ง (al-Zarnuji, 1986 : 62)
176

18.ให้เกียรติเพื่อนฝูง
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ ت عظيم ا ل شرك اء ىف ط لب ا ل علم وا ل درس وم ن‬:‫" وم ن ت عظيم ا ل علم‬
"‫يتعلم منه‬

“จากการให้เกียรติความรู ้คือการให้เกียรติเพื่อนฝูงในการแสวงหา
ความรู ้ และผูค้ นร่ วมศึกษาจากอาจารย์เดียวกัน”
(al-Zarnuji, 1986 : 62)

19.มีความสัมพันธ์และความร่ วมมืออันดีระหว่างโรงเรี ยนกับครอบครัว

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

،‫ واألستاذ‬،‫ املتعلم‬:‫ حيتاج ىف التعلم والتفقه إىل جد ثَلثة‬:‫"وقيل‬


"‫ إن كان ىف ف األحياء‬،‫واألب‬

“ในการแสวงหาความรู ้น้ นั ต้องทุ่มเทและใช้ความพยายามสามฝ่ าย


ด้วยกัน คือ ผูเ้ รี ยน ผูส้ อน และบิดาถ้าอยู่ร่วมกันในชุ มชน” (al-
Zarnuji, 1986 : 68)

20.รู้จกั ใช้เวลาให้เป็ นประโยชน์


อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“และควรใช้เวลาให้เกิ ดประโยชน์ในทุ กสถานการณ์ กบั ทุกคน”(
al-Zarnuji, 1986 : 90)

21.การศึกษาอย่างต่อเนื่ อง
อัลซัรนูญียไ์ ม่สนับสนุนให้มีการพักหรื อหยุดเรี ยนในระหว่างการศึกษาโดย
กล่าวว่า
‫"وينبغى أن ال يكون لطالب العلم فرتة فإهنا آفة وكان أستاذنا برهان‬
"‫إمنا فقت شركائى بأين ال تقع ِل الفرتة ىف التحصيل‬:‫الدين يقول‬
177

“ผูเ้ รี ยนไม่ค วรปล่ อยให้เวลาหยุดหรื อพักช่ วงเวลาเรี ยน แท้จริ ง


แล้ว อาจารย์ข องฉันที่ ชื่ อบุ รฮานุ ดดี นได้ก ล่ า วว่า ที่ ฉันสามารถ
เอาชนะเพื่อนๆของฉันในเรื่ องของความรู ้ ก็เพราะฉันไม่ปล่อยให้
เวลานั้นหยุดพักในช่วงเวลาเรี ยน”( al-Zarnuji, 1986 : 95)

22.ให้ความสาคัญและตระหนักถึงคุณค่าของเวลา
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
"‫"وينبغي لطالب العلم أن يستغرق مجيع أوقاته‬
“ผูเ้ รี ยนควรใช้เวลาทั้งหมดให้กบั การศึกษา”
(al-Zarnuji, 1986 : 105)
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫"وينبغى أن يكون طالب العلم مستفيدا ىف كل وقت حىت حيصل له‬
."‫الفضل والكمال ىف العلم‬
“ผูเ้ รี ยนต้องให้ความสาคัญกับเวลาและได้ประโยชน์จากการใช้
เวลา” (al-Zarnuji, 1986 : 115)

23.ได้ประโยชน์จากประสบการณ์ของผูใ้ หญ่
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
،"‫ وليس كل ما فات يدرك‬،‫"وينبغى أن يغتنم الشيوخ ويستفيد منهم‬

“ผูเ้ รี ยนควรฉวยโอกาสในการรับประโยชน์จากผูส้ อนและทุกสิ่ ง


ทุกอย่างที่มนั ผ่านไปแล้วจะไม่สามารถเอามันคืนกลับมาได้” (al-
Zarnuji, 1986: 117)

5.2.2หลักสู ตร

อัลซัรนูญียไ์ ด้กาหนดและจาแนกหลักสู ตรการเรี ยนการสอนออกเป็ น2ประเภท


หนึ่ง อิลมุล หาล(‫( )علم احلال‬ความรู้ที่มีตอ้ งต้องการทุกสถานการณ์)
สอง อิ ลมฺ บะอฺ ฎุลอะหายีน (‫( )علم بعض األحايني‬ความรู้ ที่มี ความต้องการบาง
ช่วงเวลา)
178

อิลมุลหาล คือ ความรู ้ ที่เกี่ ยวกับหลักการศาสนา และบทบัญญัติอิสลาม หมายถึ ง


หมายถึงทุกอย่างที่เป็ นสิ่ งจาเป็ นในด้านศาสนาหรื อทางโลกที่สามารถช่วยในการทาอิบาดะฮฺ ต่อเอก
องค์อลั ลอฮฺ  (al-Zarnuji:1986:30)

อัลซัรนู ญียถ์ ื อว่า อิ ลมุ หาล(ความรู้ ที่ตอ้ งการทุ กสถานการณ์ ) เป็ นฟั รฎูอี น คื อ
ความรู ้ ที่ทุกคนจาเป็ นต้องศึกษาและทาความเข้าใจ ซึ่ งแบ่งออกเป็ นสามชนิ ด ด้วยกัน หนึ่ ง ความรู ้
เกี่ ย วกับ หลัก ความเชื่ อ ถื อ สอง ความรู ้ เ กี่ ย วกับ การกระท า สาม ความรู ้ เ กี่ ย วกับ การละทิ้ ง
(Shaik, 1412 : 70)
อัลซัรนูญียไ์ ด้แบ่งอิลมุหาลออกเป็ น สี่ ชนิดด้วยกัน
หนึ่ง ความรู ้ที่เกี่ยวกับอิบาดะฮฺ
สอง ความรู้ที่เกี่ยวกับสังคม เช่น การซื้ อขาย การแต่งงาน การหย่าร้าง การกักตุน
สิ นค้า การกินดอกเบี้ย เป็ นต้น
สาม ความรู้ที่เกี่ ยวกับจิตใจ เช่ น การยาเกรง การหวังผลตอบแทน และการนอบ
น้อมถ่อมตนต่ออัลลอฮฺ
สี่ ความรู้ ที่ เกี่ ย วกับจรรยามารยาท เช่ นการอดทน การให้อภัย การมี สัจจะ การ
ช่วยเหลือผูอ้ ื่น การร่ วมมือร่ วมใจทาในสิ่ งที่ดีเป็ นต้น

อิลมุล บะอฺ ฎุล อะหายีน (ความรู ้ที่มีความต้องการบางช่วงบางคราว)

อัลซัรนูญียถ์ ือว่า อิลมุลหาล เป็ นฟั รฎุอีน อิลมุลบะอฺ ฎุลอะหายีนเป็ นฟั รฎูกิฟายะฮฺ
ตามที่ท่านได้กล่าวไว้วา่

"‫"وأما حفظ ما يقع ف بعض األحايني ففرض على سبيل الكفاية‬

“และการสิ่ งที่ มี ความต้องการบางครั้ งบางคราว นั้นก็ ถื อว่า เป็ น


ฟัรฎู กิฟายะฮฺ” (al-Zarnuji, 1986 : 30)

ฟัรฎกิู ฟายะฮฺออกเป็ น สอง ชนิด

ชนิ ด แรก สิ่ ง ที่ จ าเป็ นส าหรั บ มุ ส ลิ ม เช่ น การท่ อ งจ าอัล กุ ร อาน ศึ ก ษาประวัติ
ผูร้ ายงานหะดีษ ศึกษาเกี่ ยวกับบทบัญญัติอิสลาม ไวยากรณ์ ภาษาอาหรับ เป็ นต้น ชนิ ดที่สอง สิ่ งที่
ไม่ใช่ ความรู ้ ทางชะรี อะฮฺ (ศาสนบัญญัติ) เช่ น การแพทย์ คณิ ตศาสตร์ ดังนั้น ฟั รฎูกิ ฟายะฮฺ คื อ
179

ความรู้ ที่ ค นทั่ ว ไปได้ รั บ ประโยชน์ และถ้ า ได้ เ รี ยนรู ้ บ างคนท าให้ ค นอื่ น พ้ น บาปไปด้ ว ย
(Shaik:1412:70)

จากการสังเกตในหนังสื อของท่าน อัลซัรนูญีย ์ จะเห็ นได้ว่า ท่านได้นิยามของ อิล


มุลหาล คือฟัรฎอีู น เป็ น วิชาความรู ้ที่เกี่ยวกับศาสนา หมายถึงทุกอย่างที่เป็ นสิ่ งจาเป็ นในด้านศาสนา
ส่ วนความรู ้ ที่มีความต้องการบางครั้งบางคราว คือความรู ้ ที่เกี่ ยวกับสติปัญญา เช่ น วิชาการแพทย์
วิชาดาราศาสตร์ และเป็ นฟั รฎูกิ ฟายะฮฺ ที่จะต้องศึกษาตามความต้องการของสังคม และถ้าไม่มีใคร
ศึกษาความรู ้เหล่านั้น ผูค้ นในสังคมทุกคนต้องแบกรับบาป และผูน้ าต้องบังคับให้คนหนึ่งคนใดใน
สัง คมต้อ งศึ ก ษาและได้เ ปรี ย บเที ย บความรู้ ที่ มี่ ค วามต้อ งการทุ ก สถานการณ์ หรื อ อิ ล มุ ล หาล
เปรี ยบเสมือนกับอาหารที่ทุกคนต้องรับประทานอยูเ่ สมอ และความรู ้ ที่มีความต้องการบางครั้งบาง
คราว หรื อ อิลมุล บะอฺ ฎุลอะหายีน เปรี ยบเสมือนกับยาที่ผคู ้ นต้องการเมื่อมีอาการเจ็บป่ วยเท่านั้น

ส่ วนรายละเอียดวิชาตามแนวคิดของท่านมีดงั นี้

1.วิชาเอกภาพ (‫ )التوحيد‬อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

“ผูเ้ รี ยนควรเลือกวิชาที่ดี ที่ตอ้ งการในศาสนาและต้องการเพื่อโลก


หน้า และเริ่ มเรี ยนด้วยวิชาเตาหี ด และการรู ้จกั พระองค์อลั ลอฮฺ”

2.วิชาฟิ กฮฺ

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

:‫"كان أستاذنا الشيخ اإلمام فخر الدين قاضي خان رمحه اهلل يقول‬
‫ويكرر دائما‬،‫ينبغي للمتفقه أن حيفظ نسخة واحدة من نسخ الفقه‬
"‫فيتيسر له بعد ذلك حفظ ما يسمع من الفقه‬

“อาจารย์ของฉันที่ ชื่อว่าชัยคฺ อิหม่ามฟั ค รุ ดดี นได้กล่ าวว่า ผูท้ ี่ท า


ความเข้า ใจทางศาสนาควรท่ องจาหนึ่ ง ตาราจากตาราฟิ กฮฺ และ
ทบทวนอยูต่ ลอด เพื่อง่ายต่อการเข้าใจเมือได้ฟังจากผูส้ อน
(al-Zarnuji, 1986 : 96)

และได้กล่าวอีกว่า
180

‫وينبغي لطالب العلم أال يشتغل بشيء آخر غري العلم وال يعرض عن‬
.‫الفقه‬

“ผูเ้ รี ยนไม่ควรกระทาสิ่ งหนึ่ งสิ่ งใดนอกจากการศึ กษาหาความรู ้


และไม่ควรหันหลังจากวิชาฟิ กฮฺ (al-Zarnuji, 1986: 100)

3.วิชา กวีอาหรับ (‫)الشعر‬

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ هاتوا ديوان‬:‫"وكان ابن عباس رضى اهلل عنه إذا مل من الكَلم يقول‬
"‫الشعراء‬

“ท่านอิบนุ อบั บาสเมื่ อท่านเบื่อจากการพูด ท่านก็จะกล่าวว่า “จง


เอาหนังสื่ อที่รวบรวมบทกวีให้กบั ฉัน” (al-Zarnuji: 1986:105)

4.วิชาอัลกุรอาน

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

“ท่านอลี ได้กล่าวว่า เพียงพอแล้วที่หนั หลังจากความรู ้ของอัลลอฮฺที่ตอ้ งประสบกับ


ความต่าต้อยและความขาดทุน และจาเป็ นต้องพยายามขอความหลีกเลี่ยงจากอัลลอฮฺ จากสิ่ งเหลานี้ ”
และยังได้กล่าวว่า

"‫"ليس شيئ أزيد للحفظ من قراءة القرأن نظرا‬

“การอ่านอัลกุรอานนั้นสามารถช่ วยในการท่องจา (al-Zarnuji,


1986: 127)

5.วิชาการคัดลายมือ (‫)خط‬
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

"‫"حسن اخلط من مفاتيح الرزق‬


181

“ลายมือที่สวยจะเป็ นกุญแจแห่งปั จจัยยังชีพทั้งหลาย”( al-Zarnuji,


1986 : 136)

6.วิชาแพทยศาสตร์

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

"‫"وال بد أن يتعلم شيئا من الطب‬


“และควรศึกษาบางส่ วนของวิชาแพทย์”
( al-Zarnuji, 1986 : 140)

5.2.3 กระบวนการเรียนการรู้
กระบวนการเรี ยนรู้ (learning process) เกิดจากคาหลัก 2 คา ได้แก่ 1) กระบวนการ
และ 2) การเรี ยนรู้
1) กระบวนการ หมายถึง ลาดับการของการกระทา ซึ่ งดาเนิ นต่อเนื่ องกันจนสาเร็ จ
ลง (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525: 34)
2) การเรี ยนรู้ หมายถึ ง การเปลี่ ย นพฤติ ก รรมหรื อศัก ยภาพของพฤติ ก รรมที่
ค่อนข้าง ถาวร ซึ่ งการเปลี่ยนนี้มีสาเหตุมาจากการได้รับประสบการณ์
ดังนั้น เมื่อรวมคาว่ากระบวนการ และการเรี ยนรู ้เข้าด้วยกัน กระบวนการเรี ยนรู ้จะ หมายถึ ง
"ลาดับขั้นตอนที่ทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้"
ผูว้ ิจยั ได้จาแนกในเรื่ องกระบวนการเรี ยนรู ้ตามแนวของท่านอัลซัรนูญีย ์ ออกเป็ น
2 ประเภทด้วยกัน คือ 1.วิธีการเรี ยนรู้ 2.เทคนิคและเงื่อนไขของการเรี ยนรู้

5.2.3.1 วิธีการเรี ยนรู้

ท่านบุรฮนุดดีน อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าว่า

‫وال بد لطالب العلم من املذاكرة واملناظرة واملطارحة واملشاورة فينبغي‬


، ‫ فيتحرز عن الشغب‬، ‫ والتأمل‬،‫ والتأين‬، ‫أن يكون باإلنصات‬
‫ واملشاورة إمنا تكون‬، ‫ فأن املناظرة واملذاكرة مشاورة‬، ‫والغضب‬
182

‫ واإلنصاف‬،‫ وذلك إمنا حيصل بالتأمل والتأين‬، ‫الستخراج الصواب‬


.‫وال حيصل بالغضب والشغب‬

“มันเป็ นสิ่ ง ที่ จาเป็ นส าหรั บ ผูเ้ รี ย นที่ ตอ้ งมี การทบทวนบทเรี ย น
อภิ ปราย การตั้งคาถาม แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ กนั และสมควรรั บฟั ง
อย่างสงบ มีสมาธิ และพยายามหลีกเลี่ยงจากการโต้แย้งและโกรธ
แท้ จ ริ งแล้ ว การทบทวนและการอภิ ป รายนั้ นถื อ ว่ า เป็ นการ
ปรึ กษาหารื อ นั้นคือหนทางในการหาคาตอบที่ถูกต้อง ซึ่ งจะบรรลุ
สิ่ งนั้นได้ดว้ ยการสังเกตและใคร่ ครวญ แต่จะไม่ได้รับคาตอบที่
ถูกต้องด้วยอารมณ์โกรธและโต้แย้ง” (al-Zarnuji, 1986: 87)
จากหนังสื อตะลี มุลมุตะอัลลิ ม เฏาะรี เกาะฮฺ ตะอัลลุ ม ผูว้ ิจยั ได้วิเคราะห์
เกี่ยวกับเกี่ยวกับวิธีการเรี ยนรู ้ในทัศนะของท่านอัลซัรนูญียม์ ีดงั นี้

1. การอภิปราย (‫)املناظرة‬

การอภิปราย คือ การสนทนาระหว่างสองกลุ่มในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง ซึ่ งแต่ละกลุ่มมี


แนวคิด หรื อ ความคิดเห็นที่ต่างกัน ที่พยายามให้ผอู ้ ื่นเห็นด้วยกับแนวความคิดของเขา โดยมีเจตนา
ที่จะค้นหาและพยายามให้ปรากฏความจริ ง(al-Midani, 1401 : 281)
อาภรณ์ ใจเที่ยง ได้ให้นิยาม ของ การอภิปราย หมายถึง วิธีการสอนที่มุ่งให้ผเู ้ รี ยน
ได้มีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรื อ พิจารณาหัวข้อที่กลุ่มสนใจร่ วมกัน วิธีการสอน
แบบอภิปรายจึงเป็ นวิธีการสอนที่ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนคือ ได้คิด ได้ทา ได้แก้ปัญหา ได้ฝึก
การร่ วมการทางานแบบประชาธิ ปไตย ผูเ้ รี ยนจึงเป็ นศูนย์กลางของการเรี ยน มีลกั ษณะการเรี ยนรู้
แบบกระตือรื อร้น เป็ นฯการพัฒนาผูเ้ รี ยนทางด้านความรู้และด้านเจตคติ และด้านทักษะการเรี ยนรู้
เช่น ทักษะการคิด ทักษะการพูด การฟัง การแสดงความคิดเห็น การทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม เป็ นต้น
(อาภรณ์ ใจเที่ยง.(2537).หลักการสอน)
การร่ วมอภิปรายเป็ นรู ปแบบการสอนที่สามารถดาเนิ นการได้ในรู ปแบบการร่ วม
สนทนาซักถามระหว่างสองฝ่ ายหรื อมากกว่า การร่ วมอภิ ปรายจะทาให้ผูร้ ่ วมอภิ ปรายเกิ ดความ
สนใจและเกิดความคิด ซึ่ งจะช่วยผูร้ ่ วมอภิปรายมีความเชื่ อมันในตัวเองและเกิดความคิดที่แตกฉาน
ในประเด็นที่มีการร่ วมอภิปราย
183

อัล กุ ร อานได้เ สนอรู ป แบบของการอภิ ป รายซึ่ งส่ ว นใหญ่ แล้ว มี ก ารเริ่ ม ต้น ใน
ลักษณะการใช้คาถาม หรื อประโยคคาถาม หรื อเกี่ ยวกับเรื่ องราวที่ กล่ าวถึ ง คาถามของผูถ้ ามใน
ประเด็นปั ญหาใดปั ญหาหนึ่ง เช่น พวกเขาถามเจ้าว่า ...(‫ )يسألونك‬จงถามพวกเขาว่า (‫ )سلهم‬เป็ นต้น
(ดนรอหีม, มปท :92)
อัลซัรนูญียไ์ ด้กาหนดหลักการของการอภิปรายไว้หลาย อย่างด้วยกัน ดังคากล่าว
ของท่านซึ่ งได้กล่าวไว้วา่ ” แท้จริ งแล้วจะบรรลุสิ่งนั้น(ความรู้)ด้วยการสังเกตและระมัดระวังและ
การฟัง และจะไม่ได้รับด้วยความโกรธและโต้แย้ง” (al-Zarnuji, 1986 : 87)
อัลซัรนู ญียไ์ ด้ต้ งั เงื่อนไขของการอภิปรายในเรื่ อง จรรยามารยาทของผูอ้ ภิปรายไว้
ดังนี้
1) มีเจตนาที่จะค้นหาสัจธรรมหรื อให้ความจริ งปรากฏออกมา
2) ห่างไกลจากการโกรธแค้นและโต้แย้ง
3) ไม่บิดเบือนและสร้างความคลุมเครื อ(al-Zarnuji, 1986 : 87)

2. การตั้งคาถาม (‫)املطارحة‬

อัลมุฏอรอหะฮฺหรื อการตั้งคาถามคือการโยนคาถามหรื อตั้งโจทย์ต่างๆการอภิปราย


ร่ วมกันระหว่างทั้งสองฝ่ ายสลับกับคาถามและคาตอบ(Razi, n.d : 389)
การเรี ยนรู ้แบบตั้งโจทย์ต้ งั อยูบ่ นพื้นฐานของการสนทนาระหว่างสองกลุ่มที่มีการ
สลับตั้งคาถามและคาตอบ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เห็นความจริ ง ขจัดความสับสนทางสติปัญญา และ
ขจัดอุ ปสรรค์ต่างๆที่ เป็ นสิ่ งกี ดขวางในการศึ กษาหาความรู ้ ที่ถูกต้อง โดยในมุมมองทางอิสลาม
ศึกษาถือว่าจาเป็ นที่ตอ้ งสร้างแนวคิดที่ถูกต้องและขจัดแนวคิดที่หลงผิด
อัลลอฮฺได้ตรัสในคัมภีร์อลั กุรอานไว้วา่

            

      

        


184

“ไม่มีการบังคับใด (ให้นบั ถือ) ในศาสนา อิสลาม แน่นอน ความ


ถู ก ต้อ งนั้น ได้เ ป็ นที่ ก ระจ่ า งแจ้ง แล้ว จากความผิ ด ดัง นั้น ผู ้ใ ด
ปฏิ เสธศรัทธาต่อ อัฎ-ฎอฆูต และศรัทธาต่ออัลลอฮฺ แล้ว แน่ นอน
เขาได้ยดึ ห่วงอันมัน่ คงไว้แล้ว โดยไม่มีการขาดใด ๆ เกิดขึ้นแก่มนั
และอัลลอฮฺน้ นั เป็ นผูท้ รงได้ยนิ ผูท้ รงรอบรู ้”
อัลมุฏอรอฮะฮฺ คือวิธีการเรี ยนรู ้ที่สามารถนาพาสู่ ความเข้าใจอย่างถูกต้อง และเพื่อ
ยืนหยัดในความคิดที่ถูกต้อง (Hashimi, 1984:454)
วิธีการเรี ยนรู้แบบอัลมุฏอรอหะฮฺได้ปรากฏในอัลกุรอานในหลายๆประเด็นเพื่อให้
ผูค้ นยอมรับด้วยสติปัญญา เช่นในประเด็นที่ไม่ยอมรับในความเป็ นประเจ้าของอัลลอฮฺโดยอัลลอฮฺ
ได้ตรัสว่า

          

“และพวกเขากล่าวว่า มันมิใช่ อะไรอื่นนอกจากชี วิตความเป็ นอยู่


ของเราในโลกนี้เท่านั้น และเรานั้นใช่วา่ จะเป็ นผูถ้ ูกให้ฟ้ื นคืนชี พก็
หาไม่” (อัล-อันอาม: 29)
อัลลอฮฺได้โต้ตอบคากล่าวของพวกเขาโดยกล่าวว่า

           

       

“จงกล่าวเถิดมุฮมั มัด อัลลอฮฺทรงให้พวกท่านมีชีวติ ขึ้นมา และทรง


ให้พวกท่านตายไป แล้วพระองค์จะทรงรวบรวมพวกท่านในวันกิ
ยามะฮฺ อย่างไม่มีขอ้ สงสัยใด ๆ ในเรื่ องนั้น แต่ส่วนมากของมนุ ษย์
ไม่รู้” (อัลญาซิยะฮฺ : 26)

อัลซัรนูญียไ์ ด้ส่งเสริ มในการใช้วธิ ี การเรี ยนรู ้และสอนแบบ อภิปราย การตั้งโจทย์


(คาถาม) ดีกว่าการทวนซ้ าเพราะสามารถแยกแยะจากการท่องจา โดยท่านได้กล่าวว่า “ ประโยชน์
ของการตั้งโจทย์ปละการอภิ ปราย ดี กว่าการทวนซ้ า เพราะในการตั้งโจทย์น้ นั มีการทวนซ้ าและ
เพิ่มพูนในวิชาความรู ้(al-Zarnuji, 1986 : 87 )
185

3. การย้อนคิดทบทวน (‫)املذاكرة‬
อัลมุซากาเราะฮฺมาจากคาว่า (‫ )تذكر الشيء إذا نسيه‬คือการทบทวนเมื่อได้ลืมมัน
คาว่า (‫ )التذكرة‬คือการสามารถเรี ยกข้อมูลเก่ามาเมื่อมีความต้องการ(Razi : n.d.:223)
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

         

  

“เขาผูร้ อดพ้นคนหนึ่ งในสองคนราลึ กขึ้ นมาได้หลัง จากชั่วเวลา


หนึ่ ง กล่าวว่า “ฉันจะบอกพวกท่านซึ่ งการทานายฝัน พวกท่านจง
ส่ งฉันไปซิ ” (ยูซุฟ :45)
การทบทวนคื อ การรั ก ษาสิ่ ง ที่ ไ ด้จ ดจ าไปแล้ว ไม่ ใ ห้ ห ายไปและด้ว ยการการ
ทบทวนหลายๆครั้งจะเพิ่มพูนในวิชาความรู ้และการทบทวนที่ดีในหนึ่ งชัว่ โมงดี กว่าการอ่านและ
การท่ อ งจ าเป็ นหลายๆวัน แต่ ค วรตั้ง เจตนาเพื่ อ ให้ ไ ด้ม าซึ่ งประโยชน์ ใ นการทบทวน(IBN
JAMAAH:N.D:41)
ปราโมทย์ จันทร์ เรื อง ได้กล่าวในหนังสื อ การเรี ยนการสอนแบบย้อนคิดทบทวน
ว่า “การทบทวน คือ การคิดถึงเรื่ องที่เราทาไปแล้ว โดยการที่ครู ได้จดั การเรี ยนการสอนไปแล้วจะ
ได้ยอ้ นกลับทบทวนตนเองด้วยกระบวนการที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และต้องดาเนินไปเป็ นวัฏจักร
ต่อเนื่ อง มีการคิดพิจารณาสิ่ งต่าง ๆ หลากหลาย บนพื้นฐานของค่านิ ยม การปฏิบตั ิ การปรับปรุ ง
และสภาพแวดล้อมในอาชี พ วัตถุประสงค์พ้ืนฐานก็คือ การปรับปรุ งคุ ณภาพการเรี ยนการสอน สิ่ ง
สาคัญ คือความเข้าใจในบทบาทของตนเองในเรื่ อง ค่านิยม เอกลักษณ์ของอาชี พครู อีกทั้งยังช่วยให้
ครู เลื อกการสอนได้อย่างเหมาะสม มี ความคิ ดสร้ างสรรค์ มีความมัน่ ใจ มี การดาเนิ นการอย่างมี
ระบบ และใช้ขอ้ มูลจากการสอน”(ปราโมทย์ จันทร์เรื อง: 2550 : 8-11)
และเวลาที่ดีที่สุดคือการท่องจาในช่วงเช้า อันเนื่ องจากในเวลานี้ มนั ปราศจากเสี ยง
รบกวนจากภายนอก และเป็ นช่วงเวลาที่จิตใจและสติปัญญาเปิ ดกว้าง และเช่นเดียวกันในช่วงเวลา
กลางคืน เป็ นช่วงเวลาที่ปราศจากเสี ยงรบกวนจากภายนอกเหมาะกับการทบทวน และในช่วงเวลาที่
ผูเ้ รี ยนมีความรู้สึก กระฉับกระเฉง ในการที่จะได้วิชาความรู ้ ก็ไม่ควรที่จะละทิ้งโอกาสนี้ (Yaljan,
1981:74)
186

อัลซัรนูญียม์ ีความเห็นว่า ผูเ้ รี ยนควรทบทวนองค์ความรู ้ที่ได้ร่ าได้เรี ยนมา เพราะ


ประโยชน์ของการทบทวนนั้น ทาให้ความรู ้สถิตอยูใ่ นจิตใจของผูเ้ รี ยน ท่านได้กล่าวว่า
“และสาหรับผูเ้ รี ยนควรที่จะต้องทบทวนสิ่ งที่ได้เรี ยนเมื่อวานซื นจานวนห้า ครั้ง
และทบทวนสิ่ งที่ได้เรี ยนเมื่อวานจานวนสี่ ครั้ง และสิ่ งที่ได้เรี ยนหลังจากนั้นจานวนสามครั้งและ
หลังจากนั้นจานวนสองครั้ง และสิ่ งที่ได้เรี ยนหลังจากนั้นจานวนหนึ่ งครั้ง เพราะมันให้ง่ายต่อการ
ท่องจา และไม่ควรที่จะมักง่ายในการทบทวน เพราะบทเรี ยนและการทบทวนควรจะไปพร้อมกัน
ด้วยความมุ่งมัน่ ตั้งใจ”

4. การใช้คาถาม (‫)السؤال‬
อัลซัรนูญีย ์ ได้กล่าวว่า
‫ بلسان سئول وقلب‬: ‫ مب أدركت العلم ؟ قال‬: ‫"وقيل البن عباس‬
"‫عقول‬

“อิบนุ อบั บาส ถูกถามว่า คุณได้ความรู ้มายังไง อิบนุ อบั บาสกล่าว


ว่า ด้วยลิ้ นที่ ชอบถาม และด้วยหัวใจที่ ใ คร่ ครวญ” (al-Zarnuji,
1986: 91)

อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

          

      

ความว่า”และเรามิได้ส่งผูใ้ ดมาก่อนหน้าเจ้านอกจากเป็ นผูช้ ายที่เรา


ได้รับ วะหฺ ยู(วิวรณ์ )แก่ พ วกเขา ดัง นั้น พวกเจ้าจงถามบรรดาผูร้ ู้
หากพวกเจ้าไม่รู้”
(อันนะหฺ ลฺ :43)
ดังนั้นสังเกตบรรดาเศาะหาบะฮฺ ของท่านนบีได้ให้ความสาคัญของการถามโดย
พวกเขาเมื่อมีปัญหาหรื อไม่เข้าใจเกี่ ยวกับศาสนาก็จะพากันไปถามท่านนบี อัลลอฮฺ ได้ตรัสใน
อัลกุรอานว่า
187

          

           

         

“เขาเหล่านั้นจะถามเจ้า เกี่ ยวกับเดือนแรกขึ้น จงกล่าวเถิด มันคือ


กาหนดเวลาต่างๆ สาหรับมนุษย์ และสาหรับประกอบพิธีฮจั ญ์และ
หาใช่ เป็ นคุ ณธรรมไม่ ในการที่พวกเจ้าเข้าบ้านทางหลังบ้าน แต่
ทว่าคุณธรรมนั้นคือผูท้ ี่ยาเกรงต่างหาก และพวกเจ้าจงเข้าบ้านทาง
ประตูบ ้า น และพวกเจ้าจงยาเกรงอัล ลอฮฺ เถิ ด เพื่ อว่า พวกเจ้า จะ
ได้รับความสาเร็ จ”
(อัลบากอเราะฮฺ :189)
อัลลอฮฺได้กล่าวอีกว่า

            

         

           

          

        

          

“พวกเขาจะถามเจ้าเกี่ยวกับเดือนต้องห้าม ซึ่ งการสู ้รบในเดือนนั้น


จงกล่ า วเถิ ด ว่ า การสู ้ ร บในเดื อ นนั้ น เป็ นสิ่ ง ใหญ่ โ ตและการ
ขัดขวางให้ออกจากทางของอัลลอฮฺ และการปฏิเสธการศรัทธาต่อ
พระองค์ และการกี ดกัน อัลมัสยิด อัลหะรอมตลอดจนการขับไล่
ชาว อัลมัส ยิด อัล หะรอมออกไปนั้นเป็ นสิ่ ง ใหญ่โตยิ่ง กว่า ณ
ที่อลั ลอฮฺ และการฟิ ตนะฮ์ นั้นใหญ่โตยิ่งกว่าการฆ่า และพวกเขา
จะยังคงต่อสู ้ พวกเจ้าต่อไป จนกว่าพวกเขาจะทาให้พวกเจ้ากลับ
188

ออกไปจากศาสนาของพวกเจ้า หากพวกเขาสามารถ และผูใ้ ดใน


หมู่พวกเจ้ากลับออกไปจากศาสนาของเขา แล้วเขาตายลง ขณะที่
เขาเป็ นผูป้ ฏิ เสธศรัทธาแล้วไซร้ ชนเหล่ านี้ แหละบรรดาการงาน
ของพสกเขาไร้ ผล ทั้งในโลกนี้ และปรโลก และชนเหล่านี้ แหละ
คือชาวนรก ซึ่ งพวกเขาจะอยูใ่ นนรกนั้นตลอดกาล”
(อัลบากอเราะฮฺ : 217)
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

         

        

         

  

“พวกเขาจะถามเจ้าเกี่ ยวกับน้ าเมา และการพนัน จงกล่าวเถิ ดว่า


ในทั้ง สองนั้นมี โทษมากและมี คุ ณหลายอย่างแก่ มนุ ษย์ แต่โทษ
ของมันทั้งสองนั้นมากกว่าคุ ณของมัน และพวกเขาจะถามเจ้าว่า
พวกเขาจะบริ จาคสิ่ งใด? จงกล่าวเถิดว่า สิ่ งที่เหลื อจากการใช้จ่าย
ในทานองนั้นแหละ อัลลอฮฺ จะทรงแจกแจงโองการทั้งหลายแก่
พวกเจ้าหวังว่าพวกเจ้าจะได้ใคร่ ครวญ”
(อัล-บากอเราะฮฺ :219)
คาถามเป็ นวิธีหนึ่งที่จะได้มาซึ่ งความรู ้ เป็ นวิธีของวิธีต่างๆของการศึกษาในอิสลาม
โดยบรรดาปราชญ์ก่อนๆได้กระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนมีการถามในการศึกษาหาความรู ้ และไม่ควรที่จะเอา
ความรู ้ ที่ยงั ไม่ชัดเจนหรื อที่ ยงั อยู่ในสภาพที่ คลุ มเครื อ และด้วยคาถามทาให้ผูเ้ รี ยนนั้น อยากรู ้ ใน
คาตอบที่ตนเองยังไม่รู้(Qombar:1987:214)
5-การสร้างความเข้าใจ
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
ُّ
‫وبالتفكر وكثرة‬ ‫بالتأمل‬
ُّ ‫"وينبغي أن جيتهد ف الفهم عن األستاذ‬
"‫ فإنه إذا قل السبق وكثر التكرار والتأمل يدرك ويفهم‬،‫التكرار‬
189

“ผูเ้ รี ยนควรพยายามสร้างความเข้าใจจากอาจารย์ผสู้ อนโดยสังเกต


จากคาพูดของผูส้ อน ด้วยการคิ ดใคร่ ค รวญ และด้วยการทวนซ้ า
หลายๆครั้ง แท้จริ งการที่ ไม่รีบร้ อนในการเรี ยนการสอน ด้วยการ
ทวนซ้ า และการสังเกต จะรู้และเข้าใจ และไม่ควรที่จะหละหลวม
ในการทาความเข้าใจ
(al-Zarnuji, 1986: 86)
อัล ซัร นู ญี ย ์ไ ด้สั่ ง เสี ย ผูเ้ รี ย นให้ทุ่ ม เทในการใช้ค วามพยายามเพื่ อ ที่ จ ะเข้า ใจใน
บทเรี ยนก่อนที่จะเขียนและท่องจาเพราะถ้าปราศจากความเข้าใจแล้วทาให้เกิดอาการอ่อนล้า และทา
ความคิดที่เฉี ยบแหลมนั้นหายไป และเสี ยเวลา ดังนั้นการสังเกตและการคิดที่ใคร่ ครวญนั้นช่วยให้
ผูเ้ รี ยนเข้าใจในบทเรี ยน
มีกดาด ยัลญาน ได้มีความเห็นว่า ความเข้าใจที่ถูกต้องเป็ นพื้นฐานของความรู ้ ถ้า
ปราศจากความเข้าใจเมื่อไร ก็จะไม่ได้มาซึ่ งความรู ้ที่ถูกต้อง(Yaljan, 1402 : 96)ด้วยเหตุน้ ี การสร้าง
ความเข้าใจในบทเรี ยนเป็ นสิ่ งที่สาคัญและจาเป็ นอย่างยิ่ง เพราะมันจะทาให้สามารถถ่ายทอดในวิชา
ความรู ้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์
การสร้างความเข้าใจเป็ นวิธีการหนึ่ งจากวิธีการศึกษาในอิสลาม ถึงแม้วา่ อิสลามได้
ให้ความสาคัญกับการท่องจาแต่อิสลามไม่ได้ละเลยในเรื่ องของความเข้าใจ ในหะดี ษบทหนึ่ งท่าน
นบี ได้ขอดุอาอฺ ให้กบั อับดุลอฮฺ บิน อับาส เพื่อให้เข้าใจในเรื่ องฟิ กฮฺ (ศาสนบัญญัติ) และมีความ
เชี่ยวชาญในเรื่ องของการอรรถาธิ บายอัลกุรอานโดยได้กล่าวว่า
ِ ِّ ِ َّ
َ ‫ َو َعل ْمهُ التَّأْو‬، ‫" الل ُه َّم فَ ِّقهُّ يف الدِّي ِن‬
" ‫يل‬

ความว่ า “ได้โ ปรดให้ เ ขาเข้า ใจในศาสนาและได้โ ปรดสอน


การตะอ์วลี (อรรถาธิบายอัลกุรอาน)ให้แก่เขา”
(Ahmad:2913)
อัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานว่า

 
           

   


190

“พวกเขาไม่ พิ จ ารณาดู อ ัล -กุ ร อานบ้า งหรื อ ? และหากว่ า


อัล-กุรอานมาจากผูท้ ี่ไม่ใช่ อลั ลอฮฺ แล้วแน่ นอนพวกเขาก็จะพบว่า
ในนั้นมีความขัดแย้งกันมากมาย”
(อันนิสาอฺ : 82)
6-การสังเกต และการคิดใคร่ ครวญ
การสังเกตและการคิ ดที่ ใคร่ ครวญ เป็ นสิ่ งที่ สาคัญในกระบวนการเรี ยนการสอน
อัลซัรนูญียได้กล่าวว่า
‫ ف‬- ‫ ف مجيع األوقات‬- ‫"وينبغي لطالب العل ِم أ ْن يكو َن متأمَل‬
"‫ فإمنا يدرك الدقائق بالتأمل‬،‫ذلك‬ ِ ِ
َ ‫تاد‬
َ ‫ ويَ ْع‬،‫دقائق العلُوم‬
“ผูเ้ รี ย นควรสั ง เกตในทุ ก นาที ข องการเรี ย นการสอน และควร
สั ง เกตเป็ นประจ า เพราะแท้จ ริ ง แล้ว ความรู ้ น้ ัน ได้ม าจากการ
สังเกต”
( al-Zarnuji, 1986 : 89)
และอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวอีกว่า

‫"فينبغي للمتعلم أن حيث نفسه على التحصيل واجلد والتأمل ف‬


"‫فضائل العلم‬

“ผูเ้ รี ยนควรกระตุน้ ตนเองเพื่อได้มาซึ่ งความรู้ ด้วยความพยายาม


และการสังเกตเป็ นประจาในเรื่ องคุณค่าของความรู ้
(al-Zarnuji:1986:75)

อิบนุกอยยิม ได้ให้นิยามของคาว่า อัตตะอัมมุล หรื อ การสังเกตว่า “การสังเกต คือ


การทบทวนในการมองหลายๆครั้งจนกระทัง่ มันปรากฏผล เข้าถึงหัวใจของเขา เข้าใจถึงความหมาย
และสามารถรวบรวมแนวคิดจากการสังเกตและการคิดใคร่ ครวญ”(Ibn Qayyim :2011:216)
สุ ภางค์ จันทวานิช(2549: 45)ได้ให้ความหมายของการสังเกตว่า การสังเกตคือการ
เฝ้ าดูสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างใส่ ใจและมีระเบียบวิธี เพื่อวิเคราะห์หรื อหาความสัมพันธ์ของสิ่ งที่เกิดขึ้นนั้น
กับสิ่ งอื่น
การคิดใคร่ ครวญ หรื อ ภาษาอาหรับ เรี ยกว่า อัตตะฟักกุร ซึ่ งมีความหมายทางภาษา
คือ การสังเกต หรื อ กระบวนการคิดในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง (Ibn Manzur ,Lisan al-Arab)
191

อินุอาชูรได้นิยามของคาว่า อัตตะฟั กกุร )‫(التفكر‬ว่า อัตตะฟักกุร คือกระบวนการ


ใช้สติปัญาเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ที่ถูกต้อง (al-Nahwee:2000:19)
อิบนุอุษยั มีนได้นิยามของ อัลตะฟักกุรว่า การที่มนุ ษย์ใช้สติปัญญาในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง
จนบรรลุผล (al-Uthimin:2005:)
อัลกุรอานและซุ นนะฮฺ ได้ให้ความสาคัญในเรื่ องของการคิดใคร่ ครวญ ในทุกเรื่ อง
โดยเฉพาะคิดใคร่ ครวญในสิ่ งที่ถูกสร้าง หรื อ มักลูก ไม่ว่าจะเป็ นการกาเนิ ดของมนุ ษย์ จักรวรรล์
และสรรพสิ ง่ต่างๆในโลกนี้
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

      

       

      

“คือบรรดาผูท้ ี่ราลึ กถึ งอัลลอฮฺ ทั้งในสภาพยืน และนัง่ และใน


สภาพที่ นอนตะแคง และพวกเขาพิ นิจพิ จารณากันในการสร้ า ง
บรรดาชั้นฟ้ า และแผ่นดิน (โดยกล่าวว่า) โอ้พระเจ้าของพวกเข้า
พระองค์ พระองค์มิได้ทรงสร้ างสิ่ งนี้ มาโดยไร้ สาระ มหาบริ สุทธิ์
พระองค์ท่าน โปรดทรงคุ ม้ ครองพวกข้าพระองค์ให้พน้ จากการ
ลงโทษแห่งไฟนรกด้วยเถิด”(อาล อิมรอน :191)

ในอัลกุรอาน อัลลอฮฺ ได้กล่ าว คาว่า (‫ )التفكر‬18 ที่ ดว้ ยกัน ส่ วนใหญ่แล้วเป็ น


ซูเราะฮฺ มักกียะฮฺ บางส่ วนจากอายะฮฺ มีดงั นี้

          

            

    

)3:‫(الرعد‬
192

ความว่า“และพระองค์คือผูท้ รงแผ่แผ่นดิ น และในนั้นทรงทาให้


มันมีภูเขามัน่ คง และลาน้ ามากหลาย และจากพืชผลทุกชนิ ดทรง
ให้มีจานวนคู่ ทรงให้กลางคืนครอบคลุ มกลางวัน แท้จริ งในการ
นั้นแน่นอนย่อมเป็ นสัญญาณสาหรับหมู่ชนผูใ้ คร่ ครวญ”
(อัลเราะอดฺ : 3)
อัลลอฮฺ ได้ตรัสว่า

            

)13 :‫(اجلاثية‬   


  
 
   
  
  
  
 
  

ความว่า“และพระองค์ทรงทาให้สิ่งที่อยูใ่ นชั้นฟ้ าทั้งหลาย และสิ่ ง


ที่อยูใ่ นแผ่นดินเป็ นประโยชน์แก่พวกเจ้า ทั้งหมดนี้ มาจากพระองค์
แท้จ ริ งในการนั้ น แน่ น อนย่ อ มเป็ นสั ญ ญาณส าหรั บ หมู่ ช นผู ้
ใคร่ ครวญ”
(อัลญาซิยะฮฺ :13)
อัลลอฮฺ ได้ตรัสอีกว่า

        

        

)191 :‫ (ال عمران‬     


 
 
  
 

ความว่า“คือบรรดาผูท้ ี่ราลึกถึ งอัลลอฮฺ ทั้งในสภาพยืน และนั่ง


และในสภาพที่ นอนตะแคง และพวกเขาพินิจพิจารณากันในการ
สร้างบรรดาชั้นฟ้ า และแผ่นดิน (โดยกล่าวว่า) โอ้พระเจ้าของพวก
เข้า พระองค์ พระองค์ มิ ไ ด้ท รงสร้ า งสิ่ ง นี้ มาโดยไร้ ส าระ มหา
บริ สุทธิ์ พระองค์ท่าน โปรดทรงคุ ม้ ครองพวกข้าพระองค์ให้พน้
จากการลงโทษแห่งไฟนรกด้วยเถิด”
(อาล อิมรอน :191)
193

อัลลอฮฺ ได้ตรัสอีกว่า

           

          

)8:‫(الروم‬    
  
 
  
 
  

“พวกเขามิได้ใคร่ ครวญ ในตัวของพวกเขาดอกหรื อว่า อัลลอฮฺ


มิได้ทรงสร้างชั้นฟ้ าทั้งหลายและแผ่นดิน และสิ่ งที่อยูร่ ะหว่างทั้ง
สอง เพื่อสิ่ งอื่นใดเลย เว้นแต่เพื่อความจริ งและเวลาที่ถูกกาหนดไว้
และแท้จรงส่ วนมากของมนุ ษย์เป็ นผูป้ ฏิเสธศรัทธาต่อการพบพระ
ผูเ้ ป็ นเจ้าของพวกเขา” (รู ม :8)
อายะฮฺ ดังกล่ าวได้กระตุ น้ ให้ม นุ ษย์ใช้ส ติ ปัญญาในการคิ ดใคร่ ครวญ ซึ่ งการคิ ด
ใคร่ ครวญนั้นถือว่าเป็ นแนวทางที่จะไปสู่ ความเข้าใจในเรื่ องของธรรมชาติหรื อสรรพสิ่ งทั้งหลายที่
ถูกสร้ างมาซึ่ งเรี ยกว่า มัคลูก ที่จะนาสู่ เป้ าหมายอันเดี ยวเท่านั้น นั้นก็คือ อัลลอฮฺ ผูส้ ร้ างสรรพสิ่ ง
ทั้งหลายที่สมควรได้รับการตอบแทนบุญคุณด้วยการเคารพภักดี และศรัทธาต่อพระองค์เพียงผูเ้ ดียว
เท่านั้นปราศจากการตั้งภาคีใดๆทั้งสิ้ น.
7-ทัศนศึกษา
ทัศนศึกษา เป็ นกระบวนการเรี ยนการสอน/วิธีสอนที่ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ ตาม
วัตถุประสงค์ผา่ นการเรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยน โดยผูเ้ รี ยนจะได้รับความรู ้จากประสบการณ์ตรง การลง
มื อ ปฏิ บ ัติ จ ริ ง ซึ่ งช่ ว ยให้ เ กิ ด ความเข้า ใจและจดจ าสิ่ ง ที่ ไ ด้พ บเห็ น ในเวลาอัน รวดเร็ ว และเป็ น
เวลานาน และการจัด การเรี ย นการสอนในรู ป แบบนี้ เป็ นการใช้แ หล่ ง การเรี ย นรู ้ ที่ มี อ ยู่ใ ห้ เ กิ ด
ประโยชน์อย่างสู งสุ ด(ทิศนา แขมมณี , 2545 : 342)
สาหรับจุดประสงค์หลักในการจัดทัศนศึกษานั้นเพื่อให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสเรี ยนรู ้
ประสบการณ์นอกห้องเรี ยน ซึ่ งหัวข้อในการเรี ยนรู ้น้ นั จะมีความหนักเบาไม่มากเท่ากับการเรี ยนใน
ห้องเรี ยน นอกจากนี้ แล้วยังมีจุดประสงค์แฝงเพื่อให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสรู ้ จกั ซึ่ งกันและกัน ได้มี
ประสบการณ์ทางสังคมด้วย รวมทั้งได้มีโอกาสในการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอีกด้วย ทั้งนี้ รวมไปถึงการ
เกิดความตระหนักในตนเอง ทักษะกระบวนการการเรี ยนรู ้เป็ นกลุ่มและเกิดการเรี ยนรู ้ในเรื่ องราว
ของระบบนิ เวศและสิ่ งรอบตัวที่พบเห็ นอี กด้วย อย่างไรก็ตามโรงเรี ยนจะไม่อนุ ญาตให้ไปทัศน
194

ศึกษาหากไปเพียงเฉพาะการท่องเที่ยวและไม่มีวตั ถุประสงค์ในการเดินทาง (ทิศนา แขมมณี , 2555


:43)
อัลซัรนูญียถ์ ือว่าการไปทัศนศึกษาคือวิธีหนึ่งของผูเ้ รี ยนที่จะได้มาซึ่ งความรู ้โดยได้
กล่าวว่า

‫"وال بد لطالب العلم وال بد من حتمل النصب واملشقة ىف سفر‬


"‫ كما قال موسى صلوات اهلل عليه السَلم‬,‫التعلم‬

“ผูเ้ รี ยนควรแบกภาระและความยากลาบากในการศึกษาหาความรู้
ดั ง เ ช่ น น บี มู ซ า ไ ด้ เ ดิ น ท า ง เ พื่ อ แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู ้ ”
(al-Zarnuji:1986:110)
บรรพชนมุสลิมในยุคก่อนได้ถือว่าการทัศนศึกษาเป็ นวิธีหนึ่งในการที่จะเพิ่มพูนใน
วิชาความรู ้ และหวังผลบุญอันมากมายตามที่ท่านนบีได้กล่าวไว้วา่ ”

))‫((من سلك طريقا يلتمس فيه العلم سهل اهلل له به طريقا إىل اجلنة‬

"ผูใ้ ดก็ตามที่ออกเดินทางเพื่อแสวงหาความรู ้อลั ลอฮฺจะทรงทาให้


หนทางไปสู่ สวรรค์สะดวกง่ายดายแก่เขา"
(MUSLIM, 1996: 4873)
8-การบันทึก
อัลซัรนูญีได้กล่าวว่า

"‫قر‬
‫ وماكتب‬،‫"ما حفظ فر‬
ความว่า “ สิ่ งที่ได้ท่องจามันมีโอกาสหายไป และสิ่ งที่ได้เขียนมัน
จะคงอยูน่ าน”
(al-Zarnuji, 1986 : 115)
อัลซัรนูญียถ์ ือว่าการจดบันทึกเป็ นเงื่อนไขสาคัญที่จะได้มาซึ่งความรู้ ตามที่
ท่านได้กล่าวว่า

‫"وطريق اإلستفادة أن يكون معه ىف كل وقت حمربة حىت يكتب ما‬


"‫يسمع من الفوائدالعلمية‬
195

“และแนวทางที่จะได้ประโยชน์จากความรู ้ คือ ควรเตรี ยมหมึกอยู่


ตลอดเวลา เพื่อที่จะบันทึกสิ่ งที่ได้รับฟังจากความรู ้”
(al-Zarnuji, 1986: 115)
การจดบันทึกเป็ นสิ่ งสาคัญในการช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้จดจา ให้มนั สถิ ตอยูใ่ น
จิตใจ และสามารถเรี ยกข้อมูลออกมาเมื่อไรก็ได้ โดยเฉพาะเมื่อได้อ่านสิ่ งที่ได้บนั ทึก ด้วย
เหตุน้ ีอลั ซัรนูญียไ์ ด้กระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนได้มีการบันทึกทุกสิ่ งทุกอย่างที่ได้เรี ยนมา ด้วยเงื่อนไข
ว่า ต้องเข้าใจในบทเรี ยนก่อนจะมีการบันทึก เพราะว่าถ้าผูเ้ รี ยนได้บนั ทึกสิ่ งที่เขาไม่เข้าใจก็
จะไม่ได้ประโยชน์ถึงแม้วา่ เขาจะทบทวนหลายๆครั้งก็ตาม เช่นเดียวกันสติปัญญาของมนุ ษย์
เป็ นไปไม่ได้ที่จะท่องจาทุกสิ่ งทุกอย่างที่ได้เรี ยนมา เพราะโดยสัญชาติญาณ ของมนุษย์มีการ
หลงลืม ฉะนั้น อัลซัรนูญีย ์ ขอให้ผเู้ รี ยนได้มีการเตรี ยมอุปกรณ์ในการจดบันทึกตลอดเวลา.
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

         

    

“จงอ่านเถิ ด และพระเจ้าของเจ้านั้นผูท้ รงใจบุญยิ่ง ผูท้ รงสอนการ


ใช้ปากกา ผูท้ รงสอนมนุษย์ในสิ่ งที่เขาไม่รู้”
(อัลอะลัก: 1-3)
5.2.3.2 เทคนิคและเงื่อนไขของการเรี ยนรู้
เทคนิ คการเรี ยนหมายถึงกลวิธีต่างๆที่ใช้เสริ มกระบวนการเรี ยน ขั้นตอนการเรี ยน
วิธีการเรี ยน หรื อการดาเนิ นการทางการเรี ยนใด ๆ เพื่อช่ วยให้การเรี ยนมีคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพ
มากขึ้น
ผูว้ ิจยั ได้วิเคราะห์ แนวคิ ดของท่านอัลซัรนู ญีย ์ที่เกี่ ยวข้องกับเทคนิ คและเงื่ อนไข
ต่างๆที่จะได้มาซึ่ งความรู ้โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) ให้เกียรติความรู ้และผูร้ ู ้
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
196

‫"اعلم بأن طالب العلم ال ينال العلم وال ينتفع به إال بتعظيم العلم‬
"‫أهله وتعظيم األستاذ وتوقريه‬

“อะไรที่ ท าให้ ผูเ้ รี ย นได้ม าซึ่ งความรู ้ จงรู ้ เ ถิ ด ว่า ผู ้เ รี ย นนั้น ไม่
สามารถที่จะได้รับวิชาความรู ้ นอกจากว่าต้องให้เกี ยรติต่อความรู ้
และผูร้ ู ้และเถิดทูลให้เกียรติกบั อาจารย์ผสู ้ อน”
(al-Zarnuji, 1986: 55)
ท่านได้อา้ งถึงคากล่าวของ ท่าน อิหม่ามซาดีดุดดีน อัลชีรอซี 5ได้กล่าวว่า

‫ من أراد أن يكون ابنه عاملا ينبغى أن يراعى الغرباء من‬:‫"قال مشاخينا‬


‫ يكون‬، ‫ ويعطيهم فإن لكن ابنه عاملا‬، ‫ ويكرمهم ويعظمهم‬،‫الفقهاء‬
"‫حافده علما‬

“ใครก็ตามที่จะให้ลูกของเขาเป็ นผูร้ ู ้ ควรที่ ผูน้ ้ นั ต้องให้เกียรติกบั


นัก ปราชญ์ที่ มี ค วามรู้ ใ นเรื่ องของฟิ กฮฺ ถ้า หากว่า ลู ก ของเขาไม่
สามารถเป็ นผูร้ ู ้แต่หลานของเขาก็สามารถเป็ นผูร้ ู ้ได้”
(al-Zarnuji, 1986: 56)
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ وال جيلس مكانه وال يبدئ‬، ‫ أال ميشي أمامه‬: ‫"ومن توقري املعلم‬
‫ وال يكثر الكَلم عنده وال يسأل عند‬، ‫الكَلم عنده إال بإلذنه‬
‫ وال يسأل شيئا ف طريقه‬، ‫ وال يتكلم عنده مع شريكه‬، ‫مَللته‬
"‫ بل يصرب حىت خيرج‬، ‫ وال يدق الباب عليه‬، ‫ويراعي الوقت‬

“บางอย่างจากการให้เกี ยรติ กบั อาจารย์ผูส้ อนคื อ ไม่เดิ นนาหน้า


ผูส้ อน ไม่ควรนัง่ แทนที่นงั่ ของอาจารย์ผสู ้ อน ไม่ควรริ เริ่ มในการ
พูดนอกจากจะได้รับการอนุญาตจากอาจารย์ผสู ้ อน และไม่ควรพูด
มากต่ อหน้า ผูส้ อน ไม่ ค วรถามในขณะที่ ผูส้ อนอ่ อนเพลี ย ควร
5
-ท่านมีชื่อจริ งว่า อิบรอฮีม บิน อลี อัลชีรอซีย ์ เสี ยชีวติ ฮ.ศ. 476
197

คานึ งถึงเวลา และไม่ควรที่จะเคาะประตูผสู ้ อนบ้านจนกระทัง่ เขา


จะออกมาเอง”
(al-Zarnuji, 1986: 56-57)
ท่านได้อธิ บายเกี่ยวกับลักษณะการให้เกียรติอาจารย์ผสู ้ อน มีดงั นี้
1. ไม่ควรที่จะเดินต่อหน้าอาจารย์ผสู ้ อน
2. ไม่ควรที่จะนัง่ กับที่ของอาจารย์ผสู ้ อน
3. ไม่ควรที่จะเริ่ มพูดในขณะที่อาจารย์ผสู ้ อนอยูน่ อกจากจะได้รับอนุญาตก่อน
4. ไม่ควรพูดมากในขณะที่อาจารย์ผสู ้ อนอยู่
5. ไม่ควรที่จะถามในขณะที่อาจารย์ผสู ้ อนเหนื่อยหน่าย
6. ไม่ควรที่จะพูดในขณะที่อาจารย์ผสู ้ อนอยูก่ บั เพื่อนของเขา
7. ควรรักษาเวลาเรี ยน
8.ไม่ควรเคาะประตูบา้ น จงอดทนจนกว่าผูส้ อนจะออกมา
จากคากล่าวของท่านอัลซัรนูญีย ์ ข้างต้นจะเห็นได้วา่ ท่านได้ให้ความสาคัญ
ในเรื่ องของการให้เกียรติผสู ้ อนและยอมรับในเรื่ องสถานะและความรู ้ของผูส้ อน เพราะมัน
เป็ นเงื่อนไขหลักที่จะได้มาซึ่งความรู้
ด้วยเหตุน้ ี บรรพชนยุคแรกของอิสลามโดยเฉพาะเศาะหาบะฮฺ (บรรดามิตร
สหาย)ของท่านนบี ต่างให้ความสาคัญกับการศึกษาและการให้เกียรติผสู ้ อน ดังเช่น อบู
ฮุร็อยเราะฮฺ อิบนุอุมรั อิบนุอบั บาส และท่านอื่นๆ
อิบนุอบั บาส ได้กล่าวว่า

‫وإن كان يبلغين احلديث عن الرجل فآيت بابه وهو قائل فأتوسد ردائي‬
‫ يا ابن‬: ‫على بابه يسفي الريح علي من الرتاب فيخرج فرياين » فيقول‬
‫عم رسول اهلل صلى اهلل عليه وسلم ما جاء بك ؟ هال أرسلت إيل‬
‫ أنا أحق أن آتيك‬، ‫ « ال‬: ‫ فأقول‬، ‫فآتيك ؟‬

“ถ้าหากว่าฉันได้รู้ว่าหะดี ษอยู่กบั ชายคนหนึ่ ง ฉันย่อมที่จะไปหา


เขา และฉันจะแขวนเสื้ อของฉันหน้าประตูของเขา และลมมาพัด
ฉันจากสิ่ งสกปรก เขาก็ออกมาและได้เห็นฉัน และเขาได้กล่าวว่า
โอ้ ลูกพี่ลูกน้องของท่านรอซุ ลุลลอฮฺ เจ้ามีอะไรหรื อ ทาไมเจ้าไม่
198

ส่ งคนมาหาฉัน และฉันจะไปหาเจ้า และฉันจะกล่าวว่า ไม่ ฉันมี


หน้าที่ตอ้ งมาหาเจ้า” (Ibn Abd al-Bar, 1994:383)
2) การคัดเลือก วิชาความรู้ อาจารย์และเพื่อนฝูง
1.การคัดเลือกวิชาที่จะเรี ยน

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫" ينبغي لطالب العلم أن خيتار من كل علم أحسنه وما حيتاج إليه ف‬
"‫أمر دينه ف احلال‬
“ผูเ้ รี ยนควรเลื อกวิชาที่ดี วิชาที่เขามีความต้องการทางศาสนาใน
ทุกช่วงเวลา
(al-Zarnuji, 1986: 45)

สัง เกตจากคาพูดของท่ า นอัล ซัรนู ญีย ์จะเห็ นได้ว่า อัล ซัรนู ญีย ์ไ ม่ ได้ใ ห้เสรี ภาพ
ทั้งหมดกับผูเ้ รี ยนในการเลื อกวิชาเรี ยน แต่ มีเงื่ อนไขในการเลื อกวิชาเรี ยน คือวิชาที่ดี และที่เป็ น
ประโยชน์ ดังนั้น วิชาที่ควรเลือกในการเริ่ มเรี ยนตามแนวคิดของท่านอัลซัรนู ญีย ์ คือ วิชาความรู ้ ที่
เกี่ ยวกับการศรั ทธาและการรู ้ จกั อัลลอฮฺ ด้วยหลักฐาน ผูค้ นที่ ตามถึ งแม้ว่าจะเป็ นการศรั ทธาที่
ถูกต้องแต่ในมุมมองหนึ่ งเขาผูน้ ้ นั จะเป็ นผูท้ ี่บาปโดยที่ เขาไม่รู้หลักฐานและไม่ได้ศึกษาหลักฐาน
ฉะนั้นควรเลือกสิ่ งที่ชดั เจนมีหลักฐานและมาจากท่านนบีมุฮมั หมัด  และจงระวังในสิ่ งที่กุข้ ึนมา
ใหม่”(al-Zarnuji,1986:45)
ดังนั้นอิสลามถือว่าเป็ นศาสนาที่ให้เสรี ภาพในการเลือกที่จะศึกษาเล่าเรี ยนต้องไม่
ขัดกับบทบัญญัติของอิสลามและเป็ นแนวทางที่จะนาไปสู่ การภักดีต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ และยังช่วยใน
การเผยแพร่ อิสลาม.
2. การคัดเลือกอาจารย์ผสู้ อน
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫"فينبغي أن خيتار األعلم واألورع واألسن كما اختار أبوحنيفة محاد بن‬
"‫سليمان رضي اهلل عنه بعد التأمل والتفكر‬
199

“ควรเลือกอาจารย์ที่มีความรู ้มากที่สุดและยาเกรงต่ออัลลอฮฺ 
และเป็ นผูส้ ารวมตน ที่ ท่านอาบูหะนี ฟะห์ เลื อกหะมัด บิ นสะลา
มะฮฺ เป็ นอาจารย์ เพราะฉันเห็ นว่า ท่านหะมัด บิ นสะลามะฮฺ เป็ น
สารวมตน อ่อนโยนและอดทนมากที่สุด” (al-Zarnuji: 1986:46)

สังเกตจากคาพูดของอัลซัรนู ญียข์ า้ งต้น สรุ ปได้ว่า อัลซัรนู ญียไ์ ด้ให้เสรี ภาพกับ


ผูเ้ รี ยนในการเลือกผูส้ อน แต่ได้วางเงื่อนของไขเกี่ยวกับคุณลักษณะของผูส้ อนนั้น ต้องมีคุณลักษณะ
สามประการด้วยกัน ดังนี้

1) มีความรู้มากที่สุด และมีความเชี่ยวชาญในวิชาที่ได้สอน
2) ยาเกรงต่ออัลลอฮฺ 
3) เป็ นผูส้ ารวมตน

3. การคัดเลือกเพื่อนฝูง

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

، ‫ واملتفهم‬، ‫ وصاحب الطبع املستقيم‬، ‫"فينبغي أن خيتار اجملد الورع‬


"‫ويفر من الكسَلن واملعطل واملكثار واملفسد والفتان‬
“ควรเลื อกผูท้ ี่ขยันและยาเกรงและผูท้ ี่สารวมตน (ระวังตนจากสิ่ งไม่ดี) ผูท้ ี่มี
ลักษณะเสมอต้นเสมอปลายและมีความ เข้าใจต่อกัน และเจ้าจงห่างไกลจากผูท้ ี่ขี่เกียจ ผูท้ ี่พูดในสิ่ งที่
ไร้ประโยชน์ ผูส้ ิ้ นหวัง ผูท้ ี่มารยาทไม่ดีและผูท้ ี่นาไปสู่ ฟิตนะฮฺ” (al-Zarnuji, 1986: 50)
สังเกตจากคาพูดของอัลซัรนูญียข์ า้ งต้นจะเห็นได้วา่ อัลซัรนูญียไ์ ด้แบ่งประเภทของ
เพื่อน ออกเป็ น 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 เพื่อนที่ดี คือเพื่อนที่มีคุณลักษณะขยัน ยาเกรง วัรอฺ (ระวังตนจากสิ่ งไม่
ดี) ผูท้ ี่มีลกั ษณะเสมอต้นเสมอปลายและมีความ เข้าใจต่อกัน
ประเภทที่ 2 เพื่ อ นที่ ไ ม่ ดี คื อ เพื่ อ นที่ มี คุ ณ ลัก ษณะขี่ เ กี ย จ ผูท้ ี่ พู ด ในสิ่ ง ที่ ไ ร้
ประโยชน์ ผูส้ ิ้ นหวัง ผูท้ ี่มารยาทไม่ดีและผูท้ ี่นาไปสู่ ฟิตนะฮฺ

ท่านนบี ได้กล่าวในหะดีษบทหนึ่งว่า
200

‫ َونَافِ ِخ‬، ‫ك‬ ِ ‫ َكح ِام ِل املِس‬، ‫وء‬ ِ ‫الس‬ُّ ‫يس‬ ِ ِ‫الصالِ ِح َو َجل‬
َّ ‫يس‬ ِ ِ‫((إَِّمنَا َمثل اجلَل‬
ْ َ ُ
ِ ِ
‫ َو َّإما‬، ُ‫اع مْنه‬
َ َ‫ َو َّإما أ ْن تَْبت‬، ‫ك‬ َ َ‫ َّإما أ ْن ُْحيذي‬:‫ فَ َحام ُل الْم ْسك‬، ‫الْ ِك ِري‬
ِ ِ ِ
‫ َو َّإما أ ْن‬، ‫ك‬ ِ ‫ ونَافِخ‬، ‫أ ْن ََِت َد ِمْنه رحياً طَيِّب ًة‬
َ َ‫ َّإما أ ْن ُْحي ِر َق ثِيَاب‬:‫الك ِري‬ ُ َ َ ُ
))ً‫ََِت َد ِمْنهُ ِرحياً ُمْنتِنَة‬
“อุปมามิตรที่ดีและที่ชวั่ นั้น เปรี ยบได้กบั คนขายน้ าหอมและช่างตี
เหล็ก เพื่อนดี คือคนขายน้ าหอมซึ่ งเขาอาจจะแจกน้ าหอมให้ท่าน
หรื อไม่เช่ นนั้นท่านก็ได้ซ้ื อน้ าหอมจากเขา เพื่อนชัว่ ก็คือช่ างตี
เหล็กซึ่ งเขาอาจจะทาให้ลูกไฟกระเด็นไปโดนเสื้ อผ้าของท่านให้
เกิ ด รอยไหม้ หรื อไม่ ก็ ท่ า นจะต้ อ งได้ รั บ กลิ่ นเหม็ น จาก
เขา” (บันทึกโดย al-Bukhari1986,: 1969, Muslim,1996: 4768)
ดังนั้น ใครที่ตอ้ งการมีมารยาทที่ดีงาม เขาก็จงเป็ นเพื่อนกับที่มีมารยาทงาม ซึ่ งจะ
ช่วยปรับปรุ งแก้ไขมารยาทของเขาให้ดีข้ ึน และจงห่างไกลจากเพื่อนที่มารยาททราม และชอบทาสิ่ ง
ที่น่ารังเกียจ
ท่านเราะสู ลุลลอฮฺ  ได้กล่าวว่า
ِّ َ‫لى اْ ِلفطََرةِإِالَّأَنَّأَبَ َويْ ِه يُ َه ِودَّانِِه أويُن‬
((‫صَرانِِه أ َْوميَُ ِّج َسانِه‬ ٍ
َ ‫)) ُكلُّ َم ْولُْوديُ ْولَ ُد َع‬
ความว่า “เด็ ก ทุ ก คนได้ค ลอดมาอยู่บ นความบริ สุ ท ธิ์ เว้นแต่ ว่า
บิดามารดาของเขาจะทาให้เขาเป็ นยิวเป็ นคริ สต์ หรื อเป็ นมะญูซีย ์
(พวกบูชาไฟ)”(al-Bukhari,1986 : 1292)

3) ใช้ความพยายาม อย่างต่อเนื่อง และสร้างแรงจูงใจ


อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ فمن كانت مهته حفظ‬،‫"والركن ىف حتصيل األشياء اجلد واهلمة العالية‬
‫ واقرتن بذلك اجلد‬، ‫ رمحه اهلل تعاىل‬،‫مجيع كتب حممد بن احلسن‬
‫ فأما إذا كانت له مهة‬،‫ فالظاهر أنه حيفظ أكثرها أو نصفها‬،‫واملواظبة‬
"‫عالية فَل حيصل له العلم إال قليَل‬
“เงื่อนไขหลักที่จะนาสู่ ความสาเร็ จ คือ ความพยายามและแรงจูงใจ
ที่ สู งส่ ง ผูใ้ ดที่มีแรงจูงใจที่ สูงส่ ง เขาสามารถท่องจาหนังสื อทั้ง
201

เล่ม ของมูฮมั หมัด อัลฮะซัน เนื่องจากเขาได้ใช้ความพยายามและ


อาศัย แรงจูงใจที่ สูงส่ งจึ งสามารถท่องจาส่ วนใหญ่หรื อครึ่ งหนึ่ ง
ของเนื้ อ หาในหนัง สื อ แต่ ท ว่า เขามี แรงจู ง ใจที่ สู ง แต่ ข าดความ
พยายาม หรื อ ในทางกลับกันเมื่อเขาได้พยายามอย่างเต็มที่แล้วแต่
ขาดแรงจูงใจที่สูงส่ ง เขาก็จะไม่ได้รับซึ่ งความรู ้นอกจากเพียงน้อย
นิดเท่านั้น
(al-Zarnuji, 1986: 73)
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ فإن املرء يطري ِبمته‬،‫"فَل بد لطالب العلم من اهلمة العالية ىف العمل‬
"‫كالطري يطري جبناحيه‬
“จาเป็ นสาหรับผูเ้ รี ยนที่ตอ้ งมีแรงจูงใจที่สูง ส่ ง แท้จริ งแล้วคนคน
หนึ่งสามารถบินไปด้วยแรงจูงใจของเขา เสมือนนกที่บินด้วยสอง
ปี กของมัน”
(al-Zarnuji, 1986: 72)
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫"كفى بلذة العلم و الفقه و الفهم داعيا و باعثا للعاقل على حتصيل‬
"‫العلم‬

“มันเพียงพอแล้วสาหรับการได้มีความสุ ขกับการศึกษาหาความรู ้
และความเข้าใจทางศาสนาที่เป็ นสาเหตุให้ผมู ้ ีสติ ปัญญานั้นขยัน
ในการที่จะได้มาซึ่งความรู้”
(al-Zarnuji, 1986 : 79)
ดังนั้น ความพยายามอย่างต่อเนื่ อง เป็ นสิ่ งที่จาเป็ นในการที่จะได้มาซึ่ งความสาเร็ จ
ในการงานทุ ก อย่า งโดยเฉพาะในการศึ ก ษาหาความรู ้ และด้วยความพยายามอย่า งต่ อเนื่ องมัน
ก่ อ ให้ เ กิ ด แรงจู ง ใจในการแสวงหาความรู ้ กล่ า วคื อ ระหว่ า งความพยายามกับ แรงจู ง ใจมี
ความสั ม พันธ์ ร ะหว่า ง ซึ่ งแรงจู ง ใจจะท าให้ เ กิ ดความพยายาม และเช่ น เดี ย วความพยายามจะ
ก่อให้เกิดแรงจูงใจ
202

นักการศึกษาสมัยใหม่ได้ให้นิยามของ อัลฮิมมะฮฺ หรื อ ภาษาทางการศึกษาปั จจุบนั


เรี ยกว่า อัดดาฟิ อฺ ซึ่ ง มีความหมายว่า พลังที่ซ่อนตัวอยูข่ า้ งใน ที่สามารถพลักดันสู่ ภายนอกด้วยการ
กระทา (Solih, n.d : 681)
การศึกษาจะเกิ ดขึ้นเมือมีการกระตุน้ ภายใน ที่สั่งให้กระทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง นั้นก็คือ
แรงจูงใจ ซึ่ งเป็ นรากฐานของการแสวงหาความรู ้ ถ้าปราศจากแรงจูงใจเมื่ อไร การศึ กษาก็จะไม่
เกิดขึ้น(yaljan, 1982 : 79)
ในอัลกุรอานเช่ นเดี ยวกัน อัลลอฮฺ ได้ให้ความสาคัญกับ อัดดาฟิ อฺ (แรงจูงใจ) ซึ่ ง
สัง เกตได้หลายๆอายะฮฺ ใ นอัล กุ รอานที่ เกี ย วกับ การศรั ท ธา การท าความดี อัล ลอฮฺ จะพูก มัดกับ
ผลตอบแทนและผลบุลในวันอาคิเราะฮฺ
4) การใช้ความอดทน
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ وعلى كتاب؛ حىت ال يرتكه‬،‫"فينبغي أن يثبت ويصرب على أستاذ‬
"‫وغلى بلد حىت ال ينتقل إىل بلد آخر من غري ضرورة‬... ،‫أبرت‬
“สาหรับผูเ้ รี ยนที่ตอ้ งอดทน ยืนยัดอยูก่ บั อาจารย์ผสู ้ อน และอยูก่ บั
หนั ง สื อจนกว่ า จะไม่ ล ะทิ้ ง มั น ...และจนอดทนต่ อ สถานที่
การศึกษา จนกว่าจะไม่ออกจากสถานที่หนึ่ งไปยังสถานที่หนึ่ งถ้า
ไม่มีเหตุจาเป็ น” (al-Zarnuji, 1986: 49)
"‫"وينبغي أن يصرب عما تريد نفسه وهواه‬
“และจงอดทนอดกลัน่ กับความต้องการของอารมใฝ่ ต่า”
(al-Zarnuji:1986:49)
อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวอีกว่า
"‫"ويصرب على احملن والبليات‬
“และจงอดทนอดกลัน่ บนบททดสอบ”
( al-Zarnuji, 1986 : 49)
สังเกตจากคาพูดของท่านอัลซัรนูญียข์ า้ งต้น ซึ่ งสามารถจาแนกประเภทการอดทน
ในการศึกษาหาความรู ้ออกเป็ น ห้า ประเภทด้วยกัน
203

หนึ่ง อดทนต่อความต้องการของอารมณ์ใฝ่ ต่า


สอง อดทนต่อบททดสอบของชีวติ
สาม อดทนต่อความรู ้
สี อดทนต่อครู บาอาจารย์
ห้า อดทนต่อสถานการศึกษา
ผูส้ อนควรมีความอดทนในการแสวงหาความรู ้ จนกระทัง่ สามารถศึกษาหาความรู้
อย่างต่อเนื่อง
อัลลอฮฺตรัสว่า

          

           

           

      

“แล้ ว ทั้ง สองได้ พ บบ่ า วคนหนึ่ งจากปวงบ่ า วของเราที่ เ ราได้


ประทานความเมตตาจากเราให้แก่เขา และเราได้สอนความรู ้ จาก
เราให้แก่เขา”(อัลกะฮฺฟฺ:60)

นี้ คือการสนทนาระหว่างอัลคิฎรฺ กับนบีมูซา อะลัยฮิมสั สลาม ในขณะที่มูซาขอ


ศึกษาหาความรู ้กบั อัลคิฎรฺ และมูซาขอเป็ นผูอ้ ดทนในการแสวงหาความรู ้ ซึ่ งนบีมูซาได้กล่าวว่า

          

“เขากล่าวว่า “หากอัลลอฮฺทรงประสงค์ท่านจะพบฉันเป็ นผูอ้ ดทน


และฉันจะไม่ฝ่าฝื นคาสั่งของท่าน” (อัลกะฮฺฟฺ :69)
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

         

  
204

“บรรดาผูศ้ รัทธาทั้งหลาย! จงอาศัยความอดทน และการละหมาด


เถิด แท้จริ งอัลลออ์น้ นั ทรงอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ดทนทั้งหลาย”
(อัล-บากอเราะฮฺ : 153)

5) เลือกช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาหาความรู ้

อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวในหนังสื อของท่านว่า


"‫ وقت التحصيل من املهد إىل اللحد‬: ‫"قيل‬
“มีคากล่าวที่วา่ การแสวงหาความรู ้ น้ นั ไม่มีวนั สิ้ นสุ ดนับตั้งแต่ใน
เปลจนถึงหลุมฝังศพ” (al-Zarnuji, 1986: 105)

ท่านยังได้กล่าวอีกว่า

"‫ وما بني العشأين‬،‫الس َح ِر‬


َ ‫ووقت‬
ُ ‫ َش ْر ُخ الشباب‬:‫"وأفضل أوقاته‬

“ช่ วงเวลาที่เหมาะสมที่ สุดในการศึ กษาวิชาความรู ้ ได้แก่ ช่วงวัย


หนุ่มสาว ช่วงเวลาสะหู รฺ (ช่วงท้ายของกลางคืน) และช่วงระหว่าง
เวลาละหมาดมัฆริ บ กับ อี ชาอ์ แต่ ทางที่ ดีก็จงทุ่ มเทเวลาทั้ง หมด
ให้กบั ศึกษาหาความรู ้ หากรู ้สึกเบื่อหน่ายกับศาสตร์ วิชาที่ศึกษาอยู่
ก็จงเปลี่ยนไปศึกษาในศาสตร์ วชิ าอื่นแทน”
(al-Zarnuji, 1986 : 105)
“เช่ นเดี ยวกับท่านอับดุ ลลอฮฺ บินอับบาสเมื่อท่านรู ้ สึกเหนื่ อยกับการศึกษาด้าน
เตาฮีดท่านก็จะกล่าวแก่นกั กวีวา่

‫ هاتوا ديوان‬:‫"وكان ابن عباس رضى اهلل عنه إذا مل من الكَلم يقول‬
"‫الشعراء‬

“ช่วยแต่งบทกลอนให้ฉนั ฟังหน่อยซิ ”เพื่อคลายความเบื่อหน่าย”


(al-Zarnuji, 1986: 105)
205

ท่ า นอิ ห ม่ า มมู ฮ ัม มัด บิ น ฮาซั น ใช้ เ วลากลางคื น ของท่ า นหมดไปกับ การอ่ า น


ตารับตาราท่านมักจะนาหนังสื อหลายๆเล่มมาวางไว้ขา้ งๆท่านเมื่อท่านเหนื่ อยกับอ่านเล่มใดแล้ว
ท่านก็จะเปลี่ยนมาอ่านเล่มอื่นแทน( al-Zarnuji, 1986 : 105)
ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการศึกษาหาความรู ้ คือ เริ่ มตังแต่วยั เด็กเพราะในช่วยเด็ก
นั้นเปรี ย บเสมื อนการแกะสลัก บนก้อนหิ น กล่ าวคื อ ความรู ้ จะสถิ ตอยู่ในจิ ตใจของเด็ก มากกว่า
ผูใ้ หญ่และเด็กสามารถเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง(al-Qurtubi, 1966 :104)
อิบนุญะมาอะฮฺ ได้มีความเห็นว่า ผูเ้ รี ยนควรแบ่งเวลาในแต่ละวันของเขา และควร
ใช้ชีวติ ของเขาเพื่อการศึกษา ถ้าเขาได้ใช้เวลานอกเหนือจากการศึกษาชี วิตของเขาก็จะไร้คุณค่า และ
เวลาที่ดีที่สุดในการท่องจา คือเวลาสุ หูร การค้นคว้า วิจยั ช่วงเช้าตรู่ การจดบันทึกช่วงกลางวัน การ
อ่านและทบทวนช่วงเวลากลางคืน(Ibn Jamaah, n.d. : 72-73)
อัลซัรนูญียม์ ีความเห็นว่า มนุษย์ควรใช้ชีวิตทั้งหมดเพื่อการศึกษาหาความรู้ อายุไข
ชองมนุ ษ ย์ซ่ ึ งเริ่ ม ตั้ง แต่ ใ นเปลจนถึ ง หลุ ม ฝั ง ศพคื อ เวลาส าหรั บ การศึ ก ษาเล่ า เรี ย น โดยได้อ้า ง
หลักฐานจากประวัติของ หะซัน บินซิ ยาดที่ได้เริ่ มในการเรี ยนฟิ กฮฺ ในขณะที่ ท่านมี อายุได้ 80 ปี
ฉะนั้นเวลาการศึกษาหาความรู ้ในทัศนะของท่านคืออายุไขของมนุ ษย์ท้ งั หมดโดยไม่ได้จากัดเวลา
หรื อกลุ่มชน แต่ท่านได้มีทศั นะในเรื่ องของเวลาที่ดีและได้ผลในการศึกษาเล่าเรี ยน นั้นก็คือช่วงวัย
หนุ่มสาวช่วงซุ หุร(ช่วงท้ายของกลางคืน) และช่วงระหว่างเวลาละหมาดมัฆริ บกับอีซาแต่ทางที่ดีก็
จงทุ่มเทเวลาทั้งหมดของให้กบั ศึ กษาหาความรู ้ หากรู ้ สึกเบื่ อหน่ ายกับศาสตร์ วิชาที่ ศึกษาอยู่ก็จง
เปลี่ยนไปศึกษาในศาสตร์วชิ าอื่นแทน

ท่านนบีได้กล่าวว่า
((ُ‫الصحةُ َوالْ َفَراغ‬ ِ ‫ان َم ْغبُو ٌن فِي ِه َما َكثِ ٌري ِم ْن الن‬
ِّ ‫اس‬ ِ َ‫))نِعمت‬
َْ
“ความโปรดปราน (นิอฺมะฮฺ ) สองประการที่มนุ ษย์ส่วนมากมักจะ
ปล่อยให้สูญเสี ยไปโดยเปล่าประโยชน์ นัน่ คือ การมีสุขภาพที่ดี
และการมีเวลาว่าง”

(al-Bukhari,1986:5960)

6) อาศัยเคล็ดลับช่วยจาและหลีกเลี่ยงจากสาเหตุของการหลงลืม
206

ท่านอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
،‫ وصَلة الليل‬،‫ وتقليل الغذاء‬،‫ اجلد واملواظبة‬:‫"وأقوى أسباب احلفظ‬
"‫وقراءة القرآن من أسباب احلفظ‬
“ปั จจัยเบื้องต้นที่สาคัญของเคล็ดลับช่วยจาคือ ความจริ งจัง ความ
ขยันหมัน่ เพี ย ร กิ นแต่ น้อ ย ท าการละหมาดยามค่ า คื น และการ
อ่านอัลกุรอ่านก็ถือว่าเป็ นสิ่ งหนึ่งที่ช่วยในเรื่ องของความจาด้วย”
( al-Zarnuji, 1986 : 127)
และท่านยังกล่าวอีกว่า
‫"والسواك وشرب العسل وأكل الكندر مع السكر وأكل إحدى‬
‫وعشرين زبيبة محراء كل يوم على الريق يورث احلفظ ويشفى من كثري‬
‫ وكل وكل ما يقلل البلغم والرطوبات يزيد ىف‬،‫من األمراض واألسقام‬
"،‫احلفظ‬
“การแปรงฟั น การดื่ ม น้ าผึ้ง การรั บประทานน้ าเต้า ผสมน้ าตาล
และประทานลูกเกดสี แดงเข้มจานวนยี่สิบเอ็ดเม็ดระหว่างมื้อเช้า
ทั้ง หมดนี้ ล้วนเป็ นประโยชน์ ต่อ ความจ าทั้ง สิ้ นและยัง เป็ นการ
รักษาโรคทุกชนิ ดอีกด้วยนอกจากนี้ การเลือกรับประทานอาหารที่
ช่ วยลดเสมหะและน้ า มู ก ก็ ถื อเป็ นการช่ วยในเรื่ องของความจา
เช่นกัน”
(al-Zarnuji, 1986 : 128)
สังเกตจากคาพูดของอัลซัรนูญียด์ งั กล่าวเราสามารถจาแนกเคล็ดลับช่วยจาออกเป็ น
สอง สาเหตุดว้ ยกัน คือ หนึ่งด้านจิตใจ และสองด้านร่ างกาย ส่ วนด้านจิตใจ คือ ความจริ งจัง ความ
ขยันหมัน่ เพียร ทาการละหมาดยามค่าคืนและการอ่านอัลกุรอ่าน ส่ วนด้านร่ างกาย คือ การแปรงฟัน
การดื่มน้ าผึ้ง การรับประทานน้ าเต้าผสมน้ าตาล และประทานลูกเกดสี แดงเข้มจานวนยีส่ ิ บเอ็ดเม็ด
ระหว่างมื้อเช้า ส่ วนสาเหตุของการหลงลืมท่านบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫"املعاصي وكثرة الذنوب واهلموم واألحزان ف أمور الدنيا وكثرة‬


"‫األشغال والعَلئق‬
207

“สาหรั บสาเหตุ การหลงลื มก็ได้แก่ การทามะอฺ ศิยตั การทาบาป


ต่างๆ มี ความคิ ดที่ ฟุ้งซ่ าน โศกเศร้ าเสี ยใจเกี่ ยวกับเรื่ องทางโลก
หมกมุ่นอยูก่ บั เรื่ องไร้สาระ
(al-Zarnuji, 1986: 129)
สังเกตจากคากล่าวของบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียข์ า้ งต้นจะเห็นคาพูดของท่านมีความ
สอดคล้องกับคากล่าวของวะกีอฺซ่ ึ งเป็ นอาจารย์ของท่านอิหม่ามชาฟิ อีย ์ เมื่ออิหม่ามชาฟิ อียไ์ ด้ฟ้องเล่า
ปั ญหาการท่องจาของเขาให้กบั ท่านโดยได้กล่าวว่า

‫شكوت إِل وكيع سوء حفظي فأرشدين اِل ترك املعاصي‬


‫وقال اعلم بأن العلم نور ونور اهلل ال يؤتاه عاصي‬
“ฉันได้ไปฟ้ องเล่าปั ญหาการท่องจาของฉันให้วะเกียะฮฺ ฟังแล้วเขา
แนะนาให้ฉันทิ้งสิ่ งที่เป็ นบาปและกล่าวว่าพึงรู ้ เถิ ดความรู ้ น้ นั คื อ
ดวงประทีบและดวงประทีบของอัลลอฮฺ น้ นั จะไม่คู่เคียงกับผูท้ ี่ฝ่า
ฝื น
ท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวอีกว่า

"‫"وكل ما يزيد ف البلغم يورث النسيان‬

และการรับประทานอาหารอันเป็ นสาเหตุให้เกิดเสมหะและน้ ามูก


ก็ทาให้ความจาลดเลือนได้เช่นเดียวกัน”
(al-Zarnuji, 1986 : 129)
และท่านยังกล่าวอีกว่า

‫"والسواك وشرب العسل وأكل الكندر مع السكر وأكل إحدى‬


‫ وتشفي من كثري من‬،‫وعشرين زبيبة كل يوم على الريق؛ يورث احلفظ‬
"‫األمراض واألشقام‬
208

“ยัง มี ส าเหตุ ที่ ท าให้ ค วามจ าเลอะเลื อ นอี ก กล่ า วคื อ การ
รับประทานเม็ดและใบเครื่ อ งเทศสด การรับประทานแอปเปิ้ ลผล
ดิบ การดูไม้กางเขน การอ่านคาจารึ กบนหลุ มฝั งศพ การเดินผ่าน
ฝูงอูฐ การปล่อยเหาทิ้งไปในขณะที่มนั ยังไม่ตายและการล้วงคอ
ทั้งหมดนี้ลว้ นเป็ นเหตุทาให้ความจาเลอะเลือนทั้งสิ้ น”
(al-Zarnuji, 1986: 130)
การหลงลื ม คื อ การสู ญ หายสิ่ ง ที่ มี ม า จากประสบการณ์ ความจ า หรื อ ความ
เชี่ ยวชาญ และไม่สามารถที่จะเอามันกลับคืนมา หรื อ นึ กถึงมันได้(Rajah :1973:297) การหลงลืม
เป็ นคุณลักษณะหนึ่ งของมนุ ษย์ซ่ ึ งแตกต่างกับ มัคลูกอื่นๆ(Muhammad, 1410 : 320) อัลลอฮฺได้ตรัส
ในคัมภีร์อลั กุรอานว่า

            

ความว่า "และโดยแน่ นอน เราได้เอาสัญญากับอาดัมแต่กาลก่อน


ทว่าเขาได้ลืม และเราไม่พบความมุ่งมัน่ ในตัวเขา(หลังจากที่เขา
ลืม)"

(ฏอฮา : 115)

ตามที่ บุ ร ฮานุ ด ดี น อัล ซัร นู ญี ย ์ไ ด้แ บ่ ง สาเหตุ ข องการจดจ าออกเป็ น สอง ชนิ ด
เช่นเดียวกันได้แบ่งสาเหตุของการหลงลืมออกเป็ นสองชนิ ด ด้วยกัน
ชนิดที่ หนึ่ง สาเหตุทางจิตใจ คือ สาหรับสาเหตุการหลงลืมก็ได้แก่ การทามะอฺ ศิยตั
การทาบาปต่างๆ มีความคิดที่ฟุ้งซ่ าน โศกเศร้ าเสี ยใจเกี่ ยวกับเรื่ องทางโลก หมกมุ่นอยู่กบั เรื่ องไร้
สาระ การดูไม้กางเขน การอ่านคาจารึ กบนหลุ มฝั งศพ การเดิ นผ่านฝูงอูฐ การปล่อยเหาทิ้งไปใน
ขณะที่มนั ยังไม่ตายและการล้วงคอ
ชนิ ดที่สอง สาเหตุดา้ นร่ างกาย ได้แก่ การรับประทานอาหารอันเป็ นสาเหตุให้
เกิดเสมหะและน้ ามูกก็ทาให้ความจาลดเลือนได้เช่นเดียวกัน การรับประทานเม็ดและใบเครื่ องเทศ
สด การรับประทานแอปเปิ้ ลผลดิบ
209

7) ขอคาแนะนาและค าปรึ กษาจากผูส้ อนในการศึ กษาหาความรู ้ ที่ เหมาะสมกับ


ผูเ้ รี ยน

‫"وينبغي لطالب العلم أال خيتار نوع العلم بنفسه بل يفوض أمره إىل‬
‫األستاذ فإن األستاذ قد حصلت له التجارب ف ذلك فكان أعرف‬
"‫مبا ينبغي لكل لواحد وما يليق بطبيعته‬

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ ด้มีแนวคิดว่า การให้คาแนะนากับผูเ้ รี ยน


ศึกษาหาความรู ้ที่เหมาะกับตัวเองนั้นเป็ นหน้าที่ของอาจารย์ผสู ้ อน
โดยได้กล่ าวว่า “ผูเ้ รี ยนไม่ควรเลื อกวิชาเรี ยนด้วยตันเอง แต่มนั
เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งมอบหมายให้กบั ผูส้ อน ซึ่ งแท้จริ งแล้วผูส้ อนได้ผา่ น
ประสบการณ์ในเรื่ องการเลือกวิชาเรี ยนมามากมาย และผูส้ อนเป็ น
ผูท้ ี่ รู้ที่ สุ ด ในสิ่ ง ที่ เหมาะสมกับ ผูเ้ รี ย นแต่ ล ะคน ที่ เหมาะสมกับ
ธรรมชาติของผูเ้ รี ยน”( al-Zarnuji, 1986 : 63)

สั ง เกตจากค าพู ด ของบุ ร ฮานุ ด ดี น อัล ซั ร นู ญี ย ์ ข้า งต้ น จะเห็ น ว่ า ท่ า นได้ ใ ห้


ความสาคัญกับการขอคาปรึ กษาจากอาจารย์ผสู้ อน โดยผูส้ อนเป็ นผูท้ ี่มีประสบการณ์ในด้านการ
เรี ยนการซึ่งผูเ้ รี ยนมิอาจที่จะมองข้ามผูส้ อนได้

ในอัลกุรอาน อัลลอฮฺได้ให้ความสาคัญกับการปรึ กษาหารื อ โดยได้ตรัสว่า

          

        

           

   


210

“เนื่ องด้วยความเมตตาจากอัลลอฮฺ นนั่ เอง เจ้า (มุฮมั มัด) จึงได้


สุ ภาพอ่อนโยนแก่พวกเขา และถ้าหากเจ้าเป็ นผูป้ ระพฤติหยาบช้า
และมี ใ จแข็ ง กระด้า งแล้ว ไซร้ แน่ น อนพวกเขาก็ ย่ อ มแยกตัว
ออกไปจากรอบ ๆ เจ้ากันแล้ว ดังนั้นจงอภัยให้แก่พวกเขาเถิด และ
จงขออภัยให้แก่ พวกเขาด้วย และจงปรึ กษาหารื อกับพวกเขาใน
กิ จ การทั้ง หลาย ครั้ นเมื่ อ เจ้า ได้ต ัด สิ น ใจแล้ว ก็ จ งมอบหมาย
แด่อลั ลอฮฺเถิด แท้จริ งอัลลอฮฺทรงรักใคร่ ผมู ้ อบหมายทั้งหลาย”
(อาล อิมรอน: 159)

8) เลือกสถานที่ที่เหมาะสมในการศึกษาหาความรู้

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫"وينبغى لطالب العلم أن الجيلس قريبا من األستاذ عند السبق بغري‬


‫ بل ينبغي أن يكون بينه وبني األستاذ قدر القوس فإنه أقرب‬،‫ضرورة‬
"‫إىل التعظيم‬

“ผูเ้ รี ยนไม่ควรนั่งใกล้กบั อาจารย์ผสู ้ อนถ้าไม่จาเป็ น และควรให้


ระยะห่ างระหว่างเขากับผูส้ อนประมาณความยาวของธนู เพื่อให้
เกียรติกบั ผูส้ อน” (al-Zarnuji, 1986: 63)

9) ช่วงอายุที่เหมาะสมในการเริ่ มเรี ยน

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ وأيام احلداثة‬...‫ كما قيل‬، ‫"ويغتنم أيام احلداثة وعنفوان الشباب‬


"‫ إال إن احلداثة ال تدوم‬... ‫فاغتنمها‬
211

“จงฉวยโอกาสช่ วงวัยหนุ่ มเพื่อการศึกษาหาความรู้ …ดังที่ มีการ


กล่าวว่า “ในวัยหนุ่มจงใช้มนั กับการศึกษา เพราะวัยหนุ่มจะไม่คง
อยูต่ ลอดไป”

(al-Zarnuji, 1986: 71)

10) หมัน่ ทบทวนบทเรี ยน

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫"وال بد لطالب العلم من املواظبة على الدرس والتكرار ىف أول الليل‬


.‫ وقت‬،‫ ووقت السحر‬،‫ فإن ما بني فإن ما بني العشائني‬،‫وآخره‬
"‫مبارك‬

“ผูเ้ รี ยนควรทบทวนบทเรี ยนอย่างสม่าเสมอเริ่ มจากช่วงแรกของ


ค่ าคืนจนถึ งช่ วงสุ ดท้าย แท้จริ งแล้วช่ วงเวลาหลังจากมัฆริ บถึ งอิ
ชาอฺ และช่วงเวลาซุ หูรถือว่าเป็ นช่วงเวลาที่บารอกะฮฺ”
(al-Zarnuji, 1986 : 70)

11) การจับจ่ายใช้สอยและรับประทานอาหารอย่างพอเพียง

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ واألكل فوق الشبع ضرر حمض ويستحق به‬،‫ إتَلف املال‬:‫وفيه أيضا‬
‫العقاب ف دار اﻵخرة‬

“และในนั้น มันจะทาลายทรั พย์สิน และการรั บประทานอาหาร


หลัง จากได้ อิ่ ม ไปแล้ว ถื อ ว่ า อัน ตรายอย่ า งยิ่ ง และควรได้ รั บ
บทลงโทษในโลกหน้า” (al-Zarnuji, 1986 : 80)
212

12) ความสมดุลระหว่างคาบเรี ยนกับเนื้อหา

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫"كان أبو حنيفة رمحه اهلل حيكي عن الشيخ القاضي اإلمام عمر بن‬
‫ ينبغي أن‬:‫أب بكر الزرجني رمحه اهلل انه قال قال مشاخينا رمحهم اهلل‬
‫يكون قدر السبق للمبتدى قدر ما ميكن ضبطه باإلعادة مرتني‬
"‫ ويريد كل يوم كلمة‬،‫ فقد قيل السبق حرف‬،‫بالرفق‬

“ตามที่อบูหะนี ฟะฮฺ ได้กล่าวจากอิหม่าม อุมรั บิน อบีบกั ร อัลซะ


รันญีย ์ ได้กล่าวว่า อาจารย์ของฉันได้กล่าวว่า และสาหรับผูท้ ี่ริเริ่ ม
ในการเรี ยนควรสอนในสิ่ งที่ง่ายต่อการท่องจาจานวนสองครั้งด้วย
ความอ่อนโยนและหลังจากนั้นเพิ่มในการสอนวันละหนึ่งคา"

( al-Zarnuji, 1986 : 84)

13) สร้างกระบวนการคิดและใช้พลังสมองในการศึกษาหาความรู้

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫فإذا عرف عجز نفسه‬..‫ أن يعرف عجزنفسه‬:‫"فالعمل بالعقل أوال‬


‫ وال يعتمد على نفسه وعقله بل يعتمد‬,‫عرف قدرة اهلل عزوجل‬
"‫ويتوكل على اهلل‬

“บทบาทแรกของสติ ปัญญาคื อการรู ้ ถึ ง จุ ดอ่อนของตัวเอง และ


หลังจากได้รู้ถึงจุดอ่อนของตัวเองนั้นจะทาให้เขารู ้ ถึงเดชานุ ภาพ
ของอัล ลอฮฺ ในที่ น้ ี เขาได้ม อบหมายการงานต่ า งๆต่ อ เอกองค์
อัลลอฮฺ และขอให้พระองค์ประทานสัจธรรม”
(al-Zarnuji,1986 : 92-93)
213

14-การประเมินตนเอง

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

‫ فإنه ال‬، ‫"ينبغي لطالب العلم أن يعد ويقدر لنفسه تقديراً ف التكرار‬
"‫يستقر قلبه حىت يبلغ ذلك املبلغ‬

“ผูเ้ รี ยนควร นับจานวนครั้งในการทบทวน แท้จริ งแล้วมันจะไม่


สถิตย์อยูใ่ นจิตใจจนกว่าจะได้จานวนดังกล่าว”
(al-Zarnuji, 1986 : 95)
สั ง เกตจากค ากล่ า วของท่ า นบุ ร ฮานุ ด ดี น อัล ซัร นู ญี ย ์ข ้า งต้น จะเห็ น ว่า ท่ า นให้
ความสาคัญในการประเมินตนเองในสิ่ งที่ได้ร่ าเรี ยนมาโดยแนะนาให้ผเู ้ รี ยนนั้นนับจานวนครั้งใน
การทบทวน ซึ่งรู ปแบบในการทบทวนนั้นท่านได้เสนอดังที่ท่านได้กล่าวว่า

، ‫ مخس مرات‬- ‫" أ ن يكرر سبق األمس – يعين ما حفظه با ألمس‬


، ‫ والسبق الذي قبله ثَلث‬، ‫وسبق اليوم الذي قبل األمس أربع مرات‬
‫ ف هذا أ د ع ى إ ىل ا حل فظ‬، ‫ وا ل ذي ق بله وا ح د‬، ‫وا ل ذي ق بله ا ث نني‬
"‫والتكرار‬

ทบทวนสิ่ งที่ได้เรี ยนเมื่อวาน ห้า ครั้ง สิ่ งที่ได้เรี ยนเมื่อวานซื น สี่


ครั้ ง ก่ อนเมื่ อวานซื น สาม ครั้ ง และก่ อนหน้านั้น สอง ครั้ งและ
หลังจากนั้นอีกหนึ่งครั้ง
(al-Zarnuji, 1986 : 95)
15) การเรี ยนแบบค่อยเป็ นค่อยไป

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้เน้นย้ าในเรื่ องของการศึกษาแบบค่อยเป็ นค่อยไปในการ


แสวงหาความรู ้ เพราะความรู ้น้ นั จะไม่ได้มาในครั้งเดียว แต่จะได้มาแบบค่อยเป็ นค่อยไปที่ละนิดที่
ละหน่อย โดยท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
214

‫ووصى الصدر الشهيد حسام الدين إبنه مشس الدين أن حيفظ كل‬
‫ وعن قريب يكون كثري‬،‫يوم شيئا من العلم واحلكمة فإنه يسري‬

“ท่านหิ สามุดดีนได้สั่งเสี ยให้กบั ลูกของเขาที่ชื่อว่าชัมซุ ดดี น โดย


ได้กล่าวว่า “จงท่องจาในทุกๆวันบางส่ วนของความรู ้และหิ กมะฮฺ
แท้จริ งแล้วการท่องจาในสิ่ งที่น้อยนิ ดในแต่ละวันมันสามารถจะ
กลายเป็ นจานวนมาก (al-Zarnuji, 1986 : 115)

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวอีกว่า

"،‫"ويزيد بالرفق والتدريج‬


“ความรู ้จะเพื่มพูนด้วยความเมตตาและแบบค่อยเป็ นค่อยไป”
(al-Zarnuji:1986:85)

16) เขียนบทสรุ ปหลังจากเลิกเรี ยน


อัล ซัรนู ญี ยไ์ ด้ต้ งั เงื่ อนไขว่า หลังจากเลิ ก เรี ยน ผูเ้ รี ยนควรเขี ย นบทสรุ ป โดยได้
กล่าวว่า
"‫ فإنه نافع جدا‬،‫"وينبغى أن يعلق السبق بعد الضبط واإلعادة كثريا‬
“ผูเ้ รี ยนควรบันทึกสิ่ งที่ได้เรี ยนมาหลังจากได้ท่องจามัน และการ
ทบทวนหลายๆครั้งจะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ”
(al-Zarnuji, 1986 : 86)

17) ควรบันทึกสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนเข้าใจ


บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ فإنه يورث كَللة الطبع ويذهب‬،‫"وال يكتب املتعلم شيئا ال يفهمه‬
"‫الفطنة ويضيع أوقاته‬
215

“ผูเ้ รี ยนไม่ควรบันทึกในสิ่ งที่เขาไม่เข้าใจแท้จริ งแล้วมันจะทาให้


หมดแรง ความฉลาดจะหายไป และเป็ นการเสี ยเวลา”
(al-Zarnuji, 1986 : 86)
18) พยายามหลีกเลี่ยงห่างไกลจากคบเพื่อนที่ไม่ดี

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

،‫ فإن الطبيعة مسرتقة‬،‫" إياك واملذاكرة مع متعنت غري مستقيم الطبع‬


"‫ واجملاورة مؤثرة‬،‫واألخَلق متعدية‬

“จงหลีกเลี่ยงจากการทบทวนกับคนที่มีนิสัยไม่ดี แท้จริ งแล้วนิสัย


ที่ไม่ดีน้ นั มันจะกระจายเผยแพร่ จะลุ กลามและมีอิทธิ ผลกับคนที่
อยูใ่ กล้”

(al-Zarnuji, 1986 : 88)

19) การใช้ทุนทรัพย์ในการศึกษาและห่างไกลจากการตระหนี่ถี่เหนียว
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫" ويشرتى باملال الكتب ويستكتب فيكون عونا على التعلم والتفقه‬
‫وقد كان حملمد بن احلسن مال كثري حىت كان له ثَلمثائة من الوكَلء‬
"‫على ماله وأنفقه كله ىف العلم والفقه ومل يبقى له ثوب نفيس‬

“ควรใช้ทรัพย์สินในการซื้ อหนังสื อ ซึ่ งสามารถที่จะทาการบันทึก


และช่วยเหลื อในการศึกษาหาความรู ้ และความเข้าใจ” ซึ่ งแท้จริ ง
แล้ ว “มุ หั ม มัด บิ น อัล หะซั น มี ท รั พ ย์ สิ นมี ท รั พ ย์ ที่ ม ากมาย
จนกระทัง่ ท่านต้องจ้างผูด้ ูแลทรัพย์สินของท่านจานวน 300 คน
แต่ทรัพย์สินทั้งหมดได้ใช้ในการศึกษาหาความรู ้ และความเข้าใจ
ทางศาสนา จนกระทัง่ เขาไม่มีเสื้ อผ้าที่มีราคาไว้ใช้”
(al-Zarnuji, 1986 : 93)
216

ท่านได้กล่าวว่า

"‫ وينبغى أن يتعوذ باهلل من البخل‬,‫"ومن كان له مال كثري فَل يبخل‬
"‫قال النيب أي داء أدوأ من البخل‬
“ผูท้ ี่มีทรัพย์สินเป็ นจานวนมากก็จงอย่าตระหนี่ ถี่เหนี ยว และควร
ขอจากอัลลอฮฺให้รอดพ้นจากความตระหนี่ถี่เหนียว”และได้กล่าว
อีกว่า “ไม่มีโรคอะไรที่เลวร้ายกว่าโรคตระหนี่ถี่เหนียว”
(al-Zarnuji, 1986 : 93)

20) เชิญชวนและตักเตือน
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
"‫"ينبغى أن ال يرجو إال من اهلل تعاىل وال خياف إال منه‬
“ไม่ควรที่จะตั้งความหวังนอกจากอัลลอฮฺ และไม่ควรที่จะเกร่
งกลัวนอกจากอัลลอฮฺ (al-Zarnuji, 1986 : 95)

21) มุ่งมัน่ อยูก่ บั การงานที่ดี


บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ حىت ال تشتغل‬،‫"فينبغي لكل أحد أن يشغل نفسه بأعمال اخلري‬
"،‫نفسه ِبواها‬

“ทุกคนควรกาชับตนเองให้มุ่งอยู่กบั การงานที่ดี จนกว่าเขานั้นจะ


ห่างไกลกับหมกมุ่นอยูก่ ารงานที่ตามอารมณ์ใฝ่ ต่า

(al-Zarnuji, 1986 : 99)


217

22) สร้างเจตนาที่บริ สุทธิ์


บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
‫ وال يهتم ألمر‬،‫"ُث ال بد لطالب العلم من التوكل ف طلب العلم‬
"‫الرزق وال يشغل قلبه بذلك‬

“ผูเ้ รี ยนจาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องมอบหมายการงานต่างเพื่ออัลลอฮฺ


และควรไม่สนใจเรื่ องปั จจัยยังชี พ และจิตใจของเขาก็ไม่ควรให้
ควรสาคัญ”

(al-Zarnuji, 1986: 99)

23) ทุ่มเทเวลาให้กบั การศึกษา


บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
"‫"والبد لطالب العلم من تقليل العَلئق الدنيوية‬

“ผูเ้ รี ยนควรลดความสัมพันธ์ระหว่างเขากับโลกดุนยาให้นอ้ ยลง


(al-Zarnuji, 1986 : 99)
‫ وال‬، ‫ ألن اهلم واحلزن ال يرد املصيبة‬، ‫"وال يهتم العاقل ألمر الدنيا‬
."‫ينفع بل يضر بالقلب والعقل والبدن‬
“ผูท้ ี่มีสติปัญญาที่ดีไม่ควรให้ความสนใจในเรื่ องทางโลกมากนัก
เพราะความกังวลและโศกเศร้าเสี ยใจไม่สามารถที่จะขจัดสิ่ งที่เป็ น
บททดสอบของชี วิ ต ได้ และไม่ ก่ อ ประโยชน์ ใ ดๆแต่ จ ะส่ ง ผล
อันตรายต่อจิตใจ สติปัญญา และร่ างกายได้

(al-Zarnuji, 1986 : 99)


24) สร้างความตื่นเต้น (‫)التشويق‬
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
218

‫ فمن صرب على ذلك التعب‬، ‫"واألجر على صدر التعب والنصب‬
‫وجد لذة العلم تفوق لذة الدنيا ﻭهلذﺍ كاﻥ حممد بن ﺍحلسن ﺇﺫﺍ سهر‬
‫ أين أبناء امللوك من هذه‬:‫ واحنلت له املشكَلت يقول‬،‫ﺍللياِل‬
"‫اللذات‬

“ผลบุ ล สาหรั บ ผูท้ ี่ แสวงหาความรู ้ เท่ า กับ ระดับ ของความเหน็ ด


เหนื่อยเมื่อยล้าและใครก็ตามที่อดทนในความเหน็ดเหนื่ อยเมื่อยล้า
เขาจะได้ลิ้มรสแห่ งความสุ ขของความรู ้ ที่มากกว่าความสุ ขของ
โลกดุนยา”และยังได้กล่าวอีกว่า ด้วยเหตุน้ ี มุหมั มัด บิน อัลหะสัน
ได้กล่าวในขณะที่ทบทวนหนังสื อในเวลากลางคืนว่า ไหนโอรส
ของพระราชาจากความสุ ขของความรู้"( al-Zarnuji, 1986 : 99)

25) การศึกษาอย่างต่อเนื่ อง
อัลซี รนูญียไ์ ด้กล่าวว่า ท่านมุหมั มัด บิน อัลหะซันได้กล่าวว่า
‫ صناعتنا هذه من املهد إىل اللحد‬:‫"قال حممد بن احلسن رمحه اهلل‬
"‫فمن أراد أن يرتك علمنا هذا ساعة فليرتكه الساعة‬

“การงานเขาเราจะต่ อเนื่ องตั้ง แต่อยู่ใ นเปลจนถึ งหลุ มศพ ใครก็


ตามที่จะพักจากการศึกษาหาความรู ้ก็จงพักตั้งแต่บดั นี้
(al-Zarnuji, 1986: 100)
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ได้กล่าวอีกว่า “ท่านอิบรอฮีม บิน อัลญัรรอฮฺ (ปราชญ์ดา้ น
วิช าฟิ กฮฺ )ได้เ ข้า เยี่ ย มอิ ห ม่ า มอบู ยูซุ ฟ ในขณะที่ ท่ า นป่ วยใกล้จ ะเสี ย ชี วิ ต ท่ า นอบู ยูซุ ฟ ได้ถ าม
ท่านอิบรอฮีม บิน อัลญัรรอฮฺ วา่ “ระหว่างการขว้างเสาหิ นอัลญุมเราะฮฺ (ขณะประกอบพิธีหจั ญ์) ใน
ลักษณะขี่พาหนะหรื อในขณะที่เดิ นเท้าเปล่าแบบไหนถื อว่าประเสริ ฐกว่ากัน” ท่านอิ บรอฮีมไม่
สามารถที่จะตอบคาถามนั้นได้ อิหม่ามอบูยซู ุ ฟก็เลยตอบเอง”( al-Zarnuji, 1986 : 101)

สังเกตคากล่าวของบุรฮานุ ดดีนข้างต้นจะเห็นว่าความรู ้น้ นั ไม่มีวนั สิ้ นสุ ด ซึ่ งอิบรอ


ฮีมอัลญัรรอฮฺ เป็ นปราชญ์ที่มีความรู ้ ดา้ นวิชาฟิ กฮฺ แต่ก็ยงั ไม่สามารถตอบคาถามของอบูยซู ุ ฟได้อนั
219

เนื่ องจากท่านไม่รู้จริ งในสิ่ งถูกถาม หรื อ ด้วยเวลาที่ไม่เหมาะในการที่จะตอบตอบคาถามดังกล่าว


แต่อย่า งไรก็ ตามการศึ กษาในอิ สลามเป็ นการศึ กษาอย่างต่อเนื่ องไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ ใดก็
ตามอัลลอฮฺได้กล่าวว่า

           

         

  

ความว่า“ไม่บงั ควรที่ บรรดาผูศ้ รั ทธาจะออกไปสู ้ รบกันทั้งหมด


ทาไมแต่ละกลุ่มในหมู่พวกเขาจึงไม่ออกไปเพื่อหาความเข้าใจใน
ศาสนา และเพื่อจะได้ตกั เตือนหมู่คณะของพวกเขา เมื่อพวกเขาได้
กลับมายังหมู่คณะของพวกเขา โดยหวังว่าหมู่คณะของพวกเขาจะ
ได้ระมัดระวัง”

(อัตเตาบะฮฺ : 122)

26) ช่วงวัยที่ควรเริ่ มในการศึกษาหาความรู ้

บุรฮานุ ดดี นอัลซัรนูญีย ์ไม่ได้กาหนดช่ วงเวลาที่เหมาะสมในการศึกษาหาความรู ้


ผูเ้ รี ยนอาจจะเริ่ มเรี ยนในวัยที่สายไปแล้ว โดยได้กล่าวว่า

‫ ومل‬،‫"دخل احلسن بن زياد رمحه اهلل ف التفقه وهو ابن مثانني سنة‬
"‫يبت على فراشه أربعني سنة‬

“หะซัน บิน ซิ ยาดได้เริ่ มเรี ยนฟิ กฮฺ ในขณะที่มีอายุได้ 80 ปี และ


ไม่เคยได้นอนบนเตียงเป็ นเวลา 40 ปี และหลังจากนั้นได้ทาหน้าที่
เป็ นผูว้ นิ ิจฉัยเป็ นเวลา 40 ปี

(al-Zarnuji, 1986 : 105)


220

27) เลือกช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาหาความรู ้

บุ รฮานุ ด ดี นอัล ซัร นู ญีย ์ไ ด้มี ค วามเห็ นว่า ช่ ว งเวลาที่ เหมาะสมในการศึ ก ษาหา
ความรู ้ คื อ ช่ ว งเช้ า ช่ ว งสุ หู ร (ก่ อ นละหมาดซุ บ ฮฺ )และช่ ว งระหว่ า งมั ฆ ริ บและอิ ช าอฺ (al-
Zarnuji,:1986:105)

28) ศึกษาหาความรู้วชิ าที่หลากหลาย


บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
"‫"وكان إذا مل من نوع ينظر ف نوع آخر‬
“ถ้ามีความรู ้สึกเบื่อในวิชาที่ได้เรี ยนก็หนั ไปศึกษาในวิชาอื่น”
(al-Zarnuji, 1986 : 105)

29) เตรี ยมพร้อมในเรื่ องอุปกรณ์การเรี ยน


เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้ประโยชน์จากความรู ้ ควรเตรี ยมพร้อมในการเรี ยนการสอน ท่าน
บุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า “แนวทางที่จะได้รับประโยชน์จากความรู้คือควรเตรี ยมหมึกทุก
เวลาเพื่อสะดวกในการเขียนสิ่ งที่ได้รับฟั ง”จากความรู้ “(al-Zarnuji, 1986 : 115) และยังได้กล่าวอีก
ว่า “แท้จริ งสิ่ งที่ท่องจาไว้ มันจะหายไปแต่สิ่งที่บนั ทึกมันจะยังคงอยูน่ าน” ( al-Zarnuji, 1986 : 115)

อัลซัรนูญีย ได้กล่าวว่า
‫ من مل يكن له‬:‫"وينبغي أن يستصحب دفرتا على كل اإلجابة وقيل‬
‫دفرت ف كمه؛ مل تثبت احلكمة ف قلبه وينبغى أن يكون ىف الدفرت‬
"‫بياض ويستصحب احملربة ليكتب ما يسمع‬
“ผูเ้ รี ยนควรเตรี ยมสมุดทุกครั้งเพื่อทบทวน”และมีการกล่าวว่า “ผู้
ที่ไม่ถือสมุดในกามือ ความรู ้ ของเขาก็จะไม่สถิตอยูใ่ นจิตใจ”และ
สมุดควรเป็ นสี ขาวพร้อมกับหมึกเพื่อเขียนตามที่เขาได้ยนิ
(al-Zarnuji, 1986 : 124)
221

30) การบันทึก
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ได้มีแนวคิดว่า อายุไขของมนุ ษย์น้ นั จะสั้นถ้าเปรี ยบเทียบ
กับความรู ้และความรวดเร็ วของความรู ้ เพราะฉะนั้นส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้มีการบันทึกสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้
โดยบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
،‫واشرتى عصام بن يوسف قلما بدينار ليكتب ما يسمعه ىف احلال‬
‫فالعمر قصري والعلم كثري‬

“อิ ศ อม บิ น ยู ซุ ฟ ได้ ซ้ื อ ปากกา หนึ่ ง ด้ า มด้ว ยเงิ น หนึ่ งดี น าร์
เพื่อที่จะบันทึกสิ่ งที่ได้ฟัง เพราะอายุของมนุ ษย์น้ นั สั้น แต่ความรู ้
นั้นมีจานวนมากมาย
(al-Zarnuji, 1986: 116)
31) ผูเ้ รี ยนไม่ควรนอนและกินมากเกินไป
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้มีความเห็นว่า “ผูเ้ รี ยนที่ความวัรอฺ (ระวังตน) มากเท่าใด
เขาจะได้รับประโยชน์จากความรู ้ มากเท่านั้น และอัลซัรนู ญียไ์ ด้กล่าวถึ งคุ ณลักษณะของวัรอฺ คื อ
ต้ อ งห่ างไกลจากความอิ่ ม เกิ นควร การนอนมาก และการพู ด ในสิ่ งที่ ไ ร้ ส าระมาก”
(al-Zarnuji, 1986 : 121)

32) หันไปทางทิศกิบละฮฺในเวลาเรี ยน
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
““ควรนัง่ หันไปทางทิศกิ บละฮฺ ปฏิบตั ิตามสุ นนะฮฺ (แบบฉบับ) ของท่านนบี”
(al-Zarnuji, 1986 : 121)

33) ใกล้ชิดกับบุคคลที่ศอลิหฺและห่างไกลกับบุคคลที่ชอบทาบาปและความชัว่
อัลซัรนูญียไื ด้กล่าวว่า
“จากคุ ณ ลั ก ษณะของวัร อฺ ห่ า งไกลจากคนชั่ ว คนที่ เ นรคุ ณ
ต่ออัลลอฮฺ คนที่ตะอฺฏีล (ปฏิเสธคุณลักษณะของอัลลอฮฺ ) และควร
ทาตัวให้ใกล้ชิดกับบรรดาผูม้ ีคุณธรรม”
(al-Zarnuji, 1986 : 124)
222

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

“และในบทกวีของท่านอิหม่ามชาฟิ อียไ์ ด้กล่าวว่า “ฉันได้ไปร้อง


ทุ ก ข์ก ับ ท่ า นวาเกี๊ ย ะ(อาจารย์ข องเขา)ว่า ฉัน นั้น ท่ อ งจ าไม่ ค่ อ ย
ดี ท่านก็ได้ให้คาแนะนาฉันว่า ให้ละทิ้งสิ่ งที่เป็ นของมะซี ยตั และ
ท่านได้บอกกับฉันว่า แท้จริ งวิชาความรู ้น้ นั คือแสงสว่าง และแสง
สว่างของอัลลอฮฺน้ นั จะไม่ช้ ีนาทางแก่ผทู ้ ี่ทามะซี ยตั ”
( al-Zarnuji, 1986 : 128)

34) ใช้ความพยายามและต่อเนื่อง
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“และสาเหตุ สาคัญที่ ทาให้ท่องจาได้ดี คื อ ความพยายามและท า
อย่างต่อเนื่อง”

( al-Zarnuji, 1986 : 127)

35) อ่านดุอาอฺ อฺก่อนเริ่ มอ่านหนังสื อ


บุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญีย ไ์ ด้กาชับให้ผสู ้ อนมีมารยาทกับหนังสื อตาราการเรี ยนการ
สอน เพราะมันจะช่ วยให้ผเู ้ รี ยนง่ายต่อการท่องจา และผูเ้ รี ยนจะได้รับผลบุญจากพระองค์อลั ลอฮฺ
และสั่งเสี ยให้อ่านดุอาอฺ อฺเฉพาะเมื่อได้สัมพัสกับอัลกุรอาน โดยได้กล่าวว่า และควรอ่านดุอาอฺ อฺเมื่อ
ได้ยกตารา คือ
‫(بسم اهلل وسبحان اهلل واحلمد هلل وال إله إال اهلل واهلل أكرب وال حول‬
)‫وال قوة إال باهلل العظيم العزيز العليم‬

ความว่ า :ด้ว ยพระนามของอัล ลอฮฺ ม หาบริ สุ ท ธิ์ แด่ พ ระองค์


อัลลอฮฺ การสรรเสริ ญเป็ นสิ ทธิ ของพระองค์อลั ลอฮฺ ไม่มี
พระเจ้าอื่ นใดยกเว้นพระองค์อลั เลาะห์ อลั ลอฮฺ  เท่ านั้นที่
แท้จริ ง และพระองค์อลั ลอฮฺ  ผูท้ รงยิง่ ใหญ่เหนื อทุกสิ่ ง และ
ไม่ ส ถานภาพใดๆไม่ มี พ ลานุ ภ าพใดๆ(ที่ จะเกิ ดขึ้ นได้)ยกเว้น
223

ด้วยกับพระองค์อลั ลอฮฺ  เท่านั้น)ผูท้ รงยิง่ แห่งความสู งส่ งและ


ยิง่ ใหญ่
(al-Zarnuji, 1986 : 127)
36) การสรรเสริ ญต่อท่านนบี
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียถ์ ือว่าการสรรเสริ ญต่อท่านนบีเป็ นจานวนมากเป็ นสาเหตุที่
ทาให้ง่ายต่อการท่องจา โดยท่านได้กล่าวว่า
“จงสรรเสริ ญ ให้ ก ับ ท่ า นนบี เป็ นจ านวนมากเพราะในการ
สรรเสริ ญต่อท่านนบีนั้นเป็ นความเมตตาต่อประชาชาติท้ งั ปวง”
(al-Zarnuji, 1986 : 128)

37) ให้ความสาคัญและให้เกียรติกบั หนังสื อ


การให้ความสาคัญกับหนังสื อนั้นถือว่าเป็ นมารยาทที่ดีงาม เพราะการให้เกียรติและ
ให้ความสาคัญกับหนังสื อนั้นมันจะทาให้ง่ายต่อการท่องจา ฉะนั้นบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าว
ในขณะที่ยบิ หนังสื อว่า
‫(بسم اهلل وسبحان اهلل واحلمدهلل وال إله إال اهلل واهلل أكرب وال حول‬
) ‫وال قوة إال باهلل العزيز العليم‬

38) การทาซิวากหรื อแปรงฟัน


ท่านอัลซัรนูญีได้กล่าวว่า
“การทาซิ วาก(แปรงฟั น)และการดื่ มน้ าพึ้งมันจะทาให้ง่ายในการ
ท่องจา”

5.2.4 คุณสมบัติของผู้สอน

5.2.4.1 คุณสมบัติเกี่ยวกับศักยภาพของผูส้ อน

1. มีบุคลิกภาพที่ดี

บุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญีย ไ์ ด้ย้ าถึ งบุคลิกภาพที่ดีในหนังสื อของท่านโดยได้อา้ งถึงคา


กล่าวของอบูหะนีฟะฮฺซ่ ึ งท่านได้กล่าวว่า
224

)) ‫((عظموا عمائمكم ووسعوا أكمامكم‬

“จงโพกสัรบันให้ใหญ่โตและทาให้แขนเสื้ อกว้างขึ้น” อบูหะนี


ฟะฮฺ ได้กล่าวเช่ นนี้ ก็เพื่อมิให้ผคู ้ นดูถูกกับความรู ้ อิสลามและผูร้ ู ้ ”
(al-Zarnuji, 1986 : 41)

อิ ส ลามได้ใ ห้ความสาคัญกับ บุ ค ลิ กภาพของผูส้ อนโดยเฉพาะผูเ้ ป็ นนัก เผยแพร่


อิสลามสู่ ประชาคมโลก อัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานว่า

          



“โอ้ผหู ้ ่ มกายอยูเ่ อ๋ ย! จงลุกขึ้น แล้วประกาศตักเตือน และแด่พระ


เจ้าของเจ้า จงให้ความเกียงไกร (ต่อพระองค์) และเสื้ อผ้าของเจ้า
จงทาให้สะอาด”(อัลมุดซั ซิร:1-4)

อัลลอฮฺได้ตรัสอีกว่า

         

       

“ ลูหลานของอาดัมเอ๋ ย! จงเอา เครื่ องประดับกาย ของพวกเจ้า ณ


ทุกมัสยิดและจงกินและจงดื่ม และจงอย่าฟุ่ มเฟื อย แท้จริ งพระองค์
ไม่ชอบบรรดาผูท้ ี่ฟุ่มเฟื อย” (อัลอะอฺรอฟ :31)

ดังนั้นมีความจาเป็ นอย่างยิ่งสาหรับผูส้ อนที่ตอ้ งมีบุคลิกภาพที่ดีตามแนวทางของ


อิสลาม

2. มีความรู้และความวัรอฺ (การระวังตน)
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
225

“ผูเ้ รี ยนควรเลือกอารย์ที่มีความรู ้มากกว่าและวะระอฺ มากกว่าและ


อายุมากกว่า” (al-Zarnuji, 1986 : 46)

อัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานว่า

        

          

         

  

“โอ้บรรดาผูศ้ รัทธาเอ๋ ย เมื่อได้มีเสี ยงกล่าวแก่พวกเจ้าว่า จงหลีก


ที่ให้ในที่ชุมนุ ม พวกเจ้าก็จงหลี กที่ ให้เขาเพราะอัลลอฮฺ จะทรง
ให้ที่กว้างขวางแก่พวกเจ้า (ในวันกิยามะฮฺ ) และเมื่อมีเสี ยงกล่าว
ว่า จงลุ ก ขึ้ น ยื น จากที่ ชุ ม นุ ม นั้น พวกเจ้า ก็ จ งลุ ก ขึ้ น ยืน เพราะ
อัลลอฮฺ จะทรงยกย่องเทอดเกี ยรติแก่บรรดาผูศ้ รัทธาในหมู่พวก
เจ้า และบรรดาผูไ้ ด้รับความรู ้หลายชั้น และอัลลอฮฺ ทรงรอบรู ้ยิ่ง
ในสิ่ งที่พวกเจ้ากระทา”(อัลมุญาดิละฮฺ:11)

3. การนอบน้อมถ่อมตน
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าว่า
“ผูส้ อนไม่ควรทาตัวเองให้ตกต่าด้วยความละโมบโลภมากในสิ่ งที่
ไม่ควร และพยายามปลี กห่ างในสิ่ งที่ทาให้ความรู ้ น้ นั ต่ าต้อยและ
ตัวเองตกต่ า จงเป็ นคนที่ถ่อมตน การถ่อมตนอยู่ระหว่างความต่ า
ต้อยและเคร่ งครัดในศาสนา” (al-Zarnuji: 1986: 40)

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียม์ ีแนวคิดว่า ผูส้ อนต้องมีคุณลักษณะถ่อมตน คือ อยูร่ ะหว่าง


การโอ้อวดและการมองข้ามตัวเอง อัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานว่า
226

‫(الشعراء‬       

)215:
“และจงลดปี ก ของเจ้าแก่บรรดาผูศ้ รัทธาที่ปฏิบตั ิตามเจ้า”
(อัช-ชุอะรออ์ : 215)
อิสลามได้กาชับให้มุสลิ มทุ กคนมี คุณลักษณะถ่ อมตน และแบบอย่างที่ ดีที่สุดใน
การถ่อมตน คือ ท่านนบี  โดยท่านเป็ นคนที่มีบุคลิกภาพนอบน้อมถ่อมตน อ่อนโยน เปิ ดอกเปิ ด
ใจซึ่ งท่านนบีได้กล่าวว่า

จากท่าน อิยาฎ บิ น หิ มาร เราะฎิ ยลั ลอฮุอนั ฮฺ ท่านเราะสู ลุลลอฮ ศ็อลลัลลอฮุ อะ


ลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า

َ‫ َوال‬، ‫أح ٍد‬


َ ‫أح ٌد َعلَى‬
َ ‫اضعُوا َح ََّّت الَ يَ ْف َخَر‬ ََّ ِ‫إن اهلل ْأو َحى إ‬
َ ‫يل أ ْن تَ َو‬ َّ ((
))‫أح ٍد‬
َ ‫أح ٌد َعلَى‬
ِ
َ ‫يَْبغي‬

“แท้จริ งอัลลอฮทรงวะหี ยใ์ ห้แก่ฉนั ว่า พวกท่านจงถ่อมต้น จนกว่า


จะไม่มีใครคนหนึ่งยกต้นเหนือผูอ้ ื่น และจนกว่าจะไม่มีใครคนใด
อธรรมต่อผูอ้ ื่น”
(บันทึกโดยAbu Dawud : 4897)

4. ความอ่อนโยนและความอดทน
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“อบูหะนีฟะฮฺได้เลือกหัมมาด บิน สุ ลยั มานเป็ ยอาจารย์ หลังจากที่
ได้สังเกตได้คิดใคร่ ครวญ และได้กล่าวว่า ฉันเห็นว่าเขาเป็ นคนที่
อ่อนโยนและอดทน” (al-Zarnuji, 1986 : 46)
อัลหิ ลมฺ หรื อ ความอ่อนโยน คือ อัตตอมะนี นะฮฺ อดทน คือ การระงับตนเองเมื่อถูก
รังแก (al-Jauhari, 1979 : 706)
227

ผูส้ อนควรอดทนและอ่อนโยนต่อผูเ้ รี ยนโดยเฉพาะอดทนต่อความไม่รู้ของผูเ้ รี ยน


และพยายามหลีกเลี่ยงจากคาพูดที่เสี ยดสี ด่าทอผูเ้ รี ยน เพราะทาให้ผเู ้ รี ยน ยิง่ เกลียดและห่ างไกลจาก
อาจารย์ผสู้ อน

อัลลอฮฺ ตรัสว่า

           

         

            

“เนื่ องด้วยความเมตตาจากอัล ลอฮฺ นนั่ เอง เจ้า(มุฮมั มัด) จึงได้


สุ ภาพอ่อนโยนแก่พวกเขา และถ้าหากเจ้าเป็ นผูป้ ระพฤติหยาบช้า
และมี ใ จแข็ ง กระด้า งแล้ว ไซร้ แน่ น อนพวกเขาก็ ย่ อ มแยกตัว
ออกไปจากรอบ ๆ เจ้ากันแล้ว ดังนั้นจงอภัยให้แก่พวกเขาเถิด และ
จงขออภัยให้แก่ พวกเขาด้วย และจงปรึ กษาหารื อกับพวกเขาใน
กิ จ การทั้ง หลาย ครั้ นเมื่ อ เจ้า ได้ต ัด สิ น ใจแล้ว ก็ จ งมอบหมาย
แด่อลั ลอฮฺเถิด แท้จริ งอัลลอฮฺทรงรักใคร่ ผมู ้ อบหมายทั้งหลาย”
(อาล อิมรอน:159)

5. มีความเมตตา
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ผูส้ อนควรมีความเมตตา เป็ นผูค้ อยให้คาตักเตือนปราศจากการ
อิจฉาริ ษยา”
( al-Zarnuji, 1986 : 109)
228

6. ห่างไกลจากการกล่าวตาหนิ (ประณาม) ผูเ้ รี ยนและการอิจฉาริ ษยา


บุรฮานุ ดดี นอัล ซัรนู ญีย ์ไ ด้ย้ า ว่า การอิ จฉาริ ษ ยานั้นเป็ นสิ่ ง ที่ อนั ตรายและไม่ ไ ด้
ประโยชน์อนั ใดเลย และผูส้ อนไม่ควรที่จะเป็ นผูท้ ี่อิจฉาริ ษยา โดยได้กล่าวว่า
“อาจารย์ ข องฉั น ท่ า นชั ย คุ ล อิ ส ลามบุ ร ฮานุ ด ดี น ได้ ก ล่ า วว่ า
“แท้จริ งลูกของผูร้ ู้ได้เป็ นอุลามาอฺ ก็เพราะผูร้ ู ้มีความหวังให้ลูกของ
เขาได้เป็ นผูท้ ี่ความรู ้เกี่ยวกับอัลกุรอาน ดังนั้นด้วยความบะรอกะฮฺ
จากความตั้งอกตั้งใจและความเมตตาของผูร้ ู ้ ทาให้ของบรรดาผูร้ ู ้
ได้กลับกลายเป็ นอุลามาอฺ ” (al-Zarnuji, 1986: 109)

7. ให้อภัยผูอ้ ื่น
อัลวัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า “จงระหว่างในการเป็ นศัตรู เพราะการเป็ นศัตรู น้ นั จะเปิ ดเผย
ความลับของเจ้าและยังทาให้เจ้านั้นเสี ยเวลา(al-Zarnuji, 1986 : 110)
8. ผูส้ อนไม่ควรที่จะโต้เถียงผูอ้ ื่น

บุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญีย ์ได้มีแนวความคิดว่าผูส้ อนต้องมีความอดทน ความเมตตา


ดังนั้นเขาไม่ควรที่จะโต้เถียงหรื อทาเป็ นศัตรู กบั ผูอ้ ื่น โดยกล่าวว่า

“ผูส้ อนไม่ควรที่จะโต้เถียงหรื อทะเลาะกับผูอ้ ื่นเพราะมันจะทาให้


เสี ยเวลาของผูส้ อน” (al-Zarnuji, 1986: 110)

5.2.4.2 คุณสมบัติเกี่ยวกับหน้าที่ของผูส้ อน
1. ให้คาปรึ กษากับผูเ้ รี ยนพร้อมแนะนาเกี่ยวกับสาขาวิชาที่ถนัด
ท่านบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญีย ไ์ ด้กล่าวว่า “ท่านเชคอิหม่านบุรฮานุ ลหัก ได้กล่าวว่า
ผูเ้ รี ย นในสมัย ก่ อนมัก จะขอค าปรึ ก ษาจากอาจารย์ใ นเรื่ องของการเรี ย น จนกว่าพวกเขาได้รู้ถึ ง
จุดมุ่งหมายของการเรี ยน แต่ปัจจุบนั มักเลื อกวิชาด้วยตัวของเขาเองจึงไม่สามารถรู ้ ถึงจุดมุ่งหมาย
ของความรู ้และบทบัญญัติอิสลาม ซึ่ งท่านได้เล่าเกี่ยวกับประวัติการศึกษาของท่านอิหม่ามอัลบุคอรี ย ์
กั มุหมั มัด บิน อัลหะสัน โดยท่านมุหมั มัด ได้ให้คาแนะนากับท่านอิหม่ามอัลบุคอรี ยไ์ ด้กล่าวว่า เจ้า
จงไปศึกษาอัลหะดีษ หลังจากนั้นอิหม่ามอัลบุคอรี ยเ์ ป็ นผูร้ ู ้ที่มีความเชี่ ยชาญในเรื่ องหะดีษมากกว่า
ท่านอื่นๆ”
229

และเช่นเดียวกันหนึ่งในสาเหตุของการแต่งหนัง อัลญามิอฺอลั เศาะหี หฺ ของท่าน คือ


ท่านได้ขอคาปรึ กษา จากอาจารย์ของท่านที่ชื่อว่า อิสหาก บิน รอฮุวยี ะฮฺ
2. ควรคานึงถึงระดับของผูเ้ รี ยนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ผูเ้ รี ยนควรเริ่ มเรี ยนด้วยสิ่ งที่เข้าใจง่าย อิหม่ามชัรฟุดดีน ได้กล่าว
ไว้ว่า สิ่ งที่บรรดาคณาจารย์ของฉันได้กระทา คือ คัดเลื อกผูเ้ รี ยน
ในระดับแรกเพราะพวกเขาใกล้กบั ความเข้าใจ และการบันทึ ก
และใกลจากความเบื่อหนาย”( al-Zarnuji, 1986 : 85)
ผูส้ อนที่ดีควรใช้เทคนิ คในการสอนแบบค่อยเป็ นค่อยไป ซึ่ งเริ่ มในสิ่ งที่ ง่ายแล้ว
ค่อยสอนในสิ่ งที่ยากและควรคานึงถึงระดับสติปัญญาของผูเ้ รี ยน
ดังนั้น บทบัญญัติในอิสลามถูกประทานลงมาแบบค่อยเป็ นค่อยไป ที่ละนิ ดที่น่อย
สังเกตได้ดงั นี้
1-การประทานลงของอัลกุรอานแบบค่อยเป็ นค่อยไปซึ่ งใช้เวลาทั้งหมด 23 ปี
2-ใช้เวลาในการปลูกฝังอากีดะฮฺ และแนวคิดของอิสลาม 13 ปี ที่มกั กะฮฺ
3-เทคนิ คการดะอฺ วะฮฺ ของท่านนบีที่เริ่ มด้วยรายบุคคลสู่ กลุ่มผูค้ นจานวนมาก และ
การดะอฺ วะฮฺแบบซี รียส์ ู่ อลั ญะฮฺรีย ์
4-การเปลี่ ยนแปลงสภาพสังคมแบบค่อยเป็ นค่อยไป เช่ นการดื่ มสุ รา อัลลอฮฺ 
ทรงประทานโองการอัลกุรอานที่เป็ นบัญญัติเรื่ อง เหล้า,สุ รา ทั้งหมดรวม 4 วาระ คือ
ครั้งแรกที่มีบญั ญัติเรื่ องเหล้า,สุ รานั้นเป็ นเพียงแค่ช้ ี แจงหรื อพูดในลักษณะชี้ นาให้
เห็นและรับทราบถึงวิถีชีวติ ของประชาชน ในยุคนั้นที่เกี่ยวข้องกับเหล้า
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

       

         


230

“และส่ วนหนึ่งจากผลอินทผลัมและองุ่น พวกเจ้านามาหมักทาสุ รา


บ้าง และใช้ปัจจัยบริ โภคที่ดีบา้ ง”
(ซูเราะฮ์อนั นะห์ลุ : 67)
คือ เมื่อบริ โภคแล้วไม่เป็ นอันตรายกับร่ างกายหรื อสติปัญญาเหมือนกับเหล้า อีกทั้ง
ยังมีสารอาหารที่เป็ นประโยชน์กบั ร่ างกายอีกต่างหากครั้งที่สอง พูดในลักษณะชี้ แจงให้เห็นถึงผลดี
และผลเสี ยที่เกิดจากสุ รา โดยเน้นย้าถึงผลเสี ยจากสุ ราที่มีมากกว่า
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

         

        

         

  

“และเมื่อพวกเขาสอบถามเจ้า (มุฮมั มัด) ถึงเรื่ องเหล้าและการพนัน


เจ้าจงตอบชี้ แจงเถิ ดว่า ทั้งสองสิ่ งมี โทษ (ผลร้ าย)มาก และมี
คุณประโยชน์หลายประการแก่มนุษย์ แต่โทษของทั้งสองสิ่ งนั้น มี
มากกว่าคุณประโยชน์นกั ”
(อัลบากอเราะฮฺ : 219)
ครั้งที่สาม พูดในลักษณะใช้นโยบายป้ องปราม แต่ยงั ไม่ห้ามเด็ดขาด โดยสงวน
ศาสนกิจที่สาคัญๆเช่น การนมาซ หรื อหวงห้ามศาสนสถานเช่น อาคารมัสยิดไว้ ไม่ให้ผเู ้ สพสุ รา
แล้วมีอาการมึนเมา,ขาดสติเข้าปฏิบตั ิพิธีนมาซ หรื อเข้า-ออกมัสยิดเป็ นต้น อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

        

   


231

“โอ้ผศู ้ รัทธาทั้งหลาย พวกเจ้าอย่าได้เข้าใกล้พิธีนมาซ ขณะที่พวก


เจ้าอยูใ่ นอาการ มึนเมา จนกว่า พวกเจ้าจะรับรู ้ถึงสิ่ งที่พวกเจ้าเอ่ย
พูดออกมา”(ซูเราะฮ์ที่ 4 : 43)
ครั้งที่สี่ สุ ดท้าย พูดในลักษณะประกาศห้ามอย่างเป็ นทางการ และโดยเด็ดขาด
พร้อมทั้งชี้แจงให้เห็นผลเสี ย ที่จะเกิดขึ้นกับตัวบุคคล,ศาสนาและสังคม
อัลลอฮฺได้ตรัสไว้
‫س ِم ْن‬ ِ ِ ْ ‫ين آَ َمنُوا إِمنَا‬ ِ
ٌ ‫اب َو ْاأل َْزَال ُم ر ْج‬
ُ ‫ص‬َ ْ‫اخلَ ْم ُر َوالْ َمْيس ُر َو ْاألَن‬ َ ‫يَا أَيُّ َها الذ‬
‫اجتَنِبُوهُ لَ َعل ُك ْم تُ ْفلِ ُحو َن‬ ِ
ْ َ‫َع َم ِل الشْيطَان ف‬
“โอ้ผศู ้ รัทธาทั้งหลาย แท้จริ งสุ ราและการพนัน และการเส้นสังเวย
บูชาและการเสี่ ยงติ้ว เป็ นสิ่ งโสมม(อบายมุข) อันเป็ นผลงานจาก
ชัยฏอน ดังนั้นพวกเจ้าจงออกห่ างจากมันเสี ย เพื่อว่าพวกเจ้าจะ
ได้รับความสาเร็ จ”(อัลมาอิดะฮฺ : 90)
‫اخلَ ْم ِر َوالْ َمْي ِس ِر‬ ِ
ْ ‫ضاءَ ِف‬ ُ ‫إِمنَا يُِر‬
َ ‫يد الشْيطَا ُن أَ ْن يُوق َع بَْي نَ ُك ُم الْ َع َد َاوَة َوالْبَ ْغ‬
‫صد ُك ْم َع ْن ِذ ْك ِر ا ل ل ِه َو َع ِن ا ل ص ََلةِ ف َ َه ْل أَ ن ْ تُ ْم ُم ْنتَ ُهو َن‬ ُ َ‫َو ي‬
“อันที่จริ งชัยฏอน ต้องการเพียงแค่ยุแหย่ให้เกิดความเป็ นอริ ศตั รู
กัน , ความโกรธเกลียดกันในระหว่างพวกเจ้า และมันยังคอยแต่จะ
ทาให้พ วกเจ้า หันเหออกจากการระลึ กถึ งอัลลอฮฺ และ(ออกจาก)
การนมาซ เช่นนี้แล้วพวกเจ้าจะยุติไหม” (ซูเราะฮ์ที่ 5 : 90)
จากอายะฮฺ ที่ครอบคลุม 4 ขั้นตอนข้างต้นชี้ ให้เห็ นว่า พระองค์อลั ลอฮฺ ได้ทรง
ประทานบทบัญญัติการห้ามดื่ มสุ ราแบบค่อยเป็ นค่อยไปที่ละขั้นตอน เพื่อมิให้ผูป้ ฏิ บตั ิเกิ ดความ
ลาบากใจและทาให้พวกเขามีความเตรี ยมพร้อมและยอมรับบทบัญญัติหา้ มดังกล่าว
232

3. มีความเมตตาและตักเตือนผูเ้ รี ยน
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ผูส้ อนควรเมตตาและตักเตือนผูเ้ รี ยนที่ปราศจากการอิจฉาริ ษยา
แท้จริ งแล้การอิจฉาริ ษยานั้นมันมีแต่โทษ และไม่ได้ประโยชน์อนั
ใดเลย ครู ของฉันชัยคุ ลอิสลาม บุ รฮานุ ดดี นได้ กล่ าวว่า ลู กของ
ผูส้ อนได้เป็ นผูร้ ู้ เพราะผูส้ อนอยากให้ศิษย์ของเป็ นผูร้ ู้โดยเฉพาะ
ในวิชาอัลกุรอาน ฉะนั้นด้วยความบารอกะฮฺจากเจตนาที่ดีและจาก
ความเมตตาของผูส้ อนทาให้ลูกของเขาเป็ นผูร้ ู้”
(al-Zarnuji, 1986: 109)

ท่านได้กาชับให้ผูส้ อนมี ความเมตตาต่อผูเ้ รี ยน เสมื อนลู กแท้ๆ และไม่ควรที่ จะ


สกัดกั้นความสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยนโดยเฉพาะหลังจากเลิกเรี ยน และไม่ใจแขบในการให้
ความรู้เมื่อผูเ้ รี ยนต้องการเรี ยนรู ้ ในเวลาใดเวลาหนึ่ง และควรเป็ นแบบอย่างให้แก่ผเู ้ รี ยน ท่านนบี
ได้กล่าวว่า

))‫((إمنا أنا لكم مثل الوالد‬

และฉันกับพวกเจ้าเสมือนพ่อกับลูก

(al-Nasae,1986 : 40)

5.2.5คุณสมบัติของผูเ้ รี ยน
5.2.5.1มารยาทของผูเ้ รี ยนกับพระเจ้า
1. สร้างเจตนาที่ดี
อัลซัรนญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ในการแสวงหาความรู ้ สาหรั บผูเ้ รี ย นควรตั้ง เจตนาเพื่ออัลลอฮฺ
และโลกอาคีเราะห์ และขจัดความโง่เขลาจากตัวเองและออกจาก
มนุษย์ทุกคนที่โง่เขลาและรื อฟื้ นหศาสนาและให้อิสลามนั้นคงอยู่
ตลอดไป เราสามารถจะปกป้ องอิสลามด้วยวิชาความรู้ และความ
ยาเกรง ความสมถะไม่ได้อยูก่ บั ความโง่เขลา”
233

(al-Zarnuji :1986:38)
ท่านได้กล่าวอีกว่า

“การตั้ง เจตนาเพื่อชู โกร (ขอบคุ ณ ) ต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ 


ที่อลั ลอฮฺ  ใด้ประทานสติปัญญาที่สมบูรณ์ และสุ ขภาพร่ างกาย
ที่แข็งแรง และเขาไม่ควรตั้งเจตนาเพื่อให้มนุ ษย์เข้าไปหาและไม่
ควรหาผลประโยชน์ เพื่ อโลกดุ นยาและไม่ ค วรตั้ง เจตนาเพื่ อใก้
ลชิดกับผูน้ า”
(al-Zarnuji :1986:38)
ท่า นมุ ฮมั หมัด บิ น อาซัน ได้ก ล่ า วว่า ถ้า มนุ ษ ย์เป็ นบ่ า วของฉัน แน่ นอนเขารั ก
ต่ออัลลอฮฺ  และใครก็ตามที่ได้ลิ้มรสวิชาความรู ้ แน่นอนเขาไม่ได้หาผลประโยชน์จากมนุ ษย์ (al-
Zarnuji :1986:39)
คากล่าวของกิวามุดดีน หัมมาด บิน อิสมาแอล อัศศิฟารี ย ์ อัลอันศอรี ย ์ กล่าวว่าใคร
ก็ตามที่แสวงหาความรู ้ เพื่อโลกอาคีเราะฮฺ แท้จริ งเขาได้รับความสาเร็ จจากอัลลอฮฺ  และผูท้ ี่
แสวงหาความพอใจของมนุ ษย์เขาผูน้ ้ นั คือผูท้ ี่ขาดทุนที่สุดและสาหรับผูเ้ รี ยนควรตั้งเจตนาให้มาก
ที่สุดในการแสวงหาความรู ้ ที่ตอ้ งใช้ความพยายามมากมาย และไม่ควรที่จะไปแสวงหาความรู ้ เพื่อ
โลกดุนยาที่เล็กและพินาศ(al-Zarnuji:1986:39)

ท่านนบี  ได้กล่าวว่า

‫(( اتقوا الدنيا فو الذي نفس حممد بيده إهنا ألسحر من هاروت‬
))‫وماروت‬
“จงยาเกรงโลกดุนยาเพราะโลกดุนยาอันตรายยิง่ กว่าสิ่ งอื่นและยิง่ กว่ามาลาอีกะฮฺ ฮา
รู ตและมะรู ตอีก”
และนัก วิ ช าการแก่ ผูเ้ รี ย นไม่ ค วรที่ จ ะมองข้า มตัว เอง ด้ว ยการแสวงหาสิ่ ง ไร้
ประโยชน์ที่มีอยู่บนดุ นยา ไม่ควรที่จะแสวงหามัน เพราะการแสวงหาสิ่ งไร้ประโยชน์น้ นั เป็ นสิ่ งที่
มองข้ามความรู ้ ที่มีอยู่ในตัวเอง ฉะนั้นเขาผูน้ ้ นั จะต้องทอนตน และการทอนตนนั้น คื อการไม่โอ้
อวดและไม่มองข้ามตัวเอง(al-Zarnuji:1986:39-40)
234

สั ง เกต ค ากล่ า วของบุ ร ฮานุ ด ดี น อัล ซั ร นู ญี ย ์ ข ้ า งต้ น จะเห็ น ได้ ว่ า บุ ร ฮานุ ด


ดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้แบ่งประเภทของเจตนาออกเป็ น สอง ประเภท

หนึ่ง เจตนาที่ดี
สอง เจตนาที่ไม่ดี
ส่ วนเจตนาที่ดี ที่ผเู ้ รี ยนควรตั้งเจตนาไว้ คือ
1) หวังความพอพระทัยจากอัลลอฮฺ
2) ผลตอบแทนในอาคิเราะฮฺ
3) ขจัดความโง่เขลาออกจากตัวแอง
4) ขจัดความโง่เขงาจากผูค้ นที่ไม่รู้
5) เพื่อฟื้ นฟูซ่ ึ งศาสนาและคงไว้ซ่ ึ งอิสลาม
6) ตอบแทนบุญคุญของพระองค์อลั ลอฮฺ
ส่ วนเจตนาที่ไม่ดี ที่ผเู ้ รี ยนไม่ควรตั้งเจตนาไว้ มีดงั นี้
1) เพื่อผูค้ นเข้าหา หรื อ ชื่อเสี ยง
2) เพื่อผลประโยชน์ของโลกดุนยา
3) เพื่อใกล้ชิดกับผูน้ าหรื อผูม้ ีอานาจในบ้านเมือง

2. การมอบหมายการงานต่างๆต่อเอกองค์อลั ลอฮ (‫)التوكل‬

ผูเ้ รี ยนควรมอบหมายการงานต่างๆต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ ในการแสวงหาความรู้ และ


ไม่ควรให้ความสาคัญกับเรื่ องรี ซกีย(์ ปัจจัยยังชีพ) รายงานจากท่านอบีหะนัฟะฮฺ

‫ ورزقه من‬، ‫)) من تفقه ف دين اهلل عز وجل كفاه اهلل تعاىل ما أمهه‬
((‫حيث ال حيتسب‬

“ผูใ้ ดที่ทาความเข้าใจในศาสนาของอัลลอฮฺ อัลลอฮฺทรงให้เขาพ้น


กับความกังวลและริ ซกียข์ องเขาจะทวีคูณที่นบั ไม่ถว้ น”

( al-Zarnuji:1986:99)
235

อั ต ต ะ วั ก กุ ล คื อ ก า ร จ า น น ต น แ ล ะ ก า ร ข อ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ (AL-
FAIRUZABADI:N.D: 313)
ดังนั้น อัตตะวักกุล หรื อการมอบหมาย คือ การศรัทธาเชื่ อมัน่ ต่ออัลลอฮฺ โดยไม่
มุ่งหวังความช่วยเหลือจากมนุษย์(al-Jurjani:1987:100)
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

              

    

“และผูใ้ ดมอบหมายแด่อลั ลอฮฺ พระองค์ก็จะทรงเป็ นผูพ้ อเพียงแก่


เขา แท้จริ ง อัล ลอฮฺ เป็ นผูท้ รงบรรลุ ใ นกิ จการของพระองค์โดย
แน่ นอนสาหรับทุ กสิ่ งอย่างนั้นอัลลอฮฺ ทรงกาหนดกฎสภาวะไว้
แล้ว”

(อัฏเฏาะลาก:3)

ท่านนบี ได้กล่าวว่า

‫اهلل َح َّق توُكلِ ِه لََرَزقَ ُك ْم َك َما يَ ْرُز ُق الطْي َر تَ ْغ ُدو‬


ِ ‫«لَو أَنَّ ُكم تَوَّك ْلتُم علَى‬
َ ْ َ ْ ْ
»‫وح بِطَانًا‬ ِ
ُ ‫اصا َوتَ ُر‬ً َ‫مخ‬
“ถ้าหากพวกเจ้าได้มอบหมาย (กิจการต่างๆของพวกเจ้า) แด่อลั
ลอฮฺอย่างแท้จริ งแล้ว แน่นอนพระองค์จะทรงประทานปั จจัยยังชี พ
แก่พวกเจ้า เสมือนกับที่พระองค์ทรงประทานปั จจัยยังชี พแก่นก
โดยที่มนั บินออกไปในยามเช้า ด้วยท้องที่วา่ งเปล่าและบินกลับมา
ในตอนเย็นด้วยท้องที่อิ่มเอม” (al-Tirmidhi, 2344 Ibn Majah,
4164)
236

3. มีความสุ ขมุ หรื อ อัลวะรอฺ (‫)الورع‬

ท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้อา้ งอิงถึงหะดีษที่ได้มีการรายงานจากท่านเราะซูล


ได้กล่าวว่า

‫((من مل يتورع يف تعلمه ابتاله اهلل تعاىل بأحد ثالثة أشياء إما أن مييته‬
))‫يف شبابه أو يوقعه يف الرساتيق أو يبتليه خبدمة السلطان‬

“ผูใ้ ดที่ไม่ได้ระวังตนในการแสวงหาความรู ้ อัลลอฮฺจะทดสอบเขา


หนึ่งในสามอย่างดังนี้ ให้เขาเสี ยชี วิตตอนวัยหนุ่ม หรื อ ใช้ชีวิตอยู่
กับผูค้ นที่ไม่มีความรู ้ หรื อ เป็ นผูร้ ับใช้ของกษัตริ ย”์

(al-Zarnuji, 1986 : 121)

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กาชับผูเ้ รี ยนให้ตามแบอย่างของบรรพชนมุสลินในเรื่ อง


ของอัลวาระอฺ หรื อการระวังตน และบุคคลสาคัญต้องเอามาเป็ นแบบอย่างในเรื่ องของการระวังตน
ในสิ่ งที่หะรอมนั้นคือ ท่านนบี ซึ่ งท่านจะไม่รับประทานในสิ่ งที่พบเจอ กลัวว่าจะเป็ นสิ่ งที่เป็ นเศาะ
ดาเกาะฮฺ(Ibn Jamaah, n.d :76)
ท่านได้มีความเห็นอีกว่า แท้จริ งบรรดาอุลามาอฺ ที่ได้เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ ก็เพราะพวก
เขาเหลานั้นได้มีคุณลักษณะอัลวาระอฺ เมื่อไรความระวังตนมันยิ่งมากกความรู ้ ของพวกเขาก็ยิ่งได้
ประโยชน์ ซึ่ งท่านได้เชื่ อมสัมพันธ์ระหว่างการระวังตน กับการได้มาซึ่ งประโยชน์ของความรู ้ โดย
ท่านได้กล่าวว่า “เมื่อไรผูเ้ รี ยนมีความวาระอฺ มากยิ่ง เมื่อนั้นแหละความรู ้ของเขาก้จะได้ประโยชน์
มากยิ่งขึ่งเช่นเดียวกัน และทาให้การเรี ยนง่ายลง และคุณประโยชน์มากมาย” (al-Zarnuji, 1986 :
121)
237

ส่ วนลักษณะของการระวังตน ท่านก็ได้ยกตังอย่างดังนี้
ห่างไกลจากการกินอิ่ม นอนมาก และพูดในสิ่ งที่ไร้สาระ และควรห่ างไกลจากการ
รับประทานอาหารที่ร้าน เพราะอาหารที่ขายตามร้ านนั้นมันใกล้กบั สกปรก และห่ างไกลจากการ
ราลึกถึงอัลลอฮฺ(al-Zarnuji, 1986 : 121)
4. ขยันละหมาดและอิบาดัตสุ นตั ต่างๆ
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กาชับให้ผเู ้ รี ยนละหมาดสุ นตั เป็ นจานวนมาก และด้วยส
ถาพคูชูอฺต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ โดยได้กล่าวว่า
“ผูเ้ รี ยนควรละหมาดสุ นตั เป็ นจานวนมาก โดยเฉพาะละหมาดใน
สภาพคนที่คูชูอฺต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ เพราะมันเป็ นสิ่ ที่ช่วยให้ได้มา
ซึ่งความรู้”
(al-Zarnuji, 1986 : 123 )
ละหมาดถื อ ว่ า เป็ นอิ บ าดัต ชนิ ด ที่ มี เ งื่ อ นไขต้อ งมี น้ า ละหมาดท าให้ ผู้เ รี ยนมี
ความสั ม พันธ์ ระหว่า งเขากับ อัล ลอฮฺ และในละหมาดเช่ นเดี ย วกันมี หลายชนิ ดของการอิ บ าดัต
ต่ออัลลอฮฺ เช่น การอ่านกุรอาน การราลึกถึงอัลลอฮฺ การดุอาอฺ การขออภัยโทษ และการเศาะลาวาต
ให้กบั ท่านนบี และการละหมาดสามารถฝึ กฝนผูเ้ รี ยนรู ้ถึงคุณค่าของเวลา ฝึ กฝนการทางานเป็ น
ระบบและด้วยการละหมาดญะมาอะฮฺ ฝึ กฝนผูเ้ รี ยนในการช่ วยเหลือซึ่ งกันและกัน และในการเป็ น
ประชาชาติเดี ยวกัน ส่ วนเรื่ องของการอาบน้ าละหมาด สามารถฝึ กฝนผูเ้ รี ยนให้อยุ่สภาพที่สะอาด
ส่ งเสริ มในการใช้น้ าหอม และการถูฟัน ( Khalil, n.d : 168)
5. ชูกรู และการราลึกถึงอัลลอฮฺ
อัลลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“มันเป็ นสาเหตุในการเพิ่มพูนวิชาความรู ้ เพราะเขาจะได้ชูกูรต่อ
นิอฺมตั ที่ได้มาซึ่ งสติปัญญาและวิชาความรู้ ” ท่านอบูหะนี ฟะฮฺ ได้
กล่าวว่า แท้จริ งการได้มาซึ่ งความรู ้ดว้ ยการสรรเสริ ญและชู กูรต่อ
เอกองคือลั ลอฮฺ (al-Zarnuji, 1986 : 91-92 )
238

ท่านได้กล่าวอีกว่า
“ผูเ้ รี ยนควรใช่เวลาทั้งหมดเพื่อการราลึกถึงอัลลอฮฺ การดุอาอฺ การ
วิงวอน และการอ่านอัลกุรอานการชุ โกร คือการตอบแทนพระคุณ
ของอัลลอฮฺ ด้วย ลิ้ น มื อและ จิตใจ และบางคน ให้นิยามของ ชุ
โกรว่า การชื่นชมต่อผูม้ ีพระคุณด้วยการราลึกและกล่าวถึงพระคุณ
(al-Jurjani, 1986:167)
อัลลอฮฺได้กล่าวในคัมภีร์อลั กุรอานว่า

         

  

“และจงราลึ กขณะที่พระเจ้าของพวกเจ้าได้ประกาศว่า หากพวก


เจ้าขอบคุ ณ ข้าก็จะเพิ่มพูนให้แก่พวกเจ้า และหากพวกเจ้าเนรคุ ณ
แท้จริ งการลงโทษของข้านั้นสาหัสยิง่ ” (อิบรอฮีม: 7)
ชูโกรและซิ กิร ถือได้วา่ เป็ นชนิดอิบาดะฮฺ(การภักดี)ที่มีความสาคัญและยิ่งใหญ่มาก
ฉะนั้นอัลลอฮฺได้กล่าวสองประเภทอิบาดะฮฺน้ ีไว้ในหลายๆอายะฮฺของอัลกุรอาน
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

      

“ดังนั้นพวกเจ้าจงราลึ กถึ งข้าเถิ ด ข้าก็จะราลึ กถึ งพวกเจ้า และจง


ขอบคุณข้าเถิด และจงอย่าเนรคุณต่อข้าเลย”(อัลบากอเราะฮฺ : 152)
ท่านนบี ได้กล่าวว่า

‫ ثقيلتان يف‬، ‫ خفيفتان علي اللسان‬، ‫لمتَان َحبيبتان إيل الرمحن‬


َ ‫(( َك‬
))‫ سبحان اهلل العظيم‬،‫ سبحان اهلل وحبمده‬: ‫امليزان‬
239

"สองถ้อยคาที่อนั เป็ นที่รักยิ่ง ณ พระองค์อลั ลอฮฺ น้ นั และทั้งสอง


คานี้เป็ นคาที่เบาต่อลิ้นในการที่จะกล่าวมันออกมาแต่จะมีน้ าหนัก
บนตราชัง่ (ในวันกียามะฮฺ) และสองถ้อยคาที่วา่ คือ
‫"سبحان اهلل ودممده سبحان اهلل العظيم‬

6. การขอดุอาอฺ
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ผูเ้ รี ยนควรขอดุอาอฺ อ์จากอัลลอฮฺ และร้องให้ต่อพระองค์อลั ลอฮฺ
แท้จ ริ ง แล้ว พระองค์จ ะตอบรั บ ดุ อ าอฺ อ์ เ สมอ และจะไม่ ท าให้
ผิดหวัง” (al-Zarnuji, 1986: 86)
อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

         

    

“และพระเจ้าของพวกเจ้าตรัสว่า จงวิงวอนขอต่อข้า ข้าจะตอบรับ


แก่พวกเจ้า ส่ วนบรรดาผูโ้ อหังกต่อการเคารพภักดีขา้ นั้น จะเข้าไป
อยูใ่ นนรกอย่างต่าต้อย”(ฆอฟิ ร :60)
อิบนุ กษีร กล่าวว่า “นี้ คือเกี ยรติและความประเสริ ฐของอัลลอฮฺ ที่กาชับให้บ่าวของ
พระองค์น้ นั ดุอาอฺ อ์ และวิงวอนต่อพระองค์พร้อมรับประกันในเรื่ องของการตอบรับ”( Ibn Kathir,
1986 : 92)
ดุอาอฺ มีความสาคัญอย่างยิง่ ในการฝึ กฝนและสั่งสอนผูเ้ รี ยนให้รู้วา่ พระองค์น้ นั เป็ น
ผูต้ อบรับดุอาอฺ ผุใ้ ห้ทุกสิ่ งทุกอย่าง มนุ ษย์และสรรพสิ่ งทุกอย่างในโลกนี้ ตอ้ งการพระองค์ ต้องการ
ความช่วยเหลือจากพระองค์ เพราะนอกเหนื อจากพระองค์จะไม่สามารถให้ประโยชน์และอันตราย
ใดๆทั้งสิ้ น และการดุอาอฺ ช่วยฝึ กฝนผูเ้ รี ยนให้มีความสัมพันธ์กบั อัลลอฮฺ และให้จิตใจอยูก่ บั อัลลอฮฺ
240

เพียงผูเ้ ดี ยวเท่านั้น หวังผลตอบแทนจากพระองค์ ซึ่ งสิ่ งเหลานี้ ช่วยกระตุน้ ผ็เรี ยนในการศึกษาหา


ความรู้.

5.2.5.2-มารยาทของผูเ้ รี ยนต่อตนเอง
1. เอาเวลาเพื่อทาในสิ่ งที่ดีและการภักดีต่ออัลลอฮฺ
ท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ทุกๆคนควรใช้เวลาของตนเองเพื่อทาในสิ่ งที่ดี”
อิสลามได้กาชับให้ผเู ้ รี ยนใช้เวลาของตนเองเพื่อปฏิบตั ิในสิ่ งที่ดี บางส่ วงของการ
กระทาในสิ่ งที่ดี นั้น คือ การยาเกรงต่อพระองค์อลั ลอฮฺ อัลลอฮได้ตรัสในอัลกุรอาน ว่า

           

้ ี่ มี เ กี ย รติ ยิ่ง ในหมู่ พ วกเจ้า


“แท้จ ริ ง ผูท ณ ที่ อลั ลอฮ.นั้น คื อ ผูท้ ี่ มี
ความยาเกรงยิ่งในหมู่พวกเจ้า แท้จริ งอัลลอฮ.นั้นเป็ นผูท้ รงรอบรู ้
อย่างละเอียดถี่ถว้ น” (อัล-หุญุรอต :13)
การเอาเวลฃาทาในสิ่ งที่ ดีน้ นั ทาให้ผเู ้ รี ยนราลึ กถึ งอัลลอฮฺ ในทุกวินาที นามาซึ่ ง
ความกลัว ยาเกรงและรักใคร่ ต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ และด้วยการราลึกถึงอัลลอฮฺ สามารถขจัดการสงสัย
ในศาสนาหรื อเรี ยกว่า ‫ وسواس‬และชัยฏอนทั้งหลาย(Khalil, 1986 : 164)

เช่ นเดี ยวกันการปฏิ บตั ิ ในสิ่ งที่ ดีทาให้จิตใจของผูเ้ รี ยนสงบ ที่ พร้ อมในการที่ จะ
ขับเคลื่อนในการศึกษาหาความรู ้ดวยความกระตื้อรื้ อร้นและแรงจูงใจที่ดี อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

          

 

“บรรดาผู้ศ รั ท ธา และจิ ต ใจของพวกเขาสงบด้ ว ยการร าลึ ก


ถึ งอัลลอฮ พึงทราบเถิ ด! ด้วยการราลึ กถึ งอัลลอฮเท่านั้นทาให้
จิตใจสงบ”(อัร-เราะอฺด์ :28)
241

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“และควรท าการละหมาดให้ เ ยอะๆ เป็ นการละหมาดที่ ข อชู อฺ
เพราะจะช่วยให้ผลู ้ ะหมาดนั้นมีการเพิ่มพูนในวิชาความรู ้
2. พยายามหลีกเลี่ยงจากจารยามารยาทที่ไม่ดี

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

“ผูเ้ รี ยนควรห่างไกลและระมัดระหว่างจากมารยาทที่ไม่ดี”

ส่ วนหนึงของมารยาทที่ได้ ที่อิสลามได้หา้ มปฏิบตั ิซ่ ึ งข้อห้ามจะมีอยูใ่ นอัลกุรอานและอัลหะดีษของ


ท่านนบี  นั้น ก็คือ การหยิ่งยโสโอ้อวด การกลับกลอก การโกหก การนิ นทา การหักหลัง การ
อิจฉาริ ษยา ท่านนบีได้กล่าวในหะดีษบทหนึ่งว่า

، ‫ َوإِ َذا َو َع َد أخلف‬، ‫ب‬ َ ‫((من عالمات املنافق ثالثة إِ َذا َحد‬
َ ‫َّث َك َذ‬
))‫َوإِ َذا ْاؤُُتِ َن َخا َن‬

“เครื่ องหมายของมู่นาฟิ กนั้นมี 3 อย่าง คือเมื่ อพูดก็โกหกเมื่ อ


สัญญาก็ผดิ คาสัญญา และเมื่อได้รับการไว้วางใจก็บิดพริ้ ว”
(Muslim,1996: 221)
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ควรห่ างไกลจากการหยิ่งยโสโอหัง และโอ้อวด เพราะการหยิ่ง
ยโสโอหังและการโอ้อวดนั้นจะไม่ได้มาซึ่ งความรู ้”

และท่านยังได้กล่าวอีกว่า
“ความรู ้ น้ นั เป็ นศัตรู สาหรั บผูท้ ี่ ทาตัวสู งสง เช่ นกับน้ าฝนที่ ตก
หนักมันศัตรู กบั พื้นที่ราบสู ง”

และท่านยังได้กล่าวอีกว่า
“ผูเ้ รี ยนไม่ควรที่ จะหละหลวมในเรื่ องของจรรยามารยาทและ
สุ นนะฮฺ และใครที่หละหลวมในเรื่ องของมารยาทเขาจะไม่ได้มา
242

ซึ่ งสุ นนะฮฺ และใครที่หละหลวมในเรื่ องสุ นนะฮฺ เขาก็จะไม่ได้มา


ซึ่งฟารออิด”
3. พยายามลดความสัมพันธ์กบั โลกดุนยา

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ผูเ้ รี ยนควรลดความสาพันธ์กบั โลกดุนยา”
ท่านได้อีกกล่าวว่า
“ผูเ้ รี นควรนัง่ ร่ วมมัจลิสกับผูค้ นที่ดี (ซอลิหฺ) และอยู่ใกล้กบั พวก
เขา เพราะการอยูใ่ กล้จะทาให้เขาติดนิสัยของพวกเขา”
แท้จริ งความสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนกับโลกดุนยามากเกินโป หรื อ ความสัมพันธ์ที่
เกิ นขอบเขตจะทาให้ผเู ้ รี ยนนั้นไม่สามารถที่จะบรรลุวตั ถุ ประสงค์ของการเรี ยนรู ้ ซึ่ งวัตถุ ประสงค์
ของการเรี ยนคือ แสวงหาความพอพระทัยจากอัลลอฮฺ ดว้ ยจิตใจที่บริ สุทธิ์ เพื่อพระองค์ ทั้งหมดทั้ง
มวลนี้ไม่สามารถที่จะบรรลุได้ถา้ หากว่า ผูเ้ รี ยนให้เวลากับเรื่ องของโลกมากกว่ากับการเรี ยน เพราะ
การศึกษานั้นต้องใช้สติปัญญาที่บริ สุทธิ์ สะอาด ต้องใช้เวลา และต้องทุ่มเทความพยายาม แต่ผเู ้ รี ยน
ก็ยงั สามารที่จะแสวงหาปั จจัยยังชีพที่เพียงกับการใช้ในชี วิตประจาวัน แต่ไม่ได้หมายความเพื่อที่จะ
รวบรวมทรัพย์สิน เงินทอง อัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานว่า

         

      

“และชี วิตความเป็ นอยู่แห่ งโลกนี้ น้ นั มิ ใช่ อะไรอื่ น นอกจากการ


เล่น และการเพลิดเพลินเท่านั้น และแน่นอนสาหรับบ้านแห่ งอาคี
เราะห์ นั้นดียิ่งกว่า สาหรับบรรดาผูท้ ี่ยาเกรง พวกเจ้าไม่ใช้ปัญญา
ดอกหรื อ?”

(อัล-อันอาม: 32)
243

ท่านนบี ได้กล่าวว่า

ُّ ‫ى بِِه‬
‫الس َف َهاءَ أ َْو‬ ِ ِ ِِ ِ
َ ‫ب الْع ْل َم ليجاري به الْعُلَ َماءَ أ َْو ليُ َمار‬ َ َ‫(( َم ْن طَل‬
‫ أخرجه الرتمذي وابن‬.)) ‫اس إِلَْي ِه أ َْد َخلَهُ اللهُ الن َار‬
ِ ‫وه الن‬ ِ َ ‫يص ِر‬
َ ‫ف بِه ُو ُج‬ َْ
‫ماجه‬

ความว่า : “ผูใ้ ดที่ร่ าเรี ยนวิชาเพื่อจะใช้แข่งประชันกับบรรดาผูร้ ู ้


หรื อเพื่อจะใช้โอ้อวดคนโง่ หรื อเพื่อจะใช้เบนใบหน้าคนอื่นให้
มองไปยังตัวเขา(หมายถึ งหาผลประโยชน์กบั คนอื่นด้วยความรู ้
ของเขา) อัล ลอฮฺ ก็ จ ะให้ เ ขาเข้ า นรก” (บัน ทึ ก โดย
al-Tirmidhi,1975 :2645 และ Ibn Majah,2009: 253 )

4. ทุ่มเทความพยายามอย่างพอดิบพอดีไม่มากเกินไปและไม่น้อยเกิ นไปเพื่อมิให้
เบื่อหน่ายและละทิ้งการเรี ยน

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียก์ ล่าวว่า

“ผูเ้ รี ย นไม่ ค วรทุ่ ม เทความพยายามมากเกิ น ไปซึ่ งจะท าให้


ร่ างกายของเขานั้นอ่อนเพลี ยจนละทิ้งการเรี ยน แต่จงใช้ความ
พยายามละมุนละม่อมในการศึกษาหาความรู ้”

(al-Zarnuji: 1986:71)

ผูเ้ รี ยนควรทุ่มเทพละกาลังในการเรี ยนอย่างพอดิบพอดีเพื่อไม้ให้เบื่อหน่ายในการ


เรี ยนเพราะมันจะทาให้หยุดชงัดในการศึกษาหาความรู ้ ท่านได้อา้ งถึ งคากล่าวของอบี หะนี ฟะฮฺ ว่า
“ จงระมัดระวังจากความเกียจคร้านเพราะมันเป็ นสิ่ งที่นาพาซึ่ งความหายนะและชัว่ ร้าย”( al-Zarnuji,
1986 : 74)
244

ท่านอับดุลลอฮฺ บิน มัสอูดได้กล่าวว่า

‫ يَتَ َخ َّولُنَا بِالْ َم ْو ِعظَِة ِِف األَيَّ ِام‬- ‫ صلى اهلل عليه وسلم‬- ‫ِب‬ ُّ ِ‫(( َكا َن الن‬
‫ متفق عليه‬. ))‫آم ِة َعلَْي نَا‬
َ ‫الس‬
َّ ‫ َكَر َاه َة‬،

ความว่า : “ท่านนบีนั้น จะเว้นวันในการให้คาตักเตือน เพราะ


ไม่อยากให้เกิ ดความเบื่อหน่ าย ต่อพวกเรา” (มุตตะฟั ก อะลัยฮฺ
บันทึกโดย al-Bukhari,1986:68 และMuslim,1996: 2821)

สังเกตจากแนวคิดของท่านบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ ที่เสนอว่าเวลาที่ดีเหมาะสมแก่
การทบทวนบทเรี ย นและการท่องจา และหลัง จากเหนื่ อยล้าจากวิช าหนึ่ ง ก็ค วรเปลี่ ยนอ่ านและ
ทบทวนอีกวิชาหนึ่ง จะเห็นได้วา่ เพื่อมิให้เบื่อต่อการศึกษาหาความรู ้

5. มีความกระตือรื อร้น

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

“และในการเลือกเพื่อนฝูง ควรเลือกผูท้ ี่มีความกระตือรื อร้น เพียร


พยายาม และผูท้ ี่ระวังตนอยูใ่ นกรอบของอิสลาม และคนที่เสมอ
ต้นเสมอปลาย และผูท้ ี่มีความเข้าใจในบทเรี ยน”
( al-Zarnuji, 1986: 50)
6. อดทนในการศึกษาหาความรู้
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

“จงอดทนโดยเฉพาะคนที่คนโง่เขลา” (al-Zarnuji, 1986: 110)

บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ผู ้เ รี ยนต้อ งอดทนต่ อ ความยากล าบากและความต่ า ต้ อ ยใน
การศึกษาหาความรู้” (al-Zarnuji, 1986: 117)
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
245

“ท่านอลี ได้กล่าวว่า ถ้าคุ ณได้ทางานอะไรสักอย่างขอให้ทางาน


อย่างต่อเนื่ อง มันเพียงพอแล้วสาหรับผูท้ ี่หนั หลังออกจากความรู ้
ที่ตอ้ งประสบกับความโศกเศร้าเสี ยใจและความขาดทุน”
(al-Zarnuji, 1986 : 117)

5.2.5.3-มารยาทของผูเ้ รี ยนต่อผูส้ อน
1. สร้างความใกล้ชิดกับผูส้ อนและเพื่อนฝูง
อัลซัรนูญียไื ด้กล่าวว่า
“การประจบสอพลอนั้นเป็ นสิ่ งที่อบั อายนอกจากในการแสวงหา
ความรู ้ เพราะในการแสวงหาความรู ้น้ นั จาเป็ นอย่างยิ่งต้องประจบ
อาจารย์ผูส้ อนและเพื่อนฝูงเพื่อได้รับประโยชน์ทางความรู้ จาก
พวกเขา”
(al-Zarnuji, 1986 : 117)

2. การถ่อมตนและให้เกียรติผสู ้ อน
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
“ความรู ้น้ นั มีเกียรติและไม่ต่าต้อย และจะไม่ได้มาซึ่ งความรู ้นอก
จาตัวให้ต่าต้อยไม่สุงส่ ง”โดยได้ยกบทกวี
“ฉัน เห็ น เจ้า ได้ค รอบครองจิ ต ใจที่ มี เ กี ย รติ และจะไม่ ไ ด้ม าซึ่ ง
เกียรติยศนอกจากทาให้มนั ต่าต้อยเสี ยก่อน”
(al-Zarnuji, 1986: 117)

ท่านได้กล่าวอีกว่า
“จงแสวงหาความพอใจจากอาจารย์ผสู้ อนและจงปฏิบตั ิตามผูส้ อน
ในสิ่ งที่ ไม่ได้เป็ นมะซี ยตั ต่ออัลลอฮฺ  และไม่ควรที่จะตออัด
ต่อมัคลุคในสิ่ งที่เป็ นมะซี ยตั ”

(al-Zarnuji, 1986 : 57)


246

ประเภทของการให้เกียรติอาจารย์ผสู ้ อน
1. ไม่ควรที่จะเดินต่อหน้าอาจารย์ผสู ้ อน
2. ไม่ควรที่จะนัง่ กับที่ของอาจารย์ผสู ้ อน
3. ไม่ควรที่จะพูดในขณะที่อาจารย์ผสู ้ อนอยูน่ อกจากจะได้รับอนุญาติก่อน
4. ไม่ควรพูดมากในขณะที่อาจารย์ผสู ้ อนอยู่
5. ไม่ควรที่จะถามในขณะที่อาจารย์ผสู ้ อนเหนื่อยหน่าย
6. ไม่ควรที่จะพูดในขณะที่อาจารย์ผสู ้ อนอยูก่ บั เพื่อนของเขา
7. ไม่ควรที่จะถามในขณะที่อาจารย์กาลังเดินทาง
8.ไม่ควรเคาะประตูบา้ นอาจารย์ผสู ้ อนและจงเราจงท่านจะออกมา
(al-Zarnuji, 1986: 56-57)

3.ให้เกียรติลูกหลานของผูส้ อน
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า

“จากการให้ เกี ย รติ ผูส้ อน คื อการให้ เกี ย รติ ก ับ บรรดาลู ก ๆของ


ผูส้ อน และคนที่มีความสาพันธ์กบั ผูส้ อน”
(al-Zarnuji, 1986: 56-57)

5.2.5.4 มารยาทของผูเ้ รี ยนต่อเพื่อนฟูง


บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียม์ ีแนวคิดว่าควรคบกับเพื่อนที่ดี และนั้งใกล้กบั เขา เพราะ
การคบเพื่อนที่ดีน้ นั มีอิทธิ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงตัวของผูเ้ รี ยนให้ดีข้ ึน
ท่านได้กล่าวว่า
“การให้เกี ยรติวิชาความรู ้ คือการให้เกี ยรติกบั เพื่อนฝูงด้วยกันใน
การแสวงหาความรู้และสาหรับผูเ้ รี ยนที่เต็มไปด้วยความรู้และเข้า
ในเรื่ องฮิ ก มะฮฺ และความเป็ นส่ วนตัวแม้จะได้ยินประเด็ นหนึ่ ง
ประเด็นและคาหนึ่งคาเป็ นพันๆครั้งก็ตาม”
1. พยายามห่างไกลจากการนินทาผูอ้ ื่น และนัง่ กับผูท้ ี่ชอบพูดในเรื่ องที่ไม่เป็ นสาระ
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า
247

“นักฟูกอฮาอฺ และนักปราชน์ได้สั่งเสี ยผูเ้ รี ยนว่า พยามยามห่างไกล


จากการนิ นทา และนัง่ ในวงล้อมของผูท้ ี่ชอบพูดในเรื่ องที่ไม่เป็ น
สาระ ดดยได้กล่าวว่า คนที่พุดมากคือคนที่ขโมยอายุของเจ้า และ
ทาให้เจ้าเสี ยเวลา
(al-Zarnuji, 1986 : 122)

5.3 สรุ ปแนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัดบินสะหฺนูนและบุรฮานุดดีนบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย์

หลังจากที่ ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาวิเคระห์ เกี่ ยวกับ แนวคิ ดทางการศึ กษาของมุหัมมัดบิ น


สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ ผูว้ จิ ยั ขอสรุ ปแนวคิดทางการศึกษาของท่านทั้งสอง
ตามตารางดังนี้
ตารางที่ 3

แนวคิดทางการศึกษามุหัมมัดบินสะหฺนูน แนวคิดทางการศึกษาบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย์
1.เป้าหมายของการศึกษา
1. เพื่อยึดมัน่ ในศาสนา 1.เพื่อการยาเกรงต่ออัลลอฮฺ
2. เพื่อเผยแพร่ ความรู ้ทางศาสนา 2.เพื่อฝึ กฝนและปลูกฝังจรรยามารยาทที่ดี
3. เพิ่มพูนในวิชาความรู ้ งามและละทิ้งในสิ่ งที่ไม่ดี
4. มีเกียรติยศและศักดิ์ศรี 3.เป็ นหนทางที่จะรู้ถึงความรู้ทางโลก
5. เพื่อแสวงหาปั จจัยยังชีพ อัลลอฮฺได้ตรัสว่า
6. เพื่อมารยาทที่ดีงาม 4.เพื่อแสวงหาโลกหน้า
5.เพื่อรักษาไว้ซ่ ึงศาสนาและคงมีไว้ซ่ ึง
อิสลาม
6.เพื่อตอบแทนพระคุณของอัลลอฮฺที่
ประทานความรู้
7.หลีกเลี่ยงจากการยิง่ ยโสโอ้อวดในวิชา
ความรู้
8.ห่างไกลจากโลกดุนยา

9.เพื่อฝึ กฝนในการคิดและสรุ ป
10.เพื่อสร้างพลังสมองและใช้สติปัญญา
248

ศรัทธา
11.เพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
12.เพื่อคานึงถึงคุณค่าของความรู ้
13.เพื่อให้ความสาคัญกับโลกหน้า (อคิ
เราะฮฺ )
2.หลักสู ตรการเรี ยนการสอน
ได้จาแนกหลักสู ตรแบ่งออกเป็ น สอง ประเภท บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้กาหนดและจาแนก
คือ หลั ก สู ตรการเรี ยนการสอนออกเป็ น 2
หนึ่ง ประเภทวิชาบังคับ ประเภท
สอง ประเภทวิชาเลือก หนึ่ง อิลมุล หาล(‫( )علم احلال‬ความรู้
ประเภทวิชาบังคับได้แก่ วิชาอัลกุรอาน ที่มีตอ้ งต้องการทุกสถานการณ์)
ประเภทวิชาเลือกในทัศนะของมุหมั มัด สอง อิลมฺ บะอฺ ดุลอะหายีน ( ‫علم‬
บินสะหฺ นูนมีรายวิชาดังนี้ ‫( )بعض األحايني‬ความรู้ที่มีความต้องการบาง
1) คณิ ตศาสตร ช่วงเวลา)
2) กวี คาแปลก ภาษาอาหรับและการ
เขียน อิ ล มุ ล หาล คื อ ความรู ้ ที่ เ กี่ ย วกั บ
3) หลักไวยากรณ์อาหรับ หลั ก การศาสนา และบทบัญ ญั ติ อิ ส ลาม
คุณลักษณพิเศษของหลักสู ตรมีดงั นี้ หมายถึง หมายถึงทุกอย่างที่เป็ นสิ่ งจาเป็ นใน
1) หลักสู ตรมีการบุรณาการระหว่างโลก ด้านศาสนาหรื อทางโลกดุ นยาที่สามารถช่วย
ดุนยากับอาคิเราะฮฺ ในการทาอีบาดะห์ต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ 
2) มีการอมรมพัฒนาทางจิตวิญญาณ ประเภทของอิลมุหาล

บุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญีย ไ์ ด้แบ่งอิลมุ หาลออก


เป็ น สี่ ชนิดด้วยกัน
หนึ่ง ความรู ้ที่เกี่ยวกับอิบาดาต
สอง ความรู ้ที่เกียวกับสังคม เช่น การ
ซื้ อขาย การแต่ งงาน การอย่า ร้ าง การกักตุ๋ น
สิ นค้า การอินดอกเบี้ย เป็ นต้น

สาม ความรู ้ ที่เกียวกับจิตใจ เช่ น การ


ยาเกรง การหวังผลตอบแทน และการถ่อมตน
249

ต่อเอกอัลลอฮฺ
สี่ ความรู ้ที่เกี่ยกับจรรยามารยาท เช่น
การอดทน การให้ อ ภัย การมี สั จ จะ การ
ช่วยเหลือผูอ้ ื่น การร่ วมมือร่ วมใจทาในสิ่ งที่ดี
เป็ นต้น
ฟัรฎกิู ฟายะฮฺออกเป็ น สอง ชนิด

ชนิ ดแรก สิ่ งที่ จาเป็ นส าหรั บมุ สลิ ม


เช่ น การท่ อ งจ าอัล กุ ร อาน ศึ ก ษาประวัติ
ผู ้ร ายงานหะดี ษ ศึ ก ษาเกี่ ย วกับ บทบัญ ญัติ
อิสลาม ไวยากรณ์ภาษาอาหรับเป็ นต้น ชนิดที่
สอง สิ่ งที่ ไ ม่ ใ ช่ ค วามรู ้ ท างชะรี อะฮฺ เช่ น
การแพทย์ คณิ ตศาสตร์ ดังนั้น ฟั รฎูกิ ฟายะฮฺ
คือ ความรู ้ที่คนทัว่ ไปได้รับประโยชน์ และถ้า
ได้เรี ยนรู้บางคนทาให้คนอื่นพ้นบาปไปด้วย

รายละเอียดวิชา
1-วิชาเอกภาพ(‫)التوحيد‬
2-วิชาฟิ กฮฺ
3-วิชา กวีอาหรับ(‫)الشعر‬
4-วิชาอัลกุรอาน
5-วิชาการคัดลายมือ(‫)خط‬
6-วิชาแพทยศาสตร์

3.กระบวนการเรียนการสอน
1.วิธีสอนแบบบรรยาย 1-การอภิปราย(‫)املناظرة‬
2.วิธีสอนแบบอภิปราย 2-การตั้งคาถาม(‫ )املطارحة‬คือการโยน
3.วิธีสอนแบบท่องจา คาถามหรื อตั้งโจทย์ต่างๆการอภิปรายร่ วมกัน
4.วิธีสอนแบบร่ วมมือ 3-การย้อนคิดทบทวน(‫)املذاكرة‬
5-การสอนแบบค่อยเป็ นค่อยไปที่ละขั้น 4-การใช้คาถาม(‫)السؤال‬
6.ให้ความแตกต่างระหว่างบุคคล
250

7.การสอนแบบการใช้สื่อการเรี ยนการ 5-การสร้างความเข้าใจ


สอน 6-ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ ก า ร คิ ด
8.การสอนแบบทัศนศึกษา ใคร่ ครวญ
9.การให้ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยน 7-ทัศนศึกษา
10.การสร้างความเป็ นมิตร 8-การบันทึก
11.ฝึ กฝนปฏิบตั ิ เทคนิคและเงื่อนไขการเรี ยนรู้
12.การสอนแบบตัรฆีบและตัรฮีบ 9-ให้เกียรติความรู ้และผูร้ ู ้
10-การคั ด เลื อ ก วิ ช าความรู้
อาจารย์และเพื่อนฟูง
11-ใช้ความพยายาม อย่างต่อเนื่ อง และ
สร้างแรงจูงใจ
12-การใช้ความอดทน
13-เลื อกช่ ว งเวลาที่ดี ที่สุ ด ในการศึ ก ษา
หาความรู้
14-อาศัย เคล็ ดลับ ช่ ว ยจาและหลี ก เลี่ ย ง
จากสาเหตุของการหลงลืม
เคล็ ด ลับ ช่ ว ยจ าออกเป็ น สอง สาเหตุ
ด้วยกัน
หนึ่ง ด้านจิตใจ
สอง ด้านร่ างกาย
ส่ ว นด้า นจิ ต ใจคื อ ความจริ ง จัง ความ
ขยันหมัน่ เพียร ทาการละหมาดยามค่าคืนและ
การอ่านอัลกุรอ่านก็ถือว่าเป็ นสิ่ งหนึ่ งที่ ช่วย
ในเรื่ องของความจาด้วย
ส่ วนชนิ ดที่ ส อง คื อ การแปรงฟั น การ
ดื่มน้ าผึ้ง การรับประทานน้ าเต้าผสมน้ าตาล
และประทานลูกเกดสี แดงเข้มจานวนยี่สิบเอ็ด
เม็ดระหว่างมื้อเช้า
สาเหตุของการหลงลืม
“สาหรั บสาเหตุการหลงลื มก็ได้แก่ การ
251

ท ามะอฺ ศิ ย ตั การท าบาปต่ า งๆ มี ค วามคิ ด ที่


ฟุ้ งซ่ าน โศกเศร้าเสี ยใจเกี่ยวกับเรื่ องทางโลก
หม ก มุ่ นอ ยู่ ก ั บ เ รื่ อ งไ ร้ ส าร ะ แล ะ ก า ร
รั บ ประทานอาหารอัน เป็ นสาเหตุ ใ ห้ เ กิ ด
เสมหะและน้ ามูกก็ทาให้ความจาลดเลื อนได้
เช่นเดียวกัน”
“ยังมีส าเหตุ ที่ท าให้ความจาเลอะเลื อน
อี ก กล่ า วคื อ การรั บ ประทานเม็ ด และใบ
เครื่ องเทศสด การรับประทานแอปเปิ้ ลผลดิ บ
การดูไม้กางเขน การอ่านคาจารึ กบนหลุ มฝั ง
ศพ การเดินผ่านฝูงอูฐ การปล่อยเหาทิ้งไปใน
ขณะที่มนั ยังไม่ตายและการล้วงคอ ทั้งหมดนี้
ล้วนเป็ นเหตุทาให้ความจาเลอะเลือนทั้งสิ้ น”
15-ขอค าแนะน าและค าปรึ กษาจาก
ผูส้ อนในการศึกษาหาความรู ้ ที่เหมาะสมกับ
ผูเ้ รี ยน
16-เลือกสถานที่ที่เหมาะสมในการศึกษา
หาความรู้
17-ช่วงอายุที่เหมาะสมในการเริ่ มเรี ยน
18-ทบทวนบทเรี ยนอย่างสม่าเสมอ
19-การใช้ส อยและรั บ ประทานอาหาร
อย่างพอประมาณและพอเพียง
20-ความสมดุ ล ระหว่า งคาบเวลาเรี ย น
กับเนื้อหา
21-สร้ า งกระบวนการคิ ด และใช้ พ ลัง
สมองในการศึกษาหาความรู้
22-การประเมินตนเอง
23-การเรี ยนแบบค่อยเป็ นค่อยไป
24-เขียนบทสรุ ปหลังจากเลิกเรี ยน
25-ควรบันทึกสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนเข้าใจ
252

26-พยายามห่างไกลจากเพือนที่ไม่ดี
27-การใช้ทุ น ทรั พ ย์ใ นการศึ ก ษาและ
ห่างไกลจากการตระหนี่ถี่เหนียว
28-เชิญชวนและตักเตือน
29-มุ่งมัน่ อยูก่ บั การงานที่ดี
30-สร้ า งเจตนาที่ บ ริ สุ ท ธิ์ ในการศึ ก ษา
แสวงหาความรู้
31-ทุ่มเทเวลาให้กบั การศึกษา
32-สร้างความตื่นเต้น (‫)التشويق‬
33-การศึกษาอย่างต่อเนื่อง
34-ช่ ว งวัย ที่ ค วรเริ่ มในการศึ ก ษาหา
ความรู้
35-ช่ ว งเวลาที่ ดี ที่ สุ ดในการศึ ก ษาหา
ความรู้
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียไ์ ด้มีความเห็นว่า
ช่ วงเวลาที่ เหมาะสมในการศึ ก ษาหาความรู ้
คื อ ช่ ว งเช้ า ช่ ว งสุ หู ร (ก่ อ นละหมาดซุ บ ฮฺ )
และช่วงระหว่างมัฆริ บและอิชาอฺ
36-ศึกษาหาความรู้วชิ าที่หลากหลาย
บุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญีย ไ์ ด้กล่าวว่า“ถ้ามี
ความรู้สึกเบื่อในวิชาที่ได้เรี ยนก็หันไปศึกษา
ในวิชาอื่น”
37-เตรี ยมพร้ อ มในเรื่ องอุ ป กรณ์ ก าร
เขียนและพร้อมให้ความสาคัญ
38-การบันทึก
39-ผูเ้ รี ยนไม่ควรนอนมากเกิ่นไปและไม่
ควรกินเยอะเกิ่นไป
40-หันไปทางทิศกิบละฮฺในเวลาเรี ยน
41-เตรี ยมพร้ อ มในเรื่ องอุ ป กรณ์ ก าร
253

เรี ยน
42-ใ ก ล้ ชิ ด กั บ บุ ค ค ล ที่ ศ อ ลิ หฺ แ ล ะ
ห่างไกลกับบุคคลที่ชอบทาบาปและความชัว่
43-ใช้ความพยายามและต่อเนื่อง
44-อ่านดุอาอฺ อฺก่อนเริ่ มอ่านหนังสื อ
45-การสรรเสริ ญต่อท่านนบี
46-ให้ ค วามส าคั ญ และให้ เ กี ย รติ ก ั บ
หนังสื อ
47-การทาซิวากหรื อแปรงฟัน

4.ผู้สอน

1)คุณลักษณะทางด้ านวิชีพ 1) คุณสมบัติเกี่ยวกับศักยภาพของผูส้ อน


1-ดูแลและให้ความสาคัญกับผูเ้ รี ยน
1-มีบุคลิกภาพที่ดี
2-ในช่วงที่ผเู ้ รี ยนขาดเรี ยนผูส้ อนควรติดต่อกับ
2-มีความรู้และความวัรอฺ (การระวังตน)
ผูป้ กครองเด็ก(Ibn Sahnun:1972:97)
3-การนอบน้อมถ่อมตน
3-ผ้สอนควรสละเวลากับการสอนอย่า งเต็ม ที่
4-ความอ่อนโยนและความอดทน
เพราะจาภาระหน้าทีการสอนจะเดิ นไปด้วยดี
5-มีความเมตตา
และสมบูรณ์(Ibn Sahnun:1972:100)
6-ห่างไกลจากการกล่าวตาหนิ(ประณาม)
4-ผูส้ อนห้ามดาเนิ นภาระกิ จหรื อกิ จการใดๆที่
ผูเ้ รี ยนและการอิจฉาริ ษยา
ไปรบกวนกิ จการการสอนนอกจากในเวลาที่
7-ผูส้ อนควรให้อภัยผูอ้ ื่น
ไม่มีการเรี ยนการสอน
8-ผูส้ อนไม่ควรที่จะโต้เถียงผูอ้ ื่น
5-ไม่ ค วรที่ จะก าชับ ให้ ค นหนึ่ ง คนใดไปช่ ว ย
2)คุณสมบัติเกี่ยวกับหน้าที่ของผูส้ อน
สอน นอกจากว่ามันจะให้ประโยชน์กบั ผูเ้ รี ยน
1-ให้คาปรึ กษากับผูเ้ รี ยนพร้อมแนะนา
6-ผูส้ อนไม่ควรที่จะสั่งใช้ผเู ้ รี ยนไปรับ
เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ถนัด
7-ผู ้ ส อนไม่ ค วรที่ จ ะสอนอั ล กุ ร อานและ
2-ควรคานึงถึงระดับของผูเ้ รี ยนและ
ตารับตาราให้กบั บุตรของชาวคริ สตร์
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
8-ผูส้ อนผูช้ ายไม่ควรที่จะสอนผูเ้ รี ยนผูห้ ญิง ไม่
3-มีความเมตตาและตักเตือนผูเ้ รี ยน
ควรที่จะรวมเรี ยนระหว่างผูห้ ญิงกับผูช้ าย
9-ผูส้ อนสามารถที่ จะร่ ารวยได้แต่ไ ม่ใช่ อาศัย
ความร่ ารวยจากผูเ้ รี ยน
254

10-ไม่ ค วรที่ จ ะให้ ผู ้ เ รี ยนศึ ก ษากั บ ผู ้ เ รี ยน


ด้วยกันนอกจากด้วยการอนุ ญาตจากผูป้ กครอง
หรื อ บ้านของผูเ้ รี ยนอยูใ่ กล้กนั
11-ในขณะที่มีการเรี ยนการสอนไม่ควรที่จะทิ้ง
ภาระหน้าที่ดว้ ยการไปละหมาดศพ(ละหมาดญิ
นาซะฮฺ)
12-ผู ้ ส อนไม่ ค วรที่ จ ะให้ ผู ้ เ รี ยนขาดเรี ยน
นอกจากด้วยการอนุญาตจากผูป้ กครอง
13-ผูส้ อนไม่ควรที่จะเขียนหรื ออ่านในขณะที่มี
การเรี ยนการสอนนอกจากหลัง เสร็ จ ภาระ
กิจการเรี ยนการสอน
14-มีความรู ้เกี่ยวกับวิธีการสอน

2)คุณลักษณะทางด้ านวิชาการ
1)-ด้านวิชาความรู้
1-ท่องจาอัลกุรอาน โดยสามารถรู ้หุก่มตัจวีด
2-มีความรู ้ เกี่ ยวกับฟิ กฮฺ เพื่อที่สามารถสอนเด็ก
ในเรื่ องของการละหมาดและบทบัญญัติต่างๆที่
เกี่ยวกับการละหมาด การอาบน้ าละหมาด และ
เงื่อนไขตางๆของการละหมาด
3-มีความรู ้ เกี่ ยวกับไวยากรณ์ ภาษาอาหรับเพื่อ
สามารถที่จะสอนเด็กเกี่ยวกับหลักพื้นฐานของ
การเขียนด้วยหลัก ไวยากรณ์ ภาษาอาหรับ และ
สามารถแต่งประโยคได้อย่างถูกต้อง
4-ผูส้ อนคดลายมื อ ต้อ งเป็ นผู้ที่ มี ล ายมื อ การ
เขียนที่สวยงาม
5-สื บค้น และอ่านเพิ่มเติมจากตาราที่เป็ นมรดก
ทางวิชาการ เพื่อผูเ้ รี ยนสามารถท่องจาบทกวี
อาหรับ และที่สาคัญอย่างยิงผูส้ อนการคัดหลาย
มื อ ต้อ งเป็ นผูท้ ี่ มี ล ายมื อ การเขี ย นที่ ส วยงาม
255

(Ridwan:1970:15)

3)คุณลักษณะทางด้ านส่ วนตัว


1-บริ สุทธิ์ ใจ(อิคลาส) ผูส้ อนได้ทาหน้าที่ของ
พ่อแม่ในการอบรมสั่งสอน ฉะนั้นเขาจงสร้ าง
จิตใจที่อิคลาสต่อเอกองค์อลั ลอฮฺในหน้าที่และ
การงานของเขา ควรคลุ กคลี กบั เด็กเสมือนกับ
พ่อแม่ของเขาได้คลุกคลีกบั เขา
2-ความย าเกรงต่ อ เอกองค์ อ ัล ลอฮฺ ส าหรั บ
ผูส้ อนต้องกาชับตัวเองเพื่ออยูใ่ นกรอบและบน
แนวทางของอิ ส ลามโดยปฏิ บ ัติ สิ่ ง ที่ อ ัล ลอฮฺ
ทรงใช้ และห่ างไกลจากสิ่ งที่อลั ลอฮฺ ทรงห้าม
และท าให้ เ ด็ ก ได้ ป ฏิ บ ัติ ต ามในสิ่ ง ที่ ดี และ
ห่างไกลจากสิ่ งที่เบี่ยงเบน
3-มีความรู ้สึกรับผิดชอบต่อหน้าที่ ผูเ้ รี ยนถือว่า
เป็ นอามานะฮฺอยั งิ่ ใหญ่ที่อยูภ่ ายใต้การดูแลของ
ผูส้ อน ที่ จะถู กสอบถามในวันกิ ยามะฮฺ ฉะนั้ง
จงพยายามในการสอนและควรให้เวลาเต็มไป
ด้วยกับการสอน
4-มีความอ่อนโยน ผูส้ อนได้ทาหน้าที่แทนพ่อ
และคุณพ่อทุกคนได้เลี้ยงดูลูกด้วยความรักและ
ความเอ็นดู ฉะนั้นผูส้ อนควรสร้ างบรรยากาศ
ในห้องเรี ยนเหมือนบรรยากาศที่บา้ น ที่เต็มไป
ด้วยความรักและความเอ็นดู
5-มีความเสี ยสละ
6-ควรให้แน่ใจว่าผูเ้ รี ยนได้กลับถึงบ้านแล้วยัง
7-ควรปรึ กษาผูป้ กครองเด็กในเมื่อเด็กขาดเรี ยน
8-ควรกาชับผูเ้ รี ยนที่มีอายุ 7 ขวบขึ้นไปเพื่อทา
การละหมาดโดยเฉพาะให้ละหมาดยะมาอะฮฺ
ในมัสยิด และให้แน่ ใจว่าพวกเขาทุกคนได้มา
256

ละหมาดในมัสยิดทุกคนหรื อไหม่
9-มีความยุติธรรม

4) คุณลักษณะทางด้ านความสั มพันธ์ กบั ผู้เรี ยน


1-ด้านการลงโทษ
วิธีการลงโทษ
อิบนุ สะหฺ นุนได้ต้ งั เงื่ อนไขในการลงโทษเด็ก
ไว้ สองประการ ดังนี้
หนึ่ ง มีเป้ าหมายเพื่อเด็กได้รับประโยชน์จาก
การลงโทษ
สอง ผูส้ อนไม่ควรตีเกิ นสามครั้ ง นอกจากจะ
ได้รับอนุ ญาตจากผูป้ กครอง โดยท่านกล่ าวว่า
ไม่สามารถตีเด็กเกินขอบเขตนอกจากจะได้การ
อนุญาตจากผูป้ กครอง....
การลงโทษทางด้ านจิตใจ
การลงโทษเด็กทางร่ างกายนั้นไม่สามารที่
จะกระท าได้ น อกจากต้ อ งผ่ า นการลงโทษ
ทางด้ า นจิ ต ใจก่ อ น ที่ มี รู ปแบบและวิ ธี ก าร
ลงโทษดังนี้
1-ให้คาตักเตือน
2-ให้ผปู้ กครองได้รับรู้ถึงนิสัยมารยาทของเด็ก
และให้ ผูป้ กครองมี่ ส่ วนร่ ว มในการแก้ไ ขเป
ลียนแปลงมารยาทของเด็ก
3-มี ก ารเชื่ อมสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู ้ ส อนกั บ
ผูป้ กครองของเด็ก และผูส้ อนมีหน้าที่ประกาศ
ให้ผปู้ กครองรู้เวลาเด็กขาดเรี ยน
4-ในเมื่ อ เด็ ก ไม่ ไ ด้มี ก ารเปลี่ ย นแปลงแก้ไ ข
ตัวเอง ก็ควรใช้วิธีอื่นในการลงโทษ คือ วิธีการ
ต าหนิ ต ามล าพัง หลัง จากนั้น ต าหนิ ต่ อ หน้ า
เพื่อนฝูงจานวนมาก
257

5-กัก ตัว เด็ ก หลัง จากได้ แ ยกย้า ยจากการเล่ า


เรี ยนดดยมี เ งื่ อ นไข อย่ า ห้ า มเด็ ก ในการ
รับประทานอารและดื่ ม อันเนื่ องเด็หต้องการ
อาหารเพื่อความเจริ ญเติบโตและพัฒนาร่ างกาย
ให้แข็งแรง เพราะเป้ าหมายของการลงโทษคือ
การแก้ไ ขและเปลี่ ย นแปลงมารยาทของเด็ ก
เท่ านั้ น ซึ่ งไ ม่ ไ ด้ มี เ ป้ า หม าย ห้ า ม มี ก า ร
เจริ ญเติบโตด้านร่ างกายของเด็ก
6-เงื่ อนไขในการลงโทษทางจิ ตใจ คื อห้ามด่ า
และไม่ ค วรใช้ ค าที่ ไ ม่ สุ ภ าพผู้ส อนสามารถ
เลือกการตีเป็ นวิธีสุดท้ายจากวิธีการลงโทษเด็ก
หลังจากได้ใช้วธิ ี การลงโทษทางจิตใจไม่สาเร็ จ
แต่ตอ้ งมีเงื่อนไขดังนี้
1-ผูส้ อนควรลงโทษเด็กด้วยตนเอง และไม่ควร
สั่งผูอ้ ื่นตีแทน เพราะในการตีของเด็กด้วยกัน
นั้นเป็ นการแก้แค้น และผูส้ อนควรใช้ความ
เมตตาในการตี
2-ไม่ควรที่จะตีผเู ้ รี ยนในขณะที่มีความโกรธ
แค้น เพราะในความโกรธแค้นนั้นม่ทาให้
ผูส้ อนสู่ เป้ าหมายจากการลงโทษ.
อุปกรณ์สาหรับใช้ในการตี
1-ไม้เ ท้า โดยมี เ งื่ อ นไขว่ า ไม่ ค วรที่ จ ะหนา
เกิ น ไปซึ่ งท าให้ ก ระดู ก ของเด็ ก นั้น แตกหั ก
หรื อบางเกิ นไปทาให้อนั ตรายต่อร่ างกายของ
เด็ก
2-ดุรเราะหฺ (‫ )درة‬มี เงื่ อนไขว่า ต้องเปี ยกและ
อ่อนที่ไม่ทาอันตรายต่อร่ างกายของเด็ก
3-สถานที่สาหรับตึเด็กนั้นต้องเป็ นที่ที่ปลอดภัย
คือ ต้นขา และฟุต และไม่ควรตีเด็กที่ห คือ ต้น
ขา และฟุต และไม่ควรตีเด็กที่หวั และใบหน้า
258

4-ไม่ควรตีเด็กที่อายุยงั ไม่ถึง 10 ขวบ ยึดตาม


หะดี ษของท่านนบี ‫بالصَلة الصبيان مرو‬
‫ سنني لسبع‬โดยการลงโทษทางจิตใจสามารถ
กระทาได้กบั เด็กที่อายุยงั ไม่ถึง 10 ขวบ
5-ไม่ ค วรตี เด็ ก โดยปราศจากการอนุ ญาตจาก
ผูป้ กครอง ผูส้ อนมีสิทธิ ที่จะตีเด็กถึ ง สาม ครั้ง
ถ้าผุป้ กครองไม่มา เพราะการเรี ยนการสอนนั้น
จ าเป็ นต้อ งมี ส่ ว นร่ ว มระหว่า งผูป้ กครองกับ
ผูส้ อน
6-ควรตีเด็กต่อหน้าเพื่อนฝูง เพื่อเป็ นบทเรี ยน
และข้อคิดสาหรับเด็ก
7-ผูส้ อนต้องคานึงถึงร่ างกายของผูเ้ รี ยนเวลาจะ
ลงโทษ และผูส้ อนต้องรับผิดชอบต่อผูเ้ รี ยน ถ้า
ตีเกินขอบเขตของการตีเด็ก

5.ผู้เรียน
1-มีมรรยาทที่ดีงามตามแบบฉบับของท่านนบี 1)มารยาทของผูเ้ รี ยนกับพระเจ้า
 และกฎเกณฑ์ที่ศาสนาได้กาหนดไว้
1-สร้างเจตนาที่ดี
2-สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างครู ผสู ้ อนกับ
ผูเ้ รี ยน 2-การมอบหมายการงานต่ า งๆต่ อ เอกองค์
3-ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องปฏิบตั ิตามนัยแห่ งพระมหา อัลลอฮ(‫)التوكل‬
คัม ภี ร์อลั กุ รอาน เพื่ อนามาสู่ ค วามเชื่ อมั่นใน 3-การระวังตน (‫)الورع‬
เกี ย รติ ย ศอัน สู ง ส่ ง ของพระมหาคัม ภี ร์ อ ัล กุ
4-ละหมาดและอิบาดัตสุ นตั ต่างๆ
รอาน
4-ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องอ่านอัลกุรอานในเวลาและ 5-การชูกรู และการราลึกถึงอัลลอฮฺ
สถานที่ ที่ เ หมาะสม ไม่ ค วรอ่ า นตามถนน
6-การขอดุอาอฺ
สาธารณะหรื อในห้องน้ า
5-ในหมู่ นั ก วิ ช าการด้ า นนิ ติ ศ าสตร์ ได้ ใ ห้ 2)มารยาทของผูเ้ รี ยนต่อตนเอง
ความเห็นว่า ไม่สามารถที่จะจับต้องอัลกุรอ่าน
1-เอาเวลาเพื่ อ ท าในสิ่ งที่ ดี แ ละการภั ก ดี
ได้ นอกจากจะอยู่ ใ นสภาพที่ มี น้ าละหมาด
259

เท่ า นั้ น แต่ ก็ ย งั อนุ โ ลมให้ ก ับ เด็ ก ๆ ที่ ย ัง ไม่ ต่ออัลลอฮฺ


บรรลุ นิติภาวะ สามารถจับต้องและอ่ า นอัล กุ
2-พยายามหลีกเลี่ยงจากจารยามารยาทที่ไม่ดี
รอานได้ ถึงแม้จะไม่มีน้ าละหมาดก็ตาม
6-ในขณะที่ ผูส้ อนได้ฟั งอัล กุ รอานที่ อ่า นโดย 3-พยายามลดความสัมพันธ์กบั โลกดุนยา
เด็กนักเรี ยนเมื่อถึ งอายะฮฺ ที่ตอ้ งซู ญูดตีลาวะฮฺ
4-ทุ่มเทความพยายามอย่างพอดิบพอดีไม่มาก
ผูส้ อนไม่จาเป็ นต้องก้มสู ญูดถ้าเด็กนักเรี ยนยัง
เกินไปและไม่นอ้ ยเกินไปเพื่อมิให้เบื่อหน่าย
ไม่บรรลุนิติภาวะ แต่ถา้ เด็กนักเรี ยนที่บรรลุนิติ
และละทิ้งการเรี ยน
ภาวะแล้วครู ผสู ้ อนก็สามารถเลือกปฏิบตั ิได้
7-ช่วงเวลาที่สุดในการศึกษาอัลกุรอานคือช่ วง 5-มีความกระตือรื อร้น
เช้า(เวลาดุฮา) จนถึงตะวันลับขอบฟ้ า 6-อดทนในการศึกษาหาความรู้
8-ห้ามครู ผสู้ อนเลื่ อนจากบทหนึ่ งไปยังอีกบท
3) มารยาทของผู้เรียนต่ อผู้สอน
หนึ่ งนอกจากผูเ้ รี ย นจะท่องจาบทเก่ า ให้หมด
ก่อน 1 สร้างความใกล้ชิดกับผูส้ อนและเพื่อนฝูง
2 การถ่อมตนและให้เกียรติผสู ้ อน
3 ให้เกียรติลูกหลานของผูส้ อน
4) มารยาทของผู้เรียนต่ อเพือ่ นฟูง
1-พยายามห่างไกลจากการนินทาผูอ้ ื่น และ
นัง่ กับผูท้ ี่ชอบพูดในเรื่ องที่ไม่เป็ นสาระ
260

บทที่ 6

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ในบทนี้เป็ นการนําเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริ มาณจากแบบสอบถาม ข้อมูล


เชิง คุณภาพจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึกและข้อมูลจากแบบคําถามในการสนทนากลุ่ม ซึ่งมีรายละเอียด
ดังต่อไปนี้

6.1. ข้ อมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม (Questionnaire)

ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ แ น ว คิ ด ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง มุ หั ม มั ด บิ น ส ะ ห นู น
และบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้
เก็บข้อมูลจากกลุ่ มตัวอย่างครู อิสลามศึ กษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ในระบบประเภทสอน
ศาสนาควบคู่วิชาสามัญ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปั ตตานี จํานวน 278 คน ได้รับคืน
หลังจากเก็บข้อมูล จํานวน 273 คน ดังรายละเอียดในตารางที่ 4-7

ตารางที่ 4 จํานวนและร้ อยละของของครู อิสลามศึ ก ษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ในระบบ


ประเภทสอนศาสนาควบคู่วิชาสามัญ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปั ตตานี จําแนกตาม
เพศ

เพศ จานวน ร้ อยละ


ชาย 115 42.1
หญิง 140 51.3
อื่น 18 6.6
รวม 273 100.0

จากตารางที่ 4 พบว่า ครู อิสลามศึกษาส่ วนใหญ่ที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง คือ ครู อิสลาม


ศึกษาหญิง ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 51.3 ของครู อิสลามศึกษาทั้งหมด
261

ตารางที่ 5 จํานวนและร้ อยละของของครู อิสลามศึ ก ษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ในระบบ


ประเภทสอนศาสนาควบคู่วิชาสามัญ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปั ตตานี จําแนกตาม
อายุ

อายุ จานวน ร้ อยละ


ตํ่ากว่า 20 ปี 14 5.1
21-40 ปี 167 61.2
41-60 ปี 63 23.1
60 ปี ขึ้นไป 4 1.5
อื่น 25 9.2
รวม 273 100.0

จากตารางที่ 5 พบว่า ครู อิสลามศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างอยูใ่ นช่วงอายุ 21-40 ปี


เป็ นส่ วนใหญ่ คิดเป็ นร้อยละ 61.2 รองลงมา คือ อายุ 41-60 ปี คิดเป็ นร้อยละ 23.1 และตํ่ากว่า 20 ปี
คิดเป็ นร้อยละ 5.1 ตามลําดับ

ตารางที่ 6 จํานวนและร้ อยละของของครู อิส ลามศึ ก ษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ในระบบ


ประเภทสอนศาสนาควบคู่วิชาสามัญ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปั ตตานี จําแนกตาม
ระดับการศึกษาสู งสุ ด

ระดับการศึกษา จานวน ร้ อยละ


ประถมศึกษา 1 .4
มัธยมศึกษาตอนต้น/ตอนปลาย/เทียบเท่า 26 9.5
ปริ ญญาตรี 206 75.5
สู งกว่าปริ ญญาตรี 28 10.3
อื่น 12 4.4
รวม 273 100.0

จากตารางที่ 6 เมื่อพิจารณาจากระดับการศึกษาสู งสุ ดของครู อิสลามศึกษาที่เป็ น


กลุ่มตัวอย่าง พบว่าส่ วนใหญ่มาจากระดับการศึกษาปริ ญญาตรี คิดเป็ นร้อยละ 75.5 รองลงมา คือ
262

ระดับสู งกว่าปริ ญญาตรี คิดเป็ นร้อยละ 10.3 และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น/ตอนปลาย/เทียบเท่า คิด


เป็ นร้อยละ 9.5

ตารางที่ 7 จํานวนและร้ อยละของของครู อิสลามศึ ก ษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ในระบบ


ประเภทสอนศาสนาควบคู่วิชาสามัญ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปั ตตานี จําแนกตาม
ประสบการณ์ในการสอน

ประสบการณ์ในการสอน จานวน ร้ อยละ


น้อยกว่า 5 ปี 79 28.9
5-9 ปี 65 23.8
10-15 ปี 58 21.2
16-20 ปี 30 11.0
อื่น 41 15.1
รวม 273 100.0

จากตารางที่ 7 เมื่อพิจารณาจากประสบการณ์ในการสอนของครู อิสลามศึกษาที่


เป็ นกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่ วนใหญ่มีประสบการณ์ ในการสอนน้อยกว่า 5 ปี คิดเป็ นร้ อยละ 28.9
รองลงมา คือ ประสบการณ์ในการสอน 5-9 ปี คิดเป็ นร้อยละ 23.8 ปี และประสบการณ์ในการสอน
10-15 ปี คิดเป็ นร้อยละ 21.2

6.1.2 ผลการวิเคราะห์ แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหนูนและบุรฮานุดดีนอัลซั รนูญีย์กับ


การประยุกต์ ใช้ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากครู อิสลามศึ กษาในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ใน
ระบบประเภทสอนศาสนาควบคู่ วิ ช าสามัญ สั ง กัด สํ า นัก งานการศึ ก ษาเอกชนจัง หวัด ปั ต ตานี
จํา นวน 273 คน การวิ เ คราะห์ ข้อ มู ล แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หั ม มัด บิ น สะหนู น
และบุ รฮานุ ดดี น อัล ซัรนู ญีย ์ก ับ ระดับ ความคาดหวัง ของครู อิส ลามศึ ก ษาต่ อการประยุก ต์ใ ช้ใ น
โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ซึ่ งมี 5 ด้าน คือ ด้านเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ด้านหลักสู ตร ด้านกระบวนการเรี ยนการสอน ด้านผูส้ อน และด้านผูเ้ รี ยน ผลการวิเคราะห์ปรากฏ
รายละเอียดดังตารางที่ 5
263

ตารางที่ 8 ผลการวิเคราะห์ เกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของมุ หัมมัด บิน สะหนู นและบุรฮานุ ด


ดีนอัลซัรนูญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โดยภาพรวม

รายการ X SD ความหมาย
1. ด้านเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของ 3.99 .75 มาก
การศึกษา
2. ด้านหลักสู ตร 3.92 .78 มาก
3. ด้านกระบวนการเรี ยนการสอน 3.79 .71 มาก
4. ด้านผูส้ อน 3.92 .73 มาก
5. ด้านผูเ้ รี ยน 4.05 .82 มากที่สุด
รวม 3.94 .69 มาก

จากตารางที่ 8 ครู อิสลามศึกษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่าง เห็ นได้วา่ โดยภาพรวมแล้ว


ประเด็น ทั้ง 5 ด้า น เกี่ ย วกับ แนวคิ ดทางการศึ ก ษาของมุ หัมมัด บิ น สะหนู นและบุ รฮานุ ดดี น
อัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามอยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.94)
เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหนูนและบุรฮานุ ด
ดีน อัลซัรนูญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในระดับมาก 3 ลําดับแรก
คือ ด้านผูเ้ รี ยน ( X = 4.05) ด้านเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา ( X = 3.99) และด้าน
หลักสู ตรกับด้านผูส้ อน ( X = 3.92) ส่ วนแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนและบุรฮา
นุ ดดีน อัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามที่น้อยที่สุด คือ ด้าน
กระบวนการเรี ยนการสอน ( X = 3.79)
เมื่ อพิจารณาประเด็นในแต่ละด้าน ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลปรากฏรายละเอียดดัง
ตารางที่ 9
264

ตารางที่ 9 ผลการวิเคราะห์ดา้ นเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา แยกเฉพาะด้านเป้ าหมาย


และวัตถุประสงค์ของการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูน

รายการ X SD ความหมาย
1. เพื่อยึดมัน่ ในศาสนา 4.21 .92 มากที่สุด
2. เพือ่ เผยแพร่ ความรู ้ทางศาสนา 4.10 .96 มากที่สุด
3. เพื่อเพิ่มพูนในวิชาความรู ้ 4.00 1.00 มากที่สุด
4. เพื่อเกียรติยศและศักดิ์ศรี 3.76 1.00 มาก
5. เพื่อแสวงหาปั จจัยยังชีพ 3.69 .95 มาก
6. เพื่อจรรยามารยาทที่ดีงาม 4.13 .90 มากที่สุด
รวม 3.98 .77 มาก

จากตารางที่ 9 พบว่า ครู อิส ลามศึ ก ษาที่ เป็ นกลุ่ ม ตัวอย่า งมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหนูน ในด้านเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษาอยู่
ในระดับมาก ( X = 3.98) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของ
การศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูน ในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ เพื่อยึดมัน่ ในศาสนา ( X = 4.21)
เพื่อจรรยามารยาทที่ดีงาม ( X = 4.13) และเพื่อเผยแพร่ ความรู ้ทางศาสนา ( X = 4.10) ส่ วนด้าน
เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหนู น ที่น้อยที่สุด คือ เพื่อแสวงหา
ปัจจัยยังชีพ ( X = 3.69)

ตารางที่ 10 ผลการวิเคราะห์ดา้ นเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา แยกเฉพาะด้านเป้ าหมาย


และวัตถุประสงค์ของการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์

เป้าหมายและวัตถุประสงค์ ของการศึกษา X SD ความหมาย


1. เพื่อการยําเกรงต่ออัลลอฮุ 4.38 .92 มากที่สุด
2. เพื่อฝึ กฝนในจรรยามารยาทอันดีงามและ 4.11 .99 มากที่สุด
สู งส่ งพร้อมละทิง้ ในสิ่ งที่ไม่ดี
3. เพื่อเป็ นแนวทางศึกษาถึงความรู้ทางโลก 3.96 .95 มาก
4. เพื่อแสวงหาโลกหน้า 4.07 1.09 มากที่สุด
265

5. เพื่อรักษาไว้ซ่ ึงศาสนาและคงมีไว้ซ่ ึง 4.11 1.03 มากที่สุด


อิสลาม
6. เพื่อตอบแทนพระคุณของอัลลอฮ 4.16 1.05 มากที่สุด
7. เพื่อหลีกเลี่ยงจากการยิง่ ยโสโอ้อวดใน 3.97 .99 มาก
วิชาความรู้
8. เพื่อห่างไกลจากโลกดุนยา 3.77 1.09 มาก
9. เพื่อฝึ กฝนทักษะการคิดและสรุ ปผล 3.77 .96 มาก
10. เพื่อศรัทธาด้วยการใช้สติปัญญา 3.93 1.00 มาก
11. เพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่ อง 3.86 1.02 มาก
12. เพื่อคํานึงถึงคุณค่าของความรู ้ 3.93 .98 มาก
รวม 4.00 .79 มากทีส่ ุ ด

จากตารางที่ 10 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นด้านเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
อยู่ใ นระดับ มากที่ สุ ด ( X = 4.00 ) เมื่ อ พิ จารณาในแต่ ล ะประเด็ น พบว่า ด้า นเป้ าหมายและ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ เพื่อการยําเกรง
ต่ออัลลอฮุ ( X = 4.38) เพื่อตอบแทนพระคุณของอัลลอฮ ( X = 4.16) และเพื่อฝึ กฝนใน
จรรยามารยาทอันดีงามและสู งส่ งพร้อมละทิ้งในสิ่ งที่ไม่ดีกบั เพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งศาสนาและคงมีไว้ซ่ ึ ง
อิสลาม ( X = 4.11) ส่ วนด้านเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
ที่นอ้ ยที่สุด คือ เพื่อห่างไกลจากโลกดุนยากับเพื่อฝึ กฝนทักษะการคิดและสรุ ปผล ( X = 3.77)

ตารางที่ 11 ผลการวิเคราะห์ดา้ นหลักสู ตร แยกเฉพาะด้านหลักสู ตรการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะ


หนูน

หลักสู ตร X SD ความหมาย
1. มีการจําแนกระหว่างวิชาบังคับกับวิชา 3.96 .93 มาก
เลือก โดยวิชาอัลกุรอานเป็ นวิชาบังคับ
และวิชาคณิ ตศาสตร์ กวี คําแปล ภาษา
อาหรับและการเขียนหลักไวยกรณ์อาหรับ
เป็ นวิชาเลือก
266

2. หลักสู ตรได้เน้นเนื้ อหาวิชา เช่น กวี คํา 3.70 .98 มาก


แปลกภาษาอาหรับและการเขียน หลัก
ไวยกรณ์อาหรับ
3. บังคับผูเ้ รี ยนต้องศึกษาอัลกุรอาน 4.03 1.09 มากที่สุด
4. หลักสู ตรมาจากการบูรณาการระหว่าง 4.02 1.02 มากที่สุด
ความรู้ทางโลกดุนยาและอาคิเราะห์
5. หลักสู ตรได้เน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนด้านจิต 3.78 1.08 มาก
วิญญาณ
รวม 3.90 .86 มาก

จากตารางที่ 11 พบว่า ครู อิส ลามศึ ก ษาที่ เป็ นกลุ่ ม ตัวอย่า งมี ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ
แนวคิดด้านหลักสู ตรการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนอยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.90) เมื่อพิจารณา
ในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านหลักสู ตรการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนในระดับมาก 3 ลําดับแรก
คือ บังคับผูเ้ รี ยนต้องศึกษาอัลกุรอาน ( X = 4.03) หลักสู ตรมาจากการบูรณาการระหว่างความรู ้ทาง
โลกดุนยาและอาคิเราะห์ ( X = 4.02) และมีการจําแนกระหว่างวิชาบังคับกับวิชาเลือก โดยวิชาอัลกุ
รอานเป็ นวิช าบัง คับ และวิชาคณิ ตศาสตร์ กวี คําแปล ภาษาอาหรั บและการเขี ยนหลัก ไวยกรณ์
อาหรับเป็ นวิชาเลือก ( X = 3.96) ส่ วนด้านหลักสู ตรการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนที่นอ้ ยที่สุด
คือ หลักสู ตรได้เน้นเนื้ อหาวิชา เช่น กวี คําแปลกภาษาอาหรับและการเขียนหลักไวยกรณ์อาหรับ
( X = 3.70)

ตารางที่ 12 ผลการวิเคราะห์ด้านหลักสู ตร แยกเฉพาะด้านหลักสู ตรการศึกษาของบุรฮานุ ดดี น


อัลซัรนูญีย ์

หลักสู ตร X SD ความหมาย
1. จําแนกหลักสู ตรการเรี ยนการสอน 3.79 1.01 มาก
ออกเป็ น 2 ประเภท คือ อิลมุล หาล
)‫( (علم احلال‬ความรู้ที่มีตอ้ งต้องการทุก
สถานการณ์ ) และอิ ล มฺ บะอฺ ดุล อะหายีน
(‫( )علم بعض األحايني‬ความรู้ที่มีความ
267

ต้องการบางช่วงเวลา)
2. แบ่งอิลมุหาลออกเป็ น 4 ชนิดด้วยกัน 4.06 1.03 มากที่สุด
2.1 ความรู ้ที่เกี่ยวกับการอิบาดาต
2.2 ความรู ้ที่เกี่ยวกับสังคม เช่น การซื้ อ
ขาย การแต่งงาน เป็ นต้น
2.3 ความรู ้ที่เกี่ยวกับจิตใจ เช่น การยําเกรง
และการถ่อมตนต่อเอกอัลลอฮฺ
2.4 ความรู ้ที่เกี่ยวกับจรรยามารยาท

3. ฟัรฎูกิฟายะฮฺออกเป็ น สอง ชนิด


4.03 .89 มากที่สุด
คือ สิ่ งที่จาํ เป็ นสําหรับมุสลิม เช่น การ
ท่องจําอัลกุรอาน และสิ่ งที่ไม่ใช่ความรู ้
ทางชะรี อะฮฺ เช่น การแพทย์ คณิ ตศาสตร์
4. หลักสู ตรได้กาํ หนดให้มีรายวิชาดังนี้เช่น 3.90 .98 มาก
วิชาเอกภาพ (‫(التوحيد‬วิชาฟิ กฮฺ วิชา กวี
อาหรับ(‫ (الشعر‬วิชาอัลกุรอาน วิชาการ
คัดลายมือ(‫(خط‬วิชาแพทยศาสตร์
รวม 3.94 .81 มาก

จากตารางที่ 12 พบว่า ครู อิส ลามศึ ก ษาที่ เป็ นกลุ่ ม ตัวอย่า งมี ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ
แนวคิ ดด้านหลักสู ตรการศึ กษาของบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญียอ์ ยู่ในระดับมาก ( X = 3.94) เมื่อ
พิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านหลักสู ตรการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นระดับมาก 3
ลําดับแรก คือ แบ่งอิลมุหาลออกเป็ น 4 ชนิ ดด้วยกัน 1. ความรู ้ ที่เกี่ ยวกับการอิบาดาต 2. ความรู ้ ที่
เกี่ยวกับสังคม เช่น การซื้ อขาย การแต่งงาน เป็ นต้น 3. ความรู ้ที่เกี่ยวกับจิตใจ เช่น การยําเกรง
4. ความรู ้ ที่เกี่ ยวกับจรรยามารยาท และการถ่อมตนต่อเอกอัลลอฮฺ ( X = 4.06) ฟั รฎูกิ ฟายะฮฺ
ออกเป็ น สอง ชนิ ด คือ สิ่ งที่จาํ เป็ นสําหรับมุสลิ ม เช่น การท่องจําอัลกุรอาน และสิ่ งที่ไม่ใช่ ความรู ้
ทางชะรี อะฮฺ เช่น การแพทย์ คณิ ตศาสตร์ ( X = 4.03) และมีหลักสู ตรได้กาํ หนดให้มีรายวิชาดังนี้
เช่ น วิชาเอกภาพ(‫ )التوحيد‬วิชาฟิ กฮฺ วิชา กวี อาหรับ(‫ )الشعر‬วิชาอัลกุรอาน วิชาการ คัดลายมือ
(‫)خط‬วิชาแพทยศาสตร์ ( X = 3.90) ส่ วนด้านหลักสู ตรการศึกษาของบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญียท์ ี่
น้อยที่สุด คือ จําแนกหลักสู ตรการเรี ยนการสอน ออกเป็ น 2 ประเภท คือ อิลมุล หาล ( ‫علم‬
268

‫( )احلال‬ความรู้ ที่มีตอ้ งต้องการทุกสถานการณ์ ) และอิลมฺ บะอฺ ดุลอะหายีน (‫)علم بعض األحايني‬


(ความรู ้ที่มีความต้องการบางช่วงเวลา) ( X = 3.79)
ตารางที่ 13 ผลการวิเคราะห์ดา้ นกระบวนการเรี ยนการสอน แยกเฉพาะด้านกระบวนการเรี ยนการ
สอนของมุหมั มัด บิน สะหนูน

กระบวนการเรียนการสอน X SD ความหมาย
1. สอนแบบบรรยาย 4.04 .88 มากที่สุด
2. สอนแบบอภิปราย 3.70 .98 มาก
3. สอนแบบท่องจํา 3.79 1.02 มาก
4. สอนแบบร่ วมมือ 3.64 1.02 มาก
5. สอนแบบค่อยเป็ นค่อยไปที่ละขั้น 3.67 1.02 มาก
6. ให้ความแตกต่างระหว่างบุคคล 3.57 1.00 มาก
7. การสอนแบบการใช้สื่อการเรี ยนการสอน 3.91 .97 มาก
8. การสอนแบบทัศนศึกษา 3.59 1.01 มาก
9. การให้ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยน 3.79 1.04 มาก
10. การสร้างความเป็ นมิตรระหว่างผูส้ อน 3.85 1.01 มาก
กับผุเ้ รี ยน
11. การสอนแบบฝึ กฝนปฏิบตั ิ 3.79 .98 มาก
12. การสอนแบบตัรฆีบและตัรฮีบ 3.73 1.06 มาก
รวม 3.76 .76 มาก
จากตารางที่ 13 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนในด้านกระบวนการเรี ยนการสอนอยู่ในระดับมาก
( X = 3.76) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านกระบวนการเรี ยนการสอนของมุหมั มัด บิน
สะหนูนในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ สอนแบบบรรยาย ( X = 4.04) การสอนแบบการใช้สื่อการ
เรี ยนการสอน ( X = 3.91) และการสร้างความเป็ นมิตรระหว่างผูส้ อนกับผุเ้ รี ยน ( X = 3.85) ส่ วน
ด้านกระบวนการเรี ยนการสอนของมุหมั มัด บิน สะหนู นที่นอ้ ยที่สุด คือ ให้ความแตกต่างระหว่าง
บุคคล ( X = 3.57)
269

ตารางที่ 14 ผลการวิเคราะห์ดา้ นกระบวนการเรี ยนการสอน แยกเฉพาะด้านกระบวนการเรี ยนการ


สอนของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์

กระบวนการเรียนการสอน X SD ความหมาย
1. การอภิปราย(‫(املناظرة‬ 3.73 .97 มาก
2. การตั้งคําถาม(‫ (املطارحة‬คือการโยน 3.74 .95 มาก
คําถามหรื อตั้งโจทย์ต่างๆการอภิปราย
ร่ วมกัน
3. การย้อนคิดทบทวน(‫(املذاكرة‬ 3.78 .97 มาก
4. การใช้คาํ ถาม(‫(السؤال‬ 3.92 .91 มาก
5. การสร้างความเข้าใจ 3.84 .93 มาก
6. การสังเกต และการคิดใคร่ ครวญ 3.76 1.01 มาก
7. การไปทัศนศึกษา 3.55 .97 มาก
8. การบันทึก 3.80 .92 มาก
9. ให้เกียรติความรู ้และผูร้ ู ้ 3.93 .94 มาก
10. การคัดเลือก วิชาความรู้อาจารย์ 3.77 .90 มาก
และเพื่อนฝูง
11.ใช้ความพยายาม อย่างต่อเนื่อง และสร้าง 3.86 .87 มาก
แรงจูงใจ
12. การใช้ความอดทน 3.88 .96 มาก
13. เลือกช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาหา 3.62 1.34 มาก
ความรู้
270

ตารางที่ 14 (ต่อ)
กระบวนการเรี ยนการสอน X SD ความหมาย
14. อาศัย เคล็ ดลับ ช่ ว ยจํา คื อความจริ ง จัง 3.71 1.07 มาก
ความขยัน หมั่ น เพี ย ร กิ น แต่ น้ อ ย ทํา การ
ละหมาดยามคํ่า คื น และการอ่ า นอัล กุ ร อ่ า น
การแปรงฟั น การดื่ มนํ้า ผึ้ง การรั บประทาน
นํ้าเต้าผสมนํ้าตาล และประทานลูกเกดสี แดง
เข้มจํานวนยีส่ ิ บเอ็ดเม็ดระหว่างมื้อเช้า
15. ห่ างไกลจากสาเหตุของการหลงลืม เช่ น 3.79 .98 มาก
การทํามะอฺ ศิยตั การทําบาปต่างๆ มีความคิดที่
ฟุ้ งซ่ าน โศกเศร้ าเสี ยใจเกี่ ยวกับเรื่ องทางโลก
หมกมุ่ นอยู่ก ับเรื่ องไร้ สาระ และการรั บ ทาน
อาหารอันเป็ นสาเหตุให้เกิดเสมหะและนํ้ามูก
ก็ทาํ ให้ความจําลดเลื่อนได้
16. ขอคําแนะนําและคําปรึ กษาจากผูส้ อนใน 3.81 .97 มาก
การศึกษาหาความรู ้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
17. เลือกสถานที่ที่เหมาะสมในการศึกษาหา 3.79 1.01 มาก
ความรู้
18. เลือกช่วงอายุที่เหมาะสมในการเริ่ มเรี ยน 3.86 .97 มาก
19. ทบทวนบทเรี ยนอย่างสมํ่าเสมอ 3.78 1.02 มาก
20. การจับจ่ายใช้สอยและรับประทาน 3.75 .90 มาก
อาหารอย่างพอประมาณและพอเพียง
21. คาบเวลาการเรี ยนการสอนไม่มาก 3.75 .91 มาก
เกินไป
22. การใช้สติปัญญาในการศึกษาหาความรู้ 3.87 .92 มาก
23. การประเมินตนเอง 3.73 .97 มาก
24. การเรี ยนแบบค่อยเป็ นค่อยไป 3.76 .94 มาก
25. เขียนบทสรุ ปหลังจากเลิกเรี ยน 3.67 .95 มาก
26. ควรบันทึกสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนเข้าใจ 3.76 1.00 มาก
271

ตารางที่ 14 (ต่อ)
กระบวนการเรี ยนการสอน X SD ความหมาย
27. พยายามห่างไกลหลีกเลี่ยงจากเพื่อนที่ไม่ดี 3.98 .91 มาก
28. ควรใช้จ่ายในการศึกษาและห่างไกลจาก 3.95 .90 มาก
การตระหนี่ถี่เหนียว
29. พยายามเชิญชวนและตักเตือนในสิ่ งที่ดี 4.01 .95 มากที่สุด
30. พยายามยุง่ เกี่ยวกับการงานที่ดีและ 3.98 .96 มาก
ห่างไกลกับการงานที่ตามอารมณ์ใฝ่ ตํ่า
31. สร้างเจตนาที่บริ สุทธิ์ ในการศึกษา 3.99 .92 มาก
แสวงหาความรู้
32. ทุ่มเทเวลาให้กบั การศึกษา 3.92 .94 มาก
33. สร้างความตื่นเต้น (‫)التشويق‬ 3.74 .95 มาก
34. การศึกษาอย่างต่อเนื่ อง 3.85 .93 มาก
35. เลือกช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาหา 3.82 .94 มาก
ความรู ้ คือ ช่วงเช้า ช่วงสุ หูร(ก่อน
ละหมาดซุ บฮฺ)และช่วงระหว่างมัฆริ บ
และอิชาอฺ
36. ศึกษาหาวิชาความรู้ที่หลากหลายเมื่อมี 3.77 .94 มาก
ความรู ้สึกเบื่อในวิชาที่ได้เรี ยนก็หนั ไป
ศึกษาในวิชาอื่น
37. เตรี ยมพร้อมในเรื่ องอุปกรณ์การเขียน 3.88 .94 มาก
38. ผูเ้ รี ยนไม่ควรนอนและกินมากเกินไป 3.84 .94 มาก
39. หันหน้าไปทางทิศกิบละฮฺในเวลาเรี ยน 3.71 1.05 มาก
40.ใกล้ชิดกับบุคคลที่ศอลิหฺและห่างไกลกับ 3.94 .95 มาก
บุคคลที่ชอบทําบาปและทําชัว่
41. อ่านดุอาอฺ ก่อนเริ่ มอ่านหนังสื อ 4.02 .96 มากที่สุด
42. กล่าวสรรเสริ ญต่อท่านนบี 4.08 .88 มากที่สุด
43. ให้ความสําคัญและให้เกียรติกบั หนังสื อ 3.94 .94 มาก
44. ทําการซิวากหรื อแปรงฟัน 3.21 1.71 ปานกลาง
รวม 3.82 .71 มาก
272

จากตารางที่ 14 พบว่า ครู อิส ลามศึ ก ษาที่ เป็ นกลุ่ ม ตัวอย่า งมี ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ
แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นด้านกระบวนการเรี ยนการสอนอยูใ่ นระดับมาก
( X = 3.82) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านกระบวนการเรี ยนการสอนของบุรฮานุ ดดี น
อัลซัรนูญียใ์ นระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ กล่าวสรรเสริ ญต่อท่านนบี ( X = 4.08) อ่านดุอาอฺ ก่อนเริ่ ม
อ่านหนังสื อ ( X = 4.02) และพยายามเชิ ญชวนและตักเตือนในสิ่ งที่ ดี ( X = 4.01) ส่ วนด้าน
กระบวนการเรี ยนการสอนของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียท์ ี่น้อยที่สุด คือ ทําการซิ วากหรื อแปรงฟั น
( X = 3.21)

ตารางที่ 15 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะด้านภาระหน้าที่ของผูส้ อน ตามแนวคิดของมุหมั


มัด บิน สะหนูน
ภาระหน้ าที่ของผู้สอน X SD ความหมาย
1. ดูแลและให้ความสําคัญกับผูเ้ รี ยน 4.08 .92 มากที่สุด
2. ผูส้ อนควรให้เวลากับการสอนอย่างเต็มที่ 4.01 .96 มากที่สุด
3. ผูส้ อนไม่ควรดําเนิ นภารกิ จหรื อกิจการใดๆที่ 3.95 .92 มาก
ไปรบกวนกิจการการสอนนอกจากในเวลาที่ไม่
มีการเรี ยนการสอน
4. ไม่ ค วรที่ จ ะกํา ชับ ให้ ค นหนึ่ ง คนใดไปช่ ว ย 3.85 .99 มาก
สอน นอกจากว่ามันจะให้ประโยชน์กบั ผูเ้ รี ยน
5. ผูส้ อนไม่ ค วรที่ จ ะสั่ ง ใช้ผูเ้ รี ย นไปรั บ ใช้ใ น 3.85 .95 มาก
ความต้องการส่ วนตัวของผูส้ อน
6 . ผู ้ ส อ น ไ ม่ ค ว ร ที่ จ ะ ส อ น อั ล กุ ร อ า น แ ล 3.77 1.01 มาก
ตํารับตําราให้กบั บุตรของชนต่างศาสนิก
7. ผูส้ อนผูช้ ายไม่ควรที่จะสอนผูเ้ รี ยนผูห้ ญิง ไม่ 3.79 .99 มาก
ควรที่จะรวมเรี ยนระหว่างผูห้ ญิงกับผูช้ าย
8. ผูส้ อนไม่มุ่งเป้ าหมายชี วิตไปที่ความสุ ขทาง 3.74 1.03 มาก
โลกดุนยาโดยใช้วชิ าความรู้เป็ นเครื่ องมือในการ
หาทรัพย์สิน ตําแหน่ง ลาภยศและอื่นๆ
273

ตารางที่ 15 (ต่อ)
ภาระหน้าที่ของผูส้ อน X SD ความหมาย
9. ไม่ ค วรที่ จ ะให้ ผู ้เ รี ยนศึ ก ษากั บ ผู ้เ รี ยน 3.71 1.01 มาก
ด้ ว ย กั น น อ ก จ า ก ด้ ว ย ก า ร อ นุ ญ า ต จ า ก
ผูป้ กครอง หรื อ บ้านของผูเ้ รี ยนอยูใ่ กล้กนั
10. ในขณะที่มีการเรี ยนการสอนไม่ควรที่จะ 3.85 .90 มาก
ละทิ้ ง ภาระหน้ า ที่ ด้ ว ยการไปละหมาดศพ
(ละหมาดญินาซะฮฺ)
11.ผู ้ส อนไม่ ค วรที่ จ ะให้ ผู ้เ รี ยนขาดเรี ยน 3.76 1.03 มาก
นอกจากด้วยการอนุญาตจากผูป้ กครอง
12. ผูส้ อนไม่ควรที่จะเขียนหรื ออ่านในขณะที่ 3.80 1.01 มาก
มีการเรี ยนการสอนนอกจากหลังเสร็ จภาระ
กิจการเรี ยนการสอน
รวม 3.85 .73 มาก

จากตารางที่ 15 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนด้านผูส้ อนในภาระหน้าที่ของผูส้ อนอยูใ่ นระดับมาก
( X = 3.85) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ในภาระหน้าที่ของผูส้ อนของมุหมั มัด บิน สะ
หนูนในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ ดูแลและให้ความสําคัญกับผูเ้ รี ยน ( X = 4.08) ผูส้ อนควรให้
เวลากับการสอนอย่างเต็มที่ ( X = 4.01) และผูส้ อนไม่ควรดําเนิ นภารกิ จหรื อกิ จการใด ๆ ที่ไป
รบกวนกิจการการสอนนอกจากในเวลาที่ไม่มีการเรี ยนการสอน ( X = 3.95) ส่ วนในภาระหน้าที่
ของผูส้ อนของมุหัมมัด บิน สะหนูน ที่น้อยที่สุด คือ ไม่ควรที่จะให้ผเู ้ รี ยนศึกษากับผูเ้ รี ยนด้วยกัน
นอกจากด้วยการอนุญาตจากผูป้ กครอง หรื อ บ้านของผูเ้ รี ยนอยูใ่ กล้กนั ( X = 3.71)
274

ตารางที่ 16 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะบุคลิกภาพของผูส้ อน ด้านวิชาความรู้ ตาม


แนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน

บุคลิกภาพของผู้สอน X SD ความหมาย
1. ท่องจําอัลกุรอาน โดยสามารถรู ้หุก่มตัจวีด 3.93 1.16 มาก
2. มีความรู ้เกี่ยวกับฟิ กฮฺเพื่อที่สามารถสอนเด็ก 4.00 .99 มากที่สุด
ในเรื่ องของการละหมาดและบทบัญญัติต่างๆ
ที่ เกี่ ย วกับ การละหมาด การอาบนํ้า ละหมาด
และเงื่อนไขตางๆ ของการละหมาด
3. มีความรู ้ เกี่ ยวกับไวยกรณ์ ภาษาอาหรับเพื่อ 3.94 .96 มาก
สามารถที่จะสอนเด็กเกี่ยวกับหลักพื้นฐานของ
การเขียนด้วยหลักไวยกรณ์ภาษาอาหรับ และ
สามารถแต่งประดยคได้อย่างถูกต้อง
4. สื บ ค้น และอ่า นเพิ่ ม เติ ม จากตํา ราที่ เป็ น 3.84 1.04 มาก
มรดกทางวิชาการ เพื่อผูเ้ รี ยนสามารถท่องจํา
บทกวีอาหรั บ และที่สําคัญอย่างยิ่งผูส้ อนการ
คัดหลายมือ ต้องเป็ นผูท้ ี่มี ลายมื อการเขีย นที่
สวยงาม
รวม 3.93 .91 มาก

จากตารางที่ 16 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนด้านบุคลิกภาพของผูส้ อนในวิชาความรู้ อยูใ่ นระดับ
มาก ( X = 3.93) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ในวิชาความรู ้ ของมุหมั มัด บิน สะหนูนใน
ระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ มีความรู ้เกี่ยวกับฟิ กฮฺ เพื่อที่สามารถสอนเด็ก ในเรื่ องของการละหมาด
และบทบัญ ญัติต่ า งๆที่ เ กี่ ย วกับ การละหมาด การอาบนํ้า ละหมาด และเงื่ อ นไขต่ า งๆ ของการ
ละหมาด ( X = 4.00) ความรู ้เกี่ยวกับไวยกรณ์ภาษาอาหรับเพื่อสามารถที่จะสอนเด็กเกี่ยวกับหลัก
พื้นฐานของการเขียนด้วยหลักไวยกรณ์ภาษาอาหรับ และสามารถแต่งประดยคได้อย่างถูกต้อง ( X
= 3.94) และท่องจําอัลกุรอาน โดยสามารถรู ้หุก่มตัจวีด ( X = 3.93) ส่ วนในวิชาความรู ้ของมุหมั มัด
บิน สะหนูนที่น้อยที่สุด คือ สื บค้นและอ่านเพิ่มเติมจากตําราที่เป็ นมรดกทางวิชาการ เพื่อผูเ้ รี ยน
275

สามารถท่องจําบทกวีอาหรับ และที่สําคัญอย่างยิ่งผูส้ อนการคัดหลายมือ ต้องเป็ นผูท้ ี่มีลายมือการ


เขียนที่สวยงาม ( X = 3.84)

ตารางที่ 17 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะบุคลิกภาพของผูส้ อน ด้านมารยาทของผูส้ อน


ตามแนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน

บุคลิกภาพของผู้สอน X SD ความหมาย
1. บริ สุทธิ์ ใจ (อิคลาส) 4.14 1.04 มากที่สุด
2. ความยําเกรงต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ 4.22 1.02 มากที่สุด
3. มีความรู ้สึกรับผิดชอบต่อหน้าที่ 4.10 .99 มากที่สุด
4. มีความอ่อนโยน รักและเอ็นดูผเู้ รี ยน 4.08 .98 มากที่สุด
5. เสี ยสละเวลาให้กบั ผูเ้ รี ยน 4.04 1.00 มากที่สุด
6. มีความสุ ขมุ รอบคอบและการรู ้จกั ยับยั้ง 4.04 1.04 มากที่สุด
ตนเองหรื อ อัลวัรอฺ(‫)الورع‬
รวม 4.10 .87 มากทีส่ ุ ด

จากตารางที่ 17 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนด้านบุคลิกภาพของผูส้ อนในมารยาทของผูส้ อนอยู่
ในระดับมากที่สุด ( X = 4.10) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ในมารยาทของผูส้ อนของมุหมั
มัด บิน สะหนูนในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ ความยําเกรงต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ ( X = 4.22) บริ สุทธิ์
ใจ (อิคลาส) ( X = 4.14) และมีความรู ้ สึกรับผิดชอบต่อหน้าที่ ( X = 4.10) ส่ วนในมารยาทของ
ผูส้ อนของมุหมั มัด บิน สะหนูนที่นอ้ ยที่สุด คือ เสี ยสละเวลาให้กบั ผูเ้ รี ยนกับมีความสุ ขุมรอบคอบ
และการรู ้จกั ยับยั้งตนเองหรื อ อัลวัรอฺ (‫ ( )الورع‬X = 4.04)
276

ตารางที่ 18 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะการลงโทษ ด้านเงื่อนไขของการลงโทษ ตาม


แนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน

เงื่อนไขของการลงโทษ X SD ความหมาย
1. มีเป้ าหมายเพื่อเด็กได้รับประโยชน์จาก 4.02 .95 มากที่สุด
การลงโทษ
2. ผูส้ อนไม่ควรตีเกินสามครั้ง นอกจากจะ 3.74 1.06 มาก
ได้รับอนุญาตจากผูป้ กครอง
3. ผูส้ อนควรลงโทษเด็กด้วยตนเอง และควร 3.87 1.00 มาก
ใช้ความเมตตาในการตี
4.ไม่ควรที่จะตีผเู ้ รี ยนในขณะที่มีความโกรธ 3.95 1.04 มาก
แค้น
5. ห้ามด่าและไม่ควรใช้คาํ ที่ไม่สุภาพ 3.95 1.12
6. สถานที่สาํ หรับตึเด็กนั้นต้องเป็ นที่ที่ 4.05 1.00 มากที่สุด
ปลอดภัย คือ ต้นขา และส้นเท้า และไม่ควรตี
ที่หวั และใบหน้า
7. ไม่ควรตีเด็กที่อายุยงั ไม่ถึง 10 ขวบ 3.93 1.06 มาก
8. ไม่ควรตีเด็กโดยปราศจากการอนุ ญาต 3.86 1.07 มาก
จากผูป้ กครอง
9. ผูส้ อนต้องคํานึงถึงร่ างกายของผูเ้ รี ยน 3.95 .98 มาก
เวลาจะลงโทษ และผูส้ อนต้องรับผิดชอบใน
กรณี ตีเกินขอบเขต
รวม 3.92 .83 มาก

จากตารางที่ 18 พบว่า ครู อิส ลามศึ ก ษาที่ เป็ นกลุ่ ม ตัวอย่า งมี ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ
แนวคิดทางการศึ กษาของมุหัมมัด บิ น สะหนู นด้านการลงโทษในเงื่ อนไขของการลงโทษอยู่ใน
ระดับมาก ( X = 3.92) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ในเงื่อนไขของการลงโทษของมุหมั มัด
บิน สะหนูนในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ สถานที่สําหรับตึเด็กนั้นต้องเป็ นที่ที่ปลอดภัย คือ ต้นขา
และส้นเท้า และไม่ควรตีที่หวั และใบหน้า ( X = 4.05) มีเป้ าหมายเพื่อเด็กได้รับประโยชน์จากการ
ลงโทษ ( X = 4.02) และไม่ควรที่จะตีผเู ้ รี ยนในขณะที่มีความโกรธแค้น ห้ามด่าและไม่ควรใช้คาํ ที่
277

ไม่สุภาพและผูส้ อนต้องคํานึ งถึ งร่ างกายของผูเ้ รี ยนเวลาจะลงโทษ และผูส้ อนต้องรั บผิดชอบใน


กรณี ตีเกิ นขอบเขต ( X = 3.95) ส่ วนในเงื่ อนไขของการลงโทษของมุหัมมัด บิน สะหนู นที่น้อย
ที่สุด คือ ผูส้ อนไม่ควรตีเกินสามครั้ง นอกจากจะได้รับอนุญาตจากผูป้ กครอง ( X = 3.74)

ตารางที่ 19 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะการลงโทษ ด้านรู ปแบบและวิธีการลงโทษ ตาม


แนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน

รู ปแบบและวิธีการลงโทษ X SD ความหมาย
1. ให้คาํ ตักเตือน 4.08 1.07 มากที่สุด
2. ให้ผปู้ กครองได้รับรู้ถึงนิสัยมารยาทของ 4.02 .95 มากที่สุด
เด็กและให้ผปู ้ กครองมี่ส่วนร่ วมในการ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงมารยาทของเด็ก
3. มีการเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อนกับ 3.93 .97 มาก
ผูป้ กครองของเด็ก และผูส้ อนมีหน้าที่
ประกาศให้ผปู้ กครองรู้เวลาเด็กขาดเรี ยน
4. ในกรณี เด็กไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข 3.73 .97 มาก
ตัวเอง ก็ควรใช้วธิ ี อื่นในการลงโทษ เช่น
วิธีการตําหนิ ตามลําพัง หลังจากนั้น
ตําหนิ ต่อหน้าเพื่อนฝูงจํานวนมาก
รวม 3.94 .82 มาก

จากตารางที่ 19 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหนูนด้านการลงโทษในรู ปแบบและวิ ธีการลงโทษอยูใ่ น
ระดับมาก ( X = 3.94) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ในรู ปแบบและวิธีการลงโทษของมุหมั
มัด บิน สะหนูนในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ ให้คาํ ตักเตือน ( X = 4.08) ให้ผปู้ กครองได้รับรู้ถึง
นิสัยมารยาทของเด็กและให้ผปู ้ กครองมี่ส่วนร่ วมในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงมารยาทของเด็ก ( X =
4.02) และมีการเชื่ อมสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อนกับผูป้ กครองของเด็ก และผูส้ อนมีหน้าที่ประกาศให้
ผูป้ กครองรู้เวลาเด็กขาดเรี ยน ( X = 3.93) ส่ วนในรู ปแบบและวิธีการลงโทษของมุหมั มัด บิน สะ
หนูนที่นอ้ ยที่สุด คือ ในกรณี เด็กไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขตัวเอง ก็ควรใช้วิธีอื่นในการลงโทษ
เช่น วิธีการตําหนิตามลําพัง หลังจากนั้นตําหนิต่อหน้าเพื่อนฝูงจํานวนมาก ( X = 3.73)
278

ตารางที่ 20 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะการลงโทษ ด้านอุปกรณ์สําหรับใช้ในการตี ตาม


แนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน

อุปกรณ์ สาหรับลงโทษ X SD ความหมาย


1. ไม้เท้าโดยมีเงื่อนไขว่า ไม่ควรที่จะหนา 3.70 1.03 มาก
เกินไปซึ่ งทําให้กระดูกของเด็กนั้นแตกหัก
หรื อบางเกินไปทําให้อนั ตรายต่อร่ างกาย
ของเด็ก
2. ดุรเราะหฺ (ไม้หวาย) มีเงื่อนไขว่า ต้อง 3.53 1.33 มาก
เปี ยกและอ่อนที่ไม่ทาํ อันตรายต่อร่ างกายเด็ก
รวม 3.61 1.02 มาก

จากตารางที่ 20 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนด้านการลงโทษในอุปกรณ์สําหรับใช้ในการตีอยูใ่ น
ระดับมาก ( X = 3.61) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ในอุปกรณ์สําหรับใช้ในการตีของมุหมั
มัด บิน สะหนูนในระดับมาก คือ ไม้เท้าโดยมีเงื่ อนไขว่า ไม่ควรที่จะหนาเกิ นไปซึ่ งทําให้กระดูก
ของเด็กนั้นแตกหัก หรื อบางเกินไปทําให้อนั ตรายต่อร่ างกายของเด็ก ( X = 3.70) และดุรเราะหฺ (ไม้
หวาย) มีเงื่อนไขว่าต้องเปี ยกและอ่อนที่ไม่ทาํ อันตรายต่อร่ างกายเด็ก ( X = 3.53) ตามลําดับ
279

ตารางที่ 21 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะด้านคุณสมบัติเกี่ยวกับศักยภาพของผูส้ อน ตาม


แนวคิดของบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์

คุณสมบัติเกีย่ วกับศักยภาพของผู้สอน X SD ความหมาย


1. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.18 .96 มากที่สุด
2. มีความรู้และความวัรอฺ 4.08 1.00 มากที่สุด
3. การนอบน้อมถ่อมตน 4.08 1.00 มากที่สุด
4. ความอ่อนโยนและความอดทน 4.08 1.00 มากที่สุด
5. มีความเมตตา 4.10 .99 มากที่สุด
6. ห่างไกลจากการกล่าวตําหนิ(ประณาม) 4.04 1.01 มากที่สุด
ผูเ้ รี ยนและการอิจฉาริ ษยา
7. ผูส้ อนควรให้อภัยผูอ้ ื่น 4.08 1.02 มาก
8. ผูส้ อนไม่ควรที่จะโต้เถียงผูอ้ ื่น 3.92 1.01
รวม 4.07 .87 มากทีส่ ุ ด

จากตารางที่ 21 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนู ญียด์ า้ นคุณสมบัติเกี่ยวกับศักยภาพของผูส้ อนอยูใ่ น
ระดับมากที่สุด ( X = 4.07) ในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ มีบุคลิกภาพที่ดี ( X = 4.18) มีความ
เมตตา ( X = 4.10) และมีความรู ้ และความวัรอฺ การนอบน้อมถ่อมตน ความอ่อนโยนและความ
อดทนและผูส้ อนควรให้อภัยผูอ้ ื่น ( X = 4.08) ส่ วนด้านคุณสมบัติเกี่ยวกับศักยภาพของผูส้ อนของ
บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียท์ ี่นอ้ ยที่สุด คือ ผูส้ อนไม่ควรที่จะโต้เถียงผูอ้ ื่น ( X = 3.92)
280

ตารางที่ 22 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูส้ อน แยกเฉพาะด้านคุ ณสมบัติเกี่ ยวกับหน้าที่ของผูส้ อน ตาม


แนวคิดของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์

คุณสมบัติเกีย่ วกับหน้ าทีข่ องผู้สอน X SD ความหมาย


1. ให้คาํ ปรึ กษาผูเ้ รี ยนพร้อมแนะนําเกี่ยวกับ 4.04 1.00 มากที่สุด
สาขาวิชาที่ถนัด
2. ควรคํานึงถึงระดับของผูเ้ รี ยนและความ 3.97 1.03 มาก
แตกต่างระหว่างบุคคล
3. มีความเมตตาและตักเตือนผูเ้ รี ยน 3.91 1.24 มาก
รวม 3.97 1.00 มาก

จากตารางที่ 22 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึ กษาของบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญียด์ ้านคุ ณสมบัติเกี่ ยวกับหน้าที่ของผูส้ อนอยู่ใน
ระดับมาก ( X = 3.97) เมื่ อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านคุ ณสมบัติเกี่ ยวกับหน้าที่ ของ
ผูส้ อนของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ ให้คาํ ปรึ กษาผูเ้ รี ยนพร้อมแนะนํา
เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ถนัด ( X = 4.04) ควรคํานึงถึงระดับของผูเ้ รี ยนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
( X = 3.97) และมีความเมตตาและตักเตือนผูเ้ รี ยน ( X = 3.91) ตามลําดับ

ตารางที่ 23 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทผูเ้ รี ยนต่ออัลกุรอานและวิชาความรู ้


ตามแนวคิดของมุหมั มัด บิน สะหนูน

มารยาทผู้เรี ยน X SD ความหมาย
1. มีมรรยาทที่ดีงามตามแบบฉบับของท่านนบี 4.07 1.02 มากที่สุด
2. สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างครู ผสู ้ อนกับ 4.08 .98 มากที่สุด
ผูเ้ รี ยน
3. ผูเ้ รี ยนจําเป็ นต้องปฏิบตั ิตามนัยแห่งพระมหา 4.03 .99 มากที่สุด
คัมภีร์อลั กุรอาน เพื่อนํามาสู่ ความเชื่อมัน่ ใน
เกียรติยศอันสู งส่ งของพระมหาคัมภีร์
อัลกุรอาน
281

ตารางที่ 23 (ต่อ)
คุณสมบัติเกี่ยวกับหน้าที่ของผูส้ อน X SD ความหมาย
4. ผูเ้ รี ยนจําเป็ นต้องอ่านอัลกุรอานในเวลา 4.00 1.06 มากที่สุด
และสถานที่ที่เหมาะสม ไม่ควรอ่านตามถนน
สาธารณะหรื อในห้องนํ้า
5. ไม่ควรที่จะจับต้องอัลกุรอ่าน นอกจากจะ 4.08 .98 มากที่สุด
อยูใ่ นสภาพที่มีน้ าํ ละหมาดเท่านั้น นอกจาก
เด็กๆ ที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ
6. ผูส้ อนไม่จาํ เป็ นต้องก้มสู ญูดในอายะฮฺที่ 3.89 .98 มาก
ต้องซูญูดเมื่อได้ฟังอัลกุรอานจากเด็กนักเรี ยน
ในกรณี ที่เด็กไม่บรรลุนิติภาวะ แต่ถา้ เด็กได้
บรรลุนิติภาวะแล้วครู ผสู ้ อนก็สามารถเลือก
ปฏิบตั ิได้
7. ช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาอัลกุรอานคือ 3.75 1.33 มาก
ช่วงเช้า(เวลาดุฮา) จนถึงตะวันลับขอบฟ้ า
รวม 3.99 .84 มาก

จากตารางที่ 23 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของของมุหมั มัด บิน สะหนู นด้านมารยาทผูเ้ รี ยนต่ออัลกุรอานและวิชาความ
รู ้ อยู่ในระดับมาก ( X = 3.99) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านมารยาทผูเ้ รี ยนต่ออัลกุ
รอานและวิชาความรู้ของมุหมั มัด บิน สะหนูนในระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ สร้างความสัมพันธ์อนั
ดี ร ะหว่า งครู ผูส้ อนกับ ผูเ้ รี ย นกับ ไม่ ค วรที่ จ ะจับ ต้อ งอัล กุ ร อ่ า น นอกจากจะอยู่ใ นสภาพที่ มี น้ ํา
ละหมาดเท่านั้น นอกจากเด็กๆ ที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ( X = 4.08) มีมรรยาทที่ดีงามตามแบบฉบับ
ของท่านนบี ( X = 4.07) และผูเ้ รี ยนจําเป็ นต้องปฏิ บตั ิตามนัยแห่ งพระมหาคัมภีร์อลั กุรอาน เพื่อ
นํามาสู่ ความเชื่ อมัน่ ในเกียรติยศอันสู งส่ งของพระมหาคัมภีร์อลั กุรอาน ( X = 4.03) ส่ วนด้านด้าน
มารยาทผูเ้ รี ยนต่ออัลกุรอานและวิชาความรู ้ ของมุหมั มัด บิน สะหนูนที่น้อยที่สุด คือ ช่ วงเวลาที่ดี
ที่สุดในการศึกษาอัลกุรอานคือช่วงเช้า (เวลาดุฮา) จนถึงตะวันลับขอบฟ้ า ( X = 3.75)
282

ตารางที่ 24 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่ออัลลอฮุ ตามแนวคิด


ของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์

มารยาทของผู้เรียนต่ ออัลลอฮุ X SD ความหมาย


1. สร้างเจตนาที่ดี 4.21 1.01 มากที่สุด
2. มอบหมายการงานต่างๆต่อเอกองค์ 4.13 1.04 มากที่สุด
อัลลอฮ)
3. มีความสุ ขมุ รอบคอบและการรู ้จกั ยับยั้ง 4.13 1.05 มากที่สุด
ตนเองหรื ออัลวัรอฺ )‫)الورع‬
4. ละหมาดและอิบาดัตสุ นตั ต่างๆ 4.08 1.10 มากที่สุด
5. ชูกรู และรําลึกถึงอัลลอฮฺ 4.14 1.08 มากที่สุด
6. ขอดุอา 4.15 1.08 มากที่สุด
รวม 4.14 .93 มากทีส่ ุ ด

จากตารางที่ 24 พบว่า ครู อิส ลามศึ ก ษาที่ เป็ นกลุ่ ม ตัวอย่า งมี ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ
แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญียด์ า้ นมารยาทของผูเ้ รี ยนกับอัลลอฮุอยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.14) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนกับอัลลอฮุของ
บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ สร้างเจตนาที่ดี ( X = 4.21) ขอดุอา ( X =
4.15) และชูกรู และรําลึกถึงอัลลอฮฺ ( X = 4.14) ส่ วนด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนกับอัลลอฮุของบุรฮานุด
ดีน อัลซัรนูญียท์ ี่นอ้ ยที่สุด คือ ละหมาดและอิบาดัตสุ นตั ต่างๆ ( X = 4.08)
283

ตารางที่ 25 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อตนเอง ตามแนวคิด


ของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์

มารยาทของผู้เรียนต่ อตนเอง X SD ความหมาย


1. ใช้เวลาในการกระทําในสิ่ งที่ดีและการ 4.17 .97 มากที่สุด
ภักดีต่ออัลลอฮฺ
2. พยายามหลีกเลี่ยงจากจารยามารยาทที่ไม่ดี 4.13 1.00 มากที่สุด
3. พยายามลดความสัมพันธ์กบั โลกดุนยา 3.93 1.01 มาก
4. ทุ่มเทความพยายามอย่างพอดิบพอดีในการ 4.08 .97 มากที่สุด
เรี ยนไม่นอ้ ยและไม่มากเกินไปเพื่อมิให้เบื่อ
หน่ายและละทิ้งการเรี ยน
5. มีความกระตือรื อร้น 4.04 1.01 มากที่สุด
6. อดทนในการศึกษาหาความรู้ 4.08 .94 มากที่สุด
รวม 4.07 .86 มากทีส่ ุ ด

จากตารางที่ 25 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียด์ า้ นมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อตนเองอยูใ่ นระดับมาก
ที่สุด ( X = 4.07) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อตนเองของบุรฮา
นุ ดดี น อัล ซัรนู ญีย ์ใ นระดับ มาก 3 ลําดับแรก คื อ ใช้เวลาในการกระทํา ในสิ่ ง ที่ ดีและการภัก ดี
ต่ออัลลอฮฺ ( X = 4.17) พยายามหลีกเลี่ยงจากจารยามารยาทที่ไม่ดี ( X = 4.13) และทุ่มเทความ
พยายามอย่างพอดิ บพอดี ในการเรี ยนไม่น้อยและไม่มากเกิ นไปเพื่อมิให้เบื่ อหน่ ายและละทิ้งการ
เรี ยนกับอดทนในการศึกษาหาความรู ้ ( X = 4.08) ส่ วนด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อตนเองของบุรฮา
นุดดีน อัลซัรนูญียท์ ี่นอ้ ยที่สุด คือ พยายามลดความสัมพันธ์กบั โลกดุนยา ( X = 3.93)
284

ตารางที่ 26 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อสังคม ตามแนวคิด


ของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์

มารยาทผู้เรี ยนต่ อสั งคม X SD ความหมาย


1. สร้างความใกล้ชิดกับผูส้ อนและเพื่อนฝูง 4.05 .96 มากที่สุด
2. การถ่อมตนและให้เกียรติผสู ้ อน 4.05 1.01 มากที่สุด
3. ให้เกียรติลูกหลานของผูส้ อน 3.93 1.02 มาก
รวม 4.02 .88 มากทีส่ ุ ด

จากตารางที่ 26 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญียด์ า้ นมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อสังคมอยูใ่ นระดับมาก
ที่สุด ( X = 4.02) เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า ด้านมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อสังคมของบุรฮา
นุดดีน อัลซัรนูญีย ์ คือ สร้างความใกล้ชิดกับผูส้ อนและเพื่อนฝูงกับการถ่อมตนและให้เกียรติผสู ้ อน
( X = 4.05) และให้เกียรติลูกหลานของผูส้ อน ( X = 3.93) ตามลําดับ

ตารางที่ 27 ผลการวิเคราะห์ดา้ นผูเ้ รี ยน แยกเฉพาะด้านมารยาทของผู้เรี ยนต่อเพื่อนฝูง ตามแนวคิด


ของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์

มารยาทของผู้เรียนต่ อเพือ่ นฝูง X SD ความหมาย


1. พยายามห่างไกลจากการนินทาผูอ้ ื่นและ 4.04 .97 มากที่สุด
นัง่ ร่ วมกับผูท้ ี่ชอบพูดในเรื่ องที่ไร้สาระ
รวม 4.04 .97 มาก

จากตารางที่ 27 พบว่า ครู อิสลามศึ กษาที่ เป็ นกลุ่ มตัวอย่างมี ความเห็ นเกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญียด์ า้ นมารยาทของผูเ้ รี ยนต่อเพื่อนฝูงอยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.04) คือ พยายามห่ างไกลจากการนิ นทาผูอ้ ื่นและนัง่ ร่ วมกับผูท้ ี่ชอบพูดในเรื่ องที่
ไม่เป็ นสาระ ( X = 4.04)
285

6.2 ข้ อมูลเชิ งคุณภาพจากแบบสั มภาษณ์ เชิ งลึก (In-depth Interview)


ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากแบบสั มภาษณ์ เชิ งลึก
เป็ นการนําเสนอผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ขอ้ มูลจากการ ตอบแบบสัมภาษณ์
เชิ งลึ กของผูท้ รงคุ ณวุฒิโดยใช้การสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) ซึ่ งแบบ
สัมภาษณ์ มี 2 ข้อ ดังนี้ คือ
1.ท่ า นเห็ น ด้วยหรื อ ไม่ ก ับ ผลการวิเ คราะห์ ร ะดับ ความคาดหวัง ของครู ใ นการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม
2. ท่านมีขอ้ เสนอแนะหรื อแนวทางอย่างไรบ้างที่จะนําแนวคิดทางการศึกษาของ
มุหัม มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี นอัล ซัรนู ญีย ์มาประยุกต์ใช้ในโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม

ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ให้ สัมภาษณ์


จํานวนและตําแหน่งผูท้ รงคุณวุฒิที่ตอบแบบสัมภาษณ์ เชิ งลึก ดังปรากฏในตาราง
ที่ 28

ตารางที่ 28 จํานวนผูท้ รงคุณวุฒิ ผูต้ อบแบบสัมภาษณ์เชิงลึก


ตาแหน่ ง จานวน (คน) ร้ อยละ
ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดปั ตตานี 3 33.3
ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดยะลา 3 33.3
ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดนราธิ วาส 3 33.3
รวม 9 100

จากตารางที่ 28 พบว่าผูท้ รงคุณวุฒิที่ตอบแบบสัมภาษณ์ เชิ งลึ กมี จํานวน 9 คน


ประกอบด้วยผูบ้ ริ หารผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดปั ตตานีจาํ นวน 3 คน คิด
เป็ นร้อยละ 33.3 ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดยะลา จํานวน 3 คน คิดเป็ นร้อย
ละ 33.3 และ ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดนราธิ วาส จํานวน 3 คน คิดเป็ น
ร้อยละ 33.3
286

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ เชิงลึกจํานวน 2 ข้อดังนี้
ข้ อที่ 1.ท่านเห็นด้วยหรื อไม่กบั ผลการวิเคราะห์ระดับความคาดหวังของครู สอน
ศาสนาต่ อ การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ นวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หั ม มัด บิ น สะหฺ นู น และบุ ร ฮานุ ด
ดีนอัลซัรนู ญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผูท้ รงคุ ณวุฒิที่ตอบแบบสัมภาษณ์ เชิ งลึ กมี
ความเห็นในประเด็นดังกล่าวนี้ดงั ปรากฏในตารางที่ 29

ตารางที่ 29 ความเห็ นของผูท้ รงคุณวุฒิต่อผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิ งปริ มาณเกี่ยวกับระดับความ


คาดหวังของครู สอนศาสนาต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและ
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามทั้ง 5 ด้าน

ประเด็นแนวคิดทาง ค่ าเฉลีย่ เลข ระดับ ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ คิดเป็ นร้ อยละ


การศึกษา คณิต เห็นด้ วย ไม่ เห็นด้ วย
1.เป้ าหมายและ 3.99 มาก 6 3 66.6
วัตถุประสงค์ของ
การศึกษา
2.หลักสู ตร 3.92 มาก 6 3 66.6
3.กระบวนการเรี ยนการ 3.79 มาก 9 0 100
สอน
4.ผูส้ อน 3.92 มาก 9 0 100
5.ผูเ้ รี ยน 4.05 มากที่สุด 9 0 100

จากตารางที่ 29 พบว่า ผูท้ รงคุณวุฒิที่ตอบแบบสัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับผล


การวิเคราะห์ ข ้อมู ลเชิ งปริ มาณจากผูใ้ ห้ข ้อมูล หลักถึ ง ระดับความคาดหวังของครู ศาสนาต่อการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิ สลามทั้ง 5 ด้าน เมื่ อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า ผูท้ รงคุ ณวุฒิที่ตอบแบบ
สัมภาษณ์เชิงลึกทั้งหมดเห็นพ้องกันเฉพาะในผลวิเคราะห์ในด้านผูเ้ รี ยน ส่ วนในผลวิเคราะห์ในด้าน
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายของการศึกษา มีผทู้ รงคุณวุฒิที่ตอบแบบสัมภาษณ์เห็นด้วย จํานวน 6 คน
คิดเป็ นร้อยละ 66.6 และไม่เห็นด้วยจํานวน 3 คิดเป็ นร้อยละ 33.33 ส่ วน คนที่ไม่เห็นด้วยนั้น คือ
ไม่ เ ห็ น ด้ว ยเกี่ ย วเป้ าหมายและวัต ถุ ป ระสงค์ก ารศึ ก ษาที่ ว่า ด้ว ยเพื่ อ เกี ย รติ ย ศและศัก ดิ์ ศรี และ
287

วัตถุ ประสงค์การศึ กษาของอัลซัรนู ญียท์ ี่ ว่าด้วยเพื่อห่ างไกลจากโลกดุ นยาเห็ นว่า น่ าจะตํ่ากว่านี้


ส่ วนผลการวิเคราะห์ในเรื่ องของหลักสู ตร มีผทู้ รงคุณวุฒิที่ตอบแบบสัมภาษณ์เห็นด้วย จํานวน 6
คน คิดเป็ นร้อยละ 66.6 และไม่เห็นด้วยจํานวน 3 คิดเป็ นร้อยละ 33.33 สําหรับ คนที่ไม่เห็ นด้วย
คื อ ไม่ เห็ นด้วยกับ การจํา แนกระหว่า งวิช าบัง คับ กับ วิช าเลื อ กในส่ ว นหลัก สู ต รของอัล ซัรนู ญี ย ์
กล่าวคือเด็กทุกคนต้องเรี ยนรู ้วชิ าทั้งหมดที่เป็ นพื้นฐานของวิชาความรู ้ทวั่ ไป โดยให้ความคิดเห็นว่า
น่าจะได้ระดับตํากว่านี้

ข้อที่ 2 ท่านมีขอ้ เสนอแนะหรื อแนวทางอย่างไรบ้างที่จะนําแนวคิดทางการศึกษา


ของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียม์ าประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม

ตารางที่ 30 ข้อเสนอแนะของผูท้ รงคุณวุฒิเรี ยงตามลําดับความถี่ต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการ


ศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

ข้ อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ ความถี่
1.สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของ มุหมั 9
มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ ห้ผบู้ ริ หาร ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู้ อน และ
ผูเ้ รี ยน
2.จัดกิจกรรมต่างๆที่มุ่งสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของ มุหมั มัด 9
บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญี
3.จัดอมรมผูบ้ ริ หาร ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู้ อนและผูเ้ รี ยนให้เข้าใจแนวคิดทางการศึกษา 9
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
4.ผูบ้ ริ หารและครู รวมกันสร้างหลักสู ตร ที่เน้นแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน 8
สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
5.โรงเรี ยนต้องส่ งเสริ มในการเรี ยนรู้ตามแนวคิดของที่เน้นแนวคิดทางการศึกษาของ 7
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียอ์ ย่างเต็มที่
6.สร้างกระบวนการพัฒนาตรู ให้เป็ นไปตามเนื้ อหาของแนวคิดทางการศึกษาของ 6
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
7.การให้ชุมชน หรื อ หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทําหลักสู ตรที่เน้นแนวคิด 6
ทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
288

8.ศึกษาดูงานตามสถานศึกษาที่ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและ 5


บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
จัดนิเทศให้กบั ผูบ้ ริ หารและครู ผสู ้ อน 3
9.สร้างแรงจูงใจและมอบรางวัลให้กบั คุณครู ในการจัดการเรี ยนการสอนที่ที่เน้น 2
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
10.มีการประเมินครู เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ 1

จากตารางที่ 30 พบว่าผูท้ รงคุณวุฒิที่ตอบแบบสัมภาษณ์เชิ งลึกมีขอ้ เสนอแนะเกี่ยว


แนวทางในการประยุ ก ต์ ใ ช้ แ นวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หั ม มัด บิ น สะหฺ นู น และบุ ร ฮานุ ด
ดีนอัลซัรนู ญียม์ าประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามว่า การสร้างความรู้ความเข้าใจ
และความตระหนัก เกี่ ย วกับ แนวคิ ดทางการศึ ก ษาของ มุ หัม มัด บิ น สะหฺ นู น และบุ ร ฮานุ ด ดี น
อัลซัรนูญียใ์ ห้ผบู้ ริ หาร ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู ้ อน และผูเ้ รี ยน การจัดกิจกรรมต่างๆที่มุ่งสร้างความเข้าใจ
เกี่ ยวกับแนวคิ ดทางการศึ กษาของ มุ หัมมัด บิ น สะหฺ นูนและบุ รฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญีย ์ จัดอมรม
ผูบ้ ริ หาร ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู้ อนและผูเ้ รี ยนให้เข้าใจแนวคิดทางการศึกษามุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและ
บุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญี ย ์ เป็ นข้อเสนอแนะที่ มี ความถี่ มากที่ สุ ด รองลงมาคือ ผูบ้ ริ หารและครู
รวมกัน สร้ า งหลัก สู ต ร ที่ เ น้น แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หัม มัด บิ น สะหฺ นู นและบุ รฮานุ ดดี น
อัลซัรนูญีย ์ โรงเรี ยนต้องส่ งเสริ มในการเรี ยนรู ้ตามแนวคิดของที่เน้นแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั
มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญียอ์ ย่างเต็มที่ การให้ชุมชน หรื อ หน่วยงานเข้ามามีส่วน
ร่ วมในการจัดทําหลักสู ตรที่เน้นแนวคิ ดทางการศึ กษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุ รฮานุ ดดี น
อัลซัรนูญีย ์ อีกทั้ง มีการศึกษาดูงานตามสถานศึกษาที่ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ
นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์ และมีการประเมินครู เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้

6.3 ผลการวิเคราะห์ จากการสนทนากลุ่ม


จากการสนทนากลุ่มผูท้ รงคุณวุฒิที่มาจากนักวิชาการ ตัวแทนจากสมาคมโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม สมาคมเครื อข่ายโรงเรี ยนคุ ณภาพอัสสลาม และตัวแทนจากสํานักงาน
คณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษาเอกชน จํานวน 8 คน มีผลสรุ ปตามประเด็นแบบคําถามในการ
สนทนากลุ่มดังต่อไปนี้
289

ประเด็นที่ 1 ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อผลการวิเคราะห์ ระดับความคาดหวัง


ของครู สอนศาสนาต่ อการประยุกต์ ใช้ แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺนูนและบุรฮานุ ด
ดีนอัลซัรนูญยี ์ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

1.1 จํานวนของครู สอนศาสนาอิสลาม


จากกลุ่ มผูท้ รงคุ ณวุฒิ พบว่า เห็ นด้วยกับผลที่ได้สรุ ปออกมา จํานวนเพศหญิงจะ
มากกว่าจํานวนเพศชายในกลุ่มของครู สอนศาสนาอิสลาม เพราะปั จจุบนั นี้ มีผหู ้ ญิงเยอะกว่าผูช้ าย
ซึ่ งไม่แปลกในการที่ครู ผหู ้ ญิงมีจาํ นวนมากกว่า สังเกตเห็นได้วา่ ทุกโรงเรี ยนไม่วา่ เป็ นโรงเรี ยนของ
รัฐหรื อโรงเรี ยนของเอกชนล้วนเต็มไปด้วยครู ผหู ้ ญิงมากกว่าผูช้ ายเป็ นเรื่ องปกติที่เกิดขึ้นในปั จจุบนั
แล้วอีกอย่างเพศหญิงจะรักและสนใจในด้านการศึกษามากกว่าเพศชาย

1.2 ประสบการณ์และอายุของครู สอนศาสนาอิสลาม


พบว่า ผูท้ รงคุ ณวุฒิเห็ นด้วยอย่า งยิ่งกับผลที่ ออกมา โดยส่ วนใหญ่แล้วครู สอน
ศาสนาอิสลามจะมีอายุอยูใ่ นช่วงวัยกลางคน อายุ 21-40 ปี เพราะโดยส่ วนใหญ่แล้วครู สอนศาสนา
อิสลามจะเรี ยนช้ากว่าปกติและเรี ยนอย่างละเอียด พร้อมสะสมประสบการณ์ โดยส่ วนใหญ่แล้วครู
สอนศาสนาอิสลามสอนโดยใช้หนังสื อและประสบการณ์ ควบคู่กนั ไป แต่ในปั จจุบนั นี้ เทคโนโลยี
สามารถที่จะร้นระยะเวลาในการให้ครู หาประสบการณ์จากช่องทางอื่นด้วยเช่นกัน ซึ่ งอาจจะไม่ตอ้ ง
ใช้เวลาเป็ นจํานวนมากหรื อใช้เวลานานในการสะสมประสบการณ์
โดยภาพรวมเกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูนและบุรฮานุ ด
ดี นอัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลาม ผลการวิเคราะห์เกี่ ยวกับ
แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหนู นและบุ รฮานุ ดดี นอัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ใน
โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โดยภาพรวม ผูเ้ ชี่ ยวชาญมี ความเห็ นว่า ประเด็นด้านผูเ้ รี ยน
สําคัญที่ สุด ผูท้ รงคุ ณวุฒิเห็ นด้วย เพราะว่าผูเ้ รี ยน คือ บุคคลที่ เป็ นกําลังของชาติให้เป็ นมนุ ษย์ที่มี
ความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในการเป็ นพลเมืองที่ดี โดยเน้นนักเรี ยนเป็ น
สําคัญบนพื้นฐานความเชื่ อที่ว่า ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ ส่ วนด้าน
เป้ าหมายและวัตถุ ประสงค์ของการศึ กษานั้นก็เห็ นด้วย เนื่ องจากว่า เป็ นหลักสู ตรแกนกลางใน
การศึกษาที่มุ่งพัฒนานักเรี ยนให้เป็ นคนที่มีศรัทธามัน่ มีความจงรักภักดีต่ออัลลอฮ สุ บหานะฮุ วะตะ
อาลา มีบุคลิกภาพตามแบบอย่างของนบีมุฮมั มัด  มีความสมดุลด้านความรู้ คุณธรรม จริ ยธรรม มี
จิตสํานึ กในความเป็ นพลเมืองที่ ดีเพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคม ก่ อให้เกิ ดสันติสุขทั้งใน
โลกนี้และโลกหน้า
290

1.3 เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา


เห็นด้วยกับผลที่ได้ คือ การศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหนูน ในด้านเป้ าหมายและ
วัตถุ ประสงค์ของการศึ กษานั้นส่ วนใหญ่แล้วจะเน้นในเรื่ องของการยึดมัน่ ในศาสนาและจรรยา
มารยาทที่ดีงาม เพราะว่าศาสนาอิ สลามถื อว่าศาสนาเป็ นหลัก ศาสนาเป็ นใหญ่ ซึ่ งมุ สลิ มมีความ
ภาคภูมิใจในความเป็ นมุสลิมที่ดี มีระเบียบวินยั มีความซื่ อสัตย์สุจริ ต อดทน เสี ยสละเพื่อส่ วนรวม
เห็ นคุ ณค่าของตนเอง สามารถสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเพื่อนมนุ ษย์ ให้อยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยความสันติสุข ดังคํากล่าวที่วา่ เพื่อสร้างประชาชาติ(อุมมะฮ์)ที่ดีดงั ดํารัสของอัลลอฮ์ ความว่า
พวกเจ้านั้นเป็ นประชาชาติที่ดียิ่งซึ่ งถูกให้อุบตั ิข้ ึนสําหรับมนุ ษยชาติโดยที่พวกเจ้าใช้ให้ปฏิบตั ิสิ่งที่
ชอบ และห้ามมิให้ปฏิบตั ิสิ่งที่มิชอบ (อัลกุรอาน 3 :110) มีมารยาทที่ดีงามต่อเพื่อนและมารยาทที่ดี
งามในการดํารงตนอยูใ่ นสังคมอย่างดี ซัยยิดนากิบ อัลอัตตาส กล่าวว่าการศึกษามีวตั ถุประสงค์เพื่อ
ผลิ ตกัลญาณชน มนุ ษย์ที่ดีมีคุ ณธรรม(ศอลิ ห)นั้นคื อบุ ค คลที่ มีจรรยามารยาทอันงดงาม(อะดับ )
ส่ วนแนวคิ ดทางการศึ ก ษาของบุ รฮานุ ดดี น อัล ซัรนู ญีย ์ใ นด้า นเป้ าหมายและวัตถุ ประสงค์ ของ
การศึกษา พบว่า เห็ นด้วย เพื่อการยําเกรงต่ออัลลอฮุ และเพื่อตอบแทนพระคุณของอัลลอฮ อย่างที่
ได้กล่าวข้างต้นว่าการที่ครู สอนศาสนาอิสลามนั้นเป็ นการที่ให้นกั เรี ยนรู ้จกั อัลออฮและรู ้จกั ทุอย่างที่
เป็ นอิสลามไม่วา่ เป็ นทางด้านศรัทธาหรื อปฏิบตั ิทุกอย่างล้วนอยูใ่ นแนวทางของอัลลอฮ

1.4 ด้านหลักสู ตรการศึกษา


ครู อิ ส ลามศึ ก ษาที่ เ ป็ นกลุ่ ม ตัว อย่า งมี ค วามเห็ น เกี่ ย วกับ แนวคิ ด ด้า นหลัก สู ต ร
การศึ ก ษาของมุ หัม มัด บิ น สะหนู น อย่า งมาก คื อ การบัง คับ ผูเ้ รี ย นต้องศึ ก ษาอัล กุ ร -อาน และ
หลัก สู ตรมาจากการบู ร ณาการระหว่า งความรู ้ ท างโลกดุ น ยาและอาคิ เราะห์ ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่
โรงเรี ยนที่สอนศาสนาควบกับสามัญจะเน้นในเรื่ องของศาสนามากกว่าสามัญ ตรงนี้ จะเป็ นจุดเด่น
ของโรงเรี ยนซึ่ งโรงเรี ยนรัฐไม่มีในส่ วนนี้ เป็ นการเรี ยนรู ้ถึงโลกก่อนหน้านี้ โลกปั จจุบนั และโลก
ในอนาคต แต่ความจริ งการศึกษาในทัศนะอิสลามเป็ นการศึกษาแบบบูรณาการทั้งวิชาศาสนาและ
วิชาการเข้าด้วยกันอย่างมีกฏเกณฑ์ และทั้งสองระบบจะแยกออกจากกันไม่ได้ ไม่ควรมีการแยก
วิชาศาสนาออกจากวิชาสามัญหรื อแยกวิชาสามัญออกจากวิชาศาสนา เพราะตามทัศนะอิสลาม
นั้น ไม่ได้หมายถึ งการศึกษาวิชาอัลกุรอานหรื อวิชาศาสนบัญญัติเพียงอย่างเดี ยว แต่หมายถึ ง
การศึกษาทุกสาขาวิชาที่สอนตามทัศนะของอิสลาม แต่การแยกวิชาศาสนาและวิชาสามัญออกจาก
กันนั้นเริ่ มขึ้นในศตวรรษที่ 19-20 แห่ งคริ สตกาล เมื่อประเทศมุสลิมตกเป็ นอาณานิ คมของชาติ
ตะวันตก ส่ วนครู อิสลามศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดด้านหลักสู ตรการศึกษา
ของบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญีย ์ นั้น เป็ นเรื่ องเกี่ ยวกับความรู ้ ที่เกี่ ยวกับการอิบาดาต ความรู ้ ที่เกี่ ยวกับ
291

สังคม เช่น การซื้ อขาย การแต่งงาน เป็ นต้น ความรู ้ที่เกี่ยวกับจิตใจ เช่น การยําเกรง ความรู ้ที่เกี่ยวกับ
จรรยามารยาท และการถ่อมตนต่อเอกอัลลอฮฺ ซึ่ งรายวิชาเหล่านี้ จะเป็ นการบังคับในรายวิชาที่ตอ้ ง
จัดให้มีการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยน

1.5 ด้านกระบวนการเรี ยนการสอน


ผูท้ รงคุณวุฒิเห็นว่าครู อิสลามศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นเกี่ยวกับแนวคิด
ทางการศึ กษาของมุ หัมมัด บิ น สะหนู น พบว่า จะเน้นการสอนแบบบรรยาย ซึ่ งเป็ นการสอนที่
ผูเ้ รี ยนรั บฟั งและสามารถถามได้ บางครั้ งผูส้ อนมี งานให้กลับไปทํา มีการเขี ยนแต่ส่วนน้อยมาก
ส่ วนใหญ่นงั่ ฟั งพอให้รู้ ซึ่ งเป็ นการสอนแบบเดิ มในอดี ต ทั้งๆที่โลกปั จจุ บนั มี ความเปลี่ ยนแปลง
เกิดขึ้นอย่างมากมายแต่เราก็ยงั คงไว้ในการสอนแบบบรรยาย

1.6 ด้านผูส้ อนและผูเ้ รี ยน


ผูท้ รงคุ ณวุฒิท้ งั หมดเห็ นด้วยกับผลการวิเคราะห์ในความคาดหวังในด้านผูส้ อน
และผูเ้ รี ยน

ประเด็นที่ 2 ข้ อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิเกีย่ วกับแนวทางการประยุกต์ ใช้ แนวคิด


ทางการศึ ก ษาของของมุ หัม มั ดบิ นสะหฺ นูนและบุ รฮานุ ดดี นอัล ซั รนู ญีย์ในโรงเรี ยนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลาม
2.1 แนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและ
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

1.สร้างความตระหนักและให้ความสําคัญในเรื่ องแนวคิดทางการศึกษาในอิสลาม
ผูท้ รงคุณวุฒิเห็นพ้องต้องกันว่า โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัด
ชายเดนภาคใต้ยงั ขาดการสร้างความตระหนักและให้ความสําคัญในเรื่ องแนวคิดทางการศึกษาใน
อิสลามของนักคิดมุสลิมเป็ นอย่างมากโดยเฉพาะแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและ
บุรฮานุ ดดี นอัล ซัรนู ญีย ์ซ่ ึ ง เป็ นสาเหตุ สําคัญที่ ท าํ ให้โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามในสาม
จังหวัดชายเดนภาคใต้ไม่ได้นาํ แนวคิดทางการศึกษาในอิ สลามมาประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชน
สอนศาสนาอิสลามตามที่ควรจะเป็ น ความเห็นนี้ สอดคล้องกับผลการสัมภาษณ์ เชิ งลึกผูท้ รงคุณวุฒิ
อีกกลุ่มหนึ่ งซึ่ งมีความเห็ นมากที่ สุ ดว่าแนวทางในการนํามาประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และ บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ คือ สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก
292

เกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึก ษาของ มุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญียใ์ ห้ผูบ้ ริ หาร
ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู้ อน และผูเ้ รี ยน ดังนั้นจึงจําเป็ นจะต้องความตระหนักและให้ความสําคัญในเรื่ อง
แนวคิดทางการศึกษาในอิสลามกับผูบ้ ริ หาร ครู ผสู ้ อน และนักเรี ยนด้วย

2.สร้างความร่ วมมือในการจัดการเรี ยนการสอนระหว่างชุมชนกับโรงเรี ยน


ผูท้ รงคุ ณวุฒิ ส่ วนใหญ่เห็ นว่า ในการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการ
ศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
คือการมี ส่วนร่ วมในการจัดการเรี ยนการสอนระหว่างชุ มชนกับโรงเรี ยนเพราะทุ กฝ่ ายเป็ นหัวใจ
หลักในการจัดการศึกษาโดยเฉพาะพ่อแม่ผปู ้ กครอง

3.ให้ ค รู ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในเรื่ องแนวคิ ด ทางการศึ ก ษาในอิ ส ลามมี ส่ ว น


รับผิดชอบในการสร้างหลักสู ตร
ผูท้ รงคุ ณวุฒิเห็ นว่า โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ยงั ขาดครู ที่มีความเชี่ยวชาญด้านแนวคิ ดทางการศึกษาในอิสลามร่ วมในการสร้ างหลักสู ตร
เพราะฉะนั้น การส่ วนร่ วมของครู ที่มีความเชี่ ยวชาญในเรื่ องแนวคิดทางการศึ กษาอิสลามในการ
สร้ างหลักสู ตรจะทําสามารถกําหนดทิศทางของหลักสู ตรได้โดยเฉพาะตามแนวคิดทางการศึกษา
ของนักคิดมุสลิมสองท่านคือ มุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์

4.สร้างหลักสู ตรบูรณาการระหว่างศาสนาและสามัญ
ผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว่ า การจัด การเรี ยนการสอนโดยใช้ ส องหลัก สู ต รนั้น ทํา ให้
โรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จะประสบปั ญหาใน ด้าน
งบประมาณ การบริ หารจัดการ และบุคลากร ดังนั้น การบูรณาการหลักสู ตรจึงมีความเหมาะสม
อย่างยิง่ สําหรับโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพราะจะช่วย ลด
จํานวนครู ผูส้ อน และมีงบประมาณเพียงพอในการพัฒนาอาคารสถานที่ และการบริ หารจัดการ
ตลอดจนผูเ้ รี ยนมีเวลาในการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองมากยิ่งขึ้น และยังสามารถเดินตามแนวทาง
แนวคิ ดทางการศึ ก ษาของมุ หัม มัด บิ น สะหฺ นูน และบุ รฮานุ ดดี นอัล ซัรนู ญีย ์ที่ เป็ นแนวคิ ดทาง
การศึกษาที่เน้นหลักสู ตรบูรณาการ
293

5.โรงเรี ยนสร้างนโยบายที่จะนําแนวคิดทางการศึกษาในอิสลามมาใช้
ผูท้ รงคุณวุฒิเห็นว่า มุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญียก์ ารที่จะนํา
แนวคิ ดทางการศึ ก ษาของมุ หัม มัด บิ น สะหฺ นูน และบุ รฮานุ ดดี น อัล ซัรนู ญีย ์ มาประยุก ต์ใ ช้ใ น
โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมันมีส่วนเกี่ยวข้องกับนโยบายโรงเรี ยน เพราะฉะนั้นโรงเรี ยน
ต้องกําหนดนโยบายที่จะมาเป็ นแนวทางในการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน
สะหฺ นูน และบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ ห้ชดั เจน

6.มีการประชุมติดตามอย่างต่อเนื่อง
ผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว่ า หลัง จากได้มี ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้ แ นวคิ ด ทางการศึ ก ษาของ
มุหัมมัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามผูบ้ ริ หาร
ต้องจัดให้มีการประชุมติดตามผลอย่างต่อเนื่องเพื่อสามารถแก้ไขในสิ่ งที่ผิดพลาดและพัฒนาเพื่อให้
เกิดความสมบูรณ์ทางด้านการเรี ยนการสอนต่อไป
297

บทที่ 7
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การวิ จ ั ย เรื่ อง “แนวคิ ด ทางการศึ กษาของมุ หั ม มั ด บิ น ส ะ หฺ นู นแล ะ


บุ รฮานุ ดดี นอัล ซัรนู ญียก์ ับการประยุก ต์ใช้โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลาม”เป็ นการวิจยั เชิ ง
ประยุกต์โดยเก็บข้อมูลทั้งคุณภาพและปริ มาณ

วัตถุประสงค์ การวิจัย

1. เพื่อศึกษาชีวประวัติของอิบนุสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรณูญีย ์
2. เ พื่ อ ศึ ก ษ า แ น ว คิ ด ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง มุ หั ม มั ด บิ น ส ะ หฺ นู น แ ล ะ
บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์
3. เพื่อศึกษาระดับความคาดหวังของครู สอนศาสนาอิสลามต่อการประยุกต์ใช้
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลาม
4. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการประยุก ต์ใ ช้ แ นวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมัหัม มัด บิ น
สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรณูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

ระเบียบวิธีวจิ ัย
งานวิจยั เรื่ องนี้ เป็ นการวิจยั ที่ผสมผสานระหว่างการวิจยั เชิ งคุณภาพ (Qualitative
Research) กับการวิจยั เชิงปริ มาณ โดยแบ่งเป็ น 3 ตอน ดังนี้คือ
ตอนที่ 1 เป็ นการวิจยั เอกสาร (Documentary Research) โดยเก็บข้อมูลจากเอกสาร
ปฐมภูมิ (Primary Sources) ซึ่ งประกอบด้วยตาราอาดาบุ ลมุอลั ลิมีน ของอิบนุ สะหฺ นูนและตารา
ตะอฺ ลีมุลมุตะอัลลิมเตาะรี กอตตะอัลลุมของอัลซัรนูญียแ์ ละเอกสารทุติยภูมิ (Secondary Sources) ที่
เกี่ยวข้องกับงานวิจยั ที่เน้นการวิเคราะห์เกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของท่านมุหมั มัด บิน สะหฺ นุน
และบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
ตอนที่ 2 เป็ นการเก็บข้อมูลเชิ งปริ มาณ จากภาคสนาม โดยใช้แบบสอบถามกับ
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักที่เป็ นครู สอนศาสนาอิ สลามในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามขนาดใหญ่ใน
จังหวัดปั ตตานี เขต เพื่อมุ่งศึกษาระดับความคาดหวังต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ประชากร
298

ที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ ครู อิสลามศึกษา ในโรงเรี ยนเอกชนขนาดใหญ่ ในระบบ ประเภทสอน


ศาสนาควบคู่วิชาสามัญ สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปั ตตานี จานวนโรงเรี ยนทั้งหมด
21โรง มีประชากรทั้งหมด 906 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ ครู อิสลามศึกษาใน
โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดปัตตานี รวมทั้งสิ้ น 278 คน
ตอนที่ 3 เป็ นการวิจยั ภาคสนามเชิงคุณภาพ (Field Work Research) โดยเก็บข้อมูล
จากผูบ้ ริ หาร และหัว หน้า ฝ่ ายวิช าการของโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามในสามจัง หวัด
ชายแดนภาคใต้ โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indept Interview)และสนทนากลุ่ม (Focus Group
Discussion: FGD) กับผูท้ รงคุ ณวุฒิ แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ มาเป็ นแนวคิ ดทาง
การศึกษา
การสั มภาษณ์แบบเจาะลึก
ผูว้ จิ ยั ได้คดั เลือกผูใ้ ห้ขอ้ มูลแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกจาก
ผูบ้ ริ หาร และหัวหน้าฝ่ ายวิชาการของโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้

ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
ประชากรและกลุ่ ม ตัวอย่า งในการศึ ก ษาครั้ งนี้ ไ ด้แก่ ผูบ้ ริ หารและหัวหน้า ฝ่ าย
วิชาการในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดปั ตตานีจานวน 9 คน

การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)


ผูว้ ิจยั ใช้กลุ่มตัวอย่างผูท้ รงคุ ณวุฒิ ที่ไม่ใช่ เป็ นคนเดี ยวกับกลุ่มผูใ้ ห้การสัมภาษณ์
เชิงลึก จานวน 8 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการบริ หารสมาคมโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้แต่ละจังหวัด จังหวัดละ 1 คน รวม 3 คน ผูท้ ี่มีวุฒิปริ ญญาเอกในสาขาที่
เกี่ ย วกับ อิ ส ลามศึ ก ษาหรื อ มี ต าแหน่ ง ทางวิ ช าการที่ เ กี่ ย วกับ อิ ส ลามศึ ก ษาจ านวน 3 คน และ
คณะกรรมการสมาคมเครื อข่ายโรงเรี ยนคุณภาพอัสสาลามจานวน 3 คน

เครื่องทีใ่ ช้ ในการวิจัยครั้งนี้
1.เอกสารและตาราที่เป็ นแหล่งข้อมูลหลัก คือ ตารา อาดาบ อัลมุอลั ลิมีน ‫(آداب‬
(‫املعلمني‬ของท่านมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและตารา ตะอฺ ลีม อัลมุตะอัลลิม เตาะรี กอ อัตตะอัลลุม ‫(تعليم‬
(‫ املتعلم طريق التعلم‬ของท่านบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญีย ์ และแหล่งข้อมูลเสริ ม เป็ นเอกสารและตาราที่
299

เกี่ยวข้องกับมุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญีย ์ และแนวคิดทางการศึกษาของท่าน


ทั้งสอง
2. แบบสอบถาม เกี่ ย วกับ ระดับ ความคาดหวัง ของครู อิส ลามศึ ก ษาต่ อการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม
3.แบบแนวคาถามเพื่อการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interviews)
4.แบบแนวคาถามเพื่อการจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)

7.1 สรุ ปผลการวิจัย

ข้อค้นพบจากการวิจยั ได้ตอบคาถามวิจยั ตามวัตถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้


1. ข้อค้นพบเพื่อตอบคาถามตามวัตถุ ประสงค์ของการวิจยั ข้อที่ 1 ว่าเพื่อศึกษา
ชีวประวัติของอิบนุสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรณูญีย ์ ดังนี้

ชีวประวัติของมุหัมมัด บิน สะหฺนูน


มุหมั มัด อิบนุ สะหฺ นุน คือ อบูอบั ดิลลาฮฺ มุหมั มัด บิน อบี สะอีด สะหฺ นูน บิน สะ
อีด บิน หะบีบ บิน หิ สาน บิน ฮิลาล บิน บักการ บิน เราะบีอะฮฺ อัตตะนูคีย(์ almaliki :1994:318) ปู่
ของเขาได้อพยพมาพร้ อมๆกับทหารของเมืองหัมศ์(‫)محص‬1ไปยังเมืองมัฆรี บในการเข้าพิชิตเมือง
ดัง กล่ า ว ท่ า นมุ หัม มัด อิ บ นุ สะหฺ นูนเกิ ด ในปี ฮ.ศ. 202 ในบ้า นที่ เต็ม ไปด้วยวิช าความรู ้ เกิ ด ที่
หมู่บา้ น เฆาะดัตในเมืองกอยเราะวานซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นหนึ่งที่มีการแพร่ ขยายของมัซฮับ มาลิกีย ์
อาจารย์ท่านแรกของอิ บนุ สะหฺ นูน คื อบิ ดาของท่านเอง ท่านได้ศึกษาอัลกุรอาน
และได้มีการสนทนากับบิดาของท่าน ในเรื่ องราวต่างๆของศาสนา และท่านก็ได้อ่านหนังของบิดา
ของท่าน โดยผูค้ นจะรับฟั งท่านอ่านหนังสื อของบิดาของท่านก่อนที่บิดาของท่านจะออกมาสอน
และหลังจากที่บิดาของท่านได้ออกมาสอนท่านก็จะร่ วมนัง่ กับผูค้ นในการศึกษาหาความรู ้ อิบนุ
สะหฺ นูนได้ศึกษาหาความรู ้ จากนักปราชญ์ชาวแอฟรี กาที่ มีชื่อเสี ยงมาก เช่ น มูซา บิ น มุอาวิยะฮฺ
อัสเศาะมาดิหีย ์ อิบนุสะหฺ นูนได้เสี ยชี วิตแทบชายฝั่งประเทศตูนิเซี ยในปี ฮ.ศ.256 หลังจากบิดาของ
ท่านได้เสี ยชีวติ 6 ปี และได้ฝั่งศพในเมืองก็อยเราะวาน

1
เมืองหัมศ์ต้ งั อยูใ่ นภาคกลางของประเทศซีเรี ยเป็ นเมืองที่สามทีสาคัญทีสุดของประเทศซี เรี ยซึ่ งสมัยปกครองโดย
ชาวโรมันก่อน2300ค.ศ. เมืองหัมศ์ถูกเรี ยกว่าเมืองอะมีสา
300

ชี วประวัติของบุรฮานุดดีนอัซซัรนูญยี ์
เชื้อสายและวงศ์ ตระกูล
คาว่า ซัรนู ญีย ์ มาจากคาว่า ซัรนูจ ซึ่ งเป็ นชื่ อหนึ่ งของเมืองในเปอร์ เซี ย เมืองหลวง
ของแคว้น อัซซะจีสฐานในสมัยก่อน(Al-bagdadi: 1979:138) ยากูต อัลหะมาวียไ์ ด้กล่าวในหนังสื อ
มุอฺญมั อัลบุลดาน (‫ (معجم البلدان‬ว่าเมือง ซัรนู จ คือเมืองที่มีชื่อเสี ยงตั้งอยูหลังแม่น้ าหนึ่ งหลังจาก
เมืองคูญนั ด์คือตั้งอยูห่ ลังแม่น้ า ญีหูน(อามูดาร์ ยา(ในเคาะรอสาน และบุคคลแรกที่ได้ส่งกองทัพเพื่อ
พิชิตเมืองดังกล่าว คือ หัจญาจ บิน ยูยุฟอัสสะกอฟี ย์ดว้ ยคาสั่งของท่านเคาะลีฟะฮฺ อบั ดุ ลมาลิ ก บิน
มิรวาน(เสี ยชีวติ ฮ.ศ. 86(

การถือกาเนิด
หนังสื อประวัติศาสตร์ และหนังสื อ อัตเฏาะบากอตและหนังสื ออัตตะรอญุม ไม่ได้
ระบุ ถึงวันเดื อนปี เกิ ดของท่านอัซซัรนู ญีย ์ แต่ปีการเสี ยชี วิตของท่านมี การถกเถี ยงในบรรดานัก
ประวัติศาสตร์ ในการกาหนดวันเดื อนปี ที่เสี ยชี วิตของท่านส่ วนในหนังสื อ ที่ได้ทาการตะหฺ กีกโดย
ท่าน อุษมาน ได้ระบุวา่ ท่านอัซซัรนูญียื ได้เสี ยชีวติ ในปี ที่ ฮ.ศ.591(az-zarnuji:1397:25)และได้มีการ
ระบุ ใ นบางหนัง สื อประวัติศาสตร์ ว่า ท่านได้เสี ยชี วิตในปี ที่ ฮ.ศ. 620 เช่ นหนัง สื อ อัลญะวาฮิ ร
อัล มุ ฎี อ ะห์ ( ‫( اجلاجل اجليجلجلر اجلملجل ي لجلجلل ر‬และหนั ง สื อ ( ‫( دجلاجلاجلجلررجل اجلملجلجلع جلجل جل اجل جل مجلجلي‬ได้ ก ล่ า วว่ า อิ
มามอัซซัรนูญีย ์ ได้ร่วมสมัยและรุ่ นเดียวกับท่านอันนุอฺมาน บิน อิบรอฮีม อัซซัรนูญีย ์ ซึ่ งเสี ยชี วิตใน
ปี ที่ ฮ.ศ.640
2. ข้อค้นพบเพื่อตอบคาถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั ข้อที่ 2 ว่าเพื่อศึกษา
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูน แฃะบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์

แนวคิดทางการศึกษาของอิบนุสะหฺนูน
เป้าหมายของการศึกษา
เป้ าหมายของการศึกษาตามแนวคิดของท่าน อิบนุสะหฺ นูน มีดงั นี้
1) เพื่อยึดมัน่ ในศาสนา
2) เพื่อเผยแพร่ ความรู ้ทางศาสนา
3) เพิ่มพูนในวิชาความรู ้
4) เพื่อเกียรติยศและศักดิ์ศรี
5) เพื่อแสวงหาปัจจัยยังชีพ
6) เพื่อมารยาทที่ดีงาม
301

หลักสู ตรการเรียนการสอน
อิบนุ สะหฺ นูนได้จาแนกหลักสู ตรการเรี ยนการสอนออกเป็ น สอง ประเภท คือ
1) ประเภทวิชาบังคับ 2) ประเภทวิชาเลือก
ส่ วนในประเภทวิช าบัง คับ คื อ วิช าอัล กุ ร อาน ถื อ ว่า ทุ ก คนมี ค วามจาเป็ นต้อ ง
ศึกษาอัลกุรอาน
ประเภทวิชาเลือกในทัศนะของอิบนุสะหฺ นูนมีรายวิชาดังนี้
1.คณิ ตศาสตร (จาเป็ นต้องเรี ยน(
2.กวี คาแปลก ภาษาอาหรับและการเขียน
3.หลักไวยกรณ์อาหรับ

กระบวนการเรียนการสอน
กระบวนการเรี ยนการสอนตามแนวคิดของท่านอิบนุสะนูน คือ
1( วิธีสอนแบบบรรยาย
2) วิธีสอนแบบอภิปราย
3) วิธีสอนแบบท่องจา
4) วิธีสอนแบบร่ วมมือ
5) การสอนแบบค่อยเป็ นค่อยไปที่ละขั้น
6) ให้ความแตกต่างระหว่างบุคคล
7) การสอนแบบการใช้สื่อการเรี ยนการสอน
8) การสอนแบบทัศนศึกษา
9) การให้ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยน
10) การสร้างความเป็ นมิตร
11( ฝึ กฝนปฏิบตั ิ
12( การสอนแบบตัรฆีบและตัรฮีบ

ผู้สอน
คุณลักษณะทางด้านวิชาชีพของผูส้ อน
1) ดูแลและให้ความสาคัญผูเ้ รี ยนโดยเฉพาะในช่วงแยกย้ายจากสถานศึกษากลับไป
ที่บา้ น) และควรตรวจสอบว่าเด็กกลับถึงบ้านหรื อไม่ แล้วหรื อยัง
2) ในช่วงที่ผเู ้ รี ยนขาดเรี ยนผูส้ อนควรติดต่อกับผูป้ กครองเด็ก
302

3) ผูส้ อนควรสละเวลากับการสอนอย่างเต็มที่เพราะจะทาให้ภาระหน้าทีการสอน
จะได้เดินไปด้วยดีและสมบูรณ์
4) ผูส้ อนห้ามดาเนิ นภารกิจหรื อกิจการใดๆที่ไปรบกวนกิจการการสอนนอกจาก
ในเวลาที่ไม่มีการเรี ยนการสอน
5) ไม่ควรที่จะกาชับให้คนหนึ่ งคนใดไปช่ วยสอน นอกจากว่ามันจะให้ประโยชน์
กับผูเ้ รี ยน
6) ผูส้ อนไม่ควรที่จะสั่งใช้ผเู ้ รี ยนไปรับใช้ในความต้องการส่ วนตัวของผูส้ อน
7) ผูส้ อนไม่ควรที่จะสอนอัลกุรอานและตารับตาราให้กบั บุตรของชาวคริ สตร์
8) ผูส้ อนผูช้ ายไม่ควรที่จะสอนผุเ้ รี ยนผูห้ ญิง ไม่ควรที่จะรวมเรี ยนระหว่างผูห้ ญิง
กับผูช้ าย
9) ผูส้ อนสามารถที่จะร่ ารวยได้แต่ไม่ใช่อาศัยความร่ ารวยจากผูเ้ รี ยน
10) ไม่ ค วรที่ จะให้ผูเ้ รี ย นศึ ก ษากับ ผูเ้ รี ย นด้ว ยกันนอกจากด้ว ยการอนุ ญาตจาก
ผูป้ กครอง หรื อ บ้านของผูเ้ รี ยนอยูใ่ กล้กนั
11) ในขณะที่มีการเรี ยนการสอนไม่ควรที่จะทิง้ ภาระหน้าที่ดว้ ยการไปละหมาดศพ
(ละหมาดญินาซะฮฺ(
12) ผูส้ อนไม่ควรที่จะให้ผเู ้ รี ยนขาดเรี ยนนอกจากด้วยการอนุญาตจากผูป้ กครอง
13) ผูส้ อนไม่ควรที่ จะเขี ยนหรื ออ่านในขณะที่ มีการเรี ยนการสอนนอกจากหลัง
เสร็ จภาระกิจการเรี ยนการสอน
14) มีความรู ้เกี่ยวกับวิธีการสอน

คุณลักษณะของผู้สอนทางด้ านด้านวิชาความรู้
คุณลักษณะของผูส้ อนทางด้านด้านวิชาความรู้มีดงั นี้
1( ท่องจาอัลกุรอานโดยสามารถรู ้หุก่มตัจวีด
2( มี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกับ ฟิ กฮฺ เ พื่ อที่ ส ามารถสอนเด็ ก ในเรื่ อ งของการละหมาดและ
บทบัญญัติต่างๆ ที่เกี่ยวกับการละหมาดการอาบน้ าละหมาด และเงื่อนไขตางๆของการละหมาด
3( มี ความรู ้ เกี่ ยวกับไวยกรณ์ ภาษาอาหรับเพื่อสามารถที่ จะสอนเด็กเกี่ ยวกับหลัก
พื้นฐานของการเขียนด้วยหลักไวยกรณ์ภาษาอาหรับ และสามารถแต่งประโยคได้อย่างถูกต้อง
4( ผูส้ อนการคัดหลายมือ ต้องเป็ นผูท้ ี่มีลายมือการเขียนที่สวยงาม
5( สื บค้น และอ่านเพิ่มเติมจากตาราที่ เป็ นมรดกทางวิชาการ เพื่อผูเ้ รี ยนสามารถ
ท่องจาบทกวีอาหรับ
303

คุณลักษณะทางด้ านส่ วนตัวของผู้สอน


1( บริ สุทธิ์ ใจ
2( ความยาเกรงต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ
3( มีความรู ้สึกรับผิดชอบต่อหน้าที่
4) มีความอ่อนโยน
5( มีความเสี ยสละ
6( มีความยุติธรรมและความเสมอภาค

คุณลักษณะทางด้ านความสั มพันธ์ กบั ผู้เรี ยน


1)ด้ านการลงโทษ ในทัศนะของอิบนุ สะหฺ นูนอิบนุ สะหฺ นูนได้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ษะวาบ)‫ (ثواب‬และอิกอบ(‫ (عقاب‬คือ รางวัล และบทลงโทษ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้แก้ไขในจรรยามารยาท
และเพื่อให้รู้วา่ เป้ าหมายจากการลงโทษคือไม่ใช่เพื่อการแก้แค้น แต่เป็ นเครื่ องมือที่เปลี่ยนแปลงและ
แก้ไขผูเ้ รี ยนไปในทิศทางที่ดีข้ ึน

วิธีการลงโทษ
อิบนุสะหฺ นุน ได้ต้ งั เงื่อนไขในการลงโทษเด็กไว้ 2 ประการ ดังนี้
1) มีเป้ าหมายเพื่อเด็กได้รับประโยชน์จากการลงโทษ
2) ผูส้ อนไม่ควรตี เกิ นสามครั้ งนอกจากจะได้รับอนุ ญาตจากผูป้ กครองโดยท่าน
กล่าวว่าไม่สามารถตีเด็กเกินขอบเขตนอกจากจะได้การอนุญาตจากผูป้ กครอง

การลงโทษทางด้ านจิตใจ
การลงโทษเด็ ก ทางร่ า งกายนั้น ไม่ ส ามารที่ จะกระท าได้น อกจากต้อ งผ่า นการ
ลงโทษทางด้านจิตใจก่อน ที่มีรูปแบบและวิธีการลงโทษดังนี้
1( ให้คาตักเตือน
2( ให้ผปู ้ กครองได้รับรู ้ถึงนิสัยมารยาทของเด็กและให้ผปู ้ กครองมี่ส่วนร่ วมในการ
แก้ไขเปลียนแปลงมารยาทของเด็ก
3) มีการเชื่ อมสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อนกับผูป้ กครองของเด็ก และผูส้ อนมี หน้าที่
ประกาศให้ผปู้ กครองรู้เวลาเด็กขาดเรี ยน
4) ในเมื่อเด็กไม่ได้เปลี่ ยนแปลงแก้ไขตัวเอง ก็ควรใช้วิธีอื่นในการลงโทษ คื อ
วิธีการตาหนิตามลาพัง หลังจากนั้นตาหนิต่อหน้าเพื่อนฝูงจานวนมาก
304

5) กักตัวเด็กหลังจากได้แยกย้ายจากการเล่าเรี ยนโดยมีเงื่อนไขอย่าห้ามเด็กในการ
รับประทานอาหารและดื่มอันเนื่ องเด็ก ต้องการอาหารเพื่อความเจริ ญเติบโตและพัฒนาร่ างกายให้
แข็งแรง เพราะเป้ าหมายของการลงโทษคือ การแก้ไขและเปลี่ยนแปลงมารยาทของเด็กเท่านั้น ซึ่ ง
ไม่ได้มีเป้ าหมายห้ามมีการเจริ ญเติบโตด้านร่ างกายของเด็ก
6( เงื่อนไขในการลงโทษทางจิตใจ คือห้ามด่าและไม่ควรใช้คาที่ไม่สุภาพ

2)การให้ รางวัล (‫)الهدية‬


ผูส้ อนไม่ ค วรที่ จ ะเรี ย กร้ อ งของขวัญ มากกว่า ค่ า จ้า งจากผูเ้ รี ย นซึ่ ง ถ้า ผูส้ อนรั บ
ของขวัญจากผูเ้ รี ยนโดยความร้องขอถือว่าเป็ นสิ่ งที่หะรอมและถ้ารับของขวัญดังกล่าวโดยปราศจาก
การร้องขอถือว่าเป็ นสิ่ งที่อนุญาต

3)สละเวลาเพือ่ การสอน
อินสะหฺ นูนได้เน้นย้าให้ผสู ้ อนได้เสี ยสละเวลาเพื่อการสอนอย่างเต็มที่ โดยได้กล่าว
ว่า “ผูส้ อนไม่ ค วรที่ จะละทิ้ ง การสอนนอกจากว่า ไม่ไ ด้อยู่ใ นเวลาสอน”และท่า นได้ก ล่ า วอี ก ว่า
“ผูส้ อนควรหมัน่ พยายามสละเวลาให้กบั การสอน และไม่ควรที่จะไปละหมาดศพนอกจากว่ามัน
จาเป็ นจริ งๆ”

4)สร้ างความยุติธรรมและความเสมอภาคระหว่ างผู้เรียน


อิบนุ สะหฺ นูนได้เรี ยกร้องความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยนที่ฐานะยากจนกับผูเ้ รี ยนที่
ฐานะที่ร่ ารวย
ผู้เรียน
แนวคิดเกีย่ วกับผู้เรียนในทัศนะของอิบนุสะหฺนูนมีดังนี้
1) มีมรรยาทที่ดีงามตามแบบฉบับของท่านนบี และกฎเกณฑ์ที่ศาสนาได้กาหนด
ไว้
2) สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผูเ้ รี ยนกับครู ผสู ้ อน
3) ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องปฏิบตั ิตามนัยแห่ งพระมหาคัมภีร์อลั กุรอาน เพื่อนามาสู่ ความ
เชื่อมัน่ ในเกียรติยศอันสู งส่ งของพระมหาคัมภีร์อลั กุรอาน
4) ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องอ่านอัลกุรอานในเวลาและสถานที่ที่เหมาะสม ไม่ควรอ่านตาม
ถนนสาธารณะหรื อในห้องน้ า
305

5)ไม่ควรที่จะจับต้องอัลกุรอ่านได้ นอกจากจะอยูใ่ นสภาพที่มีน้ าละหมาดเท่านั้น


แต่ก็ยงั อนุโลมให้กบั เด็กๆ ที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ สามารถจับต้องและอ่านอัลกุรอานได้ ถึงแม้จะไม่
มีน้ าละหมาดก็ตาม
6) ฝึ กฝนในการอาบน้ าละหมาด ละหมาดศพและดุอาอฺ ต่างๆ
7) ช่วงเวลาที่สุดในการศึกษาอัลกุรอานคือช่วงเช้า(เวลาดุฮา(จนถึงตะวันลับขอบฟ้ า
8) ห้ามเลื่อนจากบทหนึ่ งไปยังอีกบทหนึ่ งนอกจากผูเ้ รี ยนจะท่องจาบทเก่าให้หมด
ก่อน
9) ไม่ควรที่จะใช้มสั ยิดเป็ นสถานที่เรี ยนเพราะเด็กไม่สามารถที่จะรักษาตัวเองจาก
นะญิสได้
10)ไม่ควรที่จะนอนและกินในมัสยิด
11) ผูเ้ รี ยนสามารถที่จะเป็ นผูช้ ่วยสอนให้กบั ครู ผสู ้ อน
แนวคิดทางการศึกษาของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญยี ์
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ ของการศึกษา
1) เพื่อการยาเกรงต่ออัลลอฮฺ โดยอัลซัรนู ญียไ์ ด้กล่าว่วา “แท้จริ งความรู ้ มีเกี ยรติ
เพราะมันเป็ นสิ่ งที่จะนาพามนุ ษย์สู่การยาเกรงต่ออัลลอฮฺ ที่มนุ ษย์ควรได้รับเกียรติจากอัลลอฮฺ และ
ความสุ ขชัว่ นิรันดร์
2) เพื่อฝึ กฝนในจรรยามารยาทที่ดีงามและละทิ้งในสิ่ งที่ไม่ดี ท่านอัลซัรนู ญียไ์ ด้
กล่าวว่า “และเช่ นเดี ยวกันสามารถทราบถึ งมารยาทต่างๆ และรู ้ จกั ระหว่างเอื้ อเฟื้ อเผื่อแผ่กบั การ
ตระหนี่ ถี่เหนี ยว การโอ้อวด การสุ รุ่ยสุ ร่ายและการตระหนี่ ถี่เหนี ยว ถื อว่าเป็ นสิ่ งที่หะรอมไม่
สามารถจะขจัดสิ่ งเหล่านี้ ได้นอกจากด้วยวิชาความรู ้เท่านั้น และรู ้ถึงสิ่ งที่ตรงกันข้าม คือสิ่ งที่ดีและ
ไม่ดี”
3( เป็ นหนทางที่จะรู้ถึงความรู้ทางโลก
4( เพื่อแสวงหาโลกหน้า
5( เพื่อรักษาไว้ซ่ ึงศาสนาและคงมีไว้ซ่ ึงอิสลาม
6( ตอบแทนพระคุณของอัลลอฮฺที่ประให้ความรู้
7( หลีกเลี่ยงจากการยิง่ ยโสโอ้อวดในวิชาความรู ้
8( ห่างใกลจากโลกดุนยา
9( เพื่อปลูกฝังจรรยามารยาทที่ดีงาม
10( เพื่อฝึ กฝนในทักษะการคิดและสรุ ป
306

หลักสู ตร
อัลซัรนูญียไ์ ด้กาหนดและจาแนกหลักสู ตรการเรี ยนการสอนออกเป็ น 2 ประเภท
คือ
1) อิลมุล หาล(‫( (علم الحال‬ความรู้ที่มีตอ้ งต้องการทุกสถานการณ์(
2) อิลมฺ บะอฺ ดุลอะหายีน (‫( ( علم بعض األحايين‬ความรู้ ที่มีความต้องการบาง
ช่วงเวลา(

อัลซัรนูญียไ์ ด้แบ่งอิลมุหาลออกเป็ น 4 ชนิดด้วยกัน


1) ความรู ้ที่เกี่ยวกับอิบาดาต
2) ความรู ้ ที่เกี ยวกับสังคม เช่ น การซื้ อขาย การแต่งงาน การอย่าร้ าง การกักตุ๋ น
สิ นค้า การอินดอกเบี้ย เป็ นต้น
3) ความรู ้ที่เกี ยวกับจิตใจ เช่น การยาเกรง การหวังผลตอบแทน และการถ่อมตน
ต่อเอกอัลลอฮฺ
4) ความรู ้ ที่เกี่ ยกับจรรยามารยาท เช่ นการอดทน การให้อภัย การมี สัจจะ การ
ช่วยเหลือผูอ้ ื่น การร่ วมมือร่ วมใจทาในสิ่ งที่ดี เป็ นต้น

อิลมุล บะอฺ ดุลอะหายิน (ความรู ้ที่มีความต้องการบางช่วงบางคราว(อัลซัรนูญียถ์ ือ


ว่า อิลมุลหาล เป็ นฟัรฎุอีน อิลมุลบะอฺ ดุลอะหายินเป็ นฟัรดุกีฟายะฮฺ ส่ วนรายละเอียดวิชาตามแนวคิด
ของท่านมีดงั นี้
1( วิชาเอกภาพ (‫ (الت حيد‬อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า “ผูเ้ รี ยนควรเลือกวิชาที่ดี ที่ตอ้ งการ
ในศาสนา และต้องการเพื่อโลกหน้า และเริ่ มเรี ยนด้วยวิชาเตาหี ด และการรู ้จกั พระองค์อลั ลอฮฺ”
2( วิชาฟิ กฮฺ อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า “ผูท้ ี่ทาความเข้าใจทางศาสนาควรท่องจาหนึ่ ง
ตาราจากตาราฟิ กฮฺ และทบทวนตลอด เพื่อง่ายต่อการเข้าใจเมือได้ฟังจากผูส้ อนและได้กล่าวอีกว่า
“ผูเ้ รี ยนไม่ควรกระทาสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดนอกจากการศึกษาหาความรู ้ และไม่ควรหันหลังจากวิชาฟิ กฮฺ
3( วิชา กวีอาหรับ (‫ ( الشعر‬อัลซัรนูญียืได้กล่ าวว่า “ท่านอิ บนุ อบั บาสเมื่ อท่านเบื่ อ
จากการพูด ท่านก็จะกล่าวว่า “จงเอาหนังสื่ อที่รวบรวมบทกวีให้กบั ฉัน”
4( วิชาอัลกุรอานอัลซัรนู ญียไ์ ด้กล่ าวว่า “ท่านอลี ได้กล่ าวว่า เพียงพอแล้วที่ หัน
หลังจากความรู ้ของอัลลอฮฺ ที่ตอ้ งประสบกับความต่าต้อยและความขาดทุน และจาเป็ นต้องพยายาม
ขอความหลีกเลี่ยงจากอัลลอฮฺ จากสิ่ งเหลานี้ ”และยังได้กล่าวว่า “การอ่านอัลกุรอานนั้นสามารถช่วย
ในการท่องจา
307

5( วิชาการคัดลายมือ (‫(خط‬อัลซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า “ลายมือที่สวยจะเป็ นกุญแจแห่ ง


ริ สกียท์ ้ งั หลาย”
6( วิชาแพทยศาสตร์ อลั ซัรนูญียไ์ ด้กล่าวว่า “และควรศึกษาบางสวนของวิชาแพทย์

กระบวนการเรียนการรู้
กระบวนการเรี ยนรู ้ในทัศนะของอัลซัรนูญียม์ ีดงั นี้
1( การอภิปราย (‫ (املن ظرر‬2)การตั้งคาถาม( ‫ (املط ح‬3(การย้อนคิดทบทวน(‫(املذاكرر‬
4) การใช้คาถาม(‫ (السؤال‬5) การสร้างความเข้าใจ 6( การสังเกต และการคิดใคร่ ครวญ 7) ทัศนศึกษา
8) การบันทึก 9( ให้เกียรติความรู ้และผูร้ ู ้ 10) ให้เกียรติความรู ้และผูร้ ู ้ 11) การคัดเลือก วิชาความรู้
อาจารย์และเพื่อนฝูง 12)ใช้ความพยายาม อย่างต่อเนื่ อง และสร้างแรงจูงใจ 13) การใช้ความอดทน
14) เลือกช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาหาความรู้ 15) อาศัยเคล็ดลับช่ วยจาคือความจริ งจัง ความ
ขยันหมัน่ เพียร กินแต่น้อย ทาการละหมาดยามค่ าคืนและการอ่านอัลกุรอ่าน การแปรงฟั น การดื่ม
น้ าผึ้ง การรับประทานน้ าเต้าผสมน้ าตาล และประทานลูกเกดสี แดงเข้มจานวนยี่สิบเอ็ดเม็ดระหว่าง
มื้อเช้า 16)ห่ างไกลจากสาเหตุของการหลงลื ม เช่ น การทามะอฺ ศิยตั การทาบาปต่างๆ มีความคิดที่
ฟุ้ งซ่ าน โศกเศร้ าเสี ยใจเกี่ยวกับเรื่ องทางโลก หมกมุ่นอยู่กบั เรื่ องไร้ สาระ และการรับประทานอาหาร
อันเป็ นสาเหตุให้เกิดเสมหะและน้ ามูกก็ทาให้ความจาลดเลือนได้17) ขอคาแนะนาและคาปรึ กษาจาก
ผูส้ อนในการศึกษาหาความรู ้ ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน 18) เลือกสถานที่ที่เหมาะสมในการศึกษาหา
ความรู้ 19) เลือกช่วงอายุที่เหมาะสมในการเริ่ มเรี ยน 20) ทบทวนบทเรี ยนอย่างสม่าเสมอ 21) การ
จับจ่ายใช้สอยและรับประทานอาหารอย่างพอประมาณและพอเพียง 22) คาบเวลาการเรี ยนการสอน
ไม่มากเกินไป 23) การใช้สติปัญญาในการศึกษาหาความรู้ 24) การประเมินตนเอง 25) การเรี ยน
แบบค่อยเป็ นค่อยไป 26) เขียนบทสรุ ปหลังจากเลิกเรี ยน 27) ควรบันทึกสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนเข้าใจ 28)
พยายามห่างไกลหลีกเลี่ยงจากเพื่อนที่ไม่ดี 29) ควรใช้จ่ายในการศึกษาและห่ างไกลจากการตระหนี่
ถี่เหนียว 30) พยายามเชิญชวนและตักเตือนในสิ่ งที่ดี 31) พยายามยุง่ เกี่ยวกับการงานที่ดีและห่ างไกล
กับการงานที่ตามอารมณ์ใฝ่ ต่า 32) สร้างเจตนาที่บริ สุทธิ์ ในการศึกษาแสวงหาความรู ้ 33) ทุ่มเทเวลา
ให้กบั การศึกษา 34) สร้างความตื่นเต้น (‫ (التش يق‬35) การศึกษาอย่างต่อเนื่ อง 36) เลือกช่วงเวลาที่ดี
ที่สุดในการศึกษาหาความรู ้ คือ ช่ วงเช้า ช่ วงสุ หูร(ก่อนละหมาดซุ บฮฺ (และช่ วงระหว่างมัฆริ บและ
อิชาอฺ 37) ศึกษาหาวิชาความรู ้ที่หลากหลายเมื่อมีความรู ้สึกเบื่อในวิชาที่ได้เรี ยนก็หนั ไปศึกษาใน
วิชาอื่น 38) ตรี ยมพร้อมในเรื่ องอุปกรณ์การเขียน 39) ผูเ้ รี ยนไม่ควรนอนและกินมากเกินไป 40) หัน
หน้าไปทางทิศกิบละฮฺ ในเวลาเรี ยน 41) ใกล้ชิดกับบุคคลที่ศอลิหฺและห่ างไกลกับบุคคลที่ชอบทา
308

บาปและทาชัว่ 42) ใช้ความพยายามอย่างต่อเนื่ อง 43) อ่านดุอาอฺ ก่อนเริ่ มอ่านหนังสื อ 44) การ


สรรเสริ ญต่อท่านนบี 45) ให้ความสาคัญและให้เกียรติกบั หนังสื อ 46) ทาการซิวากหรื อแปรงฟัน

ผู้สอน
คุณสมบัติของผูส้ อนในทัศนะของอัลซัรนูญีบโ์ ดยแยกตามด้านต่างๆ มีดงั นี้
คุณสมบัติเกีย่ วกับศักยภาพของผู้สอน
1( มีบุคลิ กภาพที่ดี 2( มีความรู้ และความวัรอฺ 3( การนอบน้อมถ่ อมตน 4( ความ
อ่อนโยนและความอดทน 5( มีความเมตตา 6( ห่ างไกลจากการกล่าวตาหนิ (ประณาม( ผูเ้ รี ยนและ
การอิจฉาริ ษยา 7( ผูส้ อนควรให้อภัยผูอ้ ื่น 8( ผูส้ อนไม่ควรที่จะโต้เถียงผูอ้ ื่น

คุณสมบัติเกีย่ วกับหน้ าทีข่ องผู้สอน


1( ให้คาปรึ กษากับผูเ้ รี ยนพร้อมแนะนาเกี่ยวกับสาขาวิชาที่ถนัด
2( ควรคานึงถึงระดับของผูเ้ รี ยนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
3( มีความเมตตาและตักเตือนผูเ้ รี ยน

ผู้เรียนตามแนวคิดอัลซัรนูญยี ์
มารยาทของผูเ้ รี ยนต่ออัลลอฮฺ
1( สร้างเจตนาที่ดี
2( มอบหมายการงานต่างๆต่อเอกองค์อลั ลอฮ(
3( มีความสุ ขมุ รอบคอบและการรู ้จกั ยับยั้งตนเองหรื ออัลวัรอฺ (‫(ال ع‬
4(ละหมาดและอิบาดัตสุ นตั ต่าง ๆ
5(ชูกรู และการราลึกถึงอัลลอฮฺ
6( ขอดุอา

มารยาทของผู้เรียนต่ อตนเอง
1( ใช้เวลาในการกระทาในสิ่ งที่ดีและการภักดีต่ออัลลอฮฺ
2( พยายามหลีกเลี่ยงจากจารยามารยาทที่ไม่ดี
3( พยายามลดความสัมพันธ์กบั โลกดุนยา
4( ทุ่มเทความพยายามอย่างพอดิบพอดีในการเรี ยนไม่นอ้ ยและไม่มากเกินไปเพื่อมิ
ให้เบื่อหน่ายและละทิง้ การเรี ยน
309

5( มีความกระตือรื อร้น
6( อดทนในการศึกษาหาความรู้

มารยาทของผู้เรียนต่ อผู้สอน
1( สร้างความใกล้ชิดกับผูส้ อนและเพื่อนฝูง
2( การถ่อมตนและให้เกียรติผสู ้ อน
3( ให้เกียรติลูกหลานของผูส้ อน

มารยาทของผู้เรียนต่ อเพือ่ นฝูง


พยายามห่ างไกลจากการนิ นทาผูอ้ ื่ นและนั่งร่ วมกับผูท้ ี่ ชอบพูดในเรื่ องที่ ไม่เป็ น
สาระ

3. ข้อค้นพบเพื่อตอบคาถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั ข้อที่ 3 ว่า เพื่อศึกษา


ระดับความคาดหวังของครู สอนศาสนาอิสลามต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด
บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ผลการวิจ ัย พบว่า โดยภาพรวมแล้วประเด็ นทั้ง 5 ด้า น เกี่ ย วกับ แนวคิ ด ทาง
การศึ กษาของมุ หัมมัด บิน สะหนู นและบุ รฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญียก์ บั ความคาดหวังของครู อิสลาม
ศึกษาต่อการประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามอยู่ในระดับมาก ( X = 3.94( เมื่อ
พิจารณาในแต่ละประเด็น พบว่า แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหนู นและบุรฮานุ ดดี น
อัลซัรนูญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในระดับมาก 3 ลาดับแรก คือ
ด้านผูเ้ รี ยน ( X = 4.05( ด้านปรัชญาและเป้ าหมายของการศึกษา ( X = 3.99( และด้านหลักสู ตรกับ
ด้านผูส้ อน ( X = 3.92( ส่ วนแนวคิดทางการศึ กษาของมุ หัมมัด บิ น สะหนู นและบุรฮานุ ดดี น
อัล ซั ร นู ญี ย ์ก ับ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามที่ น้ อ ยที่ สุ ด คื อ ด้า น
กระบวนการเรี ยนการสอน ( X = 3.79(

4. ข้อค้นพบเพื่อตอบคาถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั ข้อที่ 3 ว่า เพื่อศึกษาแนว


ทางการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมัหัมมัด บินสะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีนอัลซัรณู ญีย ์ ใน
โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
310

ข้อเสนอแนะของผูท้ รงคุณวุฒิดงั นี้


1) สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก เกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ ห้ผบู้ ริ หาร ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู้ อน และผูเ้ รี ยน
2) จัดกิจกรรมต่างๆที่มุ่งสร้ างความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของ มุหัม
มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญี
3) จัดนิเทศให้กบั ผูบ้ ริ หารและครู ผสู ้ อน
4) สร้างแรงจูงใจและมอบรางวัลให้กบั คุณครู ในการจัดการเรี ยนการสอนที่ที่เน้น
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
5) จัดอมรมผูบ้ ริ หาร ฝ่ ายวิชาการ ครู ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นให้เข้าใจแนวคิ ดทาง
การศึกษามุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
6) ให้ชุม ชน หรื อ หน่ วยงานอื่นเข้ามามี ส่วนร่ วมในการจัดทาหลักสู ตรที่ เน้น
แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
7) โรงเรี ยนต้องส่ งเสริ มในการเรี ยนรู ้ตามแนวคิดของที่เน้นแนวคิดทางการศึกษา
ของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียอ์ ย่างเต็มที่
8) ผูบ้ ริ หารและครู รวมกันสร้างหลักสู ตร ที่เน้นแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด
บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
9) สร้างกระบวนการพัฒนาตรู ให้เป็ นไปตามเนื้ อหาของแนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
10) ศึกษาดูงานตามสถานศึกษาที่ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ
นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
11) มีการประเมินครู เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้

ประเด็นที่ 2 ข้ อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิเกีย่ วกับแนวทางการประยุกต์ ใช้ แนวคิด


ทางการศึ ก ษาของของมุ หัม มั ดบิ นสะหฺ นูนและบุ รฮานุ ดดี นอัล ซั รนู ญีย์ในโรงเรี ยนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลาม
แนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุร
ฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

1.สร้างความตระหนักและให้ความสาคัญในเรื่ องแนวคิดทางการศึกษาในอิสลาม
311

ผูท้ รงคุณวุฒิเห็นพ้องต้องกันว่า โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัด


ชายเดนภาคใต้ยงั ขาดการสร้างความตระหนักและให้ความสาคัญในเรื่ องแนวคิดทางการศึกษาใน
อิสลามของนักคิดมุสลิมเป็ นอย่างมากโดยเฉพาะแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและ
บุรฮานุ ดดี นอัล ซัรนู ญีย ์ซ่ ึ ง เป็ นสาเหตุ ส าคัญที่ ท าให้โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามในสาม
จังหวัดชายเดนภาคใต้ไม่ได้นาแนวคิดทางการศึกษาในอิ สลามมาประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชน
สอนศาสนาอิสลามตามที่ควรจะเป็ น ความเห็นนี้ สอดคล้องกับผลการสัมภาษณ์ เชิ งลึกผูท้ รงคุณวุฒิ
อีกกลุ่มหนึ่ งซึ่ งมีความเห็ นมากที่ สุ ดว่าแนวทางในการนามาประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และ บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ คือ สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก
เกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของ มุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญียใ์ ห้ผูบ้ ริ หาร
ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู ้ อน และผูเ้ รี ยน ดังนั้นจึงจาเป็ นจะต้องความตระหนักและให้ความสาคัญในเรื่ อง
แนวคิดทางการศึกษาในอิสลามกับผูบ้ ริ หาร ครู ผสู ้ อน และนักเรี ยนด้วย

2.สร้างความร่ วมมือในการจัดการเรี ยนการสอนระหว่างชุมชนกับโรงเรี ยน


ผูท้ รงคุ ณวุฒิ ส่ วนใหญ่เห็ นว่า ในการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการ
ศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
คือการมี ส่วนร่ วมในการจัดการเรี ยนการสอนระหว่างชุ มชนกับโรงเรี ยนเพราะทุ กฝ่ ายเป็ นหัวใจ
หลักในการจัดการศึกษาโดยเฉพาะพ่อแม่ผปู ้ กครอง

3.ให้ ค รู ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในเรื่ องแนวคิ ด ทางการศึ ก ษาในอิ ส ลามมี ส่ ว น


รับผิดชอบในการสร้างหลักสู ตร
ผูท้ รงคุ ณวุฒิเห็ นว่า โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ยงั ขาดครู ที่มีความเชี่ยวชาญด้านแนวคิด ทางการศึกษาในอิสลามร่ วมในการสร้ างหลักสู ตร
เพราะฉะนั้น การส่ วนร่ วมของครู ที่มีความเชี่ ยวชาญในเรื่ องแนวคิดทางการศึ กษาอิสลามในการ
สร้ างหลักสู ตรจะทาสามารถกาหนดทิศทางของหลักสู ตรได้โดยเฉพาะตามแนวคิดทางการศึกษา
ของนักคิดมุสลิมสองท่านคือ มุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์

4.สร้างหลักสู ตรบูรณาการระหว่างศาสนาและสามัญ
ผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว่ า การจัด การเรี ยนการสอนโดยใช้ ส องหลัก สู ต รนั้น ท าให้
โรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จะประสบปั ญหาใน ด้าน
งบประมาณ การบริ หารจัดการ และบุ คลากร ดังนั้น การบูรณาการหลักสู ตรจึงมีความเหมาะสม
312

อย่างยิง่ สาหรับโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพราะจะช่วย ลด


จานวนครู ผูส้ อน และมีงบประมาณเพียงพอในการพัฒนาอาคารสถานที่ และการบริ หารจัดการ
ตลอดจนผูเ้ รี ยนมีเวลาในการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองมากยิ่งขึ้น และยังสามารถเดินตามแนวทาง
แนวคิ ดทางการศึ ก ษาของมุ หัม มัด บิ น สะหฺ นูน และบุ รฮานุ ดดี นอัล ซัรนู ญีย ์ที่ เป็ นแนวคิ ดทาง
การศึกษาที่เน้นหลักสู ตรบูรณาการ

5.โรงเรี ยนสร้างนโยบายที่จะนาแนวคิดทางการศึกษาในอิสลามมาใช้
ผูท้ รงคุณวุฒิเห็นว่า มุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญียก์ ารที่จะนา
แนวคิดทางการศึกษาของมาประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมันมีส่วนเกี่ยวข้อง
กับ นโยบายโรงเรี ย น เพราะฉะนั้น โรงเรี ย นต้อ งก าหนดนโยบายที่ จ ะมาเป็ นแนวทางในการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ ห้ชดั เจน

6.จัดประชุมติดตามอย่างต่อเนื่อง
ผูท้ รงคุ ณวุฒิเห็ นว่า หลังจากได้มีการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของ มุหัม
มัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามโดยผูบ้ ริ หาร
ต้องจัดการประชุมติดตามผลอย่างต่อเนื่ องเพื่อสามารถแก้ไขในสิ่ งที่ผิดพลาดและพัฒนาเพื่อให้เกิด
ความสมบูรณ์ทางด้านการเรี ยนการสอนต่อไป

7.2 อภิปรายผล
จากข้อค้นพบจากการวิจยั เรื่ อง “แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูน
และบุรฮานุ ดดี นอัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลาม” สามารถ
อภิปรายผลตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั ได้ดงั นี้

วัตถุ ประสงค์ ของการวิจัยข้ อที่ 1. เพื่อศึ กษาชี วประวัติของอิบนุ สะหฺ นูนและ


บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์ อภิปรายผลได้ ดังนี้
จากผลการวิจยั พบว่า มุหมั มัด อิบนุ สะหฺ นุน คือ อบูอบั ดิลลาฮฺ มุหมั มัด บิน อบี สะ
อีด สะหฺ นูน บิน สะอีด บิน หะบีบ บิน หิ ส าน บิน ฮิลาล บิน บักการ บิน เราะบีอะฮฺ อัตตะนูคียเ์ กิ ด
ในปี ฮ.ศ. 202 ในบ้านที่เต็มไปด้วยวิชาความรู ้ เกิดที่หมู่บา้ น เฆาะดัตในเมืองกอยเราะวานซึ่ งเป็ น
หมู่บา้ นหนึ่งที่มีการแพร่ ขยายของมัซฮับ มาลิกียแ์ ละได้เสี ยชีวติ แทบชายฝั่งประเทศตูนิเซี ยในปี ฮ.ศ.
256 หลังจากบิดาของท่านได้เสี ยชีวติ 6 ปี และได้ฝั่งศพในเมืองก็อยเราะวาน และ ซัรนูญีย ์ มาจากคา
313

ว่า ซัรนู จ ซึ่ งเป็ นชื่ อหนึ่ งของเมื องในเปอร์ เซี ย เมื องหลวงของแคว้น อัซซะจี สฐานในสมัยก่ อน
อัลซัรนูญียไ์ ด้เติบโตท่ามกลางของความหลากหลายทางด้านความรู ้ประเพณี และวัฒนธรรม และได้
ซึมซับด้วยภาษาอาหรับและได้เสี ยชีวิตในปี ที่ ฮ.ศ.591 ซึ่ งแสดงให้เห็นว่า แนวคิดของนักการศึกษา
จะสะท้อนจากบริ บทสังคมของแต่ละคนที่อาศัยอยู่ ซึ่ งมุหมั ดั บินสะหฺ นูนได้มีชีวิตและเจริ ญเติบโต
ในบ้านที่เต็มไปด้วยความรู ้ ซึ่ งบิดาของท่านเป็ นผูท้ ี่มีความเชี่ ยวชาญด้านฟิ กฮฺ ผูท้ ี่เผยแพร่ ทศั นะมา
ลิกีย ์ ดังนั้นจึงไม่แปลกที่แนวคิดของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนจะเน้นหนักในเรื่ อง อัลกุรอาน มารยาท
ของผูส้ อน การยืมหนังสื อ การตีเด็ก เพราะท่านมุหมั ดั บินสะหฺ นูนเป็ นผูไ้ ด้รับความรู ้อนั ดับแรก คือ
จากบิดาของท่าน ผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญทางด้างฟิ กฮฺในทัศนะของมาลิกีย ์

ส่ วนบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนุ ญีย ์ เป็ นผูท้ ี่ได้เจริ ญเติบโตในท่ามกลางความหลากหลาย


ทางด้านความรู ้ประเพณี และวัฒนธรรม ซึ่ งแสดงให้เห็นว่า แนวคิดทางการศึกษาที่ท่านได้เน้นหนัก
ในตาราของท่านส่ วนใหญ่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยนที่หลากหลาย ซึ่ งสะท้อนให้
เห็นว่า กระบวนการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายที่ท่านได้เสนอมา มาจากความรู ้ประเพณี และวัฒนธรรมที่
หลากหลายที่ท่านได้สัมผัสในยุคสมัยของท่าน ซึ่ งสังเกตจาก หะดีษบทหนึ่ งที่ท่านบี ได้กล่าวว่า
((‫(((الحكمة ضالة المؤمن أنى وجدها فهو أحق بها‬Ibn Majah ,2009:4169) วิทยปั ญญาเป็ นสิ่ งที่ขาด
หายของคนมุอฺมิน ซึ่ งเมื่อไรเขาได้เจอมันย่อมมีสิทธิ มากกว่าผูอ้ ื่น

จากชีวประวัติของนักการศึกษาทัง่ สองท่านชี้ให้เห็นถึงความสาคัญของสิ่ งแวดล้อม


ที่มีผลอย่างยิ่งต่อการสร้ างบรรยากาศให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ สภาพแวดล้อมที่ดีส่งผลให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดการ
เรี ยนรู ้และซึ มซับความรู ้ดว้ ยตัวเองได้ในระดับหนึ่งตลอดจนเป็ นตัวกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดความสนใจ
และแรงจูงใจในการเรี ยนรู ้ ยังช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีสมาธิ ในการเรี ยนได้อีกด้วย แนวคิดนี้ ก็ได้ถูกนามาใช้
ในการจัด การเรี ย นการสอนในปั จ จุ บ ัน กัน อย่ า งแพร่ ห ลายและเป็ นองค์ป ระกอบที่ ส าคัญ ใน
กระบวนการจัดการเรี ยนการสอนอีกด้วย

นอกจากนั้นชี วประวัติหรื อภูมิหลังมีผลต่อแนวคิดการจัดการเรี ยนศึกษา บุรฮานุ ด


ดีน อัลซัรนุญีย ์ ซึ่ งได้เจริ ญเติบโตมาในท่ามกลางความหลากหลาย ไม่วา่ ใจเป็ นในเรื่ องความหลาก
ทายทางสัง คม วัฒนธรรม ประเพณี และการใช้ชี วิต ในสถานที่ ต่า งๆ ส่ ง ผลให้แ นวคิ ด การจัด
การศึกษาของท่านสะท้อนออกมาให้เห็นจุดเน้นของท่านการสนับสนุ นให้ผเู ้ รี ยนมีการเรี ยนรู ้และมี
314

พัฒนาการทางด้า นทัก ษะที่ หลากหลาย ปั จจุ บนั การจัดการการเรี ยนการสอนได้นาเอาแนวคิ ด


ดังกล่าวมาเป็ นใช้เป็ นหลักสาคัญในการปฏิรูปการศึกษา โดยเริ่ มจากตัวผูส้ อนที่จะต้องจัดการสอน
และใช้เทคนิควิธีที่หลากหลาย และให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ในรู ปแบบที่หลากหลาย ทั้งนี้ ก็เพื่อต้องการ
ให้ผเู้ รี ยนมีพฒั นาการและทักษะการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย

โดยภาพรวมแล้ว แนวคิ ด ทั้ง 2 ท่ า นจะมี ค วามคล้ า ยคลึ ง กัน กล่ า วคื อ ในทุ ก
กระบวนการจัดการศึกษามีการอ้างอิงไปยังอัลกุรอานและซุ นนะ แต่ก็ยงั พบว่ามีความแตกต่างใน
วิ ธี ก ารปลี ก ย่ อ ย เช่ น ด้า นกระบวนการเรี ย นการสอน มุ หัม มัด อิ บ นุ สะหฺ นุ น จะเน้น และให้
ความสาคัญในผูส้ อน ส่ วนบุรฮานุ ดดีน อัลซัรนุ ญีย ์เน้นในเรื่ องผูเ้ รี ยนให้มีความหลากหลาย จาก
ความต่างหรื อจุดเน้นที่ต่างกันทางแนวคิดทั้งสองท่านทาให้เกิดความสมบูรณ์และครอบคลุมในการ
นาไปสู่ การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน

วัตถุประสงค์ ของการวิจัยข้ อที่ 2. เพื่อศึกษาแนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน


สะหฺนูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์ อภิปรายผลได้ ดังนี้

1.เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
มุหัมมัด บิน สะหฺนูน บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์
1. เพื่อยึดมัน่ ในศาสนา 1. เพื่อการยาเกรงต่ออัลลอฮฺ
2. เพื่อเผยแพร่ ความรู ้ทางศาสนา 2. เพื่อฝึ กฝนและปลูกฝังจรรยามารยาทที่ดีงามและละทิง้
3. เพิ่มพูนในวิชาความรู ้ ในสิ่ งที่ไม่ดี
4. มีเกียรติยศและศักดิ์ศรี 3.เป็ นหนทางที่จะรู้ถึงความรู้ทางโลก
5. เพื่อแสวงหาปั จจัยยังชีพ 4. เพื่อแสวงหาโลกหน้า
6. เพื่อมารยาทที่ดีงาม 5. เพื่อรักษาไว้ซ่ ึงศาสนาและคงมีไว้ซ่ ึงอิสลาม
6. เพื่อตอบแทนพระคุณของอัลลอฮฺที่ประทานความรู้
7. หลีกเลี่ยงจากการยิง่ ยโสโอ้อวดในวิชาความรู้
8. ห่างไกลจากโลกดุนยา
9. เพื่อฝึ กฝนในการคิดและสรุ ป
10. เพื่อสร้างพลังสมองและใช้สติปัญญาศรัทธา
11. เพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่ อง
12. เพื่อคานึงถึงคุณค่าของความรู ้
315

13. เพื่อให้ความสาคัญกับโลกหน้า (อคิเราะฮฺ )

เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษาถือได้วา่ เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญอย่าง


จากหลายๆองค์ประกอบในการจัดการศึกษา เพราะถ้าเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษามี
ความชัดเจน จะทาให้เราสามารถมองเห็นภาพของผูเ้ รี ยนในอนาคตได้ระดับหนึ่งแล้ว จากการ
วิเคราะห์แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญียใ์ นด้าน
เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา พบว่านักการศึกษาทั้งสองท่านมีแนวคิดในการกาหนด
เป้ าหมายที่หลากหลายด้วยกัน แต่เป้ าหมายหลักที่สอดคล้องกันคือการจัดการศึกษาจะต้องมี
เป้ าหมายที่จะต้องนาพาผูเ้ รี ยนไปสู่ การเป็ นบ่าวที่ภกั ดี ศรัทธามัน่ ต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ ทั้งนี้ก็เพราะว่า
แนวคิดทางการศึกษาของทั้งสองท่านได้ยดึ หลักคิดจากอัลกุรอานและซุ นนะ แนวคิดดังกล่าว
สอดคล้องกับอัลกุรอาน ดังที่อลั ลอฮฺได้ตรัสว่า

ความว่า และข้าไม่ได้สร้างญิน และมนุษย์เพื่ออื่นใดเว้นแต่เพื่อ


เคารพภักดีต่อข้า (อัล-ซาริ ยาต : 56(

แนวคิ ด ทางการศึ ก ษาของมุ หัม มัด บิ น สะหฺ นู น และบุ ร ฮานุ ด ดี น อัล ซัร นู ญี ย ์
สอดคล้องกับผลการวิจยั ของฮาซัน บือราเฮง (2553: บทคัดย่อ( ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การศึกษาใน
อิสลาม : แนวคิดและกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ พบว่า การศึกษาอิสลามมีมีแนวคิดมาจากฐานที่มา
3 แหล่ง คื อ อัลกุรอาน อัลหะดิ ษ และทัศนะของปราชญ์มุสลิ ม มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้
เป็ นผูท้ ี่มีความศรัทธามัน่ มี ความจงรั กภักดี ต่ออัลลอฮฺ พระเจ้าผูท้ รงสร้ างสากลจักรวาลและเป็ น
การศึกษาตลอดชี วิต และยังสอดคล้องกับแนวคิดของ อีม่าม อัลเฆาะซาลี ดังนี้ (al-Ghazali, 1986:
66)
1. เพื่อรู้จกั อัลลอฮฺ และสามารถปฏิบตั ิตามคาสอนของอัลลอฮฺ ดว้ ยความบริ สุทธิ์ ใจ
และไม่หลงลืมไปกับโลกวัตถุ
2. เพื่อให้กายและใจปราศจากคุณลักษณะที่ควรแก่การประณามและมีคุณลักษณะ
ที่ดีงามควรแก่การได้รับการยกย่องสรรเสริ ญ
3. เพื่อได้รับความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ และสามารถยกระดับความเป็ นเลิ ศเท่า
ทันกับบรรดาปวงชมชั้นสู งจากบรรดามลาอิกะฮฺและมุก็อรรอบีน

นอกจากนั้นมุ หัม มัด บิน สะหฺ นูน ได้ใ ห้ความสาคัญในเรื่ องโลกดุ นยาและอาคิ
เราะห์เป็ นแนวคิดที่มีความสัมพันธ์ระหว่าพระเจ้ากับมนุษญ์ ซึ่งจะแตกต่างกับนักการศึกษาทัว่ ไปที่
316

ไม่ใช่ นกั การศึกษามุสลิ มที่มกั จะให้ความสาคัญเพียงโลนดุนยาอย่างเดียวแต่อาจจะสอดคล้องใน


บางเรื่ องเช่ น ในเรื่ องการฝึ กฝนในจรรยามารยาทที่ดีงามตามที่โจฮัน ไฮริ ช เปสตาลอสซี่ (Johann
Heinrich Pestalozzi)2ที่กล่าวว่า เป้ าหมายของการศึกษาคือ การปลูกฝังจรรยมารยาทที่ดีงาม ด้วย
การเตรี ยมความพร้อมในการฝึ กฝนในจรรยามารยาทที่ดีงาม (Abdulaziz :1978:266)

2.หลักสู ตรการเรี ยนการสอน


มุหัมมัด บิน สะหฺนูน บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์
จาแนกหลักสู ตรออกเป็ น 2 ประเภท คือ อัลซัรนู ญียไ์ ด้ก าหนดและจาแนกหลัก สู ตรการ
ประเภทวิชาบังคับได้แก่ วิชาอัลกุรอาน เรี ยนการสอนออกเป็ น 2 ประเภท
ประเภทวิชาเลือกได้แก่ คณิ ตศาสตร์ กวี คา
หนึ่ง อิลมุล หาล(‫( )علم احل ل‬ความรู้ที่มี
แปลก ภาษาอาหรับและการเขียน และหลัก
ต้องต้องการทุกสถานการณ์)
ไวยากรณ์อาหรับ
สอง อิลมฺ บะอฺ ดุลอะหายีน( ‫علم بعض‬
คุณลักษณะพิเศษของหลักสู ตรมีดงั นี้
‫( )األح يني‬ความรู ้ที่มีความต้องการบางช่วงเวลา)
1.หลักสู ตรมีการบูรณาการระหว่างโลกดุนยา
อิลมุลหาล คือ ความรู ้ที่เกี่ยวกับหลักการ
กับอาคิเราะฮฺ
ศาสนา และบทบัญญัติอิสลาม หมายถึง
2.มีการอมรมพัฒนาทางจิตวิญญาณ หมายถึงทุกอย่างที่เป็ นสิ่ งจาเป็ นในด้านศาสนา
หรื อทางโลกดุนยาที่สามารถช่วยในการทาอีบา
ดะห์ต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ 

อัลซัรนูญียไ์ ด้แบ่งอิลมุหาลออกเป็ น 4 ชนิด


ด้วยกัน

1. ความรู ้ที่เกี่ยวกับอิบาดาต
2. ความรู ้ที่เกี่ยวกับสังคม เช่น การซื้ อขาย การ

2
โจฮันน์ ไฮน์ริค เปสตาลอซซี่ (Johann Heinrich Pestalozzi) มีชีวิตอยูใ่ นช่วงระยะเวลาระหว่าง ปี ค.ศ.1746ถึง
1827เปสตาลอซซี่ เป็ นนักการศึกษาชาวอิตาเลี่ยน-สวิสเซอร์ แลนด์ซ่ ึ งทฤษฎีทางการศึ กษาที่ คิดนั้นได้กลายเป็ น
พื้นฐานที่สาคัญในการจัดการเรี ยนการสอนระดับปฐมวัย เปสตาลอซซี่ ได้รับอิทธิ พลด้านความคิดจากรุ สโซ เปส
ตาลอซซี่
317

แต่งงาน การอย่าร้าง การกักตุ๋นสิ นค้า การกิน


ดอกเบี้ย เป็ นต้น
3. ความรู ้ที่เกี่ยวกับจิตใจ เช่น การยาเกรง การ
หวังผลตอบแทน และการถ่อมตนต่ออัลลอฮฺ
4. ความรู ้ที่เกี่ยวกับจรรยามารยาท เช่นการอดทน
การให้อภัย การมีสัจจะ การช่วยเหลือผูอ้ ื่น การ
ร่ วมมือร่ วมใจทาในสิ่ งที่ดีเป็ นต้น

ฟัรฎกิู ฟายะฮฺออกเป็ น สอง ชนิด

ชนิดแรก สิ่ งที่จาเป็ นสาหรับมุสลิม เช่น


การท่องจาอัลกุรอาน ศึกษาประวัติผรู ้ ายงานหะ
ดีษ ศึกษาเกี่ยวกับบทบัญญัติอิสลาม ไวยากรณ์
ภาษาอาหรับเป็ นต้น ชนิ ดที่สอง สิ่ งที่ไม่ใช่
ความรู ้ทางชะรี อะฮฺ เช่น การแพทย์ คณิ ตศาสตร์
ดังนั้น ฟัรฎูกิฟายะฮฺ คือ ความรู ้ที่คนทัว่ ไปได้รับ
ประโยชน์ และถ้าได้เรี ยนรู้บางคนทาให้คนอื่น
พ้นบาปไปด้วย

รายละเอียดวิชาที่ใช้ในการจัดการเรี ยน
การสอนได้แก่ วิชาเอกภาพ(‫ )التوحيد‬วิชาฟิ กฮฺ
วิชา กวีอาหรับ(‫ )الشعر‬วิชาอัลกุรอาน วิชาการ
คัดลายมือ(‫ )خط‬วิชาแพทยศาสตร์

แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์ในเรื่ อง


ของหลักสู ตรการการสอน ประการสาคัญที่ท้ งั สองท่านเน้นและให้ความสาคัญคือหลักสู ตรจะต้อง
เน้นในเรื่ องการเรี ยนอัลกุรอาน นักการศึกษาอิสลามในทุกยุคสมัยต่างก็มีแนวคิดที่สอดคล้องกันใน
เรื่ องนี้ ทั้งนี้ เพราะว่าอัลกุรอานแหล่งที่มาของหลักคาสอนลาดับแรกในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ที่
เป็ นแม่บทขององค์ความรู ้ที่มีความครอบคลุมและสมบูรณ์ในทุกเรื่ องราวดังที่อลั ลอฮฺได้ตรัสไว้วา่
318

ความว่า “แท้จริ งเราได้ทาให้คมั ภีร์เป็ นกุรอานภาษาอาหรับ เพื่อพวก


เจ้า จะได้ใ ช้ส ติ ปั ญญา และแท้จริ งอัล -กุ รอานซึ่ ง อยู่ใ นแม่ บ ทแห่ ง
คัมภีร์ ณ ที่เรานั้นคือสิ่ งที่สูงส่ ง พรั่งพร้อมด้วยปรัชญา”
(สู เราะฮฺอซั -ซุครุ ฟ: 3-4(

การเรี ยนอัลกุรอานยังจะได้รับการยกระดับให้อยูใ่ นกลุ่มชนที่สูงส่ ง ดังที่ได้นบีได้


กล่าวไว้ในหะดิษที่รายรานโดยมุสลิม ซึ่ งมีใจความว่า แท้จริ งอัลลอฮฺจะทรงยกระดับบางกลุ่มชนให้
สู งส่ งด้วยคัมภีร์ ( อัลกุรอานนี้ เนื่ องจากพวกเขา ปฏิบตั ิตามคาสอนของมัน( และจะทรงให้บางกลุ่ม
ชนตกต่าด้วยคัมภีร์ ( อัลกุรอานนี้ (เช่นกัน ( เนื่องจากพวกเขาไม่ปฏิบตั ิตามมัน(
นอกจากนั้น หลัก สู ต รการเรี ย นต้อ งมี ก ารบู ร ณาการทั้ง ทางโลกและทางธรรม
รายวิชาที่ควรจัดให้มีในหลักสู ตรจะต้องเป็ นวิชาที่ทาให้ผเู้ รี ยนได้เข้าใจหลักคาสอนของศาสนา
อิสลาม เกิ ดความยาเกรง ถ่ อมตน หวังในความโปรดปรานจากเององค์อลั ลอฮฺ อาทิเช่ น วิชาฟิ กฮฺ
(ศาสนบัญญัติ( วิชาเตาฮีด เอกภาพ( วิชาภาษาอาหรับ และวิชาความรู ้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับหลักชารี อะฮฺ
เช่ น การแพทย์ กวี คณิ ตศาสตร์ เป็ นต้น สอดคล้องกับแนวคิดของอับดุ ลเราะห์มาน อัลนะห์ลาวี
(Abdurrahman al-Nahlawy,: 196( ได้กล่าวว่าหลักสู ตรการศึกษาอิสลามจะต้องเน้นเพื่อบรรลุ ผล
ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาอิสลามคือ การมีความบริ สุทธิ์ ใจในการเคารพภักดีและทาอีบาดะฮฺ
เพื่ออัลลอฮฺ
จากแนวคิดการศึกษาด้านหลักสู ตรการเรี ยนเมื่อนามาเทียบกับหลักสู ตรอิสลาม
ศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจะพบว่าเกือบทุกวิชาล้วนมีระบุอยูใ่ นหลักสู ตร ไม่ว่า
จะเป็ น วิชาอัลกุรอาน วิชาฟิ กฮฺ วิชาเตาฮีด หรื อรายวิชาต่างๆที่ทาให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ และเข้าใจใน
หลักคาสอนของศาสนาอิสลาม แต่ก็ยงั มีบางรายวิชาที่ยงั ไม่มีระบุอย่างชัดเจนในตัวหลักสู ตรเช่ น
วิชาบทกวี การเรี ยนวิชาเกี่ยวกับบทกวีจะช่วยกระตุน้ ความคิดเชิ งสร้างสรรค์ ฝึ กการจินตนาการ ฝึ ก
ทักษะการใช้ภาษาให้เกิด ความสละสลวย สวยงาม การได้เรี ยนรู ้บทกวียงั จะทาให้ผเู ้ รี ยนได้เกิดการ
ซึ มซับ เรี ยนรู ้และเข้าใจถึงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ในยุคต่างๆที่แฝงอยูใ่ นตัวบทกวี บทกวียงั มี
ประโยชน์ในการกระตุน้ เตือน(นาศิฮตั ( ให้ขอ้ คิดที่ดีในการดาเนิ นชี วิต สัง เกตเห็ นได้จากนักกวี
มุสลิมในอดีตที่ได้นาเอาหลักคาสอนของอิสลามมาสื่ อออกมาในรู ปของบทกลอนหรื อบทกวีจึงทา
ให้ผเู ้ รี ยนรู ้หรื อผูอ้ ่านได้เข้าถึงคติธรรมคาสอนต่างๆที่แฝงอยูใ่ นบทกวีได้เป็ นอย่างดี
อี ก ประการส าคัญที่ มุ หัมมัด บิ น สะหฺ นูน ได้เ น้นคื อ หลัก สู ตรการเรี ย นต้องมี
การบูรณาการทั้งทางโลกและทางธรรม ปั จจุ บนั โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามไม่สามารถ
จัดการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการได้เท่าที่ควร มีการแบ่งแยกชัดเจนระหว่างวิชาทางโลกและวิชา
319

ทางธรรม ทั้งนี้ เนื่ องมาจากอิ ทธิ พ ลจากแนวคิ ดเซคคิ วลาร์ ที่ พยายามแยกวิถีก ารดาเนิ นชี วิตและ
ศาสตร์ วิชาความรู ้ ทางธรรมออกจากทางโลก และสาเหตุจากตัวผูส้ อนเองที่ไม่สามารถบูรณาการ
องค์ความรู ้ได้ กล่าวคือ ผูส้ อนที่จบการศึกษาด้านศาสนาไม่สามารถเชื่อมโยงกับองค์ความรู ้ทางโลก
ได้ และผูส้ อนที่จบการศึกษาด้านสามัญไม่สามารถเชื่ อมโยงองค์ความรู ้ ดา้ นศาสนาในการจัดการ
เรี ยนการสอนได้

3.กระบวนการเรี ยนการสอน
แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี นอัลซัรนูญีย ์ ด้าน
กระบวนการเรี ยนการสอนจะมีรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายเพื่อไม่ให้เกิดความเบื่อหน่ายในการ
เรี ยนตลอดจนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ ดว้ ยทักษะวิธีการที่หลากหลายเช่ นกัน ซึ่ งสอดคล้องกับ
รู ปแบบและวิธีการสอนของท่านนบี ดังผลงานวิจยั ของ ยุทธนา เกิ้อกูล (2550: บทคัดย่อ( ได้ทาการ
วิจยั เกี่ ยวกับ วิทยาการสอนของท่านนบีมุฮมั มัด ผลการวิจยั พบว่า 1( รู ปแบบการสอนของท่านนบี
มุฮมั มัด ได้แบ่งออกเป็ น 2 รู ปแบบคื อ การสอนเป็ รายบุ คคลและการสอนเป็ นรายกลุ่ม 2( วิธีการ
สอนของท่านนบีมุฮมั มัด มีความโดดเด่นและมีความหลากหลาย อาทิเช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย
การสอนแบบสาธิ ต การสอนแบบอภิปราย การสอนแบบฝึ กฝนและปฏิบตั ิ การใช้คาถาม การสอน
แบบตักเตือน การสอนแบบตัรฆีบและตัรฮีบ ฯลฯ ท่านนบมุฮมั มัดมิได้จากัดวิธีสอนวิธีใดวิธีหนึ่ ง
เป็ นการเฉพาะเจาะจงในการสอนแต่ละครั้งของท่าน แต่ท่านจะใช้วิธีการสอนและเทคนิ คการสอน
ตามความเหมาะสมของแต่ละบทเรี ยน และตามสถานการณ์ที่หลากหลาย ดังนั้น วิทยาการสอนของ
ท่านจึ ง เป็ นวิท ยาการสอนที่ ส มบู รณ์ และได้ถ่ ายทอดจวบจนมาถึ ง ปั จจุ บนั และยังสอดคล้องกับ
ผลการวิจยั ของ ฮาซัน บื อราเฮง (2553: บทคัดย่อ( ได้ท าการศึ ก ษาเรื่ อง การศึ ก ษาในอิ ส ลาม :
แนวคิ ดและกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ พบว่า กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ในอิสลามประกอบด้วย
องค์ประกอบที่สาคัญ คือ หลักสู ตรที่ครอบคลุมและสมดุล กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ภาพ สื่ อ
การเรี ยนรู ้ ที่เหมาะสม กระบวนการสอนที่มีคุณภาพ และการวัดประเมินผลที่ต่อเนื่ อง นอกจากนี้
กระบวนการเรี ยนรู ้ ในอิสลามมิได้จากัดรู ปแบบที่ตายตัวหรื อวิธีการใดวิธีการหนึ่ งเฉพาะ แต่เน้น
รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ที่หลากหลาย คานึ งถึ งความเหมาะสมของผูเ้ รี ยนและไม่ขดั กับหลักการ
อิสลาม
จุดเน้นประการส าคัญของ บุ รฮานุ ดดี น อัล ซัรนู ญีย ์ คื อการนาวิธี ก ารสอนแบบ
ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางมาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน สอดคล้องกับแนวคิดของ จอห์น ดิวอี้ (John
Dewey) ซึ่ งเป็ นต้นคิดในเรื่ องของ “การเรี ยนรู้โดยการกระทา” หรื อ “Learning by Doing” (Dewey
,1963) อันเป็ นแนวคิดที่แพร่ หลายและได้รับการยอมรับทัว่ โลกมานานแล้ว การจัดการเรี ยนการ
320

สอนโดยให้ผูเ้ รี ยนเป็ นผูล้ งมื อปฏิ บตั ิจดั กระทานี้ นับว่าเป็ นการเปลี่ ยนบทบาทในการเรี ยนรู ้ ของ
ผูเ้ รี ยนจากการเป็ น “ผูร้ ับ” มาเป็ น “ผูเ้ รี ยน” และเปลี่ ยนบทบาทของครู จาก “ผูส้ อน” หรื อ “ผู้
ถ่ายทอดข้อมูลความรู ้ ” มาเป็ น “ผูจ้ ดั ประสบการณ์ การเรี ยนรู้ ” ให้ผูเ้ รี ยน ซึ่ งการเปลี่ยนแปลง
บทบาทนี้ แท้จริ งแล้ว บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์ ได้เสนอแนวคิดการสอนแบบผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญก่อน
จอห์น ดิ วอี้ เป็ นร้ อยๆปี มาแล้ว และอีก หลากหลายแนวความคิดที่อ ัล ซัรนู ญียไ์ ด้เสนอและถู ก
นามาใช้ในกระบวนการเรี ยนการสอนปั จจุบนั เช่น

1( เสรี ภาพทางการศึกษา

อัลซัรนูญีมองว่าผูเ้ รี ยนมีสิทธิเสรี ภาพในการเลือกที่จะเรี ยนในศาสตร์แขนงวิชา


ต่างๆ มีสิทธิ์ ที่จะเลือกผูส้ อน และเลือกที่จะคบเพื่อน ซึ่ งแนวคิดของท่านที่เกี่ยวสิ ทธิ เสรี ภาพของ
ผูเ้ รี ยนโดยสังเกตแล้วมีพ้ืนฐานมาจากวิธีการศึกษาในอิสลามหรื อเรี ยกว่า อัลตัรบียะฮฺ อิสลามียะฮฺ
ซึ่ งอัลลอฮฺได้ตรัสว่า

    

"ไม่มีการบังคับใด ๆ ในศาสนา" (อัล-บะกอเราะฮ์ : 256)

ปั จจุบนั ได้มีการเรี ยกร้องในเรื่ องสิ ทธิ เสรี ภาพทางศึกษาซึ่ งอัล ซัรนูญียไ์ ด้นาเสนอ
แนวคิ ด ดัง กล่ า วไว้ก่ อ นนัก คิ ด ทางการศึ ก ษาหลายๆท่ า น จนกลายเป็ นแหล่ ง อ้า งอิ ง ให้ ก ับ นัก
การศึ ก ษาปั จจุ บ นั หนึ่ ง ในบรรดานัก การศึ ก ษาเหล่ า นั้น คื อ โจฮัน ไฮริ ช เปสตาลอสซี่ โดยได้
เรี ยกร้องให้ผสู ้ อน ให้เกียรติผเู ้ รี ยน และให้สิทธิ เสรี ภาพเพื่อให้ความสนใจของผูเ้ รี ยนปรากฏออกมา
(al-Ibrashi:1950:3)

มาเรี ย มอนเตสซอรี ได้กล่าวว่า เป้ าหมายของการศึกษาคือ การจัดอบรมเพื่อพัฒนา


ศักยภาพผูเ้ รี ยน และส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง

จอห์นดิวอี้ได้มีแนวคิด ว่า การสอนแบบโครงการมีเป้ าหมายในการฝึ กฝนผูเ้ รี ยนที่


จะพึ่งตนเองในการค้นหาปัญหา พินิจวิเคราะห์และในการแก้ปัญหา.

แนวคิดเสรี ภาพทางการศึกษาของอัลซัรนูญีย ์ เป็ นแนวคิดที่ให้สิทธิ กบั ผูเ้ รี ยนใน


การเลือกผูส้ อน เลือกวิชาที่จะเรี ยน เลือกเพื่อนที่จะคบหาสมาคม แต่ตอ้ งหลังจากได้มีการปรึ กษา
อาจารย์ผสู้ อน
321

2( ในเรื่ องความสาคัญและคุณค่าของความรู ้และผูส้ อน

บุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์ ได้ให้แนวคิดว่า ถ้าผูเ้ รี ยนไม่ให้เกียรติผสู ้ อนก็จะไม่ได้มา


ซึ่ งความรู ้และประโยชน์ของความรู ้ ซึ่ งท่านยอัลซัรนูยี ได้อธิ บายรู ปแบบการให้เกียรติผสู ้ อน คือ 1.
ไม่ควรที่จะเดินต่อหน้าอาจารย์ผสู ้ อน 2. ไม่ควรที่จะนัง่ กับที่ของอาจารย์ผสู ้ อน3. ไม่ควรที่จะพูดใน
ขณะที่อาจารย์ผสู้ อนกาลังสอน นอกจากจะได้รับอนุ ญาตก่อน 4. ไม่ควรพูดมากในขณะที่อาจารย์
กาลังสอน 5. ไม่ควรที่ จะถามในขณะที่ อาจารย์ผูส้ อนเหนื่ อยหน่ าย 6. ไม่ควรที่ จะพูดในขณะที่
อาจารย์ผสู ้ อนอยู่กบั เพื่อนของเขา 7. ไม่ควรที่จะถามในขณะที่อาจารย์กาลังเดินทาง 8.ไม่ควรเคาะ
ประตูบา้ นอาจารย์ผสู้ อนและจงรอจนกว่าท่านจะออกมา

3.การศึกษาอย่างต่อเนื่อง
บุรฮานุ ดดีน อัลซัรนูญีย ์ มองว่าการศึกษาจะต้องมีความต่อเนื่ อง เริ่ มตั้งแต่ในเปล
จนถึ งหลุ มฝั งศพ และท่านยังตัก เตื อนว่า มิ ให้มีการหยุดพักจากการศึ กษาเพราะมันจะทาให้แรง
บันดาลใจในการศึกษาลดลง อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

    

“และจงกล่าวเถิดข้าแต่พระเจ้าของข้าพระองค์ขอพระองค์ทรง
โปรดเพิ่มพูนความรู ้แก่ขา้ พระองค์ดว้ ย”(ฏอฮา :11)
4.ความเข้าใจ
อัลซัรนู ญียไ์ ด้ต้ งั เงื่ อนไขในการศึกษาว่า ให้นกั ศึกษารับในสิ่ งที่เขาเข้าใจและห่ าง
ใกลจากสิ่ งที่ไม่เข้าใจเพราะมันจะนามาซึ่ งความขี้ เกี ยจ และเสี ยเวลา และมันยังขจัดความเฉลี่ ยว
ฉลาดให้หายไป โจฮันน์ ไฮน์ริค เปสตาลอซซี่ ได้เน้นในการสร้างความเข้าใจในการเรี ยนการสอน
ซึ่ งท่านได้เรี ยกร้ องให้ผสู ้ อนพยายามให้เวลากับผูเ้ รี ยนในทุ กจุดของการเรี ยนเพื่อความเข้าใจของ
ผูเ้ รี ยน(Shafshaq,n.d.:239)
นางมาเรี ย มอนเตสซอรี ได้เน้นและให้ความสาคัญในการสร้างความเข้าใจในการ
อ่านและเขียน ซึ่ งแท้จริ งการเขียนไม่ใช่การโอนย้ายตัวอักษรแต่การเขียนคือการทาความเข้าใจกับ
ตัวอักษรที่ได้อ่าน(abdulaziz:1978:67)
322

5.การศึกษาแบบค่อยเป็ นค่อยไป
อัลซัรนู ญียไ์ ด้ให้ความสาคัญในการเรี ยนการสอน ถึ งการศึกษาแบบค่อยเป็ นค่อย
ไป กล่าวคือผูเ้ รี ยนควรเริ่ มเรี ยนสิ่ งที่ใกล้กบั ความเข้าใจของผูเ้ รี ยนก่อน โดยเฉพาะในการกาหนดสิ่ ง
ที่จะเรี ยนสิ่ งที่ท่องจาได้
ไทเลอร์ มีแนวคิดว่า การจัดช่วงลาดับ (sequence) หมายถึง หรื อการจัดสิ่ งที่มีความง่าย ไปสู่ สิ่ง
ที่มีความยาก ดังนั้นการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ ให้มีการเรี ยงลาดับก่อนหลัง เพื่อให้ได้เรี ยนเนื้ อหาที่ลึกซึ้ ง
ยิง่ ขึ้น

6.ความสัมพันธ์ระหว่างความรู ้กบั การปฏิบตั ิ


ท่านได้ยกตัวอย่างคากล่าวของท่าน อบูหะนีฟะฮฺได้กล่าวว่า

‫م العلم إال العمل به‬

“ไม่ถือว่าเป็ นความรู้นอกจากจะได้ปฏิบตั ิตาม”


การศึกษาหาความรู ้ ควบคู่กบั การปฏิ บตั ิถือว่าเป็ นเงื่ อนไขสาคัญในการศึกษาเพื่อ
ไม่ให้ผเู ้ รี ยนรู ้วา่ สิ่ งจะเรี ยกเป็ นความรู ้คือสิ่ งที่ได้ปฏิบตั ิ มันไม่ใช่ความรู ้นอกจากต้องปฏิบตั ิ
การศึกษาในอิสลามได้เน้นหนักในเรื่ องของการปฏิบตั ิ การที่จะถือว่าการศึกษานั้น
ได้ประสบความสาเร็ จก็ต่อเมื่อได้ปฏิบตั ิสิ่งที่ได้เรี ยนรู ้มา อัลลอฮฺได้ตรัสว่า

        

ความว่ า “แท้จริ ง บรรดาผูท้ ี่ มี ค วามรู ้ จากปวงบ่ า วของพระองค์


เท่านั้นที่เกรงกลัวอัลลอฮฺ” (อัลฟาฏิร 28)
ในอายะฮฺ ดงั กล่าวจะบ่งบอกว่า ความรู ้ น้ นั ทาให้ผคู ้ นได้ยาเกรงต่ออัลลอฮฺ และ
ได้ปฏิบตั ิในสิ่ งที่พระองค์ได้สงั่ ใช้
โจฮัน ได้ ก ล่ า วว่ า ไม่ มี ค วามหมายใดๆส าหรั บ ความรู ้ ที่ ไ ม่ มี ก ารปฏิ บ ัติ ( Al-
Abrashi:1369:16) และเช่ นเดี ยวกันจอห์น ดิ วอี้ ได้เน้นย้ าในเรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างความรู ้ กบั
การปฏิ บ ตั ิ โดยได้ก ล่ า วว่า มัน จาเป็ นต้องมี ก ารเชื่ อมสั ม พันธ์ ระหว่า งความรู ้ ก ับ การปฏิ บ ตั ิ (Al-
Shaibani:1975:359)
323

4. ผูส้ อน
แนวคิดการศึกษาด้านผูส้ อนของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์
ต่างก็มีความคล้ายคลึ งกัน โดยภาพรวมคุ ณลักษณะของผูส้ อนจะต้องมีความยาเกรงต่ออัลลอฮฺ มี
ความรับผิดชอบ มี ความบริ สุทธิ์ ใจ มี ความเสี ยสะอย่างเต็มที่ ในการทาหน้าที่ มีบุคลิ กภาพที่ ดี มี
เมตตาต่อผูเ้ รี ยน มี ความรู ้ จริ งในสาขาที่สอน เป็ นต้น มุหัมมัด บิน สะหฺ นูนจะให้ความสาคัญและ
อธิ บายเกี่ยวกับคุณลักษณะของผูส้ อนได้อย่างละเอียด โดยการแบ่งคุณลักษณะของผูส้ อนออกเป็ น 4
ด้า นคื อ คุ ณลัก ษณะด้า นวิชาชี พ คุ ณลัก ษณะด้านการ คุ ณลักษณะส่ วนตัว และคุ ณลัก ษณะด้า น
ความสัมพันธ์ กบั ผูเ้ รี ยน สอดคล้องกับแนวคิ ดของ Abu Hamid al-Ghazali (1992: 77-82( ได้
กล่าวถึงคุณลักษณะของผูส้ อนด้านความสัมพันธ์กบั ผูเ้ รี ยน ดังนี้
1. ปฏิบตั ิต่อผูเ้ รี ยนด้วยความรัก ความเมตตาและอ่อนโยน
2. ผูส้ อนจะต้องปฏิบตั ิตามแบบอย่างของท่านรอซู ้ล คือการเรี ยนการสอนไม่ควรมี
เจตนาเพื่อแสวงหาผลตอบแทน
3. ผูส้ อนต้องให้คาชี้แนะแนวทางแก้ผเู ้ รี ยน เช่น ไม่ให้ขา้ มไปเรี ยนวิชาในระดับสู ง
ในขณะที่ยงั ไม่ได้ผา่ นการเรี ยนวิชาพื้นฐาน
4. สอดแทรกสิ่ งที่ละเอียดอ่อนเข้าในในการเรี ยนการสอน เช่นการพยายามปลูกฝัง
นิสัยที่ดีแก่ผเู ้ รี ยน
5. ครู ตอ้ งมีความรับผิดชอบอย่างจริ งจังต่อวิชาที่สอน
6. หากผูเ้ รี ยนมีสติปัญญาด้อย ผูส้ อนควรสอนให้เหมาะสมกับระดับสติปัญญาของ
ผูเ้ รี ยน
สอดคล้องกับ Watchareeya Wanglem (1997:43-60 อ้างจาก ซอลีฮะห์ หะยีสะมะ
แอ, 2546 :21( ได้กล่าวถึงผูส้ อนทางด้านวิชาชีพและด้านสังคม โดนสรุ ปจากแนวคิดหรื อทัศนะของ
บรรดานักปราชญ์ นักการศึ กษาของมุ สลิ ม อาทิ เช่ น อิม่าม อัล-เฆาะซาลี , อิบนุ ญามาอะฮฺ , Talat
Sultan ดังนี้
1. มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาที่สอน
2. มี จิตวิญญาณแห่ งความเป็ นครู ยึดมัน่ ในคุ ณธรรมและจรรยาบรรณครู ในการ
สอน
324

3. มี ทกั ษะความสามารถในถ่ ายโยงวิชาความรู ้ ประสบการณ์ ให้แก่ นักเรี ยนด้วย


ความเชื่อมัน่ และศรัทธา
4. มีความจริ งใจและเสี ยสละอุทิศเวลาในการวางแผน เตรี ยมการสอน และการชี้ นา
จิตวิญญาณเด็กสู่ แนวทางอิสลาม
5. มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ รู ้จกั ประยุกต์ใช้ทกั ษะการสอน แนวคิด วิธีการสอน
และสื่ อการสอนที่ทนั สมัยและสอดคล้องกับกลุ่มของผูเ้ รี ยนและวิชาที่สอน
5.ผูเ้ รี ยน

มุหัมมัด บิน สะหฺนูน บุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์


1. มีมรรยาทที่ดีงามตามแบบฉบับของท่านนบี 1)มารยาทของผู้เรียนกับพระเจ้ า
 และกฎเกณฑ์ที่ศาสนาได้กาหนดไว้
2. สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างครู ผสู ้ อนกับ มีเจตนาที่ดี การมอบหมายการงานต่างๆต่อ
ผูเ้ รี ยน เอกองค์อลั ลอฮ(‫ )الت كل‬การระวังตน (‫)ال ع‬
3. ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องปฏิบตั ิตามนัยแห่งพระมหา การละหมาดและอิบาดัตสุ นตั ต่างๆ การชูกรู
คัม ภี ร์อลั กุ รอาน เพื่ อนามาสู่ ค วามเชื่ อมั่นใน และการราลึกถึงอัลลอฮฺ และการขอดุอาอฺ
เกี ย รติ ย ศอัน สู ง ส่ ง ของพระมหาคัม ภี ร์ อ ัล กุ
รอาน 2)มารยาทของผู้เรียนต่ อตนเอง
4. ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องอ่านอัลกุรอานในเวลาและ
1. เอาเวลาเพื่อทาในสิ่ งที่ดีและการภักดี
สถานที่ ที่ เ หมาะสม ไม่ ค วรอ่ า นตามถนน
ต่ออัลลอฮฺ
สาธารณะหรื อในห้องน้ า
5. ในหมู่นกั วิชาการด้านนิ ติศาสตร์ ได้ให้ 2. พยายามหลีกเลี่ยงจากจารยามารยาทที่ไม่ดี
ความเห็นว่า ไม่สามารถที่จะจับต้องอัลกุรอ่าน 3. พยายามลดความสัมพันธ์กบั โลกดุนยา
ได้ นอกจากจะอยูใ่ นสภาพที่มีน้ าละหมาด 4.ทุ่มเทความพยายามอย่างพอดิบพอดีไม่มาก
เท่านั้น แต่ก็ยงั อนุ โลมให้กบั เด็กๆ ที่ยงั ไม่ เกินไปและไม่นอ้ ยเกินไปเพื่อมิให้เบื่อหน่าย
บรรลุนิติภาวะ สามารถจับต้องและอ่านอัลกุ และละทิ้งการเรี ยน
รอานได้ ถึงแม้จะไม่มีน้ าละหมาดก็ตาม
5. มีความกระตือรื อร้น
6. ในขณะที่ผสู ้ อนได้ฟังอัลกุรอานที่อ่านโดย
เด็กนักเรี ยนเมื่อถึ งอายะฮฺ ที่ตอ้ งซู ญูดตีลาวะฮฺ 6.อดทนในการศึกษาหาความรู้
ผูส้ อนไม่จาเป็ นต้องก้มสู ญูดถ้าเด็กนักเรี ยนยัง 3) มารยาทของผู้เรียนต่ อผู้สอน
325

ไม่บรรลุนิติภาวะ แต่ถา้ เด็กนักเรี ยนที่บรรลุนิติ 1. สร้างความใกล้ชิดกับผูส้ อนและเพื่อนฝูง2.


ภาวะแล้วครู ผสู ้ อนก็สามารถเลือกปฏิบตั ิได้ การถ่อมตนและให้เกี ยรติผสู ้ อน3. ให้เกี ยรติ
7. ช่วงเวลาที่สุดในการศึกษาอัลกุรอานคือช่วง ลูกหลานของผูส้ อน
เช้า(เวลาดุฮา) จนถึงตะวันลับขอบฟ้ า 4) มารยาทของผู้เรียนต่ อเพือ่ นฝูง
8. ห้ามครู ผสู้ อนเลื่อนจากบทหนึ่งไปยังอีกบท 1. พยายามห่ างไกลจากการนิ นทาผูอ้ ื่น และ
หนึ่ งนอกจากผูเ้ รี ย นจะท่องจาบทเก่ า ให้หมด นัง่ กับผูท้ ี่ชอบพูดในเรื่ องที่ไม่เป็ นสาระ
ก่อน

จากแนวคิดการศึกษาด้านผูส้ อนของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูน และบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญีย ์จะ


เห็ น ได้ว่า จุ ด เน้น ที่ ส าคัญของนัก การศึ ก ษาทั้ง สองท่ า นคื อ เรื่ อ งการมี ม ารยาทของผูเ้ รี ย น ทั้ง นี้
เพราะว่าการมีมารยาทที่ดีจะทาให้ง่ายต่อการได้รับความเมตตาและความรู ้ จากผูส้ อน นอกจากนั้น
ผูเ้ รี ยนจะต้องมีการอ่าน ศึกษา และทาความเข้าใจอัลกุรอานและนาหลักคาสอนไปปฏิ บตั ิ มีความ
กระตื อรื อ ร้ น ความอดทนในการแสวงหาความรู ้ และจากสิ่ ง ที่ ก ล่ า วมาทั้ง หมด ผูเ้ รี ย นจะต้อ ง
มอบหมายและหมัน่ ขอดุอาต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ ดังที่อลั ลอฮฺได้ตรัสว่า
“และผูใ้ ดมอบหมายแด่อลั ลอฮฺ พระองค์ก็จะทรงเป็ นผูพ้ อเพียงแก่
เขา แท้จริ ง อัล ลอฮฺ เ ป็ นผูท้ รงบรรลุ ใ นกิ จ การของพระองค์โดย
แน่ นอนสาหรั บทุกสิ่ งอย่างนั้นอัลลอฮฺ ทรงกาหนดกฎสภาวะไว้
แล้ว” (อัฏเฏาะลาก:3)

“และพระเจ้าของพวกเจ้าตรัสว่า จงวิงวอนขอต่อข้า ข้าจะตอบรับ


แก่พวกเจ้า ส่ วนบรรดาผูโ้ อหังต่อการเคารพภักดีขา้ นั้น จะเข้าไป
อยูใ่ นนรกอย่างต่าต้อย”(ฆอฟิ ร :60)

อิบนุ กษีร กล่าวว่า “นี้ คือเกี ยรติและความประเสริ ฐของอัลลอฮฺ ที่กาชับให้บ่าวของ


พระองค์น้ นั ดุอาอฺอ์ และวิงวอนต่อพระองค์พร้อมรับประกันในเรื่ องของการตอบรับ”( Ibn Kathir,
1986 : 92)
326

วัตถุประสงค์ ของการวิจัยข้ อที่ 3. เพื่อศึ กษาระดับความคาดหวังของครู อิสลาม


ศึกษาต่ อการประยุกต์ ใช้ แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺนูนและบุรฮานุดดีนอัลซั รนูญีย์
ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

จากการวิเคราะห์ ขอ้ มู ล พบว่า ระดับ ความคาดหวัง ของครู อิส ลามศึ กษาต่ อการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามทั้ง 5 ด้ า น คื อ เป้ าหมายและวัต ถุ ป ระสงค์ ก ารศึ ก ษา หลัก สู ต ร
กระบวนการเรี ยนการสอน ผูส้ อน และ ผูเ้ รี ยน อยูใ่ นระดับมากแต่ไม่ถึงขั้นดีมาก ทั้งนี้ อนั เนื่ องจาก
ส่ วนใหญ่ของความคาดหวังของครู อิสลามศึ กษายังไม่เข้าใจและไม่มีความรู ้ เกี่ ยวกับแนวคิ ดทาง
การศึกษาของ มุหมั มัด บิน สะหฺ นุนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญี

แต่อย่างไรก็ตาม ทุกองค์ความรู ้ ที่เกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิ น


สะหฺ นูนและบุ รฮานุ ดดี นอัลซัรนู ญียไ์ ม่ได้หมายความว่าครู อิสลามศึ กษาจะต้องเห็ นด้วยเสมอไป
ตราบใดถ้าไม่ขดั แย้งกับอัลกุรอานและซุ นนะฮฺ ของท่านนบี แต่เป็ นแนวทางหรื อแบบอย่างให้กบั
ครู อิสลามศึกษาที่จะประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาดังกล่าว

วัตถุประสงค์ ของการวิจัยข้ อที่ 4.เพือ่ ศึกษาแนวทางการประยุกต์ ใช้ แนวคิดทางการ


ศึ กษาของ มุ หัมมัด บินสะหฺ นูนและ บุ รฮานุ ดดีนอัลซั รณูญีย์ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม อภิปรายผลได้ ดังนี้

จากการวิจยั พบข้อเสนอแนะที่เป็ นแนวทางสาคัญในการประยุก ต์ใ ช้ในคิดทาง


การศึกษาของมุหมั มัด บินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญีย ์
1(สร้างความรู้ ความเข้าใจและความตระหนัก เกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ ห้ผบู้ ริ หาร ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู้ อน และผูเ้ รี ยน

2)จัดกิจกรรมต่างๆที่มุ่งสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของ มุหมั มัด


บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญี

3)จัดนิเทศให้กบั ผูบ้ ริ หารและครู ผสู ้ อน


327

4) สร้างแรงจูงใจและมอบรางวัลให้กบั คุณครู ในการจัดการเรี ยนการสอนที่ได้เน้น


แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี น อัลซัรนู ญีย ์ 4)จัดอมรมผูบ้ ริ หาร
ฝ่ ายวิชาการ ครู ผสู้ อนและผูเ้ รี ยนให้เข้าใจแนวคิดทางการศึกษามุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ด
ดีน อัลซัรนูญีย ์
5) ให้ชุมชน หรื อ หน่ วยงานเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทาหลักสู ตรที่เน้นแนวคิด
ทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
6) โรงเรี ยนต้องส่ งเสริ มในการเรี ยนรู ้ ตามแนวคิดของที่เน้นแนวคิดทางการศึกษา
ของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียอ์ ย่างเต็มที่
7) ผูบ้ ริ หารและครู ร่วมกันสร้างหลักสู ตรที่เน้นแนวคิดทางการศึกษาของ มุหมั มัด
บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
8) สร้างกระบวนการพัฒนาครู ให้เป็ นไปตามเนื้ อหาของแนวคิดทางการศึกษาของ
มุหมั มัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
9) ศึกษาดูงานตามสถานศึกษาๆที่ได้ปฏิบตั ิตามแนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด
บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญีย ์
การให้องค์ความรู้ ที่ เกี่ ยวกับแนวคิดทางการศึ กษาของนักการศึ กษามุ สลิ มให้กบั
เหล่ าบรรดาครู อิสลามศึกษาถื อว่าเป็ นหนทางหนึ่ งในการพัฒนาสภาพการเรี ยนการสอนอิสลาม
ศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามซึ่ งมันมีความจาเป็ นอย่างยิ่งสาหรับครู อิสลามศึกษาทุก
คนที่จะต้องศึกษาและทาความเข้าใจแนวคิดทางการศึกษาของนักการศึกษามุสลิมเพื่อมาประยุกต์ใน
สนามการศึกษาปัจจุบนั

7.3 ข้ อเสนอแนะการวิจัย
จากการวิจยั เรื่ อง แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนเละบุรฮานุ ด
ดี น อัล ซั ร นู ญี ย ์ ก ับ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามผู้วิ จ ัย มี ป ระเด็ น
ข้อเสนอแนะดังนี้

7.5.1 ข้ อเสนอแนะเพือ่ นาผลการวิจัยไปใช้


1.ควรมีการเผยแพร่ แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ด
ดีน อัลซัรนูญียใ์ นสถาบันการศึกษา
328

2.ควรใช้เ ทคนิ ค และวิ ธี ก ารสอนของมุ หั ม มัด บิ น สะหฺ นู น และบุ ร ฮานุ ด ดี น


อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
3.ควรวางปรั ช ญาและวัตถุ ป ระสงค์การศึ กษาตามแนวคิ ดของท่า นมุ หัม มัด บิ น
สะหฺ นูนและบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

7.5.2 ข้ อเสนอแนะเพือ่ ทาวิจัยต่ อไป


1.ควรทาการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของนักการศึกษาอิสลามท่านอื่นๆ
ที่มีชื่อเสี ยงทั้งอดีตและปั จจุบนั
2.ควรทาการศึกษาเปรี ยบเทียบแนวคิดทางการศึ กษาระหว่างอุลามาอฺ ในอดี ตกับ
นักการศึกษาปัจจุบนั
3.ควรท าการศึ ก ษาภาคสนามเกี่ ย วกับ แนวคิ ด ทางการของอุ ล ามาอฺ ท่ า นอื่ นๆที่
ประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
329

บรรณานุกรม
ก. ภาษาต่ างประเทศ
Abduni, Kamel.2004.Haqiqatul Mu’allim wal Mu’ta’allim bil Fikr at-Tarbawi al-Islami. ‫(حقيقة‬
)‫ادلعلم وادلتعلم ابلفكر ال رتبوي اإلسالمي‬.Irbid:Darul Kitab al-Thaqafi.

Abu al-Fida’, Isma’il Ibn Kathir.1993.Tasir al-Quran al-Azim)‫ (تف سري الفرآن العظيم‬.Beirut: Dar
al-Khair li al-Tiba’ah.

Abu Dawud, Sulaiman Bin al-Ash‘ath al-Sajastani al-Azdi. 1969. Sunan Abi Dawud. ‫(سنن‬
)‫أيب داود‬. Beirut : Dar al-Hadith

Ahmad,Sa’id Mursi.1987. Tatawwur al-Fikr al-Tarbawi)‫(تطورالفك رالرتبوي‬.Cairo:Alam al-Kutub.

Ahmad Bin Muhammad Bin Hanbal. 1995. al-Musnad li al-Imam Ahmad Bin Muhammad
Bin Hanbal. (‫ ) ادلسند لإلمام أمحد بن حنبل‬. al-Qahirah : Dar al-Hadith

al-Ahwani, Ahmad, Fuad.d.n. al-tarbiah fil Islam )‫(ال رتبية يف اإلسالم‬.Cairo.Darul Maarif.

al-Amayirah,Muhammad Hasan.2000. al-Fikr al-Tarbawi al-Muqarin ‫( الفكر الرتبوي‬


)‫ ادلقارن‬.Amman:Darul Masirah.

al-Amayiroh,Muhammad Hassan.2001. al-Fikr at-tarbawi al-Islami ‫(الفكر الرتبوي‬


)‫اإلسالمي‬.Amman:Dar al-Masiroh.

al-A’ni,Wajihah Thabit.2003.al-Fikr at-Tarbawi al-Muqarin)‫( الفكر ال رتبوي ادلقارن‬.Dar Ammar.

al-Asfahani,al-Ragib.1992.Mufradat Alfazul Quran)‫(مفردات ألفاظ القرآن‬.Dawudi,Sofwan


Adnan.Dimashq:dar al-Qolam.

al-Baidawi,Nasiruddin.1911.Anwaru al-Tanzil)‫(أنوار التن زيل‬.al-Matba’ah Uthmaniah.

al-Baihagi,Ahmad Bin al-Hasan.1989.Sunan al-Sughra(‫ )سنن الصغرى‬Beirut:Dar al-kutub


al-Ilmiyah
330

al-Baihagi,Ahmad Bin al-Hasan.2003a.Sunan al-Kubra(‫ )سنن الكربى‬Beirut:Dar al-kutub


al-Ilmiyah

_______________________2003b.sha’bul Iman(‫ )شعب اإلميان‬India:Maktabah al-Rushd

al-Bazzar,1988.Musnad al-Bazzar(‫)مسند الب زار‬Medina:Maktabah al-ulum wa al-Hikam

al-bukhari,Muhammad bin Isma’il.1986.Sahih al-Bukhari)‫(صحيح البخاري‬.Mustofa al-


Buga.Beirut:Dar Ibn Kathir.

al-Darimi,Abu Muhammad Abdullah Bin Abdulrahman.2013.Musnad al-Darimi( ‫مسند‬


‫)الدارمي‬Dar alBashaeir.

al-Daruqutni,Abu al-hasan Ali Bin Umar.2004.Sunan Al-Daruqutni(‫ )سنن الدارقطين‬Beirut:


Mu’assasah al-Risalah

al-Fairuz Abadi,Muhammad bin Ya’qub.1994.al-Qamus al-Muhit)‫(القاموس احمليط‬.al-


Baqaey,Yusuf al-Shaeik.Beirut.Dar alfikr.

Al-Gamidi,Abdulrahman Bin Hajar.1997.Madkhal Ila al-Tarbiah al-Islamiah ‫(مدخل إىل الرتبية‬


)‫اإلسالمية‬.Riyad:Dar al-Kharijy li al-Nashr wa al-Tauzie.

al-Gazali,Muhammad.1979.Nazariah al-Tarbiah al-Islamiah li al-Fard wa al-Mujtama’ ‫(نظرية‬


)‫ال رتبية اإلسالمية للفرد واجملتمع‬.Buhus Usus al-Tarbiah.Mecca:Ummu al-Qura University.

Al-Hakim, Abu ‘Abdullah Muhammad Ibn ‘Abdullah al-Nisaburi. 2002. AlMustadrak ‘Ala al-
Sahihayn (‫ )ادلستدرك على الصحيحني‬. Mustafa ‘Abdulqadir ‘Ata, tahqiq. Beirut: Dar al-
Kutub al-‘Ilmiyah.
al-Hamidi,Zahroh Muhammad. d.n. al-A’ra’al-Tarbawiah inda Shaeik Abdullah Muhammad al-
Khulaifi)‫(اآلراء ال رتبوية عند الشيخ عبد هللا بن دمحم اخلليفي‬.

al-Hanafiyah,)‫( اجلواهر ادلضيئة يف طبقات احلنيفية‬.Matba’ah Esa al-Halaby wa Sharikah.


331

al-Hazimi,Khalid hamid.2000.Usul al-Tarbiah al-Islamiah)‫(أصول ال رتبية اإلسالمية‬.Riyad:Dar alam


alam al-Kutub.

al-Hijazi,Abdul-Rahman Uthman.1986.al-Mazhab al-Tarbawi inda Ibn Sahnun ‫(ادلذهب الرتبوي‬


)‫ عند ابن سحنون‬Beirut: Mussasah al-Risalah.

al-Qadi Iyad, Iyad Bin Musa.1998.Tartibulmadarik wa Taqribul masalik ‫(ترتيب ادلدارك وتقريب‬
)‫ادلسالك‬.Beirut:Dar al-Kutub al-Ilmiah.

al-Qazwini,Muhammad Bin Yazid.n.d.Sunan Ibn Majah)‫(سنن ابن ماجه‬.Abdul Baqi, Muhammad


Fuaad.Beirut:Dar al-Fikr.
al-Qurashi,Mahyuddin Abu Muhammad Abdul Qadir Bin Muhammad.1978.al-Jawahir al-
Mu’di’ah fi Tobaqat al-Hanafiah
al-Qurashi,Mahyuddin Abu Muhammad Abdulqadir Bin Muhammad.1978.al-Jawahir al-Mudiah
Fi Tabaqat.

Ali,Idris.1984.Madkhal Ila Ulum al-Tarbiah)‫(مدخل إىل علوم ال رتبية‬.n.p.

al-Khuli,Abdul-badie Abdul-aziz.and Ali,sa’ed Isma’el.1990.al-Tarbiah wa Ta’lim inda Ibn


Jauzi)‫( ال رتبية والتعليم عند ابن اجلوزي‬.Cairo:A’lamul Kutub.

al-Kailani,Majid Ursan.1897.Tatawwur Mafhum Nazariah at-tarbawiah al-islamiah ‫(تطور مفهوم‬


)‫نظ رية ال رتبوية اإلسالمية‬.beirut:dar ibn kathir.

Al-kanudi,Muhammad abdulhay.n.d.al-fawaed al-bahiah fi tarajum al-hanafiah ‫(الفوائد البهية يف‬


)‫ت راجم احلنفية‬.beirut:dar al-ma’rifah.

al-Kailani,majid ursan.1987.tatawwur mafhum nazariah al-Tarbawiah al-Islamiah ‫(تطور مفهوم‬


)‫نظ رية ال رتب وية اإلسالمية‬.Amman:Jameitul Ummal al-Matabie al-Taawuniah.

al-Maliky,Abi Bakar Abdullah Bin Umar.1994.Riyadu al-Nufus)‫(رايض النفوس‬.Beirut:Dar al-


Arab al-Islami.
332

al-Mirginani, Burhanuddin.1965.al-Hidayah fi Bidayati al-Mubtadie)‫(اذلداية يف بداية ادلبتدئ‬.al-


Halabi.
al-Nasae,Abu Abd Rahman Ahmad bin Shu-aib .1986.Sunan al-Nasae(‫)سنن النسائي‬Abu
Guddah.Halab:Maktabah al-Matbu’at al-Islamiah.

al-Nujaihi,Muhammad Labib.1981.fil Fikr al-Tarbawi)‫(يف الفكر الرتبوي‬.Beirut:Darul al-Nahdah


al-Arabiah.

al-Nuri,abdulgani.1986.al-Tarbiah al-Islamiah Baina al-Asolah wa al-Mu’a’soroh‫(ال رتبية اإلسالمية‬


)‫اإلسالمية بني األصالة وادلعاصرة‬.Qatar:Darulqatari Bin al-Fujaah.

al-Naqib,Abdulrahman.1996.al-Tarbiah al-Islamiah al-Mu’a’siroh fi Muwajahah al-Nizam al-


A’lami al-Jadid)‫(ال رتبية ادلعاص رة يف مواجهة النظام النظام اجلديد‬.Cairo:Dar al-fikr al-Arabi.

al-Najjar,Ragib al-Asfahany.1995.Azmatu al-Ta’lim al-Mu’a’sir wa Hululuha al-Islamiah ‫(أزمة‬


)‫ التعليم ادلعاصر وحلوذلا اإلسالمية‬.Riyad:Addar al-A’lamiah lil Kutub Islami

al-Nahlawi,Abdul Rahman.1982.Usul al-Tarbiah al-Islamiah wa Asalibuha ‫(أصول ال رتبية اإلسالمية‬


)‫وأساليبها‬.Dimashq:Dar al-Fikr

al-Nahwee, Adnan Bin Ali Rida Bin Muhammad.2000.Annahjul Imani li al-Tafkir.Dar al-
Nahwee.

al-Ruyani,Abubakr Muhammad Bin Harun.1995.Musnad al-ruyani( ‫مسند‬


‫)الروايين‬Cairo:Muassasah Qurtubah

al-Shafie,Abu abdillah.1979.Musnad al-Shafie(‫ )مسند الشافعي‬Beirut:Dar al-kutub al-Ilmiah


__________________.1994.al-umm(‫ )األم‬Beirut:Dar al-Ma’rifah

Ali Ahmad Madkur. 1987. Manhaj al-Tarbiyah al-Islamiyah Usuluhu wa Tatbiqatuh.


( ‫ (منهاج ال رتبية اإلسالمية أصوذلاوقواعدها‬. Kuwait : Maktabat al-Falah
333

Ali, Said Ismail.1987.al-Fikr al-Tarbawi al-Arabi al-Hadith ‫(الفكر الرتبوي العريب‬


)‫ احلديث‬.Kuwait:A’lamul Marifah.

Ali,Said Ismail.2005.Usul al-Tarbiah al-Islamiah)‫(أصول ال رتبية اإلسالمية‬.Cairo:Darul Salam.

Ali,Said Ismail.1987.al-Fikr al-Tarbawi al-Arabi al-Hadith ‫( الفكر الرتبوي العريب‬


)‫ احلديث‬.Kuwait:Darul Ma’rifah.

Ali,Said Ismail.2006.al-Fikr al-Tarbawi al-Islami wa Tahddiat al-Mustaqbal ‫(الفكر الرتبوي‬


)‫ اإلسالمي وحتدايت ادلستقبل‬.Cairo:Darussalam.

Ali,Said Ismail.1986.Ma’a’hid al-Tarbiah al-Islamiah)‫(معاهد الرتبية اإلسالمية‬.al-Maktabah al-


Arabiah li Addirasat al-Arabiah.

Al-Qasusy,Muhammad Khair.1998.Mu’hadarat fi al-Usul al-Islamiah li al-Tarbiah ‫(زلاض رات يف‬


)‫ األصول اإلسالمية للرتبية‬. Beirut:al-Maktab al-Islami.

al-Sa’di,Abdulrahman Nasir.1996.Taisir al-Karim al-Rahman fi Tafsir Kalam al-Mannan ‫(تيسري‬


)‫الكرمي الرمحن يف تفسري كالم ادلنان‬.Beirut:Mu’assasah al-Risalah.

al-Tamimy,Ta’qi’yuddin Abdulqadir.1983.al-Tabaqat al-Sunniah fi Ta’rajum al-


Hanafiah)‫( الطبقات السنية يف ت راجم احلنفية‬.Riyad:Dar al-Rifae li al-Nashr wa al-Tauzie.

al-Turmudhi,Abu Esa. 1975. Sunan al-Turmuzy)‫(سنن الرتمذي‬.Shakir,Ahmad .Cairo:


Muhammad.Matbaah Mustofa al-yabi

al-Tobarani,Sulaiman Bin Ahmad Al-Shami.n.d. Mukjam al-Ausat(‫)معجم األوسط‬Cairo : Dar al-


Haramain

__________________________.1994. Mukjam al-Kabir(‫ )معجم ا لكب ري‬Cairo: Maktabah Ibn


Taimiah

__________________________.1985. Musnad al-Shamiyin(‫ )معجم ا لشاميني‬Beirut:Mu’assasah


al-Risalah
334

__________________________.1984. Mukjam al-Saghir(‫ )معجم الصغري‬Beirut: Dar Ammar

al-Zarkali,Khairuddin.1984.al-A’lam Qamus Ta’rajum li Ashhar al-Rijal wa al-Nisa’al-Arab wa


al-Musta’Ribin wa al-Musta’Riqin ‫( األعالم قاموس ت راجم ألشهر الرجال والنساء العرب‬
)‫ وادلستع ربني وادلستشرقني‬.Beirut:Dar al-Ilm li al-Ma’layin.

al-Zarnuji wa al-Shaukani)‫( دراسة مقارنة لنسق التعلم لدى كل من الزرنوجي والشوكاين‬.Buhus al-
Mu’ tamar al-Tarbawi

al-Zarnuji,Burhanuddin.1986.ta’lim al-Muta’allim Toriqat ta’allum)‫ (تعليم ادلتعلم طريق التعلم‬.


Mustofa A’shur.Cairo:Maktabah al-Quran.

al-Zarnuji,Burhanuddin.1981.Ta’lim al-Muta’allim Toriqatta’allum)‫ (تعليم ادلتعلم ط ريق التعلم‬.al-


Qubani,Marwan.Beirut:al-Maktab al-Islami.

al-Zarnuji, Burhanuddin.1977.Ta’lim al-Muta’allim toriqatta’allum ‫(تعليم ادلتعلم ط ريق‬


)‫التعلم‬.Uthman,Saiyed Ahmad.Cairo:al-Maktabah al-Anjalu li Misriyah.

al-Zarnuji,Burhanuddin.1986.Ta’lim al-Muta’allim Toriqatta’allum ‫(تعليم ا دلتعلم طريق‬


)‫التعلم‬.Uthman, Ahmad,Muhammad Abdulqadir.Cairo:al-Maktabah al-Nahdah al-
Misriah.
al-Zahaby,Shamsuddin Muhammad Bin ahmad.1987.Tarikhul Islam wa Wafayat al-Mashahir wa
al-A’lam ) ‫ ( ر ي خ ا إل سالم و و يات ا دل شاه ري و ا أل ع الم‬.Tadammury,Umar
Abdulsalam.Beirut:Dar al-Kitab al-Arabi.

Garbal,Shafiq Muhammad.1972.al-Mausu’ah al-Arabiah al-Muyassaroh ‫( ادلوسوعةالع ربية‬


)‫ ادليسرة‬.Dar al-Shaab wa Mu’assasah Franklin.

Good Carter V.1973. Dictionary of education. 2d ed. New York:Mc-Graw-Hill.

Hashim ‘Ali al-Ahdal. 1413. al-Tarbiyyat al-Dhatiyyah Min al-Kitab wa al-Sunnah. ‫(الرتبية‬
)‫الذاتية من الكتاب والسنة‬. Dar al-Ahadal : Makkat al-Mukarramah
335

Husni, Abdulwahab Hasan.1972.Mujmal Tarikh al-Adab ‫(رلمل ريخ األدب‬


)‫التونسي‬.Tunisia:Maktabah al-Manar.

Ibn A’rad,Abusaeid Ahmad Bin Muhammad.n.d.Mukjam Ibn A’rabi(‫ )معجم ابن األع رايب‬Saudi
Arabia:Dar Ibn Jauzi

Ibn Abdilbar,Abu Umar Yusuf Bin Abdillah.1994.Jamie bayan al-Ilm wa fadlih( ‫جامع بيان العلم‬
‫)و ضله‬Saudi Arabia:Dar Ibn al-Jauzi

Ibn Asakir.1995.Tarikh Dimashq(‫ ) ريخ دمشق‬Dar al-fiqh li al-Tiba’ah

Ibn Eyad,Abu al-Fadl Eyad Bin Musa.1968.Ta’rajum Aglabiah Mustakhrajah min Madarik al-
Qadi Eyad)‫) ت راجم أغلبية مستخرجة من مدارك القاضي عياض‬.al-
Talibi,Muhammad.Tunisia:al-Matbaah al-Rasmiah.

Ibn Hajar,Ahmad Bin Ali bin Hajar.1986.Lisanulmizan)‫(لسان ادلي زان‬.Dar al-Ma’a’rif al-
Nizamiyah.Beirut:Mu’assasah al-A’lami
Ibn Khaldun. 1978. al-Muqaddimah ) ‫( ادلقدمة‬. Beirut : Dar al-Qalam
Ibn Majah,Abu Abdillah Muhammad Bin Yazid.2009.Sunan Ibn Majah(‫)سنن ابن ماجة‬al-Arna-ub
Shuaib.Dar Risala al-A’lamiah
Ibn Qayyim Aljauziah.2011.Mitah Dar Assaadah wa Manshur Wilayati Alilm wal
Iradah.Abdulrahman Hasan Qaid.Jeddah:Mujammaa Fiqh Alislami.

Ibrahim,Muhammad Ibrahim.2004.Tatawwur al-Fikr al-Tarbawi)‫(تطورالفك رالرتبوي‬.Riyad:Dar al-


Zaitunah.
Khurshid, Ibrahim Zaki.1983.Cairo: Dar al-Ma’a’rif al-Islamiah.

Kahalah,Umar Rida.1957.Mu’jam al-Mu’al lifin,Tarajum Musannifi al-Kutub al-Arabiah ‫(معجم‬


)‫ت راجم مصنفي الكتب الع ربية‬،‫ادلؤلفني‬.Beirut:Maktabah Dar al-Ihya al-Turath.

Kaiyat,Muhammad Jamil.1986.al-Nazariah al-Tarbawiah fi al-Islam Dirasatan Tahliliah ‫(النظرية‬


)‫ال رتبوية يف اإلسالم دراسة حتليلية‬.Mecca:Matabie Sofa.
336

Maktabah al-Tarbiah al-Arabi li Dualilkhalij.n.d.min A’lami al-Tarbiah al-Aribiah al-Islamiah ‫(من‬


)‫أعالم ال رتبية الع ربية اإلسالمية‬

Muhammad nasir.1977.al-Fikr al-Tarbawi al-Arabi al-Islami )‫( الفكرى الرتبوي العريب اإلسالمي‬
.Kuwait:Wikalah al-Matbua.

Mahjub, Abbas.2006.Usululfikr al-Tarbawi)‫ ( أصول الفكر الرتبوي اإلسالمي‬al-Islami.Jidar lil


Kitab al-A’lami.

Mahjub, Abbas.1987.Nahwu Minhaj al-Islami fi al-Tarbiah wa al-Ta’lim ‫(حنو منهج اإلسالمي يف‬
)‫ال رتبية والتعليم‬.Dimashq:Dar Ibn Kathir.

Malkawi,Fathi Hasan.1990.Nahwu Bina’Nazariah al-Tarbawiah Islamiah Mu’a’sorah ‫(حنو بناء‬


)‫نظ رية تربوية اسالمية معاصرة‬.Buhuth Mu’tamar al-Tarbawi.Jordan:Amman.

Murad,Yahya Hasan Ali.2002.Adabul a’lim wa al-Muta’al’lim inda al-Mufakkirin al-


Muslimin)‫(آداب العامل وادلتعلم عند ا دلفك رين ادلسلمني‬.Amman:Dar al-Masiroh.

Mursi,Muhammad Munir.2000.al-Tarbiah al-Islamiah Usuluha wa Tatawuruha fi al-Bilad al-


Arabiah)‫(ال رتبية اإلسالمية أصوذلا وتطورها يف البالد الع ربية‬.Cairo:Alam al-Kutub

Muslim, Abu al-Husein Muslim Bin Hujjaj al-Qushairi al-Naisaburi. 1996. Sahih Muslim.
)‫(صحيح مسلم‬. al-Riyad : Dar ‘Alam al-Kutub

Narimin Fadlu Udwan.2008.al-Infitah as-Thaqafi al-Tarbawi al-Islami ‫(اإلنفتاح الثقايف يف الفكر‬


)‫ ال رتبوي اإلسالمي‬.Gaza.Islamic University.

Nabih,yasin.n.d.ab-ad mutatawwirah lilfikr al-tarbawi)‫( أبعادمتطورةللفك رالرتبوي‬.egypt:maktabah


al-kanji.

Yaljan,Miqdad.1985.Jawanib al-Tarbiah al-Islamiah al-Asasiah ‫(جوانب ال رتبيةاإلسالمية‬


)‫األساسية‬.n.p.
337

Yaljan,Miqdad.1988.Ahdaf al-Tarbiah Islamiah wa Gayatuha ‫(أهداف ال رتبيةاإلسالمية‬


)‫ وغاايهتا‬.Riyad:Dar al-Huda li al-Nashr wa al-Tauzie.

Solibi,Jamil.1973.al-Mu’jam al-Falsafy)‫(ادلعجم الفلسفي‬.Beirut:Dar al-Kitab al-Lubnani.

Saiyid Ahmad Uthman.1989.al-Taalum inda Burhanul Islam al-Zarnuji ‫(التعلم عند برهان اإلسالم‬
)‫الزرنوجي‬Cairo : Maktabah al-Anjalu al-Misriah.

Shalabi,Ahmad.1978.al-Tarbiah Islamiah Nazmuha Falsafatuha Tarikhuha ‫(ال رتبية اإلسالمية نظمها‬


)‫ لسفتها رخيها‬.Cairo:Maktabah Nahdah al-Misriah.

Shamsuddin,Nur Abdul Amir.1985.al-Fikr al-Tarbawi inda Ibn Sahnun wal Qabisi ‫(الفكر الرتبوي‬
)‫ع ند ابن سحنون والقابسي‬,Bairut:Dar al-Faraa.

Tanu,Ibrahim Abbas.1984.Afkar al-Tarbawiah)‫(أ كار ال رتبوية‬Riyad:Kitab al-Arabi al-Saudi.

Ubud,Abdul-Ngani.1977.fi al-Tarbiah al-Islamiah)‫(يف ال رتبية اإلسالمية‬.Dar al-Fikr al-Arabi.

Yaljan,Miqdad.1981.Taujihul Mutaalim fi du’ al-Tafkirul Islami ‫(توجيه ادلتعلم يف ضوء التفكري‬


)‫ اإلسالمي‬.Saudiarabia:Riyad.

Yunus,Fathi Ali.1999.al-Tarbiah al-Diniah al-Islamiah Bayna al-Asolah wa al- Mu’a’soroh ‫(الرتبية‬


)‫اإلسالمية بني األصالة وادلعاصرة‬.Cairo:Alam al-Kutub.

Whitehead, Alfred North.1929.e Aims of Education .Newyork:Macmillan.

ข. ภาษาไทย
กมลรัตน์ หล้าสุ วงษ์. 2528. จิตวิทยาการศึกษาฉบับปรั บปรุ งใหม่ . พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุ งเทพมหานคร :
ห้างหุ น้ ส่ วนจากัดศรี เดชา.

ชม ภูมิภาค 2523 . จิตวิทยาการเรี ยนการสอน(ฉบับปรั บปรุ งใหม่ ). กรุ งเทพมหานคร :ไทยวัฒนา


พานิช จากัด

ซอลีฮะห์ หะยีสะมาแอ.2551. มโนทัศน์ การศึกษาในอิสลาม.ปัตตานี:มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


338

เดโซ สวนานนท์ 2520. ปทานุกรมจิตวิทยา. กรุ งเทพมหานคร :พีระพัฒนา

ทิศนา แขมมณี . 2545. ศาสตร์ การสอน: องค์ ความรู้ เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ทมี่ ี


ประสิ ทธิภาพ. กรุ งเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี . 2555. 14 วิธีสอนสาหรับครู มืออาชี พ. กรุ งเทพมหานคร :แห่งจุฬาลงกรณ์


มหาวิทยาลัย

นินาวาลย์ ปานากาเซ็ง . 2544. คุณภาพการศึกษาของโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสาม


จังหวัดชายแดนภาคใต้ , วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริ หาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ปรี ดา คัมภีรปกรณ์. 2530. หลักการสอน เอกสารการสอนชุ ดวิชาวิทยาการการสอน (Instructional


Science). เล่ม 2 หน่วยที่ 8-15 พิมพ์ครั้งที่ 6

ปรี ยาพร วงศอ์ นุตรโรจน์ . 2544. ม.ป.ป. การบริหารงานวิชาการ .กรุ งเทพมหานคร : ศูนย์สื่อเสริ ม
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542

พรรณี ชูทยั . 2522. จิตวิทยาการเรียนการสอน (Psychology 0f Learning and teaching ) จิตวิทยา


การศึกษาสาหรั บครู ในชั้ นเรี ยน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: วรวุฒิการพิมพ์
จากัด

ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์. 2552. ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้ น. กรุ งเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ยุทธนา เกื้อกูล. 2550. วิทยาการสอนของท่ านนบีมุฮัมมัด, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ระวี ภาวิไล. 2516. บนเส้ นทางการแสวงหาดฉมหน้ าของการศึกษา. กรุ งเทพมหานคร: กรมศาสนา

ศักดา ปรางค์ประทานพร. 2523. ปรัชญาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุ ภางค์ จันทวานิช.(2549). วิธีการวิจัยเชิ งคุณภาพ. กรุ งเทพมหานคร:ด่านสุ ทธาการพิมพ์

สุ ลกั ษณ์ ศิวรักษ์. 2516. ปรัชญากาด ศึกษาไทย. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์เคล็ดไทย.


339

สมาคมศิษย์เก่าอาหรับ.1419. พระมหาคัมพีร์อัลกุรอานพร้ อมคาแปลเป็ นภาษาไทย.มะดีนะฮฺ : ศูนย์


กษัตริ ยฟ์ าฮัดเพื่อการพิมพ์อลั กุรอานแห่งมะดีนะฮฺ
สานักงานคณะกรรมการศึ ก ษาแห่ งชาติ .2542. พระราชบั ญญัติการศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542.
กรุ งเทพมหานคร: พริ กหวานกราฟิ ก

ไสว ฟักขาว. 2544. หลักการสอนสาหรับการเป็ นครู มืออาชี พ. กรุ งเทพมหานคร: เอมพันธ์

อับดุลลาตีฟ การี . 2550. การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญตามแนวปฏิรูปการศึกษา


ของครู อสิ ลามศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดปัตตานี,
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต. 2546. ประวัติการศึกษาในอิสลาม. ปัตตานี : วิทยาลัยอิสลามศึกษา


มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ฮาซัน บือราเฮง. 2553. การศึกษาในอิสลาม : แนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนรู้ , วิทยานิพนธ์


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
วิทยาเขตปัตตานี.

ฮอซาลี บินล่าเต๊ะ. 2552. หลักการจัดการศึกษาของผู้บริ หารและครู อสิ ลามศึกษาในโรงเรียนเอกชน


สอนศาสนาอิสลาม จังหวัดปัตตานี, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
340

ภาคผนวก
341

ภาคผนวก ก
หนังสื อขอความอนุเคราะห์
342

บันทึกข้อความ
ส่ วนราชการ วิทยาลัยอิสลามศึกษา สานักงานเลขานุการ โทร. 084-3968782
ที่ มอ 751/ วันที่ 7 กันยายน 2558
เรื่ อง ขอความอนุเคราะห์เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่ องมือวิจยั
เรี ยน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อะห์มดั ยีส่ ุ่ นทรง
ด้ว ยนายอาหะมะ คาเด นัก ศึ ก ษาระดับปริ ญญาเอก สาขาวิชาอิ ส ลามศึ ก ษา
วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิท ยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี กาลังทาวิทยานิ พนธ์ เรื่ อง
“แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดีนอัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ใน
โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม”โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต เป็ น
อาจารย์ที่ปรึ กษา
ในการนี้ วิท ยาลัย อิ ส ลามศึ ก ษา พิ จ ารณาแล้ว เห็ นว่า ท่ า นเป็ นผู ม้ ี คุ ณสมบัติ
เหมาะสม จึ งใคร่ ขอความอนุ เคราะห์ จากท่านได้กรุ ณาเป็ นผูเ้ ชี่ ย วชาญในการตรวจสอบความ
เที่ยงตรงตามวัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม ตลอดทั้งให้ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ เพื่อเป็ นข้อมูลสาหรับ
ผูว้ ิจยั ในการปรับปรุ งเครื่ องมือเพื่อการวิจยั ต่อไป พร้อมนี้ ขอส่ งแบบสอบถามและข้อมูลสาหรับ
ผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถามวิทยานิพนธ์ จานวน 1 ชุด
จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์ดว้ ย จักขอบคุณยิง่

(ดร.ยูโซะ ตาเละ)
ผูอ้ านวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา
343

ที่ ศธ 0521.2.08/ว1143 วิทยาลัยอิสลามศึกษา


มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
ถนนเจริ ญประดิษฐ์ ตาบลรู สะมิแล
อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
7 กันยายน 2558
เรื่ อง ขอความอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามการวิจยั
เรี ยน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จารุ วจั น์ สองเมือง
สิ่ งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถาม จานวน 1 ชุด.
ด้วยนายอาหะมะ คาเด นักศึกษาระดับปริ ญญาเอก สาขาวิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัย
อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี กาลังทาวิทยานิ พนธ์เรื่ อง “แนวคิด
ทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี นอัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม”โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต เป็ นอาจารย์ที่
ปรึ กษา
ในการนี้ วิท ยาลัย อิ ส ลามศึ ก ษา พิ จารณาแล้ว เห็ น ว่า ท่ า นเป็ นผู ท้ ี่ มี คุ ณสมบัติ
เหมาะสม จึงใคร่ ขอความอนุเคราะห์ จากท่านกรุ ณาเป็ นผูเ้ ชี่ ยวชาญในการตรวจสอบความเที่ยงตรง
ตามวัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม ตลอดทั้งให้ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ เพื่อเป็ นข้อมูลสาหรับผูว้ ิจยั ใน
การปรับปรุ งเครื่ องมือเพื่อการวิจยั ต่อไป
จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์ดว้ ย จักขอบคุณยิง่

ขอแสดงความนับถือ

(ดร.ยูโซะ ตาเละ)
ผูอ้ านวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา
สานักงานเลขานุการ
โทรศัพท์ 084-3968782
โทรสาร 0 7333 1305
344

ที่ ศธ 0521.2.08/ว1143 วิทยาลัยอิสลามศึกษา


มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
ถนนเจริ ญประดิษฐ์ ตาบลรู สะมิแล
อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
7 กันยายน 2558
เรื่ อง ขอความอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามการวิจยั
เรี ยน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ
สิ่ งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถาม จานวน 1 ชุด.
ด้วยนายอาหะมะ คาเด นักศึกษาระดับปริ ญญาเอก สาขาวิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัย
อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี กาลังทาวิทยานิ พนธ์เรื่ อง “แนวคิด
ทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี นอัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม”โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต เป็ นอาจารย์ที่
ปรึ กษา
ในการนี้ วิท ยาลัย อิ ส ลามศึ ก ษา พิ จารณาแล้ว เห็ น ว่า ท่ า นเป็ นผู ท้ ี่ มี คุ ณสมบัติ
เหมาะสม จึงใคร่ ขอความอนุเคราะห์ จากท่านกรุ ณาเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในการตรวจสอบความเที่ยงตรง
ตามวัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม ตลอดทั้งให้ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ เพื่อเป็ นข้อมูลสาหรับผูว้ ิจยั ใน
การปรับปรุ งเครื่ องมือเพื่อการวิจยั ต่อไป
จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์ดว้ ย จักขอบคุณยิง่

ขอแสดงความนับถือ

(ดร.ยูโซะ ตาเละ)
ผูอ้ านวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา
สานักงานเลขานุการ
โทรศัพท์ 084-3968782
โทรสาร 0 7333 130
345

ที่ ศธ 0521.2.08/ วิทยาลัยอิสลามศึกษา


มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
ถนนเจริ ญประดิษฐ์ ตาบลรู สะมิแล
อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
6 ตุลาคม 2558
เรื่ อง ขอความอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามการวิจยั
เรี ยน
สิ่ งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถาม เพื่อการวิจยั จานวน 1 ชุด.
ด้วยนายอาหะมะ คาเด นักศึกษาระดับปริ ญญาเอก สาขาวิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัย
อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี กาลังทาวิทยานิ พนธ์เรื่ อง “แนวคิด
ทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี นอัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม”โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต เป็ นอาจารย์ที่
ปรึ กษา
ในการนี้ นกั ศึกษาจะต้องเก็บข้อมูลจากท่านโดยการตอบแบบสอบถาม จึงใคร่ ขอ
ความอนุเคราะห์จากท่านได้โปรดให้ขอ้ มูลครั้งนี้เพื่อดาเนิ นการวิจยั ต่อไป
จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์และขอขอบคุณ เป็ นอย่างสู งมา ณ
โอกาสนี้จะขอบคุณยิง่

ขอแสดงความนับถือ

(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อะห์มดั ยีส่ ุ่ นทรง)


รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวางแผนและวิจยั รักษาราชการแทน
ผูอ้ านวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา

สานักงานเลขานุการ
โทรศัพท์ 084-3968782
โทรสาร 0 7333 1305
346

ที่ ศธ 0521.2.08/ วิทยาลัยอิสลามศึกษา


มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
ถนนเจริ ญประดิษฐ์ ตาบลรู สะมิแล
อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
6 ตุลาคม 2558
เรื่ อง ขอความอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามการวิจยั
เรี ยน
สิ่ งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถาม เพื่อการวิจยั จานวน 1 ชุด.
ด้วยนายอาหะมะ คาเด นักศึกษาระดับปริ ญญาเอก สาขาวิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัย
อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี กาลังทาวิทยานิ พนธ์เรื่ อง “แนวคิด
ทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺ นูนและบุรฮานุ ดดี นอัลซัรนู ญียก์ บั การประยุกต์ใช้ในโรงเรี ยน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม”โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต เป็ นอาจารย์ที่
ปรึ กษา
ในการนี้ นกั ศึกษาจะต้องเก็บข้อมูลจากท่านโดยการตอบแบบสอบถาม จึงใคร่ ขอ
ความอนุเคราะห์จากท่านได้โปรดให้ขอ้ มูลครั้งนี้เพื่อดาเนิ นการวิจยั ต่อไป
จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุ เคราะห์และขอขอบคุณเป็ นอย่างสู งมา ณ
โอกาสนี้จะขอบคุณยิง่

ขอแสดงความนับถือ

(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อะห์มดั ยีส่ ุ่ นทรง)


รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวางแผนและวิจยั รักษาราชการแทน
ผูอ้ านวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา

สานักงานเลขานุการ
โทรศัพท์ 084-3968782
โทรสาร 0 7333 1305
347

ภาคผนวก ข
เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
348

แบบสอบถามการวิจัย
เรื่ อง แนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺนูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์
กับการประยุกต์ ใช้ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

ข้ อชี้แจง กรุ ณาทาเครื่ องหมายในข้อที่ตรงกับความเป็ นจริ งและในช่องที่ตรงกับความคิดเห็น


ของท่านมากที่สุด

ตอนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

1. เพศ  1) ชาย  2) หญิง


2. อายุ  1) ต่ากว่า 20 ปี  2) 21 - 40 ปี
 3) 41 – 60 ปี  4) 60 ปี ขึ้นไป
3. ระดับการศึกษาสู งสุ ด
 1) ประถมศึกษา  2) มัธยมศึกษาตอนต้น/ตอนปลาย/เทียบเท่า
 3) ปริ ญญาตรี  4) สู งกว่าปริ ญญาตรี
4. ประสบการณ์ในการสอน
 1) น้อยกว่า 5 ปี  2) 5-9 ปี
 3) 10-15 ปี  4) 16-20 ปี
 5) อื่นๆ โปรดระบุ ……………………………………….
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับแนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺนูนและบุรฮานุดดีนอัลซัรนูญยี ์
กับระดับความคาดหวังต่ อการประยุกต์ ใช้ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

คาชี้แจง โปรดทาเครื่ องหมาย  ลงในช่องแสดงระดับความคาดหวังที่ตรงกับแนวคิดทางการ


ศึกษาของท่านมากที่สุด ซึ่ งแต่ละระดับมีความหมายดังนี้
ระดับที่ 5 หมายถึง มากที่สุด
ระดับที่ 4 หมายถึง มาก
ระดับที่ 3 หมายถึง ปานกลาง
ระดับที่ 2 หมายถึง น้อย
ระดับที่ 1 หมายถึง น้อยที่สุด
349

ระดับการประยุกต์ ใช้
ประเด็น/ด้ าน ข้ อคาถาม
5 4 3 2 1
1. ด้ านปรั ชญาและเป้ าหมายของ ท่ านคิดว่ าโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควรมี
การศึกษา ปรั ชญาและเป้ าหมายของการศึ กษาในเรื่ องต่ อไปนี้
อยู่ในระดับใด
1.1 ปรั ช ญาและเป้ า หมายของ
การศึ ก ษาของมุ หั ม มั ด บิ น สะหฺ
นูน
1.เพื่อยึดมัน่ ในศาสนา
2.เพื่อเผยแพร่ ความรู ้ทางศาสนา
3.เพื่อเพิ่มพูนในวิชาความรู ้
4.เพื่อเกียรติยศและศักดิ์ศรี
5.เพื่อแสวงหาปัจจัยยังชีพ
6.เพื่อจรรยามารยาทที่ดีงาม
1.2ปรั ชญาและเป้ าหมายของ
ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง บุ ร ฮ า นุ ด
ดีนอัลซัรนูญยี ์
7.เพื่อการยาเกรงต่ออัลลอฮฺ
8.เพื่ อฝึ กฝนในจรรยามารยาทอัน ดี ง ามและสู ง ส่ ง
พร้อมละทิ้งในสิ่ งที่ไม่ดี
9.เพื่อเป็ นแนวทางศึกษาถึงความรู ้ทางโลกนี้
10.เพื่อแสวงหาโลกหน้า
11.เพื่อรักษาไว้ซ่ ึงศาสนาและคงมีไว้ซ่ ึงอิสลาม
12.เพื่อตอบแทนพระคุณของอัลลอฮฺ
13.เพื่อหลีกเลี่ยงจากการยิง่ ยโสโอ้อวดในวิชาความรู ้
14.เพื่อห่างไกลจากโลกดุนยา
15.เพื่อฝึ กฝนทักษะการคิดและสรุ ปผล
16.เพื่อศรัทธาด้วยการใช้สติปัญญา
17.เพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
350

18.เพื่อคานึงถึงคุณค่าของความรู ้
2. ด้ านหลักสู ตร ท่ านคิดว่ าโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควรมี
หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนในเรื่ อ งต่ อ ไปนี้ อ ยู่ ใ น
ระดับใด
2.1หลัก สู ต รการศึ ก ษาของมุ หั ม
มัด บิน สะหฺนูน
19.มีการจาแนกระหว่างวิชาบังคับกับวิชาเลื อก โดย
วิชาอัลกุรอาน เป็ นวิชาบังคับ และวิชา คณิ ตศาสตร์
กวี ค าแปลก ภาษาอาหรั บ และการเขี ย นหลัก ไว
ยกรณ์อาหรับเป็ นวิชาเลือก
20.หลัก สู ต รได้เ น้น เนื้ อ หาวิช า เช่ น กวี ค าแปลก
ภาษาอาหรับและการเขียน หลักไวยกรณ์อาหรับ
21.บังคับผูเ้ รี ยนต้องศึกษาอัลกุรอาน
22.หลักสู ตรควรบู รณาการระหว่างความรู ้ ทางโลก
ดุนยาและอาคิเราะห์
23.หลักสู ตรควรเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนด้านจิตวิญญาณ

2.2 หลังสู ตรการศึ กษาของบุรฮา


นุดดีน อัลซัรนูญยี ์
24. จาแนกหลักสู ตรการเรี ยนการสอนออกเป็ น 2
ประเภท คือ อิลมุล หาล (‫( ) علم الحال‬ความรู ้ที่มี
ต้องต้องการทุกสถานการณ์)และอิลมฺ บะอฺ ดุลอะหา
ยีน(‫( )علم بعض األحايين‬ความรู ้ที่มีความต้องการ
บางช่วงเวลา)
25.แบ่งอิลมุหาลออกเป็ น 4 ชนิดด้วยกัน
1 ความรู ้ที่เกี่ยวกับการอิบาดาต
2 ความรู ้ ที่ เ กี่ ย วกับ สั ง คม เช่ น การซื้ อขาย การ
แต่งงาน เป็ นต้น
3 ความรู ้ ที่เกี่ ยวกับจิ ตใจ เช่ น การยาเกรง และการ
351

ถ่อมตนต่อเอกอัลลอฮฺ
4 ความรู ้ที่เกี่ยวกับจรรยามารยาท

26.ฟัรฎูกิฟายะฮฺออกเป็ น สอง ชนิด


คื อ สิ่ งที่ จาเป็ นส าหรั บมุ สลิ ม เช่ น การท่องจาอัล กุ
รอาน และสิ่ งที่ ไ ม่ ใ ช่ ค วามรู ้ ท างชะรี อะฮฺ เช่ น
การแพทย์ คณิ ตศาสตร์
27.หลัก สู ตรได้ก าหนดให้มี รายวิช าดัง นี้ เช่ น วิช า
เอกภาพ (‫)التوحيد‬วิชาฟิ กฮฺ วิชา กวีอาหรับ(‫)الشعر‬
วิ ช าอั ล กุ ร อาน วิ ช าการคั ด ลายมื อ (‫) خط‬วิ ช า
แพทยศาสตร์
3. ด้ า นกระบวนการเรี ย นการ ท่ านคิดว่ าโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควรมี
สอน กระบวนการเรี ย นการสอนในเรื่ อ งต่ อ ไปนี้ อ ยู่ ใ น
ระดับใด
3.1 กระบวนการเรี ย นการสอน
ของมุหัมมัด บิน สะหฺนูน
28.สอนแบบบรรยาย
29.สอนแบบอภิปราย
30.สอนแบบท่องจา
31.สอนแบบร่ วมมือ
32.สอนแบบค่อยเป็ นค่อยไปที่ละขั้น
33.ให้ความแตกต่างระหว่างบุคคล
34.การสอนแบบการใช้สื่อการเรี ยนการสอน
35.การสอนแบบทัศนศึกษา
36.การให้ความเสมอภาคระหว่างผูเ้ รี ยน
37. การสร้างความเป็ นมิตรระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน
352

38. การสอนแบบฝึ กฝนปฏิบตั ิ


39.การสอนแบบตัรฆีบและตัรฮีบ
3.2กระบวนการเรี ย นการสอน
ของบุรฮานุดดีน อัลซัรนูญยี ์
40.การอภิปราย)‫) املناظرة‬
41.การตั้งคาถาม)‫ (املطارحة‬คือการโยนคาถามหรื อ
ตั้งโจทย์ต่างๆการอภิปรายร่ วมกัน
42.การย้อนคิดทบทวน)‫(املذاكرة‬
43.การใช้คาถาม)‫(السؤال‬
44.การสร้างความเข้าใจ
45.การสังเกต และการคิดใคร่ ครวญ
46.การไปทัศนศึกษา
47.การบันทึก
48.ให้เกียรติความรู ้และผูร้ ู ้
49.การคัดเลือก วิชาความรู ้อาจารย์และเพื่อน
ฝูง
50.ใช้ ค วามพยายาม อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และสร้ า ง
แรงจูงใจ
51.การใช้ความอดทน
52.เลือกช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาหาความรู ้
53.อาศั ย เคล็ ด ลั บ ช่ ว ยจ าคื อ ความจริ งจั ง ความ
ขยันหมัน่ เพียร กิ นแต่น้อย ทาการละหมาดยามค่ า
คื น และการอ่ า นอัล กุ ร อ่ า น การแปรงฟั น การดื่ ม
น้ าผึ้ ง การรั บ ประทานน้ าเต้ า ผสมน้ าตาล และ
ประทานลู ก เกดสี แดงเข้ม จ านวนยี่ สิ บเอ็ ด เม็ ด
ระหว่างมื้อเช้า
353

54. ห่ างไกลจากสาเหตุของการหลงลืม เช่น การทา


มะอฺ ศิ ย ัต การท าบาปต่ า งๆ มี ค วามคิ ด ที่ ฟุ้ ง ซ่ า น
โศกเศร้ าเสี ยใจเกี่ ยวกับเรื่ องทางโลก หมกมุ่นอยู่กบั
เรื่ องไร้ ส าระ และการรั บประทานอาหารอัน เป็ น
สาเหตุ ให้ เกิ ดเสมหะและน้ ามู กก็ ท าให้ ความจ าลด
เลือนได้
55.ขอค าแนะน าและค าปรึ กษาจากผู ้ ส อ นใน
การศึกษาหาความรู ้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
56. เลือกสถานที่ที่เหมาะสมในการศึกษาหาความรู ้
57.เลือกช่วงอายุที่เหมาะสมในการเริ่ มเรี ยน
58.ทบทวนบทเรี ยนอย่างสม่าเสมอ
59. การจับจ่ายใช้สอยและรับประทานอาหารอย่าง
พอประมาณและพอเพียง
60. คาบเวลาการเรี ยนการสอนไม่มากเกินไป
61.การใช้สติปัญญาในการศึกษาหาความรู ้
62.การประเมินตนเอง
63.การเรี ยนแบบค่อยเป็ นค่อยไป
64.เขียนบทสรุ ปหลังจากเลิกเรี ยน
65.ควรบันทึกสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนเข้าใจ
66.พยายามห่างไกลหลีกเลี่ยงจากเพื่อนที่ไม่ดี
67.ควรใช้จ่ า ยในการศึ ก ษาและห่ า งไกลจากการ
ตระหนี่ถี่เหนียว
68.พยายามเชิญชวนและตักเตือนในสิ่ งที่ดี
69.พยายามยุ่ง เกี่ ยวกับ การงานที่ ดีและห่ า งไกลกับ
การงานที่ตามอารมณ์ใฝ่ ต่า
70.สร้ า งเจตนาที่ บ ริ สุ ทธิ์ ในการศึ ก ษาแสวงหา
ความรู ้
354

71.ทุ่มเทเวลาให้กบั การศึกษา
72.สร้างความตื่นเต้น (‫)التشويق‬
73.การศึกษาอย่างต่อเนื่อง
74.เลือกช่ วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาหาความรู ้ คือ
ช่ ว งเช้ า ช่ ว งสุ หู ร (ก่ อ นละหมาดซุ บ ฮฺ ) และช่ ว ง
ระหว่างมัฆริ บและอิชาอฺ
75.ศึกษาหาวิชาความรู ้ที่หลากหลายเมื่อมีความรู ้สึก
เบื่อในวิชาที่ได้เรี ยนก็หนั ไปศึกษาในวิชาอื่น
76.เตรี ยมพร้อมในเรื่ องอุปกรณ์การเขียน
77.ผูเ้ รี ยนไม่ควรนอนและกินมากเกินไป
78.หันหน้าไปทางทิศกิบละฮฺในเวลาเรี ยน
79.ใกล้ชิดกับบุคคลที่ศอลิหฺและห่ างไกลกับบุคคลที่
ชอบทาบาปและทาชัว่
80.อ่านดุอาอฺ ก่อนเริ่ มอ่านหนังสื อ
81.กล่าวสรรเสริ ญต่อท่านนบี
82.ให้ความสาคัญและให้เกียรติกบั หนังสื อ
83.ทาการซิวากหรื อแปรงฟัน
4. ด้ านผู้สอน ท่ านคิดว่ าโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควรมี
แนวคิดเกีย่ วกับผู้สอนในเรื่ องต่ อไปนีอ้ ยู่ในระดับใด
4.1ผู้ ส อนตามแนวคิ ด ของมุ หั ม
มัด บินสะหนูน
4.1.1 ภาระหน้าที่ของผูส้ อน
84.ดูแลและให้ความสาคัญกับผูเ้ รี ยน
85.ผูส้ อนควรให้เวลากับการสอนอย่างเต็มที่
86.ผูส้ อนไม่ควรดาเนิ นภารกิ จหรื อกิ จการใดๆที่ไป
รบกวนกิ จการการสอนนอกจากในเวลาที่ไม่มีการ
355

เรี ยนการสอน
87.ไม่ควรที่ จะกาชับให้คนหนึ่ งคนใดไปช่ วยสอน
นอกจากว่ามันจะให้ประโยชน์กบั ผูเ้ รี ยน
88.ผูส้ อนไม่ควรที่จะสั่งใช้ผูเ้ รี ยนไปรับใช้ในความ
ต้องการส่ วนตัวของผูส้ อน
89.ผูส้ อนไม่ควรที่จะสอนอัลกุรอานแลตารับตารา
ให้กบั บุตรของชนต่างศาสนิก
90.ผูส้ อนผูช้ ายไม่ควรที่จะสอนผูเ้ รี ยนผูห้ ญิง ไม่ควร
ที่จะรวมเรี ยนระหว่างผูห้ ญิงกับผูช้ าย
91.ผูส้ อนไม่มุ่งเป้ าหมายชี วิตไปที่ความสุ ขทางโลก
ดุ น ยาโดยใช้วิ ช าความรู ้ เ ป็ นเครื่ อ งมื อ ในการหา
ทรัพย์สิน ตาแหน่ง ลาภยศและอื่นๆ
92.ไม่ ค วรที่ จ ะให้ ผู ้เ รี ย นศึ ก ษากับ ผู ้เ รี ย นด้ว ยกัน
นอกจากด้วยการอนุ ญาตจากผูป้ กครอง หรื อ บ้าน
ของผูเ้ รี ยนอยูใ่ กล้กนั
93.ในขณะที่ มีการเรี ยนการสอนไม่ควรที่ จะละทิ้ ง
ภาระหน้าที่ด้วยการไปละหมาดศพ(ละหมาดญินา
ซะฮฺ)
94.ผูส้ อนไม่ ค วรที่ จะให้ผูเ้ รี ย นขาดเรี ย นนอกจาก
ด้วยการอนุญาตจากผูป้ กครอง
95.ผูส้ อนไม่ควรที่จะเขี ยนหรื ออ่านในขณะที่มีการ
เรี ยนการสอนนอกจากหลังเสร็ จภาระกิ จการเรี ย น
การสอน
4.1.2 บุคลิกภาพของผูส้ อน
4.1.2.1 ด้านวิชาความรู ้
96.ท่องจาอัลกุรอาน โดยสามารถรู ้หุก่มตัจวีด
97.มี ความรู ้ เกี่ ยวกับฟิ กฮฺ เพื่อที่สามารถสอนเด็กใน
เรื่ องของการละหมาดและบทบัญญัติต่างๆที่เกี่ยวกับ
การละหมาด การอาบน้ าละหมาด และเงื่อนไขตางๆ
356

ของการละหมาด
98.มี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกับ ไวยกรณ์ ภ าษาอาหรั บ เพื่ อ
สามารถที่ จะสอนเด็กเกี่ ยวกับหลักพื้นฐานของการ
เขียนด้วยหลัก ไวยกรณ์ ภาษาอาหรับ และสามารถ
แต่งประดยคได้อย่างถูกต้อง
99.สื บค้น และอ่านเพิ่มเติมจากตาราที่เป็ นมรดกทาง
วิช าการ เพื่ อ ผู เ้ รี ย นสามารถท่ อ งจ าบทกวีอ าหรั บ
และที่สาคัญอย่างยิ่งผูส้ อนการคัดหลายมือ ต้องเป็ น
ผูท้ ี่มีลายมือการเขียนที่สวยงาม
4.1.2.2 ด้านมารยาทของผูส้ อน
100.บริ สุทธิ์ ใจ(อิคลาส)
101.มีความยาเกรงต่อเอกองค์อลั ลอฮฺ
102.มีความรู ้สึกรับผิดชอบต่อหน้าที่
103.มีความอ่อนโยน รักและเอ็นดูผเู ้ รี ยน
104.เสี ยสละเวลาให้กบั ผูเ้ รี ยน
105.มีความสุ ขุมรอบคอบและการรู ้ จกั ยับยั้งตนเอง
หรื อ อัลวัรอฺ(‫)الورع‬
4.1.2.3 การลงโทษ
1) เงื่อนไขของการลงโทษ
106. มีเป้ าหมายเพื่อเด็กได้รับประโยชน์จากการ
ลงโทษ
107. ผูส้ อนไม่ควรตีเกิ นสามครั้ง นอกจากจะได้รับ
อนุญาตจากผูป้ กครอง
108.ผูส้ อนควรลงโทษเด็ก ด้วยตนเอง และควรใช้
ความเมตตาในการตี
109.ไม่ควรที่จะตีผเู ้ รี ยนในขณะที่มีความโกรธแค้น
110.ห้ามด่าและใช้คาที่ไม่สุภาพ
357

111.สถานที่ สาหรั บ ตึ เด็ กนั้นต้องเป็ นที่ ที่ป ลอดภัย


คือ ต้นขา และส้นเท้า และไม่ควรตีที่หวั และใบหน้า
112.ไม่ควรตีเด็กที่อายุยงั ไม่ถึง 10 ขวบ
113.ไม่ ค วรตี เ ด็ ก โดยปราศจากการอนุ ญ าตจาก
ผูป้ กครอง
114.ผูส้ อนต้องคานึ งถึ งร่ างกายของผูเ้ รี ยนเวลาจะ
ลงโทษ และผู ้ส อนต้อ งรั บ ผิ ด ชอบในกรณี ตี เ กิ น
ขอบเขต
2) รู ปแบบและวิธีการลงโทษ
115.ให้คาตักเตือน
116.ให้ผูป้ กครองได้รั บ รู ้ ถึ งนิ สั ย มารยาทของเด็ ก
แ ล ะ ใ ห้ ผู ้ ป ก ค ร อ ง มี่ ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข
เปลี่ยนแปลงมารยาทของเด็ก
117.มีการเชื่ อมสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อนกับผูป้ กครอง
ของเด็ก และผูส้ อนมีหน้าที่ประกาศให้ผูป้ กครองรู ้
เวลาเด็กขาดเรี ยน
118.ในกรณี เด็กไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขตัวเอง
ก็ควรใช้วิธีอื่นในการลงโทษ เช่ น วิธีการตาหนิ ตาม
ลาพัง หลังจากนั้นตาหนิต่อหน้าเพื่อนฝูงจานวนมาก
3) อุปกรณ์สาหรับใช้ในการตี
119.ไม้เท้า โดยมีเงื่อนไขว่า ไม่ควรที่จะหนาเกินไป
ซึ่ งทาให้กระดูกของเด็กนั้นแตกหัก หรื อบางเกินไป
ทาให้อนั ตรายต่อร่ างกายของเด็ก
120.ดุรเราะหฺ (ไม้หวาย) มีเงื่อนไขว่า ต้องเปี ยกและ
อ่อนที่ไม่ทาอันตรายต่อร่ างกายเด็ก
4.2 ผู้ สอนตามแนวคิ ด
ของอัลซัรนูญยี ์
4.2.1-คุ ณสมบัติเกี่ ยวกับศักยภาพ
ของผูส้ อน
358

121.มีบุคลิกภาพที่ดี

122. มีความรู ้และความวัรอฺ


123. การนอบน้อมถ่อมตน
124. ความอ่อนโยนและความอดทน
125. มีความเมตตา
126. ห่ างไกลจากการกล่าวตาหนิ (ประณาม)ผูเ้ รี ยน
และการอิจฉาริ ษยา
127.ผูส้ อนควรให้อภัยผูอ้ ื่น
128.ผูส้ อนไม่ควรที่จะโต้เถียงผูอ้ ื่น
4.2.2-คุ ณ สมบัติ เ กี่ ย วกับ หน้ า ที่
ของผูส้ อน
129.ให้ ค าปรึ กษาผู ้เ รี ยนพร้ อ มแนะน าเกี่ ย วกั บ
สาขาวิชาที่ถนัด
130.ควรคานึงถึงระดับของผูเ้ รี ยนและความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
131.มีความเมตตาและตักเตือนผูเ้ รี ยน
5. ด้ านผู้เรียน ท่ านคิดว่ าโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควรมี
แนวคิดเกีย่ วกับผู้เรียนในเรื่ องต่ อไปนีอ้ ยู่ในระดับใด
5.1.1ผู้เรี ยนตามแนวคิดมุ หัมมั ด
บิน สะหฺนูน
5.1.1 มารยาทผูเ้ รี ยนต่ออัลกุรอาน
และวิชาวิชาความรู ้
132.มีมรรยาทที่ดีงามตามแบบฉบับของท่านนบี

133.สร้ างความสั มพันธ์ อนั ดี ระหว่า งครู ผูส้ อนกับ


ผูเ้ รี ยน
359

134.ผูเ้ รี ยนจาเป็ นต้องปฏิ บตั ิ ตามนัย แห่ ง พระมหา


คั ม ภี ร์ อั ล กุ ร อาน เพื่ อ น ามาสู่ ความเชื่ อ มั่ น ใน
เกียรติยศอันสู งส่ งของพระมหาคัมภีร์อลั กุรอาน
135.ผูเ้ รี ย นจาเป็ นต้องอ่ า นอัล กุ รอานในเวลาและ
สถานที่ที่เหมาะสม ไม่ควรอ่านตามถนนสาธารณะ
หรื อในห้องน้ า
136.ไม่ควรที่จะจับต้องอัลกุรอ่าน นอกจากจะอยูใ่ น
สภาพที่มีน้ าละหมาดเท่านั้น นอกจากเด็กๆ ที่ยงั ไม่
บรรลุนิติภาวะ
137.ผูส้ อนไม่ จ าเป็ นต้อ งก้ม สู ญู ดในอายะฮฺ ที่ ต้อ ง
ซู ญูดเมื่อได้ฟังอัลกุรอานจากเด็กนักเรี ยนในกรณี ที่
เด็ ก ไม่ บ รรลุ นิ ติภาวะ แต่ ถ้า เด็ ก ได้บ รรลุ นิ ติภาวะ
แล้วครู ผสู ้ อนก็สามารถเลือกปฏิบตั ิได้
138.ช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาอัลกุรอานคือช่วง
เช้า(เวลาดุฮา) จนถึงตะวันลับขอบฟ้า
5.2ผู้เรียนตามแนวคิดอัลซัรนูญยี ์
5.2.1 มารยาทของผู ้เ รี ยน ต่ อ
อัลลอฮฺ
139.สร้างเจตนาที่ดี
140.มอบหมายการงานต่างๆต่อเอกองค์อลั ลอฮ)
141.มีความสุ ขุมรอบคอบและการรู ้ จกั ยับยั้งตนเอง
หรื ออัลวัรอฺ (‫)الورع‬
142.ละหมาดและอิบาดัตสุ นตั ต่างๆ
143.ชูกูรและราลึกถึงอัลลอฮฺ
144.ขอดุอา
5.2.3 มารยาทของผู ้เ รี ย นต่ อ
ตนเอง
145.ใช้เ วลาในการกระท าในสิ่ ง ที่ ดี แ ละการภัก ดี
360

ต่ออัลลอฮฺ
146.พยายามหลีกเลี่ยงจากจารยามารยาทที่ไม่ดี
147.พยายามลดความสัมพันธ์กบั โลกดุนยา
148.ทุ่มเทความพยายามอย่างพอดิบพอดีในการเรี ยน
ไม่นอ้ ยและไม่มากเกินไปเพื่อมิให้เบื่อหน่ายและละ
ทิ้งการเรี ยน
149.มีความกระตือรื อร้น
150.อดทนในการศึกษาหาความรู ้
5.2.4 มารยาทของผู ้เ รี ย นต่ อ
ผูส้ อน
151. สร้างความใกล้ชิดกับผูส้ อนและเพื่อนฝูง
152. การถ่อมตนและให้เกียรติผสู ้ อน
153. ให้เกียรติลูกหลานของผูส้ อน
5.2.5 มารยาทของผูเ้ รี ยนต่อเพื่อน
ฝูง
154.พยายามห่ า งไกลจากการนิ น ทาผู ้อื่ น และนั่ ง
ร่ วมกับผูท้ ี่ชอบพูดในเรื่ องที่ไม่เป็ นสาระ

ตอนที่ 3 ปัญหา / ข้ อเสนอแนะ


ปัญหา 1. ....................................................................................................
2. .............................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ 1. .. ..........................................................................................................................
2. .. ..........................................................................................................................
ขอขอบคุณในความร่ วมมือที่ท่านได้เสี ยสละเวลาให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์แก่ผวู ้ ิจยั ในครั้งนี้

วันที่..............เดือน...........................พ.ศ.2558
361

แบบสั มภาษณ์
โครงการวิจัย เรื่ องแนวคิดทางการศึกษาของมุหัมมัด บิน สะหฺนูนและบุรฮานุดดีนอัล-ซัรนูญีย์กบั
การประยุกต์ ใช้ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
****************************

ข้ อมูลพืน้ ฐาน
ชื่ อ.............................นามสกุล..................
เพศ .........................อายุ......................ปี
ตาแหน่งผูใ้ ห้สัมภาษณ์...................................................................................
หน่วยงาน.................................................................
เวลาเริ่ มต้นสัมภาษณ์...................................วันที่...........................................

1. ท่านเห็นด้วยหรื อไม่กบั ผลการวิเคราะห์ความเห็นเกี่ยวกับความคาดหวังของครู อิสลาม


ศึกษาต่อการประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัดบินสะหฺ นูนและบุรฮานุดดีนอัล-
ซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
362

2.ท่านมีขอ้ เสนอแนะอย่างไรบ้างที่จะประยุกต์ใช้แนวคิดทางการศึกษาของมุหมั มัด บิน สะหฺ นูน


และบุรฮานุดดีนอัล-ซัรนูญียใ์ นโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
......................

ผูส้ มั ภาษณ์...........................................................

วันที่......................................................................

เวลา.......................................................................
363

ภาคผนวก ค
การหาค่ าความสอดคล้องข้ อคาถามกับวัตถุประสงค์ ของแบบสอบถามเพื่อการวิจัย
(Item Objective Index : IOC)
364

ผลตรวจความเทีย่ งตรงเชิงเนื้อหา(Constent Validity)


ของแบบสอบถามเพื่อการวิจัย
ผู้เชี่ ยวชาญคนที่ IOC ผู้เชี่ ยวชาญคนที่ IOC
ข้ อที่ 1 2 3 รวม ข้ อที่ 1 2 3 รวม
1 1 1 1 3 1.00 81 1 1 1 3 1.00
2 1 1 1 3 1.00 82 1 1 1 3 1.00
3 1 1 1 3 1.00 83 1 1 1 3 1.00
4 1 1 1 3 1.00 84 1 1 1 3 1.00
5 1 1 0 2 0.67 85 1 1 1 3 1.00
6 1 1 2 0.67 86 1 1 1 3 1.00
7 1 1 1 3 1.00 87 1 1 1 3 1.00
8 1 1 1 3 1.00 88 1 1 1 3 1.00
9 1 1 1 3 1.00 89 1 1 1 3 1.00
10 1 1 1 3 1.00 90 1 1 1 3 1.00
11 1 1 1 3 1.00 91 1 1 0 2 0.67
12 1 1 1 3 1.00 92 1 1 0 2 0.67
13 1 1 1 3 1.00 93 1 1 1 3 1.00
14 1 1 1 3 1.00 94 1 1 0 2 0.67
15 1 1 1 3 1.00 95 1 1 0 2 0.67
16 1 1 1 3 1.00 96 1 1 1 3 1.00
17 1 1 1 3 1.00 97 1 1 1 3 1.00
18 1 1 1 3 1.00 98 1 1 1 3 1.00
19 1 0 1 0.33 99 1 1 1 3 1.00
20 1 1 1 3 1.00 100 1 1 1 3 1.00
21 1 1 1 3 1.00 101 1 1 0 2 0.67
22 1 1 1 3 1.00 102 1 1 1 3 1.00
23 1 1 1 3 1.00 103 1 1 1 3 1.00
24 1 1 1 3 1.00 104 1 1 1 3 1.00
25 1 1 0 2 0.67 105 1 1 1 3 1.00
26 1 1 1 3 1.00 106 1 1 1 3 1.00
365

27 1 1 1 3 1.00 107 1 1 1 3 1.00


28 1 1 1 3 1.00 108 1 1 1 3 1.00
29 1 1 1 3 1.00 109 1 1 1 3 1.00
30 1 1 1 3 1.00 110 1 1 1 3 1.00
31 1 1 1 3 1.00 111 1 1 1 3 1.00
32 1 1 1 3 1.00 112 1 1 1 3 1.00
33 1 1 1 3 1.00 113 1 1 1 3 1.00
34 1 1 1 3 1.00 114 1 1 0 2 0.67
35 1 1 0 2 0.67 115 1 1 1 3 1.00
36 1 1 1 3 1.00 116 1 1 0 2 0.67
37 1 1 1 3 1.00 117 1 1 -1 1 0.33
38 1 1 1 3 1.00 118 1 1 1 3 1.00
39 1 1 1 3 1.00 119 1 1 1 3 1.00
40 1 1 0 2 0.67 120 1 1 1 3 1.00
41 1 1 1 3 1.00 121 1 1 1 3 1.00
42 1 1 1 3 1.00 122 1 1 1 3 1.00
43 1 1 1 3 1.00 123 1 1 -1 1 0.33
44 1 1 1 3 1.00 124 1 1 0 2 0.67
45 1 1 1 3 1.00 125 1 1 1 3 1.00
46 1 1 1 3 1.00 126 1 1 1 3 1.00
47 1 1 1 3 1.00 127 1 1 1 3 1.00
48 1 1 1 3 1.00 128 1 1 1 3 1.00
49 1 1 0 2 0.67 129 1 1 1 3 1.00
50 1 1 1 3 1.00 130 1 1 1 3 1.00
51 1 1 1 3 1.00 131 1 1 1 3 1.00
52 1 1 1 3 1.00 132 1 1 1 3 1.00
53 1 1 1 3 1.00 133 1 1 1 3 1.00
54 1 1 1 3 1.00 134 1 1 1 3 1.00
55 1 1 1 3 1.00 135 1 1 1 3 1.00
56 1 1 1 3 1.00 136 1 1 1 3 1.00
366

57 1 1 1 3 1.00 137 1 1 1 3 1.00


58 1 1 1 3 1.00 138 1 1 1 3 1.00
59 1 1 1 3 1.00 139 1 1 0 2 0.67
60 1 1 1 3 1.00 140 1 1 1 3 1.00
61 1 1 1 3 1.00 141 1 1 0 2 0.67
62 1 1 0 2 0.67 142 1 1 1 3 1.00
63 1 1 0 2 0.67 143 1 1 1 3 1.00
64 1 1 1 3 1.00 144 1 1 1 3 1.00
65 1 1 1 3 1.00 145 1 1 1 3 1.00
66 1 1 1 3 1.00 146 1 1 2 0.67
67 1 1 1 3 1.00 147 1 1 1 3 1.00
68 1 1 1 3 1.00 148 1 1 2 0.67
69 1 1 1 3 1.00 149 1 1 2 0.67
70 1 1 1 3 1.00 150 1 1 1 3 1.00
71 1 1 1 3 1.00 151 1 1 1 3 1.00
72 1 1 1 3 1.00 152 1 1 1 3 1.00
73 1 1 0 2 0.67 153 1 1 1 3 1.00
74 1 1 1 3 1.00 154 1 1 1 3 1.00
75 1 1 1 3 1.00 155 1 1 1 3 1.00
76 1 1 1 3 1.00 156 1 1 1 3 1.00
77 1 1 2 0.67 157 1 1 1 3 1.00
78 1 1 2 0.67 158 1 1 1 3 1.00
79 1 1 0 2 0.67 159 1 1 1 3 1.00
80 1 1 1 3 1.00
367

รายชื่ อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่ องมือวิจัย

1. รองศาสตราจารย์ ดร. อะห์มดั ยีส่ ุ่ นทรง


ตาแหน่ง รองผูอ้ านวยการ
สถานที่ทางาน วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี

2. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จารุ วจั น์ สองเมือง


ตาแหน่ง ผูช้ ่วยอธิ การบดี
สถานที่ทางาน สานักอธิการบดี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

3. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ


ตาแหน่ง รองคณบดี
สถานที่ทางาน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
368

ภาคผนวก ง
การตัครีจญ์ หะดีษ
369

การตัครีจญ์ หะดีษในหนังสื อ อาดาบุลมุอลั ลิมนี ของมุหัมมัด บิน สะหฺนูน

เรื่ อง ตัวบทหะดีษ ตัครี จญ์ ระดับ


‫ماجاء يف‬ ‫ أفضلكم من تعلم القرآن‬al-Bukhari,1986: 4665 al- เศาะหีหฺ
‫تعليم القرآن‬ ‫ وعلمو‬Tirmidhi,1975:2851,2852
‫الع زيز‬ Abu Dawood,1969:1242
Ibn Majah,2009:207
‫ خريكم من تعلم من تعلم‬al-Bukhari,1986:4664 เศาะหีหฺ
‫ القرآن وعلمو‬al-Tirmidhi,1975:2851
Abu Dawood,1969:1242
Ahmad,1995:486
‫ يرفع هللا ابلقرآن أقواما‬Muslim,1996:1359 เศาะหีหฺ
Ibn Majah,2009:214
Ahmad,1995:233
‫ عليكم ابلقرآن فإنو ينفي‬ไม่พบหะดีษดังกล่าว
‫النفاق‬
‫إن هلل أىلني من الناس‬ Ahmad,1995:12051,12064,13281 เศาะหีหฺตามทัศนะ
ِ‫ول ه‬
, ‫اَّلل‬ َ ‫ ََي َر ُس‬: ‫يل‬ ِ Ibn Majah,2009:211 ของอัลบานียใ์ น
َ ‫ق‬
‫ " أ َْى ُل‬: ‫ال‬ َ َ‫َوَم ْن ُى ْم ؟ ق‬ al-Darimi,2013:3231 หนังสื อซิลซิละฮฺ
ِ‫آن ىم ِمن أ َْى ِل ه‬ ِ เศาะหีหะฮลิบนี
‫اَّلل‬ ْ ْ ُ ‫الْ ُق ْر‬ มาญะฮฺ
‫صتِ ِو‬‫ " َو َخا ه‬.
‫أنزل القرآن على سبعة‬ al-Bukhari,1986:7018,4678 เศาะหีหฺ
‫أحرف فاقرءوا ما تيسر‬ Muslim,1996:1360
‫منو‬
‫ من ق رأ القرآن إبع راب فلو‬al-rafie,n.d :1322 เฎาะอีฟ(หะดีษที่
‫أجر شهيد‬ อ่อน)
‫ َم ْن تَ َع له َم الْ ُق ْرآ َن ِيف َشبِيبَتِ ِو‬al-Baihaqi,1989::453,
‫ ا ْختَ لَ َط الْ ُق ْرآ ُن بِلَ ْح ِم ِو‬Ibn Abdulbar,1994:370
‫‪370‬‬

‫و َد ِم ِو ‪ ،‬ومن تَع لهمو ِيف كِ َِبهِ‬


‫ََ ْ َ َ ُ َ‬ ‫َ‬
‫فَ ه و ي ت َف له ُ ِ‬
‫ت م ْنوُ فَال يَ ْت ُرْكوُ‬ ‫ُ َ ََ‬
‫َج رهُ َم هرتَ ْ ِ‬
‫ني‪" .‬‬ ‫‪ ،‬فَ لَوُ أ ْ ُ‬
‫العدل بني‬ ‫‪ ไม่พบหะดีษดังกล่าวในตาราหะ‬أميا مؤدب ويل ثالثة صبية‬
‫الصبيان‬ ‫‪ ดีษแต่คน้ พบในหนังสื อเกี่ยวกับ‬فلم يعلمو ابلسوية‬
‫‪หะดีษเมาฎูอฺ ที่ชื่อว่า ตันซี ฮุชชะ‬‬
‫์ ‪รี อธฮฺ อลั มัรฟูอะฮฺของ อัลกินานีย‬‬
‫‪)จากการ‬تن زيو الش ريعة املرفوعة(‬
‫‪รายงานของอนัสด้วยสานวน‬‬
‫َعن أنس َم ْرفُوعا‪ " :‬أَّميَا مؤدب‬
‫ويل تَ ْع لِيم ثََالثَة صبيان من ِ‬
‫أمِت مثه‬
‫يعلمه ْم ِابل هس ِويهِة َومل يعدل بَينهم‬
‫مل ُ‬
‫حشر يَ ْوم ال ِْقيَ َامة َم َع قتلة ْاْلَنْفس‬
‫إِ ََل ََنر َج َهنهم "‬
‫ماجاء يف‬ ‫‪ Ibn al-A’rabi,n.d:1080‬ش رارأمِت معلمو صبياهنم‬
‫اْلدب‬ ‫‪ Al-Hakim,2002:44‬قلهم رمحة لليتيم وأغلظهم‬
‫على املسكني‬
‫‪ al-Bukhari,1986:6370,6372‬ال يضرب أحدكم أكثرمن‬ ‫ฺ‪เศาะหีห‬‬
‫‪ Muslim,1996: 3228‬عشرة أسواط إال يف حد‬
‫‪ al-Bukhari,1986:::7;0,:7;6‬ال حيل لرجل يؤمن ابهلل‬ ‫ฺ‪เศาะหีห‬‬
‫‪ Muslim,1996: 766<,‬واليوم اآلخر أن يضرب‬
‫فوق عشرة أسواط إال يف‬
‫حد‬
‫أدب الصيب ثالث درر‬ ‫‪ค้นพบหะดีษดังกล่าว‬‬
‫فما زاد عليو قوصص بو‬ ‫‪ในหนังสื อ อัลเตาะ‬‬
‫يوم القيامة‬ ‫) الطبقات(‪บากอต‬‬
‫‪ของ อบี อัลอะรอบ‬‬
‫‪หน้าที่ 156 และ‬‬
‫‪371‬‬

‫‪หนังสื อ ตะหฺ ซีบุลกะ‬‬


‫) هتذيب الكمال(‪มาล‬‬
‫‪ของ อิบนุมะอีน เล่ม‬‬
‫‪ที่ 16 หน้าที่ 316 เป็ น‬‬
‫ฺ‪หะดีษมักฏูอ‬‬
‫‪ al-Tirmidhi,1975:1870,‬يؤدب الرجل ولده خري‬
‫‪ Ahmad,1995:60876,60907 ,‬من أن يتصدق بصاع‬
‫‪al-Hakim:;;8:‬‬
‫ماجيب على‬ ‫‪ al-Baihaqi,sunan kubra:13595,‬هنى رسول هللا عن أكل‬ ‫اذ بْ ِن َجبَ ٍل َع ْن‬ ‫‪ ،‬مع ِ‬
‫َُ‬
‫املعلم لزوم‬ ‫‪ al-Tabarani,Musnad‬طعام النهبة‬ ‫ول‬ ‫ال ‪َ :‬ش ِه َد َر ُس ُ‬ ‫قَ َ‬
‫الصبيان‬ ‫‪shamiyin:410,al-Tabarari,al-‬‬ ‫اَّللُ َع لَْي ِو‬
‫ص لهى ه‬ ‫هِ‬
‫اَّلل َ‬
‫‪mukjam al-ausat:122‬‬
‫الك َر ُج ٍل ِم ْن‬ ‫َو َس له َم أ َْم َ‬
‫َص َحابِ ِو ‪ ،‬فَ َق َ‬
‫ال‬ ‫"‪:‬أ ْ‬
‫اْلَ ِْري َواْلُلْ َف ِة‬
‫َع لَى ْ‬
‫والطهائِ ِر الْم ْيم ِ‬
‫ون‬ ‫َُ‬ ‫َ‬
‫الرْز ِق ‪,‬‬ ‫َوال هس َعةَ ِيف ِّ‬
‫اَّللُ لَ ُك ْم ‪َ ،‬د فُِّف وا‬ ‫َاب َر َك ه‬
‫ِ‬ ‫ِِ‬
‫َع لَى َرأْسو " ‪ ،‬فَج َ‬
‫يء‬
‫ب بِ ِو ‪،‬‬ ‫ض ِر َ‬
‫ف ‪ ،‬فَ ُ‬ ‫بِ ُد ٍّ‬
‫ت اْلَطْبَا ُق‬ ‫فَأَقْب لَ ِ‬
‫َ‬
‫ِ‬
‫َع لَْي َها فَاك َهةٌ َو ُس هك ٌر ‪،‬‬
‫ف‬ ‫فَ نَ ثَ َر َع لَْي ِو فَ َك ه‬
‫هاس أَيْ ِديَ ُه ْم ‪ ,‬فَ َق َ‬
‫ال‬ ‫الن ُ‬
‫ص لهى ه‬ ‫ول هِ‬
‫اَّللُ‬ ‫اَّلل َ‬ ‫َر ُس ُ‬
‫َع لَْي ِو َو َس له َم ‪َ " :‬ما‬
‫لَ ُك ْم ال تَ ْن تَ ِهبُو َن ؟ "‬
‫ول هِ‬
‫اَّلل‬ ‫‪ ،‬قَالُوا ‪ََ :‬ي َر ُس َ‬
‫ُّهبَ ِة‬
‫‪ ،‬أ ََوَملْ تَ ْنوَ َع ِن الن ْ‬
‫‪372‬‬

‫ال ‪ " :‬إِ هَّنَا‬


‫؟ قَ َ‬
‫نَ َه ْي تُ ُك ْم َع ْن نُ ْهبَ ِة‬
‫ال َْع َساكِ ِر ‪ ،‬فَأَ هما‬
‫ات فَال ‪،‬‬
‫الْعُ ُر َس ُ‬
‫فَ َجا َذبَ ُه ْم َو َجا َذبُوهُ‬
‫‪".‬‬
‫ص َالةِ‬ ‫ُم ُروا أ َْوَال َد ُك ْم ِابل ه‬ ‫‪Abu Dawood:417‬‬
‫ِ‬
‫َو ُى ْم أَبْ نَاءُ َس ْب ِع سنِ َ‬
‫ني ‪،‬‬ ‫‪Ahmad:6514,6579,‬‬
‫‪al-Hakim:662,al-‬‬
‫وى ْم َع لَْي َها َو ُى ْم‬‫ض ِربُ ُ‬‫َوا ْ‬
‫ِ‬ ‫‪Daruqutni:768,769‬‬
‫ني ‪َ ،‬وفَ ِّرقُوا‬ ‫أَبْ نَاءُ َع ْش ٍر سنِ َ‬
‫ضِ‬
‫اج ِع"‬ ‫بَ ْي نَ ُه ْم ِيف ال َْم َ‬
‫َع ْن َعطَ ِاء بْ ِن يَ َسا ٍر ‪ ،‬قَ َ‬
‫ال‬ ‫‪al-Baihaqi,2003:3476,al-‬‬ ‫‪เฎาะอีฟ‬‬
‫‪ :‬بَ لَغَِِن أَ هن َر ُجال قَ َرأَ ِِبيٍَة‬ ‫‪Shafie,1997:703,‬‬
‫آن ِف َيها َس ْج َدةٌ ‪،‬‬ ‫ِمن الْ ُق ر ِ‬ ‫‪Shafie,1994:213,Abu‬‬
‫َ ْ‬
‫ِ‬ ‫‪Dawood,al-Marasil,67‬‬
‫اَّللُ َع لَْي ِو‬
‫ص لهى ه‬ ‫هيب َ‬ ‫ع ْن َد النِ ِّ‬
‫َو َس له َم فَ َس َج َد ال هر ُج ُل ‪،‬‬
‫ص لهى ه‬
‫اَّللُ‬ ‫هيب َ‬ ‫َو َس َج َد النِ ُّ‬
‫َع لَْي ِو َو َس له َم َم َعوُ ‪ ،‬مثُه قَ َرأَ‬
‫آخ ُر آيَةً ِف َيها َس ْج َدةٌ ‪،‬‬ ‫َ‬
‫ص لهى ه‬ ‫ِ‬
‫اَّللُ‬ ‫هيب َ‬ ‫َو ُى َو ع ْن َد النِ ِّ‬
‫َع لَْي ِو َو َس له َم ‪ ،‬فَانْ تَظََر‬
‫ال هر ُج ُل أَ ْن يَ ْس ُج َد النِ ُّ‬
‫هيب‬
‫اَّللُ َع لَْي ِو َو َس له َم فَ لَ ْم‬‫ص لهى ه‬ ‫َ‬
‫ال ال هر ُج ُل ‪:‬‬
‫يَ ْس ُج ْد ‪ ،‬فَ َق َ‬
‫ت‬ ‫ول هِ‬
‫اَّلل ‪ ،‬قَ َرأْ ُ‬ ‫ََي َر ُس َ‬
‫ال هس ْج َد َة فَ لَ ْم تَ ْس ُج ْد ‪،‬‬
‫ص لهى ه‬ ‫ول هِ‬
‫اَّللُ‬ ‫اَّلل َ‬ ‫ال َر ُس ُ‬ ‫فَ َق َ‬
‫‪373‬‬

‫َع لَْي ِو َو َس له َم ‪ُ " :‬ك ْن َ‬


‫ت إِ َم ًاما‬
‫ت‬
‫ت َس َج ْد ُ‬
‫‪ ،‬فَ لَ ْو َس َج ْد َ‬
‫ك"‬ ‫َم َع َ‬

‫‪การตัครีจญ์ หะดีษในหนังสื อตะลีมุลมุตะอัลลิมเตาะรีกตุ ตะอัลลุม‬‬

‫่ี‪เรื่ องท‬‬ ‫‪ตัวบทหะดีษ‬‬ ‫์‪ตัครี จญ‬‬ ‫‪ระดับหะดีษ‬‬


‫‪1‬‬ ‫‪ Ibn Majah,2009:220,al-‬طلب العلم ف ريضة على كل‬ ‫‪เศาะหีหฺดว้ ยสานวน‬‬
‫‪ Bazzar,1988:72,Musilim:2810‬مسلم ومسلمة‬ ‫ضةٌ َع لَى‬‫ب ال ِْع ل ِْم فَ ِري َ‬
‫طَلَ ُ‬
‫‪ทั้งหมดรายงานด้วยสานวน‬‬ ‫ُك ِّل ُم ْس لِم‬
‫ضةٌ َع لَى ُك ِّل ُم ْس ِل ٍم‬
‫ب ال ِْع ل ِْم فَ ِري َ‬
‫طَلَ ُ‬
‫مسلمة ‪ไม่มีคาว่า‬‬
‫ฺ‪ทั้งหมดรายงานจากเศาะหาบะฮ‬‬
‫أنس بن مالك ‪เพียงผูเ้ ดียว คือ‬‬
‫‪2‬‬ ‫‪ al-Bukhari,1986:1,‬إَّنا اْلعمال ابلنيات‬ ‫ฺ‪เศาะหีห‬‬
‫‪Muslim,1996:3537‬‬
‫‪อัลบุอรี ยร์ ายงานด้วยสานวน‬‬

‫ات ‪َ ،‬وإِ هَّنَا لِ ُك ِّل‬‫ال ِابلنِّيه ِ‬ ‫" إِ هَّنَا ْاْلَ ْع َم ُ‬


‫ام ِر ٍئ ما نَ وى ‪ ،‬فَمن َكانَ ْ ِ‬
‫ت ى ْج َرتُوُ‬ ‫َْ‬ ‫ْ َ َ‬
‫إِ ََل ُدنْ يا ي ِ‬
‫صيبُ َها أ َْو إِ ََل‬ ‫َ ُ‬
‫ْام َرأَةٍيَ ْن ِك ُح َها ‪ ،‬فَ ِه ْج َرتُوُ إِ ََل َما‬
‫اج َر إِلَْي ِو"‬
‫َى َ‬
‫‪มุสลิมรายงานด้วยสานวน‬‬

‫ال ِابلنِّيه ِة ‪َ ،‬وإِ هَّنَا ِال ْم ِر ٍئ َما‬


‫إِ هَّنَا ْاْلَ ْع َم ُ‬
‫ت ِىج رتُو إِ ََل هِ‬
‫اَّلل‬ ‫نَ َوى ‪ ،‬فَ َم ْن َكانَ ْ ْ َ ُ‬
‫‪374‬‬

‫اَّلل َوَر ُس ولِ ِو ‪،‬‬


‫ورس ولِ ِو ‪ ،‬فَ ِهج رتُو إِ ََل هِ‬
‫َْ ُ‬ ‫ََ ُ‬
‫صيبُ َها أَ ِو‬‫ت ِى ْج رتُوُ لِ ُدنْ يا ي ِ‬
‫َ ُ‬ ‫َوَم ْن َكانَ ْ َ‬
‫ْام َرأَةٍ يَتَ َزهو ُج َها ‪ ،‬فَ ِه ْج َرتُوُ إِ ََل َما‬
‫اج َر إِلَْي ِو"‬
‫َى َ‬
‫‪3‬‬ ‫‪ al-Bukhari,1986 :1302,‬كل مولود ي ولد على الفطرة اإل‬ ‫ฺ‪เศาะหีห‬‬
‫‪ Muslim,1996 :4809‬أن أبويو يهودانو وينص رانو‬
‫وميجسانو‬
‫‪4‬‬ ‫‪ Ibn Majah,2009:3964,‬إن أشر الناس من يذىب دينو‬
‫‪ al-Tobarani,1994:7435,‬لدنياه غريه ومبعصية اْلالق‬
‫‪ al-Bukhari,1986:3095‬ال يدخل املالئكة بيتا فيو كلب‬ ‫ฺ‪เศาะหีห‬‬
‫‪ Muslim,1996:3936,Tirmidhi,1975‬أو صورة‬
‫‪:2747,‬‬
‫‪Abi Dawood,1986:3625‬‬
‫‪5‬‬ ‫‪ Ahmad,1995 :12803,‬أال إن الدين متني فأغلوا فيو‬
‫برفق والتبغض على نفسك‬ ‫‪ด้วยสานวน‬‬
‫ِ ِِ‬ ‫ين َمتِ ٌ‬ ‫ِ‬ ‫ِ‬
‫ني ‪ ،‬فَأ َْوغ لُوا فيو عبادة هللا تعاَل فإن املنبت ال‬ ‫إ هن َى َذ ا ال ّد َ‬
‫أرضا قطع وال ظه را أبقى‬ ‫بِ ِرفْ ٍق‬
‫نفسك مطيتك فارفق هبا‬ ‫‪al-naisaburi,garaibul Quran:2/516 เฎาะอีฟ‬‬
‫– ‪ al-Tobarani,n.d (mu’jam al‬إن هللا تعاَل حيب معاَل اْلمور‬ ‫ฺ‪เศาะหีห‬‬
‫‪ ausot):7084,3031,‬ويبغض سفساىا‬ ‫‪ตามที่อลั บานียไ์ ด้กล่าว‬‬
‫‪Ibn Asakir,1995:39405‬‬ ‫‪ในหนังสื อเสาะหีหุลญา‬‬
‫‪มิอฺเลขที่1889‬‬
‫‪6‬‬ ‫مامن شيء بدي يوم اْلربعاء‬ ‫‪ไม่พบหะดีษดังกล่าว‬‬
‫إال وقد مت‬
‫‪ Tirmidhi,1975:2630 ,‬احلكمة ضالة املؤمن أينما‬ ‫‪เฏาะอีฟ‬‬
‫‪ Ibn Majah,2009:4167.al-‬وجدىا أخذىا‬
‫‪Baihaqi,1989:301‬‬
‫‪ ไม่พบหะดีษดังกล่าว‬الغافل من عمل بغفلتو والعاقل‬
‫‪375‬‬

‫من عمل بعقلو‬


‫‪ ไม่พบหะดีษดังกล่าว‬من عرف نفسو فقد عرف ربو‬
‫‪ al-Tirmidhi:2185,‬ليس للمؤمن أن يبذل نفسو‬ ‫‪หะสัน‬‬
‫‪Ibn Majah:4014,Ahmad:22825‬‬
‫‪ al- Hakim,2002:8002,‬إَيك والطمع فإنو فقر حاضر‬ ‫‪เฎาะอีฟ‬‬
‫‪al-ruyani,1995:1543,‬‬
‫‪Abu nuaim : 673‬‬
‫‪ ไม่พบหะดีษดังกล่าว‬الناس كلهم يف الفقر خمافة‬
‫الفقر‬
‫‪ ไม่พบหะดีษดังกล่าว‬أعوذ ابهلل من طمع يدين إَل‬
‫طبع‬
‫‪7‬‬ ‫‪ Abu Hanifah:30, Khatib al‬من تفقو يف دين هللا كفاه هللا‬ ‫‪เฎาะอีฟ‬‬
‫‪ Bagdadi:832‬مهو ورزقو من حيث ال حيتسب‬
‫‪ al-Tobarani ,n.d.(mu’jam al-‬إن من الذنوب ذن واب ال يكفرىا‬ ‫‪เฎาะอีฟ‬‬
‫‪ ausat):102‬إال ىم املعيشة‬
‫‪9‬‬ ‫‪ ไม่พบหะดีษด้วยสานวนดังกล่าว‬ظنوا ابملؤمنني خ ريا‬
‫‪ ไม่พบหะดีษด้วยสานวนดังกล่าว‬قال ىالل ابن يسار رأيت‬
‫النىب يقول الصحابو شيئا من‬
‫العلم واحلكمة فقلت َي رسول‬
‫هللا اعد َل ما قلت هلم فقال َل‬
‫ىل معك حمَبة فقلت ما معى‬
‫حمَبة فقال َيىالل التفارق‬
‫احملَبة فان اْلري فيها وىف اىلها‬
‫يو م القيامة‬
‫‪11‬‬ ‫‪ ไม่พบหะดีษด้วยสานวนดังกล่าว‬من مل يتورع ىف تعلمو ابتاله هللا‬
‫تعاَل أبحد ثالثة أشياء‪ :‬إما أن‬
‫مييتو ىف شبابو‪ ،‬أو يوقعو ىف‬
‫‪376‬‬

‫الرساتيق‪ ،‬أو يبتليو خبدمة‬


‫السلطان؛‬
‫‪12‬‬ ‫‪ Al-baihaqi,2003b:1865‬أفضل أعمال أمِت ق راءة‬ ‫‪เฎาะอีฟ‬‬
‫الفرآن‬
‫‪13‬‬ ‫‪ al-Tirmidh,1975:2065, al-‬ال يرد القضاء إال الدعاء وال‬
‫‪ Bazzar,1988: 2245, al-‬ي زيد يف العمر إال الَب‬
‫‪Tobarani,n.d.(mu’jam al-‬‬
‫‪ausat):5999.‬‬
377

ภาคผนวก จ
ตัวอย่ างหนังสื ออาดาบุลมุอลั ลิมนี
และหนังสื อตะอฺลมี ุลมุตะอัลลิมเตาะรีกอตตะอัลลุม
378
379
380
381
382
383
384
385
386
387
388

ประวัติผู้เขียน

ชื่ อ สกุล อาหะมะ คาเด


รหัสประจาตัวนักศึกษา 52204301

วุฒิการศึกษา
วุฒิ ชื่ อสถาบัน ปี ทีส่ าเร็จการศึกษา
ปริ ญญาตรี (อัลหะดีษและอิสลามศึกษา) มหาวิทยาลัยอิสลามมะดีนะ 2002
ปริ ญญาโท (อิสลามศึกษา) มหาวิทยาลัยยัรมูก 2007
ทุนการศึกษา
ได้รับการสนับสนุนทุนการศึกษาจากสา นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ) ใน
โครงการเครื อข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา
ผลงานวิชาการ
ก. ผลงานวิจยั
1.นักวิจยั ร่ วมโครงการสถานภาพและการปรับตัวของสตรี มุสลิมหม้ายในสาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้ กรณี ศึกษาสตรี มุสลิมหม้าย อาเภอรามัน จังหวัดยะลา
(แหล่งทุน สกว. ปี 2554)
2.นักวิจยั ร่ วมความเชื่อมโยงทางสังคมและวัฒนธรรมมุสลิมอาเซี ยน ผ่านการ
เผยแพร่ ศาสนาญามาอะฮฺตบั ลิฆแหล่งทุน มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปี 2555)
ข.บทความ
1.แนวคิดทางการศึกษาของอิบนุสะหฺ นูนในหนังสื ออาดาบุลมุอลั ลิมีน
2.แนวทางการดะอฺวะหฺ ของ ดร.ยีหาด มุหมั มัด

ด้ วยพระนามแห่ งอัลลอฮฺ  ผู้ทรงกรุณาปรานี ผู้ทรงเมตตาเสมอ

You might also like