Thai Social

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 31

กังหันลม

จัดทําโดย
นางสาวกันต์กมล บงกชโอฬาร เลขที่ 3
นางสาวนวพรพรหม ชูสิงห์ เลขที่ 6
นางสาวพิชชาภรณ์ เอกอัจฉริยา เลขที่ 7
นางสาวชนัญญา เหลืองอรุณทิพย์ เลขที่ 14
นางสาวแพรว พรทาบทอง เลขที่ 17
นางสาวชเนตตี ศรีเกตุ เลขที่ 20
01 ทีม
่ าและความสําคัญของการมีนวัตกรรม

02 งานวิจัย กังหันลม 1

03 งานวิจัย กังหันลม 2

04 งานวิจัย กังหันลม 3
ที่มาและความสําคัญของการมีนวัตกรรม

เศรษฐกิจสีเขียว ( Green Economy ) คือ


● ระบบเศรษฐกิจทีน
่ ําไปสู่การยกระดับคุณภาพความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เพิ่มความเป็ นธรรมทาง
สังคม
● สามารถลดความเสีย
่ งทางด้านสิง
่ แวดล้อมและปัญหาความขาดแคลนของทรัพยากรลงได้
● แนวคิดเรือ
่ งเศรษฐกิจสีเขียวได้ถูกนําเสนอจากโครงการสิง
่ แวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP)
สําหรับในส่วนของประเทศไทยนัน
้ เศรษฐกิจสีเขียวยังค่อนข้างได้รับความ

สนใจในวงจํากัดทัง
้ นีส
้ ่วนหนึง
่ เป็ นเพราะประเทศไทยนัน
้ ยังคงมีเป้าหมายหลักเพื่อ

การพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อตอบสนองตลาดโลกและตลาดในภูมิภาคมากกว่าการ

พัฒนาด้านการเกษตรกรรม
แต่ก็ใช่ว่าภาครัฐเองจะมิได้ให้ความสนใจในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจทีย
่ ง
ั่ ยืนเลย

เพราะในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)

ในส่วนที่ 3 บทที่ 6 ว่าด้วยเรือ


่ ง

“ยุทธศาสตร์การปรับตัวทางเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยัง
่ ยืน”
กังหันลม เป็ นอุปกรณ์ชนิดหนึง่ ทีถ่ ูกนํามาใช้สกัดพลังงานจลน์ของกระแสลม
และเปลีย
่ นให้เป็ นให้เป็ นพลังงานกล จากนัน
้ จึงนําพลังงานกลมาใช้ประโยชน์ กล่าวคือ
เมือ
่ กระแสลมพัดผ่านใบกังหัน จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานจลน์ไปสู่ใบกังหัน ทําให้กังหัน
หมุนรอบแกน สามารถนําพลังงานจากการหมุนนีไ้ ปใช้งานได้
ชนิดของกังหันลม
- กังหันลมแนวแกนนอน
- กังหันลมแนวแกนตัง

กังหันลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine)
เป็ นกังหันลมทีม
่ ีแกนหมุนขนานกับทิศทางของลมโดยมีใบพัดเป็ นตัว
ตัง
้ ฉากรับแรงลม มีอุปกรณ์ควบคุมกังหันให้หันไปตามทิศทางของกระแสลม
เรียกว่า หางเสือ และมีอุปกรณ์ปอ
้ งกันกังหันชํารุดเสียหายขณะเกิดลมพัดแรง
กังหันลมแนวแกนตัง
้ (Vertical Axis Wind Turbine)
เป็ นกังหันลมทีม
่ ีแกนหมุนและใบพัดตัง
้ ฉากกับการเคลือ
่ นทีข
่ องลม
ในแนวราบซึง
่ ทําให้สามารถรับลมในแนวราบได้ทุกทิศทาง
กังหันลมทีใ่ ช้กันมากในประเทศไทยตัง
้ แต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่
- กังหันลมแบบใบกังหันไม้ ใช้สําหรับฉุดระหัดวิดนํ้าเข้านาข้าวบริเวณ จังหวัดฉะเชิงเทรา
- กังหันลมใบเสือ
่ ลําแพน ใช้ฉุดระหัดวิดนํ้าเค็มเข้านาเกลือบริเวณ จังหวัดสมุทรสงคราม
- กังหันลมแบบใบกังหันหลายใบ ทําด้วยแผ่นเหล็กใช้สําหรับสูบนํ้าจากบ่อนํ้าบาดาล
ขึน
้ ไปเก็บในถังกักเก็บ
 หลักการทํางานของกังหันลมผลิตไฟฟ ้า
เมือ
่ มีลมพัดผ่านใบกังหัน พลังงานจลน์ทเี่ กิดจากลมจะ ทําให้ใบพัดของกังหันเกิดการ
หมุน
และได้เป็ นพลังงานกลออกมาพลังงานกลจากแกนหมุนของกังหันลมจะถูกเปลีย
่ นรูปไปเป็ น
พลังงานไฟฟ ้า โดยเครือ
่ งกําเนิดไฟฟ ้าทีเ่ ชือ
่ มต่ออยู่กับแกนหมุนของกังหันลม จ่ายกระแสไฟฟ ้า
ผ่านระบบควบคุมไฟฟ ้า และจ่ายกระแสไฟฟ ้าเข้าสู่ระบบต่อไป โดยปริมาณไฟฟ ้าทีผ
่ ลิตได้จะขึน

อยู่
กับความเร็วของลม ความยาวของใบพัด และสถานทีต
่ ิดตัง
้ กังหันลม
งานวิจัยที่ 1
การผลิตไฟฟ้าพลังงานทดแทนจากลม ใช้ทว ั่ โลก
ได้จริง แถมคุ้มค่ากว่าระบบทีม
่ ีอยู่
สาระสําคัญ
การใช้พลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดอย่างกังหันลม มุ่งทีจ
่ ะทําให้เกิดการใช้พลังงานหลัก
อย่าง 100% ก็ย่อมมีหลายปัจจัยเข้ามาเกีย
่ วข้อง ไม่ว่าจะเป็ นสภาพภูมิอากาศ ทีต
่ ง
ั้ ของประเทศนัน
้ ๆ
ระบบเศรษฐกิจ นโยบายด้านพลังงาน รวมไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ทีจ
่ ะเข้ามาช่วยตอบโจทย์
ให้เกิดพลังงานทดแทนอย่างจริงจัง
ความสําคัญของกังหันลมไฟฟ ้าในอุตสาหกรรมสีเขียว

พลังงานคือหนึง
่ ในหัวข้อทีส
่ ําคัญทีส
่ ุดในการต่อยอด Green Industry ไม่ว่าจะเป็ นการปรับใช้

ในระดับไหน ตัง
้ แต่การประหยัดพลังงานไปจนถึงการหาพลังงานทดแทนกังหันลมไฟฟ ้าจึงกลายเป็ น

อีกตัวเลือกทีน
่ ่าสนใจสําหรับเขตพื้นทีร
่ ิมชายฝั่ งหรือพื้นทีห
่ ่างไกล
ในปัจจุบันก็มีการนํากังหันลมไปใช้ในท่าเรือ โรงงานต่างๆ ไปจนถึงโรงงานของ
โครงการพระราชดําริ ทีม
่ ีการเปลีย
่ นผ่านพลังงานเป็ นพลังงานสะอาดและช่วยลดค่าไฟในระยะยาว
ได้เป็ นจํานวนมาก ข้อจํากัดคือประเทศไทยมีจุดทีเ่ หมาะสมในการตัง
้ กังหันลมค่อนข้างน้อย จึงต้อง
ใช้กังหันลมขนาดเล็กเป็ นหลัก
งานวิจัยเรือ
่ งที่ 2
การพัฒนาพลังงานทดแทนจากกังหันลมความเร็ว
ลมตํ่าสําหรับอาคารและชุมชน
กรณีศึกษาวัดหงส์ทอง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ปัญหา

ปัจจุบันมีโครงการผลิตไฟฟ ้าจากกังหันลมหลายโครงการ เพื่อตอบสนอง


ความต้องการในการใช้พลังงานของผู้คน โดยวัสดุทใี่ ช้จะเป็ นวัสดุคุณภาพสูง
ทีน
่ ําเข้าจากต่างประเทศ จึงเป็ นกังหันลมทีเ่ หมาะสมกับลมทีม
่ ีความเร็วสูงและมี
ลักษณะคงที่ ซึง
่ ไม่เหมาะสมกับสภาพอากาศในประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย

เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะลมทีเ่ กิดขึน
้ มนประเทศไทย
เพื่อออกแบบกังหันลมทีเ่ หมาะสมกับกระแสลมในประเทศ เพื่อสร้างกังหันลมทดสอบผลิต
ไฟฟ ้าและต่อเชือ
่ มกับระบบสายส่งโดยมีขอบเขตของการวิจัยคือการสร้างกังหันลมทีม
่ ีขนาด
ผลิตไฟฟ ้า 18 กิโลวัตต์
วิธีดําเนินการวิจัย
1. ศึกษาข้อมูลลักษณะลมของประเทศไทยจากเอกสารอ้างอิงและข้อมูลจริงบางส่วนของพื้นที่
ติดตัง
้ กังหันลม
2. ศึกษารูปแบบและออกแบบใบพัดและระบบผลิตไฟฟ ้าของกังหันลมทีเ่ หมาะสมกับความเร็วลม
ของประเทศไทย
3. ออกแบบสร้างกังหันลมความเร็วลมตํ่าทีเ่ หมาะสม ณ พื้นทีท
่ ดสอบบริเวณ วัดหงส์ทอง
หมู่ที่ 9 ตําบลคลองสอง อําเภอบางประกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการวิจัยนี้

- เป็ นต้นแบบกังหันลมผลิตไฟฟ ้า และระบบควบคุมการส่งกระแสไฟฟ ้าเข้าระบบสายส่งไฟฟ ้า


ของกังหันลมทีเ่ หมาะสมกับความเร็วลมตํ่าของประเทศไทย ทีม
่ ีการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต
กระแสไฟฟ ้าทีไ่ ด้และจุดคุ้มทุน
- กังหันลมในประเทศไทยมีประสิทธิภาพสูงขึน

งานวิจัยเรือ
่ งที่ 3
การศึกษาศักยภาพพลังงานลมสาหรับการผลิตไฟฟ ้า
ในเขตภาคกลางของประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย

เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพทางพลังงานลมในการผลิตพลังงานไฟฟ ้า จาก ข้อมูลลมทีร


่ ะดับความสูง
65 เมตร 90 เมตร และ 120 เมตร ทีเ่ ก็บต่อเนือ
่ งเป็ นระยะเวลา 1 ปี และวิเคราะห์ทาง
เศรษฐศาสตร์เบือ
้ งต้นถึงความเป็ นไปได้ในการติดตัง
้ กังหันลมขนาดใหญ่สําหรับการผลิตพลังงาน
ไฟฟ ้าในเชิงพาณิชย์โดยได้ทําการคัดเลือกพื้นทีท
่ น
ี่ ่าจะมีศักยภาพต่างๆกันให้ได้ 3 แห่งเพื่อจะ ติดตัง

เสาวัดลม ได้แก่
1) บริเวณศูนย์การทหารม้าอําเภอเมืองจังหวัดสระบุรี
2) บริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุีวิทยาเขตราชบุรี จังหวัดราชบุรี ี
3) บริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตจังหวัดปทุมธานี
ข้อจํากัด: คือประเทศไทยมีจุดทีเ่ หมาะสมในการตัง
้ กังหันลมค่อนข้างน้อย จึงต้องใช้
กังหันลมขนาดเล็กเป็ นหลัก

ทางกระทรวงพลังงานก็ยังมีการศึกษาเพิ่มเติมอย่างต่อเนือ
่ งทัง
้ การดึง
ประสิทธิภาพของพลังงานลมและพลังงานชนิดอืน
่ ออกมาว่าสามารถประยุกต์ใช้งานร่วม
กันได้มากขนาดไหนอย่างไร ให้มีประสิทธิภาพมากทีส
่ ุด
ประโยชน์ของกังหันลมต่อแต่ละภาคส่วน
อุตสาหกรรม :
- อุตสาหกรรมการไฟฟ ้าต้องลงทุนในการซือ
้ กังหันลมแต่ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานจะลดลงในระยะ
ยาวเพราะใช้พลังงานธรiมชาติทม
ี่ ีอย่างสมํ่าเสมอ
เกษตรกรรม :
- สามารถช่วยแก้ปัญหาพื้นทีต
่ ่างระดับในพื้นทีเ่ กษตรกรรมได้โดยมีการสูบนํ้าจากบริเวณตํ่าขึน

บริเวณสูงซึง
่ มลพิษทางอากาศและนํ้าน้อยส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรสะอาดและมีคุณภาพ
มากขึน

การค้า :
- การค้าขายผลผลิตทางการเกษตรอาจได้กําไรมากขึน
้ เนือ
่ งจากผลผลิตมีคุณภาพมากขึน

- การค้าขายในภาคอุตสาหกรรมช่วงแรกอาจต้องขึน
้ ราคาสินค้าเนือ
่ งจากมีต้นทุนสูง
- สร้างเป็ นจุดดึงดูดนักท่องเทีย
่ วให้นักท่องเทีย
่ วมาถ่ายรูปและชมวิวสร้างรายได้เข้าชุมชนได้อีกทาง
บริการ :
- ลดภาษีรถยนต์ทใี่ ช้พลังงานทางเลือกทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง
่ แวดล้อม
การนําไปประยุกต์ใช้ในโลกปัจจุบัน
กังหันลมถูกผลิตขึน
้ มานานนับศตวรรษเพื่อการเกษตร และถูกประยุกต์
และพัฒนาอย่างต่อเนือ
่ ง จนกลายเป็ นเครือ
่ งกําเนิดไฟฟ ้าพลังงานลม แนวคิดการใช้
พลังงานทดแทนพลังงานลมเป็ นพลังงานหลักถูกหยิบยกขึน
้ มา รวมถึงการใช้กังหันลม
ผลิตไฟฟ ้าอย่างจริงจังทัง
้ ในเขตอุตสาหกรรมและชุมชน
นอกจากนีย้ ังมีประเทศต่างๆมากมายทีใ่ ช้พลังงานจากกังหัน
ลม เช่น ฝรัง่ เศส อังกฤษ เยอรมัน อิตาลี่ จีน เดนมาร์ก
อินเดีย อเมริกา สเปน ฯลฯ

You might also like