2องค์ประกอบของการเชื่อมไฟฟ้า

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 10

วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 22

่ องค ์ประกอบของการเชือมไฟฟ
เรือง ่ ้า

1. เนื อหาสาระ
1.1 ลวดเชือม่
่ กต ้อง
1.2 การใช ้ระยะอาร ์กทีถู

1.3 การตังกระแสไฟที ่ กต ้อง
ถู
1.4 การใช ้ความเร็วในการเดินลวดเชือมที ่ ่ กต ้อง
ถู
้ มของลวดเชือมที
1.5 การตังมุ ่ ่ กต ้อง
ถู

2. จุดประสงค ์การเรียนรู ้
2.1 จุดประสงค ์ทัวไป ่
2.1.1

เพือให ่
้เข ้าใจลวดเชือมและสามารถเลื อกลวดเชือมให่ ้เหมาะสมกับงาน

2.2.2 เพือให ่ กต ้อง
เ้ ข ้าใจการใช ้ระยะอาร ์คทีถู
2.2.3 เพือให ่ ้
เ้ ข ้าใจการตังกระแสไฟที ่ กต ้อง
ถู
2.2.4 เพือให ่ เ้ ข ้าใจการใช ้ความเร็วในการเดินลวดเชือมที ่ ่ กต ้อง
ถู
2.2.5 เพือให ่ ้ มของลวดเชือมที
เ้ ข ้าใจการตังมุ ่ ่ กต ้อง
ถู
2.2 จุดประสงค ์เชิงพฤติกรรม
2.2.1
อธิบายความหมายของลวดเชือมและอธิ ่ บายการเลือกลวดเชือมให ่ ้เหมาะ
สมกับงานได ้
2.2.2 อธิบายการใช ้ระยะอาร ์คทีถู ่ กต ้องได ้
2.2.3 อธิบายการตังกระแสไฟที ้ ่ กต ้องได ้
ถู
2.2.4 อธิบายการใช ้ความเร็วในการเดินลวดเชือมที ่ ่ กต ้องได ้
ถู
2.2.5 ปฏิบต ่
ั งิ านเดินรอยเชือมยาวส่ ายและไม่ส่ายลวดเชือมได ่ ้

3. วิธก ี ารสอน / กิจกรรม


3 . 1
ให ้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเรืององค่ ่
์ประกอบของการเชือมไฟฟ้ า

3.2 ผูส้ อนอธิบายเนื อหาเกี ่
ยวกั ่
บองค ์ประกอบของการเชือมไฟฟ้ า
3 . 3

ให ้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเรืององค ่
์ประกอบของการเชือมไฟฟ้ า
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 23

4. การว ัดและการประเมินผล
4.1 ใช ้คะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียน


5. เนื อหาสาระ
การปฏิบต ั งิ านเชือมไฟฟ้ ่ าผูป้ ฏิบต ั งิ านจะต ้องรู ้ถึงเทคนิ ควิธใี นการฝึ กเ
ชื่ อ ม ขั้ น แ ร ก ก่ อ น ซึ่ ง จ ะ มี อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ส า คั ญ อ ยู่ 5
อย่างตังแต่ ้ การเลือกใช ้ลวดเชือมระยะอาร ่ ์คกระแสไฟความเร็วของการเดินล

วดเชือมและการตั ้ มของลวดเชือมรวมทั
งมุ ่ ้
งเทคนิ คในการอาร ์คเริมต ่ ้นการต่อ

รอยเชือมการส่ ายลวดเชือมรวมถึ ่ งการสินสุ ้ ดรอยเชือมซึ ่ ่ ป้ ฏิบต
งผู ั งิ านจะต ้อง
เรียนรู ้และฝึ กปฏิบต ั เิ พื่อใหเ้ กิดความชานาญจะไดเ้ ป็ นพืนฐานส ้ าหรบั การเชื่
อ ม ที่ ย า ก ต่ อ ไ ป
และการเชือมไฟฟ้ ่ าเป็ นกระบวนการทีท ่ าใหโ้ ลหะติดกันโดยการเปลียนพลั ่ งง
านไฟฟ้ าเป็ นพลัง งานความร ้อนโดยความ ร ้อนที่ ได เ้ กิ ด จากการอาร ์ก
ระหว่างลวดเชือมกั ่ บชินงานท้ าใหช ิ้
้ นงานกั ่
บลวดเชือมที ่ เวณทีเชื
บริ ่ อมรวมตั

วเป็ นรอยเชือมเครื ่ ่
องเชื ่
อมไฟฟ้ าทีใช ่ ้มีทงกระแสตรงและกระแสสลั
้ั บสาหรบั ก
ระแสตรงมีการต่อได ้ 2 ลักษณะคือกระแสตรงลวดเชือมขั ่ ้
วบวก (DCEP )
และกระแสตรงลวดเชือมขั ่ ้
วลบ (DCEN )
การเชือมไฟฟ้ ่ าจะได ้รอยเชือมที ่ ่ มค
ดี ี ณ ุ ภาพต ้องมีองค ์ประกอบทีใช ่ ้ใน
งานเชือมมี่ ดงั นี ้
5.1 การเลือกลวดเชือมให้ ่ เหมาะสมกบ ั งาน(Correct
Electrode)
ลวดเชือมเป็ ่ นวัสดุทใช ่ี ้เป็ นโลหะเติมโดยมีวต ั ถุประสงค ์เพื่อใหเ้ กิดการ
ยึดเข ้ากับรอยต่อของโลหะชินงานโดยผ่ ้ านขบวนการให ้ความร ้อนเพือหลอม ่
ละลายลวดเชือมกั ่ บชินงานซึ้ ่
งลวดเชื ่
อมที ่ จะต ้องยึดชินงานให
ดี ้ ต้ ด ิ กันอย่างเ
หนี ยวแน่ นมีคุณสมบัตท ิ างด ้านฟิ สิกส ์และทางเชิงกลเทียบเท่ากับโลหะชินงา ้
นกระบวนการเชือมหลายชนิ ่ ดมีความจาเป็ นทีต ่ ้องใช ้ลวดเชือมเติ ่ มลงในรอย

เชือมเพื ่
อรวมตั วกับชินงานบริ้ เวณรอยต่อโดยอาศัยการเผาไหมจ้ ากการอาร ์
ก ลวดเชือมแบ่ ่ งเป็ นชนิ ดใหญ่ๆได ้ 2 ชนิ ด
1. อี เ ล็ ก โ ท ร ด (Electrode
หมายถึ ง ลวดเชื่ อมไฟ ฟ้ าในกระบวนการเชื่ อมอาร ์ก (Arc Welding)
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 24

และอีเล็กโทรดยังหมายถึงขัวเชื ้ อมไฟฟ้
่ ่
าด ้วยซึงลวดเชื ่
อมจะท ่ นขัว้
าหน้าทีเป็
ไฟฟ้ าอีกด ้วยลวดเชือมชนิ ่ ดนี แบ่ ้ งออกได ้ 2 ชนิ ดได ้แก่
1.1 ล วด เชื่ อ ม สิ ้น เป ลื อ ง (Consumable Electrode)
ลวดเชือมชนิ่ ้ กหลอมเหลวพร ้อมกับการเชือมโดยที
ดนี จะถู ่ ่
ลวดเชื ่
อมจะเป็ นทั้

งขัวไฟฟ้ าและโลหะเติมทังสองอย่้ างความร ้อนทีเกิ ่ ดจากการอาร ์กจะทาใหล้ ว

ดเชือมเกิ ดการหลอมเหลวทีปลายลวดเชื ่ ่
อมแล ้วไปรวมตัวตรงบริเวณรอยต่อ
1.2 ลวดเชือมไม่ ่ ิ้
ส นเปลื อง (Consumable Electrode)
ลวดเชือมไม่ ่ หลอมเหลวไปพร ้อมกับการเชือมในขณะที ่ ่ อมความร
เชื ่ ่ ด
้อนทีเกิ
จ า ก ก า ร อ า ร ์ ก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ห ล อ ม เ ห ล ว ล ว ด เ ชื่ อ ม ไ ด ้
เนื่ องจากลวดเชือมที ่ ่ ้จะเป็ นโลหะทีมี
ใช ่ จุดหลอมเหลวสูงมีการระบายความร ้อ
นอย่ า งดี ล วดเชื่ อม แบ บ นี ้ ไม่ ถื อ เป็ น โล หะเติ ม เช่ น ลวด เชื่ อมทั ง สเต น
(Tungsten Electrode) ที่ ใ ช ้ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เชื่ อ ม แ บ บ ทิ ก (Gas
Tungsten Arc Welding)
2. น อ น อิ เ ล็ ก โ ท ร ด (Non
Electrodeหมายถึงลวดเชือมที ่ ่ เกียวข
ไม่ ่ ้
้องกับขัวไฟฟ้ าแต่จะใช ้เป็ นโลหะเติ
มใหก้ บ ั รอยเชือมอย่่ างเดียวซึงมี ่ ข ้อดีคอ ื สามารถรกั ษาคุณสมบัตข ิ องลวดเชื่
อมไว ้เป็ นอย่างดีแต่อย่าให ้ถูกความชืนแบ่ ้ งออกเป็ น 2 ชนิ ดได ้แก่
2.1 ล ว ด เ ติ ม (Fillet Rod)
เป็ นลวดเชื่อมที่ เป็ นแบบแท่ ง เติ ม จะใช ก ้ ับ กระบวนการเชื่อมทิ ก (Gas
Tungsten Arc Welding) การเชือมแก๊ ่ ส (Oxy - Acetylene Welding)

และการเชือมแบบพลาสมา
(Plasma Arc Welding)
2.2 ม้ ว น ล ว ด เ ติ ม (Filler Wire)
เป็ นลวดเชือมที ่ ่ นเสน
เป็ ้ ลวดจะใช ้กับกระบวนการเชือมทิ ่ ก(Gas Tungsten
Arc Welding) และการเชือมแบบพลาสมา ่ (Plasma Arc Welding)


ลวดเชือมไฟฟ ้ าหุม
้ ฟลักซ ์

ลวดเชือมไฟฟ้ ่
าหรืออิเล็กโทรดใช ้สาหรบั การเชือมด ้วยกระบวนการเชื่

อมไฟฟ้ าด ้วยลวดเชือมหุ ่
้มฟลักซ ์ลวดเชือมชนิ ้ ยกกันหลายชือเช่
ดนี เรี ่ นลวดเ
่ ้มสารพอกหุ ้ม ( Covered Electrode ) หรือธูปเชือมเป็
ชือหุ ่ นต ้น

โครงสร ้างของลวดเชือมประกอบด ้วยแกนลวดและฟลักซ ์หุ ้มแกนลวดแ
กนลวดทาด ้วยเหล็ กกลา้ คาร ์บอนต่าในขณะอาร ์กจะถูกหลอมเหลวเติมลงไป
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 25


เป็ นเนื อแนวเชื ่
อมฟลักซ ์หุม้ แกนจะหุม้ แกนลวดเหล็ กคาร ์บอนต่าเอาไวฟ ้ ลักซ ์
มีส่วนผสมต่างๆเพือจุ ่ ดประสงค ์พิเศษในการใช ้งานและสมบัตพ ิ เิ ศษฟลักซ ์นี จ้
ะประกอบไปด ว้ ยแร่ธ าตุ ห ลายชนิ ด เช่น ไทเทเนี ย มไดออกไซด (์ Titanium
Dioxide) ไมก ้า (Miga) แคลเชียมคาร ์บอเนต (Calcium Carbonate)
ฯ ล ฯ
้ เพื
เป็ นต ้นทังนี ้ ่อสมบัตท
ิ างอาร ์กและสมบัตท ้
ิ างกลของเนื อแนวเชื ่
อมหรือตอ้ ง
ก า ร เ พิ่ ม เ นื ้ อ แ น ว เ ชื่ อ ม ใ ห ้ ม า ก ขึ ้ น
ก็สามารถเติมผงเหล็กไปในฟลักซ ์ได ้ฟลักซ ์หุ ้มแกนลวดตลอดจะเว ้นพืนที ้ ส่่ ว
นหัวไว ้ประมาณ 2 ซม. เพือส ่ าหร ับใส่ในตัวจับลวดเชือมดั
่ งรูปที่ 2.1

รูปที่ 2.1 แสดงลักษณะลักษณะลวดเชือม


่ ังนี ้
ฟลักซ ์มีหน้าทีด
้ ยบสม่าเสมอ
1. ช่วยในการอาร ์กได ้ง่ายขึนเรี
2.

ช่วยป้ องกันอากาศเข ้ามารวมตัวกับแนวเชือมด ้วยสแลกหลอมเหลว
3. ลดเม็ดโลหะกระเด็น (Spatter)
4. กาจัดออกไซด ์และสารมลทิน

5. ช่วยดึงสิงสกปรกในบ่ อหลอมละลายเข ้ามารวมตัวเป็ นสแลก
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 26

6.
เติมธาตุและรกั ษาคุณสมบัตข ่ี
ิ องธาตุทผสมอยู ่ึ าให ้รอยเชือมมี
่ซงท ่ คณ
ุ สมบัติ
ตามทีต่ ้องการ

7. ช่วยปกคลุมรอยเชือมเพื ่ ให ้รอยเชือมเย็
อไม่ ่ นตัวเร็วเกินไป

มาตรฐานลวดเชือม ่
มาตรฐานของลวดเชือมที ่ ่ ้งานแต่ละประเทศมีมาตรฐานทีใช
ใช ่ ้งานแตก
ต่ า ง กั น ไ ป เ ช่ น ISO ย่ อ ม า จ า ก ค า ว่ า International Standard
Organization เป็ นมาตรฐานสากล AWS ย่ อ มาจากค าว่ า American

Welding Society เป็ นมาตรฐานการเชือมของประเทศสหร ฐั อเมริก า JIS
ย่ อ ม า จ า ก ค า ว่ า Japanese Industrial Standard
เป็ นมาตรฐานอุตสาหกรรมของประเทศญีปุ่่ น DIN ย่อมาจากคาว่า Deutch
Industries Norms
เป็ นมาตรฐานอุตสาหกรรมของประเทศเยอรมันมาตรฐานลวดเชือมของประเ ่
ทศไทยจะใช ้ TIS ( Thailand Industrial Standard ) หรือทีเรี ่ ยกว่า มอก.
ซึ่ ง เ ที ย บ กั บ ม า ต ร ฐ า น ข อ ง AWS
่ นทีนิ
ซึงเป็ ่ ยมใช ้ในประเทศไทยลวดเชือมเหล็
่ กกล ้าคาร ์บอนเป็ นลวดเชือมที ่ ่
นิ

ยมใช ้กันมากโดยเฉพาะในงานโครงสร ้างทัวไปมาตรฐานสั ญลักษณ์ของลวด

เชือมไฟฟ้ าตามมาตรฐานของสมาคมการเชือมประเทศสหร ่ ฐั อเมริก า (
AWS A 5.1- 91 )
กาหนดตัวอักษรและตัวเลขไวด้ งั นี ซึ ้ งสามารถดู
่ ่ ้างกล่องลวดเชือมซึ
ได ้ทีข ่ ่
งจะ

เปรียบเทียบทังมาตรฐานของประเทศไทยและประเทศญี ปุ่่ นดังรูปที่ 2.2
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 27

รูปที่ 2.2 แสดงลักษณะสัญลักษณ์ข ้างกล่องลวดเชือม



ต ัวอย่าง ลวดเชือมไฟฟ้ า E 6013 ดังแสดงในรูปที่ 2.3

รูปที่ 2.3 แสดงลักษณะลวดเชือมตามมาตรฐาน


่ AWS E 6013

E หมายถึง ่
ลวดเชือมไฟฟ้ า
60 หมายถึง ค่าความต ้านทานแรงดึงต่าสุด 60 × 1000
= 60000 PSI
1 หมายถึง ตาแหน่ งท่าเชือมตั ่ วเลขมีความหมายดังนี ้

เลข 1 เชือมได ่ ( All Position )
้ทุกท่าเชือม

เลข 2 เชือมได ้เฉพาะท่าราบและท่าระดับ (Flat and
Horizaltal Position )
เลข 3 เชือมได่ ้เฉพาะท่าราบ (Flat Position )
3 หมายถึงชนิ ดกระแสไฟฟ้ าในตัวอย่างหมายถึงกระแสไฟฟ้ า
AC และ DC
EP & EN (กระแสไฟฟ้ าตรงขัวบวกและขั ้ ้
วลบ)
่ี
ส่วนฟลักซ ์ต ้องดูทตาราง


การเลือกลวดเชือมให ้เหมาะสมกับงานมีหลักในการพิจารณาดังนี ้
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 28

1.1
ส่วนผสมของโลหะงานจะตอ้ งรู ้ว่าโลหะงานทีจะน ่ ามาเชือมมี ่ ส่วนผสมของธา
ตุ อ ะ ไ ร เ พื่ อ ที่ จ ะ ไ ด ้ เ ลื อ ก ใ ช ้ ล ว ด เ ชื่ อ ม ไ ด ้ ถู ก ต ้ อ ง

เช่นถ ้าชินงานเป็ นเหล็กหล่อก็ต ้องใช ้ลวดเชือมเหล็ ่ กหล่อมาเชือม ่
1.2
ลักษณะของรอยต่อและรอยเชือมถ ่ ้
้าชินงานไม่ มรี อยต่อสามารถเลือกใช ้ลวดเ

ชือมที ่ การอาร ์กแบบนิ่ มนวลได ้การซึมลึกน้อยไม่มีผลต่อชินงานถ
มี ้ ้าเป็ นชิน้
งานทีมี ่ ความหนาต ้องบากหน้าชินงานต ้ ้องเลือกใช ้ลวดเชือมที ่ ่ มลึกสูง
ซึ
1.3

ความหนาและรูปร่างของชินงานความหนาและรู ้
ปร่างชินงานที ่ บซ ้อนควรเลื
ซั
อกลวดเชือมที ่ ่ ความเหนี ยวสูงเพือป้
มี ่ องกันการแตกร ้าว
1.4
สภาพการใช ้งานและความต ้องการชินงานที ้ ่ กเชือมจะต
ถู ่ อ้ งรบั แรงมากน้อยเ
พียงใดต ้องเลือกลวดเชือมให ่ ม้ ค ้
ี ุณสมบัตเิ หมือนกับชินงานโดยเฉพาะอย่ างยิ่
งส่วนผสมความเหนี ยวความต ้านทานต่อแรงอัดกระแทก
1.5
ชนิ ดของกระแสไฟฟ้ าทีใช ่ ้ลวดเชือมบางชนิ่ ดเหมาะกับการเชือมด ่ ้วยกระแสไ
ฟ ฟ้ า ต ร ง (DC) บ า ง ช นิ ด เ ห ม า ะ กั บ ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ส ลั บ (AC)
การพิจารณาการใช ้กระแสไฟฟ้ าชนิ ดไหนใหพ ้ จ
ิ ารณาจากสัญลักษณ์ของล

วดเชือม
1.6
กระแสไฟฟ้ าทีใช ่ ้ในการเชือมมี ่ ความสาคัญต่อการเลือกขนาดเสน้ ผ่านศูนย ์
กลางของลวดเชือมถ ่ ้าใช ้กระแสไฟน้อยควรเลือกใช ้ลวดเชือมขนาดเส ่ น้ ผ่าน
ศู น ย ์ ก ล า ง 2.6 ม ม .ถ ้ า ใ ช ้ ก ร ะ แ ส ไ ฟ สู ง 180 แ อ ม ป์

ขึนไปควรเลื ่
อกใช ้ลวดเชือมที ่ เส ้นผ่านศูนย ์กลาง 4 มม. ขึนไป
มี ้

5.2 การใช้ระยะอาร ์กทีถู ่ กต้อง(Correct Arc Length


ร ะ ย ะ อ า ร์ ก ห ม า ย ถึ ง

ระยะห่ า งระหว่า งปลายลวดเชือมถึ ้
งผิวหน้า ของชินงานซึ ่
งขนาดระยะอาร ์ก

ขึนอยู ่กบ ่
ั เส ้นผ่านศูนย ์กลางของลวดเชือมถ ่
้าใช ้ลวดเชือมเส ้นผ่านศูนย ์กลาง
2.6 มม. ระยะอาร ์ก จะเท่ า กับ 2.6 มม. โดยประมาณดัง แสดงในรู ป ที่ 2.4
ระยะอาร ์ก ที่สันเกิ
้ น ไปจะท าใหป้ ลายลวดเชือมติ ่ ้
ดกับ ชินงานถ า้ ระยะอาร ์ก
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 29


ห่างเกินไปจะทาใหเ้ นื อโลหะกระเด็ ่
นแนวเชือมมี
ลกั ษณะกวา้ งไม่เป็ นแนวแต่ถ ้
าสู ง มากเกิ น ไปจะไม่ เ กิ ด การอาร ์กเพราะฉะนั้ นต อ้ งควบคุ ม ระยะอาร ์ก
ให ้ถูกต ้องดังแสดงในรูปที่ 2.4 – 2.5


รูปที2.4 ่ กต ้อง
แสดงลักษณะระยะอาร ์กทีถู


รูปที2.5 แสดงลักษณะรอยเชือมที ่ ่ ดจากระยะอาร ์กแบบต่างๆ
เกิ
้ั
5.3 การตงกระแสไฟที ่ กต้อง(Correct Current)
ถู

การตังกระแสไฟที ่ ้ในการเชือมเป็
ใช ่ นส่วนประกอบทีส ่ าคัญอีกส่วนหนึ่ ง

การตังกระแสไฟผิ ่
ดทาใหร้ อยเชือมออกมาคุ ณภาพไม่ดก ่ งกระแสไฟ
ี ารทีจะตั ้

เท่าไรทีจะใช ่
้ในการเชือมผู ่
เ้ ชือมสามารถดู ่ มพ ์ไว ้ข ้างกล่องล
ได ้จากข ้อมูลทีพิ

วดเชือมและดู ่
ขนาดเสน้ ผ่านศูนย ์กลางของลวดเชือมโตเท่ าไรความหนาของ

ชินงานการเดิ ่
นลวดเชือมเป็ นองค ์ประกอบร่วมกัน

5.4. การใช้ความเร็วในการเดินลวดเชือมที ่ ่ กต้อง(Correct


ถู
Travel Speed)
ความเร็วในการเดินลวดเชือมต ่ ้ ต
้องไม่เดินช ้าไปหรือเร็วไปทังนี ้ ้องสัมพั
นธ ์กับกระแสไฟและความหนาของชินงานด ้ ้
้วยถ ้าตังกระแสไฟสู งความเร็วใน
การเดินลวดเชือมช ่ ่
้ารอยเชือมจะกว า้ งเกิดการหลอมละลายมากถ ้าเดินลวดเ
ชื่ อ ม เ ร็ ว จ ะ ไ ด ้ ร อ ย เ ชื่ อ ม เ ล็ ก ล ง ถ ้ า ตั้ ง ก ร ะ แ ส ไ ฟ ต่ า
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 30


เดินลวดเชือมช ่
้าจะทาใหร้ อยเชือมเล็ ่
กนู นเกินไปการทีจะเคลื ่
อนที ่
ลวดเชื ่
อม

ช ้าหรือเร็วต ้องดูความต ้องการว่าต ้องการรอยเชือมแบบไหนและต อ้ งฝึ กฝนใ
หเ้ กิดความชานาญแบบของรอยเชือมที ่ ่ ดจากการตังกระแสไฟความเร็
เกิ ้ วระ
ยะอาร ์ก ดังแสดงในรูปที่ 2.6


รู ปที2.6
แสดงลักษณะรอยเชือมที ่ ่ ดจากการตังกระแสไฟความเร็
เกิ ้ วและระยะอาร ์ก

ก. การตังกระแสไฟฟ้ ่
าความเร็วแรงเคลือนไฟฟ้ ่ กต ้อง
าทีถู

ข. การตังกระแสไฟฟ้ าต่า

ค. การตังกระแสไฟฟ้ าสูง
ง. ระยะอาร ์กสัน ้
จ. ระยะอาร ์กสูง
ฉ. การเดินลวดเชือมช ่ ้า

ช. การเดินลวดเชือมเร็ ว

5.5 การตงมุ ้ั มของลวดเชือมที ่ ่ กต้อง(Correct Angle of


ถู
Electrode)
การตังมุ้ มของลวดเชือมเป็
่ นองค ์ประกอบร่วมอีกตัวหนึ่ งทีจะท
่ าใหร้ อยเ

ชือมมี คุ ณ ภาพดีซ ม ่
ึ ลึก ดีมุ ม ของการเชือมประกอบไปด ว้ ยมุ ม น า ( Lead
Angle ) และมุมด ้านข ้าง ( Side Angle )

มุมนาจะมีทศ ิ ทางไปในทางเดียวกับการเดินแนวเชือมมุ ่ มของลวดเชือมท ่ ามุม
ประมาณ 60 – 75°
วิ ช า W O R K S H O P P R A C T I C E & E N E R G Y S A F E T Y ห น้ า | 31

• มุ ม ด้ า น ข้ า ง ( Side Angle)
คื อ มุ ม ที่ ล ว ด ท า มุ ม กั บ ชิ ้น ง า น โด ย ม อ ง ท า งด ้ า น ข ้ า ง จ ะมี มุ ม 90 °
โดยวัดเขา้ หาตัวผูเ้ ชือมถ ่ า้ เป็ นท่าระดับมุมลวดเชือมด่ า้ นขา้ งจะทามุ ม 45 °
ดังแสดงในรูปที่ 2.7


รูปที2.7 ่
แสดงลักษณะมุมของลวดเชือมกั ้
บชินงาน

You might also like