เชื้อรา การจัดการลดการปนเปื้อนเชื้อราในอาคาร

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

เชือ ้ รา (Fungi) เป็ นจุลนิ ทรียส

์ ามารถอยูไ่ ด ้ทัง้ ในน้ า บนดิน หรือ ในอากาศ มีหลายชนิดทัง้ ทีเ่ ป็ นประโยชน์



หรือเป็ นโทษ เห็ดก็เป็ นเชือราประเภทหนึง่ แต่ทเี่ กิด ปั ญหาส่วนใหญ่จะเป็ นเชือ ้ ราทีแ
่ ขวนลอยอยูใ่ นอากาศ
ซึง่ ก่อให ้เกิดปั ญหาทัง้ ต่อบุคคล เช่นทา ให ้เกิดโรคทาง เดินหายใจ โรคผิวหนังบางชนิด เช่น หูด หรือ โรค
ภายในร่างกาย เช่น ตับ เป็ นมะเร็งจากสารอัลฟาท็อกซิน จากเชือ ้ ราในอาหาร

และยังก่อให ้เกิดปั ญหาในการผลิต จากการเกิดเชือราในอาหาร ตลอดจนถึงทา ให ้อาคาร เกิดเปลีย ่ นสี
โดยเฉพาะตามผนังอาคาร หรือ เกิด กลิน ่ เหม็นอับในอาคารและก่อให ้เกิดโรคต่างๆ ติดตาม กันมา
การออกแบบระบบปรับอากาศทีด ่ ก ี ว่ นช่วย ลดการก่อตัวของเชือ
ี ็มส ้ ราในอาคาร

การแพร่กระจายของเชือ้ ราในอากาศภายในห ้องอาคาร


เกณฑ์มาตรฐาน การปนเปื้ อนเชือ ้ จุลชีพ ในอากาศ (IMA)
้ ราในอาคาร
การจัดการลดการปนเปื้ อนเชือ
ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศภายในขัน ้ ตา่ ทีย
่ อมรับได ้

ตารางที่ 1 ่
ค่ามาตรฐานทียอมร ับ

ค่ามาตรฐานทียอมร บั ได ้ ได้
ค่าคุณภาพอากาศภา
ยใน
อุณหภูมิ 22.5 – 25 °C
ความชืน้ 30-60%
แบคทีเรีย 500 CFU/m3

เชือราและยีสต ์ 500 CFU/m3
ทีม
่ า : ค่ามาตรฐานของค่าคุณภาพอากาศภายใน ตามมาตรฐาน Guide lines for Good Indoor Air Quality
in Office Premises (1996 : 40)

กาจัดเชือ้ จุลน ิ ทรีย ์


 การใช ้หลอดยูว ี
เพือ่ กาจัดเชือ้ จุลน
ิ ทรียต ์ ลอดจนถึงสปอร์ของเชือ ้ ราในอากาศภายในอาคาร
หลอดยูว-ี ซีให ้ค่าความยาวคลืน ่ อยูท ่ ี่ 254.7 นาโนเมตร เป็ นแสงทีถ ่ กู กรองในชัน ้ บรรยากาศ
แสงยูว-ี ซีจะเข ้าจาลองอีกขาหนึง่ ของ DNA ของเซลล์ (รูปที่ 12)ทา ให ้การแบ่งตัวของเซลล์เกิด
ปั ญหาและเซลล์นัน ้ จะถูกทา ลายเมือ ่ ความเข ้มข ้นและ
ระยะเวลาทีเ่ ซลล์ถก ู แสงยูวอี ยูใ่ นระยะเวลาทีเ่ หมาะสม ดังนัน ้ การใช ้หลอดยูว-ี ซีเพือ ้ หรือป้ องกัน
่ กา จัดเชือ
การแพร่กระจายของเชือ ้ โรคตลอดจนถึงเชือ ้ รา จึงได ้ มีการทดสอบค่าความเข ้มข ้นของแสงและเวลาทีม ่ ผ
ี ล
ในการฆ่าเชือ ้ เป็ น Dose

 ทาความสะอาดทุกวัน ใช ้น้ ายาทาความสะอาดทัว่ ไปหรือ ผสม EM กับน้ ายาทาความสะอาด


ฉีดสเปรย์ละอองน้ ายา ฆ่าเชือ้ ในอากาศภายในอาคาร
การทาความสะอาดพืน ้ กระจก ในทุกวัน ส่วนผ ้าม่าน
แผ่นกรองอากาศภายในเครือ ่ งปรับอากาศจะเว ้นช่วงการทาความสะอาดเป็ นสัปดาห์
ทีท
่ าความสะอาดเดือนละครัง้

เตรียมอุปกรณ์ทาความสะอาด
้ อาจซือ
เตรียมอุปกรณ์ทาความสะอาด ได ้แก่ แปรงขัด น้ ายาทาความสะอาด น้ า ยาฆ่าเชือ ้ แบบสาเร็จรูป

หรือสามารถทาได ้เองง่ายๆ น้ ายาฆ่าเชือราทีส
่ ามารถทาได ้เอง ได ้แก่

o น้ าส ้มสายชู เป็ นน้ ายาฆ่าเชือ ้ ราอย่างอ่อน สามารถฆ่าเชือ ้ ราได ้ประมาณ 80%


้ชนิ
แต่ไม่สามารถฆ่าสปอร์ได ้ จะเลือกใช ดหมักหรือกลั่นก็ได ้ ควรมีความเข ้มข ้นอย่างน ้อย 7%
อาจฉีดพ่นทิง้ ไว ้ประมาณ 5-10 นาที แล ้วเช็ดออก
o ผลิตภัณฑ์ฟอกขาวทีม ่ ส ี ว่ นผสมของสารประกอบคลอรีน 6% sodium hypochlorite
เป็ นน้ ายาฆ่าเชือ ้ ราชนิดเข ้มข ้น สามารถหาซือ ้ ได ้ง่าย โดยต ้องนามาเจือจางกับน้ าก่อนใช ้
(ผสมใหม่ทก ุ ครัง้ ก่อนใช ้งานเท่านัน ้ เนือ ่ งจากสารละลายเสือ ่ มสภาพได ้เร็ว) และมีข ้อควรระวังคือ
ห ้ามผสมสารละลายคลอรีนกับแอมโมเนีย
หรือผสมสารละลายคลอรีนกับสารทีม ่ ฤ ี ทธิเ์ ป็ นกรดโดยเด็ดขาด
เพราะจะทาให ้เกิดก๊าซพิษได ้หลายชนิด เช่น คลอรามีน ก๊าซคลอรีน
ซึง่ เป็ นอันตรายร ้ายแรงต่อระบบทางเดินหายใจ เยือ ่ บุตา หลอดอาหาร
หลอดลมและอาจทาให ้เสียชีวต ิ ได ้
ทำควำมสะอำดและกำจ ัดเชอ ้ื รำ
 ทาความสะอาดพืน ้ ผนัง เพดาน และสิง่ ของทีป ่ นเปื้ อนด ้วยน้ าและสบูห ่ รือน้ ายาล ้างจาน
ขัดให ้คราบสกปรกหลุดออกให ้หมด โดยบริเวณทีต ่ ้องทาความสะอาดมากเป็ นพิเศษ คือ ครัว
ชัน้ วางอาหาร และบริเวณทีส ่ าหรับเด็กอยูอ ่ าศัย
 กาจัดเชือ ้ ราทีอ่ ยูต
่ ามพืน ้ ผิวทีแ ่ ข็ง เช่น พืน ้ ห ้อง เตา อ่างล ้างจาน ของเล่นเด็ก เครือ ่ งใช ้บนโต๊ะอาหาร
จาน พืน ้ โต๊ะ และอุปกรณ์อน ื่ ๆ โดยทาความสะอาดด ้วยผลิตภัณฑ์ฟอกขาว sodium hypochlorite 1
ถ ้วย (240 มล.) เจือจางกับน้ าสะอาด 1 แกลลอน (3.8 ลิตร) ถ ้าพืน ้ ผิวมีความหยาบให ้ใช ้แปรงแข็งๆ
ขัดทาความสะอาด แล ้วจึงล ้างพืน ้ ผิวนัน้ ด ้วยน้ าสะอาด
 ถ ้าพืน ้ ผิวทีต ่ ้องการทาความสะอาดแห ้งและเห็นเป็ นราขึน ้ ฟู ควรเช็ดด ้วยกระดาษชาระเนือ ้ เหนียว
้ผ
พรมน้ าให ้เปี ยกเล็กน ้อย หากใช ้าแห ้งหรือกระดาษแห ้งๆ เช็ดอาจทาให ้สปอร์ของราฟุ้ งกระจายมากขึน ้
วิธเี ช็ดควรเช็ดไปในทิศทางเดียว เช่น บนลงล่าง หรือซ ้ายไปขวา แล ้วทิง้ กระดาษไป ห ้ามเช็ดย ้อนไปมา
เพราะจะทาให ้บริเวณทีเ่ ช็ดราออกไปแล ้วปนเปื้ อนราได ้อีก จากนัน ้ เช็ดด ้วยน้ าสบู่
 ระหว่างทาความสะอาดให ้เปิ ดประตูหน ้าต่างเพือ ่ ช่วยระบายอากาศ ห้ำมเปิ ดแอร์หรือพ ัดลมเพือ ่ ป้ องกั
นการฟุ้ งกระจายของเชือ ้ รา
 ทำให้แห้งและควบคุมควำมชน ื้
o หลังจากทาความสะอาดและกาจัดเชือ ้ ราแล ้ว ให ้ใช ้พัดลมเป่ า อุปกรณ์ตา่ งๆ ให ้แห ้งสนิท
o หากมีการรั่วซึมของน้ าภายใน เช่น หลังคา ผนัง ต ้องรีบแก ้ไข
เพราะความชืน ้ เป็ นสาเหตุสาคัญของการเจริญเติบโตของเชือ ้ รา
o เฝ้ าระวังไม่ให ้ภายในอาคาร หรือห ้องอับชืน ้ โดยความชืน ้ ทีม ่ กั ไม่เกิดเชือ ้ ราคือทีร่ ะดับความชืน ้ 40-
60% คอยตรวจสอบบริเวณทีเ่ คยพบเชือ ้ ราและบริเวณทีอ ่ บ
ั ชืน ้ ไม่ให ้เกิดเชือ ้ ราขึน้ อีก

http://meepole.blogspot.com/2011/12/home-fumigation.html

Fumigation

ฟอมาลิน 35 กรัม เทลงในด่างทับทิมเกล็ด 10 กรัม ต่อพืน


้ ที่ 1 ลูกบาศก์เมตร
 นาผลึก ด่างทับทิม ใส่จานแบน ประมาณ 1 - 2 ช ้อนชา
 ราดฟอร์มล ั ดีไฮด์ 10% ลงในจานด่างทับทิมให ้พอท่วม จะเกิดไอแสบจมูก

Formalin คือ ก๊าซ formaldehyde (370 g/L, 37%) ละลายในนา้ และ มี


Methanol (100 ml/L, 10%) เป็ น stabilizer

อันตราย จาก Formaldehyde


้ จุลน
Formaldehyde gas fumigation คือ การฆ่าเชือ ิ ทรียโ์ ดยการอบ/รมควันด ้วยก๊าซ ฟอร์มาลดีไฮด์
ก๊าช Formaldehyde มีฤทธิใ์ นการฆ่าเชือ ้ จุลน
ิ ทรียท ์ ก
ุ ชนิด รวมทัง้ spore ในสภาวะทีอ
่ ณ
ุ หภูมส
ิ งู กว่า 20 C
การทาให ้เกิดก๊าซ Formaldehyde
Formalin + น้ า + Potassium permanganate เกิดเป็ น ก๊าซ Formaldehyde (เกิดไอแสบจมูก)
ปฏิกริ ย
ิ านีส
้ ามารถเกิดปฏิกริ ย
ิ าทีร่ น
ุ แรง ไฟไหม ้ ระเบิด และเกิดอันตราย!!!!
อันตรายของก๊าซ Formaldehyde
เป็ นสารพิษต่อระบบประสาท (Neuro toxin) ทาให ้นอนไม่หลับ
ทาให ้ไอ ปวดศีรษะ คลืน ่ ไส ้ และ เลือดออกทางจมูก
Formaldehyde ในอากาศ ทีค ่ วามเข ้มข ้นมากกว่า 0.1 ppm ก่อให ้เกิดอาการระคายเคืองตา และ เยือ ่ บุ
ทาให ้แสบตา น้ าตาไหลและหากสูดดมจะทาให ้ ปวดศีรษะ แสบไหม ้คอ หายใจลาบาก และ
กระตุ ้นให ้เกิดอาการหืดหอบเป็ นสารก่อภูมแ ิ พ ้ (Allergen)
เป็ นสารก่อมะเร็ง (Carcinogen)

ข ้อต ้องปฏิบตั ส
ิ าหรับผู ้ทีจ
่ ะทา Formaldehyde fumigation
- จะต ้องได ้รับการฝึ กอบรมเพือ ่ ให ้รู ้จักสาร อันตราย และความเข ้มข ้นทีใ่ ช ้ อันตรายและ การควบคุม เป็ นต ้น
- สวมใส่อป ุ กรณ์ป้องกันส่วนบุคคล

เวลาทีใ่ ช ้ในการอบฆ่าเชือ

ก๊าซ Formaldehyde ออกฤทธิช ์ ้าในการฆ่าเชือ
้ จุลน ้ จึงต ้องใช ้เวลาหลายชัว่ โมงหรือหลายวัน
ิ ทรีย ์ ดังนัน
หากใช ้ Formaldehyde > 1,000 ppm ต ้องใช ้เวลาอย่างน ้อย 7 ชัว่ โมง
แต่อย่าลืมว่าตามข ้อบังคับ ควบคุมในห ้องปฏิบต
ั กิ ารเตือนว่า
COHSS Regulations
“Maximum Exposure Limit 2 ppm (2.5 mg/m3)” ข ้อจากัดทีไ่ ด ้รับไม่ควรเกิน 2 ppm เท่านัน ้
ppm คือส่วนในล ้านส่วน (part per million)

มีหลายประเด็นทีไ่ ม่ได ้คิดถึง ต ้องมีการคานึงถึงความเข ้มข ้นต่อพืน ่ ้วย และสารทีใ่ ช ้คือฟอร์มาลิน


้ ทีด
ส่วนก๊าซทีเ่ กิดคือฟอร์มาลดีไฮด์ และหากเตรียมไม่ถก ู ต ้องก็อน
ั ตราย
และทีม่ ข
ี า่ วไฟไหม ้เกิดขึน
้ จากการอบบ ้านด ้วยวิธน
ี ี้ ก็เพราะไม่เข ้าใจปฏิกริ ย ิ ายาเคมีทเี่ กิดต่อเนือ
่ งนั่นเอง

You might also like