Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 78

หนา ๑

เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

กฎกระทรวง
แบงสวนราชการเปนกองบังคับการหรือสวนราชการอยางอื่นในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๒

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ


พ.ศ. ๒๕๔๗ นายกรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ ใหยกเลิก
(๑) กฎกระทรวงแบงสวนราชการเปน กองบังคับการหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น
ในสํานักงานตํารวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๘
(๒) กฎกระทรวงแบงสวนราชการเปน กองบังคับการหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น
ในสํานักงานตํารวจแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
(๓) กฎกระทรวงแบงสวนราชการเปน กองบังคับการหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น
ในสํานักงานตํารวจแหงชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑
ขอ ๒ ใหแบงสวนราชการสํานักงานตํารวจแหงชาติ ดังตอไปนี้
(๑) สํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ แบงเปนดังตอไปนี้
๑.๑ สวนราชการที่มีฐานะเทียบกองบัญชาการ
(ก) สํานักงานยุทธศาสตรตํารวจ แบงเปนดังนี้
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กองยุทธศาสตร ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) กลุมงานวิเคราะหและกําหนดยุทธศาสตร
หนา ๒
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๓) กลุมงานแผนทางการบริหาร
๔) กลุมงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร
๕) กลุมงานประเมินผลยุทธศาสตร
๖) กลุมงานบริหารความเสี่ยง
(๓) กองแผนงานอาชญากรรม ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) กลุมงานปองกันและปราบปรามอาชญากรรม
๓) กลุมงานปองกันอาชญากรรมพิเศษ
๔) กลุมงานการมีสวนรวมของประชาชน
๕) กลุมงานวิเคราะหและประเมินผล
(๔) กองแผนงานกิจการพิเศษ ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) กลุมงานกิจการพิเศษ
๓) กลุมงานความมั่นคง
๔) กลุมงานจราจร
๕) กลุมงานบริการประชาชน
๖) กลุมงานวิเคราะหและประเมินผล
(๕) กองวิจัย ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) กลุมงานสงเสริมและประสานงานวิจัย
๓) - ๕) กลุมงานวิจัยและประเมินผล ๑ - ๓
(ข) สํานักงานสงกําลังบํารุง แบงเปนดังนี้
(๑) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
๑) ฝายธุรการและกําลังพล
๒) ฝายยุทธศาสตร
๓) ฝายวิเคราะห ควบคุมงบประมาณ และมาตรฐานพัสดุ
๔) ฝายนิติการ
หนา ๓
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๕) ฝายพัฒนาและเทคโนโลยีสารสนเทศ
๖) ฝายวิชาการและฝกอบรมดานสงกําลังบํารุง
(๒) กองพลาธิการ ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) -๔) ฝายพลาธิการ ๑ - ๓
(๓) กองโยธาธิการ ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๔) ฝายโยธาธิการ ๑ - ๓
๕) กลุมงานวิชาชีพและเชี่ยวชาญ
(๔) กองสรรพาวุธ ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๔) ฝายสรรพาวุธ ๑ - ๓
(ค) สํานักงานกําลังพล แบงเปนดังนี้
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(๓) กองอัตรากําลัง ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๓) ฝายวิเคราะหตําแหนง ๑ - ๒
๔) ฝายมาตรฐานตําแหนง
๕) ฝายเงินเพิ่มและเงินประจําตําแหนง
๖) ฝายควบคุมอัตรากําลัง
๗) กลุมงานวิเคราะหและพัฒนาระบบงาน
(๔) กองทะเบียนพล ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) ฝายประวัติบุคคล
๓) ฝายแตงตั้ง
๔) ฝายบรรจุ
หนา ๔
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๕) ฝายความชอบ
๖) ฝายประเมินบุคคล
(๕) กองสวัสดิการ ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) ฝายการจัดสวัสดิการ
๓) ฝายสวัสดิการการเงิน
๔) ฝายสวัสดิการบานพัก
๕) ฝายการฌาปนกิจสงเคราะห
๖) ฝายสโมสรและสันทนาการ
๗) ฝายดนตรี
๘) ฝายกีฬา
๙) กลุมงานอนุศาสนาจารย
(ง) สํานักงานงบประมาณและการเงิน แบงเปนดังนี้
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศดานงบประมาณและการเงิน
(๓) กองงบประมาณ ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) ฝายยุทธศาสตรและแผนงบประมาณภาพรวม
๓) - ๗) ฝายงบประมาณ ๑ - ๕
๘) ฝายวิชาการ
(๔) กองการเงิน ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๗) ฝายการเงิน ๑ - ๖
(๕) กองบัญชี ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๔) ฝายบัญชี ๑ - ๓
(จ) สํานักงานกฎหมายและคดี แบงเปนดังนี้
(๑) ฝายอํานวยการ
หนา ๕
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(๒) กองกฎหมาย ประกอบดวย


๑) ฝายอํานวยการ
๒) กลุมงานวิชาการ
๓) กลุมงานระเบียบการตํารวจ
๔) กลุมงานกฎหมาย
๕) กลุมงานสัญญา
๖) กลุมงานพัฒนากฎหมาย
๗) กลุมงานประสานงานรัฐสภา
๘) ฝายหองสมุด
(๓) กองคดีอาญา ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๕) กลุมงานตรวจสอบสํานวน ๑ - ๔
๖) กลุมงานผูเชี่ยวชาญคดีอาญา
(๔) กองคดีปกครองและคดีแพง ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) กลุมงานคดีปกครอง
๓) กลุมงานคดีแพง
๔) กลุมงานที่ปรึกษา
(๕) สถาบันสงเสริมงานสอบสวน ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๓) กลุมงานสงเสริมงานสอบสวน ๑ - ๒
๔) - ๕) กลุมงานวิชาการ ๑ - ๒
(๖) สวนตรวจสอบสํานวนคดีอุทธรณและฎีกา ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) ฝายตรวจสอบสํานวนคดีอุทธรณ
๓) ฝายตรวจสอบสํานวนคดีฎีกา
(ฉ) สํานักงานคณะกรรมการขาราชการตํารวจ แบงเปนดังนี้
(๑) ฝายอํานวยการ
หนา ๖
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(๒) กองตรวจสอบและทะเบียนประวัติ ประกอบดวย


๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๓) ฝายการประชุม ๑ - ๒
๔) - ๕) ฝายตรวจสอบงานบุคคล ๑ - ๒
๖) ฝายทะเบียนประวัติ
๗) ฝายนิติการ
(๓) กองมาตรฐานวินัย ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๓) กลุมงานพิจารณา ๑ - ๒
(๔) กองอุทธรณ ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๓) กลุมงานพิจารณา ๑ - ๒
(๕) กองรองทุกข ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๓) กลุมงานพิจารณา ๑ - ๒
(ช) สํานักงานจเรตํารวจ แบงเปนดังนี้
(๑) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
๑) ฝายธุรการและกําลังพล
๒) ฝายยุทธศาสตร
๓) ฝายสงกําลังบํารุง
๔) ฝายติดตามประเมินผล
๕) ฝายรับเรื่องราวรองทุกข
๖) ศูนยจริยธรรมและจรรยาบรรณ
(๒) - (๑๑) กองตรวจราชการ ๑ - ๑๐ แตละหนวยงานประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๓) ฝายสืบสวนและตรวจราชการ ๑ - ๒
หนา ๗
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ซ) สํานักงานตรวจสอบภายใน แบงเปนดังนี้


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานพัฒนาการตรวจสอบภายใน
(๓) กองตรวจสอบภายใน ๑ ประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๕) ฝายตรวจสอบภายใน ๑ - ๔
๖) ฝายตรวจสอบพิเศษ
(๔) - (๕) กองตรวจสอบภายใน ๒ - ๓ แตละหนวยงานประกอบดวย
๑) ฝายอํานวยการ
๒) - ๔) ฝายตรวจสอบภายใน ๑ - ๓
๕) ฝายตรวจสอบพิเศษ
๑.๒ สวนราชการที่มีฐานะเทียบกองบังคับการ
(ฌ) สํานักงานเลขานุการตํารวจแหงชาติ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๓) ฝายสารบรรณ ๑ - ๒
(๔) ฝายบริการการประชุมและพิธีการ
(๕) กลุมงานวิชาการและงานสารบรรณ
(ญ) กองการตางประเทศ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๔) ฝายตํารวจสากลและประสานงานภูมิภาค ๑ - ๓
(๕) ฝายความรวมมือและกิจการระหวางประเทศ
(๖) ฝายสนธิสัญญาและกฎหมาย
(๗) ฝายพิธีการและการรับรอง
(๘) กลุมงานแปลและลาม
(ฎ) กองสารนิเทศ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายเฝาฟง วิเคราะห ติดตาม และรายงาน
หนา ๘
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(๓) ฝายสื่อวิทยุกระจายเสียง
(๔) ฝายสื่อวิทยุโทรทัศนและสื่อสารสนเทศ
(๕) ฝายสื่อสิ่งพิมพ
(๖) ฝายพิพิธภัณฑ
(ฏ) สํานักงานคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายการประชุม
(๓) ฝายนิติการ
(๔) ฝายนโยบายพัฒนาองคกรและการบริหาร
(๕) ฝายนโยบายสงเสริมการมีสวนรวม
(ฐ) กองบินตํารวจ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายสนับสนุน
(๓) กลุมงานการบิน
(๔) กลุมงานชางอากาศยาน
(๕) กลุมงานผูเชี่ยวชาญชางอากาศยาน
(๖) กลุมงานวิศวกรรมอากาศยาน
(ฑ) กองวินัย ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานนิติกรดานสอบสวนและพิจารณาโทษ
(๓) กลุมงานนิติกรดานการเสริมสรางและพัฒนาวินัย
(๒) กองบัญชาการตํารวจนครบาล แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) - (๑๐) ฝายอํานวยการ ๑ - ๑๐
(ข) กองบังคับการตํารวจจราจร ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๗) กองกํากับการ ๑ - ๖
(๘) กลุมงานสอบสวน
หนา ๙
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ค) - (ฎ) กองบังคับการตํารวจนครบาล ๑ - ๙ แตละหนวยงานประกอบดวย


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กองกํากับการสืบสวนสอบสวน
(๓) กลุมงานสอบสวน
(๔) สถานีตํารวจนครบาล
(ฏ) กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๕) กองกํากับการสืบสวน ๑ - ๔
(๖) กองกํากับการวิเคราะหขา วและเครื่องมือพิเศษ
(๗) กลุมงานสอบสวน
(ฐ) กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กองกํากับการสุนัขและมาตํารวจ
(๓) กองกํากับการศูนยรวมขาว
(๔) กองกํากับการสายตรวจ
(๕) กองกํากับการตอตานการกอการราย
(๖) กลุมงานเก็บกูวัตถุระเบิด
(๗) กลุมงานสัตวแพทยและสัตวบาล
(ฑ) กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๓) กองกํากับการอารักขา ๑ - ๒
(๔) - (๕) กองกํากับการควบคุมฝูงชน ๑ - ๒
(ฒ) กองกํากับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี
(ณ) ศูนยฝกอบรม
(๓) - (๑๑) ตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙ แตละหนวยงานแบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) - (๙) ฝายอํานวยการ ๑ - ๙
(๑๐) ฝายอํานวยการ ๑๐ ใหมีเฉพาะตํารวจภูธรภาค ๙
หนา ๑๐
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ข) กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ประกอบดวย


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๔) กองกํากับการสืบสวน ๑ - ๓
(๕) กองกํากับการวิเคราะหขาวและเครื่องมือพิเศษ
(๖) กองกํากับการปฏิบัติการพิเศษ
(๗) กองกํากับการถวายอารักขาและรักษาความปลอดภัย ใหมีเฉพาะตํารวจภูธรภาค ๗
(๘) กลุมงานสอบสวน
(ค) ตํารวจภูธรจังหวัด แตละหนวยงานประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กองกํากับการสืบสวน
(๓) กลุมงานสอบสวน
(๔) กลุมงานจราจร
(๕) สถานีตํารวจภูธร
(ง) ศูนยฝกอบรม ใหมีเฉพาะตํารวจภูธรภาค ๑ - ๘ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายบริการการศึกษา
(๓) ฝายปกครองและการฝก
(๔) กลุมงานอาจารย
(๑๒) ศูนยปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) - (๑๐) ฝายอํานวยการ ๑ - ๑๐
(ข) กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๓) กองกํากับการสืบสวน ๑ - ๒
(๔) - (๕) กองกํากับการซักถาม ๑ - ๒
(๖) กลุมงานสอบสวน
หนา ๑๑
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ค) ตํารวจภูธรจังหวัด แตละหนวยงานประกอบดวย


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กองกํากับการสืบสวน
(๓) กลุมงานสอบสวน
(๔) กลุมงานจราจร
(๕) สถานีตํารวจภูธร
(ง) ศูนยฝกอบรม ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายบริการการศึกษา
(๓) ฝายปกครองและการฝก
(๔) กลุมงานอาจารย
(จ) กองกํากับการปฏิบัติการพิเศษ
(๑๓) กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) - (๑๐) ฝายอํานวยการ ๑ - ๑๐
(ข) กองบังคับการปราบปราม ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๗) กองกํากับการ ๑ - ๖
(๘) กองกํากับการปฏิบัติการพิเศษ
(๙) กลุมงานสอบสวน
(ค) กองบังคับการตํารวจทางหลวง ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๙) กองกํากับการ ๑ - ๘
(๑๐) กลุมงานถวายความปลอดภัย
(๑๑) กลุมงานสอบสวน
(ง) กองบังคับการตํารวจรถไฟ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๖) กองกํากับการ ๑ - ๕
หนา ๑๒
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(จ) กองบังคับการตํารวจทองเที่ยว ประกอบดวย


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๗) กองกํากับการ ๑ - ๖
(ฉ) กองบังคับการตํารวจน้ํา ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๔) กองกํากับการ ๑ - ๓
(๕) - (๑๒) กองกํากับการ ๔ - ๑๑
(๑๓) กลุมงานเรือตรวจการณขนาด ๑๑๐ - ๑๘๐ ฟุต
(ช) กองบั ง คั บ การปราบปรามการกระทํ า ความผิ ด เกี่ ย วกั บ ทรั พ ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๗) กองกํากับการ ๑ - ๖
(๘) กลุมงานสอบสวน
(ซ) กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการคามนุษย ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๗) กองกํากับการ ๑ - ๖
(๘) กลุมงานสอบสวน
(ฌ) กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ
ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๖) กองกํากับการ ๑ - ๕
(๗) กลุมงานสอบสวน
(ญ) กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในวงราชการ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๗) กองกํากับการ ๑ - ๖
(๘) กลุมงานสอบสวน
หนา ๑๓
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ฎ) กองบั ง คั บ การปราบปรามการกระทํ า ความผิ ด เกี่ ย วกั บ การคุ ม ครองผู บ ริ โ ภค


ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๕) กองกํากับการ ๑ - ๔
(๖) กลุมงานสอบสวน
(ฏ) กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี
ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๔) กองกํากับการ ๑ - ๓
(๕) กลุมงานสนับสนุนคดีเทคโนโลยี
(๖) กลุมงานสอบสวน
(๑๔) กองบัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติด แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) ฝายธุรการและกําลังพล
(๒) ฝายยุทธศาสตร
(๓) ฝายสงกําลังบํารุง
(๔) ฝายปองกันอาชญากรรม
(๕) ฝายงบประมาณและการเงิน
(๖) ฝายกฎหมายและวินัย
(๗) ฝายกิจการตางประเทศ
(๘) ฝายฝกอบรม
(ข) - (จ) กองบังคับการตํารวจปราบปรามยาเสพติด ๑ - ๔ แตละกองบังคับการ
ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานสอบสวนและตรวจสอบทรัพยสิน
(๓) - (๕) กองกํากับการ ๑ - ๓
หนา ๑๔
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ฉ) กองบังคับการขาวกรองยาเสพติด ประกอบดวย


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานการขาว
(๓) กลุมงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
(ช) กองกํากับการปฏิบัติการพิเศษ
(๑๕) กองบัญชาการตํารวจสันติบาล แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) ฝายธุรการและกําลังพล
(๒) ฝายยุทธศาสตร
(๓) ฝายสงกําลังบํารุง
(๔) ฝายงบประมาณและการเงิน
(๕) ฝายกฎหมายและวินัย
(๖) ฝายกิจการตางประเทศ
(๗) ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ
(๘) ฝายตรวจสอบพฤติการณบุคคล
(ข) กองบังคับการตํารวจสันติบาล ๑ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๗) กองกํากับการ ๑ - ๖
(ค) กองบังคับการตํารวจสันติบาล ๒ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๖) กองกํากับการ ๑ - ๕
(ง) กองบังคับการตํารวจสันติบาล ๓ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๗) กองกํากับการ ๑ - ๖
(จ) กองบังคับการตํารวจสันติบาล ๔ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานวิเคราะหขาวความมั่นคงของสถาบัน
หนา ๑๕
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(๓) กลุมงานวิเคราะหขาวทางเศรษฐกิจและสังคม
(๔) กลุมงานวิเคราะหขาวทางการเมือง
(๕) กลุมงานวิเคราะหขาวการกอการรายสากล
(๖) กลุมงานวิเคราะหขาวอาชญากรรมขามชาติ
(๗) กลุมงานประสานงานขาวตางประเทศ
(ฉ) ศูนยพัฒนาดานการขาว ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายจัดการฝกอบรม
(๓) ฝายปกครองและกิจกรรม
(๔) ฝายวิจัยและพัฒนา
(ช) กลุมงานผูเชี่ยวชาญดานการขาว
(๑๖) สํานักงานตรวจคนเขาเมือง แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) - (๙) ฝายอํานวยการ ๑ - ๙
(ข) กองบังคับการตรวจคนเขาเมือง ๑ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๔) กองกํากับการ ๑ - ๓
(ค) กองบังคับการตรวจคนเขาเมือง ๒ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายตรวจคนเขาเมืองขาเขา ดานตรวจคนเขาเมืองทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
(๓) ฝายตรวจคนเขาเมืองขาออก ดานตรวจคนเขาเมืองทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
(๔) ฝายตรวจลงตรา ดานตรวจคนเขาเมืองทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
(๕) ฝายพิธีการเขาเมือง ดานตรวจคนเขาเมืองทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
(๖) กองกํากับการสืบสวนปราบปราม
(๗) ดานตรวจคนเขาเมืองทาอากาศยานกรุงเทพมหานคร
(๘) ดานตรวจคนเขาเมืองทาอากาศยานเชียงใหม
(๙) ดานตรวจคนเขาเมืองทาอากาศยานภูเก็ต
(๑๐) ดานตรวจคนเขาเมืองทาอากาศยานหาดใหญ
หนา ๑๖
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ง) - (ช) กองบังคับการตรวจคนเขาเมือง ๓ - ๖ แตละกองบังคับการ ประกอบดวย


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กองกํากับการบริการคนตางดาว
(๓) ตรวจคนเขาเมืองจังหวัดและดานตรวจคนเขาเมือง
(ซ) กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๔) กองกํากับการ ๑ - ๓
(๕) กลุมงานสอบสวน
(ฌ) ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศตรวจคนเขาเมือง ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายประมวลผลขอมูล
(๓) กลุมงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
(๑๗) กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) - (๘) ฝายอํานวยการ ๑ - ๘
(ข) กองบังคับการตํารวจตระเวนชายแดนภาค ๑ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๕) กองกํากับการตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๑ - ๑๔
(ค) กองบังคับการตํารวจตระเวนชายแดนภาค ๒ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๕) กองกํากับการตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๒๑ - ๒๔
(ง) กองบังคับการตํารวจตระเวนชายแดนภาค ๓ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๕) กองกํากับการตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๓๑ - ๓๔
(จ) กองบังคับการตํารวจตระเวนชายแดนภาค ๔ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๕) กองกํากับการตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ - ๔๔
หนา ๑๗
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ฉ) กองบังคับการฝกพิเศษ ประกอบดวย


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๑๐) กองกํากับการ ๑ - ๙
(๑๑) ศูนยฝกสุนัขตํารวจ
(ช) กองบังคับการสนับสนุน ประกอบดวย
(๑) - (๕) ฝายสนับสนุน ๑ - ๕
(ซ) กองบังคับการสนับสนุนทางอากาศ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๖) กองกํากับการ ๑ - ๕
(ฌ) ศูนยอํานวยการโครงการพัฒนาตามแนวพระราชดําริ
(๑๘) สํานักงานนายตํารวจราชสํานักประจํา แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการถวายความปลอดภัย ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายแผนถวายความปลอดภัย
(๓) - (๔) ฝายปฏิบัติการถวายความปลอดภัย ๑ - ๒
(ข) สวนปฏิบัติการนายตํารวจราชสํานักประจํา ประกอบดวย
(๑) - (๕) ชุดปฏิบัติการ ๑ - ๕
(๑๙) สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) ฝายธุรการและกําลังพล
(๒) ฝายยุทธศาสตร
(๓) ฝายสงกําลังบํารุง
(๔) ฝายงบประมาณและการเงิน
(๕) ฝายกฎหมายและวินัย
(๖) ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ
(ข) กองพิสูจนหลักฐานกลาง ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานตรวจสถานที่เกิดเหตุ
หนา ๑๘
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(๓) กลุมงานตรวจเอกสาร
(๔) กลุมงานตรวจอาวุธปนและเครื่องกระสุน
(๕) กลุมงานตรวจทางเคมี ฟสิกส
(๖) กลุมงานตรวจยาเสพติด
(๗) กลุมงานตรวจลายนิ้วมือแฝง
(๘) กลุมงานตรวจชีววิทยาและดีเอ็นเอ
(๙) กลุมงานตรวจพิสูจนอาชญากรรมคอมพิวเตอร
(๑๐) กลุมงานผูเชี่ยวชาญ
(ค) กองทะเบียนประวัติอาชญากร ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๘) ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร ๑ - ๗
(๙) กลุมงานผูเชี่ยวชาญ
(ง) - (ฐ) ศูนยพิสูจนหลักฐาน ๑ - ๑๐ แตละหนวยงานประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานตรวจสถานที่เกิดเหตุ
(๓) กลุมงานตรวจเอกสาร
(๔) กลุมงานตรวจอาวุธปนและเครื่องกระสุน
(๕) กลุมงานตรวจทางเคมี ฟสิกส
(๖) กลุมงานตรวจยาเสพติด
(๗) กลุมงานตรวจลายนิ้วมือแฝง
(๘) กลุมงานตรวจชีววิทยาและดีเอ็นเอ
(๙) กลุมงานตรวจพิสูจนอาชญากรรมคอมพิวเตอร
(๑๐) กลุมงานผูเชี่ยวชาญ
(๑๑) พิสูจนหลักฐานจังหวัด
(ฑ) สถาบันฝกอบรมและวิจัยการพิสูจนหลักฐานตํารวจ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายฝกอบรม
(๓) ฝายพัฒนา
หนา ๑๙
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(๔) ฝายปกครอง
(๕) กลุมงานมาตรฐาน
(๖) กลุมงานผูเชี่ยวชาญ
(ฒ) กลุมงานพิสูจนเอกลักษณบุคคล
(ณ) ศูนยขอมูลวัตถุระเบิด
(๒๐) สํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) - (๔) ฝายอํานวยการ ๑ - ๔
(ข) กองตํารวจสื่อสาร ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๘) ฝายการสื่อสาร ๑ - ๗
(๙) กลุมงานพัฒนาเทคโนโลยีและบริหารความถี่
(๑๐) กลุมงานระบบวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน
(ค) กองบังคับการสนับสนุนทางเทคโนโลยี ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานวิจัยพัฒนาและฝกอบรมทางเทคโนโลยี
(๓) กลุมงานอินเตอรเน็ต
(๔) กลุมงานตรวจสอบและควบคุมมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย
(๕) กลุมงานตรวจสอบและวิเคราะหการกระทําความผิดทางเทคโนโลยี
(ง) ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศกลาง ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานบริหารจัดการระบบเครื่องคอมพิวเตอร
(๓) กลุมงานบริหารจัดการระบบฐานขอมูล
(๔) กลุมงานบริหารจัดการระบบเครือขายสารสนเทศ
(๕) กลุมงานสารสนเทศภูมิศาสตรและสื่อประสมเพื่อการบริหาร
(๒๑) กองบัญชาการศึกษา แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) - (๖) ฝายอํานวยการ ๑ - ๖
(๗) ศูนยสงเสริมจริยธรรมและพัฒนาคุณธรรม
หนา ๒๐
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ข) สํานักการศึกษาและประกันคุณภาพ ประกอบดวย


(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายยุทธศาสตรการศึกษา
(๓) - (๔) ฝายพัฒนาหลักสูตร ๑ - ๒
(๕) - (๖) ฝายมาตรฐานและการประกันคุณภาพ ๑ - ๒
(๗) ฝายวิชาการประกันคุณภาพ
(ค) วิทยาลัยการตํารวจ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายบริหารการฝกอบรม
(๓) ฝายกิจการการฝกอบรม
(๔) ฝายวิทยบริการ
(๕) ฝายวิจัยและพัฒนา
(ง) กองบังคับการฝกอบรมตํารวจกลาง ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายบริการการฝกอบรม
(๓) ฝายปกครองและกิจการการฝกอบรม
(๔) ศูนยฝกยุทธวิธีตํารวจ
(จ) กองการสอบ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายแผนการสอบ
(๓) ฝายจัดการสอบ
(๔) ฝายวิชาการสรรหา
(ฉ) สถาบัน ฝกอบรมระหวางประเทศวาดวยการดําเนิน การใหเปน ไปตามกฎหมาย
ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) ฝายวิชาการ
(๓) ฝายกิจการนักศึกษา
(ช) กลุมงานอาจารย
หนา ๒๑
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(๒๒) โรงเรียนนายรอยตํารวจ การแบงสวนราชการภายในใหเปนไปตามกฎหมายวาดวย


โรงเรียนนายรอยตํารวจ
(๒๓) โรงพยาบาลตํารวจ แบงเปนดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ ประกอบดวย
(๑) ฝายธุรการกําลังพล
(๒) ฝายเวชระเบียน
(๓) ฝายยุทธศาสตร
(๔) ฝายสงกําลังบํารุง
(๕) ฝายซอมบํารุง
(๖) ฝายกฎหมายและวินัย
(๗) ฝายงบประมาณ
(๘) ฝายการเงิน
(๙) ฝายฝกอบรม
(ข) วิทยาลัยพยาบาลตํารวจ ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) - (๓) ฝายพัฒนา ๑ - ๒
(๔) กลุมงานอาจารย
(ค) สถาบันนิติเวชวิทยา ประกอบดวย
(๑) ฝายอํานวยการ
(๒) กลุมงานตรวจพิสูจนหลักฐานเกี่ยวกับบุคคล
(๓) กลุมงานตรวจเลือด ชีวเคมี และเขมาดินปน
(๔) กลุมงานนิติพยาธิ
(๕) กลุมงานพิเศษ
(๖) กลุมงานพิษวิทยา
(ง) กลุมงานกุมารเวชกรรม
(จ) กลุมงานจิตเวชและยาเสพติด
(ฉ) กลุมงานชีวเคมี
(ช) กลุมงานตา
หนา ๒๒
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ซ) กลุมงานทันตกรรม
(ฌ) กลุมงานผูปวยนอก
(ญ) กลุมงานพยาธิวิทยา
(ฎ) กลุมงานพยาบาล
(ฏ) กลุมงานเภสัชกรรม
(ฐ) กลุมงานโภชนาการ
(ฑ) กลุมงานรังสีวิทยา
(ฒ) กลุมงานวิสัญญีวิทยา
(ณ) กลุมงานเวชศาสตรครอบครัว
(ด) กลุมงานเวชศาสตรฟนฟู
(ต) กลุมงานศัลยกรรม
(ถ) กลุมงานศูนยสงกลับและรถพยาบาล
(ท) กลุมงานสังคมสงเคราะห
(ธ) กลุมงานสูตินรีเวชกรรม
(น) กลุมงานหู คอ จมูก
(บ) กลุมงานออรโธปดิกส
(ป) กลุมงานอายุรกรรม
(ผ) โรงพยาบาลดารารัศมี
(ฝ) โรงพยาบาลนวุติสมเด็จยา
ขอ ๓ สวนราชการในสํานักงานตํารวจแหงชาติมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
๑. สํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
(๑) สํานักงานยุทธศาสตรตํารวจ
(ก) ฝายอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานกําลังพล งานงบประมาณ
การเงิ น และพั ส ดุ งานยุ ท ธศาสตร งานศึ ก ษาอบรม และงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งของสํ า นั ก งาน
ยุทธศาสตรตํารวจ
๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๒๓
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ข) กองยุทธศาสตร มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) เสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาในการจัดทําคํารั บรองการปฏิบั ติ
ราชการ แผนปฏิบัติราชการประจําป และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ป ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
ใหสอดคลองกับแผนบริหารราชการแผนดิน แผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายของ
รัฐบาลและคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ
๒) ประสานและจัดทําแผน แผนงาน โครงการ และยุทธศาสตรในภาพรวม
ของสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติและสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของสํานักงานตํารวจ
แหงชาติ
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองแผนงานอาชญากรรม มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) เสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาและจัดทําแผนยุทธศาสตรดาน
การปองกันอาชญากรรมของสํานักงานตํารวจแหงชาติใหสอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตรของชาติ
๒) ดํ า เนิ น การวิ เ คราะห ส ถานภาพอาชญากรรม และประเมิ น แนวโน ม
สถานการณอ าชญากรรมแตละประเภทในภาพรวม และจําแนกตามพื้ น ที่ตามวงรอบที่สํา นักงาน
ตํารวจแหงชาติกําหนด และเสนอแนวทาง แผน แผนงาน โครงการเกี่ยวกับการปองกัน และแกไข
ปญหาอาชญากรรม
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการรณรงคการปองกันอาชญากรรม การพัฒนาระบบ
และมาตรฐานดานการปองกันอาชญากรรม การใหการรับรองมาตรฐานดานการปองกันอาชญากรรม
ดานการรักษาความปลอดภัย ตลอดจนการพัฒนาระบบงานตํารวจชุมชนและการจัดระเบียบสังคม
เพื่อปองกันและควบคุมปญหาอาชญากรรม
๔) สงเสริมใหมีการจัดระบบงานดานการปองกันอาชญากรรมในระดับชุมชน
ทองถิ่น และสถานประกอบการ รวมทั้งการจัดระบบการปฏิบัติงานรวมกับพนักงานรักษาความปลอดภัย
๕) จัดใหมีระบบการตรวจสอบมาตรฐานพนักงานรักษาความปลอดภัย ตลอดจน
สงเสริมการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานในวิชาชีพการปองกันอาชญากรรม และการรักษาความปลอดภัย
๖) ใหคํ าปรึ กษา แนะนํา แกห นวยงานในสังกั ดสํ านัก งานตํา รวจแหง ชาติ
เกี่ยวกับระบบและมาตรฐานการจัดการดานการปองกันอาชญากรรม การพัฒนาระบบงานตํารวจชุมชน
และการปองกันอาชญากรรมระดับชุมชน
หนา ๒๔
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๗) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น


ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) กองแผนงานกิจการพิเศษ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) เสนอความเห็น เพื่อประกอบการพิ จารณาในการจัดทําแผนยุทธศาสตร
ดานกิจการพิเศษ ความมั่นคง การจราจร และการบริการสังคมของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนินการวิเคราะหปจจัยคุกคามทั้งภายในและภายนอกที่สงผลกระทบตอ
ความมั่นคงในภาพรวม และจําแนกรายพื้นที่ตามวงรอบที่สํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด
๓) วางแผนการปฏิบัติดานกิจการพิเศษ ความมั่น คง ดานการจราจร และ
การบริการสังคมให เปน ไปตามนโยบายหรือยุทธศาสตรของสํานักงานตํารวจแหงชาติ และเสนอ
แนวทาง แผน แผนงาน โครงการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ
๔) ดําเนิน การเกี่ยวกับการรณรงคเสริมสรางความมั่น คง ปองกัน อุบัติเหตุ
จราจร การพัฒนาระบบและมาตรฐานงานจราจร และการบริการสังคม
๕) สงเสริมและสนับสนุนหนวยงานของรัฐและภาคเอกชน ตลอดจนชุมชน
เพื่อใหมีสวนรวมในการเสริมสรางความมั่นคง การจัดการจราจร และการบริการสังคม
๖) ประสานความรวมมือกับสํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดมาตรฐานการนําเทคโนโลยีและวิทยาการมาสนับสนุนงานดาน
กิจการพิเศษ ความมั่นคง การจราจร และการบริการสังคม
๗) ใหคําปรึกษา แนะนํา แกหนวยงานในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติ
เกี่ยวกับระบบและมาตรฐานการจัดการดานกิจการพิเศษ ความมั่นคง การจราจร และการบริการสังคม
๘) จั ด ให มี ร ะบบการตรวจสอบมาตรฐานเจ า หน า ที่ จ ราจรและส ง เสริ ม
การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานในวิชาชีพการจราจร และการบริการสังคม
๙) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(จ) กองวิจัย มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบ รูปแบบ เทคนิค ยุทธวิธีตํารวจ
และวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ ตลอดจนสนับสนุน ใหมีการถายทอดการพัฒนาดานตาง ๆ
ใหแกหนวยงานในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติ
หนา ๒๕
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านตามนโยบายหรื อ


ยุทธศาสตรดานตาง ๆ ในภาพรวมของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ติดตอประสานความรวมมือกับสถาบันการศึกษาหรือองคกรอื่นทั้งภาครัฐ
และภาคเอกชน เพื่อสงเสริม ใหชุมชนมีสวนรวมในการวิจัยและพัฒนาการปฏิบัติงานของสํานักงาน
ตํารวจแหงชาติ
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๒) สํานักงานสงกําลังบํารุง
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานกําลังพล งานการเงิน
การบัญชีและพัสดุ รวมทั้งงานประชาสัม พัน ธ งานชวยอํานวยการ งานเลขานุการ และงานอื่น ๆ
ที่เกี่ยวของของสํานักงานสงกําลังบํารุง
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงาน และบริหารงานบุคคลของสํานักงาน
สงกําลังบํารุง
๓) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานงบประมาณของสํานักงานสงกําลังบํารุง รวมทั้ง
การควบคุมงบประมาณและมาตรฐานพัสดุของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานประสานงานและจั ด ทํ า ยุ ท ธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิจั ย พัฒ นา และงานประเมิ น ผลการปฏิบั ติ งานของสํา นั กงานส ง กํา ลั งบํ า รุง และ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๕) ดํา เนิน การเกี่ย วกับ งานกฎหมายและวิ นัย ของสํ านั ก งานสง กํ าลั ง บํา รุ ง
รวมทั้งงานนิติการที่เกี่ยวของกับการสงกําลังบํารุงของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๖) ดําเนินการศึกษาและพัฒนา รวมทั้งจัดทําระบบฐานขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เกี่ยวของกับการสงกําลังบํารุงของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๗) ดําเนินการดานวิชาการและฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรดานสงกําลังบํารุง
ใหกับหนวยงานในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๘) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๒๖
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ข) กองพลาธิการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการพัสดุของสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
ยกเวนประเภทที่ดินและสิ่งกอสราง และประเภทสรรพาวุธ
๒) ดําเนินการศึกษาการคนควาพัฒนาและสรางมาตรฐานคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ยกเวนครุภัณฑยุทธภัณฑ
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองโยธาธิการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการพัสดุประเภทที่ดินและสิ่งกอสรางของสํานักงาน
ตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนินการศึกษาพัฒนาและสรางมาตรฐานรูปแบบรายการและราคากลาง
สิ่งกอสรางของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) กองสรรพาวุธ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการพัสดุประเภทสรรพาวุธของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) พั ฒ นาและสร า งมาตรฐานคุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะครุ ภั ณ ฑ ยุ ท ธภั ณ ฑ ข อง
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมขอมูลพยานหลักฐานและพฤติการณ
แผนประทุษกรรมเกี่ยวกับวัตถุระเบิดที่ใชในการกระทําความผิด เพื่อเปนศูนยขอมูลทางวิชาการของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๓) สํานักงานกําลังพล
(ก) ฝายอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานกําลังพล งานงบประมาณ
การเงินและพัสดุ งานยุทธศาสตร งานศึกษาอบรม และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของของสํานักงานกําลังพล
หนา ๒๗
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กลุมงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ปฏิบัติหนาที่ฝายเลขานุการของคณะกรรมการ หรือคณะทํางานตาง ๆ
ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนินการศึกษาและเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลทั้งระบบ
ตลอดจนการแกไขปญหาขาดแคลนบุคลากรในสายงานตาง ๆ อยางเปนระบบและตอเนื่อง
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองอัตรากําลัง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการวิเคราะหและกําหนดตําแหนงของหนวยงานตาง ๆ
ตลอดจนการปรับปรุงโครงสรางการแบงสวนราชการของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด ระบบงาน และการพั ฒ นาระบบงานของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดทํา แกไขปรับปรุง และตรวจสอบมาตรฐานตําแหนง
รวมทั้งดําเนินการเกี่ยวกับเงินเพิ่มพิเศษ และเงินประจําตําแหนงของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานโครงการอัตรากําลัง งานจัดอัตรา งานควบคุ ม
ตําแหนงและตัวคนบรรจุจริงของขาราชการตํารวจ พนักงานราชการและลูกจาง งานลาศึกษาของ
ขาราชการตํารวจในสังกัดสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติและสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับงานจัดทําบัญชีถือจายเงินทุกประเภท และงานควบคุม
อัตราเงินเดือนของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับการออกระเบียบ หรือประกาศของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
เพื่อกําหนดหนวยงานและเขตอํานาจการรับผิดชอบหรือเขตพื้นที่การปกครองตามกฎกระทรวงนี้
๗) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) กองทะเบียนพล มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกั บ งานเครื่ อ งราชอิ ส ริย าภรณ งานเหรี ย ญชัย สมรภู มิ
งานควบคุมเกษียณอายุ งานการลา และการใหออกตามกฎหมายอันมิใชเนื่องมาจากการกระทําผิดวินัย
หนา ๒๘
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

ของขาราชการตํารวจ พนักงานราชการ และลูกจางในสังกัดสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติและ


สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนิน การเกี่ยวกั บงานทะเบีย นประวัติ งานบั ตรประจําตัว การบรรจุ
และการแตงตั้งขาราชการตํารวจ พนักงานราชการ และลูกจางในสังกัดสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
และสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานพิจารณาความดีความชอบของขาราชการตํารวจ
พนักงานราชการ และลูกจางในสังกัดสํ านักงานผูบัญชาการตํารวจแหง ชาติแ ละสํานักงานตํารวจ
แหงชาติ
๔) ดําเนิน การเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของสํานักงาน
ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติและสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับการประเมินบุคคลของสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
และสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๖) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(จ) กองสวัสดิการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสวัสดิการของสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
และสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การฌาปนกิ จ สงเคราะห แ ละฌาปนสถานให กั บ
ขาราชการตํารวจทั้งในและนอกราชการ รวมทั้งครอบครัว
๓) รับผิดชอบดําเนินการศาสนพิธีและประเพณีไทยใหแกสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๔) สํานักงานงบประมาณและการเงิน
(ก) ฝายอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานกําลังพล งานงบประมาณ
การเงิ น และพั ส ดุ งานยุ ท ธศาสตร งานศึ ก ษาอบรม และงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งของสํ า นั ก งาน
งบประมาณและการเงิน
หนา ๒๙
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) ฝ า ยเทคโนโลยี ส ารสนเทศด า นงบประมาณและการเงิ น มี อํ า นาจหน า ที่
ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการและพัฒนาเกี่ยวกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศดานงบประมาณ
การเงิน และการบัญชีของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองงบประมาณ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) เสนอความเห็น เพื่อ ประกอบการจัด ทํายุ ทธศาสตร แผนงานโครงการ
ในสว นที่เกี่ ยวขอ งกับงบประมาณของสํา นักงานผูบั ญชาการตํา รวจแหงชาติแ ละสํานัก งานตํ ารวจ
แหงชาติ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการตั้งคําขอ จัดสรร การบริหาร การควบคุม กํากับ
ดูแ ล ติด ตาม และประเมิ น ผลการใช จา ยงบประมาณรายจ า ยประจํ าป ข องสํา นั กงานผู บัญ ชาการ
ตํารวจแหงชาติและสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ใหคําปรึกษาแนะนําแกหนวยงานในสังกัดสํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
และสํานักงานตํารวจแหงชาติเกี่ยวกับการดําเนิน งานงบประมาณ ตลอดจนงานดานวิช าการ และ
ฝกอบรมดานงบประมาณใหหนวยงานตาง ๆ ในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) กองการเงิน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการและพัฒนาเกี่ยวกับงานการเงินของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดํา เนิ น การด านวิ ช าการและฝ ก อบรมด า นการเงิ น ให ห นว ยงานต า ง ๆ
ในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๓๐
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(จ) กองบัญชี มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ดําเนินการและพัฒนาเกี่ยวกับงานการบัญชีของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนิ น การดานวิ ช าการและฝกอบรมดา นการบัญชีใ หหนว ยงานตาง ๆ
ในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๕) สํานักงานกฎหมายและคดี
(ก) ฝายอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานกําลังพล งานงบประมาณ
การเงินและพัสดุ งานยุทธศาสตร งานศึกษาอบรม และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของของสํานักงานกฎหมาย
และคดี
๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กองกฎหมาย มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ศึกษา วิเคราะห และดําเนินการปรับปรุง แกไข พัฒนา กฎหมาย และ
ระเบียบของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ซึ่งไมมีหนวยงานหรือเจาหนาที่รับผิดชอบโดยเฉพาะ รวมทั้ง
ปรั บ ปรุ ง แก ไ ขกฎหมายและระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข อ งให เ อื้ อ ต อ การปฏิ บั ติ ง านของข า ราชการตํ า รวจ
โดยเฉพาะการลดขั้นตอนการทําสํานวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวน
๒) พิ จ ารณาตรวจร า งกฎหมาย กฎ ระเบี ย บ ประกาศ หรื อ ข อ บั ง คั บ
ซึ่งหนวยงานตาง ๆ เสนอมายังสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) พิจารณาใหความเห็น เกี่ ยวกับรางกฎหมายที่สมาชิกรัฐ สภาเสนอ หรื อ
สวนราชการตาง ๆ ขอใหสํานักงานตํารวจแหงชาติเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา
๔) พิจารณาข อหารื อป ญหาข อ กฎหมาย และระเบีย บซึ่ งหนว ยงานตา ง ๆ
หารือมายังสํานักงานตํารวจแหงชาติ ซึ่งไมมีหนวยงานหรือเจาหนาที่รับผิดชอบโดยเฉพาะ
๕) พิจารณาตรวจรางสัญ ญา ตลอดจนการให ความเห็น เกี่ย วกับการแกไ ข
หรือเปลี่ยนแปลงสัญญา การยกเลิกสัญญา การตออายุสัญญา และอื่น ๆ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยการพัสดุ ที่หนวยงานตาง ๆ หารือมายังสํานักงานตํารวจแหงชาติ
หนา ๓๑
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๖) งานการประสานงานรัฐสภาเพื่อดําเนินการตอบกระทูถาม และญัตติตาง ๆ
๗) สงเสริม เผยแพร และคนควาเกี่ยวกับงานวิชาการในหนาที่ของสํานักงาน
ตํารวจแหงชาติ
๘) ดําเนินการเกี่ยวกับงานหองสมุดกลางของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๙) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองคดีอาญา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนิ นการเกี่ยวกับงานคดี อาญาที่อยู ในอํานาจหนาที่ ของสํ านักงานตํ ารวจ
แหงชาติ
๒) พิจารณาขอหารือ ปญหาขอกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ
หรือคําสั่งที่เกี่ยวของกับคดีอาญา รวมทั้งเสนอแนะปรับปรุงแกไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ
ประกาศ หรือคําสั่งที่เกี่ยวของกับคดีอาญา
๓) ศึกษาวิจัยกฎหมายที่เกี่ยวของกับงานสอบสวนและคดีอาญาที่อยูในอํานาจ
หนาที่ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรบั มอบหมาย
(ง) กองคดีปกครองและคดีแพง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานคดีปกครองและคดีแ พงที่อยูใ นอํานาจหนาที่หรือ
เกี่ยวของกับสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) พิจารณาขอหารือ ปญหาขอกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ
หรือคําสั่งที่เกี่ยวของกับคดีปกครองและคดีแพง รวมทั้งเสนอแนะ ปรับปรุง แกไขกฎหมาย กฎ
ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่งที่เกี่ยวของกับคดีปกครองและคดีแพง
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(จ) สถาบันสงเสริมงานสอบสวน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานฝกอบรมพนักงานสอบสวน งานสงเสริม และ
ควบคุมจรรยาบรรณ การประเมินผล การจดทะเบียน การตรวจสอบ การถอดถอนใบประกอบวิชาชีพ
หนา ๓๒
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

พนั ก งานสอบสวน และงานตอบข อ หารื อ เกี่ ย วกั บ งานสอบสวน ตลอดจนเป น ศู น ย ข อ มู ล ด า น


การสอบสวนของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกั บการปรั บ ปรุ งพั ฒนาและส งเสริ ม งานสอบสวนของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ศึ ก ษาค น คว า และสร า งโปรแกรมมาตรฐานสํ า นวนการสอบสวน
คดีประเภทตาง ๆ ใหเปนคูมือการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวนทั่วประเทศ
๔) ติ ด ต อ และประสานความร ว มมื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาหรื อ องค ก รอื่ น
เพื่ อ ส ง เสริ ม ให ชุ ม ชนมี ส ว นร ว มในการติ ด ตาม ตรวจสอบ ควบคุ ม และพั ฒ นางานสอบสวน
และจรรยาบรรณของพนักงานสอบสวน
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฉ) สวนตรวจสอบสํานวนคดีอุทธรณและฎีกา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานคดี อุ ท ธรณ แ ละฎี ก าที่ อ ยู ใ นอํ า นาจหน า ที่ ข อง
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) พิจารณาขอหารือ ปญหาขอกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ
หรือคําสั่งที่เกี่ยวของกับคดีอุทธรณและฎีกา รวมทั้งเสนอแนะปรับปรุงแกไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่งที่เกี่ยวของกับคดีอุทธรณและฎีกา
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๖) สํานักงานคณะกรรมการขาราชการตํารวจ
(ก) ฝายอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานกําลังพล งานงบประมาณ
การเงิ น และพั ส ดุ งานยุ ท ธศาสตร งานศึ ก ษาอบรม และงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งของสํ า นั ก งาน
คณะกรรมการขาราชการตํารวจ
๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๓๓
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ข) กองตรวจสอบและทะเบียนประวัติ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การวิเคราะหและกําหนดตําแหนงของหนวยงานตาง ๆ ตลอดจนการจัดระบบการบริหารงานของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การพัฒนาระบบงานของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การจัด ทํา แกไขปรั บปรุ ง และตรวจสอบมาตรฐานกํา หนดตํา แหนง รวมทั้ งดํ าเนิ น การเกี่ย วกั บ
เงินเพิ่มพิเศษและเงินประจําตําแหนงของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การพัฒนานโยบาย ระบบ หรือมาตรฐานการบริหารงานบุคคล และพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมของ
ขาราชการตํารวจ
๕) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การใหคําปรึกษา วินิจฉัยปญหา รวมทั้งการออกกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด ประกาศ หรือมติ
เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
๖) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การพัฒนาระบบ การบริหารงานบุคคล งานเสริมสรางวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของ
ขาราชการตํารวจ
๗) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การแกไขปรับปรุ งกฎหมายวาดว ยตํารวจแหงชาติ และกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวของ และใหคําปรึกษา
เกี่ยวกับกฎหมายดังกลาว
๘) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การบริหารงานบุคคล ยกเวนเรื่องการดําเนินการทางวินัย การใหออกจากราชการ และการอุทธรณ
และรองทุกข
๙) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุ กรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกั บ
การตรวจสอบคําสั่งที่เกี่ยวของกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการตํารวจ ยกเวน คําสั่งในเรื่อง
การดําเนินการทางวินัย การใหออกจากราชการ และการอุทธรณและรองทุกข
หนา ๓๔
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๑๐) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ ทะเบี ย นประวั ติ แ ละการควบคุ ม เกษี ย ณอายุ ข อง


ขาราชการตํารวจตามระเบียบ ก.ตร. และเสนอความเห็นตอ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกับ
การแกไขวันเดือนปเกิดในทะเบียนประวัติและควบคุมการเกษียณอายุของขาราชการตํารวจ
๑๑) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกับ การประชุม ของ ก.ตร. หรื ออนุก รรมการ ก.ตร.
ตามที่ไดรับมอบหมาย
๑๒) ดํา เนิ น การเลื อ ก ก.ตร. ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ตลอดจนดํ า เนิ น งานเกี่ ย วกั บ
การแตงตั้งอนุกรรมการ ก.ตร. คณะตาง ๆ
๑๓) ดํา เนิ น การและประสานงานคดี ป กครองที่ เ กี่ย วข อ งกับ ก.ตร. หรื อ
อนุกรรมการ ก.ตร.
๑๔) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. มอบหมาย
๑๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองมาตรฐานวินัย มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกับ
การรายงานการดําเนินการทางวินัย และการออกจากราชการของขาราชการตํารวจตามอํานาจ ก.ตร.
๒) ดําเนิน การเกี่ยวกับการสั่งใหขาราชการตํารวจประจํากรม ประจํากอง
หรือประจําสวนราชการ
๓) ดํา เนิ น การและประสานงานคดี ป กครองที่ เ กี่ย วข อ งกับ ก.ตร. หรื อ
อนุกรรมการ ก.ตร. ในสวนที่เกี่ยวของกับการดําเนินการทางวินัย และการใหออกจากราชการ
๔) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกับ การประชุม ของอนุก รรมการ ก.ตร. ตามที่ไ ดรั บ
มอบหมาย
๕) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. มอบหมาย
๖) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) กองอุทธรณ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกับ
การอุ ทธรณ กรณีถู กสั่ งลงโทษ ปลดออก ไลอ อก หรือ ถูก สั่ง ให ออกจากราชการ การรายงาน
การดําเนินการทางวินัย และการใหออกจากราชการที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่อุทธรณ
หนา ๓๕
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) พิจารณาเสนอความเห็นตอ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกับการ


อุทธรณ กรณีถูกสั่งลงโทษ ภาคภัณฑ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน ที่ผูบัญชาการ
ตํารวจแหงชาติเปนผูสั่งลงโทษ และการรายงานการดําเนินการทางวินัยที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่อุทธรณ
๓) ดํา เนิ น การและประสานงานคดี ป กครองที่ เ กี่ย วข อ งกับ ก.ตร. หรื อ
อนุกรรมการ ก.ตร. ในสวนที่เกี่ยวกับการอุทธรณ
๔) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกับ การประชุม ของอนุก รรมการ ก.ตร. ตามที่ไ ดรั บ
มอบหมาย
๕) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. มอบหมาย
๖) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(จ) กองรองทุกข มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) พิจารณาเสนอความเห็น ตอ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกับ
การรองทุกขในกรณีที่ กฎ ก.ตร. กําหนดใหรองทุกขตอ ก.ตร. เกี่ยวกับการใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบ
หรือการไมปฏิบัติใหถูกตองตามระเบียบหรือกฎหมายของผูบังคับบัญชาตอผูใตบังคับบัญชา
๒) ดํา เนิ น การและประสานงานคดี ป กครองที่ เ กี่ย วข อ งกับ ก.ตร. หรื อ
อนุกรรมการ ก.ตร. ในสวนที่เกี่ยวกับการรองทุกข
๓) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกับ การประชุม ของอนุก รรมการ ก.ตร. ตามที่ไ ดรั บ
มอบหมาย
๔) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ ก.ตร. หรืออนุกรรมการ ก.ตร. มอบหมาย
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๗) สํานักงานจเรตํารวจ
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานธุ ร การ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของสํานักงานจเรตํารวจ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของสํานักงาน
จเรตํารวจ
หนา ๓๖
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๓) ดําเนิน การเกี่ยวกั บงานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ งานพัส ดุ


อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของสํานักงาน
จเรตํารวจ
๔) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกั บการประสานงานและจัด ทํ ายุ ทธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิจัย งานประเมินผล และงานเทคโนโลยีสารสนเทศของสํานักงานจเรตํารวจ
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและวินัยของสํานักงานจเรตํารวจ
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของสํานักงานจเรตํารวจ
๗) ดําเนินการเกี่ยวกับงานรับเรื่องราวรองเรียนหรือรองทุกขของสํานักงาน
ตํารวจแหงชาติ
๘) ดําเนินการจัดระบบดานการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม และจรรยาบรรณ
ของขาราชการตํารวจและใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนจัดทําคูมือ และคําอธิบายแนวทางปฏิบัติ
และสอดสองดูแลการรักษาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม และจรรยาบรรณของขาราชการตํารวจ
๙) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) - (ฎ) กองตรวจราชการ ๑ - ๑๐ แตละหนวยงานมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจราชการ ดานการปองกันปราบปราม การสืบสวน
การสอบสวน การจราจร และการบริการสังคมของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการรองเรียนหรือการรองทุกขกลาวหาวาขาราชการตํารวจ
พนักงานราชการ และลูกจางของสํานักงานตํารวจแหงชาติทุจริตหรือประพฤติมิชอบ และดําเนินการ
สืบสวนสอบสวนขอเท็จจริงตามอํานาจหนาที่
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๘) สํานักงานตรวจสอบภายใน
(ก) ฝายอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานกําลังพล งานงบประมาณ
การเงินและพัสดุ งานยุทธศาสตร งานศึกษาอบรม และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของของสํานักงานตรวจสอบภายใน
หนา ๓๗
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น


ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กลุมงานพัฒนาการตรวจสอบภายใน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนิน การดานวิชาการ ใหคําปรึกษา แนะนํา เผยแพรความรู และ
พัฒนาระบบการตรวจสอบภายในของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ติดตามและประเมิ น ผลระบบการควบคุม ภายในของหน วยงานต าง ๆ
ในภาพรวมของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) - (จ) กองตรวจสอบภายใน ๑ - ๓ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบทางการเงิน การดําเนินงาน การบริหาร
การปฏิบัติตามขอกําหนด และการปฏิบัติตามระบบงานสารสนเทศของหนวยงานในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การตรวจสอบการดํ า เนิ น งานตามแผนงาน งาน
โครงการ รวมถึงการดําเนินงานดานตาง ๆ ตลอดจนตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติตามกฎหมาย
มติคณะรัฐมนตรี กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งที่เกี่ยวของของหนวยงานในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ดําเนิน การเกี่ ยวกับการตรวจสอบกรณี ที่มี การทุจ ริต หรือ การกระทํ า
ที่สอไปในทางทุจริต ผิดกฎหมาย หรือกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยวาจะมีการกระทําที่สอไปในทางทุจริต
หรือประพฤติมิชอบเกิดขึ้นของหนวยงานในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๙) สํานักงานเลขานุการตํารวจแหงชาติ มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการทั่วไป
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติและราชการอื่นที่มิไดกําหนดใหเปนหนาที่ของกองหรือสวนราชการใด
โดยเฉพาะ อํานาจหนาที่ดังกลาวใหรวมถึง
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ และงานสารบรรณของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนิน การเกี่ย วกับ งานชวยอํา นวยการ งานเลขานุก าร งานประชุ ม และ
งานพิธีการของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
หนา ๓๘
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๐) กองการตางประเทศ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) เปนสื่อกลางการติดตอ ประสานความรวมมือ วิเคราะหและประเมินสถานการณ
และดําเนินการเกี่ยวกับความสัมพันธทวิภาคีและพหุภาคีกับตํารวจประเทศ กลุมประเทศ และองคการ
ตํารวจสากลในภูมิภาคตาง ๆ
๒) ดําเนิน การวิเคราะห พิจารณา เสนอแนะแนวทาง และทาทีของสํานักงาน
ตํารวจแหงชาติในการใหความรวมมือกับองคการระหวางประเทศ รวมถึงเตรียมการฝกอบรมดานตาง ๆ
ที่เกี่ยวของในการเดินทางไปฝก ศึกษา อบรม หรือปฏิบัติภารกิจในตางประเทศ ติดตอและประสานงาน
เพื่อขอรับทุนการศึกษาอบรมในตางประเทศ
๓) ใหคํ าปรึก ษาในการแกไ ขป ญหาและการปฏิบั ติต ามสนธิ สัญ ญา ข อตกลง
ระหวางประเทศ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับสํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมถึงการดําเนินการที่เกี่ยวของ
ดานเนื้อหาสาระ ขอบทของสนธิสัญญาที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
ตลอดจนบันทึกความตกลง หรือเอกสารตางประเทศอื่น ๆ
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับพิธกี าร ระเบียบแบบแผน และประเพณีปฏิบัติทางการฑูต
การใหการรับรองการเยือนของบุคคลสําคัญตางประเทศ เพื่อเสริมสรางความสัมพันธอันดี ภาพลักษณ
ที่ดีตอสํานักงานตํารวจแหงชาติและประเทศไทย
๕) ดําเนินการแปลสํานวนคดี พยานหลักฐาน ในคดีที่อยูในความรับผิดชอบของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ แปลและรวมกับฝายอื่น ๆ ในการรางกฎหมาย อนุสัญญา พิธีสาร ขอตกลง
และเอกสารตาง ๆ ตลอดจนทําหนาที่ลามในกระบวนการสืบสวน สอบสวน ดําเนินคดี และการแปล
ในงานตาง ๆ
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับระบบการสื่อสารกับองคการตํารวจสากล ระบบบริหารจัดการ
ขอมูลและขาวกรอง รวมทั้งเปนศูนยรวบรวมและวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของ
๗) ดําเนินการดานการประสานงานประจําในตางประเทศในเรื่องกิจการตํารวจ
๘) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๓๙
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(๑๑) กองสารนิเทศ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ เผยแพรกิจกรรม ความรู ความกาวหนา
และผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนดําเนินการเกี่ยวกับงานสถานีวิทยุกระจายเสียงของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานเฝาฟง รวบรวม ตรวจสอบ ประเมิน คา วิเคราะห
สรุป รายงานข าวและสถานการณ จั ดทํ าสรุปรายงานประจํ าวั น และรายงานขา วที่ สําคั ญเรง ดว น
ใหผูบังคับบัญชา และหนวยงานที่เกี่ยวของทราบ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานพิพิธภัณฑของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๒) สํานักงานคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ
และคณะอนุ ก รรมการคณะกรรมการนโยบายตํ า รวจแห ง ชาติ ตลอดจนปฏิ บั ติ ง านอื่ น ใดตามที่
คณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติมอบหมาย
๒) ประสานงานเกี่ยวกับการดําเนินการใหเปน ไปตามที่กฎหมายกําหนดใหเปน
อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๓) กองบินตํารวจ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดอากาศยานถวายเปนพระราชพาหนะ และงานการบิน
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ปรับปรุง พัฒนา และวางระบบการสรรหาบุคลากรดานการบินและอากาศยาน
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติใหมีแผนและวงรอบที่ชัดเจนเปนระบบ
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๔) กองวินัย มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานวิ นัยของสํ านัก งานผูบัญ ชาการตํ ารวจแห งชาติแ ละ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
หนา ๔๐
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
๒. กองบัญชาการ
(๑) กองบัญชาการตํารวจนครบาล
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานชวยอํานวยการ และ
งานเลขานุการของกองบัญชาการตํารวจนครบาล
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของกองบัญชาการ
ตํารวจนครบาล
๓) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานการขาว และงานสถิติขอมูลของกองบัญชาการ
ตํารวจนครบาล
๔) ดําเนิน การเกี่ ยวกั บงานการเงิ น การบัญ ชี การงบประมาณ งานพัส ดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของกองบัญชาการ
ตํารวจนครบาล
๕) ดําเนิน การเกี่ย วกับ การประสานงาน และจั ดทํา ยุท ธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิจัย งานประเมินผล และงานเทคโนโลยีสารสนเทศของกองบัญชาการตํารวจนครบาล
รวมทั้งเปนศูนยกลางในการเชื่อมโยงเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงานในสังกัด
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและวินัยของกองบัญชาการตํารวจนครบาล
๗) ดําเนินการเกี่ยวกับงานวิเทศสัมพันธและกิจการตางประเทศของกองบัญชาการ
ตํารวจนครบาล
๘) ดําเนินการเกี่ยวกับงานชุมชน มวลชนสัมพันธ และงานประชาสัมพันธ
๙) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กองบังคับการตํารวจจราจร มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
หนา ๔๑
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) เสนอความเห็นในการวางแผนการจัดการจราจร รวมทั้งประสานงาน สนับสนุน


ควบคุม กํากับดู แ ล ติด ตาม และประเมิน ผลการดําเนิ น การเกี่ ยวกับงานอํานวยความสะดวกและ
งานรักษาความปลอดภัยในดานการจราจร ตลอดจนดําเนินการเกี่ยวกับงานสถิติขอมูลดานการจราจร
๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวาดวย
การจราจรทางบก และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของกับการจราจรที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ การสอบสวนและเปรี ย บเที ย บปรั บ ในคดี อ าญา
ตามกฎหมายวาดวยการจราจรทางบก และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของกับการจราจรที่เกิดขึ้นในเขตอํานาจ
การรับผิดชอบ
๕) เปนศูนยรวมขาวและควบคุมการจราจร
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจพิสูจนอุบัติเหตุ และความมึนเมาของผูขับรถ
ตลอดจนการตรวจพิสูจนกาซ ฝุน ควัน ละออง เคมี และเสียงของรถ
๗) ดําเนินการฝกอบรมใหความรู และคําแนะนําดานการจราจร
๘) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) - (ฎ) กองบังคับการตํารวจนครบาล ๑ - ๙ แตละหนวยงานมีอํานาจหนาที่
ในเขตอํานาจการรับผิดชอบหรือเขตพื้นที่การปกครอง ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ ตลอดจน
รักษาความปลอดภัยสถานที่สําคัญของทางราชการและของตางประเทศ
๒) รักษาความสงบเรียบรอย การใหความปลอดภัยแกบุคคลสําคัญ ประชาชน
และการใหบริการชวยเหลือประชาชน
๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญา
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับการควบคุมการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
หนา ๔๒
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๗) ดําเนินการเกี่ยวกับการจราจร
๘) สงเสริมและสนับสนุนเกี่ยวกับการบรรเทาสาธารณภัย
๙) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฏ) กองบังคับการสืบสวนสอบสวน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญา
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมที่มีลักษณะเปนองคกร
หรือผูมีอิทธิพลที่คาบเกี่ยวระหวางหลายพื้นที่
๔) ดําเนินการดานกรรมวิธีขาวกรอง และเปนศูนยรวบรวมขอมูล วิเคราะห
และติดตามสถานการณอาชญากรรมและความมั่นคงในเขตอํานาจการรับผิดชอบ
๕) สืบสวนสอบสวนคดีอาญา โดยการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ และ
เครื่องมือพิเศษ รวมทั้งพัฒนาบุคลากรดานการสืบสวนสอบสวนใหมีความรูในดานการใชเทคโนโลยี
และเครื่องมือพิเศษ
๖) ใหคําปรึกษา แนะนําหนวยงานสืบสวนในสังกัดกองบัญชาการตํารวจนครบาล
๗) สืบสวนติดตามคดีสําคัญตามที่ไดรับมอบหมาย
๘) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฐ) กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) ปองกันปราบปรามการกอจลาจล การควบคุมฝูงชนในเขตกรุงเทพมหานคร
หรือ ตามที่ไ ดรั บมอบหมาย ตลอดจนการฝก ดา นยุท ธวิ ธีใ นการปราบปรามในการกอ จลาจลและ
การควบคุมฝูงชน
หนา ๔๓
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการควบคุมดูแลการปฏิบัติการปองกันและปราบปราม
การกระทําความผิดทางอาญา รวมทั้งสนับสนุนการปฏิบัติงานของตํารวจทองที่และหนวยงานอื่น
๔) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาในเขตอํานาจการรับผิดชอบ
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดสายตรวจออกตรวจ การสืบสวนหาขาวเกี่ยวกับ
แหลงอาชญากรรม พฤติกรรมทางดานการกอความไมสงบภายใน และรักษาความปลอดภัยสถานที่สําคัญ
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจพิสูจนและการเก็บกูวัตถุระเบิด
๗) ดําเนินการเกี่ยวกับงานตอตานการกอการราย การเจรจาตอรองชวยเหลือ
ตัวประกันและฝกดานยุทธวิธีใหกับตํารวจทองที่หรือหนวยงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย
๘) จัดตํารวจมาถวายอารักขาและรักษาความปลอดภัย ตลอดจนสนับสนุน
การปฏิบัติงานของหนวยงานอื่น ๆ ในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมและรักษาความสงบเรียบรอย
๙) จั ด กํ า ลั ง สุ นั ข ตํ า รวจออกปฏิ บั ติ ก ารป อ งกั น ปราบปรามอาชญากรรม
ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติของหนวยงานอื่นในภารกิจที่เกี่ยวของ
๑๐) ดูแลบํารุงเลี้ยงรักษามาและสุนัขตํารวจ รวมทั้งสนับสนุนการปฏิบัติของ
หนวยงานอื่นในภารกิจที่เกี่ยวของ
๑๑) เปนศูนยรับแจงเหตุและปฏิบัติควบคุมสั่งการ และสื่อสารขอมูล
๑๒) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฑ) กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาในเขตอํานาจการรับผิดชอบ
๓) ควบคุม อํานวยการและพัฒนาเทคนิคยุทธวิธีเกี่ยวกับการควบคุม ฝูงชน
ในเขตกรุงเทพมหานครหรือตามที่ไดรับมอบหมาย
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๔๔
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ฒ) กองกํากับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการกระทําผิดตอเด็กและสตรี
๒) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ณ) ศูนยฝกอบรม มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) บริหารและพัฒนาการศึกษาตามระเบียบแบบแผนและหลักสูตร ตลอดจน
ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรและระบบการเรียนการสอน
๒) ผลิตขาราชการตํารวจชั้น ประทวนตามความตองการของกองบัญชาการ
ตํารวจนครบาล
๓) ฝกอบรมเพิ่มพูนความรู และทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ของขาราชการตํารวจ พนักงานราชการ และลูกจางของกองบัญชาการตํารวจนครบาล
๔) ติด ต อ และประสานความร ว มมื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาหรื อ องค ก รอื่ น
เพื่อสงเสริมใหทองถิ่นและชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและการฝกอบรมเกี่ยวกับการปองกัน
และปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา การรักษาความสงบเรียบรอย การอํานวยความยุติธรรม
และการรักษาความปลอดภัยของประชาชนตามความเหมาะสมและความตองการของแตละพื้นที่
๕) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๒) - (๑๐) ตํา รวจภูธรภาค ๑ - ๙ แต ละหนวยงานมีอํานาจหนาที่ใ นเขตอํานาจ
การรับผิดชอบหรือเขตพื้นที่ปกครอง ดังตอไปนี้
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานชวยอํานวยการ และ
งานเลขานุการของตํารวจภูธรภาค
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงาน และบริหารงานบุคคลของตํารวจภูธรภาค
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการขาว และงานสถิติขอมูลของตํารวจภูธรภาค
๔) ดําเนิน การเกี่ ยวกั บงานการเงิ น การบัญ ชี การงบประมาณ งานพัส ดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของตํารวจภูธรภาค
หนา ๔๕
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๕) ดําเนิน การเกี่ย วกับ การประสานงาน และจั ดทํา ยุท ธศาสตร แผนงาน


โครงการ งานวิจั ย งานประเมิน ผล และงานเทคโนโลยีส ารสนเทศของตํารวจภูธ รภาค รวมทั้ ง
เปนศูนยกลางในการเชื่อมโยงเทคโนโลยีของหนวยงานในสังกัด
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและวินัยของตํารวจภูธรภาค
๗) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานวิ เ ทศสั ม พั น ธ และกิ จ การต า งประเทศของ
ตํารวจภูธรภาค
๘) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานชุมชนและมวลชนสัม พัน ธ งานประชาสัม พัน ธ
งานพัฒนาและชวยเหลือประชาชน และงานสวัสดิภาพเด็กและสตรี
๙) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
ในตํารวจภูธรภาค ๙ ใหมีหนาที่ดําเนินการเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพื่อพัฒนา
บุคลากรของตํารวจภูธรภาค และดําเนินการเกี่ยวกับงานสรรหาบุคคลเพื่อเขาสูตําแหนงและการสอบ
เพื่อบรรจุบุคคลเขารับราชการ
(ข) กองบังคับการสืบสวนสอบสวน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาในเขตอํานาจการรับผิดชอบของตํารวจภูธรภาค
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมที่มีลักษณะเปนองคกร
หรือผูมีอิทธิพลที่คาบเกี่ยวระหวางหลายพื้นที่
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการกระทําความผิดตอเด็กและสตรี
๕) ดําเนินการดานกรรมวิธีขาวกรอง และเปนศูนยรวบรวมขอมูล วิเคราะห
และติดตามสถานการณอาชญากรรมและความมั่นคงในเขตอํานาจการรับผิดชอบ
๖) สืบ สวนสอบสวนคดี อาญาโดยการใชเ ทคโนโลยีส ารสนเทศ และ
เครื่องมือพิเศษ รวมทั้งพัฒนาบุคลากรดานการสืบสวนสอบสวนใหมีความรูในดานการใชเทคโนโลยี
และเครื่องมือพิเศษตาง ๆ
หนา ๔๖
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๗) ควบคุมและอํานวยการเกี่ยวกับการควบคุมฝูงชน การเจรจาตอรอง และ


ชวยเหลือตัวประกัน
๘) ใหคําปรึกษา แนะนําหนวยงานสืบสวนในสังกัดตํารวจภูธรภาค
๙) สืบสวนติดตามคดีสําคัญตามที่ไดรับมอบหมาย
๑๐) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
ในตํารวจภูธรภาค ๗ ใหมีอํานาจหนาที่อํานวยการ และสนับสนุนการถวาย
อารักขาและถวายความปลอดภัยองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัช ทายาท ผูสําเร็จราชการ
แทนพระองค พระบรมวงศานุว งศ ผูแ ทนพระองค และพระราชอาคัน ตุ กะ ตลอดจนการรักษา
ความสงบเรียบรอยบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานและบริเวณที่ประทับ
(ค) ตํารวจภูธรจังหวัด มีอํานาจหนาที่ในเขตอํานาจการรับผิดชอบ หรือเขตพื้นที่
การปกครอง ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ ตลอดจน
รักษาความปลอดภัยสถานที่สําคัญของทางราชการและของตางประเทศ
๒) รักษาความสงบเรียบรอย การใหความปลอดภัยแกบุคคลสําคัญ ประชาชน
และการใหบริการชวยเหลือประชาชน
๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญา
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับการควบคุมการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
๗) ดําเนินการเกี่ยวกับการจราจร
๘) สงเสริมและสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย
๙) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๔๗
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ง) ศูนยฝกอบรม มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) บริ ห าร และพั ฒ นาการศึ ก ษาตามระเบี ย บแบบแผน และหลั ก สู ต ร
ตลอดจนปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร และระบบการเรียนการสอน
๒) ผลิตขาราชการตํารวจชั้นประทวนตามความตองการของตํารวจภูธรภาค
๓) ฝกอบรมเพิ่มพูนความรูและทักษะในการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ของขาราชการตํารวจ พนักงานราชการ และลูกจางของตํารวจภูธรภาค
๔) ติด ต อ และประสานความร ว มมื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาหรื อ องค ก รอื่ น
เพื่อสงเสริมใหทองถิ่นและชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและการฝกอบรมเกี่ยวกับการปองกัน
และปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา การรักษาความสงบเรียบรอย การอํานวยความยุติธรรม
และการรักษาความปลอดภัยของประชาชน ตามความเหมาะสมและความตองการของแตละพื้นที่
๕) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกับ งานสรรหาบุ คคลเพื่อ เข าสู ตํ าแหน ง และการสอบ
เพื่อบรรจุบุคคลเขารับราชการ
๖) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๑) ศูนยปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานธุ ร การ งานสารบรรณ งานช ว ยอํ า นวยการ
งานเลขานุการ และงานสวัสดิการของศูนยปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของศูนยปฏิบัติการ
ตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการขาว งานสถิติขอมูล และงานวิเทศสัมพันธ
๔) ดําเนิน การเกี่ ยวกั บงานการเงิ น การบัญ ชี การงบประมาณ งานพัส ดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของศูนยปฏิบัติการ
ตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับการประสานงาน และจัดทํายุทธศาสตร แผนงาน โครงการ
งานวิจัย งานประเมินผล และงานเทคโนโลยีสารสนเทศของศูนยปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดน
ภาคใต รวมทั้งเปนศูนยกลางในการเชื่อมโยงเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงานในสังกัด
หนา ๔๘
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๖) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานกฎหมายและวิ นั ย ของศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารตํ า รวจ


จังหวัดชายแดนภาคใต
๗) ดําเนินการเกี่ยวกับงานชุมชนและมวลชนสัมพันธ งานปฏิบัติการจิตวิทยา
งานประชาสัมพันธ งานพัฒนาและชวยเหลือประชาชน และงานสวัสดิภาพเด็ก และสตรี
๘) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กองบังคับการสืบสวนสอบสวน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาในเขตอํานาจการรับผิดชอบ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมที่มีลักษณะเปนองคกร
หรือผูมีอิทธิพลที่คาบเกี่ยวระหวางหลายพื้นที่
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการกระทําความผิดตอเด็ก และสตรี
๔) เปนศูนยรวบรวมขอมูลอาชญากรรมในเขตพื้นที่
๕) สืบสวนสอบสวนคดีอาญาโดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และเครื่องมือ
พิเศษ และพัฒนาบุคลากรดานการสืบสวนสอบสวนใหมีความรูในดานการใชเทคโนโลยีและเครื่องมือ
พิเศษ
๖) รวบรวมวิเคราะหและติดตามสถานการณอาชญากรรม
๗) ใหคําปรึกษาและคําแนะนําหนวยงานสืบสวนในสังกัดศูน ยปฏิบัติการ
ตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต
๘) บูรณาการดานการขาวอาชญากรรม
๙) สืบสวนติดตามคดีสําคัญตามที่ไดรับมอบหมาย
๑๐) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) ตํารวจภูธรจังหวัด มีอํานาจหนาที่ในเขตอํานาจการรับผิดชอบ หรือเขตพื้นที่
การปกครอง ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ ตลอดจน
รักษาความปลอดภัยสถานที่สําคัญของทางราชการและของตางประเทศ
หนา ๔๙
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) รักษาความสงบเรียบรอย การใหความปลอดภัยแกบุคคลสําคัญ ประชาชน


และการใหบริการชวยเหลือประชาชน
๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญา
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับการควบคุมการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
๗) ดําเนินการเกี่ยวกับการจราจร
๘) สงเสริมและสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย
๙) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) ศูนยฝกอบรม มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) บริ ห าร และพั ฒ นาการศึ ก ษาตามระเบี ย บแบบแผน และหลั ก สู ต ร
ตลอดจนปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร และระบบการเรียนการสอน
๒) ผลิตขาราชการตํารวจชั้น ประทวนตามความตองการของศูนยปฏิบัติการ
ตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต และหนวยงานอื่นในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ฝกอบรมเพิ่มพูนความรูและทักษะในการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ของขาราชการตํารวจ พนักงานราชการ และลูกจางของศูนยปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต
และหนวยงานอื่นในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ติด ต อ และประสานความร ว มมือ กั บ สถาบั น การศึก ษาหรื อ องค ก รอื่ น
เพื่อสงเสริมใหทองถิ่นและชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและการฝกอบรมเกี่ยวกับการปองกัน
และปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา การรักษาความสงบเรียบรอย การอํานวยความยุติธรรม
และการรักษาความปลอดภัยของประชาชน ตามความเหมาะสมและความตองการของแตละพื้นที่
๕) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานสรรหาบุ ค คลเพื่ อ เข า สู ตํ า แหน ง และการสอบ
เพื่อบรรจุบุคคลเขารับราชการของศูนยปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต
๖) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๕๐
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(จ) กองกํากับการปฏิบัติการพิเศษ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ ตลอดจน
รักษาความปลอดภัยสถานที่สําคัญของทางราชการและของตางประเทศ
๒) ปองกันและควบคุมการกอจลาจล การกระทําของกลุมบุคคลอันเปนเหตุ
ที่กอ ใหเกิดความไมสงบเรียบรอย ตอตานและปราบปรามการกอการราย
๓) ควบคุมและอํานวยการเกี่ยวกับการควบคุมฝูงชน การเจรจาตอรอง และ
ชวยเหลือตัวประกัน
๔) สนับสนุนดานการใชอาวุธและอุปกรณพิเศษในการปองกันและปราบปราม
อาชญากรรม
๕) เปนศูนยรับแจงขอมูล เหตุดวน เหตุราย
๖) ฝกดานยุทธวิธีใหกับตํารวจทองที่หรือหนวยงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย
๗) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๒) กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานธุ ร การ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของกองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของกองบัญชาการ
ตํารวจสอบสวนกลาง
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการขาวและสถิติขอมูลของกองบัญชาการตํารวจ
สอบสวนกลาง
๔) ดําเนิ น การเกี่ยวกับงานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ งานพัส ดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของกองบัญชาการ
ตํารวจสอบสวนกลาง
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับงานประสานงานและจัดทํายุทธศาสตร แผนงาน โครงการ
งานวิจัย งานประเมินผล และงานเทคโนโลยีสารสนเทศของกองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง
หนา ๕๑
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๖) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานกฎหมายและวิ นั ย ของกองบั ญ ชาการตํ า รวจ


สอบสวนกลาง
๗) ดําเนินการเกี่ยวกับงานวิเทศสัมพันธและกิจการตางประเทศของกองบัญชาการ
ตํารวจสอบสวนกลาง
๘) ดําเนินการเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของกองบัญชาการ
ตํารวจสอบสวนกลาง
๙) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การออกใบอนุ ญ าตพกพาอาวุ ธ ป น ในอํ า นาจของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๑๐) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กองบังคับการปราบปราม มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทั่วราชอาณาจักร
รวมทั้งปองกัน ปราบปรามการกอการอาชญากรรมที่ตองใชกําลังปฏิบัติการเสริมจํานวนมาก หรือ
สนับสนุนการปองกันปราบปรามการกอการจลาจล และการควบคุมฝูงชน
๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับชีวิตรางกาย ทรัพยสิน ผูมีอิทธิพล มือปนรับจาง หรืออาวุธสงคราม
และความผิดที่มีโทษทางอาญาทั่วราชอาณาจักร หรือตามที่ไดรับมอบหมาย
๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองบังคับการตํารวจทางหลวง มีอํานาจหนาที่ใ นเขตอํานาจการรับผิดชอบ
ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทั่วราชอาณาจักร
หนา ๕๒
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อั น เกี่ ย วกั บ ความผิ ด ทางอาญาบนทางหลวงและทางพิ เ ศษต า ง ๆ และความผิ ด อื่ น ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ ง
ทั่วราชอาณาจักร หรือตามที่ไดรับมอบหมาย
๔) อํา นวยความสะดวก ให บ ริก าร และจั ดการจราจรบนทางหลวงและ
ทางพิเศษตาง ๆ
๕) ควบคุมดูแลการใชทางหลวงและทางพิเศษใหเปนไปตามกฎหมาย
๖) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) กองบั ง คั บ การตํ า รวจรถไฟ มี อํ า นาจหน า ที่ ใ นเขตอํ า นาจการรั บ ผิ ด ชอบ
ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทั่วราชอาณาจักร
๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาบนขบวนรถไฟ ขบวนรถไฟฟา และเขตพื้นที่การรถไฟแหงประเทศไทย
และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(จ) กองบังคับการตํารวจทองเที่ยว มีอํานาจหนาที่ในเขตอํานาจการรับผิดชอบ
ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทั่วราชอาณาจักร
หนา ๕๓
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อัน เกี่ยวกับความผิดทางอาญาทั่วราชอาณาจักร ทั้งในกรณีที่ผูเสียหายหรือผูตองหาเปน คนตางดาว
ซึ่งเขา มาในราชอาณาจักรเปน การชั่วคราวเพื่อการทองเที่ยว หรือเพื่อการอื่น ตามกฎหมายวาดว ย
คนเขาเมือง หรือในกรณีที่มีผลกระทบตออุตสาหกรรมการทองเที่ยว และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
๔) ให ค วามช ว ยเหลื อ อํ า นวยความสะดวก และให ค วามปลอดภั ย แก
นักทองเที่ยว
๕) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฉ) กองบั ง คั บ การตํ า รวจน้ํ า มี อํ า นาจหน า ที่ ใ นเขตอํ า นาจการรั บ ผิ ด ชอบ
ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทั่วราชอาณาจักร
๓) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาในเขตนานน้ําไทย ทาเรือชายฝงทะเลซึ่งเปนอาณาเขตของประเทศไทย
รวมทั้งเขตเศรษฐกิจจําเพาะ และในทะเลหลวงเฉพาะเรือไทย และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ช) กองบังคับ การปราบปรามการกระทํา ความผิด เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทั่วราชอาณาจักร
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๕๔
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ซ) กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการคามนุษย มีอํานาจหนาที่


ดังตอไปนี้
๑) รักษาความสงบเรียบรอยปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับ
การคามนุษยทั่วราชอาณาจักร
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการคามนุษยรวมทั้งความผิดเกี่ยวกับแรงงานและการจัดระเบียบ
สังคม และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฌ) กองบังคับการปราบปรามกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ
มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับ
เศรษฐกิจทั่วราชอาณาจักร
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ญ) กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติ
มิชอบในวงราชการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับ
การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั่วราชอาณาจักร
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการทุจริตของเจาหนาที่ของรัฐ หรือการทุจริตในวงราชการ และ
ความผิดวาดวยการเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐหรือในวงราชการ และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๕๕
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ฎ) กองบั ง คั บ การปราบปรามการกระทํ า ผิ ด เกี่ ย วกั บ การคุ ม ครองผู บ ริ โ ภค


มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับ
การคุมครองผูบริโภคทั่วราชอาณาจักร
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และตามกฎหมายอื่น
ที่เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภค และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งกฎหมายอื่นที่อยูในอํานาจหนาที่
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ หรือตามคําสั่งของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฏ) กองบั ง คั บ การปราบปรามการกระทํ า ความผิ ด เกี่ ย วกั บ อาชญากรรมทาง
เทคโนโลยี มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) รักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับ
อาชญากรรมทางเทคโนโลยีทั่วราชอาณาจักร
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่น
อันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๓) กองบัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติด
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานธุ ร การ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของกองบัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติด
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของกองบัญชาการ
ตํารวจปราบปรามยาเสพติด
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการประสานงานและจัดทํายุทธศาสตร แผนงาน โครงการ
งานวิจัย งานประเมินผล และงานเทคโนโลยีสารสนเทศของกองบัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติด
๔) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานการเงิ น การบัญ ชี การงบประมาณ งานพัส ดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของกองบัญชาการ
ตํารวจปราบปรามยาเสพติด
หนา ๕๖
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๕) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานป อ งกั น ยาเสพติ ด ของกองบั ญ ชาการตํ า รวจ


ปราบปรามยาเสพติด
๖) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานกฎหมายและวิ นั ย ของกองบั ญ ชาการตํ า รวจ
ปราบปรามยาเสพติด
๗) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานวิ เ ทศสั ม พั น ธ แ ละกิ จ การต า งประเทศของ
กองบัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติด
๘) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของกองบัญชาการ
ตํารวจปราบปรามยาเสพติด
๙) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) - (จ) กองบังคับการตํารวจปราบปรามยาเสพติด ๑ - ๔ แตละหนวยงาน
มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
๑) ปองกันและปราบปรามยาเสพติดทั่วราชอาณาจักรตามที่ไดรับมอบหมาย
๒) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา กฎหมายเกี่ยวกับ
ยาเสพติด และกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาทั่วราชอาณาจักร
๓) สืบสวนสอบสวนคดี เกี่ ยวกั บการยึ ดหรืออายั ดทรั พย สิน ตามกฎหมาย
เกี่ยวกับยาเสพติด และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฉ) กองบังคับการขาวกรองยาเสพติด มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานการข า ว การวิ เ คราะห ข า ว งานสถิ ติ ข อ มู ล
การประเมินแนวโนม สถานการณดานยาเสพติดของกองบัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติดและ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศของกองบัญชาการตํารวจ
ปราบปรามยาเสพติด
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๕๗
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ช) กองกํากับการปฏิบัติการพิเศษ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ปองกันและปราบปรามยาเสพติดทั่วราชอาณาจักรตามที่ไดรับมอบหมาย
๒) ปฏิบัติการทางยุท ธวิธีและสนับสนุ น การปฏิบัติการทางยุทธวิธีใ นการ
ปราบปรามยาเสพติดของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ปฏิบัติการเครื่องมือพิเศษและสนับสนุนเครื่องมือพิเศษใหกับหนวยปฏิบัติ
ตาง ๆ ในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) รับผิดชอบกํากับดูแล บํารุงรักษารถยนตเอกซเรยเคลื่อนที่และสนับสนุน
รถยนตเอกซเรยเคลื่อนที่ในการปองกันปราบปรามยาเสพติดของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๔) กองบัญชาการตํารวจสันติบาล
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานธุ ร การ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของกองบัญชาการตํารวจสันติบาล
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของกองบัญชาการ
ตํารวจสันติบาล
๓) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานการเงิ น การบัญ ชี การงบประมาณ งานพัส ดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ งานสื่อสาร และงานสถานีวิทยุกระจายเสียง
ของกองบัญชาการตํารวจสันติบาล
๔) ดํา เนิน การเกี่ย วกับ การประสานงานและจั ด ทํ ายุ ท ธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิจัย งานประเมินผล งานวิเคราะห และงานเทคโนโลยีสารสนเทศของกองบัญชาการ
ตํารวจสันติบาล
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและวินัยของกองบัญชาการตํารวจสันติบาล
๖) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของกองบัญชาการ
ตํารวจสันติบาล
หนา ๕๘
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๗) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานตรวจประวั ติ บุ ค คลที่ มี พ ฤติ ก ารณ เ ป น ภั ย ต อ


ความมั่นคงของประเทศ รวมทั้งงานตรวจสอบประวัติบุคคลเพื่อประกอบการเดินทางไปตางประเทศ
ตามที่รองขอ
๘) ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยสัญชาติ และกฎหมายอื่นที่ใหมีอํานาจหนาที่
หรือดําเนินการอื่นที่เกี่ยวของกับความมั่นคงของประเทศ
๙) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กองบังคับการตํารวจสันติบาล ๑ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น งานเกี่ ย วกั บ งานด า นการข า วของบุ ค คลหรื อ กลุ ม บุ ค คลที่ มี
พฤติการณเปนภัยตอความมั่นคงของประเทศในเขตอํานาจการรับผิดชอบ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานดําเนินกรรมวิธีขาวกรอง
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองบังคับการตํารวจสันติบาล ๒ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนิน การเกี่ ยวกับ งานดา นการขาวเฉพาะด าน ตลอดจนงานการขา ว
อาชญากรรมขามชาติ การกอการรายสากล งานการขาวระหวางประเทศ ตลอดจนการประสานงาน
การขาวระหวางประเทศ
๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) กองบังคับการตํารวจสันติบาล ๓ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค พระราชอาคันตุกะ และบุคคลสําคัญ
ทั้งฝายไทยและตางประเทศ รวมทั้งรักษาความปลอดภัยสถานที่ที่เกี่ยวของกับความมั่นคงของประเทศ
๒) งานตอตานขาวกรอง และงานสนับสนุนการรักษาความปลอดภัย
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๕๙
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(จ) กองบังคับการตํารวจสันติบาล ๔ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานวางแผน กําหนดหัวขอ ขาว รวบรวม จัดเก็ บ
วิเคราะห ประมวลผล และประเมินสถานการณขาวกรอง รวมถึงงานการผลิต และกระจายขาวกรอง
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฉ) ศูนยพัฒนาดานการขาว มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานวิชาการ งานมาตรฐานการขาว และงานฝกอบรม
เพื่อพัฒนาบุคลากรในดานการขาวของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ช) กลุมงานผูเชี่ยวชาญดานการขาว มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการวิจัย พัฒนา และวิเคราะหองคความรู วิทยาการ
และพัฒนาการสมัยใหมที่เปนประโยชนตอการพัฒนาดานการขาว
๒) รวบรวมและวิ เ คราะห ผ ลการปฏิ บั ติ ง านที่ สํ า คั ญ และจั ด ทํ า ข อ สรุ ป
เพื่อเปนเอกสารประกอบการพัฒนาและฝกอบรมดานการขาว
๓) เปนวิทยากรใหแกผูเขารับการอบรมดานการขาว
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๕) สํานักงานตรวจคนเขาเมือง
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานธุ ร การ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของสํานักงานตรวจคนเขาเมือง
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของสํานักงาน
ตรวจคนเขาเมือง
หนา ๖๐
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๓) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานการเงิ น การบัญ ชี การงบประมาณ งานพัส ดุ


อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสาร ของสํานักงาน
ตรวจคนเขาเมือง
๔) ดํา เนิน การเกี่ย วกับ การประสานงานและจั ด ทํ ายุ ท ธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิจัย และงานประเมินผลของสํานักงานตรวจคนเขาเมือง
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและวินัยของสํานักงานตรวจคนเขาเมือง
๖) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรของสํ า นั ก งาน
ตรวจคนเขาเมือง
๗) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานวิ เ ทศสั ม พั น ธ และกิ จ การต า งประเทศของ
สํานักงานตรวจคนเขาเมือง
๘) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กองบังคับการตรวจคนเขาเมือง ๑ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง กฎหมายวาดวยการทะเบียน
คนตางดาว กฎหมายวาดวยการปองกัน และปราบปรามการคามนุษย และกฎหมายอื่น ที่สํานักงาน
ตรวจคนเขาเมืองรับผิดชอบในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือตามที่สํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการพิจารณาคนเขาเมือง
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการเขามามีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการเขามาในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราว
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองบังคับการตรวจคนเขาเมือง ๒ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง กฎหมายวาดวยการทะเบียน
คนตางดาว กฎหมายวาดวยการปองกัน และปราบปรามการคามนุษย และกฎหมายอื่น ที่สํานักงาน
ตรวจคนเข า เมื อ งรั บ ผิ ด ชอบในเขตพื้ น ที่ ท า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ท า อากาศยานกรุ ง เทพ และ
ทาอากาศยานแหงอื่น หรือตามที่สํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด
๒) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๖๑
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ง) - (ช) กองบังคับการตรวจคนเขาเมือง ๓ - ๖ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง กฎหมายวาดวยการทะเบียน
คนตางดาว กฎหมายวาดวยการปองกัน และปราบปรามการคามนุษย และกฎหมายอื่น ที่สํานักงาน
ตรวจคนเขาเมืองรับผิดชอบนอกเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือตามที่สํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับคนตองหาม งานสงกลับ และงานหองกัก ตลอดจน
กํากับดูแลการปฏิบัติงานของแพทยตรวจคนเขาเมือง
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ซ) กองบังคับการสืบสวนสอบสวน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานสื บ สวนสอบสวนตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอื่นที่สํานักงานตรวจคนเขาเมืองรับผิดชอบทั่วราชอาณาจักร
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับคนตองหาม งานสงกลับ และงานหองกัก ตลอดจน
กํากับดูแลการปฏิบัติงานของแพทยตรวจคนเขาเมือง
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือไดรับมอบหมาย
(ฌ) ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศตรวจคนเขาเมือง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของ
สํานักงานตรวจคนเขาเมือง
๒) สงเสริมประสานงาน เผยแพร ใหคําปรึกษา แนะนํา เกี่ยวกับการพัฒนา
ระบบสารสนเทศ และการบริหารงานของสํานักงานตรวจคนเขาเมือง
๓) เปนศูนยกลางในการเชื่อมโยงงานเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงาน
ในสังกัด
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๖) กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานธุ ร การ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน
หนา ๖๒
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของกองบัญชาการ
ตํารวจตระเวนชายแดน
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการขาว และยุทธการดานการรักษาความมั่นคง
และการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมของกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน
๔) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด ทํ า ยุ ท ธศาสตร แผนงาน โครงการ
งบประมาณ งานสถิติ งานวิจัย และงานประเมินผลของกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน
๕) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานกฎหมายและวิ นั ย ของกองบั ญ ชาการตํ า รวจ
ตระเวนชายแดน
๖) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของกองบัญชาการ
ตํารวจตระเวนชายแดน
๗) ดํา เนิ น การเกี่ย วกับ งานสรรหาบุค คลเพื่อ เข า สูตํ าแหนง และการสอบ
เพื่อบรรจุบุคคลเขารับราชการ
๘) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกิจการพลเรือน
๙) ดําเนิน การเกี่ยวกั บการบริ หารงานดานการศึกษาของเด็กและเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารไกลคมนาคม ของกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน
๑๐) ดําเนินการเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศของกองบัญชาการตํารวจตระเวน
ชายแดน
๑๑) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) - (จ) กองบังคับการตํารวจตระเวนชายแดนภาค ๑ - ๔ แตละหนวยงาน
มีอํานาจหนาที่ในเขตอํานาจการรับผิดชอบ ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
๒) รักษาความสงบเรี ยบรอ ยและความมั่ น คงปลอดภั ยตามแนวชายแดน
รวมทั้งการเก็บกูวัตถุระเบิดตามที่มีการรองขอ
๓) พัฒนาและชวยเหลือประชาชนเพื่อความมั่นคงของชาติ
หนา ๖๓
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๔) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวาดวย
คนเขาเมือง และกฎหมายอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฉ) กองบังคับการฝกพิเศษ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) บริหารและพัฒนาการศึกษาตามระเบียบแบบแผนและหลักสูตร ตลอดจน
ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรและระบบการเรียนการสอน
๒) ผลิตขาราชการตํารวจชั้นประทวนตามความตองการของกองบัญชาการ
ตํารวจตระเวนชายแดน
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการฝกอบรมขาราชการตํารวจในการฝกพิเศษ การฝก
ทบทวน และการฝกอบรม เพื่อเพิ่มพูน ความรูใ นดานยุทธวิธีตามที่ไดรับมอบหมาย รวมทั้งการฝก
สุนัขตํารวจ
๔) ดําเนินการฝกอบรมใหกับประชาชนเพื่อเสริมสรางความมั่นคงของชาติ
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ช) กองบังคับการสนับสนุน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ปฏิบัติหนาที่เปนฝายสนับสนุนของกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน
๒) ดํา เนิ น การเกี่ย วกับ งานการเงิน การบั ญชี งานพัส ดุ งานโยธาธิก าร
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานยานพาหนะขนสง งานสงกําลังบํารุง งานสื่อสาร งานสวัสดิการ
และงานการแพทยของกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน
๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ซ) กองบังคับการสนับสนุนทางอากาศ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ รวมทั้ง
รักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญอื่น ๆ
หนา ๖๔
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) สนับสนุน การปฏิบัติงานของหนวยงานตํารวจพื้น ที่ใ นดานการปองกัน


และปราบปราม การรบพิเศษ การตอตานการกอการราย งานกิจการพิเศษ และการเก็บกูวัตถุระเบิด
รวมทั้งการฝกอบรมอาวุธ ยุทธวิธี และการรบพิเศษ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานปองกันและระงับอัคคีภัยในเขตพระราชฐานและ
ที่ประทับ
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฌ) ศู น ย อํ า นวยการโครงการพั ฒ นาตามแนวพระราชดํ า ริ มี อํ า นาจหน า ที่
ดังตอไปนี้
๑) อํานวยการงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ และโครงการอื่น ๆ
ตามที่ไดรับมอบหมาย
๒) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกับ งานศึ กษาทดลองตามแนวพระราชดํา ริ ตลอดจน
การขยายผลและถายทอดเทคโนโลยี
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๗) สํานักงานนายตํารวจราชสํานักประจํา
(ก) กองบังคับการอํานวยการถวายความปลอดภัย มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานธุ ร การ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของสํานักงานนายตํารวจราชสํานักประจํา
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของสํานักงาน
นายตํารวจราชสํานักประจํา
๓) ดําเนิน การเกี่ยวกั บงานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ งานพัส ดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของสํานักงาน
นายตํารวจราชสํานักประจํา
๔) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกั บการประสานงานและจัด ทํ ายุ ทธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิ จั ย งานประเมิ น ผล และงานเทคโนโลยี ส ารสนเทศของสํ า นั ก งานนายตํ า รวจ
ราชสํานักประจํา
หนา ๖๕
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๕) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานกฎหมายและวิ นั ย ของสํ า นั ก งานนายตํ า รวจ


ราชสํานักประจํา
๖) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรของสํ า นั ก งาน
นายตํารวจราชสํานักประจํา
๗) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานแผนถวายความปลอดภั ย และสนั บ สนุ น
สวนปฏิบัติการนายตํารวจราชสํานักประจํา
๘) ประสานการปฏิบัติกับสวนราชการหรือหนวยงานที่เกี่ ยวของกับการ
ถวายความปลอดภัย
๙) ดํา เนิ น การในส วนที่เ กี่ ยวข องกั บการตรวจพื้น ที่ เพื่ อเตรีย มการเสด็ จ
ขบวนการเสด็จ เสนทางเสด็จ และที่หมายเสด็จ
๑๐) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) สวนปฏิบัติการนายตํารวจราชสํานักประจํา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ถวายความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ
๒) ปฏิบัติงานตามพระราชประสงค
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการพิทักษรักษาความปลอดภัยในราชสํานัก
๔) ปฏิ บั ติ งานในภารกิ จถวายความปลอดภั ยตามที่ ได รั บมอบจากสมุ หราช
องครักษ
๕) ประสานการปฏิบัติกับสวนราชการหรือหนวยงานที่เกี่ ยวของกับการ
ถวายความปลอดภัย
๖) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๘) สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกับ งานธุ รการ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของสํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ
หนา ๖๖
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของสํานักงาน
พิสูจนหลักฐานตํารวจ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ งานพัสดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของสํานักงาน
พิสูจนหลักฐานตํารวจ
๔) ดําเนิ น การเกี่ ยวกั บการประสานงานและจัดทํ ายุทธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิจัย และงานประเมินผล ของสํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและวินัยของสํานักงานพิสูจนหลักฐาน
ตํารวจ
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศ สงเสริม ประสานงาน
เผยแพร ใหคําปรึกษา แนะนํา เกี่ยวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศและการบริหารงานเปนศูนยกลาง
ในการเชื่อมโยงงานเทคโนโลยีสารสนเทศของสํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ
๗) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) กองพิสูจนหลักฐานกลาง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานวิทยาการตํารวจ การพิสูจนหลักฐาน และการตรวจ
สถานที่เกิดเหตุ
๒) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานวิช าการดานการพิสูจนหลักฐานและการตรวจ
สถานที่เกิดเหตุ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานเครื่องมือวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของ
๔) ดําเนิน การจัดทําฐานขอมูลดานการตรวจพิสูจน และการตรวจสถานที่
เกิดเหตุ
๕) สนับสนุ น และดําเนิน การฝ กอบรมผูตรวจพิสูจน หลักฐานเฉพาะทาง
และตรวจสถานที่เกิดเหตุ
๖) ประสานงานกับ หนว ยงานอื่ น ที่เ กี่ย วขอ งในดา นการพิสู จน หลัก ฐาน
และการตรวจสถานที่เกิดเหตุ
๗) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๖๗
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ค) กองทะเบียนประวัติอาชญากร มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานทะเบียนประวัติอาชญากร
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดเก็บสารบบลายพิมพนิ้วมือผูตองหาและบุคคล
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบประวัติการกระทําความผิดของผูตองหา
และบุคคล
๔) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานวิ ช าการด า นทะเบี ย นประวั ติ อ าชญากรและ
การตรวจสอบลายพิมพนิ้วมือ
๕) ประสานงานด า นการทะเบี ย นประวั ติ อาชญากร การจัด เก็บ สารบบ
ลายพิม พนิ้วมือ และการตรวจสอบประวัติการกระทําความผิดของผูตองหาและบุคคลกับหนวยงาน
วิทยาการตํารวจที่เกี่ยวของ
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับงานตรวจสอบประวัติบุคคลเพื่อประกอบการเดินทาง
ไปตางประเทศ
๗) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) - (ฐ) ศูนยพิสูจนหลักฐาน ๑ - ๑๐ แตละหนวยงานมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานวิ ท ยาการตํ า รวจ การตรวจพิ สู จ น ห ลั ก ฐาน
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ การทะเบียนประวัติอาชญากร การจัดเก็ บสารบบลายพิ ม พนิ้วมือ และ
การตรวจสอบประวัตกิ ารกระทําความผิดของผูตองหาและบุคคล
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการฝกอบรมดานวิทยาการตํารวจใหแกขาราชการตํารวจ
พนักงานราชการ และลูกจางในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฑ) สถาบันฝกอบรมและวิจัยการพิสูจนหลักฐานตํารวจ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานฝ ก อบรมและพั ฒ นาบุ ค ลากรด า นการตรวจ
พิสูจนหลักฐาน และการตรวจสถานที่เกิดเหตุ
๒) ดําเนินการวิจัยและพัฒ นาวิช าการดานการตรวจพิสูจนหลักฐาน และ
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
หนา ๖๘
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๓) ติดตอและประสานความร วมมือกั บสถาบัน การศึกษาหรือองคกรอื่ น


เพื่อสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการศึกษาและพัฒนาวิชาการดานการตรวจพิสูจนหลักฐาน และ
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับมาตรฐานของบุคลากร การปฏิบัติงานหองปฏิบัติการ
ทางวิทยาศาสตร และงานอื่นที่เกี่ยวของ
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฒ) กลุมงานพิสูจนเอกลักษณบุคคล มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนิน การเกี่ยวกับกระบวนการตรวจพิสูจนเอกลักษณบุคคล ในกรณี
เหตุภัยพิบัติ หรือเหตุพิเศษอื่น
๒) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกับ กระบวนการพิสู จน เอกลัก ษณ บุค คลสูญ หายและ
ศพนิรนาม
๓) ประสานความรวมมือจากผูเชี่ยวชาญดานการตรวจสาขาตาง ๆ ทั้งภายใน
และตางประเทศมารวมกันพิสูจนเอกลักษณบุคคล
๔) อํานวยการและสนับสนุนการฝกอบรมเกี่ยวกับการบริหารจัดการการพิสูจน
เอกลักษณบุคคล
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ณ) ศูนยขอมูลวัตถุระเบิด มีอํานาจหนาที่ดังตอไป
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมขอมูล ความรู เหตุการณ และบุคคล
ที่เกี่ยวของกับวัตถุระเบิด โดยเชื่อมตอขอมูลกับศูนยขอมูลวัตถุระเบิดระหวางประเทศ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานระบบติดตอสื่อสาร ควบคุม สั่งการ การสืบสวน
คน หาข าวระหวางชุดปฏิบั ติการเก็บกู วัตถุระเบิด รวมทั้งการวิจัยพั ฒ นา ซอมอุ ปกรณ เครื่องมื อ
เครื่องใชทางเทคนิคดานการสื่อสาร
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการสนับสนุนปฏิบัติการชุดเก็บกูและทําลายวัตถุระเบิด
ของหนวยตาง ๆ เฉพาะกรณีที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งเจาหนาที่เก็บกูและทําลายวัตถุระเบิดในพื้นที่ไมมี
หนา ๖๙
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

ความชํานาญในเทคโนโลยีหรือรูปแบบของวัตถุระเบิดดังกลาว รวมทั้งดําเนินการฝกอบรมการเก็บกู
ทําลาย และพิสูจนทราบวัตถุระเบิด
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจพิสูจนและวิเคราะหวัตถุระเบิด ทําหนาที่
เก็บชิ้นสวนวัตถุพยาน ตรวจพิสูจนชิ้นสวนวัตถุระเบิด และตรวจหารองรอยอื่น ๆ โดยศึกษาวิเคราะห
เพื่อหาตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ และหาแนวทางปองกัน และปราบปราม ตลอดจนควบคุมการผลิต
การใช การจําหนาย การนําเขา และอื่น ๆ รวมทั้งปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๑๙) สํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกับ งานธุ รการ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของสํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของสํานักงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ งานพัสดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสาร ของสํานักงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๔) ดําเนิ น การเกี่ ยวกั บการประสานงานและจัดทํ ายุทธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิ จั ย งานประเมิ น ผล และงานเทคโนโลยี ส ารสนเทศของสํ า นั ก งานเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
๕) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานกฎหมายและวิ นั ย ของสํ า นั ก งานเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
๖) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรของสํ า นั ก งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๗) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๗๐
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ข) กองตํารวจสื่อสาร มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) อํานวยการ ควบคุม ดูแล ใหการสนับสนุนเครื่องมือสื่อสารและอุปกรณ
การปฏิบัติการสื่อสารของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ศึกษาคนควาและกําหนดมาตรฐานกลางเครื่องมือสื่อสาร ครุภัณฑไฟฟา
และวิทยุประเภทตาง ๆ ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการฝกอบรมวิชาการสื่อสาร โทรคมนาคม ที่ใชใน
ราชการของสํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมทั้งการคนควา ทดลอง วิเคราะห ประดิษฐ ตรวจซอม และ
บํารุงรักษาเครื่องมือสื่อสาร
๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการสื่อสารทั้งปวงของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) กองบังคับการสนับสนุนทางเทคโนโลยี มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบและวิเคราะหขอมูลการกระทําผิดกฎหมาย
โดยใชเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศ
๒) ดําเนินการวิจัย และพัฒนา รวมทั้งวิเคราะหการกระทําผิดโดยใชเครื่องมือ
เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกิดขึ้น ทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อกําหนดแนวโนมการกระทําผิด
และเผยแพรแผนประทุษกรรมของผูกระทําผิดไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ และแกปญหาการกระทําผิด
โดยใชเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศ
๓) ดําเนิน การเกี่ ยวกับการเผยแพรก ารใหบ ริการข อมู ลขอ สนเทศตา ง ๆ
รวมทั้งการใหคําปรึกษา แนะนํา หรือฝกอบรมความรูเกี่ยวกับการกระทําผิดโดยใชเครื่องคอมพิวเตอร
และการใชโปรแกรมคอมพิวเตอร
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศกลาง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) จัดทํายุทธศาสตร แผนแมบท และแผนปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติใหสอดคลองกับมาตรฐานกลางและนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารของชาติ
หนา ๗๑
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๒) ศึกษาคนควาและกําหนดมาตรฐานกลางครุภัณฑคอมพิวเตอรประเภทตาง ๆ
และครุภัณฑอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการวางระบบหรือพัฒนาระบบขอมูลและประมวลผล
ขอมูลขอสนเทศของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) สงเสริม ประสานงาน เผยแพร ใหคําปรึกษา แนะนําเกี่ยวกับการพัฒนา
ระบบสารสนเทศและการบริหารงานของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๒๐) กองบัญชาการศึกษา
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกับ งานธุ รการ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ
งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของกองบัญชาการศึกษา
๒) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด ระบบงานและบริ ห ารงานบุ ค คลของ
กองบัญชาการศึกษา
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ งานพัสดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสาร ของกองบัญชา
การศึกษา
๔) ดําเนิ น การเกี่ ยวกั บการประสานงานและจัดทํ ายุทธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิจัย งานประเมินผล และงานเทคโนโลยีสารสนเทศของกองบัญชาการศึกษา
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและวินัยของกองบัญชาการศึกษา
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของกองบัญชาการศึกษา
๗) ดําเนินการเกี่ยวกับงานวิเทศสัมพันธของบัญชาการศึกษา
๘) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การส ง เสริ ม จริ ย ธรรมและพั ฒ นาคุ ณ ธรรมของ
ขาราชการตํารวจ
๙) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๗๒
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ข) สํานักการศึกษาและประกันคุณภาพ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ศึกษาและเสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการตํารวจ
๒) กําหนดและพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในของสํานักงานตํารวจ
แหงชาติ
๓) กําหนดมาตรฐาน เกณฑการประเมิน กํากับ ดูแล ตรวจสอบ วิเคราะห วิจัย
ประเมินคุณภาพ ติดตามผล และรับรองมาตรฐานการศึกษาหนวยศึกษาอบรมในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) พัฒนาบุคลากร องคความรู และระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการ
ประกันคุณภาพ
๕) ประสานการดํ า เนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพทั้ ง ภายในและภายนอกกั บ
หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกัน
๖) สราง พัฒนา เนื้อหาหลักสูตรการศึกษาอบรม รูปแบบ และเทคนิค
กระบวนการเรียนการสอน เทคโนโลยีทางการศึกษาและสื่อการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดผล
และประเมินผลหลักสูตรการศึกษาอบรมขาราชการตํารวจ
๗) ฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๘) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นเกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
(ค) วิทยาลัยการตํารวจ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการฝกอบรมและพัฒนาขาราชการตํารวจชั้นสัญญาบัตร
ตามหลักสูตรผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนาทางวิชาการตํารวจและศาสตรสาขาอื่น
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในทางวิชาการของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพิ่มพูนความรูและทักษะในการปฏิบัติงาน
ใหกับขาราชการตํารวจในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ติดตอและประสานความร วมมือกั บสถาบัน การศึกษาหรือองคกรอื่ น
ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและฝกอบรม เพื่อปองกัน
และปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา การรักษาความสงบเรียบรอย การอํานวยความยุติธรรม
และการรักษาความปลอดภัยของประชาชน
หนา ๗๓
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น


ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) กองบังคับการฝกอบรมตํารวจกลาง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการผลิตและฝกอบรมขาราชการตํารวจชั้นประทวน
ตามความตองการของหนวยงานตาง ๆ ในสํานักงานตํารวจแหงชาติ ยกเวนตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และศูนยปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนาทางวิชาการตํารวจและศาสตรสาขาอื่น
เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในทางวิชาการและจัดทํามาตรฐานการศึกษาและระบบการเรียนการสอนของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพิ่มพูนความรูและทักษะในการปฏิบัติงาน
ใหกับขาราชการตํารวจในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๔) ติดตอและประสานความร วมมือกั บสถาบัน การศึกษาหรือองคกรอื่ น
ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและฝกอบรม เพื่อสนับสนุน
การปองกัน และปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา การรักษาความสงบเรียบรอย การอํานวย
ความยุติธรรม และการรักษาความปลอดภัยของประชาชน
๕) เปนศูนยกลางการฝก และพัฒนาทักษะทางยุทธวิธี และการยิงปนของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๖) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(จ) กองการสอบ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนิน การเกี่ย วกั บงานสรรหาบุค คลเพื่ อเขาสู ตํา แหนง และการสอบ
เพื่อบรรจุบุคคลเขารับราชการ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห วิจัย เพื่อพัฒนาระบบ เทคนิค
เครื่องมือและวิธีการเกี่ยวกับการสรรหาบุคคลเขารับราชการ
๓) วางระบบและมาตรฐานการสรรหาบุคลากรของหนวยงานในสํานักงาน
ตํารวจแหงชาติ
หนา ๗๔
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น


ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ฉ) สถาบันฝกอบรมระหวางประเทศวาดวยการดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย
มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ประสานและสนับสนุนการดําเนินการจัดฝกอบรมของสถาบันฝกอบรม
ระหวางประเทศวาดวยการดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย
๒) ดูแลรักษา และควบคุมครุภัณฑ ที่ดิน สิ่งกอสรางของสถาบันฝกอบรม
ระหวางประเทศวาดวยการดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย ตามระเบียบราชการ
๓) ดํ า เนิ น การตั้ ง งบประมาณสมทบ และเบิ ก จ า ยงบประมาณให แ ก
สถาบันฝกอบรมระหวางประเทศวาดวยการดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ช) กลุมงานอาจารย มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการสอนและเปนวิทยากรการศึกษาอบรมของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ศึกษา คนควา วิเคราะห วิจัยและพัฒนาทางการศึกษาและวิชาการตํารวจ
รวมทั้งศาสตรสาขาตาง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางวิชาการและการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ
๓) จัดทําตํารา คําสอน เอกสารทางวิชาการ
๔) บริหารหลักสูตรและรวมพิจารณาสรรหาครูอาจารยผูสอนและวิทยากร
ผูทรงคุณวุฒิในหลักสูตรการศึกษาอบรม
๕) ใหคําปรึกษา เผยแพร และสนับสนุนทางวิชาการแกผูเขารับการศึกษา
อบรมขาราชการตํารวจและหนวยงานตาง ๆ
๖) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(๒๑) โรงเรียนนายรอยตํารวจ อํานาจหนาที่เปนไปตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนนายรอย
ตํารวจ
(๒๒) โรงพยาบาลตํารวจ
(ก) กองบังคับการอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
หนา ๗๕
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

๑) ดํา เนิ น การเกี่ ยวกั บงานธุร การ งานสารบรรณ งานประชาสั ม พั น ธ


งานชวยอํานวยการ และงานเลขานุการของโรงพยาบาลตํารวจ
๒) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด ระบบงานและบริ ห ารงานบุ ค คลของ
โรงพยาบาลตํารวจ
๓) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ งานพัสดุ
อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกําลังบํารุง งานยานพาหนะ และงานสื่อสารของโรงพยาบาลตํารวจ
๔) ดําเนิน การเกี่ยวกับการประสานงานและจัดทํายุทธศาสตร แผนงาน
โครงการ งานวิจัย งานประเมินผล งานเวชระเบียน และงานเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงพยาบาลตํารวจ
๕) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและวินัยของโรงพยาบาลตํารวจ
๖) ดําเนินการเกี่ยวกับงานฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของโรงพยาบาลตํารวจ
๗) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ข) วิทยาลัยพยาบาลตํารวจ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการพยาบาลตามความจํ า เป น ของ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานฝ ก อบรมและพั ฒ นาบุ ค ลากร งานวิ จั ย และ
พัฒนาวิชาการทางการสาธารณสุขของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ตลอดจนปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
และระบบการเรียนการสอน
๓) ดํ าเนิ น การเกี่ ยวกั บงานทะเบี ยนและวั ดผล งานปกครอง งานบรรณ
สารสนเทศ งานอุปกรณการศึกษา และงานเผยแพรและบริการวิชาการ
๔) สนับสนุนการฝกอบรมใหแกขาราชการตํารวจที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ใหมี
ความรูเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล
๕) ประสานความรวมมือกับสถาบันการศึกษาหรือองคกรอื่น เพื่อสงเสริม
ใหชุม ชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและฝกอบรมทางการแพทยเกี่ยวกับการพัฒ นาวิช าการทาง
การแพทย
๖) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
หนา ๗๖
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

(ค) สถาบันนิติเวชวิทยา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


๑) ดําเนิน การเกี่ยวกับงานนิติเวช การชัน สูตรพลิกศพ การตรวจพิสูจน
และคนควาหาหลักฐานซึ่งเกี่ยวกับหลักวิชาแพทยและนิติเวชศาสตร ในบุคคลที่มีชีวิต ศพ เศษหรือ
สวนของศพ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการฝกอบรมดานนิติเวชศาสตรใหแกขาราชการตํารวจ
และบุคคลภายนอก
๓) ใหความเห็น คําแนะนํา และคําปรึกษาทางนิติเวชศาสตรแกหนวยงาน
ที่เกี่ยวของ
๔) ดํา เนิ น การเกี่ ย วกั บงานรัก ษาสภาพศพ และพยานวั ต ถุใ นที่ เกิ ดเหตุ
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
๕) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
(ง) - (ฝ) กลุมงานกุมารเวชกรรม กลุมงานจิตเวชและยาเสพติด กลุมงานชีวเคมี
กลุมงานตา กลุมงานทันตกรรม กลุมงานผูปวยนอก กลุมงานพยาธิวิทยา กลุมงานพยาบาล กลุมงาน
เภสั ช กรรม กลุม งานโภชนาการ กลุ ม งานรั งสี วิทยา กลุ ม งานวิ สัญ ญีวิท ยา กลุม งานเวชศาสตร
ครอบครัว กลุมงานเวชศาสตรฟนฟู กลุมงานศัลยกรรม กลุมงานศูนยสงกลับและรถพยาบาล กลุมงาน
สังคมสงเคราะห กลุมงานสูตินรีเวชกรรม กลุมงานหู คอ จมูก กลุมงานออรโธปดิกส กลุมงานอายุรกรรม
โรงพยาบาลดารารัศมี และโรงพยาบาลนวุติสมเด็จยา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานดานการแพทยของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานวิเคราะห และวิจัยทางการแพทย
๓) ใหการรักษาพยาบาลขาราชการตํารวจ พนักงานราชการ ลูกจาง และ
ครอบครัว ตลอดจนประชาชน
๔) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น
ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
ขอ ๔ การกํ า หนดอํ า นาจหน า ที่ ข องส ว นราชการตามข อ ๒ ที่ มี ฐ านะต่ํ า กว า ระดั บ
กองบังคับการใหออกเปนระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ
ขอ ๕ ใหนายกรัฐมนตรีเปนผูประกาศกําหนดหนวยงานและเขตอํานาจการรับผิดชอบหรือ
เขตพื้นที่การปกครองของสวนราชการตามขอ ๒ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
หนา ๗๗
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

ขอ ๖ ในระหวางที่ยังไมไดประกาศกําหนดหนวยงานและเขตอํานาจการรับผิดชอบหรือ
เขตพื้นที่การปกครองของสวนราชการตามขอ ๒ ใหสวนราชการที่มีอยูในวันที่กฎกระทรวงนี้ใชบังคับ
เปน สวนราชการตามกฎกระทรวงนี้ จนกวาจะมีการออกระเบียบหรือประกาศตามกฎกระทรวงนี้
เพื่อกําหนดหนวยงานและเขตอํานาจการรับผิดชอบหรือเขตพื้นที่การปกครอง และใหนําประกาศ
ที่ใชอยูในวันกอนวันที่กฎกระทรวงนี้มาใชบังคับโดยอนุโลม

ใหไว ณ วันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒


สุเทพ เทือกสุบรรณ
รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทน
นายกรัฐมนตรี
หนา ๗๘
เลม ๑๒๖ ตอนที่ ๖๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๗ กันยายน ๒๕๕๒

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ


ตํารวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ บัญญัติวา การแบงสวนราชการเปนกองบังคับการหรือสวนราชการอยางอื่น
ใหออกเปนกฎกระทรวง และใหกําหนดอํานาจหนาที่ไวในกฎกระทรวงดวย เพื่อใหสอดคลองกับบทบัญญัติดังกลาว
สมควรแบงสวนราชการเปนกองบังคับการหรือสวนราชการอยางอื่นในสํานักงานตํารวจแหงชาติ และระบุ
อํานาจหนาที่ของแตละสวนราชการดังกลาวใหเหมาะสมกับสภาพของงาน จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

You might also like