Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

กุมารเวชสาร Thai Pediatric Journal

ปที่ 14 ฉบับที่ 1 ม.ค.-เม.ย. 2550 35 Vol.14 No.1 Jan.-Apr. 2007

บทฟนวิชาการ
Review Article

Patent Ductus Arteriosus


วัชรี เลิศสุทธิวงศ พ.บ.
สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี

Ductus arteriosus (DA) ของทารกในครรภเปนสวน กลไกของ Ductus constriction in term infants ขึ้นกับ
ที่ เหลื อของ terminal portion of sixth branchial branch 1. Increased arterial PO2
ซึ่งเปนทอเชื่อมตอระหวาง pulmonary artery และ descending 2. pressure ใน ductus lumen ลดลง (pulmonary vas-
aorta เปนทางใหเลือดไหลไปสู descending aorta และรกโดย cular resistance ลดลงหลังเกิด)
ไมตอ งผานปอด ซึง่ มีนา้ํ คร่าํ ขังอยูเ ต็มและมีความดันในปอดสูง 3. circulating PGE2 ลดลง เนื่องจาก PGs ที่สรางจาก
DA สามารถปดไดเองภายหลังคลอด โดยทารกครบกําหนด placenta ลดลง ขณะเดียวกัน PGs ถูกกําจัดออกทางปอด
จะปดเร็วกวาทารกเกิดกอนกําหนด ยิ่งทารกเกิดกอนกําหนด 4. PGE2 recepters ที่ผนังหลอดเลือด DA ลดลง
มากก็ยิ่งมีภาวะเสี่ยงตอการมี PDA เปดมากขึ้น
การปดของ DA ในทารกกอนกําหนด
ปจจัยที่มีผลตอการปดของ ductus arteriosus คือ Hammerman พบวาลักษณะของ DA ของทารกคลอด
1. Circulating prostaglandin (PGs) level: PGE2 เปน ก อนกําหนดจะมีกล ามเนื้ อเรียบน อย ไมเพี ยงพอที่ จะหดตั ว
major mediator of ductus relaxation พบวาระดับของ PGE2 ไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดการเชื่อมปดของ subendothelial
สูงในชวง 2-3 วันแรกหลังคลอด Clyman และคณะ พบวาทารก elastic lamina นอยกวา และ DA จะสราง prostaglandin E2
อายุ 2 วันมีระดับ PGE2 เทากับ 17.1±3.1 pg/ml แตกตางจาก มากกวาและไวตอ prostaglandin E2 มากกวา ทําให DA ใน
ทารกอายุ 3 วันซึ่งมีคาเทากับ 6.12±0.63 pg/ml (p< 0.005) (1) ทารกเกิดกอนกําหนดปดชากวา (3) นอกจากนี้ nitric oxide (NO)
สําหรับ PGI2 นั้นมี potency นอยกวา PGE2 ซึง่ เปน potent vasodilator ยังพบทีผ่ นังของ DA สูงกวาในทารก
2. ระดับ arterial PO2 มีผลให DA ปด ครบกําหนด และทารกเกิดกอนกําหนดอายุครรภมากกวา 30
3. Muscle mass in pulmonary vasculature สัปดาหที่ไมมีภาวะแทรกซอนอื่น DA จะปดเองภายใน 4 วัน
Clyman ไดทําการศึกษาพบวาทารกทีม่ นี ้ําหนักแรกเกิด
การปดของ DA ในทารกครบกําหนด มี 2 stages มากกวาหรือเทากับ 1,360 กรัม หรืออายุครรภมากกวาหรือ
1. Functional closure เกิดในชวงอายุ 1-2 วันแรก แตมี เทากับ 28 สัปดาห PDA มีโอกาสปดเองไดสูง(1) Vermont-
โอกาส re-opening จนถึ งอายุ 7-8 วัน ในทารกคลอดครบ Oxford network(4) รายงานอุบัติการณของ PDA ในทารกเกิด
กําหนด รอยละ 20 จะปดภายใน 24 ชัว่ โมง รอยละ 82 ปดภายใน กอนกําหนดที่มีน้ําหนักแรกเกิด 500-1,500 กรัม ในชวงอายุ 3
48 ชั่วโมงและรอยละ 100 จะปดภายใน 96 ชั่วโมง (2) แตทารก วันแรก รอยละ 30 นอกจากนี้ PDA ยังสัมพันธกับการที่ไมได
คลอดกอนกําหนดจะปดชากวา โดยพบวา การปดของ PDA steroid ก อนคลอดและ hyaline membrane disease Bhat
ในสัปดาหที่ 2 ไมไดชวยใหระบบหายใจของทารกดีขึ้น พบวาอุบตั กิ ารณของการเกิด PDA มีความสัมพันธกบั อายุครรภ
2. Anatomical closure เกิดจากการที่ระดับของ PGs ที่ น อ ยอย า งชั ด เจน และในทารกเกิ ด ก อ นกํ า หนดที่ มี อ ายุ
ลดลง ทําให vasa vasorum flow ลดลง จนเกิด ischemia และมี ครรภนอยกวา 32 สัปดาหที่ไมมี RDS ตรวจพบวามี symptom-
proliferation ของ internal cushion ใน lumen ของ DA atic PDA ในชวงอายุ 2-7 วัน โดยมี significant left to right shunt
จนปดสนิทภายใน 3 สัปดาห และเปลีย่ นแปลงเปน ligamentum ที่อายุ 96 ชั่วโมง (5) แตในทารกเกิดกอนกําหนดและมี RDS
arteriosum (2) รวมดวย ตรวจพบวามี symptomatic PDA เร็วกวา คือ 72-96

Patent Ductus Arteriosus วัชรี เลิศสุทธิวงศ


กุมารเวชสาร Thai Pediatric Journal
ปที่ 14 ฉบับที่ 1 ม.ค.-เม.ย. 2550 36 Vol.14 No.1 Jan.-Apr. 2007

ชั่วโมง มี significant left to right shunt ที่อายุ 48-72 ชั่วโมง เลือดไหลไปยังปอดมาก ความดันเลือดในปอดสูงขึ้น อาจทํา
ทําใหทารกที่ มีภาวะหายใจลําบากตองการออกซิเจนเพิ่ มขึ้ น ใหเกิดภาวะหัวใจลมเหลวได สงผลใหปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยง
ระยะเวลาการใชเครื่องชวยหายใจนานขึ้นเสี่ยงตอการเกิดปอด อวัยวะสวนตางๆของรางกายลดลง นอกจากนี้ symptomatic
อักเสบเรื้อรังและหัวใจลมเหลว PDA ยั ง มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ อั ต ราตายของทารก การเกิ ด
brochopulmonary dysplasia (BPD), necrotizing enterocolitis
สรุป failure of DA constriction ในทารกเกิดกอนกําหนด (NEC), feeding intolerance และ intraventricular hemorrhage
เกิดจาก (IVH) (9-11)
1. Less of DA muscular fiber
2. Insufficiency of oxygen sensor of DA อาการแสดงทางคลินกิ และผลการตรวจทางหองปฏิบตั กิ ารของ
3. More PGE2 level symptomatic PDA(12)
4. Increased sensitivity of immature ductus to PGE2 ทารกรายใดที่มีเกณฑตอไปนี้ มากกวา 3 ขอ เปนขอบง
and nitric oxide ชี้วามี symptomatic PDA
5. Less intrinsic tone of immature DA (< 70% ในเด็ก 1. Systolic murmur at left upper parasternal border.
term) 2. Continuous murmur at left upper parasternal bor-
6. Less subendothelial cushions in the preterm der.
Phototherapy กับ ductal re-opening 3. Active precordium.
Bender พบวา อุบัติการณของ DA re-opening during 4. Bounding pulse, wide pulse pressure (pulse pres-
phototherapy รอยละ 51.85 เนือ่ งจากมีการเปลีย่ นแปลงของ left sure > 35 mmHg).
ventricular output, ductal flow และ left pulmonary arterial 5. Tachycardia (heart rate > 170/min).
blood flow ในทารกเกิดกอนกําหนดอายุครรภ < 32 สัปดาห (6) 6. Hepatomegaly.
Rosenfeld ทําการศึกษาพบวาอุบัติการณของ PDA ลดลงใน 7. Chest X-ray with cardiomegaly (Cardio-thoracic
ทารกที่ ไดรับ chest shielding ขณะสองไฟ อยางมีนัยสําคัญ ratio > 0.6) or increased pulmonary vasculature.
ทางสถิติ (รอยละ 30.5 กับ รอยละ 60.5, p= 0.009) (7) 8. Echocardiogram: diastolic turbulence flow in pul-
monary artery (left to right or bidirectional shunt)
Corticosteroids กับ PDA สําหรับ Hemodynamic significant คือ พบ DA > 1.5
1. Prenatal corticosteroids: มีรายงานการศึกษาของ mm, left atrial to aortic root ratio > 1.3 และไมพบหรือมี retro-
Thibeault 1978, Clyman 1981, Mamma 1981, Waffarn 1983 grade diastolic flow ใน postductal aorta และ Kluckow (13)
พบวา การให prenatal corticosteroids ชวยลดอุบัติการณของ ไดศึกษาพบวา ขนาดของ PDA ที่อายุ 5 ชั่วโมง ขนาด 1.6 mm
PDA ในทารกกอนกําหนดและในสัตวทดลองกอนกําหนดได เปนตัวบอกวามี symptomatic PDA โดยมี specificity 67% และ
2. Postnatal corticosteroids: Halliday HL รายงาน sensitivity 89% และยังพบวามีความสัมพันธกับการเกิดภาวะ
การศึกษา early postnatal dexamethasone therapy ในป ค.ศ. เลือดออกในสมองและปอด
2002 พบวาอุบัติการณของ PDA ลดลง แต morbidity เพิ่มขึ้น Atrial natriuretic peptide (ANP) สรางจาก myocardial
เชน cerebral palsy, isolated GI perforation เปนตน(8) cells ในกรณีที่มี volume overload และ Brain natriuretic pep-
tide (BNP) สรางจากสมองและหัวใจ สามารถตรวจพบเมื่ อ
Re-opening ของ DA ขึ้นกับ 2 ปจจัย คือ มีภาวะ heart failure ปจจุบันเริ่มมีการวิจัยใหมๆ ดวยการตรวจ
1. Timing of treatment: อัตราของ permanent DA clo- ระดับ N-terminal pro BNP และ c-terminal ANP เพื่อใชในการ
sure จะเพิ่มขึ้น ถาใหการรักษาภายใน 24-48 ชั่วโมงหลังเกิด early diagnosis of symptomatic PDA
2. More immature DA: อายุครรภนอยแปรผกผันกับ
อัตราการเกิด re-opening พบวา ทารกทีม่ อี ายุครรภ < 26 สัปดาห การปองกันการเกิด symptomatic PDA
เกิด re-opening 23% อายุครรภ 26-27 สัปดาหเกิด re-opening 1. ปองกันไมใหทารกเกิดกอนกําหนด
9% 2. การให antenatal corticosteroid ในมารดาที่คลอด
กรณีที่ยังมี PDA อยู ซึ่งพบอุบัติการณไดมากในทารก กอนกําหนด
แรกเกิดกอนกําหนดจ ะทําใหเกิดอันตรายตอทารกไดโดยทําให 3. หลีกเลี่ยงการใหสารน้ําปริมาณมากในสัปดาหแรก

Patent Ductus Arteriosus วัชรี เลิศสุทธิวงศ


กุมารเวชสาร Thai Pediatric Journal
ปที่ 14 ฉบับที่ 1 ม.ค.-เม.ย. 2550 37 Vol.14 No.1 Jan.-Apr. 2007

หลังคลอด สําหรับผลขางเคียงของยา ibuprofen ทีส่ าํ คัญคือ Pulmo-


nary hypertension โดย Gournay พบ 3 ใน 65 ราย (29)
การรักษาภาวะ PDA แบงออกไดเปนการรักษาแบบประคับ รายงานนี้ใช intravenous tromethamine ibuprofen สําหรับปด
ประคอง โดยการจํากั ดปริ มาณสารน้ําในแต ละวั น และการ PDA พบว า การให ย าในทารกที่ มี อ ายุ น อ ยกว า 6 ชั่ ว โมง
รักษาแบบจําเพาะโดยการใชยาหรือผาตัด ทํา ให ความดั น เลื อดในปอด (pulmonary venous return)
ยา indomethacin เปน prostaglandin synthesis inhibi- ไมลดลงตามปกติ และการใช tromethamine (THAM) เปน
tor มีฤทธิ์ ในการทําใหเส นเลือดหดตัวและเปนที่ ยอมรับกัน buffer ทํา ให ต กตะกอนและเกิ ด microembolism ในปอด
อยางแพรหลายในการใชปดหลอดเลือด DA และรักษา hemo- แตไมมีรายงานภาวะนี้จากการใชยา L-lysine ibuprofen และ
dynamically significant PDA(14-16) แมวา ยาจะมีประสิทธิภาพสูง ibuprofen ชนิดกิน(26-28,30-31)
ในการทําใหเกิดการปดของหลอดเลือด (66-80%) (17-18) แตยา ในประเทศไทย ไม มี ibuprofen ชนิ ดฉีด แต มี oral
นี้มีผลขางเคียงที่สําคัญ(8-10) คือ ทําใหปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยง ibuprofen suspension จําหนายทัว่ ไปโดยใชเปนยาลดไขแกปวด
ไตลดลง เกิดภาวะไตวาย ปสสาวะออกนอย ลดปริมาณเลือด และมีการศึกษา pharmacokinetic ของ ibuprofen suspension
ที่ไปเลี้ยงระบบทางเดินอาหารทําใหเกิดลําไสเปอยเนา เลือด โดย Kauffman(32) ทําการวั ดระดั บยาในเลื อดสู งสุ ดที่ 0.74
ออกในทางเดินอาหารและทําใหเลือดออกในสมอง (intraven- ชั่วโมงเทากับ 35.8 mcg/ml โดยมี delay peak plasma concen-
tricular hemorrhage, IVH) หรือ periventricular leukomalacia tration 1-3 hr ใกลเคียงกับการวิจัยของวราภรณ แสงทวีสิน
ดั งนั้ นการให ยาต องมี การติ ดตามผลข างเคี ยงดั งกล าวอย าง และคณะ(33) พบวาการใหยา ibuprofen ชนิดกินแกทารกเกิด
ใกลชิด กอนกําหนดน้ําหนักนอยกวา 1,500 กรัม ระดับยา คา Cmax ของ
ยา ibuprofen เปน propionic acid derivative, non- ยา ibuprofen 31.73 mcg/ml, tmax 45 min, t1/2 28.42 hrs อยาง
cyclooxygenase inhibitor ตัวหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการปด มีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.018) พบวา คา Cmax และ tmax ใกล
หลอดเลือด ductus arteriosus ไดใกลเคียงกับ indomethacin เคียงกันกับของเด็กโตและผูใ หญ (32) พญ.เสาวณีย พัชรพันธ (34)
แตมผี ลขางเคียงตอไต(17-20) ระบบทางเดินอาหาร(16,18) และการ ศึกษาประสิทธิภาพของยา ibuprofen suspension ในทารกเกิด
ไหลเวียนเลือดในสมองน อยกวา(20-22)นอกจากนี้ ibuprofen กอนกําหนดที่มีน้ําหนักตัวนอยกวา 1,500 กรัม ระดับยาเฉลี่ย
ยั งทําให การไหลเวี ยนเลื อดไปยั งอวั ยวะดั งกล าวเพิ่ มขึ้ นได หลังไดรับยา ibuprofen suspension 2 ชั่ วโมง 16.4 mcg/ml
เมื่อเวลาผานไป นอกจากนี้ ibuprofen ยังชวย cerebral blood และหลั ง ได รั บ ยา 24 ชั่ วโมง 21.6 mcg/ml ซึ่ งสามารถ
flow auto-regulation และเป น neuroprotective functions ลดอุบัติการณการเกิด symptomatic PDA ในกลุมที่มีน้ําหนัก
ในสัตวทดลอง (23) แตการให ibuprofen เพื่อปด DA ซึ่งเปน 1000 - 1,500 กรั ม อย างมี นั ย สํา คั ญทางสถิ ติ (p=0.016)
dose-dependent และไมสามารถใหเพื่อปองกันการเกิด IVH ดังนั้นประสิทธิภาพของการใหยา ibuprofen ชนิดกินในการ
ไดเหมือนกับการให indomethacin (24-25) ปองกันและ/หรือรักษา PDA พบวาไดผลดี (34-37) ในป ค.ศ.
มีการศึกษาจากหลายแหลงที่ ศึกษาประสิทธิภาพของ 2003 Heyman(38) ไดรายงานการใหยา ibuprofen ชนิดกิน ขนาด
ibuprofen ในการป อ งกั น การเกิ ด PDA ในทารกแรกเกิ ด 10, 5 และ 5 mg/kg วันละครั้งตามลําดับพบวาสามารถปด PDA
กอนกําหนด ผลการศึกษาออกมาในแนวทางเดียวกันคือ การให ได 95.5% และพบวาทารก 14 ราย (63.63%) ตองการยาเพียง
ibuprofen lysine injection ใน 3 วันแรกหลังคลอดในขนาด 10, ครั้งเดียว 6 ราย (27.27%) ตองการใหยากิน 2 ครั้ง และมี 1 ราย
5 และ 5 mg/kg สามารถลดอุ บั ติ ก ารณ ก ารเกิ ด PDA (4.54%) ที่ตองใหยากิน 3 ครั้ง ไมมีทารกรายใดที่มี reopening
ไดโดยมีผลขางเคียงตางๆ นอยและลดความจําเปนที่ ตองทํา ของ PDA หรื อ ต อ งผ า ตั ด รั ก ษา การศึ ก ษาของวราภรณ
การผาตัดปดหลอดเลือดดังกลาวดวย(26-30) แสงทวี สิ น และคณะ(33) ในป ค.ศ. 2004 พบว าการให ยา
จากการศึ ก ษาค า ทางเภสั ช จลนศาสตร ข อง Aranda ibuprofen ชนิดกิน แกทารกกอนกําหนด 22 ราย ขนาด 10 mg/
และคณะเมือ่ ทารกไดรบั ยาฉีด ibuprofen lysine ขนาด 10, 5 และ kg วันละครัง้ ติดตอกันเปนเวลา 3 วันสามารถปองกัน symptom-
5 mg/kg ในวันที่ 1, 2 และ 3 วัดระดับยาในเลือดได 180.6 ± atic PDA ในทารกก อ นกํ า หนดที่ อายุ 3 วั น ได 95.45 %
11.1, 116.6 ± 54.5, 113.6 ± 58.2 mg/L ตามลํ า ดั บ (30) ใกลเคียงกับการศึกษาของ Heyman ขณะทีก่ ลุม ควบคุม 20 ราย
การศึกษานี้เสนอแนะวาการคงระดับยาในเลือดใหอยูในระดับ ซึ่ งได ยาหลอก พบ DA ป ดเองเพี ยง 65% ซึ่ งแตกต างกั น
ดังกลาวเปนเวลา 3 วันอาจจําเปนในการปดหลอดเลือด ductus อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = 0.018) อาการไมพึงประสงค
arteriosus แตก็ยังไมทราบระดับยาในเลือดที่แนนอนที่จําเปน จากการใชยาไมแตกตางกัน
ตอการปด ductus arteriosus ได การศึ กษาที่ ผ า นมาทั้ ง ต า งประเทศและในประเทศ

Patent Ductus Arteriosus วัชรี เลิศสุทธิวงศ


กุมารเวชสาร Thai Pediatric Journal
ปที่ 14 ฉบับที่ 1 ม.ค.-เม.ย. 2550 38 Vol.14 No.1 Jan.-Apr. 2007

แสดงใหเห็นวายา ibuprofen ชนิดกินมีประสิทธิภาพในการปด 11. Fowlie PW, Davis PG. Prophylactic indomethacin for
DA ดู ดซึ มได ดี ในระบบทางเดิ นอาหารของทารกเกิ ดก อน preterm infants: A systemic review and meta-analysis.
กําหนด และเกิดผลขางเคียงนอย แตมีรายงานอาการเลือดออก Arch Dis Child Fetal Neonatal Ed 2003; 88: F464-6.
ในกระเพาะอาหาร(33,37) และทองอืด(33-34) 12. Evans N. Diagnosis of patent ductus arteriosus in the
ดั งนั้ น การให ยา ibuprofen suspension ซึ่ งเป นยา preterm newborn. Arch Dis Child 1993; 68: 58-61.
ที่ หางาย และราคาถูก จึงเปนทางเลือกหนึ่ งในการปด PDA 13. Kluckow M, Evans N. High pulmonary blood flow, the
และลดอุ บั ติ การณ การเกิด symptomatic PDA ในทารกเกิ ด duct and pulmonary hemorrhage. J Pediatr 2000; 137: 68-
กอนกําหนดในกรณีทไี่ มมiี ndomethacin ชนิดฉีดเขาหลอดเลือด 72.
14. Ment LR, Vohr B, Allan W, et al. Outcome of children in
เอกสารอางอิง the indomethacin intraventricular hemorrhage prevention
1. Clyman RI, Brett C, Mauray F. Circulating prostaglandin trial. Pediatrics 2000; 105: 485-91.
E2 concentrations and incidence of patent ductus arterio- 15. Overmeire BV, Broek HV, Laer PV, et al. Early versus
sus in preterm infants with respiratory distress syndrome. late in indomethacin treatment for patent ductus arterio-
Pediatrics 1980; 66(5): 725-9. sus in premature infants with respiratory distress syn-
2. McKone RC, Weesner KM. Determination of the time of drome. J Pediatr 2001; 138: 205-11.
the closure of the ductus arteriosus in severely ill prema- 16. Krueger E, Mellander M, Bratton D, Cotton R. Preven-
ture infants. Clin Pediatr (Phila) 1988; 27(3): 135-9. tion of symptomatic ductus arteriosus with single dose of
3. Hammerman C, Glaser J, Schimmel MS, Ferber B, Kaplan indomethacin. J Pediatr 1987; 111: 749-54.
M, Eidelman MI. Continuous versus multiple rapid infu- 17. Overmeire BV, Smets K, Lecoutere D, et al. A compari-
sion of indomethacin: effects on cerebral blood flow ve- son of ibuprofen and indomethacin for closure of patent
locity. Pediatrics. 1995; 95: 244-8. ductus arteriosus. N Engl J Med 2000; 343(10): 674-81.
4. The Vermont-Oxford Trials Network: Very low birth 18. Lago P, Bettiol T, Salvadori S, Pitassi I, Vianello A,
weight outcomes 1990. Pediatrics 1993; 91: 540-5. Chiandetti L, et al. Safety and efficacy of ibuprofen ver-
5. Bhat V, Nahata MC. Pharmacologic management of patent sus indomethacin in preterm infants treated for patent
ductus arteriosus. Clin Pharm 1989; 8: 17-33. ductus arteriosus: a randomised controlled trial. Eur J
6. Bender MJNL, Bel FV, Van de Bor M. Cardiac output Pediatr 2002; 161: 202-7.
and ductal reopening during phototherapy in premature 19. Overmeire BV, Follens I, Hartmann S, et al. Treatment of
infants. Acta Paediatr 1999; 88: 1014-9. patent ductus arteriosus with ibuprofen. Arch Dis Child
7. Rosenfeld W, Sadher S, Brunot V. Phototherapy effect 1997; 76: F179-84.
on the incidence of patent ductus arteriosus in premature 20. Romagnoli C, Carolis MP, Papacci P, et al. Effects of pro-
infants: Prevention with chest shielding. Pediatrics 1986; phylactic ibuprofen on cerebral and renal hemodynamics
78: 10-4. in very preterm neonates. Clin Pharmacol Ther 2000; 67:
8. Halliday HL, Ehrenkranz RA. Early postnatal (<96 hours) 676-83.
corticosteroids for preventing chronic lung disease in 21. Patel J, Robert I, Azzopardi D, et al. Randomized double-
preterm infants (Cochrane review). In: The Cochrane Li- blind controlled trial comparing the effects of ibuprofen
brary, Issue 3, 2002. with indomethacin on cerebral hemodynamics in preterm
9. Van Bel F, Guit GC, Schipper J, Van de Bor M, Baan J. infants with patent ductus arteriosus. Pediatr Res 2000;
Indomethacin induced changes in renal blood flow veloc- 47: 36-42.
ity waveform in premature infants investigated with color 22. Mosca F, Bray M, lattanzio M, et al. Comparative evalu-
doppler imaging. J pediatr 1991; 118: 621-6. ation of the effects of indomethacin and ibuprofen on ce-
10. Knight DB. The treatment of patent ductus arteriosus in rebral perfusion and oxygenation in preterm infants with
preterm infants: A review and overview of randomized patent ductus arteriosus. J Pediatr 1997; 131: 549-54.
trials. Semin Neonatol 2001; 6: 63-7. 23. Chemtob S, Beharry K, Rex J, Varma DR, Aranda JV.

Patent Ductus Arteriosus วัชรี เลิศสุทธิวงศ


กุมารเวชสาร Thai Pediatric Journal
ปที่ 14 ฉบับที่ 1 ม.ค.-เม.ย. 2550 39 Vol.14 No.1 Jan.-Apr. 2007

Prostanoids determine the range of cerebral blood flow 33. Sangtawesin V, Sangtawesin C, Raksasinborisut C,
autoregulation of newborn piglets. Stroke. 1990; 21: 777- Sathirakul K, Kanjanapattanakul W. Oral ibuprofen pro-
84. phylaxis for symptomatic patient ductus arteriosus of pre-
24. Fowlie PW, Davis PG. Prophylactic indomethacin for maturity. J Med Asso Thai 2006; 89(3): 314-21.
preterm infants: A systemic review and meta-analysis. 34. เสาวณีย พัชรพันธ. การปองกันการเกิด Symptomatic PDA
Arch Dis Child Fetal Neonatal Ed 2003; 88: F464-6. ดวย ibuprofen ชนิดรับประทานในทารกเกิดกอนกําหนด
25. Ohlsson A, Walia R and Shah SS. Ibuprofen for the treat- ที่ มีน้ําหนักแรกเกิดนอยมาก. วิทยานิพนธตามหลักสูตร
ment of patent ductus arteriosus in preterm and/or low เพือ่ วุฒิบตั รแสดงความรูค วามชํานาญในการประกอบวิชา
birth weight infants. Cochrane Library, Issue 4, 2005. ชีพเวชกรรม สาขากุมารเวชศาสตรของแพทยสภา, 2542:
26. Dani C, Bertini G, Reali MF. Prophylaxis of patent duc- 1-30.
tus arteriosus with ibuprofen in preterm infants. Acta 35. อัญชลี ลิ้ มรังสิกุล. การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพ
Paediatr 2000; 89: 1369-74. และผลขางเคียงของยา ibuprofen ชนิดรับประทานและยา
27. De Carolis, Romagnoli C, Polimeni V. Prophylactic indomethacin ในการรักษา PDA ในทารกเกิดกอนกําหนด.
ibuprofen therapy of ductus arteriosus in preterm infants. วิทยานิพนธตามหลักสูตรเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรูความ
European Journal of Pediatrics 2000; 159: 364-8. ชํานาญในการประกอบวิ ชาชี พเวชกรรมสาขากุ มารเวช
28. Overmeire BV and Allegaert K. Prophylactic ibuprofen ศาสตรของแพทยสภา, 2544: 1-26.
in preterm infants: a multicentre, randomised, double- 36. เกศนาถ จิรัปปภา. การศึกษาผลการรักษาโรคหัวใจ patent
blind, placebo-controlled trial. Lancet 2004; 36: 1945-9. ductus arteriosus ในเด็กทารกคลอดกอนกําหนดดวยยา
29. Gournay V, Roze JC, Kuster A. Prophylactic ibuprofen ibuprofen ชนิดรับประทานเปรียบเทียบกับยา indometha-
versus placebo in very premature infants: a randomised, cin ชนิดฉีดทางหลอดเลือดดํา. วิทยานิพนธตามหลักสูตร
double-blind, placebo-controlled trial. Lancet 2004; 364: เพือ่ วุฒิบตั รแสดงความรูค วามชํานาญในการประกอบวิชา
1934-44. ชีพเวชกรรม สาขากุมารเวชศาสตรของแพทยสภา, 2545:
30. Aranda JV, Varvarigou A, Beharry K, et al. Pharmacoki- 1-38.
netics and protein binding of intravenous ibuprofen in the 37. ป ยนุ ช สุ รเวทวงศ ภาส. การศึกษาประสิทธิ ภาพและผล
premature newborn infant. Acta Paediatr 1997; 86: 289- ขางเคียงของยา ibuprofen ชนิดรับประทานในการปด PDA
93. ในทารกเกิดกอนกําหนด. วารสารกุมารเวชศาสตร 2545;
31. Shah SS and Ohlsson A. Ibuprofen for the prevention of ปที่ 4 ฉบับที่ 1: 52.
patent ductus arteriosus in preterm and/or low birth weight 38. Heyman E, Morag I, Batash D, Keidar R, Baram S,
infants. Cochrane Library, Issue 4, 2006. Berkovitc M. Closure of patent ductus arteriosus with oral
32. Kauffman RE, Nelson MV. Effect of age in ibuprofen ibuprofen suspension in premature newborns: A pilot
pharmacokinetic and antipyretic response. J pediatr 1992; study. Pediatrics 2003; 112: 354-8.
121: 969-73.

Patent Ductus Arteriosus วัชรี เลิศสุทธิวงศ

You might also like