Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 638

การออกแบบเครือ่ งจักรกล

( Machine Design )

บทที่ 1 บทนํา (Introduction)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


ขอบเขต และเนื้อหาการเรียน
เนื้อหาการออกแบบเครื่องจักรกลเบื้องตนนี้ ถูกออกแบบใหเหมาะสมกับหลักสูตรที่สอน
เพียงหนึ่งภาคการศึกษา (จากเดิมที่สอนสองภาคการศึกษา ออกแบบเครื่องจักรกล1 และ 2)
เพื่อใหทันกรอบเวลาเนื้อหาสวนใหญจะเนนในสวนทีเ่ ปนพื้นฐานการออกแบบเบื้องตน โดย
พยายามใหครอบคลุมเนื้อหาทุกสวน ทั้งในสวนของการคํานวณความแข็งแรง ความเสียหายของ
ชิ้นสวน และการคํานวณวิเคราะหอุปกรณพื้นฐานทางกลเชน สลักเกลียว แบริ่ง เฟอง ฯลฯ
นักศึกษาตองมีความรูความเขาใจในกลศาสตรพื้นฐาน และกลศาสตรของวัสดุ รวมไปถึง
ความรูความเขาใจในพื้นฐานวิศวกรรมที่เกี่ยวของเชน การเขียนแบบทางวิศวกรรม

วัตถุประสงคในการเรียนการสอน
1. เขาใจหลักการ พื้นฐานการคํานวณ และกระบวนการในการออกแบบเครื่องจักรกลเบื้องตน
2. สามารถเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และชิ้นสวนมาตรฐานสําหรับการออกแบบเครื่องจักรกลได
อยางถูกตองและเหมาะสมกับการออกแบบ
3. สามารถรวบรวมแนวคิดการออกแบบเพื่อนําไปตอยอด และทําความเขาใจในระดับสูงขึ้น
หรือมีความซับซอนมากขึ้นตอไปได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


สื่อการเรียน
• เนื่องจากวิชานี้จําเปนตองมีการใชตาราง กราฟ และขอมูลมาตรฐานอื่นๆนักศึกษาควร
ตองมีหนังสืออางอิงซึ่งไดรับลิขสิทธิเผยแพรขอมูลดังกลาว
• หนังสืออางอิง Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G.
Budynas, J. Keith Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• PowerPoint
– ให download เนื้อหาการเรียนจาก website ของผูสอน
– บันทึกคําสอนเพิ่มเติมบนเอกสารประกอบการสอน (ควรพิมพมาลวงหนา)
– เนื้อหาตัวอยาง และตารางควบคูกับ ตัวอยางในหนังสืออางอิง เนนการใชศัพทเทคนิค
ภาษาอังกฤษ เพื่อใหสอดคลองกับในอุตสาหกรรม
• หนังสือประกอบ
– Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
– Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice Hall
– Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
– Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


เนื้อหาโดยรวม
• บทที่ 1 บทนํา (Introduction)
– Course Overview
– Importance Role of Machine Design
– Review of general physics and basic engineering background
• บทที่ 2 ทบทวนพื้นฐานวิชาที่เกี่ยวของกับการออกแบบเครือ่ งจักรกล
(Reviews of Relating Subjects in Machine Design)
– Material Science
– Engineering Mechanics
– Manufacturing
– Other useful tools and skills, i.e. CAD/CAM/CAE

• บทที่ 3 ทฤษฏีความเสียหายเบื้องตน (Basic Failure Theories)


– Static failure theories
– Fatigue failure theories
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4
เนื้อหาโดยรวม (ตอ)
• บทที่ 4 สลักเกลียว และอุปกรณขันยึดแบบไมถาวร (Screw Fastener and
Non-Permanent Joints)
– Fundamental of screw and standard
– Power screws
– Fasteners
• บทที่ 5 รอยเชือ่ ม และรอยตอแบบถาวร (Welding and Permanent Joints)
– Types of welding joints
– Stresses in welding joints
– Permanent Joint under Loading

• บทที่ 6 สปริง (Mechanical Springs)


– Fundamental of spring
– Types of spring
– Design of helical spring
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5
เนื้อหาโดยรวม (ตอ)
• บทที่ 7 เพลา และการสงกําลังแบบหมุน (Shafts and Rotating Transmission)
– Stresses in shafts
– Shaft design
– Keys, Pins and component relating to shafts
• บทที่ 8 ขอตอเคลื่อนที่ การหลอลืน่ และตลับลูกปน (Moving Joints,
Lubrication and Bearing)
– Types of moving joint
– Lubrication methods
– Fundamental of bearing
– Rolling bearing

• บทที่ 9 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับเฟอง (Fundamental of Gear )


– Theory of gear
– Gear applications
– Gear Train and Gear Mating
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6
เนื้อหาโดยรวม (ตอ)
• บทที่ 10 พื้นฐานการออกแบบเฟอง (Basic Gear Design)
– Force on gear and Basic Design
– Spur gear, Helical gear, Bevel gear and Worm gear
– Special Types of gears
• บทที่ 11 อุปกรณพื้นฐานในระบบสงกําลัง (Common Transmission
Components)
– Clutches and brakes
– Couplings
– Flywheels
• บทที่ 12 อุปกรณสงกําลังแบบออน (Flexible Mechanical Transmission
Components)
– Belt and Pulleys
– Roller Chain and Sprockets
– Rope, wire and power cables

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


เกี่ยวกับผูสอน และขอมูลการติดตอ
• อ. เอกพจน ตันตราภิวัฒน (อ.เปา)
– ความถนัด และความเชี่ยวชาญ ดานการออกแบบเครื่องจักรกล กระบวนการผลิต การ
เขียนแบบทางวิศวกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ, ระบบควบคุม และระบบอัตโนมัติ
• ขอมูลการติดตอ
– office: หองพักอาจารยชั้น2 (ME-201) *** สามารถเขาพบไดนอกเวลาเรียน หากตองการ
ปรึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาการเรียน***
– Laboratory: ME306
– email: akajanpao@gmail.com,
– website: www.kmitl.ac.th/~ktakapot *** เอกสารประกอบการเรียนการสอน สามารถ
ดาวนโหลดไดที่นี่***

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ
ระบบควบคุมการไหลของแมพิมพแบบรันเนอรเย็น
Embedded Control Valve for Injection Molding
คุณลักษณะในการออกแบบ
• ออกแบบและสรางวาลว
ควบคุมการไหลในระบบรัน
เนอรเย็น
• การเลือกใช Actuator และ
ระบบควบคุมแบบปอนกลับ
• การคํานวณแรงบิด ภาระของ
แรงดันที่มีผลตอกลไก
• ความสัมพันธของกระบวนการ
กับการออกแบบอุปกรณให
สอดคลองกัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
ระบบควบคุมการไหลในแมพิมพแบบขับเคลื่อนจากดานนอก
(Separated Control Valve for Cold Runner Injection Molding)

คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบและสรางวาลวควบคุม
การไหลในระบบรันเนอรเย็นโดย
การขับเคลื่อนจากภายนอก
แมพิมพ
• การสงกําลังโดยระบบเคเบิล
• การสงกําลังโดยสายพาน Timing
Belt ความคลาดเคลื่อนจากการ
ใหตัวของระบบสงกําลังแบบ
flexible components

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
รถเก็บลูกกอรฟควบคุมระยะไกล Golf Ball Retriever Car ( 2 Wheels)

คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบ และสรางรถไฟฟา
ควบคุมระยะไกลเพื่อเก็บลูก
กอรฟในสนามไดรฟ
• การออกแบบชิ้นสวนทางกล
เกี่ยวของกับการสงกําลังโดยโซ
• การคํานวณตนกําลัง แรงบิด
ความเร็วรถ
• การออกแบบระบบบังคับเลี้ยว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
รถเก็บลูกกอรฟควบคุมระยะไกล แบบลอขับเดี่ยว
Golf Ball Retriever Car ( Single Driving Wheels)
คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบ และสรางรถไฟฟา
ควบคุมระยะไกลแบบขับเคลื่อน
ลอเดียวเพื่อความคลองตัว และ
ลดตนทุนการสราง
• การออกแบบชิ้นสวนทางกล
เกี่ยวของกับการสงกําลังโดยโซ
• การคํานวณตนกําลัง แรงบิด
ความเร็วรถ
• การออกแบบระบบบังคับเลี้ยว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
เครื่องทดสอบการรับแรงดันของภาชนะแรงดันสูง (Hydrostatic Testing Machine)

คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบ และสรางชุดทดสอบ
แรงดันโดยใชน้ําสําหรับภาชนะ
ความดัน
• การออกแบบชิ้นสวนที่รับแรงดัน
สูง และทอทางตางๆ
• การคํานวณตนกําลัง และการ
เลือกใชปมแรงดันสูง
• การออกแบบระบบความ
ปลอดภัย relief valve

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
เครื่องปมตรารอน สําหรับเพเล็ตไม Hot Stamp Machine (For Wood Pellet)

คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบ และสรางเครื่องปมตรา
รอน สําหรับเพเล็ตไม
• การออกแบบชิ้นสวนเครื่องกล
โดยคํานึงถึงการถายเทความรอน
• การคํานวณขนาด heater และ
การเลือกใชวัสดุฉนวน
• การคํานวณ และเลือกใชอุปกรณ
มาตรฐานในระบบนิวเมติกส

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
อุปกรณเตือนระดับการยกของเพเล็ตแจ็ค
(Level Height Alarm For Pallet Jack)

คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบ และสรางอุปกรณเตือน
ระดับการยกของเพเล็ตแจ็ค
• การออกแบบชิ้นสวนเครื่องกล
โดยคํานึงถึงการนําไปใชหรือ
ประกอบกับอุปกรณอื่นๆ
• หลักการ และกลไกที่งาย และมี
ความยืดหยุนปรับใชกับงานใน
ลักษณะตางๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
เครื่องปดเทปอัตโนมัตสิ ําหรับภาชนะแบบฝาครอบ (Automatic Taping Machine)

คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบ และสรางเครื่องปดเทป
อัตโนมัติสําหรับภาชนะแบบฝา
ครอบ
• การออกแบบกลไกที่ตองการ
ความแมนยําในการทํางาน
• รูปแบบ และฟงกชั่นการทํางานที่
ซับซอน
• เครื่องจักรที่มีการทํางานเปนวัฏ
จักร การออกแบบที่ตองคํานึงถึง
การซอมบํารุง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
เครื่องตัดดาย และยางยืดอัตโนมัติ
Automatic Thread and Rubber Band Cutter

คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบ และสรางเครื่องตัดดาย
และยางยืดอัตโนมัติ
• การออกแบบกลไกรวมกับการใช
actuator สําเร็จรูปที่มีราคาถูกทํา
ใหงายตอการสราง
• การออกแบบระบบลวดความรอน
สําหรับใชในการตัดดายยาง เพื่อ
ไมใหปลายดายฟู

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


ประสบการณ และตัวอยางงานออกแบบ (ตอ)
เครื่องเปลี่ยนถายเพเล็ต Pallet Changer

คุณลักษณะสําคัญในการออกแบบ
• ออกแบบชิ้นสวนหลักในเครื่อง
เปลี่ยนถายเพเล็ตสําหรับใชใน
หองเย็น
• การเลือกขนาดเกียรบอคส และ
อุปกรณมาตรฐานสําหรับ
เครื่องจักรขนาดใหญ
• การคํานวณขนาดเพลา และ
ชิ้นสวนที่รับแรงขนาดสูง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


นิยาม และความหมายของการออกแบบเครื่องจักรกล
การออกแบบเครือ่ งจักรกลคืออะไร?
– อุปกรณ หรือเครื่องมืองายๆ เชน มีด ตะปู หรือสกูร เพียงตัวเดียวก็ควรตองวิเคราะหและ
ออกแบบดวยหลักการทางการออกแบบเครื่องจักรกล
– ลักษณะปญหา และตัวแปรจริงมักจะซับซอนมาก แตจะถูกทําใหงายลงโดยการตั้ง
สมมุติฐานทีเ่ หมาะสม และใชคาความปลอดภัยในการออกแบบ (safety factor) เปนสวน
หนึ่งของการเผื่อ หรือชดเชย ซึ่งจะเกี่ยวของโดยตรงกับความเชื่อถือได (Reliability) อัน
เปนผลมาจากการศึกษาเชิงสถิติ
– สําหรับการออกแบบในเชิงพานิชยโดยเฉพาะเพื่อการผลิตเปนจํานวนมากๆ (Mass
Production) การคํานวณ และการเลือกใชชิ้นสวนจะตองทําอยางระมัดระวัง การเผื่อที่
มากเกินไปจะทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นมากๆ ในขณะที่การออกแบบอยางหละหลวม
อาจจะสงผลใหชิ้นสวนพัง หรือใชงานไมไดสงผลตอคุณภาพ และความปลอดภัย
– โดยทั่วไปไมมีรูปแบบที่ตายตัวในการออกแบบ เพื่อใหไดการทํางานของเครื่องจักรกลที่
ไดผลลัพธเหมือนกัน อาจจะถูกออกแบบไดหลากหลายวิธี
– เปนการนําความรูพื้นฐานทางวิศวกรรมที่หลากหลายมาใชรวมกันเพื่อทําการออกแบบ
เครื่องจักรกลซึ่งอาจจะเกี่ยวของไปถึงเรื่องการนําความรอน การสั่นสะเทือน คุณลักษณะ
การไหล ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


ความสําคัญของการออกแบบเครื่องจักรกล
ทําไมเราจําเปนตองศึกษาการออกแบบเครือ่ งจักรกล?
– มนุษยเราสรางอารยธรรม Civilization และพัฒนาตัวเองขึ้นเหนือสิ่งมีชวี ิตอื่นๆดวย
ความสามารถในการใชเครื่องมือ เครื่องจักร (งายๆจากยุคหิน จนซับซอนอยางมากใน
ปจจุบัน)
– ความซับซอนของเครื่องจักรกลแสดงถึงความชาญฉลาดของมนุษย การพัฒนา และ
เครื่องจักรกลยังดํารงอยูอยางตอเนื่อง และกวางขวางในทุกสาขาอาชีพ
– ดวยจํานวนประชากร และการบริโภคอยางไมหยุดยั้งของมนุษยสามารถเปนไปไดเพราะ
การมีอยูของเครื่องจักรกล ซึงผูที่สามารถเรียนรู และการออกแบบเครื่องจักรกลได ก็จะมี
สวนในการชวยสนับสนุนการอยูรอด และคุณภาพชีวิตของมนุษยชาติ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


ทบทวนความรูพื้นฐานทางวิศวกรรม

ปริมาณขั้นตนในทางฟสกิ ส ปริมาณ มาตรฐานหนวยหลัก


1. มวล (มวลสาร) Mass
เมตริก (SI) อังกฤษ
2. ระยะทาง Length
3. เวลา Time มวล กิโลกรัม ปอนด (pound
4. อุณหภูมิ Temperature
(kg) mass)
5. กระแสไฟฟา Electric Current ระยะทาง เมตร (m) นิ้ว (Inch)
6. ปริมาณโมล (โมเลกุล) เวลา วินาที (s) วินาที (s)
Substance Mole อุณหภูมิ เคลวิน (oK) ฟาเรลไฮน (F)
7. ความสวาง (แสง) Luminous กระแสไฟฟา แอมแปร (Amp)
Intensity

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


ตัวคูณเรียกคาที่มีใชทั่วไป (General Power Prefix)
คา นาโน ไมโคร มิลลิ เซนติ เดซิ กิโล เมกกะ จิกกะ เทลา
เรียก
Prefix nano micro milli centi deci kilo mega giga tera
สัญลัก n u m c d K, k M G T
ษณ
ตัวคูณ 10-9 10-6 10-3 10-2 10-1 103 106 109 1012
* ตัวคูณเหลานี้นิยมใชกับปริมาณในหนวยมาตรฐาน SI
ตัวอยาง กิโลกรัม = 1000 กรัม
เซนติเมตร = 0.01 เมตร
มิลลิแอมแปร = 0.001 แอมแปร
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22
ปริมาณพื้นฐานทางวิศวกรรมที่ควรทราบ
• มวล • กําลังงาน • แรงบิด
• เวลา • ความรอน • แรงดัน
• ความยาว • ความหนาแนน • ความแข็ง
• พื้นที่ • ความถวงจําเพราะ • ความตานทานความ
• ปริมาตร เคน
• อัตราไหล
• มุม • กระแสไฟฟา
• ความหนืด
• อุณหภูมิ • แรงเคลือ่ นไฟฟา
• ความเร็ว
• โมเมนตัม • ความตานทานไฟฟา
• ความเรง
• งาน • ความเขม
• แรง
สนามแมเหล็ก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23


มวล (Mass)
• เปนปริมาณหลักที่แสดงถึงการมีอยูของสะสาร
• เราบงบอกขนาดของมวลไดหลายวิธี วิธีงายๆคือวัดน้ําหนัก (มวลสาร
ขนาดเทากันมีน้ําหนักตางกันภายใตแรงโนมถวงที่ตา งกัน)
• ในทางกลศาสตรเชิงจลมวลมักจะหมายถึงปริมาณที่ตานทานการ
เคลื่อนที่
• หนวยมาตรฐานคือ กิโลกรัม
• หนวยอื่นๆของมวลไดแก กรัม(g) ปอนด(lb) ออนซ(Oz) ตัน(Ton) ฯลฯ
• 1 kg = 2.2046 lb, 16 oz = 1 lb
• มวลในหนวยอังกฤษ ปอนด (pound, lb) จะหมายถึง ปอนดของมวล
(pound mass, lbm) ซึ่งมีคาแตกตางจาก ปอนดที่เปนแรง (pound
force, lbf)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


แบบทดสอบการแปลงหนวยมวล

2.5 kg ?g

คําตอบ 2.5kg = 2500g


วิธีคํานวณ
เพราะ 1kg = 1000g
ดังนั้น 2.5x1 kg = 2.5 kg = 2.5x1000g = 2500g

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


แบบทดสอบการแปลงหนวยมวล
1.2 Ton ?g

คําตอบ 1.2 Ton = 1,200,000g


วิธีคํานวณ
เพราะ 1Ton = 1000kg, และ1kg = 1000g
ดังนั้น 1.2 Ton = 1.2 Ton x 1000 kg/Ton x 1000g/kg = 1200000g

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


แบบทดสอบการแปลงหนวยมวล
7.5 lb ? kg

คําตอบ 7.5 lb = 3.4 kg


วิธีคํานวณ
เพราะ 1kg = 2.2046 lb
ดังนั้น 7.5 lb = 7.5 lb x (1 kg/2.2046 lb) = 3.4019 kg

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


แบบทดสอบการแปลงหนวยมวล
24.3 Oz ?g

คําตอบ 24.3 Oz = 688.9 g


วิธีคํานวณ
เพราะ 1kg = 1000g, 1kg = 2.2046 lb, และ 1 lb = 16 Oz
ดังนั้น 24.3 Oz = 24.3 Oz x(1lb/16Oz) x (1 kg/2.2046 lb) x (1000 g/ 1kg)
= 688.9 g
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28
เวลา (Time)
• โดยสวนใหญเราอางอิงเวลาเพื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงใดๆ
• เวลาเปนปริมาณพื้นฐานที่มีความซับซอนมากหากอางอิงควอนตัมฟสิกค
• หนวยสากลของเวลาคือ วินาที (second)
• หนวยทั่วไปที่เรารูจักกันดี ไดแก นาที ชั่วโมง วัน เดือน ป
• หนวยแสดงเวลาที่พิจารณาในเสี้ยวเวลาที่มีนัยสําคัญไดแก มิลลิเซค (ms) ไมโคร
เซค (μs)

เวลา 1 ป มีกี่วินาที ? คําตอบ 31557600 sec


วิธีคํานวณ
เพราะ 1 yr = 365.25 day , 1day = 24 hr, 1hr = 60min, และ 1hr = 60min
ดังนั้น 1 yr = 1 yr x(365.25day/1yr) x (24 hr/1day) x (60min/ 1hr) x
(60sec/ 1min) = 31557600 sec
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29
ความยาว, พื้นที่ และปริมาตร
(Length, Area, Volume)
• ความยาว พื้นที่ และปริมาตร เปนปริมาณที่ระบุขนาดของมิติที่พิจารณา หนวยในระบบเมตริกคือ
เมตร ตารางเมตร และลูกบาศกเมตร ตามลําดับ
• ปริมาณเหลานี้มีความใกลชิดกับเราในชีวิตประจําวัน แตเราพบวาการใชความรูสึกประมาณคา
ตางๆเหลานี้มักจะมีความผิดพลาดอยูเสมอ วิศวกรที่ดีตองวัดชั่งตวงดวยความละเอียดรอบคอบ
• พื้นที่เปนปริมาณกําลังสองของความยาว สวนปริมาตรเปนปริมาณกําลังสามของความยาว โดย
พื้นที่คูณความยาวจะเทากับปริมาตร
• หนวยที่ใชกับปริมาณเหลานี้มีหลากหลายมาก เชน
– ความยาว: เมตร กิโลเมตร มิลลิเมตร นิ้ว ฟุต หลา ไมล ฯลฯ
– พื้นที่: ตารางเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางนิ้ว ตารางฟุต เอเคอร ฯลฯ
– ปริมาตร: ลูกบาศเมตร ลูกบาศเซนติเมตร(cc) ลิตร ลูกบาศนิ้ว ถวยเกลลอน ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


คาแบงของระยะทางในหนวยอื่นๆที่นิยมและตัวแปรคา
• คาแบงในระบบอังกฤษ หรือที่เรียกวา Imperial Unit ซึ่งจะมีพบมากในการ
ออกแบบทางกล
– หุน = 1/8 นิ้ว (inch, in)
– ฟุต (foot/feet) = 12 นิ้ว
– หลา (yard) = 3 ฟุต = 36 นิ้ว
– ไมล (mile) = 1760 หลา
• 1 เมตร = 39.37 นิ้ว หรือ 1 นิ้ว = 25.4 มิลลิเมตร
• 1 ไร = 4 งาน, 1 งาน = 100 ตารางวา
• 1 ลิตร = 1000 cc (cubic centimeter), 1 ถวย (metric) = 250 cc
• 1 แกลลอน = 231 ลูกบาศนิ้ว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


แบบทดสอบแปลงคาระยะทาง

3.25 m = ? Inches
= ? Ft/inches

คําตอบ 3.25 m = 127.952 inches = 10ft & 7.95 inches


วิธีคํานวณ
เพราะ 1m = 39.37 in, 12 in = 1 ft
ดังนั้น 3.25 m = 3.25 m x 39.37in/m = 127.952 in
= 127.952 in –(120 in =10ft) = 10 ft + 7.952 in
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32
แบบทดสอบแปลงคาระยะทาง

1 83 in = ? mm

คําตอบ 1-3/8 m = 34.925 mm


วิธีคํานวณ
เพราะ 1m = 39.37 in, และ1m = 1000 mm
ดังนั้น 1-3/8 in = 1+3/8 in = 1.375 in x (1m/39.37in) x (1000mm/m)
= 34.925 mm
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33
แบบทดสอบแปลงคาพื้นที่

22.7 m2 = ? in2

คําตอบ 22.7 m2 = 35184.93 in2


วิธีคํานวณ
เพราะ 1m = 39.37 in,
ดังนั้น 22.7m2 = 22.7 m2 x (39.37 in/m) x (39.37 in/m) = 35184.93 in2

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


แบบทดสอบแปลงคาพื้นที่

1-2-18 ไร = ? ft2

คําตอบ 1-2-18 ไร = 26608.28 ft2


วิธีคํานวณ
เพราะ 1ไร = 4งาน, 1งาน = 100วา2, 1วา2 = 4m2, 1m = 39.37in, และ 1ft = 12in
ดังนั้น 1-2-18ไร = 1ไร +2งาน+18 วา2 =6งาน x (100 วา2/งาน) +18 วา2 =618 วา2
= 618 วา2 x (4m2/1 วา2)x(39.37in/m)x(39.37in/m)x(1ft/12in)x(1ft/12in)
= 26608.28 ft2
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35
แบบทดสอบแปลงคาปริมาตร

2500 cc = ? in3

คําตอบ 2500 cc = 152.558 in3


วิธีคํานวณ
เพราะ 1m = 100cm, และ 1m = 39.37in,
ดังนั้น 2500cc = 2500cm3 x (1m/100cm)x(1m/100cm)x(1m/100cm)
x(39.37in/1m) x(39.37in/1m) x(39.37in/1m) = 152.558 in3

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


แบบทดสอบแปลงคาปริมาตร

20 ลิตร = ? เกลลอน

คําตอบ 20 ลิตร = 5.283 เกลลอน


วิธีคํานวณ
เพราะ 1m = 100cm, 1ลิตร =1000cc, 1m = 39.37in, และ 231in3= 1gallon
ดังนั้น 20 liter = 20 liter x(1000cc/liter)x(1/100cm)x(1/100cm)x(1/100cm)
x(39.37in/1m)x(39.37in/1m)x(39.37in/1m)x(1gallon/231 in3)
= 5.283 gallon
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37
มุม (Angle)
• เปนปริมาณที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของทิศทาง (เวคเตอร)
• หนวยทางวิศวกรรมคือ เรเดียน (radian,rad)
• หนายที่นิยมคือ องศา (degree)
• มุมสูงสุดครบรอบคือ 360 องศา เทากับ 2π =6.28318 rad
มุม 28 องศาเทากับกี่เรเดียน ? คําตอบ 0.4886 เรเดียน
วิธีคํานวณ
เพราะ 180 องศา = π rad, ดังนั้น 28 องศา = 28 องศา x(π rad/180องศา) = 0.4886 rad

มุม 8.5 เรเดียนเทากับกี่องศา ? คําตอบ 487.01 องศา หรือ 1 รอบ


วิธีคํานวณ กับ 127.01 องศา
เพราะ π rad = 180 องศา, ดังนั้น 8.5 rad = 8.5 rad x(180 องศา/π rad) = 487.01 องศา
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38
อุณหภูมิ (Temperature)
• เปนปริมาณที่บอกถึงระดับพลังงานภายในของสะสาร โดยสามารถบงชี้ไดจาก
คุณสมบัติทางกายภาพหลายอยางเชน ความหนาแนน ความตานทานไฟฟา
• เราใชอุณหภูมิเปนคาที่บงบอกถึงความรอน และเย็นโดยเปรียบเทียบกันระหวาง
อุณหภูมิที่แตกตางกัน
• ในธรรมชาติความรอนจะถายเทจากบริเวณที่มีอุณหมิสูงไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ํา
• อุณหภูมิมักจะถูกสับสนกับความรอน หรือพลังงานความรอน โดยทั้งสองอยาง
เกี่ยวของกันแตไมใชสิ่งเดียวกัน
• หนวยมาตรฐานทางวิศวกรรมคือ เคลวิน (K)
• หนวยที่เราคุนเคยคือ เซลเซียส (oC) โดย 0oC =273.15 K แตคาที่เปลี่ยนแปลง Δ1oC
=Δ1K หรือคํานวณโดย K = C+273.15
• หนวยฟาเรนไฮทเทียบกันไดโดย F=1.8C+32 หรือ C=(F-32)/1.8

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


แบบทดสอบแปลงคาอุณหภูมิ

30 oC = ?K

คําตอบ 30 oC = 303.15 K
วิธีคํานวณ
เพราะ Δ1oC = Δ1K , และ ที่ 0oC = 273.15 K
ดังนั้น 30oC = 0oC + (Δ 30oC = Δ 30K) = 273.15 K + Δ 30 K = 303.15 K

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


แบบทดสอบแปลงคาอุณหภูมิ

103 oF = ? oC

คําตอบ 103 oF = 39.44 oC


วิธีคํานวณ
เพราะ C=(F-32)/1.8
ดังนั้น 103oF = (103-32)/1.8 = 39.44 oC

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


งาน (พลังงาน) (Works, Engergy)
• งานเปนปริมาณที่บงบอกถึงการกอใหเกิดการถายเทของพลังงานโดยไม
พิจารณาในคาบเวลา
• งานมักจะถูกสับสนกับกําลังงาน ที่คิดงานตอชวงเวลา
• หนวยสากลของงานคือจูลย (J) สามารถเทียบเคียงกับงานทางกลคือ N-m
• หนวยอื่นของงานไดแก ฟุต-ปอนด (ft-lb)
• งานทางกลสามารถเทียบเคียงไดกับพลังงานทางความรอนซึ่งจะไดแสดง
ตอไป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


ความรอน (Heat)

• เปนปริมาณที่บงบอกถึงพลังงานจลนในระดับจุลภาคของสะสาร
• สามารถเทียบเคียงไดกับพลังงานทางกลโดยมีหนวยมาตรฐาน
ทางวิศวกรรมคือ จูลยเชนเดียวกัน
• เราใชพลังงาน 4186 จูลยเพื่อที่จะทําใหน้ําจํานวน 1กิโลกรัม
(ประมาณ 1ลิตร) มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 oC
• หนวยอื่นๆไดแก BTU (British Thermal Unit), คาเลอรี่
(Calories)โดย 1BTU=1.06 KJ และ 1J = 0.239 Cal

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


แบบทดสอบแปลง
คาพลังงาน
500 BTU = ?J

คําตอบ 500 BTU = 530000 J


วิธีคํานวณ
เพราะ 1BTU =1.06 KJ
ดังนั้น 500 BTU = 500 BTU x (1.06KJ/1BTU) x (1000J/1KJ) = 530000 J

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 44


แบบทดสอบแปลงคา
พลังงาน
ชอคโกเลตคุกกี้ 1 กลอง
(125.67g) ใหพลังงานกี่จูลย ?

คําตอบ 2538.25 J

วิธีคํานวณ
เพราะ 1กลอง มี 125.67g, 29g ให140 Cal, และ 1 J = 0.239 Cal
ดังนั้น ชอคโกเลตคุกกี้ 1 กลอง=125.67 g x(140Cal/29g) = 606.67 Cal x(1J/0.239
Cal) = 2538.35 J
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 45
กําลังงาน (Power)
• เปนปริมาณที่บงบอกถึงพลังงานในหนวยเวลา
• หนวยที่เปนมาตรฐานคือ วัตต(Watt) หรือ J/s หรือ N-m/s
• หนวยอื่นไดแก BTUตอชั่วโมง (BTU/h) = 2650 Watt
• หนวยที่นยิ มไดแก แรงมา (horsepower, HP) โดย 1HP =745.7 Watt
• เครื่องจักรทีม่ ีพลัง หรือออกแรงไดมากแตทํางานไดชา อาจมีกําลังงาน
นอยกวาเครื่องจักรทีม่ ีพลังนอย หรือออกแรงไดนอยแตทํางานไดเร็วกวา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 46


แบบทดสอบแปลงคากําลังงาน
เครื่องปรับอากาศขนาด 9000
BTU/h สามารถดึงความรอนได
ในอัตรากี่ วัตต ?

คําตอบ 9000 BTU/h = 2650 W


วิธีคํานวณ
เพราะ 1BTU =1.06 KJ, 1h=3600s, และ 1J/s=1W,
ดังนั้น 9000 BTU/h = 9000 BTU/h x (1.06kJ/1BTU) x (1h/3600s)
= 2.65 kJ/s = 2650 W
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 47
แบบทดสอบแปลงคากําลังงาน
มอเตอรขนาด 5 KW
เทียบเทากับ กี่แรงมา ?

คําตอบ 5KW = 6.7 HP

วิธีคํานวณ
เพราะ 1KW = 1000W และ 1HP=745.7 W,
ดังนั้น 5KW = 5 KW x (1000W/1KW) x (1HP/745.7W)
= 6.7 HP
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 48
ความเร็ว และความเรง (Speed, Acceleration)
• ความเร็วเปนการเปลี่ยนแปลงของระยะทางในหนึง่ หนวยเวลา
• ความเรงเปนการเปลี่ยนแปลงของความเร็วในหนึง่ หนวยเวลา
• หนวยมาตรฐานยึดถือตามหนวยพืน้ ฐานคือ เมตรตอวินาที (m/s)และเมตร
ตอวินาทีกําลังสอง (m/s2)
• หนวยอื่นๆไดแก กิโลเมตรตอชั่วโมง(km/h) ฟุตตอวินาที(ft/s) นิ้วตอนาที
(in/min) ฯลฯ
• ความเร็ว และความเรงเชิงมุมพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของมุมตอหนวย
เวลา ไดแก รอบตอนาที (rpm) เรเดียนตอวินาที (rad/s) ความถี่ (Hz, 1/s)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 49


แบบทดสอบแปลงคาความเร็ว

สายพานลําเลียงขนาด
65 ft/min เทียบเทากับ
กี่ m/s ?

คําตอบ 65 ft/min = 0.33 m/s


วิธีคํานวณ
เพราะ 1m = 39.37 in, 12 in = 1 ft และ 1min = 60s
ดังนั้น 65 ft/min = 65 ft/min x(12 in/1ft) x(1m/39.37in)x(1min/60s)
= 0.33 m/s
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 50
แรง (Force)
• เปนปริมาณที่แสดงถึงปฏิกริยาหรือการกระทําระหวางสะสารภายใตสภาวะที่
พิจารณา
• หนวยมาตรฐานของแรงคือ นิวตัน (N) หรือ (kg-m/s2)
• หนวยอื่นๆไดแก ปอนด (lbf) คิบ (kip)
• ปอนดที่เปนแรงตางจากปอนดที่เปนน้ําหนักโดย 1 lbf = 32.174 lbm× ft/s2 และ
1N = 0.2248 lbf
แรงบิด (Torque)
• เปนปริมาณของแรงเชิงมุมหรือโมเมนท
• หนวยตามมาตรฐานSI คือ นิวตันเมตร (N-m)
• หนวยอื่นๆไดแก ปอนดฟุต (lb-ft) ปอนดนิ้ว (lb-in) กิโลกรัมเซนติเมตร (kg-cm)
ฯลฯ
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 51
แรงดัน (ความดัน) (Pressure)
• เปนปริมาณที่บงบอกแรงทีก่ ระทําตั้งฉากกับพื้นทีข่ นาดหนึง่ ๆ
• ในระบบปดทีพ ่ จิ ารณะในสภาวะเขาสูสมดุล แรงดันจะเทากันทัง้ ระบบ
• หนวยมาตรฐานทางวิศวกรรมคือ นิวตันตอตารางเมตร(N/m2) หรือ
เรียกวา ปาสคาล(Pascal, Pa)
• หนวยที่นยิ มตามหนวยอังกฤษคือ ปอนดตอตารางนิ้ว (psi)
• หนวยอื่นๆไดแก ความดันบรรยากาศ (atm) บาร (bar)
• 1 bar = 105Pa, 1atm = 1.01325 bars
• แรงดัน (แรงกด) ในของแข็งเรียกวาความเคน และมีหนวยเหมือนกัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 52


แบบทดสอบแปลงคาแรงดัน
เกจความดันอานคาได 125 psi
จะเทียบเทากับกี่ bar ?

คําตอบ 125 psi = 8.618 bar

วิธีคํานวณ
เพราะ 1N = 0.2248 lb, 1bar = 105Pa(N/m2) และ 1m = 39.37 in
ดังนั้น 125 psi = 125 psi x (1N/0.2248lb) x(39.37in/1m) x(39.37in/1m)
x(1bar/105 (N/m2)) = 8.618 bar
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 53
ความหนาแนน (density)
• เปนปริมาณที่บงบอกสัดสวนของมวลสารตอปริมาตร
• หนวยมาตรฐานในทางวิศวกรรมคือ กิโลกรัมตอลูกบาศเมตร (kg/m3)
• หนวยอื่นๆไดแก ปอนดตอลูกบาศฟุต (lb/ft3) ออนซตอลูกบาศนิ้ว (oz/in3)
• ความหนาแนนมีความสัมพันธกับปริมาตรจําเพาะ และความถวงจําเพาะซึ่ง
เปนการเปลียบเทียบกับความหนาแนนของน้ํา
• สะสารปริมาณเทากันอาจมีความหนาแนนตางกันเมื่อวัดที่อุณหภูมิตางกัน
(มีการขยายตัวทําใหปริมาตรเปลี่ยนไป)
• ในการออกแบบชิ้นสวนทางกล ความหนาแนนมักพิจารณาในแงของน้ําหนัก
ตอขนาดของชิ้นสวน ซึ่งมักจะเปนภาระที่เกิดในระบบเชนการหยอนหรือตก
ทองชางของสายพาน หรือการคํานวณความสามารถในการเก็บสะสม
พลังงานของลอชวยแรง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 54


อัตราไหล (เชิงปริมาตร) (Flow Rate)
• เปนปริมาณที่บงบอกการถายเทปริมาตรของของไหล (ของเหลว หรือกาซ)
ในหนึ่งหนวยเวลา
• หนวยทางวิศวกรรมคือ ลูกบาศเมตรตอวินาที (m3/s) ซึ่งคอนขางสูงมาก
สําหรับงานทั่วไป
• หนวยที่นิยมไดแก ลิตรตอนาที แกลลอนตอนาที ลูกบาศฟุตตอชั่วโมง ฯลฯ
• อัตราไหลเชิงมวลคือมวลที่ถายเทในหนึ่งหนวยเวลา ไดแก kg/s

ความหนืด (Viscosity)
• เปนปริมาณที่บงบอกถึงสภาพตอตานการไหลเทของสะสาร
• หนวยตามมาตรฐาน SI คือ Pa-S หรือ kg/(s-m)
• หนวยอื่นๆไดแก Saybolt Universal Seconds (SUS)
• คาความหนืดของสะสาร(ของไหล)โดยทั่วไปจะเปลี่ยนผันไปตามอุณหภูมิ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 55


ความแข็ง (Hardness)
• เปนปริมาณที่บงบอกคาความแข็งของวัสดุในแงของการตานการการสึกหรอ
• มีหลายมาตรฐานซึ่งนิยมตางๆกันตามลักษณะการใชงานและชนิดของวัสดุ ไดแก
– Brinell : HB(3000), HB(500) ฯลฯ
– Rockwell: HRA, HRB, HRC ฯลฯ
– Vickers: HV

ความตานทานความเคนดึง (Strength)
• เปนปริมาณที่บงบอกคาความเคนที่วัสดุทนได ทั้งในแงของการเสียรูปอยางถาวร หรือ
การเสียหาย
• โดยทั่วไปคาความตานทานควมเคนตึงของวัสดุไดมาจากการทดสอบและเก็บขอมูล
• หนวยทั่วไปจะเหมือนกับหนวยความดัน หรือความเคนหากแตวัสดุทั่วไปโดยเฉพาะ
โลหะจะทนความเคนไดสูงคาจึงมักเปน MPa หรือ kip (kilopound force per in2)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 56


กระแสไฟฟา (Electric Current)
• เปนปริมาณที่บงบอกจํานวนของกระแสไฟฟา
• หนวยของกระแสไฟฟาคือ แอมแปร หรือ แอม (Amp)
• หนวยอยางละเอียดไดแก มิลลิแอม (mA) = 0.001 Amp และ
ไมโครแอม (uA) = 0.000001 Amp

แรงเคลื่อนไฟฟา (Electric Potential)


• เปนปริมาณที่บงบอกคาความตางศักยของไฟฟา หรือความเร็วในการ
ขับเคลื่อนอีเลคตรอนในวงจรไฟฟา
• หนวยทางวิศวกรรมคือ โวลเตจ หรือโวล (volt, v) เทียบเทากับหนวยพื้นฐานคือ
kgm2/(s3A)
• หนวยอยางละเอียดไดแก มิลลิโวล (mV) = 0.001 โวล

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 57


ความตานทาน (ทางไฟฟา) (Resistance)
• เปนปริมาณที่บงบอกคาความตานทานในการนําไฟฟาของวัสดุ
• หนวยมาตรฐานทางวิศวกรรมคือ โอม (ohm, Ω) เทียบเทากับหนวยพื้นฐานคือ
kgm2/(s3A2)
• หนวยอื่นๆที่เกี่ยวของไดแก กิโลโอม (KΩ), เมกกะโอม (MΩ)

สนามแมเหล็ก (Magnetic Flux)


• เปนปริมาณที่บงบอกความหนาแนนของเสนแรงแมเหล็กหรือแมเหล็กไฟฟา
• อุปกรณเชิงกลหลายอยางที่ตองใชอํานาจแมเหล็กในการทํางาน
• หนวยทั้วไปคือ เวเบอร (weber, Wb) หนวยอื่นๆไดแก แม็กซเวล
• ปกติปริมาณของสนามแมเหล็ก จะเกี่ยวของกับการเหนื่ยวนําทางแมเหล็กไฟฟา
และกระแสไฟฟาที่เกิดในระบบแมเหล็กไฟฟา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 58


แบบฝกหัด
จงแปลงหนวยของปริมาณตอไปนี้
1.1 น้ําหนัก 1.28 ตันเทากับกี่ ปอรน
1.2 ความยาว 120 ไมโครเมตร เทากับกี่นิ้ว
1.3 ความยาว 3 นิ้ว 5หุน เทากับกี่เซนติเมตร
1.4 เวลา 53,205 ms เทากับกี่ชั่วโมง
1.5 อุณหภูมิ 370 K เทากับกี่ ฟาเรนไฮด
1.6 กําลังงาน 8.9 แรงมา(เชิงกล) เทากับกี่กิโลวัตต
1.7 แรงดัน 250 psi เทากับกี่ bar
1.8 แรง 24 ปอรน เทากับกี่นิวตัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 59


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )
บทที่ 2 ทบทวนพื้นฐานวิชาที่เกีย่ วของกับการ
ออกแบบเครื่องจักรกล
(Reviews of Relating Subjects in Machine Design)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


ความรูพื้นฐานที่เกี่ยวของในการออกแบบเครื่องจักรกล
(สวนหลักๆ)
– วัสดุศาสตร (Material Science)
– กลศาสตร (Engineering Mechanics)
– กลศาสตรของวัสดุ (Mechanics of Materials)
– กระบวนการผลิต (Manufacturing)
– ศาสตร และทักษะอื่นๆ (Other useful tools and skills, i.e.
CAD/CAM/CAE)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


วัสดุศาสตร-คุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุทางวิศวกรรม สามารถแบงไดหลากหลายชนิด-กลุม หากแบงตาม
โครงสรางโมเลกุลพืน้ ฐาน และความคลายคลึงทางคุณสมบัติ
1. Metals
2. Ceramics • คุณสมบัติทางปริมาตร
3. Polymers และจุดหลอมเหลว
• คุณสมบัติทางความรอน
• คุณสมบัติทางไฟฟา
• คุณสมบัติทางไฟฟาเคมี
• คุณสมบัติทางกล
– Stress-strain
– Hardness
– Toughness
• คุณสมบัติอื่นๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


คุณสมบัติทางปริมาตร
• ความหนาแนน เปนปริมาณที่แสดงสัดสวนของน้ําหนักตอหนึ่งหนวยปริมาตร
m
ρ=
V
• ความถวงจําเพาะ เปนปริมาณที่แสดงความหนาแนนเทียบกับความหนาแนนของน้ํา
• ความหนาแนนมักแปรผันกับชนิดของวัสดุ รวมไปถึงความแข็งแรง และคุณสมบัติตัวอื่นๆ

คุณสมบัติทางความรอน
• การขยายตัวทางความรอน Thermal Expansion
• วัสดุทั่วไปมีความหนาแนนลดลงเมื่ออุณหภูมสิ ูงขึ้น แตวัสดุบางอยางอาจจะเปนตรงกัน
ขามอันเนื่องมาจากโครงสรางที่เปนผลึก
• การขยายตัวทางความรอนของวัสดุแตละอันแสดงไดดวยสัมประสิทธิการขยายตัวทาง
ความรอน
L2 - L1 = αL1 (T2 - T1)
เมื่อ α = coefficient of thermal expansion
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4
การนําความรอน และความจุความรอน
• การนําความรอนของวัสดุความสามารถในการสงผานหรือกระจายความรอนไปในเนื้อวัสดุ
• โดยปกติสามารถแสดงเปนปริมาณความรอนที่วัสดุสามารถสงผานไปไดเมื่อเกิดความ
แตกตางของอุณหภูมิดังแสดงในสมการ
q = −kΔT

• คา k คือสัมประสิทธการนําความรอน หรือ Thermal Conductivity


• โลหะจะมีการนําความรอนที่ดี ในขณะที่เซรามิค และโพลิเมอรสวนใหญจะนําความรอนได
ไมมี
• ความจุความรอน คือปริมาณความรอนที่ตองการในการเพิ่มอุณหภูมิไปหนึ่งหนวยของวัสดุ
นั้นๆ
Q = mC (T2 - T1)
C = specific heat of the material
• ความจุความรอนมักแปรผันโดยตรงกับความหนาแนนของวัสดุ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


ตัวอยางคาความนําความรอนในวัสดุ
Thermal Thermal
Material conductivity conductivity
(cal/sec)/(cm2 C/cm) (W/m K)*
Silver 1.01 406.0
Copper 0.99 385.0
Gold ... 314
Aluminum 0.50 205.0
Iron 0.163 79.5
Steel ... 50.2
Lead 0.083 34.7
Glass,ordinary 0.0025 0.8
Concrete 0.002 0.8
Asbestos 0.0004 0.08

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


คุณสมบัติทางไฟฟา
• ความสามารถในการนําไฟฟา conductivity
• ความสามารถในการเปนฉนวนไฟฟา หรือความตานทานไฟฟา resistance
• วัสดุสวนใหญที่นําความรอนไดดีมกั จะนําไฟฟาไดดี
• คุณสมบัติอื่นๆที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติทางไฟฟาเชน Temperature Coefficient of
Resistivity, Magnetic Permeability

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


วัสดุทางวิศวกรรม :โลหะ
• ธาตุสวนใหญจัดเปนโลหะ แตมักจะอยูในรูปของสารประกอบ
• โลหะทีส่ ามารถนํามาใชเปนวัสดุหลักในการออกแบบและสราง
เครื่องจักรกลมีอยูไมมาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


โลหะจัดวาเปนวัสดุที่มีบทบาทสูงที่สุดในทางวิศวกรรม โดยเฉพาะ
การออกแบบเครื่องจักรกล
• มีคุณสมบัติที่หลากหลายในการนํามาปรับใชกับงานไดหลากหลาย
• โลหะหลายชนิดหาไดงาย และมีมากในธรรมชาติ เชน เหล็ก อลูมิเนียม
• สามารถนํามาขึ้นรูป และเขากระบวนการไดมากมาย
• นํากลับมาใชใหมไดเรื่อยๆ โดยการรีไซเคิลซึ่งไมมีผลกับคุณสมบัติหลัก

คุณสมบัติที่สําคัญของโลหะ
• มีความแข็งแรง และแข็งแกรง (High stiffness high rigidity,
strength, and hardness)
• บางชนิดมีความทนทานสูง (High Toughness)
• สวนใหญนําไฟฟาไดดี นําความรอนไดดี

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


การแบงชนิดของโลหะ
• Ferrous หรือ โลหะในกลุม เหล็ก ซึ่งมีธาตุเหล็กเปนองคประกอบหลัก
– Steels คือเหล็กกลาซึ่งเปนเหล็กที่มีปริมาณคารบอน ไมเกิน 2%
– Cast irons คือเหล็กหลอที่มีปริมาณคารบอนสูง
• Nonferrous คือโลหะนอกกลุมเหล็ก
– Aluminum, magnesium, copper, nickel, titanium, zinc, lead, tin,
molybdenum, tungsten, gold, silver, และ อื่นๆ
• Superalloys คือโลหะผสม ที่เปนการนําโลหะมากกวาหนึ่งชนิดผสมกัน
เพื่อปรับปรุงคุณสมบัตติ า งๆใหดยี ิ่งขึน้ โดยเฉพาะคุณสมบัตเิ ชิงกล เชน
ความตานทานแรงตึง การคงความแข็งที่อณ ุ หภูมิสูง การตานทานการ
เปลี่ยนรูปภายใตความลา ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


โลหะสวนใหญที่ใช และมีบทบาทในทางวิศวกรรมเปน
โลหะผสม (alloy)
• โลหะบริสุทธหาไดยากในธรรมชาติ แตการแปรรูปที่ซับซอนสามารถสรางโลหะบริสุทธิ์ได
• โลหะผสมหรืออัลลอยด หมายถึงโลหะที่มนุษยปรับปรุง และผสมโลหะหลายชนิดเพื่อใหได
คุณสมบัติตามที่ตองการ
• เงิน ทองแดง ทอง และโลหะบางอยาง ในรูปโลหะบริสุทธิ์ถูกนํามาใชมากในขณะที่โลหะอื่นๆ
มักอยูในรูปโลหะผสม
• โลหะผสมคือโลหะที่ผานกระบวนการเติมแตงสวนผสมเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะตัว
หลัก โดยอาจจะใชกระบวนการอื่นๆเชนกระบวนการทางความรอนชวยดวย
• มาตรฐานการระบุชนิดของโลหะขึ้นอยูกับประเทศ และอุตสาหกรรมที่ใช เชน AISI (American
Iron and Steel Institute), JIS (Japanese Industrial Standard)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


ตัวอยาง Phase Diagram

Phase diagram for Phase diagram for tin-lead


Nickel-Copper alloy system alloy system

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


โลหะจําพวก เหล็ก (Ferrous Metals)
จัดวาเปนโลหะที่มีใชมานาน และมี
ความสําคัญสูงมาก
• เหล็กที่สําคัญคือเหล็กที่มีสวนผสมระหวาง
เหล็กกับคารบอน
• แบงไดสองอยางคือ
– Steel
– Cast iron
• การปรับปรุงคุณสมบัติโดยการควบคุมการ
เปลี่ยนเฟสของเหล็กโดยใชเทคนิคทางความ
รอนสามารถทําใหไดคุณสมบัติของเหล็กที่
หลากหลาย ตัวอยาง Iron-Carbon Phase
Diagram (อยางงาย)
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13
เหล็กกลา (Steel)
ประกอบดวยคารบอน 0.02% ถึง 2.11% โดยน้ําหนัก
• อาจจะมีสวนผสมโลหะอื่นดวยก็ได
• แบงไดหลายกลุมการใชงานเชน:
1. Plain carbon steels
2. Low alloy steels
3. Stainless steels
4. Tool steels
5. Specialty steels

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


เหล็กกลาคารบอนทั่วไป (Plain Carbon Steels)
1. Low carbon steels (Mild Steel)< 0.20% C
– ใชใน โลหะแผน รางรถไฟ ฯลฯ
2. Medium carbon steels 0.20% -0.50% C
– ใชใน ชิ้นสวนเครื่องจักร เครื่องยนต เชน เพลา
ขอเหวี่ยง กานสูบ ฯลฯ
3. High carbon steels > 0.50% C
– ใชใน สปริง มีด ดอกสวาน เครื่องมือบางอยาง
ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


เหล็กผสมในสัดสวนนอย ตัวอยาง Low Alloy Steels
(Low Alloy Steels)
ประกอบดวยสวนผสมอื่น มาตรฐาน AISI-SAE
โดยรวมนอยกวา ∼ 5% โดย – 13XX - Manganese steel
น้ําหนัก เพื่อเพิ่มคุณสมบัติบาง – 20XX - Nickel steel
อยางเชน – 31XX - Nickel-chrome steel
– higher strength
– 40XX - Molybdenum steel
– hardness
– 41XX - Chrome-molybdenum steel
– hot hardness
– wear resistance
– toughness

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


เหล็กไรสนิม Stainless Steel (SS)
• โดยทั่วไปตองประกอบดวยโครเมียมไมนอยกวา 15%
• มีสวนผสมของ Nickel (Ni) และโลหะอื่นๆเพื่อเพิ่มความคุณสมบัติอื่นๆอีกเชนความ
เหนียว และความสามารถในการเชื่อม
• อาจจะมีคารบอนเพื่อเพิ่มความแข็งแตลดการทนทานการกัดกรอน
• ความสามารถทนตอการกัดกรอนขึ้นอยูกับเปอรเซนตของโครเมียม

ชนิดทั่วๆไปของ Stainless Steel


1. Austenitic stainless - 18% Cr and 8% Ni
2. Ferritic stainless - about 15% to 20% Cr, low C, และไมมี Ni
3. Martensitic stainless - 18% Cr ไมมี Ni, มีคารบอนมากกวา
ferritic stainless

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


เหล็กเครื่องมือ (Tool Steels)
เหล็กที่มีสวนผสมโลหะอื่นๆอยูมากโดยทั่วไปใชในการทําเครื่องมือ มีดจักรตางๆ แมพิมพ และ
อื่นๆ
• high strength, hardness, hot hardness, wear resistance, and toughness under
impact
• Tool steels เกือบทั้งหมดจะผานกระบวนการทางความรอน (Heat Treatment)
• ตัวอยางเชน AISI Mx/xx เปน High Speed Alloys ที่มีสวนผสมของ Molybdenum เปนหลัก

เหล็กหลอ (Cast Irons)


มีคารบอน 2.1% ถึง 4% และซิลิกอน1% ถึง 3%
• สวนผสมเหมาะสําหรับใชในกระบวนการหลอ
• มีความแข็งสูง แตเปราะ ทนการขัดถูไดดี
• มีหลายชนิดเชน เหล็กหลอสีเทา เหล็กหลอสีขาว เหล็กหลอเหนียว/อบเหนียว
• ราคาถูกกวาเหล็กกลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


โลหะนอกกลุมเหล็ก Nonferrous Metals
• ที่สําคัญไดแก - aluminum, copper, magnesium, nickel, titanium, and zinc, และ อัล
ลอยดของโลหะเหลานี้
• มีคุณสมบัติหลากหลายตามแตชนิดเชน น้ําหนักเบา นําความรอนไดดี ฯลฯ
• บางอยางหาไดยากในธรรมชาติ และมีราคาแพง
• บางชนิดมีมากในธรรมชาติ แตมักจะอยูในรูปสารประกอบซึ่งกระบวนการถลุงออกมาใช
อาจจะทําไดยาก ทําใหมีราคาแพงเชนกัน
• ปจจุบันเทคโนโลยีการผลิตมีความกาวหนามากทําใหวัสดุตางๆ รวมไปถึงโลหะชนิดตางๆมี
ราคาถูกลง เกิดความหลากหลายในการใชงาน ผูออกแบบเครื่องจักรกลควรมีความรู
กวางขวางในการเลือกใชวัสดุ
• ในการออกแบบเครื่องจักรกลโดยใชวัสดุตางๆชนิดเหลานี้ ปจจัยที่สําคัญตองพิจารณารวมคือ
ความแตกตาง ใน สรางชิ้นงาน การขึ้นรูป และเชื่อมตอกันของวัสดุตางชนิดในกลุมเหลานี้
• การใชโลหะตางกันสองชนิดในชิน้ สวนใดๆอาจจะเรงการกัดกรอนจาก Galvanic Corrosion

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


อลูมิเนียม และแมกนีเซียม
(Aluminum and Magnesium)
• Aluminum (Al) และ magnesium (Mg) จัดเปนโลหะที่มีน้ําหนักเบา
เปนโลหะที่มีใชมากในงานวิศวกรรมระดับสูง
• ทั้งสองชนิดมีมากบนโลก Al บนพื้นโลก Mg ในทะเลแตยากแกการ
ถลุงหรือสกัดออกมา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


คุณสมบัติที่สําคัญของ คุณสมบัติที่สําคัญของ
อลูมิเนียม แมกนีเซียม
• นําความรอนไดดี • เบาที่สุดในกลุมโลหะ
• นําไฟฟาไดดี • ทําการตัดเจาะไดงาย
• สะทอนแสงไดดี (ใชฉาบแผนซีดี) • เศษหรือผง แผนสามารถติดไฟไดที่
• ออกไซดปกคลุมผิวไมเกิด อุณหภูมิไมสูงมาก
ปฏิกริยาตอเนื่อง • โลหะ Mg ผสมมีความแข็งแรง และ
การใชงานเทียบไดกับ Al
• มีความเหนียว ขึ้นรูปไดงา ย
• ใชในงานอากาศยาน และขีปนาวุธ
• สัดสวนความแข็งแรงตอน้ําหนัก ชิ้นสวนที่ตองการใหน้ําหนักเบา
สูง (โดยเฉพาะอัลลอยด)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


ทองแดง (Copper) โลหะผสมทองแดง
(Copper Alloy)
• เปนโลหะที่มีการใชงานเกาแกมาก
อันหนึ่งในประวัตศิ าสตร • เพื่อเพิ่มคุณสมบัตขิ องทองแดงที่ปกติมี
• เปนตัวนําไฟฟาที่ดีมาก ความแข็ง และความแกรงไมสูง
• นําความรอนไดดมี าก • ทองสําริด Bronze - คือทองแดงกับ
ดีบุก(∼ 90% Cu, 10% Sn),
• ทนทานตอการกัดกรอน
• ทองเหลือง Brass - คือทองแดงกับ
• มีความทนทาน ขึ้นรูปได
สังกะสี (∼ 65% Cu, 35% Zn).
หลากหลายวิธี
• โลหะผสมทองแดง และแบริเรียมมี
• เชื่อมตอดวยการบัดกรีกับโลหะ
ความแข็งแรงสูงberyllium-copper (~
อื่นๆไดดี
2% Be), สามารถนําไปทําสปริงได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


นิเกล Nickel ไททาเนียม Titanium
• มีความคลายกับเหล็กในหลายๆดาน • มีมากในธรรมชาติ ∼ 1% ของเปลือก
เชน โลก (al ∼ 8%) แตการถลุงทําได
– การตอบสนองกับสนามแมเหล็ก คอนขางยาก
– คา Young’s Modulus ใกลเคียงกัน
• ความหนาแนนอยูระหวางอลูมิเนียม
• มีความตานทานการกัดกรอนไดดี และเหล็ก
• มีจุดหลอมเหลวสูง
• มีความแข็งแรงสูง UTS >800 MPa
• มี Ductility สูง (~400MPa-Steel)
• คงคุณสมบัตทิ ี่อุณหภูมิสูงไดดกี วา
• คงคุณสมบัตทิ ี่อุณหภูมิสูง
เหล็ก
• สามารถนํามาใชเคลือบผิวไดดี • ทนการกัดกรอนไดดี นิยมนํามาใชใน
วัสดุทางการแพทย และทางการทหาร
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23
สังกะสี (Zinc) ตะกั่ว และดีบุก Lead and Tin
• จุดหลอมเหลวต่ําเหมาะกับการ • ตะกั่ว
ขึ้นรูปดวยการหลอ – จุดหลอมเหลวต่ํา
• ทนทานตอการกัดกรอน เหมาะ – ความแข็งแรงต่ํา
กับการชุบผิวเหล็ก (Hot Dip) – มีความเหนียว
เคลือบในลักษณะสารประกอบ – ทนทานตอการกัดกรอน
– ใชในการบัดกรี ปองกันรังสี แบตเตอรี่ ฯลฯ
• มีใชมากในลักษณะโลหะผสม
(ทองเหลือง) • ดีบุก มีคุณสมบัตใิ กลเคียงกับตะกั่วแต
แข็งแรงกวาเล็กนอย ใชในสวนผสมโลหะ
• ใชเปนองคประกอบในแบตเตอรี
อื่น บัดกรี กระปอง ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


โลหะทนความรอน Refractory Metals
• ไดแก Molybdenum Tungsten Columbium และ Tantalum
• สามารถทนความรอน หรือคงคุณสมบัตไิ ดดที ี่อณ ุ หภูมิสูง โดยอาจจะผสม
ในอัลลอยดเพื่อใชคุณสมบัตนิ ี้ทําใหโลหะหลักแข็งแรงขึน้ ที่อณ
ุ หภูมิสูง
• ใชในอุตสาหกรรม กิจกรรมอวกาศ ทางการทหาร เชน ลูกรีดรอน แกน
เชื่อมโลหะเครือ่ งยนตจรวด ฯลฯ
• บอยครั้งที่จะใชเปนวัสดุเคลือบ
• หาไดยาก และราคาแพง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


เซรามิค Ceramic คุณสมบัติที่สําคัญ
คือวัสดุที่มีองคประกอบของโลหะ (หรือกึ่ง ของ เซรามิค
โลหะ)กับที่ไมใชโลหะ • มีความแข็งแกรงสูง
• ที่สําคัญไดแก: • ทนความรอนไดสูงมาก
– Silica - silicon dioxide (SiO2), สวนใหญ • เปนฉนวนความรอน และ
คือแกว กระจก ฉนวนไฟฟาที่ดี
– Alumina - aluminum oxide (Al2O3), เชนใย • เปราะ แตกหักได
หิน กระดูกเทียม • บางชนิดใสสามารถสองผาน
– นอกจากนี้เปนแบบที่มีองคประกอบซับซอน แสงได
เชน hydrous aluminum silicate
• มีความหลากหลายในเชิง
(Al2Si2O5(OH)4), เชนในเครื่องปนดินเผา
โครงสราง และการประยุกตใช
• ในแงของการออกแบบเครือ่ งจักรกล งาน
เบื้องตนอาจจะไมคอยไดเกี่ยวของมากนัก
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26
ตัวอยางผลิตภัณฑ และงานที่ใช Ceramic
• อิฐ ซีเมนต ในงานกอสราง • ชิ้นสวนอีเลคทรอนิคส
• ผนังเตาเผา เบาหลอโลหะ • แมเหล็กบางประเภท
• ถวย ชาม แกว กระจก • เชื้อเพลิงนิวเคลียร uranium oxide (UO2)
• ใยหิน หินขัด • อุปกรณการแพทย เชนกระดูก และฟน
• ถวยฉนวนสายไฟฟาแรงสูง เทียม
• ดอกสวาน มีดตัด คาไบท • ผิวนอกของกระสวยอวกาศ
อุปกรณเชิงกลหลายชนิดที่ปกติผลิตดวยโลหะ อาจจะผลิตดวย
เซรามิคในงานพิเศษเชน แบริ่งเซรามิค เฟองเซอรโคเนียเซรามิค
เทอรไบเซรามิค

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


โพลิเมอร Polymer และคุณสมบัติที่สําคัญ
มีใชอยางแพรหลายในปจจุบัน • มีคุณสมบัตหิ ลากหลายตามแตชนิด
• แบงไดเปนสองสวนใหญๆคือ • เบา ความแข็งแรงตอน้ําหนักดี
พลาสติค plastics และยาง • มีความแข็งแรงพอสมควร
rubbers
• แบงแยกยอยไดสามสวนคือ: • เปนฉนวนไฟฟาที่ดี
1. Thermoplastic • บางชนิดทนความรอนไดพอสมควร
2. Thermosetting • ทนทานตอสารเคมีหลายชนิด
3. Elastomers • ขึ้นรูปไดหลากหลายวิธี
(1) และ (2) คือพลาสติค และ (3)
คือยาง • สําหรับยางจะมีความยืดหยุน
อัตราสวนการยืดสูงมาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ทบทวนพื้นฐานทางกลศาสตร และ กลศาสตร
ของวัสดุ
Review of Engineering Mechanics & Mechanics
of Materials

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29


พื้นฐาน สเตติค (static) และไดนามิคส (dynamic)
• Statics ศึกษาแรงกริยา แรงปฏิกริยาในโครงสรางตาง และ
ความสัมพันธกับขนาดรูปทรงการเชื่อมโยงกันของโครงสรางตางๆ เชน
คาน โครงถัก เสา เกี่ยวของกับการออกแบบเครือ่ งจักรโดยการวิเคราะห
แรงที่เกิดขึน้ บนโครงสราง และชิ้นสวนตางๆ

• Dynamics ศึกษาการเคลื่อนที่ในรูปแบบตางสัมพันธกับ แรง ความเรง


ความเร็ว และระยะทางที่เปลี่ยนไปรวมไปถึงพลังงานของระบบ ที่
สัมพันธกับตัวแปรตางๆ ในชิ้นสวนตางๆของเครือ่ งจักรที่มีการเคลื่อนที่
ตองวิเคราะหโดยใชพื้นฐานดังกลาว เชน สายพาน ลอชวยแรง ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


แรง และการรวมแรง
•แรง (F) คือ การกระทําของวัตถุอันหนึ่งและพยายามที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่
ไปในทิศทางเดียวกับกระทํา แรงเปนปริมาณเวคเตอร มีหนวยเปน N
•แรงที่พิจารณาในงานวิศวกรรมหลักๆ คือแรงโนมถวง และแรง
แมเหล็กไฟฟา
•ความสัมพันธของแรง มวลสาร และคาความโนมถวง
• หลักการเคลื่อนที่ของนิวตัน
• การรวมแรง ใชหลักการรวมเวคเตอร

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


มวลสาร และการเคลื่อนที่
•มวล คือปริมาณของสะสาร เปนคาที่บง • ความเร็ว คืออัตราการเปลี่ยนแปลง
บอกคุณลักษณะที่แปรผันกับปริมารอืน่ ๆ ตําแหนงตอหนวยเวลา เปนปริมาณ
ทางฟสิกคเชน ความเรง แรง ฯลฯ เวคเตอร มีหนวยเปน m/s
ds
•โมเมนตัม (G) คือ ความสามารถในการ v=
dt
เคลื่อนที่หรือความเฉื่อยของวัตถุ ซึ่งมีคา • ความเรง คืออัตราการเปลี่ยนแปลง
เทากับผลคูณระหวางมวล (m) และ ความเร็วตอหนวยเวลา เปนปริมาณ
ความเร็ว (v) โมเมนตัมเปนปริมาณ เวคเตอร มีหนวยเปน m/s2
เวคเตอร a=
dv
G = mv dt
•แรง
แรง ความเร็ว ความเรง และการขจัดเชิงมุม
d (mv)
F= d ( jω ) dθ dω
dt T= ω= α= ω = 2πf
dt dt dt
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32
งาน พลังงาน กําลังงาน และประสิทธิภาพ
• งาน หมายถึง ผลคูณเชิงสเกลาร • กําลัง คือพลังงานหรืองานที่ไดตอ
ระหวางแรงและการกระจัดที่มที ิศไป หนวยเวลา มีหนวยเปน W
ในทางเดียวกัน มีหนวยเปน Joules, J P=
U
t
U = F .s
• ประสิทธิภาพ หมายถึงอัตราสวน
• พลังงาน หมายถึง ความสามารถใน ระหวางกําลังที่ไดกับกําลังที่ใหกับ
การทํางานในหนวยเวลา มีหนวยเปน J เครื่องจักร ไมมีหนวย
แบงเปน output
E ff =
input
พลังงานศักย E p = mgh
•มักมีความเขาใจผิด และสับสน
mv 2 ระหวางสมรรถนะ และประสิทธิภาพ
พลังงานจลน Ek =
2 อยูเสมอ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


พื้นฐาน กระบวนการผลิต
• องคประกอบหลักในกระบวนการผลิตคือ
– Processing Operation
– Assembly Operation
• ความรูพื้นฐานของกระบวนการผลิตมีความสําคัญมากตอการ
ออกแบบเครื่องจักรกล บอยครั้งที่มีการสอนทั้งสองอยางไป
พรอมๆกัน (โดยเฉพาะเมื่อเนนใหเกิดการปฏิบัติจริง)
การออกแบบเครือ่ งจักรกลทีไ่ มคํานึงถึงการกระบวนการสราง(ผลิต)
บอยครั้งทีเ่ ปนไดเพียงแคจินตนาการ
A design without manufacturing consideration is often just
an imagination
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34
แผนภาพโครงสรางในกระบวนการผลิต

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


Processing Operations
ประกอบดวยสวนหลักๆคือ
การสรางชิ้นสวน
1. Shaping operations - สําหรับเปลี่ยนรูปทรงของชิ้นสวนตามที่ออกแบบไว
2. Property-enhancing operations – สําหรับปรับปรุงคุณสมบัติ หรือ
คุณภาพของชิ้นสวน
3. Surface processing operations – ทําความสะอาด ปรับปรุงรูปลักษณ
กอนนําไปประกอบ
การประกอบ
1. Permanent Joining Processes- สําหรับการเชื่อมตอชิ้นสวนแบบถาวร
เชนการเชื่อมไฟฟา การบัดกรี การใชริเวต
2. Mechanical Fastening– สําหรับการประกอบโดยสลักเกลียว หมุด ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


ตัวอยางกระบวนการผลิต Solidification Processes
เปนการขึ้นรูปโดยทําใหวัตถุดิบหลอมเหลว แลว
ปอนเขาแมพิมพเมื่อแข็งตัวก็จะไดรูปรางตามที่
ออกแบบไว
• การหลอแบบหลอทราย
• Die Casting
• Injection Molding
• Transfer Molding

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


คุณลักษณะของกระบวนการ Solidification Processes
• ขึ้นรูปไดซับซอน ชิ้นสวนที่มีรูปทรงภายใน มีโพรง
• สามารถใชสรางชิ้นสวนขนาดใหญมากๆ หรือน้ําหนักมากๆไดดี เชนแทนเครือ่ งได
• เหมาะกับวัสดุที่มีจุดหลอมเหลวไมสูงมาก ไมเชนนั้นจะทําไดยาก ตนทุนสูง และ
อันตราย
• สวนใหญความแมนยําของรูปทรง และพื้นผิวไมดีพอ ตองใชกระบวนการอืน่ ๆชวย
ภายหลัง
• ในหลายๆกระบวนการเชนการหลอ สามารถนําชิ้นงานเสีย หรือผิดพลาดกลับมา
เปนวัตถุดิบไดงาย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


ตัวอยางกระบวนการผลิต Particulate Processing

เปนกระบวนการขึ้นรูปโดยการอัด
ผงโลหะใหเปนรูปทรงที่ตอ งการ
หลังจากนั้นนําไปผานการอบทาง
ความรอน (Sintering)ที่อุณหภูมิ
เหนือจุดวิกฤตทําใหวัสดุหลอม
ละลายติดกัน และคงตัวอยูไดอยาง
แข็งแรง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


คุณลักษณะของกระบวนการ Particulate Processing
• เหมาะกับการผลิตชิ้นสวนจํานวนมากๆ เพราะทําไดรวดเร็ว
• ความแมนยํา และคุณภาพผิวอยูในขั้นดี ชิ้นงานจัดวาเปน finish part สามารถ
นําไปใชไดเลย หรือตองการกระบวนการตอเนื้องนอยมาก
• ความแข็งแรงของชิ้นสวนปานกลาง หรือดี
• รูปทรงจํากัดดวยลักษณะของการอัดผงวัสดุ และแมพิมพ
• สามารถสรางชิ้นสวนที่ตองการใหมีรพู รุน เชนใสกรอง แบริ่งน้ํามัน(อมน้ํามันไว)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


ตัวอยางกระบวนการผลิต Deformation Processes
เปนการใชความเคนทําใหชิ้นงานเสียรูป
อยางถาวรเพื่อใหไดรปู ทรงตามที่ตอ งการ
โดยอาจจะทําที่อุณหภูมิสูงเพื่อลดแรง หรือ
ทําที่อุณหภูมิหองก็ได
• การฟอรจ
• การรีดรอน
• การปมขึ้นรูป
• การพับ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


คุณลักษณะของกระบวนการ Deformation Processes
• เหมาะกับการผลิตชิ้นสวนจํานวนมาก ตนทุนเครือ่ งมือ และแมพิมพสวนใหญมี
ราคาสูง
• เหมาะกับรูปรางของชิ้นสวนมีความซับซอนไมสูงมาก
• ความแข็งแรงของชิ้นสวนที่ผลิตคอนขางดี
• สวนใหญชิ้นสวนสามารถนําไปใชไดเลย หรือตองการกระบวนการอืน่ ๆเสริม
เล็กนอย
• ชิ้นสวนอาจเกิดความเคนหลงเหลือซึ่งบางลักษณะอาจตองกําจัดโดยการอบออน
ในขณะที่บางวัสดุเชนโลหะแผนอาจจะชวยเสริมความแข็งแรง (strain-hardening)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


ตัวอยางกระบวนการผลิต Material Removal Processes

เปนการขึ้นรูปดวยการเอาเนื้อวัสดุ
บางสวนออกโดยอาจจะใชการตัดกลึง
หรือใชความรอน หรือการกัดกรอน
• การตัด การเลื่อย
• การกลึง (Turning)
• การเจาะ (Drilling)
• การกัดไส(Milling)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


คุณลักษณะของกระบวนการ Material Removal Processes
• เหมาะกับการผลิตชิ้นสวนจํานวนไมมากนักมาก ใชเวลาในการผลิตคอนขางมาก
เทียบกับแบบอื่นๆ
• สามารถสรางชิ้นสวนมีความซับซอนปานกลางถึงสูง
• ความแมนยํา และคุณภาพผิวอยูในขั้นดีถึงดีมาก ชิ้นงานจัดวาเปน finish part
สามารถนําไปใชไดเลย
• ตองการความชํานาญสูงในการผลิต
• มีเศษวัสดุหลงเหลือ และสิ้นเปลืองเมื่อเทียบกับกระบวนการอื่นๆ
• สามารถเพิ่มความแมนยํา และอัตราการผลิตโดยการใชเครือ่ งจักรอัตโนมัต (CNC)
ในการผลิต

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 44


กระบวนการปรับปรุง กระบวนการทําความ
หรือเปลี่ยนคุณสมบัติ สะอาด และปรับปรุง
ผลิตภัณฑ รูปลักษณ
• การทา พนสี
• การอบคืนตัว (อบปกติ)
• การเคลือบผิว
• การอบออน (Annealing)
• การลาง
• การชุบแข็ง (Hardening) – Water-solution washing
• การ Magnetizing – Ultrasonic submerge
• Shot Pinning – Chemical cleaning
• อื่นๆ • Sand Bath

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 45


ความรูพื้นฐานที่เปนประโยชนในการออกแบบเครื่องจักรกล
• CAD (Computer Aided Design)
– Drawing, Modeling (2D 3D)
– Measurement, Reverse Engineering
• CAM (Computer Aided Manufacturing)
– Processing
– Prototyping
• CAE (Computer Aided Engineering)
– Analysis
– Optimization

ภาพ Pneumatic Stepping Motor ที่ผูสอนเคยออกแบบและ


สราง โดยใชกระบวนการ CAD/CAM ตั้งแตการออกแบบ
ไปถึงการวิเคราะห และการสราง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 46


แบบฝกหัด
1.เปรียบเทียบคุณสมบัติวัสดุจําพวกโลหะดังตอไปนี้ พรอมทั้งระบุตัวอยาง
อุปกรณที่ทําจากวัสดุเหลานี้
เหล็ก / อลูมิเนียม / ทองเหลือง / ทองแดง / ดีบุก
2.จงบอกชื่อเต็มพรอมทั้งระบุตัวอยางอุปกรณทที่ าํ จากวัสดุโพลิเมอร
เหลานี้
PP / PS / HDPE / PU / PC / PET
3.จงยกตัวอยางชิ้นสวนอุปกรณที่ผลิตโดยกระบวนการเหลานี้
Die Casting / Sand Casting / Deep Drawing / Turning / Punching / Hot
Forging
4.ทบทวนความรูทางกลศาสตร
- การเขียน free body diagram
- การหา Bending moment, moment of inertia, moment of area

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 47


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Ferdinand Beer, Jr., E. Russell Johnston, David Mazurek, Phillip Cornwell,
Vector Mechanics for Engineers: Statics and Dynamics, Mc Graw Hill
• Mikell P. Groover, Principles of Modern Manufacturing, 5th Edition SI
Version, 4th Edition , Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 48


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 3 ทฤษฏีความเสียหายเบื้องตน
( Load-Stress Analysis and Basic Failure Theories)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


พื้นฐานกลศาสตรของวัสดุ
• โหลด หรือภาระหมายถึงแรงตางๆซึ่งอาจจะอยูในรูปของน้ําหนักที่วัตถุหรือ
ชิ้นงานถูกกระทําหรือรองรับโดยชิ้นสวนอื่นๆ การบีบอัด การบิดหมุน รวมไปถึง
แรงดันในภาชนะและทอทางตางๆ
• ในภาวะสมดุลย ภาระหรือโหลดที่กระทํากับวัตถุหรือโครงสรางใดๆตองมีคา
เทากับศูนย

• การเขียน Free-Body Diagram ชวยในการวิเคราะหภาระหรือแรงที่มากระทํา


งายตอการเขาใจโดยตัดองคประกอบที่ไมจําเปนหรือพิจารณาแลววาไมสงผล
สําคัญตอการออกแบบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


ตัวอยาง Free Body Diagram

ลักษณะแรงตอพื้นที่หรือความเคนที่เกิดขึ้น
จริงจะซับซอนอันเนื่องมาจากคุณลักษณะ
ความยืดหยุนของวัสดุ Elasticity

ลักษณะแรงตอพื้นที่หรือความเคนที่สมมุติ
ใหงายขึ้น โดยคิดคงที่ตลอดแนว
มักจะแสดงในรูปที่เขาใจงาย ตัดทอนความซับซอนของปญหาตามสมมุติฐานทีเ่ หมาะสม
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3
ความเคน ความเครียดพื้นฐาน

•ความเคน หมายถึง แรงกระทําตอหนึ่งหนวยพื้นที่


หนวยเปน MPa
F
σ=
A

• ความเครียด หมายถึง อัตราสวนการเปลี่ยนแปลง


ขนาดของวัสดุภายใตความเครียดหนึ่ง
L − L0
ε=
L0

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4


ความสัมพันธของความเคนความเครียด

ความสัมพันธของความเคนความเครียดในวัสดุทั่วไปเปนไปตามรูปโดยมีชวง
ยืดหยุนเปนไปตามความสัมพันธ σ = Eε

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


ลักษณะความเคนความเครียดของวัสดุเหนียว และเปราะ

• ความเหนียว Ductility คือความสามารถ


ในการเสียรูปแบบถาวรกอนถึงจุดแตกหัก
•วัสดุที่มีความเหนียวสูงก็จะมี
Toughness สูงตามไปดวย
•วัสดุที่มีความแข็งสูงมักจะเปราะ (Brittle)
•การออกแบบที่เหมาะสมอาจทําใหวัสดุมีความแข็งที่ผิว (hardness)สูง
ในขณะที่รกั ษาความเหนียวลึกลงไปในเนื้อวัสดุได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


ความเคนผสมในระบบพิกัดฉาก
• กําหนดใหแรงที่กระทําบนชิ้นสวนจําลองที่องคประกอบทั้งในทิศตัง้ ฉาก และใน
แนวสัมผัส
• ความเคนในแนวตัง้ ฉากเรียกวาความเคนตัง้ ฉาก Normal Stress ใชสัญลักษณ
s
• ความเคนในแนวสัมผัสเรียกวาความเคนเฉือน Shear Stress ใชสัญลักษณ t
• หนวย SI คือ newtons per square meter (N/m2);1 N/m2 = 1 Pascal (Pa).
สวนหนวยอังกฤษคือ pounds per square inch (psi). For SI units

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


ความเคนหลัก (Principal Stress)

• พิจารณาคาความเคนตัง้ ฉากและความเคนเฉือนบนปริมาตรเล็ก dxdydz แลว


ความเคนผสมเกิดขึน้ จากการพิจารณาการหมุนไปเปนมุมตางๆของ

• ผลลับจากการแกสมการความเคนตั้งฉากแลวหาคาสูงสุดของความเคนที่เกิดขึน้
จะพบตามความสัมพันธ

• ซึ่งแสดงถึงความเคนสูงสุด และความเคนต่าํ สุดสัมพันธกับการหมุนไปเปนมุม 2φ P

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


ความเคนเฉือนหลัก (Principal Shear Stress)
• ผลลับจากการแกสมการความเคน
เฉือนแลวหาคาสูงสุดของความเคนที่
เกิดขึ้นจะพบตามความสัมพันธ

• คา 2φ แสดงถึงความเคนเฉือนที่มี
S

คามากที่สุด
• ณ. ตําเหนงที่คาความเคนเฉือนสูงสุด
จะมีคาความเคนตัง้ ฉากที่เทากันทั้ง
สองชุดคือ (σ x + σ y ) / 2

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


วงกลมโมร (Mohr’s Circle)สําหรับความเคนในระนาบ
• วงกลมโมรเปนวิธีแผนภาพเพื่อวิเคราะหความเคนผสมซึ่งอาศัยคุณลักษณะ
ของความเคนผสมที่มรี ปู สมการเทียบไดกับสมการวงกลม
• สําหรับระนาบใดๆจะมีความเคนหลักที่เปนความเคนตัง้ ฉาก และความเคน
เฉือนดังนี้

• สามารถวิเคราะหความเคน 3 มิติไดแตสําหรับงานทั่วไปสามารถตั้งสมมุตฐิ าน
เพื่อวิเคราะหใน ระนาบใดๆไดเพียงพอ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


ทบทวนการเขียนวงกลมโมร (Morh’s Circle)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


วงกลมโมรในกรณีทั่วไป วงกลมโมรสําหรับความเคน 3 มิติ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนผสม
(แปลจากตัวอยางที่ 3-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 84-86)

ชิ้นสวนที่รับความเคนในแนวแกน x ประกอบดวยความเคนในแนวแกนตั้งฉาก σx = 80 MPa และ


ความเคนเฉือนในทิศทางตามเข็มนาฬิกา τxy = 50 MPa ซึ่งแสดงในรูป
a) จงใชวิธีวงกลมโมรเพื่อหาคาขนาดของความเคนหลัก, ทิศทางของความเคนหลัก
พรอมแสดงชิ้นสวนที่รับความเคนลงบนแกนพิกัด xy และวาดชิ้นสวนที่รับความเคนเฉือน τ1 และ τ2
, พรอมทั้งความเคนในแนวตั้งฉาก
b) ทําซ้ําขอ a) โดยใชสมการ การแปลงรูป (Transformation)

วิธีทํา
a)ในการใชวิธีวิเคราะหเชิงกราฟในการแกปญหา เริ่มตนโดยการวาดวงกลมโมร จากนั้น
ใชความสมมาตรของลักษณะของวงกลมเพื่อที่จะไดขอมูลหรือคําตอบที่ตองการ
เริ่มจากวาดแกน σ และ τ (รูป b) เมื่อพิจารณาความเคนบนผิวหนาแนวแกน x พบวามีความเคน
ตั้งฉาก σx = 80 MPa และความเคนเฉือน τxy = 50 MPa ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ดังนั้นสําหรับ
ฝงแนวแกน x เราจะไดจุด A(80,50cw) ในแผนภาพวงกลมโมร

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนผสม
(แปลจากตัวอยางที่ 3-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 84-86)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนผสม
(แปลจากตัวอยางที่ 3-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 84-86)

สําหรับความเคนบนทิศทางแนวแกน y พบวาความเคนตั้งฉาก σy = 0 MPa และความเคน


เฉือน τyx = 50 MPa ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ดังนั้นเราจะไดจดุ B(0,50ccw) เสน AB จะเปน
เสนผานศูนยกลางของวงกลมโมร และเราจะนิยามจุดตัดแรกของวงกลมโมรกับแนวแกน σ
เปน σ1 และจุดตัดที่ 2 เปน σ2
จากนั้นเราจะเห็นไดวา สามเหลี่ยม ACD เปนสามเหลี่ยมมุมฉากโดยมีขนาดของ AD เทากับ 50
MPa และ CD เทากับ 40 MPa จากนั้นเราก็สามารถหาขนาดของ AC ไดจาก
AC = τ1 = 50 40 = 64.0 MPa
เมื่อพิจารณาจุดตัด C หรือจุดศูนยกลางของวงกลมโมร ซึ่งมีขนาด 40 MPa จากจุดเริ่มตน เรา
สามารถหาขนาดของความเคนหลักไดดังนี้
σ1 = 40+64 = 104 MPa และ σ2 = 40-64 = -24 MPa
ขนาดของมุม 2Φ ระหวางแนวแกน x กับแนวแกน σ1 ในทิศทางการหมุนตามเข็นนาฬิกา
สามารถหาไดจาก
2Φp = tan-1 = 51.3°

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนผสม
(แปลจากตัวอยางที่ 3-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 84-86)

เพื่อที่จะวาดชิ้นสวนทีร่ ับความเคนหลัก (รูป c) , เขียนพิกัดแนวแกน x และ y ใหขนานกับแนวแกน


เริ่มตน มุม Φp ของชิ้นสวนที่รับความเคนหลักจะมีทศิ ทางเดียวกับมุม 2Φp ในวงกลมโมร ดังนั้น
เราสามารถวัดมุมจากแนวแกน x ไปถึงแนวแกนของ σ1 ในทิศทางตามเข็นนาฬิกาไดเปน 25.7°
(ครึ่งหนึ่งของ 51.3°) แนวแกนของ σ2 จะตั้งฉากกับแนวแกนของ σ1 ดังนั้นชิน้ สวนทีร่ ับความ
เคนหลักก็สามารถเขียนองคประกอบของความเคนไดครบ
หมายเหตุ ชิ้นสวนที่รับความเคนหลักจะไมมคี วามเคนเฉือนกระทําหรือความเคนเฉือนเทากับศูนย
ความเคนเฉือนสูงสุดจะเกิด 2 บริเวณ คือจุด E และ F ในรูป b และ ความเคนตั้งฉาก
ในแนวแกน x และ y จะมีคาเทากับ 40 MPa ซึ่งจะเห็นวาจุด E มีมุมหางจากจุด A ในทิศทางทวน
เข็มนาฬิกาเทากับ 38.7° ดังนั้นในรูป 3-11d ชิ้นสวนทีร่ ับความเคนจะถูกหมุนไปเปนมุม 19.3°
(ครึ่งหนึ่งของ 38.7°) จากแนวแกน x ในทิศทางทวนเข็นนาฬิกา ดังนั้นชิน้ สวนทีร่ ับความเคน
สามารถเขียนองคประกอบของความเคนไดทั้งขนาดและทิศทางดังแสดงในรูป
ในการวิเคราะหโครงสรางชิ้นสวนที่รับความเคนจําเปนที่จะตองบงชี้ทิศทางของ
แนวแกน x และแกน y อางอิงเริ่มตน ซึ่งจะทําใหเราเห็นถึงความเชื่อมโยงระหวางความเคนเดิมกับ
ความเคนหลักซึ่งเกิดจากการหมุนไปของชิ้นสวนทีร่ ับความเคน
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16
ตัวอยางการวิเคราะหความเคนผสม
(แปลจากตัวอยางที่ 3-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 84-86)

b) สมการ การแปลงรูป(Transformation) สามารถคํานวณไดจาก



Φp = tan-1 = tan-1 = -25.7°, 64.3°
สําหรับมุมที่ 1 Φp = -25.7°
σ= + cos[2(-25.7°)]+(-50)sin[2(-25.7°)] = 104.03 MPa
ความเคนเฉือนที่กระทําบนผิวชิ้นงาน สามารถคํานวณไดจาก
τ= sin[2(-25.7°)]+(-50)cos[2(-25.7°)] = 0 MPa
ซึ่งสามารถสรุปไดวา 104.03 MPa เปนความเคนหลัก และสําหรับ Φp = 64.3 °
σ= + cos[2(64.3°)]+(-50)sin[2(64.3°)] = -24.03 MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนผสม
(แปลจากตัวอยางที่ 3-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 84-86)

แทนคา Φp = 64.3 ° จะได τ = 0 MPa ซึ่งสรุปไดวา -24.03 MPa เปนความเคนหลักเชนกัน ใน


การนิยามความเคนหลัก σ1 ≥ σ2ดังนั้น σ1 = 104.03 MPa และ σ2 = -24.03 MPa
สําหรับเมื่อ σ1 = 104.03 MPa, Φp = -25.7° และเมื่อ Φ มีคาเปนบวกเราจะนิยามใหมันหมุน
ทวนเข็มนาฬิกาในสมการแปลงรูป(Transformation) ดังนั้นเราตองหมุนไปเปนมุม 25.7° ในทิศทาง
ตามเข็มนาฬิกา สําหรับผิวที่มี σ1 ซึ่งเราจะเห็นไดจากรูป c ซึ่งคาที่ไดสอดคลองกับคาที่ไดจากการ
ใชวิธีวิเคราะหเชิงกราฟ
เพื่อหาคา τ1 และ τ2 เราตองคํานวณ Φs กอนโดย
Φs = tan-1 = tan-1 = 19.3°, 109.3°
สําหรับ Φs = 19.3° แทนคากลับจะได
σ= + cos[2(19.3°)]+(-50)sin[2(19.3°)] = 40.0MPa
τ = sin[2(19.3°)]+(-50)cos[2(19.3°)] = -64.0 MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนผสม
(แปลจากตัวอยางที่ 3-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 84-86)

ใหสังเกตดวยวา สมการ 3-8 และ 3-9 เปนพิกัดของสมการการแปลงรูป หรือ


transformation equation
เมื่อเราลองจินตนาการตามภาพที่วาดซึ่งเราไดหมุนแกน x และ y ไปเปนมุม 19.3° ใน
ทิศทางทวนเข็นนาฬิกา และแกน y จะตองชี้ขึ้นและเอียงไปทางดานซาย ดังนั้นความเคน
เฉือนที่มีคาเปนลบบนพื้นผิวหนาของแนวแกน x จะตองชี้ลงและเอียงไปทางดานขวา ดัง
แสดงในรูป d ซึ่งคาที่ไดสอดคลองกับคาที่ไดจากการใชวิธีวิเคราะหเชิงกราฟ

สําหรับ Φs = 109.3° สมการ 3-8 และ 3-9 จะใหคา σ = 40.0MPa และ τ =


+64.0MPa ใชวิธีการวิเคราะหเหมือน Φs = 19.3° เราก็จะไดผลลัพธจากการใชสมการ
coordinate transformation สอดคลองกับผลลัพธดังรูป d เชนเดียวกัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


ความเครียดในพิกัดฉาก (สามมิติ)
• เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงขนาดจากความเคนสําหรับวัสดุ Linear Isotropic และ
Homogeneous เปนไปตามความสัมพันธ

• Poisson’s ratio เปนคาความสัมพันธของความเครียดทั้งสามแกน (transverse


strains relation)ซึ่งเปนคุณลักษณะพื้นฐานทั่วไปของวัสดุ
• ความเครียดในแตละแกนก็สามารถแสดงไดเปน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


ความเคนและความเครียดเฉือน (shear stress and strain)
•คา G คือคาโมดูลัสสําหรับความเคนเฉือน
Modulus of Rigidity หรือ Shear Modulus
สามารถประมาณได เทากับ 0.4E
•หากพิจารณาเทียบกับความเคนตั้งฉาก จะมี
ลักษณะคลายคลึงกัน โดยความเครียดเฉือน
จะเปนมุมที่วัสดุเสียรูปแทนการยืดออก
F*
τ= = Gγ
A

δ
γ =
b

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


การดัดโกงของคาน (Bending)
ความโกรงของคานหรือเพลา คือลักษณะโคงที่เกิดขึน้ จากแรงที่กระทํา โดย
เกิดโมเมนตกับคานหรือเพลา มีวิธีคํานวณดังนี้
Analytical method

1 ε M
=− =
ρ y EI

โดย ρ คือ รัศมีความโคง ณ จุดใดๆ M คือ ขนาดโมเมนตของคาน ณ จุด


ที่มีรัศมีความโคงเทากับ ρ E คือ คา Modulus of Elasticity I คือ คา
Moment of Inertia
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22
ความเคนในคานดัด (stresses in beam under bending)
• ความเคนของคาดดัดเปลี่ยนแปลงไป
ตามตําเหนงจากแกนสมดุล

• ความเคนสูงสุดเกิดที่ตาํ เหนงหางที่สุด
จากแกนสมดุลซึ่งกําหนดเปนระยะ c

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23


ตัวอยางการคํานวณความเคนในคาน
(แปลจากตัวอยางที่ 3-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 90-91)

คานมีรูปรางหนาตัดเปนรูปตัว T ซึ่งมีขนาดดังรูป มีโมเมนตดัดมา


กระทําในขนาด 1600 N-m ในทิศทางติดลบแนวแกน z ทําใหเกิด
ความเคนดึงบริเวณพื้นผิวบน จงหาแนวแกนกลาง (Neutral axis)
และหาความเคนดึงและความเคนอัดสูงสุดทีเ่ กิดจากโมเมนตดัด
วิธีทํา
แบงหนาตัดตัว T เปนสี่เหลี่ยมผืนผา 2 สวน โดยสวนบนเปน
หมายเลข 1 และสวนลางเปนหมายเลข 2 คํานวณพื้นที่หนาตัด
ทั้งหมดไดเปน A = 12(75) + 12(88) = 1956 mm2 ทําการรวม
พื้นที่รับโมเมนตทเี่ กิดรอบเสนขอบบนของสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งจะได
ระยะที่โมเมนตกระทํากับพื้นที่หนาตัดที่ 1 เปน 6 mm และ
พื้นที่หนาตัดที่ 2 เปน (12+88/2) = 56 mm เราจะได
1956c1 = 12(75)(6) + 12(88)(56)
จะได c1 = 32.99 mm ดังนั้น c2 = 100-32.99 = 67.01 mm
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24
ตัวอยางการคํานวณความเคนในคาน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 90-91)

จากนั้นทําการคํานวณ second moment of area ที่เกิดรอบแนวแกนศูนยกลางของแตละ


พื้นที่หนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา ใชตาราง A-18 เราจะได second moment of area สําหรับหนาตัด
สี่เหลี่ยมผืนผาดานบนเปน I1 = bh3 = (75)(12)3 = 1.080x104 mm4
สําหรับหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาดานลางเราจะได
I2 = bh3 = (12)(88)3 = 6.815x105 mm4
เราจําเปนตองใช parallel-axis theorem เพื่อที่จะได second moment of area ที่เกิดรอบแนวแกน
ศูนยกลางของหนาตัดแตละสวน สําหรับลักษณะหนาตัดแบบผสมซึ่งจะได
Iz = Ica + Ad2
เมื่อ Ica คือ second moment of area ที่เกิดรอบแนวแกนศูนยกลางของหนาตัดแตละสวน
Iz คือ second moment of area ที่เกิดรอบแนวแกนที่ขนานระยะหาง d
สําหรับหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาดานบนระยะหาง d เราหาไดจาก
d1 = 32.99 – 6 = 26.99 mm
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25
ตัวอยางการคํานวณความเคนในคาน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 90-91)

และสําหรับหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาดานลาง
d2 = 67.01 – = 23.01 mm
ใช parallel-axis theorem สําหรับหนาตัดสี่เหลี่ยมทั้งคูจะได
I = [1.080x104 + 12(75)26.992] +[6.815x105 + 12(88)23.012]
= 1.907x106 mm4
สุดทายจะไดความเคนดึงสูงสุดทีเ่ กิดบริเวณผิวดานบนเทากับ
.
σ= = = 27.67x106 Pa = 27.68 Mpa
.

และความเคนอัดสูงสุดที่เกิดบริเวณผิวดานลางเทากับ
.
σ=- = = -56. 22x106 Pa = -56.22 MPa
.

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


ความเคนเฉือนในคานดัด (Shear stress in bending)

• แรงรวมในคานที่ถูกแรงเฉือน และโมเมนตดดั กระทํา

• สําหรับสภาวะสมดุล

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


ความเคนเฉือนในคานดัด (ตอ)

• กําหนด first moment


of the area

• ความเคนเฉือนในคาน
ดัดจึงหาไดจาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ความเคนเฉือนในคานรูปสี่เหลี่ยม
• กรณีคานอยางงายหนาตัดรูปสี่เหลี่ยม

• แทนลงในสมการความเคนเฉือนของ
คาน

• สําหรับคานหนาตัดสี่เหลี่ยมกําหนด
second moment of the area
I=(1/12)bh3

• แทนคาจะไดความเคนเฉือนในคาน
และความเคนเฉือนในคานสูงสุดที่แกน
สมดุล
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29
ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนในคาน
(แปลจากตัวอยางที่ 3-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 98-100)

คานยาว 0.3m ใชในการรับแรง 2kN กระทําหางจากจุดรองรับ 80mm ดังแสดงในรูป 3-20a โดย


คานมีหนาตัดเปนรูปตัว I ซึ่งขนาดไดแสดงดังรูป เพื่อใหงายตอการคํานวณ สมมติใหหนาตัดมีมมุ เปนมุมฉาก ดัง
แสดงในรูป 3-20c ซึ่งจุดที่เราสนใจไดแก (a, b, c และ d) จุดที่มีระยะหางในแนวแกน y หางจากแนวแกนกลาง
(Neutral axis) เปนระยะ 0mm, 32-mm, 32+mm และ 38mm ตามรูปที่ 3-20c ที่ตําแหนงแนวแกนวิกฤติตาม
ความยาวของคาน จงหาขอมูลตอไปนี้
a) พิจารณาการกระจายตัวของรูปแบบของความเคนเฉือนตามขวางทีก่ ระทําตลอดแนวคานและหาคาความ
เคนเฉือนตามขวางของแตละจุดที่เราสนใจ
b) พิจารณาความเคนดัดทีเ่ กิดขึน้ ในแตละจุดที่เราสนใจ
c) พิจารณาความเคนเฉือนสูงสุดในแตละจุดและเปรียบเทียบคาทีไ่ ด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนในคาน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith, 9th Edition, หนา 98-100)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนในคาน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith, 9th Edition, หนา 98-100)

วิธีทํา เริ่มตนเราสังเกตวาความเคนเฉือนตามขวางไมสมควรที่จะตัดทิง้ เพราะวาความยาวของคานตอ


อัตราสวนของความสูงมีคา นอยกวา 10 มาก และคานมี web ที่บาง และมี flange ที่กวางซึ่งจะทําใหความ
เคนเฉือนมีคา มาก แผนภาพของแรง, แรงเฉือน, และโมเมนตดดั ไดแสดงดังรูป 3-20b ตําแหนงแนวแกนวิกฤติ
เปนจุดที่ x = 0.08m ซึ่งเปนจุดที่แรงเฉือนและโมเมนตดดั มีขนาดมากทีส่ ดุ
a) คํานวณคาความเฉื่อยจากโมเมนตโดยการประมาณคาความเฉื่อยสําหรับหนาตัด
สี่เหลี่ยมผืนผาทั้งหมดซึ่งมีขนาดเปน 76mm x 58mm จากนั้นลบออกดวยพืน้ ทีห่ นาตัดสีเหลีย่ มผืนผา 2 รูปที่
ไมไดเปนสวนประกอบของพืน้ ที่หนาตัดรูปตัว I

I= -2 = 942069 mm4
หาคา Q ในแตละจุดทีส่ นใจโดยใชสมการ 3-30 จะได
Qa = (32 + )[(58)(6)] + ( )[(32)(4)] = 14228 mm3

Qb = Qc =(32 + )[(58)(6)] = 12180 mm3


Qa = 38(0) = 0 mm3

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนในคาน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith, 9th Edition, หนา 98-100)

ประยุกตใชสมการ 3-31 ในแตละจุดทีส่ นใจ โดยใหคา V และ I คงที่ในแตละจุดและคา b เปนความกวางของ


หนาตัดในแตละจุด ดังนั้นเราจะไดขนาดของความเคนเฉือนตามขวาง ดังนี้
τa = =
.
= 5.55MPa
τb = =
.
= 4.75MPa
τc = =
.
= 0.33MPa
τd = =
.
= 0MPa
รูปแบบของขนาดของความเคนเฉือนตามขวางในอุดมคติตลอดความยาวของคานไดแสดงดังในรูป 3-20d
b) ความเคนดัดในแตละจุดทีส่ นใจ
.
σa = = = 0 MPa
. .
σb = σc = = = -3.99 MPa
. .
σd = = = -4.74 MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนในคาน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith, 9th Edition, หนา 98-100)

c ) ในแตละจุดทีส่ นใจ เมื่อพิจารณาชิ้นสวนที่รับความเคนซึง่ ประกอบไปดวยความเคนดัดและความเคนเฉือน


ตามขวาง ความเคนเฉือนสูงสุดสําหรับในแตละชิน้ สวนทีร่ ับความเคนสามารถหาไดจากวงกลมโมรหรือจาก
การวิเคราะห โดยสมการ 3-14 โดยที่ σy = 0

τmax =
ซึ่งในแตละจุดจะได
τmax,a = 0 5.55 = 5.55MPa
.
τmax,b = 4.75 = 5.15MPa
.
τmax,c = 0.33 = 2.02MPa
.
τmax,d = 0 = 2.37MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


การบิด (Torsion)

• การบิดอยางงายในเพลากลมมุมของการ
บิดจะมีความสัมพันธดงั นี้

• ความเคนเฉือนจากการบิดจะเกิดขึน้ ตลอด
หนาตัดของเพลาเปนไปตาม

• ความเคนเฉือนสูงสุดเกิดขึน้ ทีร่ ศั มี rสูงสุด


คือ r

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนจากการบิด
(แปลจากตัวอยางที่ 3-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, P103-105)

รูปที่ 3-22 แสดง Crank มีแรงมากระทํา F = 1.3 kN ทําใหเกิดการหมุนและดัดงอของเพลาที่


เสนผานศูนยกลาง 20mm ซึ่งยึดแนนอยูก บั ตัวรองรับ ในทางปฏิบัติตัวรองรับอาจมีความเฉื่อยจากทีเ่ พลา
เกิดการหมุน แตสําหรับวัตถุประสงคของการวิเคราะหความเคนเราจะพิจารณาปญหาเปนแบบสถิตย
a) วาด Free-body diagram ของเพลา AB และแขน BC และคํานวณแรงทัง้ หมด โมเมนต และ ทอรค ที่มา
กระทํา และระบุทิศทางของระบบพิกดั ในแผนภาพ
b) คํานวณความเคนบิดและความเคนดัดที่มากทีส่ ดุ ทีเ่ กิดบนแขน BC และระบุตําแหนงทีค่ วามเคนกระทํา
c) ระบุตําแหนงของชิ้นสวนทีร่ ับความเคนบนผิวของเพลาทีจ่ ุด A และคํานวณความเคนทั้งหมดทีก่ ระทํา
d) พิจารณาความเคนตั้งฉากสูงสุดและความเคนเฉือนสูงสุดที่จดุ A

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนจากการบิด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 103-105)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนจากการบิด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 103-105)

วิธีทํา
a) แผนภาพ Free-body diagram ทั้ง 2 แผนภาพซึ่งแสดงดังรูป 3-23 ใหคาผลลัพธดังนี้
-ที่จุดปลาย C ของแขน BC: F = -1.3j kN Tc = -0.05k kN-m
-ที่ปลายจุด B ของแขน BC: F = 1.3j kN M1 = 0.13i kN-m T1 = 0.05k kN-m
-ที่ปลายจุด B ของเพลา AB: F = -1.3j kN T2 = -0.13i kN-m M2 = -0.05k kN-m
-ที่ปลายจุด A ของเพลา AB: F = 1.3j kN MA = 0.66k kN-m TA = 0.13i kN-m

b) แขน BC โมเมนตดัดจะมีคา สูงสุดบริเวณที่ใกลกับเพลาที่จุด B ถาเราสมมติใหมันมีคา 0.13 kN-


m ดั้งนั้นความเคนดัดสําหรับหนาตัดทีเ่ ปนสี่เหลี่ยมผืนผาจะเปน
σ=
/
= =
. .
= 144.4MPa
แนนอนคาทีไ่ ดไมใชคําตอบที่แมนตรงเพราะวาโมเมนตที่จดุ B ในทางปฏิบัติมันจะถูกถายไปใน
เพลาหรือบางทีสงถายไปยังแนวรอยเชื่อมตอ
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38
ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนจากการบิด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 103-105)

สําหรับความเคนบิดเราจะใชสมการ 3-43
. .
τmax = (3 + /
)= . .
(3 + . / .
) = 155.6MPa
ความเคนนี้จะเกิดทีจ่ ดุ ศูนยกลางของ 30 mm

c) สําหรับชิ้นสวนที่รับความเคนที่จุด A ความเคนดัดจะเปนความเคนดึงซึง่ จะได


σx =
/
= =
.
= 840.3MPa
ความเคนบิด
τxz =
/
= =
.
= -82.8MPa

ผูอานควรพิสูจนวาเครื่องหมายติดลบของ τxz กับทิศทางของ τxz มีความสอดคลองกันหรือไม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนจากการบิด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 3-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 103-105)

d) จุด A มีสถานะเปนจุดรองรับความเคนในแนวระนาบซึ่งความเคนทีม่ ากระทําอยูในระนาบ xz


ดังนั้นความเคนหลักสามารถหาไดจากสมการ 3-13 ซึ่งจะคิดเฉพาะความเคนในแนวแกน xz เทานั้น
ความเคนตั้งฉากสูงสุดสามารถหาไดจาก

σ1 = +

. .
= + 82.8 = 848.4MPa

ความเคนเฉือนสูงสุดที่จุด A เกิดขึ้นบนผิวที่แตกตางจากผิวที่เกิดความเคนหลักหรือผิวที่เกิด
ความเคนดัด และความเคนบิด ดังนั้นความเคนเฉือนสูงสุดสามารถหาไดจาก
.
τ1 = = 82.8 = 428.2MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


ความเคนในทอแบบผนังบางภายใตการปด

• สําหรับทอปด

• สําหรับทอที่หนาตัดเปดอยู

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


ตัวอยางการคํานวณทอผนังบางภายใตแรงบิด
(แปลจากตัวอยางที่ 3-10 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 108)

ทอเหล็กกลายาว 1 m มีผนังหนา 3 mm และหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมผืนผา 60mm x 90mm ดังแสดงในรูปที่ 3-26


สมมติใหรองรับความเคนเฉือนได 80 MPa และมีคา Shear modulus เทากับ 80 GPa
a) ประมาณคาแรงบิดที่ชิ้นงานสามารถรับได
b) ประมาณคามุมของการหมุนที่เกิดจากแรงบิดที่ไดจากขอ a
วิธีทํา
a) พื้นที่หนาตัดทั้งหมดที่คิดจากความยาวและความกวางของเสนกึ่งกลางของความหนา
Am =(60-3)(90-3) = 4956 mm2
และความยาวรอบรูปของเสนกึ่งกลางของความหนา
Lm =2[(60-3) + (90-3)] = 288 mm
จากสมการ 3-45 จะไดแรงบิดเทากับ
T = 2Amtτ = 2(4959x10-6)(0.003)(80x10-6) = 2380 N-m
b) มุมของการหมุน Ө คิดจากสมการ 3-46
.
Ө = Ө1 = = 1
Ө .
= 0.029rad = 1.66°

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


ความเคนรวมศูนย (Stress Concentration)

• คาสัมประสิทธความเคนรวมศูนย ทางทฤษฏี และทางกายภาพ

• ตัวอยางคาสัมประสิทธความเคนรวม
ศูนย แบบอื่นๆมีแสดงในตาราง
ภาคผนวกทายหนังสืออางอิง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


ตัวอยางการคํานวณความเคนรวมศูนย
(แปลจากตัวอยางที่ 3-13 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 113-114)

ทอนเหล็กสี่เหลี่ยมหนา 2 mm ดังแสดงในรูป 3-30 ใชในการรับแรงตามแนวแกนซึ่งมีคาเทากับ


10kN ทอนเหล็กถูกสรางมาจากวัสดุที่ผานกระบวนการใหความรอนและกระบวนการชุบเพื่อ
เพิ่มความแข็งแรงของวัสดุ แตผลลัพธมันยังทําใหวัสดุสูญเสียความเหนียวไปเกือบทั้งหมด ทอน
เหล็กดังกลาวมีรูเจาะทะลุผานที่จุดศูนยกลางของ 40 mm เพื่อที่จะใหสายเคเบิลสามารถรอย
ผานได ถารูเจาะมีขนาด 4 mm ก็สามารถรอยสายเคเบิลผานไดพอดี แตรูเจาะถูกเจาะใหมี
ขนาด 8mm จงหาวารอยแตกเริ่มตนจะเกิดขึ้นที่บริเวณใดกอน รูเจาะ 8mm รูเจาะ 4 mm หรือ
บริเวณที่มีการลบมุม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 44


ตัวอยางการคํานวณความเคนรวมศูนย
(แปลจากตัวอยางที่ 3-13 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 113-114)

วิธีทํา
เมื่อวัสดุเปนวัสดุเปราะ ตองพิจารณาผลกระทบของความเคนรวมศูนยบริเวณพื้นผิว
ที่ไมตอเนื่องเริ่มตนพิจารณาถารูเจาะมีขนาด 4 mm ความเคนเบื้องตนสามารถหาไดจาก
σ0 = = = = 139MPa

ตัวประกอบความเคนรวมศูนยเชิงทฤษฎี จากรูปที่ A-15 -1 กับ d/w = 4/40 = 0.1 จะได kt =


2.7 ดังนั้นความเคนสูงสุดจะเปน
σmax = ktσ0 = 2.7(139) = 380MPa
สําหรับรูเจาะที่มีขนาดเปน 8mm
σ0 = = = = 156MPa

คา d/w = 8/40 = 0.2 ดังนั้น kt = 2.5 และความเคนสูงสุดจะเปน


σmax = ktσ0 = 2.5(156) = 390MPa
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 45
ตัวอยางการคํานวณความเคนรวมศูนย
(จากตัวอยางที่ 3-13 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 113-114)

ซึ่งคาความเคนรวมศูนยมีคา มากกวากรณีรูเจาะ 4 mm ดังนั้นในการเพิ่มใหรูเจาะมีขนาดเปน 8mm จะทําให


ความเคนเบื้องตนเพิ่มขึ้นและสงผลใหความเคนสูงสุดเพิ่มขึน้ ดวย
สําหรับผิวที่มีการลบมุม σ0 = = = 147MPa
จากตาราง A-15-5 , D/d = 40/34 = 1.18 และ r/d = 1/34 = 0.026 จะไดคา kt = 2.5
σmax = ktσ0 = 2.5(147) = 368MPa
สรุป รอยแตกจะเกิดขึน้ ทีร่ ูเจาะทีม่ ีขนาด 8mm กอน ตอไปเปนรูเจาะ 4 mm และเกิดทีผ่ วิ ที่มกี ารลบมุมหลังสุด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 46


ความเคนในภาชนะความดัน
• พิจารณาหนาตัด มีความเคนในแนวสัมผัส และแนว
รัศมี

• ในแนวแกน(ตามขวางหนาตัด)

• สําหรับภาชนะความดันผนังบาง (<0.1r)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 47


ตัวอยางการคํานวณความเคนในภาชนะความดัน
(แปลจากตัวอยางที่ 3-14 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, p 115)

ภาชนะความดันทําจากอะลูมิเนียมผสมมีลกั ษณะเปนทรงกระบอกมีเสนผานศูนยกลางภายนอกเทากับ
200mm และผนังมีความหนา 6mm
a) ความดันเทาใดทีภ่ าชนะความดันทรงกระบอกสามารถรับไดถาวัสดุสามารถรองรับความเคน
ตามแนวสัมผัสซึ่งมีคา เปน 82MPa และ สมมติใหประยุกตใชทฤษฎีภาชนะความเคนแบบผนังบาง
b) จากความดันพืน้ ฐานทีไ่ ดจากขอ a) ใหคํานวณองคประกอบความเคนโดยใชทฤษฎีภาชนะ
ความดันแบบผนังหนา

วิธีทํา
a) จากโจทยกาํ หนด di =200-2(6)=188 mm,ri= 188/2 =94 mm, และ ro=200/2=100 ดังนั้น t/ri
=6/94=0.064 แลเมื่ออัตราสวนมากกวา 1/20 การใชทฤษฏีภาชนะผนังบางอาจจะดูไมปลอดภัย
เริ่มตนแกปญหาจาก สมการ 3-53 เพื่อที่จะใหไดความดันที่ภาชนะรับความดันสามารถรองรับได
.
P= = = 5.07MPa
. .

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 48


ตัวอยางการคํานวณความเคนในภาชนะความดัน
(แปลจากตัวอยางที่ 3-14 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, p 115)

ดังนั้นจากสมการ 3-54 สามารถหาความเคนเฉลีย่ ตามแนวยาวได


. .
σ = =
.
= 19.9MPa
b) ความเคนตามแนวสัมผัสสูงสุดจะเกิดขึ้นทีร่ ัศมีดา นใน ดังนั้นใช r= ri ในสมการเริ่มตนของสมการ 3-49
. .
(σ )max =

(1 + )=

= 2.54 . .
= 41.1MPa
และความเคนสูงสุดตามแนวรัศมีสามารถหาไดจากสมการที่ 2 ของสมการ 3-50
σ = -Pi = -2.54MPa
สมการ 3-51 จะใหคาความเคนตามแนวยาว
. .
σ
. .
= 19.28MPa
ความเคนทั้ง 3 แบบ คือ σ , σ และ σ เปนความเคนหลัก ซึ่งภาชนะความดันจะไมมคี วามเคนเฉือน
มากระทํา หมายเหตุ จะเห็นไดวาความเคนตามแนวสัมผัสในสวนของขอ a) มีคาแตกตางเล็กนอยกับสวน
ของขอ b) ดังนั้นเราสามารถใชทฤษฎีภาชนะความดันมีผนังบางในการคํานวณได
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 49
ความเคนในชิ้นสวนวงแหวนภายใตการหมุน
• ภายใตการหมุนของชิ้นสวนที่เปนรูปทรงวงแหวน
ไดแก ลอชวยแรง ใบพัดปม หนาแปลน

• ความเคนที่เกิดขึน้ มีลักษณะคลายกับภาชนะความ
ดันเพียงแตเกิดจากแรงหนีศนู ยจากการหมุนของ
อุปกรณนั้นๆโดยมีองคประกอบขึ้นอยูกับ
– เสนผาศูนยกลางของวงแหวน
– ความหนา และความหนาแนนของชิน้ สวน
• ความเคนที่เกิดขึน้ สามารถคํานวณไดจาก
ตัวอยางการแตกหักของแผน CD ภายใต
การหมุนที่ความเร็วสูง ~30,000rpm

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 50


ความเคนจากการสวมอัด

• แบบจําลองชิ้นสวนประกอบภายใตการสวมอัดโดยมีขนาดสวน
ตางเทากับ δ จะเกิดความเคนในแนวรัศมี และแนวสัมผัสอันเปน
ผลจากแรงดันที่เกิดขึ้นระหวางชิ้นสวนโดย sr= -p

• ในกรณีที่วัสดุทั้งสองชิ้นมีคาโมดูลัสความยืดหยุนเทากันหรือ
ใกลเคียงกัน แรงดันสามารถจัดอยูในรูปที่งายขึ้ไดโดย

• ความเคนในแนวสัมผัสทีเ่ กิดขึ้นสามารถคํานวณไดจาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 51


ความเสียหายจากแรงสถิต

• เมื่อชิ้นสวนเครื่องจักรกลอยูภายใต
ความเคนที่สูงเกิดขีดจํากัดทําใหเกิด
การแตกหักเสียหาย
• ความเคนที่เกิดจากแรงในที่นี้ศึกษา
เฉพาะแรงสถิต

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 52


ทฤษฏีความเสียหาย (Failure Theories)

• วัสดุเหนียว
Ductile materials (yield criteria)
– Maximum shear stress (MSS)
– Distortion energy (DE)
– Ductile Coulomb-Mohr (DCM)
• วัสดุเปราะ
Brittle materials (fracture criteria)
– Maximum normal stress (MNS)
– Brittle Coulomb-Mohr (BCM)
– Modified Mohr (MM)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 53


แผนภาพการวิเคราะหทฤษฏีความเสียหาย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 54


ทฤษฏีความเคนเฉือนสูงสุด

• พิจารณาจากระนาบความเคนในสามมิติ
• ความเคนเฉือนสูงที่สุดเกิดจาก

• แสดงใหเห็นวา

• ในการออกแบบที่มคี า ความปลอดภัย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 55


ทฤษฏีความเคนเฉือนสูงสุด (ตอ)

– Case 1: σA ≥ σB ≥ 0. ในกรณีนี้,
σ1 = σA และ σ3 = 0

– Case 2: σA ≥ 0 ≥ σB . ในที่น,ี้ σ1
= σA และσ3 = σB ,

– Case 3: 0 ≥ σA ≥ σB . กรณีนี้,
σ1 = 0 และ σ3 = σB

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 56


ทฤษฏีความเสียหายของ von Mises

• พิจารณาจากพลังงานที่ทําใหเกิดการเสียรูป
ความเคนสูงสุดเกิดจากความเคนหลักจาก
องคประกอบพื้นฐานทั้งสามดาน

• สําหรับระนาบความเคนใดๆ

• กรณีที่คิดเปนความเคนเฉือนเพียงอยางเดียว

• แสดงใหเห็นวา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 57


ตัวอยางการวิเคราะหทฤษฏีความเสียหาย
(แปลจากตัวอยางที่ 5-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 225-227)

เหล็กกลาที่ผานกระบวนการรีดรอนมีคาความแข็งแรงจุดคราก Syt = Syc = 700MPa และ


ความเครียดจริงที่จุดแตกหัก εf = 0.55 ใหประมาณคาตัวประกอบความปลอดภัยสําหรับความ
เคนหลักคาตางๆ ดังนี้
a) 490, 490, 0 MPa
b) 210, 490, 0 MPa
c) 0, 490, -210 MPa
d) 0, -210, -490 MPa
e) 210, 210, 210 Mpa
เมื่อ εf ˃ 0.55 และ Syc กับ Syt มีคาเทากัน วัสดุจะเปนวัสดุเหนียว ดังนั้นทฤษฎีพลังงานการแปร
รูป (DE) และทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด (MSS) ถูกนํามาวิเคราะห พรอมทั้งเปรียบเทียบคาที่ได
หมายเหตุ ในกรณี a ถึง d เปนสภาวะคิดคาความเคนในแนวราบ (plane stress)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 58


ตัวอยางการวิเคราะหทฤษฏีความเสียหาย
(แปลจากตัวอยางที่ 5-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 225-227)

วิธีทํา a) ลําดับความเคนหลักเปน σA = σ1 = 490, σB = σ2 = 490, σ3 = 0 MPa


ทฤษฎีพลังงานการแปรรูป(DE) จากสมการ 5-13
σ' = [4902 – 490(490) + 4902]1/2 = 490MPa
n= = = 1.43
ทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด(MSS) สําหรับกรณีที่ 1 ใชสมการ 5-4 จะได

n= = = 1.43

b) ลําดับความเคนหลักเปน σA = σ1 = 490, σB = σ2 = 210, σ3 = 0 MPa


ทฤษฎีพลังงานการแปรรูป(DE)
σ' = [4902 – 490(210) + 2102]1/2 = 426MPa
n= = = 1.64

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 59


ตัวอยางการวิเคราะหทฤษฏีความเสียหาย
(แปลจากตัวอยางที่ 5-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 225-227)

ทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด (MSS) สําหรับกรณีที่ 1 ใชสมการ 5-4

n= = = 1.43

c) ลําดับความเคนหลักเปน σA = σ1 = 490, σ2 = 0, σB = σ3 = -210 MPa


ทฤษฎีพลังงานการแปรรูป(DE)
σ' = [4902 – 490(-210) + (-210)2]1/2 = 622MPa
n= = = 1.13
ทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด(MSS) สําหรับกรณีที่ 2 ใชสมการ 5-5

n= = = 1.00

d) ลําดับความเคนหลักเปน σ1 = 0, σA = σ2 = -210, σB = σ3 = -490 MPa
ทฤษฎีพลังงานการแปรรูป(DE)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 60


ตัวอยางการวิเคราะหทฤษฏีความเสียหาย
(แปลจากตัวอยางที่ 5-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 225-227)

σ' = [(-490)2 –(- 490)(-210) + (-210)2]1/2 = 426MPa


n= = = 1.64
ทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด(MSS) สําหรับกรณีที่ 3 ใชสมการ 5-6

n= = = 1.43

e) ลําดับความเคนหลักเปน σ1 = 210, σ2 = 210, σ3 = 210 MPa
ทฤษฎีพลังงานการแปรรูป(DE)

σ’ = [ ]1/2 = 0MPa

n= = → ∞
ทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด(MSS) ใชสมการ 5-3

n= = → ∞

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 61


ตัวอยางการวิเคราะหทฤษฏีความเสียหาย
(แปลจากตัวอยางที่ 5-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 225-227)

ตารางสรุปผลของคาตัวประกอบความปลอดภัยจากทั้ง 2 ทฤษฎี

เมื่อขอบเขตทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุด(MSS) อยูบนหรือภายในขอบเขตของทฤษฎีพลังงานการแปรรูป
(DE) ดังนั้นคาตัวประกอบความปลอดภัยจากทฤษฎีความเคนเฉือนสูงสุดจะตองมีคา เทากับหรือนอยกวา
คาตัวประกอบความปลอดภัยจากทฤษฎีพลังงานการแปรรูปซึ่งสามารถเห็นจากตาราง สําหรับทุกกรณียกเวน
กรณีขอ e) ระบบพิกัดและเสนแนวแรง (Load line) ในระนาบ σA , σB ไดแสดงในรูป 5-11 สําหรับกรณีขอ
e) ความเคนไมใชความเคน plane stress หมายเหตุ เสนแนวแรงสําหรับกรณีขอ a) เปนแบบ plane stress
ที่ทั้ง 2 ทฤษฎี ใหคาผลลัพธทสี่ อดคลองกันซึง่ มีคา ตัวประกอบความปลอดภัยเทากัน
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 62
ตัวอยางการวิเคราะหความเสียหายของชิ้นสวน
(แปลจากตัวอยางที่ 5-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 232-233)

พิจารณาตัวอยางนี้ซงึ่ นําเสนอการวิเคราะหความ
เสียหาย และความแข็งแรงของชิน้ สวน โดยจะทําให
สามารถเขาใจลักษณะของการนิยาม strength of
machine part (ความแข็งแรงของชิน้ สวน) กับ strength
of material (ความแข็งแรงของวัสดุ) และ strength of a
part at a point (ความแข็งแรงของชิ้นสวนทีต่ าํ แหนงใดๆ)
กําหนดใหแรง F กระทําที่จุด D ของชิ้นสวนที่
มีลักษณะคลายกับประแจบล็อก ดังที่แสดงในรูป ผลจาก
แรงดังกลาวทําใหเกิดความเคนในกาน OABC (ที่มีจุด
ตางๆนั้นกําหนดไว)โดยชิน้ สวน OABC นี้ทําจากเหล็ก
มาตรฐาน AISI1035 ทําการฟอรจขึ้นรูปและปรับปรุง
คุณสมบัติดว ยความรอน จนมีความตานทานความเคน
คราก (Yield Strength) ที่ 560 MPa และใหถอื วาชิ้นสวน
นี้จะเสียหายจนใชงานไมไดอกี ตอไปหากเลยคานี้ ใหหา
ขนาดแรง F ที่กระทําดังกลาว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 63


ตัวอยางการวิเคราะหความเสียหายของชิ้นสวน
(แปลจากตัวอยางที่ 5-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 232-233)

วิธีทํา
เราสมมุติใหกา น DC มีความแข็งแรงเพียงพอทีจ่ ะทําใหเกิดความเสียหายบนชิน้ สวน OABC กอน และ
เนื่องจากวัสดุเปนเหล็ก A1035 ผานวิธีทางความรอน นอกจากนัน้ การลดขนาดของพืน้ ทีใ่ นชวง OA ไป
AB และ BC มีขนาดพิน้ ทีแ่ ตกตางกันกวา 50% ทําใหเราไมจําเปนตองพิจารณาความเคนรวมศูนยทบี่ าทั้ง
สองดาน ดังนั้นผิวดานบนของเพลาจะเกิดเฉพาะความเคนจากการดัด และการบิด ซึ่งสวนทีอ่ อ นแอทีส่ ดุ
ในที่นี้คือสวน AB โดยเกิดความเคนทั้งสองคือ
.
= 231,424
/ .
.
= 123,860
.

ใชทฤษฏี distortion-energy เราพบวา


/ /
3 231424 3 123860 231,424

เมื่อทําการเปรียบเทียบความเคนของ Von Mises กับขนาดความตานทานแรงตึงครารก Sy เราสามารถหา


คา F ไดจาก =1.77kN

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 64


ตัวอยางการวิเคราะหความเสียหายของชิ้นสวน
(แปลจากตัวอยางที่ 5-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 232-233)

ในตัวอยางนีค้ า ความตานทานแรงดึงครารกทีจ่ ุด A มีคาเทากับ 560 MPa คาความแข็งแรงของการ


ประกอบกันหรือของอุปกรณคอื F= 1.8 kN
ถาลองประยุกตทฤษฏีความเคนเฉือนสูงสุดของจุดใดๆภายใตสมมุตฐิ าน plane stress ซึ่งมีเพียงความ
เคนตั้งฉากหนึง่ คา และความเคนเฉือนหนึง่ คา จะพบวาคาความเคนหลักสองอัน A และ B จะมี
เครื่องหมายตรงกันขามกันซึง่ จะเขาขายกรณีที่สองของทฤษฏีความเคนเฉือนสูงสุดดังนัน้
/
/
2 4
2

สําหรับกรณีที่สองของทฤษฏีความเคนเฉือนสูงสุด
/
4
/
231424 3 123860 339002 560 10
=1.65 kN
ซึ่งคา F ที่ยอมใหกระทํากับอุปกรณมีคา นอยกวาในทฤษฏี DE ประมาณ 7 % เปนไปตามหลักการทีก่ ลาว
ไปแลวคือทฤษฏี MSS จะมีความเขมงวดมากกวา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 65


ตัวอยางทฤษฏีความเสียหายของวัสดุเปราะ
ทฤษฏีความเคนสูงสุด
• จากที่วัสดุเกิดการแตกหักเมื่อมีความเคนในแนวแกนสูงที่สุด
• หากพิจารณาจากความเคนหลักตามปกติคือ σ1 ≥ σ2 ≥ σ3

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 66


ทฤษฏีความเสียหายอื่นๆของวัสดุเปราะ
Brittle-Coulomb-Mohr

Modified Mohr

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 67


ตัวอยางการวิเคราะหความเสียหายของวัสดุเปราะ
(แปลจากตัวอยางที่ 5-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 237)

พิจารณาแทงรับแรงบิดในรูปที่ 5-16 ซึ่งทํามาจากเหล็กหลอ ผานการขึ้นรูปทางกล แรง F ที่มากระทําให


แทงรับแรงบิดแตกหักใหถือวามีคาเทากับความแข็งแรงของสวนประกอบของแทงรับแรงบิด ถาใชวัสดุเปน ASTM grade
30 cast iron จงหาแรง F โดยใช
a) รูปแบบการเสียหายโดยใชทฤษฎีของ Coulomb-Mohr
b) รูปแบบการเสียหายโดยทฤษฎีของ Modified Mohr
วิธีทํา เราสมมุติคนโยก DC มีความแข็งแรงพอและไมใชสวนของปญหาที่จะวิเคราะห เมื่อ Grade 30 Cast iron เปน
วัสดุเปราะ และเหล็กหลอมีคาตัวประกอบความเคนรวมศูนยเทากับ 1 สําหรับ kt และ kts จากตาราง A-24 ความเคน
ดึงสูงสุดมีคาเทากับ 210MPa และความเคนอัดสูงสุดมีคาเทากับ750MPa
ชิ้นสวนที่รับความเคนที่จุด A บนพื้นผิวบน ถูกกระทําดวยความเคนดัดดึงและความเคนบิด พื้นผิวนี้มีการลบมุมดวยเสน
ผานศูนยกลาง 1 in ซึ่งจะเปนบริเวณที่แข็งแรงนอยที่สุด และครอบคลุมความแข็งแรงของสวนประกอบ ความเคนตั้ง
ฉาก σx และความเคนเฉือนที่จุด A สามารถหาไดจาก
.
σx = kt = kt =(1) = 231424F
/ .
.
τyx =kts = kts =(1) = 123860F
.

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 68


ตัวอยางการวิเคราะหความเสียหายของวัสดุเปราะ
(แปลจากตัวอยางที่ 5-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 237)

จากสมการ 3-13 ความเคนหลักทีไ่ มเปนศูนยของ σA และ σB เปน

σA , σB = ± 123860 = 285213F, -53789F


ซึ่งคานี้ถกู ระบุพกิ ดั ในควอดรันที่ 4 ของระนาบพิกดั σA , σB
a) สําหรับ BCM สมการ 5-31b โดยใช n = 1 สําหรับการเสียหายจะได
- = - =1
แกสมการหาคา F ได F = 699N
b) สําหรับ MM ความชันของเสนแนวแรงเปน | σB/ σA | = 53789/285213 = 0.189 < 1
จากสมการ 5-32a จะได
= =1
F = 736N
คาที่ไดจากทัง้ 2 กรณีมีคาสอดคลองกับรูปที่ 5-19 ซึ่งรูปแบบการเสียหายแบบ Coulomb-Mohr ใหคาที่รัดกุม
มากกวา
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 69
ความเสียหายเนื่องจากภาระเปลี่ยนแปลง(Dynamic Load)
• ปกติการเสียหายในลักษณะนี้จะเกิดขึ้น และพัฒนาใน 3 ระดับ
คือ
– Stage 1 เกิดการแตกหักขนาดเล็กมากๆ micro crack จากการเสีย
รูปไปมาซ้ําๆ
– Stage 2 การแตกหักขยายตัวเปนความเสียหายขนาดใหญขนึ้ ซึ่ง
สังเกตไดที่ผิวชิ้นงาน
– Stage 3 การเสียหายของชิ้นสวนที่ไมสามารถรับภาระ หรือทํางานใน
ลักษณะเดิมไดอกี ตอไป

หมายเหตุ การคํานวณ และวิเคราะหเบื้องตนเกี่ยวกับความลาจะ


เรียนพรอมกับตัวอยางในบทที่ 7 ซึ่งจะเปนการออกแบบเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 70


ตัวอยางลักษณะชิ้นสวนอุปกรณ ที่รับภาระ
เปลี่ยนแปลง และเกิดความเสียหาย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 71


การวิเคราะหความเสียหายจากความลา
• พิจารณาจากจํานวนรอบการทํางานทีช่ ิ้นสวนรับภาระเปนวัฏจักร
– วัฏจักรนอยกวา 1000 เรียกวา Low-Cycle Fatique
– วัฏจักรมากกวา 1000 เรียกวา High-Cycle Fatique
• ทฤษฏีหลักที่นยิ มในการวิเคราะห
– stress-life method พิจารณาจากความเคนเทานั้น ซึ่งทําไดงาย แตไมคอยแมนยํา
โดยเฉพาะเมื่อจํานวนวัฏจักรนอย
– Strain-life method จํามีความซับซอนมากขึ้นโดยพิจารณาความเครียดในวัสดุ
– linear-elastic fracture mechanics method สมมุติวามี micro crack อยูในเนื้อ
วัสดุ แลวสรางความสัมพันธในรูปแบบจําลองคอนขางซับซอนมากมักใชวิธีทาง
ตัวเลข และคอมพิวเตอรมาชวยวิเคราะห

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 72


การทดสอบความเสียหายจากความลา
• R. R. Moore machine tests
เปนเครือ่ งมือทีใ่ ชทดสอบ
และจําลองภาระ
เปลี่ยนแปลงที่กระทํากับชิ้น
ทดสอบ specimen โดย
ขอมูลสามารถสรางเปน
กราฟ S-N diagram
• ปกติจะเปนกราฟใน Log-
Scale

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 73


S-N Curve ในโลหะ
• ในกรณีของเหล็ก S-N curve จะมีการ
หักเหขนานไปกับแนวระดับที่คา ภาระ
คาหนึ่งคือ Endurance Limit ซึ่ง
ภาระเปลี่ยนแปลงภายใตคานี้จะไม
กอใหเกิดความลาไมวาจะทําไปกี่
รอบวัฏจักรก็ตามแต
• ในโลหะทีไ่ มใชกลุม เหล็กโดยทัว่ ไปจะ
ไมมี Endurance Limit นี้
• สําหรับวัสดุที่ไมมี endurance limit คา
Fatigue Strength มักอานที่ 5x108 รอบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 74


คา Endurance Limit ในเหล็ก
• จะใชคาความเคนดึงต่ําสุดที่สังเกตได
จากการทดสอบความลาของชิ้นงาน
specimen นั้นๆ
• โดยทั่วไปสามารถประมาณไดเทากับ

• ปกติ จะหมายถึง Endurance


Limit ที่ไดจากการทดสอบแบบ
rotating beam

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 75


แบบฝกหัด
1. จากภาพขางลางเปนคานหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาความยาว 1.2 m วาง
อยูในลักษณะที่รับแรงกดตอเนื่อง (ตอความยาว) ขนาด 18 kN/m จาก
จุด A ถึง B ดังรูป
– จงเขียนแผนภาพของแรงเฉือน และโมเมนตดัดตลอดความยาวของคาน
– คํานวณหาความเคน(ตั้งฉาก)สูงสุด และความเคนเฉือนสูงสุดในคาน
โดยระบุตําเหนงของแตละตัวดวย
– ถากําหนด Safety Factor เปน 1.5 จงหาคา Yield Strength ของวัสดุที่ควร
นํามาใชทําคานอันนี้

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 76


แบบฝกหัด
2. จากภาพขางลางเปนเพลาทรงกระบอกยึดติดกับผนังดังรูป มีแรง F, P
และแรงบิด T กระทําขนาด 0.3kN, 0.5kN และ 18N-m ตามลําดับ
– จงหาความเคนที่จุด A และ B

– สมมุติใหวัสดุเปนเหล็ก AISI
1010 HR (รีดรอน) จงใชทฤษฏี
Distortion Energy หาคา
Safety Factor ในการออกแบบ
ของเพลานี้

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 77


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice
Hall
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
• Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 78


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 4 สกูรสงกําลัง สลักเกลียว และการยึดแบบไมถาวร


(Power Screw, Screw Fastener
and Non-Permanent Joints)
เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


องคประกอบ และนิยามของเกลียว และสลักเกลียว
• ระบบเกลียวโดยทั่วไปประกอบดวย
– Pitch Diameter ,Major Diameter ,Minor
Diameter
– Root, Crest, Pitch
– Root Angle
– End Chamfer

• เกลียวขวาเปนเกลียวปกติ
• ปกติใชงานเปนคู (Male-Female)
• อาจจะมีมากกวา 1 เกลียว (Multiple
Thread)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


รูปทรงมาตรฐานของฟนเกลียว
(Thread standard geometry)
• มาตรฐาน ISO68 เปน
มุม 60o
• มีสองระบบหลัก
– Imperial
– Metric

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


ตัวอยางเกลียวระบบ Imperial

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4


ตัวอยางเกลียวระบบเมตริค

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


รูปแบบของเกลียว
(Thread Form)

• เกลียวมาตรฐาน Unified Thread


– UN
– UNR (มีฐานเกลียวโคงลดความเคนรวมศูนย)
• เกลียวรูปทรงอื่นๆ
– Acme
– Square

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


ตัวอยางรูปแบบเกลียวอื่นๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


สกูรสงกําลัง (Lead Screw)

• ออกแบบสําหรับเปลี่ยนการเคลื่อนที่
เชิงมุมเปนเชิงเสน
• มีหลักการทํางานคลายลิ่ม
• สวนใหญเปนเกลียว Acme และ
Square
• จํานวนเกลียว (ปาก) และระยะ
พิตแปรผกผันกับอัตราทด
• ในงานที่ตองการความแมนยํา และ
สมรรถนะสูง มักจะใช Ball-Screw

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


การวิเคราะหแรงในสกูรสงกําลัง
• กําหนดแรงในแตละแกนของระบบพิกัดดังรูป
• สําหรับการยกภาระขึ้น

• สําหรับการลด(ระยะ)ภาระลง

• แรงบิดที่ใชยกภาระ

• แรงบิดที่ใชลดภาระ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


การลอคตัวเองของเกลียว (Self-Locking)
• ในกรณีที่ไมไดออกแรงขับเคลื่อน สกูรอาจจะหมุนเอง
จากแรงกดที่เปลี่ยนการเคลื่อนที่ไปเปนการหมุนของ
เกลียวแทนตามเงื่อนไข
π fd m > l

• หากหารสองขางดวย πdm จะทําให l /πdm = tan λ,


ได

• นี่คือเงื่อนไขของการลอคตัวเองของเกลียว
• การลอคตัวเองมีสวนสําคัญมากในการออกแบบ
อุปกรณบางอยางเชนแมแรง เพราะจะเกี่ยวเนื่องกับ
ความปลอดภัยในการใชงาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนของสกูร
• ประสิทธิภาพของสกูรที่ไมพิจารณาแรงเสียดทานคือ

• ในกรณีของเกลียวเอคเม และเกลียวอื่น(เอียง)จะมีมมุ
เอียงที่เกี่ยวของคือมุม 2α และมุมลิ่ม λ.
• มุม α ทําใหเกิดการเบียดอัดของเกลียวในแนวรัศมีเกิด
เปนความสูญเสีย แตอยางไรก็ดีเกลียวที่มีมุมα สามารถ
ผลิตไดงายกวา

• สกูรสงกําลังนิยมใชเกลียวสี่เหลี่ยม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนของสกูร (ตอ)

• สกูรสงกําลังจําเปนตองมีการรองรับซึ่งจะมีลักษณะ
ทั่วไปดังรูป
• คาสัมประสิทธ fc ของความเสียดทานที่จุดรองรับ
กอใหเกิดแรงบิด

fc คือสัมประสิทธความเสียดทาน

• สําหรับจุดรองรับที่มีขนาดใหญอาจจะคํานวณเหมือนกับคลัชแบบจาน
• ในการใชงานจริงมักออกแบบใหมแี บริง่ (Thrust Bearing หรืออุปกรณรองรับที่
มีสัมประสิทธความเสียดทานต่าํ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


ตัวอยางคาสัมประสิทธิความเสียดทานของวัสดุทั่วไปทีม่ ักจะ
นํามาใชกับสกูรสงกําลัง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


การวิเคราะหความเคนบนสกูรสงกําลัง

• คาความเคนเฉือนสูงสุดจากการบิด

dr คือเสนผาศูนยกลางของฐานสกูร
• คาความเคนในแนวแกน

• ภาระความเคนบนเกลียว

สมมุติลักษณะของเกลียวสี่เหลี่ยม
รับภาระหนึ่งรอบเกลียวในลักษณะดังรูป
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14
การวิเคราะหความเคนบนสกูรสงกําลัง (ตอ)

• คาความเคนดัดที่ฐานเกลียว

nt คือจํานวนเกลียวที่รับภาระ

• คาความเคนเฉือนที่กึ่งกลางฐานเกลียว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


ตัวอยางการออกแบบสกูรสงกําลัง
(แปลจากตัวอยางที่ 8-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 419-421)

สกรูสงกําลังมี major diameter 32 mm และมีระยะพิตซ 4 mm เปนแบบเกลียวคู รองรับแรง


ที่มากระทําดังรูป 8-4 กําหนดให f = fc = 0.08 , dc = 40 mm และ F = 6.4 kN ตอ 1 เกลียว
จงหา
a) ความลึกของเกลียว,ความกวางเกลียว,เสนผานศูนยกลางพิตซ, minor diameter , ระยะ
lead
b) แรงบิดที่ทําใหยกตัวและลดตัวลงของ แรง
c) ประสิทธิภาพการยกตัว
d) ความเคนในเนื้อวัสดุ, ความเคนที่ฐานของเกลียว
e) ความเคนของการรองรับ( bearing stress)
f) ระยะการโกงตัวของเกลียวและความเคนที่ฐานของเกลียว
g) ใช Von Mises หาความเคนที่ฐานของเกลียว
h) ความเคนเฉือนสูงสุดที่กระทําที่ฐานเกลียว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


ตัวอยางการออกแบบสกูรสงกําลัง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 419-421)
วิธีทํา
a) จากรูปที่ 8-3a ความลึกและความหนาของเกลียวซึ่งมีคาเทากับ ครึ่งหนึ่งของระยะพิตซ คือ 2 mm
ดังนั้น
9 4
32 30
2 2
32 4 28
2 4 8

(b) ใชสมการ 8-1 และสมการ 8-6 เพื่อหาแรงบิดทีท่ าํ ใหสกรูหมุนตานกับแรงทีก่ ระทํา


1

2 2

. . . .
= (
.
)

=-0.46 + 10.24 = 9.77 N.m

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


ตัวอยางการออกแบบสกูรสงกําลัง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 419-421)
(c) หาประสิทธิภาพของสกรูที่เลื่อนขึน้
6.4 8
0.311
2 2 26.18

(d) ความเคนเฉือนในเนื้อวัสดุ เนื่องจาก โมเมนบิด ที่ภายนอกของเกลียว คือ


.
10.39 Mpa

(e) ความเคนรองรับที่เกิดขึ้น ( ) พิจารณาใน 1 เกลียวที่รองรับแรง 0.38 F


. . .
12.9 Mpa

(f) ความโกงตัว พิจารณาใน 1 เกลียวที่รองรับแรง 0.38F


. . .
41.5 MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


ตัวอยางการออกแบบสกูรสงกําลัง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 419-421)
(g) ความเคนเฉือนตามแนวทแยงทีบ่ ริเวณขอบของพืน้ ทีห่ นาตัด ที่ขึ้นกับแรงดัด จะเปนศูนย
อยางไรก็ตาม ยังมีความเคนเฉือนรอบเสนรอบวงบริเวณขอบของพืน้ ทีห่ นาตัดของเกลียว(ขอ d) 6.07 MPa
ความเคนสามมิตติ ามรูป 8-8 มีองคประกอบดังนี้
= 41.5 MPa =0
= -10.39 MPa = 6.07 MPa
= 0 MPa =0

จากสมการ Von Mises เมื่อแทนคา จะได



41.5 0 0 10.39 10.39 41.5 6 6.07

= 48.1 MPa

จากสมการความเคนสามมิตไิ ด s1 ,s2 ,s3 = 41.5, 2.79, -13.18


(h) ความเคนเฉือนสูงสุดหาไดจาก สมการ 13-6 โดยให = /
. .
27.3 Mpa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


สลักเกลียว (Fasteners)
• รูปทรง และองคประกอบของสลักเกลียว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


สัดสวนของเกลียวและขนาด
• สําหรับสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยมมาตรฐาน
– ระบบนิ้ว

– ระบบเมตริก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


การประกอบสลักเกลียว
• ประกอบโดยใชสลักเกลียวตัวเมีย
– งาย และรวดเร็ว
– มีชิ้นสวนมากกวา
– ประกอบยุงยากกวา

• ประกอบเกลียวบนชิ้นงาน
– ตองทําเกลียวบนชิ้นงาน
– ใชสลักเกลียวสั้นกวา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


การวิเคราะหความแข็งแรง

• คาความแข็งของสลักเกลียวเปรียบเทียบไดกับการอนุกรมของสปริง

• แทนคาแลวคาความแข็ง(stiffness) ของสลักเกลียวคือ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23


ความแข็งแรงชิ้นสวนประกอบสลักเกลียว

• ในการประกอบสลักเกลียวบอยครั้งมีชิ้นสวน
หลายชิ้นประกบกันอยูใหคิดเหมือนสปริงตอ
อนุกรมกันอยู
• ในกรณีมีวัสดุออ นเชนประเก็นใหใชคา
stiffness ของประเก็นไดเลย
• ในกรณีที่สมมุตคิ า E เทาๆกันคา stiffness หา
ไดจากวิธี Rotschei’s pressure-cone method

ตามการศึกษาของ Osgood เสนอ α อยูในชวง 25-33 องศาสําหรับชิ้นสวนทั่วๆไป เรานิยมใช 30องศาในบทเรียนนี้


การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24
ตัวอยางการคํานวณคาความแข็ง(stiffness)ของสลักเกลียว
(แปลจากตัวอยางที่ 8-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 430-432)

จากรูป 8-17a แผนเรียบสองแผนถูกหนีบไวดวยแหวนเซาะ ชนิด in-20 UNF 1 in SAE ระดับ 5,


สลักเกลียว ที่มีแหวนเหล็กในมาตรฐานขนาด ½ N จงหา
a)ใหคํานวณSpring Rate Km ขององคประกอบเมื่อแผนเรียบทั้งบนและลางเปนเหล็กหลอเทา
b)ใชวิธีของ conical frusta , หา Spring Rate Km ขององคประกอบเมื่อแผนเรียบทั้งสองเปนเหล็ก
c)ใชสมการ 8-23 หา Spring Rate Km ขององคประกอบเมื่อแผนเรียบทั้งสองเปนเหล็กแลวเทียบกับขอ b)
d)คิดอัตราสปริงเกลียว Kb

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


ตัวอยางการคํานวณคาความแข็ง(stiffness)ของสลักเกลียว
(แปลจากตัวอยางที่ 8-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 430-432)

จาก ตารางA-32 ที่ความหนามาตรฐาน N ของแหวนเรียบ คือ 0.095 in.


a)ดังทีแ่ สดงในรูป 8-17b กรวยของการบีบกด(frusta) ครอบคลุม ครึ่งหนึ่งของระยะขอตอ
1
0.5 0.75 0.095 0.6725 in
2
ระยะระหวางเสนขอตอและเสนจุดสลัก คือ 0.6725-0.5-0.095=0.0775 in. เมื่อกรวยของการบีบ
กดบนประกอบดวยแหวนเหล็ก ชิ้นงานและ เหล็กหลอ0.0775นิ้ว เมื่อแหวนและแผนเรียบบนและเหล็กทัง้ สอง
มีคา E=30x106PSI โดยพิจารณาการบีบกดทีห่ นา 0.595 in. เสนผานศูนยกลางของกรวยการบีบเหล็กทีใ่ ช
ทําโดยมีขอ ตอรวมอยู คิดเปน 0.75+2(0.595)tan30 =1.437 in. เสนผานศูนยกลางทีจ่ ุดกลางของขอตอ
รวมกันคือ 0.75+2(0.6725)tan30=1.527 in. ใชสมการ8-20 อัตรา Spring Rate คือ
. .
. . . . . . 30.80 10 lbf/in
. . . . . .
การบีบอัดดานบนเหล็กหลอ
. . .
. . . . . . 285.5 10 lbf/in
. . . . . .
การบีบอัดดานลางเหล็กหลอ
. . .
. . . . . . 14.15 10 lbf/in
. . . . . .

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


ตัวอยางการคํานวณคาความแข็ง(stiffness)ของสลักเกลียว (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 430-432)

อนุกรมของ กรวยของการบีบกด
1 1 1 1
30.80 10 285.5 10 14.15 10

จะไดคา คือ 9.378 10 lbf/in.

b)เมื่อขอตอทั้งหมดคือเหล็ก สมการ8-22 ที่ใช l=2(0.6725)=1.345 in. ได


0.5774 30.0 10 0.5
14.64 10 lbf/in.
0.5774 1.345 0.5 0.5
2 5
0.5774 1.345 2.5 0.5

c)จากตาราง 8-8 , A=0.78715 ,B=0.62873 โดยใชสมการ 8-23 ได


0.62873 0.5
30 10 0.5 0.78715 exp
1.345
14.92 10 lbf/in

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


ตัวอยางการคํานวณคาความแข็ง(stiffness)ของสลักเกลียว (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 430-432)

สําหรับกรณีนี้ ผลตางระหวางผลลัพธ จากสมการ 8-22 และ 8-23 จะนอยกวา 2 เปอรเซ็นต


d)ตามผลของตาราง8-7
ความยาวของเกลียว ของ สลักขนาด0.5 in คือ 2 0.5 0.25 1.25 in.
สวนความยาวสวนที่ไมมีเกลียว คือ =1.5-1.25=0.25 in.
ความยาวของบริเวณที่ไมมีเกลียวคือ =1.345-0.25=1.095 in.
พื้นที่เสนผานศูนยกลางหลัก คือ 0.5 0.1963in2
จากตาราง8-2 ความเคนดึง ที่พื้น คือ 0.1599 in2
จากสมการ8-17 ได
. .
3.69 10 lbf/in
. . . .

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ความแข็งแรงของสลักเกลียว
• คาความแข็งแรงของสลักเกลียวตามมาตรฐานหลักๆไดแก
– SAE
– ASTM
– Metric
• Proof Load คือความแข็งแรงสูงสุดที่สลักเกลียวรับภาระได
• การเสียหายบนสวนตางๆของสลักเกลียว
– 15% เกิดจากความลาบริเวณคอ(ใตหัวสลักเกลียว)
– 20% เกิดจากการเสียหายที่เกลียว (เกลียวหวาน)
– 65% เกิดจากบริเวณที่สลักเกลียวกดอัด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29


ตัวอยางความแข็งแรงสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยมมาตฐานของ SAE

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


ตัวอยางความแข็งแรงสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยมมาตฐานของ ASTM

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


ตัวอยางความแข็งแรงสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยมมาตฐานในเมตริก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


ความแข็งตึงของรอยตอ
• พิจารณาการยืดตัวยาวขึ้นของสลักเกลียว และ
ชิ้นสวนประกอบ

• ภาระบนสลักเกลียว

• คาคงที่ความแข็งแรงบนรอยตอ (stiffness constant


of the joint)

• ภาระสุทธิบนสลักเกลียว และชิ้นสวนประกอบคือ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


ความสัมพันธแรงบิด(ขัน)กับภาระการดึงบนสลักเกลียว
• พิจารณาการยืดกับภาระเริ่มแรก Fi บนสลัก
เกลียว δ = Fi l/(AE) จะไดแรงบิดที่สัมพันธกับ
ภาระดังกลาว

• กําหนดคาสัมประสิทธแรงบิดเกิดจากความเสียด
ทาน และมุมเอียงตางๆเปน

f คือสัมประสิทธความเสียดทานที่เกลียว
• จะไดความสัมพันธของแรงบิดขันตอภาระความ
แข็งตึงบนสลักเกลียว fc คือสัมประสิทธความเสียดทานที่คอ หรือ
บารองการหมุนของสกูร

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


ตัวอยางการคํานวณแรงขันบนสลักเกลียว
(แปลจากตัวอยางที่ 8-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 439-440)

สลักชนิด in 16UNF 2 ในมาตรฐาน SAE grade 5 ใชรับภาระ 6 kip ในขอตอ


ชนิดดึง โดยแรงดึงเริ่มตน คือ Fi=25kips โดยคาคงที่ของ สลักและขอตอคือ Kb=6.50 ,
Km=13.8 Mlbf/in จงหา
a) ภาระเริ่มตน (Preload) และ ความเคนที่เกิดจากภาระที่ใสใหแกสลัก. เปรียบเทียบกับ ความ
แข็งแรงพิสูจนนอยสุด (Proof Strength) ของสลักตามแบบSAE
b) แรงบิดที่ใชขันเพื่อเพิ่มภาระเริ่มตน ใชสมการ8-27
c) แรงบิดที่ ใชขันเพื่อเพิ่มภาระเริ่มตน ใชสมการ 8-26 โดย f=fc=0.15
วิธีทํา
a) จากตาราง8-2 At=0.373 in2 ความเคนภาระเริ่มตนคือ
67.02 kpsi
.

คาคงที่ stiffness คือ


6.5
0.320
6.5 13.8

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


ตัวอยางการคํานวณแรงขันบนสลักเกลียว (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 439-440)
จากสมการ8-24 ความเคนภายใตภาระที่กําหนด คือ

0.320 67.02 72.17 kpsi


.

จากตาราง8-9 , ความแข็งแรงพิสูจนนอยสุดของสลัก คือ =85 kpsi. ความเคนภาระเริ่มตน


และความเคนภาระที่ใสให เปน 21% และ 15% นอยกวาความแข็งแรงพิสูจนตามลําดับ

b)จากสมการ8-27 แรงบิดที่สอดคลองกับภาระเริ่มตนคือ
0.2 25 10 0.75 3750 lbf ∙in

c)เสนผานศูนยกลางรอง (minor diameter) ที่สามารถรับภาระไดจะคิดจากพื้นที่ในสวนทีไ่ มมี


เกลียวจากในตาราง8-2 ดังนั้น
.
0.6685 in.

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


ตัวอยางการคํานวณแรงขันบนสลักเกลียว (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 439-440)

ดังนั้น เสนผานศูนยกลางเฉลี่ยคือ =(0.75+0.6685)/2=0.7093 in.


มุม lead จะได
1 1 1
λ 1.6066°
0.7093 16

สําหรับ 30° จากสมการ 8-26 จะได

. . ° . °
0.625 0.15 25(10 )(0.75)
. . . ° °
= 3551 lbf ∙in.

ซึ่งเปน 5.3 เปอรเซ็นตนอยกวาที่คํานวณไดในสวนของขอ b)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


แรงสถิตยบนสลักเกลียวแบบใสภาระเริ่มตน

• ความเคนที่เกิดจากการ Pre-Load บนสลัก


เกลียว

• ความสัมพันธของคาความแข็งแรงของสลัก
เกลียว (Proof Strength)

• โดยคา Pre-Load ที่แนะนําเทียบกับ Proof


Load (FP)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


ตัวอยางการวิเคราะหแรงสถิต
(แปลจากตัวอยางที่ 8-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 442-443)

จากภาพที่กําหนดใหเปนภาพตัดของหนาแปลน
ภาชนะความดันทีเ่ ปนเหล็กหลอเกรด 25 จํานวน
ของ(N)สลัก ใชเพื่อปองกันการแยกจากแรง 36kip.
จงหา
a)หา , และ C
b)หาจํานวนของสลักที่ใชสําหรับคาคงที่ของภาระ
เปน 2 เมื่อ สลักยังคงอยูขณะ ที่ขอตอแยกออกจาก
กัน
c)ดวยจํานวนจากขอ b),จงหาคาคงที่ของภาระที่
ถูกตองสําหรับขอจํากัดของภาระเกิน ,คาคงที่ความ
ปลอดภัยของจุดครากและคาคงที่ของภาระสําหรับ
ขอตอที่แยกออกจากกัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


ตัวอยางการวิเคราะหแรงสถิต (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 442-443)
วิธีทํา
a)สวนจับยึดยาว =1.5 in. จากตาราง A-31 ,แปนรองเกลียวหนา in เพิ่มอีกสองเกลียวถัดออกไปจาก
แปนรองเกลียว in. จะมีความยาวของสลักคือ
35 2
1.5 2.229 .
64 11
จากตารางA-17 ขนาดถัดไปของสลักที่มี คือ L=2.25 in จากสมการ8-13 ความยาวเกลียว คือ
Lt=2(0.625)+0.25=1.5 in ดังนั้นความยาวของบริเวณที่ไมเปนเกลียว
ในสวนที่ยดึ กันคือ =2.25-1.5=0.75 in. ความยาวเกลียวบริเวณที่จับ คือ = 0.75 in.
.
จากตาราง8-2 0.226 in2 พื้นที่เสนผานศูนยกลางใหญ คือ 0.3068 in2 คาคง
ตัวสลักจะเปน
. .
5.21 Mlbf/in
. . . .

จากตารางA-24สําหรับเหล็กหลอเกรด25 เราจะใช E=14 Mpsi. คาคงตัวของจํานวนคิดจากสมการ8-22 คือ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


ตัวอยางการวิเคราะหแรงสถิต (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 442-443)

. . .
. . . . . . 8.95 Mlbf/in
. . . . . .

ถาเราใชสมการ8-23จากตาราง8-8 , A=0.77871 และ B=0.61616 และ


14 0.625 0.77871 exp 0.61616 0.625 /1.5
= 8.81 Mlbf/in
ซึ่งนอยกวา คากอนหนานี้ 1.6 %
จากการคํานวณ ครั้งแรกพบวาคาคงที่ C คือ
5.21
0.368
5.21 8.95
b)จากตาราง8-9 Sp=85 kpsi. จากนั้นใชสมการ8-31และ8-32 เราจะหา ภาระแนะนําได
0.75 0.75 0.226 85 14.4 kip
สําหรับ สลัก N เกลียว หาไดจากสมการ8-29
0.368 2 36
5.52
85 0.226 14.4
ใชN=6
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41
ตัวอยางการวิเคราะหแรงสถิต (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 442-443)

c)ใชสลัก 6ตัว จะไดคาคงที่ภาระที่วิเคราะหแลวจริง


85 0.226 14.4
2.18
0.368 36/6

จากสมการ8-28 คาคงที่ความปลอดภัยจุดคราก คือ

85 0.226
1.16
⁄ 36
0.368 14.4
6
จากสมการ8-30คาคงที่ตานทานการแยกตัวของขอตอ คือ

14.4
3.8
/ 1 36
1 0.368
6

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


การยึดสลักเกลียวที่มีประเก็นเต็ม
• แรงดันที่กระทําบนปะเก็นทั้งตัวคือ

• ภาระบนชิ้นสวนประกอบในที่นี้คือปะเก็น
ไดแก

• สามารถประมาณจํานวนสลักเกลียวที่ใชยึด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


รอยตอสลักเกลียว และริเวตภายใตแรงเฉือน

• พิจารณารอยตอของแผนประกบที่มี
ความหนาเทากับ t จะไดโมเมนตดดั ที่
เกิดจากการดึงดวยแรง F เปน M=Ft/2
ซึ่งก็ใหเกิดความเคนดัด

• ความเคนที่เกิดจากการอัดตัวระหวาง
สลักกับชิ้นสวนประกบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 44


ตัวอยางคํานวณความเคนดัดบนชิ้นสวนประกบ
(แปลจากตัวอยางที่ 8-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 453-454)

สลักยึดแผนประกบกันดังรูปใช สลักเหล็ก SAE เกรด 5 โดยแผนประกบเปนเหล็กขึ้นรูปแบบ รีดรอน


(hot-rolled) AISI 1018 ภาระแรงดึงเฉือน F=4000 lbf หาคาคงที่ความปลอดภัย ในทุกกรณีของ
ความเสียหายที่เปนไปได
สวนองคประกอบ =32 kpsi สวนสลัก =92 kpsi , =(0.577)92=53.08 kpsi
กรณีการเฉือนของสลัก
.
2 0.221 in2

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 45


ตัวอยางคํานวณความเคนดัดบนชิ้นสวนประกบ (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 453-454)

18.1 kpsi
.
.
n 2.93
.

กรณีการบี้บนตัวสลัก 2 0.25 0.375 0.188 in2


21.3
.
n 4.32
.
กรณีการบี้บนชิ้นสวน
n 1.50
.
กรณีการดึงบนชิ้นสวน
2.375 0.75 0.25 0.406 in2
9.85
.
n 3.25
.

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 46


ความเคนเฉือนบนรอยตอในลักษณะหมุนควง

• การหา Centroid เชิงพื้นที่บนระนาบใดๆ

• สําหรับการกระจายแบบสมมาตร จุด
Centroid จะอยูกึ่งกลางตามแกนสมมาตร

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 47


ความเคนเฉือนบนรอยตอในลักษณะหมุนควง (ตอ)
• ตัวอยางการพิจารณาภาระบนสลักเกลียวที่ประกอบเปนกลุมสี่เหลี่ยม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 48


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนบนรอยตอหมุนควง
(แปลจากตัวอยางที่ 8-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 456-458)

จากรูป8-27 คือ เหล็กแผนแบบสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 15x200 มิลลิเมตร ทําการยึดเปนคานเขากับ


รางตัวซีขนาด 250 mm โดยใชสลักสี่ตัว วางที่ A B C D
สําหรับแรงกระทํา F=16 kN จงหา

a)ภาระสุทธิของสลักแตละตัว
b)ความเคนเฉือนสูงสุด ใน
สลักแตละตัว
c)ความเคนที่ใชรับภาระ
d)ความเคนดัดวิกฤติบนแผน
เหล็ก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 49


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนบนรอยตอหมุนควง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 456-458)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 50


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนบนรอยตอหมุนควง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 456-458)

วิธีทํา
a)จุดO จุดเซนทรอยดของกลุมของสลัก ใน รูป8-27 พบวาสมมาตร ถาเขียนfree-body diagram
ของคาน โดยให V เปนแรงปฏิกิริยาเฉือนจะกระทําผานจุด O และโมเมนตปฏิกิริยา M จะไดคาเปน
V=16 kN M=16(425)=6800 Nm
ในรูป8-28 กลุมของสลัก ถูกเขียนใหมีสเกลที่ใหญขึ้น และ มีแรงปฏิกิริยาดังรูป ระยะทางจากจุด
เซนทรอยดถึงจุดศูนยกลางของสลักแตละตัวจะเปน
60 75 96.0
แรงเฉือนหลักตอสลักหนึ่งตัวคือ
4 kN

เมื่อแรงเฉือนรองจะเทากับสมการ8-57 จะได
17.7 kN
.

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 51


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนบนรอยตอหมุนควง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 456-458)

แรงที่ทําใหเกิดความเคนเฉือนหลักและความเคนเฉือนรองนั้นจะถูกกําหนดขนาดในรูปที่ 8-28 ซึ่งไดรับผลมา


จาการใช กฎของสีเ่ หลีย่ มดานขนาน (parallelogram rule) โดยขนาดหาไดจากการวัด(หรือวิเคราะห) คือ

21.0 kN
14.8 kN

b)สลัก A และ B จะวิกฤติ เพราะวามันรับภาระแรงเฉือนทีม่ ากสุด แรงเฉือนนีจ้ ะกระทําบนสวนเกลียวของ


สลักหรือสวนที่ไมเปนเกลียวของสลักหรือไมนั้น ความยาวของสลักจะเปน 25mm บวก ความสูงของนอต และ
บวก 2mm ของแหวนรอง
ตารางA-31 บอกความสูงของนอต เปน 14.8 mm และรวมกับเกลียวของนอต ทําใหความยาวเปน 43.8 mm
และสลักยาว 46mm จากสมการ8-14 เราคิดความยาวเกลียว Lt=38 mm และที่ไมเปนเกลียว 46-38=8 mm
นี้จะนอยกวา 15 mm สําหรับแผนเรียบในรูป8-27 และสลักจะมีการเฉือนผานเสนผานศูนยกลางรอง(ไมนับ
เกลียว) ดังนั้นความเคนเฉือนทีท่ าํ กับ พื้นที่ As= 144 mm2 จะเปน
21.0 10
146 MPa
144

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 52


ตัวอยางการคํานวณความเคนเฉือนบนรอยตอหมุนควง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 8-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 456-458)

c)เนื่องจากเหล็กตัว C จะเล็กกวาคาน และความเคนแบกรับจะทํากับแรงกดของสลักที่ทํากับเหล็ก


ตัวซี, พื้นที่แบกรับ 10 16 160 mm2 ดังนั้นความเคนแบกรับจะเปน
.
131 MPa
d)ความเคนดัดวิกฤติในคานจะเกิดขึ้นในสวนทีข่ นานกับแกน y และผานตัว สลักA และ B โมเมนต
ของการดัดจะเปน
16 300 50 5600 N∙m
โมเมนตรองของพื้นที่ (second moment of area)ที่ผานสวนนี้จะใชสูตรการคํานวณดังนี้
2 ̅

2 60 15 16 8.26 10 mm4
ดังนั้น

10 67.8 MPa
.

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 53


แหวนใชประกอบรวมกับสลักเกลียว
• แหวน หรือ Washer
– ทําหนาที่กระจายความเคน
– ปองกันการคลายตัว
– ปองกันการรั่วซึม
• มีหลากหลายรูปราง และวัสดุ
• การวิเคราะหนับเปน member ตัวหนึ่ง
ในขันยึด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 54


สลักเกลียวประกอบตัวเมีย (Nuts)

สลักเกลียวตัวเมียชนิดทั่วๆไป

ชนิดที่มีการปองกันการคลายตัว
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 55
ลักษณะรูประกอบแบบตางๆ

• Countersink

• Counterbore

• Spotface
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 56
การผลิตสลักเกลียวดวยวิธีตัดกลึง

ใชการกลึงตัดเกลียวออกมาชาๆ
– เหมาะกับเกลียวขนาดใหญ
– ตองการความชํานาญ
– ผลิตไดชา
– ตนทุนเริ่มตนต่าํ
– ความแข็งแรงนอยกวารีดเกลียว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 57


การผลิตสลักเกลียวดวยวิธีรีด

ใชแมพิมพรีดออกมา
– เหมาะกับเกลียวเล็ก-ใหญ
– ผลิตไดเร็ว
– ตนทุนเริ่มตนสูง (แมพิมพ)
– ความแข็งแรงสูงกวา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 58


อุปกรณยึดแบบไมใชเกลียว
(Non Threaded Fasteners)
• เพิ่มความเร็วในการประกอบ
• ไมตองการแรงบีบขณะยึด
• ปองกันการถอดโดยไมมี
เครื่องมือเฉพาะ
• ลดตนทุน ลดจํานวนชิ้นสวน
• ประกอบตามลักษณะเฉพาะ
ของอุปกรณเชน ลิ่ม หมุด สลัก
ของอเกี่ยว ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 59


แบบฝกหัด
• จากภาพขางลางเปนการยึดแผนโลหะสามแผนเขาดวยกันในลักษณะ
แซนวิสระหวางอลูมิเนียมความหนา 10 มม สองแผน และแผนเหล็ก
ความหนา 30 มม. โดยใชสลักเกลียว M10x1.5 ระดับ 5.8 โดยการ
ใชนอตตัวเมียไมมีแหวนประกอบจงหา
– คาความแข็งตึงของสลักเกลียว (Bolt
Stiffness)
– คาความแข็งตึงของรอยตอทั้งหมด (Joint
Member Stiffness)
– สมมุติวารอยตอไมไดรบั ภาระจากแรง
ภายนอก (คิดแรงบีบจากการขันสลักเกลียว
อัดแผนวัสดุทั้งสามเทานั้น) จงหาแรงบิด
สูงสุดที่อนุญาตใหใชขันสลักเกลียวดังกลาว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 60


แบบฝกหัด
• จากภาพขางลางเปนอุปกรณขันบีบทําดวยสกูรที่ใชวัสดุ AISI 1010
CD เกลียวมีขนาดมาตารฐาน UNC 3/4 นิ้ว สมมุติวาผูใชงานสามารถ
หมุนดามดวยแรงบิดสูงสุดเทากับ24 lbf-inจงหา

– แรงบีดอัดที่อปุ กรณนี้สามารถบีบขันได
กําหนดใหสัมประสิทธิค์ วามเสียดทานของ
วัสดุเทากับ 0.15

– ถาแทงสกูรยาวพนคอลงมาดานลาง 9 นิ้ว
เมื่อขันบีบจนถึงดานลางสุด จงคํานวณวา
แทงสกูรจะมีโอกาสโกง (buckle)ไดหรือไม
ภายใตแรงขันสูงสุด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 61


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice
Hall
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
• Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 62


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 5 รอยเชื่อม และรอยตอแบบถาวร


(Welding and Permanent Joints)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


รอยเชื่อม และรอยตอถาวร
• การเชื่อม Welding เปนการเชื่อมตอโดยกระบวนการที่ทําใหเกิดการรวมตัวกัน
ใหมในระดับโมเลกุล
• มากกวา 50% ของรอยตอที่ใชงานในอุตสาหกรรมเปนรอยตอถาวร และรอย
เชื่อม
• แบงเปน 2 กลุมหลัก
– Fusion Welding
– Solid State Welding
• คุณสมบัติที่สําคัญ
– แข็งแรงสูง
– มีหลากหลายวิธี
– ใชไดกับหลากหลายวัสดุ
– Cost effective
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2
สัญลักษณรอยเชื่อม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


ตัวอยางสัญลักษณรอยเชื่อม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4


ตัวอยางสัญลักษณรอยเชื่อม (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


รอยเชื่อมชน (Butt Joint)

• คาความเคนจากแรง F บนรอยเชื่อมชนแบบ
V-Groove หาไดจาก

• ความเคนเฉือนพิจารณาจากแรงที่ขนานกับ
รอยเชื่อม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


รอยเชื่อมฉาก (Fillet Joint)

• คาความเคนบนรอยเชื่อม Fillet ที่องศา θ ใดๆสามารถพิจารณาตามแรง


ในแนวสัมผัส และแรงในแนวตัง้ ฉากซึ่งจะไดความเคนเฉือน และความ
เคนตั้งฉากคือ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


องคประกอบแรงกระทําบนรอยเชื่อมฉาก

• ความเคนผสมตามทฤษฏี von Mises

• จะไดความเคนเฉือนสูงสุดที่ θ = 67.5◦ ซึ่งสัมพันธกับ tmax = 1.207F/(hl )


และ σ = 0.5F/(hl )
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8
ความเคนบนรอยเชื่อมฉาก (Fillet Weld Stresses)
• การกระจายความเคนบนรอยเชื่อม
ที่เสนอโดย Norris
• หากสมมุติวาแรงที่กระทํากอใหเกิด
ความเคนเฉือนที่บริเวณพื้นที่แคบ
ที่สุด(กึ่งกลาง)ของรอยเชื่อมจะได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


ความเคนในรอยเชื่อมภายใตการบิด

• พิจารณาคานที่ถูกเชื่อมฉากประกบ
อยูดังรูป
• ความเคนเฉือนและโมเมนตดดั
กอใหเกิด primary shear และ
secondary shear

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


ความเคนในรอยเชื่อมภายใตการบิด (ตอ)
สําหรับรอยเชื่อมประกอบใดๆคา second polar moment of area หาไดจาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


ความเคนในรอยเชื่อมภายใตการบิด (ตอ)

• จะไดคา J รวมของรอยเชื่อมทั้งหมด

• กรณีพิจารณารอยเชื่อมทั้งหมดเปนเสน(ไมมคี วามหนาที่แตกตาง)

• ทั้งนี้คา Ju เปนเสมือนคาจําเพาะของคา J เพื่อตัดปญหาขนาดของรอยเชื่อมที่


แตกตางกัน แตสามารถใชคา J เดียวกันได
• โดย Ay +A y
A1 x1 + A2 x2 y= 1 1 2 2
x= A
A

r1 = ( x − x1 ) 2 + y 2 r2 = ( y2 − y ) 2 + ( x2 − x ) 2

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


คา Ju ของรอยเชื่อมทั่วๆไป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


คา Ju ของรอยเชื่อมทั่วๆไป (ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


ตัวอยางการคํานวณรอยเชื่อมภายใตแรงบิดเฉือน
(แปลจากตัวอยางที่ 9-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 485-486)

แรง 50 kN กระทําที่รอยเชื่อมยาว 200 mm ดังแสดงในรูป 9-14 จงหาความเคนสูงสุดในแนว


รอยเชื่อม
(a) ใหทําเครื่องหมายที่ปลาย และมุมของรอยเชื่อมแสดงดวยตัวอักษร ดังรูป 9-15 ในบางครั้ง
จะทําเครื่องหมายเปนตัวเลข แทนไดเหมือนกัน
(b) จงประมาณคา primary shear stress ’ ดังแสดงในรูป 9-14 ของแตละแผนที่ถูกเชื่อมกับ
เหล็กตัวซี โดยขนาดเฉลี่ยของการเชื่อมมุมอยูที่ 6 mm ในรุปที่ 9-15 จะเห็นไดวามีการแบง
แรงออกเปน 2 สวนเทา ๆ กันแตเราจะพิจารณาแคดา นเดียวเพื่องายตอการคํานวณเนื่องจาก
ลักษณะที่สมมาติของชิ้นงาน จากตารางที่ 9-1 กรณีที่ 4 เราจะหาพื้นที่สวนนั้นไดคอื
A = 0.707(6)[2(56)+190] = 1280 mm2
ดังนั้น primary shear stress คือ

19.5 MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


ตัวอยางการคํานวนรอยเชื่อมภายใตแรงบิดเฉือน(ตอ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


ตัวอยางการคํานวนรอยเชื่อมภายใตแรงบิดเฉือน(ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 485-486)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


ตัวอยางการคํานวนรอยเชื่อมภายใตแรงบิดเฉือน(ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 485-486)

c) วาด pimary shear stress ตามสัดสวนในแตละตัวอักษรที่ปลายและ จุดสิ้นสุดรอยเชื่อม


(d)ที่จุด centoid ของรูปแบบแนวรอยเชื่อมนั้น จัดอยูใน กรณีที่ 4 ดูไดจากตาราง 9-1 เพื่อหา ̅

̅ 10.4 mm
ที่จุด O ถูกแสดงในรูป 9-15 และ 9-16

(e) หาระยะทาง ri โดยดูจารูป 9-16



190/2 56 10.4 105 mm

190/2 10.4 95.6 mm

ระยะทางเหลานี้สามารถแสดงสัดสวนจากรูปที่วาดได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


ตัวอยางการคํานวนรอยเชื่อมภายใตแรงบิดเฉือน(ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 485-486)

(f) หาคา J โดยใชตารางที่ 9-1 และใชสมการ 9-6


8 56 6 56 190 190 (56)
0.707(6)
12 2 56 190
= 7.07 10 mm4
(g)หา M
25 100 10.4 2760 N. m
(h) หาคา secondary shear stress
( )
′′ ′′ 41.0 MPa
.
( . )
′′ ′′ 37.3 Mpa
.

(i) ทําการวาด ′′ ซึ่งจะไดออกมาตามในรูปที่ 9-16 คือ free body diagram ซึ่งจะแสดงแคดาน


เดียวของแผนเรียบ เพราะฉะนั้น τ′, ′′จะเปนตัวที่แสดงสิ่งที่เกิดขึ้นระหวางแทงตัวซีกับแผนที่ถูก
เชื่อมซึ่งจะทําใหเกิดการยึดติดกันอยางสมดุลกัน
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19
ตัวอยางการคํานวนรอยเชื่อมภายใตแรงบิดเฉือน(ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 485-486)

(j) ที่จุดที่ถูกกํากับตัวอักษรไว จะประกอบดวย vector ของความเคน 2 แบบ ที่จุด A มุมของ ทํา


.
กับแนวแกน y , α คือมุม , rA จะทํากับแกนนอน ดังนั้นจะไดมมุ α = 25.64° ซึ่ง
มุมที่หาไดก็คือมุมทีก่ ระทํากับจุด B ดังนั้น
19.5 41.0sin 25.64 41.0 25.64
= 37.0 MPa
.
ในทํานองเดียวกัน ที่ C และ D ได β 6.25° ดังนั้น

19.5 37.3sin 6.25 37.3 6.25 = 43.9 Mpa

(k) พิจารณาจุดที่มีความเคนสูงสุด
43.9 MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


ความเคนในรอยเชื่อมภายใตการดัด

• พิจารณารอยเชื่อมของคานภายใตการดัดจะเกิด
Primary Shear จากแรงเฉือน V

• Secondary Shear ที่รอยเชื่อมซึ่งเกิดจาก


โมเมนตดดั M

• สังเกตสัมประสิทธิ์ 1.414 จะมากกวา 1.197ของทฤษฏี von


Mises และ 1.207 ของ Masimum Shear
• จากความเคนทั้งสองสวน Primary แนวดิ่งและ Secondary
แนวระดับ จะไดความเคนรวม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


คา unit second moment of area ในรอยเชื่อมตางๆ
***ทั้งนี้ I=0.707hIu เชนเดียวกับในสวนของ Torsion

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


คา unit second moment of area ในรอยเชื่อมตางๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23


ความแข็งแรงของรอยเชื่อมกับคุณภาพการเชื่อม
• ความแข็งแรงของลวดเชื่อมมีความสําคัญ
นอยกวาคุณภาพของการเชื่อมซึ่งขึ้นอยูกับ
– ความเร็วในการเชื่อม
– การปองกันรอยเชื่อมจากอากาศ
– การเตรียมรอยเชื่อม และสภาพแวดลอม
– การปรับอุณหภูมิ ฯลฯ
• สวนใหญรอยเชื่อมจะแข็งแรงมากกวาวัสดุ
หลัก
• ความลาที่เกิดจากความเคนรวมศูนยรอย
เชื่อมกับวัสดุหลักตอมักกอใหเกิดความ
เสียหาย และควรนําคา Kfs มาใชในการ
ออกแบบดวย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


ตัวอยางคุณสมบัติของลวดเชื่อม และคาความความเคนอนุญาติของ
รอยเชื่อม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม
(แปลจากตัวอยางที่ 9-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 492)

เหล็กแบน 1015 ขนาดกวาง 12 mm ยาว 50 mm พื้นที่หนาตัดรูปสี่เหลี่ยม รับแรงแบบสถิตยขนาด


73 kN ถูกเชื่อมติดกับแผนเหล็กหนา(gusset plate) โดยมีขนาดรอยเชื่อมแบบ fillet 10 mm และ
เปนแนวยาว 50 mm ตลอดทั้งสองดาน โดยใชลวดเชื่อมไฟฟา E70XX ซึ่งแสดงในรูป 9-18 ใหใช
วิธีการคํานวณแบบ welding code method
a) จงหาความแข็งแรงของวัสดุลวดเชื่อมเพียงพอที่จะรับภาระหรือไม
b) จงหาความแข็งแรงของวัสดุประกอบเพียงพอที่จะรับภาระหรือไม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 492)

(a)จากตาราง 9-6 แรงตอความยาวที่สามารถรับได สําหรับ 10 mm ลวดเชื่อมไฟฟา E70 คือ


0.98 10 / ดังนั้น
F 980l 980 100 98 kN
เนื่องจาก 98 ของลวดเชื่อมมากกวา 73 kN ของภาระ ดังนั้นวัสดุลวดเชื่อมมีคาความแข็งแรงที่
เพียงพอสําหรับการรับภาระได

(b)ตรวจสอบการฉีกขาดเมื่อเชื่อมเหล็กสองชิ้นติดกัน โดยดูจากตารางที่ 9-4 และตาราง A-20 จาก


Sy = 190 MPa และความเคนเฉือนของวัสดุที่ยึดติดที่อนุญาติ(ที่สามารถใชได)
0.4 0.4 190 76 MPa
ความเคนเฉือนที่ฐานของเหล็ก ติดถูกเชื่อมติดกัน
73000
73 MPa
2 2(0.01)(0.05)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 492)

เนื่องจาก สามารถรับภาระไดใกลกับแนวเชื่อม ดังนั้นความเคนดึง (tensile stress) ใน


สวนฐานที่ทเี่ ชือ่ มยึดกันคือ σ โดย
73000
122 M a
(0.012)(0.05)

Tensile stress ที่อนุญาตคือ จากตารางที่ 9-4 คือ 0.6 Sy และ ระดับความปลอดภัยของ


welding code คือ
0.6 0.6 190 114 MPa

เนื่องจาก ความเคนดึงในสวนฐานจึงควรจะรับภาระดังกลาวได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม
(แปลจากตัวอยางที่ 9-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 493)

จากรูป 9-19 เหล็ก 1018 HR หนา 12 mm รับแรงแบบสถิตย 100 kN โดยชิ้นสวนมีความกวาง


75 mm จงออกแบบรอยเชื่อม(เลือกหมายเลขลวดเชื่อม,ชนิดของลวดเชื่อม,ความยาวแนวรอย
เชื่อม,ขนาดตัวยึด)

วัสดุ :
ชิ้นสวนประกอบ(1018 HR) 220 MPa , 400 M a
ชิ้นสวนหลัก (A36) 250 MPa , อยูในชวง 400 – 550 MPa โดยจะเลือกใช
ที่ขนาด 400MPa
ชิ้นสวนหลักและชิ้นสวนทีน่ าํ มาเชื่อมติดนัน้ จะมีความออนแอ เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับลวดเชื่อม
เบอร E60XX
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29
ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 493)

พิจารณาเลือกลวดเชื่อม กําหนดใหใช ลวดเชื่อมเบอร E6010


คุณสมบัติหรือตัวแปรที่ควบคุม

min [0.3(400),0.4(220)] = min(120,88) = 88 MPa

สําหรับภาระแบบสถิตย รอยเชือมแบบที่ขนานกัน และแนวตามขวางจะพิจารณาไดเหมือนกัน


ถา n คือจํานวน ของรอยเชื่อมแบบ (beads) จะได

0.707

100000
21.15
0.707⁄ 0.707 75 88

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 493)

สรางตาราง

พิจารณาเลือก ขนาดลอยเชื่อม 6 mm
รูปแบบการเชื่อม เชื่อมโดยรอบทั้งหมด
เปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ลวดเชื่อม : E6010
ชนิดการเชื่อมเปนแบบ fillet ขนานทั้งสองดาน และ fillet
ในทิศตามขวางทั้งสองดาน
ความยาวของการเชื่อมในแตละแนว : 300 mm
ขนาด ขา : 6 mm

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม
(แปลจากตัวอยางที่ 9-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 494-495)

จงประมาณคาภาระสถิตยของคานเหล็กที่เชื่อมยื่นออกมาจากําแพงเพื่อรองรับน้ําหนัก 2.2 kN
จากภาพ 9-20 เหล็กที่ยื่นออกมานั้นทําจากวัสดุเหล็ก AISI 1018 HR และเชื่อมมุมขนาน 10 mm
ดังแสดงในรูป และ ใชลวดเชื่อม E6010 ให ตัวประกอบการออกแบบ (design factor ) = 3
a) ใชวิธีการแบบดั้งเดิมสําหรับการเชื่อมโลหะ
b) ใชวิธีการแบบดั้งเดิมสําหรับอุปกรณที่ยึดติด(เหล็กที่ยื่นออกมา)
c) ใช welding code สําหรับการเชื่อมโลหะ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 494-495)

จากตาราง 9-3 ของวัสดุลวดเชื่อม 345 MPa , 345 MPa ,


จากตาราง 9-2 ของรูปแบบการเชื่อม b = 10 mm, d = 50 mm, ดังนั้น
A= 1.414hd = 1.414(10)50 = 707 mm2
20 833 mm3
0.707 0.707(10)20833 = 147 289 mm3
ความเคนเฉือนหลัก Primary shear :
τ 3.1 MPa
ความเคนเฉือนรอง Secondary shear :
2200 150 25
τ 56MPa
147289
ขนาดของความเคนเฉือน
′ ′′ 3.1 56 56.1 MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 494-495)

คา safety factor โดยยึดคาความแข็งแรงนอยที่สุดพิจารณาจากเกณฑความเสียหาย


แบบ distortion – energy คือ
0.577(345)
3.55
56.1

เนื่องจาก นั้นคือ 3.55 3.0 ลวดเชื่อมนั้นมีความแข็งเพียงพอ

(b)จากตาราง A-20 ความแข็งแรงนอยที่สุด คือ Sut = 400 MPa และ Sy = 220 MPa
ดังนั้น
( )

79.2 MPa
/ ( )/

220
2.78
79.2
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34
ตัวอยางการพิจารณาภาระสถิตยของรอยเชื่อม (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 9-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 494-495)

เนื่องจาก นั้นคือ 2.78 < 3.0 ดังนั้นวัสดุคานมีความแข็งแรงไม


เพียงพอ ที่จะสามารถรับภาระตามที่กําหนด

C) จากขอ (a) τ 56.1 โดยใชลวดเชื่อม E6010 จากตาราง 9-6 ความเคน


เฉือนที่อนุญาติใหสามารถใชงานได ( ) คือ 124 MPa เนื่องจาก τ ซึ่ง
เพียงพออยูแลว เนื่องจาก code ถูกออกแบบมา โดยใหตัวประกอบการออกแบบ
. ( )
(design factor) คือ 1.6 ซึ่งเมื่อเราทําการเพิ่มคาใหมคี วามเทากัน
เหมือนกันคาความปลอดภัยในสวนของ a)

124
1.6 3.54
56.1
ซึ่งจะมีความสอดคลองกัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


การเชื่อมแบบ Resistance Welding

• มีใชมากในการประกอบวัสดุที่เปนโลหะแผนเชน ตัวถัง
รถยนต
• มีทั้งลักษณะที่เชื่อมเปนจุด (Spot Weld)และเชื่อมเปนแนว
(Seam Weld)
• การเสียหายเกิดไดจากการเฉือนขาดที่รอยเชื่อมหรือวัสดุ
หลัก
• ปกติมักจะใชการออกแบบโดยคํานวนจากความแข็งแรงตอ
จุดเชื่อม หรือความยาวของรอยเชื่อม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


รอยตอที่เกิดจากการใชกาวหรือสารเคมี

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


รูปรางของรอยตอกาว หรือเคมี
a) Single lap
b) Double lap
c) Scraf
d) Bevel
e) Step
f) Butt strap
g) Double butt strap
h) Tubular lap

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


แบบฝกหัด
1. จากภาพขางลางเปนการเชื่อมยึดคานเหล็ก AISI 1020 HR เขากับแผนเหล็กที่
เปนวัสดุเดียวกันโดยใชลวดเชื่อม E6010 จงคํานวณหา คาแรง F สูงสุดที่คาน
เหล็ก และรอยเชื่อมสามารถรองรับ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


แบบฝกหัด
2. จากภาพขางลางเปนการเชื่อมแผนค้ํายันเหล็กทําดวยวัสดุ AISI 1010 CD เขากับ
แผนเหล็กยืนแนวตั้งทําดวยวัสดุ AISI1030 CD โดยใชลวดเชื่อม E7010 จง
ออกแบบความหนาของรอยเชื่อมโดยใชคาความปลอดภัยเทากับ 2.5

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice
Hall
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
• Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 6 สปริง (Mechanical Springs)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


สปริง
• เปนอุปกรณที่ออกแบบมาใหสามารถสะสม
และคายพลังงานเชิงกลโดยอาศัยหลักการ
ยืดหยุน (elasticity) ของวัสดุ
• มีดวยกันหลากหลายชนิด แบงตามรูปทรง
และวัสดุ เชน
– สปริงกด สปริงยืด สปริงดัด
– สปริงแผน หรือแหนบ
– สปริงกนหอย
• สปริงพื้นฐานที่ใชงานทั่วไปเชน สปริงขด
(Helical Springs)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


สปริงขดแบบทั่วไป (Helical Springs)
• ประกอบดวยวัสดุสวน
ใหญเปนเหล็กกลา
คารบอนปานกลาง
• ทําการขดเปนวง
ตอเนื่องกัน
• มีทั้งแบบ สปริงกด
สปริงยืด และสปริงดีด
(ดัด)
• คาตัวแปรสําคัญในการออกแบบคือ ขนาดลวด ขนาดวงขด ระยะพิท รูปแบบ
ปลายสปริง และคาโมดูลัสของวัสดุ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


ความเคนในสปริงขด
• ความเคนสูงสุดที่เกิดบนสปริงขดสามารถพิจารณา
เหมือนกับการบิด(ตามแนวลวด) และการเฉือนจากแรงที่กด
อัด

• กําหนดคา Spring Index คาเหมาะสมควรอยูในชวง 4-12

• คาคามเคนสูงสุดบนสปริงขดจึงหาไดจาก

• โดย Ks เปนคา shear stress correction factor โดย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4


อิทธิพลของความโคงกับการบิดตัวบนลวดสปริง
• ปกติการดัดคานโคงจะสงผลใหเกิดความเคนบริเวณดาน
ใน(ใกลศูนยกลางความโคง)มากกวาดานนอก
• ลักษณะความโคงนี้มผี ลมากเมื่อพิจารณาภาระภายใต
ความลา (Fatigue)
• ทฤษฏีการแกคาสัมประสิทธินี้โดย
– Wahl factor

– Bergstrasser factor

• ดังนั้นกรณีคา ความเคนสูงสุดจึงเปน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


การยุบตัวของสปริงขด
• พิจารณาจากพลังงานที่กอใหเกิดการเปลี่ยนรูปราง Strain Energy

• จะไดระยะยุบของสปริงตอแรงกดอัด

• โดยคา k คือ Spring Rate หรือเรียกวา scale of the spring เปนคา Stiffness
ของสปริงเทากับอัตราสวนแรงตอระยะยุบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


ความสัมพันธของระยะยุบ และแรงกด
• ระยะ free length คือระยะสปริงตัวเปลาที่ไมมีแรงมากระทํา(สปริง
กดไมมี preload)
• Solid length คือความยาวสั้นสุดที่ยุบตอไมไดแลวเนื่องจากทุกขด
เบียดกันจะไมมีระยะใหเคลื่อนทีต่ อ
• ระยะยุบและแรงจะสัมพันธเชิงเสนในทางทฤษฏี

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


คุณลักษณะสปริงกด
• ลักษณะปลายสปริง 4 แบบที่นิยมใชในสปริงกด

• ตารางแสดงคุณลักษณะของสปริงกดที่มปี ลายสปริงแตกตางกัน

• คา Solid Length คือคาความยาวที่สปริงยุบตัวสุด สามารถหาไดจาก Ls=(Nt-a)d


โดยคา a ประมาณไดเทากับ 0.75 ซึ่งทําใหคา Lsควรมีคานอยกวาในตาราง (Forys*)
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8
เสถียรภาพของสปริง
• สปริงกดอาจจะเกิดการโคงพับเสียรูปจากการกดได
• ระยะกดอัดสูงสุดหาไดจาก

ทั้งนี้คา ycr คือระยะยุบที่สปริงยังมีเสถียรภาพอยู


• คา λeff คือคา effective slenderness ratio สามารถหาไดจาก
และคา α คือ end-condition constant. หาไดจากตารางตามวิธีการติดตัง้ สปริง

• คาC′1 and C′2 เปนคาคงที่ของการยืดหดตัวสามารถหาไดจาก


E 2π 2 ( E − G )
C =
'
C ='
2( E − G) 2G + E
1 2

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


เสถียรภาพของสปริง (ตอ)
• ความเสถียรภาพแบบสมบูรณก็ตอเมือ C′2 /λ2eff มีคามากกวา 1 หรือ

• ตารางแสดงลักษณะ
การยึดปลายสปริง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


กระบวนการผลิตสปริงกดแบบดัดเย็น(Video)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


กระบวนการผลิตสปริงกดแบบดัดรอน(Video)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


การ Pre-Setting หรือ Set Removal บนสปริง

• คือการสรางสปริงที่มคี วามยาวมากกวา
ตองการ แลวทําการกดอัดจนถึงความ
ยาว Solid Length ทําใหสปริงยุบตัว
เกินขนาด แลวยืดคืนสูความยาวที่
ตองการ
• กอใหเกิดความเคนหลงเหลือในวัสดุซึ่ง
ชวยใหเกิดความแข็งแรงในดานการกัก
เก็บพลังงาน
• ไมเหมาะกับสปริงที่ทํางานในลักษณะ
ของภาระที่เกี่ยวของกับความลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


วัสดุสําหรับทําสปริง

• สปริงผลิตโดยกรรมวิธที ี่ทั้งเปนแบบขึ้นรูปรอน และเย็น


• การขดดัดสปริงมักจะกอใหเกิดความเคนหลงเหลือในวัสดุซึ่งสามารถลดลง
ไดโดยการทํา Heat Treatment
• ความสัมพันธระหวางความแข็งตึงของสปริงกับขนาดลวดเกือบจะเปน
เสนตรงเมือ่ เขียนบน Log-Log Scale โดย

• อาศัยทฤษฏี von Mises คาความ torsional yield strength (Ssy=


0.577Sy) ของเหล็กกลาอยูในชวง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


ตัวอยางคาประมาณต่ําสุดของความแข็งแรงภายใตแรงดึง
ของวัสดุทําสปริงตางๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


ตัวอยางคุณสมบัติทางกลของวัสดุทําสปริง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


ตัวอยางการประมาณคาพื้นฐานของสปริง
(แปลจากตัวอยางที่ 10-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 527-528)

สปริงขดแบบรับแรงกดทําจากวัสดุ music wire no 16 มีเสนผานศูนยกลางดานนอก 11 mm


ขดเปนจํานวน 12.5 รอบ โดยปลายสปริงเปนแบบ Squared จงหา
a) การประมาณคา torsional yield strength ของลวด
b) การประมาณคา static load ที่สัมพันธกับคา yield strength
c) การประมาณคา scale of spring
d) การประมาณคา ระยะยืดเมื่อใชแรงจาก ขอ b)
e) การประมาณคา ความยาว solid length ของสปริง
f) จงหาความยาวที่เมื่อสปริงนั้นถูกกดสุด(solid length)และปลอยใหคืนตัว(free length)
แลวไมทําใหความยาว free length นั้นเปลี่ยนไป
g) ใหใชความยาวจากขอ f) ตรวจสอบวามีโอกาสเกิด buckling หรือไม
h) จงหาระยะพิตซของขดลวด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


ตัวอยางการประมาณคาพื้นฐานของสปริง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 527-528)

วิธีทํา
(a) จากตาราง A-28 เสนผานศูนยกลางลวด คือ d = 0.94 mm จากตางราง 10-4 จะหาคา A ได คือ A =
2211 MPa.mm4 และ m = 0.145
ดังนั้นใชสมการที่ 10-14
. . 2231 MPa
จากตาราง 10-6
0.45 0.45 2231 1004 MPa

(b) เสนผานศูนยกลางของสปริง D = 11-0.94 = 10.06 (คิดจากกึง่ กลางลวด) และดัชนีสปริงหาไดจาก C


=10.06/0.94 = 10.7
.
และจากสมการที่ 10-6 .
1.126

จัดสมการ 10-7 ใหโดยการแทนคา Ks และ τ กับ KB และ Sys ตามลําดับและ


.
แกสมการหาคา F . .
31 N

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


ตัวอยางการประมาณคาพื้นฐานของสปริง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 527-528)

(c)จากตาราง 10-1 Na = 12.5-2 =10.5 รอบ ในตาราง 10-5 G=81700 MPa และ คาคงที่ของ
สปริงหาไดจากสมการ 10-9
.
0.9 N/mm
. .

(d) ระยะยืดหาไดจากความสัมพันธของสปริงอยางงายๆ (F=ks ที่เคยเรียนในระดับมัธยม)


34.4 mm
.

(e) จากตาราง 10-1 ความยาวสปริงเมื่อถูกบีบอัดสุดคือ


1 12.5 1 0.94 =12.7 mm
(f) ความยาวอิสระของสปริงหาไดจาก
34.4 12.7 47.1 mm

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


ตัวอยางการประมาณคาพื้นฐานของสปริง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 527-528)

(g) เพื่อหลีกเลี่ยง buckling ใชสมการ 10-13 และตาราง 10-2


.
2.63 52.9 mm
.

จากขอ (f) ความยาวอิสระคือ 47.1 mm ซึ่งนอยกวา 52.9 mm และไมนาจะเกิด


buckling อยางไรก็ตาม ลักษณะของปลายสปริงที่กําหนดไว เปนแบบ squared แตไมไดระบุการ
ยึดของซึ่งในทีน่ ใี้ ชคา เปน 0.5 ทั้งนี้หากมีการยึดปลายแบบอื่นๆจําเปนตองมีการคํานวณใหม
โดย คา เปลี่ยนไปและทําใหคา L0เปลี่ยนไปดวย

(h) จากตารางที่ 10-1 ระยะพิตซคือ


. .
4.4 mm
.

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


การออกแบบสปริงภายใตแรงสถิต
คาคงที่ที่แนะนําในการ
ออกแบบสปริงกดทั่วๆไป

***ใหสังเกตวาที่สปริงยุบตัว
นอยๆ และยุบตัวเกือบสุด
พฤติกรรมจะคอนขางตางจาก
ทางอุดมคติที่คิดวาเปน
ความสัมพันธเชิงเสน โดยคา
Robust linearity x จะถูก
นํามาใชในการชดเชยการ
ออกแบบดวย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


ตัวอยางการออกแบบสปริง
(แปลจากตัวอยางที่ 10-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 530-532)

สปริงขดชนิดรับแรงกดทําจากวัสดุ music wire นําไปใชรับแรง 89 N ซึ่งทําใหสปริงยุบตัวไป 50.8 mm


จากเงื่อนไขในการประกอบและติดตัง้ สปริง ความยาวแข็งตัวของสปริง Solid Length ตองไมเกิด 25.4
mm และความยาวอิสระ ตองยาวไมเกิน 101.6 จงออกแบบสปริง ตามเงื่อนไขขางตน
ในการออกแบบเลือกคาการออกแบบไวตามนีค้ อื
– ใชวัสดุ music wire A228 จากตาราง 10-4 A = 2211MPA mmm ,m= 0.145 จากตาราง 10-5
คา E=196.5 GPa, G=81 GPa (พิจารณาที่ d> 1.61 mm)
– ลักษณะปลายสปริงเปนแบบ squared end และ ground end
– ใหแรงและการยุบสูงสุด Fmax = 89 N , ymax = 50.8 mm
– ให safety factor มีคาเทากับ 1.2
– คา Robust linearity = 0.15
– เลือกใชสปริงผลิตแบบ as-wound คือสปริงที่รีดออกมายังไงก็ยงั งัน้ เลย เพราะเปนแบบราคาถูก
จากตารางที่ 10-6 คือวิธีการผลิตแบบ cold-drawn ที่ทําให Ssy = 0.45 Sut
– ตัวแปรที่ใชในการตัดสินใจเลือกในการคํานวณนีค้ อื d = 2.03 mm, music wire gage #30 จาก
ตาราง A-26 รูป 10-3 และตาราง 10-6
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22
ตัวอยางการออกแบบสปริง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 530-532)

คา Shear Yield Strength จาก Ultimate Tensile Strength (10-14) และ ตาราง 10-6 (45%)
0.45 . 897.9 MPa
.
จากรูป 10-3 หรือ สมการ 10-23
.
748.3 Mpa
.

.
63.2 Mpa
.

. . . . .
C . . .
10.5
จากรูป 10-3
เสนผานศูนยกลาง(เฉลีย่ )ของขดสปริง D = Cd = 10.5(2.03) = 21.33 mm
.
Stress correcting factor .
1.128

. .
1.128 .
748 MPa

.
ตรวจสอบตัวประกอบการออกแบบ 1.2

เสนผานศูนยกลางดานนอกของขดสปริง OD = 21.3+2.03 = 23.3 mm


การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23
ตัวอยางการออกแบบสปริง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 530-532)

. .
คา Number of Active Coils
.
10.16 turns

คา Number of Total Coils =10.16 + 2 =12.16 จํานวนรอบทั้งหมด (จากตาราง 10-1)

คาความยาวแข็งตัว (ยุบสุด) = 2.03(12.16) = 24.3 mm / คาความยาวอิสระ = 24.3+(1+0.15)50.8 = 82.7 mm

ตรวจสอบความยาวที่สปริงมีความเสถียร (ไม buckle) = 2.63(21.3/0.5)= 112 mm > L0

คา fom (figure of merit) แสดงถึงตนทุนในการใชผลิตสปริงพิจารณาจาก คาวัสดุในเชิงน้ําหนัก


. . .
โดย fom = = -2.6 .
= -0.417

โดยการทําการคํานวณซ้ําๆที่ขนาดลวด และเสนผาน
ศูนยกลางขดที่ขนาดตางๆ สามารถสรางเปนตาราง
เปรียบเทียบไดดังรูป ในที่นี้เฉพาะขนาดลวด 2.03 และ
2.1 ที่ไมมีสวนใดคานกับเงื่อนไขการออกแบบแตลวด
ขนาด 2.03 มม. มีคา fom ต่ํากวาจึงเลือกขนาดนี้

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


สปริงยืด (Extension Spring)
• ในการออกแบบความเคนที่ตะขอปลายสปริง
ก็ควรนํามาวิเคราะหดว ย

• โดยคา bending stress-correction factor


หาไดจาก

• ความเคนจากการบิดเกิดขึน้ ที่จุด B

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


สปริงยืด (Extension Spring) และการวิเคราะห

• โดยคา stress-correction
factor ของสวนโคงที่ปลาย
ตะขอหาไดจาก

• ความยาวตั้งตน (Free Length)


หาไดจาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


การวิเคราะหสปริงยืด (ตอ)
• โดยที่แรงจะเริม่ จากแรงตึงตัง้ ตน

• จํานวน Active Coil (Na) เสมือนหาจาก


จํานวนขดจริง และคา G, E ของลวด

• ไดคาความเคนที่เกิดจากการบิดซึ่งอยูในชวง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


ตัวอยางการวิเคราะหสปริงยืด
(แปลจากตัวอยางที่ 10-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 546-547)

ลวดเหล็ก คารบอนสูง(hard-drawn wire)ถูกนําไปทําเปนสปริงยืด มีเสนผานศูนยกลางลวดขนาด 0.9 mm และมีเสนผาน


ศูนยกลางสปริงขนาด 6.3 mm ตะขอเกี่ยวมีรัศมี r1 = 2.7 mm และ r2 = 2.3 mm และแรงดึงเริ่มตนที่ 5 N สปริงนี้มีจํานวนขด
เทากับ 12.17 รอบ
(a) จงหาคุณลักษณะทางกายภาพของสปริงนี้
(b) จงตรวจสอบเงื่อนไขเริ่มตนของความเคน ที่ใส preload
(c) จงหา safety factor ภายใต static load 23 N
วิธีทํา
(a) ขนาดเสนผานศูนกลางขดสปริง D = Od – d = 6.3-0.9 = 5.4 mm

5.4
6.0
0.9

4 2
1.24
4 3
จาก สมการ 10-40 และตารางที่ 10-5
จํานวนขดทํางานเทากับ 12.17 12.57 รอบ

.
จากสมการ 10-9 คา
. .
3.27 N/mm

สมการที่ 10-39 ความยาวอิสระ 2 1 12 6.0 1 12.17 0.9 20.9 mm

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ตัวอยางการวิเคราะหสปริงยืด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 546-547)

ระยะยืดตัวมากสุดเมื่อถูกกระทําดวยแรง
5.5 mm
.
ความยาวสปริงทั้งหมดที่รวมระยะยืดแลว
20.9 5.5 26.4 mm

(b) ตรวจสอบเงื่อนไขของความเคนเริ่มตน โดยพิจารณาจากความเคนของการบิด หรือ Torsional Stress


ความเคนที่คิดแบบทั่วไปหาไดจาก สมการ 10-2 โดยไมคิดคาตัวประกอบแกไข Ks correction factor
.
94.3 Mpa
.

คิดใหอยูในชวงที่เหมาะสม จะใชสมการ 10-41 และ ใชในกรณีนี้


231 3
.
6.9 4
6.5
.
. . 6.9 4
.

123 24.4 147.4,98.6 Mpa

ดังนั้นแรงดึงเริ่มตน คือ 94.3 MPa ซึ่งอยูในชวงที่เหมาะสม


การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29
ตัวอยางการวิเคราะหสปริงยืด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 546-547)

(c) ลวดเหล็ก คารบอนสูง(hard-drawn wire) จากตารางที่ 10-4 m =0.190 และ A = 1783 mmm จากสมการ 10-14
. 1819 Mpa
.

สําหรับ ความเคนเฉือนบิดในสปริง หาไดจากตาราง 10-7 torsional shear


0.45 0.45 1819 818.6 Mpa
ความเคนเฉือนภายใตแรงที่กระทํา คือ
8 8 1.24 23 5.4
538 MPa
0.9
ดังนั้นคาความปลอดภัยคือ (safety factor)
818.6
1.52
538
สําหรับการดัดที่ตะขอเกี่ยว ที่จุด A
2 2 2.7
6
0.9
จากสมการ 10-35
4 1 4 6 6 1
1.14
4 1 4 6 6 1
จากสมการ 10-34
16 4

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


ตัวอยางการวิเคราะหสปริงยืด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 546-547)

.
23 11.4 . .
= 1025.8 MPa
Yield strength จากตาราง 10-7
0.75 0.75 1819 1364.3MPa

.
คาความปลอดภัยของตะขอเกี่ยว ที่จุด A คือ .
1.33

สําหรับการบิดที่ตะขอเกี่ยว ที่จุด B จากสมการ 10-37


2 2 2.3
5.1
0.9
4 1 4 5.1 1
1.18
4 4 4 5.1 4
หาความเคน โดยใชสมการ 10-36
.
1.18 511.9 MPA
.

ใชตารางที่ 10-7 เพื่อหาคา yield strength และคาความปลอดภัย ของตะขอเกี่ยวเมื่อรับแรงบิดที่จุด B


0.4 1819
1.42
511.9

เปรียบเทียบ nA นอยกวา nB นั่นคือถาสปริงเสียหายสปริงจะเสียรูปจากการดัดกอน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


สปริงดีด (Torsion Spring)
• เปนสปริงที่ใชงานในลักษณะบิด (ตามวงรอบ
ของการขด)
• หากแตการทํางานเกิดจากการรักษารูปทรงใน
ลักษณะของการดัดตัวลวดสปริง(คานโคงที่
ตอเนื่อง)ใหเปลี่ยนรูปไปจากรูปเดิม
• มีทั้งแบบ single body และ double body

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


การวิเคราะหความเคนในสปริงดีด
• จํานวนรอบของขดลวด Body Turns หาได
จาก

• ไดความเคนที่เกิดจากการดัด

• โดยคา K คือคา Correction Factor คิด


จาก Spring Index (C) มีทั้งที่คิดจาก
ภายนอก(นอยกวา1) และภายใน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


การวิเคราะหความเคนในสปริงดีด
• พิจารณาองศาการดัดที่ปลายสปริง (ชวงขาสปริง)เสมือนดัดคาน

• พิจารณาองศารวมที่ทั้งที่ขดและที่ปลาย

• คา spring rate หาไดจาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


การวิเคราะหความเคนในสปริงดีด (ตอ)
• เสนผาศูนยกลางที่เปลี่ยนไปจากการบิด

• เมื่อองศาที่นับจากขดทั้งหมด

• จะทําใหจํานวนขดในการออกแบบหาไดจาก

• เมื่อ Dp คือเสนผาศูนยกลางของ pin (สลัก)ที่สปริงสวมอยู


• คาความแข็งแรงที่ใชในการออกแบบสปริงดีด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


ตัวอยางการออกแบบสปริงดีด
(แปลจากตัวอยางที่ 10-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 555-557)
สปริงดีดดังรูป 10-11 ทําจาก music wire ขนาดเสนผานศูนยกลางขดลวด 1.8 mm และขดเปนจํานวน 4.25
รอบ โดยมีปลายแบบตัดตรงธรรมดา (Straight torsion ends. ) ซึ่งใชงานกับ หมุดเสนผานศูนยกลาง 10mm
โดยเสนผานศูนยกลางวงนอกของสปริงเปน 15 mm
(a) จงหาแรงบิดที่มากทีส่ ดุ สําหรับการใชงานเมื่อพิจารณาภาระแบบสถิต (ไมคิดความลา)
(b) จงหาเสนผานศูนยกลางขดสปริงวงในและ ขนาดชองวางระหวางหมุดกับสปริง โดยพิจารณาใหชอ งวาง
สามารถรองรับการเปลี่ยนขนาดของขดเมื่อรับแรงบิดทีห่ าคาไดจากขอ a

วิธีทํา
ลวด music wire จากตารางที่ 10-4 สามารถหาคา
A = 2211 MPa∙ mmm และ m =0.145 เพราะฉะนั้น
. 2029 Mpa
.

ใชสมการ 10-57
0.78 0.78 2029
1582 Mpa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


ตัวอยางการออกแบบสปริงดีด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 555-557)
เสนผานศูนยกลางเฉลีย่ ขดสปริง คือ D= 15-1.8 = 32 mm และ ดัชนีสปริง คือ C= D/d = 13.2/1.8 = 7.33
คา correction factor Ki ของความเคนทีท่ ําใหเกิดการโกง หาไดจากสมการ 10-43 คือ
. .
1.113
. .

ทําการจัดสมการที่ 10-44 โดยแทนคา Sy สําหรับ σ และทําการสมการเพื่อหาแรงบิดสูงสุดทีไ่ ดรับ


.
814 N.Mm
.

สังเกตวาที่คาํ นวณมายังไมไดนาํ คาความปลอดภัยมาใชคาํ นวณดวย ถัดมาใชสมการ 10-54 และตาราง 10-


5 เพื่อหาจํานวนรอบของสปริง θ′c
. . . .
′ 0.24 รอบ
.

′ 0.24 360. 86.4

หาจํานวนขดลวดที่เปน active coil จากสมการ 10-48


25 25
4.25 4.65
3 3 13.2

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


ตัวอยางการออกแบบสปริงดีด (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 10-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 555-557)

หาคา K จากสปริงทั้งอันจาก สมการ 10-51


1.8 196000
k 3104 N. mm
10.8 13.2 4.65
หาจํานวนรอบจากสปริงที่สมบูรณ
0.26 turn

′ 0.26 360° 93.6

(b)หาเสนผานศูนยกลางรูในขดสปริง และขนาดชองวางระหวางสปริง และหมุด


เมื่อไมมีแรงมากระทํา เสนผานศูนยกลางเฉลีย่ ของขดลวดสปริง คือ 13.2 mm หาจากสมการ 10-53
. .
12.5mm
. .

เสนผานศูนยกลางภายในของขดลวดสปริงและหมุด ที่ปราศจากแรงกระทํา
∆ D d 12.5 1.8 10 0.7 mm

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


การผลิตสปริงดีด (Video)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


สปริงชนิดอื่นๆ
• สปริงรูปทรงพิเศษอืน่ ๆออกแบบตามแต
ลักษณะการใชงานที่คอนขางเฉพาะเชน
– Constant Force Spring(ลาน)
– Volute Spring
– Conical Spring
– Leaf Spring
• สปริงบางชนิดสามารถดูดซับพลังงานได
บางสวนทําใหเสมือนมี damper ในตัวเชน
แหนบรถยนต
• สปริงแกส (ไนโตรเจน) มีการใชงานมากใน
อุตสาหกรรม ที่ตองการ spring rate สูงๆ
และความเปนเชิงเสนของระยะยุบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


แบบฝกหัด
1. สปริงกด (Compression Spring) ที่มีจํานวนขด (body turns) เทากับ
12 ขด โดยใชลวด A232 Chrome Vanadium ขนาดเสนผาศูนยกลาง
ลวด 3 มม. ขนาดเสนผาศูนยกลางสปริง 25 มม. ปลายเปนแบบ plain
and ground จงหา
– ขนาดพิทของสปริง (ตามรูปทรงพื้นฐานของสปริงกด)
– ความยาว Free Length, ความยาว Solid Length
– ประมาณคา Spring rate
– แรงกดที่ยุบตัวถึงระยะ Solid Length
– ใหตรวจดูวาสปริงจะเกิดการโกง Buckle หรือไม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


แบบฝกหัด
2. ตองการออกแบบสปริงยืด (Extension Spring) ที่มีจํานวนขด (body
turns) เทากับ 18 ขด โดยใชลวด Chrome-Silicon A401 ขนาด
เสนผาศูนยกลางลวด 4 มม. ทั้งนี้สปริงจะตองทํางานตามแผนผังแรง
ดึงตอระยะยืดตามกราฟขางลางนี้จงหา
– ขนาดเสนผาศูนยกลางนอก และความยาว
ทั้งหมดของสปริง (ตามรูปทรงพื้นฐานของ
สปริงยืด)
– หากสปริงตัวนี้นําไปใชงานไมเกินแรงสูงสุด
ตามกราฟดานลาง (400N) จงหาคาความ
ปลอดภัยบนตัวขดสปริง และที่ปลายตะขอ
– ใหวาดรูปสปริงพรอมขนาดตางๆตามที่ได
คํานวณออกแบบไว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice
Hall
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
• Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 7 เพลา และการสงกําลังแบบหมุน


(Shafts and Rotating Transmission)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


เพลา (Shaft)

• เปนอุปกรณสงกําลังแบบเคลื่อนที่เชิงมุม คือมี
การเคลื่อนที่ในลักษณะการหมุน
• มักประกอบกับอุปกรณที่เชื่อมตอเพื่อถายทอด
กําลังตอๆไปเชน
– Coupling, Universal-Joint
– Pulley, Gear, Hub, Sprocket
• นอกจากนี้ยังมีอุปกรณชวยในการขันยึด
เชื่อมตอ และประกอบกันเชน
– Keys, Pins
– Bush, Bearing
• บางครั้งเพลาอาจจะไมไดใชงานในลักษณะสง
กําลังโดยตรง แตเปนสวนยึดโยงกับกลไกอื่นๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


การสงกําลังของเพลา
• ตนกําลังสวนใหญในงานออกแบบเครือ่ งจักรกลมักใหงานกลในรูปของการหมุน
– เครื่องยนต สรางงานกลจากการขยายตัวของกาซ
– มอเตอร สรางงานกลจากสนามแมเหล็กไฟฟา
– อุปกรณสงถายกําลังแบบอื่นๆเชน มอเตอรลม มอเตอรไฮดรอลิคส
• การคํานวณเพลาจะพิจารณาจากแรงบิดที่ตนกําลังสรางขึ้นมาไดโดย
P 30 P
T= =
ω πN

• การออกแบบเพลาอาจจะยึดแรงบิดสูงสุดที่
ตนกําลังสรางไดทั้งนี้มักจะขึ้นอยูกับ
ความเร็วของตนกําลังนั้นๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


วัสดุที่ใชทําเพลา
• เพลาสวนใหญทําจากเหล็กกลาคารบอนต่ํา-ปาน
กลาง
• หากมีเสนผาศูนยกลางไมมากมักผลิตจาก
กรรมวิธี Cold Drawn
• เพลาทั่วไปที่มีรูปทรงไมซับซอนอาจจะผลิตโดย
การกลึง
• เพลาที่มีรูปทรงพิเศษเชน เพลาขอเหวี่ยงอาจจะ
ผลิตโดยการหลอ หรือ Forging
• เพลาที่ใชงานหนักมักมีการชุบแข็งและเจียรนัยผิว
เรียบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4


การออกแบบเพลา
• เพลาสวนใหญรับแรงบิดเปนหลักทําใหเกิดความเคนเฉือนจากการบิด
• เพลามักจะประกอบกับชิ้นสวนที่รับสงกําลังกอใหเกิดแรงกระทําในทิศทาง
ตางๆแลวเกิดเปนภาระเชนโมเมนตดดั
• ความเคนที่เกิดขึน้ สูงสุดไมวาจะเปนจากการบิดหรือการดัดจะมีคา สูงสุดที่ผิว
ดานนอกของเพลา
• เพลาสวนใหญมักมีองคประกอบที่จะ
เปนจุดเริ่มตนของความเสียหายเชน
รองลิ่ม บาตางระดับ และรองแหวน ซึ่ง
ตองใชการวิเคราะหแบบความเคนรวม
ศูนย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


การวิเคราะหความเคนบนเพลา
• หากพิจารณาเพลาทรงกลมอยางงายภายใตภาระกระทําทั่วไปจะไดความเคนที่
เปลี่ยนไปตามวงรอบของการหมุนซึ่งเกิดจากทั้งความเคนจากการบิด และการดัด
เปนวัฏจักร

• ความเสียหายของเพลาจะเกิดจากความลาอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของ
ความเคนอยางตอเนื่องเปนเวลานาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


การวิเคราะหความเคนบนเพลา (ตอ)
• พิจารณาความเสียหายตามทฤษฏี von Mises สําหรับเพลากลมอยางงายโดยไม
พิจารณาแรงในแนวแกน

• โดย Kf และ Kfs เปนคาคงที่ fatigue stress-concentration หาไดจาก

• เมื่อ Kt และ Kts เปนคา stress concentration สวน คา q และ qshear เปนคา
Notch Sensitivity ทั้งหมดหามาจากการทดลองซึ่งจัดทําเปนตารางหรือแผนภาพ
ในคูมือการออกแบบทั่วๆไป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


ตัวอยางกราฟ Stress Concentration Factors

• จากภาคผนวกแสดงความเคนรวมศูนยบนเพลาลดระดับ
• วิธีพิจารณาเหมือนกับการพิจารณาความเคนรวมศูนยในทฤษฏีความเสียหาย
• สังเกตลักษณะภาระที่กระทํา Bending และ Torsion
• รูปทรงมีหลายแบบ เชน บา รองลิ่ม ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


ตัวอยางกราฟ Notch Sensitivity
• ตัวอยางคา Notch Sensitivity ของเหล็กกลา และอลูมิเนียมUNS A92024-T

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


การออกแบบเพลาเบื้องตน
• พิจารณาความเสียหายจากความลาโดยทฤษฏี modified-Goodman

• เมื่อคา Se คือ Endurance Limit เปนคาที่ไดจากผลกระทบทางกายภาพของ


ชิ้นสวนภายใตความลาที่เกิดจากตัวแปรตางๆ
– ka = surface condition factor
– kb = size factor
– kc = load factor
– kd = temperature factor
– ke = reliability factor
– kf = miscellaneous factor
– S’e = specimen endurance limit from a test
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10
ตัวอยางการหาคา Specimen Endurance Limit
• กรรมวิธที ดสอบคอนขางซับซอนโดยการใหภาระแบบวัฏจักรเชน 500 ลานรอบ
แลวดูวาเสียหายที่ความเคนเทาไหรเทียบกับความเคนสูงสุดที่รบั ไดของวัสดุ
(strength)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


การออกแบบเพลาเบื้องตนภายใตแรงบิด และการดัด
• เพลาภายใตแรงบิด และโมเมนตดดั ทั่วๆไปคาความปลอดภัยในการออกแบบตาม
ทฤษฏี modified-Goodman คือ

• หรือขนาดเสนผาศูนยกลางเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


การออกแบบเพลาเบื้องตนภายใตแรงบิด และการดัด (ตอ)

• ปกติภาระจากความลามักจะเปนภาระที่เสียหายหลัก อยางไรก็ดีเพลาที่ทํางาน
แตกตางกันออกไปตามแตอุปกรณอาจจะเสียหายจากการเสียรูปภายใตขีดจํากัด
Sy ซึ่งทฤษฏี modified-Goodman ไมไดพิจารณาดวยจึงควรทําการเช็คซ้ําจาก
von Mises

• โดยคา safety factor จากการเสียรูปคือ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนบนเพลา
(แปลจากตัวอยางที่ 7-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 370-372)
เพลาของเครื่องจักรมีบารองรับมีเสนผานศูนยกลางดานเล็ก d 28 mm เสนผานศูนยกลางดานโต D 42 mm และมีรัศมี
fillet ของบา 2.8 mm ขนาดของโมเมนตดัด 142.4 N.m และโมเมนตบิดคงที่ 124.3 N.m เพลาเปนเหล็กแบบ heat-
treated มี ultimate streangth =735 Mpa และ yield Streangth = 574 Mpa คาความนาเชื่อถือ 0.99
(a) จงหาคาความปลอดภัยเนื่องจากปจจัยจากความลาของการออกแบบ โดยการใชทฤษฎีความเสียหายเนื่องจาก
ความลาแตละแบบในการอธิบาย
(b) จงหาคาความปลอดภัยเนื่องจากปจจัยของการเสียรูป(การคราก)

วิธีทํา
(a) จากคาที่กําหนดให ⁄ 42⁄28 1.50 , ⁄ 2.8⁄28 0.10 ,
(รูป A−15−9) หา Stress concentration factor 1.68 ,
(รูป A-15-8) หา Shear Stress Concentration factor 1.42
(รูป 6-20) หา Notch Sensitivity 0.85
(รูป 6-21) หา Notch Sensitivity (Shear) 0.92

จากสมการ (6-32) ตัวประกอบความเคนรวมศูนยสําหรับความลา


1 0.85 1.68 1 1.58

1 0.92 1.42 1 1.39

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนบนเพลา
(แปลจากตัวอยางที่ 7-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 370-372)
สมการ(6-8) ประมาณคา endurance limit 0.5 735 367.5 MPa
สมการ(6-19) คา Sureface factor เลือกคา a และ b จากตาราง 6-2 4.51 735 .
0.787

.
สมการ(6-20) คาตัวประกอบขนาด size factor .
0.870
ตัวประกอบอื่น 1
ตาราง(6-5) ตัวประกอบความนาเชื่อถือ(โจทยกําหนด 99%) 0.814

ดังนั้น 0.787 0.870 0.814 367.5 205 MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนบนเพลา
(แปลจากตัวอยางที่ 7-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 370-372)

สําหรับเพลาที่มีการหมุน รับแรงบิดคงที(โจทยกําหนด) โมเมนตดัดคงทีจ่ ะทําใหเกิดความเคนดัด


อยางสมบูรณสลับไปมา(พิจารณาตําแหนงใดๆบนเพลา) นั้นคือ
142.4 N. m 124.3 N. m 0

ใชสมการ (7-7) สําหรับทฤษฎีเกณฑการเสียหายของ DE-Goodman จะได


⁄ ⁄
1 16 4 1.58 142.4 3 1.39 124.3
0.615
0.028 205 10 735 10

จะได 1.62 DE Goodman


สําหรับทฤษฎีเกณฑการเสียหายอื่นๆ
1.87 DE Gerber
1.88 DE ASME Elliptic
1.56 DE Soderberg

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนบนเพลา
(แปลจากตัวอยางที่ 7-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 370-372)

ในการเปรียบเทียบ วิธีที่ใหผลเทียบเคียงกันโดยการคํานวณความเคนและการใชทฤษฎีความ
เสียหายจากความลาโดยตรง ซึ่งสามารถหาจากสมการ (7-5) และ (7-6)

32 1.58 142.4
104.4 MPa
0.028


16 1.39 124.3
3 69.4 MPa
0.028

สําหรับในตัวอยางจะใชทฤษฎีของ Goodman จากสมการ (6-46) จะได


1 104.4 69.4
0.604
205 735
1.62
คาที่ไดเทากับผลลัพธกอนหนานี้ ซึ่งดวยกระบวนการที่เหมือนกันสามารถใชทฤษฎีความเสียหาย
อื่นๆได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


ตัวอยางการวิเคราะหความเคนบนเพลา
(แปลจากตัวอยางที่ 7-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 370-372)

(b) สําหรับคาความปลอดภัยแบบพิจารณาที่จุดคราก จะหาจากทฤษฎี Von Mises maximum


stress (สมการ 7-15)

32 1.58 142.4 16 1.39 124.3
3 125.4 MPa
0.028 0.028

574
4.58
125.4

เปรียบเทียบกันแลว สามารถตรวจสอบการเสียรูปอยางรวดเร็วและเปนที่นิยมทํากันโดยการแทน
ดวย ซึ่งจะเปนการประหยัดเวลาในการคํานวณ
574
3.3
104.4 69.4

ซึ่งคอนขางจะเข็มงวดกวา(ในการออกแบบ)โดยเทียบกับ
4.58

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


การประมาณคาความเคนรวมศูนยบนเพลา
• ปกติความเคนรวมศูนยจะเปนบริเวณที่เกิดความเสียหายทั้งนี้สามารถทําการลดคา
ความเคนรวมศูนยโดยการแกไขรูปทรงบางสวนบนเพลา
• สามารถประมาณคาเริม่ ตนในการออกแบบสําหรับความเคนรวมศูนยแบบตางๆ
แลวเลือกใชตัวชวยที่เหมาะสม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

ในการออกแบบชุดเฟองทดแบบ Double reduction ไดถูกออกแบบมาจนถึงการกําหนดเพลาโดยเพลา


ดังกลาวติดตัง้ เพืองตรงสองตัว และถูกยึดทีป่ ลายสองขางดวยแบริ่งดังแสดงในรูป 7-10 เฟองและแบริ่งถูก
ติดตั้งอยูบ นบาเพื่อยึดอุปกรณไวดวยแหวนรีเทนเนอร และรองรับการทํางานของเพลา โดยเฟองมีการสง
แรงบิดผานลิม่ ซึง่ สามารถพิจารณาเปนการสงแรงตามแนวหนาสัมผัสและตามแนวรัศมีของตัวเฟองซึ่งมีคา
ดังนี้
2400 N 870 N 10800 N 3900 N

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

โดยที่สัญลักษณ t และ r คือ ทิศตามแนวสัมผัสและทิศตาม


แนวรัศมี ตามลําดับ และหมายเลขกํากับ 23 และ 54 คือ
แรงที่กระทําโดยเฟอง 2 และ 5 ไปยัง เฟอง 3 และ 4
ตามลําดับ
กระบวนการถัดไปของการออกแบบคือการเลือกใชวัสดุและ
หาขนาดเสนผานศูนยกลางของเพลาในแตละชวงให
เหมาะสม โดยเพลาจะตองอยูบ นขอกําหนดของความลาและ
การรองรับความเคนเพื่อใหมอี ายุการใชงานทีไ่ มจํากัด
กําหนดใหคา ความปลอดภัยนอยทีส่ ดุ เปน 1.5
วิธีทํา
เขียน free body diagram
และ วิเคราะหหาแรงที่กระทําตอลูกปน ไดเปน
422 N 1439 N
8822 N 3331 N

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

จาก ∑ , หาทอรกที่เกิดในเพลาระหวางเฟองไดคือ
⁄2 2400 0.3⁄2 360 N. m

พิจารณาจุด I ซึ่งมีคาโมเมนตดัดคอนขางสูง จะมี


คาความเคนรวมศูนยเกิดขึ้นทีบ่ ารองรับอัน
เนื่องมาจากการเปลี่ยนเสนผาศูนยกลางเพลาที่
ตําแหนงเหลานี้และเกิดแรงบิด ดังนี้

At , 468 N. m , 360 N. m ,
0

สมมุติเปนการ fillet แบบทั่วไปจากตาราง 7-1 ได


1.7 , 1.5

เพื่อความรวดเร็วในครั้งแรกที่คํานวณ ลองสมมุติ
,

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)
เลือก เหล็ก 1020 CD ที่มีราคาไมแพง โดยมีคาความตานทานความเคนดึงสูงสุด 469 MPa สําหรับความ
ตานทานความลา
สมการ (6-19)
.
4.51 469 0.883
เดาคาตัวประกอบขนาด 0.9 โดยคอยตรวจสอบอีกทีเมื่อทราบคา d
1
จากสมการ (6-18)
0.883 0.9 0.5 469 186 MPa

สําหรับการหาคาครั้งแรกของเสนผานศูนยกลางของเพลาที่บารองตรงจุด I จะใชทฤษฎีของ DE-Goodman


ในสมการ(7-8) ทฤษฎีนี้ใชไดดสี าํ หรับการออกแบบเบื้องตน เนื่องจากมันงายและเปนวิธีทมี่ กี ารใชกนั
แพรหลาย
/ /

เมื่อ 0

⁄ ⁄
16 1.5 2 1.7 468 3 1.5 360
186 10 469 10
0.0432 m 43.2 mm
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23
ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

เนื่องจากการคํานวณที่ทํามาคอนขางเขมงวดมากอยูแลว จึงเลือกขนาดมาตรฐานถัดไปที่ต่ํากวา
43.2 mm ซึ่งยังไงก็ตองทําการ
ตรวจสอบอีกทีอยูแลวดังนั้นในที่นี้จะใชคา 42 mm
ตัวอยางของอัตราสวน / ในการรองรับที่บา คือ ⁄ 1.2 ดังนั้น 1.2 42 50.4 mm

ใช 50 mm จะไดเสนผานศูนยกลางของเพลาที่ผานกระบวนการ Cold-drawn มีคา 50 mm

ทําการตรวจสอบคาที่ไดวาสามารถยอมรับไดหรือไม จะไดวา
⁄ 50⁄42 1.19
สมมติรัศมี fillet ⁄10 ≅ 4 mm ⁄ 0.1

1.6 (รูป A-15-9) , 0.82 (รูป 6-20)

สมการ (6-32) 1 0.82 1.6 1 1.49

1.35 (รูป A-15-9) , 0.95 (รูป 6-21)

1 0.95 1.35 1 1.33

0.883 (ไมมีการเปลี่ยนแปลง)
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24
ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

.
สมการ (6-20) .
0.833

0.883 0.833 0.5 469 172

.
สมการ (7-5) .
96 MPa


.
สมการ (7-6) 3
.
57 MPa
จากทฤษฏีของ Goodman จะได
0.68

1.55
สังเกตวาสามารถใชสมการ (7-7) ไดโดยตรง
ตรวจสอบความคราก จะได 2.57

ดังนั้นตรวจสอบขนาดเสนผานศูนยกลางที่จดุ ปลายของรองสลักทางขวาที่จุด และรองที่จุด


การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25
ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

จากแผนภาพโมเมนต สามารถหาคา ที่จุดปลายของรองสลักไดเปน 443 .


สมมติรัศมีทฐี่ านของรองสลักเปนคามาตรฐาน โดย
⁄ 0.02 , 0.02 0.02 42 0.84 mm
2.14 (รูป A-15-18) , 0.65 (รูป 6-20)
1 0.65 2.14 1 1.74
3 (รูป A-15-18) , 0.9 (รูป 6-20)
1 0.9 3 1 2.8

.
106 MPa
.

.
3 148 MPa
.

0.93

1.08

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

ที่รองสลักเปนจุดที่เกิดความเสียหายไดมากกวาที่บารอง เราสามารถใชทั้งการเพิ่มขนาดเสนผาน
ศูนยกลางหรือใชวัสดุที่แข็งแรงขึ้น ยกเวนเมื่อวิเคราะหคาความโกงของเพลาแลวพบวาจะตองเพิ่ม
ขนาดเสนผานศูนยกลางของเพลา ในที่นจี้ ะใชวิธีการเพิ่มความแข็งแรง โดยเริ่มใชคาความแข็งแรงที่
ต่ําๆ กอนแลวจึงเพิ่มขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงขนาดของเพลาที่ใหญจนเกินไป
ลองใช 1050 CD ดวย 690 Mpa
คํานวณหาผลลัพธที่เกิดขึ้นจาก , . . → ; → →
.
4.51 690 0.797 , 0.797 0.833 0.5 690 229 MPa

0.72 , 1 0.72 2.14 1 1.82

.
110.8 MPa
.

.
0.7

1.43
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27
ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

เนื่องจากทฤษฎีของ Goodman คอนขางที่จะเขมงวด จึงยอมรับคาที่ไดเปน 1.5 (ใกลเคียงพอ)


ตรวจสอบรองสลักที่จุด เนื่องจากฐานราบของรองสลักมีคา สูงมาก จากแผนภาพแรงบิด
พบวาจะไมเกิดแรงบิดขึ้นที่รองสลักนี้ จากแผนภาพโมเมนต 283 N. m ,
0 เพื่อความรวดเร็วในการตรวจสอบวาที่ตําแหนงนี้จะเปนตําเหนงที่วิกฤติ(มีโอกาสเสียหาย)
หรือไมจะใช 5 . จากตาราง 7-1

194.5 Mpa
.

1.18
.

คาที่ไดคอนขางต่ํา เพื่อหาคา ที่แมนตรงจากการใชขอมูลของแหวนรีเทนเนอรโดยสามารถหา


ขอมูลไดจาก www.globalspec.com ซึ่งจะไดรายระเอียดของรองที่เหมาะสมกับแหวนรีเทนเนอร
สําหรับเพลาที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 42 mm จะไดคาความกวาง 1.73 mm ความหนา
1.22 mm และรัศมีที่มุมของฐานรอง 0.25 mm

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)
จากรูป A-15-16 ⁄ 0.25⁄1.22 0.205 และ ⁄ 1.73⁄1.22 1.42
4.3 , 0.65
1 0.65 4.3 1 3.15
.
122.6 MPa
.

1.87
.

เพื่อความรวดเร็วในการตรวจสอบ ถาพิจารณาจุด เปนจุดวิกฤต ซึ่งจะเกิดเฉพาะแรงดัดและมี


โมเมนตเล็กนอย แตเสนผานศูนยกลางมีขนาดเล็กและ ความเคนรวมศูนยก็จะสูงขึ้นในบริเวณที่มี
สวนโคง fillet ที่ตีบลงเพื่อใหสามารถสวมกับตลับลูกปนได
จากแผนภาพโมเมนตจะได 113 N. m และ 0
ใชคา 2.7 จากตาราง 7-1 ได 25 mm และรัศมี fillet ที่เหมาะสมกับรูปแบบของตลับ
ลูกปนคือ
0.02 25 0.5
0.7
1 0.7 2.7 1 2.19
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29
ตัวอยางการออกแบบเพลาที่มีองคประกอบความเคนรวมศูนย (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 374-378)

.
161 Mpa
.

1.42

คาที่ไดนี้ใกลเคียงกับ 1.5 ตามที่โจทยกําหนด ซึ่งอยูในชวงที่ยอมรับได


ดวยขนาดเสนผานศูนยกลางที่มีความเฉพาะสําหรับแตละตําแหนงวิกฤต จะถูกนําไปพิจารณา
รูปแบบระดับความสูงของบารองรับเพื่อติดตั้งตลับลูกปนและเฟอง
25 mm
35 mm
42 mm
50 mm
ที่ปลายดานซายของเพลาจะมีคาโมเมนตดัดนอยมาก ดังนั้น , , จึงสามารถทําใหมีขนาด
เล็กลงไดอีก โดยเฉพาะเมื่อน้ําหนักเพลามีผลในการออกแบบ อยางไรก็ดีเนื่องจากการลดขนาดวัสดุ
เพียงเล็กนอยก็จะไมคอยมีประโยชนเทาไร นอกจากนั้นความแข็งแรงที่เพิ่มขึ้นก็ชวยใหเพลาโกงตัว
นอยลงในขณะทํางาน
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30
ตัวแปรอื่นๆในการออกแบบเพลา
• คา Deflection คือการที่เพลาโกงจากภาระที่รับภายใตแรงกระทําจาก
องคประกอบที่ใชสงกําลังเชน pulleys, gears, couplings โดยจะขึ้นตรงกับ
รูปทรงโดยรวมของเพลา และการประกอบของชิ้นสวนตางๆบนเพลา
• คา Speed Limit ซึ่งเปนความเร็วรอบสูงสุดที่แนะนําสําหรับเพลานั้นๆซึ่งเกิดมา
จากแรงหนีศูนยกระทํากับความไมสมดุลของเพลารวมไปถึงความโกง
Deflection ที่ไดกลาวไปแลว นอกจากนี้ยังมีองคประกอบยอยจากชิ้นสวน
ประกอบเชนรูรอ งลิ่มตางๆ
• วิธีและการอุปกรณประกอบตางๆเชนมีการ preload บน bearing ที่รองรับ
เพลา หรือ เฟองที่ขบกัน เปนตน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


การประกอบชิ้นสวนบนเพลาดวย Set Screw

• สรางไดไมยาก
• ไมจําเปนตองทําบนเพลา
• งายแกการถอดประกอบ
• รับภาระไดนอย-ปานกลาง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


การประกอบชิ้นสวนบนเพลาดวย ลิ่ม และสลัก

• ลิ่ม (key) และ สลัก(Pin) มีหลากหลายแบบ


– Square Key
– Woodruff Key
– Tapered Key
– Dowel Pin

• ยึดไดแข็งแรง
• ตองมีการเจาะหรือทํารองบนเพลา
• ถอดประกอบยุงยาก ตองมีเครือ่ งมือเฉพาะ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


การประกอบชิ้นสวนบนเพลาดวย แหวน หรือ คลิป

• Retainer Ring หรือ Clip ใชสําหรับ


ประกอบชิ้นสวนบนเพลาเพื่อกันไมให
เกิดการเคลื่อนที่ในแนวแกน
• อาจตองใชคีมเฉพาะในการถอด
ประกอบ
• มีทั้งแบบ Internal และ External

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


ตัวอยางการคํานวณชิ้นสวนประกอบบนเพลา
(แปลจากตัวอยางที่ 7-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 394-395)

เพลาเหล็ก UNS G10350 heat-treated มีคาความแข็งแรงที่จุดครากต่ําสุด 525 MPa มี


เสนผาศูนยกลาง 36 mm ทํางานที่ความเร็ว 600 rev/min และมีการสงกําลัง 30 kW ผานเฟอง จง
เลือกสลักที่เหมาะสมกับเฟอง
วิธีทํา
สมมติเลือกสลักสี่เหลี่ยมจัตุรัส10 mm เปนเหล็กแบบ UNS G10200 ผานกระบวนการ cold-drawn
โดยจะออกแบบใหมีความแข็งแรงที่จุดครากเริ่มตนเปน 455 MPa และใชคาความปลอดภัยเปน
2.80 โดยไมทราบขอมูลจริงเกี่ยวกับลักษณะของแรงที่กระทํา

แรงบิดหาจากสมการกําลังมา จะได
Angular speed 600 2 ⁄60 62.8 rad⁄s
30000⁄62.8 478 N. m
จากรูป 7-19 แรง ที่กระทําที่ผิวของเพลา คือ
478
26556 N
0.018

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


ตัวอยางการคํานวณชิ้นสวนประกอบบนเพลา (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 7-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 394-395)

โดยทฤษฎี distortion-energy ความแข็งแรงเฉือน คือ


0.577 0.577 455 262.5 Mpa

ความเสียหายที่เกิดจากแรงเฉือนบริเวณพื้นที่หนาตัด ab จะมีความเคนเปน
⁄ แทนคา ในสูตรหาคาความปลอดภัย จะไดวา
262.5 10 26556

2.80 0.01

หรือ 0.0283 m เพื่อตานทานการกดอัด พื้นที่ครึ่งหนึง่ ของผิวของสลักจะใชเปน


→ ⁄
. .

หรือ 0.0327 mm ปกติความยาวของเฟองและดุมเฟองโดยสวนมากแลวจะมีขนาดมากกวา


ขนาดเสนผานศูนยกลางของเพลา เพื่อความเสถียร ถาสลักในตัวอยางนี้ถูกทําใหมีความยาวเทากับ
ชองที่ศูนยกลางเฟองมันก็จะมีความแข็งแรงเพียงพอ ดังนั้นจึงกําหนดใหสลักมีขนาดเปน 36 mm
หรือยาวกวา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


พิกัดการสวมเพลา
• แบงตามลักษณะคาพิกัดงานสวม
ตามปกติคือ
– Clearance Fit
– Transition Fit
– Interference Fit
• การประกอบแบบ Interference
อาจจะทําไดโดยใชเครือ่ ง Press Fit
โดยอาจจะทําที่อุณหภูมิหองหรือมี
การแชเย็นเพื่อใหเกิดการหดตัวกอน
การอัด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


ตัวอยางการใชงานพิกัดงานสวม
ชนิดของการสวม คําอธิบาย สัญลักษณ
Clearance Loose running fit : เปนการสวมแบบหลวมๆ มีระยะเผื่อคอนขางกวาง H11/c11
Free running fit : ไมเหมาะกับการใชงานที่จําเปนตองการความ H9/d9
แมนยําแตใชไดดีในที่ที่มีความแตกตางของอุณหภูมิสูง , งานที่ตองใช
ความเร็วสูงหรืองานที่ตองรับแรงอัดสูง
Close running fit :เปนการสวมที่ตองการความแมนยํามากๆ ใชที่ H8/t7
ความเร็วปานกลางและเกิดแรงกดอัด
Sliding fit : ใชกับงานที่มีการเคลื่อนที่ไปและกลับโดยมีตําแหนงที่ H7g6
แนนอน
Locational clearance fit : เปนการสวมแบบพอดีกับชิ้นสวนที่อยูนิ่ง H7/h6
แตสามารถใชกับชิ้นสวนประกอบและไมประกอบ ที่ไมอยูนิ่งก็ได

Transition Locational transition fit : ใชสําหรับงานที่มีตําแหนงเที่ยงตรง เปน H7/k6


พิกัดการสวมที่อยูระหวาง clearance กับ interference
Locational transition fit : ใชสําหรับงานที่มีตําแหนงเที่ยงตรง มากๆ H7/n6

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


ตัวอยางการใชงานพิกัดงานสวม(ตอ)
ชนิดของการสวม คําอธิบาย สัญลักษณ

Interference Locational Interference fit : ใชสําหรับชิ้นสวนที่ตองการความแข็ง H7/p6


เกร็งและมีการวางแนวที่แมนยํามากแตตองปราศจากแรงดันที่รูของ
การประกอบ
Medium drive fit : ใชสําหรับชิ้นสวนที่เปนเหล็กธรรมดาหรือการสวมที่ H7/s6
มีการหดตัว ซึ่งการสวมที่แนนที่สุดเหมาะกับการใชเหล็กหลอ
Force fit : เหมาะกับชิ้นสวนที่รับความเคนสูงๆหรือสําหรับการสวมที่มี H7/u6
การหดตัว โดยตองใชแรงดันสูงมากๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


ตัวอยางตารางพิกัดงานสวมของเพลา และคา Limits

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


ตัวอยางตารางพิกัดงานสวมของรู และ คา Limits

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


แบบฝกหัด
• จากภาพขางลางเปนชุดเพลาตอกับเฟองขนาดใหญซึ่งติดกับลอชวยแรงแทนดวย
ทรงกระบอก D ดังรูปถาทั้งหมดทําดวยเหล็ก AISI 1010 HR โดยเฟองที่ถูก
ขับเคลื่อนมีมมุ กดบนฟนเฟอง 20 องศา ซึ่งสงกําลังมาจากแรงบิด TA=100 N-m
ถาเฟองมีเสนผาศูนกลางพิท 100 mm และมีน้ําหนัก 5 kg (รวมลอชวยแรง) ใช
คาความปลอดภัย 2.0 หาขนาดของเพลา ในชวง B-C และ C-D

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 8 ขอตอเคลื่อนที่ การหลอลื่น และตลับลูกปน


(Moving Joints, Lubrication and Bearing)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


Bearing ทั่วไปที่มีใชในงานทางวิศวกรรม
• Sliding Bearing
– Journal Bearing
– Bushing
• Rolling Bearing
– Ball Bearing
– Roller Bearing
• Fluid Bearing
– Air Bearing
– Hydrostatic Bearing
• Special Bearing
– Magnetic Bearing
– Jewel Bearing
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2
แบริ่งแบบผิวถูกัน (Sliding Bearing)

• เปน bearing ชนิดที่มีผิวสัมผัสมีการขัดถูกัน


• สารหลอลื่นมีความจําเปนตอการทํางาน

Oilless Bushing Bearing


Journal Bearing

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


แบริ่งของไหล (Fluid Bearing)
• มีลักษณะความเสียดทานที่ต่ํามาก
• การทํางานมีลักษณะเปนแบบ active และมีราคาคอนขางสูง
• แบบของเหลวนิยมใชกับภาระสูงที่มีความเร็วการหมุนต่าํ
• แบบอากาศหรือแกสนิยมใชกับเครือ่ งมือวัด
• บํารุงรักษายากโดยเฉพาะ Air Bearing

Air Thrust Bearing Hydrostatic Bearing

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4


แบริ่งชนิดพิเศษอื่นๆ
• ใชสําหรับงานเฉพาะที่มีคุณลักษณะพิเศษ
• มีขอ จํากัดในการใชงานซึ่งจะเหมาะสมกับอุปกรณในแตละแบบนั้นๆ
• ตัวอยาง
– Jewel Bearing ที่ใชในนาฬิกา
– Active Magnetic Bearing ที่มีความเสียดทานต่ํามากเชนใน Air Bearing

Jewel Bearing
Active Magnetic Bearing

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


แบริ่งแบบลูกกลิ้ง Rolling Bearing

อาศัยหลักการสัมผัสแบบกลิ้งเพื่อลดแรง
เสียดทานระหวางชิ้นสวนที่มีการเคลื่อนที่
สัมพันธกันภายใตแรงกระทํา (load)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


การใชงานโดยทั่วไป (Typical Applications)

• ใชสําหรับยึดเพลาหมุนเพื่อรับแรง หรือ
ภาระในแนวรัศมี และแนวแกน
• บอยครั้งที่แบริง่ ถูกสรางและออกแบบมีใหมี
เสื้อสําหรับจับยึดงายแกการใชงาน และ
การติดตัง้

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


สัญลักษณในการเขียนแบบ Drawing and Symbol

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


โครงสราง และชื่อเรียก (Nomenclature)
• ที่สําคัญไดแก
– Inner Ring / Outer Ring
– Bore Diameter/ Outside Diameter
– Width

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


ชนิดทั่วๆไปของแบริ่งแบบลูกกลิ้ง

• Ball Bearings
• Roller Bearings
– Cylindrical Roller Bearing
– Needle Roller Bearing
– Tapered Roller Bearing
– Spherical Roller Bearing
• Thrust Bearings

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


บอลแบริ่ง (Ball Bearing)

• สามารถรับแรงไดทั้งในแนวรัศมีและแนวแกน แตภาระหลักจะเปนในแนวรัศมี
• สัมประสิทธิ์ความเสียดทานต่ํากวา rolling bearing อื่นๆ
• รับภาระไดนอย หรือปานกลาง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


แบริ่งลูกกลิ้ง (Roller Bearing)

Needle Roller Spherical Roller

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


กันรุน (Thrust Bearing)

Ball Roller Spherical


Roller

Needle Roller

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


ตารางเปรียบเทียบคุณลักษณะแบริ่งแตละชนิด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


วัสดุที่ใชทําแบริ่ง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


การผลิตแบริ่ง (Video)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


คา Static Load Capacity
• เปนสภาวะของแรงที่รบั ซึ่งกระทําบนลูกปน(rolling elements) หรือรางลูกปน
(Race) จนทําใหการการเสียรูปถาวร
• ในการพิจารณา static load capacity ลูกปนภายใตสภาวะนี้จะไมมีการหมุน
• โดยทั่วไปคิดจากภาระที่ทําใหเกิดการเสียรูปถาวรที่ 0.01% ของเสนผาศูนยกลาง
ของลูกปน
• Static load rating โดยปกติแทนดวยตัวแปร C0

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


การพังเสียหายของแบริ่ง

• โดยสวนใหญเกิดจาก fatigue ที่ผิวสัมผัส


ระหวาง Rolling Elements และ Races
• โดยทั่วไป Race ways จะเกิดความ
เสียหายกอน
• การเสียหายจะคอยๆเกิดขึ้นจากจุดเล็กๆ
หนึ่งเมื่อเกิดการแตกเสียหายแลวจะรุกราม
อยางรวดเร็วจนถึงจุดที่ทําใหไมสามารถใช
งานไดตอไป
• การเสียหายจะเกิดไดงายและรวดเร็วขึ้นถา
มีวัสดุแปลกปลอมเขาไปสูตัว Bearing

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


อายุของแบริ่ง (Bearing Life)

• อายุการใชงาน (life) ของ rolling element bearing จะนับเปนจํานวนรอบการ


หมุน หรือจํานวนชั่วโมงการทํางานภายใตความเร็วที่กําหนด โดยคิดจํานวน
เปอรเซนตของจํานวน bearing ทั้งหมดที่เกิดการเสียหาย
• L10 เปนคุณลักษณะที่นิยมในการกําหนดอายุการใชงานของ bearing ซึ่งเปนคาที่
บงบอกถึง 10% ของจํานวนแบริ่งที่มีการทดสอบมีความเสียหายกอนถึงอายุตาม
rating ของ bearing นั้นๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


การประมาณคาอายุของแบริ่งโดยขอมูลทางสถิติ

โดยทั่วไปความสัมพันธของ
อายุการใชงาน bearing บน
กราฟ Log จะมีลักษณะเปน
เชิงเสน ตัวอยางเชน L50 จะมี
อัตรารอดของ bearing ที่
ระยะเวลาประมาณ 5 เทา
ของ L10

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


การใชงานแบริ่งที่ภาระระดับอื่นๆ

ลักษณะความสัมพันธของการใชงานเกินกวาภาระที่ออกแบบ
ของ bearing และ อายุการใชงานที่ออกแบบ
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21
ความสัมพันธของอายุ และภาระแบริ่ง
3
Ball Bearings: ⎛C ⎞
L=⎜ ⎟
⎝P⎠

10 / 3
Roller Bearings: ⎛C ⎞
L=⎜ ⎟
⎝P⎠

L = Fatigue Life in 1,000,000 revolutions


C = Basic Dynamic Load Rating of one million revolution of inner race
P = Constant applied load

เพื่อความสะดวกอาจจะแสดงอายุแบริง่ เปนชั่วโมง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


ความสัมพันธของอายุ และภาระแบริ่ง แบบเปรียบเทียบ
3
L2 ⎛ F1 ⎞
Ball Bearings: = ⎜⎜ ⎟⎟
L1 ⎝ F2 ⎠

10 / 3
L2 ⎛ F1 ⎞
Roller Bearings: = ⎜⎜ ⎟⎟
L1 ⎝ F2 ⎠

L2 ,L1 = Fatigue Life of two set of data in 1,000,000 revolutions


F1 ,F2 = Basic Dynamic Load Rating

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23


ตัวอยางการวิเคราะห Load Rating
(แปลจากตัวอยางที่11-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 575)

พิจารณาแบริ่ง SKF ซึ่งมีอัตราการทํางานอยูท ี่ 1 ลานรอบ ถาตองการใหอายุการใชงานอยูท ี่ 5000


ชั่วโมง ที่ความเร็ว 1725 รอบ/นาที ดวยแรง 2000 N โดยใชคาความนาเชื่อถือ คือ 90 เปอรเซ็นต
จาก catalog rating คุณจะใชแบริ่งจากแคตตาลอค SKF ตัวไหน ?
วิธีทํา
ใหอายุการใชงานพืน้ ฐาน (ranting life) คือ L10 =LR = 60 = 106 รอบ จากสมการ 11-3
⁄ ⁄
2 16.1 kN

ลองใชวิธคี าํ นวณอีกลักษณะโดยการคิดจากจํานวนรอบ
1725 rpm = 1725x60 rph =1725x60x5000 rev = 517.5x106 rev

.
หรือ 16.1 kN

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


ตัวอยางขอมูลแบริ่งจากผูผลิต

From SKF
Catalog

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


การเลือกใชแบริ่งภายใตสภาวะสถิตย
การเลือกใชแบริ่งที่พิจารณาจาก Basic Load Rating C0 ซึ่งเปนคาที่พิจารณาจาก
การเกิด การเสียรูปอยางถาวรเมื่อเกิดการกดอัดกันของชิ้นสวนของตัวแบริง่ ซึ่งปกติ
จะใชเมื่อหนึ่งในเงื่อนไขเหลานี้เปนจริง
– แบริ่งไมมีการหมุน และอยูภายใตแรงกระแทกอยางตอเนื่องหรือเปนระยะๆ
– แบริง่ อยูภายใตการสั้นหรือมีแรงกระทําตอแนวการหมุน alignment
– แบริง่ หมุนชามากๆภายใตภาวะโหลดขนาดสูงมากๆซึ่งหากพิจารณาดวยวิธีวิเคราะห
แบบเชิงจลน จะทําใหอายุการใชงานทีส่ ั้นมากๆ
– แบริ่งหมุน แตนอกจากตองรับภาระในระดับปกติทั่วๆไปแลวยังตองรับภาระโหลดสูง
มากๆเปนครั้งคราว

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


การวิเคราะหภายใตภาระ และสภาวะที่แตกตางไป

• คาการคํานวณจากผูผลิตโดยทั่วไปทดสอบโดยให Inner Race หมุน และ


Outer Race อยูกับที่, ถาถูกใชงานกลับกัน Bearing จะมีแนวโนมที่จะพัง
เร็วขึ้น
• ในกรณีที่ bearing รับทั้งแรงในแนวรัศมี และแนวแกนอายุการใชงานก็จะ
มีแนวโนมสั้นขึ้นเชนกัน
• สมาคม Anti-Friction Bearing Manufacturer Association (AFBMA) ได
กําหนดการแกไขการคํานวณในกรณีเหลานี้คือ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


การวิเคราะหภายใตภาระ และสภาวะที่แตกตางไป(ตอ)

Fe = XVFr + YFa
Fe = equivalent load
X = a radial factor
V = 1 for inner race rotation and 1.2 for outer race rotation
Fr = applied constant radial load
Y = a thrust factor
Fa = applied constant thrust load

Fa
ในบางกรณีที่ ≤ กํeาหนดให X=1 และ Y=0
VFr
Note: Bearing บางชนิดไมสามารถรับโหลดในแนวแกนได
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28
ตัวอยางการหาคา X&Y Factors (ใช table 11-1ในหนังสือก็ได)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29


ตัวอยางการวิเคราะหภาระแนวแกน และรัศมี
(แปลจากตัวอยางที่11-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 583-584)
แบริ่ง SKF 6210 angular contract ball bearing มีแรงตามแนวแกนมากระทํา Fa =
1780 N และมีแรงตามแนวรัศมี Fr= 2225 N โดยวงแหวน bearing ตัวนอกอยูกับที่ ใหแรง
แบบ static load C0 19800 N และใหแรงพื้นฐานที่ C10 =35150 N จงหา L10 (อายุการใช
งานพื้นฐาน) ที่ความเร็ว 720 rev/min
V= 1 และ 0.09
เทียบบัญญัติไตรยางค เพื่อหาคา e
1780
0.8 0.285
1 2225

ดังนั้นเทียบบัญญัติไตรยางศ เพื่อหาคา

0.56 1 2225 1.257 3964

และ LD=L10 และ FD = Fe แกสมการที่ 11-3 เพื่อหา L10


161395 h
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30
แบริ่งภายใตภาระที่เปลี่ยนแปลงเปนวัฏจักร

1/ 3
⎡ 3 ⎤
3 / 10
j
⎡ j 10 / 3 ⎤
⎢ ∑ Ti ⋅ ni ⋅ Fe,i ⎥ ⎢ ∑ Ti ⋅ ni ⋅ Fe,i ⎥
Fe = ⎢ i =1 j ⎥ Fe = ⎢ i =1 j ⎥
⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎢ ∑ i i ⎥T ⋅ n ⎢ ∑ i i ⎥T ⋅ n
⎣ i =1 ⎦ ⎣ i =1 ⎦

Ball Bearing Roller Bearing

T = Time period of each varying Load


n = Speed of that particular loading event
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31
ตัวอยางวิเคราะหภาระแบบวัฏจักร
(แปลจากตัวอยางที่11-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 586)

แบริ่งแบบเม็ดกลม ทํางานที่ภายใตสภาวะแรงที่เปลี่ยนไป 4 ระดับในหนึ่งรอบวัฏจักรดัง


แสดงในตารางขางลางนี้ โดยตัวแปรที่กําหนดไดแกชวงเวลา ความเร็ว แรงในแนวรัศมี
และแนวแกน โหลดเฟคเตอรในคอรลัมที่ (1) ,(2) และ (5) ถึง (8)

ในคอลัมนที่ 1 และ 2 นั้น เมื่อนํามาคูณกันจะไดขอมูลในหลักที่ 3 ขอมูลในหลักที่ 3


ทั้งหมดมาบวกกันจะไดคา 2600 ขอมูลในหลักที่ 4 เกิดจากการนําขอมูลแตละแถวในหลัก
ที่ 3 มาหารดวยผลรวมของหลักที่ 3
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32
ตัวอยางวิเคราะหภาระแบบวัฏจักร (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่11-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 586)

ขอมูลใน หลักที่ 5,6 ,7 เปนคาของแรงตามแนวรัศมี ,แนวแกน, แรงที่ทําใหเกิดแรงเสมือน


ในแนวรัศมี ตามลําดับ , ขอมูลในหลักที่ 8 คือตัวประกอบของโหลด (กําหนดตามลักษณะ
ของภาระในแตละชวงเวลานั้นๆ ตามที่แสดงในตารางดานลาง), ขอมูลในหลักที่ 9 คือ ผล
คูณของ หลักที่ 7 และ หลักที่ 8
จากสมการ 11-10 ให a = 3 (ball bearing) จะไดแรงตามแนวรัศมีที่ทาํ เกิดแรงเสมือนใน
แนวรัศมี

0.077 3930 0.115 3521 0.462 3758 3971

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


ภาระภายใตกลไกแบบลูกเบี้ยว
Ball Bearings:
1/ 3
⎡1 φ 3 ⎤
Fe = ⎢ ∫ Fc dθ ⎥
⎣φ 0 ⎦

Roller Bearings:
3 / 10
⎡ 1 φ 10 / 3 ⎤
Fe = ⎢ ∫ Fc dθ ⎥
⎣φ 0 ⎦

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


ตัวอยางการวิเคราะหภาระแบบวัฏจักรตอเนื่อง
(แปลจากตัวอยางที่11-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 587)

ในการทํางานของปมตัวหนึง่ ทีต่ อ งใชพลังงานเทากับ ′ sin เมื่อ เปนกําลังงาน


เฉลี่ย แบริ่งที่ใชในปมนี้ตองรับภาระในลักษณะเดียวกันคือ ′ sin จงใชการ
เปลี่ยนแปลงภาระในรูปแบบนี้สรางตัวประกอบของโหลด สําหรับวัฏจักรการทํางานของปมตัวนี้
จากสมการ 11-14 ให a =3
⁄ ⁄
1 1
2 2

1
3 3
2



1 3
2 0 3 0 1
2 2

ในเทอมของตัวแปร สามารทําใหอยูใ นรูปของ application factor ไดคือ



3
1
2

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


การสวมยึดแบริ่ง

• ยึดแบบสวมแนน
• ใชเสื้อยึด
• ใช clips หรือ Rings
• ใช set screws
• ใชรูปรางของเพลา
และอุปกรณ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


การหลอลื่น
• หนาที่โดยหลัก
– แบงแยกผิวสัมผัสไมใหเกิดการขัดถูกันโดยตรงซึ่งกอใหเกิด
การสึกหรอ
– ลดแรงเสียดทาน
– ลดความรอน
– รักษาผิวไมใหเกิดการกัดกรอน
• ชนิดแบงโดยสถานะ
– ของแข็ง (Solid Lubricants)
– ของเหลว (Liquid Lubricants)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


สารหลอลื่นแบบแข็ง

• ใชสําหรับงานที่สารหลอลื่นเหลวไมสามารถใชงานได
• ใชกับวัสดุที่มีความตานทานแรงเฉือนต่าํ low shear stress
• บางกรณีเปนเพียงแคการเคลือบ
• อาจใชในการผสมกับเจลหรือของเหลวอื่นๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


สารหลอลื่นแบบของเหลว
• ปกติจะใช Mineral Oils
• Grease หรือจารบีจะถูกใชกับงานที่น้ํามันไมสามารถใชไดดี เชนบริเวณ
ที่ไมสามารถกักเก็บน้ํามันอยูได
• Viscosity หรือคาความหนืดมีผลสําคัญตอการทํางาน
• กลไกการหลื่อลื่นจะเกิดที่พื้นผิวสัมผัสในระดับไมโครสเกล

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


Journal Bearing
ชนิดหลักๆ: หรือเรียกวา Plain Surface
– Hydrostatic Bearing, friction bearing, oil
– Hydrodynamic bearing
งานที่ประยุกตใช: สําหรับรองรับ
การหมุนที่มภี าระมากๆ เชน
– Steam turbines,
– Centrifugal compressors,
– Pumps and motors
– Engine Crankshaft

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


Hydrostatic Journal Bearing

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


Hydrodynamic Journal Bearing

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


รูปทรงตางๆของ Journal Bearing

Plain Bearing Lemon Bore

Pressure Dam Tilting Pad

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


ลักษณะการหลอลื่น Lubrication Zones

Unstable

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 44


Material Boundary Lubrication

วัสดุที่ใชสําหรับ journal bearing ทั่วไป


– Bronze Bronze . copper with tin, lead, zinc, or aluminum alloying
elements
– Babbit Babbit . lead or tin with copper and antimony alloying
elements
– Aluminum Aluminum
– Powdered Metals Powdered Metals (Sintered metals)
– Polymers Polymers (plastics)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 45


ตัวแปรแรงดัน และความเร็ว (PV factor)

P = Force/Projected Area

V = Velocity

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 46


การวิเคราะห Hydrodynamic Lubrication
สมมุติฐาน
1. สารหลอลื่นประพฤติตวั แบบ Newtonian fluid
2. ไมพิจารณาความเฉื่อย และแรงที่เกี่ยวของกับความเฉื่อย
(Inertia forces negligible)
3. สารหลอลื่นเปนแบบอัดตัวไมได (Incompressible)
4. คาความหนืดคงที่ (Constant viscosity)
5. อัตราการเปลี่ยนแปลงแรงดัน (pressure gradient) ตามแนว
ยาวของตัวแบริ่งไมมกี ารเปลี่ยนแปลง
6. รัศมีของตัวแบริง่ มีขนาดใหญมากเมือ่ เทียบกับความหนาของ
ฟลมน้ํามัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 47


สมการ Petroff สําหรับแบริ่งทรงกลม
Petroff’s Equation on Concentric Journal Bearing

Sommerfeld Number

ηN
2
⎛r⎞
π ⋅ d ⋅η ⋅ l ⋅ N
2 3
S =⎜ ⎟
T= ηN r ⎝c⎠ P
c f = 2π 2

P c 1 r
T = f ⋅W ⋅ r = 2 ⋅ r 2 f ⋅ l ⋅ P S= f
2π 2 c
Where P is the projecting Pressure = W/2rl
r/c is called Radial
Clearance Ratio

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 48


การเยื้องศูนยของเจอนัลแบริ่ง Eccentric Journal Bearing
(Thick Film Lubrication)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 49


รูปสมการทั่วไปจาก X-Momentum Equation

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 50


แกสมการ Velocity Distribution

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 51


ความสัมพันธกับ Mass Flow Rate (controlled surface)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 52


ความสัมพันธของ h(x) กับขนาด และรูปทรงแบริ่ง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 53


ผลลัพธจาก Sommerfeld’s Solution (long bearing)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 54


กรณีแบริ่งแบบสั้น (Short Bearing)
(แบริ่งทั่วไปจะเปนแบบนี้)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 55


ผลลัพธจากสมการของ Ocvirk’s Solution
(short bearing)

สมการ Ocvirk หาผลลัพธโดยการตัดเทอมแรกในสมการทิ้งไปโดยการ


ตั้งสมมุตฐิ านวาการกระจายของแรงดันในแนวแกนของแบริง่ มีขนาด
นอยมากเมื่อเทียบกับในแนวรัศมี

Example from text book


การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 56
การออกแบบ Journal Bearing

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

เปาหมายของการออกแบบคือการเลือกตัวแปรอิสระดังกลาวดานบนนี้เพื่อใหไดแบ
ริ่งที่สามารถทํางานไดตามคุณลักษณะที่กําหนด โดยตัวแปรตามอาจจะเปลี่ยนไป
ในลักษณะที่ตองตั้งสมมุติฐานใหสอดคลองในขณะออกแบบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 57


ตัวอยางการออกแบบ Journal Bearing

จากขอมูลการออกแบบของ journal bearing ที่กําหนดให จงหาตัวแปรในการแสดง


สมรรถนะการทํางานของแบริง่ ตัวนี้
– ความหนาของฟลมน้ํามัน และคาเยื่องศูนย
– ต่ําแหนงฟลมน้ํามันบางที่สุด และแรงดันสูงสุดในฟลมน้ํามัน
– สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน และกําลังงานที่สูญเสีย
– อัตราการไหลของน้ํามัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 58


ประมาณคาอุณหภูมิเฉลี่ย จาก
อุณหภูมิที่เพิม่ ขึ้นและหาคาความหนืด
รูปกราฟที่12-12

สมมุติอุณหภูมิน้ํามันเพิ่ม 34 F

η = 2 . 2 μ reyn

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 59


หาแรงกดจากภาพฉายพื้นที่แบริ่ง ขนาดความกวางยาว และ
Sommerfeld Number จากสมการ 12-7

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 60


หาขนาดความหนาฟลมน้ํามัน และคาเยื่องศูนย
รูปกราฟที่ 12-16 โดยคา Sommerfeld Number และอัตราสวน ความ
ยาวแบริ่งตอเสนผาศูนยกลางเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 61


หาขนาดความหนาฟลมน้ํามัน และคาเยื่องศูนย(ตอ)
คํานวณจากคาตัวแปรไรขนาดที่ไดจากกราฟกอนหนานี้

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 62


หาตําแหนงที่ฟลมน้ํามันบางที่สุด
จากรูปกราฟที่ 12-17 โดยคา Sommerfeld Number และ
อัตราสวน ความยาวแบริ่งตอเสนผาศูนยกลางเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 63


หาขนาดแรงดันสูงที่สุดในฟลมน้ํามัน
รูปกราฟที่ 12-21 โดยคา Sommerfeld Number และอัตราสวน ความ
ยาวแบริ่งตอเสนผาศูนยกลางเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 64


หาตําแหนงของแรงดันสูงสุด
จากกราฟรูป12-22 โดยคา Sommerfeld Number และอัตราสวน ความยาว
แบริ่งตอเสนผาศูนยกลางเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 65


หาสัมประสิทธแรงเสียดทานของแบริง่
ใชกราฟรูป 12-18 โดยคา Sommerfeld Number และอัตราสวน ความยาว
แบริ่งตอเสนผาศูนยกลางเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 66


หากําลังงานที่ขับเคลื่อนแบริ่ง
(ภายใตสภาวะแรงเสียดทานที่หามาได)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 67


หาอัตราไหลของน้ํามันในแบริ่ง
ใชกราฟรูป12-19 โดยคา Sommerfeld Number และอัตราสวน
ความยาวแบริ่งตอเสนผาศูนยกลางเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 68


หาอัตรารั่วไหลของน้ํามันที่ดานขางแบริ่ง
ใชกราฟรูป 12-20 โดยคา Sommerfeld Number และอัตราสวน
ความยาวแบริ่งตอเสนผาศูนยกลางเพลา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 69


หาขนาดอุณหภูมิที่สูงขึ้นจากคาตางๆที่หาไดกอนหนานี้

จะเห็นไดวาอุณหภูมิที่สูงขึ้นตาง
จากคาที่ประมาณไวในตอนตน
ดังนั้นการออกแบบควรดําเนิน
ตอไปโดยการประมาณคาอุณหภูมิ
ใหมใหสอดคลอง และทําซ้ําๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 70


แบบฝกหัด
1.บอลแบริ่งA และ Bเปนเบอร 6203 ตออยูกับเพลาที่มีลอชวยแรงน้ําหนัก W=15 kg
ขับเคลื่อนดวยมอเตอรที่มคี วามเร็วรอบ 1450 rpm จงหา
– อายุของตลับลูกปน A และ B เปน
ชั่วโมง โดยใหใชคาความนาเชื่อถือที่
90 %
– ถาสมมุติมีแรงแนวแกนทําดับเพลาและ
ลูกปน A ขนาด 8N จงคํานวณหาอายุที่
เปลี่ยนไปของแบริ่ง A

2. จากตัวอยางการออกแบบ Journal Bearing ในแบบเรียนใหทําการออกแบบตอให


สําเร็จโดยการเปลี่ยนคาอุณหภูมิที่ประมาณไว และทําการคํานวณใหมทั้งหมด
โดยผลลัพธที่ยอมรับไดกําหนดใหอุณหภูมิที่ประมาณกับที่หาไดตอ งไมแตกตาง
กันเกิน 3 องศาเซลเซียส ใหยกตัวอยางการใชกราฟหาคามาดวย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 71


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice
Hall
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
• Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 72


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 9 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับเฟอง
(Fundamental of Gear )

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


เฟอง และหนาที่โดยทั่วไปของเฟอง

• ใชสําหรับเปลี่ยนแปลงแรงบิด และความเร็ว
• ใชสําหรับสงกําลังในแนวที่แตกตาง
• ใชสําหรับเปลี่ยนทิศทางการหมุน
• ใชสําหรับปองกันการหมุนยอนกลับ
• ใชสําหรับเปลี่ยนรูปแบบการเคลื่อนที่

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


ชนิดของเฟองทั่วไป

เฟองตรง Spur Gears


• สงกําลังแนวขนาน
• ตัวเล็กเรียก Pinion
• ตัวใหญเรียก Gear

เฟองเฉียง Helical Gears


•แข็งแรงกวาเฟองตรง
•เงียบกวา
•สรางยากกวา
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3
ชนิดของเฟองทั่วไป

เฟองหนอน Worm Gears


• สงกําลังแนวตั้งฉาก แกนไมตัดกัน
• อัตราทดสูง
• ทํางานคลายสกูรสงกําลัง

เฟองดอกจอก Bevel Gears


• สงกําลังแนวตั้งฉาก
• อัตราทด 1:1 เรียก Miter Gear

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4


ชนิดของเฟองอื่นๆ

เฟองสะพาน เฟอง
บันไดRack
and Pinion

เฟองเดือยหมู Hypoid Gears

เฟองแหวน
Internal
Ring Gears

เฟองมงกุฎ Crown Gears


การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5
เฟองชนิดพิเศษ และอุปกรณทํางานเชนเดียวกับเฟอง
Harmonic Drive

Cyclo Drive
(Cyclonic Speed Reducer)

หมายเหตุ ภาพเคลื่อนที่ (.gif) animation อธิบายการทํางานในหองเรียน Wobble Gears


การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6
หลักการพื้นฐานของแรงบิด และความเร็วทดรอบ
Torque and Speed

P = Tω

Assume:
100% efficiency
Pin = Pout
Tinωin = Toutωout

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


ชุดเฟองทดรอบ Gear Trains

ใหหาความเร็วที่เฟองตัวสุดทาย และสัดสวนแรงบิดที่เปลี่ยนไป?

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


การวิเคราะหชุดเฟองประกอบ
• สัดสวนความเร็วรอบ และจํานวนฟนเฟอง
ของการขับกันในแตละคูเ ฟองจะเปนไป
ตามความสัมพันธ

• ในชุดเฟองที่มีจํานวนคูขับของเฟองหลายๆ
ชุด คาการขับ Gear Train Value สามารถ
หาไดงายๆจาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


ชุดเฟองทดแบบเคลื่อนที่สัมพัทธ
ตัวอยาง ชุดเฟอง planetary gear
• ชุด planetary gear ประกอบดวย Sun Gear,
Planet Gear และ Ring Gear
• การเคลื่อนที่ของ Planetary gear จะมีแขนยึด
planet gear ที่เคลื่อนที่สัมพัทธกับ Sun gear
ไดความเร็วรอบเปน
• ไดคาการขับเคลื่อนของชุดเฟอง
or

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


ตัวอยางการทํางานของ Planetary Gear
ขึ้นอยูกับองคประกอบ และการสงกําลังผานชิ้นสวนยอยๆของชุด Planetary Gear
จะทําใหไดอัตราทดตางๆกัน
มีการใชอัตราทดจากชุด
เฟองภายนอกตอกับ Sun
Ring Gear อยูกับที่ Planet Arm อยูกับที่ gear และ Planet Arm

หมายเหตุ ภาพเคลื่อนที่ (.gif) animation อธิบายการทํางานในหองเรียน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


เฟองตัวชวย Idler Gears

• ใชสําหรับสงถายกําลังโดยไมมีอัตราทดเขามา
เกี่ยวของ
• อาจจะใสไวเพื่อเปลี่ยนทิศทางการหมุน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


การยึดประกอบของชุดเฟอง
• พิจารณาตําเหนงเฟองตัวขับ และตัวถูกขับ
• พิจารณาชนิดของเฟอง
• พิจารณาทิศทางของการขับเคลื่อน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


องคประกอบพื้นฐานของเฟอง Gear Nomenclature

P = Diametral Pitch, (teeth/in)


d = Pitch Diameter, (in, mm)
m = Module, (mm)
p = Circular Pitch, (in, mm)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


Involute Tooth Form

หมายเหตุ ภาพเคลื่อนที่ (.gif) animation อธิบายการทํางานในหองเรียน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


ภาพเคลื่อนไหวแสดง Conjugate Action and Involute Profile

หมายเหตุ ภาพเคลื่อนที่ (.gif) animation อธิบายการทํางานในหองเรียน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


การวาดโครงรูปฟนเฟอง Involute
• แบงมุมตามวง base circle
ออกเปนสวนๆเทาๆกัน
• เขียนเสนตรงสัมผัสวงกลมที่
จุดตัดที่แบงไปสัมผัสกับแนวเสน
จุดตัดแรกโดยใหมีระยะเปน
เทาตัวเพิ่มขึ้นไปเปนลําดับ
ตามแตมุมที่แบง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


การขบกันของฟนเฟอง (Engagement)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


มุมปะทะ Pressure Angle

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


อัตราสวนสัมผัส contact ratio

• อัตราสวนสัมผัสเปนอัตราสวนของจํานวนฟนเฟองที่ขบกันอยูในระยะของการ
ถายทอดการหมุนหรือสงกําลังทั้งหมด

• ถามากกวาหนึ่งไปคือสัดสวนมีชวงเวลาที่เฟองมากกวาหนึ่งคูขบกัน
• ควรใหมีคามากกวา 1.2 ขึ้นไป
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20
การขัดกันของฟนเฟอง Interference
• เปนการขบกัน และสงผานการ
เคลื่อนที่ภายนอกระยะที่เปน
Involute
• เกิดจาก Geometry ที่ไม
เหมาะสมในการออกแบบ
เฟองทั้งคู
• มีการเสียดสี และถูกันของ
ฟนเฟองสูงมากบริเวณ
ดังกลาว
• เฟองที่ผลิตดวยวิธี
Generation เชน Hobbing
จะไมมีบริเวณนี้แตจะเกิด
undercut ทําใหเฟองออนแอ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


การออกแบบ และวิเคราะหการขัดกัน
• ที่อัตราทด 1 : 1 จํานวนฟนของ pinion เล็กสุดที่องศาปะทะใดๆ (k เปน 1 สําหรับ
เฟองเต็มอัน และเปน 0.8 สําหรับฟนตัด)

• ที่อัตราทดอืน่ ๆ m= NG/NP

• จํานวนเฟองใหญสุดหากกําหนดขนาด pinion ที่ไมเกิดการขัดกัน (ฝนอัตราทด


1:1 จากสมการบนสุด)

• จํานวนฟน pinion เล็กสุดที่ไมขัดกันเมือ่ ขบกับ rack

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


ตัวอยางรูปทรงมาตรฐาน
เฟอง

ใหสังเกตวา:
D.P. =Diametral Pitch
=Number of tooth/
Diametrical Pitch (inch)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23


เฟองเฉียง Helical Gear

• ฟนเฟองเปนลักษณะ spiral ตามแกนการ


หมุน
• ลดลักษณะการปะทะกันของหนาฟนเฟอง
• องคประกอบตางๆเหมือนกับเฟองตรงแตเพิ่ม
ลัษณะทางเฉียงตามมุมเฉียง helix angle
• Normal and Transverse Circurlar Pitch

• Axial Pitch

• มุม helix angle

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


การวิเคราะหลักษณะเฟองเฉียง
• จํานวนฟนเสมือน virtual number of teeth
• มุมปะทะแนวสัมผัส
• จํานวนฟน pinion นอยสุดที่ไมเกิดการขัดกัน

• จํานวนฟน pinion ที่อัตราทดอืน่ ๆ

• จํานวนฟน gear ใหญสุดเมื่อกําหนดขนาด pinion

• จํานวนฟน pinion นอยสุดที่ขบบน rack

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


ตัวอยางการหาขนาดชุดเฟองอยางงาย
(แปลจากตัวอยางที่ 13-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 700)

ตองการชุดเฟองเพื่อใชเพิ่มความเร็วที่มีอัตราการทดเปน 30:1(ผิดพลาดได 1 เปอรเซนต) โดยให


มีขนาดชุดเฟองทั้งหมดใหเล็กที่สุด ใหหาจํานวนฟนของชุดเฟองที่เหมาะสมกับการออกแบบนี้
วิธีทํา
เนื่องจากอัตราสวนมีคามากกวา 10:1 แตนอยกวา 100:1 จากเงื่อนไขนี้สามารถแสดงไดในรูปที่
13-28 คาที่สามารถนํามาคํานวณในแตละชุดเฟองคือ 30 5.4772 สําหรับอัตราทนนี้
สมมติคา pressure angle เปน 20 องศา จากสมการที่ 13-11 จํานวนฟนนอยที่สุดที่ไมขัดกัน
ของเฟองตัวเล็กเปน 16 ซี่ ดังนั้นจํานวนฟนของเฟองตัวใหญที่จะเขาคูกันจึงเปน
16 30 87.64 88
จากสมการ 13-30 จะไดคา train value รวม เปน
e= (88/16)(88/16) = 30.25

นี่ เ ป น การออกแบบภายใต ค วามคลาดเคลื่ อ น 1 เปอร เ ซ็ น ต ถ า ออกแบบให มี ค า ความ


คลาดเคลื่อนนอยกวานี้จะตองเพิ่มขนาดของเฟองตัวเล็กแลวลองคํานวณเหมือนเดิมอีกครั้ง
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26
ตัวอยางการหาขนาดชุดเฟองอยางพอดี
(แปลจากตัวอยางที่ 13-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 701)

ตองการชุดเฟองใชเพิ่มความเร็วที่มีอัตราการทดเปน 30:1 พอดี โดยใหมีขนาดชุดเฟองทั้งหมด


เล็กที่สุด ใหหาจํานวนฟนของชุดเฟองที่เหมาะสมกับการออกแบบนี้
จากตัวอยางที่ผานมา ความยากอยูที่การหาคาจํานวนเต็มของจํานวนฟนเพื่อใชในการ
กําหนดอัตราสวนที่ถูกตอง ในตัวอยางนี้จะไดจํานวนเต็มสองคามาจากอัตราสวนรวมของชุด
เฟองที่ถูกกําหนดมาใหดังนี้
e = 30 = (6)(5)
N₂ /N₃ = 6 และ N₄ /N₅ = 5
จากสองสมการและสี่ตัวแปรของจํานวนฟน สมมติวารูคาของ N₃และN₅ ซึ่งมีขนาดเล็ก
พอที่จะไมเกิดการขัดกัน และให pressure angle เปน 20 องศา จากสมการ 13-11 กําหนดให
จํานวนฟนนอยที่สุดเปน 16 ซี่
ดังนั้น N₂ = 6 N₃ = 6(16) = 96
N₄ = 5N₅ = 5(16) = 80
คาที่ถูกตองของ overall train value คือ
e = (96/16)(80/16) = (6)(5) = 30

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


ตัวอยางการหาขนาดชุดเฟองที่มีเงื่อนไขอื่นๆ
(แปลจากตัวอยางที่ 13-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 702-703)
ตองการชุดเฟองใชเพิ่มความเร็วที่มีอัตราการทดเปน 30:1 พอดี โดยใหมีขนาดชุดเฟองทั้งหมด
เล็กที่สุด และตองการใหเพลาเขา เพลาออกอยูในแนวเดียวกัน ใหหาจํานวนฟนของชุดเฟองที่
เหมาะสมกับการออกแบบนี้
สมการที่ใชคือ N₂ /N₃ = 6
N₄ /N₅ = 5
N₂ + N₃ = N₄ + N₅ (เงื่อนไขที่ทําใหเพลาอยูแนวเดียวกัน)
จากสามสมการสี่ตัวแปรของจํานวนฟน สมมติรูคาของ N₃ ซึ่งเปนเฟองตัวเล็ก ที่เลือกใช N₃แทน
N₅ เนื่องจากคาอัตราทดของ N₂ /N₃ มากกวา N₄ /N₅ จากเงื่อนไขการออกแบบที่ไมทําใหเฟอง
ขัดกันจะไดจํานวนฟนนอยที่สุดของ N₃ คือ 16 ซี่
นั่นคือ
N₂ = 6N₃ = 6(16) = 96
N₂ + N₃ = 96 +16 = 112 = N₄ + N₅
แทนคา N₄ = 5N₅ จะได
112 = 5N₅ + N₅ = 6N₅
N₅ =112/6 = 18.67
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28
ตัวอยางการหาขนาดชุดเฟองที่มีเงื่อนไขอื่นๆ (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 702-703)

ถา train value สามารถเปนคาโดยประมาณได ก็ใหปดคาใหเปนจํานวนเต็มได แตหากตองการคาที่


พอดีจําเปนตองเลือกคาเริ่มตนของ N₃ ซึ่งเปนคําตอบของจํานวนฟนที่มผี ลลัพธเปนจํานวนเต็ม ซึ่ง
สามารถใชวิธี trail and error เชน ให N₃ = 17 ,18 , และอื่นๆ จนกวาจะไดคาที่ใชไดหรือแกปญหา
ดวยวิธีหาคากลางเพื่อความรวดเร็วจะเลือกใชตัวเลือกที่มีคานอยที่สุด
โดยเริ่มจากให N₃ = 1 แลวแทนคาในสมการ จะได
N₂ = 6N₃ = 6(1) = 6
N₂ + N₃ = 6 +1 = 7 = N₄ + N₅
แทนคา N₄ = 5N₅
7 = 5N₅ + N₅ = 6N₅
N₅ = 7/6
คาเศษสวนนี้สามารถตัดออกได ถาคูณดวย 6 ตัวเลือกสําหรับคา N₃ซึ่งเปนเฟองที่เล็กที่สุด ควร
เลือกคาที่เมื่อคูณดวย 6 แลวทําใหมีคามากกวาคานอยที่สุดที่ไมทาํ ใหเฟองขัดกัน ในที่นจี้ ะใชคา
N₃=18

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29


ตัวอยางการหาขนาดชุดเฟองที่มีเงื่อนไขอื่นๆ (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 702-703)

N₂ = 6N₃ = 6(18) = 108


N₂ + N₃ = 108 +18 = 126 = N₄ + N₅
126 = 5N₅ + N₅ = 6N₅
N₅ = 126/6 = 21
N₄ = 5N₅ = 5(21) = 105
ดังนั้น
N₂ = 108
N₃ = 18
N₄ =105
N₅ = 21
ตรวจสอบโดยการคํานวณหาคา e = (108/18)(105/21) = (6)(5) = 30
และตรวจสอบความเปนเชิงเสนทางเรขาคณิต จากการคํานวณ
N₂ + N₃ = N₄ + N₅
108+ 18 = 105+ 21
126 = 126
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30
ตัวอยางการหาขนาดชุดเฟอง planetary
(แปลจากตัวอยางที่ 13-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 705)
ในรูป 13-30 sun gear เปนตัวสงกําลังซึ่งถูกขับดวยความเร็ว 100 รอบ/นาที ตามเข็มนาฬิกา ring
gear ถูกยึดอยูกับที่ โดยเชื่อมติดกับโครงสราง จงหาความเร็ว (รอบ/นาที) และทิศทางการหมุนของ
arm และ gear 4
วิธีทํา กําหนด 100 รอบ/นาที 0 ปลด gear 5 และยึด arm ใหอยู
กับที่ จะได 0.25

แทนคาในสมการ 13-32 ได


0.25 หรือ 20 รอบ/นาที
เพื่อหาความเร็วของ gear 4 ตองใชความสัมพันธของสมการ
(b),(c) และ (d) ดังนั้น ,

แทนคาที่รูในสมการจะได → 33 รอบ/นาที

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง


ตารางแสดงมาตรฐานฟนเฟองที่มีใชทั่วไป
• ชนิด และรูปทรงของฟนเฟอง

• ขนาดของฟนเฟอง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


สูตรกําหนดลักษณะฟนเฟองเฉียง
• เปนเฟองที่มีมุม Helix Angle ใดๆ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


สูตรกําหนดลักษณะฟนเฟองดอกจอก
• เปนเฟองดอกจอกแบบฟนตรงมุม Pressure Angle 20 องศา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


สูตรกําหนดลักษณะฟนเฟองหนอน
• มุมกดทับ และขนาดความลึกฟนของชุดเฟองหนอนที่แนะนํา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


วัสดุทั่วไปที่ใชทําเฟอง และกระบวนการผลิตเฟอง

• Steel กระบวนการผลิต
– Carbon/Mild Steel • Machining
– Cast Iron – Milling
– Powder Metal – Hobing
• Aluminum • Casting + Machining
• Bronze • Sintering
• Polymers (Acetal, PBT, • Injection molding
PPS and Nylon(PA)) • Extrusion

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


การสรางเฟองโดย milling machine

หมายเหตุ ภาพวีดีโอ แสดงใหดูในหองเรียน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


การสรางเฟองเฉียงโดย CNC milling machine

หมายเหตุ ภาพวีดีโอ แสดงใหดูในหองเรียน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


การสรางเฟองโดยการ hobbing บน mill-turn center

หมายเหตุ ภาพวีดีโอ แสดงใหดูในหองเรียน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


แบบฝกหัด
1. จากภาพชุด Compound Gear ถาจํานวนฟน N1 , N2, N3, N4, N5 และ N6 เปน
16, 30, 14, 46, 16 และ 50 ตามลําดับ ถาเฟองขับคือเฟอง N1โดยมีความเร็วรอบ
เปน 2200 rpm จงหาความเร็วรอบของเฟองที่เหลือทั้งหมด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


แบบฝกหัด

2. ถาชุดเฟอง compound ดานลาง มีขนาดฟนเฟองเทากับโมดูล 6


mm และ pressure angle เทากับ 20 องศา จงตรวจสอบดูวาจะ
มีฟนเฟองคูใดเกิดการขัดกันหรือไม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice
Hall
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
• Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 10 เฟองชนิดตางๆ และพื้นฐานการออกแบบ


(Types of Gear and Basic Design)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


การออกแบบที่เกี่ยวของกับเฟอง
• การออกแบบฟงกชั่นการทํางาน
– ลักษณะการใชงาน การสงกําลัง ชนิดของเฟองที่เลือกใช
– การติดตั้ง และอุปกรณยึดประกอบ
• การเลือกขนาดของฟนเฟอง
– ขนาดโมดูล
– หนากวางของฟนเฟอง
• การออกแบบโดยเลือกองคประกอบ และรายละเอียดของ
ฟนเฟองเพื่อไมใหเกิดความเสียหาย
– วัสดุ
– ความแข็ง
– วิธีผลิตฟนเฟอง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


การวิเคราะหแรงบนฟนเฟอง
• ในการสงกําลังระหวางคูฟนเฟอง แรงที่
ขับจะเปนแรงลัพธในแนวสัมผัส กําหนด
เปน Wt โดย

• แรงสัมผัสนี้เรียกวา Transmitted Load


สามารถหาไดจาก

• ทั้งนี้แรงในแนวรัศมีจะไมกอใหเกิดการ
ขับเคลื่อนแตเปนภาระที่จะทําใหเฟอง
พยายามแยกออกจากกัน และกอใหเกิด
การบีดอัด อันเปนผลตอแรงเสียดทาน
และการเสียดสีกันของฟนเฟอง
(พิจารณา deformation)
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3
ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองตรง
(แปลจากตัวอยางที่ 13-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 708-709)

เฟองตัวเล็กหมายเลข 2 ในรูป 13-34a ทํางานที่ 1750 rev/min และสงกําลัง 2.5 kW ไปที่เฟองหมายเลข 3


ฟนเฟองขบกันดวยระบบ full-depth ทํามุมกัน 20 องศา และมี module (m) = 2.5 mmจงวาด free-body
diagramของเฟองหมายเลข 3 และแสดงการหาคาแรงทั้งหมดทีก่ ระทําตอเฟองนัน้
วิธีทํา

เสนผานศูนยกลางพิทยของเฟองหมายเลข 2 และ 3 คือ


20 2.5 50 mm
50 2.5 125 mm
จากสมการ (13-36) สามารถหาแรงทีม่ กี ารสงผาน คือ
60000 60000 2.5
0.546 kN
50 1750
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4
ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองตรง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-7 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 708-709)

จะไดวาแรงที่เกิดจากการสัมผัสทีเ่ ฟอง2 กระทําตอเฟอง 3 คือ 0.546 kN ดังรูป13-34b ดังนั้น


20° 0.546 20° 0.199 kN
.
และ ° °
0.581 kN

เนื่องจากเฟอง 3 เปน idler gear จึงไมมีการสงกําลังหรือแรงบิดไปที่เพลา และแรงจากการสัมผัสทีเ่ ฟอง 4


กระทําตอเฟอง 3 จะเทากับ ซึ่งมีทิศทางดังแสดงในรูป 13-34b จะได
0.546 kN 0.199 kN 0.581 kN

แรงที่กระทําตอเพลาในทิศ x และ y คือ


0.546 0.199 0.347 kN
0.199 0.546 0.347 kN

ผลของแรงทีก่ ระทําตอเพลาคือ
0.347 0.347 0.491 kN

ซึ่งสามารถแสดงไดดงั รูป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


การวิเคราะหแรงบนเฟองดอกจอก Bevel Gear

• คลายกับการสงกําลังของเฟอง
ตรงแตคิดรัศมีเฉลี่ย rav แทน แรง
ที่ขับจะเปนแรงลัพธในแนวสัมผัส
Wt หาไดโดย

• แรงสัมผัสนี้จะสัมพันธกับแรงใน
แนวแกน และแนวรัศมีคือ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองดอกจอก
(แปลจากตัวอยางที่ 13-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 710-712)

เฟองดอกจอก ดังรูป 13-36a หมุนที่ 600 rev/min ในทิศทางตามรูปและสงกําลัง 3.75 kW ไปยังเฟอง ระยะ
ของโครงสราง ตําแหนงของลูกปน และรัศมี pitch ของเฟองตัวเล็กและตัวใหญ ถูกแสดงไวดังรูป เพื่อความ
งายจํานวนฟนเฟองจะถูกแทนดวยจํานวน pitch ของกรวย ลูกปน A และC เปนแบบรับแรงแนวแกนได จง
หาแรงที่กระทําตอลูกปนบนเพลาของเฟองตัวใหญ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองดอกจอก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 710-712)

มุม pitch คือ


75 225
18.4° Γ 71.6°
225 75

ความเร็ว pitch-line จะสอดคลองกับรัศมี pitch เฉลี่ย คือ


2 32 600
2 2011 m⁄s
60
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8
ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองดอกจอก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 710-712)

ดังนั้น แรงที่ถูกสงผาน คือ .


1865 N

ซึ่งกระทําในทิศ +z ดังแสดงในรูป 13-36b ถัดไปจะไดวา


Γ 1865 20° 71.6° 214 N
Γ 1865 20° 71.6° 644 N

อยูในทิศ - x และ อยูในทิศ - y ดังรูป 13-36b

หาตําแหนงของเวกเตอรจาก D ถึง G จะได


90 60 32 90 92

หาเวกเตอรจาก D ถึง C
60 90 150

ดังนั้นผลรวมของเวกเตอรรอบ D กําหนดไดเปน
0 (1)
แทนคาทีห่ าไวขางตนลงในสมการ (1) จะได
90 92 214 644 1865 150 0 (2)
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9
ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองดอกจอก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-8 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 710-712)

ผลจากการคูณ cross products สมการจะกลายเปน


171580 167850 77712 150 150 0
เมื่อจัดรูปแลวแกสมการจะได
168 N. m 518 N 1144 N (3)

เนื่องจากผลรวมของแรงเปนศูนย ดังนั้น
0 (4)

แทนคาสวนประกอบของแรงลงในสมการ (4) ไดเปน


518 1144 214 644 1865 0 (5)
จะเห็นวา 644 N และ 518 644 1144 N

จากสมการ (5)
303 721 N

คาเหลานี้ถกู แสดงในรูป 13-36b ในทิศทางทีแ่ สดงไว ทั้งนี้การวิเคราะหสาํ หรับเพลาของเฟองตัวเล็กก็ทาํ ได


ในลักษณะเดียวกัน
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10
การวิเคราะหแรงบนเฟองเฉียง

• มีแรงที่เกี่ยวของในเฟองเฉียงสาม
แกนดังนี้

• มีแรงแนวแกนเพิ่มขึน้ มาจาก
ลักษณะฟนที่จะเลื่อนออกตาม
แนวเฉียง
• ปกติ Wt จะถูกกําหนดมาจาก
ภาระที่ตองขับเคลื่อน สวนแรงใน
แนวอื่นจะเปนไปตามลักษณะของ
เฟอง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองเฉียง
(แปลจากตัวอยางที่ 13-9 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 713-714)

จากรูป 13-38 มอเตอรไฟฟา 750 W หมุนดวยความเร็ว 1800 rev/min ในทิศตามเข็มนาฬิกา โดยมองจาก


แกน x บนเพลามอเตอรถกู ยึดติดกับเฟองเฉียงขนาดเล็ก 18 ฟน มี pressure angle 20 ° , helix angle 30 °
และขนาด module 3.0 mm จงวาดโครงราง 3D ของเพลามอเตอรและเฟองตัวเล็ก และแสดงแรงทีก่ ระทํา
ตอเฟองตัวเล็กและแรงทีเ่ พลากระทําตอลูกปนที่จดุ A และ B โดยที่จุด A มีการรับแรงแนวแกนดวย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองเฉียง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-9 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 713-714)

°
จากสมการ (13-19) °
22.8°

โดย ⁄ 3⁄ 30 ° 3.46 mm ดังนั้นเสนผานศูนยกลาง pitch ของเฟองตัวเล็ก คือ


18 3.46 62.3 mm ความเร็ว pitch-line หาไดจาก
.
5871.6 mm⁄s 5.87 m⁄s

แรงที่มีการสงผานคือ .
128 N
จากสมการ (13-40) จะได
128 22.8° 54 N
128 30° 74 N
128
157 N
20° 30°

โดยที่ อยูในทิศ – y อยูในทิศ – x และ อยูในทิศ + z รูปที่ 13-39 แสดงแรงทีก่ ระทําที่จดุ


C สมมติวาลูกปนมีการรับแรงที่จดุ A และ C ดังนั้น 74 N
คิดโมเมนตรอบแกน z
62.3
54 325 74 250 0
2
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13
ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองเฉียง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-9 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 713-714)

หรือ 61 N จากผลรวมของแรงในทิศทาง y จะได 7 N คิดโมเมนตรอบแกน y นั่นคือ


250 128 325 0

หรือ 166 N จากผลรวมของแรงในทิศทาง z จะได 38 N โดยมีคาแรงบิดเปน


⁄2 128 62.3⁄2 3982 N. mm

เมื่อเปรียบเทียบการแกปญหาโดยใชการคิดแบบเวกเตอร เวกเตอรของแรงที่ C คือ


74 54 128 N

ตําแหนงของเวกเตอรที่ B และ C เทียบจากจุด A คือ


250 325 31.15

คิดโมเมนตรอบ A จะได 0

โดยการใชทิศทางทีส่ มมติขนึ้ ในรูป 13-39 และแทนคาตัวแปรตางๆลงไป


250 325 31.15 74 54 128 0
250 250 3987 41600 15245k 0

จะไดวา 4 kN. mm , 61 N และ 166 N


หาคาถัดไป จาก ดังนั้น 74 7 38 N

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


การวิเคราะหแรงบนเฟองหนอน
• แรงในทิศทางตัง้ ฉากทั้งสามแกน

• จะไดแรงแนวสัมผัส แนวรัศมี และ


แนวแกนของตัวเฟอง และตัวหนอน
สัมพันธกันเปน

• หากกําหนดประสิทธความเสียดทาน
ระหวางเฟองกับตัวหนอน f จะได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


การวิเคราะหแรงบนเฟองหนอน (ตอ)
• ทั้งนี้ประสิทธิภาพการสงถายกําลังคิดเปน

• เมื่อ

• จะไดประสิทธิภาพของเฟองหนอนกับตัว
แปรในการออกแบบ

• ทั้งนี้จากการทดลอง (ดังตาราง)พบวา
ความเสียดทานจะขึ้นอยูกับความเร็วที่
เฟองกับตัวหนอนถูกันซึ่งหาไดจาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


ชนิดของเฟองหนอน
• Non-Throat
• Single Throat
• Double Throat
• คุณลักษณะ self locking เหมือนสกูรสง
กําลัง ปกติที่มุมลีดนอยกวา 6 องศา

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองหนอน
(แปลจากตัวอยางที่ 13-10 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 717-720)

เกลียวหนอน 2 ปากมีแบบเกลียวขวา สงกําลัง 1 hp ที่ 1200 rev/min ไปยังลอเฟองหนอนตัวใหญที่มี 30ฟน


โดยลอเฟองตัวใหญมเี สนผานศูนยกลาง pitch ตามขวาง 6 teeth/in และมีหนาสัมผัสกวาง 1 in เกลียว
หนอนตัวเล็กมีเสนผานศูนยกลาง pitch 2 in และมีหนาสัมผัสกวาง 2 in มี normal pressure angle
14 ° วัสดุและคุณสมบัติขออุปกรณที่จาํ เปน สามารถดูไดจาก กราฟ B ของรูป 13-42 ซึ่งใชสําหรับหา
คาสัมประสิทธของแรงเสียดทาน
(a) จงหา axial pitch , center distance ,
lead และ lead angle
(b) รูป 13-43 แสดงการหมุนของเฟอง
หนอนอางอิงกับระบบ coordinate
โดยเพลาของเฟองตัวใหญมกี ารรองรับ
ดวยลูกปน A และ B จงหาแรงที่
ลูกปนกระทําเพื่อตอตานแรงตามแนว
เพลาของเฟองหนอนตัวใหญ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองหนอน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-10 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 717-720)

วิธีทํา
(a) axial pitch ของเฟองหนอนจะเทากับ transverse circular pitch ของเฟองตัวใหญ จะได
0.5236 in
6

เสนผานศูนยกลาง pitch ของเฟองตัวใหญ คือ ⁄ 30⁄6 5 in ดังนั้น center distance


คือ 3.5 in

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองหนอน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-10 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 717-720)

จากสมการ (13-27) จะได ระยะ lead คือ 0.5236 2 1.0472 in

.
ใชสมการ (13-28) หา lead angle 9.46°

(b)โดยการใชกฎมือขวากําหนดทิศการหมุนของเฟองหนอนซึ่งจะมีลกั ษณะการหมุนคลายกับ bolt และ nut


กําหนดใหนวิ้ หัวแมมอื ขวาเปนทิศ +z ดังนั้น เมื่อเฟองหนอนมีทศิ การเคลือ่ นที่ไปทางทิศ +z ก็จะทําใหผวิ ของ
เฟองตัวใหญทสี่ มั ผัสกับเฟองหนอนมีทศิ การเคลื่อนทีไ่ ปทางทิศ –z นั่นคือเฟองตัวใหญหมุนตามเข็มนาฬิกา
รอบแกน x หรือนิ้วหัวแมมือขวาชี้ไปทางทิศ –x ความเร็ว pitch-line ของเฟองหนอน คือ
2 1200
628 ft/min
12 12

ความเร็วการหมุนของเฟองตัวใหญคอื 1200 80 rev⁄min ดังนั้น ความเร็ว pitch-line


ของเฟองตัวใหญ คือ
5 80
105 ft/min
12 12

จากสมการ (13-47) ความเร็วในการ sliding ( ) หาไดเปน


⁄ 628⁄ 9.46° 637 ft/min

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองหนอน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-10 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 717-720)

หาคาแรงจากรูปของกําลังมาจะได
33000 33000 1
52.5 lbf
628

แรงที่ไดนี้กระทําในทิศ –x ซึ่งแสดงในรูป 13-40 ใชรูป 13-42 หาคา 0.03 ดังนัน


้ ใชกลุม ของ สมการ
(13-42) และ สมการ (13-43) จะได
52.5
278 lbf
14.5° 9.46° 0.03 9.46°

จากสมการ (13-43)
278 14.5° 69.6 lbf
278 14.5° 9.46° 0.03 9.46° 264 lbf

สามารถแสดงสวนประกอบของแรงทีก่ ระทําตอเฟองตัวใหญ ไดเปน


52.5 lbf
69.6 lbf
264 lbf

พิจารณาที่จุด B ซึ่งเปนจุดที่ลกู ปนรับแรงตามแนวแกนและเพลาของเฟองไดรับแรงแนวแกน


ดังนั้น ผลรวมของแรงในทิศ x คือ 52.5 lbf

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


ตัวอยางการวิเคราะหแรงบนเฟองหนอน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 13-10 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 717-720)

คิดโมเมนตรอบแกน z
52.5 2.5 69.6 1.5 4 0 58.9 lbf

คิดโมเมนตรอบแกน y
264 1.5 4 0 99 lbf

จะไดสามสวนประกอบของแรงทีก่ ระทําทีจ่ ุด B สามารถวาดไดดงั รูป 13-44


ผลรวมของแรงในทิศ y คือ
69.6 58.9 0 10.7 lbf

ผลรวมของแรงในทิศ z คือ
264 99 0 165 lbf

จะไดสองสวนประกอบของแรงทีก่ ระทําทีจ่ ุด A ดังรูป และอีกหนึ่งสมการที่ตอ งหา โดยการคิด


ผลรวมของโมเมนตรอบแกน x คือ
264 2.5 0 660 lbf. in

เพราะวามีการสูญเสียเนื่องจากผลของแรงเสียดทานจึงทําใหคาแรงบิดทีไ่ ดออกมานอยกวาผลลัพธของอัตรา
ทดเฟองและคาแรงบิดที่ใสเขาไป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


การเสียหายของฟนเฟอง

โดยสวนใหญแลวการเสียหายของฟนเฟองที่เกิดขึน้ กอนอายุการใชงาน
ตามปกติจะเกิดจากสองสาเหตุหลักคือ
– เสียหายจากความเคนดันบนฟนเฟอง bending stresses
– เสียหายจากความเคนกดทับที่ผิวสัมผัสที่ปะทะกันระหวางฟนเฟอง contact
stress
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23
การเสียหายของฟนเฟองจากความเคนดัด

• AGMA (American Gear


Manufacturer Association)
กําหนดมาตรฐานตางๆของการผลิต
และใชงานเฟองเชนเดียวกับ ระบบ
ISO ของ Metric Gear

• AGMA standard 1010-95


nomenclature of gear tooth
failure

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


การวิเคราะหความเคนดัดบนเฟองโดย Lewis Equation
• ความเคนดัดคิดเหมือนคานโดยหนากวางของ
คานคือความหนาของฟนเฟองเทากับ F

• กําหนดใหความเคนสูงสุดอยูที่จุด a โดย

• กําหนด Lewis form factor y =2x/3p จะได


ความเคนบนฟนเฟอง (p=circular pitch)

• กําหนดคา Y=2xP/3 (P= Diametral Pitch)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


เงื่อนไขการออกแบบโดย Lewis Equation

• สมมุติวาแรงดัดสูงสุดกระทําที่ปลายฟน และภาระสูงสุดอยูบริเวณ base


circle โดยมีการรับภาระของฟนเฟองเพียงฟนเดียว
• คิดแตแรงดัดเปนหลัก โดยที่แรงในแนวรัศมีจะเปน compression stress
กระทําที่ฐานฟน
• ไมคิด contacting stress
• คิดแรงเปนแบบ static

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


การพิจารณาภาระในเชิงจลศาสตร
• พิจารณาเฟองภายใตการเคลื่อนที่ โดยกําหนด Kv เปน Dynamic
Factor สําหรับพิจารณาภาระที่เพิ่มขึ้น
• กําหนด Barth Equation โดย V คือ Pitch Line Velocity

• ในกรณีของเฟองที่สรางดวยกันตัด หรือ machining สมการดัดแปลง


เปน

• โดยที่ Dynamic Factor ดังกลาวจะนําไปคูณกับภาระความเคนดัด


เดิม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


สมการตัวคูณของภาระเชิงจลศาสตรในระบบ SI

ในระบบ SI คา Dynamic Factor และการประยุกตใชใน


สมการความเคนดัดจะเปลี่ยนไปเปนดังนี้

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ตัวอยางการออกแบบเฟองที่ใช Dynamic Factor
(แปลจากตัวอยางที่ 14-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 740)
เฟองตรงมี module 3 mm หนาสัมผัสกวาง 38 mm มี 16 ฟนและ pressure angle 20 ° ขบกันแบบ full-
depth ทําจากวัสดุ AISI 1020 steel ภายใตเงื่อนไข rolled ใช design factor 3 กําลังทีส่ ง ออกของ
เฟองมีผลลัพธในรูปของความเร็วรอบเปน 20 rev/s และ moderate Application
วิธีทํา การประเมินความแข็งแรงของเฟองโดยการใชทฤษฎีความเสียหายที่ yield strength จากตาราง A-20
จะได 379 MPa และ 206 MPa คา design factor เทากับ 3 หมายความวา คาความเคนดัดที่
ยอมรับได คือ 206/3 = 68.7 Mpa เสนผานศูนยกลาง pitch หาจาก 16 3 48 mm ดังนั้น
ความเร็ว pitch-line คือ
0.048 20 3.02 m/s
. . .
คา velocity factor หาจากสมการ (14-4b) ไดเปน . .
1.5

ตาราง14-2 ให form factor เปน 0.296 สําหรับเฟอง 16 ฟน แทนคาที่หาไดในสมการ (14-4b)
0.003 0.038 0.296 68.7 10
1545.5 N
1.5

กําลังที่ถกู สงคือ 1545.5 3.02 4667 W

นี่เปนเพียงการหาคาอยางคราวๆ ซึ่งไมควรใชกับงานทีส่ าํ คัญมากๆ


ตัวอยางนี้จะชวยใหเขาใจถึงพืน้ ฐานเกี่ยวกับวิธี AGMA

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29


การออกแบบเฟองโดยวิเคราะหแบบความลาปกติ
• สามารถวิเคราะหฟนเฟองซึ่งรับภาระเปนวัฏจักรโดยใชทฤษฏีความลา
และการเสียหายเชน Goodman โดย Se คือ Endurance Limit เปนคาที่ได
จากผลกระทบทางกายภาพของชิ้นสวนภายใตความลาที่เกิดจากตัวแปร
ตางๆดังนี้
– ka = surface condition factor
– kb = size factor
– kc = load factor
– kd = temperature factor
– ke = reliability factor
– kf = miscellaneous factor
– S’e = specimen endurance limit from a test

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


ตัวอยางการวิเคราะหฟนเฟองภายใตความลา
(แปลจากตัวอยางที่ 14-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 740-742)

หาคากําลังมาของเฟองในตัวอยางกอนโดยใหมอี ายุการใชงานทีไ่ มจํากัดโดยวิเคราะหความลาจาการดัด


วิธีทํา สําหรับ Rotating-beam หาคา endurance limit จากสมการ (6-8)
0.5 0.5 55 27.5 kpsi

เมื่อมีการการกระทํากับผิวชิ้นงานจะสามารถหาคา Marin factor จากตาราง 6-3 สําหรับผิวที่ผา นการ


แมชชีน(กลึง กัด ไส)จะได 2.70 และ 0.265 ดังนั้นสมการ(6-19) จะไดคา Marin factor
เปน 2.70 55 . 0.934

ตอไปหาคา size factor จากตาราง 13-1 ผลบวกของ addendum และ dedendum คือ
1 1.25 1 1.25
0.281 in
8 8

ความหนาของฟนเฟอง t ในรูป 14-1b ถูกกําหนดในหัวขอ 14-1 [สมการ (b)] 4 ⁄


จากสมการ
(14-3) เมื่อ 3 ⁄2 ซึ่งจากตัวอยาง 14-1 0.296 และ 8 จะไดวา
3 3 0.296
0.0555 in
2 2 8

ดังนั้น 4 ⁄
4 0.281 . 0555 ⁄
0.250 in

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


ตัวอยางการวิเคราะหฟนเฟองภายใตความลา (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 14-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 740-742)

เมื่อพิจารณาพื้นทีห่ นาตัดทีเ่ ปนสี่เหลีย่ มผืนผาของฟนเฟองจะพบวามีลกั ษณะเปนคานยืน่ ที่ปลายดานหนึง่ ยึด


อยูกบั ที่ (cantilever beam) ดังนั้นเสนผานศูนยกลางของ equivalent rotating-beam หาไดจากสมการ (6-
25) คือ
⁄ ⁄ /
0.808 0.808 0.808 1.5 0.250 0.495 in
. . .
สมการ(6-20) หาไดจาก
. .
0.948

จากสมการ (6-26) คา load factor คือ 1 เนื่องจากขอมูลทีใ่ หมาไมเกี่ยวกับอุณหภูมแิ ละคาความ


นาเชื่อถือจึงกําหนดให 1

ปกติฟนเฟองจะเกิดการโกงงอในทิศทางเดียว ยกเวนเฟองทีอ่ ยูน งิ่ และเฟองทีถ่ กู ใชในกลไกทีย่ อ นกลับได ซึ่ง


ในที่นี้จะพิจารณากรณีที่เกิดการโกงงอในทิศทางเดียว โดยมีการใชคา miscellaneous-effects Marin
factor
สําหรับการโกงงอในทิศทางเดียวเปนแบบคงที่และ alternating stress ⁄2 ที่ คือ
ขนาดความเคนดัดมากทีส่ ดุ ทีเ่ กิดซ้าํ ๆจากแรงทีก่ ระทํากําหนดโดยสมการ (14-7) ถาสมมุตวิ าวัสดุแสดง
พฤติกรรมอยูใ นเกณฑของทฤษฎีความเสียหายของ Goodman จะไดวา
1

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


ตัวอยางการวิเคราะหฟนเฟองภายใตความลา (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 14-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 740-742)

เนื่องจาก และ เทากันสําหรับการโกงงอในทิศทางเดียว จึงแทน ใน จะไดสมการสําหรับหา


คา คือ

แทน ดวย /2 และแทน ดวย 0.5 จะได


2 2
1.33
0.5 0.5 1

จะไดวา ⁄ 1.33 ⁄ 1.33 จากทฤษฎีความลาของ Gerber


1

เมื่อ จะไดคาของ ในรูปสมการกําลังสอง คือ


4
1 1
2

จาก /2 , ⁄0.5 จะได


1 1 4 0.5 1.66
0.5

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


ตัวอยางการวิเคราะหฟนเฟองภายใตความลา (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 14-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 740-742)

และ ⁄ 1.66 เนื่องจากพืน้ ฐานของ Gerber พิจารณาจากขอมูลทีค่ ดิ ความลา ในขณะที่ของ


Goodman ไมใช จึงใช 1.66 สมการ Marin สําหรับคา endurance strength ที่มีความถูกตอง
สมบูรณ คือ

0.934 0.948 1 1 1 1.66 27.5 40.4 kpsi

หาคา fatigue stress-concentration factor สําหรับฟนเฟองแบบ full-depth ทํามุม 20° โดยรัศมีของ


root fillet ถูกแทนโดย
. .
0.0375 in

จากรูป A-15-6
0.0375
0.15
0.250

เนื่องจาก ⁄ ∞ แตจะประมาณดวยคา ⁄ 3 กําหนด 1.68 จากรูป 6-20 ได 0.62


จากสมการ (6-32)
1 0.62 1.68 1 1.42

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


ตัวอยางการวิเคราะหฟนเฟองภายใตความลา (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 14-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 740-742)

สําหรับคา design factor 3 ซึ่งใชในตัวอยาง 14-1 จะไดความเคนดัดสูงสุดคือ

.
9.5 kpsi
.

แรงที่สงผาน คือ
1.5 0.296 9500
347 lbf
1.52 8

และคากําลังที่เกิดขึ้น สามารถหาโดยใช 628 ft⁄min ซึงไดมาจากตัวอยางที่ 14-1 ดังนั้น


347 628
6.6 hp
33000 33000

ใหสังเกตวาผลลัพธเหลานีส้ ามารถยอมรับไดในระดับการประมาณคาเพื่อใหผอู อกแบบเขาใจถึงธรรมชาติ


ของการดัดที่เกิดขึน้ บนฟนเฟอง (ในการออกแบบที่ละเอียดจริงๆ ยังตองคํานึงถึงตัวแปรอื่นๆเชน contact
stress)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


การออกแบบเฟองตามมาตรฐาน
อุตสาหกรรม

• เปนการออกแบบเฟองอยางละเอียดโดยพิจารณาตัวแปร
ทุกชนิดทีเ่ กี่ยวของกับการทํางานของเฟองทุกอยาง
• ที่นิยมไดแกมาตรฐาน แบบ ANSI/AGMA SI/ISO
• พิจารณาการเสียหายของฟนเฟองในหลายๆโหมดเชน
– การสึกหรอของฟน
– การแตกหักเนื่องจากภาระเกิน
– ในกรณีอื่นๆที่อาจเกี่ยวของกับการหลอลื่น การกัด
กรอน ฯลฯ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


ตัวแปรในการออกแบบเฟองตามมาตรฐาน
• Geometry Factor
– Bending Strength Geometry Factor Yj (พิจารณานอกเหนือขอบเขตของ Lewis
Equation)
– Surface Strength Geometry Factor Zi
• Elastic Coefficient Cp ใชสําหรับวิเคราะหใน Contact Compression เพื่อ
พิจารณา Surface Durability
• Dynamic Factor Kv
• Overload Factor Ko สําหรับภาระที่เกินในชวงเวลาหนึ่งๆ
• Surface Condition Factor Cf ใชสําหรับวิเคราะหใน Contact Compression
เพื่อพิจารณา Surface Durability เชนเดียวกับ Cp
• Size Factor Ks ขึ้นอยูขนาดองคประกอบตางที่มขี นาดตางไปจากการออกแบบ
ปกติ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


ตัวแปรในการออกแบบเฟองตามมาตรฐาน (ตอ)
• Load Distribution Factor Km ขึ้นอยูกับการวางตําเหนงเฟองระหวางแบริ่ง และการขบ
กันของหนาฟนเฟอง
• Hardness Ratio Factor CH พิจารณากรณีที่ความแข็งของเฟองที่ขบกันไมเทากัน

• Stress Cycle Factor YN และ ZN จากความ


เคนที่เกิดขึ้นเมื่อจํานวนวัฏจักรการใชงาน
ตางออกไป
– YN เปน Bending Strength Stress
– ZN เปน Pitting Resistance Stress
• Reliability Factor KR คาปกติคิดที่ 99%
• Temperature Factor KT พิจารณาเมื่อใชงานที่
อุณหภูมิสุงกวา 250 oF
• Rim Thickness Factor KB
• Safety Factor

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


แบบฝกหัด
1.จากภาพชุดเฟองที่ประกอบกันดังรูปมีขนาดฟน Diametral Pitch เทากับ 8 ฟน
ตอนิ้วโดยฟนมี pressure angle 20 องศา ถาเฟอง A ตอกับมอเตอรขนาด 2
แรงมา จงหาขนาดและทิศทางของแรงสูงสุดที่จะเกิดบนเพลาของเฟอง C

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


แบบฝกหัด
2.จากรูปเปนชุดเฟองสามตัว(A, B, และ C มีขนาดจํานวนฟน 22, 40 และ 16 ฟนตามลําดับ)
หากชุดเฟองดังกลาวเปนเฟองขนาดโมดูลเทากับ 3 มม. Pressure angle 20 องศา และมุม
เฉียง Helix Angle 30 องศาแบบฟนเต็มอัน โดยชุดเฟองนี้มีเฟองA เปนตัวขับเคลื่อนหมุนดวย
ความเร็ว 1800 rpm สงผานเฟอง B ไปยังเฟอง C ซึ่งมีภาระแรงบิดที่กระทําอยู-แบบตอเนื่อง
ขนาด 8.5 N-m จงหากําลังงานที่ใชขับเคลื่อนเฟอง A

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice
Hall
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
• Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 11 อุปกรณพื้นฐานในระบบสงกําลัง
(Common Transmission Components)

เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


อุปกรณทั่วไปในระบบสงกําลัง

• Clutches and Brakes


• Couplings
• Flywheels

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


คลัช และ เบรค (Clutch and Brake)
• Clutch และ Brake เปนอุปกรณที่ใชในการตัดตอการสงถายกําลัง
– Clutch มักจะตัดตอการสงถายกําลังจากอุปกรณหนึ่งไปยังอีกอุปกรณหนึ่ง หรือ
ตัดขาดการสงกําลัง
– Brake มักจะตัดตอการสงถายกําลังกับสวนที่ไมเคลื่อนที่เพื่อหยุดยั้งการเคลื่อนที่
นั้นๆ
• สวนใหญใชหลักการของแรงเสียดทาน แตก็มีการใชหลักการอื่นๆดวยเชน
การขัดกันของกลไก แรงแมเหล็กไฟฟา คุณสมบัติของของไหล และอื่นๆ

• แบงเปนชนิดตางๆตามลักษณะรูปราง
ของชิ้นสวนสรางแรงเสียดทาน หรือ
ตามชนิดของตนกําลังทําสรางแรงกด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


ชนิดของ คลัช และ เบรค
• Positive Contact Clutch
• Friction Clutch/Brake
– Disc Type
– Cone Type
– Drum Type (External/Internal)
– Caliper Disc Brakes
• แบบอื่นๆ
– Centrifugal Clutches
– Magnetic Clutches/Brakes
– Overrunning Clutches
– Eddy Current Clutch/Brakes
– Pneumatic Clutch/Brakes
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4
Positive Contact Clutch

• บางครั้งเรียกวา (mechanical lock-up)


• ใชสงกําลังที่มีแรงบิดมากๆ
• การแยก และเขาประกบทําที่ความเร็วต่าํ
• ไมมีการ slip

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


Friction Disc Clutch/Brake

• อาศัยแรงเสียดทานระหวาง
แผนจานที่หมุนไปดวยกัน
• อาจมีหลายๆชุดขนานกัน เพื่อ
เพิ่มเนื้อที่ แตไมใหขนาด
อุปกรณเพิ่มมากเกินไป
• อาศัยแรงกดจากสปริงหรือ
อุปกรณอื่นๆ
• สามารถแยก และประกบกัน
ในขณะหมุนที่ความเร็วต่ําถึง
ปานกลาง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


Friction Cone Type Clutch

• อาศัยแรงเสียดทาน และการกดอัดจากอุปกรณภายนอก
• เพิ่มการยึดกันโดยรูปทรงกรวยตามทิศทางของมุมเอียงซึ่งจะสงผลใหแรงลัพธที่ทํา
ใหเกิดความเสียดทานสูงขึ้น (หลักการของลิ่ม)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


Drum Brake
• แบงเปนชนิดยอยตามรูปทรงของชิ้นสวนที่เขา
มาบีบจับตัว Drum
– Internal
– External (Long Shoe/Short Shoe)
– Band

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


Disk Brake (Caliper)

• สามารถรับภาระไดสูง
• การกระจายความรอนทําไดดี
• ตองการความแมนยําในการติดตัง้
• มีใชทั่วไปในรถยนต รถจักรยานยนต
และจักรยาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


คลัช แบบแรงหนีศูนย Centrifugal Clutch
• อาศัยแรงหนีศนู ยทําใหเกิดการตัดตอการสงกําลัง
• มักจะใชงานในลักษณะตัดตอกําลังอัตโนมัตเิ ชนระบบเกียรอตั โนมัติ
• ไมนิยมสําหรับสงกําลังขนาดสูงๆ หรือที่รอบต่าํ มากๆ
• ตัวอยางที่ใชไดแกจักรยานยนตแบบเกียรอตั โนมัติ หรือกึ่งอัตโนมัติ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


Magnetic Clutches
• อาศัยหลักการทางแมเหล็ก หรือ
แมเหล็กไฟฟาในการทํางาน เชน
สรางแรงกดบนแผนสัมผัส
• มีหลายชนิด
– Friction Type
– Non-Contact Type
– Magnetic Particle Type

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11


Overrunning Clutches

• บางครั้งเรียกวา One Way Clutches


• สงกําลังในทิศทางการหมุนเดียว
• อาศัยหลักการของลูกเบี้ยว และแรงเสียดทาน
• บางแบบอาศัยลักษณะกลไก Ratchet

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12


Eddy Current Clutch/Brakes
• อาศัยหลักการสนามแมเหล็กไฟฟา และการเหนี่ยวนํายอนกลับที่เกิดจาก
กระแสไฟฟาจากการเคลื่อนที่สัมพัทธกันของแมเหล็กกับขดลวด
• เหมาะกับภาระขนาดปานกลาง และทํางานที่ความเร็วรอบปานกลางถึงสูง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


Pneumatic Clutch/Brake

• อาศัยแรงกดจากแรงดันอากาศในการสรางแรงเสียดทานที่กอใหเกิดการ
ขบหรือยึดติดกันของ clutch หรือ brake
• สวนใหญแลวรูปทรงของชิ้นสวนจะเปนแบบจาน (Disc)
• ตัวอยางเชนเบรคที่ใชในรถบัส

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


การวิเคราะหแบบสถิตของคลัช และเบรค
• พิจารณาอุปกรณขาค้ํา
ประตูแบบอาศัยแรงเสียด
ทานดังรูป
• โมเมนตรอบจุด A คือ

• ในทิศทางการเคลื่อนที่ที่พื้น
เลื่อนไปดานขวาสัมพันธกับ
ขาค้ําจะเปนการเพิ่มแรงกด
ตอภาระแรงเสียดทานเดิม
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15
ตัวอยางการวิเคราะหแรงของคลัช และเบรก
(แปลจากตัวอยางที่ 16-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 829-831)

ขาค้ําประตูดังดังแสดงในรูปมีขนาด a = 100m, b = 50m,


c = 40m, w1 = 25mm, w2 = 18mm เมื่อ w2 คือความลึก
ของตัวรองรับ
a) สําหรับการเคลื่อนทีไ่ ปดานซายของประตูแรงกระตุน F =
45 N สัมประสิทธิ์ความเสียดทานเทากับ 0.4 ใหการ
กระจายตัวของความดันเฉลี่ยเปน Pav จงหา Rx, Ry, Pav และ
ความดันมากที่สุด Pa
b) ทําขอ a) ซ้ําสําหรับการเคลื่อนทีไ่ ปทางขวาของประตู
c) ใหความดันตั้งฉากที่กระทํากับคลัชของตัวรองรับเหมือน
กระทํากับขดของสปริง จงหา Rx, Ry, Pav, และ Pa สําหรับ
การเคลื่อนที่ไปทางซายของประตูและคาคงทีต่ างๆ เหมือน
ขอ a)
d) ตรวจสอบวาสําหรับการเคลื่อนทีไ่ ปทางขวาของประตู ขา
ค้ําประตูสามารถหยุดไดเองหรือไม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


ตัวอยางการวิเคราะหแรงของคลัช และเบรก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 829-831)

วิธีทํา
a) สมการ c : Rx = fPavw1w2 = 0.4(25)18Pav = 180Pav
สมการ d : Ry = F-Pavw1w2 = 45 – Pav(25)(18) = 45-450Pav

สมการ e : F = [ + af ]

= [Pavc + Pav + afPav ]

= [25c+ + 25af]

= 832.5Pav

หาคา Pav Pav = = = 0.05MPa


. .
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17
ตัวอยางการวิเคราะหแรงของคลัช และเบรก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 829-831)

หาคา Rx และ Ry จาก Rx = 180(0.054) = 9.7N


Ry = 45 – 450(0.05) = 20.7N
แรงกระทําตั้งฉากของแผนรองรับคือ F-Ry = 45-22.5=24.3, ทิศขึ้น แนวทางของแรงกระทําจะผาน
แนวศูนยกลางของความดัน ซึ่งเปนจุดศูนยกลางของแผนรองรับ แรงเสียดทานเทากับ f(N) =
0.4(24.3)= 9.7N ทิศไปทางซาย พิจารณาโมเมนตรอบจุด A จาก
ƩMA = Fb – fNa – N(w1/2 + c)
= 45(50) – 0.4(24.3)100 – 24.3(25/2 + 40) = 0
ความดันสูงสุด Pa = Pav = 0.054 Mpa

b) สมการ c : Rx = -fPavw1w2 = -0.4(25)18Pav = -180Pav


สมการ d : Ry = F-Pavw1w2 = 45 – Pav(25)(18) = 45-450Pav

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


ตัวอยางการวิเคราะหแรงของคลัช และเบรก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 829-831)

สมการ e : F= [ - af ]

= [Pavc + Pav - afPav ]

= 112.5Pav

สําหรับ Pav = = = 0.4MPa


. .
ซึ่งทําให
Rx = -180(0.4) = 72N
Ry = 45 – 450(0.4) = -135N
แรงตั้งฉากของแผนรองรับเทากับ 45+135 = 180 N ทิศขึ้น แรงเสียดทานเฉือนเทากับ fN =
0.4(180)=72N ทิศไปทางขวา พิจารณาโมเมนตรอบจุด A

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


ตัวอยางการวิเคราะหแรงของคลัช และเบรก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 829-831)

MA = fNa + Fb – N(c+0.5) = 72(100) + 45(50) -180(40+12.5) =0


หมายเหตุ มีการเปลี่ยนคาความดันเฉลี่ยจาก 0.05 MPa ในขอ a) ไปเปน 0.4 MPa และใหสังเกต
ทิศทางที่เปลี่ยนไปดวย ความดันสูงสุด Pa มีคาเทากับ Pav ซึ่งเปลี่ยนจาก 0.05MPa ไปเปน 0.4MPa

c) เราจะพิจารณาการเสียรูปของแผนรองรับ ถาขาค้ําประตูหมุน ΔØ ในทิศทาง ทวนเข็นนาฬิกา


ขอบขวาและซายของแผนรองรับจะเสียรูปเปน y1 และ y2 ตามลําดับ รูป 16-26 จากสามเหลี่ยม
คลาย y1/(r1ΔØ) = c/r1 และ y2/(r2ΔØ) = (c+w1)/r1 ดังนั้น y1 = cΔØ และ y2 = (c+w1)ΔØ
หมายความวา y เปนสัดสวนโดยตรงตอระยะทางในแนวนอนจากจุดหมุน A นั้นคือ y=C1v เมื่อ C1
คือคาคงที่ ดูรูป 16-2b สมมติใหความดันเปนสัดสวนโดยตรงตอการเสียรูปดังนั้น P(v) = C2v เมื่อ
C2 คือคาคงที่ ในเทอมของ u ความดันจะมีคาเปน p(u) = C2(c+u)=C2(40+u)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


ตัวอยางการวิเคราะหแรงของคลัช และเบรก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 829-831)

สมการ e
F= [ + + af ]

= [ 40 40 + 40 + af 40 ]
= 0.36C2[1600(25) + 40(25)2 + (25)3/2 + 100(0.4)(40(25) – (25)2/2)]
= 33592.2C2

เมื่อ F= 40N, ดังนั้น C2 = 45/33592.5 = 0.00134 MPa/mm,และP(u) = 0.00134(40+u) ความดัน


เฉลี่ยเปน
Pav = = 0.00134 40 =0.00134(40+12.5) = 0.07MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


ตัวอยางการวิเคราะหแรงของคลัช และเบรก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 829-831)

ความดันสูงสุดเกิดขึ้นที่ u= 25 mm และ
Pa = 0.00134(40+25) = 0.087MPa
สมการ c และ d ของบท 16-1
Rx = 180Pav = 180(0.07) = 12.6N
Ry = 45 – 450Pav = 45 – 450(0.07) = 13.5N
ความดันเฉลี่ยเปน Pav = 0.07MPa และความดันสูงสุดเปน Pa = 0.08MPa ซึ่งคาที่ประมาณมีคาสูง
กวาความดันเฉลี่ย 24 % จากการสันนิฐานตอนตนที่วาความดันกระจายตัวรูปแบบเดียวในขอ a
(เพราะวาแผนรองรับมีขนาดเล็กหรือ เพราะงายตอการคํานวณ) ไดมองขามคาความดันสูงสุดที่
เกิดขึ้นเฉพาะจุด ดังนั้ถาคิดแผนรองรับเปนเหมือนชุดสปริง 1 มิติ จะงายตอการคํานวณแตในทาง
ปฏิบัติตัวรองรับตองพิจารณาเปน 3 มิติ ทฤษฎีของการยืดหยุน หรือ Finite Element อาจจะดูมาก
ไปซึ่งอาจทําใหมีความไมแนนอนเกิดขึ้นในการวิเคราะหปญหา แตมันก็ยังทําใหพิจารณาปญหา
ไดงายกวารูปแบบอื่น

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


ตัวอยางการวิเคราะหแรงของคลัช และเบรก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 829-831)

d) เพื่อที่จะประมาณคา เราตองอินติเกรท 2 ครั้ง


= 0.00134 40 = 27.2N
= 0.00134 40 = 1.76N
ดังนั้น = 27.2/1.76 = 15.5mm ดังนั้น จากสมการ f ของบทที่ 16-1 สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
วิกฤติเปน
.
fcr ≥ = = 0.56

ความเสียดทานของแผนรองรับของขาค้ําประตูมีคาไมมากพอที่จะทําใหตัวหนวงประตูสามารถหยุด
เองได ดังนั้นรูปราง และตําแหนงของตัวหนวงประตูหรือวัสดุของตัวรองรับตองเปลี่ยนเพือ่ ใหตัว
หนวงประตูสามารถหยุดเองได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23


คลัช และเบรกแบบ Internal Expanding Rim

• แรงกระทําในทิศตัง้ ฉากบนผาเบรกคือ

• โมเมนตพิจารณารอบจุดหมุน A คือ

• การเกิด Self Actuating หรือ Self Locking เมื่อ


แรง F มีคาเทากับศูนย โดย
MN ± M f
F=
c

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


คลัช และเบรกแบบ Internal Expanding Rim (ตอ)
• ภาระแรงบิดทีร่ บั ได

• แรงกระทําที่หมุดผาเบรกคือ

• ในกรณีที่ทิศทางการหมุนเปลี่ยนไป (ใน
ที่นี้คือหมุนทวนเข็มนาฬิกา)
เครื่องหมายการบวกลบโมเมนตจะ
เปลี่ยนไป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25


ตัวอยางการวิเคราะหเบรก Internal Expanding Rim
(แปลจากตัวอยางที่ 16-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 837-839)

รูปที่ 16-8 แสดงถึงเบรกดรัมที่มีเสนผานศูนยกลาง 400mm ซึ่งมีตัวขยายดานใน 4 ตัว ซึ่ง


แตละตัวจับยึดกันเปนคูที่จดุ A และ B ตัวขยายแตละตัวจะมีแรงกระตุน F มากระทํา หนากวางของ
ตัวขยายเทากับ 75mm วัสดุที่ใชมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานเทากับ 0.24 และรับความดันสูงสุดได
เทากับ 1000 kPa
a) จงหาแรง F ที่มากระทํา
b) ประมาณคาความสามารถของ
เบรก
c) สังเกตวาการหมุนสามารถเกิด
ทิศทางไหนก็ได จงประมาณ
คาแรงปฏิกิริยาของจุดหมุนของ
แผนเบรค

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


ตัวอยางการวิเคราะหเบรก Internal Expanding Rim (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 837-839)

วิธีทํา
a) ให Ө1 =10°, Ө2 =75°, Өa =75°, Pa = 106 Pa, f = 0.24

b=0.075m (ความกวางแผนเบรค) , a=0.150m, r=0.200m, d=0.050m, c= 0.165m, จะได


Ө Ө Ө Ө
A = [r Ө
Ө Ө–a Ө
Ө Ө Ө] = r Ө Ө -a Ө Ө

= 200 Ө °
° - 150 Ө °
° = 77.5mm
Ө Ө /
B= Ө
Ө Ө= 2Ө / = 0.528

Ө
C= Ө
Ө Ө Ө = 0.4514

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


ตัวอยางการวิเคราะหเบรก Internal Expanding Rim (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 837-839)

เปลี่ยนหนวยเปน Pascals และ Meters


. . .
Mf = A= ° (0.0775) = 289 N-m
Ө
จากสมการ 16-3
. . .
MN = B= ° (0.528) = 1230 N-m
Ө
สุดทายใชสมการ 16-4

F= = = 5.70 kN
b) ใชสมการ 16-6 สําหรับแผนเบรคหลัก
Ө Ө . . . ° °
T= = °
Ө
= 541 N-m

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ตัวอยางการวิเคราะหเบรก Internal Expanding Rim (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 837-839)

สําหรับแผนเบรครอง เราตองหา Pa กอน แทนคาได


MN = Pa และ Mf = Pa ลงในสมการ 16-7


5.70 = , จะได Pa = 619(10)3 Pa
ดังนั้น
. . . . ° °
T= ° = 335 N-m
เพราะฉะนั้นความสามารถของเบรก Ttotal = 2(541) + 2(335) = 1750N-m
c) ที่แผนเบรคหลัก
Rx = (c - fB) – Fx
Ө
. .
= ° [0.4514 – 0.24(0.528)](10)-3 – 5.70 = -0.658kN
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29
ตัวอยางการวิเคราะหเบรก Internal Expanding Rim (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 837-839)

Ry = (B + fc) – Fy
Ө
. .
= ° [0.528 + 0.24(0.4514)](10)-3 – 0 = 9.88kN
สําหรับแผนเบรครอง
Rx = (c + fB) – Fx
Ө
. . .
= ° [0.4514 + 0.24(0.528)](10)-3 – 5.70 = -0.143kN

Ry = (B - fc) – Fy
Ө
. . .
= ° [0.528 - 0.24(0.4514)](10)-3 – 0 = 4.03kN

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


ตัวอยางการวิเคราะหเบรก Internal Expanding Rim (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 837-839)

สังเกตจากรูปที่ 16-9 ซึ่ง ทิศทาง +y สําหรับแผนเบรครอง จะมีทิศทางตรงขามกับ +y สําหรับแผน


เบรคหลัก
รวมแรงในแนวแกนนอนและแนวแกนตั้งจะได
RH = -0.658-0.143 = -0.801kN
RV= 9.88-4.03 = 5.85kN
R = 0.801 5.85

= 5.90kN

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


คลัช และเบรกแบบ External Contracting Rim
• โมเมนตพิจารณารอบจุดหมุน A จะเหมือนกัน
กับแบบ Internal Expanding Rim คือ

• การเกิด Self Actuating หรือ Self Locking ก็


จะคลายกัน แตในที่นี้ทิศทางการหมุนจะตรง
ขาม
MN m M f
F=
c

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


คลัช และเบรกแบบ Friction Contact in Axial Disc
• พิจารณาสองลักษณะ
– Uniform Wear คือพิจารณาเบรกหรือคลัชที่สึกหรอไประดับหนึ่งจนทําใหอัตราการ
สึกหรอเกิดขึ้นทั่วกัน (นิยมวิเคราะห)
– Uniform Pressure คือการวิเคราะหโดยพิจารณาถึงแรงดันสูงสุดที่วัสดุรองรับได
โดยสวนใหญใชวิเคราะหสําหรับ เบรกหรือคลัชใหมที่การสึกหรอยังไมเกิดทั่วทั้ง
แผน
• ถาเปนคลัชสวนใหญจะเปนแผนจานกลมประกบกับแผนจานกลม
เหมือนกัน
• ถาเปนเบรกสวนใหญจะเปนสวนหนึ่งของวงกลม(ผาเบรก)ประกบกับจาน
กลม

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


คลัช แบบ Friction Contact in Axial Disc (จานกลม)
• กรณี Uniform Ware

• กรณี Uniform Pressure

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


การออกแบบ Disk Brakes
• แรงกด และแรงบิดโดยลักษณะของจาน และผาเบรกคือ

• สําหรับ Uniform Wear

• สําหรับ Uniform Pressure

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


ตัวอยางการออกแบบ Disk Brake
(แปลจากตัวอยางที่ 16-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 851-852)

แผนจานเบรคโคง 2 ขางมีรัศมี ri = 98mm, ro = 140mm มีมุมจาน 108 องศา มี


สัมประสิทธิ์ความเสียดทานเทากับ 0.37 และถูกกระตุนดวยแรงจากกระบอกไฮดรอลิคคูซึ่งมีเสนผาน
ศูนยกลาง 88mm และตองการเบรคแรงบิดขนาด 1470 N-m โดยคิดแบบ uniform wear
a) จงหาความดันตั้งฉากสูงสุด Pa
b) จงหาแรงกระตุน F
c) จงหารัศมีสมมูล rc และตําแหนองของแรง ̅
d) จงประมาณคาความดันของไฮดรอลิคที่ตองการ
วิธีทํา
a) จากสมการ 16-34 ซึ่งT = 1470/2 = 735N-m ในแตละตัวแผนเบรค

Pa = = = 2.15MPa
Ө Ө ° ° .

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


ตัวอยางการออกแบบ Disk Brake (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-3 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 851-852)

b) จากสมการ 16-33
F = (Ө Ө Pari( ) = (144° - 36°)(π/180)2.15(98)(140 – 98) = 16681N
c) จากสมการ 16-35

rc = = = 119mm
จากสมการ 16-36
Ө Ө ° °
̅= = ° °
Ө Ө
d) ไฮดรอลิคแตละตัวใหแรงกระตุน F = 16681N

Phydraulic = = = 14.7MPa

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


การพิจารณากําลังที่สงถายในคลัช และเบรก
• เมื่อเกิดการสงถายกําลังที่สมบูรณ (คลัชคือเพลาหมุนดวยความเร็วเทากัน สวน
เบรกคือหยุดสนิท)
• เวลาในการสงถายกําลัง (T คือ แรงบิด)

• ในกรณีที่ใสแรงบิดเทากันในการสงถายกําลังพลังงานที่สงถายไปคือ

• พลังงานทั้งหมดคือ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38


อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นจากการสงถายกําลัง
• อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของการสงถายกําลังคือ
– Cpคือสัมประสิทธความจุความรอนตัวอยางคือ 500J/kgoC สําหรับเหล็ก

• ในการออกแบบชิ้นสวนเบรคคลัชตองพิจารณาอัตราการเย็นตัว และการสงถาย
ความรอนของชิ้นสวนเพื่อไมใหอณ
ุ หภูมิสูงขึน้ จนถึงจุดที่ทําใหชิ้นสวนตางๆ
เสียหาย
– แบบจําลองการเย็นตัวโดยสมการนิวตัน

– อัตราการสงถายความรอนของนิวตัน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


ตัวอยางการวิเคราะหพลังงาน และอุณหภูมิบนเบรก
(แปลจากตัวอยางที่ 16-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 860-861)

เบรคแบบหนีบ(แรงเสียดทาน)ถูกใช 24 ครั้งตอชั่วโมงเพื่อที่จะจับยึดเพลาจากความเร็ว 250 รอบตอ


นาทีจนหยุดนิ่ง เบรกถูกระบายความรอนดวยอากาศที่มีความเร็ว 8m/s ความเฉื่อยการหมุนสมมูลซึ่ง
พิจารณาจากเพลาของเบรกมีคาเทากับ 32 kg-m-s จานเบรคทําจากเหล็กกลาที่มีความหนาแนน ϒ =
7800kg/m3 ความจุความรอนจําเพาะ 0.45kJ/(kg-°C) มีเสนผานศูนยกลาง 150mm มีความหนา 6mm
ผาเบรคเปน dry sintered metal พื้นที่ดานขางของพืน้ ผิวเบรกเทากับ 0.032m2จงหา Tmax และ Tmin
สําหรับการดําเนินการแบบ steady – state
t1 = 602/24 = 150s
สมมติใหอุณหภูมิเริ่มตนของ Tmax - T∞ = 100 °C จากรูป 16-24a
hr = 8.8w/(m2-°C)
hc = 5.9w/(m2-°C)
รูป 16-24b hCR = hr + fc hc = 8.8 + 4.8(5.9) = 37.1 w/(m2-°C)
มวลของจานเบรคเปน W=
ϒ
=
. . .
= 0.83k g
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40
ตัวอยางการวิเคราะหพลังงาน และอุณหภูมิบนเบรก (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 860-861)

สมการ 16-58 E= = 250 2 = 11kJ


. .
β= = = 3.179(10-3)s-1
. .

สมการ 16-59 ΔT = = = 29.5 °C


. .
.
สมการ 16-60 Tmax = 21 + = 98.8 °C
.
Tmin = 98.8 – 29.5 = 69.3 °C
อุณหภูมิเริ่มตนของจุดนี้เปน Tmax - T∞ = 77.8 °C ดําเนินการซ้ําซึ่งปรับปรุงคาของ hr และ hc จาก
รูป 16-24a เราสามารถหาการลูเขาของคําตอบได Tmax = 104 °C และ Tmin= 77 °C
ตาราง 16-3 สําหรับ dry sintered metal ใหคาอุณหภูมิสูงสุดเปน 300 – 350 °C
ดังนั้น มันไมเปนอันตรายจากความรอนที่สูงเกิน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


วัสดุที่ใชกับเบรก คลัช แบบแรงเสียดทาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


Couplings
• ชนิดทั่วๆไปของคลัปปลิง
– Extension Couplings
– Plain Flank Couplings
– Jaw Couplings (/with insert)
– Chain Couplings
– Disc Couplings
– Gear Couplings
– Universal Joints (Hooke’s Coupling)
– Elastometric Couplings

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


Extension Couplings
• สรางไดงาย
• ราคาถูก
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยไมได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 44


Plain Flank Couplings

• สรางไดงาย
• ราคาถูก
• สงกําลังไดมาก
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยไมได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 45


Jaw Couplings

• ราคาถูก
• ปองกันการกระแทกได
เล็กนอย
• ความทนทานปานกลาง
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยได
เล็กนอย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 46


Chain Coupling
• ปองกันการกระแทกได
เล็กนอย
• ความทนทานสูง
• รับภาระไดมาก
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยได
เล็กนอย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 47


(Flexible) Disk Couplings
• ปองกันการกระแทกไดเล็กนอย
• รับภาระไดมาก
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยได
เล็กนอย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 48


Gear (tooth) Coupling
• ปองกันการกระแทกไดเล็กนอย
• รับภาระไดมาก
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยได
เล็กนอย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 49


Universal Joints
• ความทนทานสูง
• รับภาระไดมาก
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยไดมาก
• ความเร็วไมสม่ําเสมอ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 50


Elastometric Couplings
• ปองกันการกระแทกไดดี
• ความทนทานต่ํา
• รับภาระไดนอย
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยไดปาน
กลางถึง มาก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 51


Coupling ที่มีความแมนยําสูง

นิยมใชกับอุปกรณที่ตองการสงกําลังอยางแมนยําเชนใน
ระบบเครื่องจักร CNC เครื่องมือวัดสวนใหญสงกําลังที่แรงบิด
ไมสูงมากนัก ไดแก
– Helical Couplings
– Metal Bellows Couplings
– Schmidt Offset /In Line Couplings
– Other Couplings

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 52


Helical Couplings
• รับภาระไดนอย
• ความทนทานปานกลาง
• ความเที่ยงตรงสูง
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยไดปานกลาง
• ราคาแพง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 53


Metal Bellow Couplings
• รับภาระไดนอย
• ความทนทานปานกลาง
• ความเที่ยงตรงสูง
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยไดมาก
• ราคาแพง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 54


Schmidt Offset Coupling
• รับภาระไดปานกลางถึงมาก
• ความทนทานสูง
• ความเที่ยงตรงสูง
• สงกําลังแบบเยื้องศูนยไดมาก
• ราคาแพง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 55


วีดีโอแสดงการทํางานของ Schmidt Offset Coupling

หมายเหตุ ภาพวีดีโอ แสดงใหดูในหองเรียน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 56


ลอชวยแรง (Flywheels)
• สมการพื้นฐานของลอชวยแรงคือ

• เพื่อความสะดวกกําหนดสัมประสิทธการ
เปลี่ยนแปลงความเร็ว

พลังงานที่ให
• จะไดการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลนคือ U i = Ti (θ 2 − θ1 )

พลังงานที่ใช
• คาโมเมนตความเฉื่อยของการหมุน U o = To (θ 4 − θ 3 )
I = ∫ r dm ของจานกลม
2 I=
2
(
m 2 2
ro + ri )

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 57


ตัวอยางการวิเคราะหลอชวยแรง
(แปลจากตัวอยางที่ 16-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 868-869)
จากตาราง 16-6 ใหคาของทอรคเพื่อเขียนกราฟรูป 16-28 ความเร็วเฉลี่ยของเครื่องยนตเปน 250rad/s
a) อินติเกรตฟงกชันของแรงบิดและการเคลื่อนที่สําหรับ 1 รอบของวัฎ
จักรและหาพลังงานที่สามารถสงถายออกมาไดสําหรับ 1 รอบวัฎจักร
b) จงพิจารณาคาแรงบิดเฉลี่ย Tm ดูรูป 16-28
c) ชวงการสั่นขึ้นลงทีส่ าํ คัญของพลังงานอยูในชวง Ө = 15° และ Ө =
150°ในรูปแผนภาพแรงบิด ดูรูป 16-28 และซึ่ง T0 = -Tm ใชสัมประสิทธิ์
ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงขึน้ ลงเปน Cs = 0.1 จงหาคาที่เหมาะสมสําหรับ
มวลของลอชวยแรง
d) จงหา 2 และ 1

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 58


ตัวอยางการวิเคราะหลอชวยแรง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 868-869)

วิธีทํา
a) ใช n =48 ชวงของ ΔӨ = 4π/48 การอินติเกรตเชิงตัวเลขของขอมูลในตาราง 16-6
ซึ่งมีคา E = 388J นี้คือคาพลังงานที่สามารถสงถายไปยังภาระได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 59


ตัวอยางการวิเคราะหลอชวยแรง (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 16-6 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 868-869)

b) Tm = = 30.9 N-m
c) คาบวกของรอบที่มากที่สุดในแผนภาพ แรงบิด- การเคลื่อนที่ เกิดขึ้นระหวาง Ө = 0° และ Ө =
180° เราเลือกรอบที่มีคาการเปลี่ยนแปลงความเร็วที่มากที่สุด ทําการลบ 30.9N-m
จากคาในตาราง 16-6 สําหรับรอบที่จะได -30.9, 285.1, 205.1, 244.1, 213.1, 177.1, 149.1, 106.1,
89.1, 60.1, 29.1, -9.9 และ -30.9N-m (ในหนังสือพิมพผิด) อินติเกรตเชิงตัวเลข T – Tm เทียบกับคา
Ө จะได E2 – E1 = 408 J เราสามารถแกสมการ 16-64 สําหรับคา I

I= =
.
= 0.065kg-s2m
d) สมการ 16-62 และ 16-63 สามารถหาไดพรอมกันสําหรับ 2 และ 1 แทนคาที่เหมาะสมลงใน
ทั้ง 2 สมการจะได
2= 2 = 262.5rad/s
)= 2 0.1

1=2 - 2 = 2(250) – 262.5 = 237.5rad/s


ความเร็วทั้ง 2 นี้ เกิดขึ้นที่ Ө = 0° และ Ө = 180° ตามลําดับ
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 60
แบบฝกหัด
1.จากภาพขางลางเปนเบรคแบบ internal rim มีรัศมี R เทากับ 100 มม. และขนาด
เสนผาศูนยกลางของวงเบรคเทากับ 250 มม.โดยหนากวางของผาเบรคเทากับ
30 มม. มีสัมประสิทธความเสียดทาน 0.3 ถาสมมุติวาตองการใชเบรคดังกลาว
หยุดการทํางานของมอเตอรขนาด 3 แรงมาหมุนทีค่ วามเร็วรอบ 1450 rpm จงหา

– แรง F ที่ใชในการกดผาเบรคดังแสดง
ในรูป
– แรงดันสูงสุดที่คณ ุ สมบัตผิ าเบรคตอง
รองรับได
– แรงที่เกิดขึน้ ที่หมุดผาเบรค

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 61


แบบฝกหัด
2.จากภาพขางลางเปนเบรคแบบ disc brake ใหออกแบบเบรคที่สามารถหยุด
แรงบิดขนาด 120 N-m โดยใหมรี ศั มี ro มีขนาดเปน 3 เทาของ ri และมีขนาดมุม
θ2 - θ1 เทากับ 70 องศา โดยขนาดจานเบรคมีเสนผาศูนยกลางไมเกิน 200 มม.
ใหคํานวณหาแรง F ที่ใชในการกดผาเบรคและตําเหนงที่แรง F กระทํา พรอมทั้ง
เลือกวัสดุที่ใชในการทําผาเบรคดวย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 62


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 63


การออกแบบเครือ่ งจักรกล
( Machine Design )

บทที่ 12 อุปกรณสงกําลังแบบออน
(Flexible Mechanical Transmission Components)
เอกพจน ตันตราภิวัฒน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1


อุปกรณสงกําลังกลแบบออน (ใหตัวได)
Flexible Mechanical Elements
เปนอุปกรณสําหรับเชื่อมตอ และสงถายกําลังโดยตัวอุปกรณสามารถใหตวั หรือ
ปรับโคงงอได
โดยทั่วไปที่นิยมใชประกอบดวย
•Belts
•Roller Chains
•Wire Ropes
•Flexible Shafts

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2


สายพาน (Belts)
มีหลากหลายชนิดซึ่งมีคุณลักษณะและการใชงานที่แตกตางกัน บางแบบตอง
ใชการเชื่อมตอเปนวง บางชนิดจะเปนขนาดสําเร็จจากโรงงานผูผลิต ไม
สามารถเลือกความยาวได ชนิดของสายพานที่นิยมใชทั่วไปไดแก

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3


รูปทรง และหนาตัดสายพาน
• ในแตละชนิดของสายพานยังมีชนิดแยกยอยขึ้นอยูกับคุณสมบัตพิ ิเศษที่
ตองการเชน เพิ่มพื้นที่สัมผัส เพิ่มความออนตัวของสายพาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4


รูปแบบทั่วไปในการสงกําลังดวยสายพาน
• Open Drive • Friction Enhance
• Cross Drive • Twist

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5


การสงกําลังแบบอื่นๆ
นอกจากจะสงถายกําลังโดยทั่วไปแลวยังมีการใชสายพานในลักษณะ
พิเศษที่เกี่ยวของกับการสงถายกําลังคือ
– ตัดตอการสงถายกําลังคลายกับการใชคลัช
– ปรับเปลี่ยนอัตราทดแบบตอเนื่อง และแบบเปนขั้นบันได

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 6


การวิเคราะหสายพานขับแบบ Open Drive

รูปแบบงายที่สุด และนิยมใชในการสงกําลังดวยสายพาน คือแบบ open


drive ดังแสดงในรูป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7


การวิเคราะหสายพานขับแบบ Cross Drive

สําหรับการสงกําลังดวยสายพาน โดยใหมีทิศทางการหมุนของพูลเลสวน
ทางกันอาจทําไดโดยใช Cross Drive ดังแสดงในรูป

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 8


การวิเคราะหแรงบนสายพาน
• สมมุติวาแรงเสียดทานระหวางสายพาน และพูลเลแปร
ผันโดยตรงกับแรงดันหรือแรงตึงของสายพานจะได

• โดยที่แรง
• จะไดแรงตึงดานขับ และดานสง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 9


การวิเคราะหแรงบนสายพาน (ตอ)
• แรงตึงเริม่ ตนบนสายพานกําหนดโดย

• แรงตึงเริม่ ตนจะตองมากเพียงพอให
สามารถสงผานกําลังเทากับ 2*T/D ได
• ในกรณีที่เปนสายพานขนาดใหญ
น้ําหนักของสายพานสามารถคิดเปน
แรงตึงเริม่ ตนไดโดย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 10


การวิเคราะหการสงกําลังของสายพานแบน
• กําลังงานที่สายพานแบนสงไดคือ
P = ( F1 − F2 )V

• ทั้งนี้คาความตึงบนสายพานที่ควรใช
จะตองมีการปรับเปลี่ยนตามขนาดของพูล
เลย และความเร็วที่ใชโดย Cp และ Cv
กราฟหาคา speed correction factor Cv

ตารางหาคา pulley correction factor Cp


การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 11
ตัวอยางการวิเคราะหสายพานแบบ open drive
(แปลจากตัวอยางที่ 17-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 890-891)
สายพานแบนทําดวย Polyamide A-3 กวาง 150 mm ถูกใชเพื่อสงกําลัง 11 kW ภายใตเงื่อนไขทีม่ ีการ
สั่นสะเทือนแบบไมรุนแรง ที่ 1.25 และ safety factor ≥ 1.1 พูลเลยม
 แี กนการหมุนขนานกันและอยู
ในแนวราบ เพลาสองตัวหางกัน 2.4 m โดยพูลเลยทเี่ ปนตัวขับมีเสนผานศูนยกลาง 150 mm หมุนดวย
ความเร็ว 1750 rev/min พูลเลยทถี่ กู ขับมีเสนผานศูนยกลาง 450 mm ดูรูป 17-10

(a) จงหาคาแรงดึงสูศ นู ยกลาง และแรงบิด


(b) จงหาคาแรงทีย่ อมใหมไี ด , , และกําลังทีย่ อมใหสง ผานสายพานนีไ้ ด
(c) จงหาคา safety factor และคาทีไ่ ดอยูใ นชวงทีย่ อมรับไดหรือไม
วิธีทํา
(a) สมการ 17-1 2 3.0165 rad

exp exp 0.8 3.0165 11.17


0.15 1750⁄60 13.7 m/s
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 12
ตัวอยางการวิเคราะหสายพานแบบ open drive (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 890-891)

ตาราง 17-2 11000 0.15 0.0033 5.4 N⁄m


.
สมการ (e)
.
13.7 103 N

. .
/
82 N. m

(b) เปนแรงที่ตองใชเพื่อการสงผานแรงบิด จากสมการ (h) จะได

1093 N
.

จากตาราง 17-2 18 kN/m สําหรับสายพาน polyamide 1 และจากตาราง 17-4


0.70 จากสมการ (17-12) แรงดึงของสายพานมากที่สุดที่สามารถรับได คือ

0.15 18000 0.70 1 1890 N

ดังนั้น 1890 1093 797 N

และจากสมการ (i) จะได 103 1240 N

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 13


ตัวอยางการวิเคราะหสายพานแบบ open drive (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-1 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 890-891)

การรวมแรง , , และ จะทําใหกําลังที่ไดจากการออกแบบมีคาเปน


11(1.25)(1.1)=15.125 kW และลดความเสียหายที่เกิดกับสายพาน สามารถตรวจสอบจากการ
สรางแรงเสียดทานในสมการ (17-7) สําหรับ :
1 1 1890 103
ln ln 0.314
3.0165 797 103

จากตาราง 17-2 0.8 เนื่องจาก นั่นคือ 0.314 0.80 ซึ่งไมทําใหเกิดการลื่นไถล

(c)
15.25
1.1
11 1.25

สายพานอยูในชวงที่ยอมรับไดซึ่งทําใหคาแรงดึงที่เกิดกับสายพานมีคามากที่สุด ถาสายพาน
สามารถรักษาแรงดึงเริ่มตนนี้ไวไดก็จะสามารถรองรับการสงกําลังที่เกิดจากการออกแบบไดที่
15.125 kW

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 14


ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน
(แปลจากตัวอยางที่ 17-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 893-894)

จงออกแบบสายพานแบนเพื่อสงกําลัง โดยเพลาวางอยูในแนวระนาบมีจุดศูนยกลางเพลาหางกัน
4.8 m อัตราสวนความเร็วคือ 2.25 : 1 ความเร็วเชิงมุมของพูลเลยตัวเล็กที่เปนตัวขับคือ 860
rev/min และมีอัตราสงกําลังที่ 44760 W โดยเกิดการสั่นสะเทือนนอยมาก
กําหนด 44760 , 860 / min , 2.25 ∶ 1 , 1.15 , 4.8
เลือกตัวแปรออกแบบเบื้องตน
- Design factor 1.05
- สภาพความตึงเริ่มตน : catenary
- วัสดุที่ใชทําสายพาน : polyamide
- Drive geometry , ,
- ความหนาของสายพาน :
- ความกวางของสายพาน :
วิธีทํา
สมมติ 400 , 2.25 900 ใชวัดสุ Polyamide A-3 : มี 3.3 และ
1 สิ่งที่ตองหาคือ ความกวางของสายพาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 15


ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 893-894)
ตาราง 17-2
11.4 kN⁄m 0.8 18 ⁄ ที่ 600 /
ตาราง 17-4 0.94

จากสมการ (17-12) 18000 0.94 1 16920 (1)


44760 1.15 1.05 54047

/
600 N. m

หาคาของ exp
จากสมการ (17-1) 2 3.037 rad

exp ∅ exp 0.80 3.037 11.35

หาแรงที่กระทําสูศูนยกลาง ในเทอมของความกวางของสายพาน
11400 0.0033 37.6 N/m
0.4 860⁄60 18 m/s

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 16


ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 893-894)

.
จากสมการ (e) .
1241.8 N (2)

สําหรับเงื่อนไขในการออกแบบนั่นคือที่ระดับกําลัง จะใชสมการ (h) จะได


2 ⁄
.
3000 N (3)
16920 3000 N (4)

จากสมการ (i) จะได


16920 16920 3000
1241.8 15678.2 1500 N
2 2

จากสมการ (17-7)
16920 1241.8 15678.2
16920 3000 1241.8 15678.2 3000

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 17


ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 893-894)

แกสมการเพื่อหาคาความกวางสายพาน
3000 exp 3000 11.38
0.210 210
15678.2 exp 1 15678.2 11.38 1

ถาสายพานมีคาความกวางมากกวา 210 mm จะมีคาความเสียดทานนอยกวา 0.80


จากขอมูลของการผลิตสามารถบอกไดวาความกวางของสายพานที่ใหญกวาขนาดถัดไปที่
สามารถใชไดคือ 250 mm
ใช ความกวางสายพาน 250 mm แทนลงใน (1),(3),(4),(5)
สมการ (2) 1241.8 0.25 310 N

สมการ (1) 16920 0.25 4230 N

สมการ (4) 4230 3000 1230 N

สมการ (5) 15678.2 0.25 1500 2420 N

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 18


ตัวอยางการออกแบบสายพานแบน (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-2 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 893-894)

กําลังที่สงออกไปหาจากสมการ (3)
3000 18 54000

และหาแรงเสียดทานที่เกิดขึ้น จากสมการ (17-7)


1 1 4230 310
ln ln 0.477
3.037 1230 310

พบวาคาที่ไดนอยกวา 0.80 จึงยอมรับได ซึ่งถาใชความกวางของสายพานเปน 225 mm ก็จะ


ไดคา 3807 , 811 , 2260 และ 0.63 โดยถาหาก
ตองการวิเคราะหลึกลงไปถึงความคุมคาดานราคาอาจจะตองพิจารณาสายพานที่ความหนาอื่นๆ
(A-4 หรือ A-5) เพื่อใหเปนการเลือกใชที่ดีที่สุด
จากสมการ(17-13) คาระยะตกทองชางคือ
4.8 37.6 0.25
0.011 11
8 8 2420

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 19


สายพานรูปตัววี V-Belts

• เปนสายพานสําเร็จ (ไมตองตอ)ซึ่งมีหนาตัดรูปตัววี ทําใหเพิ่มแรงกดโดยอาศัย


หลักการของลิ่ม มีหนาตัดที่นิยมแบงตามขนาด ไดแกชนิด A, B, C, D และ E
• นิยมใชในเครือ่ งจักรกลทั่วไปที่มีการสงกําลังไมสูงมากนัก แตสามารถเพิ่ม
จํานวนเสนเพื่อเพิ่มความสามารถในการสงกําลัง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 20


ตัวอยางขนาด และหนาตัดของ V-Belt

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 21


การวิเคราะห และเลือกใชสายพานรูปตัววี
• ขนาดความยาวพิท และระยะระหวาง pulley หาไดจาก

• ในการเลือกสายพานใหเลือกความยาวพิท Lp= L+Lc โดย Lc เปนคาที่บวกเขาไป


กับความยาวเสนรอบวงในของสายพานหาไดจากตาราง
• การเลือกสายพาน
– หาคา V, Lp, C, φ, และ exp(0.5123φ)
– หาคา Hd , Ha , และ Nb จาก Hd /Ha แลวปดคาขึ้น
– หาคา Fc, F, F1, F2, และ Fi , แลวตรวจสอบ nf s
– หาอายุของสายพาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 22


การวิเคราะหแรงตึงบนสายพานตัววี
แรงจากแรงหนีศนู ย

แรงดานตึง

T1 = F1 + (Fb )1 = F1 +
Kb
d
T2 = F1 + (Fb )2
K
= F1 + b
D

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 23


การวิเคราะหการสงกําลังของสายพานตัววี

• คากําลังงานที่อนุญาต
– Ha = allowable power, per belt, จากตาราง 17–12
– K1 = angle-of-wrap correction factor, จากตาราง 17–13
– K2 = belt length correction factor, จากตาราง 17–14
• คากําลังงานที่ออกแบบ

• หาอายุการใชงานเปนรอบ

• อายุการใชงานเปนชั่วโมง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 24


ตัวอยางตารางคุณสมบัติสายพานตัววี

คา Angle Contact


คา power rating Correction Factor K1
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 25
ตัวอยางตารางคุณสมบัติสายพานตัววี

คาตัวแปรความทนทาน คา Belt Length Correction Factor K2

คา Service
Factor Ks

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 26


ตัวอยางการวิเคราะหสายพานตัววี
(แปลจากตัวอยางที่ 17-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 905-906)

มอเตอรไฟฟามีกําลัง 7.46 kW มีความเร็ว 1750 rev/min ใชขับ rotary pump ซึ่งทํางาน 24 ชั่วโมง
ตอวัน วิศวกรไดใชพูลเลยสายพานตัววีขนาดเล็ก 188 mm , พูลเลยสายพานตัววีขนาดใหญ 280
mm และสายพาน B2800 สามเสน คา service factor เพิ่มขึ้นจากปกติ 1.2 อีก 0.1 เพราะตองการ
ใหมีความตอเนือ่ งในการทํางาน จงวิเคราะหการขับเคลื่อนและหาอายุการใชงานของสายพาน ใน
หนวยรอบของการเคลื่อนที่และชั่วโมง
วิธีทํา
ความเร็วรอบนอกของสายพาน คือ 0.188 1750⁄60 17 m⁄s
ตาราง 17-11 2800 45 2845 mm
สมการ (17-16b)
0.25 2845 280 188 2845 280 188 2 280 188
2 2
1054
สมการ(17-1) 2 sin 280 188 ⁄ 2 1054 3.054 rad

0.5123 3.054 4.781

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 27


ตัวอยางการวิเคราะหสายพานตัววี (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 905-906)

การประมาณคาในตาราง 17-12 สําหรับ 17 m/s กําหนด 3.5 kW มีมุมคลองใน


หนวยองศาเปน 3.054 180 ⁄ 175° จากตาราง 17-13 0.99 จากตาราง 17-14
1.05 ดังนั้น จากสมการ (17-17) 0.99 1.05 3.5 3.64 kW

สมการ (17-19) 7.46 1.2 0.1 1 9.7 kW

สมการ (17-20) ⁄ 9.7⁄3.64 2.67 → 3

จากตาราง 17-16 0.965

สมการ (17-21) 0.965 17⁄2.4 48.4 N

สมการ (17-22) ∆


.
188 N

สมการ (17-23) 48.4


.
.
286 N

สมการ (17-24) ∆ 286 188 98 N

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 28


ตัวอยางการวิเคราะหสายพานตัววี (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-4 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 905-906)

สมการ (17-25) 48.4 143 N

.
สมการ (17-26) . .
1.13

หาอายุการใชงาน จากตาราง 17-16 576 , ได


.
346 N
65⁄0.28 232 N
386 346 632 N
286 232 518 N

จากตาราง 17-17 5309 และ 10.926

. .
สมการ (17-27) 11 10
รอบ

เนื่องจาก อยูนอกชวงที่ validity ของสมการ(17-27) นั่นคืออายุการใชงาน 10 รอบ


.
สมการ (17.28) 46500 ชั่วโมง
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29
สายพาน Timing Belt

• เปนสายพานสําเร็จคลายกับสายพานรูปตัววี
• มีฟน สําหรับปองกันการเลื่อนหรือสลิป
• ตัวพูลเลยตองมีฟนรองรับสายพานพอดี

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 30


โซสงกําลัง (Roller Chain)

• สามารถใชงานที่ความยาวได
หลากหลาย
• มีความแข็งแรงสูง
• ประสิทธิภาพการสงกําลังดีพอควร
• ใชในงานที่เกี่ยวของกับอุณหภูมิสูงได
(สายพานใชไมได)
• ทํางานที่ความเร็วต่ําถึงปานกลาง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 31


โซ และเฟองโซ (Sprocket)
• เสนผาศูนยกลางพิทคือ
• ความเร็วของโซ(เฉลี่ยทั้งเสน)คือ
• เนือ่ งจากลักษณะการขบกันของเฟองโซเมื่อหมุน
ดวยความเร็วรอบคงที่จะทําใหความเร็วของโซที่
เขาออกแตละขอเปลี่ยนไปโดยมีความเร็วสูงสุด
และต่ําสุดคือ

• ความเร็วที่เปลี่ยนไปขึ้นอยูกับจํานวนฟนของเฟอง
โซ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 32


การออกแบบ และเลือกใชโซ

• อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของโซหาไดจาก

• คากําลังงานที่สงไดพิจารณาจากสองกรณีคือจํากัดจากตัว Link Plate


และตัว Roller
H1 = 0.004 N11.08 n10.9 p (3−0.07 p ) Link Plate Limit

1000 K r N11.5 p 0.8


H2 = Roller Limit
n11.5

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 33


การออกแบบ และเลือกใชโซ (ตอ)
• คาประมาณความยาวโซ (เปนจํานวนเทาของระยะ pitch) สามารถหาไดจาก
L 2C N1 + N 2 ( N 2 − N1 ) 2
= + +
p p 2 4π 2C / p
• ระยะระหวางเฟองโซสองตัวคือ

p⎡ ⎛ N − N1 ⎞ ⎤
2

C = ⎢− A + A2 − 8⎜ 2 ⎟ ⎥
4⎢ ⎝ 2π ⎠ ⎥
⎣ ⎦
N + N1 L
A= 2 −
2 p
• การใชงานโซจะจํากัดความเร็วเนื่องจากการควบกันของแกนโซและลูกกลิ้งโดย
– แรง F ในที่นี้คือแรงตึงของโซมีหนวยเปนปอรน (หนวยอังกฤษ)

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 34


การคํานวณการสงกําลังของโซ
• การประมาณความสามารถในการสงกําลังของโซหาไดจาก

• ความสามารถในการสงกําลังในการออกแบบ

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 35


ตัวอยางตารางมาตรฐานโซ AISI

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 36


ตัวอยางการวิเคราะหการเลือกใชเฟองโซ
(แปลจากตัวอยางที่ 17-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 914-915)

จงเลือกสวนประกอบของตัวขับเคลื่อน ที่มีการทดเปนอัตราสวน 2:1 โดยใชกําลัง 67 kW ที่ความเร็ว


ขาเขา 300 rev/min เกิดการสั่นปานกลาง มีการทํางานที่ยาวนานกวาปกติคือ 18 ชั่วโมงตอวัน การ
หลอลื่นไมดี และอยูภายใตอุณหภูมิต่ําและสิ่งแวดลอมที่สกปรก มีระยะขับ ⁄ 25

กําหนดให 67 kW, 300 rev⁄min , ⁄ 25 , 1.3


Design factor : 1.5
จํานวนฟนเฟอง 17 ซี่ , 34 ซี่ , 1 , 1,1.7,2.5,3.3
. . .
Chain number of strands :

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 37


ตัวอยางการวิเคราะหการเลือกใชเฟองโซ (ตอ)
(แปลจากตัวอยางที่ 17-5 Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. & J.Keith 9th Edition, หนา 914-915)

จากตาราง เลือกจํานวนเสนโซคือ 3 และใชเบอร 140 คือ 54 kW


จํานวนพิทย ของโซ /

2 25 75.79 pitches

ใช 76 พิทย ดังนั้น ⁄ 76 หาระยะจากศูนยกลางถึงศูนยกลาง จากสมการ (17-35) และ (17-36)


17 34
76 50.5
2 2

34 17
8 50.5 50.5 8 25.104
4 2 4 2

สําหรับเบอร 140 ระย p = 44.45 mm จะได 25.104 25.104 44.45 1115.9 mm

ประเภทสารหลอลืน่ : ประเภท B
ขอสังเกต : นี่เปนการทํางานทีย่ งั ไมใชสงู สุด โดยขอมูลอายุการใชงานที่เกิน 15000 ชั่วโมงยังไมมีให
เปรียบเทียบ นั่นคือภายใตเงื่อนไขการทํางานทีเ่ ลวรายตามทีก่ าํ หนดอายุการใชงานก็จะสัน้ ลงกวานี้
การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 38
ลวดสลิง (Wire Rope)
• เปนชิ้นสวนที่ใชแพรหลาย ซึ่งการวิเคราะหสามารถทําไดโดยใช
พื้นฐาน Mechanics ได
• ภาระเสมือนที่คํานวณจากการพิจารณาการดัดโคงของลวดสลิงบน
รอกคือ

– สังเกตวา Er คือคา Young’s Modulus ของสลิงทั้งเสนไมใชเฉพาะลวดฝอย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 39


ตัวอยางตารางคุณสมบัติลวดสลิง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 40


ความแข็งแรง ในการออกแบบลวดสลิง
• เมื่อมีการดัดผานสวนโคงที่เล็กจนเกินไปจะทําใหลวดสูญเสียความแข็งแรง
ซึ่งเกิดจากผลของ Bending Stress
• ในการออกแบบจริงลวดสลิงอาจนํามาใชกับภาระที่เปลี่ยนแปลงเชนใน
เครน ดังนั้นควรตองคํานึงถึงภาระที่กอใหเกิดความลาดวย

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41


คาความปลอดภัยในการออกแบบลวดสลิง
• คาความปลอดภัยในการใชลวดสลิงในงานตางๆมักมีคา สูงเพราะมักจะ
เกี่ยวของกับงานที่มีการใชภาระสูง และมีการเปลี่ยนแปลงที่คาดเดาไดยาก
บอยครั้ง
• ลวดสลิงจําเปนตองมีการตรวจสอบเปนระยะตามอายุการใชงาน

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 42


อุปกรณสงกําลังแบบออนชนิดอื่นๆ
• Flexible Shafts
– สงกําลังไดไมมาก
– ตัวอยางการใชงานเชนใน สายไมลรถจักรยานยนต, อุปกรณทันตแพทย
Dremel Tools
• Throttle Cables
– ปกติตองมีการ preload (tension) กอน
– ตัวอยางการใชงานเชนในสายเบรค สายคันเรง

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 43


แบบฝกหัด
1.จากภาพขางลางเปนเครื่องกวนผสมอาหารสัตว ทํางานดวยมอเตอรไฟฟาหมุนที่ความเร็ว
1450 rpm ขับเคลื่อนพูลเลย A มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 150 mm สงกําลังไปยังพูลเลย B มี
ขนาดเสนผาศูนยกลาง 300 mm ติ้ดตั้งหางกันระยะระหวางจุดศูนยกลางเทากับ 600 mm ใน
ระหวางที่เครื่องทํางานพบวาแรงตึงดานตึงของสายพานเทากับ 950N ในขณะที่แรงตึงดาน
หยอนมีขนาด 180N จงหาแรงบิด และกําลังของมอเตอร พรอมทั้งหาขนาดสัมประสิทธความ
เสียดทานของสายพานที่จะไมกอใหเกิดการ slip

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 44


แบบฝกหัด
2. ในการสงกําลังดวยโซแบบ single ขนาด ANSI No.40 ระหวางเฟองโซตัวขับเคลื่อนที่มีจํานวน
ฟนเทากับ 15 ฟน หมุนดวยความเร็ว 775 rpm สงกําลังไปยังเฟองโซตัวตามมีจํานวนฟน
เทากับ 58 ฟนจงคํานวนหา

– ระยะติ้ดตั้งระหวางเฟองโซทั้งสองตัวถากําหนดใหใชทงั้ วงจํานวนขอทัง้ หมด 80


ขอ

– แรงบิดสูงสุดที่ยอมใหมีไดที่เฟองตัวสง และกําลังงานที่สงได

– ประมาณคาแรงตังบนโซที่เกิดขึ้นถาใชงานที่ 50 % ของกําลังงานสูงสุด

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 45


หนังสืออางอิง
• Shigley’s Mechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith
Nisbett, Mc Graw Hill 9th Edition
• Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition
• Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice
Hall
• Mechanical Design, An Integrated Approach, Ansel C UGURAL, McGraw Hill
• Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wiley

การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design), อ.เอกพจน ตันตราภิวัฒน, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 46

You might also like