Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 215

1

สัตว์ป่าในสวนสัตว์ ถินทีอยูแ่ ละการปรับตัว


แปลจาก ZOO ANIMAL SMITHSONIAN GUIDE
ผูแ้ ต่ง Michale H Robinson : Director of the National Zoo
David Challinor

แปลโดย น.สพ. วิชิต กองคํา สํานักอนุรกั ษ์และวิจยั


องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์
2

คํานํา
สัตว์ป่าเป็ นตัวละครทีมีความน่าสนใจเป็ นพืนฐาน และความน่าสนใจไม่ได้มีเพียงหน้าตา
และลักษณะร่ างกายทีได้เห็นเมือมาเทียวสวนสัตว์ หรื อเห็นจากสื ออืนๆ ยังมีรายละเอียดปลีกย่อย
อืนๆ เช่น ชี ววิทยาของตัวสัตว์ พฤติกรรมสังคม ชี ววิทยาของชนิ ดพืชและป่ า ลักษณะพืนที
อากาศ นําและพืนดินทีสัตว์ชนิดนันดํารงชีวิตอยู่ ถ้าเราเริ มต้นที จะสนใจสัตว์สักชนิ ดหนึ ง และ
เริ มศึกษารายละเอียด เราจะสามารถเชื อมโยงไปยังเนือหาทีน่าสนใจได้อีกหลายวิชา เช่น ชีววิทยา
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และผูเ้ ขียนหนังสื อเล่มนี ก็ใช้หลักการดังกล่าวในสร้างเนือหาทีมีในเล่ม
โดยการใช้สตั ว์ทีประชาชนพบเห็นได้บ่อยเมือมาเทียวสวนสัตว์ เชือมโยงกับลักษณะถินทีอยูแ่ บบ
ต่างๆ เช่น ป่ าดิบชืน ทะเลทราย ภูเขาจากนันจึงเพิมรายละเอียดทีน่าสนใจเป็ นจิ กซอว์ชิน
พอประมาณ เพราะถ้าลงรายละเอียดมากไปก็จะเกินคําว่า Guide Book ทีหมายถึงหนังสื อคู่มือทีให้
ข้อมูลสัน ๆ ทีน่าสนใจในขณะเทียวชมสัตว์ในสวนสัตว์
สําหรับหนังสื อเล่มนีคงเหมาะสมกับผูส้ นใจทัวไปในสัตว์ป่าทีพบเห็นได้บ่อยในสวนสัตว์
และต้องการรายละเอียดเกร็ ดเล็กเกร็ดน้อยทีน่าสนใจ ทีจะทําให้การศึกษาสัตว์ป่ามีความน่าสนใจ
มากยิงขึน

วิชิต กองคํา
1 ตุลาคม 2561
โทร : 0813212562
Facebook : วิชิต กองคํา
e – mail : kongkham35@hotmail.com
3

สารบัญ

บทที 1 สวนสัตว์สมัยใหม่ ( The New Zoo ) 4


สวนสัตว์กบั การเปลียนแปลง ( Zoo in Transformation )
ู พันธุ์ ( Endangered Species ) Habitat ( ถิ นที อยู่ )
สัตว์ป่าใกล้สญ
พืนที สําหรับการดํารงชีวิตของสิ งมีชีวิต ( Place for Living Thing )
การปรับตัวของสัตว์ป่าเพือความเหมาะสมกับสิ งแวดล้อม ( Finding a Nich )

บทที 2 สัตว์ป่าในป่ าเขตร้อน ( Animals of the Tropical Forest ) 19

ชะนี และอุรงั อุตงั * ลีเมอร์และทาร์เซีย * สล็อท


ค้างคาว * ลิ งชิ มแพนซี * งูและกิ งก่า * เสือจากัวร์และเสือโคร่ง
กอลิ ลาร์
บทความ : ระดับความสูงของต้นไม้ในพืนป่ ากับสัตว์ป่า
: สิ งมีชีวิตในบลอมมีเลี ยด
: หางเพือการจับยึด
: นกยูง

บทที 3 สัตว์ป่าในทุ่งหญ้า ( Animals of glassland ) 58


ช้าง แรด และฮิ ปโปโปเตมัส
ยีราฟ ม้าลาย และแอนติ โลป
เสือดาว เสือชี ตาร์ สิ งโต
ไคโยตี วัวป่ าไบซัน จิงโจ้
บทความ : สีขนกับการพรางตัว * สัตว์ในพืนทีชุ่มนํา
: สัตว์เคียวเอือง * เขาสัตว์ ( horn )
: ลูกสัตว์ * ช้าง
: เสือชีตาร์
4

บทที 4 สัตว์ป่าในทะเลทราย 96

บ๊อบแคท * หมาป่ า * วอมเบท * เมียร์แคท


แอนติ โลปที มีถินทีอยู่ในทะเลทราย แอทแดค
ออริ กซ์ * กวางมิ วล์ * แพะบิกฮอร์นทะเลทราย
งูหางกระดิ ง กิ งก่าและเต่า
บทความ : สิ งมีชีวิตในเนิ นทราย
: ตะบองเพชรซากูโร่
: อูฐ

บทที 5 สัตว์ในป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่น 124


หมีดาํ เสือคูการ์ กวางและกวางเอลค์
สกังค์และเม่น * แรคคูน
บทความ : เขาแบบแอทเลอร์ ( antler )
: เวลาให้อาหารแก่สตั ว์ในสวนสัตว์
: สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมที มีถงุ หน้ าท้อง
: บีเวอร์

บทที 6 สัตวในป่ าสนเขา 144


หมาป่ าสีเทา * ลิ งค์ * หมีสีนําตาล
กวางมูส กวางคาริ บู กวางเรนเดียร์
วูฟเวอร์รีน ไพน์ มาร์เต็น นกเค้าแมว
บทความ : พฤติ รรมของหมาป่ า
: การรักษาอุณหภูมิในร่างกายให้คงที
: การรักษาสัตว์ป่วยในสวนสัตว์
: ลิ งค์

บทที 7 สัตว์ป่าในพืนทีภูเขา 163

แพนด้ายักษ์ * หมีสเปคตาเคิ ล * เสือดาวหิ มะ


แยค ลามาและวิ กนู า * หมาป่ าสีแดง วีเซิ ล นาก
และแบดเจอร์ * นกอิ นทรี
5

บทความ : สัตว์เท้ากีบ * แกะภูเขา


: นกแร้งแคลิ ฟอร์เนี ยคอนดอร์

บทที 8 สัตว์ป่าในพืนทีหนาวเย็นขัวโลกและทุนดรา 181


หมีขวโลก
ั * มัส ออคเซน
กระต่ายอาร์คติ คแฮร์
หมาป่ าอาร์คติ ค
วอรัสและแมวนํา
นกเพนกวิ นและนกพัฟฟิ น
นกเค้าแมวสโนวี
บทความ : การสร้างส่วนแสดงเลียนแบบสิ งแวดล้อมแบบขัวโลก
: หมีขวโลกเหนื
ั อ

คําศัพท์ทีน่ าสนใจ 198


6

บทที 1 สวนสัตว์ยคุ ใหม่ ( The New Zoo )


สวนสัตว์สมัยใหม่เป็ นสวนสัตว์ทีต้องทําหน้ าทีหลากหลายมากขึน เป็ น
โรงเรียนสําหรับการสอนเรืองสัตว์ป่าและสิ งแวดล้อม เป็ นห้องวิ จยั ของ
นักวิ ทยาศาสตร์ เป็ นสถานี เพาะพันธุส์ ตั ว์ป่าเพือจุดประสงค์ทงเพื
ั อการแสดง
และงานอนุรกั ษ์ เป็ นสถานทีพักผ่อนหย่อนใจสําหรับประชาชนทุกเพศวัย
และเป็ นสถานประกอบการทางธุรกิ จทีมีรปู แบบเหมาะสมเพือเป็ นทุนทรัพย์
สําหรับการดําเนิ นงาน ขยายพืนทีและขอบเขตงาน
7

สวนสัตว์ กบั การเปลียนแปลง ( Zoos in Transformation )

ในประเทศสหรัฐอเมริ กามีผ้เู ทียวชมเข้ามาเที ยวที


สวนสัตว์มากกว่า 100 ล้านคนต่อปี ซึงเป็ นตัวเลขที
มากกว่าจํานวนผู้เข้าไปชมการแข่งขันในสนามกีฬา
เบสบอล อเมริกนั ฟุตบอลและบาสเกตบอลรวมกัน

ยินดีตอ้ นรับสู่ สวนสัตว์สมัยใหม่ ( modern zoo ) หรื อสวนสาธารณะเพือการอนุรักษ์สตั ว์


ป่ า ( wildlife conservation park ) โดยสวนสัตว์ในปัจจุบนั ได้ทาํ หน้าทีคือ ในการดูแลสัตว์
ป่ าและพืชหลากหลายชนิ ด การเพาะขยายพันธุส์ ตั ว์ป่าเพือการจัดแสดงและเพือการอนุรักษ์สัตว์ใน
ท้องถินทีอยู่สภาวะถูกคุกคาม งานวิจยั โดยเฉพาะเรื องการเพาะขยายพันธุ์สัตว์ การให้ขอ้ มูลและ
การศึกษาแก่ผเู ้ ทียวชมในเรื องสัตว์ป่าและพืช
ส่วนแสดงสัตว์ในสวนสัตว์ในอดีตจะใช้แนวกันสัตว์ในแบบซี กรงและพืนทีแคบๆ แต่ใน
ปัจจุบนั วิธีการออกแบบและจัดสร้างส่ วนแสดงจะมีรูปแบบของแนวกันสัตว์ทีหลากหลายเช่น การ
ใช้คูนาํ ( wet moat ) คูแห้ง ( dry moat ) กระจกนิรภัย ( laminate security glass ) ซึงวิธีทีกล่าวมา
นีเพือแยกพืนทีจัดแสดงสัตว์ออกจากพืนทีชมสัตว์ของผูเ้ ทียวชม ด้วยวิธีการทีเหมาะสมสําหรับการ
ชมสัตว์
สวนสัตว์บางแห่งทีที ใช้แนวคิดทีมีคาํ ศัพท์ในภาษาอังกฤษว่า “ Immersion ” ซึ งหมายถึง
ส่วนแสดงสัตว์ทีมีการจําลองถินทีอยูข่ องสัตว์ ซึ งไม่ใช่เฉพาะพืนทีแสดงสัตว์ทีสัตว์อยู่เท่านัน แต่
รวมทังพืนทีโดยรอบและพืนทีชมสัตว์ของผูเ้ ทียวชมด้วย ซึ งจะทําให้ผเู ้ ทียวชมเกิดความรู ้สึกเสมือน
เข้าไปในสิ งแวดล้อมจริ งทีเป็ นถินทีอยูข่ องสัตว์ชนิ ดนันๆ
เกิดปรากฏการณ์ทีสวนสัตว์ทวโลกมี
ั การเปลียนแปลงในการสร้ างส่ วนแสดง จากทีมี
จุดประสงค์และภาระกิจเพือความบันเทิงเป็ นหลัก มาสู่ การสร้ างจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ ธรรมชาติ
แก่ ประชาชนมากยิงขึน โดยการให้ภาพของธรรมชาติในภาพรวมของระบบนิเวศ เช่น ทีสวนสัตว์
แห่ งชาติของประเทศสหรัฐอเมริ กา ( National zoo ) ทีเมืองวอชิงตัน ดีซี ได้สร้างส่ วนแสดงทีมี
ชือว่า อเมโซเนีย ( Amazonia ) มีพืนทีประมาณ 4,560 ตารางเมตร ทีรวบรวมเอาพืช ปลา นก
สัตว์สะเทินนําสะเทินบก สัตว์เลือยคลานและสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมกว่า 360 ชนิด และที
พิพิธภัณฑ์ทะเลทรายอริ โซนา – โซนาราน ( Arizona – Zonora Desert Museum ) ทีรัฐอริ โซนามี
ส่วนแสดงของแกะบิกฮอร์ น ทีนําเสนอภาพทีแกะบิกฮอร์นยืนอยูบ่ นภูเขาหิ นเทียม ท่ามกลาง
ต้นไม้ประจําพืนทีแบบทะเลทราย
ภาพของสวนสัตว์แบบเก่าคือคือผูน้ าํ สัตว์ป่าออกจากป่ า เพือการจัดแสดงและเมือสัตว์
นันตายก็จะไปนําออกจากป่ าใหม่ แต่ในปัจจุบนั สวนสัตว์ถกู ควบคุมกฎหมายในประเทศและ
8

ระหว่างประเทศ ทําให้สวนสัตว์ตอ้ งมีการปรับตัวทีจะต้องใช้ทรัพยากรสัตว์ป่าอย่างคุม้ ค่า และ


ยังยืน รวมทังสวนสัตว์ยคุ ใหม่ตอ้ งเปลียนภาพลักษณ์ทีจะเป็ นผูเ้ ชือมโยงมนุษย์กบั ธรรมชาติ ให้ผู ้
เทียวชมเห็นระบบนิ เวศของสัตว์ชนิดนันในพืนทีถินทีอยู่ จุดเริ มต้นของสวนสัตว์เป็ นสถานทีเพือ
ความบันเทิงและพักผ่อนหย่อนใจของสําหรับกษัตริ ยแ์ ละขุนนาง แต่ปัจจุบนั สวนสัตว์จะเป็ นศูนย์
สําหรับการเพาะขยายพันธุ์สัตว์ป่า ( Conservation Center ) เป็ นสวนสาธารณะทีจําลองพืนทีทาง
ธรรมชาติ ( Biopark ) ทีผูเ้ ทียวชมจะเห็นความสําคัญ เห็นคุณค่าของความหลากหลายของสิ งมีชีวิต
ทังสัตว์และพืช เพือเป็ นการสร้างจิตสํานึ กทีประชาชนในสังคม ทีจะต้องปรับเปลียนพฤติกรรมใน
อันทีจะลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทีจะส่งผลต่อระบบนิเวศของสัตว์ป่า

ภาพที 1.1 และ 1.2 แสดงความเปลียนแปลงและพัฒนาของส่วนแสดงสัตว์ เป็ นภาพส่วนแสดง


กอลิลาร์ ในสวนสัตว์แห่งชาติสหรัฐอเมริ กา ซึงเดิมจัดแสดงสัตว์ตวั เดียวในส่วนแสดงแบบซีกรง
และมีพืนทีเล็ก เปลียนมาเป็ นการจัดแสดงแบบเป็ นกลุม่ ครอบครัวกอลิลาร์ และพืนทีกว้ างขวาง

คาร์ล ฮาเจนเบค ( Carl Hagenbeck ) พ่อค้าสัตว์ป่าชาวเยอรมัน ทีเกิดในปี พ.ศ. 2387


ได้รับการยกย่องว่าเป็ นผูร้ ิ เริ มในการสร้างสวนสัตว์สมัยใหม่ ( deserve credit for envisioning the
first modern zoo ) ก่อนที จะมาถึงการเป็ นเจ้าของสวนสัตว์ เขามีอาชีพในการจัดหาสัตว์ป่าเพือ
แสดงในละครสัตว์และสวนสัตว์ เจ้าของคณะละครสัตว์ ซึ งสวนสัตว์ทีมีในยุคนันยังไม่ได้ใช้คาํ ว่า
“ Zoo ” แต่ใช้คาํ ศัพท์วา่ “ Menageries ” โดยความคิดฝันของคุณฮาเจนเบค เขาอยากจะทีจะสร้าง
สวนสัตว์ทีมีพืนทีกว้างขวาง ทีสามารถจัดแสดงสัตว์ให้ได้เหมือนกับถินทีอยูเ่ ดิมของสัตว์ชนิดนัน
สวนสัตว์ของเขาเปิ ดในปี พ.ศ. 2450 ทีเมืองสเทลลิงเจน ( Stellingen ) ประเทศเยอรมนี ซึ งแนวคิด
ของเขามีสวนสัตว์ทวโลกนํ
ั าไปปรับใช้คือ เขาไม่ใช้รูปแบบของส่ วนแสดงในแบบเดิมๆ ทีใช้รัว ซี
กรง หรื อวัสดุอืนๆ ซึ งเป็ นวัสดุทีสร้างความรู ้สึกว่าสัตว์นนถู
ั กกักขัง ทีส่ วนแสดงสัตว์ป่าจากพืนที
ราบในทวีปแอฟริ กา ( African plain ) เขานําม้าลาย แอนติโลปและกาเซลกําลังกินหญ้าอยู่ใกล้ ๆ
9

กับสิ งโต แต่ชนิ ดสัตว์ผลู ้ ่าจะถูกแยกจากสัตว์กินพืชโดยการใช้คูแห้งที ลึก ซึ งการออกแบบและ


ก่อสร้างทีทําให้ผเู ้ ทียวชมมองไม่เห็นคูแห้งทีแยกระหว่างกลุ่มสัตว์เมือมองจากจุดชมสัตว์

ภาพที 1.3 แสดงภาพของคุณคาร์ ล อาเจนเบคซึงก่อนทีจะมาดําเนินกิจการสวนสัตว์ยงั ประกอบ


อาชีพเป็ นเจ้ าของและครู ฝึกละครสัตว์ทีมีชือเสียง ภาพที 1.4 แสดงส่วนแสดงในสวนสัตว์ของเขา
ทีส่วนฉากหลังจําลองจากพืนทีธรรมชาติ

การเปลียนแปลงและพัฒนาสวนสัตว์ในรู ปแบบดังกล่าวเป็ นวิธีการทีมีค่าใช้จ่ายสูง ทําให้


ความคิดของฮาเจนเบคได้รับความนิยมอยู่ในวงแคบๆ ในระยะต่อมาภายใต้คาํ แนะนําและคํา
วิพากษ์วิจารณ์ของนักชีววิทยาและนักสัตววิทยาหัวก้าวหน้าหลายๆ ท่าน สวนสัตว์หลายแห่งก็เริ ม
มีการเปลียนแปลง โดยเฉพาะนักวิจยั พฤติกรรมสัตว์ป่า ( animal behaviorist ) ได้ชีให้เห็นถึง
ความสําคัญของสังคมสัตว์ทีมีการสัมผัสสัมพันธ์กนั ระหว่างสมาชิกในฝูง เช่น ลิงมีหาง (
monkeys ) ลิงไม่มีหาง ( apes ) ช้างและม้าลาย มีงานวิจยั ในเรื องพฤติกรรมการสื บพันธุ์ อาหาร
และสิ งแวดล้อม การปรับตัวเข้ากับสิ งแวดล้อมของสัตว์หลากหลายชนิดในป่ าธรรมชาติ งานวิจยั
เหล่านีทําให้เราเข้าใจในสัตว์ชนิดต่างๆ มากขึน ดังนันในส่ วนแสดงสัตว์ตอ้ งมีการสร้างกิจกรรม
ให้แก่สตั ว์ เพือให้สตั ว์มีโอกาสทีจะได้แสดงพฤติกรรมตามสัญชาตญาณ มีพืนทีเพียงพอให้
สามารถเคลือนทีไปมาซึ งจะช่วยให้สัตว์แข็งแรง มีสุขภาพจิตทีดี ซึ งสัตว์ทีมีการเคลือนไหวและมี
การแสดงพฤติกรรมปกติอย่างทีแสดงในป่ าธรรมชาติ จะเป็ นการสร้างจุดสนใจสําหรับผูเ้ ทียวชมที
มีต่อสัตว์ในส่ วนแสดง
ในช่วง 30 ปี ทีผ่านมา สาธารณะชนได้ให้ความสนใจกับกิจการของสวนสัตว์มากยิงขึน
และแสดงความต้องการทีจะให้สวนสัตว์มีการปรับปรุ งและเปลียนแปลงตัวเอง โดยมีสาเหตุ 2
ประการคือ แรงกระตุน้ จากสื อสารมวลชน และรู ปแบบการดําเนิ นชีวิตของมนุษย์ทีห่ างจาก
ธรรมชาติมากขึน
1. สื อมวลชนในหลายแขนงได้นาํ เสนอภาพถึงสัตว์ทีอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุเ์ ช่น ช้าง ลิง
10

กอลิลาร์และแพนด้าทําให้ประชาชนทัวไปรับทราบถึงสถานการณ์ทีสัตว์เลียงลูกด้วยนมขนาดใหญ่
ถูกคุกคาม และจํานวนประชากรในป่ าลดลง ตัวอย่างของรายการทีแพร่ ภาพทางโทรทัศน์ใน
ประเทศสหรัฐอเมริ กาและอีกหลายประเทศทัวโลกในช่วงปี พ.ศ. 2506 ชือรายการ Wild Animal
ซึงแพร่ ภาพจํานวน 329 ตอน หรื อในยุคปัจจุบนั รายการโทรทัศน์มีการนํารายการสารคดี
ธรรมชาติสัตว์และพืชนําเสนออย่างมากมาย หรื อเป็ นช่องเฉพาะทีเราคุน้ เคยกันในชือของ Animal
Planet Chanel, Discovery Chanel ได้ให้ความรู ้แก่ประชาชนจํานวนมากในวงกว้าง ผูช้ มรายการ
ดังกล่าวเคยเห็นภาพของนกกระจอกเทศและวิลเดอร์บีททีวิงในทุ่งกว้าง และผูช้ มส่ วนหนึงก็มี
ความต้องการทีจะเห็นสัตว์เหล่านี แสดงพฤติกรรมแบบนันในส่ วนแสดงสัตว์ในสวนสัตว์บา้ ง
2. ในยุคปัจจุบนั ทีพืนทีของเมืองขยายตัว มนุษย์ไกลห่างจากพืนทีป่ า พืนทีธรรมชาติมากขึน
ั ่
ความรู ้สึกทีมนุษย์มีความต้องการทีจะสัมผัสกับธรรมชาติจึงมีมากขึน สวนสัตว์ซึงส่ วนใหญ่ตงอยู
ในเมืองจึงต้องเป็ นส่ วนหนึ งในการตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในเรื องนี

ตัวอย่างของชนิดสัตว์ทีมีการสร้ างส่วนแสดงแบบจําลองป่ าเขตร้ อน ในภาพ 1.5 อีกวั นากําลังใช้


ลินเลียกินนําจากใบไม้ ภาพที 1.6 การจัดแสดงลิงอุรังอุตงั แบบอยู่เป็ นฝูงซึงตามธรรมชาติแล้ ว
ลิงชนิดนีจะดํารงชีวิตอยู่ตวั เดียว

เหตุผลอีกประการหนึงทีสวนสัตว์จาํ เป็ นต้องเปลียนแปลงตัวเอง เมือป่ าไม้ทีเป็ นถินทีอยู่


ของสัตว์ อยูใ่ นภาวะทีต้องเผชิญกับปัญหาการถูกทําลายในอัตราทีสูงมาก เมือพืนทีป่ าลดลง
จํานวนสัตว์กย็ ่อมน้อยลงตามไปด้วย เช่น จํานวนประชากรของลิงกอลิล่าภูเขา ( mountain
gorillas ) เหลืออยูเ่ พียง 500 ตัว ทังในประเทศซาอีร์และราวันดาของทวีปแอฟริ กา รวมทังมีปัจจัย
อืนๆ ทีทําให้สตั ว์ชนิ ดนี ลดจํานวนลงคือสถาณการณ์การเมืองทีประเทศทัง 2 นีอยูใ่ นสภาวะ
สงครามกลางเมือง และความอ่อนแอของกฎหมายทีจะควบคุมการล่าของนายพราน เฟอร์เรทเท้า
ดํา ( Black – foot ferret ) อยูใ่ นสภาวะใกล้สูญพันธุ์ เนื องจากถินทีอยู่คือพืนทีราบอเมริ กนั
(American Plain) กลายเป็ นพืนทีเพาะปลูกและเลียงสัตว์ ทําให้สตั ว์เหยือทีเป็ นอาหารของ เฟอร์ -
11

เรทคือ แพรี ดอค ( Prairie Dog ) ลดจํานวนลงตามไปด้วย ความจริ งทีน่าเศร้าก็คือ มีสตั ว์อีกหลาย
ชนิดทีต้องสูญพันธุ์ไปก่อนทีนักวิทยาศาสตร์ จะได้ทาํ การศึกษา ถึงการมีอยูข่ องสัตว์ชนิดนันใน
โลกใบนี

ภาพที 1.7 เมือมนุษย์ทําลายป่ า เช่น ป่ าดิบชืนอเม


ซอน จํานวนประชากรสัตว์หลายชนิดจะได้ รับ
ผลกระทบ เช่น ลิงโกลเดนไลอ้ อน ทามารี น ( Golden
Lion Tamarins ) เหลืออยู่เพียง 300 ตัว ในป่ าของ
ประเทศบราซิล

การร่ วมมือกันเพืออนุรักษ์ สัตว์ ป่าไว้


มีสตั ว์และพืชหลายชนิดอยูใ่ นสภาวะใกล้สูญพันธุ์จากสาเหตุหลายประการ เช่น ขาดแหล่ง
อาหาร ไดโนเสาร์เป็ นตัวอย่างทีชัดเจนซึ งสูญพันธุ์ไปเมือ 65 ล้านปี ทีแล้ว ในช่วงปี พ.ศ. 2193 ถึง
2493 อัตราการสู ญพันธุ์ของพืชและสัตว์อยูท่ ี 1 ชนิด ทุก ๆ 5 ปี ในปัจจุบนั จากการทําลายป่ าของ
มนุษย์อย่างกว้างขวาง ทําให้พืชและสัตว์มีโอกาสสูญพันธุ์ 74 ชนิดต่อ 1 วัน หากอัตราดังกล่าวยัง
ดําเนิ นต่อไปคาดกันว่าจะ สิ งมีชีวิตประมาณร้อยละ 20 จะสู ญพันธุ์ในเวลา 30 ปี
สวนสัตว์หลาย ๆ แห่ งได้ทาํ งานในส่ วนทีมากกว่าการจัดแสดงสัตว์และเผยแพร่ เรื อง
วิกฤตการณ์ของสิ งแวดล้อม เป็ นเวลามากกว่า 30 ปี ทีสมาคมสวนสัตว์และสถานแสดงสัตว์นาแห่ ํ ง
อเมริ กา (American Zoo and Aquarium Association) ทีมีสมาชิกเป็ นสวนสัตว์จาํ นวน 162 แห่ ง
เป็ นสมาคมทีจัดลําดับให้งานด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่าเป็ นเป้ าหมายทีสําคัญทีสุ ดโดยมีความร่ วมมือ
ในงานทีเรี ยกว่า แผนงานเพือความคงอยูข่ องพันธุ์สตั ว์ ( Species Survival Plan , SSPs) โดยมี
12

สวนสัตว์ทีใหญ่ ๆ เป็ นผูร้ ่ วมในงานนีมีชนิ ดสัตว์จาํ นวน 172 ชนิดทีอยูใ่ นแผนงานนี และโครงการ
จํานวน 116 โครงการ

ภาพที 1.8 นอกจากม้ าบ้ านทียังมีการสืบสายพันธุ์อย่างต่อเนืองแล้ ว มีเพียงม้ าป่ าพันธุ์พรี วอซกี


( Prezewalski’s horse ) ทียังไม่สญ
ู พันธุ์โดยมีการเพาะขยายพันธุ์ในสวนสัตว์ตงแต่
ั ต้นศตวรรษที
19
เพือทดแทนการนําสัตว์ป่าจากพืนทีธรรมชาติ มาจัดแสดงในสวน
สัตว์ สวนสัตว์ต้องมีการพัฒนาในเรืองการเพาะขยายพันธุจ์ าก
สัตว์ทีตนมีอยู่ ในปัจจุบนั สวนสัตว์ในพืนที อเมริ กาเหนื อสามารถ
เพาะขยายพันธุส์ ตั ว์ในกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมได้ถึงร้อยละ
90 และสัตว์กลุ่มนกได้ร้อยละ 70

เป้ าหมายหลัก 2 งานของ SSPs คือ 1. การคัดเลือกชนิดสัตว์เพือเข้าสู่ การเพาะขยายพันธุ์


เพือเพิมจํานวนสัตว์ทีแข็งแรงให้มีจาํ นวนมากเพียงพอ 2. การนําสัตว์ปล่อยคืนสู่พืนทีธรรมชาติ
ซึงก่อนทีจะนําสัตว์ปล่อยคืนนัน สัตว์ตอ้ งผ่านกระบวนการฝึ กสัตว์ให้มีความคุน้ เคยเรี ยนรู้สภาพ
พืนทีและชนิ ดอาหาร โดยมีตวั อย่างความสําเร็ จคือ 1. ม้าป่ าพันธุ์เอเชียหรื อม้าป่ าพันธุ์พรี วอซสกี
(Prezewalski’s horse) ทีสูญพันธุ์จากทุ่งหญ้าสเตปป์ ในประเทศมองโกเลียไปแล้ว โดยตังแต่ พศ.
2513 ได้มีการปล่อยคืนสู่ ถินทีอยูเ่ ดิมทีเป็ นทะเลทรายและทุ่งหญ้าทีเป็ นพืนทีอนุรักษ์ 2. โครงการ
นําลิงโกลเด้นไลอ้อนทามารี น ( Golden Lion Tamarin ) จํานวนหนึ งทีสามารถเพาะพันธุ์ได้ในสวน
สัตว์ปล่อยคืนสู่เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ในป่ าดิบชื นของประเทศบราซิ ล
โดยภาพรวม SSPs มีโครงการเพาะขยายพันธุ์สตั ว์ป่าทีอยูใ่ นสภาวะใกล้สูญพันธ์อยู่
มากกว่า 50 ชนิดสัตว์ ซึ งเป็ นเพียงส่วนเล็ก ๆ ของสัตว์ป่าทีถูกคุกคามทังหมด มีบางสวนสัตว์ทีมี
สถานีเพาะขยายพันธุ์ทีอยูน่ อกพืนทีของสวนสัตว์ และเป็ นเขตทีเปิ ดให้ประชาชนทัวไปได้เข้าชม
เป็ นครังคราว เช่น ศูนย์วิจยั และอนุรักษ์ของสวนสัตว์แห่ งชาติของประเทศสหรัฐอเมริ กา ซึงเป็ น
ศูนย์วิจยั และเพาะขยายพันธุ์ 1 ใน 3 แห่ งของประเทศ มีพืนที 7,800 ไร่ ทีเมืองฟอร์น รอยอล รัฐ
เวอร์จิเนีย ( Fort Royal, Virginia.)
13

ภาพที 1.9 ศูนย์อนุรักษ์ และวิจยั ทีเป็ นแหล่งเพาะขยายพันธุ์สตั ว์ป่าสงวนและเป็ นทีเลียงลูกสัตว์


เกิดใหม่ ซึงมีพืนทีกว้ างขวางและไม่มสี ิงรบกวนจากสิงแวดล้ อมภายนอก

ทีอยู่ของสัตว์ป่า ( Places for Living Thing )


เนืองจากถินทีอยู่ ( habitat ) เป็ นปั จจัยสําคัญต่อพฤติกรรมและความอยู่รอดของสัตว์ป่า เรา
มาทําความเข้าใจกับคําว่าถินทีอยู่ “ Habitat ” ในความหมายของนักสัตววิทยานันหมายถึงอะไร
ความหมายทีสันทีสุดคือ เป็ นพืนทีจําเพาะทีสัตว์และพืชนันอาศัยอยู่ เช่น แหล่งนําชือ Great blue
heron เป็ นถินทีอยูข่ องบีเวอร์ซึงเป็ นสระนํา ( pond ) ในรัฐมิเนโซต้า ในขณะทีถินทีอยูข่ องอูฐคือ
ทะเลทรายทีกําลังขยายพืนทีในประเทศมอรอคโค เราจะใช้คาํ ว่าสังคม ( Community ) ในกรณี ที
พืชและสัตว์มาใช้พืนทีร่ วมกัน สังคมของสระนําทีบีเวอร์อยู่ยงั ประกอบไปด้วยพืชหลายชนิด ปลา
นก สัตว์เลียงลูกด้วยนม สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและสิ งมีชีวิตทีมีขนาดเล็ก สังคมของสระนําก็
คือระบบนิเวศ ( ecosystem ) ทีหมายถึง ความเชื อมโยงของพืชและสัตว์หลายชนิดทีมีความ
เกียวพันกันในสภาพสิ งแวดล้อมทางกายภาพ
ระบบนิเวศจะใช้บ่งถึงพืนทีทีค่อนข้างเล็ก เช่นสระนําทีบีเวอร์อาศัยอยู่ เมือจะต้องกล่าวถึง
ถึงพืนทีใหญ่ขึน เช่น พืนทีป่ าสน ( Coniferous Forest) ระบบนิ เวศที มีขนาดใหญ่ทีสุ ดเราจะใช้คาํ
ว่า ชีวนิเวศ ( biomes) ซึ งหมายถึงพืนทีของโลกจะประกอบด้วยพืชทีคล้ายกันและสภาพแวดล้อม
ทีมีการเปลียนแปลงไปตามฤดูกาล ชีวนิเวศจะประกอบด้วยสิ งมีชีวิตทังพืชและสัตว์หลายชนิ ด
รวมทังสิ งทีไม่มีชีวิต เช่น หิ นและดิน ตัวอย่างเช่น ป่ าเขตร้อน ( Tropical forest ) ทีมีลกั ษณะสําคัญ
คือ เป็ นพืนทีในบริ เวณใกล้เส้นศูนย์สูตรมีฝนตกชุก มีความหลากหลายของชนิ ดพืช ทะเลเป็ นชีวนิ
เวศทีรวมเอาตังแต่สาหร่ าย แพลงตอนทีเป็ นอาหารของปลาวาฬสี นาเงิ ํ น โดยทีองค์ประกอบของ
แต่ละชีวนิเวศจะประกอบด้วยถินทีอยูแ่ ละสังคมทีแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ทะเลทรายโมเจวี (
14

Mojave ) ทะเลทรายซาฮาร่ าและทะเลทรายโกเบ จะมีลกั ษณะจําเพาะและลักษณะทางภูมิศาสตร์ ที


ดอยู่ในชีวนิเวศเดียวกัน
แตกต่างกันแต่ทงหมดจั

ภาพที 1.10 จีรีนคุ ( gerenuk ) ยืน


ด้ วยสองขาหลัง เพือกินใบไม้ ซึงเป็ นการ
ปรับตัวเพืออยู่รอดในพืนทีแห้ งแล้ งลด
การแย่งชิงอาหารจากสัตว์กินพืชชนิด
อืนๆ และภาพที 1.11 นกฮัมมิงกําลัง
ดูดกินนําหวานจากดอกไม้

การปรับตัวของสั ตว์ป่าเพือความเหมาะสมกับสิ งแวดล้ อม ( Finding a Nich )


สัตว์หลาย ๆ ชนิ ดทีดํารงชีวิตในชีวนิเวศ ( biomes ) เดียวกัน จะมีวิธีการปรับตัวทีช่วยให้
ตัวเองอยูร่ อดในสิ งแวดล้อมแห่งนันๆ คล้ายกัน อย่างไรก็ตามสัตว์แต่ละชนิดจะมีการพัฒนา
ลักษณะทางร่ างกายและพฤติกรรมให้เหมาะกับพืนทีทีตัวเองอยูโ่ ดยใช้คาํ ศัพท์สาํ หรับความหมาย
ดังกล่าวว่า niche หรื อ ecological niche
ecological niche คือ บทบาททีสัตว์หรื อพืชแสดงออกมาในสิ งแวดล้อมทีตนเองอาศัยอยู่
ซึงบทบาทจะแสดงออกมาอย่างไรก็ขึนอยู่กบั สิ งแวดล้อมทีตนเองอยู่ เช่น ลักษณะพืนที
สิ งแวดล้อม อาหารทีสัตว์กิน วิธีการสื บพันธุ์
การทีสัตว์แต่ละชนิ ดมีบทบาทของตัวเองทีแตกต่างจากสัตว์ชนิดอืน ๆ ในสิ งแวดล้อม
เดียวกัน จะมีประโยชน์ในแง่ของการใช้แหล่งอาหารทีไม่แก่งแย่งกันเกินไป จํานวนของลูกทีเกิด
ใหม่กไ็ ม่ออกมามากเกินปริ มาณอาหารและพืนที รวมทังพฤติกรรมทีช่วยให้สัตว์แต่ละชนิ ดอยู่
ร่ วมกับสัตว์ชนิ ดอืนได้
15

ภาพที 1.12 การเข้ าไปกินนําหวานในดอกไม้ ของผึงเป็ นการทําหน้ าที 2 อย่าง คือนํานําหวาน


ไปเก็บไว้ ในรังเพือเป็ นอาหารและนําเกสรของดอกไม้ ไปผสมกับดอกไม้ ดอกอืนๆ ภาพที 1.13
ยีราฟซึงมีลกั ษณะของลําคอยาว จะกินยอดไม้ เป็ นอาหารซึงเป็ นการหลีกเลียงการแก่งแย่งอาหาร
กับสัตว์ชนิดอืน

สัตว์เท้ากีบทีกินหญ้า-ใบไม้ในทุ่งหญ้าซาวันน่าในทวีปแอฟริ กา เป็ นภาพทีบทบาทของ


สัตว์แต่ละชนิดค่อนข้างลงตัว สัตว์แต่ละชนิดมีอาหารทีตัวเองชอบและกินส่วนทีต่างกันของพืช
ซึงจะช่วยให้ไม่เกิดปั ญหาขาดแคลนอาหารเกิดขึน ม้าลายทีมีฟันทีแข็งแรงจะกินหญ้าทีใบแห้ง
หยาบ วิลเดอร์ บีทจะกินหญ้าทีมีลาํ ต้นยาว แอนติโลปจะกินส่ วนโคนทีเหี ยวแห้งของหญ้า ส่วน
ยีราฟจะกินยอดอ่อนของใบไม้
ดังนันสัตว์และพืชหลายชนิ ดจึงมีบทบาทของตัวเองในแต่ละถินทีอยู่ และต้องมีการปรับ
ให้เกิดความสัมพันธ์กบั สัตว์ชนิดอืนเพือให้สิงมีชีวิตอยู่รอดได้ ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่าง
สิ งมีชีวิต 2 ชนิดทีมีสตั ว์ชนิ ดหนึ งหรื อทังสองชนิดได้ประโยชน์ เราจะเรี ยกความสัมพันธ์โดยใช้
คําศัพท์วา่ การอยูร่ ่ วมกันแบบอิงอาศัย ( Symbiosis ) ยกตัวอย่างเช่น นกในทวีปแอฟริ กาชือออค
เปคเกอร์ ( oxpecker ) จะจิกกินแมลงบนหลังแรด สัตว์ทงั 2 ชนิ ดได้ประโยชน์จากความสัมพันธ์
ดังกล่าว นกหาแมลงเพือกินเป็ นอาหาร ส่ วนแรดก็ไม่มีแมลงมารบกวน

รูปแบบสวนสัตว์ในอนาคตอันใกล้ ( Choice for the Future )


สวนสัตว์ในอดีตส่วนใหญ่จะมีลกั ษณะต่าง ๆ คล้ายคลึงกัน คือ 1. มีสตั ว์กลุ่มเดียวกันอยู่
ติดกัน เช่น กรงแมวป่ าหลายชนิด กรงนกแก้วหลายชนิ ด 2. ใช้วสั ดุแนวกันสัตว์ทีบดบังการชม
สัตว์ เช่น ตาข่ายเหล็ก ซี กรงเหล็กเส้น 3. ไม่มีการตกแต่งส่ วนแสดงเลียนแบบถินทีอยู่ตาม
ธรรมชาติของสัตว์ชนิดนัน ๆ 4. ให้ความสําคัญกับอุปกรณ์ตกแต่งส่วนแสดงทีเพิมโอกาสให้กบั
สัตว์ได้แสดงพฤติกรรมตามธรรมชาตินอ้ ย มีสวนสัตว์ไม่กีแห่ งทีมีลกั ษณะโดดเด่นขึนมา
16

ภาพที 1.14 นกหัวขวานจิราทีดําชีวิตในพืนทีของพิพิธภัณฑ์ทางธรรมชาติทะเลทรายอริ โซน่า โซ


โนลา ภาพที 1.15 ส่วนแสดงลิงบาร์ บารี เอฟ ทีสวนสัตว์วอชิงตัน ดีซี ซึงจําลองเอาลักษณะถิน
ทีอยู่ทีเป็ นภูเขา

แต่สวนสัตว์ในอนาคตต้องนําเสนอความหลากหลายทังในแง่ชนิดสัตว์และรู ปแบบของ
ส่วนแสดง หรื อสวนสัตว์ทอ้ งถินควรจะพัฒนาไปในรู ปแบบการนําสัตว์ในพืนถินของตนเอง
พร้อมกับจําลองลักษณะของถินที อยู่ของสัตว์ชนิดนันๆ ในส่ วนแสดงสัตว์ ตัวอย่างทีได้รับความ
นิยมที มากเป็ นตัวอย่างในรู ปแบบของ wildlife park คือที Northwest Trek Wildlife Park ทีอยูใ่ กล้
ในเมืองทาโคมา ( Tacoma ) รัฐวอชิ งตัน ( Washington ) ซึงเป็ นพืนทีกว้างใหญ่ประมาณ 1,000
ไร่ ทีปล่อยให้สัตว์พืนเมืองของตะวันตกเฉี ยงเหนือของประเทศสหรัฐอเมริ กา เช่น วัวป่ าไบซัน
( Bison ) กวางมูส ( Moose ) แพะภูเขา ( Mountain goats ) รวมทังสัตว์ชนิดอืน ๆ ดํารงชีวิตแบบ
อิสระ โดยมีสิงแวดล้อมในเป็ นทุ่งหญ้า ป่ าไม้ พืนทีชุ่มนําและบึง ( bog )
สวนสัตว์ขนาดใหญ่บางแห่ งจะมีการจัดแสดงสัตว์ในรู ปแบบของสถานแสดงสัตว์นาํ (
aquarium ) พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ( natural history museum ) ทีจะผสมผสานเนื อหาทังหมด
เพือทีจะสะท้อนให้เห็นถึงการพึงพาอาศัย และความหลากหลายของสิ งมีชีวิต บทบาทของสวน
สัตว์โดยทัวไปจะยังคงแสดงบทบาทสําคัญในการเป็ นศูนย์กลางของด้านการอนุรักษ์ซึงหมายถึง
การศึกษาและเพาะขยายพันธุ์สัตว์ประจําถินทีใกล้สูญพันธุ์ การประชาสัมพันธ์และให้การศึกษาที
จะสร้างจิตสํานึ กแก่ประชาชนให้เห็นความสําคัญของธรรมชาติและสัตว์ป่า
สวนสัตว์จะขยายบทบาทและภาพพจน์ โดยใช้แนวคิดทีจะปรับตัวเลขสัดส่ วนของชนิด
สัตว์ทีเป็ นทีนิยมของผูเ้ ทียวชมคือ ให้มีสตั ว์เลียงลูกด้วยนมขนาดใหญ่จะเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 42
ของชนิดสัตว์ทีอยู่ในส่ วนแสดงทังหมดและเป็ นสัตว์ทีผูเ้ ทียวชมต้องการเข้ามาชม นอกจากนัน
สัตว์ขนาดเล็กก็เป็ นกลุ่มสัตว์ทีน่าสนใจ เช่น ค้างคาวทีมีจาํ นวนชนิดมากถึงร้อยละ 20 ของชนิด
ของสัตว์เลียงลูกด้วยนมทังหมด ตัวอย่างอืนๆ ทีสามารถสร้างความตืนเต้นให้กบั ผูเ้ ทียวชมได้
เช่น ส่ วนแสดงของสัตว์กลุ่มแมลงถูกนํามาจัดแสดงครังแรกในช่วงปี พ.ศ. 2521 ( ค.ศ. 1978 ) ที
17

สวนสัตว์ซินซิ เนติ โดยเป็ นส่ วนแสดงแมลงเป็ นแห่ งแรกของประเทศสหรัฐอเมริ กา และส่ วน


แสดงสําหรับสัตว์ทีไม่มีกระดูกสันหลังมีจาํ นวนชนิดคิดเป็ นร้อยละ 90 ของสัตว์ทีอาศัยอยู่บน
พืนดิน โดยเริ มนํามาจัดแสดงที New Invertebrate Home ทีสวนสัตว์แห่ งชาติ ( National Zoo ) ใน
เมืองวอชิงตัน ดี.ซี .
ในอนาคตสวนสัตว์จะมีบทบาทอย่างไร สวนสัตว์หลายแห่งให้ความสําคัญกับผูเ้ ทียวชม
ทีมาเทียวชมสวนสัตว์ให้ได้รับความรู้และเห็นความสําคัญของสัตว์ป่า โดยสวนสัตว์จะต้อง
วางแผนในเรื องของส่ วนแสดงสัตว์ให้ดี ในเรื องความสลับซับซ้อนและคุณค่าของสัตว์ป่าทีมีต่อ
โลก

การพัฒนาแนวคิดของสวนสั ตว์ ในช่ วง 3 ศตวรรษทีผ่านมา

Living Natural History Cabinet


Theme: Taxonomic
Subjects: Diversity of species
Adaptations for life
Concerns: Species husbandry
Species propagation
Exhibit: Cages

ภาพที 1.16 แสดงแนวคิดการวิวฒ


ั นาการของสวนสัตว์ตงแต่
ั ช่วงศตวรรษที 19 – 21
ภาพที 1.17 แสดงแนวคิดของสวนสัตว์ในช่วงศตวรรษที 19

การพัฒนาแนวคิดของสวนสัตว์ในช่วง 3 ศตวรรษทีผ่านมามีดงั นีคือ ศตวรรษที 19 คํา


จํากัดความของสวนสัตว์ใช้คาํ ว่า “ menageries ” ศตวรรษที 20 ใช้คาํ ว่า zoological park และ
ศตวรรษที 21 ใช้คาํ ว่า conservation centre
แนวคิดของสวนสัตว์ช่วงศตวรรษที 19 คําศัพท์ทีใช้เรี ยกสวนสัตว์คือ ?Manageries ซึงเป็ น
สถานทีรวบรวมสัตว์เพือการศึกษาชีวิตสัตว์ป่า
1. แนวคิดการจัดพืนทีสวนสัตว์ ( Them ) เป็ นแบบการแบ่งกลุ่มสัตว์ตามหลักวิชาอนุกรมวิธาน
2. เนือหาทีนําเสนอแก่ผเู ้ ทียวชม ( Subject ) วิธีการปรับตัวในการดํารงชีวิตของสัตว์แต่ละ
ชนิดเพือให้เหมาะสมกับสิ งแวดล้อมทีตนเองอาศัยอยู่
3. การจัดการสวนสัตว์ จะให้ความสําคัญ ( Concern ) กับการจัดการสัตว์แต่ละชนิ ดและสวนสัตว์
แต่ละแห่ งจะแข่งขันกันหาสัตว์ชนิดต่างๆ เข้ามาจัดแสดง
4. ลักษณะของส่ วนแสดง ( Exhibit ) จะเป็ นรู ปแบบ กรงเลียง ( cage )
18

Living Museum Environment Resource Centre


Theme: Ecological Theme: Environmental
Subjects: Habitats of animals Subjects: Ecosystem
Behavioral biology services
Concerns: Cooperative Biodiversity
species management Concerns: Holistic
Professional development conservation
Exhibit: Dioramas Organizational
network
Exhibit: Immersion exhibits

ภาพที 1.18 แสดงแนวคิดของสวนสัตว์ในช่วงศตวรรษที 20


ภาพที 1.19 แสดงแนวคิดของสวนสัตว์ในช่วงศตวรรษที 21

แนวคิดของสวนสั ตว์ ช่วงศตวรรษที 20 สวนสัตว์คือพิพิธภัณฑ์มีชีวิต ( Living Museum )


1. แนวคิดการจัดการพืนทีสวนสัตว์ ( Theme ) เป็ นระบบนิเวศ
2. เนือหาทีนําเสนอแก่ผเู ้ ทียวชม ( subject ) คือ ถินทีอยูข่ องสัตว์ป่าและชีววิทยาในหัวเรื อง
พฤติกรรมของสัตว์ป่า
3. การจัดการสวนสัตว์จะให้ความสําคัญ ( concern ) กับการนําเสนอส่วนแสดงในลักษณะ ระบบ
นิเวศ ต้องมีการจัดการสัตว์หลายชนิดในส่ วนแสดงเดียวกัน ( Cooperative species management )
มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความเชียวชาญในแต่ละสาขามากยิงขึน ( Professional development )
4. ลักษณะของส่ วนแสดงสัตว์ ( Exhibit ) ตกแต่งพืนทีด้วยต้นไม้ทีหน้าส่ วนการจัดการ ( คอกกัก
สัตว์ ) เพือบดบังความเป็ นสิ งปลูกสร้าง และตกแต่งส่ วนทีเป็ นฉากหลังโดยมีแนวคิดทีจะจําลอง
พืนทีถินทีอยูข่ องสัตว์ชนิดนัน ( Diorama )
แนวคิดของสวนสั ตว์ ในศตวรรษที 21 สวนสัตว์คือศูนย์รวมทรัพยากรของสิ งแวดล้อม
1. แนวคิดการจัดการพืนทีสวนสัตว์ ( theme ) คือ สิ งแวดล้อม
2. เนือหาทีนําเสนอแก่ผเู ้ ทียวชม ( subject )คือ นําเสนอส่ วนแสดงทีแสดงถึงระบบนิ เวศและความ
หลากหลายของชนิ ดพันธุ์พืชและสัตว์
3. การจัดการสวนสัตว์ จะให้ความสําคัญ ( Concern ) กับการจัดการสวนสัตว์ทีนําไปสู่การสร้าง
จิตสํานึ กของเจ้าหน้าทีสวนสัตว์และประชาชนในเรื องการอนุรักษ์สตั ว์ป่าและทรัพยากรธรรมชาติ
4. ลักษณะของส่ วนแสดง ( Exhibit ) การจัดพืนทีแบบจําลองพืนทีของสัตว์ป่าทังภายในพืนทีใน
ส่วนแสดง พืนทีชมสัตว์และพืนทีโดยรอบ ( immersion exhibit ) โดยให้ผเู้ ทียวชมเสมือนกําลังอยู่
ในพืนทีถินทีอยู่ของสัตว์ชนิ ดนัน ๆ
19

บทที 2 สัตว์ในป่ าเขตร้อน


( Animals of the Tropical Forest )

พืนทีใกล้กบั เส้นลิงศูอุลนงั ย์อุตสงั ตูใช้รจะเป็ นพืนทีทีมีฝนตกชุกและแสงอาทิ ตย์ทีสดใส


เวลาเกือบทังหมดอยู่บนต้ นไม้
เป็ นปัจจัยทีก่อให้
เคลืเอนที
กิ ดไปตามต้
ป่ าดิบนชืไม้นได้ อเป็ นถิอนที
ย่างคล่ ว ่ทีมีอายุยาวนานและซับซ้อนมาก
งแคล่อยู
ถิ นที อยู่แบบอืนๆ ทีมีบนพืนโลก ความหลากหลายของ
ทีสุดเมือเทียบกัว่อบงไวมาก
ต้นไม้และสัตว์ป่ามีสงู โดยมีนักวิ ทยาศาสตร์ให้ความเห็นว่าชนิ ดพืชและสัตว์
ทีมีถินทีอยู่ในป่ าดิบชืนคิดเป็ นประมาณร้อยละ 90 ของชนิ ดพืชและสัตว์ทีมีอยู่
ในโลก นอกจากนันการศึกษาในด้านชีววิทยาของพืชและสัตว์เหล่านี ยังมีน้อย
มาก
20

ชนิดของสั ตว์ ตามระดับความสู งของต้นไม้ ในพืนป่ าเขตร้ อน ( Layers of the Tropical


Forest )

ในพืนทีป่ าเขตร้อนหากจะแบ่งพืนทีในแนวตัง ตามระดับความสู งของต้นไม้ จะสามารถ


แบ่งได้หลายชันโดยแต่ละชันจะมีลกั ษณะของตัวเอง ชันสู งสุ ดคือ ชันอยู่เหนือเรือนยอด ( Upper
canopy ) เป็ นกลุ่มของต้นไม้ทีมีความสู งทีสุ ดในพืนป่ า
ชันเรือนยอด ( Canopy ) จะเป็ นส่ วนทีมีแสงแดด อากาศโปร่ ง มีส่วนของเรื อนยอดทีสูงกว่า
ั ( emergent tree ) มีความสูงประมาณ 60 เมตร สัตว์ทีอยูใ่ นบริ เวณนี จะเป็ นชนิดของ
ต้นไม้ทวไป
21

นกบินไปมาและสัตว์ทีปี นป่ ายตามต้นไม้ เช่น นกอินทรี นกแก้วมอคอว์ ลิง สล็อท ( sloths )


และสัตว์ทีไม่มีกระดูกสันหลัง
ชันใต้ เรือนยอด ( ชันใต้ร่มใบ Below canopy ) ลงมาจะมีความหนาแน่นของใบไม้ลดลง ยัง
เรี ยกชันนีว่า ชันไม้พุ่ม ( Shrub layer , Under story , Lower canopy ) ซึ งจะประกอบต้นไม้ทีอายุ
ยังน้อย ทีกําลังเจริ ญเติบโตเพิมความสู งของลําต้นเพือไปรับแสงแดด และกลุ่มชนิ ดต้นไม้ที
สมบูรณ์เต็มทีแต่ตอ้ งการแสงแดดไม่มาก ( mature semi - shade tolerant tree ) สัตว์ทีอยูใ่ นชัน
ระดับความสูงนี เช่น สัตว์เลียงลูกด้วยนมทีมีขนาดตังแต่กระรอก ไปจนถึงลิงชิมแพนซี และ
สัตว์เลือยคลาน เช่น งูอีเมอร์ราลทรี บวั ( emerald tree boa ) และงูกลุ่มไวเปอร์ ( Viper.)
มีสัตว์หลายชนิ ด เช่น ค้างคาว สล็อททีเคลือนย้ายไปมาระหว่างชันเหนื อเรื อนยอดและชันใต้
เรื อนยอด ต้ นไม้ทีอยู่ชันไม้ พ่มุ ( Under story ) ลงมาจะเป็ นพวกไม้ทียังออกจากเมล็ดใหม่ๆ หรื อ
ไม้พุ่มทีต้องการแสงน้อย ( Shade – tolerent shrubs )
ชันป่ าระดับพืนดิน ( Florest floor ) ทีพืนดินจะมีใบไม้ทีร่ วงลงมาปกคลุมดินไว้ และมีการ
เน่าเปื อยอย่างรวดเร็ว แมลงจะพบในทุกระดับชันของป่ าโดยมีจาํ นวนเป็ นหลายล้านตัว ตังแต่มด
ไปถึงแมลงปี กแข็งทีอยูบ่ นพืนดิน มีสตั ว์ผลู้ ่าขนาดใหญ่ เช่น เสื อจากัวร์ เสื อดาวทีอยูบ่ นต้นไม้
และจะลงมาทีพืนดินเพือล่าเหยือ

ป่ าเขตร้อน ( Tropical Forest )

ป่ าเขตร้อนจะพบในทวีปอเมริ กากลางและใต้ ทวีปแอฟริ กา เอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้


ออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิ ฟิก

พืนที ป่ าเขตร้อนที ใหญ่ทีสุดอยู่ในบริ เวณรอบ ๆ แม่นําอะเมซอนในบริ เวณภาคตะวันตก


เฉี ยงเหนื อของประเทศบราซิ ลและประเทศใกล้เคียง ครอบคลุมพืนทีเกือบ ๆ เท่ากับ
ประเทศสหรัฐอเมริ กา
22

ความอุดมสมบูรณ์ ของป่ าเขตร้ อน ( An Abundance of Life )

ภาพที 2.1 นกแก้ วมอคอว์อกเหลือง - นําเงิน ( blue and gold macaw ) มี


ถินทีอยู่ในป่ าเขตร้ อนของทีราบลุม่ แม่นําอะเมซอน มีการนํานกออกจากป่ า
เพือขายเป็ นสัตว์เลียงตามบ้ าน เป็ นสาเหตุสําคัญทีทําให้ ประชากรของนก
ป่ าลดลง
เมือเราเดินผ่านเข้าไปในป่ าเขตร้อนแห่ งหนึ งในโลก ซึ งต้นไม้จะขึน
กันหนาแน่นและสู งท่วมศีรษะ เรื อนยอดของต้นไม้จะบดบังแสงอาทิตย์ที
ส่ องผ่านลงมาทีพืนดิน ใต้ร่มไม้สูงลงมาเราจะเห็นต้นไม้ยืนต้นขนาดย่อม
และต้นปาล์มชูลาํ ต้น กิงก้านใบเพือรับแสงแดด มีแมลงบิ นว่อนอยู่ทวไป ั
นําฝนทีค้างอยู่ตามใบไม้หล่นลงมาทีพืนดินเป็ นหยดๆ ไม้เลือย กล้วยไม้
มอส เฟิ ร์นเจริ ญเติบโตบนเปลือกไม้ของต้นไม้ขนาดใหญ่

คุณจะได้ยินเสี ยงร้องของสัตว์ป่าโดยไม่เห็นตัวดังแว่วมา อาจเป็ นเสี ยงร้องของลิงหรื อนก


เช่น นกแก้วมาคอว์ หรื อเบิร์ดออฟพาราไดซ์ทีมีสีสนั สดใสตัดกับสี ของใบไม้ แมลงหรื องูบางชนิ ด
ทีสี สนั สดใสตัดกับสี ของเปลือกไม้
สัตว์หลายชนิ ดในป่ าเขตร้อนจะอยูบ่ นต้นไม้ตลอดเวลาไม่ลงมาทีพืนดิน ซึ งนักวิทยาศาสตร์
ทีศึกษาชีวิตสัตว์ป่าทีอาศัยอยู่บนเรื อนยอดของพืนป่ า โดยการใช้วิธีเคลือนทีแบบการไต่เชือกของ
นักปี นเขา ซึ งช่วยให้นกั วิทยาศาสตร์เหล่านันสามารถเคลือนทีผ่านป่ าทีมีความหนาแน่ นของต้นไม้
ในป่ าดิบชื นไปได้
23

สิงมีชีวติ ในบรอมีเลียด ( Life in a Bromeliad )


บรอมีเลียดเป็ นชื อสามัญของพืชในวงศ์สับปะรด ( Pine apple family) เป็ นพืชล้มลุก ไม้พุ่ม
ขนาดเล็ก โดยพบในป่ าเขตร้อนของทวีปอเมริ กา บรอมีเลียดส่ วนใหญ่จะขึนบนต้นไม้หรื อพืชชนิ ด
อืน โดยดูดซับความชืนจากอากาศและรับนําทีไหลลงตามลําต้นและกิงก้าน

ภาพที 2.2 แสดงลักษณะใบของต้ นบรอมีเลียดทีเป็ นทีเก็บกักนํา


ภาพที 2.3 แสดงสัตว์ทีเข้ ามาใช้ ประโยชน์จากนําทีเก็บกักโดยใบของต้ นบรอมีเลียด

ลักษณะจําเพาะของบรอมีเลียดจะมีใบมีลกั ษณะคล้ายเข็มขัด ( straplike leaves ) เมือใบมา


รวมกันเป็ นกลุ่มทีฐานใบ ใบทีรวมกันจะทําให้เกิดเป็ นถ้วยรับนํา การเก็บนําทีอยู่ในถ้วยจะเป็ นตัว
ช่วยให้พืชสามารถอยูร่ อดได้ในฤดูแล้ง ซึ งสามารถเก็บนําได้ในปริ มาตรเท่ากับถ้วยกาแฟหรื อ
จนถึงหลาย ๆ แกลลอน แมลงทีตาย เศษใบทีเน่าเปื อยทีสะสมอยูใ่ นนําจะเป็ นธาตุอาหารสําหรับ
พืช ยังเป็ นแหล่งนําสําหรับสัตว์ทีอยูบ่ นเรื อนยอดไม้ เช่น ตุ๊กแก หรื อลิงทีผ่านมาจะหยุดกินนํา
ยุงจะวางไข่ในนําทีต้นบรอมีเลียดกักไว้ มดจะสร้างรังในก้านใบเพือทีใช้ในการล่าเหยือทีเป็ นแมลง
ทีเข้ามาทีแหล่งนํา
กบศรพิษไม่ใช่สัตว์ทีมาทีบรอมีเลียดบ่อยๆ การขยายพันธุข์ องกบศรพิษจะเริ มเมือกบเพศผู ้
ผสมกับกบเพศเมียแล้ว กบเพศเมียวางไข่บนพืนดินในวุน้ ( jelly ) ทีตัวเองสร้างขึน ในหลุมเล็กๆ
ใต้ใบไม้ทีทับถมกันเพือป้ องกันศัตรู เมือลูกอ๊อดออกจากไข่ กบศรพิษเพศเมียจะทําให้ลูกอ๊อด
เกาะติดทีแผ่นหลัง แล้วกระโดดขึนไปบนต้นไม้ทีต้นบรอมีเลียดเจริ ญอยู่ มีบางต้นทีบรอมีเลียดอยู่
สูงมาก แม่กบศรพิษต้องใช้เวลาหลายวันในการเดินทาง และจะเอาลูกอ๊อดของตัวเองปล่อยลงส่ วน
ํ งตามซอกใบของต้นโบมีเลีย โดยจะให้ลูกอ๊อดแต่ละตัวอยูค่ นละซอกใบ ลูกอ๊อดจะกิน
ทีมีนาขั
อาศัยกินสาหร่ ายและลูกนํายุงทีมีในซอกใบบรอมีเลียดเป็ นอาหาร และมีกบศรพิษบางชนิ ดจะ
กลับมาที บรอมีเลียดเพือวางไข่ทีไม่ได้รับการผสมให้เป็ นอาหารของลูกอ่อน หลังจากนัน 6-8 สับ
24

ดาห์ ลูกอ๊อดจะเจริ ญเป็ นกบและกลับลงสู่ พืนป่ า

ต้นไทรรัด ( Strangler Fig )


ต้นไทรเป็ นหนึ งในพืชทีพบได้ทวไปในป่
ั าเขต
ร้อนชืน ต้นไทรขยายพันธ์โดยการใช้เมล็ด รากจะยึด
เกาะตามกิ งก้านบริเวณเรือนยอดของต้นไม้ในลักษณะ
ทีเรียกว่า อิ พิไฟต์ ( Epiphyte ) คือ อยู่บนต้นไม้ แต่ไม่ได้
ใช้อาหารจากต้นไม้นัน จะใช้สารอาหารทีมากับนําฝน
เมือต้นไทรเจริญเติบโตขึนจะแผ่กิงก้านขึนด้านบนและ
รากลงเบืองล่างมาทีพืนดิน จากนันรากจะมีลกั ษณะ
หมุนบิดเป็ นเกลียวรอบ ๆ ต้นไม้ทีต้นไทรอาศัยอยู่ จน
ท้ายทีสุดต้นไม้ต้นนันก็จะตาย แล้วต้นไทรก็จะเป็ น
ต้นไม้ยืนต้นด้วยตัวเอง บางครังจะพบว่าต้นไม้ทีใหญ่
ทีสุดในป่ าจะเป็ นต้นไทร และผลสุกของต้นไทรมีรส
หวานจะเป็ นส่วนทีดึงดูดเอาแมลงและนกมาทีต้นไทร

สัตว์บนเรือนยอดของต้นไม้ ( Animal of the canopy )


เรื อนยอดของต้นไม้ในพืนป่ าเขตร้อนเป็ นส่ วนทีมีความสําคัญ เนื องจากเป็ นพืนทีทีสิ งมีชีวิต
มีโอกาสได้สมั ผัสกับแสงแดดและสายฝน เป็ นบริ เวณทีต้นไม้ออกดอก ออกผล เป็ นทีรวมของฝูง
นกแก้ว ฝูงลิง หรื อสัตว์ชนิ ดอืน ๆ ทีมากินผลไม้และใบไม้เป็ นอาหาร
นอกจากเป็ นพืนทีทีสัตว์มาใช้พืนทีทํากิจกรรมต่างๆ แล้ว ลําต้น กิงก้านของต้นไม้ใน
ส่วนเรื อนยอดจะมีพืชในกลุ่มอีพิไฟต์ ( Epiphyte ) เช่น เฟิ ร์น กล้วยไม้ มอส บรอมีเลียด
เจริ ญเติบโตขึนได้เป็ นอย่างดี โดยส่ วนรากของพืชกลุ่มนี จะไม่สมั ผัสดินหรื อนําใต้ดิน แต่จะใช้การ
ดูดซับเอาธาตุอาหารจากฝน ฝุ่ นละอองและชินส่ วนเล็ก ๆ ของสัตว์ ถ้ามีการลอกเอาพืชกลุ่มอีพิ
ไฟต์ออกจากต้นไม้ขนาดใหญ่เพียงต้นเดียวอาจมีนาหนั ํ กหลายตัน

ลิงมีหาง (Monkeys) และลิงไม่ มหี าง ( Apes.)


มนุษย์ ลิงไม่มีหาง ลิงมีหาง สัตว์ชนิ ดที กล่าวมานีเป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนมทีอยูใ่ นอันดับ
ไพรเมต ( order primate ) สัตว์ในอันดับนี จะมีลกั ษณะดวงตาทัง 2 ข้างจะอยู่ดา้ นหน้าของ
กระโหลก ( binocular eyesight ) สัตว์สังคมทีอยู่กนั เป็ นฝูง ลิงทีอยู่ในป่ าเขตร้อนประกอบด้วยลิงมี
หาง ( monkeys ) ลิงไม่มีหาง ( apes) ลีเมอร ( lemurs ) ทาร์เชีย ( tarsier ) มาร์โมเสท
( mamosets ) และทาร์มารี น ( tarmarins )
25

ภาพที 2.4 ( ซ้ าย ) ลิงแมงมุมดํา ( black spider monkey ) เป็ นลิงแมงมุมชนิดเดียวทีมีสีขนทัว


ร่ างกายเป็ นสีดํา แต่ลิงแมงมุมชนิดอืนๆ จะขนสีดําแต่จะมีแถบเป็ นสีขาว ทอง เหลืองหรื อนําตาล
ปนแทรก ภาพที 22 ( ขวา ) ลิงวูลลี ( wolly monkey ) มีถินทีอยู่ในป่ าเขตร้ อนของประเทศ
โคลัมเบียและบราซิล

การเคลือนทีของลิงระหว่างต้นไม้ทีระดับสู งของเรื อนยอดไม้ภายในอาณาเขตตนเองเพือ


หาอาหาร ซึ งจะเป็ นการเคลือนในระดับความสู งของเรื อนยอดไม้ มีลิงบางชนิ ดทีมีลกั ษณะการ
เคลือนทีด้วยการโยนตัวผ่านกิงไม้ทีอยู่ต่อเนืองกัน โดยใช้ความยืดหยุ่นของหัวไหล่ทีประกอบด้วย
กล้ามเนื อและกระดูกข้อต่อ เป็ นส่ วนช่วยให้ส่วนของหัวไหล่เกิดการหมุนครึ งหนึ งพร้อมกับการ
โยนตัวไปข้างหน้า ลักษณะการเคลือนทีแบบนีเรี ยกว่า Branchiation
Branchiator ซึงหมายถึงผูท้ ีเคลือนทีด้วยวิธี brachiation ลิงทีมีการเคลือนทีแบบนี จะมีนิว
ทียาวทีใช้ในการเกาะจับและปล่อยกิงไม้อย่างรวดเร็ ว ในกลุ่มลิงขนาดเล็กทีมีนาหนั ํ กเบา ขายาว
มักจะใช้การเคลือนทีโดยการกระโดด เพือช่วยในการทรงตัวชนิดของลิงทีมีการกระจายพันธุ์ใน
ทวีปอเมริ กาส่ วนใหญ่จะมีหางในลักษณะทีเรี ยกว่า prehensile tail .หมายความว่า หางทีสามารถจับ
เถาวัลย์หรื อกิงไม้
การปรับตัวอีกประการหนึ งของกลุ่มไพรเมต คือ การทีลูกตาทังสองข้างอยู่ดา้ นหน้า
ของกะโหลก จะทําให้ภาพทีเห็นจะเป็ นภาพทีมี 3 มิติคือภาพมีความกว้าง x ยาว x ลึก หรื อที
เรี ยกว่า Stereoscopic vision ทีจะช่วยในการกําหนดระยะในการเคลือนทีอย่างถูกต้อง เช่น เมือ
จะต้องเหวียงตัวและกระโดดจากกิงไม้หนึ งไปยังอีกกิงหนึ ง รวมทังการวางตําแหน่ งของลูกตาใน
ลักษณะดังกล่าวจะทําให้ปริ มาตรของสมองในกะโหลกศีรษะของสัตว์ในอันดับไพรเมตมีมากขึน
และปากทีมีลกั ษณะไม่ยืนยาวออกไปในแบบของสุ นขั จะมีผลให้ลดพืนทีของโพรงจมูกลงทําให้
ความสามารถในการดมกลินลดลง
26

ลิงสไปเดอร์ ( Spider Monkeys ) เป็ นลิงทีเคลือนทีได้อย่างคล่องแคล่วทีสุ ด ในบรรดาลิงใน


ป่ าเขตร้อนของทวีปอเมริ กาใต้และอเมริ กากลาง กินผลไม้เป็ นอาหารหลัก อาหารชนิ ดอืนๆ ทีกิน
ด้วยเช่น ใบไม้ เมล็ดพืช แมลง ไข่นก หากินเป็ นฝูงขนาดเล็กหรื อบางตัวก็อยู่ตามลําพัง ในกรณี
ทีมีผลไม้สุก เช่น ลูกไทรสุ ก จะพบลิงสไปเดอร์หลายฝูงมากินผลไม้รวมกัน 20 – 30 ตัว เป็ นลิงที
ชอบส่ งเสี ยงร้อง ลักษณะเสี ยงคล้ายเสี ยงม้าร้อง ซึ งเสี ยงร้องกลับเป็ นอันตรายทีทําให้ศตั รู ผลู้ ่ารู ้ว่า
ลิงสไปเดอร์ อยูท่ ีไหน และคนพืนเมืองก็มาล่าลิงเป็ นอาหาร ส่ วนบนยอดไม้ศตั รู ผลู ้ ่าก็จะเป็ น
เหยียวและนกอินทรี
ลิงวูลลี ( Wooly Monkey ) เป็ นลิงอีกชนิ ดหนึ งทีใช้หางแบบยึดจับกับกิงไม้ ลิงชนิดนีกิน
ใบไม้และผลไม้เป็ นอาหารหลัก ลงมาทีพืนดินน้อยมาก ขนยาวและหนากว่าลิงสไปเดอร์ พบ
พฤติกรรมลิงต่อสู้กนั เพือแย่งชิงอาหารและพืนที

หางแบบยึดจับ ( Prehensile Tails )


มีสตั ว์ประจําถินของทวีปอเมริกาหลาย
ชนิด เช่น ลิง และโอปสซัั ม ( opossum ) จะมี
ลักษณะหางยาว เพือช่วยในการดํารงชีวติ บน
ต้นไม้ โดยหางจะมีกล้ามเนือเข้าไปเป็ น
ส่วนประกอบ และประมาณ 1/4 ส่วนของ
ความยาวหางจากส่วนปลาย ด้านล่างจะไม่มี
ขนเพือช่วยในการเกาะทีดี
ลิงทีมีหางแบบยึดจับนีจะใช้หางเหมือนกับ
มือทีห้าช่วยในการจับและแขวนตัว มีการใช้
หางในการโยนตัวจากกิงไม้หนึงไปยังอีกกิงไม้
หนึง โดยช่วงทีโยนตัวจะปล่อยมือและขาจาก
กิงไม้ ลิงฮาวเลอร์ ลิงสไปเดอร์ ลิงวูลลีจะใช้
หางยึดเกาะโดยทิงนําหนักตัวทังหมด ใช้เพียง
หางอย่างเดียวยึดเกาะไว้ในขณะทีกินอาหาร

ลิงในทวีปแอฟริกามีหางแต่ไม่ได้เป็ นแบบจับยึด ส่วนลิงเอฟ ( ape ) ไม่มหี าง


นักวิทยาศาสตร์ได้อธิบายเป็ นทฤษฎีสาํ หรับลักษณะหางจับยึดในลิงในทวีปอเมริกาว่าเพือช่วย
ในกรณีทลิี งต้องการยืนมือไปเก็บยอดใบไม้อ่อน ดอกไม้ ผลไม้ทอยูี ป่ ลายของกิงก้าน ทําให้ลงิ
กลุ่มนีจะมีความสามารถในการแย่งชิงอาหารกับค้างคาวและนกได้มากยิงขึน
27

ลิงกระรอก (Squirrel Monkey)


ชือของลิงชนิ ดนีเป็ นสิ งบ่งบอกว่าเป็ นลิงขนาดเล็ก
หางไม่ใช่หางแบบจับยึด และเป็ นลิงทีมีการกระจายพันธุ์ใน
ทวีปอเมริ กาใต้ การบอกอาณาเขตของตนเองโดยการถูหางที
มีปัสสาวะติดอยูไ่ ปทีลําต้นหรื อกิงไม้ อาหารเกือบร้อยละ 80
จะเป็ นผลไม้ โดยเฉพาะลูกไทร ซึ งเป็ นผลไม้ทีพบได้ทวไป ั
ในป่ าและยังกินแมลงเป็ นอาหารด้วย

ภาพที 23 ( บน ) ลูกลิงกระรอกจะถูกดูแลด้ วยตัวเมียทีมีอายุมากและไม่มีลกู ของตัวเองใน


ขณะนัน โดยกลุ่มตัวเมียเหล่านีจะช่วยดูแลเรื องอาหารและความปลอดภัย

ภาพที 2.5 ( ขวามือ ) แสดงภาพลิงฮาวเลอร์


แดงโบลิเวีย ซึงเป็ นตัวอย่างสัตว์เลียงลูกด้ วย
นํานมทีประสบความสําเร็ จในการเพาะ
ขยายพันธุ์ในสวนสัตว์ โดยมีลิงฮาวเลอร์ เกิดที
สวนสัตว์ซานดิเอโกตังแต่ พ.ศ. 2524 เป็ น
จํานวนมากกว่า 24 ตัว

ลิงฮาวเลอร์ ( Howler Monkey ) เป็ นลิงทีส่ งเสี ยงร้องมากทีสุดในป่ าของทวีปอเมริ กาใต้ เป็ นเสี ยง
ร้องเพือประกาศอาณาเขตของลิงตัวผูโ้ ดยเฉพาะในช่วงรุ่ งเช้า เสี ยงจะดังได้ยินไปไกลเกือบ 3.2
กิโลเมตร เสี ยงทีพิเศษนีเกิดจากลมทีผ่านไปเหนื อกระดูกทีอยูใ่ นกล่องเสี ยง เสี ยงจะฟังแล้วคล้าย
เสี ยงลมทีผ่านรู ปากขวดขนาดแคบ ๆ ลิงชนิดนีอยู่กนั เป็ นกลุ่มที เรี ยกว่า ทรู พ (Troops) บางกลุ่ม
อาจมีสมาชิกมากถึง 45 ตัว แบ่งเป็ นชนิ ดย่อยได้อีก 6 ชนิด ซึ งทังหมดเป็ นสัตว์กินพืชโดยเฉพาะ
ส่วนใบไม้
ชะนี ( Gibbon ) ชะนีเป็ นลิงไม่มีหางขนาดเล็ก ( lesser ape ) มีการกระจายพันธุ์ในป่ าเขตร้อน
ของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเสี ยงร้องทีดังเช่นเดียวกับลิงฮาวเลอร์ ชะนีจะร้องใน
โทนเสี ยงสูง เป็ นการร้องประสานโต้ตอบระหว่างตัวผูก้ บั ตัวเมีย หรื อร้องโต้ตอบระหว่างตัวเมีย
ด้วยกัน ทีเรี ยกว่า “Great Call”
ชะนีเป็ นลิงไม่มีหางทีมีเคลือนทีใช้มือและแขนเหวียงร่ างกายให้เคลือนทีไปตามกิงก้าน
ของต้นไม้ได้อย่างคล่องแคล่ว และว่องไวทีสุ ดในบรรดาลิงไม่มีหางด้วยกัน พบว่าชะนี สามารถ
เหวียงตัวได้ไกลถึง 9.1 เมตรในการเหวียงตัวเพียงครังเดียว พืนทีหาอาหารและทีนอนบนต้นไม้สูง
28

มีกรณี ทีชะนีตกจากกิงไม้แต่ชะนีก็สามารถคว้าจับเกาะกิงไม้กิงอืน ๆ ได้แต่กไ็ ม่เสมอไปทุกครัง


จากการศึกษาในป่ าพบว่าเมือชะนีกระดูกทีหักสามารถหายเองได้
ชะนีอยูร่ วมกันเป็ นครอบครัวเล็ก โดยมีพ่อและแม่ มีลูก 2 – 4 ตัว มีอาณาเขตในการหา
อาหารทีชัดเจนโดยมีพืนทีประมาณ 125 – 560 ไร่

ภาพที 2.6 (ซ้ าย ) เซียมังเป็ นชะนีทีมีขนาดใหญ่ทีสุด มีทกั ษะในการปี นป่ ายได้ ดี ภาพที 2.7
( ขวา ) ชะนีสามารถใช้ มอื ข้ างหนึงเกาะกิงไม้ ไว้ และใช้ มืออีกข้ างหนึงเอือมไปเด็ดผลไม้ มากิน

ชะนี เหมือนกับลิ งกอลิ ลาร์คือว่าย


นําไม่เป็ น ดังนันส่วนแสดงสัตว์ใน
สวนสัตว์เลือกใช้แนวกันสัตว์แบบ
คูนํามากกว่าที จะใช้กาํ แพงหรือซี
กรง
ภาพที 2.8 ลูกของชะนีจะอยู่ใกล้ ชิด
กับแม่จนกระทังอายุได้ 1 ปี

ลิงอุรังอุตงั ( Orangutan )
29

เป็ นลิงไม่มีหางทีดํารงชี วิตบนเรื อนยอดไม้ทีมีขนาดร่ างกายใหญ่ แต่สามารถเคลือนทีไป


มาในอาณาเขตป่ าไม้ผา่ นต้นไม้ได้อย่างคล่องแคล่ว มีการกระจายพันธุ์ในป่ าเขตร้อนของเกาะสุ
มาตราและบอร์ เนี ยว ในบริ เวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพศผูจ้ ะหนักประมาณ 91 กิโลกรัม ส่ วน
เพศเมียจะหนักประมาณ 50 กิโลกรัม การเคลือนทีจะพยายามกระจายนําหนักไปทีแขนและขาทัง
4 ข้าง และเลือกกิงไม้ทีแข็งแรงทีจะรองรับนําหนักได้

ภาพที 2.9 เมือลิงอุรังอุตงั โตเต็มที


ง ลิงเพศผู้จะมีสว่ นแก้ มทีขยายออก
ด้ านข้ าง ซึงจะเป็ นกล้ ามเนือและ
ไขมัน และมีถุงทีส่วนอกทีทําให้ พอง
ได้ ในช่วงทีมีการเผชิญหน้ าเพือแย่ง
อาณาเขตกัน ลิงอุลงั อุตงั จะแสดง
อาการเกรี ยวกราดด้ วยการพองถุง
ส่วนอกและทําเสียงจากถุงหน้ าอก

ลิงอุรังอุตงั จะเตรี ยมทีนอนจากกิงไม้ โดยจะสร้างใหม่ทุกวันในตําแหน่งสูงของต้นไม้ ลิงชนิดนีใช้


การถือกิงไม้ทีมีใบไม้อยูค่ ล้ายกับคนกางร่ ม เพือบังสายฝนและแสงอาทิตย์ ในป่ าตัวผูจ้ ะอยูต่ วั เดียว
เป็ นส่ วนใหญ่ แต่ตวั เมียจะอยูร่ วมกันเป็ นช่วง ๆ แต่ในสวนสัตว์จะจัดแสดงอยู่กนั เป็ นฝูง

ภาพที 2.10 ลิงอุลงั อุตงั สามารถใช้เครื องมือได้ เช่น กิงไม้แหย่เข้าไปในรู จอมปลวก ใช้กอ้ นหิ นทุบ
ผลไม้เปลือกแข็ง ใช้ใบไม้จุ่มนําเพือดูดกินนํา มีการลงอาบนําเพือชําระล้างร่ างกาย ในภาพลิงอุลงั อุ
ตังใช้กิงไม้แหย่เข้าไปในจอมปลวกเทียมทีมีถว้ ยใส่ นาหวานอยู
ํ ่ขา้ งใน
30

บรรพบุรุษของไพรเมต 2 ชนิด ( Two Primate Ancestor )


เมือหลายล้านปี ก่อน เกาะมาดากัสการ์ ( Mardagascar ) และเกาะคอมโมรอส ( Comoros
Island ) ยังเป็ นส่ วนหนึ งของทวีปแอฟริ กา แต่ดว้ ยการเปลียนแปลงทางภูมิศาสตร์ทาํ ให้ทงั 2
เกาะแยกจากแผ่นดินใหญ่ ซึ งทัง 2 เกาะเป็ นสถานทีทีเหมาะสมสําหรับการดํารงชีวิตของลีเมอร์ห
ลายชนิด เมือเวลาผ่านไปอีกช่วงหนึ งลีเมอร์ได้หายไปจากทวีปแอฟริ กา ในปั จจุบนั มีพืนทีเล็กๆ
ของป่ าเขตร้อนบนเกาะทัง 2 เกาะ ทีเป็ นถินทีอยูข่ องลีเมอร์ซึงเป็ นสัตว์ทีเป็ นบรรพบุรุษของลิงใน
ปัจจุบนั
ลีเมอร์ ( Lemur )
เป็ นสัตว์ทีมีขนฟูหนา ดวงตาขนาดใหญ่ ปากคล้ายหมาป่ า บางชนิ ดมีหางทีฟูยาว
ดํารงชีวิตบนต้นไม้ กินผลไม้ ดอกไม้และใบไม้ ปุ่ มทีฝ่ าเท้าจะช่วยในการเดินบนกิงไม้ใน
แนวนอนจากต้นหนึ งไปยังอีกต้นหนึ ง บนพืนดินจะเดินบนขาทัง 4 หรื อในการเคลือนทีใน
ระยะใกล้จะใช้การกระโดดด้วยการใช้ขาหลัง

ภาพที 2.11 ( ซ้ าย ) ลีเมอร์ ดํา ( black lemur ) เพศ


เมีย จะมีลกั ษณะขนตามลําตัวสีแดงนําตาลและมีขน
บริ เวณหูสีขาว ส่วนเพศผู้สีลําตัวสีดํา
ภาพที 2.12 ( บนขวา ) เรดรัฟฟ์ลีเมอร์ ( Red ruffed
lemur ) มักจะออกลูกครังละ 2 ตัวลีเมอร์ ชนิดนีจะ
ปล่อยลูกอ่อนโดยการปล่อยให้ ลกู น้ อยอยู่ตามลําพัง
ในช่วงทีออกไปหากิน
ริ งเทลลีเมอร์ เป็ นสัตว์ทีอยู่รวมกันเป็ นสังคม การเพาะขยายพันธุจ์ ะ
สําเร็จหากนําสัตว์ชนิ ดนี อยู่รวมกันจํานวน 5 – 6 ตัว
31

ทาร์ เซีย ( Tarsiers ) เป็ นลิงอีกกลุ่มหนึ งซึ งมีรูปร่ างหน้าตาทีเราไม่คุน้ เคย มีการกระจายพันธุ์
ในเกาะบอร์เนียว เกาะสุ มาตราและสุ ลาเวสี ของประเทศอินโดนี เซี ย ซึงอยูใ่ นบริ เวณเอเชีย
ตะวันตกเฉียงใต้ ทาร์เซี ยเป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมขนาดเล็กซึ งมีความยาวลําตัวเพียง 9 – 15
เซนติเมตร ส่ วนหางยาวไม่มีขน พบในป่ าทีมีตน้ ไม้เจริ ญแน่นทึบ เป็ นสัตว์ทีหากินในเวลา
กลางคืน นอนหลับในเวลากลางวันโดยการเกาะกับกิงไม้ในแนวดิง ลักษณะร่ างกายทีเหมือนกับ
ลิงชนิดอืนคือ ดวงตาทีอยู่ดา้ นหน้าของกะโหลกศีรษะ แต่การทีมีนยั น์ตาขนาดใหญ่ทาํ ให้มีพืนที
สําหรับการขยับลูกตาเหลืออยู่นอ้ ย แต่ทาร์เซี ยสามารถหมุนศีรษะได้เกือบรอบตัว
ทาร์เซี ยเป็ นสัตว์ทีกระโดดได้เก่ง กระโดดได้ไกลถึง 2 เมตร เกาะกิงไม้ได้แน่นเนืองจาก
ทีนิ วมือและนิวเท้าจะมีตุ่มกลม อาหารหลักของสัตว์ชนิดนีคือแมลง การหาแมลงกินจะหันหน้าไป
ยังทิศทีได้ยินเสี ยงแมลงเข้ามา และใช้การกระโดดจับแมลงโดยใช้มือทังสองข้าง ลูกทาร์เซี ยทีเกิด
ใหม่ลกู ตาจะเปิ ดและเริ มกระโดดได้เมืออายุประมาณ 1 เดือน

ภาพที 2.13 ฟิ ลิปปิ นส์ ทาร์ เซีย มีขนทีนุ่มฟู นิวยาวและขาหลังขนาดใหญ่ มีฟันทีแหลมคม


สําหรับไว้ ใช้ กินแมลงปี กแข็งและตะขาบ การเลียงในสวนสัตว์ต้องจัดหาแมลงมีชีวิตไว้ เป็ นอาหาร
ภาพที 2.14 แมงมุมยักษ์ กินนก ( Giant Spider Eating Bird )

พืนป่ า ความจริ งหรือสิ งลวงตา ( The Jungle : Myth or Reality )


พืนปา่ ในภาพยนตร์จากฮอลลีวู๊ดเรือง ทาร์ซาน เป็ นการนําเสนอภาพทีเกินความจริง
เสือดาวหรือลิงชิมแพนซีทดูี เชืองไม่ดุรา้ ย ซึงในความเป็ นจริงคือสัตว์ป่าจะหลีกเลียงการเข้าใกล้
มนุษย์และการพบสัตว์ผลู้ ่าขนาดใหญ่ในป่าเป็ นเหตุการณ์ทเกิ ี ดขึนได้ยากยิง
รวมทังแมลงเต่าทองโกไลแอท แมงมุมยักษ์กนิ นก ( ภาพที 2.14 ) ไม่ใช่สตั ว์ที
ดํารงชีวติ อยูใ่ นปา่ เขตร้อน ผูก้ าํ กับภาพยนตร์ได้สร้างภาพทีแตกต่างจากความเป็ นจริงทังขนาด
32

สี รูปร่าง พฤติกรรมของพืชและสัตว์ ทีเกิดขึนตามแต่จะจินตนาการเพือความสนุกในการ


นําเสนอเรืองราว
หน้ าสู้ ฟ้า หลังสู้ ดนิ บนเรือนยอดต้ นไม้ ( upside Down in the Canopy )
สล็อทมีการกระจายพันธุ์ทวทัั งทวีปอเมริ กา สล็อท 2 นิวเป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนมทีดํารงชีวิต
บนต้นไม้ทีระดับความสู งเหนือเรื อนยอดและตํากว่าเรื อนยอด ( upper and lower canopy ) นําหนัก
สูงสุดประมาณ 8 กิโลกรัม ท่าทีเกาะด้วยมือแล้วห้อยหัวและตัวลงด้านล่างจะเป็ นท่าสําหรับการกิน
นอน ผสมพันธุ์และออกลูก ขนบนร่ างกายจะแบ่งทีบริ เวณท้องและจะชีไปทีส่ วนหลัง เพือให้เวลา
ฝนตกนําจะไหลผ่านลําตัวได้โดยง่าย สล็อทจะอยูน่ ิ งๆโดยเปลียนท่าทางน้อยมากต่อเนืองกันนาน
18 ชัวโมง ซึ งอาจจะมีการขยับกราม เอือมแขนและใช้มือจับใบไม้

เกาะแน่นเหมือนสล็อท ( Grip like Sloth )


การทีสล็อทโหนตัวเอาหลังลงดิน เพือ
เป็ นการประหยัดพลังงาน การทีใช้กรงเล็บเกาะ
แน่นจะทําให้ใช้พลังงานน้อยกว่าสัตว์ชนิดอืนทีมี
ขนาดเท่ากัน การเกาะของสล็อทนีแน่นมาก
ถึงขนาดสล็อททีตายแล้วซากยังเกาะแน่นอยูท่ ี
กิงไม้ ซึงจะแขวนอยูแ่ บบนันจนกว่าซากจะย่อย
สลายไป

อาหารหลักของสล็อทคือใบไม้ซึงจะยากต่อการย่อย สล็อทมีกระบวนการย่อยทีใช้
เวลานาน รวมทังแบคทีเรี ยในกระเพาะอาหารจะต้องมีอุณหภูมิทีอุน่ พอเหมาะเพือที จะย่อยสลาย
ใบไม้ ทุกเช้าสล็อทจะเพิมอุณหภูมิในร่ างกายโดยการเกาะตัวในบริ เวณกิงไม้ทีแดดสามารถส่ อง
ผ่านลงมาได้ สล็อทอาจต้องใช้เวลามากถึง 100 ชัวโมงในการย่อยอาหารทีมีปริ มาตรประมาณ 1
กระเพาะอาหาร สภาวะทุโภชนาจะเกิดขึนถ้าเกิดสภาวะอากาศหนาวยาวนาน หรื อมีเมฆปกคลุม
นานๆ จะมีผลให้แบคทีเรี ยในกระเพาะอาหารทํางานไม่เป็ นปกติ สล็อทจะลงมาขับถ่ายมูลสัปดาห์
ละ 1 ครัง มูลเป็ นก้อนขนาดเล็กแข็ง โดยจะเคลือนที อย่างช้า ๆ ลงถ่ายมูลทีโคนต้นที ตัวสล็อท
อาศัยอยู่ ต่างจากลิงทีจะถ่ายบนต้นไม้
สล็อททีเกิ ดใหม่จะเกาะท้องแม่อยู่
จนกระทังอายุได้ 20-25 วันลูกสล็อท
จึงจะเริ มเกาะกิ งไม้เหมือนสล็อท
ในช่วงอายุสมบูรณ์ พนั ธุ์

ภาพที 2.15 แสดงใบหน้ าของสล็อดสอง


นิว ซึงส่วนใหญ่ใบหน้ าจะถูกคลุมด้ วยขน
ทีถูกย้ อมด้ วยสีเขียวของสาหร่ าย
33

ภาพที 2.16 ( ซ้ าย ) ค้ างคาว


หัวค้ อนใช้ ปีกคลุมตัวในช่วง
พัก ภาพที 2.17 ( ขวา )
ค้ างคาวกินผลไม้ ใช้ นิวทีอยู่
บริ เวณปี กจับผลไม้ แล้ ว

ค้ างคาว
ค้างคาวเป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีพบการกระจายพันธุ์เกือบทุกพืนทีของโลก โดยไม่พบใน
พืนทีขัวโลกเหนือและขัวโลกใต้ จํานวนชนิดของค้างคาวคิดเป็ น 1 ใน 4 ของจํานวนชนิดของ
สัตว์เลียงลูกด้วยนมทังหมด ป่ าเขตร้อนจะเป็ นพืนที ทีสัตว์กลุ่มนีอยูก่ นั มากกว่าพืนทีในลักษณะ
อืนๆ โดยจะพบบนต้นไม้ทีระดับความสู งเหนือและใต้เรื อนยอด ( upper and lower canopy ) โดย
ในป่ าเขตร้อนมีการประมาณกันว่าจํานวนชนิดของสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมจะเป็ นค้างคาวครึ งหนึง
ค้างคาวในป่ าเขตร้อนจะเหมือนกับค้างคาวชนิดอืนๆทัวไป คือ จะห้อยหัวลง นิวเกาะที
ต้นไม้หรื อผนังถําใต้กอ้ นหิ นขนาดใหญ่ ค้างคาวส่ วนใหญ่จะกินแมลง ส่ วนกลุ่มอืนๆ จะกิน
นําหวานจากดอกไม้ มีบางส่ วนทีกินผลไม้หรื อบางชนิดจับนก จิงจก กบ แม้กระทังปลาเป็ น
อาหาร
ค้างคาวกินแมลง ( insect – eater bat ) เป็ นอาหารจะมีการพัฒนาระบบเสี ยงสะท้อน (
echolocation ) เพือหาตําแหน่งเหยือ โดยการปล่อยกระจายชุดเสี ยงแบบอุลตร้าโซนิ ค เพือช่วยใน
การหาแมลงทีกําลังเคลือนไหวอย่างรวดเร็ ว ส่ วนค้างคาวกินผลไม้และนําหวานจะมีการพัฒนา
ระบบเสี ยงสะท้อนเพือหาตําแหน่งทีน้อยกว่าค้างคาวกินแมลง โดยค้างคาวกลุ่มนี จะมีดวงตาขนาด
ใหญ่และองค์ประกอบของลูกตาทีช่วยในการมองในทีมืดได้ดี
ค้างคาว False vampire ทีมีการกระจายพันธ์ในทวีปแอฟริ กา เอเชีย และออสเตรเลียจะมี
ขนาดใหญ่ และเป็ นค้างคาวทีกินสัตว์ชนิดอืนเป็ นอาหาร โดยมีความยาวโดยรวมเมือกางปี กเต็มที
ที 3 ฟุต ( 1 เมตร ) จุดแขวนตัวของค้างคาวชนิดนี จะเป็ นเพดานของโพรงไม้ ส่ วนพืนของโพรง
34

ไม้ทีจะมีคราบเลือดและกระดูกจากสัตว์ทีค้างคาวกิน มูลของค้างคาวจะเป็ นแหล่งอาหารของแมลง


และเป็ นปุ๋ ยให้กบั ต้นไม้

ภาพที 2.18 ค้ างคาวแวมไพรน์ ใช้ นิวเท้ าเกาะทีผนัง


ถําและทิงตัวลงมา

ค้างคาวแวมไพรน์มีความยาวปี กรวมเมือกางปี ก
ออกประมาณ 30 เซนติเมตร เป็ นค้างคาวที มีขนาดเล็ก
กว่าค้างคาว Falh vampire โดยค้างคาวแวมไพรน์
สามารถปรับตัวให้สามารถอยูไ่ ด้ทงในพื
ั นทีแห้งแล้ง
และพืนทีทีมีความชืนสู ง แต่เมือถูกจํากัดด้วยแหล่ง
อาหาร ตัวเลือกของแหล่งอาหารจะเป็ นเลือดจากสัตว์
เลียงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ซึ งส่ วนใหญ่จะเป็ นสัตว์ปศุ
สัตว์ เช่น วัวและม้า ซึ งค้างคาวจะเข้าไปใกล้ตวั สัตว์
ได้ในช่วงทีสัตว์หลับ โดยการบินในระดับตําใกล้
พืนดินแล้วใช้เขียวกัดเหยือและดูดเลือดจนกระทังตัว
เกือบจะหนักเกินไปจนเกือบบินไม่ได้
สารกันเลือดแข็งตัวในนําลายจะเป็ นตัวช่วยไม่ให้เลือดแข็งตัวจนกว่าค้างคาวจะกินอิมในมือนัน
การกัดของค้างคาวไม่ได้ทาํ ให้สตั ว์ตาย แต่คา้ งคาวจะเป็ นพาหนะนําเชื อโรค “พิษสุ นขั บ้า” ซึ งจะ
มีผลทําให้เหยือตายได้

การเพาะขยายพันธุ์ในสัตว์ ทีใกล้ สูญพันธุ์ ( Zoo Breeding and Endangered Animals )


เนืองจากสัตว์ทีอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์หลายชนิดสามารถเพาะพันธุ์และเพิมจํานวนได้
ในสวนสัตว์ สวนสัตว์จึงเป็ นหน่วยงานหนึ งทีเข้ามาร่ วมในอนุรักษ์สตั ว์กลุ่มนี ทีจะช่วยรักษาสาย
พันธุกรรมของสัตว์ชนิดนี ให้อยู่ต่อเนื องไป แต่มีขอ้ จํากัดทีจํานวนประชากรของสัตว์เหล่านี อยู่
น้อยในสวนสัตว์แต่ละแห่ ง ถึงแม้จะมีลูกสัตว์เกิดใหม่เพิมขึน แต่ปัญหาทีมีตามมาคือเกิดสัตว์ทีมี
สภาวะเลือดชิดขึน โดยสัตว์กลุ่มนี มีลกั ษณะของสายพันธุกรรมใกล้เคียงกันมาก ทําให้ลกู สัตว์ที
ได้มีลกั ษณะร่ างกายทีไม่สมบูรณ์และมีความต้านทานโรคตํา
เพือเป็ นการลดปั ญหาดังกล่าว เจ้าหน้าทีสวนสัตว์จะต้องมีการเก็บข้อมูลในเรื องของพ่อ
แม่ของสัตว์แต่ละตัวทีสวนสัตว์มี และวางแผนกําหนดตัวทีจะให้มีการผสมพันธุ์ เพือเพิมจํานวน
ไว้ในระเบียนสัตว์ ซึ งต่อมางานเก็บข้อมูลและวางแผนการผสมพันธุ์พ่อแม่พนั ธุ์ ได้มีการพัฒนา
เป็ นลําดับอย่างต่อเนืองจนกระทังเกิดรู ปแบบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทีช่วยในการประมวลผลที
เป็ นทียอมรับและใช้กนั อย่างแพร่ หลายทัวโลก ทีชือว่าว่าโปรแกรม Arks โดยมีองค์กรที
35

รับผิดชอบในการพัฒนาและเชือมโยงข้อมูลระหว่างสวนสัตว์ทีเป็ นสมาชิ กคือ International


Species Inventory System. (ISIS) ซึ งข้อมูลจากโปรแกรม Arks จะช่วยในการจับคู่สตั ว์ทีจะผสม
พันธุ์จากต่างสวนสัตว์กนั ตัวอย่างแผนงานทีเกิดขึนต่อเนืองจากทีสวนสัตว์ทวโลกรวมกั
ั นใช้และ
พัฒนาโปรแกรม Arks คือ แผนงานทีชือว่า The Species Survival Plans ( SSPs ) .และในช่วงเวลาที
ผ่านมาแผนงาน SSPs เป็ นผูป้ ระสานงานในการผสมพันธุ์สตั ว์มากกว่า 50 ชนิด ซึ งส่ วนใหญ่
เป็ นเป็ นชนิดสัตว์ทีอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์ซึงมีจาํ นวนตัวในสวนสัตว์ต่างๆ ในจํานวนน้อย เช่น
เกิดการขนส่ งเสื อโคร่ งสุ มาตราจากประเทศอินโดนีเซี ย ทีอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ไป
ผสมกับเสื อโคร่ งตัวเมียสวนสัตว์ขนาดใหญ่ในสหรัฐอเมริ กาหรื อสวนสัตว์อืนๆทีอยู่นอก
สหรัฐอเมริ กา

เสื อโคร่ งสุ มาตรา ลูกม้าลายเกรวี ลิงโกลเด้นไลออนมามา


รี น

ลูกสมเสร็ จเอเชีย
ลูกมังกรโคโมโดทีกําลังออกจากไข่

สัตว์ทอาศั
ี ยบนต้นไม้ ในระดับใต้ เรือนยอด ( Animals of the Lower Canopy )
ชนิดสัตว์ทีอาศัยอยู่บนต้นไม้ในระดับใต้เรื อนยอด เช่น ลิงไม่มีหาง ( ape ) และลิงมีหาง
สล็อท กิงก่า ค้างคาว และนกนานาชนิด เนืองจากเป็ นบริ เวณทีมีแหล่งอาหารอุดมสมบูรณ์ เช่น
สัตว์ขนาดเล็ก ไข่นก ยอดไม้ เมล็ดพืช ผลไม้ และลูกปาล์ม มีชนิ ดของพืชเป็ นจํานวนมากที
ระดับความสูงของลําต้นและเรื อนยอดอยู่ในชันใต้เรื อนยอดของต้นไม้ของพืนป่ าแห่งนัน และพืช
36

เหล่านี มีคุณค่าทางอาหารสูง ถ้าไม่ได้รับการรบกวนจากสิ งผิดปกติจากภายนอก ก็เพียงพอทีเป็ น


แหล่งอาหารสําหรับสัตว์ได้

ภาพที 2.19 ( ซ้าย ) the rainbow heliconia’s จะเหมือนกับพืชชนิ ดอืนอีกหลายชนิดทีมีระดับ


ความสู งอยู่ในระดับใต้เรื อนยอด ซึ งจะเห็นพืชชนิ ดนีอยูใ่ นช่วงอายุต่างๆ ตังแต่ตน้ กล้าจนถึงต้นที
กําลังแห้งเหี ยวตายทีอยู่บนพืนดิน ภาพที 2.20 ( ขวา ) ลูกลิงชิ มแพนซี จะถูกอุม้ และเกาะทีหน้าอก
แม่จนกระทังอายุได้ 5 เดือน ลูกลิงจึงจะสามารถนังทีหลังของแม่ได้

ลิงชิมแพนซี ( Chimpanzee )
นักอนุกรมวิธานได้จดั ให้ลิงชนิดนีอยู่ในวงศ์ homonidae เป็ นกลุ่มลิงไม่มีหางขนาดใหญ่
( great apes ) ซึงสมาชิกทีอยูใ่ นวงศ์นีคือ กอลิลาร์ ( gorillas ) และอุรังอุตงั ( orangutans ) ลิงชิ ม
แพนซี มีการกระจายพันธุ์ในบริ เวณทวีปแอฟริ กาตอนกลาง มีถินที อยู่ทงแบบทุ ั ่งหญ้าและป่ าดิบชืน
การพัฒนาการของลักษณะร่ างกายและพฤติกรรมเพือการดํารงชีวิตอยูบ่ นต้นไม้นอ้ ยกว่ากลุ่มลิงที
อยูใ่ นระดับความสู งเหนื อเรื อนยอด

ข้อมูลที น่ าสนใจ
- ลิ งชิ มแพนซี เพศผู้จะเรียกร้องความสนใจของลิ งชิ มแพนซีเพศเมียด้วยการเขย่ากิ งไม้
- การเพิ มกิ จกรรมในส่วนแสดงเจ้าหน้ าที เลียงสัตว์จะนําอาหารไปซ่อนตามต้นไม้และ
ก้อนหิ น ทําให้ลิงชิ มแพนซีใช้เวลาช่วงแรกหลังออกจากคอกกักในการเดิ นหาอาหาร
- ลิ งชิ มแพนซีและลิ งไม่มีหางชนิ ดอืนๆจะมีใบหูขนาดใหญ่และไม่มีขน
37

เมือลิงชิ มแพนซี ตอ้ งเดินทางเป็ นระยะทางไกลเพือไปหาอาหารกินจะไปเป็ นกลุ่ม ท่าเดินจะมี


ชือเรี ยกว่า ท่าเดินงอนิ ว ( knuckle - walking ) โดยจะฝ่ าเท้าจะสัมผัสพืนเพียงครึ งเดียวแล้ว ถ่าย
นําหนักทีเหลือมาทีแขนและฝ่ ามือทีส่ วนนิ วมือจะมีการกําไว้บางนิว แขนทียาวจะยืนออกไปสลับ
ซ้ายขวา ซึงถ้าวัดความยาวระหว่างปลายนิวทังสองข้างจะมีความยาวมากกว่าความสู งช่วงไหล่ขณะ
เดิน 2 เท่า
อาหารร้อยละ 90 ของลิงชิมแพนซี จะเป็ นผลไม้และผัก อาหารอืน ๆ ทีกิน เช่น แมลง
ไข่นก นก กิงก่า สัตว์เลียงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ลิงแชมแพนซี สามารถเดินทางเป็ นระยะไกลๆ ได้
เช่น เดินไปกินผลไม้ทีตัวเองชอบ เมือชิมแพนซี พบต้นไม้ทีมีผลไม้สุก จะมีการร้องบอกเพือน
โดยใช้การทุบทีรากของต้นไม้ทีโผล่ขึนมาบริ เวณพืนดินให้เกิดเสี ยงขึน พบได้บ่อยครังทีลิงชิ ม
แพนซี จะออกล่าสัตว์อืนเป็ นอาหาร โดยจะออกล่าร่ วมกันและแบ่งอาหารกันกิน ถ้ามีสมาชิกลิงชิ ม
แพนซี นอกฝูงลําเข้าในพืนทีจะถูกทําร้ายจนตาย

ภาพที 2.21 (ซ้ าย ) ลิงชิมแพนซีเป็ นลิงทีมือในลักษณะทีเรี ยกว่า opposable thumbs คือ


นิวหัวแม่มืออยู่ตรงกันข้ ามกับนิวทังสีทีเหลือทําให้ การหยิบจับอาหารและสิงของทําได้ โดยง่าย
ภาพที 2.22 ( ขวา ) ในป่ าธรรมชาติฝูงของลิงชิมแพนซีจะมีการเปลียนแปลงเสมอในเรื องของ
จํานวนสมาชิก ช่วงอายุและ อัตราส่วนของเพศ

งู ( Snake )
งูจะเหมือนกับค้างคาวทีมีการกระจายพันธุ์เกือบทุกพืนทีของโลก ยกเว้นบริ เวณขัวโลกเหนื อ
และใต้ พบว่าชนิ ดงูทีมีถินทีอยูใ่ นป่ าเขตร้อนจะมีความสัมพันธ์กนั ระหว่างงูชนิ ดที อยูใ่ นทุ่งหญ้า
กับชนิดที อยู่ในป่ า คือทังสองกลุ่มส่ วนใหญ่จะมีเกล็ดลําตัวสี เขียวเพือจุดประสงค์สร้างความ
กลมกลืนกับพืนทีป่ า จะออกหากินในช่วงเช้าและช่วงเย็น งูในป่ าเขตร้อนส่ วนใหญ่จะไม่จาํ กัด
38

ช่วงเวลาหากินว่าจะต้องอยู่ช่วงกลางคืน มีขอ้ สรุ ปประการหนึ งว่าจํานวนชนิดงูทีมีพิษคิดเป็ น


สัดส่ วนทีน้อยเมือเปรี ยบเทียบกับจํานวนชนิ ดงูทงหมด

ภาพที 2.23 งูเอมเมอราลทรี บวั ( emerald tree boa )ขดตัวพักบนต้นไม้ ภาพที 2.24 แสดงการขด
เกาะบนต้นไม้ทีจับลําต้นด้วยหางและขดตัวไปมาโอบล้อมต้นไม้เพือให้เกิดสมดุล
งูบัว คอนสตริกเตอร์ ( Boa constrictor ) ดํารงชีวิตอยูใ่ นพืนทีทีเป็ นป่ าและทุ่งหญ้า งูบวั
ขนาดเล็ก เช่น emerald tree boa ทีการกระจายพันธุ์บริ เวณทีราบลุ่มของแม่นาอะเมซอน ํ จะหากิน
ตามต้นไม้ ชนิ ดทีมีขนาดใหญ่กว่าจะอาศัยอยู่ตามพืนดิน งูบวั จะเหมือนกับงูชนิ ดอืนๆ ทีล่าสัตว์
ชนิดอืนๆ เป็ นอาหาร เช่น นก สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมขนาดเล็ก การกัดของงูชนิดนีจะสร้างความ
เจ็บปวดให้กบั เหยือแต่ไม่มีพิษ และงูบวั ( boa )จะรัดเหยือจะกระทังตายก่อนจะกลืนเหยือลงไป
งูแมมบ้ าเขียว ( Green mambas ) งูแมมบาสี เขียวเป็ นงูทีมีพิษ เมือโตเต็มทีจะมีความยาว
ลําตัวประมาณ 2.7 เมตร พบในป่ าของแอฟริ กากลางและแอฟริ กาใต้ ในช่วงอากาศร้อนของเวลา
กลางวันงูชนิ ดนีจะนอนผึงแดด โดยจะอยูร่ วมกันหลายตัวตังแต่ 3 ตัวขึนไป สี ของลําตัวจะคล้าย
กับสี ของใบไม้ทีระดับความสู งเหนือเรื อนยอด
งูแมมบาสี ดาํ ( Black mamba ) เป็ นงูมีพิษทีมีขนาดใหญ่ทีสุ ดในทวีปแอฟริ กา มักพบใน
พืนทีโล่ง เมือโตเต็มความยาวลําตัวประมาณ 4.3 เมตร และเมือกัดเหยือก็จะตาย
งูไวเปอร์ ( Viper ) กลุ่มงูเขียวหางไหม้ งู Lance - head vipers มีการกระจายพันธุ์ในป่ า
เขตร้อนของทวีปอเมริ กาใต้ ลักษณะเกล็ดมีสีผิวเป็ นมันเงาและลวดลายสวยงาม The eyelash
viper มีความยาวของลําตัวที 0.6 เมตร สัตว์ทีงูชนิดนีล่าเป็ นอาหาร เช่น กบ กิงก่า เป็ นอาหาร
เป็ นงูทีมีพิษเหมือนกับงูบวั แต่ความรุ นแรงของพิษไม่ถึงระดับทีจะทําให้เสี ยชีวิต นอกจากนันงู
ชนิดนียังสามารถเลือยไปมาตามต้นไม้ได้ดี
39

งูในกลุ่มทีเรี ยกว่า fer-de-lance ( subfamily crotalinae, family Viperidae คําว่า lance จะ


บอกถึงงูทีมีลกั ษณะของหัวคล้ายใบหอก ( อาวุธ ) ) เป็ นงูพิษทีมีความยาวลําตัวได้ถึงประมาณ 2.5
เมตร มีการกระจายพันธุท์ วไปในทวีั ปอเมริ กากลางและอเมริ กาใต้ มีพิษร้ายแรง โดยนําพิษอยูใ่ น
ชนิดทีทําลายเนือเยือและทําให้เกิดเลือดออกภายในร่ างกาย สี ของเกล็ดในงูกลุ่มทีอยูบ่ นต้นไม้จะ
เป็ นสี เขียว ส่ วนกลุ่มทีอยูท่ ีพืนป่ าจะเป็ นสี ขีดสี นาตาลซึ
ํ งจะกลมกลืนกับพืนดินเมือขดตัวกับพืนดิน
ในส่วนทีมีใบไม้แห้งเพือซุ่ มรอกัดเหยือ

ภาพ 2.25 ( ซ้ าย ) Eyelash vipers จะเหมือนกับงูไวเปอร์ ชนิดอืนๆ ทีจะขับนําพิษผ่านเขียว


เพือจะปล่อยสูเ่ หยือเมือกัด กระบวนการทังหมดต้ องการการพัฒนากล้ ามเนือบริ เวณหัว เมือ
กล้ ามเนือรวมกับต่อมพิษ ทําให้ ลกั ษณะของงูกลุม่ นีจะมีลกั ษณะของหัวเป็ นรู ปสามเหลียม
ภาพ 2.26 ( ขวา ) The Green mamba ในรู ปแสดงงูกําลังลอกคราบ ซึงงูจะมีการลอกคราบ
เป็ นช่วงๆ ผิวหนังเก่าจะหลุดลอกออกไปและจะมีผิวหนังใหม่ก็จะเจริ ญขึนมาทดแทน

กิงก่า ( Lizard )
จัดได้วา่ เป็ นสัตว์เลือยคลานทีมนุษย์รู้จกั คุน้ เคย เป็ นสัตว์เลือดเย็น ( cold blooded animals
หรื อ ectotherms ) โดยในอุณหภูมิในร่ างกายจะมีการผันแปรตามสิ งแวดล้อม เป็ นสัตว์ทีมี
ประสาทสัมผัสไว ใช้ลินที สามารถยืดหดกลับได้เพือตรวจหาอาหาร ใช้การรับรู ้การสันสะเทือน
ของร่ างกายเพือรับรู ้การมาของศัตรู ใช้การรับรู ้กลินเพือแยกแยะว่าใช่หรื อไม่ใช่คู่ผสมพันธุ์ที
เหมาะสม สิ งทีเหมือนกับงูคือมีการวางไข่ หรื อออกลูกเป็ นตัว
อีกวั นา ( Iguana ) มีอยูด่ ว้ ยกันหลายชนิ ดทังชนิ ดทีดํารงชีวิตบนพืนดินและอยู่บนต้นไม้ มี
การกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริ กาใต้และกลาง อีกวั นาเขียว ( Green iguna ) หรื ออีกชือหนึงคือ อีกวั
นาอเมริ กาใต้ ( South American Iguna ) เป็ นอีกวั นาทีใหญ่ทีสุดทีอาจยาวถึง 2 เมตร ทีฝ่ าเท้าจะมี
ลักษณะที เรี ยกว่า ridged feet ทีช่วยในการปี นต้นไม้ การป้ องกันตัวโดยการกัดอย่างแรงและใช้
หางฟาด การขยายพันธุ์โดยการวางไข่ โดยวางไข่ประมาณ 40 ฟองต่อหนึ งหลุม
40

ภาพที 2.27 อีกวั น่าเขียว มีลกั ษณะที


คล้ ายกับสัตว์ชนิดอืนๆ ทีมีถินทีอยู่ในลุม่
นําอะเมซอน จะมีลกั ษณะเกล็ดหนาม
แหลม( crest scale ) โดยตลอดความ
ยาวของลําตัว ตังแต่คอไปจนถึงโคนหาง
เป็ นสัตว์ทีเคลือนไหวได้ อย่างรวดเร็วบน
ต้ นไม้
ตุ๊กแก ( Gecko ) มีอยู่มากกว่า 600 ชนิดทีดํารงชีวิตในป่ าเขตร้อน ตุ๊กแกเป็ นสัตว์ทีกิน
แมลงเป็ นอาหาร เหมือนกับกิงก่า ( lizard ) เมือหางทีขาดไปสามารถงอกใหม่ได้ หากเกิดอาการ
ตกใจสามารถสลัดหางและงอกใหม่ได้ ทีฝ่ าเท้าแต่ละข้างของตุ๊กแกจะมีขนขนาดเล็กมากประมาณ
10 ล้านเส้นทีเรี ยกว่า setae ทําให้ตุ๊กแกสามารถเดินเกาะผนังได้ดี สามารถบังคับให้เกล็ดตังขึนได้
เมืออยู่ในสภาวะทีต้องเชิญกับอันตรายผิวหนังจะกลมกลืนไปกับสิ งแวดล้อมและสามารถอยูน่ ิ งได้
เพือไม่ให้ศตั รู รู้ตาํ แหน่ง

ภาพที 2.28 (ล่าง ) การสือสารของตุ๊กแกจะมีเสียงในหลายแบบจากเสียงแบบคลิบ( chirp ,เสียง


แหลมสัน )ไปถึงเสียงแบบคลิก ( click ) ลักษณะจําเพาะของเสียงตุ๊กแก( to – kay ) ได้ กลายเป็ น
ชือของสัตว์ชนิดนี โดยมีการกระจายพันธุ์ในบริ เวณเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฟิ ลิบปิ นส์
อินโดนีเซีย
คามีเลียน ( Chameleons ) เป็ นสัตว์เลือยคลานทีสามารถเปลียนสี ของผิวหนังได้ตามความ
ร้อน แสงหรื อการคุกคามจากสัตว์ผลู ้ ่า ลักษณะของนิ วเท้าของคามิเลียนที เหมือนกับนกแก้วคือมี
นิวทีเรี ยกว่า zygodactyls คือนิ วเท้าทียืนมาด้านหน้า 2 นิวและด้านหลัง 2 นิว มีลกั ษณะที
เหมือนกับสัตว์หลายชนิดทีดํารงชีวิตในป่ าเขตร้อนทีมีหางสามารถยึดเกาะได้ ( prehensile tail )
41

อาหารคือแมลงหลากชนิ ดและแมงมุม มีคามีเลียนบางชนิดทีมีขนาดใหญ่สามารถล่านกและสัตว์


เลียงลูกด้วยนมขนาดเล็กเป็ นอาหาร

ภาพที 2.29 คามีเลียน จะมีดวงตาในลักษณะทีเรี ยกว่า ไบนอคคูลา ( binocular ) หมายถึง


ดวงตาทีอยู่ด้านหน้ าของกะโหลก ดวงตาสองข้ างจะช่วยกันในการหาจุดคมชัด ตาจะสามารถ
หมุนย้ ายไปมาได้ อย่างอิสระ ดวงตาข้ างหนึงยืนไปข้ างหน้ าและอีกดวงหนึงยืนไปด้ านข้ าง

กบและเขียด (Frog and toads)


ภาพที 2.30 ( ซ้ าย ) กบศรพิษสีนํา
เงินและ ภาพที 2.31 (ขวา ) กบศร
พิษสีเขียว ซึงเป็ นกบในจํานวน 116
ชนิดของกบศรพิษและมีบางชนิดอยู่
ในสภาวะใกล้ สญ ู พันธุ์

กบและเขียดมีจาํ นวนชนิดกว่า 2,600 ชนิดซึ งจัดเป็ นกลุ่มทีมีจาํ นวนชนิ ดทีมากทีสุดในกลุ่ม


ของสัตว์สะเทินนําสะเทินบก ( amphibian ) ซึ งนักอนุกรมวิธานจัดให้อยู่ในชันแอมฟิ เบีย ( class
amphibia ) เป็ นสัตว์เลือดเย็นเหมือนกับสัตว์เลือยคลาน แตกต่างจากสัตว์เลือยคลานคือ มีผิวหนัง
ทีอ่อนนุ่ม ชุ่มชื นแทนที จะเป็ นเกล็ด โดยสัตว์กลุ่มนี สามารถหลังนําเมือกจากต่อมทีอยูท่ ีผิวหนัง
ซึงส่วนใหญ่เมือกทีผิวหนังจะไม่เป็ นพิษ ยกเว้นกบศรพิษ ( Poison – narrow frogs) และเขียด
ทะเล ( marine toads ) ของป่ าเขตร้อนในทวีปอเมริ กาใต้และกลาง
กบศรพิษ (Poison – narrow frogs) มีขนาดเล็กและสี สันสดใสเพือเป็ นการเตือนสัตว์ผลู ้ า่ คน
พืนเมืองในอเมริ กาใต้จะใช้พิษจากกบศรพิษบางชนิดมาเป็ นพิษทีอยูบ่ นหัวลูกดอกแบบเป่ า กบ
42

ชนิดนีจะแสดงพฤติกรรมข่มขู่กา้ วร้าวไม่เพียงกับกบชนิดอืน แต่ยงั แสดงพฤติกรรมแบบนีกับกบที


อยูใ่ นกลุ่มของตัวเองด้วย
เขียดทะเล (Marine Toads) เป็ นเขียดทีมีขนาดใหญ่ทีสุด พิษของเขียดจะถูกสลัดจากต่อมทีอยู่
หลังหัวไปยังสัตว์ผลู้ ่า ซึ งจะทําให้เกิดอาการปวด และตายได้

ภาพที 2.32 สี พืนบนลําตัวของเสื อลายเมฆเป็ นสี นาตาลอ่


ํ อน ส่ วนลายและจุดเป็ นสี ดาํ ซึ งลักษณะ
ดังกล่าวจะช่วยในการพรางตัวในบริ เวณใต้ร่มเงาของป่ าทึบของป่ าเขตร้อน เสื อชนิดนีเมือเกิดใหม่
จะมีลายตามลําตัวเป็ นเส้นสี ดาํ

เสือขนาดใหญ่ ทีดํารงชีวติ บนพืนป่ าและบนต้นไม้ในระดับใต้เรื อนยอด ( Big Cat in the


Canopy in the forest floor )
เสื อและแมวเป็ นสัตว์ในอันดับสัตว์ผลู ้ า่ ( order carnivore ) ทีดํารงชีวิตในพืนทีแบบป่ าและ
ทุ่งหญ้า ลักษณะร่ างกายของเสื อและแมว เช่น ขากรรไกรของกระโหลกทีแข็งแรง วิงได้เร็ วและมี
พฤติกรรมการซ่อนพรางตัวและค่อยๆ เคลือนที เข้าหาเหยือ ปัจจัยทีกล่าวมานีจะช่วยในการล่าเหยือ
เสื อขนาดใหญ่หลายชนิ ดเป็ นสัตว์กินเนือซึ งจัดเป็ นสัตว์ทีอยูใ่ นจุดสู งสุ ดของห่ วงโซ่อาหารภายใน
ป่ าเขตร้อน ห่วงโซ่อาหาร ( food chain ) จะเป็ นการส่ งผ่านพลังงานจากสิ งมีชีวิตหนึ งไปยังอีก
สิ งมีชีวิตหนึ งในระบบนิเวศน์
เสื อขนาดใหญ่ทีล่าสัตว์อืนเป็ นอาหารจะมีประสาทการฟังและการเห็นทีดี ทีเหมือนกับ
แมวบ้านทีสามารถปรับการเห็นได้ดีทงกลางวั ั นและกลางคืน สี สนั บนลําตัวจะช่วยในการพรางตัว
ในปัจจุบนั เสื อขนาดใหญ่มีจาํ นวนลดลงเนื องจากสาเหตุ พืนทีป่ าถูกทําลายลงเพือใช้เป็ นพืนทีทํา
การเกษตรกรรม
43

เสือลายเมฆ ( clouded leopard ) ทีมีการกระจายพันธุ์ในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉี ยง


ใต้ ซึ งมีพฤติกรรมการซ่อนตัวบนกิงไม้ ก่อนทีจะกระโดดลงมาตะครุ บเหยือ เป็ นเสื ออีกชนิดหนึ ง
ทีจะมีจาํ นวนในป่ าธรรมชาติลดลงจนอยูใ่ นระดับใกล้สูญพันธุ์

เสือจากัวร์ คําว่า jaguar มีความหมาย


ว่า กระโดดแล้วฆ่า ซึงเป็ นคําในภาษา
ของชาวพืนเมืองในลุ่มนําอเมซอน คํา
บรรยายเพิ มเติ ม ความสําเร็จของการ
ล่าเหยือจะเกิ ดขึนในการกระโดดครัง
แรก โดยเสือจากัวร์จะกระโดดจากที
สูงเช่นกิ งไม้ ที จะมีผลให้เหยือหลังหัก

ภาพที 51 เสือจากัวร์ จะทําเสียงจากจมูก


( grunt ) ในช่วงการล่าเหยือ ทําเสียง
คําราม ( growl ) ในช่วงทีตกใจหรื อถูกทํา
ร้ าย เสือจากัวร์ ตวั ผู้จะมีเสียงร้ องแบบแมว
( mew ) ทีนุ่มนวลขึนในช่วงฤดูผสมพันธุ์
เสือจากัวร์ จะแตกต่างจากสิงโตทีไม่มีการ
คําราม (roar)
เสือจากัวร์ ( Jagur ) เมือมองอย่างผ่านๆ เสื อจากัวร์จะคล้ายกับเสื อดาว แต่ขนาดลําตัว
ใหญ่กว่า ลําตัวบึกบึนมีกล้ามเนือมากกว่า หัวใหญ่กว่า หางทีสันกว่า นําหนักอาจมากถึง 120
กิโลกรัมในขณะทีเสื อดาวจะหนักเต็มทีไม่เกิน 70 กิโลกรัม สี พืนลําตัวของเสื อจากัวร์จะเป็ นสี
เหลืองและมีจุดสี ดาํ เป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตอยู่ตวั เดียว มีการประกาศอาณาเขตและมีพฤติกรรม
ก้าวร้าวกับเสื อจากัวร์ตวั อืนๆ
เสื อจากัวร์จะดํารงชีวิตในพืนทีมีป่าแน่นทึบห่างจากชุมชนของมนุษย์ ในเขตป่ าดิบชืนของ
ลุ่มนําอะเมซอน เสื อจากัวร์จะล่าเหยือในเวลากลางวัน แต่ในพืนทีใกล้กบั บ้านเรื อนคนจะออกล่า
เหยือในเวลากลางคืน จะเหมือนกับเสื อดาวที ใช้เวลาส่ วนใหญ่อยูบ่ นต้นไม้ แต่ล่าเหยือทีพืนดิน
ว่ายนําได้เก่งและอาศัยในบริ เวณทีใกล้แหล่งนํา สัตว์ทีล่าเป็ นอาหาร เช่น หมูป่า สมเสร็ จ ลิง
หลายชนิด สัตว์เลือยคลานหลายชนิดและปลา ปั จจุบนั จํานวนของเสื อจากัวร์ลดลงมากจากการถูก
ล่าจนใกล้สูญพันธุ์ มีการกระจายพันธุ์ในบริ เวณทวีปอเมริ กาใต้และกลาง
44

ภาพที 2.33 เสือโคร่ งจะคล้ ายกับเสือจากัวร์ ทีอาศัยอยู่ใกล้


แหล่งนํา สามารถว่ายนําได้ ไกล 29 กม.
ภาพที 2.34 เสือโคร่ งขาวเบงกอล เกิดจากการเปลียนแปลง
ของยีนส์ (mutation) โดยจะมีสีพืนลําตัวขาว เส้ นลายลําตัวสี
ดํา ตาสีฟ้า
เสื อโคร่ งมีการกระจายพันธุ์ในอินเดีย จีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เสื อโคร่ งอินเดียตัว
ผูจ้ ะมีนาหนั
ํ กถึง 260 กิโลกรัม เสื อโคร่ งเพศผูส้ ุ มาตราจะมีนาหนั ํ กน้อยกว่าประมาณ 180
กิโลกรัม สามารถปรับตัวให้เข้ากับพืนทีในหลายลักษณะ เช่น ป่ าเบญจพรรณ ป่ าดิบชืน ทุ่งหญ้า
ภูเขา เนืองจากเป็ นสัตว์ทีมีนาหนั
ํ กมากจึ งใช้เวลาส่ วนใหญ่บนพืนดิน
เสื อโคร่ งจะมีการประกาศอาณาเขตโดยการถ่ายปัสสาวะและออกล่าเหยือในอาณาเขตของ
ตัวเอง เป็ นสัตว์ทีดํารงชี วิตอยูต่ วั เดียว สัตว์ทีล่าจะเป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ เช่น หมูป่า
กวาง กระทิง ระยะตังท้องของเสื อโคร่ งประมาณ 3 เดือนครึ ง ออกลูกครังละ 2-3 ตัว หรื อ
บางครังอาจถึง 6 ตัว อายุขยั ประมาณ 26 ปี
ในประเทศอินเดียมีรายงานทีมนุษย์ถกู เสื อทําร้ายและกินเป็ นอาหารประมาณ 36 คนต่อปี
ในช่วง 200 ปี ทีผ่านมาเสื อโคร่ งเป็ นสัตว์ทีถูกล่าเนื องจากทําร้ายมนุษย์ และหนังของเสื อโคร่ งที มี
ความสวยงาม ในปี พ.ศ. 2463 ได้มีการประมาณว่าประชากรของเสื อโคร่ งทีมีในโลกมีประมาณ
10,000 ตัว และในปี พ.ศ 2513 มีการคาดการณ์วา่ เสื อโคร่ งลดลงเหลือ 4,000 ตัว ในช่วงปี พ.ศ
2533 - 2542 ประชากรของเสื อเพิมเป็ น 8,000 ตัว เนืองจากมีประชากรของเสื อทีเพิมขึนในสวน
สัตว์ทวโลก

สั ตว์ ทีอาศัยอยู่บนพืนดินของป่ า ( Animais of the Forest Floor )


บนพืนตําสุ ดของป่ าคือ พืนดิน เป็ นพืนทีทีมีลมพัดผ่านน้อย อากาศจะร้อนอบอ้าวและมี
ความชืนมากกว่าพืนทีในระดับความสูงชันใต้เรื อนยอด สัตว์ทีพบในพืนทีส่วนนี เช่น เสื อโอ
ซีลอ็ ต ( ocelots ) ลิงแมนดริ ล ( mandrill ) ลิงบาบูน มดและแมลงปี กแข็งนานาชนิด มีพืชบาง
45

ชนิดสามารถขึนได้ในบริ เวณนีถึงแม้จะมีแสงน้อย ซึ งแตกต่างจากป่ าในทวีปอเมริ กาเหนือทีพืนป่ า


จะมีอุณหภูมิหนาวเย็น ทีทําให้อตั ราการย่อยสลายของสิ งทีย่อยได้เป็ นไปได้ชา้ ในป่ าเขตร้อนจะมี
ชันบางๆ ของชันดินทีเกิดจากการย่อยสลายของพืชและสัตว์ทีเกิดจากใบไม้ทีร่ วงหล่น รวมทังซาก
สัตว์และวัตถุอืนทีสามารถย่อยสลายได้อย่างรวดเร็ วจากเชือรา แมลง ซึ งจะเกิดเป็ นธาตุอาหารทีจะ
ทําให้พืชเติบโตอย่างรวดเร็ ว

ภาพที 2.35 มดกัดใบไม้ ( Leaf – cutter


ants ) กําลังขนใบไม้ กลับรังเพือเก็บ
สะสมไว้ เมือมีเชือราเจริ ญบนใบไม้
มดจะกินเชือราเป็ นอาหาร ซึงอาหาร
ชนิดนีจะช่วยให้ มดสามารถดํารงชีวิต
อยู่ในบริ เวณพืนดินของป่ าได้

ต้นไม้ในป่ าเขตร้อนจะมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับลักษณะชันดิน โดยต้นไม้ยืนต้นบาง


ชนิดจะมีลกั ษณะรากตืนและรากสาขาทีมีขนาดเล็ก เพือดูดซึ มเอานําและเกลือในชันผิวหน้าดินให้
ได้มากทีสุ ด แต่ลกั ษณะรากดังกล่าวจะไม่ลึกพอทีจะยึดเกาะให้ลาํ ต้นมันคงกับพืนดินได้ เมือถึง
อายุทีโตเต็มทีแล้วจะมีการสร้างรากคําจุนทีเรี ยกว่า buttresses หรื อ prop root

ภาพที 2.36 ลิงแมนดริ ลเพศผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าลิงแมนดริลเพศเมีย และลิงแมนดริ ลทัง 2


เพศ จะมีสนั ของปากทียืนยาวออกมา แต่มีเฉพาะเพศผู้เท่านันทีด้ านข้ างของสันปากจะเป็ นสีนํา
เงิน และสีสนั ในบริเวณดังกล่าวจะช่วยในการดึงดูดตัวเมีย
46

สั ตว์ กนิ ใบไม้ ทีอาศัยบนพืนดินของป่ าเขตร้ อน ( Browser on the Tropical Forest Floor )
โอกาปิ ( Okapi ) เป็ นสัตว์ทีมีจาํ นวนน้อยทีสุ ดทีอยู่ในป่ าเขตร้อนของทวีปแอฟริ กา เป็ น
สัตว์เท้ากีบทีมีสายสัมพันธ์เกียวเนืองกับยีราฟ เป็ นสัตว์เฉพาะถินทีพบในป่ าดิบชืนอิตูริ ซึงตังอยู่
ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรับประชาธิ ปไตยคองโกในแอฟริ กากลาง มีความสูงช่วง
ไหล่ 1.5 ม. มีคอจะยาวกว่าม้าเล็กน้อย สี ขนตามลําตัวจะเป็ นสี ม่วง-ดํา ทีสะโพกและขาทัง 4
ข้างจะมีแถบขาวดํา เป็ นสัตว์ทีมีลินยาวช่วยให้เก็บกินใบไม้ ยอดไม้อ่อน กิงไม้และสามารถใช้ลิน
ตวัดทําความสะอาดที เปลือกตาได้ เป็ นสัตว์ทีอยู่ตามลําพัง อยูเ่ ป็ นคู่หรื อเป็ นครอบครัวขนาดเล็ก
ซึงนักธรรมชาติวิทยาตะวันตกเริ มรู ้จกั โอกาปิ ครังแรกเมือปี พ.ศ. 2444 โดยมีการนําซากโอกาปิ ก
มาทียุโรปโดยผูส้ าํ เร็ จราชการแห่งจักรวรรดิองั กฤษเซอร์เฮนรี จอนห์สตัน โอกาปิ อยู่ในแผนการ
อนุรักษ์สตั ว์ซึงดําเนิ นการโดยสวนสัตว์อิรินอยด์ บรู คฟิ ลด์ ซึ งได้รับการสนับสนุนจาก Chicago
Zoological Society

ภาพที 2.37 ทีส่วนแสดงโอกาปิ ทีสวน


สัตว์ San Diego Zoo ต้ องการสร้ าง
ร่ มเงาแก่สตั ว์ในส่วนแสดงและเพือ
ความสวยงาม แต่ต้องมีการปกป้อง
การกัดกินเปลือกไม้ ไว้ ด้วย

สมเสร็จ ( Tapir )
เป็ นสัตว์ทีมีการกระจายพันธุ์ในป่ าเขตร้อนของทวีปเอเชียและอเมริ กา เป็ นสัตว์ทีรู ปร่ าง
ค่อนข้างอ้วน ความสูงช่วงไหล่ 0.8 – 1.2 เมตร ขนตามลําตัวสันแข็งและมีจมูกทียืนยาว เป็ นสัตว์
ทีดํารงชีวิตตัวเดียว อาหารคือ ใบไม้ ยอดไม้อ่อนและกิงไม้ ตอนกลางวันจะหลบนอนในป่ า หา
กินในเวลากลางคืนในบริ เวณทุ่งหญ้าหรื อบริ เวณทีเป็ นพุ่มไม้ อาศัยอยูใ่ กล้แหล่งนํา ว่ายนําเก่ง ลูก
ของสมเสร็ จจะมีลายตามลําตัวคล้ายแตงไทซึ งสี สนั จะแตกต่างจากสี ของพืนป่ า
47

ภาพที 2.38 สมเสร็ จมลายู ( Malayan Tapir ) มีขนสีดําทีบริ เวณหัว ขาหน้ าและขาหลัง
ส่วนกลางลําตัวเป็ นสีขาว ถ้ าสมเสร็จยืนนิงในเวลากลางคืนจะดูคล้ ายก้ อนหิน จะสร้ างความ
สงสัยให้ กบั สัตว์ผ้ ลู า่ ลักษณะลําตัวของผสมเสร็จทีเรี ยวยาวจะช่วยให้ การหลบหนีศตั รูในป่ าทึบ
ทําได้ ดีขึน

Baird’s Tapir
เป็ นสัตว์กินพืชทีใหญ่ทีสุ ดในป่ าเขตร้อนของทวีปอเมริ กา สิ งทีน่าสนใจคือ กลไกของ
ร่ างกายสัตว์ชนิดนีสามารถทนทานต่อสารพิษทีมีในพืชได้หลายชนิดทีขึนในป่ าดิบชื น ซึ งสัตว์
ชนิดนีจะกินพืชหลากชนิ ดแต่ในปริ มาณเล็กน้อย โดยจะไม่กินพืชชนิ ดหนึ งชนิดใดมากเกินไป ทํา
ให้ร่างกายสามารถทนทานกับสารพิษชนิดนันได้เนื องจากรับสารเข้าไปในปริ มาณน้อย
หมูเพ็คคารี ( Peccaries )
เป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมขนาดใหญ่ ทีมีถินทีอยู่ในป่ าเขตร้อนของทวีปอเมริ กากลางและ
อเมริ กาใต้ เป็ นหมูป่าทีมีลกั ษณะคอใหญ่ ขาเล็ก กีบเท้าเล็ก ผิวหนังหยาบขนเส้นใหญ่ ออกหา
กินในช่วงเวลากลางคืน ซึ งมีอากาศเย็นสบาย อาหารทีสัตว์ชนิ ดนี กิน เช่นผลไม้ รากไม้ พืชกิน
หัวและแมลง มีกล้ามเนื อกรามทีแข็งแรง มีจมูกทีรับกลินได้ดีเพือหาพืชกินหัวที อยู่ใต้ดิน
เป็ นสัตว์ทีวิงได้เร็ ว สัตว์ทีชอบล่าหมูป่าชนิดนีเป็ นอาหาร เช่น เสื อจากัวร์ ลูกของหมูป่า
ชนิดนีจะวิงได้ภายในเวลา 1 วันหลังเกิด จะแตกต่างกันไปตามชนิดย่อย บางชนิดอยูร่ ่ วมกัน
ประมาณ 10 ตัว บางชนิดอยูร่ มกันเป็ น 100 ตัว
48

ภาพที 2.39 หมูป่าแพคคารี


คอลราล์ดจะดํารงชีวิตใน
ลักษณะของสัตว์ฝูงโดยมี
จํานวนสมาชิกในฝูง 15 – 50
ตัว เมือมีสตั ว์ผ้ ลู า่ เข้ ามาล่า
สมาชิกของฝูงจะแตกหนีไปคน
ละทิศทาง ซึงมีบางครังในการ
ถูกล่าจะมีตวั หนึงตัวใดต้ อง
เผชิญหน้ ากับสัตว์ผ้ ลู ่าเพือให้ ตวั
อืนๆ มีโอกาสหนีไปได้

สัตว์ กนิ พืชทีมีขนาดใหญ่ ทสุี ด ( The largest Herbivores )

ภาพที 2.40 ในป่ าลูกของกอลิลาร์ ประมาณร้ อยละ 40 จะตายก่อนอายุ 3 ปี หนึงในสีของลูก


กอลิลาร์ จะถูกทําให้ ตายจากกอลิลาร์ เพศผู้ทไม่
ี ใช่พ่อของตัวเอง ร้ อยละ 80 ของลูกกอลิลาร์ ที
เกิดในสวนสัตว์จะมีชีวิตรอด

ลิงกอลิลาร์เป็ นลิงทีมีขนาดใหญทีสุ ดและช้างแอฟริ กาเป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมที มีขนาด


ใหญ่ทีสุ ดทีดํารงชีวิตอยูบ่ นบก สัตว์ทีมีขนาดใหญ่ทงั 2 ชนิดกินพืชเป็ นอาหาร สัตว์ขนาดใหญ่
49

และกินพืชเป็ นอาหารนันจะมีอตั ราการเมทาบอลิซึมทีช้าลง เพือให้เกิดความสัมพันธ์ทีเหมาะสม


ให้มีพลังงานอย่างเพียงพอจากอาหารทีเป็ นพืช
กอลิลาร์ ( Gorillar ) กอลิลาร์อาศัยอยู่ในป่ าหลายลักษณะหรื อบนทีโล่งของภูเขาซึ งเป็ น
บริ เวณทีมีพืชอาหารในระดับพืนดินอย่างอุดมสมบูรณ์ ถินทีอยูท่ ีมีกอลิลาร์อยู่หนาแน่นทีสุ ดจะ
เป็ นบริ เวณตอนกลางของทวีปแอฟริ กา โดยมีจาํ นวนประมาณ 50,000 ตัว
พฤติกรรมมากกว่าครึ งหนึ งในแต่ละวันจะใช้ไปกับการกินอาหาร ตัวอย่างของอาหารเช่น
ผักชีป่า ( wild celery ) หน่ อไม้ เฟิ ร์น ซึ งอาหารทีกินกอลิล่าจะระวังการกินพืชที มีสารพิษ โดย
จะกินผลไม้ในปริ มาณไม่มากนักและไม่กินเนื อสัตว์
กอลิลาร์ตวั ผูจ้ ะมีนาหนั
ํ ก 160 – 180 กิโลกรัม ตัวเมียจะมีขนาดของร่ างกายครึ งหนึ งของ
เพศผู้ ดังนันการปี นต้นไม้จึงทําด้วยความระมัดระวัง กอลิลาร์จะเหมือนกับลิงอุรังอุตงั คือ จะใช้
ใบและกิงไม้ในการสร้างรังนอนบนพืน แต่ก็มีในบางพืนทีกอลิลาร์ จะสร้างรังนอนบนต้นไม้ เป็ น
ลิงทีไม่สามารถว่ายนําได้ ดังนันส่ วนแสดงสัตว์กอลิลาร์จึงใช้แนวกันสัตว์แบบคูนาจึ ํ งเป็ นวิธีการที
ได้ผลในการกักลิงกอลิลาร์
กอลิลาร์เป็ นสัตว์สังคมทีมีอยูใ่ นฝูงตังแต่ 2 ตัวถึง 20 ตัว โดยจะมีผนู ้ าํ ฝูงเป็ นตัวผู ้ ตัวผู ้
จ่าฝูงจะเป็ นผูค้ วบคุมการเคลือนทีของฝูง และปกป้ องสมาชิกในฝูงโดยเฉพาะอย่างยิงตัวเมียที มีลูก
อ่อน ซึ งมักจะอยูใ่ กล้ๆกับจ่าฝูง ฝูงของกอลิลาร์จะมีลกั ษณะทีเรี ยกว่า ฮาเร็ ม ( harem ) โดยจ่าฝูง
จะผสมกับตัวเมียทุกตัวยกเว้นลูกสาวของตัวเอง

ภาพที 2.41 ( ซ้ าย ) กอลิลาร์ จะมีใบหูเล็ก จมูกบานออกและมีรูจมูกใหญ่ ภาพที 2.42( ขวา )


กอลิลาร์ ตวั ผู้ชนิดทีเรี ยกว่า the lowland silver back จะมีลกั ษณะกระโหลกด้ านบนจะนูนสูงขึน
กอลิลาร์ จะมีกล้ ามเนือทีกรามแข็งแรงทีจะใช้ ในการเคียวพืชอาหารจํานวนมาก
แขนของกอลิ ลาร์จะเหมือนแขนของมนุษย์ กอลิ ลาร์จะหยิ บและเคลือนวัตถุ
ได้อย่างง่ายสะดวก
50

ตัวผูท้ ีอยู่ในช่วงอายุเข้าวัยสมบูรณ์พนั ธุ์จะเรี ยกว่า หลังเงิน (Silverback) เนื องจากขนสี เทา


จะเริ มปรากฏให้เห็นเมือตัวผูม้ ีอายุได้ 12 ปี ซึ งเป็ นสิ งที แสดงถึงช่วงอายุทีจะเข้าสู่ อาํ นาจ กอลิ
ลาร์ทีมีลกั ษณะหลังเงินจะมีการต่อสูก้ นั ซึ งจะมีเพียง 1 ตัวเท่านันทีจะมีอาํ นาจทีจะครอบครองฝูง
เมือกอลิล่าเกิดความรู้สึกว่าโดนคุกคามจะเริ มแสดงอาการกรี ดร้อง ทุบทีหน้าอกและขว้าง
กิงไม้และใบไม้ กอลิลาร์โดยปกติจะไม่ทาํ ร้ายคนถึงแม้ว่ากอลิลาร์จะมีความรู ้สึกว่าตัวเองกําลังอยู่
ในอันตราย แต่จะวิงหนีไป กอลิลาร์ส่วนใหญ่จะขีอายและเป็ นสัตว์ทีไม่ทาํ ร้ายสัตว์ชนิ ดอืน
นกยูง ( Peacock )

ในป่ าธรรมชาตินกยูงจะอาศัยอยู่ในป่ าเขตร้อนของอินเดียและศรี ลงั กา คําว่า Peacock


มักจะกล่าวถึงนกยูงทัวไปทัง 2 เพศ แต่ถา้ จะกล่าวให้ถูกต้องแล้วจะหมายถึง นกยูงตัวผู ้ โดยทีนกยูง
ตัวเมียจะใช้คาํ ว่า peahens นกยูงจะเป็ นสมาชิ กหนึ งของวงศ์ไก่ฟ้า ( pheasant family )
โดยทัวไปนกยูงจะดํารงชีวิตในระดับพืนดิน แต่นกยูงเป็ นนกทีมีปีกแข็งแรงสามารถบิน
จากระดับพืนดินขึนไปยังบนยอดของต้นไม้ในป่ าเบญจพรรณได้ นกยูงจะอยูร่ วมกันเป็ นกลุ่มเล็กๆ
และอาหารของนกยูงเช่น เมล็ดพืช ส่ วนต่างๆของพืช สัตว์เลียงลูกด้วยนมขนาดเล็ก เช่น หนู
นกยูงตัวผูจ้ ะเหมือนกับนกเพศผูช้ นิ ดอืนๆใน วงศ์ไก่ฟ้า ทีมีขนสวยงามเพือดึงดูดนกเพศ
เมีย เป็ นเรื องปกติทีนกยูงจะมีขนส่ วนหางทียาวจํานวน 150 – 200 เส้น ขนคลุมขนหางด้านบน (
the upper tail covert ) โดยในขนแต่ละเส้นจะมีสีสันและมี iridescent design ซึ งดูคล้ายกับ
ดวงตา เฉพาะตัวผูเ้ ท่านันทีมีขนคลุมหางด้านบน
51

ในช่วงฤดูกาลผสมพันธุ์ตวั ผูจ้ ะสํารวจหาอาณาเขตใหม่ นกยูงเพศผูจ้ ะยกขนหางขึนเป็ นรู ป


ครึ งวงกลม และส่ งเสี ยงร้อง ตัวผูจ้ ะแสดงการเต้นรํารอบๆ ฝูงของนกยูงเพศเมียโดยการรําแพน
หางและสันขน ซึ งจะทําให้เกิดเสี ยงจากหางขึน สิ งทีได้เห็นและเสี ยงทีได้ยินของการเคลือนไหว
หางทีมีสีสันจะเป็ นการดึงดูดนกยูงเพศเมียเข้ามาหาตัวผู้ เพือผสมพันธุ์ ภายหลังการผสมพันธุ์ตวั
เมียจะกลับมาทีรังทีสร้างไว้ในพืนป่ า
นกในป่ าเขตร้ อน ( Birds of Tropical Forest )

ภาพที 2.43 ( ซ้ าย ) นกแก้ ว The blue-crowned hanging parrot จะมีสว่ นปลายของส่วนลินที


จะแตะดูดนําหวานและละอองเกสรจากดอกไม้ ภาพที 2.46 (ขวา ) นกแก้ ว the red –
collared lories จะมีสีสดใสและเป็ นนกแก้ วทีส่งเสียงดัง ภาพที 2.47 ( ล่าง ) นกแก้ วมาคอร์ สี
นําเงินเหลือง โดยส่วนหางของนกชนิดนีจะเจริ ญจนกระทังมีความยาว 2 ใน 3 ของความยาว
โดยรวมของนก
นกแก้วขนาดใหญ่ หลายชนิดจะบินได้ ไม่เร็วนัก แต่ยกเว้นสําหรับนกแก้วมาคอร์จะสามารถ
บินได้อย่างรวดเร็ว ถึงแม้วา่ นกแก้วส่ วนใหญ่เป็ นนกทีบินเก่ง นกแก้วก็ยงั เป็ นนกทีใช้จะงอยปาก
เพือช่วยในการปี นป่ าย ไปตามกิงไม้ได้อย่างคล่องแคล่ว ซึ งมักใช้เพือการเคลือนทีจากกิงไม้หนึ ง
ไปสู่กิงไม้อืนเพือหาผลไม้กินเป็ นอาหาร
นกแก้วจะมีนิวเท้าในลักษณะทีเรี ยกว่า zygodactyl feet ในการเกาะกิงไม้จะใช้นิวเท้า 2
นิวชีมาทางด้านหน้าและอีก 2 นิวชีมาทางด้านหลัง ด้วยลักษณะดังกล่าวทําให้นกแก้วมี
ความสามารถในการใช้เล็บเท้าในการหยิบจับได้มากกว่านกชนิ ดอืนๆ นกแก้วจะใช้กรงเล็บหยิบ
จับอาหารและใช้จะงอยปากจิกกินอาหารได้
นกแก้วโลรี ( Lories ) และนกแก้วโลรี คีต ( Lorikeet ) ซึ งมีขนาดเล็กและสี สันสดใส จะ
กินเกสรดอกไม้และนําหวานจากดอกไม้ของไม้พุ่มและไม้ยืนต้น และนกแก้วขนาดเล็กทีเรี ยกว่า
พาราคิท( Parakeet ) ทีจะกินเมล็ดพืชทีตกบนพืนดินหรื ออยูใ่ กล้พืนดิน
( นกแก้วโลรี และนกแก้วโลรี คีต เป็ นนกแก้วขนาดเล็กถึงกลางทีส่ วนปลายลินจะมีลกั ษณะคล้าย
หัวแปรงทีช่วยในการกินนําหวานจากดอกไม้และกินผลไม้ทีอ่อนนิ ม โดย
52

นกแก้ ว ( Parrot )
ในพืนทีเหนื อเรื อนยอดที มีความ
หนาแน่นของใบไม้ไม่มากนัก นกหลายชนิ ดที
สามารถซ่อนและพรางตัวอยู่ตามใบไม้ได้
เนืองจากนกแก้วหลายชนิ ดในป่ าเขตร้อน ส่ วน
ใหญ่จะมีสีขนลําตัวเป็ นสี เขียว เมือเกาะอยูต่ าม
พุ่มไม้ทาํ ให้เห็นตัวได้ยาก แต่ก็มีนกแก้วบาง
ชนิด เช่น South American Macaw ทีจะมี
สี สันสดใส
นกแก้วส่ วนใหญ่จะมีลกั ษณะเสี ยงทีมี
ความหลากหลาย เพือใช้ในการสร้าง
ความสัมพันธ์กบั นกตัวอืนๆในฝูง โดยจะมี
นกแก้วบางชนิดทีสามารถเลียนเสี ยงมนุษย์ได้
แต่นกแก้วที อยู่ในป่ าธรรมชาติจะไม่สามารถ
เลียนเสี ยงนกชนิ ดอืนๆได้ ในป่ านกแก้วอาจมี
อายุขยั ไม่เกิน 30 ปี แต่ในสวนสัตว์นกแก้ว
อาจมีอายุถึง 80 ปี

ข้ อมูลทีน่ าสนใจ
นกแก้วแต่ละตัวจะมีความถนัดเท้ าซ้ ายหรื อขวา ซึงจะใช้ เท้ าข้ างทีถนัดสํ าหรับจับอาหาร
เพือใช้ จะงอยปากกัดกิน นกแก้ วทีโตเต็มทีแล้วสี ขนทีลําตัวจะสดใสชัดเจนกว่ านกแก้ วทีอายุน้อย

นกทูแคน( Toucans ) เป็ นนกประจําถินของทวีปอเมริ กาใต้ มีพฤติกรรมทีคล้ายกับนกแก้ว


เช่น ทํารังในโพรงไม้ ชอบอยู่ในป่ าราบตําของป่ าเขตร้อน ( lowland tropical forest ) อาหารหลัก
คือ ผลไม้ และอาหารทีนกทูแคนชอบกิน เช่น กิงก่า แมลงและไข่ของนกขนาดเล็ก นกทูแคนมี
จะงอยปากทีมีขนาดใหญ่ หนาแต่มีนาหนั ํ กเบา นกชนิดนีใช้จะงอยปากดึงเอาผลไม้ขนาดเล็กจาก
กิงไม้ทีไม่เหนียวเกินกว่ากําลังดึงของนก
นกทูแคนเป็ นนกทีอยู่กนั เป็ นฝูง ไซร้ขนให้กนั แบ่งอาหารกันกิน พฤติกรรมแบบหนึง
ของนกชนิดนี จะมีการต่อสู้กนั ในระดับไม่รุนแรง โดยจะใช้จะงอยปากงับจะงอยปากของอีกฝ่ าย
หนึ ง ( bill – wresting ) พฤติกรรมการฟักไข่ของพ่อและแม่นกทูแคนจะให้ความใส่ใจค่อนข้างน้อย
แต่เมือลูกนกฟั กออกจากไข่ พ่อแม่นกจะเริ มนําอาหารมาป้ อนให้กบั ลูกนก ท่าทีนกทูแคนนอนคือ
53

ใช้จะงอยปากหันกลับมาพักวางทีส่ วนหลังและรําแพนขนหางให้ตงวางสู
ั งกว่าส่วนหัว

ภาพที 2.49 ( ซ้ าย ) นกทูแคนคีลบิล


( Keel –billed toucan) ซึงเหมือนกับนกทู
แคนชนิดอืนทีใช้ จะจอยปากดึงเอาผลไม้
ขนาดเล็กจากกิงไม้ และในช่วงการนอนจะ
หมุนจะงอยปากาพักทีส่วนหลัง
ภาพที 2.50 ( ขวา ) นกโทโททูแคน ( Toto toucan ) จะมีจะงอยปากใหญ่ทีสุดใน
บรรดานกทูแคนทังหมด

นกปักษาสวรรค์ นกการเวก ( Bird of Paradise ) นกชนิดนีจะมี


การกระจายพันธุ์ในป่ าเขตร้อนของประเทศนิวกินีหมูเ่ กาะโม
ลุกกะ ของประเทศอินโดนี เซี ย และตะวันออกเฉี ยงเหนื อของ
ทวีปออสเตรเลีย มีสีสนั สวยงามโดยเฉพาะนกเพศผู ้ และเป็ น
นกประจําถินของป่ าเขตร้อน นกเพศผูท้ ีถึงอายุวยั เจริ ญพันธุ์จะ
ใช้การเต้นรํา รําแพนขนหางและขนลําตัว เพือดึงดูดนกเพศ
เมีย เป็ นนกทีอยูใ่ นสถานะใกล้สูญพันธุ์ เนื องจากในช่วง
ศตวรรษที 19 – 20 สตรี ชาวยุโรปนิ ยมนําขนนกไปประดับ
หมวก จนกระทังปี ค.ศ. 1908 ทีอังกฤษได้ออกกฎหมายใน
ฐานะทีเป็ นเจ้าอาณานิคมเหนื อเกาะนิวกินีในขณะนัน นกชนิด
เป็ นสัญลักษณ์บนธงชาติของนิ วกินีและตราแผ่นดินอีกด้วย
ภาพที 2.51 นกปั กษาสวรรค์ส์จกั รพรรดิ เพศผู้
54

นกแร้ ง ( Vulture )
เป็ นสัตว์ในกลุ่มกินซากสัตว์ทีใหญ่ทีสุ ดในป่ าเขตร้อนของทวีปอเมริ กาใต้ เป็ นนกที
ดํารงชีวิตอยูต่ ามลําพังและจํานวนในป่ าธรรมชาติอยูใ่ นสภาวะใกล้สูญพันธุ์ นกแร้งราชา( King
vulture ) เป็ นนกทีมนุษย์เชือว่าเป็ นนกทีมีจะงอยปากแข็งแรงมากทีสุ ดในบรรดานกแร้งที มีถินทีอยู่
ในทวีปอเมริ กา แตกต่างจากนกแร้งทัวไปทีประสาทสัมผัสในการรับกลินจะไม่ดี แต่มีสายตาทีดี
มากเพือช่วยในการหาซากสัตว์ นกแร้งราชาทังเพศผูเ้ พศเมียจะมีสีสนั สวยงาม

ภาพที 2.52 นกแร้ งราชามีใบหน้ าทีมีสีสนั สดใสตัดกับสีของพืนป่ า นกชนิดดังกล่าวไม่จําเป็ นต้ อง


มีสขี องลําตัวกลมกลืนกับสิงแวดล้ อม เนืองจากไม่มสี ตั ว์ผ้ ลู า่ ตามธรรมชาติ

นกอินทรี ( Eagles )
ในทีนี จะกล่าวถึงนกอินทรี 3 ชนิด คือ นกอินทรี ฮาร์ ปี ( harpy eagle ) มีการกระจายพันธุ์
ในป่ าของทวีปอเมริ กากลางและใต้ นกอินทรี มงกุฎ ( crowned eagle ) มีการกระจายพันธุ์ในป่ า
ของทวีปแอฟริ กา และอินทรี กินลิง ( monkey – eating eagle ) มีการกระจายพันธุ์ในฟิ ลิปปิ นส์
โดยทัง 3 ชนิดเป็ นนกทีในสถานะใกล้สูญพันธุ์ ล่าลิงและนกเป็ นอาหาร ทํารังบนต้นไม้ทีมีเรื อน
ยอดสูงทีสุ ดในพืนป่ า และลักษณะทีคล้ายกันคือ มีหงอนบนหัวขนาดใหญ่ หางยาว แต่มี
ปากกว้างและสัน
การสร้างรังของนกอินทรี หลายชนิดทีอยูใ่ นเขตร้อนมีลกั ษณะคล้ายกัน เช่น จะสร้างรัง
ขนาดใหญ่เพือรองรับลูกอ่อน เมือพ่อแม่นกนําเหยือมาเลียงลูกอ่อน เศษกระดูกของเหยือเหล่านัน
จะยังอยู่ในรังและกลายเป็ นโครงสร้างส่ วนหนึ งของรังนก นกอินทรี ส่วนใหญ่จะวางไข่ครังละ 2
ฟอง แต่จะมีลกู นกเพียงตัวเดียวทีจะเติบใหญ่ขึนได้โดยถ้ามีลูกนกตัวแรกออกจากไข่ ไข่ฟองที 2
ทียังไม่ฟักออกมาเป็ นตัวพ่อแม่จะไม่สนใจฟั กไข่ ถ้าลูกนกตัวที 2 สามารถฟั กออกเป็ นตัวได้มกั จะ
ตายเนื องจากถูกลูกนกตัวพีจิกตาย
55

(ล่าง ) 2.53 นกอินทรี ฮาร์ ปปี มีเท้ าขนาดใหญ่และกรงเล็บทีแข็งแรง จะงอยปากขนาดใหญ่ ซึง


ทําให้ นกชนิดนีสามารถจับสัตว์เช่นลิง สล็อท โดยการโฉบตามต้ นไม้ ในป่ าเขตร้ อน
นกเงือก ( Hornbill )

ชนเผ่าดายาค ในเกาะบอร์เนี ยวของประเทศอิ นโดนี เซียจะใช้


จะงอยปากของนกเงือกกาฮังเป็ นเครืองรางสําหรับนักรบ และ
ใช้ในการประดับตกแต่งบ้านเนื องจากความเชือว่าทีเป็ น
สัญลักษณ์ ของเทพเจ้าแห่งสงคราม

ภาพที 2.54 ( ซ้ าย ) จะงอยปากของนกเงือกหัวแรดจะมีโหนกด้ านบน


ภาพที 2.55 ( บน ) นกเงือกรูฟัสจะมีขนเหนือตาทีทําหน้ าทีคล้ ายขน
ตา

ถึงแม้วา่ นกเงือกจะมีลกั ษณะร่ างกายคล้ายกับนกทูแคน แต่นกเงือกไม่ได้มีสายสัมพันธ์


การวิวฒั นาการแต่อย่างใดกับนกทูแคน นกเงือกมีถินทีอยู่ทงในทุ
ั ่งหญ้าและป่ าของทังทวีป
แอฟริ กาและทวีปเอเชีย โดยลักษณะเด่นของนกเงือกคือ จะงอยปากยาวและมีสีสนั สวยงาม นก
56

เงือกทีมีขนาดใหญ่ทีสุ ด คือ นกเงือกหัวแรด ( Rhinoceros Hornbill ). โดยนกเงือกส่ วนใหญ่จะมี


จะงอยปากทีมีโหนกสู งขึนทีเรี ยกว่า Casque โดยจะงอยปากทีเป็ นโหนกสูงขึนเป็ นโพรงทีทีช่วยให้
เกิดเสี ยงร้องทีดัง ( resonating chamber ) และโดยส่ วน Casque มีขนาดใหญ่ในนกเพศผูแ้ ละนกที
มีอายุมาก
จะงอยปากของนกเงือกหลายชนิดจะมีความคมและเป็ นคลืนเพือจับอาหารให้แน่น ตัดเนือ
ผลไม้ นกเงือกทีมีถินทีอยู่ในป่ าจะกินผลไม้เป็ นอาหารหลัก เมล็ดของพืชอาหารทีนกเงือกกินเข้า
ไปจะออกมาพร้อมมูลสัตว์ โดยนกจะถ่ายตามพืนทีส่ วนต่างๆ ของป่ า ทําให้นกชนิ ดนีเป็ นผูม้ ี
บทบาทการกระจายเมล็ดพืช
นกเงือกส่ วนใหญ่จะทํารังในโพรงของต้นไม้ ในนกเงือกบางชนิดเมือแม่นกพร้อมทีจะ
วางไข่ พ่อนกจะช่วยแม่นกปิ ดปากโพรงโดยการใช้โคลนและแม่นกจะถูกกักอยูใ่ นโพรงต้นไม้ พ่อ
นกจะส่ งอาหารเช่น ผลไม้โดยการใช้จะงอยปากส่ งผ่านช่องแคบๆของปากโพรง เมือลูกนกฟั ก
ออกจากไข่แม่นกจะให้อาหารแก่ลูกนก เช่น ผลไม้ทีแม่กินเข้าไปและสํารอกออกมา ลูกนกจะ
ออกจากโพรงเมือพร้อมทีจะบิน การทีแม่นกฟั กไข่อยู่ในโพรงเพือเป็ นการป้ องกันภัยไข่นกหรื อลูก
นกจากศัตรู ผลู้ ่า เช่น ลิง นกอินทรี เป็ นต้น

ภาพที 2.56 ปลาปิ รันยาจะถูกสร้างภาพให้เป็ นปลาทีชัวร้ายว่าเป็ นปลาทีทําร้ายคน แต่รายงานทีทํา


ร้ายคนพบได้ค่อนข้างน้อย แต่อย่างไรก็ตามในสวนสัตว์หรื อในทีเลียงสัตว์นาจะต้
ํ องมีการแยกถัง
เลียง แยกจากปลาชนิดอืนเนื องจากอาจทําร้ายปลาชนิดอืนได้
57

ปลาในป่ าเขตร้ อน ( Tropical Fish )


มีพืนทีป่ าเขตร้อนหลายแห่ งทีอยูใ่ นพืนทีราบลุ่มทีมีแม่นาไหลผ่
ํ าน เช่น ป่ าดิบชืนทีอยู่
ล้อมรอบแม่นาอะเมซอนที
ํ เป็ นแม่นาที
ํ ใหญ่เป็ นอันดับ 1 ของโลกและมีปลามากกว่า 2 พันชนิ ด
ซึงเป็ นแหล่งอาหารทีสําคัญสําหรับสัตว์เลียงลูกด้วยนํานม เมือระดับนําเพิมสู งขึนท่วมในพืนทีราบ
ปลาก็จะกินผลไม้ เมล็ดพืชทีหล่นจากต้นไม้ ซึ งก็จะเป็ นการแพร่ กระจายเมล็ดพืช

ในบางพืนที ของชนพืนเมืองในทวีปอเมริ กาใต้ชอบกิ น


ปลาปิ รันยา แหที ใช้จบั ปลาปิ รันยาจะเป็ นแบบเส้นลวด
เหล็ก เนื องจากถ้าใช้แหทีเป็ นด้ายจะถูกปลาปิ รันยากัด
ขาด

ปลาปิ รันยา ( Piranha )

ปลาปิ รันยาแบ่งเป็ นชนิดย่อยได้ 20 ชนิด มีเพียง 4 ชนิ ดเท่านันที เป็ นอันตราย มีอยูช่ นิ ด
หนึ งทีขนาดลําตัวยาว 0.6 เมตร ปลาปิ รันยาชนิดทีเป็ นทีรู ้จกั มากกว่าชนิดอืน คือ ปลาปิ รันยาแดง
( Red Piranha ) ทีขนาดลําตัวความยาว 28 เซนติเมตร ปลาปิ รันยาแดงจะอยู่กนั เป็ นฝูงมีจาํ นวน
เป็ นหลายร้อยตัวจนถึงหลายพันตัว มีการกระจายพันธุ์ในทะเลสาบและแม่นาบริ ํ เวณทางตอนเหนื อ
ของทวีปอเมริ กาใต้ รวมทังในแม่นาอเมซอน
ํ ปลาปิ รันยาแดงจะกินปลาชนิดอืนๆ เป็ นอาหาร
การโจมตีเหยือจะเริ มขึนเมือได้กลินคาวเลือดและอาจโจมตีสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีมีขนาดใหญ่
เช่น สมเสร็ จ ปลาปิ รันยาแดงมีขากรรไกรทีแข็งแรง และมีฟันทีแหลมคม ( ชาวอินเดียนในป่ าอเม
ซอนจะใช้ฟันของปลาปิ รันยาเป็ นกรรไกร ) ถ้ามีเลือดของเหยือไหลปนในนํา ปลาปิ รันยาจะยิง
โจมตีเหยืออย่างบ้าคลัง ฝูงของปลาปิ รันยาจะสามารถกัดกินสัตว์ขนาดใหญ่ให้เหลือแต่กระดูกได้
ในเวลาไม่กีนาที
58

บทที 3
สัตว์ป่าในทุ่งหญ้า Animals of the Grassland
ทุกๆ ทวีปยกเว้นพืนทีขัวโลกใต้จะมีป่าในลักษณะทีเรียกว่าทุ่งหญ้า
โดยบางแห่งมีอาณาเขตกว้างใหญ่กินพืนที หลายร้อยตารางกิ โลเมตร มีท่งุ
หญ้าหลายๆ แห่งจะเข้ามาอยู่ภายในบริ เวณส่วนกลางของทวีป ห่างไกลจาก
อิ ทธิ พลของทะเล อุณหภูมิสามารถเปลียนแปลงอย่างรวดเร็วจากช่วงเวลา
กลางวันไปเป็ นกลางคืน รวมทังความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างฤดูกาล
บางช่วงเวลาลมจะพัดอย่างสมําเสมอหรือเป็ นลมอ่อนๆ พอให้ใบหญ้าไหว แต่
บางครังก็จะเป็ นพายุทีรุนแรง ในทุ่งหญ้าจะมีต้นไม้บางส่วนทีจะเป็ นทีหลบ
ซ่อนตัวและเป็ นร่มเงาแก่ฝงู สัตว์ได้

แม่ยีราฟและลูก กําลังเดิ นหาใบไม้และกิ งไม้ในทุ่งหญ้าซาวันนาในทวีปแอฟริกา


59

ความสมดุลของธรรมชาติ ( The Balance of Nature )


ในโลกจะมีทุ่งหญ้าในหลายลักษณะทีแตกต่างกัน ทุ่งหญ้าในเขตร้อนรู ปแบบหนึ งคือ ทุ่ง
หญ้าซาวันน่า ( Savannas ) ในพืนทีแอฟริ กาตะวันออก โดยทุ่งหญ้าซาวันน่าจะมีลกั ษณะต้นไม้ยืน
ต้นขึนเป็ นหย่อม ๆ และมีอากาศอบอุน่ ตลอดทังปี

ภาพที 3.1 แผนทีโลกแสดงพืนทีทุ่งหญ้ า

ทุ่งหญ้าในเขตอบอุ่น ( Temperate grassland ) จะมีความแตกต่างของอุณหภูมิในแต่ละ


ฤดูกาล ทุ่งหญ้าในลักษณะนี พบในทวีปอเมริ กาเหนื อ จะประกอบด้วยทุ่งหญ้าแพรี และทุ่งหญ้าใน
ทีราบใหญ่ ( The Great plains) ซึ งเป็ นพืนทีแห้งแล้งอยูท่ างทิศตะวันออกของเทือกเขาร๊ อคกี (
The Rocky Mountains ) รู ปแบบอืนๆ ของทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น เช่น ทุ่งหญ้าสเตปป์ ในยูเรเซี ย ( The
Steppes of Eurasia ) ทุ่งหญ้าเวล์ดในแอฟริ กาใต้ ( The South African Veld ) ทุ่งหญ้าแพมพาส
กว้างใหญ่ในทวีปอเมริ กาใต้ซึงมีแต่หญ้าแต่ไม่มีตน้ ไม้ใหญ่ ( The south American Pampas ) ใน
ทวีปออสเตรเลียจะมีทุ่งหญ้าทีแห้งแล้งมีชือเรี ยกว่า Outback ซึ งจะต่อเนืองไปยังทะเลทราย
เนืองจากรู ปแบบการเจริ ญเติบโตของหญ้าหลายชนิดทีสามารถทนทานกับการกินหญ้าของ
สัตว์ทีอยูใ่ นพืนที หญ้ามีส่วนเจริ ญเติบโตจากโคนต้น ( stem base ) การกัดกินทียอดใบไม่ได้ทาํ ให้
หญ้าหยุดการเจริ ญเติบโต
ในช่วงทีขาดนํา อากาศแห้งของฤดูร้อนและหนาว หญ้าจะหยุดการเจริ ญเติบโตในการ
สร้างใบ แต่หญ้าจะคงสภาพไว้ในส่ วนของฐานลําต้นและรากทีสานกันเป็ นโครงข่ายอยูใ่ ต้พืนดิน
และถ้าแล้งยาวนานหญ้าจะสามารถคงสภาพอยูไ่ ด้ การทีสัตว์กินหญ้ามีการเคลือนย้ายไปหาแหล่ง
อาหารแหล่งอืนๆ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้หญ้าในพืนทีได้มีโอกาสเจริ ญเติบโตกลับมา ไฟจะทําลาย
ต้นไม้และหญ้า แต่การฟื นตัวของหญ้าจะกลับมาได้อย่างรวดเร็ ว เนืองจากมีปุ๋ยจากเถ้าถ่านที มีใน
ดิน ลมทีพัดแรงจะสามารถโค่นต้นไม้ได้แต่หญ้าจะลู่ลมไป
60

ภาพที 3.2 ในทุ่งหญ้ าซาวันนาของประเทศแทนซาเนียในพืนทีแอฟริ กาตะวันออก มีสตั ว์เท้ ากีบ


อยู่มากกว่า 20 ชนิด เช่น แรด ม้ าลาย และช้ าง

หญ้า
หญ้าเป็ นพืชอีกกลุ่มหนึ งที มีจาํ นวนชนิ ดมากถึง
10,000 ชนิ ด ที กระจายอยู่ตามพืนทีต่างๆ ทัวโลก ทนทาน
ต่อความแห้งแล้งและความร้อนแรงของแสงอาทิ ตย์ได้เป็ น
อย่างดี

ภาพที 3.3 ครังหนึงวัวป่ าอเมริ กนั ไบซันถูกล่าจนใกล้ ถงึ สภาวะสูญพันธุ์ แต่ในปั จจุบนั อเมริ กนั ไบ
ซันอาศัยอยู่เขตพืนทีอนุรักษ์ ของอุทยานแห่งชาติ โดยมีอาหารหลักคือหญ้ า อาหารอืนๆ ทีกินเช่น
ยอดไม้ และกิงไม้
61

หญ้าเป็ นอาหารทียากในการเคียวบดให้ละเอียดและการย่อย ลักษณะของร่ างกายของสัตว์


ทีเหมาะสมกับกินหญ้าเป็ นอาหาร เช่น มีฟันกรามทีมีขนาดใหญ่แบนเพือการบดเคียวหญ้า มี
แบคทีเรี ยภายในลําไส้ทีเหมาะกับการย่อยเยือใยเซลลูโลส ซึ งเป็ นองค์ประกอบของผนังเซล ( cell
wall ) ของพืชที เหนียวและย่อยยาก
สัตว์ทีกินพืชเป็ นอาหารหลักและมีกระเพาะอาหารแบบ 4 ส่ วน ( 4 compartment )
สามารถสํารอกเอาอาหารทีอยู่ในกระเพาะอาหารรู เมนออกมาเคียวอีกครัง โดยเรี ยกขบวนการย่อย
อาหารแบบนีว่าการเคียวเอือง ( Rumination )
สัตว์อาศัยอยู่ในทุ่งหญ้า จะมีโครงข่ายการกินของอาหาร ( Food Web ) ทีมีจุดเริ มต้นที
ต้นหญ้า สัตว์กินเนื อ เช่น สิ งโต เสื อดาวจะล่าแอนติโลป ม้าลายและสัตว์กินหญ้าอืนๆ สัตว์ทีกิน
ซากสัตว์ เช่น อีแร้งจะกินซากสัตว์ทีผูล้ ่ากินเหลือไว้ นกล่าเหยือทีล่าหนูทีกินใบหญ้าและเมล็ด
หญ้าเป็ นอาหาร
ในบรรดาถินทีอยูข่ องสัตว์ ทุ่งหญ้าจะเป็ นพืนทีทีง่ายทีสุดทีจะถูกมนุษย์เปลียนแปลงไปใช้
ประโยชน์ เนื องจากเป็ นทีราบทีมนุษย์สามารถเดินทางเข้าไปถึงได้ ต้นไม้ขนาดใหญ่ทียากต่อการ
ตัดฟันไม่มากนัก ดินมีความชุ่มชืนและธาตุอาหารอุดมสมบูรณ์เพียงพอทีจะเพาะปลูกพืชได้ จาก
ข้อมูลทางวิชาประวัติศาสตร์ มีการประมาณกันว่าพืนทีเพาะปลูกพืชและทําฟาร์มปศุสตั ว์ใน
ปัจจุบนั ประมาณร้อยละ 70 เดิมเป็ นพืนทีทุ่งหญ้า
พืนทีสําหรับการเพาะปลูกพืชและฟาร์มเลียงสัตว์ทาํ ให้ระบบนิเวศของธรรมชาติเสี ยสมดุล
ไป การเพาะปลูกจะมีการไถพรวนอยูบ่ ่อยครังซึ งจะทําให้เกิดการกัดเซาะโดยนําและลม สัตว์ปศุ
สัตว์บางชนิดเช่นแพะจะกัดกินหญ้ามากเกินไปจนหญ้าตาย เนื องจากไม่มีช่วงเวลาให้หญ้าได้พกั
ตัวเพือการเจริ ญเติบโต ซึงจะมีผลสื บเนื องให้ดินเกิดการเสี ยหายจากการขาดพืชคลุมดิน การใช้
พืนทีเพือการปลูกพืชทีเป็ นอาหารสัตว์ รัวและทางเดินรถไฟทําลายทางอพยพเคลือนย้ายของสัตว์
ป่ า เหตุการณ์ต่างๆเหล่านีเกิดขึนทัวโลก ซึ งเหตุการณ์เหล่านีควรเป็ นบทเรี ยนทีคนทัวโลกจะต้อง
เรี ยนรู ้ เพือการปกป้ องและรักษาทุ่งหญ้าไว้ เพือให้สัตว์ป่ายังคงมีพืนทีอยูอ่ าศัยต่อไป

ทุ่งหญ้ าซาวันนาในทวีปแอฟริกา ( African Savannas )


พืนทีทุ่งหญ้าในแอฟริ กาจะครอบคลุมพืนทีมากกว่า 1 ใน 3 ส่ วนของทวีป รวมทังเป็ น
พืนทีสุ ดท้ายของโลกทีมีขนาดพืนทีทุ่งหญ้าใหญ่ทีสุ ด เป็ นถินทีอยู่ของสัตว์หลากหลายชนิดเช่น
ควายป่ า วิลเดอร์บีสท์ ม้าลาย และสัตว์ทีกินพืชขนาดใหญ่ชนิ ดอืนๆ ทุ่งหญ้าซาวันนาจะมีฝนตก
สันๆ 1 - 2 ช่วงในแต่ละปี และช่วงเวลาทีเหลือต่อมาจะเป็ นช่วงฤดูร้อนต่อเนืองกันหลายเดือน ซึ ง
เป็ นช่วงเวลาเดียวกันกับสัตว์จะมีการเคลือนย้ายเพือหาอาหารกิน ในพืนทีที มีฝนตกชุกทีสุ ดหญ้า
อาจจะสู งถึง 3 - 4 เมตร ในขณะทีพืนทีแห้งแล้งหญ้าจะขึนสันและมีอยูอ่ ย่างกระจัดกระจาย
62

ต้นไม้ยืนต้นเช่น ทอร์นบุช ( Thorn bushes ) เบาบาบ ( Baobab Tree ) อเคเซี ย( Acacia ) ที


มีทรงพุ่มด้านบนแบนตรงจะเจริ ญเติบโตเป็ นหย่อม ๆ ในพืนทุ่งหญ้าซาวันนา พืนทีทุ่งหญ้าซาวัน
นาจะยังคงสภาพไว้ได้เนืองจากเป็ นพืนทีทีไม่เหมาะสมกับการตังถินฐานของมนุษย์ เนืองจากแห้ง
แล้งเกินกว่าที จะทําการเพาะปลูกหรื อทําการเลียงสัตว์ปศุสัตว์

ภาพที 3.4 ม้ าลายแกรนท์ ( Grant’ s zebra ) วิลเดอร์ บีทส์ ( Wildebeests ) ยีราฟพันธุ์มาไซ (


Masai giraffe ) หากินในทุ่งหญ้ าซาวันน่าในพืนทีทางตอนเหนือของประเทศเคนย่า ฝูงสัตว์ทีอยู่
รวมกันหลายชนิดเป็ นภาพทีไม่ค่อยพบได้ บ่อยครังนักในแอฟริ กา

อยู่เป็ นฝูงเพือความปลอดภัย ( Safety in Numbers )


เพือความปลอดภัยของสัตว์ในกลุ่มที กินพืชเป็ นอาหารหลัก ทีหากินในพืนทีเปิ ดโล่งแบบ
ทุ่งหญ้าซาวันน่าในทวีปแอฟริ กา สัตว์กลุ่มนี มักจะรวมตัวอยูก่ นั เป็ นฝูง ในทุ่งหญ้าทีมีระดับความ
สูงของต้นหญ้าสัน เป็ นพืนทีเปิ ดโล่งมีทีหลบซ่อนอยูน่ อ้ ย ฝูงสัตว์จะช่วยกันสอดส่ายสายตาไปมา
และสามารถเห็นสัตว์ผลู ้ ่าได้จากระยะไกล ถ้าในพืนทีทีมีหญ้าขึนสู งสัตว์ผลู้ ่าหลายชนิ ดเช่น สิ งโต
เสื อดาวจะใช้พงหญ้าเป็ นทีแอบซุ่มเพือให้สามารถเข้าใกล้ฝงู สัตว์ได้ในระยะใกล้ สัตว์ผลู ้ ่ามักจะ
มองเป้ าหมายเพือล่า คือ สัตว์อายุนอ้ ย สัตว์ทีอายุมากหรื อสัตว์ทีบาดเจ็บ สัตว์กินพืชหลายชนิดจะ
ดํารงชีวิตรวมกันเป็ นฝูงและมีสมาชิ กในฝูง 1 - 2 ตัวจะทําหน้าทีเป็ นยามและจะส่ งสัญญาณว่ามี
อันตรายหากสังเกตเห็นสัตว์ผลู ้ ่า ม้าลายถ้าหากได้รับสัญญาณจากสมาชิ กตัวหนึงตัวใดในฝูง ว่ามี
สิ งโตกําลังย่องเข้ามา ภายในไม่กีวินาทีฝงู ม้าลายทังฝูงจะวิงหายลับไปกับตา

ควายป่ าแอฟริกา ( African Buffalo )


เป็ นสัตว์ทีอยูร่ วมกันเป็ นฝูงขนาดใหญ่โดยมีฝงู เล็ก ๆ หลายฝูงมารวมกัน โดยมีจาํ นวน
ระหว่าง 50 ถึง 500 ตัว ช่วงต้นของฤดูผสมพันธุค์ วายป่ าเพศผูท้ ีถึงช่วงอายุสมบูรณ์พนั ธุ์หลายตัวจะ
ต่อสูก้ นั เพือแย่งตําแหน่ งจ่าฝูง การชนกันของควายป่ าเพศผู ้ 2 ตัว จะเกิดขึนในลักษณะทีควายที
จะต่อสู้กนั จะอยูห่ ่างกันประมาณ 30 เมตร แล้ววิงเอาเขามาชนกัน ลักษณะโครงสร้างของเขาทีฐาน
63

เขามีขนาดใหญ่และเจริ ญมาเชือมติดกัน มองดูคล้ายกับว่ามีโลห์ครอบหัวด้านบนของควายอยู่ ซึ ง


จะช่วยป้ องกันการเกิดเขาแตกหักจากการชนกัน ควายป่ ามักจะอาศัยอยูใ่ นพืนทีริ มขอบของพืนที
ป่ าทีมีร่มเงาจากต้นไม้ยืนต้นหรื ออยู่ใกล้แหล่งนําที มีตน้ กกขึนอย่างหนาแน่น ควายป่ าแอฟริ กาจะ
กินนําอย่างน้อยวันละ 1 ครัง และจะกินในปริ มาณครังละประมาณ 34 ลิตร

ภาพที 3.5 ควายป่ าแอฟริ กาจะเป็ นสัตว์อนั ตรายเมือรู้ สกึ ว่าตัวเองถูกคุกคามหรื อทําให้ ตกใจ เป็ น
สัตว์ทีมีเขาขนาดใหญ่และกีบเท้ าทีแข็งแรง ซึงการเตะทําให้ สตั ว์ผ้ ลู ่า เช่น สิงโตถึงกับตายได้

วิลเดอร์ บีสท์ ( Wildebeests )


อีกชื อหนึ งทีเรี ยกคือคําว่า นู ( gnu ) วิลเดอร์
บีสท์เป็ นแอนติโลพที กินหญ้าเป็ นอาหารหลัก และ
เป็ นฝูงสัตว์ทีพบได้บ่อยทีสุ ดในทุ่งหญ้าซาวันนาของ
ทวีปแอฟริ กาตะวันออก ลักษณะทีแตกต่างจากแอน
ติโลพชนิดอืนๆ เช่น หัวขนาดใหญ่ หัวไหล่มีขนาด
ใหญ่และยกสูงกว่าส่ วนลําตัว เขาโค้งลงล่างและโค้ง
ขึนด้านบน ซึ งมองลักษณะโดยรวมแล้วจะคล้ายกับ
วัวบ้าน วิลเดอร์บีสท์จะมี 2 ชนิดคือ 1. วิลเดอร์
บีสท์สีนาเงิ
ํ น ( blue wildebeest หรื อ brindled
wildebeest ) 2. วิลเดอร์บีสท์หางขาว ( white tailed
wildebeest ) วิลเดอร์ บีสท์มกั จะถูกล่าโดยกลุ่มเสื อ
ขนาดใหญ่ของทุ่งหญ้าซาวันนาโดยเฉพาะสิ งโต

ภาพที 3.6 วิลเดอร์ บีทสีนําเงินมักจะ


พบว่าเลือกกินหญ้ าลําต้ นเขียวยาว
64

ในช่วงเริ มต้นของฤดูร้อน วิลเดอร์บีสท์จะรวมตัวกันเป็ นฝูงขนาดใหญ่ ซึ งอาจมีจาํ นวนตังแต่


หลายร้อยตัวจนถึงหลายพันตัว เพืออพยพเป็ นระยะทางไกลไปยังทุ่งหญ้าทีอยู่ทางทิ ศเหนื อ การ
เคลือนตัวของฝูงอพยพจะไหลต่อเนื องเป็ นแถวยาว ทําให้เกิดเป็ นเส้นทางพาดผ่านทุ่งหญ้า ใน
พืนทีทีเรี ยกว่า Serengeti แห่งเดียวมีจาํ นวนตัววิลเดอร์บีสท์อยูถ่ ึง 1.5 ล้านตัว วิลเดอร์บีสท์เพศเมีย
จะออกลูกในช่วงฤดูหนาวทีมีฝนตก ซึ งเป็ นช่วงทีเกิดขึนภายหลังการมาถึงทุ่งหญ้าทางเหนื อ ใน
พืนที Serengeti จะมีลูกทีเกิดใหม่ถึง 400,000 ตัว เกิดภายในเวลา 3 สัปดาห์

ความแตกต่างระหว่างช้างเอเชียและช้างแอฟริ กา ( Telling the Difference )

ถึงแม้ว่าช้างเอเชียและช้างแอฟริกาจะดูคล้ายกันแต่กย็ งั มีความแตกต่างในหลายๆจุด
เช่น เมือโตเต็มทีช้างเอเชียจะมีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา
- ใบหูของช้างเอเชียจะมีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา
- หัวด้านหน้าในช้างเอเชียจะนูนออกมา ( bulbous ) ส่วนช้างแอฟริกาจะแบน
- งาในช้างเอเชีย ช้างเพศเมียและช้างเพศผูบ้ างตัวจะไม่มงี า ขนาดงาของช้างเอเชียจะ
เล็กกว่าช้างแอฟริกา
- งวง ช้างเอเชียจะมีตงยื ิ น ( finger like projection ) ปุ่มอยูท่ ปลายสุ
ี ดของงวงเพียงอัน
เดียว แต่ชา้ งแอฟริกาจะมีตงยื
ิ นอยูท่ ส่ี วนปลายสุดของงวง 2 อัน
- เท้า ช้างเอเชียจะมีเล็บทีเท้าทีเท้าหน้าจํานวน 5 เล็บ เท้าหลัง 4 เล็บ ส่วนช้าง
แอฟริกาจะมีเล็บทีเท้าทีเท้าหน้าจํานวน 4 เล็บ เท้าหลัง 3 เล็บ
65

สั ตว์ ทีใหญ่ ทีสุ ดในทุ่งหญ้ าซาวันนา ( The Largest Animals of Savanna )


ช้ าง ( Elephant )
สัตว์เลียงลูกด้วยนมทีใหญ่ทีสุ ดทีอาศัยอยู่บนบก คือ ช้างแอฟริ กาเพศผู ้ ซึ งเมือยืนจะวัด
ความสู งช่วงไหล่ได้ประมาณ 4 เมตร และมีนาหนั ํ กประมาณ 7,000 กิโลกรัม ในแต่ละวันช้างจะ
ใช้เวลา 17 ชัวโมงในการกินและหาอาหาร โดยช้างแต่ละตัวจะกินอาหารมากถึงประมาณ 200
กิโลกรัม ช้างจะดึงหญ้ากินโดยดึงหญ้าทังราก กินเปลือกไม้โดยการลอกจากลําต้นของไม้ยืนต้น
ขนาดใหญ่ หรื อบ้างทีช้างจะโค่นต้นไม้ทงต้ ั นเพือกินใบไม้

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
ช้างจะทักทายช้างตัวอืนๆด้วยการสัมผัสโดยใช้ปลายงวง
ช้างจะโบกหูตวั เองไปมาเพือช่วยให้ร่างกายเย็นขึน

ฝูงช้างจะเดินเป็ นระยะทางไกลเพือไปยังแหล่งอาหารในพืนทีต่าง ๆ โดยสมาชิกในฝูงจะมี


การสื อสารกันภายในฝูงเพือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิ กในฝูง และสมาชิกในฝูงจะให้การ
ดูแลกับช้างอายุนอ้ ยเป็ นพิเศษ ฝูงช้างจะประกอบด้วยช้างเพศเมียทีโตเต็มที แล้วและลูกช้าง จ่าฝูงจะ
เป็ นช้างเพศเมียซึ งสามารถสังเกตได้โดยตัวทีเป็ นจ่าฝูงจะเดินนําหน้าเดินทาง และเป็ นผูก้ าํ หนดว่า
จะไปยังทีใดในช่วงของการเดินทาง ช้างเพศผูท้ ีโตเต็มที จะแยกจากฝูงโดยอยู่กนั เป็ นฝูงเล็กๆ หรื อ
มีกรณี ทีช้างตัวผูท้ ีอายุมากจะแยกอยู่ตวั เดียว

ภาพที 3.7 ( ซ้ าย ) ช้ างเอเชีย ภาพที 3.8 ( ขวา ) เป็ นช้ างแอฟริ กา โดยลูกช้ างจะได้ รับการ
ดูแลจากสมาชิกตัวอืนๆในฝูง จนกระทังอายุ 3-4 ปี โดยถึงช่วงอายุสมบูรณ์พนั ธุ์ทีอายุ 10 ปี
66

ช้างแอฟริ กาเป็ นสัตว์ทีฉลาด มีการสื อสารระหว่างตัวจะเป็ นเสี ยงทีมีระดับคลืนความถีตํา


ซึงมนุษย์ไม่สามารถรับฟั งได้ เสี ยงทีสื อออกไปจะกระจายไปถึงสมาชิ กในฝูงทีอยูก่ ระจัดกระจาย
ไป เพือให้เดินทางในช่วงเวลาเดียวกันและในทิศทางเดียวกัน ในการเคลือนย้ายอพยพช้างแอฟริ กา
ช้างจะสามารถจดจําภูมิประเทศได้อย่างถูกต้อง ในเส้นทางทีช้างเคยเดินผ่านแล้ว ช้างจะหลีกเลียง
สถานทีทีอาจมีอนั ตราย เช่น การถูกล่าจากนายพราน เมือช้างรู้สึกไม่ปลอดภัยช้างจะวิงเข้าใส่ ยก
งาขึน กางหูออกและส่ งเสี ยงร้อง
ช้างจะแสดงพฤติกรรมต่อสมาชิกในโขลงทีตายโดยการจะวนเวียนอยู่ใกล้ๆสมาชิกทีตาย
บางครังจะกินเวลาหลายวัน โดยช้างทีอยูล่ อ้ มรอบซากช้างจะสัมผัสทีงาและกระดูก ในช่วงปี พ.ศ.
2523 - 2531 ช้างแอฟริ กาประมาณครึ งหนึ งจากทังหมดทีมี 1.2 ล้านตัวทีถูกฆ่าโดยนายพราน เพือ
นํางาช้างไปขาย จึงมีกลุ่มนักอนุรักษ์ทีเกรงว่าถ้ายังปล่อยนักค้างาช้างทําการฆ่าช้างในแบบทีเป็ นอยู่
นีต่อเนื องไป ช้างแอฟริ กาอาจจะถึงจุดทีสู ญพันธุ์ได้ จึงมีการเผยแพร่ ข่าวให้คนทัวโลกทราบถึงภัย
คุกคามทีเกิดขึน จนกระทังในปี พ.ศ 2531 มีประเทศต่าง ๆ ทัวโลกหลายประเทศห้ามมิให้มีการ
ซือขายงาช้าง ในปั จจุบนั มีชา้ งแอฟริ กาหลายพันตัวอาศัยอยูใ่ นอุทยานแห่ งชาติและเขตอนุรักษ์สตั ว์
ป่ า

ภาพที 3.9 ลูกแรดดําจะเดินอยู่หลัง


แม่แรดดําเพือให้ แม่เป็ นผู้ปกป้อง
แม่และลูกจะอยู่ด้วยกันจนกระทังแม่
แรดดําจะพร้ อมทีจะให้ กําเนิดลูก
ใหม่อีกครัง ซึงจะใช้ เวลา 2-4 ปี

แรด ( Rhinoceros )
แรดเป็ นสัตว์ทีมีการกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริ กาและเอเชีย เป็ นสัตว์ทีมีขนาดร่ างกาย
ใหญ่ โดยมีนาหนั
ํ ก 820 - 1050 กิโลกรัม สายตาไม่ค่อยดีนกั โดยจะเห็นชัดเจนในระยะใกล้ๆ แต่
ประสาทสัมผัสการฟังและการดมกลินจะดี ปริ มาตรของทีสมองในส่ วนทีเกียวข้องกับการดมกลิน
จะมีมากกว่าสมองหน้าทีอืนๆ
แรดไม่มีต่อมเหงือ ใช้การลงแช่ปลักโคลนเพือลดอุณหภูมิร่างกายลง แรดจะพักหลบ
ร้อนโดยการแช่ปลักในบริ เวณทีอยูใ่ กล้แหล่งนําในช่วงเวลาทีร้อนทีสุ ด เป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตอยู่ตวั
เดียวใกล้แหล่งนํา ซึ งมักมีแรดตัวอืนๆ ใช้พืนทีอยูด่ ว้ ย
67

เนืองจากตาของแรดอยูด่ า้ นข้างของกะโหลก การมองจะใช้ตาทังสองข้าง โดยการสะบัด


หัวอย่างรวดเร็ ว
แรดเป็ นสัตว์ทีกินพืชเป็ นอาหารหลัก ั ่มที กินใบไม้เป็ นอาหารหลักโดยกินจาก
มีทงกลุ
ต้นไม้ยืนต้นและไม้พุ่มบางชนิ ด และกลุ่มทีกินหญ้าเป็ นอาหารหลัก รวมทังพืชบางชนิดอืนๆ ที
ขึนอยูต่ ามพืนดิน
แรดดํา ( Black Rhinoceros ) เป็ นแรดทีมีการกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริ กา เป็ นชนิดทีกิน
ใบไม้เป็ นอาหารหลัก โดยริ มฝี ปากบนจะมีลกั ษณะเป็ นติงสามเหลียม ( prehensile upper lip ) เพือ
ช่วยในการจับใบไม้เพือกินเป็ นอาหาร ใช้นอแรดช่วยในการฉี กกิงไม้ แรดดําเป็ นแรดทีก้าวร้าว
มากกว่าแรดชนิ ดอืน จะแสดงพฤติกรรมการวิงเข้าไปยังแหล่งกําเนิ ดกลินทีแรดรู ้สึกไม่ปลอดภัย
แรดดําสามารถขวิดมนุษย์ให้ลอยตัวขึนโดยการใช้นอ
แรดขาว ( White Rhinoceros ) สี ลาํ ตัวของแรดชนิดนีจะเป็ นสี นาตาลอ่
ํ อนหรื อเทา เป็ น
สัตว์กินหญ้าเป็ นอาหารหลัก รวมทังพืชชนิดอืนๆ ทีมีขนาดลําต้นสัน ปากเป็ นรู ปร่ างสี เหลียมและ
ริ มฝี ปากกว้างทีจะให้ริมฝี ปากแนบใกล้กบั พืนดิน เพือให้เหมาะสมกับการกินหญ้า โดยทัวไปแรด
หลายชนิดสามารถกินพืชอาหารทีมีลกั ษณะเส้นใยทีหยาบแห้งได้ หรื อแม้กระทังการกินใบอะเค
เชียซึ งพืชชนิ ดดังกล่าวจะมีหนามทีแหลมคมทีกิงก้าน ทีสามารถแทงยางรถยนต์ให้รัวได้

ภาพที 3.10 แรดขาวเพศเมียทีไม่ได้ เลียงลูกอ่อน มักจะรวมตัวกันเป็ นฝูงขนาดเล็ก เป็ นสัตว์ที


ตืนตกใจง่าย แต่ไม่ใช่สตั ว์ทีก้ าวร้ าว ในการป้ องกันตัวเองจากสิงโต แรดขาวจะรวมกันหลายตัว
และหันหน้ าออกเผชิญกับศัตรู

แรดส่ วนใหญ่มีระยะตังท้องประมาณ 16 เดือน โดยแรดเพศเมียจะออกลูกทุกๆ 3 - 4 ปี มี


อายุขยั ประมาณ 45 ปี ถึงแม้วา่ อัตราการให้ลูกจะตํา แต่ไม่ใช่สาเหตุหลักทีทําให้จาํ นวนของแรด
ลดจํานวนลง ในช่วงศตวรรษนี แรดถูกล่าอย่างหนักเพือเอานอและการล่ายังมีอยูอ่ ย่างต่อเนื อง
ถึงแม้ทุกๆประเทศจะมีกฎหมายเพือปกป้ องชีวิตของแรดแล้วก็ตาม
68

มีการประมาณกันว่าในช่วงหลังปี พ.ศ. 2493 ประชากรของแรดดํามีประมาณ 70,000 ตัว


ในช่วงปี พ.ศ. 2503 จํานวนลดลงเหลือ 10,000 – 15,000 ตัวและในช่วงต้นของปี พ.ศ. 2533 -
2542 จํานวนแรดดําลดลงเหลือตํากว่า 2,500 ตัว
ข้อมูลที น่ าสนใจ
- แรดอิ นเดียและแรดขาวเพศผู้ จะมีขนาดร่างกายทีใหญ่กว่าเพศเมีย แต่ในแรด
ชนิ ดอืนๆทังเพศผู้และเพศเมียจะมีขนาดเท่ากัน
- แรดดําและแรดขาวจะมีนอ 2 อันโดยนอด้านหน้ าจะใหญ่กว่านอด้านหลัง
- แรดจะลับนอกับต้นไม้หรือก้อนหิ น
- ขาของแรดจะมีขนาดใหญ่เพือรองรับนําหนัก

ภาพที 3.11 แรดอินเดียจะมีนอ 1 นอ มีผิวหนังทีมีรอยพับทีชัดเจน ซึ งทําให้ดูคล้ายๆกับเป็ นสัตว์


ทีมีเกราะหุ ม้

ฮิปโปโปเตมัส ( Hippopotamus )
ฮิปโปโปเตมัสแม่นาแอฟริ
ํ กนั ( African river hippopotamus ) หรื อชือสามัญอีกชือหนึ งคือ
ฮิปโปธรรมดา ( Common Hippopotamus ) เป็ นสัตว์ทีมีช่องปากกว้างเพือเหมาะกับการกินหญ้าที
เจริ ญใกล้กบั พืนดิน ฮิปโปจะดํารงชีวิตในทะเลสาบและแม่นาํ เป็ นสัตว์ทีว่ายนําได้เก่ง ในช่วงการ
ดํานําฮิปโปจะปิ ดจมูกและหูก่อนทีจะดํานําลงไป การดํานําเป็ นการปกป้ องตัวเองจากแสงแดดและ
ช่วยซ่ อนตัวให้พน้ สายตาสัตว์ผลู ้ ่า ในช่วงทีฮิ ปโปลอยตัวบนผิวนําลําตัวและหัวบางส่ วนจะจมลง
ในนํา ส่ วนจมูก ตาและหูซึงอยูด่ า้ นบนของหัวจะพ้นนําขึนมา มองแล้วคล้ายกับกล้องเพอลิสโคบ
ทีใช้ในเรื อดํานํา
69

ฮิปโปโปเตมัสจะขึนจากนําขึนบกในช่วงเวลากลางคืนเพือกินหญ้า ซึ งพบว่าทางเดินขึนจาก
นําไปยังบริ เวณทีกินหญ้าของฮิปโป ทีฮิปโปเดินใช้เส้นทางเดิมทุกวันจะเห็นเส้นทางบนตลิงเป็ น
โคลนทีโดนเหยียบยําจนเละ นําหนักของฮิปโปประมาณ 1,130 กิโลกรัม โดยจะกินหญ้าใน
ปริ มาณ 45 กิโลกรัม ต่อ 1 ตัว
ํ กโดยเฉลีย 227 กิโลกรัมตาทัง 2 ข้าง จะอยู่
ปิ กมีฮิปโป ( Pygmy Hippo ) จะมีนาหนั
ด้านข้างของหัว ปิ กมีฮิปโปมีพฤติกรรมทีอาศัยอยู่บนบกมากกว่าฮิปโปโปเตมัสแม่นาแอฟริ
ํ กนั ซึ ง
ทําให้ตกเป็ นเหยือของนายพรานล่าสัตว์ได้ง่าย และจํานวนของปิ กมีฮิปโปก็ลดจํานวนลงมากจน
อยูใ่ นสภาพที ใกล้จะสู ญพันธุ์

ภาพที 3.12 ( ซ้ าย ) ฮิปโปโปเตมัสสามารถอ้ าปากได้ เป็ นมุม 150 องศา ฮิปโปเพศผู้จะอ้ าปาก
ในช่วงการต่อสู้กนั ฮิปโปทัง 2 ชนิดมีผิวหนังเรี ยบเพือให้ เหมาะกับการใช้ เวลาส่วนใหญ่อยู่ในนํา
ภาพที 3.14 ( ขวา ) ต่อมทีผิวหนังจะหลังของเหลวทีจะช่วยปกป้องตัวเองจากแสงแดดและเชือ
โรค

ควาบลับของการพรางตัว ( The Secrets of camouflage )


ลักษณะของขน สีขนทีปกคลุมร่างกายสัตว์ เป็ นอีกวิธกี ารหนึงทีสัตว์เหยือใช้ในการ
พรางตาซ่อนตัวจากสายตาของสัตว์ผลู้ ่า หรือสัตว์ผลู้ ่าทีใช้การพรางตัวเพือเข้าใกล้สตั ว์เหยือ
แบบไม่รตู้ วั คําว่า “ Caumouflage ” มีจุดกําเนิดจากคําศัพท์ทใช้
ี ในวงการทหาร โดยเริมใช้
ครังแรกในช่วงสงครามโลกครังที 1 ทีหมายถึงวิธกี ารทีทหารใช้อาํ พรางตัวเองจากทหารและการ
ตรวจจับจากเครืองมือของฝา่ ยตรงข้าม
วิธกี ารหลักๆ มี 2 แบบคือ 1. การพรางตัวให้กลมกลืนกับสิงแวดล้อมทีเป็ นฉากหลัง
2. ใช้สหี รือลวดลายเป็ นตัวช่วยในการปกป้องตัวเอง ตัวอย่างของวิธกี ารที 1 สัตว์ทมีี สงปก ิ
คลุมร่างกายกลมกลืนเป็ นฉากหลัง เช่น หมาปา่ โคเอตีทมีี ถนที ิ อยูใ่ นทีราบในทวีปอเมริกาทีสี
ขนจะกลมกลืนไปกับหญ้าทีขึนอยูข่ า้ งหลัง ( ดูภาพประกอบ ) งูทมีี เกล็ดเป็ นสีเขียวจะยากทีจะ
70

มองเห็นตัวเมือเกาะตัวนิงแทรกในกลุ่มใบไม้ งูทมีี เกล็ดเป็ นสีนําตาลจะมองไม่เห็นเมืองูเกาะอยู่


นิงๆ บนเปลือกไม้ของลําต้นหรือซุกตัวในใบไม้แห้ง

ตัวอย่างของวิธกี ารที 2 คือ การใช้ลวดลายทีอยูบ่ นตัวสัตว์ เช่น ลวดลายขาวดําของ


ม้าลายซึงม้าลายแต่ละตัวจะมีลวดลายทีแตกต่างกัน เมือม้าลายอยูเ่ ป็ นฝูงและเคลือนทีสัตว์ผลู้ า่
จะไม่สามารถหาเป้าหมายทีแน่ นอนว่าจะลงมือโจมตีทม้ี าลายตัวใด นอกจากนันลายขาวดํายัง
ช่วยป้องกันการกัดจากแมลงวันเทสสี ( teste fly ) ทีเจาะดูดเลือดเป็ นอาหาร เนืองจากแมลง
ชนิดดังกล่าวจะเลือกกัดสัตว์โดยใช้รปู ร่างเป็ นตัวช่วยในการสังเกต และตัวอย่างในเสือโคร่งที
ลวดลายดําบนพืนสีลาํ ตัวสีเหลือง ซึงลักษณะลวดลายแบบดังกล่าวจะกลมกลืนไปกับหญ้าแห้ง
ทีมีลาํ ต้นสูง
อีกตัวอย่างหนึงของการใช้ลวดลายเพือป้องกันตัว แมลงทีทําร้ายสัตว์อนโดยการใช้

เหล็กในหรือมีกลินเหม็นมักจะมีสสี นั ทีมองเห็นได้อย่างชัดเจน ทีเป็ นการบอกเตือนสัตว์อนให้

รูต้ วั เช่น สีเหลืองดําหรือสีแดงดํา ทีสัตว์ผลู้ ่าจะสามารถเรียนรูแ้ ละหลีกเลียง แต่สหี รือ
ลวดลายทีมีปรากฏในสัตว์ทมีี พษิ อาจถูกสัตว์บางชนิดเลียนแบบ เช่น ผีเสือ Viceroy จะ
เลียนแบบสีและลวดลายของผีเสือ Foul - tasting monarch butterfly พบว่าสัตว์ผลู้ ่าจะหลีก
ออกห่างผีเสือทัง 2 ชนิด

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- ยีราฟเพศผู้จะเห็นสันของกระดูกทีส่วนเหนื อดวงตาอย่างชัดเจน
- ยีราฟทังเพศผู้และเพศเมีย จะมีผิวหนังมาปกคลุมเขาไว้ โดยเขาของตัวผู้จะดูหนา
ใหญ่กว่า ส่วนเขาของตัวเมียจะมีขนสีดาํ ยาวขึนแซมด้วย
- ยีราฟจะใช้การดม เลียตามลําตัวและเอาลําตัวเสียดสีกบั ยีราฟตัวอืนๆ เพือเป็ นการ
สร้างความสัมพันธ์กนั ในฝูง
71

- ให้สงั เกตก้อนอาหารที ออกจากกระเพาะอาหารส่วนรูเมนเพือเคียวเป็ นครังที 2 โดย


จะเห็นเป็ นก้อนอาหารซึงเป็ นลูกผ่านลําคอขึนไป

ภาพที 3.15 ลูกยีราฟสามารถลุกขึนเดินได้ ภายใน 1


ชัวโมงภายหลังการเกิด ยีราฟแต่ละตัวจะมีลวดลายบน
ลําตัวทีแตกต่างกัน ลวดลายของลําตัวยีราฟจะคล้ าย
กับเปลือกของต้ นไม้ ซึงเป็ นส่วนหนึงทีช่วยในการพราง
ตัว เมือสัตว์ยืนกินใบไม้ ในระหว่างกลุม่ ของต้ นไม้

ยีราฟ ( Giraffe ) ในบางช่วงเวลาในทุ่งหญ้าซา


วันนาของทวีปแอฟริ กาจะเห็นฝูงสัตว์หลายชนิ ด เช่น
ยีราฟ วิลเดอร์ บีสท์ ช้าง ม้าลาย จะเห็นสัตว์เหล่านีกิน
หญ้าหรื อกินใบไม้ในพืนทีเดียวกัน วิลเดอร์ บีสท์หรื อม้า
ลายจะเคลือนทีไปพร้อมกับยีราฟ เนืองจากยีราฟเป็ น
สัตว์ทีมีสายตาทีดีทีจะช่วยในการเตือนภัยจากสัตว์ผลู ้ ่า
และจัดเป็ นสัตว์ทีสามารถมองเห็นได้ไกลทีสุดในบรรดา
สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีมีถินทีอยูใ่ นทวีปแอฟริ กา และ
ยีราฟเป็ นสัตว์อาศัยอยูบ่ นบกทีสูงทีสุ ดในโลกทีเพศผูม้ ี
ความสู ง 5 เมตรเมือวัดจากปลายเท้าถึงปลายเขา

ลินของยีราฟจะมีความยืดหยุน่ และเหยียดได้ยาวถึง 46 เซนติเมตร


ความสู งของยีราฟจะมีผลดียีราฟสามารถกินใบไม้จากต้นไม้ทีอยูส่ ู งทีสัตว์
กีบชนิดอืนๆ กินไม่ถึง ยีราฟจะกินใบไม้หลากชนิดซึ งอาจมากถึง 60
ชนิด ทังต้นไม้ยืนต้นลําต้นสูง ไม้พุ่ม ไม้เถาไม้เลือย เนื องจากได้นาํ
จํานวนหนึงจากอาหาร ยีราฟจึงดํารงชีวิตอยูไ่ ด้หลายสัปดาห์หรื อหลาย
เดือนโดยไม่ตอ้ งกินนํา
ยีราฟเป็ นสัตว์ทีวิงได้เร็วประมาณ 56 กิโลเมตร / ชัวโมง เตะได้
แรงเมือตืนตกใจ การเตะจะเป็ นอาวุธเพือป้ องกันตัวจากสัตว์ผลู ้ ่า เช่น
สิ งโต ช่วงการกินนําเป็ นช่วงเวลาทีอันตรายเนืองจากต้องกางขาทัง 4
ข้าง และใช้คอทียาวก้มเหยียดลงเพือให้ปากแตะผิวนํา ยีราฟเป็ นสัตว์ที

ภาพที 3.16 ยีราฟจะใช้ ลินทียาวเพือจับใบไม้ ทีอยู่สงู ขึนไป


72

สัตวในทุ่งหญ้ าทีมีกบี เท้าเดียว ( Odd – Toed Grassland Animals )

ม้ าลาย
ม้าลายเป็ นสัตว์ทีมีลกั ษณะคล้ายม้าบ้านทีมีลวดลายเป็ นแถบขาว-ดํา โดยทีสัตว์ทงั 2 ชนิด
จะเป็ นสมาชิกของสัตว์ในวงศ์มา้ ( family equine ) และมีลกั ษณะร่ างกายทีเหมือนกันหลายอย่าง
โดยสัตว์ในวงศ์นีจะมีลกั ษณะของหัวยาว ขาเรี ยวยาวและมีกีบทีเท้า ม้าลายจะมีดว้ ยกัน 3 ชนิด
คือ 1. ม้าลายพืนราบ ( Plains Zebra ) จะมีจาํ นวนมากทีสุ ด โดยมีการกระจายพันธุ์ในทวีป
แอฟริ กาทางใต้และทางตะวันออก ชนิดที 2 ม้าลายภูเขา ( Mountain Zebra ) ทีถินทีอยูท่ ีเป็ น
ภูเขาในพืนทีตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริ กา ชนิดที 3 ม้าลายเกร์วี ( Grevy’s Zebra ) มีถินที
อยูใ่ นทุ่งหญ้าทีแห้งแล้งของประเทศเอธิ โอเปี ยและโซมาเลีย โดยทัง 2 ชนิดหลังจะมีอยูจ่ าํ นวน
น้อย

ภาพที 3.17 ฝูงของม้ าลายจะเดินทางไม่ได้ เร็ วนัก เพือให้ ลกู ม้ าลายสามารถติดตามฝูงได้ ถ้ าลูก
ม้ าลายแยกตัวออกจากฝูงจะตกเป็ นเหยือของสัตว์ผ้ ลู า่ ได้ โดยง่าย

ม้าลายเป็ นสัตว์ทีทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี สามารถดํารงชีวิตในพืนทีที มีหญ้าแห้งใน


ทุ่งหญ้าซาวันนา แต่ทีวัวจะตายเนื องจากความอดอยาก ฟันของม้าลายจะเหมือนกับฟั นม้าที จะมี
การเจริ ญเติบโตตลอดช่วงอายุขยั เพือให้เหมาะกับการเคียวหญ้าทีมีลกั ษณะเหนี ยวหยาบและมี
ความสาก ในช่วงทีม้าลายกําลังกินหญ้าแห้งและเคียวหญ้าจะเกิดเสี ยงขึน ทําให้สตั ว์ผลู ้ ่าหาตัวม้า
ลายได้ง่ายในเวลากลางคืน
ม้าลายเป็ นสัตว์สังคม คําทีเรี ยกฝูงม้าลายจะใช้คาํ ว่าครอบครัว ( family ) การเดินทางไป
ตามแหล่งอาหารจะไปเป็ นครอบครัวโดยประกอบด้วย ม้าตัวผูท้ ีเป็ นจ่าฝูง ( Dominant Stallion )
ม้าเพศเมียหลายตัว ลูกม้า บางครังจะมีมา้ หนุ่ม ( Bachelor ) อยูด่ ว้ ย มีบางช่วงเวลาทีหลาย ๆ
73

ครอบครัวจะมารวมกลุ่มกันซึ งจํานวนมากถึง 5,000 ตัว โดยลวดลายของม้าลายแต่ละตัวจะแตกต่าง


กัน ม้าลายจะจดจําม้าลายตัวอืนโดยใช้การดมกลินและใช้การจดจําลวดลายบนตัว ในช่วงทีม้าลาย
พักจาการกินหญ้า ม้าลายจะใช้ปากงับที ตัวอืนอย่างนิ มนวลซึ งเป็ นการทําความสะอาดขนให้กนั
โดยม้าจะหันหน้าเข้าหากัน ส่ วนหัวจะอยู่ดา้ นข้างหรื อด้านหลังของม้าตัวอืน เพือระมัดระวังสัตว์ผู ้
ล่าทีอาจจะเข้ามาโจมตีได้

สัตว์กินพืชในทุ่งหญ้าแต่ละชนิดจะมีระยะระวังภัย
จากผูบ้ ุกรุ ก ซึ งถ้าเข้าใกล้เกินกว่าระยะนันสัตว์จะ
วิงหนี ม้าลายจะมีระยะระวังภัยที 30 เมตร ม้าลาย
แต่ละตัวสามารถวิงออกตัวได้อย่างรวดเร็ วถ้ารู ้สึกว่า
กําลังมีอนั ตรายเข้ามา เมือฝูงม้าลายเริ มวิงหนีสตั ว์ผู ้
ล่าม้าลายตัวจ่าฝูงจะปกป้ องส่ วนหลังของตัวเอง
โดยการเตะขาหลังออกไปเนืองจากมีรู้สึกว่าตัวเอง
กําลังถูกติดตามไล่หลังมา
สั ตว์ เท้ ากีบคู่ในทุ่งหญ้ า ( Even – Toed Grassland Animals)
ม้าลายและม้าอีกหลายสายพันธุ์นนเป็ ั นสัตว์กีบเท้าเดียว ซึ งมีลกั ษณะแบนจะเหมาะกับการ
เดินและวิงในพืนทีแข็งหยาบ ตัวของกีบและข้อต่อจะช่วยให้วิงได้เร็วขึนและลดแรงสะท้อนกลับ
ทีมาจากพืนดิน ในพืนทีเปี ยกและลืนสัตว์ทีมีกีบเท้า 2 อัน จะสามารถวิงได้เร็ วกว่าเนืองจากเกาะ
กับพืนผิวได้ดี
แอนติโลป ( Antelope )
เป็ นสัตว์ทีมีกีบเท้าคู่ ที ดํารงชีวิตในถินทีอยูห่ ลายลักษณะเช่น ภูเขา ใกล้แหล่งนํา
ทะเลทราย ถึงแม้วา่ ลักษณะร่ างกายเป็ นทีคุน้ ตาว่าเป็ นสัตว์ทีพบเฉพาะในเขตทุ่งหญ้าเท่านัน แอน
ติโลปเป็ นสัตว์ทีวิงได้เร็ วและกระโดดได้ไกลอย่างต่อเนืองเมือตกใจ อิมพาลา ( Impala )และสปริ ง
บอค ( Springbok ) สามารถกระโดดสูงขึนด้านบนได้สูงถึง 3 – 4 เมตร ซึ งจะลอยตัวสูงขึนเหนือ
ส่วนหลังของเพือนร่ วมฝูง การกระโดดทีต้องใช้พลังงานมากนีจะมีการปล่อยกลินจากต่อมทีขา
ก่อนทีสัตว์จะหลบหายไป
มีแอนติโลปบางชนิ ดจะใช้เขาเพือป้ องกันตัวเองจากสัตว์ผลู ้ ่า เช่น เขาทีโค้งยาวประมาณ
1 เมตรของวอเตอร์ บคั เพศผูจ้ ะใช้ข่สู ิ งโตได้ แต่โดยส่ วนใหญ่จะใช้เขาเพือใช้ต่อสู ้ขบั ไล่แอนติโลป
ชนิดเดียวกันทีลําอาณาเขตเข้ามา
อีแลนด์เป็ นแอนติโลปทีเขามีลกั ษณะบิดเป็ นเกลียวทีมีเขาขนาดใหญ่โดยจะมีเขาทัง 2
เพศ
74

ภาพที 3.18 อีแลนด์เพศผู้ 2 ตัวใช้ เขาต่อสู้กนั การต่อสู้จะเริ มขึนเมือแต่ละฝ่ ายใช้ เขาคลุกโคลน


จนเปี ยกโชกแล้ ว

เสือขนาดใหญ่ ( Big Cat )


เสือดาว ( Leopard )
เป็ นสัตว์ในวงศ์เสื อและแมว ( cat family ) อีกชนิดหนึ งทีมีการกระจายพันธุ์กว้างขวางทัง
ในทวีปแอฟริ กาและเอเชีย พบในพืนทีหลายลักษณะทังป่ าเขตร้อนจนถึงทุ่งหญ้าซาวันนา เสื อดาว
ทีมีสีของพืนผิวลําตัวเป็ นสี ดาํ แต่ลวดลายทีเกิดจากจุดบนลําตัวทียังพอสังเกตเห็นได้จะเรี ยกว่า
เสื อดํา ( black panther )
พฤติกรรมของเสื อดาวเป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตตัวเดียว ออกล่าเหยือในเวลากลางคืน แต่ละตัว
จะมีพืนทีอาณาเขตประมาณ 104 ตารางกิโลเมตร การปกป้ องอาณาเขตจะเกิดขึนกับเสื อดาว
ด้วยกันหรื อกับสัตว์ตา่ งชนิ ด วิธีการล่าเหยือจะคล้ายกับสิ งโตและเสื อชีตาร์ โดยจะค่อยคืบคลาน
เข้าไปให้ใกล้เหยือมากทีสุ ดก่อนทีจะเข้าจู่โจม เสื อดาววิงได้เร็ วประมาณ 56 กม./ชม. ซึงความเร็ ว
ดังกล่าวจะคงทีได้ในระยะทางสันๆ ในทุ่งหญ้าซาวันนาเสื อดาวชอบล่าสัตว์เท้ากีบเป็ นอาหาร
เช่น กาเซล ( Gazelles ) หรื อล่าหนู และนกกินเป็ นอาหารหากล่าสัตว์ทีชอบกินไม่ได้

ภาพที 3.19 เสือดาวเป็ นสัตว์ที


ปี นป่ ายต้ นไม้ ได้ เก่ง จะนอนบน
ต้ นไม้ และลากเหยือขึนบนต้ นไม้
เพือหนีจากไฮยีนาหรื อสัตว์ทีกิน
ซากสัตว์ชนิดอืนๆ เสือดาวยังใช้
วิธีการล่าเหยือโดยการกระโจน
ใส่เหยือจากต้ นไม้
75

ิ เร็ว ( Adapted for Speed The Cheetah )


ลักษณะร่ างกายทีทําให้ เสื อชีตาร์ วงได้

มีรูจมูกทีกว้างเพือให้ การหายใจเข้านําออกซิเจนเข้าไปยังปอดและหัวใจได้ ดี
ขึน
กระดูกสันหลังทียืดหยุ่นเพือช่ วยในการเร่ งความเร็ว
ฟันขนาดเล็ก รากฟันตืนเพือให้
เกิดช่ องว่างของโพรงจมูกกว้ างขึน

ปอดและหัวใจขนาดใหญ่ และหลอดเลือดแดงทีมีการ
หางยาวช่ วยในการทรงตัว กระจายตัวไปตามกล้ ามเนือเพือช่ วยให้ การวิงมี
ประสิทธิภาพ

ขาทียาวเพือให้ การก้ าวเท้ า


แต่ ละก้ าวได้ ระยะทียาว
เล็บไม่ เก็บเข้าอุ้งเท้าทําให้
เกาะพืนได้ ดีขนึ

เสือชีต้า ( Cheetah )
เสื อชีตาร์ จะพบการกระจายพันธุ์ในหลายพืนทีของทวีปแอฟริ กา มีเพียงชนิดเดียว ไม่มี
ชนิดย่อย ดํารงชีวิตและออกล่าเหยือเพียงตัวเดียว มีนาหนั
ํ กประมาณ 55 กิโลกรัม เป็ นเสื อทีวิงได้
เร็ ว โดยมีลกั ษณะทางร่ างกายทีช่วยให้วิงได้เร็ว เช่น ขายาว ส่ วนท้ายลําตัวทีสูงขึน เล็บเท้าทีไม่
งุม้ หดเข้าไปในอุง้ เท้าทีช่วยในการจิกดินแห้ง ทีจะทําหน้าทีคล้ายกับตะปูทีพืนของรองเท้านักวิงที
ช่วยให้การวิงเกาะพืนมากขึน

ภาพที 3.20 เสือชีตาร์ เพศผู้จะอยู่


รวมกันเป็ นฝูงเล็กๆซึงส่วนใหญ่จะ
เป็ นลูกจากแม่ตวั เดียวกันชุด
เดียวกัน เสือชีตาร์ เพศเมียจะ
ดํารงชีวิตอยู่ตวั เดียว มันจะ
หลีกเลียงการอยู่รวมกับเสือชีตาร์ ตวั
ผู้ จนกว่ามันจะพร้ อมให้ ผสมพันธุ์

เสื อชีตาร์ เป็ นสัตว์ทีมีอตั ราการเร่ งในการวิงทีน่าอัศจรรย์ใจ จากคุณสมบัติดงั กล่าวน่าจะ


เป็ นสิ งทีช่วยให้สามารถดํารงชีวิตบนโลกและมีลูกหลานสื บสายพันธุ์ต่อๆ เนืองไป แต่ในความ
เป็ นจริ งแล้วหาเป็ นเช่นนันไม่ เสื อชีตาร์กลับเป็ นสัตว์ทีอยูใ่ นสภาวะใกล้สูญพันธุ์ ข้อด้อยของเสื อ
76

ชนิดนีคือจะล่าเหยือทีเป็ นอาหารกับสัตว์เพียงไม่กีชนิด เช่น กาเซลหรื ออิมพาลา ไม่มีการป้ องกัน


อาณาเขตของตัวเอง ถ้ามีสิงโต ไฮยีนาหรื อนกแร้งเข้ามาแย่งเหยือทีเสื อชีตาร์ล่าได้ เสื อชีตาร์จะทิง
เหยือให้สตั ว์เหล่านี
นักวิทยาศาสตร์บางคนยังมีความเห็นว่าเสื อชีตาร์นนเป็
ั นสัตว์ทีใกล้การสูญพันธุ์ โดย
พบว่าในช่วงเวลา 1 พันปี ทีผ่านมา จํานวนของเสื อชี ตาร์ลดลงเนืองจากปัญหาเลือดชิด โดยจาก
สาเหตุดงั กล่าวจะมีผลให้ อัตราการให้ลูกตํา (ในภาพรวม) เกิดโรคได้ง่าย เกือบร้อยละ 75 ของ
ลูกเสื อชีตาร์ตายในช่วงอายุ 6 เดือน

สิ งโต ( Lion )
สัตว์ในตระกูลเสื อและแมวเกือบทุกชนิ ดจะดํารงชีวิตอยู่ตวั เดียวไม่ใช่สตั ว์สังคม แต่ยกเว้น
สิ งโตแห่งทุ่งหญ้าและทะเลทรายของทวีปแอฟริ กา สิ งโตจะอยู่กนั เป็ นฝูงทีเรี ยกว่าไพรด์ (pride)
โดยพบว่าสมาชิกในฝูงจะประกอบด้วย เพศผู ้ 2 ตัว ตัวเมียหลายตัวและลูกๆ โดยแต่ละไพรด์จะ
มีสมาชิกตังแต่ 5 - 37 ตัว ฝูงของสิ งโตมีการปกป้ องอาณาเขตของตนเอง การประกาศอาณาเขต
จะมีการแสดงออกมาเช่น การร้องคํารามในช่วงประมาณ 1 ชัวโมงหลังพระอาทิตย์ตกดิน ถ้ามี
สิ งโตเพศผูบ้ ุกรุ กต่างฝูงเข้ามาในอาณาเขตสิ งโตเพศผูจ้ ะเป็ นผูข้ บั ไล่ให้ออกจากพืนทีไป การถ่าย
ปัสสาวะและปล่อยสารทีมีกลินจากต่อมทีอยูบ่ ริ เวณอุง้ เท้า ถ้าจํานวนเหยือลดจํานวนลงบางครัง
อาณาเขตของสิ งโตจะกว้างถึง 260 ตารางกิโลเมตร

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
สิ งโตเพศผู้เป็ นสัตว์ในตระกูลเสือและแมวที มีแผงคอ
สิ งโตเพศเมียมีขนาดเล็กกว่าเพศผู้
ลูกสิ งโตจะมีจดุ ตามตัว
เพือเป็ นการระบายความร้อนของร่างกาย บางครังจะ
เห็นสิ งโตนอนในท่าเอาหลังแนบพืนและเอาขาชี ฟ้ าขึน

ภาพที 3.21 ทีลินของสิงโตจะมีตมุ่ แหลมขนาดเล็กๆทีช่วยในการ


ยึดจับเนือในขณะทีกินอาหาร

สิ งโตจะล่าเหยือในช่วงอากาศเย็นทีสุ ดของเวลากลางคืน เนื องจากความมืดจะเป็ นตัวช่วย


ในการพรางตัว อาณาเขตในการล่าเหยือแต่ละครังในคืนทีไม่มีแสงจันทร์จะกินพืนทีประมาณ 40
ตารางกิโลเมตร การล่าเหยือแต่ละครังจะกระทําโดยกลุ่มตัวเมีย ในขณะทีกลุ่มตัวผูจ้ ะทําหน้าที
ปกป้ องอาณาเขตในการล่าเหยือของฝูง การล่าเหยือเป็ นกลุ่มจะใช้การโอบล้อมและรุ มทําร้ายเหยือ
ตัวใดตัวหนึ งจากทุกทิศทางโดยรอบ สัตว์เท้ากีบ เช่น ม้าลาย กาเซล จะเป็ นสัตว์เหยือทีสิ งโต
77

ชอบล่า แต่สตั ว์ชนิ ดอืนที สิ งโตล่าเป็ นอาหาร เช่น ลูกฮิปโปโปเตมัส ลูกช้างแอฟริ กาหรื อลูก
ควายป่ าแอฟริ กา เหยือทีล่าได้จะแบ่งกันกินภายในฝูง สิ งโตแต่ละตัวสามารถกินอาหารได้มากถึง
34 กก.ในการกิน 1 มือ มีบางช่วงเวลาที มีเหตุการณ์ลูกสิ งโตตายในช่วงอายุตงแต่ ั แรกเกิดจนถึง
อายุ 1 ปี เนื องจากลูกสิ งโตไม่สามารถเข้าไปมีส่วนแบ่งในอาหารทีล่าได้ ถ้าปริ มาณอาหารทีล่าได้
ไม่เพียงพอกับการแบ่งปันให้กบั สมาชิกทุกตัว
สิ งโตทักทายสมาชิกภายในฝูงโดยการใช้หวั ถูไปทีหน้าและหัวของสิ งโตตัวอืน และปล่อย
กลินจากต่อมกลิน สิ งโตเพศเมียจะสร้างความสัมพันธ์กบั สิ งโตตัวอืนด้วยการเลียเพือทําความ
สะอาดขนให้ สิ งโตจะมีการใช้เล็บขูดกับต้นไม้ เพือเป็ นการฝนเล็บทียาวเกินไปทีจะมีผลให้เดิน
ไม่สะดวก

ภาพที 3.22 สิงโตตัวผู้จะเริ มมีแผงคอเมืออายุ 3 ปี และสีของแผงคอจะดําขึนเมืออายุมากขึน

พวกเขาวิงได้ เร็วแค่ ไหน ( How fast do they go )


เป็ นเรื องทียากทีจะเปรี ยบเทียบความเร็ วในการวิงของสัตว์ป่าในช่วงดํารงชีวิตอยู่ในป่ า
สัตว์บางชนิดวิงได้เร็ วในช่วงการล่าเหยือหรื อเพือป้ องกันตัวเอง ซึงความเร็ วสู งสุ ดอาจมีความ
แตกต่างกันจากความเร็ วในการวิงแบบปกติ
เสื อชีตาร์ เป็ นสัตว์บกทีสามารถวิงได้เร็ วทีสุ ดในระยะสัน ในช่วงการวิงไล่ล่าเหยือจะมี
ความเร็วสูงสุ ดอยูท่ ี 110 กม./ชม. เป็ นระยะทาง 300 เมตร สิ งทีเกิดขึนตามมาก็คือ หลังจากทีล่า
เหยือได้แล้ว เสื อชีตาร์จะแสดงอาการหอบเป็ นระยะเวลาเกือบ 30 นาที ก่อนทีเสื อชีตาร์จะกิน
อาหาร ซึ งช่วงเวลาดังกล่าวเหยือทีล่าได้อาจจะโดนสิ งโตหรื อไฮยีนาแย่งไป
78

นกทีบินได้เร็วทีสุดคือ นกเหยียวพีรีกริ น ( peregrine falcon ) โดยช่วงทีนกล่าเหยือ


ความเร็วในการบินสู งสุ ดอยูท่ ี 320 กม./ชม. ซึงเป็ นช่วงทีเหยียวบินลงมาโฉบเหยือ และปล่อยให้
เหยือตกจากทีสูงเพือให้บาดเจ็บ แล้วบิ นกลับมาจับเหยืออีกครัง

เต่า 0.16 กม./ชม.


งู 3 กม/ชม.
กิงก่า 30 กม./ชม.
มนุษย์ 20 กม./ชม.
ช้าง 25 กม./ชม.
จิงโจ้ 64 กม./ชม.
จิงจอกเทา 64 กม./ชม.
นกกระจอกเทศ 64 กม./ชม.
กระต่าย 72 กม./ชม
กาเซล 50 กม./ชม.
พรองฮอร์น 100 กม./ชม
เสื อชีตาร์ 110 กม./ชม.
นกอินทรีทอง193 กม/ชม
นกกระจอกเทศ (Ostrich)
เป็ นนกทีมีขนาดใหญ่ทีสุ ดในโลก มี 4 ชนิดย่อยโดยกระจายพันธุ์อยู่ในพืนทีทีแตกต่าง
กันในทวีปแอฟริ กา นกกระจอกเทศเพศผูจ้ ะมีความสูงประมาณ 2.5 เมตร และมีนาหนั ํ กอาจมาก
ถึง 155 กิโลกรัม เนืองจากขนาดของร่ างกายทีใหญ่ทาํ ให้นกกระจอกเทศบินไม่ได้ แต่สามารถวิง
ได้เร็ วโดยในพืนทีราบจะวิงได้เร็ วถึง 64 กม./ชม. ในแต่ละก้าวจะห่างกัน 4.5 เมตร โดยนิวเท้า
แต่ละข้างจะเป็ นตัวรับแรง ซึ งลักษณะการทํางานจะเหมือนกับกีบเท้าของสัตว์กลุ่มแอนติโลปที
เป็ นลักษณะกีบคู่
เนืองจากร่ างกายทีมีขนาดใหญ่ เป็ นสัตว์ทีวิงได้เร็ ว นกกระจอกเทศทีโตเต็มทีแล้วจึ งมี
สัตว์ทีจะมาล่านกกระจอกเทศเป็ นอาหารไม่มากนัก สิ งโตจะลังเลทีจะเข้าโจมตีเพือล่า
นกกระจอกเทศ เนื องจากนกชนิดนีจะใช้การเตะเป็ นสิ งป้ องกันตัวเอง นกเพศผูจ้ ะทําเสี ยงจาก
ลําคอเพือเป็ นการประกาศอาณาเขตของตนเอง
นกกระจอกเทศจะอยูก่ นั เป็ นฝูงทีเรี ยกว่าฮาเร็ม ( Harem ) โดยประกอบด้วยตัวผูห้ ลายตัว
จะรวมตัวและมีนกเพศเมีย 3-5 ตัว ไข่ของนกกระจอกเทศจะมีความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร
โดยรู ปร่ างจะเป็ นวงรี โดยแม่นกทุกตัวในฝูงจะไข่รวมกันในรังไข่รังเดียวทีอยูบ่ นพืนดิน จํานวน
79

ของไข่ในรังจะอยูท่ ีประมาณ 15-50 ฟอง หรื อมากกว่านัน ตัวผูแ้ ละตัวเมียจะช่วยกันฟักไข่


ภายหลังจากการฟักไข่ทงหมดก็
ั จะเห็นภาพพ่อนกหรื อแม่นกเดินนําลูกนกหลายๆตัวซึ งบางครังอาจ
มีจาํ นวนมากถึง 100 ตัว เดินตามพ่อหรื อแม่นกเพือพาไปหาอาหารหรื อนํากิน

ภาพที 3.23 ( ซ้ าย ) นกกระจอกเทศเพศผู้จะทําคอเป็ นรูปตัวยู ซึงเป็ น


การแสดงความยอมแพ้ กบั ตัวผู้ทีมีสถานะในฝูงเหนือกว่าตนเอง
ภาพที 3.24 ( บน ) นกกระจอกเทศเป็ นนกทีมีคอยาวซึงจะเป็ นส่วนที
ช่วยในการจิกกินอาหารจากพืนดิน นกกระจอกเทศสามารถมองเห็นใน
ระยะไกล เมือมันชูคอสูงขึน
นกกระจอกเทศสามารถอดนําได้นานหลายวัน จึงสามารถอาศัยอยูใ่ นพืนทีกึงทะเลทราย
ได้ดีพอๆกับในพืนทีทีเป็ นทุ่งหญ้า ลักษณะขนที อ่อนนุ่มจะช่วยเป็ นฉนวนในการป้ องกันความร้อน
จากแสงอาทิตย์ อาหารทีนกกระจอกเทศกินเช่น เมล็ดพืช ผลไม้ขนาดเล็ก ใบไม้ โดยจะหากินใน
พืนทีใกล้กบั ฝูงม้าลายและแอนติโลป นกกระจอกเทศเป็ นนกที มีสายตาดี จึงเป็ นสัตว์ทีช่วยเป็ นตัว
สัญญาณเตือนภัยให้กบั ฝูงสัตว์ทีหากินอยู่ใกล้ๆกันว่ากําลังมีสัตว์ผลู ้ ่าคืบคลานเข้ามา

สัตว์ในพืนทีชุ่ มนํา ( Animals of the wetlands )


พืนทีชุ่มนําหมายถึงพืนทีเก็บกักนําตามธรรมชาติทีเรี ยกว่าหนอง ( Swamps ) บึง
( Marshes ) เป็ นถินทีอยูข่ องสัตว์ในสวนสัตว์ทีผูเ้ ทียวชมชืนชอบอยูห่ ลายชนิ ด แต่เดิมเราทราบแต่
เพียงว่าพืนทีชุ่มนําเป็ นทีเพาะพันธุ์เพิมจํานวนยุง แต่ในปัจจุบนั เรามีขอ้ มูลทีบอกเราว่าพืนทีชุ่มนํานี
เป็ นระบบนิเวศทีทรงคุณค่าต่อการอนุรักษ์
80

นกฟลามิงโกและลูกทีเกิดใหม่ นกกระยางสโนวี

เป็ นพืนทีที มีพืชและสัตว์หลากชนิด โดยพืนทีชุ่มนําจะเป็ นพืนทีกันชน ( buffer zone )


ระหว่างพืนดินกับนํา เป็ นทีดูดซับเอานําฝนที ตกมากเกินความต้องการเพือช่วยลดการเกิดนํา
ท่วม พืนทีชุ่มนําก็จะเป็ นส่ วนทีกรองของเสี ยจากนําทีไหลผ่าน

นกกระทุงสี นาตาล
ํ นกกระเรี ยนกระหม่อมแดง นกกระยยางควาย

ในปัจจุบนั พืนทีชุ่มนําซึงเป็ นพืนทีเปราะบางง่ายต่อการทําลายเพือนําไปใช้ประโยชน์ใน


อัตราทีสูงมาก ในเขตเมืองใหญ่ของประเทศทีกําลังพัฒนาจะมีการถมด้วยดินและปรับพืนที
เพือสร้างพืนที ธุรกิจและทีอยู่อาศัยของคนเมือง พืนทีชนบทจะนําพืนทีชุ่มนําไปทํา
เกษตรกรรม การทําลายพืนทีชุ่มนําในอัตราทีสูงมาก เป็ นสาเหตุให้สัตว์ทีมีถินทีอยู่ในพืนทีชุ่ม
นําหลายชนิ ดเข้าใกล้สภาวะใกล้สูญพันธุ์

นกนําหลากชนิดอยู่ในสภาวะถูกคุกคามได้อาศัยพืนทีชุ่มนําเป็ นแหล่งอาหาร เนื องจาก


81

พืนทีดังกล่าวเป็ นแหล่งอาหารทีมีความอุดมสมบูรณ์และหลากหลายของพืช แมลง กบและกิงก่า


ตัวอย่างของชนิ ดนกทีอาศัยในพืนทีชุ่มนํา เช่น ฟลามิงโก ( Flamingo ) กระยาง ( Herons ) ช้อน
หอย ( Ibis ) นกกระเรี ยน ( cranes )

อัลลิเกเตอร์ นกกระยางโกไลแอท

นกฟลามิงโกหลายชนิ ดมีการกระจายพันธุ์ในบริ เวณทะเลสาบและชายฝังทะเลในทวีป


อเมริ กาใต้ พืนทีบางส่ วนของแอฟริ กาและเอเชียใต้ นกฟลามิงโกจะบินเป็ นระยะทางไกลเพือหา
แหล่งอาหาร ลักษณะของนกกลุ่มนี เช่น ขายาวเล็ก ขนสี ชมพู จะงอยปากทีงองุม้ ลง อาหารของ
นกฟลามิงโกจะเป็ นสัตว์ขนาดเล็กและพืชหลายชนิดทีอยูใ่ นนําทะเล
นกกระสาโกไลเอท ( Goliath heron ) ทีมีขนาดร่ างกายใหญ่โดยขณะยืนมีความสู งประมาณ
130 เซนติเมตรมีการกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริ กาและเอเชีย นกกระยางใหญ่สีนาเงิ ํ น ( Great
blue heron ) เป็ นนกกระยางขนาดใหญ่ทีสุ ดในทวีปอเมริ กา ในขณะยืนนกจะมีความสูง 1 เมตร
อาหารทีนกชนิ ดนี กิน เช่น หอยและสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมขนาดเล็ก นกชนิดอืนทีดํารงชีวิตอยู่
พืนทีชุ่มนํา เช่น นกกระยางสโนวี ( snowy egret ) ซึงนกทีได้รับการคุม้ ครองตามกฏหมายของใน
ประเทศสหรัฐอเมริ กา

นกช้อนหอยโรซีท นกช้อนหอยอเมริ กนั ขาว


82

นกกระทุงจะมีการกระจายพันธุใ์ นพืนทีใกล้กบั ชายฝังทะเล ทะเลสาบในบางส่ วนของทวีป


เอเชีย และทวีปอเมริ กา เป็ นนกทีมีขาสันแข็งแรงเพือเหมาะกับการใช้ขาช่วยในการว่ายนํา มีถุง
หนังทีจะงอยปากล่างเพือช่วยในการจับปลา ( scopping up fish )
จระเข้และอัลลิเกเตอร์ มีการกระจายพันธุ์ในพืนที ชุ่มนําในป่ าเขตร้อนและกึงป่ าเขตร้อนทัว
โลก อเมริ กนั อัลลิเกเตอร์พบการกระจายพันธุ์ในพืนทีด้านตะวันออกเฉี ยงใต้ของประเทศ
สหรัฐอเมริ กา โดยจะเห็นสัตว์กลุ่มนี นอนแผ่รับแสงแดดบนริ มฝังแม่นาํ อาหารทีสัตว์กลุ่มนี กิน
เช่น นก ปลา สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมหลายชนิด เต่า สัตว์บางชนิดทีลงมากินนํา
เสื อปลา ( fishing cat ) ซึงจะสามารถล่าเหยือในพืนทีชุ่มนําได้ มีการกระจายพันธุใ์ น
พืนทีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาหารทีสัตว์ชนิ ดนี กิน เช่น ปลา นก และแมลง
ชีวติ ในฝูง ( Life in the Pack )
ไฮยีนา ( Hyenas ) สมาชิกของวงศ์ไฮยีนาทีมีดว้ ยกัน 3 ชนิด มีลกั ษณะร่ างกายและ
พฤติกรรมคล้ายสุ นขั ทําให้คนทัวไปมักคิดว่าไฮยีนาเป็ นสัตว์ทีอยูใ่ นวงศ์ ( family ) กลุ่มเดียวกับ
สุนขั แต่นกั วิทยาศาสตร์ให้ความเห็นว่าไฮยีนามีสายสัมพันธ์ทางพันธุ กรรมกับกลุ่มของชะมดและ
พังพอน ไฮยีนาถูกจัดเป็ นกลุ่มสัตว์ทีกินซากสัตว์ โดยจะกินซากเหยือทีสิ งโตล่าหรื อเสื อขนาด
ใหญ่อืนๆ ล่าได้เช่น เสื อดาว เสื อชีตาร์ ซึ งความจริ งแล้วไฮยีนาก็จดั เป็ นสัตว์ผลู ้ ่าอีกกลุ่มหนึ งที
สามารถล่าเหยือได้ดว้ ยตนเอง โดยจะล่าในเวลากลางคืนและออกล่าเป็ นฝูง ซึ งภายในฝูงอาจมี
สมาชิกมากถึง 40 ตัว

ภาพที 3.25 ไฮยีนาลายจุด


จะแตกต่างจากไฮยีนาชนิด
อืนทีสามารถล่าและฆ่า
เหยือได้ ด้วยตัวเอง โดยไฮยี
นาลายจุดตัวเดียวสามารถ
ไล่และฆ่าไวเดอร์ บีสท์ทีโต
เต็มวัยได้ ยังมีพฤติกรรม
การซ่อนอาหารไว้ กินในมือ

ไฮยีนาเป็ นสัตว์ทีสามารถมองเห็นวัตถุในเวลากลางคืนได้ดี เหยือทีล่ามักจะเป็ นสัตว์กีบที


มองเห็นได้ไม่ดีนกั ในเวลากลางคืน เป็ นสัตว์ทีมีฟัน กระดูกขากรรไกรและกล้ามเนื อบริ เวณ
ขากรรไกรทีแข็งแรง ทําให้ไฮยีนาสามารถกัดให้กระดูกของวัวท่อนขนาดใหญ่ๆ ให้แตกได้ ซึ ง
ทางเดินอาหารไม่เพียงย่อยเนื อได้เท่านัน กระดูกและหนังก็สามารถย่อยได้
83

เสียงที ไฮยีนาเปล่งออกมาที ฟังคล้ายเสียงคนหัวเราะ


นัน จะเกิ ดขึนได้ในหลายเหตุการณ์ เช่น ถูกขับไล่
หรือถูกคุกคาม ได้เจอเหยือที ตนชอบ ไฮยีนาจะ
แสดงอาการหอนร้องโหยหวนเมือรู้สึกว่าตนเองอยู่
โดดเดียว

ไฮยีนาลายจุด ( spotted hyena ) เป็ นชนิ ดของไฮยีนาที มีการกระจายพันธุ์และมีจาํ นวน


มากกว่าไฮยีนาชนิ ดอืนๆ ในเขตพืนทีทุ่งหญ้าซาวันนาของทวีปแอฟริ กา ไฮยีนาชนิดนี มีขนทีมี
ลักษณะหยาบดูไม่เป็ นระเบียบ สี ขนส่ วนพืนลําตัวเป็ นสี เหลืองเทาและมีจุดสี ดาํ ในสังคมฝูงไฮยี
นาเพศเมียมีลาํ ดับชันทีสู งกว่าไฮยีนาเพศผูแ้ ละมีขนาดของร่ างกายใหญ่กว่าด้วย ไฮยีนาลายจุดอยู่
กันเป็ นฝูงทีเรี ยกว่า เคลน ( clane ) ซึ งอาจมีสมาชิกมากถึง 80 ตัว แต่ละเคลนมีโพรงดินทีไฮยีนา
ขุดไว้และโพรงดินทีอยู่ตรงกลางทีรายล้อมด้วยโพรงดินอืนๆ เพือให้ไฮยีนาเพศเมียเลียงลูก

ฮันติงดอค ( Hunting Dog )


เป็ นสัตว์เพียงชนิ ดในตระกูล ( Genus ) Lycaon ชือสามัญอืน ๆ ทีเรี ยก เช่น African
hunting dog หรื อ Wild dog รู ปร่ างหน้าตาคล้ายไฮยีนา มีโครงสร้างของกะโหลกศีรษะขนาด
ใหญ่และมีขากรรไกรทีแข็งแรง ฮันติงดอคดํารงชี วิตและเคลือนทีรวมกันเป็ นฝูงประมาณ 10 ตัว
หรื ออาจมากถึง 60 ตัว แต่ละฝูงจะมีอาณาเขตของตัวเอง แต่ดว้ ยลักษณะนิสยั ทีเคลือนทีไปตาม
แหล่งอาหาร ทําให้อาณาเขตมีการเปลียนแปลงได้เสมอ โดยทัวไปฝูงของฮันติงดอคจะล่ากาเซล (
gazelle ) แต่ถา้ เป็ นฝูงขนาดใหญ่อาจจะล่าม้าลายหรื อลูกไวเดอร์บีสท์ เป็ นสัตว์ทีแข็งแรงสามารถ
วิงได้เป็ นระยะทางไกลต่อเนื องกันทีระดับความเร็ ว 40 กม./ชม.

ภาพที 3.26 การส่ง


สัญญาณระหว่างสมาชิก
ในฝูงจะใช้ การกระดิกหู ที
มีรูปร่างกลมและมีขนาด
ใหญ่
84

ลูกของฮันติงดอคจะดูดนมแม่เป็ นเวลา 3 สัปดาห์ในโพรงดินรวมของฝูง ลูกหมาป่ าทีเริ ม


โตจะกินเนื อทีพ่อแม่หรื อสมาชิกในฝูงตัวอืนๆ สํารอกออกมา การแบ่งเนื อของสัตว์เหยือทีล่ามาได้
โดยสมาชิกในฝูงจะดําเนินไปโดยไม่มีการทะเลาะแย่งชิง เมือลูกฮันติงดอคเติบโตเพียงพอทีจะ
ติดตามฝูงได้แล้ว เมือฝูงสามารถล่าเหยือได้สมาชิ กในฝูงจะยินดีให้ลกู ฮันติงดอคร่ วมกินเหยือด้วย
โดยให้กินเหยือก่อนเป็ นกลุ่มแรก ดังนันการอยู่เป็ นฝูงเป็ นสิ งทีจําเป็ นต่อการมีชีวิตรอด เพราะการ
ดํารงชีวิตเพียงตัวเดียวจะไม่สามารถล่าเหยือได้ และจะต้องตายถ้าแยกตัวออกจากฝูง

ทุ่งหญ้ าในทวีปอเมริกาเหนือ ( North American Grasslands )


หมาป่ าไคโยตี ( coyote ) เป็ นหมาป่ าที มีขนาดร่ างกายอยูก่ ึงกลางระหว่าง wolf และ fox
ไคโยตีเป็ นสัตว์ผลู ้ ่าชนิ ดทีสามารถสามารถปรับตัวให้อยู่รอดกับลักษณะของพืนทีเปลียนแปลงได้
ไคโยตีจะล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น กระต่ายและหนู นอกจากนันยังจับปลา นกและกินซากสัตว์ดว้ ย
การล่าเหยือของไคโยตีจะออกล่าเพียงตัวเดียวหรื อออกล่าเป็ นคู่ มีบางครังทีจะรวมตัวกันเป็ นฝูง
เพือทีจะล่าสัตว์เท้ากีบ เช่น พรองฮอร์น ( pronghorn )

ภาพที 3.26 ไคโยตีสามารถรอดผ่านฤดูหนาวมาได้ เนืองจากการกินซากสัตว์ เช่น กวางและวัว


ลูกของไคโยตีจะเกิดในฤดูใบไม้ ผลิ แม่จะเป็ นผู้ดแู ลลูกทีเกิดใหม่เป็ นระยะเวลาหลายสัปดาห์ และ
ในช่วงท้ ายของฤดูร้อนลูกของไคโยตีจะแข็งแรงพอทีจะออกล่าเหยือและดํารงชีวิตได้ ด้วยตัวเอง

ความเร็วในการวิงของไคโยตีจะอยูท่ ีประมาณ 64 กม./ชม. ช่วงทีออกล่าเหยือมากทีสุ ดจะ


อยูใ่ นช่วงพลบคําและเวลากลางคืน โดยในช่วงกลางคืนจะร้องในลักษณะเสี ยงโหยหวน เพือเป็ น
การประกาศให้ไคโยตีตวั อืนทราบตําแหน่งของตนเองหรื อเป็ นการประกาศอาณาเขต
85

หมาป่ าไคโยตีเป็ นสัตว์เพียงไม่กีชนิดทีสามารถปรับตัวกับการเข้ ามาตังถินฐานในพืนทีอยู่


อาศัยของมนุษย์ โดยพบว่าตังแต่ช่วงปลายของศตวรรษที 19 ไคโยตียังมีการขยายอาณาเขต
อย่างต่อเนือง ในปั จจุบนั มีการกระจายพันธุ์ครอบคลุมพืนทีทังประเทศสหรัฐอเมริ กาและประเทศ
แคนาดาทางตอนใต้ มีตวั อย่างทีแสดงความสามารถในการปรับตัวของไคโยตีในการดํารงชีวิต
ใกล้ กบั พืนทีอยู่อาศัยของมนุษย์ เช่น การเดินตามรถแทรกเตอร์ หรื อฝูงวัวเพือจับหนูทีวิงตกใจ
ออกจากพงหญ้ า
ไคโยตีจะเป็ นสัตว์ทีได้ ประโยชน์จากการลดจํานวนลงของสัตว์ผ้ ลู า่ ทีเป็ นคูแ่ ข่ง เช่น หมา
ป่ าวูลฟ์หลายชนิด ( wolves ) และบ๊ อบแคท ( bobcat ) เนืองจากสัตว์กลุ่มดังกล่าวจํานวนลดลง
เมือพืนทีป่ าลดลง แต่ไคโยตีมปี ริ มาณลูกต่อคอกทีมากและกินอาหารได้ หลากหลายชนิด หรื อ
สัตว์ชนิดอืนทีมีถินทีอยู่แบบทุ่งหญ้ าทีไม่สามารถไม่สามารถปรับตัวให้ เข้ ากับลักษณะของ
สิงแวดล้ อมทีเปลียนแปลงไปได้ เช่น ไบซัน เฟอเรทเท้ าดํา ( Black foot ferret )

วัวป่ าไบซัน ( Bison )


ก่อนทีพ่อค้าชาวยุโรปจะมาถึงทวีปอเมริ กา คาดว่าในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2143 มีววั ป่ าไบซัน
อพยพย้ายถินไปมาในบริ เวณพืนทีระหว่างแม่นามิ ํ สซิ ปซิ ปปี และภูเขาร็ อคกีที เรี ยกว่า ทีราบใหญ่
( great plain ) ประมาณ 50-75 ล้านตัว นอกจากนันยังพบการกระจายพันธุ์ของไบซันในป่ า
ทางด้านตะวันออกของแม่นามิ ํ สซิ ปซิ ปปี อีกพืนทีหนึ ง ชาวอินเดียนจะล่าไบซันและใช้ประโยชน์
ทุกส่ วนของสัตว์ เช่น ใช้เนือเป็ นอาหาร ใช้เขาเป็ นถ้วย ใช้กระดูกทําเครื องมือ ใช้หนังเป็ น
เครื องนุ่งห่ มและเต๊น
ภาพที 3.27 ในช่วงฤดูหนาว
ไบซันจะรวมฝูงกันแบบเพศเดียว
เป็ นฝูงตัวผู้และฝูงตัวเมีย มีบ้าง
ฝูงย้ ายถินไปในพืนทีอบอุน่ เพือ
หาอาหาร ในช่วงฤดูร้อนฝูงตัวผู้
และฝูงตัวเมียจะอยู่ร่วมกันเพือ
ผสมพันธุ์

ในช่วงกลางของศตวรรษที 18 พืนทีบริ เวณทีราบใหญ่ มีการใช้พืนทีเพือการเกษตรกรรมมาก


ขึน มีการล่าไบซัน นอกจากนันทางรถไฟและฟาร์มปศุสัตว์ก็กีดขวางเส้นทางการอพยพ การล่าไบ
ซันเพือนําไปใช้ประโยชน์นบั เป็ นล้านๆ ตัว ล่าจนกระทังเหลือเพียง 1,000 ตัว ใน พ.ศ 2443
86

ในพืนทีอเมริ กาเหนือ ทังฝ่ ายรัฐบาลและนักอนุรักษ์ช่วยกันอนุรักษ์สัตว์ชนิ ดนีไว้โดยพบว่า


ในช่วงปี 1990 มีประชากรของไบซันเพิมขึนเป็ น 50,000 ตัว โดยอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าแพรี ของ
อุทยานแห่ งชาติหลายแห่ ง
ไบซันเป็ นสัตว์ป่าที มีขนาดใหญ่ โดยมีความสู งช่วงไหล่มากกว่า 2 เมตร และมีนาหนัํ กอาจ
มากถึง 1,000 กก. ในช่วงฤดูหนาวขนทีบริ เวณลําตัวจะเจริ ญหนาแน่นขึน รวมทังขนทีส่วนหัวซึ ง
จะมีหนาแน่ นมากกว่าส่ วนอืนๆ ของร่ างกายเพือเป็ นฉนวนกันความหนาวเย็น ในช่วงทีมีหิมะและ
ลมหนาวพัดมาอย่างแรงไบซันจะหันหน้าไปปะทะกับสายลมหนาวและหิ มะ ไบซันจะหาหญ้ากิน
ในช่วงฤดูหนาวด้วยการใช้ส่วนหัวกวาดหิ มะอย่างแรงๆ ซ้ายขวา เพือกวาดเอาหิ มะทีพืนดินออก
ในช่วงต้นของฤดูใบไม้ผลิไบซันจะนอนเกลือกกลิงไปมากับพืนดินเพือถูขนทีปกคลุมลําตัวในช่วง
ฤดูหนาวออกไป พฤติกรรมการหาอาหาร จะกินหญ้าในช่วงเช้าและเคียวเอืองในช่วงกลางวันและ
กินหญ้าอีกครังในช่วงเย็น
เส้นทางทีผูเ้ ข้าไปตังถินฐานในประเทศสหรัฐอเมริกาใช้
ในช่วงการอพยพจากฝตะวั ั นออกมาฝงตะวั
ั นตกใน
ศตวรรษที 18 ใช้เส้นทางทีไบซันเดินทางเพือย้ายถิน มี
ตัวอย่าง 2 เส้นทางคือทางเดินผ่านภูเขาอัพพาลาเชียน
และเส้นทางทีขึนไปทางเหนือของรัฐโอไฮโอ ซึงต่อมาได้
กลายเป็ นเส้นทางเดินรถไฟทีเข้าสูใ่ จกลางเมืองนิวยอร์ค

ภาพที 3.28 อเมริ กนั ไบซัน ถูกเรี ยกว่า ควาย (buffalo)


โดยชาวยุโรปทีเข้ าตังรกราก ในราวค.ศ. 1635 เนืองจาก
เขารู้สกึ ว่ารูปพรรณสัญฐานคล้ ายกับควายในแอฟริ กา
และเอเชีย

สั ตว์ เคียวเอียง ( Ruminant )


สัตว์เคียวเอืยงเป็ นสัตว์กีบเท้าคู่ทีสามารถย่อยหญ้าหรื อใบไม้ทีเส้นใยเหนียวหยาบนี ได้
ด้วยการเคียวซําอาหารทีสํารอกจากกระเพาะอาหารส่ วนรู เมน( rumen ) สัตว์ทีอยู่ในกลุ่มนี เช่น วัว
ป่ าไบซัน ควาย วัว แอนติโลป แพะ แกะ กวาง
สัตว์เคียวเอืองส่ วนใหญ่จะมีกระเพาะทีแบ่ง 4 ส่ วนคือ Rumen ( รู เมน ผ้าขีริว )
Reticulum ( เรติคูลมั รังผึง ) Omasum ( โอมาซัม สามสิ บกลีบ ) และ abomasums ( อโบมาซัม
กระเพาะแท้ ) ขันตอนแรกในการกินอาหาร สัตวเคียวเอืองจะเคียวและกลืนอาหารอย่างรวดเร็ว
87

และอาหารก็จะมาพักทีกระเพาะส่ วนรู เมน เป็ นส่ วนทีจะเริ มมีการย่อยอาหาร ลําดับต่อมาในช่วงที


สัตว์หยุดพักการกินอาหารสัตว์จะสํารอกเอาอาหารออกมาเพือเคียวอีกครังหนึ ง

อาหารทีถูกเคียวอีกครังนี จะถูกกลืนลงไปอีก
ครังและการย่อยก็จะเกิดในกระเพาะส่ วน 2 – 4
ต่อไป และอาหารทังหมดจะถูกส่ งไปย่อยและดูดซึ ม
ต่อทีลําไส้เล็กและลําไส้ใหญ่ต่อไป การกินอาหาร
อย่างรวดเร็ วในครังแรกนัน เพือเป็ นการใช้เวลาใน
แหล่งอาหารให้น้อยลง เพือลดการตกเป็ นเหยือของ
สัตว์ผลู ้ ่า และขบวนการนีเป็ นขบวนการทีช่วยให้สตั ว์
สามารถใช้พืชซึ งมีโครงสร้างทีแข็งย่อยยากมาเป็ น
แหล่งพลังงานได้

เขาแบบฮอร์ น (horn)

สิ งทีเขาแบบฮอร์ น( horn ) เหมือนกับเขาแบบแอทเลอร์ (antler ) คือเขาทังสองลักษณะนี


เจริ ญเติบโตจากส่ วนกะโหลก พบในสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมหลายชนิ ด ซึ งบางชนิ ดมีเขาทังสอง
เพศ หรื อบางชนิดพบเฉพาะเพศผู ้ เขาแบบฮอร์ นจะมีการเจริ ญเติบโตอยูต่ ลอดเวลาซึ งจะแตกต่าง
จากเขาแบบแอทเลอร์จะมีการผลัดเขาเป็ นวงรอบ ตัวอย่างของสัตว์ทีมีเขาแบบแอทเลอร์คือกวาง
ชนิดต่างๆ แต่มีขอ้ ยกเว้นคือเขาของสัตว์กีบเท้าคู่ ชื อ พรองฮอร์น ( Pronghorn ) ทีผิวชันนอกจะมี
การหลุดลอกออกทุกปี
88

เขาแบบฮอร์นจะเป็ นมีโครงสร้างเป็ นแกนกระดูกทีถูกคลุมด้วยปลอกเขา โดยปลอกเขา


เป็ นสารจําพวกเคอราตินซึ งเป็ นสารทีมีโปรตีนเป็ นส่ วนประกอบอยูส่ ูง มีคุณสมบัติกนั นําได้และ มี
ความเหนี ยว ตัวอย่างของอวัยวะของมนุษย์ทีมีสารเคอราตินเป็ นส่ วนประกอบเช่น ผมและเล็บ

สัตว์เพศผูท้ ี มีเขาแบบฮอร์น จะใช้เขาเพืออวด ข่มขวัญทีบางครังมีความต้องการเพือให้ตวั


ผูต้ วั อืนๆ ยอมตามหรื อต่อสู้กบั เพศผูต้ วั อืนเพือแย่งการเป็ นจ่าฝูงโดยเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์ หรื อ
จะใช้ในการปกป้ องตัวเองจากสัตว์ผลู ้ ่า

พรองฮอร์ น ( Pronghorn )-
เป็ นสัตว์ทีนักอนุ กรมวิธานได้จดั แยกให้พรองฮอร์นอยู่ในวงศ์ ( family ) ของตนเองแยก
จากแอนติโลป ( Antelope ) ทีอยู่ในวงศ์โบวิดี ( family bovidae ) เป็ นสัตว์เคียวเอืองทีมีการ
กระจายพันธุเ์ ฉพาะในทวีปอเมริ กาเหนื อ ฟันจะมีการเจริ ญเติบโตตลอดเวลาเพือเหมาะกับการใช้
กัดเคียวหญ้าทีหยาบแข็งและใบของพืชไม้พุ่ม ลูกตาจะนูนสูงขึนทีช่วยให้พรองฮอร์นสามารถ
มองเห็นได้รอบตัว 360 องศาเมือหันหัวไปมาด้านซ้ายขวา การรวมกลุ่มเป็ นฝูงขนาดใหญ่จะเกิดขึน
ในลักษณะรวมกันตามเพศ ในช่วงต้นของฤดูใบไม้ผลิฝงู จะแบ่งเป็ นฝูงของเพศผูว้ ยั หนุ่ ม ฝูงของ
เพศเมีย ส่วนเพศผูท้ ีโตเต็มวัยจะอยูต่ วั เดียว ส่ วนช่วงฤดูหนาวจะร่ วมตัวกันทังสองเพศเป็ นฝูง
ขนาดเล็ก
พรองฮอร์นเป็ นสัตว์ทีวิงได้เร็ วทีสุดในทวีปอเมริ กาที 100 กิโลเมตร / ชัวโมง ลูกทีเกิด
ใหม่ทีอายุ 4 วันสามารถจะวิงหนีมนุษย์ได้ เมือพบสิ งผิดปกติกลุ่มขนสี ขาวทีบนหัวด้านบนจะตัง
ชันขึน ซึงจะเป็ นการเตือนภัยไปยังพรองฮอร์นตัวอืนๆ ซึงพรองฮอร์นตัวอืนๆ สามารถเห็น
สัญญาณเตือนภัยได้ไกลถึง 3 กิโลเมตร รวมทังใช้การปล่อยกลินจากจากต่อมขน ( musky scent )
เพือเป็ นการบอกเตือนอันตรายไปยังพรองฮอร์นตัวอืนๆ
89

ช่วงทีผูอ้ พยพจากทวีปยุโรปเพือตังถินฐานใหม่ในทวีปอเมริ กาเหนื อมีการประมาณกันว่า


ประชากรของพรองฮอร์ นมีประมาณ 40 ล้านตัว ในช่วงปี พ.ศ. 2458 จํานวนลดลงมากเหลือ
ประมาณ 15,000 ตัว ในปั จจุบนั จากแผนการอนุรักษ์พรองฮอร์ นทําให้ประชากรเพิมขึนมาอยู่ที
ประมาณ 5 แสนตัว

ภาพที 3.29 พรองฮอร์ นเพศผู้จะมีเขาสีดํา


ส่วนกลางใบหน้ าเหนือสันจมูกจะมีแถบยาวสี
ดํา และ ขีด 2 ขีดทีบริ เวณใกล้ หู แถบทีมี
เหล่านีจะเป็ นเครื องหมายทีแสดงถึงตัวผู้ทีเป็ น
จ่าฝูง
ข้อมูลที น่ าสนใจ
- แอนติ โลพเพศเมียจะมีเขาแบบฮอร์นที
สันกว่าตัวผู้
- แอนติ โลพเพศผู้จะมีต่อมกลิ นที อยู่ทีหู
ด้านข้างของลําตัว นิ วเท้ า ซึงกลิ นที ผลิ ต
ออกมาจะถูกใช้ทาตามทีต่างๆ เพือเป็ น
การกําหนดอาณาเขต
ตัวขุดในทุ่งหญ้ าแพรรี (Digging in on the Prairie.)
แพรีดอค ( Prairie Dog )
เป็ นสัตว์ทีมีการเห่าคล้ายกับสุ นขั เมือตืนตกใจหรื อเพือเป็ นการเตือนภัย แพรี ดอคเป็ นสัตว์
ทีอยู่ในกลุ่มกระรอกทีดํารงชีวิตบนพืนดิน ( ground squired ) อาหารทีสัตว์ชนิดนี กิน เช่น ตักแตน
หญ้าทีขึนอยู่ใกล้ๆ กับปากอุโมงใต้ดิน แตกต่างจากกระรอกชนิดอืนๆ คือ เป็ นสัตว์ทีออกลูกปี ละ
1 ครัง โดยทังเพศผูแ้ ละเพศเมียจะช่วยกันดูแลลูกอ่อน
การป้ องกันตัวของสัตว์ชนิดนี ในการดํารงชีวิตในทุ่งหญ้าแพรี แพรี ดอคแต่ละฝูงจํานวน
หลายฝูงจะขุดอุโมงค์ใต้ดินอยูใ่ กล้กนั และต่อเนื องกัน จนเกิดสภาพเป็ นเมืองโพรงดินทีสามารถ
เชือมโยงต่อกันได้ ในบริ เวณพืนทีผิวดินเหนื ออาณาเขตเมือง แพรี ดอคจะตัดกัดต้นไม้ทีมีความสู ง
เกิน 6 นิว เพือให้ตวั ของมันเองสามารถมองไปยังบริ เวณโดยรอบได้ โดยเฉพาะเมือแพรี ดอคไปนัง
ทีกองดินทีพูนเหนื อช่องเปิ ดของอุโมงค์ แพรี ดอคเป็ นสัตว์สงั คมโดยจะยอมให้แพรี ดอคจากต่างฝูง
และเครื อญาติทีอยู่ในโพรงดินใกล้เคียงเข้ามาใช้อโุ มงค์ได้ การทักทายกันจะใช้จมูกสัมผัสกันและ
ส่งเสี ยงทักทาย แต่ถา้ เป็ นตัวทีไม่รู้จกั จะไล่ให้พน้ พืนทีของตัวเอง ถ้าแพรี ดอคทราบว่ากําลังมีสัตว์
ผูล้ ่าเข้ามาใกล้พืนทีของตัวเอง การส่ งเสี ยงร้องทีเป็ นสัญญาณเตือนให้แพรี ดอคทุกตัววิงลงโพรง
ดินของตัวเอง
90

ภาพที 3.30 โพรงทีแพ


รี ดอคขุดมักจะมี 2 ทางออก
ทีจะช่วยให้ อากาศมีการ
ถ่ายเทและเป็ นเส้ นทางหนี
สัตว์ผ้ ลู า่ กองดินทีกองอยู่
ปากโพรงก็จะเป็ นตัวช่วย
ป้องกันนําท่วม

การขุดโพรงดินของแพร์ รีดอคเป็ นสิ งทีมีความสําคัญต่อระบบนิเวศในทุ่งหญ้า โดยการ


ขุดดินจากใต้ดินขึนมาจะเป็ นการนําดินทีอุดมสมบรู ณ์ดว้ ยธาตุอาหารนําขึนสู่ผิวดิน นําอากาศไปสู่
ดินที มีการอัดแน่นอยู่ ซึ งจะเหมือนกับชาวไร่ นาทีมีการพลิกไถดิน สาเหตุทีประชากรของแพร์ รี
ดอคลดลงเนื องจาก มีการใช้สารเคมีในฟาร์มปศุสตั ว์และไร่ นา ซึ งการลดจํานวนลงของแพรี ดอคก็
ส่งผลต่อจํานวนของสัตว์ชนิ ดอืนๆ ทีอยู่ในบริ เวณใกล้เคียงทีแพร์รีดอคอาศัยอยู่

ภาพที 3.31 ทีส่ วนแสดงแพร์รีดอคในสวนสวนสัตว์แห่ งชาติ ( National Zoo ) แพร์รีดอคกําลังะ


กินอาหารทีนํามาวางใกล้ๆ กับโพรงดินของตนเอง ซึ งเป็ นการกระตุน้ การเคลือนไหวโดยวิธีใช้
การใช้อาหาร

เฟอร์ เรทเท้ าดํา ( Black footed ferret )


เฟอร์เรทเท้าดําจะดํารงชีวิตอยูใ่ นพืนทีเดียวกันกับแพร์รีดอค และเป็ นสัตว์ทีล่าแพร์ รีดอค
เป็ นอาหาร มีรูปร่ างลําตัวเรี ยวยาว มีการกระจายพันธุ์บริ เวณตะวันตกของทวีปอเมริ กาเหนือ เป็ น
สัตว์ทีดํารงชีวิตอยู่ตวั เดียว ล่าเหยือในเวลากลางคืน โดยในช่วงปี พ.ศ. 2513 ( คศ. 1970 ) เชือกัน
ว่าเฟอร์เรทเท้าดําสู ญพันธุ์ไปแล้ว
91

ในช่วงต้นของปี พ.ศ . 2523 - 2532 ได้มีการพบเฟอร์ เรทเท้าดําทีรัฐไวโอมิง ต่อมาเฟอร์


เรทเท้าดํากลุ่มนีมีจาํ นวนลดลงเรื อยๆ เนื องจากโรคระบาด เจ้าหน้าทีของรัฐบาลจึงตัดสิ นใจทีจะ
จับเฟอร์ เรทเท้าดําทัง 18 ตัวเพือนําเข้าโครงการขยายพันธ์ในสวนสัตว์

ภาพที 3.32 เฟอร์เรทเท้าดํา ( Black foot ferrets ) ล่าแพร์รีดอคเป็ นอาหารและยังใช้โพรงดินของ


แพร์รีดอคเป็ นทีอยูอ่ ีกด้วยด้วย จากความพยามของสวนสัตว์หลายแห่ งได้ช่วยกันเพาะขยายพันธ์
จนกระทังสัตว์ชนิ ดนีจนมีจาํ นวนเพิมเป็ น 405 ตัว

ปัจจุบนั สวนสัตว์แห่ งชาติ ( national zoo ) ในรัฐวอชิ งตัน เป็ นสวนสัตว์ทีมีโครงการเพาะ


ขยายพันธ์สตั ว์ชนิดนี และท้ายทีสุ ดได้มีโครงการนําเฟอร์เรทเท้าดําปล่อยคืนสู่พืนทีธรรมชาติ ใน
พืนทีทีมีฝงู ของแพร์รีดอคดํารงชีวิตอยูใ่ นรัฐไวโอมิง

นกผู้ล่าแห่ งทุ่งหญ้ าแพรี ( Birds of Prey of the Prairies )


เหยียวและนกอินทรี จะออกล่าเหยือทีมีในทุ่งหญ้า เช่น หนู กระต่าย กระรอกและแพร์
รี ดอค แพร์ รีดอคจะมีเสี ยงจําเพาะทีใช้บอกเตือนแพร์รีดอคตัวอืนๆ ในระยะกระชันชิดว่าขณะนี มี
ศัตรู ผลู้ ่าคือเหยียวและนกอินทรี กาํ ลังบินใกล้เข้ามา ถึงแม้วา่ นกล่าเหยือเหล่านี ไม่สามารถตาม
แพร์รีดอคเข้าไปในโพรงดินได้ แต่ดว้ ยความเร็ วและความแม่นยําในการบินโฉบจับเหยือ คือ
ปัจจัยสําคัญทีทําให้ล่าเหยือสําเร็ จ

เหยียวและนกอินทรี นกล่าเหยือบางชนิ ดเช่น นกอินทรี สีทอง ( golden eagle ) และเหยียวหางแดง


( red tail hawk ) จะทํารังบนเรื อนยอดของต้นไม้หรื อบนชะง่อนผาทีอยูช่ ายขอบของทุ่งหญ้า
เหยียวนอร์ ทเทรินแฮริเออร์ ( northern harrier ) เป็ นเหยียวทีมีการกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริ กา
เหนือ ยุโรปและเอเชีย จะทํารังทีพืนดินทีมีไม้พุ่มขึนหนาแน่น พืนทีลักษณะอืนๆ ทีนกชนิดเลือก
ทํารังเช่น เนินทรายและใกล้หนอง บึง
92

ภาพที 3.33 ( บน ) เมือนกอินทรี สีทองกางปี กเต็มทีจะ


วัดความยาวได้ ประมาณ 2 เมตร
ภาพที 3.34 ( ซ้ าย ) เหยียวเฟอร์ รูจินสั จะมีสายตาทีดีมาก
สามารถค้ นหาจุดทีเหยืออยู่และมีกรงเล็บทีแข็งแรงเพือโฉบ
จับเหยือ

วัสดุทีเหยียวหลายชนิดเลือกใช้ในการทํารังขึนอยูก่ บั พืนทีทีนกเลือกทํารัง เช่น ใกล้พืนที


เพาะปลูก เหยียวหางแดง ( Red – tail Hawk ) ทีอยู่ใกล้พืนทีเพาะปลูกจะเลือกใช้ลาํ ต้นข้าวโพดเป็ น
วัสดุรองรัง เหยียวหลายชนิดทีดํารงชีวิตในพืนทีทีราบใหญ่ ( Great Plain ) ของประเทศ
สหรัฐอเมริ กาจะใช้มลู ของวัว มูลม้า กระดูกสัตว์ชินเล็ก
เหยียวหางแดงวางไข่ครังละ 1-4 ฟองในฤดูใบไม้ผลิ ช่วงเวลาในการฟั กไข่ประมาณ 1
เดือน เมือลูกเหยียวอายุได้ 6 สัปดาห์จึงจะแข็งแรงพอทีจะฝึ กบิ นได้ และถึงแม้วา่ ลูกนกจะ
แยกตัวออกไปหากินเองแล้ว พ่อแม่นกยังคงใช้รังร่ วมกันต่อไป นกชนิ ดนีส่วนใหญ่จะจับคู่กนั
ตลอดชีวิต
นกเหยียวและนกอินทรี เป็ นนกทีมีความสามารถในการบินร่ อนได้ดี ควบคุมการใช้ปีกเพือ
ลอยตัวอยูบ่ นและใต้กระแสลม นกอินทรี ทองทีมักจะทํารังอยูบ่ นภูเขาและล่าเหยือที อาศัยอยู่ในทุ่ง
หญ้า สามารถบินร่ อนเป็ นเวลาหลายชัวโมงด้วยการกระพือปี กเพียงไม่กีครัง หากดูจากระยะไกล
จะเห็นบินวนเป็ นวงกลมอย่างช้าๆ แต่ในความจริ งแล้วความเร็ วในการบินของนกสู งมาก โดย
ความเร็วในการร่ อนไปมาจะอยูท่ ีประมาณ 190 กม / ชม และในช่วงทีทิงตัวในแนวดิงจะมี
ความเร็ว 240 – 320 กม / ชม

ทุ่งหญ้ าในออสเตรเลีย ( Australian Grassland )


ถึงแม้วา่ ทุ่งหญ้าในออสเตรเลียจะถูกเปลียนแปลงไปเป็ นพืนทีเพือใช้ในการเกษตรกรรม
แต่จิงโจ้ ( Kangaroo ) จํานวนหลายล้านตัวก็ยงั สามารถดํารงชีวิตในทุ่งหญ้าทีอยู่โดยรอบพืนที
ทะเลทราย ทีมีพืนทีกว้างขวางในทวีปออสเตรเลีย
93

ภาพที 3.35 ( ซ้ าย ) จิงโจ้ แดง


( Red Kangaroo ) และ ( ล่าง )
จิงโจ้ เทาทัสเมเนียน
( Tasmanian Kangaroo ) ที
แสดงการใช้ หางในการช่วยสร้ าง
สมดุลและคําจุนในช่วงการ
กระโดด ( hopping ) หรื อยืน

จิงโจ้เป็ นสัตว์ทีมีถุงหน้าท้อง ( marsupial ) ในเพศเมียเพือเป็ นทีเลียงดูให้ลกู ทีเกิดใหม่


เจริ ญเติบโตจนถึงช่วงอายุทีจะดูแลตัวเองได้โดยจะอยู่ในถุงหน้าท้องนาน 5 - 11 เดือน การทีลูก
จิงโจ้อยูใ่ นถุงหน้าท้องทําให้โอกาสทีลูกอ่อนจะมีชีวิตรอดมีมากขึน เนืองจากแม่จะมีประสบการณ์
ในการเอาตัวรอด และลักษณะทางร่ างกายทีจิงโจ้สามารถวิงได้เร็ วเพือหนีจากศัตรู

ข้อมูลที น่ าสนใจ
- จิงโจ้เป็ นสัตว์ทีมีขาหน้ าสันเมือ
เปรียบเทียบกับขาหลังที ยาวเพือใช้
ในการกระโดด
- การลดอุณหภูมิของร่างกายจิงโจ้
จะทําได้โดยการเลียทีขาหน้ าด้าน
ใน ( inside of their fore arm ) ซึง
เป็ นบริ เวณที เส้นเลือดเข้าใกล้กบั
ผิ วหนัง

มีจิงโจ้หลายชนิ ดมีการกระจายพันธุท์ วทวี


ั ปออสเตรเลีย เช่น จิงโจ้แดง ( red kangkaroo ) ที
มีความยาวลําตัวประมาณ 1.5 เมตร วอลลารู หรื อจิงโจ้ภูเขา ( wallaroo , hill kangaroo ) จะมี
ความยาวลําตัว 1.25 เมตร และจิงโจ้เทาใหญ่ ( eastern gray kangaroo ) ทีมีความยาวลําตัวอยู่
กึงกลางระหว่างจิงโจ้ทงั 2 ชนิดที กล่าวมาแล้ว ซึ งมีการกระจายพันธุ์ในทิศตะวันออกของทวีป
ออสเตรเลียและเกาะทัสเมเนี ย จิงโจ้ทุกชนิ ดเป็ นสัตว์กินพืชเป็ นอาหารหลัก
จิงโจ้ใช้ความสามารถในการวิงได้เร็ วเพือหนี จากสัตว์ผลู้ ่า ในการเดินทางไกลจะกระโดด
ต่อเนื องด้วยความเร็ ว 40 กิโลเมตร / ชัวโมง ในการกระโดดต่อเนื องอย่างรวดเร็วในระยะสันๆ จะ
94

มีความเร็ วประมาณ 48 - 64 กม./ชม. นอกจากการกระโดดต่อเนื องทีรวดเร็ วแล้วอาวุธอีกอย่าง


หนึ งของจิงโจ้ คือ เล็บเท้าหน้าทีมีความแหลมคมซึ งสามารถเปิ ดผิวหนังและกล้ามเนือช่องท้อง
ของสัตว์ ทีเข้ามาเพือประสงค์ร้ายได้ดว้ ยการตะกุยเพียงครังเดียว กลไกการป้ องกันตัวและวิธีการ
เลียงลูกอ่อนเป็ นตัวช่วยทีสําคัญทีทําให้จิงโจ้สามารถยึดครองพืนทีทุ่งหญ้าแข่งกับมนุษย์ได้

ลูกสัตว์ป่ากับกระบวนการเพือความอยู่รอด ( Baby Animals and Their Survival Strategies )


ช่วงอายุในสัปดาห์แรกของลูกสัตว์ทีเกิดกลางพืนป่ าธรรมชาติ เป็ นช่วงทีเสี ยงอันตรายมาก
จากสัตว์ผลู ้ ่าเนื องจากสภาพร่ างกายยังไม่แข็งแรง การเคลือนทีได้ชา้ กว่าพ่อแม่หรื อสมาชิ กอืนๆใน
ฝูง และมีขนาดร่ างกายเล็กทีจึงตกเป็ นเหยือของสัตว์ผลู ้ ่าได้ง่าย โดยเฉพาะในพืนทีทุ่งหญ้าทีไม่มี
ต้นไม้ขึนอย่างหนาแน่นเพือช่วยในการซ่ อนตัว
สัตว์เท้ากีบหลายชนิ ดทีอยู่อาศัยในทุ่งหญ้าจะมีขบวนการออกลูกทีรวดเร็ว วิลเดอร์ บีสท์
จะออกลูกโดยใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชัวโมง โดยสถานทีออกลูกอาจเป็ นเพียงพงหญ้าทีหญ้าขึนสู ง
เท่านัน ลูกของยีราฟออกจากท้องแม่โดยค่อยๆ หย่อนตัวจากตัวแม่สู่พืนดินในความสู งเกือบ 2
เมตร โดยใช้เวลาตังแต่เริ มต้นจนตกลงพืนเพียง 45 นาที

ลูกสัตว์ทีเกิดใหม่ในถินทีอยูแ่ บบทุ่งหญ้าจะมีการเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว ลูกของแอนติ


โลปและลูกม้าลายจะวิงได้ภายใน 1 ชัวโมง ยีราฟทีเกิดใหม่มีความสู งประมาณ 2 เมตรหนัก 68
กิโลกรัมสามารถยืนได้ภายใน 1 ชัวโมง ลูกนกกระจอกเทศทีเกิดใหม่จะมีความสู งจากปลายเท้าถึง
หัวประมาณ 30 เซนติเมตร และสามารถจิกกินอาหารทีเป็ นใบไม้ได้ทนั ทีทีขนแห้ง
สัตว์ทีออกลูกในสถานทีลูกสามารถซ่อนตัวได้ เช่น โพรงดิน ลูกทีเกิดใหม่จะต้องใช้เวลา
ระยะหนึงเพือให้สภาพร่ างกายเติบโตเต็มสภาพ เช่น ลูกหมาป่ าโคเอตีหนังตายังปิ ดอยูแ่ ละยัง
95

ช่วยเหลือตัวเองยังไม่ได้ ลูกของเสื อซี ตาร์หนังตายังปิ ดอยูแ่ ละนําหนักน้อยกว่า 1 ปอนด์ ลูกไฮยีนา


จะดํารงชีวิตในโพรงดินนาน 6 - 8 สัปดาห์
มีลูกสัตว์บางชนิ ดทีมีพฤติกรรมฝังใจ เป็ นกระบวนทีเกิดขึนเพือให้ลูกสัตว์จดจําแม่ของ
ตนเองให้ได้ เนื องจากแม่คือผูป้ ้ อนอาหารและช่วยป้ องกันอันตรายให้ ลูกสัตว์กลุ่มนี จึงจดจําวัตถุที
อยูใ่ กล้ทีสุ ดและเห็นบ่อยทีสุ ดในช่วงเวลาแรกทีตนเองเกิดขึนมา แม่มา้ ลายและลูกจะแยกตัวออก
จากฝูงเป็ นเวลาหลายวันภายหลังทีแม่มา้ ลายออกลูก ซึ งช่วงเวลาดังกล่าวจะเป็ นช่วงเวลาทีจะให้ลกู
ม้าลายเกิดพฤติกรรมฝังใจกับแม่ของตัวเองเพือให้ลูกม้าลายจดจําแม่ของตัวเองได้
ช้างจะเป็ นสัตว์ทีช่วยดูแลลูกอ่อนตัวอืนๆในฝูง ซึ งเป็ นกลไกที มีประสิ ทธิ ภาพสําหรับสัตว์
ทีอยู่รวมกันเป็ นสังคม โดยลูกช้างจะถูกดูแลโดยช้างตัวเมียในฝูงตัวอืนๆ ซึ งไม่ใช่เพียงแม่ชา้ งที
ออกลูกตัวดังกล่าวเท่านัน ในฝูงช้างทีมีสมาชิกจํานวนมาก ช้างสาว 1 ตัวอาจต้องดูแลลูกช้างหลาย
ตัว แม่สิงโตหรื อแม่ไฮยีนาทีกําลังเลียงลูกของตนเองจะยอมให้ลูกสิ งโตหรื อลูกไฮยีนาจากแม่อืนๆ
ดูดนมของตนเองด้วย
แพร์รีดอคเป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตแบบสัตว์สังคม การปกป้ องลูกสัตว์เกิดใหม่จะใช้โพรงดิน
เป็ นทีอยู่ ในช่วงต้นฤดูร้อนลูกแพร์รีดอคทีเกิดใหม่จะถูกดูแลโดยแพร์รีดอคทังเพศผูแ้ ละเพศเมีย
หลายตัวทีอยู่ในฝูงเดียวกัน ลูกของจิงโจ้ทีเรี ยกว่า โจอี ( Joey ) ในช่วง 5 - 11 เดือนแรกของชีวิต
จะอยูภ่ ายในถุงหน้าท้องของแม่
ฝูงของแอนติโลปมักจะถูกติดตามโดยสัตว์ผลู้ ่า ดังนันแอนติโลปแอฟริ กนั บางชนิดจะทิง
ลูกให้อยูต่ ามลําพังในพงหญ้าหนา ในขณะทีแม่กินหญ้าในบริ เวณห่างออกไป แม่ของอีแลนด์จะ
กลับมารวมฝูงเพือกินอาหารและจะกลับไปหาลูกอ่อนเป็ นช่วงๆ ในเวลากลางวันเพือให้นมลูก
ส่วนวัวป่ าอเมริ กนั ไบซันจะปกป้ องลูกทีเกิดใหม่ โดยจะให้ลูกสัตว์อยู่ในบริ เวณกึงกลางของฝูงที
รายล้อมด้วยไบซันทีโตเต็มทีแล้ว
แม่เสื อซี ตาร์และเสื อดาวจะทิงลูกไปประมาณ 1 - 2 วันหลังออกลูกเพือหาอาหาร ส่วนแม่
สิ งโตจะเข้าไปกินอาหารทีสมาชิกอืนๆ ในฝูงล่าได้และใช้เวลาส่ วนใหญ่อยู่กบั ลูก แม่เสื อดาว
ก่อนทีจะออกจากบริ เวณทีซ่ อนลูกเพือไม่ให้สตั ว์อืนรู้ทีซ่ อน ลูกแม่เสื อดาวจะกินมูลของลูกและ
กลบมูลของตัวเองและแม่เสื อดาวจะเปลียนสถานทีซ่ อนลูกหลายครัง
96

บทที 4
สัตว์ป่าในทะเลทราย
( Animals of the Desert )

ทะเลทรายเป็ นพืนทีทีไม่เอือต่อการดํารงชีวิตของสิ งมีชีวิตหลายชนิ ด


เนื องจากมีปริ มาณฝนตกและปริมาณนําทีขังในพืนทีน้ อย สภาพอากาศก็ไม่
สมําเสมอ บางช่วงเวลาร้อนจัด บางช่วงเวลาหนาวจัด มีลมพัดแรงและแห้ง
แล้งพัดทรายขึนกองพูนสูง ซึงสัตว์ไม่สามารถขุดเพือสร้างโพรงสําหรับการพัก
อาศัยได้ แต่ในสถานทีไม่เอือแบบนี กลับมีสตั ว์เลียงลูกด้วยนํานม นก สัตว์
สะเทิ นนําสะเทิ นบก แมลง สัตว์เลือยคลานอยู่หลายชนิ ดเป็ นจํานวนมากที
สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้ โดยมีการปรับวิ ธีการดํารงชีวิตเพือให้อยู่รอดได้ใน
สภาพของธรรมชาติ รปู แบบนี

อูฐอาหรับสามารถเดินทางไกลภายในทะเลทรายพร้อมกับบรรทุกสัมภาระได้ถงึ 230 กิโลกรัม


97

ความยากลําบากในการดํารงชีวติ ในทะเลทราย (The challenge of the desert)


ทะเลทรายส่ วนใหญ่จะมีปริ มาณฝนตกต่อปี ไม่เกิน 25 เซนติเมตร หรื อในบางปี ไม่มีฝน
ตกเลย แล้วสัตว์ในทะเลทรายกินนําจากทีใด สัตว์บางชนิดจะอาศัยอยูใ่ กล้แหล่งนําหรื ออพยพเข้า
ไปใกล้พืนทีทีมีฝนตกมากกว่า บางชนิดได้นาจากเหยื
ํ อทีล่าได้ บางชนิ ดได้จากหญ้าหรื อพืชอืนๆ
แต่ในทะเลทรายทีร้อนทีสุ ด อย่างเช่น ทะเลทรายซาฮาร่ า พบว่ามีพืชขึนน้อยมาก

ภาพ 4.1 แผนทีโลกแสดงพืนทีทะเลทราย


สัตว์ทีดํารงชีวิตในทะเลทรายส่ วนใหญ่จะมีกลไกของร่ างกายทีจะเก็บรักษานําเอาไว้
ตัวอย่างเช่น มูลของอูฐทีถ่ายออกมาจะแห้งมาก จนสามารถนําไปเป็ นเชือไฟได้เกือบจะทันทีทีถ่าย
ออกมา ซึ งต่างจากมูลสัตว์ทวไปจะต้
ั องใช้ระยะเวลาช่วงหนึ งจึงจะแห้ง

ภาพที 4.2 ตะบองเพชร เช่น the


plain prickly pear จะมีหนามทีแหลม
คม เป็ นพืชทีมีเติบโตในพืนทีทางตอน
เหนือของอเมริ กาและหมูเ่ กาะฮาไว

พืชในทะเลทรายจะเป็ นแหล่งนําสําหรับสัตว์ทีดํารงชีวิตในทะเลทรายในยามฉุ กเฉิน


กระบองเพชร เช่น กระบองเพชรซากูโรยักษ์ ( giant saguaro ) จะดูดซับนําได้อย่างรวดเร็ วในช่วง
98

ทีมีฝนตกและเก็บสะสมไว้ในลําต้น ซึ งจะมีสตั ว์ทีกินต้นกระบองเพชร เช่น หนูไม้ทะเลทราย


(desert wood rat ) กระต่ายแฮร์แจคแรบบิท (jack rabbit ) พรองฮอร์น ( pronghorn ) และ หมูแพค
คารี ( peccaries ) สัตว์บางชนิ ดจะเลียกินนําค้างทีค้างอยูบ่ นใบไม้ทีกลันตัวในเวลากลางคืน หรื อ
การกินเมล็ดพืชหรื อผลจากพืชทีใบมีคุณสมบัติเก็บสะสมนําได้ดี แต่อย่างไรก็ตามพืชกลุ่มนี เช่น
little leaf horse - bush shrub มักมีวิธีการป้ องกันการถูกกินด้วยการมีหนามแหลมทีมีพิษต่อสัตว์

สภาพอากาศทีร้ อนจัดและหนาวจัด (Too Hot and Too Cold)


อุณหภูมิทีร้อนจัดและหนาวเย็นเป็ นอุปสรรคอีกรู ปแบบหนึงของการอยูอ่ าศัยของสิ งมีชีวิต
ในทะเลทราย อุณหภูมิอาจสูงถึง 54 องศาเซลเซี ยส ซึ งเป็ นข้อมูลทีบันทึ กไว้ทีทะเลทรายเดอะ
เดทวัลเลย์ ( the death valley ) ในประเทศสหรัฐอเมริ กาและทะเลทรายซาฮาร่ าในทวีปแอฟริ กา
หินและทรายทีดูดซับเอาความร้อนไว้จึงทําให้ส่วนพืนดินร้อนกว่าอากาศ ในช่วงกลางคืนอุณหภูมิ
จะลดตําลงเกินกว่าศูนย์องศาในบางพืนทีของทะเลทราย

ภาพที 4.3 แสดงพืนทีในทะเลทรายซาฮาร่ า

สัตว์บางชนิดจะหลบช่วงเวลากลางวันของทะเลทรายโดยการขุดรู ขุดโพรงลงใต้ดินหรื อ
หลบอยู่ใต้กอ้ นหิน สัตว์บางชนิ ดอาศัยอยู่ในลําต้นหรื อกิงก้านของต้นตะบองเพชร กระรอก
ทะเลทราย เช่น กระรอกแอนติโลป ( antelope squirrel ) จะหลบอยู่ใต้พวงหางของของตัวเอง
สัตว์เลือยคลานซึงต้องพึงพาแสงอาทิตย์เพือคงระดับการเผาผลาญพลังงานในร่ างกายให้คงที แต่ก็
ต้องหาร่ มเงาหลบจากแสงอาทิตย์เนื องจากความร้อนทีมากเกินไป สัตว์เลียงลูกด้วยนมทีอาศัยอยู่
ทะเลทรายมีขนทีช่วยในการป้ องกันร่ างกายจากอากาศร้อน ขนบนลําตัวสี เทาจางหรื อเหลืองจะ
ช่วยในการสะท้อนความร้อนและช่วยในการพรางตัวให้กลมกลืนไปกับทะเลทราย มีเพียงสัตว์ไม่กี
ชนิดเท่านันทีสามารถทนต่อแสงอาทิตย์ตอนเทียงวันได้
99

ในเวลากลางคืนจะเป็ นช่วงเวลาแห่ งความหนาวเย็นกําลังมาเยือน ท้องฟ้ าพืนเดียวกันทีพระ


อาทิตย์ส่องแสงลงมาทําให้พืนทรายร้อนขึน แต่ภายหลังพระอาทิตย์ลบั ขอบฟ้ าไปพืนดินก็คลาย
ความร้อนออก อุณหภูมิอากาศจะลดลงอย่างสมําเสมอตลอดทังคืนและจะถึงจุดเยือกแข็งก่อนพระ
อาทิตย์จะขึนในวันใหม่ สัตว์เลือดเย็นเช่น สัตว์เลือยคลานทีการทํางานของร่ างกายมีความสัมพันธ์
กับสิ งแวดล้อมทีตัวเองอาศัยอยูจ่ ะหาโพรงดินทีมีอากาศอบอุ่น ในช่วงทีอากาศเย็นทีสุดของ
กลางคืน เหมือนกับทีทําเพือหลบร้อนในช่วงเทียงวัน

ภาพที 4.4 ( ซ้ าย ) ลักษณะของสีเกล็ดงูหางกระดิงหลังเพรชตะวันตกจะกลมกลืนไปกับสีของ


ทะเลทราย ( western diamond back rattle snake ) ภาพที 4.5 ( ขวา ) ภาพแสดงลักษณะของ
ถินทีอยู่ของงูชนิดดังกล่าวในทะเลทรายของภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเม็กซิโก

การเปลียนแปลงลักษณะของถิ นทีอยู่ ( A Changing Habitat. )


เนื องจากอิ ทธิ พลของลม สภาพอากาศของทะเลทรายจะมีการเปลียนได้อย่างรวดเร็ว
มากกว่าถิ นทีอยู่แบบอืนๆ ในปัจจุบนั พบว่าทะเลทรายหลายๆ แห่งมีการขยายพืนที
มากขึน เนื องจากการกิ นหญ้าของสัตว์ปศุสตั ว์เช่น แพะที มากเกิ นไปในพืนที ทุ่งหญ้า มี
ผู้คาํ นวณโดยรวมของทังโลกพืนที ของทะเลทรายเพิ มขึนวันละ 100 ตารางกิ โลเมตร

แมวทีมีถินทีอยู่ในทะเลทราย ( Desert Cats )


สัตว์ทีเป็ นสมาชิ กในวงศ์แมวและเสื อ ( cat family ) ทีมีการปรับตัวจนสามารถดํารงชีวิตใน
พืนทีทะเลทราบและป่ าไม้ในเขตอบอุ่นได้ เช่น คาราเคิล ( caracal ) ทีมีการกระจายพันธุ์ในป่ าซา
วันนาของแอฟริ กาและทะเลทรายของทวีปเอเชีย บ๊อบแคท ( Bobcat ) ทีมีการกระจายพันธุ์ใน
ทวีปอเมริ กาเหนือ ซึ งทัง 2 ชนิดจะเป็ นแมวทีมีความสามารถในการกระโดดได้สูง โดยคาราเคิล
สามารถจับนกทีบินได้ระดับตําได้
100

บ๊ อบแคท ( Bobcat ) หรื ออีกชือหนึ งคือ Red Lynx หรื อแมวป่ าทะเลทราย ( Desert Wild
cat ) มีการกระจายพันธุ์ในพืนกึงทะเลทรายและเนินเขาในประเทศเม็กซิ โก ทวีปอเมริ กาเหนือ
พืนทีตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริ กา แมวชนิ ดนี มีลกั ษณะลําตัวสัน หนาและมีหางสัน โดย
หางมีความยาว 15 เซนติเมตร ซึ งลักษณะของหางก็กลายเป็ นชือของแมวชนิดด้วย ความสู งช่วง
ไหล่ประมาณ 60 เซนติเมตร พืนทีทีบ๊อบแคทเลือกอยูเ่ ป็ นพืนทีที มีแหล่งนําเพือใช้กินตลอดเวลา
บ๊อบแคทเป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตอยูต่ วั เดียว และมีอาณาเขตครอบครองในบริ เวณเดิม สัตว์ทีล่า
เป็ นอาหารเช่น หนู กระต่าย และนก ในบางโอกาสก็จะล่าเหยือที มีขนาดใหญ่ เช่น ลูกแกะบิก
ฮอร์นหรื อกวางขนาดเล็ก ในช่วงฤดูผสมพันธุ์บางเวลาบ๊อบแคทจะร้องในเวลากลางคืนเสี ยงจะ
คล้ายๆ กับแมวบ้าน

ภาพที 4.6 ( ซ้ าย ) บ๊ อบแคทจะมีสพี ืนของลําตัวเป็ นสีคล้ ายทราย ซึงช่วยในการพรางตัวในช่วง


การล่าเหยือ ภาพที 4.7 ( กลาง ) คาราเคิลจะมีลกั ษณะเด่นทีมีขนทีปลายใบหูสีดํา ภาพที 4.8
( ขวา ) บ๊ อบแคท ( Sand cat ) จะมีขาสันแข็งแรงเพือใช้ ในการขุดโพรงหลบอากาศร้ อน

เพือให้ลูกคาราเคิ ลรอดพ้นจากสัตว์ผ้ลู ่า แม่คาราเดิ ลจะย้ายจุดซ่อนลูกทุกวัน

ลักษณะร่ างกายของอูฐทีช่ วยในการดํารงชีวิตในทะเลทราย ( Design for the Desert.)


อูฐจะมีลกั ษณะพิเศษ เช่น ฝาเท้าแบน หัวเข่าทีเป็ นรู ปกลมโค้งและหน้าอกกลมโค้ง
ลักษณะดังกล่าวมีประโยชน์ในการดํารงชี วิตในทะเลทราย โดยฝ่ าเท้าแบนราบเนืองจากมีแผ่นหนัง
มายึดและหุ ม้ ส่ วนกระดูกนิ วเท้าไว้ ทีจะช่วยเท้าไม่จมลงในทรายในการเดินในทะเลทราย แผ่น
หนังทีหุ ม้ ส่ วนหัวเข่า ( knee pad ) จะช่วยลดการกระแทกของเข่าในช่วงการลุกยืนและนังลง ส่ วน
หูทีมีขนทังด้านในและด้านนอกเพือป้ องกันเม็ดทรายทีอาจจะพัดเข้าช่องหู
101

ส่วนหลังของอูฐจะมีขนขึนหนาเพือเป็ นการป้ องกันแสงแดดจากดวงอาทิตย์ และขนทีขึน


บางๆ ช่วงท้องเพือเป็ นการป้ องกันความหนาวเย็นในเวลากลางคืน มีขนตาทียาวและขนทีอยูเ่ หนื อ
ตา (คิวทียาว) เพือช่วยในการป้ องกันทรายพัดเข้าตาและลดแสงอาทิตย์ทีส่ องมาทีดวงตา ในช่วงที
มีพายุทะเลทรายอูฐสามารถบีบและคลายส่ วนหนังทีอยูร่ อบ ๆ รู จมูกได้เพือปิ ดรู จมูกกันเม็ดทราย
เข้าโพรงจมูก อูฐสามารถกัดเคียวพืชอาหารที มีแหนมแหลมคมตามกิงก้านในทะเลทราย เนืองจาก
ลักษณะของช่องปากและลินทีสามารถป้ องกันวัสดุทีแหลมคมได้
อูฐโหนกเดียว ( ชือสามัญ one –humped camel หรื อ dromedary camel ) มีการกระจาย
พันธุ์ในทะเลทรายทวีปแอฟริ กา ทวีปเอเชีย บริ เวณทะเลแดงและอ่าวเปอร์ เซี ย เป็ นสัตว์ป่าที
มนุษย์นาํ มาเลียงเป็ นสัตว์ปศุสตั ว์เป็ นเวลามากกว่า 5,000 ปี ในพืนทีทีเรี ยกว่าเมโสโปเตเมีย อูฐป่ า
ได้สูญพันธุ์เป็ นระยะเวลานานแล้ว
อูฐโหนกเดียวเป็ นสัตว์ทีช่วยมนุษย์ในการขนสัมภาระ ( pack animal ) โดยสามารถ
เดินทางในทะเลทรายเป็ นระยะทาง 483 กิโลเมตร ในเวลา 10 วันโดยไม่กินหญ้าหรื อดืมนํา เมือ
มาถึงแหล่งนํากลางทะเลทราย ( oasis ) อูฐสามารถกินนําได้ 85 ลิตรในครังเดียว อูฐเก็บไขมัน
ไม่ใช่นาไว้
ํ ทีตะโหนก โดยจะมีการขบวนการนําไขมันทีเก็บสะสมไว้ทีตะโหนกออกมาใช้เพือให้
เกิดพลังงานทีจะต้องใช้ในการเดินทางในระยะทางไกลๆ ทีไม่มีนาและอาหาร ํ

- ไขมันสะสมทีโหนกบริเวณหลังทีเป็ นทีสะสมไขมันซึงจะ
มีขนตาทีงอนยาวเพือช่ วยกันเม็ดทราย เปลียนเป็ นพลังงานใน เวลาขาดแคนอากาศ

กล้ามเนือส่ วนน่ องขาทีแข็งแรงเพือช่ วย


เดินในการเดินทางระยะทางไกล

- ส่ วนของเข่าทีมีแผ่ นหนังหุ้ม หนึง


ช่ วยในการลุกนัง

- ฝาเท้ าซึงมีลกั ษณะเป็ นหนังมาหุ้มส่ วนนิวเท้ าไว้


เพือช่ วยในการเดินบนทะเลทราย
102

อูฐสองโหนก ( ชือสามัญ two – humped camel , Bactrian camel ) เป็ นอูฐทีถูกนํามา


เลียงเป็ นสัตว์ปศุสตั ว์ในทวีปเอเชีย ยังมีอูฐสองโหนกป่ า ( wild bactrian camel ) เหลือเป็ นฝูงขนาด
เล็กในประเทศมองโกเลีย

หมาป่ าทะเลทราย ( Desert Foxes.)


หมาป่ า 2 ชนิดในวงศ์สุนขั ( family dog ) ทีมีการกระจายพันธุ์ในทะเลทรายซาฮาราและ
กลุ่มประเทสตะวันออกกลาง เช่น หมาป่ าอเมริ กนั คิท ( American Kit Fox ) และหมาป่ าเฟนเนค
( Fennec fox ) มีวิธีการปรับตัวให้เข้ากับชีวิตในทะเลทรายในวิธีการทีคล้ายกัน โดยหมาป่ าทัง 2
ชนิดเป็ นหมาป่ าขนาดร่ างกายเล็กทีมีใบหูใหญ่ โดยทีบริ เวณใต้ผิวหนังของใบหูจะมีเส้นเลือดสาน
กันไปมาเป็ นโครงข่าย เมืออากาศพัดผ่านผิวหนังจะทําให้เลือดทีไหลผ่านบริ เวณใบหูเย็นลง
ลักษณะของการพัฒนาลักษณะทีเหมือนกันแต่ต่างชนิดกันของสัตว์ทงั 2 ชนิดเพือตอบสนองต่อ
สภาวะแวดล้อมแบบทะเลทราย เป็ นตัวอย่างการวิวฒั นาการทีเรี ยก การวิวฒ ั นาการแบบเบนเข้ า (
convergent evolution. ) คือการวิวฒั นาการแบบทีสิ งมีชีวิตทีไม่ได้มีบรรพบุรุษร่ วมกัน แต่มี
ลักษณะทีวิวฒั นาการได้ผลลัพธ์ทีคล้ายกัน
คิทฟอค ( Kit Fox )
คิทฟอค มีชือเรี ยกอีกชือหนึ งว่าสวิฟฟอค ( Swift Fox ) มีการกระจายพันธุ์ในบริ เวณ
ตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปอเมริ กา ตอนเหนื อของประเทศเม็กซิ โก เป็ นหมาป่ าทีมีขนาดเล็กและ
เคลือนทีได้อย่างรวดเร็ ว เมือคิทฟอคโตเต็มทีจะมีนาหนั
ํ ก 2-3 กิโลกรัม ความยาวลําตัวรวมหางที
มีลกั ษณะเป็ นพวงไม่เกิน 1 เมตร คิทฟอคมีประสาทการได้ยินทีดีมากเพือใช้ในการล่าหนูขนาดเล็ก
และกิงก่าในเวลากลางคืน อาหารอืนๆ ทีคิทฟอคกิน เช่น ไข่นก และคิทฟอคได้นาจากเหยื ํ อที กิน
เข้าไป

ดูรูป 4.9 และ 4.10 ( ซ้ ายและขวา ) คิทฟอคอาศัยอยูใ่ นโพรงดิน โดยโพรงดินนันเป็ นโพรงดิน


เดิมของหนูทีคิทฟอคขุดให้ ใหญ่ขนึ
103

แม่คิทฟอคจะออกลูกและอยู่ดูแลลูกทีเกิดใหม่ในโพรงดิน ส่ วนพ่อคิทฟอคจะเป็ นผูอ้ อกล่า


เหยือและนําอาหารกลับมาทีโพรงใต้ดิน จํานวนของลูกต่อครอกประมาณ 5 ตัว ซึ งลูกของคิทฟอค
ขนาดดังกล่าวกินเนือประมาณครึ งกิโลกรัมในทุก ๆ 24 ชัวโมง

เฟนเนคฟอค ( Fennec Fox )


เป็ นสุ นขั ป่ าทีเล็กทีสุ ดในวงศ์สุนขั (dog family) โดยมีนาหนั
ํ กน้อยกว่า 1.5 กิโลกรัม
กระจายพันธุ์ในทะเลทรายซาฮาร่ าในทวีปแอฟริ กา และทะเลทรายในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง
เป็ นสัตว์ผลู้ ่าในเวลากลางคืน ทีกระโดดได้สูงเกือบ 1 เมตรเพือตะปบเหยือซึ งทําได้เนื องจากมีฝ่า
เท้าขนาดใหญ่ ความสามารถของเฟนเนคฟอคอีกอย่างหนึ ง คือ สามารถรู ้การเคลือนทีของสัตว์
ชนิดอืนๆ ได้ไกลถึง 1.5 กิโลเมตร ซึ งช่วยในการหลบหลีกสัตว์ผลู ้ ่าชนิ ดอืนๆ เช่น ไฮยีนาลายแถบ
( striped hyena ) และช่วยในการหาเหยือ เช่น หนู กิงก่า และแมลงนอกจากนันยังกินผลไม้บาง
ชนิดเป็ นอาหารด้วย

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- ทังเฟนเนทฟอคและคิ ทฟอคมีขนที ยาวจนคลุมฝ่ า
เท้าซึงช่วยในการเดิ นบนทราย โดยฝ่ าเท้าและขาไม่
จมลงไป
- ขนาดใบหูของเฟนเนทฟอคมีความยาว 15
เซนติ เมตรซึงจะมีขนาดของใบหูทีใหญ่กว่าคิ ทฟอค

เฟนเนคฟอค มีวิธีการปรับตัวแบบอืนๆ กับการดํารงชีวิตในทะเลทราย เช่น สี ขนทีเป็ นสี


เดียวกับทะเลทรายทีช่วยในการพรางตัว และยังเป็ นสุนขั ป่ าทีขุดโพรงใต้ดินได้เก่งซึ งโพรงอาจยาว
ถึง 6 เมตรเพือเพิมความปลอดภัย บรรเทาอากาศทีร้อนจัดและหนาวเหน็บในทะเลทราย

ภาพที 4.11 เฟนเนทฟอค


สามารถขุดโพรงใต้ ดินอย่าง
รวดเร็ วเพือใช้ ในการ
หลบหนีศตั รู หรื อเพือใช้ ใน
การขุดหาเหยือทีอยู่ในโพรง
ดิน เฟนเนทฟอค เป็ นสัตว์
ทีอยู่กนั เป็ นฝูง 10-15 ตัว
104

สั งคมใต้ ดนิ ( Communities Underground.)


การดํารงชี วิตในโพรงดินเป็ นอีกวิธีการหนึ งของสัตว์ทีจะหลบจากความร้อนของ
ทะเลทราย ในช่วงเวลาทีร้อนทีสุ ดในเวลากลางวันของทะเลทราย อุณหภูมิทีโพรงใต้ดินอาจสู ง
เพียง 20 องศาเซลเซี ยส ยกตัวอย่าง เช่น ออสเตรเลียน วอมแบท ( Australian wombat ) เป็ นสัตว์ที
หากินในเวลากลางคืน ตังแต่หวั คําจนถึงช่วงกลางดึกและกลับโพรงใต้ดินในช่วงทีมีอากาศหนาว
เมียร์แคทจะมีเคลือนทีและมีกิจกรรมต่างๆ ในช่วงเวลากลางวัน โดยสัตว์ทีอาศัยอยูใ่ นโพรงใต้ดิน
จะมีทงแบบอยู
ั ต่ วั เดียวหรื ออยูก่ นั เป็ นครอบครัว
วอมแบท (wombat) เป็ นสัตว์ในอันดับที มีถุงหน้าท้อง (marsupial.) ขนาดใหญ่ทีมีขนสี เทา
ช่วงกลางวันอยูใ่ นโพรงดิน ส่ วนเวลากลางคืนออกหากินในทุ่งหญ้าแห้ง โดยวอมแบทเป็ นสัตว์ที
สายวิวฒั นาการใกล้เคียงกับโคอาลา ( ดูเรื อง Marsupial หน้า 141 ) วอมแบทมีชนิดย่อย 2 ชนิด
โดยมีความยาวลําตัวเฉลียที 1 เมตร และนําหนักประมาณ 27 กิโลกรัม ลักษณะของปากมีลกั ษณะ
กลมและยืนยาวคล้ายปากสุ นขั ขาสัน มีเล็บทีแข็งแรงเพือใช้ในการขุดโพรงดิน ซึ งสามารถขุดได้
ยาวถึง 30 เมตร ดูลกั ษณะร่ างกายแล้วเหมือนจะเป็ นสัตว์ทีเคลือนทีได้ชา้ แต่ในขณะตกใจเป็ นสัตว์
ทีเคลือนทีได้เร็วถึง 40 กิโลเมตร/ชัวโมง สัตว์ผลู ้ ่าตัวสําคัญของวอมแบท คือหมาป่ าดิงโก้ซึงเป็ น
หมาป่ าพันธุพ์ ืนเมืองของออสเตรเลีย
วอมแบทเป็ นสัตว์ทีมีอตั ราของกระบวนการเมตาโบลิซมั ตํา กินนําเพียงเล็กน้อย แตกต่าง
จากสัตว์ในอันดับทีมีถุงหน้าท้องชนิดอืนๆ ทีมีฟันเขียวจะมีลกั ษณะแหลมคมเหมือนกับสัตว์กลุ่ม
ฟันแทะ โดยจะมีฟันเขียวทังกรามบนและกรามล่าง ฟันจะมีการงอกอยูต่ ลอดเวลาเพือช่วยในการ
กินหญ้าทีมีลกั ษณะแห้งหยาบ แบคทีเรี ยในลําไส้จะร่ วมในกระบวนการย่อยอาหารทีมีเยือใยที
หยาบได้
วอมแบทมีระยะการตังท้องทีสันโดยน้อยกว่า 1 เดือน โดยลูกอ่อนจะต้องเคลือนตัวเองมา
ทีถุงหน้าท้องของแม่ โดยถุงหน้าท้องจะเปิ ดโดยตรงมาจาก vaginal Canal ซึ งลูกอ่อนทีเกิดใหม่จะ
มีระยะการเคลือนทีมาทีถุงหน้าท้องน้อยกว่าลูกจิงโจ้ ลูกของวอมแบทจะออกจากถุงหน้าท้องเมือมี
อายุ 6-7 เดือน แต่จะยังกลับเป็ นครังคราวในช่วงเดือนแรกทีออกจากถุงเพือเข้าไปกินนม

ภาพที 4.12 ในช่วงฤดูหนาว


วอมแบทจมูกขน ( hairy –
nosed wombat ) จะมา
อาบแดดเพืออบอุ่นร่างกาย
วอมแบทไม่มีเหงือและของเสีย
ทีขับออกมาก็มีนําปนอยู่ด้วย
เล็กน้ อย
105

ชีวติ ในเนินทราย (Life in a sand dune.)


สภาพเนินทรายในทะเลทรายเป็ นสิ งแวดล้อมทีสัตว์ทีอาศัยอยู่ในทะเลทรายต้องมีการ
ปรับตัว เนิ นทรายเกิดขึนจากแรงลมทีพัดไปมา การขุดโพรงในทรายโพรงจะยุบตัวอย่างง่ายดาย
ดังนันสัตว์ทีพบอยู่ในเนิ นทรายจะขุดโพรงอยูใ่ นบริ เวณใกล้ๆ ทีดินแข็งกว่า
มีกิงก่าบางชนิด เช่น สกิงทรายอเมริ กาเหนือ ( north African sand skink ) หรื อ ปลา
ทะเลทราย (sand fish) จะเคลือนทีด้วยการว่ายผ่านทรายโดยใช้ขาขนาดเล็กๆ ขาทีสันมากจะทําให้
ปลาทะเลทรายเคลือนทีอย่างรวดเร็ ว เนืองจากขาจะจมลงในพืนทรายเพียงเล็กน้อยหรื อมีกิงก่าบาง
ชนิดทีขาหายไปทังหมด

การเคลือนทีบนพืนทรายของงู Small American rattle snakes ทีเรี ยกว่า Side winders ซึ ง


หมายถึงการเคลือนทีแบบขดตัวและเคลือนส่ ายลําตัวไปซ้าย-ขวา ( Shifting lool and rolls )
เมียร์ แคท (Meerkats) การกระจายพันธุ์ของเมียร์แคทในทะเลทรายคาราฮารี ( The Kalahari
Desert ) และพืนทีแห้งแล้งอืนๆ ตอนใต้ของทวีปแอฟริ กา เมียร์แคทเป็ นสมาชิ กในกลุ่มเดียวกับ
พังพอน ( mongoose ) เป็ นสัตว์ทีมีลกั ษณะลําตัวยาวเรี ยว ปากทียืนยาวแหลมออกมา หูสีดาํ ปลาย
หางสี ดาํ ขนตามร่ างกายสี นาตาลอ่
ํ อนและแถบสันสี ดาํ มีนาหนัํ กประมาณ 1 กิโลกรัม
ในช่วงกลางวันเมียร์แคทจะหาอาหารกิน เช่น แมลง กบ กิงก่า หนูขนาดเล็กโดยการพลิกหา
สัตว์เหยือตามก้อนหิ นหรื อตามซอกหิ น จุดที เมียร์ แคทชอบอยู่ คือ เนินดินใกล้กบั ปากโพรง โดยที
จะอยูใ่ นท่ายืดตัวและนังบนขาคู่หลัง เมียร์แคทจะมีพฤติกรรมเหมือนกับแพรี ด๊อคทีมีการกระจาย
พันธุ์ในอเมริ กาเหนื อ คือ จะร้องเตือนสมาชิกในฝูงเมือมองเห็นศัตรู ผลู ้ ่า
เมียร์แคทจะอยู่รวมกันเป็ นสังคมทีเรี ยกว่าโคโลนี ( colony ) ทีอาจมากกว่า 30 ตัว อยู่
ภายในโพรงดินทีมีการขุดแต่งเป็ นอย่างดี ฤดูผสมพันธ์จะอยู่ช่วงต้นของฤดูใบไม้ผลิ และมีระยะ
การตังท้องประมาณ 3 เดือน ออกลูกครังละ 2-5 ตัว ฝึ กให้เชืองได้และคนในประเทศแถบ
แอฟริ กาใต้จะเลียงไว้เป็ นสัตว์เลียงหรื อเลียงไว้เพือกําจัดหนู
106

ภาพที 4.13 ในบางช่วงเวลาเมียร์ แคทจะยืนได้ โดย


ใช้ ขาหลัง ยืดลําตัว คอและหัวขึน ซึงท่าทางนีจะ
ทําให้ ดแู ล้ วมีความรู้ สกึ น่าเกรงขาม อยากรู้
อยากเห็น

กลไกสํ าหรับการเคลือนที
( Strategies for Movement )
อุณหภูมิทีร้อนมากจะเป็ นอันตรายต่อชีวิตกับ
สิ งมีชีวิตที อาศัยอยู่ทะเลทราย รวมทังพืนทีเปิ ด
โล่งของทะเลทรายยังเป็ นพืนทีทีง่ายต่อการถูกล่า
อีกด้วย เช่น หนูจิงโจ้ ( kangaroo rat ) หนูเจอร์
บัวร์ ( jerboa ) หนูเจอร์บิวส์ ( gerbils ) และ
กระต่ายแฮร์แจคแรบบิท ( jack rabbit ) สัตว์กลุ่มนี
จะเดินทางเป็ นระยะทางไกลในทะเลทรายเพือหา
อาหารและนํา และต้องใช้การเคลือนทีอย่าง
รวดเร็ วเพือหนี จากศัตรู .

หนูจงิ โจ้ (Kangaroo rat)


พบในทะเลทรายในทวีปอเมริ กา ความยาวลําตัวประมาณ 13 – 15 เซนติเมตร ในช่วง
ความเร็วสูงสุ ดทีสามารถกระโดดได้ไกลถึง 2 เมตรหรื อมากกว่านัน โดยการใช้ขาหลัง
หนูจิงโจ้จะอาศัยในโพรงดิน ซึ งจะมีลกู หลานอยู่อาศัยต่อเนือง จะมีการขุดให้ลึกขึนและ
สร้างเส้นทางใหม่จนกระทังเนินดินเหนื อปากหลุมมีความสู งเพิมขึน การขุดจะใช้ 2 ขาหน้าขุดและ
ใช้ขาหลังในการช่วยโกยดินออกมา การปิ ดปากรู จะใช้ทรายในการช่วยปิ ด ซึ งจะช่วยให้อากาศ
ภายในโพรงดินคงความชืนไว้ได้ โดยลมหายใจออกเป็ นปัจจัยช่วยรักษาระดับความชืนและได้
ความชืนอีกส่ วนหนึ งจากเมล็ดพืช.

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- หนูเจอร์บวั ส์ จะมีขาหน้ าขนาดเล็กและขาหลังยาวซึงทําให้หนูเจอร์บวั ร์กระโดดได้ไกล
ถึง 3 เมตร
107

- หนูเจอร์บวั ส์สามารถกระโดดขึนในที สูงเพือคว้าดึงใบไม้จากพุ่มไม้


- หนูเจอร์บวั ร์สามารถเปลียนทิ ศทางการเคลือนที ได้อย่างรวดเร็วโดยการขยับแนวของ
หาง แม้ในช่วงกําลังกระโดดความเร็วสูงสุด

ภาพที 4.14 ( ซ้ าย ) หนูจิงโจ้ เมอร์ เรี ยม ( Merriam ‘ s kangaroo rat ) เป็ นหนูจิงโจ้ ทีเล็กทีสุดใน
ประเทศสหรัฐอเมริ กา หนูจิงโจ้ เป็ นสัตว์ทีมีประสาทการได้ ยินดีมากเพือใช้ ประโยชน์ในการหลบ
หลีกสัตว์ผ้ ลู า่
ภาพที 4.15 ( ขวา )หนูเจอร์ บวั ในช่วงทีฤดูหนาวในบางพืนทีของทะเลทรายในทวีปเอเชีย การจํา
ศีลจนนานถึง 7 เดือน ในโพรงดินโดยจะดึงเอาขนอูฐหรื อเส้ นใยอืนๆ เข้ าไปในโพรงดิน

หนูทะเลทรายเจอร์ บัว ( Jerboa )


หนูเจอร์ บวั จะมีชนิดย่อยๆแบ่งได้อีก 29 ชนิ ด โดยมีการกระจายพันธุ์ในพืนที อากาศร้อน
ในทะเลทรายซาฮาร่ าในทวีปแอฟริ กา จนถึงพืนทีหนาวเย็นในทะเลทรายของจีนและมองโกเลีย
ในแต่ละคืนเจอร์บวั จะเดินทางไกลถึง 14 กิโลเมตร เพือหาอาหารกินซึ งจะเป็ นแมลง เมล็ดพืชและ
รากไม้ จะเหมือนกับหนูจิงโจ้ทีได้นาจากอาหารโดยไม่
ํ ตอ้ งกินนํา ถ้าไม่สามารถหาอาหารได้
ในช่วงฤดูร้อนทีอากาศร้อนจัด เจอร์บวั ส์จะจําศีล ( estivate ) ซึ งจะคล้ายกับการจําศีล
( hibernation ) ของสัตว์เลือยคลาน เจอร์บวั ส์มีลกั ษณะคล้ายกับหนูทะเลทรายชนิดอืนทีมีขาหลัง
ยาว สําหรับวิงกระโดด

ตะบองเพชรซากัวโร ( The Saguro Cactus )


ในทะเลทรายหลายแหงไมมตี นไมสําหรับนกไดทํารัง หรือใหสัตวเลีย้ งลูกดวยนมไดพัก
อาศัย ในทะเลทรายในพืน้ ที่ตะวันตกเฉียงใตของประเทศอเมริกา มีตะบองเพชรซากัวโรซึ่งมี
ลักษณะของกิ่งกานที่ใหญ และยาวซึ่งสัตวสามารถใชเปนรมเงา ใชประโยชนอื่นๆ แกสัตวใน
ทะเลทราย คางคาว ผีเสือ้ และแมลงมาดูดน้ําเลี้ยงจากเกสรของดอกซากูโร หนูและ
108

กระรอกจะมากินน้ําจากเนื้อกระบองเพชร มีสัตวทะเลทรายหลายชนิดที่สรางที่อยูในลําตน
ของตะบองเพชรซากัวโร ตะบองเพชรชนิดนีส้ ามารถเติบโตจนมีความสูงไดถึง 15 เมตร

ตะบองเพชรซากัวโรทีออก นกหัวขวานจิลาจะทํารังใน
ดอกในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ตะบองเพชรซากัวโร

ภายในโพรงของตะบองเพชรซากัวโร จะมีสภาพคล้ายภายในโพรงดินโดยในเวลา
กลางวันอุณหภูมิจะเย็นกว่าภายนอก ในช่วงกลางคืนอุณหภูมิจะอบอุ่นกว่าอากาศภายนอกและ
ความชืนก็จะสูงกว่าอากาศภายนอกด้วย รวมทังระดับความสู งจากระดับพืนดิน ก็จะช่วยให้สตั ว์
ปลอดภัยจากสัตว์ผลู ้ ่ามากยิงขึน
นกหัวขวานจิลา ( Gila Woodpecker ) ทํารังภายในต้นตะบองเพชรซากัวโรโดยการใช้ปาก
เจาะทีลําต้นจนเป็ นโพรง เยือลําต้นของตะบองเพชรทีเหลืออยูร่ อบๆ โพรงจะมีลกั ษณะเป็ นเยือใย
ทีช่วยรักษาความชื นของลําต้นไว้ได้
นกหัวขวานจิลาจะอาศัยอยู่ในโพรงในลําต้นตะบองเพชรเป็ นเวลา 1 ปี จากนันจะเจาะ
โพรงแห่ งใหม่ในต่างต้นตะบองเพชร ในช่วงฤดูใบไม้ผลิโพรงแห่ งเดิมนันจะมีสตั ว์ชนิดอืนๆ เข้า
มาใช้ประโยชน์ เช่น นกฮูก เหยียวขนาดเล็ก นกเคคตัสเรพ์ท ในบางช่วงเวลาจะมีคา้ งคาวสี
นําตาล ผึงและหนูแพค (pack rat) ในกรณี ของหนูเคคตัสทีย้ายเข้ามาพักอาศัยในโพรงเก่า หนูจะมี
การสร้างเส้นทางจากโพรงใต้ดินเข้ามาภายในลําต้นตะบองเพชร และกัดกินเนือของต้น
ตะบองเพชรไปด้วย
ลําต้นทีโดนเจาะทําลายจะสามารถกลับมาเชื อมกันได้ เพือให้ตะบองเพชรเก็บรักษานําไว้
ได้ ตะบองเพชรจะคงความสามารถในการผลิตดอกออกผลในช่วงเวลาทีแห้งแล้งได้เป็ นปกติ
เนืองจากความสามารถในการเก็บรักษานําไว้ในลําต้นได้
109

กระต่ ายแฮร์ แจคแรบบิท ( Jack Rabbit )


เป็ นกระต่ายทีวิงได้เร็ วและกระโดดได้สูง มีการกระจายพันธุ์ในทะเลทรายของทวีป
อเมริ กาเหนื อเป็ นกระต่ายในกลุ่มแฮร์ ( Hare ) แท้ กระต่ายในกลุม่ นี จะมีขนาดลําตัวใหญ่กว่าและ
วิงเร็ วกว่ากระต่ายชนิ ดอืน ๆ อัตราการเผาผลาญพลังงานต้องการนําเพียงเล็กน้อย และมีชีวิตอยู่
รอดได้โดยอาศัยพืชในทะเลทรายทีมีปริ มาณของนําสะสมอยู่นอ้ ย
แจคแรบบิทไม่ใช่สตั ว์ทีขุดโพรงอยู่ในช่วงฤดูร้อน แจคแรบบิทจะหาทีหลบความร้อน
โดยอยูต่ ามโคนพุ่มไม้หรื อหลุมตืนๆ ทีขุดโดยเต่าหรื อสัตว์ชนิดอืนๆ
แจคแรบบิทจะหากินในเวลากลางคืนซึ งเป็ นช่วงเวลาเดียวสัตว์ผลู ้ ่าออกหากิน เช่น หมา
ป่ าโคเอตี แมวป่ าบ๊อบแคท เหยียว และนกเค้าแมว แจคแรบบิทเป็ นสัตว์ทีมีประสาทสัมผัสในการ
ฟังดีเยียม และกล้ามเนือของขาหลังทีแข็งแรงซึ งจะช่วยในการเพิมความเร็ วที ให้แจคแรบบิทหนี
รอดจากสัตว์ผลู ้ ่าได้มากขึน

ภาพที 4.18 (ซ้ าย) แจคแรบบิทหางดํา ( black – tail jack rabbit ) ภาพที 4.19 (ขวา) แอนติโลป
แรบบิท ( antelope rabbit )
สิ งทีแจคแรบบิทเหมือนกับกระต่ายชนิด Hare อืนๆ คือการสื อสารด้วยการกระทืบเท้า
หลังทีพืน แจคแรบบิทเพศผูจ้ ะต่อสู ้กนั ในช่วงฤดูผสมพันธ์ ใช้ขาหน้าต่อยกันและถีบด้วยขาหลัง
เป็ นสัตว์ทีมีการเพิมประชากรได้อย่างรวดเร็ วตังท้องปี ละ 3-4 ครัง และแต่ละครอกอาจมีลกู ถึง 6
ตัว เมือคลอดออกมาลูกจะลืมตา มีขนเต็มตัวและเดินได้เกือบทันที
110

ขอมูลที่นาสนใจ
แจคแรบบิทมีหขู นาดใหญ่ทีช่วยในการลดอุณหภูมิของร่างกาย โดยในช่วงเวลา
ั นเพือช่วยในการลดอุณหภูมิ ส่วนในช่วงเวลากลางคืน แจคแรบบิท
กลางวันจะทําหูตงชั
จะทําหูแนบไปกับตัว

การอพยพเพือหาอาหารและนํา ( Migrating in Search of Food and Water )


สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมขนาดเล็กทีดํารงชี วิตในทะเลทรายจะสามารถอยูร่ อดได้โดยไม่ตอ้ ง
กินนําอย่างต่อเนื องทุกวัน แต่สตั ว์ขนาดใหญ่ไม่สามารถอยูร่ อดได้ในสภาวการณ์เช่นนัน สัตว์เลียง
ลูกด้วยนํานมขนาดใหญ่ทีอาศัยอยูใ่ นทุ่งหญ้าซาวันน่า จะมีการอพยพย้ายถินในเส้นทางเดิมเมือฤดู
ร้อนเริ มต้นขึน ในพืนทีทีเป็ นทะเลทรายซึ งเวลาส่ วนใหญ่จะเป็ นฤดูร้อนที มีฝนตกน้อย และคาด
เดาไม่ได้วา่ ฝนจะตกในช่วงเวลาใด ในพืนทีใดที มีฝนตกพืชพรรณจะเจริ ญงอก สัตว์ขนาดใหญ่
เหล่านีต้องเดินทางไปยังแหล่งอาหารเพือกินหญ้าและใบไม้ รวมทังกินนําจากแหล่งนําทีเกิดขึน
ชัวคราว

ภาพที 4.20 Fringe –


eared .oryx กินนําจากแหล่ง
นําทีมีในพืนที ถ้ าช่วงเวลาใด
ไม่มีแหล่งนํา โอริกซ์จะขุดหัว
หรือรากพืชทีมีนําสะสมอยู่
มากกินแทน

แอนติโลปทีดํารงชีวิตในทะเลทราย ( Desert Antelope )


มีแอนติโลปหลายชนิดทีสามารถปรับตัวเพือการดํารงชีวิตในพืนทีแห้งแล้ง เช่น แอดแดค
( Addax ) มีการกระจายพันธุ์ในทะเลทรายซาฮาร่ าของทวีปแอฟริ กา โอริ กซ์หรื อเจมส์บอคทีมีการ
กระจายพันธุ์ในบางพืนทีทางตอนเหนือและตะวันตกของทวีปแอฟริ กา สัตว์ทงั 2 กลุ่มนี ในบางวัน
อาจต้องเดินทางไกลถึงวันละ 80 กิโลเมตรต่อวันเพือไปยังบริ เวณที มีฝนตกใหม่ๆทีจะมีพืชอาหาร
เจริ ญเติบโตขึนและแหล่งนํา
สัตว์หากินกลางคืนในสวนสั ตว์ ( Nocturnal Animal in Zoo )
สัตว์ทีหากินในเวลากลางคืนจะพักนอนในช่วงเวลากลางวัน และมีกิจกรรมเพือการ
ดํารงชีวิตในเวลากลางคืน ค้างคาวจะบินหากินผลไม้ นําหวานหรื อแมลง สัตว์ทีอาศัยใน
111

ทะเลทรายจะออกจากรู หรื อโพรงจากพืนดิน นกนิ วซี แลนด์กีวีใช้จะงอยปากไซร้พืนดินเพือหา


หนอนกิน หมาป่ าโคเอตีเดินตามป่ าเพือหาอาหาร แรคคูนออกล่าหนู เอลิเกเตอร์ และจระเข้ซ่อน
ตัวอยู่ในพงหญ้าของหนองนําเพือดักเหยือ เช่น กระต่าย มิงค์ ( minks ) อาร์ มาดินโล ( amadinlo )
และหนู
สัตว์ทีหากินในเวลากลางคืนจะมีกลไกในการปรับตัวเองเพือการเคลือนทีในทีมืด เช่น
ค้างคาวจะมีการส่ งคลืนเสี ยงความถีสู งออกไปและรับสัญญาณทีส่ งกลับมาด้วยใบหูเพือช่วยในการ
เคลือนที
บุชเบบี ( bushbabies ) อาย-อาย ( aye – aye ) และลิงลมจะมีดวงตาขนาดใหญ่เพือช่วยใน
การมองเห็นทีทีมีแสงน้อย สัตว์ในวงศ์แมวและสุ นขั เช่น เสื อดาว หมาป่ าจะมีโครงสร้างทีเรี ยกว่า
เทปตัมลูซิดมั ( Tapetum lucidum ) ทีอยู่ดา้ นหลังของชันเรตินาในดวงตาเพือช่วยในการสะท้อน
แสงกลับไปมองในเวลากลางคืน

มินดาเนาว์ ทารเซีย
นกกี
มินดาเนาว์ วทารเซี
ี ย
เสื อลายเมฆ เสื อลายเมฆ

สวนสัตว์หลายแห่ งได้สร้างส่ วนแสดงสัตว์หากินกลางคืนเพือให้ผเู ้ ทียวชมได้เห็น


พฤติกรรมของสัตว์กลุ่มนี ในเวลากลางวัน เช่น สวนสัตว์ Bronx Zoo มีส่วนแสดงสัตว์ทีหากิน
กลางคืนทีชือว่า World of Darkness โดยใช้อาคารขนาดใหญ่และแสงสว่างในส่วนแสดงสัตว์จะ
ใช้แสงอินฟราเรด เพือให้ผเู้ ทียวชมเห็นตัวสัตว์ แต่แสงดังกล่าวไม่รบกวนสัตว์

มินดาเนาว์ ทารเซีย ซูการ์ไกเดอร์


112

การจัดแสดงจะมีคา้ งคาวกว่า 200 ตัว จาก 6 ชนิ ด บินไปมาในถําขนาดเล็ก มีอุโมงค์ใต้ดิน


สําหรับเม่นใหญ่แพงคอยาว ( Indian- crested porcupine ) สัตว์อืนๆทีนํามาจัดแสดง เช่น
ซูการ์ไกล์เดอร์ ( Sugar - glider ) สล็อท ( sloth ) สกัง ( skuns ) บุชเบบี ในช่วงเวลากลางคืนไฟ
ส่องสว่างจะถูกเปิ ดเพือให้เป็ นเวลากลางวันของสัตว์และสัตว์กจ็ ะหลับพักผ่อน ( ตามความเห็นของ
ผู้แปลแล้ว ไม่ สนับสนุนการสร้ างส่ วนแสดงสั ตว์ หากินกลางคืนในลักษณะดังกล่ าวเพราะการเปิ ด
ไฟไม่ สามารถเปลียนแปลงเวลาวงจรชีวติ ในตัวสั ตว์ กลุ่มนีได้ )

แอทแดค ( Addax )
แอทแดคเป็ นแอนติโลปขนาดกลาง มีเขายาว เป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตแบบสัตว์ฝงู ขนาดเล็ก
มีการกระจายพันธุใ์ นพืนทีบางส่ วนของทะเลทรายซาฮาร่ าในทวีปแอฟริ กา เป็ นสัตว์ทีทนต่อความ
ร้อน แต่ตอ้ งพักหาร่ มเงาหลบจากแสงแดดแรงในช่วงร้อนจัด กีบเท้าจะมีลกั ษณะกว้างบานออก
เพือช่วยในการเดินในทะเลทราย เป็ นสัตว์ทีมีประสาทดมกลินดีเพือช่วยหาแหล่งหญ้า ใบไม้ที
ํ างเกาะและแหล่งนํา พบว่าเมือนําแอทแดคมาเลียงในสวนสัตว์สัตว์ชนิ ดนี จะไม่กินนํา
มักจะมีนาค้

ภาพที 4.21 การดูแลแอทแดคในสวน


สัตว์ตอ้ งการพืนทีสาํ หรับการเดินเทียว
ไปมา มีการจัดแสดงแอทแดคในสวน
สัตว์หลายแห่ งในอเมริ กาเช่นคือ สวน
สัตว์ซานดิเอโก้ ในภาพจาก Rim
Wildlife Center ทีเมืองเกลนโรส
รัฐเท็กซัสมีแอทแดคจัดแสดงอยู่
ประมาณ 100 ตัว

เดิมแอทแดคเคยมีอยู่จาํ นวนมากในพืนทีทางตอนเหนื อของทวีปแอฟริ กาและตะวันออก


เนืองจากถูกล่าเพือเอาหัวเพือใช้ประดับบ้าน และใช้เป็ นส่ วนประกอบในยาสมุนไพร ยังพบสัตว์
ชนิดนีได้ในป่ าของประเทศไนเกอร์ ( Niger ) และพืนทีบางส่ วนของแอฟริ กาตะวันตก
ลักษณะของแอทแดค เช่น มีขนสีดาํ ที ขึนอย่างหนาแน่ นและขึนเป็ นพืนทีวงกลมที
หน้ าผาก มีหางยาวโดยทีส่วนปลายขนเป็ นพู่สีดาํ

ออริกซ์ ( Oryx )
แอนติโลปทีจัดอยู่ในตระกูลออริ กซ์ ( genus ) มีดว้ ยกัน 3 ชนิ ด โดยออริ กซ์เป็ นแอนติโลป
ทีมีลกั ษณะรู ปร่ างสวยงาม แข็งแรงสง่างาม เขาจะมีความยาว 1-2 เมตร มีทงชนิ ั ดเขาตรงและเขา
113

โค้ง ออริ กซ์ตอ้ งการกินนํามากกว่าแอทแดค เป็ นสัตว์ทีมีประสาทสัมผัสในการรับรู ้การเกิดฝนตก


ถึงแม้วา่ จะมีฝนตกในบริ เวณทีอยู่ห่างไกลออกไปและจะมีการเดินทางไปยังพืนทีที มีฝนตก ใน
กรณี ทีไม่สามารถหานําได้ออริ กซ์จะยังสามารถดํารงชีวิตอยูไ่ ด้โดยอาศัยนําจากนําค้าง นําจากหญ้า
และใบไม้ทีกินเข้าไป

ภาพที 4.22 ( ซ้ าย ) อาราเบียนออริ กซ์ ( Arabian oryx ) มีสขี นทีลําตัวเป็ นสีขาวซึงจะช่วย


สะท้ อนแสงแดดเมืออยู่ในทะเลทราย ภาพที 4.23 ( ขวา ) ซิมิตาร์ ฮอร์ นออริ กซ์ ( Scimitar –
horn oryx ) เป็ นสัตว์ทีสูญพันธ์ไปจากป่ าธรรมชาติ แต่เนืองจากมีการเพาะขยายพันธ์ ในสวนสัตว์
ได้ ในจํานวนทีเพียงพอ จึงมีการนําปล่อยกลับคืนยังแหล่งกระจายพันธุ์เดิมในเขตรักษาพันธ์สตั ว์
ป่ าในทางตอนเหนือของแอฟริ กากลาง

กวางมิวล์ ( Mule Deer )


กวางมิวล์มีการกระจายพันธุ์อย่างหนาแน่ นในบริ เวณตะวันตกของทวีปอเมริ กาเหนือจนถึง
ประเทศแม็กซิ โก ในประเทศสหรัฐอเมริ กาจะพบในพืนทีภูเขาหิ นของเทือกเขาร๊ อคกีและ
ทะเลทรายบริ เวณตะวันตกเฉี ยงใต้ กวางมิวล์มีความสู งช่วงไหล่ประมาณ 1 เมตร และมีใบหูขนาด
ใหญ่ กวางมิวล์เพศผูจ้ ะมีเขาชุดใหม่งอกขึนในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ในช่วงฤดูร้อนอัตราการงอกของ
เขาจะยาวขึนครึ งนิ วต่อวัน
กวางมิวล์มีกิจกรรมต่างๆมากทีสุ ดในช่วงเช้าและพลบคํา โดยจะกินอาหารหลากหลาย
ชนิดทังใบไม้จากไม้พ่มุ ก้านใบและพืชไร่ ทีมนุษย์ปลูกไว้ การดํารงชี วิตในทะเลทรายจะอาศัยนํา
จากหญ้า ใบไม้และนําค้าง ในพืนทีทีแห้งแล้งมากๆ กวางมิวล์จะอยูใ่ นพืนทีทีใกล้กบั แหล่งนํา
สามารถวิงได้อย่างรวดเร็ วในพืนดิน ขรุ ขระ ลูกของกวางมิวล์จะมีอตั ราการรอดมากทีสุ ดในช่วงฤดู
ใบไม้ผลิ
114

การหลบหลีกอันตราย ( Avoiding Danger )


กวางมิ วล์ (Mule deer) ซึงมีสายสัมพันธ์ทางการวิ วฒ ั นาการใกล้กบั กวางหาง
ขาว (White tai.. deer) กวางมิ วล์จะมีวิธีการหนี สตั ว์ผ้ลู ่าทีแตกต่างจากกวางหางขาว
โดยจะใช้การวิ งเข้าไปหลบหลังก้อนหิ นหรือพุ่มไม้ ส่วนกวางหางขาวจะวิ งเข้าไปภายใน
ป่ าทีรกทึบ

ภาพที 4.24 ( ซ้ าย ) ในพิพิธภัณฑ์ทางทะเลทรายอริ โซน่า - โซนารา ได้ สร้ างส่วนแสดงทีจําลอง


ลักษณะถินทีอยู่สําหรับมูร์เดียร์ ภาพที 4.25 ( ขวา ) ซึงจะแสดงให้ เห็นกวางมิวล์มีดวงตาขนาด
ใหญ่เพือช่วยในการเฝ้าระวังสัตว์ผ้ ลู า่ ในทีมืด

แกะทะเลทรายบิกฮอร์ น ( Desert Bighorn )


แกะทะเลทรายบิกฮอร์ น ( Curly – horn desert bighorn sheep ) มีการกระจายพันธุ์ใน
บริ เวณเนินเขาหรื อภูเขาก้อนหิ นทีแห้งแล้งในเขตตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสหรัฐอเมริ กา แกะ
ทะเลทรายบิกฮอร์ นจะมีขนาดเล็กกว่าแกะภูเขาร๊ อคกีบิกฮอร์ น ( Rocky Mountain bighorn ) และ
สามารถปรับตัวให้อยูใ่ นภูมิอากาศแบบแห้งได้กว่า แกะทะเลทรายบิกฮอร์ นมีชนิ ดย่อย 2 ชนิด
ถึงแม้วา่ แกะบิกฮอร์นทัง 2 ชนิ ดย่อย ผสมพันธุ์กนั ได้และมีลกู ออกมา แกะบิกฮอร์นภูเขาไม่
สามารถปรับตัวให้อยูใ่ นพืนทีทะเลทรายได้
แกะทะเลทรายบิกฮอร์ นสามารถอดนําได้เป็ นช่วงสันๆ แต่ในพืนทีแห้งแล้งสัตว์ชนิ ดนีจะ
ยืดระยะเวลากินนําออกไปด้วยการกินพืชทีมีในพืนทีเช่น หญ้า ดอกไม้ ใบพุ่มทีมีหนามตามกิง
เช่น Salthbush และ desert holly บางครังจะเลียกินนําจากลําต้นของต้นตะบองเพชรทีใช้เขาช่วยใน
การขวิดต้นพังลงมา ในช่วงทีอากาศแห้งมาก ๆ แกะทะเลทรายบิกฮอร์นจะขุดรากและหัวของพืช
บางชนิ ดกิน โดยใช้กีบเท้าและเขาในการช่วยขุด
แกะทะเลทรายบิกฮอร์ นจะอยูร่ วมกันเป็ นฝูงขนาดเล็กซึ งประกอบด้วยเพศเมียและเพศผู้
หลายตัว ซึ งมีความเกียวข้องเป็ นเครื อญาติกนั ตลอดทังปี ดํารงชีวิตภายในอาณาเขตของตัวเองซึ ง
จะมีพืนทีประมาณ 25 ตารางกิโลเมตร แม้แต่ในช่วงทีอาหารมีจาํ กัด ก็ยงั พบน้อยมากทีสัตว์ชนิดนี
115

ออกนอกอาณาเขตตัวเอง โดยสัตว์เหล่านี จะรู้เส้นทางภายในอาณาเขตเป็ นอย่างดีเพือไปยังแหล่งนํา


ทีตนคุน้ เคย

ภาพที 4.26 ( ซ้ าย ) แพะภูเขาทะเลทรายบิกฮอร์ นเพศผู้ จะมีนําหนักของเขาหนักถึง 12


กิโลกรัม ภาพที 4.27 ( ขวา ) แพะภูเขาบิกฮอร์ นเพศเมียจะมีเขาทีสันเล็กและไม่โค้ งแบบของเพศ
ผู้ เพศเมียจะถึงช่วงอายุวยั เจริ ญพันธ์ที 4 ปี ส่วนเพศผู้ทีอายุ 7 ปี

สั ตว์ เลือดเย็นในพืนทีลักษณะภูมอิ ากาศร้ อน ( Cold Blood in a hot Climate )


กิงก่า งู และสัตว์เลือยคลานจะปรับตัวให้อยู่ในทะเลทรายได้ดี เนืองจากผิวหนังที มี
ลักษณะเป็ นเกล็ดทีช่วยในการเก็บความชืน สัตว์เลือยคลานเป็ นสัตว์เลือดเย็นจึงไม่สามารถรักษา
อุณหภูมิของร่ างกายให้คงทีได้ ในช่วงเทียงวันทีอุณหภูมิสูงมากเพียงพอทีจะทําให้สัตว์เลือยคลาน
ตายได้ ดังนันสัตว์กลุ่มนี ในทะเลทรายส่ วนใหญ่โดยเฉพาะงูจึงเป็ นสัตว์ทีหากินในเวลากลางคืน
ซึงจะเหมือนกับสัตว์ขนาดเล็กชนิดอืนๆ ทีอาศัยอยู่ในทะเลทราย จะออกล่าเหยือในช่วงพระอาทิตย์
กําลังตกดิน ซึ งเป็ นช่วงทีพืนทรายเริ มคลายความร้อนลงแล้ว แต่ก็มีสัตว์เลือยคลานบางชนิ ดจะมี
กิจกรรมลดลงเนืองจากอัตราการเมตาบอลิซึมลดลงในช่วงเวลากลางคืนทีมีอุณหภูมิเย็นขึน
งูหางกระดิง ( Rattle Snake ) มีงหู ลากหลายชนิ ดทีพบในทะเลทรายของทวีปอเมริ กา แต่มีงูไม่
มากชนิดนักที มีพิษ และส่ วนใหญ่ในกลุ่มมีพิษนีจะเป็ นงูหางกระดิง งูหางกระดิงจะมีการกระจาย
พันธุ์พืนที ตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริ กา เม็กซิ โก บางพืนทีในทวีปอเมริ กากลางและทวีป
อเมริ กาใต้ มีบางชนิดทีไม่มีนิสยั ก้าวร้าวดุร้าย แต่ชนิ ดทีดุร้าย คือ งูหางกระดิงหลังเพรชตะวันตก
( the western diamondback ) ซึ งพบในพืนที ตะวันตกเฉี ยงใต้ของประเทศสหรัฐได้ชือดังกล่าว
เนืองจากลักษณะและรู ปแบบของเกล็ด
งูทะเลทราย
งูแซนบัว ( Sand boas ) จะใช้ พนทรายช่
ื วยในการจับเหยือ โดยงูชนิดนีจะฝังลําตัว
ทังหมดในทรายโผล่ ออกมาเฉพาะส่ วนหาง การแกว่งไปมาของหางจะล่อเอากิงก่ าและหนูเข้ ามาถ้ า
116

เหยือเข้ ามา งูแซนบัวก็จะฉกกินเป็ นอาหาร

ภาพที 4.28 งูหางกระดิงยกหัวและทําท่าจะฉกเพือแสดง


การขู่ เนืองจากมีข่อต่อของกระดูกสันหลังทียืดหยุ่นได้ ทํา
ให้ งแู สดงท่างอลําตัวอย่างรวดเร็วเพือสปริ งตัวเข้ าฉกกัด
เหยือ

งูหางกระดิ งมีพิษชนิ ดทีทําลายเม็ดเลือดแดงและ


ผนังหลอดเลือด ( hemotoxin) ซึงสัตว์ทีโดนพิ ษจะ
ตายเนื องจากเลือดออกภายในร่างกาย

งูหางกระดิงหลังเพชรตะวันตก ( western dimonback rattlesnake) จะมีความยาวลําตัว


ประมาณ 1.5 เมตร ถ้าโตเต็มที อาจยาวถึง 2 เมตร งูจะกัดเหยืออย่างรวดเร็ ว สิ งทีเหมือนกับงูใน
กลุ่มงูเขียวหางไหม้ ( viper ) จะมีเขียวพิษเพือกัดและปล่อยนําพิษ งูชนิดนีจะไม่รัดเหยือแต่จะกัด
และรอจนกระทังพิษทํางาน

ภาพที 4.29 ( ซ้ าย ) งูหางกระดิงปิ กมี ( Pygmy rattle snake ) ภาพที 4.30 ( ขวา ) งูหาง
กระดิงหางดํา ( The blacktail rattlesnake )ไม่มีอนั ตรายต่อคน จะล่าเหยือคือหนูขนาดเล็ก

งูหางกระดิงจะมีส่วนปลายของหางเป็ นวงแหวนทีแบ่งเป็ นส่ วนๆ เมือวงแหวนนีเขย่าจะ


เกิดเสี ยง ซึ งเป็ นการเตือนให้สตั ว์ชนิดอืนๆ ให้ระวังอย่าเข้าใกล้ เมืองูหางกระดิงลอกคราบผิวหนัง
ในส่วนปลายสุ ดของหางจะแห้งตัวลงแทนทีจะหลุดลอกไป แต่จะกลายเป็ นวงแหวนที หางซึ งจะทํา
ให้วงแหวนเพิมขึน แต่อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถประมาณอายุของงูได้อย่างถูกต้องจากการนับวง
แหวนของงูหางกระดิง เนืองจากจะมีวงแหวนบางวงทีแตกและหลุดลอกออกไปหรื องูอาจจะมีการ
ลอกคราบมากกว่าหนึ งครังใน 1 ปี
117

งูหางกระดิงตรวจจับเหยือทางกลินจากการใช้ลนเคลืิ อนเข้า-ออก และรับการสันสะเทือนที


รับจากกระดูก การล่าบางครังจะบุกเข้าไปในรู ของหนูจิงโจ้ ( kangaroo rat ) ซึ งหนูชนิ ดนีจะ
ป้ องกันตัวเองด้วยการเตะทรายเข้าตางูหรื อวิงหนีไปยังรู ทีอยู่ขา้ งๆกัน

ภาพที 4.31 งูหางกระดิงแคนเบรค ( Canebrake rattlesnake ) จะงูเป็ น 2 ชนิดใน 30 ชนิดของงู


ในกลุม่ rattlesnake

กิงก่า ( Lizards ) ทีดํารงชีวิตในทะเลทรายจะมีทงชนิ


ั ดทีเคลือนทีช้า เคลือนทีเร็ว ชนิดที
สี สันสวยงามสะดุดตา ชนิดทีกลมกลืนไปกับสิ งแวดล้อม เมือดูจากลักษณะโดยรวมแล้วหลายคน
จะสรุ ปว่าเป็ นสัตว์ทีดูน่ากลัว แต่กิงก่าส่วนใหญ่จะกินแมลงและพืชเป็ นอาหาร ไม่มีอนั ตรายต่อ
มนุษย์ กิงก่าจะหลีกเลียงการสัมผัสการความร้อนในช่วงเทียงวัน แต่เป็ นสัตว์กลุม่ ที มีกิจกรรมและ
เคลือนไหวในเวลากลางวัน
จิลามอนสเตอร์ ( Gila monster ) เป็ นกิงก่าที มีพิษ จะมีการกระจายพันธุ์ในพืนที แบบ
ทะเลทรายในเขตตะวันตกเฉี ยงใต้ของประเทศสหรัฐอเมริ กาและในประเทศเม็กซิ โก
พบจิลามอนสเตอร์ได้นอ้ ยมากในป่ า เป็ นกิงก่าทีมีลกั ษณะลําตัวด้านหนา มีความยาว
ลําตัวโดยรวมประมาณ 0.3 เมตร มีเกล็ดทีเป็ นมันเงาสี ดาํ เหลืองและชมพู การมีสีสนั ทีดูฉูดฉาดนี
เพือแสดงการขู่ขวัญแก่สัตว์ทีจะมาล่าจิลามอนสเตอร์เป็ นอาหาร
จิลามอนสเตอร์จะออกล่าเหยือในช่วงเช้าของฤดูใบไม้ผลิ และช่วงเวลากลางคืนของฤดู
ร้อน เนื องจากเป็ นสัตว์ทีเคลือนทีช้าจึงต้องมองหาเหยือทีไม่เคลือนทีหรื อทีสามารถจับได้ง่าย เช่น
แมลง ไข่นก ลูกนกหรื อลูกหนู ในช่วงที หาอาหารได้ยากจะหลบอยู่ในโพรงดิน และใช้อาหารที
สะสมในรู ปของไขมันอยูท่ ีบริ เวณหาง จิลามอนสเตอร์ เป็ นสัตว์ทีไม่ดุร้าย ไม่กดั แม้วา่ จะโดน
กระตุน้ ยัวยุ จะใช้พิษเพือการป้ องกันตัวแต่ไม่ใช้เพือการฆ่าเหยือ การเข้าโจมตีจิลามอนสเตอร์จะ
กัดและล๊อคกรามเหมือนทีหมาบูลด๊อคทํา กัดทึงเนื อของเหยือจนกระทังพิษที อยูใ่ นนําลายจะซึ ม
เข้าไปในแผล
118

ภาพที 4.32 Gila monster ใช้ เวลาส่วนใหญ่ในโพรงดินทีมีอากาศเย็นทีสัตว์ชนิดอืน ๆ เลิกใช้ ทํา


ให้ การ ทําให้ การพบสัตว์ชนิดนีบนพืนดินน้ อยมากและเป็ นสัตว์ทีหากินกลางคืน ทําให้ นกั ชีววิทยา
ให้ ข้อมูลว่าเป็ นสัตว์ทีมีอยู่ในจํานวนเพียงเล็กน้ อย

ในปี 1952 มลรัฐอริโซน่ า


ได้ออกกฎหมายเพือ
ปกป้ องจิ ลาร์มอนสเตอร์
ซึงเป็ นกฎหมายฉบับแรก
ที ออกมาเพือปกป้ องสัตว์
ที มีพิษ

ข้อมูลที น่ าสนใจ
กิ งก่าคอลลาร์ด ( Collard lizard ) เป็ นสิ งที มีลกั ษณะของร่างกายไม่สมดุลส่วนหัวใหญ่
และยาว แต่หางขนาดเล็ก ขาหลังใหญ่กว่าขาหน้ า
เราจะทราบได้ว่ากิ งก่าคอลลาร์ดเพศผู้ทีโตเต็มทีได้โดยการดูจดุ ทีอยู่บนหน้ าอก

สี ลาํ ตัวของกิงก่าทะเลทรายบางชนิ ดจะเป็ นสี นาตาลหรื


ํ อเทา เพือให้กลมกลืนกับ
สิ งแวดล้อม แต่สีลาํ ตัวของกิงก่าคอลลาร์ด ( Collard lizard ). จะเป็ นสี ทีค่อนข้างฉูดฉาด คือ
เหลืองและแถบเขียวเตอร์ กอยท์ ทีส่ วนของหน้าอกสี แถบดําและขาว เป็ นสัตว์ทีวิงได้เร็ ว กินแมลง
และกิงก่าขนาดเล็ก นิสัยของกิงก่าคอลลาร์ดค่อนข้างมีพฤติกรรมก้าวร้าว แต่ถา้ มีอนั ตรายเข้ามา
ใกล้ตวั ส่ วนใหญ่จะใช้การวิงหนีดว้ ยการใช้ขาหลัง
119

ภาพที 4.33 กิงก่าทะเลทราย


เช่น กิงก่าคอลลาร์ ด กําลังผึง
แดดบนก้ อนหิน โดยแสดงท่ายก
ลําตัว ซึงจะเป็ นการยกลําตัวซึง
เป็ นกระบวนการเพิมอุณหภูมิ
ของร่างกายและก้ อนหินจะดูดซับ
ความร้ อนจากดวงอาทิตย์

เหล็กใน เขี้ยวพิษและน้ําพิษ ( Sting, Fang, and Venom )

สัตว์ทมีี พษิ จะใช้พษิ ใน 2 ทางคือ ใช้เป็ นการป้องกันตัวเองจากสัตว์ผลู้ ่าและใช้ในการล่า


อาหาร งู horn viper แห่งทะเลทรายซาฮาร่าจะฝงตั ั วในทะเลทรายเหลือแต่ปลายจมูกไว้ และ
รอเพือทีโจมตีเหยือ เช่น กิงก่าและหนู งูเห่าอียปิ ต์ ( the Egyptian Cobra ) จะขดตัวเป็ นวง
ถ้าถูกรบกวนมันจะยกส่วนหัวขึน แผ่แม่เบีย ทําเสียงขูฝ่ อ่ ๆ และฉกกัด
พิษของงูทงวงศ์ั งเู ขียวหางไหม้ ( viper ) และ วงศ์งเู ห่า ( cobra ) จะเป็ นอันตรายต่อ
มนุษย์ โดยพิษของงูเห่าจะมีผลต่อระบบประสาท ทีทําให้เกิดอาการอัมพาต ส่วนพิษของวงศ์งู
เขียวหางไหม้ ( viper ) จะทําลายเม็ดเลือดแดงและทําให้เกิดเลือดออกภายในร่างกาย
แมงปอ่ งจะมีเหล็กในทีหาง เป็ นสัตว์ทพบได้ี ทวไปในทะเลทราย
ั มีแมงปอ่ งบางชนิดที
พิษของเหล็กในจะมีผลถึงขันเป็ นอัตรายต่อมนุ ษย์ พิษของเหล็กในใช้เพือป้องกันตัวเองและทํา
ให้เหยือเคลือนทีช้าลง อาหารทีแมงปอ่ งกิน เช่น แมลง แมงมุม บางครังจะกินกิงก่าและหนู
แมงปอ่ งจะใช้ระยางค์หน้า 2 ข้าง ทีคล้ายกับก้ามปูจบั เหยือไว้ และใช้สว่ นหางทีทีจะชูขนึ
เหนือหลังและหัว ใช้สว่ นปลายของหางแทงและปล่อยเหล็กใน
120

แมงมุมทารานทูราขนดํา ( Hair black tarantula ) ของทะเลทรายในประเทศอเมริกา


เมือดูจากรูปลักษณ์ภายนอกจะดูน่ากลัว แต่พษิ จะไม่รุนแรงกับมนุ ษย์ ทารานทูรา .จะ
เหมือนกับแมงมุมชนิดอืนๆ จะเข้าจับตัวเหยือและกัดเหยือด้วยเขียวพิษ ซึงพิษจะทําให้เหยือ
เป็ นอัมพาต
สัตว์เลียงสัตว์ลูกด้วยนมทีมีพษิ เช่น ชูรห์ างสัน ( short tail shrew ) โดยพบในปา่ และ
บึงนําเค็มของพืนทีตะวันออกเฉียงเหนือของอเมริกา เป็ นสัตว์สตั ว์ขนาดเล็กทีใช้พษิ ทีมีใน
นําลายเพือใช้ในการฆ่าแมลง

ภาพที 4.34 เต่าทะเลทรายจะ


เดินช้ าทีความเร็ว 0.5 กม/
ชัวโมง จะขุดโพรงโดยแนวของ
โพรงจะขนานไปพืนดินซึงจะมี
ความยาวประมาณ 9 เมตร

ในช่วงฤดูหนาว จะมีเต่าทะเลทรายจําศีลอยู่รวมกันเป็ นฝูงใหญ่ในโพรงใต้ดิน

เต่าทะเลทราย ( Desert Tortoise ) ในชนิ ดทีมีการกระจายพันธุ์ในเม็กซิโกและตะวันตก


เฉียงใต้ของประเทศสหรัฐอเมริ กา จะเหมือนกับเต่าบกชนิดอืนทีจะขุดโพรงดินเพือใช้หลบความ
ร้อนในเวลากลางวันและจะขึนมาเพือหาอาหารกินในช่วงเช้าและพลบคํา แตกต่างจาก
สัตว์เลือยคลานชนิดอืนๆ คือ tortoise และ turtle ไม่มีฟัน การตัดและบดอาหารจะใช้กรามที
แข็งแรงประกอบกันเป็ นจะงอยปาก เต่าทะเลทรายจะใช้ช่องปากบดและตัดใบไม้และผลของต้น
ตะบองเพชร ตะบองเพชรเป็ นพืชทีมีความสามารถในการเก็บนํา ทีเต่าจะใช้เป็ นแหล่งนําเพือใช้ใน
ร่ างกาย
ภายหลังฤดูผสมพันธ์ tortoise เพศเมียจะวางไข่และฝังไข่ในดิน 3 – 4 ฟอง โดยลูกจะ
ออกจากไข่ใน 3 – 4 เดือนต่อมา ลูกเต่าบกจะโตช้าและลูกเต่าทีเกิดใหม่กระดองเต่าจะนิ มอยู่ ซึ ง
จะตกเป็ นเหยือของศัตรู ผลู ้ า่ ได้ เต่าบกทะเลทรายทีโตเต็มที แล้วมีความยาวของกระดองประมาณ
30 เซนติเมตร เต่าทะเลทรายจะมีขนาดเล็กกว่าเต่าบกกาลาปากอสซึ งจะมีความยาวของกระดองถึง
122 เซนติเมตร

นกในทะเลทราย ( Birds in the Desert )


121

เนืองจากนกหลากหลายชนิ ดทีสามารถบินหรื อวิงได้เป็ นระยะทางไกลเพือหาอาหาร เช่น


แมลง หนู สัตว์เลือยคลาน เมล็ดพืช มีนกบางชนิดทีสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพในทะเลทราย
ได้ ข้อมูลพืนฐานคือ นกจะไม่มีการระบายของเสี ยด้วยการใช้เหงือ แต่จะใช้การทําขนฟูๆ ( ruffle
their feather ) เพือระบายความร้อน และนกบางชนิ ดสามารถหาอาหารกินในช่วงเวลากลางวันใน
ทะเลทรายทีมีสภาพอากาศร้อน ถึงแม้วา่ นกบางชนิ ดจะมีการปรับตัวเพือหากินได้ แต่ทะเลทราย
บางแห่ งก็จะเป็ นพืนทีทีไม่มีนกดํารงชีวิตอยู่ หรื อทะเลทรายบางแห่ งมีนกบินไปมาแต่กเ็ ป็ นเพียง
จุดแวะพักของนก ไม่ใช่เป็ นนกทีอาศัยอยูอ่ ย่างถาวร

ภาพที 4.35 แคลิฟอร์ เนียโร้ ดรัน


เนอร์ (California Roadrunner )
จะเป็ นนกในวงศ์นกกาเหว่า นก
ชนิดนีจะมีเสียงร้ องเป็ นชุดในโทน
เสียงตํา คู คู คู คู-เอ คู-เอ

นกทีสามารถบินร่ อนไปมาในระดับความสู งระดับพันฟุตเพือหลบจากความร้อน เช่น


อีแร้ง และเหยียว นกขนาดเล็ก เช่น นกกระทา ( quail ) นกกระจอก ( sparrow ) และนก Wren
จะหลบอยูต่ ามบริ เวณทีร่ มเงา ขนนกจะมีประโยชน์ทงเป็
ั นฉนวนทีป้ องกันความร้อน เช่นเดียวกัน
กับเป็ นองค์ประกอบในการป้ องกันความเย็น

นกโร้ ดรันเนอร์ ( Road runner ) เป็ นนก


ประจําถินของทวีปอเมริ กา หากินบนพืนดิน
เป็ นหลัก เป็ นนกทีบินไม่เก่งนักเนืองจากปี ก
สัน สามารถวิงในระยะไกลได้เร็ ว 20
กิโลเมตร/ชัวโมง ถ้าต้องการเร่ งความเร็ วใน
ระยะสันจะเร็ว 40 กิโลเมตร./ชัวโมง ซึ งทํา
ให้นกชนิดนีสามารถหลบหลีกศัตรู ผลู ้ า่ หรื อ
รถทีวิงตามถนนในทะเลทราย
โร้ดรันเนอร์ เป็ นนกขนาดใหญ่วดั
ความยาวลําตัวจากปลายจะงอยปากถึง
122

ปลายหางประมาณ 60 เซนติเมตร มีขนทีหัวทีมีความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร จะตังขึนได้เมือนก


ตืนตกใจ อาหารทีนกชนิ ดนี กิน เช่น แมลง แมงมุม แมงป่ อง งู รวมทังงูหางกระดิงและกิงก่า
การฆ่าเหยือจะทําได้โดยการนําเหยือมาฟาดทีก้อนหิ นหรื อใช้เท้ากดเหยือ ทางเดินอาหารของนก
โร้ดรันเนอร์สามารถย่อยอวัยวะส่ วนต่างๆ ของเหยือ เช่น เนือ ผิวหนังและกระดูกได้
ในช่วงกลางคืนทีอากาศหนาว นกโรดรันเนอร์จะประหยัดพลังงานโดยการลดกิจกรรมลง
ในช่วงเช้านกชนิ ดนีจะอบอุ่นร่ างกายโดยการผึงแดดและไซร้ขนอยู่กลางแดด รังของนกโรดรัน
เนอร์จะทําด้วยกิงไม้และวัสดุรองรัง เช่น หนังงูทีลอกคราบ มูลแห้งของวัว หรื อ แอนติโลป

ภาพที 4.36 ( ซ้ าย ) เป็ นนกฮัมมิงเพศผู้ ภาพที 4.37 ( ขวา ) นกฮัมมิงเพศเมียซึงนกชนิดนีจะ


ใช้ จะงอยปากทีมีลกั ษณะยาวและเล็กร่วมกับลินทีมีลกั ษณะส่วนปลายคล้ ายซ้ อมกินอาหารและ
เป็ นท่อเพือใช้ ในการกินนําหวานจากดอกไม้

ปี กของนกฮัมมิ งจะตี ปีกด้วยอัตรา 78 ครัง/วิ นาที ( 78 time/second ) นกชนิ ดนี ต้องกิ น


อาหารมากเป็ นนําหนักถึง 2/3 ส่วนของนําหนักตัวเพือทดแทนพลังงานที ใช้ไป

นกแอนนาฮัมมิง ( Anna ’ s Hummingbird ) เป็ นนกฮัมมิงหลายชนิดเป็ นนกทีมีการกระจายพันธุ์ใน


พืนทีตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปอเมริ กาเหนือ ชือของนกกลุ่มนีตังตามเสี ยงทีเกิดจาก
กระพือปี กอย่างรวดเร็ ว โดยพบในลักษณะพืนที แบบป่ ากึงทะเลทราย ภูเขา
นกแอนนาฮัมมิงเบริ ดจะมีความยาวน้อยกว่า 10 เซนติเมตร โดยกินนําหวานจากดอกไม้ของ
พืชทีขึนในทะเลทราย ในช่วงทีฤดูหนาวมีนกบางตัวจะอพยพมาถึงพืนทีตอนใต้ของรัฐอริ โซนา
หรื อบางฤดูหนาวมาไกลถึงประเทศเม็กซิ โก และทังหมดจะอพยพกลับไปยังถินทีอยูใ่ นบริ เวณ
ตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริ กาเพือผสมพันธุ์
123

นกแอนนาฮัมมิงเพศเมียจะมีขนปกคลุมตัวเป็ นสี เทาและเขียว ส่ วนเพศผูจ้ ะมีขนนําเงินเขียว


ส่วนหัวสี แดงกุหลาบ รังนกจะทําจากเยือไม้บางๆ ใยแมงมุมและคลุมด้านนอกด้วยไลเคนท์ ออกไข่
ครังละ 2 ฟอง ฟักไข่นาน 2-3 สัปดาห์

นกเค้ าแมวโพรงดิน ( Burrowing Owl ) จะอยูใ่ นพืนทีทังแบบทะเลทรายและทีราบแห้งแล้ง


ของทวีปอเมริ กาเหนือและใต้ เป็ นนกขนาดเล็กมีความยาวลําตัวประมาณ 20-22 เซนติเมตร มี
ลักษณะของขาทียาวเพือช่วยในการวิง สามารถล่าเหยือได้ทงบนดิ ั นและกลางอากาศ อาหารของนก
ชนิดนี เช่น แมลง กิงก่า นกขนาดเล็ก หนู งู โดยการออกล่าเหยือในเวลากลางคืน
นกนกเค้าแมวโพรงดินจะอยูใ่ นโพรงใต้ดินทีสัตว์บางชนิดทิงโพรงไป เช่น แพรี ด๊อด
บางครังพบโพรงของคู่นกเค้าแมวโพรงดินทีขุดรังเองโดยมีวสั ดุของรังเป็ นมูลสัตว์และกิงไม้
นกแซนเกร้ า ( sand grouse ) มีความเกียวเนืองทางสายพันธุ์กรรมกับนกพิราบน้อยมาก แซนเกร้ามี
ถินทีอยู่ในทะเลทรายในแอฟริ กาและเอเชีย , ทํารังในบริ เวณเป็ นก้อนหิ นทีแห้งแล้งห่างไกลจาก
แหล่งนําและห่างไกลจากสัตว์ผลู ้ ่า เช่น หมาป่ าเฟนเนค แซนเกร้าจะต้องบินหลายรอบต่อวันรวม
ระยะทางไกลถึง 115 กิโลเมตร เพือไปยังแหล่งนํา
ในช่วงฤดูกาลฟักไข่เลียงลูกอ่อน ชีวิตของนกแซนเกร้าจะลําบากมากขึน เมือนกต้องนังกก
ไข่ตลอดเวลาเพือเป็ นการป้ องกัน กรณี ไข่ถูกแสงแดดมากเกินไป ในช่วงทีอากาศร้อนมากๆนก
จะต้องยืนกางปี กเพือเป็ นร่ มเงาให้กบั ไข่
เมือลูกนกออกจากไข่ นกเพศเมียจะกกลูกนกต่อไปใน ขณะทีนกเพศผูจ้ ะบินไปยังแหล่ง
นําทีอยู่ใกล้ทีสุ ด นกเพศผูจ้ ะกินนําและแช่นาํ จนกระทังเขา Down อิมนํา เมือนกเพศผูก้ ลับมาทีรัง
ลูกนกจะกินนําทีค้างอยูท่ ีขนของพ่อนก พ่อนกจะต้องบินไปยังแหล่งนําเพือนํามาให้ลูกนกกิน
จนกว่าลูกนกจะบินไปยังแหล่งนําได้เอง
124

บทที 5
สัตว์ป่าในป่ าผลัดใบของเขตอบอุ่น
( Animals of the Deciduous Forest )

ป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่นจะประกอบด้วยต้นไม้ชนิ ดทีจะทิ งใบเป็ นหลัก


เมือถึงช่วงฤดูใบไม้ร่วงมาถึงซึงอากาศจะเย็นและแห้ง ใบไม้ของต้นไม้ในป่ า
ประเภทนี จะเปลียนจากสีเขียวเป็ นสีแดง เหลืองหรือส้ม เนื องจากปริ มาณ
แสงแดดในฤดูใบไม้ร่วงลดลง ทําให้พืชผลิ ตคลอโรฟิ ลล์ลดลงทําให้สดั ส่วน
ของรงควัตถุสีเขียวลดลงทําให้สดั ส่วนรงควัตถุแคโรทีนอยด์ แอนไธยานี น
มากขึนทําให้สีของใบไม้เปลียนสี เมือฤดูกาลเปลียนแปลงจะมีผลต่อ
พฤติ กรรมของสัตว์ แต่การเปลียนแปลงของฤดูกาลจะเป็ นการเปลียนแปลง
อย่างช้า ๆ เพือให้สตั ว์มีเวลาทีจะหาอาหารเพือเก็บสํารองพลังงานได้สาํ หรับ
ฤดูหนาว ช่วงฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนเป็ นช่วงเวลาทีมีอาหารสมบูรณ์ สัตว์จะ
มีนําหนักเพิ มขึน ขนทีปกคลุมลําตัวจะเพิ มจํานวนหนาขึนและยาวขึน เมือฤดู
หนาวมาถึงสัตว์บางชนิ ดใช้วิธีการอพยพย้ายถิ นไปยังพืนทีทีอากาศอบอุ่นกว่า
125

สั ตว์ ป่าในป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Animals of the Deciduous Forest )

ภาพที 5.1 แสดงแผนทีโลกและพืนทีป่ าผลัดใบในเขตอบอุน่

ป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่นจะมีปริ มาณฝนตกประมาณ 60 - 100 เซนติเมตรต่อปี อยูใ่ นช่วงฤดู


ร้อนทีมีอากาศอบอุ่นและฤดูหนาว ซึ งเป็ นช่วงทีต้นไม้เติบโตมีระยะเวลาประมาณ 100 - 200 วัน
ในป่ าแบบกึงผลัดใบ ( semi deciduous forest ) ในพืนทีตอนใต้ของอเมริ กากลาง จะมีการผลัดใบ
ของต้นไม้ในช่วงฤดูร้อน

ภาพที 5.2 สีสนั ของใบไม้ ในป่ าผลัดใบในเขตอบอุน่ ทีเป็ นสัญญาณของการเปลียนจากฤดูร้อนไป


เป็ นฤดูใบไม้ ร่วง

ป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่นนี จะมีความหลากหลายของชนิดพืชพันธุ์นอ้ ยกว่าป่ าในเขตร้อน


พันธุ์ไม้ยืนต้นทีครอบครองพืนทีมากกว่าต้นไม้ชนิดอืนในป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่นบริ เวณพืนที
126

ตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริ กา เช่น เรดโอ๊ค ( red oak ) แบลคโอ๊ค ( black oak ) แชคบลาค


ฮิคโกรี ( shagbark hickory ) ส่ วนในรัฐนิ วอิงค์แลนด์จะเป็ นต้นบีช ( beech ) เมเปล ( maple )
เบิร์ช ( birch )
สัตว์ในป่ าไม้ผลัดใบในเขตอบอุ่นจะพึงพาอาศัยต้นไม้เพือเป็ นร่ มเงาและอาหาร
ตัวอย่างเช่นนก กวาง และหมีจะกินผลไม้ เมล็ดพืชและต้นกล้า ( sprout ) ส่ วนกวางมูส บีเวอร์
และแมลงจะกินใบไม้ โพรงไม้ของต้นไม้ใหญ่ทีล้มลงนอนทีพืนดินจะเป็ นทีอยู่ของตัวแรคคูนและ
สัตว์ชนิ ดอืนๆ อีกหลายชนิด ในช่วงฤดูหนาวกวาง เม่นและบีเวอร์จะแทะเปลือกไม้เพือกิน
เนือเยือทีอยู่ดา้ นใน ซึ งส่ วนดังกล่าวจะเป็ นแหล่งโปรตีนสําหรับสัตว์หลายชนิ ดในป่ าทีหนาวเย็น
และต้นไม้ยืนต้นจะเป็ นตัวทีลดความแรงของลม
สัตว์สะเทินนําสะเทินบก เช่น ซาลามานเดอร์จะอยู่ในโพรงไม้ของต้นไม้ทีเน่าเปื อย จะหา
แมลงและตัวหนอนทีอยูบ่ ริ เวณผิวนํากินเป็ นอาหาร งูบางชนิ ดจะล่าสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมขนาด
เล็ก เช่น กบเขียดและลูกนก
สัตว์ป่าส่ วนใหญ่ในป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่นจะทนทานต่อความหนาวเย็นได้ดี บางชนิ ดจะ
มีขนหนาขึนในช่วงฤดูหนาว บางชนิดจําศีลในโพรงไม้ ในช่วงการจําศีลสัตว์จะลดอัตราการเผา
ผลาญพลังงานลงและอุณหภูมิของร่ างกายลดลง สัตว์ป่าทีจําศีลมีชีวิตรอดได้โดยใช้อาหารทีสะสม
ในร่ างกายในรู ปของไขมัน
สัตว์ทีจําศีลบางชนิดจะเก็บลูกผลไม้เปลือกแข็งและเมล็ดพืชไว้ในโพรงดิน ตัวอย่างเช่น
ชิปมังค์ ( chipmunk ) ในช่วงเวลาทีต้องสะสมอาหารจะอมลูกนัทครังละ 6 ลูกไว้ในกระพุง้ แก้ม
เพือนําไปเก็บไว้ในโพรงดินของตัวเองต่อการเดินทาง 1 ครัง สัตว์ทีไม่มีพฤติกรรมการจําศีลจะ
ปรับตัวในช่วงทีขาดแคลนอาหารในฤดูหนาว เช่น กวางเอลค์จะกินใบไม้จากไม้พุ่ม ใบของต้นสน
ทีลําต้นโผล่พน้ หิ มะทีขึนมา
สัตว์ทีดํารงชีวิตในป่ าผลัดใบจะมีความเกียวเนืองกันเป็ นโซ่ อาหาร แมลงวูดบอริ งค์แมน
( woodboringman insect ) จะมากินใบไม้ ขณะทีมดและแมลงปี กแข็งจะกินใบไม้ทีร่ วงสะสมบน
พืนดิน หนูจะกินเมล็ดพืชและใบไม้ทีอยู่บนพืนดิน สัตว์เลียงลูกด้วยนมขนาดเล็กจะถูกล่าจากสัตว์
ผูล้ ่า เช่น วีเซล บ็อบแคท และเสื อคูการ์ เมือมีการแย่งชิงอาหารกัน สัตว์จะมีการประกาศอาณาเขต
เช่น การถ่ายปัสสาวะ เสี ยงร้อง การขูดทําเครื องหมายบนต้นไม้

บีเวอร์ ( Bever ) เป็ นหนูทีมีขนาดใหญ่ทีสุดในทวีปอเมริ กาเหนื อ ถินที อยูใ่ นลําธาร


ทะเลสาบในทวีปอเมริ กาเหนื อ ทวีปยุโรปและเอเชีย เป็ นสัตว์ทีมีฟันตัด ( incisor ) ขนาดใหญ่เพือ
ช่วยในการตัดต้นไม้ มีหางทีแบนทีช่วยในการว่ายนํา
บีเวอร์จะสร้างสระนําของตัวเองโดยการทําเขือนจากก้อนหิ น โคลน ท่อนไม้และกิงไม้
ซึงสระนําทีเกิดขึนจะกลายเป็ นทีอยูส่ ตั ว์อืนๆ เช่น นาก กบ และเป็ ดป่ า บีเวอร์จะมีการสร้าง
127

ช่องทางนําทีจะลําเลียงท่อนไม้ไปยังสระนํา จาการสํารวจพบว่าในรัฐโคโรลาโดมีช่องทางนําทีบี
เวอร์สร้างขึน ( beaver canal ) ทีมีความยาวถึง 230 เมตร

- ตาจะมีเยือบางๆคลุมตาไว้ ในช่วงทีบีเวอร์ วา่ ย - หูและจมูกจะปิ ดในช่วงทีว่ายนํา


- ขนจะไม่เปี ยกนําเพือลดความหนาวเย็นลง - หางแบน ยืดหยุ่นซึงช่วยในการเคลือนทีใน
นํา
- เท้ าหลังจะมีขนาดใหญ่และมีพงั ผืดเพือช่วยในการว่ายนํา

บีเวอร์จะอยู่ในกระท่อมไม้ทีสร้างจากกิงไม้และโคลน โดยกระท่อมบ้านจะสร้างห่างจาก
ฝังและก่อตัวขึนเป็ นเกาะ จะมีทางเข้าจากใต้นาํ โดยขนาดของกระท่อมจะมีความสูง 0.5 เมตร
กว้าง 1 เมตร

ภาพที 5.3 ( ซ้ าย ) บีเวอร์ เดินอย่างช้ าๆ บนพืนดิน ภาพที 5.4 ( ขวา ) เขือนทีบีเวอร์ สร้ างขึน
ซึงจะสมาชิกทีอาศัยเป็ นเพศผู้ เมียทีจับคูก่ นั และลูกๆ
128

บีเวอร์เป็ นสัตว์ทีกินพืชเป็ นอาหาร โดยอาหารทีบีเวอร์กิน คือ ใบไม้ เนือไม้ พืชนํา


ในช่วงฤดูหนาวบีเวอร์จะอยู่ภายในกระท่อม และกินอาหารจากกิงไม้ทีเก็บไว้ในชันโคลนองสระ
นํา ซึ งใช้เป็ นอาหารสําหรับฤดูหนาว

ภาพที 5.5 ( ซ้ าย ) ฟั นตัดคูท่ ีมีขนาดใหญ่ ภาพที 5.6 ( ขวา ) ภาพวาดแสดงเขือนทีบีเวอร์


สร้ าง

อาณาเขต ( the home range ) สัตว์ทีมีขนาดของลําตัวใหญ่ เช่น หมี เสื อคูการ์ จะมีพืนที
เป็ นของตัวเอง เพือใช้เป็ นแหล่งอาหารและเพือการดํารงชีวิต อาณาเขตจะประกอบด้วยแหล่งนํา
บริ เวณทีพัก สัตว์จะมีการปกป้ องอาณาเขตหากมีสัตว์ชนิดเดียวกันและเพศเดียวกันล่วงลําเข้ามา
เสื อคูการ์ ( cougars ) และวูฟเวอร์ลีน ( wolverine ) จะทําเครื องหมายอาณาเขตของตัวเองโดยการ
ถ่ายปัสสาวะ ส่ วนหมีจะใช้การทําเครื องหมายไว้บนต้นไม้
ขนาดของอาณาเขตจะขึนอยู่กบั ลักษณะภูมิประเทศ ปริ มาณอาหาร จํานวนความ
หนาแน่ นของประชากรของสัตว์ชนิดนัน ๆ ในพืนที ตัวอย่าง เช่น อาณาเขตของหมีดาํ เพศผูใ้ นรัฐ
เทนเนสซี ในเขตเทือกเขาสโมคกี ( smoky mountain ) จะมีอาณาเขต 41 ตารางกิโลเมตร แต่
อาณาเขตของหมีดาํ เพศผูใ้ นรัฐไอดาโฮซึ งมีความอุดมสมบูรณ์นอ้ ยกว่าและมีอากาศหนาวเย็นจะมี
พืนทีอาณาเขต 111 ตารางกิโลเมตร
ขนาดของพืนทีอาณาเขตยังขึนอยูก่ บั เพศและฤดูกาล เช่น เสื อคูการ์ เพศเมียจะมีพืนทีอาณา
เขต 40 - 80 ตารางกิโลเมตร ซึ งจะมีการทับซ้อนกับเสื อคูการ์เพศผูซ้ ึ งมีอาณาเขต 65 - 90 ตาราง
กิโลเมตร สัตว์ส่วนใหญ่จะต้องออกเดินทางไกลมากขึนในช่วงฤดูใบไม้ร่วง เพือหาอาหารกิน
สําหรับการสะสมไขมันไว้ใช้ในฤดูหนาว เมือเติบโตถึงช่วงวัยเจริ ญพันธ์จะเป็ นช่วงอายุทีจะต้อง
หาพืนทีอาณาเขตของตัวเอง
129

ภาพที 5.7 หมีจะมีเล็บทียาว 5 เล็บในมือแต่ข้าง ซึงเล็บจะช่วยในการปี นต้ นไม้ และทํา


เครื องหมายเพือแสดงอาณาเขต ภาพที 5.8 หมีดําอเมริ กนั จะเหมือนกับหมีชนิดอืนๆทีมีช่วงปาก
ยืนยาวทีเป็ นลักษณะของจมูกทีมีประสาทในการรับกลินทีดี

หมีดําอเมริกนั ( American Black Bear ) หมีดาํ อเมริ กนั จะพบทังในพืนทีป่ าแบบสนเขาและ


ป่ าผลัดใบ การกระจายพันธุ์จะขึนไปทางเหนื อจนถึงชายขอบของขัวโลกเหนือ ( arctic circle ) และ
ลงมาทางใต้จนถึงพืนทีทางภาคเหนื อของเม็กซิ โก ความสูงช่วงไหล่เมือยืนครบ 4 ขา ประมาณ 1
เมตร ถ้ายืนบน 2 ขาหลังจะสู งประมาณ 2 เมตร นําหนักของหมีเพศผูป้ ระมาณ 115 - 160
กิโลกรัม โดยหมีสีนาตาล
ํ ( Brown Bear ) จะหนักกว่าหมีดาํ อเมริ กา 2 เท่า เราสามารถแยกหมีทงั
2 ชนิดจากขนาดของร่ างกาย
ข้อมูลที น่ าสนใจ
หมีดาํ อเมริกนั จะมีหางสัน ในขณะที หมีชนิ ดอืนๆ จะมีหางสันติ ดลําตัว
หมีดาํ อเมริกนั จะมีสีขนตาลําตัวสีดาํ นําตาล เทา หรือ สีขวา
หมีดาํ อเมริกนั จะมีปากในลักษณะยาวตรง

หมีดาํ อเมริ กนั เป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตอยูต่ วั เดียว มีกิจกรรมส่ วนใหญ่ในเวลากลางคืน เป็ นสัตว์
ทีพยายามหลีกเลียงการพบกับมนุษย์ เมือหมีเดินทางในพืนทีบ้านเรื อนของมนุษย์ จะเดินในลําธาร
เนืองจากด้านข้างลําธารจะมีตน้ ไม้หนาแน่นช่วยในการบังตัว การเดินในนําจะช่วยในการอําพราง
กลินและรอยเท้า หมีเพศผูจ้ ะไล่ตวั ผูต้ วั อืนๆ ออกจากอาณาเขตของตัวเองแต่จะปล่อยให้เพศเมีย 1-
2 ตัวใชัพืนทีทับซ้อนในพืนทีของตัวเอง บางช่วงเวลาหมีดาํ อเมริ กาจะยืนบน 2 ขาหลังเพือทีจะ
มองเห็นในระยะไกล มีการใช้กรงเล็บหรื อปากกัดทีต้นไม้เพือทําเครื องหมายบอกอาณาเขต
130

ในบางเวลาหมีดาํ อเมริ กนั จะมาอยูร่ วมกันในพืนทีเดียวกันหลายตัวเช่น พืนทีมีลกู เบอร์ รีสุ ก


พืนทีทิงขยะ ซึ งช่วงเวลาดังกล่าวหมีดาํ อเมริ กนั จะแสดงท่าทางว่าตนเองสนใจเฉพาะอาหารทีกิน
อยูข่ า้ งหน้าเท่านัน
พบว่ามีกรณี ทีหมีดาํ อเมริ กนั ทําร้ายมนุษย์นอ้ ยครังมาก ถึงแม้ว่าจะอยูใ่ นช่วงทีตนเองบาดเจ็บ
หรื อมีลูกอ่อนทีต้องดูแล เมือรู ้สึกว่ามีภยั เข้ามาจะปี นขึนต้นไม้ สามารถวิงได้เร็ ว 53 กิโลเมตร/
ชัวโมง เป็ นสัตว์ทีกินทังพืชและสัตว์ แต่กข็ ึนกับอาหารทีหาได้ในแต่ละฤดูกาล ตัวอย่างอาหาร
หลัก เช่นผลไม้เปลือกแข็ง ลูกเบอร์รี และอาหารอืน ๆ ทีกินด้วย เช่น ปลา แมลงและซากสัตว์

หมีควาย ( Asian Black Bear ) การกระจายพันธุ์ของหมีชนิดนีพบตังแต่ประเทศอิหร่ าน เทือกเขา


หิมาลัยต่อเนื องไปถึงประเทศเกาหลีและญีปุ่ น โดยหมีควายอยู่ในวงศ์ ( family ) เดียวกันกับหมีดาํ
อเมริ กนั ( American Black Bear ) แต่ต่างตระกูล ( genus ) และมีขนาดเล็กกว่า โดยหมีควายเพศผู ้
ทีมีขนาดร่ างกายใหญ่ทีสุ ดจะหนักประมาณ 120 กิโลกรัม สี ลาํ ตัวส่ วนใหญ่เป็ นสี ดาํ แต่มีบางตัวที
มีสีนาตาลหรื
ํ อนําตาลแดง
ถินทีอยูข่ องหมีชนิดนี มักพบในพืนทีภูเขาและมีอาณาเขตประมาณ 5 ตารางกิโลเมตรต่อ
ตัว ปี นต้นไม้เก่งและพักตามคาคบไม้ทีมีการหักกิงไม้เพือมาทําเป็ นทีนอน
เป็ นสัตว์กินทังพืชและสัตว์ ( Omnivorous ) โดยอาหารหลักเป็ นพืช เป็ นสัตว์หากิน
กลางคืน ออกหากินในเวลากลางวันในบางช่วงเวลาทีเป็ นช่วงที มีผลไม้สุกในป่ า เหมือนหมีชนิ ด
อืนๆ ทีชอบกินนําผึง มักพบว่าหมีชนิดนี กินนําหวานจากรังผึงโดยไม่กลัวเหล็กในทีผึงเข้ามาต่อย
มีนอ้ ยครังทีหมีควายเข้ามาทําร้ายสัตว์เลียงในบ้านจนถึงตาย ในเขตพืนทีทีช่วงฤดูหนาวมีอากาศ
หนาวเย็นมากหมีควายจะนอนหลับจําศีล ส่ วนในพืนทีทีอุณหภูมิไม่หนาวรุ นแรงมากนักระยะการ
จําศีลจะสันลง

ภาพที 5.9 หมีควาย ( ชือ


ไทย ) ซึงชือดังกล่าวมาจาก
แถบสีขาวทีคาดหน้ าอกทีมี
ลักษณะเหมือนกับแถบขาว
ทีอยู่บนหน้ าอกของควาย
ปลักเอเชีย

เสื อคูการ์ ( Cougar ) เดิมเสื อคูการ์มีการกระจายพันธุท์ วทวี


ั ปอเมริ กา ชื อสามัญทีใช้เรี ยกจึง
เรี ยกแตกต่างกันไปตามพืนที เช่น เสื อคูการ์ ( cougar ) เสื อพูมา ( puma ) เสื อแพนเทอร์ (
131

panther ) สิ งโตภูเขา ( Mountain Lion ) และ catamount ชือทีกล่าวมาทังหมด คือ เสื อ


ขนาดใหญ่ทีมีสีขนสี เหลืองนําตาล ในช่วงหลายร้อยปี ทีผ่านมาเสื อชนิ ดนี ถูกล่าอย่างหนัก ทําให้
เหลือการกระจายพันธุ์เฉพาะในพืนทีด้านตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสหรัฐอเมริ กา โดย
ลักษณะพืนทีทีเสื อชนิ ดนี เลือกอยูจ่ ะเป็ นทังพืนราบและป่ า เสื อคูการ์เพศผูม้ ีนาหนั
ํ กประมาณ 100
กิโลกรัมส่ วนเพศเมียมีขนาดเล็กกว่า
เป็ นสัตว์ทีใช้ชีวิตตัวเดียวตามลําพัง ออกหากินในเวลากลางคืน การเดินผ่านพืนป่ าทําได้
อย่างเงียบเชียบถึงแม้ว่าจะมีอุง้ เท้าขนาดใหญ่ โดยมีผใู้ ห้ขอ้ สังเกตว่าจะมีการเดินในลักษณะทีจะ
วางเท้าหลังบนรอยเท้าหน้า การล่าเหยือเสื อคูการ์จะกระโดดกัดทีคอเหยือซึ งจะค้างอยู่ในท่านัน
จนกว่าเหยือจะขาดอากาศหายใจจนตาย เหยือทีเสื อคูการ์เลือกล่าส่ วนใหญ่จะเป็ นสัตว์เท้ากีบขนาด
ใหญ่ เช่น กวาง กวางเอลค์ แกะบิกฮอร์น แต่ถา้ หาเหยือไม่ได้และหิ วจัดสัตว์ขนาดเล็กก็ล่า เช่น
เม่น ในแต่ละวันจะมีระยะทางในการล่าเหยือประมาณวันละ 32 - 40 กิโลเมตรต่อวัน
ลูกของเสื อคูการ์จะเริ มออกล่ากับแม่เมืออายุได้ 2 เดือน เมืออายุได้ 2 ปี ลูกเสื อจะแยก
ออกจากแม่และออกจากอาณาเขตของแม่เพือหาพืนทีหากินของตัวเอง

ภาพที 5.10 เสือคูการ์ เหมือนกับเสือชนิดอืนทีมีการมองเห็นทีดีโดยในทีทีมีแสงน้ อย สามารถ


มองเห็นได้ ดีกว่ามนุษย์ 6 เท่า และสามารถกระโดดได้ ไกล 7 เมตร ภาพที 5.11 การร้ องของ
เสือคูการ์ จะมีตงแต่
ั ครางเบาๆ จนกระทังถึงคํารามเป็ นเสียงดัง
เหมือนกับเสือและแมวชนิ ดอืน ในการวิ งจะวางนําหนักไปที นิ วเท้า ซึงจะมีข้อดี
ในการทรงตัวและสามารถหมุนตัวกลับได้โดยสะดวก
132

ยกธงขาวส่งสัญญาณ

ภาพที 5.12 กวางหางขาวมีขาทียาวเรี ยว


แข็งแรง ทําให้ วงได้ ิ เร็วช่วยในการหนีจาก
สัตว์ผ้ ลู า่ ได้ อย่างรวดเร็ ว ยังช่วยในการ
กระทืบงูซงมี ึ ผลให้ งูตายได้

ถ้ากวางหางขาวได้ยินเสียงทีรู้สึกว่าผิ ดปกติ ในขณะก้มหัวกิ นหญ้า กวางหางขาวจะยก


หัวขึนมองพร้อมกับกระดกหูตงชั ั นขึน ถ้าเสียงนันยังดังต่อเนื องมันจะส่งเสียงร้องเตือน
สันๆ ไปยังกวางตัวอืนๆ และวิ งหนี ไป เมือมองตามจะเห็นด้านหลังของหางที เป็ นสี
ขาวคล้ายกับธงสีขาวที ตังอยู่ ซึงจะเป็ นการส่งสัญญาณให้กบั กวางตัวอืนได้เห็นใน
ระยะไกลหางสีขาวของแม่กวางจะช่วยให้ลูกกวางสามารถหาแม่กวางได้ในเวลา
กลางคืนหรือในพืนที ที มีแสงน้ อย

กวางหางขาว ( White – tail Deer ) เดิมเป็ นกวางทีมีการกระจายพันธุ์ทวไปในทวี


ั ปอเมริ กา เป็ น
สัตว์ทีสามารถปรับตัวให้อยู่อาศัยในพืนทีหลายแบบเช่น ทะเลทราย ป่ าโปร่ งแบบป่ าเต็งรัง กวาง
หางขาวเป็ นกวางทีมีการแบ่งเป็ นชนิดย่อยอีกหลายชนิ ด ความแตกต่างกันของชนิ ดย่อยจะเป็ นเรื อง
ของขนาด เช่น กวางทีมีการกระจายพันธุ์ในพืนทีทางเหนื อของทวีปอเมริ กาเหนือ ซึ งเป็ นพืนทีทีมี
อากาศหนาวเย็นกว่าจะมีขนาดใหญ่โดยมีนาหนั ํ ก 90 – 135 กิโลกรัม และกวางหางขาวทีมีมีการ
กระจายพันธุ์ในรัฐฟลอลิดา้ จะมีนาหนั
ํ กเพียง 23 กิโลกรัม
อาณาเขตของถินทีอยูข่ องกวางหางขาวจะผันแปรโดยเพศเมียจะอยู่ในช่วง 150 – 325 ไร่
ต่อตัว ส่ วนในเพศผูอ้ ยู่ในช่วง 600 – 2200 ไร่ ต่อตัว ในแต่ละวันกวางหางขาวจะเคลือนทีเพือหา
อาหารประมาณ 1.6 – 3.2 กิโลเมตร อาหารทีกวางหางขาวกิน เช่น หญ้า ใบไม้ยอดอ่อน เห็ด
ผลไม้และไลเคนส์ มักจะพบกวางหางขาวอยูร่ วมกับสัตว์เช่น วัวป่ าไบซัน
ต่ อมกลิน ( Scent gland ) ซึงจะมีทีระหว่างกีบเท้า ( hooves ) หน้าแข้ง ( ankle ) สะโพก
( haunches ) ต่อมกลินจะเป็ นอวัยวะของร่ างกายกวางหางขาวทีช่วยในการสื อสารระหว่างตัว เมือ
กวางมีการเคลือนที นังกับพืนกลินจากต่อมกลินจะติดทีพืนดินทีกวางตัวอืนสามารถรู ้ได้ การ
ปล่อยกลินในปริ มาณมากโดยจะมาจาก musky scent ทีอยู่ระหว่างกีบเท้า ที จะเกิดขึนในกรณีทีมี
133

อันตรายเกิดขึนหรื อกรณี กวางเพศผูท้ ีอยู่ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ กวางหางขาวเพศผูท้ ราบได้วา่ ตัวเมีย


ตัวใดพร้อมในการผสมพันธุ์โดยการดมกลินจากปัสสาวะหรื อได้กลินจากพืนดินทีตัวเมียไปนัง

วงรอบการเจริญเติบโตของเขาแบบแอนเลอร์ ( Antler and the Time of Year )


เขาแบบแอนเลอร์ของกวางเพศผูจ้ ะเป็ นอวัยวะทีทําหน้าทีเป็ นทังอาวุธ และเครื องหมาย
บอกสถานะในฝูง เขาของกวางแต่ละตัวจะมีความแตกต่างกันไม่มีตวั ใดเหมือนกัน เขาจะเริ มงอก
ในวงรอบใหม่ในช่วงเดือนฤดูใบไม้ผลิ โดยในกวางทีอยู่ในพืนทีเหนือเส้นศูนย์สูตรขึนไปและที มี
ช่วงเวลาของกลางวันและกลางคืนแตกต่างกันอย่างชัดเจน ช่วงเวลาของแสงแดดที เพิมขึนจะมีผล
ต่อการเจริ ญของเขา ในช่วงทีเขาอยูใ่ นช่วงการเจริ ญเติบโตพืนผิวของเขาจะมีลกั ษณะคล้ายกํามะหยี
ซึงพืนผิวกํามะหยีจะเป็ นประกอบขึนจากเส้นเลือดขนาดเล็กจํานวนมาก ทีจะเป็ นเส้นทางนํา
สารอาหารมาใช้ในการสร้างเขา
ในช่วงเดือนสิ งหาคมถึงกันยายนเขาแบบแอนเทอร์ของกวางจะอยูใ่ นช่วงทีเจริ ญเติบโต
เต็มที ร่ างกายของกวางมีการหลังฮอร์โมนเทสโตสเตอรอนสูงขึน และเป็ นช่วงเดียวกับกวางเข้าสู่
ฤดูผสมพันธุ์ หรื อบางตัวเขาเข้าสู่ระยะใกล้เจริ ญเติบโตเต็มที และกวางจะแสดงพฤติกรรมเอาเขา
กวางไถถูไปกับลําต้นหรื อพุ่มใบหนาเพือให้หนังทีหุ ม้ ผิวกํามะหยีหลุดออกจากเขา ให้เหลือเพียง
เขาทีโตเต็มทีที มีสภาพคล้ายท่อนกระดูกแข็งและมีความแหลมคมทีส่ วนปลาย

เปนทั้งอาวุธและเครื่องหมายบอกสถานะ

เขาเทียน ( velvet horn ) เขาที่มีการเจริญเต็มที่


134

ในช่วงฤดูผสมพันธุ์กวางเพศผูจ้ ะใช้เขาแบบแอนเลอร์ ต่อสู ้กนั ในการแย่งชิ งตัวเมีย ในกวาง


หลายๆชนิดการต่อสู ้กนั ไม่ได้ถึงขันเสี ยชีวิต เมือสิ นสุ ดฤดูผสมพันธุ์เขากวางก็จะหลุด ในส่ วนของ
กวางหนุ่มเขากวางจะยังไม่หลุด แต่จะยังคงอยูต่ ่อไปอีกช่วงหนึ งจนถึงช่วงปลายของฤดูหนาวหรื อ
ถึงช่วงต้นของฤดูใบไม้ผลิ กวางจะใช้เวลาหลายปี กว่าทีเขาจะเจริ ญเติบโตเต็มที ทําให้ช่วงปี ก่อนที
เขาจะโตเต็มทีเราสามารถประมาณอายุจากการสังเกตเขาได้ กวางกวางคาริ บูหรื อกวางเรนด์เดียรจะ
มีเขาทังเพศผูแ้ ละเพศเมีย
กวางเอลค์ ( Elk )
เมือเปรี ยบเทียบขนาดร่ างกายแล้วกวางเอลค์จะมีขนาดใหญ่รองจากกวางมูส ซึ งเป็ นกวาง
ทีมีนาหนั
ํ กมากทีสุ ดในโลกทีประมาณ 550 กิโลกรัม โดยกวางเอลค์เพศผูจ้ ะมีนาหนั ํ กประมาณ 450
กิโลกรัม ในอดีตทีผ่านมาถินทีอยูข่ องกวางเอลค์มีการกระจายพันธุ์ทวทวี ั ปอเมริ กาเหนือ แต่ดว้ ย
สาเหตุการล่าโดยมนุษย์และพืนทีป่ าถูกทําลายทําให้จาํ นวนกวางเอลค์ลดลงอย่างรวดเร็ ว ในปี พ.ศ.
2443 จํานวนของกวางเอลค์ลดลงเหลือประมาณ 40,000 ตัว ช่วงต่อมาการอนุรักษ์มีผลให้กวาง
เอลค์เพิมจํานวนขึนเป็ น 500,000 ตัว ในปัจจุบนั พืนทีทีมีกวางเอลค์อยู่อย่างหนาแน่นเช่น เทือก
เขาร๊ อคกี และในประเทศแคนาดา
กวางเอลค์เป็ นกวางชนิดทีสามารถปรับตัวกับสภาพพืนทีในลักษณะต่างๆ ได้ดี โดยให้
พืนทีนันมีพืชอาหารโดยกวางเอลค์จะกินใบไม้ กิงไม้จากไม้พุ่มและจากพืชชนิดอืนๆ ถึงแม้วา่ นํา
ทีกวางเอลค์ได้จากใบไม้ทีกินเข้าไป แต่อย่างไรก็ตามในช่วงฤดูใบไม้ผลิกวางเอลค์จะกินนําจาก
ทะเลสาบ และในช่วงฤดูหนาวจะได้นาจากการกิ ํ นหิ มะ
ในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ฝงู ของกวางเอลค์จะอยู่รวมกันตามเพศของตัวเอง ฤดูใบไม้ผลิและ
ฤดูร้อนฝูงของกวางเอลค์เพศผูจ้ ะมีจาํ นวนสมาชิ ก 5 – 6 ตัว ในช่วงฤดูหนาวจะมีการรวมสมาชิ กฝูง
อืนๆ เพือรวมตัวกันเป็ นขบวนเพืออพยพไปยังพืนทีทีมีการทับถมของหิ มะไม่สูงมากนัก
ภายหลังแม่กวางออกลูกแม่กวางและลูกจะแยกตัวออกจากฝูงเป็ นเวลานานหลายสัปดาห์
นําหนักแรกเกิดของลูกกวางเอลค์ประมาณ 14 - 18 กิโลกรัม ลูกกวางสามารถเดินตามแม่เมืออายุ
ได้ประมาณ 3 วัน อายุ 1 เดือนลูกกวางเริ มกินหญ้าได้ แม่กวางจะดูแลลูกจนกระทังลูกอายุได้ 4
– 7 เดือน เมือลูกกวางแข็งแรงมากขึน แม่กวางและลูกหลายๆ คู่จะรวมตัวกันสร้างฝูงขึน โดยเมือ
ถึงฤดูร้อนฝูงจะมีขนาดใหญ่ขึนโดยอาจมีสมาชิกมากถึง 500 ตัว

ไล่ศัตรูไปไกล ๆ ( keeping Predator at a distance )


สกังค์และเม่นเป็ นสัตว์ทีพบในป่ าผลัดใบในเขตอบอุน่ ทีมีวิธีการป้ องกันตัวแบบพิเศษ ทีจะ
ยังผลให้สัตว์ผลู้ ่าตัดสิ นใจหยุดการล่าสัตว์ทงสองชนิ
ั ดเป็ นอาหาร โดยสกังค์มีกลินทีรุ นแรง แต่
ยกเว้นกรณี ทีสัตว์ผลู้ ่าตัวนันหิวโซอย่างหนัก ส่ วนเม่นซึ งจะถูกรุ กไล่จากสัตว์ผลู ้ ่าบ่อยครัง เมือ
135

สัตว์ผลู ้ ่าเข้ารุ กไล่ เม่นจะวิงหนีและเมือสัตว์เข้ามาในระยะประชิดเม่นจะหยุดทําให้ขนเม่นปั กติดที


หนังปลายจมูก
สกังค์ ( Skunk )
ในพืนทีของทวีปอเมริ กาเหนือและกลางมีการกระจายพันธุ์ของสกังค์ 2 ชนิดคือ สกังค์แถบ
( Striped skunk ) และสกังค์จุด ( spotted skunk ) สกังค์ทงั 2 ชนิดอยู่ในวงศ์วีเซล ( weasel
family ) ทีสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพพืนทีได้หลายรู ปแบบรวมทังอยู่ในเขตเมืองใหญ่ มีส
กังค์บางตัวทีออกหาอาหารกินจากถังขยะในเวลากลางคืน ลักษณะของเล็บทีขาหน้าทีมีลกั ษณะยาว
โค้งจะช่วยในการขุดและจับหนู ตักแตน
สกังค์ทีดํารงชีวิตในพืนทีค่อนไปทางเหนื อทีตัวเลขของเส้นละติจูดเพิมขึน ซึ งระดับความ
หนาวเย็นและจํานวนวันของฤดูหนาวจะเพิมมากขึน จะใช้เวลาในการนอนมากขึนในฤดูหนาว แต่
อัตราการเผาผลาญอาหารไม่ได้ลดตําลงจนถึงระดับทีจัดว่าเป็ นการจําศีล โพรงดินทีสกังค์เลือก
อาศัยจะเป็ นโพรงดินทีสัตว์ชนิ ดอืนขุดไว้และย้ายออกไปแล้ว หรื อใช้โพรงของต้นไม้ใหญ่ทีล้ม
โค่นลงทีพืนป่ า
ถ้าสกังค์เริ มรู ้สึกว่าตนถูกคุกคามจากสัตว์ชนิ ดอืนๆ จะทําท่าหลังโก่งหลังและกัดฟันให้เกิด
เสี ยง ถ้าศัตรู ยงั แสดงอาการคุกคามและเคลือนตัวเข้ามาใกล้มากขึน สกังค์จดั ตําแหน่งส่ วนท้ายของ
ลําตัวไปที เหยือโดยการมองหันหลังกลับผ่านช่วงไหล่ ยกหางและทําท่าโก่งหลัง ซึ งสกังค์สามารถ
เล็งเป้ าหมายในการพ่นสารกลินได้อย่างแม่นยํา และพ่นสารกลินจากต่อมใกล้กน้ ได้ไกล 3 -5
เมตร สกังค์จุดจะมีปฏิกริ ยาในการพ่นสารกลินและความก้าวร้าวกับศัตรู มากกว่าสกังค์แถบ ท่าที
สกังค์จุดใช้พ่นสารกลินจะทําในท่ายกขาหน้าและยืนด้วยเท้าคู่หลัง

เมือสกังค์ อายุได้ 2 สัปดาห์ ลูกสกังค์ เริมมีความสามารถทีจะพ่ นสารกลินได้


แล้ ว
สกังค์กาํ ลังทําท่าพองขนเพือให้ศตั รู เห็นแถบขาวบนสี ตวั สี ดาํ ขยายใหญ่ขึนซึ งเป็ นเครื องหมาย
เตือน ให้อยูห่ ่างจากตัวสกังค์ไว้เนื องจากเป็ นการแสดงว่าสกังค์พร้อมทีจะปล่อยสารกลินแล้ว ใน
พืนทีอเมริ กาเหนือสกังค์จะเป็ นสัตว์พาหะหลักในนําโรคพิษสุ นขั บ้า ( rabies )

เม่ น ( Porcupine )
เม่นเป็ นสัตว์ในอันดับเดียวกับหนูคืออันดับโรดอนเทีย ( order rodentia ) โดยมีขนาดร่ างกาย
ใหญ่เป็ นอันดับสองรองจากบีเวอร์ ( beaver ) ถินทีอยูข่ องเม่นอเมริ กนั ( American Porcupine )
เป็ นป่ าสนเขาและป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่น การกระจายพันธุ์ของเม่นพบตังแต่ทวีปอเมริ กาเหนือ
และต่อเนื องลงไปทางใต้จนถึงภาคเหนื อของประเทศเม็กซิโก
136

ขาทีมีลกั ษณะอวบสัน และสายตาทีเห็นได้ชดั เจนเพียงระยะใกล้ๆ มีนาหนั ํ กประมาณ 7


กิโลกรัม เม่นหนึ งตัวจะมีขนประมาณ 30,000 เส้น ความยาวขนเฉลียประมาณ 8 เซนติเมตร
โดยขนจะปกคลุมเกือบทุกส่ วนของร่ างกาย เว้นในส่ วนของจมูกและท้อง
เม่นเป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตแบบอยูต่ วั เดียว เคลือนทีช้าและเป็ นสัตว์ทีนิสัยไม่กา้ วร้าว ถ้าเม่น
ถูกรุ กไล่จนมุม เม่นจะเอาหัวซุ กทีมุมและหันส่ วนท้ายลําตัวออกมาหาสัตว์ทีรุ กไล่ กางขนออกและ
เกร็ งกล้ามเนื อไว้เพือให้ขนยังตังชันอยู่ต่อไป เม่นไม่สามารถสลัดขนได้แต่จะหลุดออกจากลําตัว
อย่างง่ายดายเมือขนไปปั กติดบนร่ างกายสัตว์ตวั อืน และพบว่าขนเม่นสามารถปั กเข้าไปใน
กล้ามเนื อของสัตว์อืนได้ลึก
ในฤดูหนาวเม่นจะมีกิจกรรมต่างๆ ลดลง อาหารที เม่นกินเข้าไปเพือประทังชี วิตให้อยู่รอด
ได้คือการกินเปลือกไม้ ลูกสน ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเม่นจะกินลูกนก ใบไม้ ดอกไม้และพืชชนิด
อืนๆ เม่นได้รับแคลเซียมจากกระดูกสัตว์ทีเหลือจากการกินของสัตว์ผลู ้ ่าและเขากวางทีร่ วงหลุดไป
ตามวงรอบปี
เนื องจากขนเม่นเป็ นโพรงอยู่ภายใน ทําให้ขนเม่นตลอดทังตัวเม่นเป็ นอวัยวะที ช่วยใน
การลอยตัวในนํา ส่งผลให้เม่นเป็ นสัตว์ทีว่ายนําได้

ภาพที 5.13 ขนเม่นเป็ นขนทีมีความแหลมคม


พอทีจะแทงผ่านผิวหนังและกล้ ามเนือของสัตว์ผ้ ลู ่า
ได้ เกือบทุกชนิด ยกเว้ นเสือคูก้า วูฟเวอร์ รีนและฟี ช
เชอร์ ซงเป็
ึ นสัตว์ทีอยู่ในวงศ์วีเซล( weasel family )
ทีมีความสามารถในการพลิกตัวของเม่นและกัดทํา
ร้ ายทีส่วนท้ องซึงเป็ นพืนทีทีไม่มีขนแข็ง

เวลาให้ อาหารแก่สัตว์ ในสวนสัตว์ ( Feeding Time at the Zoo )


การจัดชนิ ดอาหารและปริ มาณให้ถกู ต้องกับความต้องการของสัตว์แต่ละชนิด เป็ นงานทีต้อง
สร้างความสมดุลในเรื องหลายเรื องเช่น การจัดซื อ จัดหา งบประมาณ และชนิ ดใกล้เคียงกับ
อาหารตามธรรมชาติ รวมทังใช้การคํานวณสารอาหารเช่นโปรตีน เยือใย ไขมัน เข้ามาร่ วมด้วย
คลังอาหาร ( zoo commissary ) เป็ นสถานทีสําหรับเตรี ยมอาหาร เช่นหันผัก หันเนื อ หุ งหรื อต้ม
อาหาร ทีเก็บอาหารทังอาหารสดและอาหารแห้ง รับอาหารจากผูข้ าย แจกจ่ายอาหารไปตามส่ วน
แสดงสัตว์ โดยในช่วงเช้าเป็ นช่วงทีเจ้าหน้าของคลังอาหารมีภาระกิจทีจะต้องจัดการให้เสร็ จมาก
ทีสุ ด การให้อาหารมีแนวคิดที ต้องการทีจะให้สัตว์กินอาหารในพืนทีของตัวเองเพือให้ผเู ้ ลียง
137

สามารถตรวจสอบได้โดยชัดเจนว่าสัตว์กินอาหาร และกินในปริ มาณทีมากพอกับความต้องการ


ของสัตว์ชนิ ดนันในระดับปกติหรื อไม่
ชนิดอาหารทีนําให้สตั วกินจะเป็ นส่ วนประกอบหนึ งทีจะกระตุน้ ให้สัตว์แสดงพฤติกรรมตาม
ธรรมชาติ เช่น การให้เนื อท่อนขาขนาดใหญ่แก่เสื อโคร่ งและเสื อดาว การให้ไก่มีชีวิตทังตัวทีเสื อ
สามารถกัดดึงอาหารได้ในแบบเดียวกับทีทําในป่ าธรรมชาติ
ในลิงชิ มแพนซี และลิงชนิดอืนๆ ทีมีพฤติกรรมการอาหารตามพืนทีป่ า ผูเ้ ลียงสัตว์จะมีการ
ซ่อนอาหารเช่นลูกเกด เมล็ดทานตะวันตามพงหญ้า ช่องในต้นไม้ใหญ่ ทีส่ วนแสดงยีราฟการ
แขวนกิงไม้ทีมีใบไม้สดให้ยีราฟสามารถกินใบไม้ และเปลือกไม้ได้โดยสะดวกเหมือนพฤติกรรม
ในทุ่งหญ้าซาวันนาของแอฟริ กา ในกรณี ของลูกสัตว์เกิดใหม่ทีแม่ตายหรื อแม่ไม่ยอมเลียงลูก สัตว
แพทย์และเจ้าหน้าทีเลียงสัตว์ตอ้ งทําหน้าทีร่ วมกันในการอนุบาลเลียงดู โดยต้องคัดเลือกนมที
เหมาะสมมีองค์ประกอบของสารอาหารใกล้เคียงกับนมของแม่สตั ว์ชนิดนัน โดยเฉพาะไขมันและ
คาร์โบไฮเดรตทีต้องมีขอ้ มูลประกอบเพือช่วยในการตัดสิ นใจเลือกนมที จะนํามาเลียง นอกจากนัน
เรื องของจํานวนมือทีจะป้ อนนมและปริ มาณทีเหมาะสม รวมทังสิ งแวดล้อมทีลูกสัตว์อยู่ เช่น
อุณหภูมิ ความชื น
งบประมาณทีใช้จ่ายในเรื องของอาหารเป็ นตัวเลขทีมีมูลค่าสูง ทีสวนสัตว์แห่งชาติของ
ประเทศสหรัฐอเมริ กาที เมืองวอชิ งตัน ดีซี ใช้เงินไปปี ละประมาณ 5 แสนเหรี ยญต่อปี (
ประมาณ 15 ล้านบาท ) ในการจัดหาอาหารหลากหลายรายการเช่น จิงหรี ด 750,000 ตัว ปลา
150,000 ตัว หญ้าแห้ง 400 ตัน
ปริ มาณการกินอาหารของช้าง 1 เชือกในแต่ละวันประกอบด้วยหญ้าแห้ง 45 กิโลกรัม ผัก
และผลไม้หลายชนิ ดรวมกันอีก 14 กิโลกรัม งูหลามต้องกินอาหารทุก 3 สัปดาห์ซึงในการกินแต่
ละครังเป็ นหนูขาว 20 ตัว
การเก็บรักษาอาหารควรมีโรงเก็บอาหารแห้งเช่น อาหารเม็ดสําเร็ จรู ปเนื องจากเป็ นอาหารที
มีอายุการเก็บทีสามารถเก็บได้ช่วงหนึ ง แต่ตอ้ งมีการป้ องกันสัตว์ทีจะทําให้อาหารเสี ยหายและเป็ น
พาหะนําโรคเช่น หนู แมลงสาบ
การจัดหาหรื อเตรี ยมชนิ ดอาหารพิเศษ เช่นมีแหล่งปลูกต้นยูคาลิปตัสสําหรับการนําใบยูคา
ลิบตัสมาให้โคอาลากิน ใบอเคเซี ยสําหรับยีราฟ การทําบิสกิตทีมีเยือใยของใบไม้สูงสําหรับค่าง
การเลียงจิงหรี ด หนอนนกในสวนสัตว์เพือเป็ นแหล่งสํารองเนื องจากในบางช่วงเวลาไม่มีจาํ หน่าย
ในตลาด

ชนิดสั ตว์ทีมีต้นไม้เป็ นบ้ าน ( At home in the tree )


แรคคูน ( Racoon ) เป็ นสัตว์ทีอยูใ่ นอยูใ่ นตระกูลโพรไซออน ( Genus procyon ) ซึ งสมาชิ กจะมี
แรคคูนชนิดอืนๆ รวม 6 ชนิด ในทวีปอเมริ กาเหนื อมีแรคคูน 1 ชนิดคือ แรคคูนธรรมดา
138

( common raccoon ) แต่ในปั จจุบนั พบแรคคูนธรรมดาในยุโรปและเอเชียด้วย ซึ งคาดว่าเกิดจากมี


มนุษย์นาํ มา แรคคูนธรรมดาทีโตเต็มวัยจะมีนาหนั
ํ กระหว่าง 7 – 20 กิโลกรัม โดยแรคคูนทีมี
ขนาดใหญ่ทีสุดจะอยู่ในพืนทีค่อนไปทางเหนือของเส้นละติจูด

ภาพที 5.14 ก่อนถึงฤดูหนาวแรคคูนจะสะสมไขมันใต้ ผิวหนังเพือช่วยในการป้องกันความหนาว


เย็น ภาพที 5.15 แรคคูนชอบอยู่ในโพรงของต้นไม้

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- แรคคูนมีแถบสีดาํ รอบตา ทีบางครังเรียกว่าหน้ ากาก
- หางของแรคคูนจะมีความยาวประมาณ 15 เซนติ เมตร มีวงแถบและมีลกั ษณะเป็ นพู่
- กรงเล็บของแรคคูนทัง 5 เล็บจะมีลกั ษณะโค้ง ไม่สามารถเก็บกรงเล็บได้ในแบบทีสัตว์
กลุ่มแมวและเสือทําได้

ขนของแรคคูนเป็ นอวัยวะทีช่วยให้แรคคูนทนต่อสภาพอากาศทีมีฝนตกและหิ มะได้ โดยมี


ขนเส้นยาวทีปกคลุมร่ างกายและขนเล็กอ่อนนุ่มทีขึนอย่างหนาแน่ นชิ ดติดผิวหนัง ขนของแรคคูน
จะมีการร่ วงหลุดเพือเปลียนขนใหม่ในช่วงฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อน ในฤดูร้อนแรคคูนขนตามลําตัว
จะดูขาด ๆ แหว่ง ๆ ไม่สวยงาม ส่ วนในฤดูใบไม้ร่วงสี ขนจะเป็ นมันเงาและในฤดูหนาวสภาพขน
จะดูสวยงามมากทีสุ ด
ถินทีอยูข่ องแรคคูนจะอยูใ่ กล้ทะเลสาบและลําธาร เพือหาอาหารเช่น กุง้ กบ เต่านําและ
ปลาขนาดเล็ก เล็บของแรคคูนจะมีลกั ษณะสันโค้งทีเหมาะกับการขุดดินเพือหาไข่เต่า เปิ ดแงะหอย
สองฝา อาหารอืนๆ ทีแรคคูนกินเช่น หนู ไข่นก แมลง ผลไม้ผลเล็ก ( berries ) ผลไม้เปลือก
แข็ง ( nut ) โดยปกติแรคคูนจะออกหากินในเวลากลางคืน แต่พบว่าแรคคูนทีอาศัยอยูใ่ นเขตชาน
เมืองจะออกหากินในช่วงเวลากลางวัน แรคคูนชอบอยู่ในโพรงของต้นไม้โดยโพรงจะอยู่สูงจาก
พืน 3 เมตร
โอพัสซัม ( Opossums ) เนืองจากสัญชาตญาณในการเอาตัวรอดทีดีเยียมของโอพัสซัม ทําให้
สัตว์ชนิ ดนี สามารถปรับตัวให้เข้ากับพืนทีทีมีมนุษย์อาศัยอยูไ่ ด้เช่นเดียวกับแรคคูน มีผลให้โอพัส
139

ซัมเป็ นสัตว์ทีอยู่ในกลุ่มทีมีถุงหน้าท้องเพียงชนิดเดียวทีหลงเหลืออยู่ในทวีปอเมริ กาเหนือ โดยใน


พืนทีป่ าของทวีปอเมริ กาเหนื อจะพบโอพัสซัมเวอร์จิเนีย ( Virginia opossum ) มากทีสุ ด ในป่ าเขต
ร้อนของทวีปอเมริ กาใต้จะพบโอพัสซัมหนู ( mouse opossum ) มีโอพัสซัมทีหาอาหารในแหล่งนํา
เช่น แม่นาและทะเลสาบคื
ํ อ โอพัสซัมนํา ( Water opossum ) โดยพบการกระจายพันธุ์ตงแต่
ั ตอน
ใต้ของประเทศเม็กซิ โกถึงภาคเหนื อของประเทศอาร์เจนตินา ซึงเป็ นสัตว์มีถุงหน้าท้องเพียงชนิ ด
เดียวทีมีการดํารงชีวิตในแหล่งนํา และโอพัสซัมทีมีขนาดเล็กทีสุ ดคือโอพัสซัมหนูฟอร์ โมซา (
Formosan mouse opossum ) โดยมีความยาวของหัวรวมลําตัวน้อยกว่า 7 เซ็นติเมตร
วิธีการตอบสนองต่ออันตรายทีเกิดขึนของโอพัสซัมวิธีการหนึงคือการแกล้งทําเป็ นตาย ที
เรี ยกว่า “ playing possum ” โดยในช่วงเวลาดังกล่าวอัตราการเต้นของหัวใจจะลดลง ความลึก
ของการหายใจจะค่อยๆ ลดลง จนกระทังดูเหมือนว่าหยุดหายใจซึ งอาจจะต่อเนืองนานถึง 30
วินาที ถ้าสัตว์ผลู ้ ่ารู ้สึกว่าโอพัสซัมตายแล้ว สัตว์ผลู ้ า่ ก็จะเดินจากไป
โอพัสซัมมีหางทีมีคุณสมบัติในการเกาะเกียวช่วยในการทรงตัวในช่วงเวลากินอาหาร ใช้หาง
ในการขนหญ้าเพือใช้เป็ นวัสดุปูรองในรัง โอพัสซัมเมือถึงช่วงอายุสมบูรณ์พนั ธุ์จะมีการใช้หางเพือ
การเกาะเกียวโหนตัวเฉพาะในช่วงเวลาทีฉุกเฉิ นเท่านัน ส่ วนในโอพัสซัมทีมีอายุนอ้ ยจะมีหางที
แข็งแรงกว่าโอพัสซัมในช่วงอายุสมบูรณ์พนั ธ์ ทําให้โอพัสซัมทีมีอายุนอ้ ยใช้หางเป็ นอวัยวะในการ
ช่วยการทรงตัวได้เพือลดการตกจากทีสูง เนืองจากทักษะการปี นป่ ายยังไม่ชาํ นาญ นิ วเท้าทีอยูด่ า้ น
ในสุดของขาหลังจะมีคุณสมบัติทีเรี ยกว่า “ opposal thumb ” ซึ งจะมีส่วนสําคัญในการช่วยปี น
ป่ ายต้นไม้

ภาพที 5.16 ( ซ้ าย ) แสดงลายเส้ นลักษณะร่างกายของโอพัสซัมเวอร์ จิเนีย ภาพที 5.17 ( ขวา )


เวอร์ จิเนียโอพัสซัมเพศเมียซึงมีลกู อ่อนถึง 50 ตัวต่อครอกแต่เกือบทังหมดตายในช่วงการเคลือน
ตัวจากช่องคลอด ( birth canal ) มาทีถุงหน้ าท้ อง ( pouch )

อาหารทีโอพัสซัมกินเช่น หอยทาก หนอนหลากชนิด เมล็ดพืช ผลไม้และซากสัตว โอพัส


ซัมสามารถมองเห็นได้ดีในทีมืดเพือช่วยในการหาอาหารในเวลากลางคืน แต่ประสาทสัมผัสหลัก
140

จะใช้การได้ยินและการดมกลิน สัตว์ทีล่าโอโพสซัมเป็ นอาหารเช่น หมาป่ าโคเอตี หมาป่ าวูฟ นก


เค้าแมวแกรทฮอร์น ( great horn owl )

อาหารสํ าหรับนก ( Food for the Birds )


เนืองจากป่ าผลัดใบในเขตอบอุ่นอาหารของนก เช่น แมลง หนู ผลไม้เปลือกแข็ง เมล็ดพืช
และผลไม้อย่างอุดมสมบูรณ์ ทําให้นกหลากชนิ ดสามารถดํารงชีวิตอยูไ่ ด้ นกส่ วนใหญ่จะอาศัยอยู่
ในป่ าทีไม่มีการตัดทําลายไม้จากมนุษย์ ซึ งในพืนทีดังกล่าวจะมีไม้ทีทีอายุมาก โค่นล้มไปเองตาม
เวลาและเกิดการผุพงั ขึน ซึ งพบว่าประมาณหนึ งในสี ของจํานวนประชากรแมลงจะอาศัยอยู่ตามไม้
ทีมีการผุพงั นกหัวขวาน ( woodpecker ) จะหาหนอนแมลงทีอยูต่ ามเปลือกของต้นไม้ทียังมีชีวิต
ซึงจะเป็ นผลดีต่อต้นไม้ในการลดการกัดทําลายของตัวหนอนดังกล่าว นกเหยียวอเมริ กนั เคสเทลจะ
บินอยูโ่ ดยรอบชายป่ าเพือหาเหยือ
เหยียวนกกระจอก ( Sparrow hawk ) หรื อเหยียวอเมริ กนั คาสเทล ( American kestel ) เป็ นเหยียว
ทีมีความยาวระหว่างปลายปี กทัง 2 ข้างประมาณ 20 เซนติเมตร ทํารังทีชายขอบของพืนป่ า ล่า
เหยือทังในทุ่งหญ้าและพืนป่ า วิธีการล่าเหยือจะใช้วิธีการบินร่ อนโฉบ ( hover ) บินทิงดิง ( dive )
เพือจับเหยือทีซ่อนอยู่ใต้กิงไม้ เหยือทีจับกินเป็ นอาหารกลุ่มหลักเป็ นแมลงขนาดใหญ่ เช่น
ตักแตน เหยือชนิ ดอืน ๆ คือ งูขนาดเล็ก กิงก่า นกและหนู
การเกียวพาราสี ของคู่นกจะเกิดเมือนกเพศผูแ้ สดงการบินแบบทิ งดิงและโฉบเหยือมาให้นก
เพศเมีย ภายหลังการผสมพันธุ์ เหยียวนกกระจอกจะทํารังในโพรงของต้นไม้หรื อโพรงทีนก
หัวขวานเจาะทํารังไว้

ภาพที 5.18 นกเหยียวอเมริ กนั เคสเทล ทีมีขนที


บริ เวณหลังและหางเป็ นสี นาตาลแดง
ํ ขนาดร่ างกาย
ของเพศเมียใหญ่กว่าเพศผู ้

นกหัวขวาน ( Woodpecker ) นกหัวขวานส่ วนใหญ่ราว 290 ชนิดทํารังและดํารงชีวิตในป่ า


เป็ นนกทีมีการปรับตัวเพือการดํารงชีวิตทีพึงพาต้นไม้ แต่อย่างไรก็ตามมีนกหัวขวานอีกหลายชนิด
ทีมีการปรับตัวสามารถดํารงชีวิตในถินทีอยูแ่ บบอืนๆ เช่น ทะเลทรายหรื อเขตอากาศหนาวแบบ
141

ทุนดรา การเกาะกับลําต้นของต้นไม้จะเกาะตัวในแนวดิง ลําตัวขนานกับลําต้นของต้นไม้โดยใช้


กรงเล็บและหางทียาวแข็งช่วยในการเกาะ ใช้การฟังและใช้จะงอยปากเจาะเปลือกไม้ไปยังโพรงที
หนอนอยู่ ในช่วงการจับตัวหนอนจะใช้ลินทียาวและเคลือบด้วยนําลายทีเป็ นยางเหนียว ( barbed
tougue )
นกหัวขวานบางชนิ ดจะมีลินที ยาวถึง 10 เซนติ เมตร เมือหดกลับจะถูกไปเก็บไว้ทีส่วน
โค้งด้านหลังของกระโหลก

นกหัวขวานทังเพศเมียและเพศผูจ้ ะใช้จงอยปากเคาะทีต้นไม้เพือประกาศอาณาเขตและดึงดูด
คู่ผสมพันธุ์ ซึ งเสี ยงการเคาะต้นไม้จะมีความแตกต่างกันไปตามชนิดของนกหัวขวาน นกหัวขวาน
จะเคาะทีลําต้นและกิงของต้นไม้แห้งตายมากกว่าจะเคาะทีต้นไม้ทียังมีชีวิต เนืองจากเสี ยงทีเกิดขึน
จะแหลมและดังกังวานมากกว่า ตัวอย่างลักษณะเสี ยงการเคาะเช่น ในนกหัวขวานสี ดาํ ( Black
woodpecker ) ในช่วงฤดูผสมพันธุ์มีจาํ นวนการเคาะ 500 – 600 ครังต่อวัน ( times a day ) เคาะใน
ความถี 6 -10 ครังต่อนาที ( strokes a second ) และจะกลับมาเคาะอีกใน 10 นาทีต่อมา ในนก
หัวขวานไพด์ ( Pied woodpecker ) ทีมีขนาดเล็กกว่านกหัวขวานสี ดาํ จะมีเคาะในความถีทีมากกว่า
ที 12 -14 ครังในช่วงเวลาไม่ถึง 1 นาที

ภาพที 5.19 นกหัวขวานพิเลียเตท ( pileated


woodpecker ) เป็ นนกหัวขวานทีมีขนาดใหญ่ทีสุดในทวีป
อเมริ กาเหนือ ความยาวของร่างกายจากจะงอยปากจรด
ปลายหางยาว 17 นิว ลักษณะเด่นของนกชนิดนีคือขนที
หัวจะสามารถบังคับให้ ยกขึนได้

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
นกหัวขวานเป็ นนกที มีลกั ษณะนิ วเท้าที มีสองนิ วยืนมาทางด้านหน้ าและสองนิ วยืนไป
ทางด้านหลังเพือประโยชน์ในการเกาะกับลําต้นของต้นไม้
พบว่านกหัวขวานส่วนใหญ่ในเพศผู้จะมีพืนที ขนสีแดงมากกว่าเพศเมีย
142

สัตว์เลียงลูกด้ วยนํานมทีมีถุงหน้ าท้ อง ( Marsupials )

วอมแบท จิงโจ้แดง

Marsupial หมายถึง กลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีเพศเมียมีถุงหน้าท้องสําหรับช่วยในการ


เลียงลูกอ่อน ลูกทีเกิดใหม่จะคลานมาทีถุงหน้าท้อง และอยู่ภายในถุงจนกระทังร่ างกาย
เจริ ญเติบโตสมบูรณ์ในช่วงแรก โดยภายในถุงหน้าท้องจะมีหวั นมทีลูกอ่อนใช้ดูดกินนํานมจากแม่
สัตว์ในกลุ่มนี มีประมาณ 250 ชนิด มีการกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริ กาเหนืออยู่ 1 ชนิดคือ
เวอร์จิเนียโอพัสซัม ( Verginia opossum ) ในทวีปออสเตรเลียสัตว์กลุ่มนีเป็ นสัตว์เลียงลูกด้วย
นํานมทีมีจาํ นวนมากทีสุ ด ส่ วนใหญ่ของสัตว์กลุม่ ที มีถุงหน้าท้องเป็ นสัตว์กินพืชเป็ นอาหารมีเพียง
ชนิดเดียวทีเป็ นสัตว์กินเนื อคือ ทาสมาเนียลเดวิล ( Tassamanial devil )

ทาสมาเนียล เดวิล Spotted tiger quoll

มาร์ ซูเปี ยลได้แสดงถึงความหลากหลายในการปรับตัว เช่นวอมแบท ( wombat ) ไม่มีต่อม


เหงือ ไม่มีการดืมนํา ใช้การขุดโพรงดินอยู่เพือการดํารงชีวิตให้อยูร่ อดในทะเลทรายของทวีป
ออสเตรเลีย เฟทเทอร์ เทลไกล์เดอร์ ( feathertail glider ) เป็ นสัตว์ขนาดเล็กทีอยู่ในวงศ์เดียวกับพอส
ซัม ( opossum family ) ซึ งมีแผ่นหนังด้านข้างลําตัวระหว่างเหนื อข้อเท้ากับข้อมือจะช่วยให้สัตว์
บินเคลือนทีระหว่างต้นไม้เมือมีลมพัดมาโดยช่วยให้การบินร่ อนไต่ระดับได้สูงขึนในแต่ละครัง
ประมาณ 20 เมตร
143

Tree kangaroo Koal


a

จิงโจ้อาจเป็ นกลุ่มสัตว์ทีคนทัวไปรู ้จกั มากทีสุ ดในบรรดาสัตว์ทีมีถุงหน้าท้องในออสเตรเลีย


อาหารหลักของจิงโจ้แดงคือหญ้าชนิ ดต่างๆ ที มีในพืนทีของตนเอง จิงโจ้เทากินพืชหลากหลาย
ชนิด
โคอาลาก็เป็ นสัตว์ทีมีถุงหน้าท้องเช่นเดียวกัน มีหางทีสันและมีเล็บทีคมแข็งแรงเพือช่วยใน
การจับเกาะกับกิงของต้นยูคาลิปตัส โคอาลาเพศผูม้ ีนาหนั ํ กประมาณ 10.5 กิโลกรัม ซึ งหนักกว่า
เพศเมียเกือบ 2 เท่า โคอาลาเป็ นสัตว์ทีมีกิจกรรมส่ วนใหญ่ในเวลากลางคืน อาหารหลักเป็ นใบยูคา
ลิปตัส ออกลูกครังละ 1 ตัวในแต่ละปี
ในช่วงแรกทีชาวยุโรปเข้าไปตังถินฐานในทวีปออสเตรเลียได้ฆ่าโคอาลาเพือนําหนังไปขาย
ในจํานวนหลายล้านตัว รวมทังการตัดต้นไม้เพือนําพืนทีมาทําประโยชน์ รวมทังไฟป่ าทําให้ถินที
อยูข่ องโคอาลาลดลง ในปัจจุบนั โคอาลาเป็ นสัตว์คุม้ ครองตามกฎหมายของประเทศออสเตรเลีย
144

บทที 6 สัตว์ในป่ าสนเขา ( Animals of the Coniferous Forest )


ฤดูหนาวในป่ าสนเขายาวนานถึง 8 เดือน ความหนาวเย็น
เป็ นตัวช่วยลดการรบกวนและการทําลายจากมนุษย์ สัตว์ป่าทีถูกล่า
จนเกือบใกล้สญ ู พันธุใ์ นพืนทีทางตอนใต้เช่น หมาป่ าวูฟ ลิ งซ์และหมี
สีนําตาล ได้มีทีอาศัยและเพิ มจํานวนในพืนป่ าของต้นสนทีมีหิมะปก
คลุมหนา ทีเงียบสงบของพืนทีป่ าทางตอนเหนื อ

กวางคาร์ลิบกู าํ ลังกิ นหญ้าในพืนที ทุ่งหญ้าหรือป่ าโปร่ง การกระจายพันธุ์ของกวางชนิ ด


นี พบตังแต่พืนที ตะวันตกของรัฐอลาสก้า หนึ งในรัฐของประเทศสหรัฐอเมริ กาถึงพืนที
ด้านตะวันตกของประเทศกรีนแลนด์
145

ป่ าพืนใหญ่ของพืนทีทางตอนเหนือ ( The Vast Northern Forest )

ภาพที 6.1 แสดงพืนทีของป่ าสนเขาทีครอบคลุมพืนทีในทวีปอเมริ กาเหนือ รวมทังยุโรปและ


เอเชีย
ป่ าสนเขาในพืนทีเขตอบอุ่นตอนเหนื อ ทีมีชือเรี ยกว่า ป่ าโบเรี ยล ( boreal forest ) หรื อ ไท
กา ( taiga ) เป็ นป่ าทีมีพืนที มากทีสุ ดในเขตอบอุ่นตอนเหนือ ( the northern temperate zone คําว่า
temperate zone หมายถึง พืนทีระหว่างขัวโลกกับพืนทีเขตร้อนทีอยูใ่ กล้เส้นศูนย์สูตร ( between
the tropics and the polar circles ) โดยอาณาเขตจะเริ มตังแต่เส้นละติจูดที 55 องศาเหนือต่อเนือง
จนถึงชายขอบของขัวโลกเหนือ และถ้าลากเส้นต่อกันในแนวตะวันตกและตะวันออก พืนป่ าสน
เขานี จะมีความยาวประมาณ 10,000 กิโลเมตร โดยครอบคลุมในทวีปอเมริ กาเหนือ ยุโรปและ
เอเชีย ในทวีปอเมริ กาเหนือเริ มจากรัฐอลาสก้าของประเทศสหรัฐอเมริ กาผ่านประเทศแคนาดา
จนถึงชายฝังมหาสมุทรแอตแลนติค ในทวีปยุโรปทีต่อเนื องกับทวีปเอเชียเริ มจากพืนทีของกลุ่ม
ประเทศสแกนดิเนเวียผ่านมาทีราบไซบีเรี ย ไปจนถึงมณฑลปักกิงของประเทศจีน

ต้นสนทีอยู่ในป่ าสนเขานีเป็ น
ต้นไม้ทีมีลกั ษณะของใบเขียวสดตลอด
ทังปี เมล็ดทีประกอบกันเป็ นรู ปทรง
กรวย ส่ วนในพืนทีเขตอบอุ่นทางตอน
ใต้ก็มีป่าสนเขาในพืนที โดยส่ วนใหญ่
จะเจริ ญในพืนทีทีมีความสูง กลุ่มของ
เมล็ดของต้นสนแต่ละโคน ( cone ) จะ
มีเพศของตัวเอง โดยในโคนของเพศ
เมียจะเป็ นส่ วนทีผลิตเมล็ด
146

ชนิ ดของต้นไม้ทีอยูใ่ นป่ าผลัดใบเช่น เมเปิ ล เบิร์ช จะมีการออกดอกและผลทีมีลกั ษณะ


เปลือกแข็ง ( nut ) และเมล็ดทุกปี แต่ตน้ สนจะผลิดโคนทุก ๆ 2 - 3 ปี นอกจากนันใบของต้นสน
หลายชนิดจะมีลกั ษณะคล้ายเข็มเย็บผ้าและมีสารคล้ายขีผึงเคลือบอยู่ ช่วยให้การเก็บรักษานําได้
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าพืชใบกว้าง ต้นสนสามารถรักษาสภาพใบได้ตลอดช่วงฤดูหนาว และ
จะเริ มทําการสังเคราะห์แสงเมือสภาพอากาศมีอุณหภูมิที 11 องศาเซลเซียส ซึ งเป็ นช่วงเวลาของฤดู
ร้อนทีเป็ นช่วงเวลาสัน ๆ และเป็ นช่วงเวลาของการเจริ ญเติบโตของต้นสน พืชสามารถสังเคราะห์
อาหารได้อย่างเต็มที
ใบของต้นสนซึงจะสดตลอดทังปี และมีสารคล้ายขีผึงเคลือบอยู่ซึงมีสตั ว์เพียงไม่กีชนิ ด
เท่านันทีมากัดกิ นเนื องจากมีรสขม

ภาพที 6.2 เนืองจากสภาพอากาศหนาวเย็นยาวนานมีช่วงฤดูร้อนเพียงระยะเวลาสันๆ ทําให้


ช่วงเวลาของการเจริ ญเติบโตของพืชน้ อยตามไปด้ วย มีผลให้ สนเป็ นต้ นไม้ ทีครอบครองพืนทีป่ า
เกือบทังหมด ความหลากหลายของต้ นไม้ จึงน้ อยกว่าในป่ าเต็งรัง

โคนของต้นสน ( pine cone ) ทีตกลงบนผืนป่ าจะเป็ นปัจจัยสําคัญของห่ วงโซ่อาหาร


ตัวอย่างของชนิ ดสัตว์ทีจะกินเมล็ดโคนของต้นสนเป็ นอาหาร เช่น กระรอกสี แดง ( red squirrel )
นกบางชนิ ดเช่น นกคลอสบิ ล ( crossbill ) นกกรอสบีค ( grosbeaks ) และเมล็ดของโคนสดทีร่ วง
หล่นกระจัดกระจายจากการกินของนกและกระรอกจะเป็ นอาหารของหนูเช่น หนูไมค์ ( mice )
หนูเรมมิงน์ ( lemming ) โดยเฉพาะหนูเรมมิงน์เป็ นสัตว์ชนิดทีเป็ นตัวอย่างทีชัดเจนของห่วงโช่
อาหารในป่ าสนเขา โดยเป็ นหนูทีมีอตั ราการเจริ ญพันธุ์สูงสามารถผสมพันธุ์ได้เมืออายุ 19 วัน มี
ลูกครอกละ 12 ตัว ใน 1 ฤดูกาลผสมพันธุ์จะให้ลูก 3 ครอก ซึ งการทีหนูเหล่านี มีลูกมากก็จะ
147

เป็ นแหล่งอาหารสําหรับนกเค้าแมว เหยียว แม้แต่สัตว์กินเนือขนาดใหญ่ เช่นหมาป่ าวูลฟ์ หรื อ


แม้แต่หมีกริ สลีทีล่าหนูในยามทีหาอาหารอืนๆ ไม่ได้

ภาพที 6.3 ในช่วงฤดูหนาวกวางมูสเพศเมียกําลังใช้ ปลายจมูกดุนหิมะเพือหาหญ้ ากิน

ใบหน้ าคล้ ายกันแต่ จะอยู่ในพืนทีทีห่ างไกลกัน ( Familiar Face in Remote Region )


พบว่าสัตว์ทีมีถินทีอยู่ในป่ าสนเขาจะมีการกระจายพันธุ์ทีกว้างมาก ตัวอย่างเช่น หมีสีนาตาล ํ
( brown bear ) หมาป่ าสี เทา ( grey wolf ) ลิงค์ ( lynx ) กวางคาริ บู ( caribou ) กวางมูส
( moose ) จะมีการกระจายตัวตังแต่อเมริ กาเหนือ พืนที ต่อเนืองยุโรปและเอเชีย ( Eurasia ) ในสัตว์
ชนิดเดียวกันแต่อยูต่ ่างพืนทีกันจะมีความแตกต่างของขนาดร่ างกาย เช่น กวางมูส ( moose ) ในรัฐ
เมนของประเทศสหรัฐอเมริ กากับกวางวัลเลย์มสู ( valley moose ) ทางตอนเหนือของประเทศจีน
วูฟเวอร์ลีน ( wolverine ) ทีมีพฤติกรรมการขุดโพรงในพืนทีประเทศฟิ นแลนด์กบั วูฟเวอร์ลีนในรัฐ
มอนทานาของประเทศสหรัฐอเมริ กาทีหากินตามพืนดินในถินทีอยูแ่ บบภูเขา กวางเรนเดียร์ ( rein
deer ) ทีมนุษย์นาํ มาเลียงเป็ นสัตว์ปศุสัตว์ในทวีปยุโรปเป็ นระยะเวลาเกือบ 3 พันปี ซึ งเป็ นสัตว์ชนิ ด
เดียวกันกับกวางคาริ บู ( caribou ) ทีมีถินทีอยู่ในทวีปอเมริ กาเหนือ

หมาป่ าสี เทา ( Gray Wolf ) ในช่วงหลายศตวรรษทีผ่านมาหมาป่ าสี เทาเป็ นสัตว์เลียงลูกด้วย


นํานมทีอาศัยอยูบ่ นพืนดิน มีการแพร่ กระจายพันธุ์กว้างขวางรองลงจากมนุษย์ ในปัจจุบนั มีการ
กระจายพันธุ์ในป่ าสนเขาทางตอนเหนื อของประเทศสหภาพโซเวียตเดิม ประเทศแคนาดา ตอน
เหนือของประเทศสหรัฐอเมริ กา ส่ วนหมาป่ าสี แดง ( Red wolf ) มีการกระจายพันธุ์ในพืนที
ตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศสหรัฐอเมริ กา หมาป่ าสี เทายังมีขนาดที แตกต่างกันไปตามพืนที
โดยพบว่าในพืนทีทีอากาศอบอุน่ จะมีนาหนั
ํ กประมาณ 12 กิโลกรัม ความสูงช่วงไหล่ 60
เซนติเมตร ในพืนทีอากาศหนาวเช่นในทวีปอเมริ กาเหนื อมีนาหนัํ กประมาณ 55 กิโลกรัม ความ
สูงช่วงไหล่เกือบ 1 เมตร
148

สี ขนยังมีความแตกต่างกันตามพืนทีตังแต่สีขาวจนถึงสี ดาํ โดยสี ขนจะมีความสัมพันธ์กบั


สภาพภูมิอากาศ สภาพความหนาแน่นของขนจะผันแปรตามฤดูกาลโดยขนจะยาวและหนาในฤดู
หนาวและฤดูใบไม้ร่วง มีการร่ วงของขนในฤดูใบไม้ผลิ หมาป่ าโดยทัวไปจะมีเล็บเท้าทีไม่แหลม
คม หมาป่ าจะมีฟันเขียวทีแหลมคม กล้ามเนื อและกระดูกกรามทีประกอบกันแข็งแรงทําให้การตัด
เนือและทําให้กระดูกแตก หมาป่ าสี เทามีประสาทสัมผัสในการดมกลินโดยมีตวั อย่างที หมาป่ า
สามารถรับกลินของกวางคาริ บูทีอยู่ห่างไป 3 กิโลเมตรและยังสามารถตามกลินตามรอยเท้าทีทิง
รอยไว้ในหิ มะได้
สุนัขเลียงในบ้านสืบทอดบรรพบุรษุ จากหมาป่ าสีเทา และหมาป่ าเริ มมีความเชืองและ
กลายมาเป็ นสัตว์เลียงเมือ 13,000 ปี ในพืนที ทวีปเอเชียใต้

ภาพที 6.4 ก่อนทีหมาป่ าสีเทาจะนอนกับพืนหมาป่ าจะเดินวนเพือยําให้ ใบไม้ และหญ้ าแน่นแนบ


ไปกับกับพืน ซึงในสุนขั บ้ านทีสืบสายบรรพบุรุญจากหมาป่ าสีเทาก็ยงั แสดงพฤติกรรมในลักษณะ
ดังกล่าว

ลําดับชั้นในสังคมฝูงและพฤติกรรมของหมาปา ( Wolf Rank and Behavior )


สัตวหลายชนิดมีการสื่อสารโดยการใช
เสียงและการแสดงออกของรางกาย
ในสังคมฝูงของหมาปามีการแสดงออก
ของรางกายหลากหลายทาทางเพื่อ
แสดงสถานะของตน เชน
149

- การยอมรับ ( Bowing ) แสดงอาการยอมแพโดยการยอตัวต่ําลงและลูหางลงสอดเขาไป


ระหวางขาหลัง
- คําราม ( Growling ) แสดงทาขมเดนดวยการยกคออาปากขึน้ หอน
- หลังแข็ง (Staring ) แสดงทาหลังแข็งและหางตึงเหยียดออก ซึ่งเปนแสดงอาการขมตัว
อื่นๆ
- เลีย ( Licking ) ตัวที่ยอมแพตัวอื่นดวยการปลอยใหลิ้นออกมานอกปากและเลียตัวที่เดน
กวาที่ปาก
- ขึน้ ขี่ ( Mounting ) หมาปาตัวที่เหนือกวาจะทําทาใชขาหนาทั้งสองขางวางทีห่ ัวไหลของหมา
ปาตัวที่ยอมแพ รวมทัง้ แสดงการเหาขูห รือกัด

พบว่าหมาป่ าจะอยู่กนั เป็ นฝูงซึ งประกอบด้วยคู่เพศผูแ้ ละเพศเมียทีเป็ นจ่าฝูง ลูกๆ ของจ่าฝูง


และตัวเต็มวัยอีกหลายตัว โดยสมาชิกจะมักจะประกอบด้วยหมาป่ าช่วงอายุสมบูรณ์ประมาณ 8
ตัวหรื อน้อยกว่านัน การครองจ่าฝูงจะดําเนินไปช่วงเวลาหนึ งก็จะมีหมาป่ าเพศผูต้ วั อืนขึนมา
ควบคุมฝูงแทน พฤติกรรมทีแสดงออกจะเป็ นสิ งทีจ่าฝูงใช้ในการควบคุมฝูงเช่น จ่าฝูงจะเป็ นตัว
แรกทีกินอาหารทีล่าได้ก่อนทีตัวอืนๆ จะมีโอกาสเข้าไปกิน

ในช่วงฤดูร้อนหมาป่ าจะออกล่าเหยือในช่วงกลางคืน
แต่ในช่วงฤดูหนาวบางครังจะออกล่าเหยือในเวลากลางวัน
โดยเส้นทางทีหมาป่ าใช้เดินเช่น ถนน ทางเดินในป่ า ลําธาร
ทีนําแข็งตัวเป็ นนําแข็ง โดยบางวันอาจต้องเดินไกลถึง 200
กิโลเมตร หมาป่ าจะหอนเมือแยกตัวออกจากกลุ่มหรื อ
ต้องการประกาศอาณาเขตของฝูง ซึ งสามารถได้ยินไปไกล
ถึง 7 กิโลเมตร หมาป่ าจะรวมกันเป็ นฝูงเพือล่าสัตว์ขนาด
ใหญ่เช่น กวางมูส กวางคาริ บู บางครังก็ออกล่าเหยือเพียง
ลําพังแต่เลือกล่าในสัตว์ทีมีขนาดเล็กลง หมาป่ าสามารถกิน
อาหารได้มากถึงมือละ 9 กิโลกรัม
ภาพที 6.5 หมาป่ าแต่ละตัวจะมีระดับเสียงทีแตกต่างกัน หมาป่ าทิมเบอร์ ( Timber wolf ) เป็ น
ชือสามัญอีกชือหนึงทีใช้ เรี ยกหมาป่ าสีเทา

ลิงค์ ( Lynx ) เป็ นสมาชิกในวงศ์เสื อและแมว ( cat family ) ซึ งในปัจจุบนั ได้สูญพันธุ์ไปจาก


ประเทศสหรัฐอเมริ กา แต่ยงั คงการกระจายพันธุ์ในป่ าสนเขาของประเทศแคนาดา ทวีปเอเชียและ
150

ยุโรป เป็ นเสื อทีมีพฤติกรรมอยูต่ วั เดียวตามลําพัง ในป่ าทีมีตน้ ไม้ขึนอย่างหนาแน่น พบน้อยครังที


แมวชนิดนี จะอยู่ในพืนทีโล่งแจ้ง
ลิงค์ทีมีการกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริ กาเหนื อจะมีนาหนั
ํ กประมาณ 15 กิโลกรัม ซึ งก็ใหญ่
กว่าแมวบ้านเพศผู้ ( domestic tomcat ) 2 เท่า ส่ วนลิงค์ทีมีถินทีอยู่ในพืนทียุโรปและเอเชีย (
Eurasian ) จะมีขนาดใหญ่กว่าโดยมีนาหนั ํ ก 40 กิโลกรัม ลิงค์เป็ นสัตว์ทีมีสายตาและการได้ยินที
ดีมาก
ลิ งค์อยู่ในสภาวะทีเสียงต่อการสูญพันธุ์เนื องจากถูกล่าเพือเอาหนังที สวยงามและกรณี
ลิ งค์เข้าไปกิ นสัตว์เลียงของชาวบ้าน

มีปุยขนทีปลายหูทช่ี วยใน สีขนบนลําตัวสีนาตาลเทาที



การฟังเสียง ช่ วยในการพรางตัว

ขาทียาวเพือช่ วยในการ
เดินทางผ่ านหิมะทีหนา

อุ้งเท้าหุ้มด้ วยขนช่ วยในการเดินทางผ่ านหิมะ

ภาพที 6.6 ลิงค์ในพืนทีทวีปอเมริ กาเหนื อจะล่าเหยือเพียงลําพัง ส่ วนลิงค์ในช่วงเวลาที มีเหยืออุดม


สมบูรณ์ลิงค์จะออกล่าเหยือเป็ นฝูง

ลิงค์จะออกล่าเหยือในช่วงเวลากลางคืน โดยสัตว์ทีลิงค์ล่าเช่นกระต่ายป่ า กวาง หนู นก


ซึงชนิดเหยือทีมีผลต่อจํานวนประชากรของลิงค์คือ กระต่ายป่ าแฮร์ โดยเฉพาะกระต่ายป่ าแฮร์สโนว์
ชู ( snowshore hare ) โดยจํานวนประชากรของลิงค์จะขึนลงตามจํานวนประชากรของกระต่ายแฮร์
การล่าของลิงค์ไม่ใช้ความเร็ วในการล่า แต่จะใช้การดักซุ่มในพุ่มไม้ทงบนพื
ั นดินและบนกิง
ไม้ รวมทังการเดินหย่องอย่างช้าๆ อย่างเงียบเชียบเพือเข้าไปใกล้ตวั เหยือพอทีจะตะครุ บเหยือได้
เป็ นสัตว์ทีสามารถปี นป่ ายต้นไม้และว่ายนําได้เก่ง แต่การวิงบนพืนดินกลับช้า มีเหตุการณ์ทีสุ นขั
สามารถวิงไล่ลิงค์ได้ทนั
151

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- สีขนส่วนของลิ งค์เป็ นสีเหลืองขาว หางค่อนข้างสันและส่วนปลายจะเป็ นสีดาํ ฝ่ าเท้า
ของลิ งค์มีขนาดใหญ่และเล็บเท้าสามารถบังคับกางออกและดึงกลับได้
ภาพที ลิงค์ เหมือนกับแมวและเสือชนิดอืนๆ ทีแม่ ลิงค์ จะเป็ นแม่ ทีปกป้องลูกเป็ นอย่ างดี

หมีในพืนทีเขตเหนือ ( Bear of the North )


หมีสีนําตาล ( Brown Bear ) เป็ นหมีทีมีการกระจายพันธุ์มากทีสุ ดในโลก ชนิ ดย่อยของหมี
ชนิดนีคือ หมีกริสลี ( grizzly bear ) มีการกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริ กาเหนือ มีลกั ษณะทีจดจําง่าย
ของหมีชนิ ดนีคือ แถบขนสี เทาทีหลังและหัวไหล่ และหมีโคอิแอค ( Kodiak bear ) มีการกระจาย
พันธุ์ในชายฝังของรัฐอลาสก้า หมีโคอิแอคเป็ นหมีสีนาตาลที
ํ มีขนาดใหญ่ทีสุ ดโดยมีนาหนั
ํ ก
ประมาณ 800 กิโลกรัม ความสู งของร่ างกายเมือยืนบนเท้าหลังสู ง 3 เมตร
โดยทัวไปหมีสีนาตาลจะมี
ํ นาหนั
ํ ก 150 – 300 กิโลกรัม เพศเมียจะมีขนาดเล็กกว่าเพศผู ้ มี
หัวขนาดใหญ่และขากรรไกรทีแข็งแรง สี ลาํ ตัวยังมีความผันแปรเป็ นสี อืนๆ เช่นสี ดาํ สี แดง สี
เหลืองอ่อน มีโหนกที หัวไหล่และมีเล็บทียาว
หมีสีนาตาลวิ
ํ งได้เร็วถึง 65 กิโลเมตร/ชัวโมง ซึ งเร็ วเพียงพอทีจะจับม้าทีกําลังวิงได้
ประสาทสัมผัสด้วยการดมกลินจะดีพอ ๆ กับสุ นขั พันธุ์บลัดฮาวน์ สามารถกลับไปยังพืนทีทีเป็ น
ถินทีอยู่เดิมได้ โดยมีตวั อย่างทีหมีสีนาตาลถู
ํ กจับและนําไปปล่อยห่างจากถินเดิมไกลถึง 160
กิโลเมตร เป็ นสัตว์ทีมีความฉลาด เมือรู ้วา่ ตนเองกําลังถูกติดตาม หมีสีนาตาลจะพยายามกลบ

รอยเท้าของตนเอง

ภาพที 6.7 หมีกริ สลี อาหารส่วนใหญ่จะเป็ นพืชแต่ก็กินเนือสัตว์ด้วย


152

หมีสีนาตาลเหมื
ํ อนกับหมีชนิดอืนๆ กินทังพืชและสัตว์ ( Omnivores ) โดยอาหารจะมีความ
ผันแปรไปตามสิ งแวดล้อม เช่น หมีสีนาตาลญี
ํ ปุ่ น( Japanese brown bear ) จะเป็ นสัตว์ทีกินพืช
เป็ นอาหาร ( Herbivores ) เช่น รากไม้ หัวมัน หญ้า เห็ด ผลไม้เปลือกแข้ง ส่ วนหมีสีนาตาลที
ํ มี
การกระจายพันธุ์ในเทื อกเขาแคเนเดียน ร๊ อคกี ( Canadian r0ckies ) จะกินเนื อสัตว์เป็ นอาหารหลัก
สัตว์เหยือของหมีสีนาตาล
ํ เช่นกวางมูส กวางเอลป์ แพะภูเขา หรื อแม้กระทังหมีสีดาํ ( Black
Bear ) แต่พบว่าหมีสีดาํ จะหนีการไล่ล่าของหมีสีนาตาลได้ํ เนืองจาก เนืองจากลักษณะเล็บเท้าหน้า
ของหมีสีนาตาลที
ํ ยาวไม่เหมาะกับการปี นป่ ายต้นไม้
ในฤดูทีปลาแซลมอนอพยพกลับไปทีต้นนําทีเป็ นแหล่งกําเนิ ดของปลาแซลมอน พบว่าหมีสี
นําตาลจะใช้เวลาในเวลากลางวันทังวันในการจับปลาโดยการใช้ปากและเท้าหน้าช่วยในการจับปลา
ในช่วงปลายของฤดูร้อนและต้นฤดูใบไม้ร่วงหมีสีนาตาลกิ ํ นปลาถึงวันละ 35 – 40 กิโลกรัม ส่ วน
ในช่วงฤดูหนาวหมีสีนาตาลจะจํ
ํ าศีล โดยสถานทีหมีชนิ ดเลือกนอนจําศีลเช่น ถําตืนๆ โพรงของ
ต้นไม้ โพรงดินทีขุด สถานทีหมีเลือกอยู่เหล่าจะใช้วสั ดุรองรังเป็ นใบหญ้าแห้ง ใบไม้แห้ง หมีสี
นําตาลสามารถตืนจากการหลับได้โดยง่าย แต่ถา้ ไม่มีอะไรรบกวนหมีจะนอนหลับยาวเป็ นเดือน
โดยไม่มีการเปลียนท่า
หมีสีนาตาลจะออกลู
ํ กในช่วงทีมีการจําศีล การผสมพันธุ์จะเกิดขึนในช่วงปลายของฤดูใบไม้
ผลิหรื อช่วงต้นของฤดูร้อน แต่ไข่ทีได้รับการผสมจะไม่ฝังตัวทีผนังมดลูกทันที โดยส่ วนใหญ่จะ
ฝังตัวในช่วงใบไม้ร่วงและจะต้องเป็ นแม่หมีทีมีสุขภาพดีเท่านัน โดยจะมีการออกลูกครอกละ 2
ตัว ลูกหมีทีเกิดใหม่จะมีนาหนั
ํ กประมาณ 280 กรัม เมือครอบครัวของหมีจะออกจากโพรง
ในช่วงเดือนฤดูใบไม้ผลิ ซึ งในช่วงเวลาดังกล่าวแม่หมีตอ้ งปกป้ องลูกหมีจากหมีเพศผูแ้ ละหมาป่ า
การจําศีลเป็ นการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพอากาศทีหนาวเย็นและหาอาหารยาก
แต่สาํ หรับหมีหลายชนิ ดที อยู่ในสวนสัตว์จะไม่มีการจําศีล เนื องจากมีอาหารกิ นอย่าง
สมําเสมอ

ภาพที 6.8 หมีโคดิแอคจะคาบปลาแซลมอนทีจับได้ ในนําและนําขึนมาบนบก ก่อนทีจะกินหมีจะ


ลอกหนัง โดยไม่กินส่วนหัว หางและกระดูกของปลา
153

อาหารทีสั ตว์ กินกับฤดูกาล ( Following a Season Diet )


สัตว์กินเนื อเช่น หมาป่ า ( wolves ) และลิงค์ ( lynx ) จะต้องกินเนื อตลอดทังปี แต่ในช่วงฤดู
หนาวสัตว์เหยือจะล่าได้ยากยิงขึน ส่ วนสัตว์กินพืช ( herbivore ) จะมีการปรับตัวด้วยการกินส่ วน
ต่างๆ ของพืชในส่ วนทีพอจะกินได้ ซึ งในช่วงฤดูหนาวไม้พุ่มเตียและหญ้าจะถูกปกคลุมด้วยหิ มะ
ต้นไม้ในป่ าผลัดใบจะทิงใบ กวางมูสและกวางคาลิบูจะกินกิงไม้อ่อน ( twigs ) และขุดหิมะเพือกิน
มอส ( moose ) ไลเคน ( lichens ) และพืชอาหารอืนๆ กินเป็ นอาหาร

กวางมูส ( Moose ) เป็ นกวางทีดํารงชีวิตในป่ าไม้ผลัดใบและป่ าแบบสนเขาทัวโลก มีขนาดใหญ่


ทีสุ ดในวงศ์กวาง ( deer family ) มีความสู งช่วงไหล่ประมาณ 2 เมตร นําหนักอาจมากถึง 700
กิโลกรัม มีเขาแบบแอนเทอร์ทีมีลกั ษณะเป็ นแผ่นแบนขนาดใหญ่ ซึ งถ้าวัดความยาวระหว่างปลาย
เขากับปลายเขาจะมีความยาวประมาณ 2 เมตร

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
กวางมูสมีหวั ทียาวใหญ่และกว้าง มีจมูกกว้างแบน กวางมูสเพศผู้จะมีแผ่นหนังแบน
รูประฆังที บริ เวณหน้ าอก รูปร่างของกวางมูสดูคล้ายมีตะโหนกที ส่วนต้นของลําตัว
เนื องจากหลังส่วนท้ายเอียงลาดลง

กวางมูสวิงได้เร็ วประมาณ 60 กิโลเมตร/ชัวโมง ด้วยลักษณะขาทียาวทําให้สามารถเดินผ่าน


บริ เวณทีมีหิมะทับถมทีมีความสู ง 1 เมตรได้ ดํารงชีวิตจะอยูต่ วั เดียวเพียงลําพัง มีบางช่วงเวลา
ของฤดูหนาวที มีหิมะตกหนัก กวางมูสจะยืนรวมตัวอยูบ่ นหิ มะทีหนาตัวใต้ตน้ ไม้เพือให้พุ่มไม้ช่วย
ลดแรงปะทะจากหิ มะทีหนาวเย็น ยังเป็ นการแบ่งปั นความร้อนจากร่ างกายให้แก่กนั และช่วยกัน
สอดส่ องศัตรู ผลู้ ่า เช่นหมาป่ าวูฟ กวางมูสกินกิงไม้และเปลือกไม้เป็ นอาหาร เป็ นสัตว์ทีมีการ
มองเห็นได้อย่างชัดเจนในระยะใกล้ๆ และมีเหตุการณ์เกิดขึนบ่อยๆ ทีเกิดกรณี กวางมูสใช้เขาชน
คนทีเข้าใกล้ในระยะประชิดตัว

กวางมูสกินเปลือกไม้เช่นต้นวิลโลว์ ( willow ) ต้นแอสเพนส์ใ( aspens ) โดยการใช้ฟันล่าง


กัดแทะเปลือกไม้ขึนด้านบน และใช้ขาตะกายขึนกินใบสนทีอยูส่ ูง เนื องจากเป็ นสัตว์ทีมีนาหนั
ํ ก
มากปริ มาณอาหารทีจะต้องกินในแต่ละวันต้องมากถึงวันละ 30 กิโลกรัม
กวางมูสเป็ นสัตว์ทีว่ายนําได้เก่ง สามารถดํานําได้นานเป็ นเวลาหลายนาที ในช่วงฤดูใบไม้
ผลิและฤดูร้อนกวางมูสจะลงไปในลําธารหรื อทะเลสาบเพือหาพืชนํากินเช่น บัว และยังเป็ นการ
ลดการรบกวนจากแมลงต่างๆ ด้วย
154

ภาพที 6.9 มักพบกวางมูสลงไปกินพืชนําซึงจะมีปริ มาณของธาตุอาหารโซเดียมในปริ มาณมาก

ในช่วงฤดูใบไม้ผลิกวางมูสจะผลัดขนที มีลกั ษณะหนาและหยาบทีปกคลุมร่ างกายในฤดู


หนาวออก และขนทีขึนมาใหม่จะเป็ นสี นาตาลแดงซึ
ํ งลักษณะขนจะเป็ นมันเงา ในช่วงปลายของ
ฤดูร้อนขนตามร่ างกายจะมีลกั ษณะเกือบดํา กวางมูสเพศผูจ้ ะมีการงอกเขาชุดใหม่ทีเรี ยกว่าเขาเทียน
( velvet antler ) ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ในประเทศสหภาพโซเวียต (เดิม ) กวางมูสเป็ นสัตว์เลียงปศุ
สัตว์โดยเลียงเพือกินเนื อและนม รวมทังมีบางพืนทีทีนํากวางมูสมาใช้เป็ นสัตว์พาหนะช่วยในการ
ขนสิ งของ

กวางคาริบู ( Caribou ) ยังเรี ยกอีกชือหนึ งว่า กวางเรนเดียร์ ( rein deer ) กวางชนิดนี มีการกระจาย
พันธุ์ในพืนทีหนาวเย็นอาร์คติกในทวีปอเมริ กาเหนือและพืนทีต่อเนื องของยุโรปเอเชีย ( Eurasia )
เป็ นกวางทีถูกนํามาเลียงเป็ นสัตว์ปศุสตั ว์เพือใช้เนื อเป็ นอาหาร มีชนพืนเมืองคือชาวแลบป์
( Lapps ) ซึ งเป็ นชาวพืนเมืองในพืนทีทางตอนเหนือของประเทศในกลุ่มประเทสสแกนดิเนเวียร์
นํากวางชนิดนี มาใช้ในลากเลือน และเป็ นอาหาร
กวางคาริ บูเป็ นกวางขนาดกลางทีมีนาหนั ํ กประมาณ 100 – 300 กิโลกรัม ลักษณะของกีบ
เท้าแบนกว้างและเว้าเข้าด้านใน ซึ งช่วยในการเดินบนหิ มะและพืนทีเป็ นดินโคลน ประสาทในการ
ดมกลินดีโดยสามารถได้กลินหญ้าทีอยูใ่ ต้หิมะตําลงไป 15 เซนติเมตร ส่ วนปลายจมูกจะมีขนทีทาํ
หน้าทีช่วยป้ องกันความหนาวเย็นในช่วงทีกวางใช้ปลายจมูกดุนหิ มะออกเพือหาหญ้ากิน
ในฤดูร้อนขนของกวางคาริ บูเป็ นสี นาตาล ํ ส่ วนในฤดูหนาวจะเป็ นสี เทาเพือช่วยในการรักษา
ความร้อนของร่ างกายทีจะช่วยป้ องกันความหนาวเย็น สัตว์ในพืนทีเขตหนาวขัวโลกเหนื ออาร์คติก
ขนจะเป็ นส่วนสําคัญในการช่วยปกป้ องความหนาวเย็นของอากาศแก่ร่างกาย โดยขนทียาวจะช่วย
ปกป้ องความหนาวเย็น และมีขนสันทีอยูต่ ิดกับผิวหนังลําตัวทีจะช่วยให้ตวั แห้งแม้ในช่วงทีมีพายุ
หิมะ ( sleet storm) ซึ งจากลักษณะดังกล่าวเปรี ยบเสมือนกวางคาริ บูสวมเสื อคลุมยาวทีกันนําได้ทบั
155

บนเสื อกักหนา ลักษณะของขนในลักษณะดังกล่าวจะเป็ นตัวช่วยในการเคลือนตัวผ่านนํา ในกรณี


ของการอพยพย้ายถินทีบางช่วงเวลาจะมีการเคลือนผ่านทะเลสาบหรื อแม่นาํ หรื อการหลบหนี จาก
ศัตรู ผลู้ ่าลงนํา อีกพฤติกรรมหนึ งทีช่วยในการต่อสู้กบั ความหนาวเย็นในแบบเดียวกับทีกวางมูสทํา
คือ การยืนรวมตัวกันใต้ตน้ ไม้ทีมีใบไม้ปกคลุมทีจะช่วยในการลดแรงปะทะของสายลมและหิ มะ
ยังเป็ นการช่วยเพิมความอบอุ่นให้แก่กนั และกัน

ภาพที 6.10 ( ซ้ าย ) กวางคาริบูเพศผู้ ภาพที 6.11 กวางคาริ บเู พศเมีย ซึงกวางคาริ บเู พศเมีย
จะมีเขาขนาดเล็กกว่าเพศผู้ เมือกวางคาริ บูเดินเส้ นเอ็นทีส่วนเท้ าเกิดการเคลือนไหวและมีเสียงดัง
คลิกๆ เกิดขึน

ลักษณะฝูงของกวางคาริ บูจะประกอบด้วยกวางเพศเมียหลายๆ ตัวและกวางเพศผูท้ ียังไม่ถึง


วัยเจริ ญพันธุ์หลายๆตัว ส่ วนกวางเพศผูท้ ีถึงช่วงอายุวยั เจริ ญพันธุ์แล้วจะแยกตัวจากฝูงของกวาง
เพศเมียและร่ วมกลุ่มกันเป็ นฝูงขนาดเล็กของกวางเพศผู้ ในช่วงฤดูหนาวฝูงของกวางคาริ บูหลายๆ
ฝูงซึ งอาจมีจาํ นวนมากถึง 500,000 ตัวจะอพยพจะจากป่ าทางตอนเหนื อมายังป่ าเปิ ดทุนดรา การ
อพยพย้ายถินนีมีระยะไกลถึง 950 กิโลเมตร เมือถึงฤดูใบไม้ผลิฝงู ของกวางคาริ บูจะกลับมายังป่ า
ตอนเหนื อ กวางจะอยูร่ วมกันเป็ นฝูงเพือปกป้ องตนเองจากการถูกล่าจากหมาป่ าทีติดตามฝูงกวาง
คาริ บูไปด้วย ในช่วงฤดูร้อนกวางคาริ บูจะกินอาหารให้มากทีสุ ดเพือสะสมไขมันทีจะช่วยปกป้ อง
ความหนาวเย็นในช่วงฤดูหนาว
ลูกกวางคาริ บจู ะเดิ นตามแม่ได้ภายใน 1 ชัวโมงหลังการเกิ ด และจะวิ งได้เร็วกว่า
มนุษย์เมืออายุ 1 ปี

ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ส่วนคอของกวางคาริ บูเพศผูท้ ีสมบูรณ์พนั ธุ์ ขนส่ วนคอนี จะหนาขึน


และเป็ นสี ขาวตัดกับสี นาตาลของลํ
ํ าตัว ลูกกวางทีเกิดใหม่จะมีนาหนั
ํ ก 5 – 9 กิโลกรัม ภายหลัง
การเกิดจะมีปุ่มเขาขนาดเล็กงอกทีส่ วนบนของหัวทัง 2 เพศ ในช่วงปี แรกจะเป็ นเขาทียาวแหลม
โดยยังไม่มีการแตกกิงก้านของเขา โดยเขาจะโตเต็มทีเมืออายุ 3 ปี กวางคาริ บูทีมีอายุขยั 4 ปี 6
เดือนในป่ าธรรมชาติ แต่ในสวนสัตว์จะมีอายุขยั 20 ปี
156

สั ตว์ ผ้ลู ่ าทีไม่ มคี วามกลัวในทุ่งหิมะ ( Fearless Hunter in the snow )


วูฟเวอร์ ลนี ( Wolverine ) เป็ นสัตว์ทีมีขนยาวหยาบ สี นาตาลดํ ํ า เป็ นสัตว์ทีมีขนาดใหญ่ทีสุด
ในวงศ์วีเซล ( weasel family ) มีการกระจายพันธุ์ในป่ าสนเขาในพืนทีเขตทุนดรา ทางตอนเหนื อ
ของพืนทีต่อเนืองของทวีปยุโรปและเอเชีย ( Eurasia ) และทวีปอเมริ กาเหนือ แต่ละตัวจะ
ครอบครองอาณาเขตประมาณ 650 ตารางกิโลเมตร ซึ งจะมีโอกาศทีพืนที จะทับซ้อนกัน เป็ นสัตว์
ทีมีลาํ ตัวอ้วนสันโดยความยาวจากหัวถึงปลายหาง 1 เมตร และนําหนัก 10 – 30 กิโลกรัม เป็ น
สัตว์ทีแข็งแรงและมีอารมณ์เกรี ยวกราด มีเล็บทีแหลมคม ขากรรไกรแข็งแรงเพียงพอทีจะกัด
กระดูกให้แตกได้
วูฟเวอร์ ลีนใช้เวลาส่วนใหญ่บนพืนดิน สามารถปี นป่ ายตามต้นไม้ได้อย่างรวดเร็ ว แต่จะขึน
ต้นไม้เฉพาะในช่วงเวลาทีต้องการหลบหลีกภัย สามารถวิงไล่เหยืออย่างไม่รู้สึกเหน็ดเหนื อย โดย
วิงได้ไกล 65 กิโลเมตรต่อเนืองกันโดยไม่ตอ้ งหยุดพัก ฝ่ าเท้ามีลกั ษณะกว้างและมีเล็บยาวซึ งทํา
ให้วิงได้อย่างรวดเร็ วบนหิ มะ ในฤดูหนาววูฟเวอร์ลีนสามารถล่าสัตว์ทีมีขนาดใหญ่กว่าและหนัก
กว่าตัวเองได้ เช่น กวางคาริ บู กวางเอลฟ์ เนื องจากวิงได้เร็ วกว่าถ้าหากสัตว์ดงั กล่าวเท้าและขาจม
อยูใ่ นหิ มะทีมีความหนา การล้มเหยือจะใช้การกระโดดเกาะหลังแล้วกัดที ลําคอและนังกัดต่อเนือง
ไปจนเหยือล้มตัวลง ในช่วงฤดูร้อนทีไม่สามารถล่าสัตว์ได้จะกินผลไม้ ไข่ ลูกนก ซากสัตว์และ
ลูกสัตว์เช่น กวางคาริ บู เม่น

ภาพที 6.12 วูฟเวอร์ ลีนพบได้ น้อยในป่ าธรรมชาติ เนืองจากถูกล่าเพือเอาหนังและเจ้ าของฟาร์ ม


ปศุสตั ว์ต้องการปกป้องสัตว์ในครอบครอง

วูฟเวอร์รีนเป็ นสัตว์ทีเป็ นทังผู้ล่าและผู้ถกู ล่า พบบ่อยครังที วูฟเวอร์รีนถูกล่าโดย


หมาป่ าวูฟที ออกล่าเป็ นฝูง
157

วูฟเวอร์ ลีนเป็ นสัตว์ทีมีประสาทการรับกลินทีดี ช่วยให้รู้ตาํ แหน่งทีมีซากสัตว์ทีเหลือจากการ


กินของสัตวผูล้ ่าตัวอืน ๆ ได้ มีบางเวลาทีวูฟเวอร์ ลีนจะฝังเนื อทีตนเองกินไม่หมดไว้ในหิ มะ และ
จะกลับมากินอีกครังหนึ ง ซึ งบางครังพบว่าเป็ นช่วงเวลาทีห่างกันถึง 6 เดือน แต่วฟู เวอร์ลีนก็ยงั
สามารถจําตําแหน่ งทีตนซ่ อนอาหารไว้ได้
วูฟเวอร์ ลีนเป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตตัวเดียว ยกเว้นในช่วงฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนทีเป็ นช่วง
ฤดูผสมพันธุ์ ในช่วงกลางของฤดูหนาว วูฟเวอร์ลีนเพศเมียจะขุดโพรงในกองหิ มะ ( snowdrift )
เพือออกลูกจํานวน 2 – 4 ตัวต่อครอก โดยลูกจะอยูก่ บั แม่จนถึงฤดูร้อน เมือถึงช่วงฤดูใบไม้ร่วง
ลูกสัตว์จะมีช่วงอายุทีใกล้เข้าสู่วยั เจริ ญพันธุ์จะหาพืนทีครอบครองของตัวเอง โดยมักจะเป็ นพืนทีที
ห่างจากจุดที ตนเองเกิดประมาณ 30 – 100 กิโลเมตร

การรักษาระดับความร้อนในของร่างกาย ( Conserving Heat in a Cold Climate )


สัตว์เลือดอุน่ ต้องพยายามรักษาอุณหภูมริ า่ งกายให้คงที ซึงเป็นกลไกของร่างกายเพือ
ช่วยในการดํารงชีพในสภาพอากาศทีหนาวเย็น โดยใช้วธิ กี ารหลากหลายวิธเี ช่น ขนทีหนาและ
กันนําได้เพือให้ขนมีอณ ุ หภูมใิ กล้เคียงกับร่างกาย เพือให้นําแข็งและหิมะทีจับตัวทีขนละลาย
และหลุดไป ซึงขนนก ( feather ) ก็มคี ุณสมบัตเิ ป็ นฉนวนป้องกันความหนาวเย็น
( insulation ) เช่นกัน
สัตว์ทมีี ขนาดร่างกายใหญ่เช่น กวางมูส
วอรัสจะมีชนไขมั
ั นอยูใ่ ต้ผวิ หนังทีจะเป็ น
ฉนวนในการป้องกันความหนาวเย็น และ
ไขมันเหล่านีจะเปลียนเป็ นพลังงานในช่วงที
ขาดแคลนอาหาร
ขนาดของร่างกาย ( size ) รูปทรง
( shape ) จะเป็ นองค์ประกอบทีมีผลต่อ
การรักษาความร้อนในร่างกายเพือต่อสูก้ บั
ความหนาวเย็น โดยทีสัตว์ทมีี รปู ร่างกลม
ขนาดใหญ่และขาสันจะมีพนที ื ต่อนําหนัก
น้อยกว่าสัตว์ทมีี รปู ร่างสูงและบาง โดยสรุป
แล้วสัตว์ทมีี ขนาดเล็กจะมีพนที ื ต่อนําหนัก
ตัวทีสัมผัสกับความหนาวเย็นมากกว่า

ขนาดของใบหูของหมาปา่ และกระต่ายทีอาศัยอยูใ่ นเขตขัวโลกเหนือจะมีขนาดเล็กกว่า


158

หมาป่าและกระต่ายทีอยูใ่ นพืนทีทะเลทราย เมือขนาดของใบหูเล็กลงและลักษณะของใบหูที


แนบชิดไปกับหัว ทําให้พนที
ื ทีต้องสูญเสียความร้อนลดลง
การปรับพฤติกรรมก็จะช่วยให้สตั ว์อยูร่ อดได้ในช่วงฤดูหนาว เช่นหมาปา่ จะออกล่าสัตว์
เป็ นฝูงจะช่วยลดการใช้พลังงานในการล่าลง
ค้างคาวหลายชนิด หนูวดู ชัครวมทังสัตว์อนๆ ื อีกหลายชนิดจะมีการรักษาพลังงาน
โดยการจําศีล ( hibernation ) ซึงสภาพร่างกายจะคล้ายนอนหลับ การเคลือนไหวของร่างกาย
น้อยลง อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจและอุณหภูมริ า่ งกายตําลง ในสัตว์กลุม่ หนู
และหมีจะมีการจําศีลเนืองจากในช่วงฤดูหนาวการหาอาหารจะทําได้ยากยิงขึน และวิธกี าร
สุดท้ายทีนกหลายชนิดและกวางคาริบูคอื การอพยพย้ายถินเพือหลีกหนีสภาพอากาสหนาวเย็น
ไปยังพืนทีมีสภาพอบอุน่ กว่า

มาร์ เต็น ( Marten ) การกระจายพันธุ์พบในพืนทีของทวีปยุโรปและอเมริ กาเหนื อ เป็ นสัตว์ในวงศ์วี


เซล ( weasel family ) มีนาหนั ํ กมากกว่าวีเซิ ลชนิ ดอืนๆ สี ขนบนลําตัวทีพบ เช่น นําตาลทอง ดํา
เหลือง เป็ นสัตว์ทีถูกจับโดยมนุษย์อย่างได้ง่ายดายโดยใช้เหยือล่อ
มาร์ เต็นเป็ นสัตว์ทีเคลือนทีบนต้นไม้ได้ดี การเดินทางโดยใช้กิงไม้ของต้นไม้หนึ งไปยังกิงไม้
ของอีกต้นหนึ ง เป็ นวิธีการทีมาร์เต็นเลือกใช้พอๆ กับการเคลือนทีบนพืนดิน หางทีมีลกั ษณะเป็ น
พู่จะช่วยในการทรงตัวในการกระโดดจากกิงไม้หนึ งไปยังกิงไม้อีกกิงหนึ ง ความสามารถในการ
ปี นป่ ายนีจะช่วยในการหลบหลีกหนี จากสัตว์ผลู้ ่า แต่มาร์ เต็นมักตกเป็ นเหยือของหมาป่ าสี แดง
( Red foxes ) ลิงค์ ( lynx ) และเสื อคูการ์ ( cougar )

ภาพที 6.13 แสดงลักษณะของมาร์ เต็นป่ าสนอเมริ กา ( American Pine marten )


159

อเมริกนั มาร์ เต็น ( American marten ) เป็ นมาร์เต็นทีมีฝ่าเท้าใหญ่สามารถเดินบนหิ มะได้โดย


ไม่จมลงไป การล่าเหยือชอบล่าสัตว์เช่น ไก่ฟ้า หนู กระต่าย กระรอกทีอยู่ตามโพรงไม้ทีเกิดจาก
ต้นไม้ใหญ่ทีล้มลงกับพืนดิน หรื อพุ่มไม้ ร่ วมทังปลาก็เป็ นอาหารอีกกลุ่มหนึงของมาร์เต็น
มาร์เต็นเป็ นสัตว์ทีดํารงชีวิตแบบอยู่ตวั เดียว ไม่มีพฤติกรรมการจําศีล การล่าเหยือจะดําเนิ น
ต่อเนื องไปแม้ในช่วงฤดูหนาว ถ้าช่วงใดหนาวมากหรื อผืนป่ ามีสภาพเปี ยกชืนจะหลบพักตามโพรง
ดิน หรื อกลุ่มทีอยูบ่ นภูเขาจะเคลือนย้ายมาอยูใ่ นพืนทีทีระดับความสู งตํากว่า ซึ งจะมีอุณหภูมิสูง
กว่าและมีปริ มาณหิ มะทีน้อยกว่า
แม่มาร์เต็นจะออกลูกครอกละ 1 - 5 ตัว ลูกของมาร์เต็นจะใช้เวลาในการเจริ ญเติบโตจนถึง
ช่วงอายุสมบูรณ์พนั ธุ์และมีชุดฟันทีสมบูรณ์ในเวลาเพียง 4 เดือน พบว่าลูกของมาร์เต็นจะแยกจาก
แม่ในช่วงปลายของฤดูร้อนหรื อช่วงต้นของฤดูใบไม้ร่วงเพือหาอาณาเขตของตนเอง

กลุ่มนกทีเฝ้ ามองความเคลือนไหวจากทีสู ง ( Bird’ s Eye View of the Forest )


นกล่าเหยือจะเฝ้ าติดตามหาเหยือทีหากินตามพืนดินจากกิงไม้สูงด้วยการกวาดสายตา และ
คอยฟังเสี ยงทีจะเกิดขึนว่าเป็ นเสี ยงที ใช่เหยือของตนหรื อไม่ ไข่และลูกนกทียังบินไม่ได้คือเหยือที
ดึงดูดความสนใจของเหยียว นกเค้าแมวสามารถจับเสี ยงหนูหรื อกระต่ายทีกําลังกัดกินใบหญ้าหรื อ
เมล็ดพืชขณะอยูใ่ นทีซ่ อนตัว เสี ยงหอนของหมาป่ าเป็ นสัญญาณบอกกับอีกาว่าอาจจะมีซากสัตว์ที
เกิดจากการล่าของหมาป่ าในระยะทีไม่ไกลนัก
นกเค้าแมว ( owl ) เป็ นนกทีมีการกระจายพันธุ์ในทุกทวีป เนืองจากความสามารถในการ
ปรับเพือดํารงชี วิตในถินที อยู่หลายลักษณะ แต่ยกเว้นขัวโลกใต้ ( Antartica ) นกเค้ าเเมวบ้ าน
( barn owl ) ยังมีชนิดย่อยอีก 30 ชนิด ซึ งการกระจายพันธุ์ของนกชนิ ดนีพบในทวีปอเมริ กาและ
ยุโรป เหยือทีนกชนิ ดนีล่าเป็ นอาหารหลักคือหนู นกเค้าแมวเป็ นนกทีเกษตรกรซึงปลูกพืชมองเห็น
ประโยชน์ในการช่วยกําจัดสัตว์ทีมาทําลายพืชผล มีขอ้ มูลทีบอกว่าใน 1 ปี ครอบครัวของนกเค้า
แมวบ้านกินหนูถึง 1,300 ตัว
นกเค้าแมวเป็ นนกทีล่าสัตว์ชนิ ดอืนเป็ นอาหาร ลักษณะของร่ างกายทีช่วยในการล่าเหยือเช่น
ใบหน้าที แบนกว้างทีช่วยในการรับคลืนเสี ยงเหมือนจานรับสัญญาณดาวเทียม จะงอยปากที
แข็งแรงทีช่วยในการฉี กเนื อ ประสาทการมองเห็นดีสามารถมองเห็นได้ในทีที มีแสงน้อย สามารถ
หมุนหัวเป็ นวงได้เกือบรอบวงกลมถึง 270 องศา ความสามารถในการได้ยินดีเช่นกันโดยสามารถ
ได้ยินเสี ยงฝี เท้าของหนูทีอยู่ตากว่
ํ าตัวนกไป 9 เมตร
ขนทีมีการเรี ยงตัวเป็ นวงกลมรอบหูจะทําหน้าทีเป็ นจานรับสัญญาณดาวเทียม ทีช่วยใน
การรับเสี ยงและส่ งผ่านคลืนเสี ยงไปยังหู นอกจากนันมีนกเค้าแมวหลายชนิดทีมีกลุ่มของขนทีอยู่
บริ เวณด้านบนของหัว ซึ งดูคล้ายเป็ นใบหูแต่ไม่ใช่ กลุ่มของขนนี ใช้ในการแสดงท่าทางข่มขวัญ
ศัตรู โดยจะแผ่กลุ่มขนนี ร่ วมกับท่ากางปี กออกซึ งจะทําให้เสมือนขนาดของร่ างกายของนกมีขนาด
160

ใหญ่ขึนกว่าเดิม ขนทีปี กซึ งมีส่วนทีอ่อนนุ่ มจะช่วยให้ในขณะทีนกเค้าแมวบิน เสี ยงทีเกิดจากการ


กระพือปี กจะลดความดังของเสี ยงลงเพือให้ช่วงทีนกบินไปยังเหยือ เหยือจะได้ไม่รู้วา่ มีนกผูล้ ่า
กําลังจะเข้ามาถึงตัวแล้ว

ภาพที 6.14 นกเค้ าแมวบ้ าน ( barn owl ) มีลกั ษณะทีแตกต่างจากนกชนิดอืนทีทําให้ สามารถ


จดจํานกชนิดนีได้ งา่ ยคือ ใบหน้ าสีขาวรูปทรงคล้ ายรู ปหัวใจ เป็ นนกทีพบในพืนทีทีมีมนุษย์อาศัย
จนถึงพืนทีป่ า ในช่วงเส้ นละติจดู ที 40 องศาเหนือถึง 40.5 องศาใต้ ภาพที 6.15 นกเค้ าแมว
great grey owl จะออกล่าเหยือในเวลากลางวัน

นกเค้าแมวจะล่าสัตว์หลากชนิดที มีในพืนทีเช่น กระต่าย หนู บางชนิดกินปลา แมลง กบ


และงู ลักษณะการกินอาหารจะใช้การกลืนเหยือทังตัวและใช้การสํารอกเอาอาหารทีย่อยแล้ว
ออกมาในลักษณะทีเป็ นก้อนขนาดเล็กๆ โดยจะเป็ นส่ วนขนและกระดูกของเหยือ
นกเค้าแมวทีพบได้ทวไปในพื
ั นทีแบบแบบป่ าสนเขา คือ นกเค้าแมว great horn owl
ซึงมีถินทีอยู่ในพืนทีทุ่งหญ้าแพรี ทะเลทราย บึงขนาดใหญ่และป่ าแบบอืนๆ ในทวีปอเมริ กา โดย
นกชนิดนีเพศเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู ้ ความยาวเมือกางปี กเต็มทีจะยาว 1.4 เมตร ทีขาจะมีขน
ปกคลุมทังหมดเพือป้ องกันการกัดดินรนของเหยือเมืออยู่ภายใต้กรงเล็บ ในการบินเพือจับเหยือจะ
ทําได้อย่างรวดเร็ วและเงียบงัน ในช่วงการจับจะยืดเท้าไปข้างหน้าเพือใช้กรงเล็บในการจับเหยือ
และใช้จะงอยปากทีแหลมคมในการฉี กกินเหยือ
161

งานของสั ตวแพทย์ ในสวนสั ตว์

สวนสัตว์ส่วนใหญ่จะมีกลุ่มทํางานทีเตรี ยมพร้อมสําหรับเหตุสัตว์ป่วยทีจะเกิดขึน เมือสัตว์


ในสวนสัตว์ป่วยผูเ้ ลียงจะแจ้งต่อที มงานสัตวแพทย์ทีประกอบด้วยสัตวแพทย์ นักเทคนิคทางสัตว
แพทย์ นักพยาธิ วิทยาและผูช้ ่วยสัตวแพทย์ทีมีหน้าทีประจําทีต้องร่ วมในกระบวนการรักษาสัตว์
ป่ วย ป้ องกันโรคและชันสูตรสาเหตุการตายของสัตว์ ตัวอย่างของงานในของที มสัตวแพทย์ เช่น
การวางยาสลบ การตรวจสุ ขภาพฟัน การเข้าร่ วมในกระบวนการการกักกันโรคสัตว์ เมือมีการย้าย
สัตว์เข้าจากสวนสัตว์แห่ งอืน
เมือลูกสัตว์ป่วยการติดตามอาการป่ วยจะต้องทําอย่างต่อเนืองและใกล้ชิดโดยเจ้าหน้าที
เลียงสัตว์ ถ้าสัตว์ยงั อยู่ในสถานะทีพ่อแม่ยงั เลียงดูได้กใ็ ห้พ่อแม่สัตว์ดูแลต่อไป การเลียงโดย
มนุษย์เป็ นวิธีการสุ ดท้ายทีจะเลือกมาใช้
การผ่าตัดทีมีความซับซ้อนเริ มมีการปฏิบตั ิในวงการสวนสัตว์เช่นการผ่าตัดเพือรักษา
โรคหัวใจในลิงอุรังอุตงั ทีสวนสัตว์ซานดิเอโก้ ในปี 1994
162

งานของสัตวแพทย์ในสวนสัตว์เป็ นงานทีมีความท้าทาย ทีต้องประยุกต์เอาพืนฐานของ


วิชาทางสัตวแพทย์เพือทําการรักษา ป้ องกันโรคและหาสาเหตุการตายในหลายกลุ่มสัตว์ งานการ
วางยาสลบสัตว์เป็ นงานทีมีความสําคัญเพือทําการตรวจร่ างกาย รักษา การเคลือนย้ายสัตว์ซึงจะทํา
ให้งานทีกล่าวมาสามารถทําได้ง่ายยิงขึน แต่ตอ้ งมีความพร้อมในด้านอุปกรณ์ บุคลากรทังจํานวน
และประสบการณ์ สภาพพืนทีจึงจะทําให้งานนี สําเร็ จลงได้
ในปัจจุบนั งานด้านอายุรศาสตร์ของสัตว์ป่าในสวนสัตว์มีความก้าวหน้าโดยดูจากหนังสื อที
มีการผลิตขึนและงานวิจยั ทีมีการตีพิมพ์ในวารสารทีได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติเป็ น
จํานวนมาก
163

บทที 7
เหล่าสรรพสัตว์แห่งขุนเขา ( Animals of the Mountain )
จากเทือกเขาแอนดิ สที สูงชันในประเทศเอกวาดอร์ เทือกเขาหิ มาลัยใน
ประเทศทิ เบต เทือกเขาสูงที ระดับความสูงทีแตกต่างกันจะมีความแตกต่าง
ของภูมิอากาศ ภูมิประเทศ สัตว์และพืชพรรณตามระดับความสูง ในระดับ
ความสูงมากของพืนทีภูเขามีสตั ว์บางชนิ ดที มีลกั ษณะร่างกายทีเหมาะสมกับ
การดํารงชีวิต เช่น ลามา แยคและแพะภูเขา ในพืนทีทีระดับความสูงตําลง
มาสัตว์ชนิ ดอืนๆ ก็สามารถดํารงชีวิตได้ตามปกติ

อเมริกนั บิกฮอร์ น
164

หนึงชีวนิเวศแต่หลากหลายลักษณะภูมิประเทศ ( One Biome, Many Habitat )

ภาพที 7.1 แผนทีโลกแสดงพืนทีป่ าบนภูเขา( สีดาํ ) และพืนทีป่ าทีไม่ใช่ภเู ขา ( สีเทา )

ในพืนทีแบบภูเขาความแตกต่างในเรื องภูมิประเทศ ภูมิอากาศ พืชและสัตว์ ผันแปรไป


ตามเส้นรุ ้ง ( altitude ) เส้นแวง ( latitude ) และระดับความสูง ในพืนทีแบบภูเขาทังในเขตร้อนชืน
และเขตอบอุน่ เมือระดับความสู งเพิมขึนจะมีผลให้อณ ุ หภูมิตาลงและมี
ํ ความชืนทีสู งขึน จุดสูงสุ ด
ของภูเขาในพืนทีเขตร้อนชืนจะถูกปกคลุมไปด้วยเมฆ ตามเปลือกของลําต้นไม้ยืนต้นจะมีมอส
เกาะเจริ ญเติบโตอยู่

ภาพที 7.2 แสดงพืชพันธุ์ของพืนทีแบบภูเขา ดอกไม้ ป่าหลากชนิดและพืนป่ าของต้ นสน ที


บริ เวณพืนล่างของภูเขาเมาท์ไลเนอร์ ทีรัฐวอชิงตัน
165

ส่วนในพืนทีเขตอบอุน่ พืนทีภูเขาถูกปกคลุมด้วยป่ าสนเขา และในพืนทีระดับสูงขึนไป


อีกจะเรี ยกว่าพืนทีทิมเบอร์ไลน์ ( timberline ) เป็ นพืนทีของทุ่งหญ้าทีมีหญ้าต้นสัน พืชล้มลุกยัง
สามารถเจริ ญเติบโตได้ ต้นไม้ยืนต้นไม่สามารถเติบโตได้เนื องจากความอุดมสมบูรณ์ของดินมีตาํ
อากาศหนาวเย็น ลมทีพัดจะมีความชืนตําและมีหิมะปกคลุมพืนดินอยู่ พืนทีทีสูงกว่าพืนทีทิมเบอร์
ไลน์จะเป็ นพืนทีที มีมอสและไลเคนเจริ ญบนพืนดิน ซึ งจะเป็ นอาหารของสัตว์กินพืชใช้เป็ นอาหาร
ส่วนพืนทีลาดชันทีส่วนของยอดภูเขาจะเป็ นหิ นทีแข็งหยาบและไม่มีพืชเจริ ญเติบโต จํานวนสัตว์
จะค่อยๆ ลดลงเมือพืนทีเพิมระดับความสู งขึน สัตว์จะมีการอพยพขึนลงตามระดับต่างๆ ของภูเขา
ตามสภาพอากาศ ชนิดของพืชพันธุ์ทีเปลียนแปลงไปตามสภาพอากาศและระดับความสู ง (
altitude )

สั ตว์ ทีอยู่ในสภาวะใกล้ สูญพันธุ์ ( On the Brink of Extinction )


สาเหตุทีสัตว์ทีมีถินที อยู่แบบภูเขาทีอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์ เช่น แพนด้ายักษ์ ( Giant
Panda ) เสื อดาวหิ มะ ( Snow leopard ) หมีสแปคตาเคิล ( spectacle bear ) เนื องจากการถูกล่าโดย
มนุษย์และพืนทีป่ าทีเป็ นแหล่งอาศัยของสัตว์เหล่านี ถูกทําลาย
แพนด้ายักษ์ ( Giant Panda ) เป็ นสัตว์ป่าทีรัฐบาลจีนให้การคุม้ ครอง ข้อมูลในปั จจุบนั คาด
ว่าจํานวนของสัตว์ชนิดนี ในป่ าธรรมชาติทีประกาศเป็ นพืนทีคุม้ ครองมีประมาณ 1,000 ตัว โดยมี
การกระจายพันธุ์ในพืนทีภูเขาสูงทีอยูช่ ายขอบด้านทิศตะวันออกของทีราบธิ เบต จากการศึกษาสาย
พันธุกรรมโดยใช้วิธี molecular technique พบว่าสายพันธุกรรมของแพนด้ายักษ์จดั อยูใ่ นวงศ์(
family ) เดียวกับหมี ส่ วนแพนด้าแดงอยูใ่ นวงศ์ ( family ) เดียวกับแรคคูน
นําหนักของแพนด้ายักษ์อยูใ่ นช่วง 75 – 110 กิโลกรัมโดยเพศผูจ้ ะมีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย
หากมองด้วยสายตาจะมีความรู ้สึกว่าทังสองเพศจะมีขนาดใกล้เคียงกัน ถินทีอยูข่ องสัตว์ชนิดนีเป็ น
พืนทีทีมีตน้ ไผ่อย่างอุดมสมบูรณ์ทีระดับความสูง 2,500 – 3,500 เมตรจากระดับนําทะเล เนืองจาก
เป็ นสัตว์ทีมีฟันกรามทีแข็งแรง ทําให้สามารถกัดกินลําของต้นไผ่ได้อย่างง่ายดาย แต่ตน้ ไผ่เป็ นพืช
ทีมีสารอาหารน้อย รวมทังแพนด้ายักษ์มีระบบการย่อยอาหารก็มีประสิ ทธิ ภาพทีน้อยกว่าสัตว์กิน
พืชชนิดอืนๆ ทําให้ตอ้ งกินลําของต้นไผ่และใบไผ่ถึงวันละ 15 กิโลกรัมต่อวัน จึ งจะเพียงพอต่อ
ความต้องการ ชนิดอาหารอืนๆ ทีกินเช่น หญ้า ปลา หนูขนาดเล็ก ท่าการกินจะเป็ นท่านัง ถือลํา
ไผ่ไว้ในมือ แล้วลอกเปลือกนอกสุ ดโดยใช้นิวหัวแม่มือซึ งมีลกั ษณะขยายออกเป็ น wristbone
ในประเทศสหรัฐอเมริ กามีแพนด้าจัดแสดงอยู่ 1 ตัวเป็ นเพศเมียทีสวนสัตว์แห่ งชาติ
( National Zoo ) ทีเมืองวอชิงตัน ดีซี เป็ นแพนด้าทีมีอายุมากทีสุ ดทีอาศัยอยูน่ อกประเทศจีนและ
เสี ยชีวิตในปี พ.ศ. 2535 ( ค.ศ. 1992 ) พบว่าแพนด้ายักษ์จะประสบความสําเร็ จในกรงเลียงได้ยาก
มาก ดังนันการอนุรักษ์สัตว์ชนิดนีจึงมุ่งไปทีการปกป้ องพืนทีป่ าเพือการรักษาจํานวนแพนด้าใน
166

ธรรมชาติไว้ แพนด้ายักษ์จะออกลูกในช่วงปลายของฤดูร้อน ซึ งลูกทีเกิดจะมีนาหนั


ํ ก 85 – 105
กรัมซึ งมีนาหนั
ํ กน้อยกว่าแม่แพนด้าถึง 900 เท่า

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- ความสามารถในการมองเห็นของ
แพนด้าจะเห็นชัดเจนได้ในระยะใกล้ๆ
- การสือสารของแพนด้าจะใช้การส่งเสียง
ร้อง และใช้การแสดงออกของร่างกาย การ
แสดงท่าเอาหัวซุกที ขาหน้ าแสดงถึงการ
ยอมรับ การก้มหัวตําลงพร้อมแสดงนัยตา
ทีเบิกกว้างและจ้องตาเขม็งแสดงความถึง
ความรู้สึกโกรธกร้าวร้าว
- แพนด้ายักษ์ทาํ ความสะอาดที หัวและ
หน้ าด้วยการใช้ฝ่าเท้าคู่หน้ า

ภาพที 7.3 การขยายพันธุ์ในกรงเลียงสําหรับแพนด้ าเป็ นไปได้ ยาก การผสมเทียมโดยการฉีด


นําเชือของเพศผู้ให้ กบั เพศเมียทีกําลังอยู่ในช่วงตกไข่ เป็ นวิธีการทีประสบความสําเร็ จแต่ไม่สงู
มากนัก

หมีสเปคตาเคิล ( Spectacle bear ) เป็ นหมีทีมีขนสี เทายาวหยาบ มีขนสี ขาวขึนที ใบหน้าเป็ น


วงเหนื อคิวและระหว่างลูกตาทัง 2 ข้าง มีการกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริ กาใต้ โดยพบในพืนทีที
เป็ นภูเขา บางครังพบในพืนทีแบบทุ่งหญ้าและพืนทีแบบกึงทะเลทราย

ภาพที 7.4 หมีสเปคตาเคิลมักจะดํารงชีวิตแบบอยู่ตวั เดียว มีเพียงบางช่วงเวลาทีอยู่รวมกันเป็ น


ฝูงขนาดเล็ก การกระจายพันธุ์ในพืนทีเทือกเขาแอนดิส หมีชนิดนีจะเลือกอยู่ในพืนทีทีสงู มากกว่า
3,000 เมตรเหนือระดับนําทะเล
167

หมีชนิดนี มีความสูงช่วงไหล่ประมาณ 75 เซนติเมตร นําหนักประมาณ 140 กิโลกรัม มี


กรงเล็บทีแหลมคมเหมือนตะขอจะเป็ นตัวช่วยทีดีในการปี นป่ ายต้นไม้
อาหารหลักคือผลไม้ บางช่วงเวลาพบว่าหมีจะสร้างห้างนอนโดยการหักกิงไม้ซึงมักเป็ น
ต้นไม้ทีหมีมากินผลไม้ อาหารอืนๆ ทีหมีกินเช่น แมลง หนู ในพืนทีใกล้บา้ นของมนุษย์ หมีจะ
เข้ามากินพืชผลของชาวไร่ เช่น อ้อย ข้าวโพด เป็ นหมีทีไม่มีช่วงของการจําศีล หมีชนิดนี
ภายหลังการผสมพันธุ์ จะอยู่รวมกันเป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ เมือลูกหมีอายุได้ 3 - 8
เดือน ลูกหมีจะออกล่าสัตว์ชนิดอืนๆ เป็ นอาหารร่ วมกับแม่

ข้อมูลอืนๆทีน่ าสนใจ
หมีสเปคตาเคิ ลตังชือตาม ขนสีขาวที ขึนเป็ นวงรอบดวงตาและยังมีขนสีขาวขึนที หัว
และหน้ าอกของหมีด้วย ขนาดของหัวและปากที ยืนยาวมีขนาดเล็กเมือเที ยบกับขนาด
ลําตัว

เสือดาวหิมะ ( Snow leopard ) มีการกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริ กากลาง สี พืนของลําตัวเป็ นสี


เทา ลวดลายตามตัวเป็ นจุดและขีดสี ดาํ ทีต่อเนืองกันเป็ นเป็ นขีดวงกลม สี ขนส่ วนท้องเป็ นสี ขาว
ครี ม นําหนักตัวประมาณ 70 กิโลกรัม การกระโดดสามารถกระโดดลงจากหน้าผาทีสูงถึง 20
เมตร ซึ งระดับความสู งดังกล่าวเทียบเท่าตึก 6 ชัน

ภาพที 7.5 เสือดาวหิมะสามารถกระโดดได้ ไกลถึง 15 เมตร ในการกินเหยือจะกินในท่าหมอบ


กับพืนเหมือนกับแมวป่ าและไม่สามารถคํารามได้ เหมือนกับเสือขนาดใหญ่ได้

เสื อดาวหิ มะจะพบได้ในน้อยในพืนทีทีตํากว่า 3,000 เมตรเหนือระดับนําทะเล ในฤดูร้อน


จะเคลือนย้ายถินไปอยูใ่ นพืนทีทีความสู งที 5,500 เมตรเหนื อระดับนําทะเลที มีอากาศเย็นกว่า และ
ในช่วงเวลาดังกล่าวมักพบเสื อดาวหิ มะว่ายนําในลําธาร สระนํา เหยือที เสื อดาวชนิ ดนี ล่าเช่น แพะ
ป่ า หรื อแกะป่ า เช่น บาราล ( bharal ) หรื อ แพะสี นาเงิ
ํ น ( blue sheep ) ซึ งสัตว์ทีเป็ นเหยือ
168

เหล่านีจะอยู่กระจัดกระจายในทุ่งหญ้าบนภูเขาสู ง และมีในปริ มาณทีน้อยลงเมือระดับความสูงเพิม


มากขึน ทําให้อาณาเขตของเสื อดาวหิ มะแต่ละตัวมีการทับซ้อนกัน เหยือทีล่าจะมีตงแต่ ั ขนาดใหญ่
แบบแยค ( yak ) ทีมีนาหนั ํ กประมาณ 275 กิโลกรัม ไปจนถึงหนูทีมีนาหนั ํ กประมาณ 3
กิโลกรัม และจะทิงซากไปก็ต่อเมือกินทุกส่ วนทีกินได้เหลือไว้เพียงกระดูกและหนัง
เสื อดาวหิ มะจะดํารงชีวิตแบบอยู่ตวั เดียวเหมือนกับเสื อดาวชนิดอืนๆ ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์
จะเห็นลูกเสื อดาวหิ มะ 2 – 3 ตัวอยูก่ บั แม่ซึงจะอยู่กบั แม่จนกระทังลูกอายุได้ 3 เดือน หรื ออยู่กบั
แม่จนกระทังผ่านฤดูหนาวแรกไปแล้ว ในสวนสัตว์จะมีอายุขยั 19 ปี จํานวนของเสื อชนิดนีลด
น้อยลงจากการถูกล่าเพือเอาหนัง รวมทังสัตว์เหยือ เช่น แพะภูเขาซึ งเป็ นอาหารหลักของเสื อดาว
หิมะก็ถูกล่าจนลดจํานวนลง มีการประมาณตัวเลขว่าเสื อดาวหิ มะเหลืออยู่ในป่ าธรรมชาติจาํ นวน
3,000 ตัว

สัตว์ทีมีเท้ากีบ ( Hooves Animals )

สัตว์ชนิดทีส่วนเท้ามีลกั ษณะเป็ นกีบเท้า เราเรียกสัตว์กลุ่มนีว่าสัตว์เท้ากีบ เป็ นกลุม่


สัตว์ทวิี งได้เร็วและเกาะกับพืนผิวไม่ลนไถลื โดยแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มขึนอยู่กบั จํานวนนิวเท้า
ทีมี คือจํานวนเลขคี ( odd – toed ungulate ) ซึงหมายถึงจํานวนนิวเท้า 1 หรือ 3 ทีใช้ใน
การรับนําหนักตัวสัตว์ เช่น ม้าบ้าน ( 1 ) ม้าลาย ( 1 ) สมเสร็จและแรดขาว ( หน้า 3 หลัง
4 ) ในม้าบ้านและม้าลายเคยเป็ นสัตว์ทมีี นิวเท้าจํานวน 3 นิวแต่ในช่วงของการวิวฒ ั นาการกีบ
เท้าได้ลดรูปและหายไป สมเสร็จ ( tapir ) เป็ นสัตว์ทมีี กบี เท้าจํานวนคีชนิดเดียวทีมีถนที ิ อยูใ่ น
ทวีปอเมริกา
สัตว์ทมีี กบี เท้าเป็ นจํานวนเลขคู่ ( even – toed ungulate ) เช่น ฮิปโปโปเตมัส ( 4 )
แอนติโลป ( 2 ) แพะภูเขา ( 2 ) วัวป่า ( 2 ) ซึงการมีกบี เท้าในลักษณะดังกล่าวจะช่วยในการ
รับและกระจายนําหนักของร่างกาย รวมทังช่วยในการยึดเกาะในพืนผิวทีหยาบได้ดี
169

สั ตว์ ทีเคลือนทีในพืนทีแบบภูเขาได้อย่ างปลอดภัย ( Sure – Footed Travelers )


โดยในทีนี จะกล่าวถึงสัตว์ 4 คือ แยค ( Yak ) ลามา (Llama ) วิกนู า ( Vicuna ) และ แพะ
ภูเขา ( Mountain Goat )
จามรี หรือ แยค ( Yak ) มีสายสัมพันธุ์ทางการวิวฒั นาการร่ วมกับวัวป่ า มีแยคอยู่ 2 ชนิดคือ
จามรี ป่า ( Wild Yak ) และ จามรี บา้ น ( Domestic Yak ) มีการกระจายพันธุ์บนภูเขาสูงและทีราบ
ของเอเชียกลาง ลักษณะของร่ างกายเหมาะกับการดํารงชีวิตในพืนทีภูเขาทีมีความสู ง 6,000 เมตร
เหนือจากระดับนําทะเล
จามรี ป่า ( Wild Yak ) มีนาหนั
ํ กประมาณ 1,000 กิโลกรัม ความสู งช่วงไหล่ประมาณ 2
เมตร สภาพร่ างกายต้องปรับให้เหมาะสมกับการหาอาหารทีมีการกระจายตัวในพืนทีราบธิ เบต
โดยจะกินพืชอาหารหลายชนิ ดเป็ นจํานวนมาก เช่น หญ้า พืชล้มลุก ไลเคน เพือให้เพียงพอต่อ
ขนาดร่ างกายทีมีขนาดใหญ่ และเม็ดเลือดแดงมีคุณสมบัติทีช่วยในการดูดซับออกซิ เจนได้ดี เพือ
การดํารงชี วิตในพืนทีสูงทีมีปริ มาณของออกซิ เจนเบาบาง
ข้อมูลที น่ าสนใจ
จามรีเป็ นสัตว์ทีมีเขาโค้งที เจริ ญออกมาทางด้านข้างของหัว มีขนยาวที บริ เวณหน้ าอก
หางและด้านข้างของลําตัวส่วนท้าย

ในปั จจุบนั มีจามรี ป่าเหลืออยู่ในพืนทีราบสู งธิ เบตในจํานวนไม่กีพันตัว แต่มีจามรี บา้ น


( Domestic yak ) ในพืนทีเอเชียกลางอยู่มากถึง 12 ล้านตัว โดยสัตว์ชนิดนี เดินช้า แต่อดทนไม่
เหนือยง่าย มนุษย์จึงนํามาใช้งานเป็ นสัตว์พาหนะแบกสิ งของบนพืนทีภูเขาสู ง ซึ งสามารถแบก
นําหนักบนหลังได้ประมาณ 150 กิโลกรัม

ภาพที 7.6 จามรี ป่าเพศเมียและลูกๆ จะดํารงชีวิตแบบฝูงขนาดเล็กประมาณ 10 – 11 ตัว


ถึงแม้ ว่าจามรี จะเป็ นสัตว์ทีมีขนาดใหญ่แต่สามารถเคลือนทีขึนลง บนทีลาดชันตามภูเขาสูงได้
อย่างคล่องแคล่ว รวมทังการว่ายนําข้ ามแม่นํา
170

ลามา ( Llama ) ลามาเป็ นสัตว์เลียงปศุสัตว์ทีดํารงชีวิตอยู่บนภูเขาสู ง พืนทีทีเหมาะสมกับการ


เลียงลามาเช่น บนเทือกเขาแอนดิส ซึ งอยู่ในพืนทีตอนใต้ของประเทศเปรู จนถึงตะวันตกเฉียง
เหนือของประเทศอาร์เจนตินา ลามาอยู่ในวงศ์ ( family ) เดียวกับอูฐ ลักษณะของลามาคือ มีขน
บนลําตัวยาวแน่น ซึ งสี ขนทีมีเช่น นําตาล ดํา ขาว นักสัตววิทยามีความเชือว่าบรรพบุรุษของลา
มาคือกัวนาโค ( Guanaco ) ซึ งยังคงดํารงชีวิตอยูใ่ นป่ าของทวีปอเมริ กาใต้
ในอดีตลามาถูกใช้งานสําหรับการแบกหามสัมภาระ ซึ งสามารถแบกนําหนักได้ประมาณ 45
กิโลกรัม เดินได้ไกลวันละ 30 กิโลกรัม อาหารทีสัตว์ชนิดนี กินคือใบไม้ของต้นไม้ยืนต้นพุ่มเตีย
และหญ้าแห้งทีเจริ ญในพืนทีภูเขา ในปั จจุบนั ลามาเป็ นสัตว์ปศุสัตว์ทีมีอยู่มากถึง 3 ล้านตัวและ
การใช้งานเป็ นสัตว์ขนสัมภาระลดลง เนืองจากถูกแทนทีด้วยรถยนต์ รถไฟทีขนส่ งได้รวดเร็ วและ
ในปริ มาณทีมากกว่า
วิกูนา ( Vicuna ) เป็ นสัตว์ทีมีสายวิวฒั นาการร่ วมกับลามา มีการกระจายพันธุ์บนเทื อกเขา
แอนดิส ในพืนทีแบบทุ่งหญ้าแห้งแล้ง ทีระดับความสู ง 3,500 - 5,000 เมตรเหนื อระดับนําทะเล
เป็ นสัตว์ทีสามารถเคลือนทีได้อย่างรวดเร็ วและคล่องแคล่ว วิงได้เร็ ว 50 กิโลเมตร/ชัวโมง เป็ น
สัตว์เท้ากีบเพียงชนิดเดียวที มีฟันงอกออกมาอย่างต่อเนื อง ซึ งจะพบได้เฉพาะในหนูเท่านัน ซึ งจะมี
ประโยชน์ในการเคียวหญ้าและพืชล้มลุกทีมีเส้นใยแข็งแห้ง ขนของวิกนู าถูกนําไปใช้ในการทํา
เครื องนุ่งห่ มทีมีมูลค่าสู ง

ภาพที 7.7 (ซ้ าย ) เมือลามาเกิดความรู้ สกึ ว่าถูกคุกคามทําร้ ายใช้ การพ่นนําลายทีมีกลินใส่ศตั รู


ภาพที 7.8 ( ขวา ) วิกนู าเป็ นสัตว์ทีแต่ละตัวจะมีอาณาเขตการหากินและพืนทีนอนของตนเอง

แพะภูเขา ( Mountain Goat ) ขนสี ขาวทีปกคลุมลําตัวทีมีอย่างหนาแน่น มีการกระจายพันธุ์ใน


พืนทีทางตะวันตกของทวีปอเมริ กาเหนือ ทัง 2 เพศจะมีเขาสันโค้งสี ดาํ นําหนักอาจมากถึง 140
กิโลกรัม มีความสามารถในการปี นป่ ายบนภูเขาหินหิ นได้ดี สามารถปี นป่ ายหน้าผาหิ นใน
ระยะทาง 1,500 เมตรได้ในระยะเวลาประมาณ 20 นาที สามารถยืนอยูบ่ นหน้าผาได้เพียงขอให้มี
171

ทีวางเท้าอาหารทีสัตว์ชนิดนี กินเช่น หญ้า ใบไม้ ไลเคน มอส บางครังต้องใช้กีบเท้าตะกุยหิ มะ


เพือหาพืชอาหารทีอยูใ่ ต้หิมะกิน

ภาพที 7.9 ในการประมาณอายุของแพะภูเขาทําได้ โดยการสังเกตรอยหยักบนเขา โดยวงแรกจะ


หมายถึงอายุ 2 ปี รอยหยักต่อไปจะเพิมขึนเมือผ่านฤดูใบไม้ ผลิ

ในฤดูหนาวแพะภูเขาจะอพยพไปยังพืนทีทีระดับความสู งตําลง ทีแพะยังพอทนทานกับ


สภาพอากาศได้ แต่พืนทีดังกล่าวก็มีอุณหภูมิทีตําถึง - 45 องศาเซลเซี ยส มีลมหิ มะทีพัดแรง กอง
หิมะทีทับถมขึนสู ง ลักษณะของขนทีช่วยในการปกป้ องความหนาวเย็นจะมีความเส้นยาวประมาณ
20 เซนติเมตรและขนแบบเส้นเล็กละเอียดที มีอย่างหนาแน่นแซมกับขนเส้นยาว ขนทีช่วยปกป้ อง
ความหนาวเย็นจะหลุดร่ วงไปในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ซึ งในช่วงเวลาดังกล่าวจะเห็นแพะภูเขานังบน
กองหิ มะทีกําลังละลาย

เขาทีสันแหลมจะใช้ เพือการป้ องกันตัว

ขนทีสันเส้ นละเอียดและขึนอย่ างหนาแน่ นเพือช่ วย


ในการปกป้ องความหนาวเย็น

ขนทียาวใต้คางคล้ายเคราจะพบในแพะ
เพศผู้

ขาทีสันจะช่ วยในการทรงตัวเมือ
กีบเท้ าทีมีขนาดเล็กสันจะช่ วยในการเคลือนที เคลือนทีในพืนทีลาดชัน
บนภูเขาหิน
172

แพะภูเขาจะไม่ยืนอยูร่ วมกันเป็ นฝูงเหมือนแกะ แต่ชอบทียืนอยู่เหนือตัวอืนๆ เป็ นระยะ 2.5


เมตร และมีพฤติกรรมหวงพืนทีของตัวเอง ถ้าหากรู ้สึกว่าตัวเองถูกคุกคาม จะหันหน้าเข้าหาหรื อ
หันด้านข้างแล้วโก่งตัวขึนเพือให้ศตั รู เห็นว่าตนเองมีขนาดใหญ่ขึน ซึ งถ้าหากแสดงท่าขู่แล้วยังบุก
รุ กพืนทีอยูจ่ ะใช้การวิงแล้วเอาหัวชน
ฤดูผสมพันธุ์จะอยู่ในช่วงฤดูใบไม้ร่วงหรื อต้นฤดูหนาว ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือน
มิถุนายนจะเป็ นช่วงทีแพะภูเขาเพศเมียออกลูก โดยออกลูกครังละ 1 ตัว แต่ก็มีบางครังทีออก 2 ตัว
ลูกแพะภูเขาจะต้องเริ มฝึ กในการปี นป่ ายบนภูเขาหินตังแต่วนั แรกของชีวิต เมือลูกแพะต้องกินนม
จากแม่หรื อต้องการเรี ยกร้องความสนใจลูกแพะจะทําท่ายกหางขึน ในแพะภูเขาทีอยูใ่ นช่วงอายุวยั
เจริ ญพันธุ์จะมีการทําท่ายกหางเช่นกันแต่เป็ นการแสดงอาการตกใจกลัว

แกะบิกฮอร์ นภูเขา ( Mountain Bighorn Sheep ) หรื ออีกชื อหนึ งคือแกะบิกฮอร์นอเมริ กนั
( American bighorn sheep ) ซึ งพืนที อาศัยอยู่ในระดับความสู งเดียวกับแพะภูเขา ( mountain goat )
แกะภูเขา ( mountain sheep ) ทีมีขนาดใหญ่ทีสุ ดอยู่ในภูเขาพาร์เมียร์ของเทือกเขาหิ มาลัย แกะบิก
ฮอร์นภูเขาที มีถินทีอยู่ในทวีปอเมริ กาเหนื อจะมีนาหนั
ํ ก 140 กิโลกรัม สิ งทีแตกต่างจากแพะคือจะ
มีเขาทีแหลมคม แต่กระโหลกหัวจะมีความแข็งแกร่ งน้อยกว่า แกะภูเขาจะมีเขาทีกลมและมี
กระโหลกทีมีขนาดใหญ่ แตกต่างจากแกะบิกฮอร์ นทะเลทราย ( Desert bighorn sheep ) ทีแกะภูเขา
จะอยู่รวมกันเป็ นฝูงใหญ่ จากหลายๆฝูงมารวมกัน ตัวผูจ้ ะต่อสู้กนั อย่างต่อเนื องยาวนานเพือชิ ง
ความเป็ นจ่าฝูง

แกะภูเขา ( mountain
sheep ) อาศัยอยู่ในพืนที โล่ง
แจ้งใกล้กบั หน้ าผา ส่วน
แพะภูเขา ( mountain goat )
จะอาศัยอยู่บนหน้ าผาโดย
เป็ นจุดที สัตว์ผ้ลู ่าไม่สามารถ
ไล่ล่าติ ดตามได้โดยง่าย

ภาพที 7.10 แกะภูเขา ( mountain sheep )จะเคลือนย้ ายพืนทีมาอยู่ในพืนทีทีมีระดับความสูงที


ตําลง เนืองจากอาหารทีขาดแคลนและลดการแย่งชิงอาหารกับแพะภูเขา ( mountain goat )

แกะบาบารี ( ◌ฺ Barbary sheep ) อยูใ่ นตระกูล ( genus ) ทีต่างจากแกะบิ กฮอร์ นภูเขา


( Mountain Bighorn Sheep ) แกะชนิ ดนี เป็ นที นิยมนํามาจัดแสดงในสวนสัตว์ โดยมีถินที อยูบ่ น
ภูเขาของทวีปแอฟริ กาเหนือ ขนเป็ นสี นาตาลอ่
ํ อนซึ งจะกลมกลืนไปกับสี ของภูเขา
173

การติดตามไล่ ล่าเหยือในหลากหลายภูมปิ ระเทศ ( Hunting in Varied Terrain )


หมาจิงจอกสี แดง ( Red Fox ) เป็ นสมาชิกในวงศ์ ( family ) สุ นขั โดยหมาจิงจอกสี แดงเป็ น
หมาป่ าอีกชนิ ดหนึ งทีมีการแพร่ กระจายมากทีสุ ด สามารถปรับตัวเพือดํารงชีวิตในพืนทีหลายภูมิ
ประเทศรวมทังพืนทีแบบภูเขา การกระจายพันธุ์ของสัตว์ชนิ ดนีคือ อเมริ กาเหนือ ทวีปยุโรปและ
เอเชีย ( Eurasia ) ยังพบในทวีปออสเตรเลียเนื องจากมีผนู้ าํ ไปเลียงในศตวรรษที 19 หมาจิงจอกสี
แดงจะมีสีขนบนลําตัวตังแต่สีแดงอ่อนไปจนถึงสี นาตาล
ํ มีความแตกต่างกันในเรื องของนําหนัก
เช่นชนิดทีมีนาหนั
ํ กน้อยทีสุ ด 3 กิโลกรัมและมีนาหนั ํ กมากขึนในพืนทีทีค่อนไปทางทิศเหนื อที
อาจมากถึง 14 กิโลกรัม
หมาจิงจอกสี แดงเป็ นสัตว์ทีมีความแข็งแรง สามารถวิงไล่เหยือได้ทีความเร็ ว 50 กิโลเมตร/
ชัวโมง เป็ นระยะทางต่อเนืองกันหลายกิโลเมตร กระโดดได้สูง 2 เมตร สามารถว่ายนําในลําธาร
หรื อแม่นาที
ํ มีความเชียวกรากได้ ใช้เวลาในเวลากลางคืนเพือการล่าเหยือและมีประสาทสัมผัสใน
การมองเห็นในเวลากลางคืนได้ดี

ภาพที 7.11 หมาป่ าสีแดงจะนอนในพืนทีเปิ ดโล่ง ยกเว้ นช่วงเลียงลูกจะพักอาศัยในโพรงดิน

หมาจิงจอกสี แดงเป็ นนักล่าที ฉลาดและอดทน ถ้าเหยือหนี เข้าโพรงจะนอนเฝ้ ารอทีปากโพรง


เพือให้เหยือปรากฏตัวอีกครัง มีประสาทการได้ยินทีดี สามารถได้ยินเสี ยงของสัตว์ขนาดเล็กทีอยู่
ใต้หิมะลงไป 60 เซนติเมตร อาหารของสัตว์ชนิ ดนี เช่น หนู นก งู กบ แมลงและผลไม้ การ
กินอาหารจะกินได้มือละประมาณ 450 กรัม ถ้าเหลือจะฝังซากไว้ ซึ งคําศัพท์ทีใช้เรี ยกพฤติกรรม
นีว่า “ cache ” หมาจิงจอกสี แดงจะสามารถล่าเหยือได้เป็ นจํานวนมากในฤดูร้อน และจะขุดขึนมา
กินอีกครังหนึ งในฤดูหนาวทีหาเหยือกินได้ยาก คําศัพท์ทีใช้เรี ยกลูกหมาป่ าคือคําว่า คิท ( kits ) ซึ ง
ลูกหมาจิงจอกสี แดงจะมีการลอกเลียนแบบพฤติกรรมการซ่ อนเหยือ โดยใช้ซากของเหยือทีล่าได้ใน
พืนที
174

วีเซล ( Weasel ) วีเซลและโพลแคท ( polecats ) มีการกระจายพันธุ์ในพืนทีหลายลักษณะ ใน


ทวีปอเมริ กา แอฟริ กาเหนือ ยุโรปและเอเชีย ( Eurasia ) ส่ วนหัวและลําตัวมีลกั ษณะเล็กยาว ขา
สัน ลักษณะของโครงกระดูกและกล้ามเนือจะช่วยให้ร่างกายมีความยืดหยุน่ สู ง ทําให้การเคลือนที
เข้าไปหาสัตว์เหยือในโพรงแคบๆ ได้ วีเซลธรรมดา ( Common Weasel ) และลีสท์วีเซล ( least
weasel ) มีขนาดเล็กกว่าวีเซลส่ วนใหญ่โดยมีนาหนั ํ กเพียง 200 กรัม
ขนทีฝ่ าเท้า ( furred pad ) จะช่วยให้วีเซลวิงได้อย่างรวดเร็ วบนหิ มะ สิ งทีเหมือนกับสัตว์เลียง
ลูกด้วยนํานมขนาดเล็กชนิ ดอืนๆ คือร่ างกายมีอตั ราการเผาผลาญพลังงานในอัตราทีสูง หิ วบ่อย
กินเก่ง ทําให้วีเซลต้องใช้เวลาและพลังงานในปริ มาณมากเพือหาอาหารให้ เพียงพอกับความ
ต้องการ วีเซลกินอาหารในปริ มาณทีเท่ากับนําหนักตัวทุกๆ วัน ซึ งจะกินอาหาร 5 – 10 มือต่อวัน
กินเนือของสัตว์ชนิดอืนเป็ นอาหาร เช่น หนูขนาดเล็ก ( voles ) กระต่าย นก ไข่นก วีเซล
สามารถวิงโดยแบกเอาเหยือทีมีนาหนั ํ กมากกว่าตัวเองได้ถึง 2 เท่าได้ ซึ งเมือเทียบขนาดของ
ร่ างกายแล้ว กล่าวได้ว่าวีเซลมีความแข็งแรงมากกว่าสิ งโต โดยสิ งโตเองไม่สามารถวิงไปพร้อมกับ
แบกเหยือไปด้วยถึงแม้ว่าเหยือจะมีนาหนั ํ กน้อยกว่าครึ งหนึงของสิ งโตก็ตาม

ประสาทการมองในทีมืด
วีเซลจะมีโครงสร้างของลูกนัยตาเหมือนกับสัตว์กินเนื อชนิ ดอืนๆ ที ด้านหลัง
ของจอประสาทตา ( retina ) จะมีเนื อเยือที เรียกว่า เทปตัมลูซิดมั ( taptum lucidum ) ที
ทําหน้ าที สะท้อนแสงกลับไปที เรติ นาที มีเซลรับแสงอยู่ ปริ มาณแสงที เซลรับแสงได้รบั
มากขึน ทําให้สตั ว์ผ้ลู ่าเมือมีแสงมากระทบที ตาจะเกิ ดแสงประกายที ตาขึนซึงจะเห็น
เป็ นแสงสีเขียว

ภาพที 7.12 ( ซ้ าย ) เออร์ มิน ( ermine ) หรือ สโทท ( stoat ) ภาพที 7.13 (ขวา ) โคลินสกีหรื อ
ไซบีเรี ยนวีเซล ( Kolinsky weasel, Siberian weasel ) ทีสีขนลําตัวเป็ นสีนําตาลดํา สีจะจางลง
ในช่วงฤดูหนาวแต่ไม่ถงึ กับเป็ นสีขาว
175

วีเซลชนิ ดทีสามารถพบได้ง่ายในวงศ์ ( family ) วีเซล คือ เออร์มิน ( ermine ) หรื อสโทท


( stoat ) โดยมีการกระจายพันธุ์ในภูเขาและพืนทีราบตําของทวีปอเมริ กาเหนื อ ยุโรป เอเชีย มี
ขนาดร่ างกายใหญ่กว่าวีเซลธรรมดา ( common weasel ) ในฤดูร้อนเออร์มินมีขนตามลําตัวสี
นําตาลดําและขนหน้าท้องเป็ นสี ขาว ในฤดูหนาวสี ขนลําตัวและหางเป็ นสี ขาวยกเว้นส่ วนปลายหาง
เป็ นสี ดาํ ซึ งขนสี ขาวจะช่วยในการพรางตัวในหิ มะและพรางสายตาจากสัตว์ผลู้ ่าเช่น เหยียว นก
เค้าแมว หมาจิงจอกฟอค ( fox ) สิ งทีเออร์มินเหมือนกับวีเซลชนิ ดอืนๆ คือการสร้างโพรงรังใน
ช่องของก้อนหิ น โพรงในท่อนไม้ รังของหนูเดิมหรื อใต้รากไม้ของต้นไม้ขนาดใหญ่
นาก ( otter ) เป็ นสัตว์ทีใช้เวลาในการดํารงชีวิตในนํามากกว่าสมาชิ กทีอยู่ในวงศ์วีเซลชนิ ด
อืนๆ นากมีการกระจายพันธุ์ทวโลกยกเว้
ั นทวีปออสเตรเลียและขัวโลกใต้ ตัวอย่างของสัตว์ในกลุ่ม
นีเช่น นากสุ มาตรา ( Sumatran otter ) มีการกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยอยู่ใน
พืนทีมีลกั ษณะแม่นาและลํ
ํ าธารทีอยู่ใกล้ภูเขา ทะเลสาบในพืนทีราบตํา นากแม่นาอเมริ ํ กนั (
American river otter ) มีการกระจายพันธุ์ในพืนทีอเมริ กาเหนื อ มีนาหนั
ํ กถึง 11 กิโลกรัม
นากเป็ นสัตว์ทีสามารถเคลือนทีบนพืนดินได้เร็ วเท่ากับการเคลือนทีในนํา เหยือทีนากล่าเป็ น
อาหารส่วนใหญ่คือ ปลาและนกนํา ( water fowl ) บางครังพบว่านากจะไล่ปลาเข้าสู่ ริมตลิงแล้วจับ
กิน สาเหตุการลดจํานวนลงของนากเนื องจากพืนทีป่ าถูกทําลาย

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- ระหว่างนิ วของฝ่ าเท้าของนากจะมีพงั พืดที มีประโยชน์ ดาํ รงชีวิตในแหล่งนํา
- หางของนากที มีลกั ษณะยาว แบนจะช่วยในการกํากับทิ ศทางของในขณะที ว่ายนํา
- นิ วของนากส่วนใหญ่จะมีเล็บ ขาหลังจะยาวกว่าขาหน้ า

ภาพที 7.14 ขนจมูกทีริ มฝี ปากบนของนากแม่นําอเมริ กนั จะเป็ นอวัยวะทีช่วยในการจับความ


เคลือนไหวของวัตถุทีอยูใ่ นนําซึงจะช่วยในการหาตําแหน่งของเหยือ
176

แบทเจอร์ ( Badgers ) เป็ นสัตว์ทีเป็ นสมาชิกของวงศ์วีเซล ( weasel family ) ทีดํารงชีวิตใน


โพรงที มีขนาดใหญ่และลึกในภูเขา หรื อใต้ดินในพืนทีราบตํา ถ้ามีสัตว์เข้ามาบุกรุ กทีโพรง แบท
เจอร์จะใช้ลาํ ตัวทีกว้างและแบนขวางทีทางเข้าโพรงและใช้กรงเล็บในการต่อสู ้ ปลายจมูกและปาก
ทียืนยาวออกมา( snout ) จะเป็ นลักษณะของโครงสร้างทีช่วยให้การดมกลินดี การล่าเหยือของ
แบทเจอร์จะใช้การขุดดินไปทีโพรงของเหยือ
ยูเรเซี ยนแบทเจอร์ ( Eurasian badger ) เป็ นแบทเจอร์ทีมีการกระจายพันธุ์ในพืนทีป่ าของยุโรปและ
เอเชีย ( Eurasia ) มีนาหนั
ํ ก 10 – 20 กิโลกรัม อาหารของแบทเจอร์ เช่น สัตว์เลียงลูกด้วยนํานม
ขนาดเล็ก แมลง แมลงปี กแข็ง หอยทาก หนอน รากไม้ ผลไม้
ชนิดทีมีขนาดเล็กลงมา คือ แบทเจอร์ อเมริกนั เหนือ ( North American badger ) โดยจะมี
นําหนักประมาณ 12 กิโลกรัมและอยูต่ ่างจีนสั ( genus ) กับยูเรเซี ยนแบทเจอร์ อาหารทีแบทเจอร์
อเมริ กนั เหนือกินเช่น ซากสัตว์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์ทีล่าแบทเจอร์ชนิ ดนี เป็ นอาหาร
เช่นหมาป่ าโคเอตี นกอินทรี แบทเจอร์วา่ ยนําได้เก่ง ออกล่าเหยือทังกลางวันและกลางคืน

ภาพที 7.15 ถึงแม้ ว่าอเมริ กนั แบทเจอร์ จะผสมพันธุ์ในช่วง


ฤดูใบไม้ ร่วง แต่ไข่ทีได้ รับการผสมจะไม่มีการพัฒนา
จนกว่าจะพ้ นช่วงฤดูหนาวไปแล้ ว การปรับตัวดังกล่าว
เพือให้ ช่วงเวลาทีลูกเกิดอยู่ในช่วงทีมีอาหารอย่างเพียงพอ
ภาพที 7.16 มิงค์เป็ นสัตว์ทีการมองเห็นปลาเมือมองใต้
นําไม่ดีนกั ทําให้ มิงค์ใช้ การมองจากบนบกแล้ วลงดําไป
ในนําเพือจับปลา
177

มิงค์ ( Mink ) อเมริ กนั มิงค์ ( American Mink ) การดํารงชีวิตอยู่บนพืนทีริ มนําและในนํา


โดยอาณาเขตอยูใ่ นช่วงไม่เกิน 50 -100 เมตรจากทะเลสาบหรื อแม่นาํ อาหารทีล่าเป็ นอาหารเช่น
ปลา สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมขนาดเล็ก นก โดยจะล่าเหยือแล้วเก็บไว้ก่อนทีจะกลับมากินภายหลัง
อเมริ กนั มิงค์และยูเรเซี ยนมิงค์เดิมสัตว์ทงสองชนิ
ั ดจํานวนในธรรมชาติลดลง เนื องจากถูกล่าเพือใช้
หนังไปทําเครื องนุ่งห่ ม แต่ในปัจจุบนั การล่าในลักษณะดังกล่าวลดลง เนื องจากสัตว์ทงสองชนิ ั ด
ดังกล่าวกฎหมายให้การคุม้ ครอง แต่กย็ งั ถูกมนุษย์ลา่ ด้วยสาเหตุเข้าไปกินสัตว์เลียงในบ้าน
โดยเฉพาะไก่

นักขุดโพรงแห่ งภูเขา ( Burrowers in the Mountains )


พิกาส ( Pikas ) สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมขนาดเล็ก มีขนาดใกล้เคียงกับหนูตะเภา ดํารงชีวิต
ในโพรงดินในภูเขาทีมีระดับความสู งมากกว่า 6,000 เมตรเหนื อระดับนําทะเล ในทวีปอเมริ กา
เหนือและพืนทีต่อเนื องระหว่างยูโรปและเอเชีย ซึ งสัตว์ผลู ้ ่าทีล่าพิกาสเป็ นอาหารเช่น หมาจิงจอก
( foxes )และวีเซล พิกาสทีดํารงชีวิตในพืนทีภูเขาหิ นจะมีพฤติกรรมการส่ งเสี ยงคล้ายเสี ยงเห่า เพือ
การเตือนภัยจากเหยียวหรื อหมาป่ าโคเอตี
มาร์ มอท ( Marmot ) จัดเป็ นกระรอกขนาดใหญ่ในวงศ์หนู ( family rodent ) มีสาย
พันธุกรรมใกล้เคียงกับแพรี ด็อค ซึ งดํารงชีวิตด้วยการขุดโพรงในภูเขาในพืนทีทวีปอเมริ กา ทวีป
ยุโรปและเอเชีย ฮอรี ยม์ าร์มอท ( hoary marmot ) มีหางเป็ นพู่ มีการกระจายพันธุ์ในพืนที
ภาคเหนื อของประเทศแคนาดาและรัฐอลาสกาของประเทศสหรัฐอเมริ กา

ภาพที 7.17 ( ซ้ าย ) ในฤดูใบไม้ ผลิฮอรี ย์มาร์ มอทจะออกจากการจําศีล ภาพที 7.18 ( ภาพขวา )


พิกาสกําลังนังอยู่บนก้ อนหินในภาพกําลังส่งเสียงร้ องเพือหาคู่
178

อัลไพน์ มาร์ มอท ( Alpine marmot ) มีการกระจายพันธุ์บริ เวณตอนกลางของทวีปยุโรปจนถึง


ไซบีเรี ย อยูร่ วมกันโดยเกิดจากหลาย ๆ กลุ่มมารวมกันเป็ นฝูงขนาดใหญ่ ( colony ) และลักษณะ
โพรงดินมีความลึกถึง 6 เมตรและยาวถึง 60 เมตร แตกต่างจากพิกาสโดยมาร์ มอทมีพฤติกรรม
การจําศีลในฤดูหนาวซึ งบางช่วงเวลาจะยาวนานถึง 9 เดือน การเตรี ยมตัวสําหรับการจําศีลที
ยาวนานโดยการกินอาหารในปริ มาณมากเช่นใบหญ้าและพืชใบเขียวชนิดอืนๆ และเก็บสะสม
ไขมันในร่ างกายโดยทีพบว่านําหนักจะเพิมขึนถึงร้อยละ 20
มาร์ มอทอีกชนิ ดหนึ งทีมีการกระจายพันธุใ์ นประเทศสหรัฐอเมริ กาคือ วูดชูค (
Woodchuck ) หรื ออีกชื อหนึงคือ กราวด์ฮอค ( Groundhog ) ลักษณะถินทีอยูข่ องวูดชูคคือภูเขา
และพืนทีเกษตรกรรมทีอยู่ในทีราบระหว่างภูเขา แตกต่างจากมาร์มอทชนิดอืนๆทีวูดชูคจะอยูเ่ ป็ น
ฝูงของตนเอง จะไม่มารวมกันเป็ นโคโลนี

เหล่ านกแห่ งขุนเขา ( Bird of the Mountains )


ตัวอย่างของนกทีมีถินทีอยู่ในภูเขาเช่น อินทรี หวั ล้าน ( bald eagle ) อินทรี ทอง ( golden
Eagle ) เหยียว ไก่ฟ้า นกกระทา อีกา ซึ งนกที กล่าวมานียังอาศัยในพืนทีตําลงไปด้วย

ภาพที 7.19 นกอินทรี หวั ล้ าน มักบินไล่ลา่ เหยียวออสเปรย์หรื อนกนางนวลเพือเป็ นอาหาร


ภาพที 7.20 เป็ นช่วงเวลาหลายร้ อยปี แล้ วทีหลายแห่งในโลกมีการฝึ กเหยียวพรี รีกริ นให้ ลา่ เหยือ
ภายใต้ การควบคุมของมนุษย์

นกอินทรี ( Eagle ) นกอินทรี ทอง( golden eagle ) และนกอินทรี หวั ล้าน ( bald eagle ) เป็ น
กลุ่มนกทีเรี ยกว่า นกล่าเหยือ ( bird of prey ) หรื ออีกชือหนึ งคือ raptors
นกอินทรี หวั ล้านเป็ นนกประจําชาติของประเทศสหรัฐอเมริ กา ลักษณะของนกชนิดนีคือขน
สี ขาวเหมือนหิ มะทีหัว คอ หาง ความยาวจากหัวถึงปลายหาง 75 เซ็นติเมตร ความยาวเมือกาง
179

ปี กเต็มที 2.5 เมตร เพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้ อาหารหลักคือปลา รวมทังนกทีหากินใกล้


ทะเลและซากสัตว์ สร้างรังบนต้นไม้ใกล้ทะเลหรื อทะเลสาบทีอยู่ใกล้ภูเขา
สาเหตุการลดจํานวนลงของนกอินทรี หวั ล้าน เนื องจากพืนทีป่ าถูกทําลายและสารพิษจากยา
ฆ่าแมลง หลังจากทีได้มีการห้ามใช้ยาฆ่าแมลงทีมีผลต่อนกชนิ ดนีแล้ว มีผลให้ประชากรของนก
ชนิดนีเพิมจํานวนขึนอย่างช้า ๆ ในปี พ.ศ 2537 ( คศ. 1994 ) มีการประมาณกันว่ามีนกชนิดนีทีจับ
คู่ผสมพันธุ์กว่า 4,000 คู่ ในประเทศสหรัฐอเมริ กา
เหยียว ( Falcon ) นกในกลุ่มนกเหยียวเป็ นนกล่าเหยือทีมีขนาดเล็กกว่านกอินทรี นกเหยียวพรี รี
กริ น ( Peregrine Falcon ) มีขนาดใหญ่เท่ากับอีกาขนาดใหญ่ พบในพืนทีทัวโลกยกเว้นขัวโลกใต้
( Antartica ) เป็ นนกทีบินได้อย่างรวดเร็ ว โดยเหยือที ล่าคือนกขนาดเล็ก จะใช้การบินไล่ล่ากลาง
อากาศ

ราเวน ( Ravens ) มักเกิดความสบสนว่าคือ อีกาเนื องจากมีขนสี ดาํ ทังตัวเช่นเดียวกัน แต่ราเวนมี


ขนาดใหญ่กว่าและแข็งแรงมากกว่า ความยาวของปี กเมือกางปี กออกจะยาว 1.25 เมตร ท่าทาง
การเกียวพาราสี คือการบินทิงดิงจาดทีสู งลงล่างอย่างรวดเร็ว ซึ งหากเป็ นทีพึงใจของนกเพศเมีย นก
ทังสองตัวจะจับคู่ผสมพันธุ์กนั ตลอดช่วงอายุขยั
แคลิ ฟอร์เนี ยน คอนดอร์ ( The Californian Condor )
เมือแคลิฟอร์เนียน คอนดอร์บนิ ร่อนในอากาศ เป็ นภาพทีสวยงามน่าประทับใจ เมือนก
ชนิดนีกางปี กออกจะมีความยาวเกือบ 3 เมตร ถ้าใครไม่เคยเห็นภาพนีมาก่อนอาจคิดว่า
เป็ นเครืองบินกําลังบินอยู่ นอกจากนันยังเป็ นนกทีบินได้ทมีี นําหนักมากทีสุดถึง 11 กิโลกรัม
ขนส่วนใหญ่เป็ นสีดาํ ยกเว้นส่วนหัว คอและเท้าทีเป็ นหนังสีชมพู

จากหลักฐานฟอสซิลบอกว่าการกระจายพันธุข์ องแคลิฟอร์เนียคอนดอร์พบตังแต่
ตะวันตกของประเทศแคนาดาไปจนถึงตะวันออกของรัฐฟลอลิดาของประเทสสหรัฐอเมริกา
180

ในช่วงปี พ.ศ. 2483 การกระจายพันธุข์ องลดลงเหลือเพียงพืนทีบริเวณภูเขาแห่งหนึงในรัฐ


แคลิฟอร์เนีย สาเหตุการลดลงของนกชนิดนีเนืองจากพืนทีทีเคยปลูกผักและผลไม้เปลียนมา
เป็ นฟาร์มเลียงวัวและแกะ ทําให้คอนดอร์มพี นที
ื หาอาหารลดลง ซากสัตว์ทตายมี ี การตกค้าง
ของสารเคมีและสายไฟฟ้าก็มาเป็ นสาเหตุรว่ มทีทําให้ประชากรนกลดลง จนกระทังถูกจัดเป็ น
สัตว์ใกล้สญ
ู พันธุ์
ในปี พ.ศ. 2529 ได้มสี วนสัตว์ 2 แห่งคือ สวนสัตว์ลอสเอนเจอลิส ( Loa Angeles
Zoo ) และ แซนดิเอโกไวลด์เอนิมอนพาร์ค ( San Diego Wild Animal park ) ได้รบั การ
อนุญาตจากศาลให้ทาํ การนํานกทีเหลืออยูใ่ นธรรมชาติ มาทําการเลียงและศึกษาวิจยั เพือให้นก
สามารถขยายพันธุใ์ นสภาพกรงเลียงได้ โดยมีเป้าหมายทีจะรักษาและฟืนฟูประชากรนก ถ้า
หากมีจาํ นวนนกทีมากเพียงพอจะมีการนํานกทีเพาะพันธุไ์ ด้นีปล่อยคืนสูป่ า่ ธรรมชาติ
แคลิฟอร์เนียนคอนดอร์วางไข่ครังละ 1 ใบ ถ้าหากมีการหยิบไข่ออกจากรังแม่นกจะ
มีการวางไข่ทดแทน สวนสัตว์ตอ้ งการจะเพิมจํานวนไข่ในฤดูผสมพันธุ์ให้มากยิงขึน ด้วยการ
ี บออกจากรัง ทําการฟกั ในตูฟ้ กั แต่ขบวนการเลียงลูกนกทีเกิดจากตูฟ้ กั ต้องเลียงดู
นําไข่ทหยิ
ในลักษณะทีต้องป้องกันไม่ให้ลกู นกเกิดพฤติกรรมฝงใจกั
ั บผูเ้ ลียง ซึงเป็ นภาพทีแสดงผูเ้ ลียงใน
สวนสัตว์ใช้หุ่นส่วนหัวของนกทีโตเต็มวัยเพือใช้เป็ นอุปกรณ์ร่วมในการป้อนอาหารลูกนก
ประชากรในกรงเลียงในปี พ.ศ. 2528 มีจาํ นวน 15 ตัวและได้เพิมเป็ น 89 ตัวในปี พ.ศ.
2537 ซึงมีการนําแคลิฟอร์เนียลคอนดอร์ไปปล่อยคืนสู่พนที ื ธรรมชาติที Southern California
Sespe Condor Sanctuary
181

บทที 8
สัตว์แห่งพืนทีนําแข็งและทุนดรา
Animal of the Ice and Tundra
สัตว์ทีดํารงชีวิตในพืนทีหนาวเย็นทีขัวโลกเหนื อและใต้ เช่น นกเพนกวิน หมี
ขัวโลก จะมีขนาดร่างกายทีใหญ่ มีขนปกคลุมร่างกายและชันไขมันใต้ผิวหนัง
ทีหนา สัตว์เหล่านี ทีอยู่ในพืนทีขัวโลก ไม่ได้อยู่ในพืนทีทีเป็ นนําแข็ง
ตลอดเวลา เนื องจากภูมิอากาศและภูมิประเทศจะมีความแตกต่างกันไปตาม
เส้นละติ จตู โดยมีลกั ษณะของพืนทีเป็ นนําแข็งจนกระทังทุ่งของมอส และทุ่ง
หญ้า

ส่วนแสดงในสวนสัตว์ทีจะต้องนําสัตว์จากพืนทีหนาวเย็นแบบขัวโลกไปจัด
แสดงจะต้องมีการจําลองทังภูมิประเทศและภูมิอากาศให้ใกล้เคียงถิ นทีอยู่เดิ ม
182

ภูมศิ าสตร์ ของขัวโลก ( Polar Geography )

พืนที ที อยูใ่ กล้ขวโลกเหนื


ั อ ( ซ้าย )และขัวโลกใต้มากที สุด ( ขวา ) จะเป็ นพืนที ถูกปกคลุม
ด้วยนําแข็งและหิ มะ ส่วนพืนที ชายขอบทวีปที อยู่ชิดกับขัวโลกเหนื อมากที สุดโดยจะมี
มหาสมุทรอาร์คติ คขวางกันอยู่จะเรียกพืนที นี ว่าทุนดรา ( Tundra ) ซึงเขตทุนดรานี มีอยู่
ใน 3 ทวีปทังเอเชีย ยุโรปและอเมริ กาเหนื อ มีฤดูหนาวที ยาวนานถึง 10 เดือน ในฤดู
ร้อนจะมีความอบอุ่นเพียงพอที พืชบางชนิ ดสามารถเจริ ญเติ บโตได้

การปรับตัวเพือดํารงชีวิตในพืนทีหนาวเย็นจัด ( Adapting to a harsh Environment )


พืนทีขัวโลกเหนือ ( the artic ) เป็ นระบบนิเวศทีมีอายุนอ้ ยทีสุ ด คือมีหลักฐานว่ามีพืชและสัตว์
สามารถอาศัยอยู่ได้เมือประมาณ 10,000 ปี ทีผ่านมา ในพืนทีขัวโลกเหนือมีสตั ว์ทีดํารงชีวิตในนํา
ทะเลใต้แผ่นนําแข็งทีมีความหนา 21.5 เมตร โดยแผ่นนําแข็งทีกว้างใหญ่นีกินอาณาเขตมาทางใต้
จนถึงแผ่นดินของรัฐอลาสก้า ประเทศแคนาดาและเกาะกรี นแลนด์ มีแผ่นนําแข็งปกคลุมต่อเนื อง
ไปจนถึงเขตทรุ นดราทําให้มองพืนทีนําแข็งกว้างใหญ่นีเป็ นแผ่นดิน ซึ งพืนทีทรุ นดราเป็ นพืนทีทีมี
ต้นไม้ตน้ เตียและไม้พุ่มทีถูกปกคลุมด้วยหิ มะตลอดทังปี

ภาพที 8.1 หมีขวโลกเป็


ั นสัตว์ทีดํารงชีวิตตัวเดียวซึงจะเป็ นการดําเนินชีวิตทีหลีกเลียงการแย่ง
อาหารกันและกัน
183

ในพืนทีทรุ นด้า ( ยกเว้นพืนทีส่ วนกรี นแลนด์ (Greenland ) ) จะมีช่วงฤดูร้อนเป็ นระยะเวลา


สันๆ ในช่วงเวลาดังกล่าวเป็ นช่วงเวลาทีมีดอกไม้บานและแมลงผสมพันธุ์ มีนกบางชนิ ดทีอพยพ
เข้าในพืนทีเช่น นกแลบแลนด์ ลองสเปอร์ ( Lapland longspurs ) ทีอพยพจากพืนทีตอนใต้ขึนมา
เพือทํารังวางไข่ ถึงแม้วา่ จะเป็ นช่วงฤดูร้อนนําแข็งใต้ผิวดินประมาณ 1-2 นิวยังคงสภาพไม่ละลาย
เป็ นนํา
สัตว์ทีอาศัยอยู่ในพืนทีขัวโลกเหนื อนี จะมีความจําเพาะกับชนิดอาหาร เช่น หมีขวโลกจะกิ
ั น
ไขมันและอวัยวะภายในของแมวนําทีหมีล่าได้ ส่ วนทีเหลือจะเป็ นอาหารของหมาจิงจอก ( fox )
และนกชายทะเล มัสออคเซน ( musk oxen ) จะเป็ นผูใ้ ช้ปลายจมูกเพือกวาดเอานําแข็งออกเพือกิน
หญ้าและพืชอืนๆ ซึ งจะเป็ นผลดีต่อกระต่ายแฮร์และไก่ป่าทาร์มิแกน ( ptarmigan )

ขัวโลกใต้ ( Antarctica ) พืนทีทีว่าหนาวเย็นของขัวโลกเหนือ ก็ยงั หนาวน้อยกว่าพืนทีในขัวโลก


ใต้ โดยพืนทีขัวโลกใต้เป็ นพืนดินถูกปกคลุมด้วยภูเขานําแข็ง ( ice cap ) ทีหนาตัวถึง 1.6
กิโลเมตรและปกคลุมอีกชันด้วยหิ มะทีหนา 90 เมตร ในช่วงฤดูหนาวจะมีอุณหภูมิ - 70 องศาฟา
เรนไฮต์และมีช่วงพายุหิมะทีพัดติดต่อกันนานหลายวัน
เป็ นพืนทีทีไม่มีมนุษย์ตงหลั
ั กแหล่งอาศัย มีเพียงนักวิทยาศาสตร์ ทีทํางานวิจยั ไม่มีสตั ว์เลียง
ลูกด้วยนํานมอาศัยอยูบ่ นบกอาศัยอยู่ ในทะเลจะมีปลาและสัตว์ทะเลหลายชนิด เช่น แมวนํา วาฬ
อาศัยอยูไ่ ด้ เนืองจากมีกระแสนําอุ่นทีมีอาหารอุดมสมบูรณ์ไหลผ่านเข้ามา มีฝูงนกทะเลทีอาศัยอยู่
ตามหน้าผาตามริ มฝังทะเลในพืนทีทีไม่มีหิมะ
มีสถานี วิจยั มากกว่า 30 สถานี ทีตังอยู่ในพืนที ขัวโลกใต้เพือทํางานวิ จยั เรืองพฤติ กรรม
สัตว์ สิ งแวดล้อม ธรณี วิทยา สมุทรศาสตร์ อุทกศาสตร์

ภาพที 8.2 นกเพนกวินชินสเตรบจทีมีการกระจายพันธุ์เฉพาะพืนทีขัวโลกใต้


184

ยักษ์ใหญ่ แห่ งขัวโลกเหนือ ( Giants of the North )


สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีมีขนาดร่ างกายใหญ่จะมีประสิ ทธิ ภาพในด้านการรักษาเก็บความ
ร้อนในร่ างกายได้ดีกว่าสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมที มีร่างกายขนาดเล็ก ในพืนทีแบบขัวโลกทีมีความ
หนาวเย็นการมีขนาดร่ างกายใหญ่จึงเป็ นผลดี ตัวอย่างของสัตว์ทีมีสามารถดํารงชีวิตในขัวโลกได้
เป็ นอย่างดีคือ หมีขวโลกและมั
ั สออคเซน

ขนทีมีคุณสมบัตไิ ม่ เปี ยกนําและไขมันใต้ ชัน มีใบหูขนาดเล็กเพือช่ วยลดการ


ผิวหนังทีช่ วยในการรักษาความร้ อนของร่ างกาย สู ญเสียความร้ อน

มีประสาทการรับกลินทีดีเพือ
ช่ วยในการล่าเหยือ
ขนทีปกคลุมเท้ าและ
ระหว่ างนิวเท้ ามี
พังผืดทีช่ วยในการ มีกรงเล็บทีแหลมคมทีช่ วยในการจับเกาะบนพืน
ว่ ายนํา หิมะในช่ วงการล่าแมวนํา

หมีขัวโลก ( Polar Bear ) มีสายพันธุกรรมใกล้เคียงกับหมีสีนาตาล ํ ( brown bear ) แต่ในปัจจุบนั


นักอนุกรมวิธานได้แบ่งหมีขวโลกอยู ั ่อีกตระกูล ( genus ) หนึ งต่างหาก เคยมีเหตุการณ์ในสวน
สัตว์ทีหมีสีนาตาลผสมพั
ํ นธุ์กบั หมีขวโลก
ั และพบว่าหมีพนั ธุ์ลกู ผสมทีเป็ นเพศเมียนันสามารถให้
ลูกได้
หมีขาวมีการกระจายพันธุ์ในบริ เวณขัวโลกเหนื อเท่านัน จัดเป็ นสัตว์กินเนื อทีมีขนาดใหญ่
ทีสุ ดในซี กโลกส่วนนี หมีชนิดนี อาศัยอยู่บนแผ่นนําแข็งกว้างใหญ่ใกล้กบั ชายฝังทะเล มีชนไขมั ั น
ทีหนา 5 - 10 เซนติเมตรเพือต่อสู้กบั ความหนาวเย็น ในช่วงเวลาทีหนาวเย็นทีสุ ดจะใช้การการขด
ตัวเหมือนหมาลากเลือน ( curl up like sled dog ) และหันหลังสู ้กบั พายุหรื อการขุดโพรงหิ มะอยู่
นําหนักเมือโตเต็มประมาณ 363 กิโลกรัม ในช่วงฤดูร้อนก้อนนําแข็งจะมีการละลายมากขึน
บังคับให้หมีมีการเคลือนย้ายถินลงมาทางทิศใต้ของพืนทีการกระจายพันธุ์ของตนเอง และเข้ามา
ใกล้พืนทีชายฝังทะเลมากขึน อาหารทีกินจะเปลียนมาเป็ นนก หนู ซากสัตว์ทาํ ให้เป็ นช่วงเวลาที
นําหนักจะลดลง
เป็ นสัตว์ผลู ้ ่าทีมีความอดทน โดยมักพบว่าหมีขวโลกจะใช้
ั วิธีการรอในจุดทีแมวนําขึนมาจาก
นําทะเลมาบนแผ่นนําแข็ง รวมทังใช้การไล่ล่าแมวนําบนแผ่นนําแข็ง มีประสาทสัมผัสการดมกลิน
ทีดีสามารถรู้ตาํ แหน่งของโพรงทีแมวนําถึงแม้ว่าจะถูกปกคลุมด้วยหิ มะทีมีความหนา 1 เมตร อุง้
185

เท้ากว้างอาจมากถึง 30 เซนติเมตรช่วยการเดินในนําแข็งทีบางได้ หมีขาวเป็ นสัตว์ทีมีการเดิน


ทางไกลมากและบางครังใช้วิธีการนังบนก้อนนําแข็งและลอยตามนําไป
หมีขวโลกจะกิ
ั นอาหารเนือสัตว์มากกว่าหมีชนิ ดอืนๆ ฟันกรามจะมีลกั ษณะแหลมคมเพือ
ช่วยในการฉี กเนื อ มีกรงเล็บทีโค้งและมีความคมเหมือนเข็มเพือใช้ในการตะปบเหยือ ทางเดิน
อาหารจะมีเอนไซน์และแบคทีเรี ยทีใช้เพือย่อยเนื อ การเพาะอาหารมีความจุมากถึง 70 กิโลกรัม
หมีขวโลกเป็
ั นหมีทีมีการใช้ชีวิตในนํามากกว่าหมีชนิดอืนๆ มีบางครังทีดํานําลงไปลึกถึง
ท้องทะเลเพือหาหอยกิน ช่วงเวลาทีหมีดาํ นํารู จมูกจะปิ ด ใบหูจะลีบหลู่ลง ตาจะมีแผ่นบางๆ มา
ปิ ด ใช้ขาหลังเป็ นหางเสื อ ใช้ขาหน้าเป็ นตัวตะกุยนําเพือให้เกิดการเคลือนที ความเร็ วในการ
เคลือนทีบนผิวนําประมาณ 30 กิโลเมตรต่อชัวโมงหรื อมากกว่านัน

ภาพที 8.3 ลูกของหมีขวโลกจะอยู


ั ่กบั แม่ขนกระทังอายุ 2 - 5 ปี แม่จะปกป้องลูกด้ วยการ
หลีกเลียงการพบกับหมีเพศผู้ทีจะทําร้ ายลูกหมีได้

ในช่วงเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน หมีขวโลกเพศเมี
ั ยทีตังท้องจะขุดโพรงหิ มะ โดยจะมี
ลักษณะเป็ นช่องและส่ วนทีเป็ นโพรงรู ปไข่ทีมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 เมตร ซึ งโพรงในลักษณะ
ดังกล่าวจะช่วยรักษาความร้อนในร่ างกายของหมีขวโลก ั และเป็ นฉนวนกันความหนาวเย็นได้
ในช่วงอีก 9 เดือนต่อมาแม่หมีจึงจะคลอดลูก เมือลูกหมีอายุได้ประมาณ 3 เดือน ลูกหมีจึงจะ
ออกจากโพรงหิ มะพร้อมแม่ และเดินติดตามแม่ไปทุกที เกาะบนหลังแม่ในช่วงทีแม่วา่ ยนําใน
ทะเล

มัสออคเซน ( Musk oxen ) ด้วยลักษณะที มีตะโหนกทีบริ เวณหัวไหล่และมีขนทียาวหยาบ เมือ


มองจากระยะไกลอาจจะคิดว่าสัตว์ชนิ ดนี เป็ นเครื อญาติกบั วัวป่ าไบซัน นําหนักอาจมากถึง 295
กิโลกรัม มีผเู ้ ปรี ยบเทียบว่าหากนําขนเส้นเล็กทีขึนแน่นใกล้ผิวหนังมาทําเสื อกันหนาวจะอุ่นกว่า
ขนแกะถึง 8 เท่า เมือรวมกับไขมันใต้ผิวหนังจะช่วยให้มสั ออคเซนสามารถคงระดับอุณหภูมิ
186

ร่ างกายได้ที 38 องศาเซลเซี ยส แม้จะอยู่ในสภาพอากาศทีหนาวถึง - 40 องศาเซลเซี ยส ในช่วง


ฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนจะมีการผลัดขนเส้นเล็กสันใกล้ชิดผิวหนังออก เป็ นสัตว์ทีอุณภูมิร่างกาย
เพิมสู งขึนได้ง่ายในช่วงอากาศอบอุ่น ซึ งมัสออคเซนจะใช้วิธีกินหิ มะเพือลดความร้อน
ในช่วงฤดูร้อนมัสออคเซนจะอยูร่ วมกันเป็ นฝูงเพือออกกินหญ้ามีสมาชิก 10 ตัวหรื อน้อย
กว่านัน แต่ถา้ เป็ นช่วงฤดูหนาวสมาชิ กในฝูงจะเพิมเป็ น 100 ตัว ในช่วงฤดูหนาวจะกินใบไม้เช่น
ต้นวิลโล มีลกั ษณะกีบเท้าทีช่วยในการเคลือนทีบนก้อนหิ นและพืนทีที เป็ นนําแข็งโดยมีอุง้ กีบเป็ น
ลักษณะเว้าเข้าด้านในและขอบกีบจะมีความคม
ในช่วงฤดูร้อนมัสออดเซนเพศผูจ้ ะต่อสู้กนั เพือครอบครองเพศเมีย โดยจะวิงเข้าหากันจาก
ระยะ 6 – 9 เมตรเพือใช้หวั และเขากระแทกกัน เมือมีสัตว์ผลู ้ ่าเช่นหมาป่ าเข้ามาจะล่าสมาชิกในฝูง
มัสออดเซนเพศผูจ้ ะเดินเป็ นวงกลมล้อมรอบสมาชิกฝูงเพศเมียและลูกไว้

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- มัสออคเซนทังเพศผู้และเมียจะมีเขา โดยเขามีลักษณะแบน โค้ งลงและโค้ งออก
ด้ านข้ างของหัว
- ขนชันนอก ( guard hair ) จะมีลักษณะยาวหยาบสีนําตาลดํามีความยาวถึง 60
เซนติเมตร

ภาพที 8.4 ในช่วงฤดูผสมพันธุ์มสั ออคเพศผู้จะมีการปล่อยสารกลินจากต่อมใต้ ตา อาหารทีมัส


ออคกินเป็ นพืชหลายชนิด พืนทีทีมัสออคเลือกอยู่จะเป็ นพืนทีทีมีหิมะปกคลุมบางๆ

การดํารงชีวติ ในสภาพอากาศทีหนาวเย็นจัด ( Survival in a Frozen Land )


กระต่ายแฮร์ทีอาศัยอยู่พืนทีแบบทุนดราจะเป็ นตัวอย่างทีดีในการปรับตัวของสัตว์ขนาดเล็ก
ในสภาพอากาศทีหนาวเย็นใกล้ขวโลกเหนื
ั อ ในช่วงฤดูร้อนกระต่ายแฮร์จะกินหญ้า ในช่วงฤดู
หนาวจะละขุดโพรงดินใต้ตน้ วิลโล ( willow ) ต้นเบิร์ช ( birch ) ต้นฮีทเทอร์ ( heather )
187

หมาป่ าขัวโลกเหนือ ( arctic fox ) อาศัยอยู่ในพืนทีทุนดราและนําแข็งซึ งการหาอาหารจะใช้


การกินซากสัตว์และล่าสัตว์ โดยจะติดตามหมีขวโลกเหนื
ั อบนพืนทีนําแข็งเพือคอยกินซากแมวนํา
ในพืนทีแบบทุนดราจะล่าสัตว์เช่นหนูเลมมิงน์ ( lemmings ) กระต่ายแฮร์และนกทีทํารังบนพืนดิน

กระต่ ายแฮร์ ขัวโลกเหนือ ( Arctic hare )


เป็ นสัตว์ทีมีการกระจายพันธุ์ในรัฐอลาสก้า ประเทศแคนาดา กลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย
และไซบีเรี ย มีพฤติกรรมการอยูใ่ นโพรงดินในพืนทีทุนดราของขัวโลกเหนื อ สิ งทีเหมือนกับ
กระต่ายแฮร์ชนิดอืนคือ ทีฝ่ าเท้าจะมีขนขึนแน่น แต่มีขนาดตัวใหญ่กว่าและรู ปร่ างโดยรวมกลม
กว่า และเมือเปรี ยบเทียบขนาดหูกบั กระต่ายแฮร์ในพืนทีเขตอบอุ่นจะพบว่ามีขนาดใบหูเล็กกว่า
ซึงจะมีผลดีในการรักษาความร้อนของร่ างกายไว้
กระต่ายแฮร์ขวโลกเหนื
ั อทีมีการกระจายพันธุ์ในพืนทีทางตอนเหนือซึ งมีความหนาวเย็น
มากกว่าจะมีขนสี ขาวตลอดทังปี กระต่ายแฮร์ขวโลกเหนื
ั อทีมีการกระจายพันธุ์ในพืนทีทางตอนใต้
สี ขนเป็ นสี นาตาลในฤดู
ํ ร้อนและเป็ นสี ขาวในฤดูหนาว กระต่ายแฮร์ไอริ ช ( Irish hare ) จะมีสีขน
นําตาลแดงตลอดทังปี กระต่ายแฮร์ขวโลกเหนื ั อมีอตั ราการให้ลกู ตําโดยจะมีการออกลูกเพียงหนึ ง
ครอกในแต่ละปี และจะมีจาํ นวนลูกต่อครอก 2 – 5 ตัว ในช่วงฤดูร้อนหรื อใบไม้ผลิ

ภาพที 8.5 และ 8.6 กระต่ายแฮร์ ขวโลก


ั มีความยาวรวมของร่ างกายประมาณ 60 เซนติเมตร
และมีนําหนักมากถึง 5 กิโลกรัม โดยส่วนใหญ่จะดํารงชีวิตแบบอยู่ตวั เดียว

หมาจิงจอกฟอคอาร์ คติค ( Arctic Fox ) หรื ออีกชือคือหมาจิงจอกฟอคสี นาเงิ


ํ น ( Blue Fox ) เป็ น
หมาทีมีขนตามลําตัวขึนอย่างหนาแน่นและอ่อนนิ ม เมือเปรี ยบเทียบกับหมาหมาจิงจอกฟอคที อยู่
ในเขตอบอุน่ แล้ว หมาหมาจิงจอกฟอคชนิดนีจะดูอว้ นกว่า หางสันกว่าและใบหน้าค่อนข้างกลม
188

ซึงลักษณะดังกล่าวเป็ นการปรับตัวเพือช่วยในการรักษาระดับของอุณหภูมิของร่ างกายและป้ องกัน


เกล็ดหิ มะกัดตามส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย
กิจกรรมต่างๆ เกิดขึนในช่วงเวลากลางคืน หมาจิงจอกฟอคอาร์คติคจะเดินทางเป็ นระยะ
ทางไกลเพือหาอาหารผ่านพืนทีนําแข็งและทุนดรา กินทังซากพืช ซากสัตว์และล่าสัตว์เป็ นอาหาร
มีงานวิจยั ทีศึกษาระยะทางการเดินทางพบว่าใน 1 ปี หมาจิงจอกฟอคอาร์คติคเดินทางเป็ นระยะทาง
กว่า 1,500 กิโลเมตร เป็ นหมาป่ าทีนิ สยั ก้าวร้าว ในช่วงที อดอยากมากๆ จะล่าแม้กระทังหมีขวั
โลกหรื อหมาป่ าชนิดอืนๆ มักพบว่าทะเลาะกันเพือแย่งอาหารกัน ถ้าต้องเผชิ ญกับพายุหิมะ พวก
มันจะขุดหิ มะเป็ นโพรงเพือใช้ในการหลบภัย

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
- ขาค่อนข้างสันและฝ่ าเท้าจะมีขนปกคลุม
ในฤดูหนาวขนลําตัวจะเป็ นสีขาวและขนหาง
จะเปลียนเป็ นสีดาํ ส่วนในฤดูร้อนสีขน
ลําตัวเป็ นสีเทาอ่อนหรือบางตัวมีสีนําเงิ นเทา
แทรกเข้ามา ในช่วงทีนําทะเลลดระดับลง
หมาป่ าอาร์คติ คจะมาหากิ นตามริ มฝังทะเล
เนื องจากมีหอยหรือสัตว์ทะเล

หมาป่ าอาร์คติคจะขุดโพรงดินในเขตทรุ นดา แต่จะอยู่ใกล้โพรงเฉพาะช่วงทีเลียงลูกทีเกิด


ใหม่เท่านัน มีบางโพรงดินทีใช้ต่อเนืองกันมาหลายร้อยปี ทําให้มีช่องทางเข้าออกนับสิ บทาง การ
จับคู่ผสมพันธุ์ของหมาป่ าชนิ ดนีจะจับคู่เดิมตลอดช่วงอายุขยั ออกลูกปี ละ 1 ครอกโดยมีลูกครอก
ละ 6 – 11 ตัว ลูกหมาป่ าจะเติบโตอย่างรวดเร็ วและแยกออกไปหากินด้วยตัวเองเมืออายุได้ 1
เดือน

การสร้ างส่ วนแสดงจําลองสิ งแวดล้ อมแบบขัวโลก ( Creating a Polar Environment )


การสร้างส่ วนแสดงเพือจําลองสิ งแวดล้อมแบบขัวโลกในสวนสัตว์ เป็ นงานทีต้องใช้ความรู้
และแนวคิดจากวิศวกร นักวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าทีเลียงสัตว์ สถาปนิ ก โดยมีจุดมุ่งหมายทีจะจําลอง
ธรรมชาติเพือให้สัตว์ยงั สามารถดํารงชีวิตและแสดงพฤติกรรมได้เป็ นปกติ
หมีขวโลกเหนื
ั อ ( Polar bear ) วอรัส ( Warus ) นกเพนกวิน ( Penguin )และแมวนํา ( Seal )
มีความต้องการของลักษณะพืนทีทีแตกต่างกัน ดังนันการสร้างส่ วนแสดงต้องคํานึ งองค์ประกอบ
ทุกองค์ประกอบโดยใช้ขอ้ มูลจากพืนทีถินทีอยูข่ องสัตว์ชนิ ดนัน และใช้ประสบการณ์ของสวนสัตว์
แห่ งอืนทีมีประสบการณ์ในการเลียงแบบส่ วนจัดแสดง เช่น เมือต้องออกแบบพืนทีแบบแอนตาร์
189

คติกสําหรับนกเพนกวิน ปั จจัยทางกายภาพสิ งแวดล้อม จะต้องมีพืนทีสําหรับการผสมพันธุ์ มี


พืนทีเพือการปฏิสัมพันธ์กบั นกตัวอืนๆในฝูง ออกกําลังกาย อุณหภูมิ ความชืนและการระบาย
อากาศ
การควบคุมอุณหภูมิให้อยูใ่ นระดับตําต้องใช้วิศวกรสําหรับเครื องทําความเย็น ( Refrigeration
engineers ) มาช่วยในการออกแบบ การสร้างชายฝังทะเลทีเป็ นก้อนหิ นจะถูกทําขึนโดยการใช้
คอนกรี ตปันเป็ นรู ปตามความต้องการ นําแข็งเกิดจากนําทีไหลผ่านหิ นเทียมทีมีความเย็นและมี
พืนผิวหยาบ

ภาพที 8.7 ส่วนแสดงนกเพนกวิน ( Penguinarium ) ทีสวนสัตว์โลโรปาร์ ค เกาะเทเนริ เฟ แคว้ นคา


นารี ประเทศสเปน

จํานวนของนกเพนกวินต่อฝูงในพืนทีธรรมชาติจะเป็ นส่ วนในการกําหนดในการออกแบบ


ส่วนแสดง ผูเ้ ลียงและนักธรรมชาติวิทยาทีจะต้องคํานวณจํานวนนกต่อตารางฟุตโดยใช้งานวิจยั ที
ได้ทาํ ในพืนทีธรรมชาติ
พืนทีส่ วนแสดงสําหรับนกเพนกวินภายในพืนที แสดงสัตว์ตอ้ งจัดเตรี ยมรังไข่ให้แม่นกออก
ไข่และวางไข่ เตรี ยมวัสดุรองรัง เช่น ก้อนกรวดทีจะต้องนํามาโรยกระจายตามพืน เพือให้นก
เพนกวินได้เลือกก้อนกรวดมาใส่ ในรังไข่ของตนเอง ซึ งมนุษย์อาจจะมองว่าก้อนกรวดแต่ละก้อน
เหมือนกันหมด แต่สาํ หรับนกเพนกวินแล้วก้อนกรวดแต่ละก้อนนันมีความแตกต่างกัน และนกจะ
มีการแย่งก้อนกรวดกัน
190

ในพืนทีขัวโลกช่วงเวลาของแสงทีจะผันแปรไปตามฤดูกาล ช่วงเวลาของแสงจะมีผลต่อ
พฤติกรรมการสื บพันธุ์ของนกเพนกวิน ดังนันส่ วนแสดงทีหวังผลในการผสมพันธุ์ตอ้ งมีขอ้ มูล
เพือการวางแผน การเขียนแบบ การลงทุนและจัดสร้างตามช่วงแสงที เกิดขึนในพืนทีตามธรรมชาติ
ของนกเพนกวิน
นกเพนกวินชอบทีจะดํานําในนําเย็น ชอบว่ายนําและพุ่งตัวจากระดับนําลึกขึนมาทีผิวนํา
ดังนันสระนําควรจะมีขนาดใหญ่ ลึกและนําเย็น จะช่วยกระตุน้ ให้นกเพนกวินแสดงพฤติกรรม
ต่างๆ ในนํา แต่สวนสัตว์ส่วนใหญ่จะใช้นาจื
ํ ดแทนนําทะเล เนืองจากทําความสะอาดง่ายกว่า

ผู้ดาํ รงชีวิตอยู่ทังทะเลและแผ่นนําแข็ง ( Double Live on Ice and in the Sea )


ในพืนทีขัวโลกเหนือและขัวโลกใต้ชนิดสัตว์ทีมีขนาดของร่ างกายใหญ่และมีอยู่จาํ นวนมาก
คือ วอรัส (walruses ) และ แมวนํา ( seal ) โดยสัตว์เหล่านีจะใช้เวลาส่ วนใหญ่ในทะเลเพือการ
หาอาหารกิน ลักษณะของร่ างกายได้ปรับตัวเพือว่ายนํา แต่การเคลือนทีบนพืนดินจะช้ากว่าในนํา
มาก ถึงแม้วา่ บนบกจะเป็ นพืนทีในการผสมพันธุ์และออกลูก
วอรัส ( walus ) เป็ นสัตว์ทีอยูว่ งศ์ ( family ) เดียวกันกับแมวนํา ( seal ) วอรัสมีเพียงชนิด
เดียวและมีการกระจายพันธุ์ในชายฝังทะเลของขัวโลกเหนื อ เมือถึงช่วงอายุสมบูรณ์พนั ธุ์จะมี
นําหนักถึง 900 กิโลกรัม มีความยาวลําตัวรวม 3.5 เมตร หนังทีหนาและเหนียวจะมีความหนาถึง
2.5 เซนติเมตร และมีชนไขมั ั นใต้ผิวหนังทีหนาถึง 10 เซนติเมตร การเคลือนทีในทะเลโดยใช้หวั
ทีมีขนาดใหญ่และมีรูปทรงป้ านช่วยในการผ่านนําแข็งใต้นาํ ถึงแม้วา่ วอรัสจะไม่มีใบหู แต่เป็ น
สัตว์ทีมีประสาทการรับเสี ยงทีดี วอรัสทัง 2 เพศจะมีงาทีโค้งยาว โดยในวอรัสเพศผูว้ ดั ความยาว
ได้ถึง 90 เซนติเมตร งาจะเป็ นสัญลักษณ์ทีช่วยบอกลําดับในฝูง โดยตัวผูท้ ีเป็ นจ่าฝูงจะมีงายาว
ทีสุ ด ประโยชน์ของงาคือช่วยดึงตัวของวอรัสจากนําขึนสู่ ผวิ บนก้อนนําแข็ง ใช้เป็ นอาวุธในการ
ป้ องกันตัว ในฤดูสืบพันธุ์จะใช้งาในการต่อสู ้กนั ระหว่างเพศผู้

ภาพที 8.8 ทีพืนทีส่วนล่างของปลายจมูกวอรัสจะมีขนประมาณ 450 เส้ นทีช่วยในการกวาดโคลน


ทีพืนทะเลเพือช่วยในการหาอาหารคือหอยสองฝา ช่วยในการสะบัดโคลนออกจากริ มฝี ปาก
191

วอรัสสามารถดํานําได้ลึก 90 เมตร เพือหาอาหารทีพืนก้นทะเล เช่น หอยหลายชนิ ด


ปลาหมึก การเคลือนทีไปข้างหน้าจะใช้ครี บหลัง เมืออยู่ทีผิวนําทะเลจะมองเห็นสี ผิวลําตัวเป็ นสี
นําเงินขาว ( bluish – white ) เมือขึนบกและตัวแห้งลงจะเห็นสี ลาํ ตัวเปลียนเป็ นสี นาตาลหลลั
ํ งจาก
ตากแดดเป็ นเวลาหลายชัวโมง ส่ วนวอรัสทีมีอายุนอ้ ยสี ของลําตัวจะดํากว่าวอรัสทีอยูใ่ นช่วงวัย
เจริ ญพันธุ์
ช่วงฤดูหนาวทีเป็ นฤดูผสมพันธุ์ฝงู ของวอรัสเพศผูจ้ ะแข่งขันกันสร้างความสนใจกับวอรัสเพศ
เมียด้วยการส่ งเสี ยงร้อง โดยเสี ยงทีร้องออกมาจะคล้ายเสี ยงกระดิง ( bell – like ) คล้ายเสี ยงระฆัง
( gong – like ) หรื อเสี ยงสู งคล้ายเสี ยงแตร เสี ยงทีเกิดขึนจะดึงดูดตัวเมียหลายตัวเข้ามาและเกิดการ
ต่อสูก้ นั ของตัวผูข้ ึน
นําหนักแรกเกิดของวอรัสที 30 -45 กิโลกรัมและมีความยาว 90 – 120 เซนติเมตร ลูกวอรัส
สามารถอยูร่ อดได้ในนําทะเลทีหนาวเย็นและว่ายนําได้เก่งภายในเวลา 1 -2 สัปดาห์ แม่วอรัสจะ
เลียงลูกจนกระทังลูกอายุได้ 2 ปี สมาชิกในฝูงจะช่วยกันปกป้ องจากสัตว์ผลู้ า่ ลูกวอรัส ลูกวอรัส
จะอยูใ่ นฝูงจนกระทังสามารถหาอาหารได้ดว้ ยตัวเอง

ภาพที 8.9 และ 8.10 (บน ) วอรัสอยู่รวมกันนับพันตัวบนก้อนนําแข็งและชายฝังทะเลทีเป็ นโขด


หิน โดยใช้งาวางบนหลังของวอรัสตัวอืน ภาพที 8.11 ( ล่าง ) วอรัสจะใช้ครี บหน้าพยุงลําตัว การ
เคลือนทีบนพืนดินจะเคลือนทีได้ชา้ แต่การเคลือนทีในนําสามารถทําได้อย่างคล่องแคล่ว

แมวนําหลายชนิดจะมีการกระจายพันธุ์ทังในขัวโลกเหนือและขัวโลกใต้ อาหารทีแมวนํากิน
เป็ นอาหารเช่นปลาและกุง้ แมวนําแบ่งออกเป็ น 2 วงศ์ ( family ) คือ แมวนํามีหู ( eared seal )
แมวนําไม่มีหู ( earless seal ) ซึ งบางครังจะเรี ยกแมวนํากลุ่มนี ว่าแมวนําแท้ ( ture seal ) แต่แมวนํา
กลุ่มนี ก็มีประสาทการรับฟังทีดี แมวนําทีมีขนาดใหญ่ทีสุ ดคือแมวนําช้าง ( elephant seal ) เป็ น
192

แมวนําทีมีขนาดนําหนัก 2000 - 4000 กิโลกรัม โดยชือของแมวนําชนิดนี มาจากลักษณะของจมูก


ทียืนยาว และเสี ยงทีร้องออกมาทีดังคล้ายเสี ยงทรัมเปต ( trumpeting call ) แมวนําทุกชนิดจะผสม
พันธุ์และออกลูกทีชายฝังทะเล ในช่วงฤดูผสมพันธุ์แมวนําเพศผูจ้ ะแย่งชิงพืนทีชายฝังทะเลกับ
แมวนําเพศผูต้ วั อืน เมือผ่านช่วงการแย่งชิงพืนทีแมวนําเพศเมียจะมาทีชายฝังทะเล เพือออกลูกและ
ผสมพันธุ์ แมวนําเพศผูห้ นึ งตัวจะมีแมวนําเพศเมียเข้ามาในพืนทีครอบครองประมาณ 50 ตัว

ภาพที 8.12 ( บนซ้าย ) แมวนําช้างเพศผูจ้ ะมีส่วนปลายจมูกทีมีการขยายใหญ่ขึนและเพศผูจ้ ะมี


ขนาดใหญ่กว่าเพศเมียถึง 3 เท่า ภาพที 8.13 ( ขวา ) แมวนําฮาร์บจะมีขนเป็ นสี ขาวในช่วงเวลาสัน
ๆ หลังเกิดและช่วงเวลาต่อมาจะเปลียนไปเป็ นสี เทาและจุดสี นาตาล
ํ ภาพที 8.14 ( ล่างซ้าย )
แมวนําเสื อดาวเป็ นแมวนําชนิดทีล่าแมวนําชนิ ดอืนเป็ นอาหาร โดยการล่าจะใช้พืนทีบริ เวณนําทีอยู่
ใกล้กบั ก้อนนําแข็ง

แมวนําเสือดาว ( Leopard seal ) เป็ นแมวนําในกลุ่มแมวนําแท้ มีถินทีอยูใ่ นชายขอบของขัว


โลกใต้ ( Antractic ) มีนาหนั
ํ กประมาณ 38 กิโลกรัม จะล่าเหยือใต้ผิวนําและเหยือทีชอบล่าจะ
เป็ นนกเพนกวิน แมวนําอาร์ คติคฮาร์ บ ( Arctic harp seal ) เป็ นแมวนําแท้ขนาดเล็กมีนาหนั ํ ก
ประมาณ 175 กิโลกรัม เป็ นทีรู ้จกั เนืองจากลูกแมวนําของแมวนําชนิ ดนี มีขนสี ขาวสวยงาม เป็ น
สาเหตุให้ลกู แมวนําชนิดนี ถูกฆ่าเพือเอาใช้ในอุตสาหกรรมเครื องหนัง เครื องนุ่งห่ ม แต่เนืองจาก
ความร่ วมมือกันของหลายประเทศแมวนําชนิ ดนี จึงได้รับการคุม้ ครอง
193

แมวนําขน ( Fur seal )


แมวนําขนเป็ นแมวนําทีมีใบหู อยูใ่ นวงศ์ ( family ) เดียวกันกับสิ งโตทะเล ( Sea lion )
แตกต่างจากแมวนําแท้ ( ture seal ) โดยแมวนําขนและสิ งโตทะเลจะใช้ครี บคู่หน้าเพือใช้เป็ นอวัยวะ
ทีช่วยในการขับเคลือนไปข้างหน้าในการเคลือนทีในนํา ส่ วนครี บหลังจะใช้เพือเป็ นตัวควบคุม
ทิศทางในการเคลือนทีในนําและการเคลือนทีบนบก แมวนําขนจะมีขน 2 ชัน ขนชันนอกทีเป็ น
เส้นยาวและหยาบ ส่วนขนชันในทีมีลกั ษณะเป็ นเส้นละเอียด โดยขนของแมวนําจะมีส่วนสําคัญ
ในการปกป้ องความหนาวเย็นเมืออยูใ่ นนํา ทําให้ปริ มาณไขมันทีสะสมในร่ างกายจึงไม่จาํ เป็ นต้อง
มีในอัตราส่ วนที มากนักเมือเทียบกับสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมที อาศัยอยู่ในทะเลชนิ ดอืนๆ
แมวนําขนจะใช้เวลาในช่วงฤดูหนาวในทะเล และในช่วงฤดูใบไม้ผลิจะอยูร่ วมกันเป็ นฝูง
ใหญ่ในพืนทีชายฝังทะเลทีเป็ นแหล่งผสมพันธุ์ เฉพาะตัวผูท้ ีแข็งแรงเท่านันจะมีโอกาสได้ผสม
พันธุ์กบั แมวนําเพศเมียจํานวนหลายตัว ซึ งตัวผูท้ ีได้ครอบครองอาณาเขตและแมวนําเพศเมียจะต้อง
ต่อสูก้ บั แมวนําตัวอืนๆ ในช่วงต้นฤดูกาล ตามแนวคิดการวิวฒั นาการมีความต้องการทีจะให้สตั ว์
ชนิดนันยังระดับของความแข็งแรงของร่ างกายและความเฉลียวฉลาดอย่างสื บเนื องไป ตัวผูท้ ี
แข็งแรงจึงสมควรจะเป็ นผูท้ ีมีลูกหลานสื บต่อสายพันธุ์ต่อไป ซึ งพบว่าแมวนําเพศผูม้ ีนาหนั
ํ ก
มากกว่าเพศเมีย 3 -4 เท่า
ภายหลังทีแมวนําออกลูก 8 วัน ( ซึ งจะออกลูกครังละ 1 ตัว ) แมวนําเพศผูท้ ีได้ครอบครอง
อาณาเขตจะเข้าผสมกับแมวนําเพศเมียทุกตัว แมวนําเพศเมียจะทําหน้าที 2 อย่างสลับกันไปมาใน
ช่วงเวลาเดียวกัน คือกลับมาเลียงลูกทีเกิดใหม่และออกทะเลเพือกินอาหาร แมวนําสามารถดํานํา
ได้ลึก 40 เมตรหรื อบางครังดําได้ลึกถึง 250 เมตร
ในศตววรรษที 19 การค้าหนังแมวนํามีผลให้แมวนําขนถูกฆ่าไปเป็ นจํานวนหลายล้านตัว
เพือนําหนังแมวนําไปใช้ทาํ เครื องนุ่ งห่ ม ในในศตวรรษนี มีการปกป้ องแมวนําชนิดนี มากยิงขึน
พบว่าในปั จจุบนั จํานวนแมวนําขนในทะเลมีจาํ นวนประมาณ 2 ล้านตัว

ภาพที 8.15 แมวนําขน


แอฟริ กาใต้ ( South African
Fur Seal ) เป็ น 1 ใน 14 ชนิด
ของแมวนํามีหู โดยแมวนําทุก
ชนิดเป็ นสัตว์ทีมีประสาทการฟั ง
เสียงดี
194

ข้อมูลทีน่ าสนใจ
แมวนําเป็ นสัตว์ทีมีรจู มูกขนาดเล็กและรูจมูกจะปิ ดในช่วงที ดํานําลงใต้นํา มีครีบ
จํานวน 2 คู่ คู่หน้ าและคู่หลังเพือใช้ในการว่ายนํา

ปี กสํ าหรับการว่ ายในนํา ( Water Wing )


ในพืนที แผ่นนําแข็งทีจับตัวต่อเนื องเป็ นพืนทีกว้างใหญ่ในขัวโลกเหนือและขัวโลกใต้ แหล่ง
อาหารสําหรับสัตว์ทีกินปลาเป็ นอาหารจะอยู่ในนําทะเลใต้แผ่นนําแข็งเท่านัน นกเพนกวินเป็ นนก
ทีบินไม่ได้แต่สามารถว่ายนําได้อย่างรวดเร็วเพือไล่ติดตามฝูงปลา โดยการใช้ครี บช่วยในการ
เคลือนทีในนํา เพนกวินแอนตาร์คติค ( Antractic penguins ) จะว่ายนําได้เร็ ว 50 กิโลเมตร/ชัวโมง
นกที มีลกั ษณะใกล้เคียงกับนกเพนกวินคือนกพัพฟิ น ( Puffins ) ซึ งอยูใ่ นวงศ์ auk ซึ งจะมีปีกสันแต่
สามารถบินได้และปี กยังมีส่วนช่วยในการเคลือนทีในนําด้วย
นกเพนกวินส่ วนใหญ่ดาํ รงชีวิตอยู่บนชายฝังทีเป็ นโขดหิ นทีมีอากาศหนาวเย็น นกเพนกวินมี
ทังหมด 17 ชนิดโดยมี 3 ชนิดทีอาศัยอยู่ในขัวโลกใต้คือเพนกวินจักรพรรดิ ( Emperor penguin )
เพนกวินชินสเตรบ ( Chinstrap penguin ) เพนกวินอดิลีย ์ ( Adelie penguin ) ส่ วนนกเพนกวินชนิ ด
อืนๆ จะอยู่ในพืนทีชายฝังทีมีอากาศหนาวเย็นเช่น ชายฝังทะเลของทวีปอเมริ กาใต้ ออสเตรเลีย
นิวซี แลนด์และทวีปแอฟริ กาใต้ มีบางชนิดทีถินอาศัยอยู่ในพืนทีเขตร้อน เช่น นกเพนกวินกาลาปา
กอส ( Galapagos penguin ) ทีอาศัยอยูใ่ นเกาะกาลาปากอสทีอยูใ่ กล้กบั เส้นศูนย์สูตรทีได้รับ
กระแสนําเย็นทีไหลหมุนเวียนในมหาสมุทร

ภาพที 8.16 และ 8.17 นกเพนกวินจักรพรรดิเป็ นเพนกวินทีมี


ขนาดใหญ่ทีสุ ดในแต่ละปี จะจะเลียงลูกนกเพียง 1 ตัว ลูก
นกจะถูกปกป้ องจากความหนาวเย็นโดยใช้ผิวหนังหน้าท้อง
195

นกเพนกวินทีมีขนาดร่ างกายเล็กทีสุ ดคือนกเพนกวินสี นาเงิ


ํ น ( Blue penguin ) โดยมีความสู ง
เมือยืนประมาณ 30 เซนติเมตร ถึงนกเพนกวินจักรพรรดิทีมีความสู งเมือยืนรวมมากกว่า 1 เมตร
รู ปร่ างทียาวเพรี ยวจะช่วยให้การเคลือนทีในนําทังดํานําและเคลือนทีบนผิวนําได้อย่างรวดเร็ ว มีขน
ทีขึนเรี ยงกันแน่นและไม่เปี ยกนํา การผลัดขนจะเกิดขึนปี ละ 1 ครัง ในช่วงการผลัดขนนันนก
เพนกวินไม่สามารถว่ายนําได้จนกว่าจะมีขนงอกขึนใหม่
เท้าของนกเพนกวินจะอยูใ่ นตําแหน่งค่อนไปทางด้ายท้ายของลําตัวเมือนกอยู่ในท่ายืน เท้าจะ
เป็ นอวัยวะทีช่วยในการบังคับทิศทางในการเคลือนทีในนํา นกเพนกวินจะอาศัยอยู่ในเกาะที
ห่างไกลจากแผ่นดินใหญ่ เนื องจากมีสตั ว์สัตว์ผลู ้ า่ บนบกน้อย ส่ วนในทะเลสัตว์ทีล่านกเพนกวิน
เป็ นอาหารเช่น แมวนําเสื อดาว ( Leopard seal ) และปลาวาฬเพชฌฆาต ( Killer whales )

ภาพที 8.18 และ 8.19 บนและซ้ าย นก


เพนกวินอะดีลยี ์และนกเพนกวินทุกชนิดจะมีสี
ขนสีขาวทีส่วนท้ องและส่วนหลังสีดํา สีดําที
ส่วนหลังจะช่วยในการดูดซับความร้ อนทีจะ
ช่วยให้ ร่างกายอบอุ่นขึน ส่วนสีขาวสัตว์ผ้ ลู า่ จะ
มองเห็นตัวของนกเพนกวินกลมกลืนไปกับสี
ของท้ องฟ้า

ลักษณะทีน่ าสนใจของนกเพนกวิ น
สีขนของนกเพนกวิ นส่วนหลังจะเป็ นสีเทานําเงิ นหรือดํานําเงิ น ส่วนท้ องจะเป็ นสี
ขาวซึงจะช่วยในการพรางตัวจากสตว์ผ้ลู ่า โดยผูล้ ่าที อยู่ด้านบนตัวนกเพนกวิ นเมือมอง
196

ลงมาจะเห็นตัวนกกลมกลืนไปกับนําทะเล ส่วนผู้ล่าที อยูใ่ ต้ตวั นกจะมองเห็นนก


กลมกลืนไปกับท้องฟ้ า นกเพนกวินทังเพศผู้และเพศเมียจะมีลกั ษณะคล้ายกัน ไม่
สามรถแยกเพศจากการดูจากลักษณะภายนอกได้ การเคลือนที บนพืนดิ นจะใช้การเดิ น
ด้วยเท้าทัง 2 ข้างซึงจะเดิ นได้ช้า และการเคลือนที บนพืนนําแข็งจะใช้ส่วนท้องเป็ น
เสมือนแคร่เลือนนําแข็ง

จะงอยปากของนกเพนกวินจะมีความคมและแข็งแรงในการจับปลา จะงอยปากทีโค้งงองุม้
ของนกเพนกวินจักรพรรดิจะช่วยในการจับปลาได้เป็ นอย่างดี ส่ วนนกเพนกวินชนิ ดอืนๆ จะกิน
ปลาหมึกหรื อกุง้ ขนาดเล็ก ( krill ) ลักษณะการว่ายนําของนกเพนกวินส่ วนใหญ่จะเป็ นในลักษณะ
ทีเรี ยกว่า porpoises โดยในขณะทีว่ายจะมีการกระโดดขึนเหนือผิวนําและอ้าจะงอยปากเพือหายใจ
เข้า
ลักษณะการมองเห็นไม่ได้เป็ นแบบ binocular ( คือ ดวงตาทัง 2 ข้างอยูด่ า้ นหน้าของหัวที จะ
เป็ นลักษณะทีสามารถกะระยะของวัตถุได้ ) แต่นกเพนกวินทีมีดวงตาอยูด่ า้ นข้างจะใช้การวิธีหนั
หน้าอย่างเร็ วด้านซ้ายขวาแทน เป็ นนกทีมีการเก็บสะสมไขมันใต้ผิวหนัง ในช่วงทีมีอากาศร้อนขึน
นกจะกางครี บคู่หน้าออกเพือเป็ นการระบายความร้อน เนืองจากครี บเป็ นอวัยวะทีมีพืนทีมากเมือ
เปรี ยบเทียบกับพืนทีของลําตัว ซึ งจะช่วยในการระบายความร้อนของร่ างกายได้ดี
นกเพนกวินส่ วนใหญ่จะผสมพันธุ์บนพืนดินหรื อพืนนําแข็ง ซึ งในช่วงเวลาดังกล่าวนก
เพนกวินจะมารวมกันเป็ นฝูงขนาดใหญ่ ทีบางครังจะมีจาํ นวนประชากรรวมกันเป็ นล้านตัว ในช่วง
เวลาดังกล่าวจะมีการทํารังและเลียงลูกนกทีเกิดใหม่ ทําให้พืนทีนกมารวมตัวกันนี มีเสี ยงดังจอแจ
เห็นนกกําลังทํากิจกรรมต่างๆ และการทีมีนกมาอยู่รวมกันเป็ นจํานวนมากนี จะมีผลดีในเรื องของ
การลดการสู ญเสี ยความร้อนในร่ างกายลงร้อยละ 25 – 50
นกเพนกวินทังเพศผูแ้ ละเพศเมียจะช่วยกันในการฟั กไข่และเลียงลูกนก โดยจะผสมพันธุ์
ในช่วงฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อน สร้างรังจากกิงไม้และก้อนหิ น นกเพนกวินจักรพรรดิจะผสมพันธุ์
ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง โดยนกเพนกวินจักรพรรดิเพศผูจ้ ะเป็ นผูฟ้ ักไข่ โดยวางไข่ไว้ทีหลังเท้าและถูก
คลุมด้วยผิวหนังหน้าท้อง ทําให้ตอ้ งอดอาหารต่อเนื องกันเป็ นเวลาประมาณ 2 เดือน จนกว่านก
เพนกวินเพศเมียจะเข้ามาช่วยฟักไข่
นกพัพฟิ น มีอยู่ 3 ชนิดโดยมี 2 ชนิดมีการกระจายพันธุ์ในทะเลแบริ ง ( Bearing Sea ) และทะเล
แปซิ ฟิกเหนือ ( North Pacific ) และอีกชนิ ดหนึงคือนกพัพฟิ นแอทแลนติค ( Atlantic puffin ) หรื อ
นกพัพฟิ นธรรมดา ( Common puffin ) มีการกระจายพันธุ์ในทะเลแอตแลนติค นกพัพฟิ นธรรมดา
เป็ นทีรู ้จกั เนื องจากเนืองจากจะงอยปากมีสีสันสวยงามและเป็ นรู ปสามเหลียม ส่ วนสี บนลําตัวก็
สวยงามเช่นกันโดยส่ วนหลัง ปี กเป็ นสี ดาํ ส่ วนท้องและหน้าอกเป็ นสี ขาว ซึ งสี บนลําตัวใน
197

ลักษณะดังกล่าวจะช่วยในการพรางตัวจากสัตว์ผลู ้ ่าในขณะทีอยูใ่ นนํา ส่ วนเท้าและขาเป็ นสี สม้


หรื อแดงสด

เป็ นนกทีดํานําเพือหาอาหาร เช่นปลา กุง้ หอย พืนทีหาอาหารจะอยูท่ งใกล้


ั ชายฝังและห่าง
จากฝังทะเลออกไป นกมีความสามารถทีจะคาบปลาขนาดเล็กได้เป็ นจํานวนสิ บตัว เฉพาะช่วงฤดู
ผสมพันธุ์เท่านันทีนกจะอยูบ่ นบก มีการจับกลุ่มแบบชัวคราวซึงบางครังมีจาํ นวนเป็ นล้านตัว การ
สร้างรังของนกพัพฟิ นจะใช้จะงอยปากในการขุดโพรงดิน โดยโพรงดินมีความลึกมากถึง 1.25
เมตร ซึ งตําแหน่งทีนกจะทํารังมักอยู่ใต้กอ้ นหิ นแบน วางไข่ครังละ 1 ฟอง นกเพศเมียเป็ นผูฟ้ ัก
ไข่ใช้เวลาในการฟัก 6 สัปดาห์ หลังจากนันทังพ่อและแม่นกจะช่วยกันหาอาหารมาป้ อนลูกนก ที
จะเป็ นเวลาต่อเนืองอีก 40 วัน นกพัพฟิ นจะถึงช่วงอายุเริ มผสมพันธุ์ทีอายุ 3 ปี
198

คําศัพท์ ทีน่าสนใจ
A
Adaptation กระบวนการทีสิ งมีชีวิตมีการเปลียนแปลงหรื อปรับลักษณะบางประการให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมเพือให้ตนเองสามารถดํารงชีวิตอยู่ได้ และสามารถสื บพันธุ์เพือเพิมลูกหลานต่อไป
ได้ วิธีการเหล่านีสามารถแสดงออกในหลายรู ปแบบ การแสดงออกทางพฤติกรรม เช่น สัตว์จะหา
ร่ มเงาในช่วงทีมีแสงแดดร้อนแรง แสดงออกทางกระบวนการทางสรี ระวิทยา เช่น สัตว์จะลด
อัตราการหายใจในช่วงการจําศีล แสดงออกทางลักษณะของร่ างกาย เช่นลิงที มีหางยาวทีใช้หาง
ช่วยในการจับกิงไม้
Amphibian สัตว์ครึ งบกครึ งนํา เป็ นสัตว์ทีมีกระดูกสันหลังทีอยู่ในกลุ่มสัตว์เลือดเย็น ( ดูเพิมเติม
ในหน้าที cool blood ) เป็ นสมาชิกในชันแอมฟิ เบีย ( class Amphibia ) ทีประกอบด้วยกบ ( frog )
toads ( คางคก ) ซาลามานเดอร์ ( salamander ) โดยวงจรของสัตว์ครึ งบกครึ งนําจะมีช่วงเวลาที
ดํารงชีวิตในนําและบนพืนดิน ใช้เหงือกในการหายใจในนํา มีผิวหนังทีอ่อนนุ่มและระหว่างนิวเท้า
มีพงั พืด

วงจรชีวิตของสั ตวสะเทินนําสะเทินบก ( Amphibian Cycle )

โดยใช้ตวั อย่างวงชีวิตของกบ กบมีการผสมพันธุ์และวางไข่ในนําในฤดูฝน ไข่ ( Eggs )ไม่มี


เปลือกหุ ม้ แต่มีวนุ ้ หุ ม้ อยูร่ อบๆ หลังจากปฏิสนธิ 3 -12 ชัวโมงจะมีการแบ่งเซลเกิดขึน ตัวอ่อนจะ
มีหางงอกเมืออายุได้ 4 วัน วันที 6 หลังการปฏิสนธิ ตวั อ่อนจะฟักออกจากไข่เป็ นลูกอ๊อด
( Tadpole ) ว่ายนําและหายใจด้วยเหงือก มีการงอกของขาหลังและขาหน้าตามลําดับ ต่อมามีการ
เปลียนแปลงรู ปร่ างต่อโดยหางจะหดสันเข้า ขึนมาอาศัยอยูบ่ นบก หายในด้วยปอดและผิวหนัง
แทนเหงือก และเจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื องเป็ นกบทีสมบูรณ์และสื บพันธุ์ต่อไป
199

Anticoagulant สารทีป้ องกันการแข็งตัวของเลือด ในค้างคาวดูดเลือด ( Vampire bat ) มีสาร


ป้ องกันการแข็งตัวของเลือดในนําลายทําให้เลือดของเหยือทีค้างคาวไปกัดดูดเลือดยังคงไหลอย่าง
ต่อเนื อง
Arid แห้งแล้งมาก มีปริ มาณการตกของฝนทีน้อยมากจนพืชหลายชนิ ดไม่สามารถดํารงชีวิตอยูไ่ ด้
ทะเลทรายเป็ นพืนทีทีแห้งแล้งมาก
AZA สมาคมสวนสัตว์และสถานแสดงสัตว์นาแห่ ํ งสหรัฐอเมริ กา American Zoo and Aquarium
Association หรื อบางครังก็ใช้ตวั ย่อว่า AZAA

B
Big cat สัตว์ในวงศ์ ( family falidae) เสื อและแมวและอยู่
ในตระกูลแพนเทอรา ( genus Panthera )ทีประกอบด้วย
สิ งโต เสื อโคร่ ง เสื อจากัวร์และเสื อดาว

Biome คําศัพท์ ในภาษาไทยใช้ คําว่ า ชีวนิเวศ ระบบนิ เวศสังคมพืชและสัตว์ในพืนทีขนาดใหญ่ มี


ภูมิอากาศเป็ นตัวกําหนดขอบเขต เช่น อุณหภูมิ ความชืน ปริ มาณนําฝน มีปัจจัยทางชีวภาพที
คล้ายคลึงกันเช่น พืชและสัตว์ แบ่ งเป็ น 2 ชีวนิเวศคือ 1. ชีวนิเวศบนบก 2 . ชีวนิเวศในนํา ชีวนิ
เวศบนบก เช่น ป่ าเขตร้อน ( tropical forest ) ทุ่งหญ้า ( grassland ) ป่ าผลัดใบ ( deciduous forest )
ป่ าสนเขา ( coniferous forest ) ภูเขา พืนทีนําแข็งแบบขัวโลกและทุนดรา ชีวนิเวศในนําเช่น นํา
จืด นําเค็ม นํากร่ อย พืนทีแต่ละแบบดังกล่าวจะปรากฏในพืนทีต่างๆ ทัวโลกเช่นทุ่งหญ้าจะพบใน
แอฟริ กา อเมริ กาเหนื อและใต้ เอเชีย
Binocular vision การมองเห็นทีประกอบด้วยตาสองข้างที อยูด่ า้ นหน้าของกะโหลกศีรษะในเวลา
เดียวกันซึ งภาพทีเห็นจะมีลกั ษณะเป็ นภาพทีบอกถึงความกว้าง ยาวและลึกได้ เช่นกลุ่มลิง
Biodiversity ความหลากหลายทางชีวภาพ ( ◌ฺ Biological Diversity ) หมายถึง การมีชนิ ดพันธุ์ของ
สิ งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยูร่ วมกัน ณ สถานทีหนึ งหรื อระบบนิเวศใด ระบบนิเวศหนึง
Biologist นักวิทยาศาสตร์ ผมู ้ ีความเชียวชาญในวิชาชีววิทยาหรื อวิชาทีเป็ นสาขาแยกย่อยลงมา
200

Biology เป็ นวิชาแขนงหนึ งของวิชาวิทยาศาสตร์ทีมีเนื อหาทีเกียวข้องกับสิ งมีชีวิตทีมีการดํารงชีวิต


ในระบบนิเวศ และมีเนือหาทีมีการแยกย่อยไปอีกหลายแขนง
Biopark รู ปแบบวิธีการจัดการสวนสัตว์ทีมองการเชื อมโยงของพืชและสัตว์ มองว่ามนุษย์มีการ
ปฏิสัมพันธ์กบั ธรรมชาติและสิ งแวดล้อมอืนๆ
Blubber ชันไขมันหนาทีวางตัวอยู่ใต้ผิวหนังและอยูเ่ หนื อชันกล้ามเนื อ พบในสัตว์เลียงลูกด้วยนม
ทีอยู่ในทะเลเช่น วอรัส วาฬและแมวนํา โดยไขมันเหล่านี จะช่วยปกป้ องความหนาวเย็นรวมทัง
เป็ นแหล่งพลังงาน รวมทังมีผลให้รูปร่ างของสัตว์กลุ่มนี ยาวเพรี ยว ทําให้การเคลือนที ของสัตว์
กลุ่มนี สามารถทําได้อย่างรวดเร็ วเมืออยู่ในนํา
Boreal forest ป่ าสนเขาทีมีความเขียวชอุ่มตลอดปี อยูต่ ิดกับพืนทีทุนดราซึงอยูต่ อนใต้ของของขัว
โลกเหนื อ โดยครอบคลุมพืนทีทวีปอเมริ กาเหนือ ยุโรปและเหนื อ ภูมิอากาศทีหนาวเย็นมากในฤดู
หนาว มีฤดูร้อนในช่วงเวลาสัน ๆ คําศัพท์อีกคําทีใช้คือ taiga

Brachiation การเหวียงแขนและจับกิงไม้ทีอยูเ่ หนื อ


ศีรษะอย่างต่อเนื อง สัตว์กลุ่มนีเช่น ชะนี และลิงอุรังอุตงั
จะมีกล้ามเนื อต้นแขน ( shoulder ) เพือช่วยในการ
เคลือนทีแบบจากกิงไม้หนึ งไปยังอีกกิงหนึง

Browsing animal สัตว์กีบทีกินใบไม้จากต้นไม้ ( tree ) หรื อจากไม้พุ่ม ( bush ) เป็ นอาหารหลัก


เช่น แรดดํา ยีราฟ
Buck ใช้เรี ยกสัตว์เลียงลูกด้วนนํานมเพศผู้ เช่น กวาง แอนติโลปและกระต่าย
Bull ใช้เรี ยกสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมเพศผูท้ ีอยู่ในช่วงอายุเต็มวัยเช่น ช้าง กวางเอลค์ วัวป่ าไบซัน
ควายและวิลเดอร์ บีท

Buttress รากคําจุน เป็ นรากทีงอกจาก


โคนต้นหรื อกิงบนดินแล้วหยังลงดิน
เพือพยุงลําต้น เนืองจากต้นไม้บางชนิ ด
ในป่ าเขตร้อนไม่สามารถหยังรากลึก
เข้าไปในพืนดินเพือช่วยในการคําจุนลํา
ต้นได้ รากคําจุนเป็ นเครื องหมายบ่ง
บอกอายุบอกอายุของต้นไม้
201

C
Cache สถานทีทีสัตว์เชือว่าปลอดภัยเพือใช้ในการซ่อนอาหาร เช่น หมาป่ าสี แดงจะซ่ อนเหยือที
ล่าได้โดยการฝังในดิน ใช้ใบไม้และกิงไม้ช่วยในการปกปิ ด นกหัวขวานวูดเปกเกอร์ ทีเจาะเปลือก
ของต้นไม้ใหญ่เพือเก็บลูก acorn
Camouflage รู ปแบบของการปกป้ องตัวเองของสิ งมีชีวิตโดยการทําสี สันของร่ างกายกลมกลืนไป
กับสิ งแวดล้อมทีอยูโ่ ดยรอบเช่น กระต่ายแฮร์ อาร์ติคจะมีขนปกคลุมร่ างกายเป็ นสี ขาวในช่วงฤดู
หนาว ทําให้สตั ว์ผลู ้ ่ามองเห็นได้ยากเมือกระต่ายชนิ ดนี นังนิ งอยู่บนหิ มะ
Captive breeding program แผนงานทีออกแบบมาเพือเพิมประชากรของสัตว์ทีใกล้สูญพันธุ์ โดย
การเพาะขยายพันธุ์ในสวนสัตว์ มีสตั ว์หลายชนิดทีสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในสวนสัตว์ ซึ งมี
บางชนิ ดทีทีมีการพัฒนาไปถึงขันปล่อยสู่ป่าธรรมชาติ
Captivity สภาพทีสัตว์ป่าถูกดูแลในสถานทีพืนทีถูกจํากัดเช่น ในสวนสัตว์ซึงแตกต่างจากสภาพ
ป่ าทีเป็ นถินทีอยู่เดิม
Carnivore สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีอยู่ในอันดับคาร์นิวอร์ ( Order Carnivore ) ทีกินเนื อสัตว์เป็ น
อาหาร สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีจัดอยู่ในอันดับคาร์นิวอร์ จะประกอบด้วยหมี ( bear ) เสื อและแมว
( cat ) หมา ( dog ) แมวนํา ( seal ) วีเซล ( weasel )
Carrion ซากสัตว์ทีตายและเริ มเน่าเปื อย โดยซากเหล่านี จะเป็ นอาหารของสัตว์เช่น ไฮยีนา หมา
ป่ าโคเอตี พอสซัมและวูฟเวอร์ลีน หรื อนกบางชนิดเช่น กา อีแร้ง

Cell เป็ นโครงสร้างทีเล็กทีสุ ดของสิ งมีชีวิต


ซึ งมีขนาดเล็กมาก จนต้องใช้กล้องจุลทรรศน์
เป็ นอุปกรณ์ช่วยในการมอง ทังเซลพืช เซล
สัตว์จะมีนิวเคลียส พืชและสัตว์จะ
ประกอบด้วยเซลนับล้านๆ ล้านเซล ซึ งแต่ละ
เซลจะมีความแตกต่างกัน เช่น เซลกล้ามเนือ
เซลประสาท เซลเม็ดเลือดทีจะมีความ
แตกต่างในเรื องของขนาด รู ปร่ างและหน้าที
Clane กลุ่มของสัตว์เช่น ไฮยีนาหรื อแพรี ด๊อคซึ งมีพฤติกรรมกับเชิงสังคมกับสมาชิกตัวอืนๆ ใน
ฝูง
Cloud forest คําศัพท์ในภาษาไทยใช้คาํ ว่า ป่ าเมฆ พืนทีป่ าบนภูเขาสู งในเขตร้อนทีอยูใ่ นระดับสูง
ที 914 – 2438 เมตร ความชื นในป่ าแบบนี อยู่ในระดับสู งทีมีผลให้พืชอาศัย ( epiphytus ) ขึนอย่าง
หนาแน่ น
202

Cold blooded สัตว์ทีไม่มีกลไกของร่ างกายทีจะรักษาระดับอุณหภูมิของร่ างกายไว้ได้ แต่ตอ้ ง


อาศัยสิ งแวดล้อมทีเหมาะสมกับสภาพร่ างกายเพือควบคุมอุณหภูมิของร่ างกาย เช่น ปลา สัตว์
สะเทินนําสะเทินบก สัตว์เลือยคลาน
Community ประชากรของสิ งมีชีวิตทีอาศัยอยู่ในพืนทีแห่ งนัน มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน พึงพาอาศัยซึ ง
กันและกัน
Crustacean สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอยู่ในวงศ์ ( class ) ครัสเตเซี ย ( crustaceae ) ทีประกอบด้วย
lobster ปู ( crabs ) และ กุง้ ( shrimps )

D
Deciduous ต้นไม้หรื อไม้พุ่มทีมีการทิงใบทังหมดหรื อบางส่ วนเป็ นประจําทุกปี เป็ นช่วงเวลาที
แน่นอนเช่น ในฤดูใบไม้ร่วง
Deforestation การตัดฟั นต้นไม้หรื อพืชอืนๆ แล้วย้ายพืชเหล่านีออกจากพืนทีโดยกระทําในพืนที
กว้างใหญ่
Den ใช้เรี ยกทีพักอาศัยของสัตว์เช่น หมาจิงจอก
Doe สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมเพศเมียเช่น กวาง แอนติโลป หรื อกระต่าย
dormant ช่วงเวลาทีกิจกรรมต่างๆ ของสัตว์ลดลงไปเนื องจากสัตว์อยูใ่ นช่วงการจําศีล

E
ecological balance การรักษาสมดุลในระบบนิเวศโดยมีเงือนไขและมีสิงมีชีวิตทีอยู่อาศัยอยูใ่ น
สิ งแวดล้อมนันๆ ซึ งการปฏิสมั พันธ์กนั และกัน จะเป็ นไปในทางผลประโยชน์ทีจะเกิดขึนรวมกัน
ยกตัวอย่างเช่น ฝูงสัตว์ทีกินหญ้ามีการอพยพไปยังแหล่งหญ้าแห่งอืนที มีความอุดมสมบูรณ์กว่า ทํา
ให้แหล่งหญ้าเดิมได้มีโอกาสได้เจริ ญเติบโตฟื นตัว
ecology การศึกษาโดยการใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ในเรื องของความสัมพันธ์การดํารงชีวิตของ
สิ งมีชีวิตกับสิ งไม่มีชีวิตที เป็ นสิ งแวดล้อมที อยูโ่ ดยรอบ ในการศึกษานันจะต้องมีการกําหนด
เงือนไขในการเชื อมโยงระหว่างสิ งมีชีวิตกับสิ งแวดล้อม
ecosystem ระบบทีมีความซับซ้อนของสังคมสิ งมีชีวิตและสิ งแวดล้อม
emergent ต้นไม้ทีมีความสูงของลําต้นมากกว่าต้นไม้ทีอยู่ใกล้เคียงในป่ าเขตร้อน มักเป็ นจุดทีนก
ล่าเหยือ เช่น อินทรี กินลิง ( monkey – eating eagle ) มาเกาะพัก ในต้นไม้บางต้นอาจสูงกว่า
ต้นไม้ทีอยู่ใกล้เคียงถึง 60 เมตร
endangered species ชนิดสัตว์ทีอยูใ่ นสภาวะใกล้สูญพันธุ์โดยมีสาเหตุจากการเปลียนแปลง
ภูมิอากาศหรื อถินที อยู่ถูกทําลาย
endemic ชนิดของพืชหรื อสัตว์ทีพบในบางพืนทีเท่านัน
203

epiphyte พืชทีไม่ตอ้ งเจริ ญเติบโตในดิน โดยจะอาศัยและเติบโตบนต้นไม้ชนิดอืน ได้รับ


สารอาหารจากอากาศและฝน แต่ไม่ใช่การเติบโตในลักษณะแบบปาราสิ ต มักพบอยู่รวมกับมอส
ซึงจะช่วยในการรักษาความชืนให้กนั และกัน ตัวอย่างเช่น กล้วยไม้ มอส บลอมมีเลีย (
bromeliads ) บางเวลาเรี ยกพืชกลุ่มนีว่าพืชอากาศ ( air plant )

echolation เป็ นระบบของการค้นหาวัตถุโดย


การส่ งคลืนเสี ยงทีมีความสู งและสะท้อน
กลับไปยังภาครับของเครื องมือ สัตว์ทีมี
อวัยวะในระบบแบบนีเพือใช้ตรวจจับวัตถุใน
ทีมืด เพือหาตําแหน่งทีเหยืออยูเ่ ช่น
ปลาโลมา วาฬ ค้างคาว โดยระบบการ
ทํา งานของสัต ว์กลุ่มนี ยังสามารถทราบระยะทาง ขนาดและทิ ศทางการเคลื อนที ของวัต ถุทีถูก
ตรวจจับ วัตถุทีถูกตรวจจับด้วยวิธีนีมักจะมีขนาดเล็กกว่าสัตว์ทีเป็ นผูส้ ่งสัญญาณ

extinction กระบวนการทีสิ งมีชีวิตสู ญ


พันธุ์ไปจากโลก โดยสาเหตุการอาจเกิด
จากการเปลียนแปลงของสิ งแวดล้อม
การล่าสัตว์ การทําประมง การทําฟาร์ ม
ปศุสัตว์ การปลูกพืชอาหารสัตว์ มลภาวะ
การใช้ยาฆ่าแมลง ตัวอย่างสัตว์ทีสู ญ
พันธุ์ไปจากโลกเช่น วัวทะเลสตีลเลอร์ (
steller’ s sea cow ) นกแก้วพาราคีต
แคโลไรนา ( Carolina parakeet ) นกโด
โด ( Dodo )
ซึ งนกโดโดเป็ นนกทีบิ นไม่ได้ทีอยู่ในเกาะมอลิเชี ยส ในมหาสมุทรอินเดี ยโดยสู ญพันธุ์ไปตังแต่
ศตวรรษที 17
estrus วงรอบการเป็ นสัดของสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมเพศเมีย เป็ นช่วงเวลาที เพศเมียจะยอมรับการ
ผสมจากเพศผู ้ เกิดขึนโดยอิทธิ พลของฮอร์ โมนเอสโตรเจน

F
fledge ช่ วงอายุของลูกนกที เริ มมีขนที ปี กและส่ วนต่ างๆ ของร่ างกายเพื อให้นกสามารถบินได้
204

food chain สังคมของสิ งมีชีวิตที มีการพึงพาและเกี ยวเนื องกัน ซึ งสามารถแสดงความสัมพันธ์


อย่างง่ายๆในรู ปแบบของห่ วงโซ่ อาหารเช่น ในสังคมของสิ งมีชีวิตในทุ่งหญ้าทีม้าลายกําลังเล็มกิน
หญ้า ม้าลายตกเป็ นอาหารของสิ งโต นกกินซาก ( scavenging birds ) จะมากินซากทีเหลือจาก
สิ งโต

food web เป็ นภาพแสดงห่วงโซ่ อาหารในภาพรวมที มี


ความซับซ้อนมากขึนในระบบนิเวศแห่ งนัน
forage การออกหาอาหารกินของสัตว์
forest floor ผิวหน้าของพืนดินทีอยู่ใต้ตน้ ไม้ของพืนป่ า
ซึ งมักจะมีซากพืช ซากสัตว์ มูลสัตว์ทีมีการเน่าเปื อยผุ
พังจนกลายเป็ นดินทับถมอยู่ในส่ วนหน้าดิน

G
gestation ระยะเวลาทีตัวอ่อนทีมีการเจริ ญเติบโตในมดลูกของสัตว์เลียงลูกด้วยนํานม ซึ ง
ระยะเวลาของการตังท้องจะมีความแตกต่างกันไปตามชนิ ดของสัตว์เช่น น ช้างมีระยะตังท้องเกือบ
2 ปี
grassland พืนทีขนาดใหญ่ทีมีหญ้าหลายชนิ ดเติบโตและครอบคลุมพืนทีส่ วนใหญ่
grazing animal ชนิดสัตว์ทีกินหญ้าเป็ นอาหารหลัก เช่น แกะ ควาย ม้าลาย วัวและวิลเดอร์บีสท์
great ape สัตว์ทีอยูใ่ นวงศ์พอนจิดี ( family pongidae ) เป็ นลิงขนาดใหญ่ทีไม่มีหางคือ ลิงชิม
แพนซี ลิงอุรังอุตงั ลิงกอลลา ส่ วนชะนีอยูใ่ นวงศ์ไฮโลบาทิดี ( family Hylobatidae )
guard hair ขนทีมีลกั ษณะยาว หยาบทีปกคลุมร่ างกายสัตวเลียงลูกด้วยนํานมบางชนิ ดทีช่วยใน
รักษาอุณหภูมิร่างกายให้คงที การปกป้ องและทับขนทีอ่อนนิ มทีขึนแน่นใกล้กบั ผิวหนัง ตัวอย่าง
สัตว์ เช่น แรคคูน แมวนําขน วัวมัสออคเซน บีเวอร์ กวางคาริ บูและแพะภูเขา

H
habitat พืนทีและสิ งแวดล้อมทีเป็ นธรรมชาติ มีสตั ว์ พืชทีมีความเหมาะสมกับลักษณะภูมิ
ประเทศ ลักษณะภูมิอากาศอาศัยอยู่
hackles ขนในสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมหรื อขนปี กในสัตว์ปีกทีอยูท่ ีส่ วนคอหรื อหลัง มีคุณสมบัติที
สามารถยกชูขึนเมือสัตว์รู้สึกว่าตนถูกคุกคามหรื อเพือแสดงอารมณ์โกรธ
Hagenbeck, Carl ( 1844 - 1913 ) พ่อค้าสัตว์ เจ้าของคณะละครสัตว์ และครู ฝึกสัตว์ ชาว
205

เยอรมันในปี 1907 เขาเป็ นผูก้ ่อตังสวนสัตว์ทีมีการจัดแสดงสัตว์ในรู ปแบบทีแนวกันสัตว์ไม่ใช่รัว


หรื อซี กรงเหล็ก แต่ใช้คูแห้งหรื อคูนารวมทั
ํ งการใช้หินเที ยมทีดูเป็ นธรรมชาติและเป็ นส่ วนหนึ ง
ของแนวกันสัตวด้วย

Herbivorus สัตว์กินพืชเป็ นอาหารหลัก เช่น วัว แกะ แอน


ติโลป ม้าและยีราฟ

herd กลุ่มของสัตว์ทีดํารงชีวิตร่ วมกัน และเคลือนย้ายพืนทีร่ วมกัน เช่น วิลเดอร์บีสท์ ควายป่ า


ม้าลายซึ งสัตว์เหล่านีจะกินหญ้ารวมกันเป็ นฝูง อพยพย้ายถินในทุ่งหญ้าซาวันนาของแอฟริ กา การ
อยูร่ วมกันจะมีผลดีในแง่การป้ องกันตัวเองจากสัตว์ผลู ้ ่า
hibernation การจําศีล กลไกในร่ างกายของสัตว์บางชนิ ดทีต้องปรับตัวผ่านช่วงเวลาของฤดูหนาว
ทีอุณหภูมิลดตําลงและขาดแคลนอาหาร จะประกอบด้วยการลดอุณหภูมิของร่ างกาย ลดอัตราการ
หายใจ ลดอัตราการเผาผลาญพลังงานลง และมีการนําเอาพลังงานทีเก็บสะสมไว้ในรู ปของไขมัน
มาใช้แทน สัตว์เลือดอุน่ ทีมีกลไกของร่ างกายแบบนี เช่น หมี ค้างคาว กระรอก ในสัตว์เลือดเย็น
เช่น คางคก เต่า กิงก่า งู คําพ้องความหมายของคํานีคือ estivation
Home rage พืนทีทีสัตว์ใช้ดาํ รงชีวิตโดยเป็ นพืนทีทีมีทรัพยากรสําหรับการเอาชีวิตรอดและ
สามารถสื บพันธุ์ต่อไปได้ โดยขนาดของพืนทีจะมีหลายปัจจัยเป็ นตัวกําหนด
host สิ งมีชีวิตทีสัตว์ทีเป็ นปาราสิ ตอาศัยอยู่ ปาราสิ ตได้อาหารและเป็ นอันตรายต่อสิ งมีชีวิตนัน
ด้วย

I
imprinting การเรี ยนรู ้ต่อสิ งเร้าทีได้รับรู ้ครังแรกในชีวิต ของลูกสัตว์บางชนิดเพือจดจําลักษณะ
ของพ่อแม่หรื อสถานทีเกิด ซึ งจะเกิดการจดจําไปตลอดชีวิต เช่น การเดินตามแม่เป็ ดของลูกเป็ ด
ปลาแซลมอนว่ายนํากลับมายังลําธารทีตัวเองออกมาจากไข่ดว้ ยการจดจํากลิน
inbreeding การผสมพันธุ์กนั ระหว่างเครื อญาติภายในกลุ่มประชากรขนาดเล็ก
incubate กระบวนการของสัตว์ทีออกลูกเป็ นไข่กกไข่ และตัวอ่อนภายในไข่มีการเจริ ญเติบโต
จนกระทังลูกนกฟั กออกจากไข่ ซึ งมีช่วงเวลาทีค่อนข้างคงที อุณหภูมิทีคงที เกิดจากร่ างกายของพ่อ
และแม่นก หรื อฝ่ ายหนึ งฝ่ ายใดจะมีเป็ นสิ งที มีความสําคัญต่อลูกนก
international Species Inventory System ( ISIS ) ระบบปฏิบตั ิการของเครื องคอมพิวเตอร์ทีใช้
206

เก็บข้อมูลสัตว์ในสวนสัตว์ ซึ งมีจุดมุ่งหมายส่ วนหนึงทีช่วยในเรื องการจัดการเรื องพันธุกรรมของ


สัตว์ในสวนสัตว์ทีรวมกันเป็ นสมาชิก

Invertebrate สัตว์ทีไม่มีแท่งกระดูกสันหลังสําหรับยึดติด
ให้เป็ นส่ วนเดียวกันของร่ างกาย จัดเป็ นสัตว์ประเภททีไม่มี
กระดูก และไม่มีกระดูกอ่อนอยูภ่ ายในร่ างกาย มีจาํ นวน
มากมายหลากหลายไฟลัม และมีจาํ นวนมากกว่าสัตว์ทีมี
กระดูกสันหลังตัวอย่างสัตว์กลุ่มนีเช่น แมลง มด ผีเสื อ

K
keratin เป็ นสารโปรตีนทีเป็ นองค์ประกอบพืนฐานของเล็บ ( nail ) กรงเล็บ ( claw ) เส้นผม ( hair
) ขนนก ( feather ) ปลอกเขาแบบ horn
kit ลูกสัตว์
krill ในภาษาไทยหมายถึง เคย สัตว์ทะเลรู ปร่ างคล้ายกุง้ แต่ตวั เล็กมาก ขนาดยาวไม่เกิน 3.4
เซนติเมตร มีหนวด 2 แฉก ลําตัวใสหรื อขุ่น ทุกชนิดเนื อยุย่ เหมาะสําหรับใช้หมักเกลือและ
นําเคย ซึ งเคยเป็ นอาหารสําหรับสัตว์วาฬ แมวนํา นกเพนกวินหรื อนกอัลบาทอส

L
larva ตัวอ่อนของแมลงหลายชนิ ดเมือฟั กออกจากไข่ ซึ งจะมีความแตกต่างจากช่วงตัวเต็มวัย ใน
แมลงช่วงตัวอ่อนนีจะไม่มีปีก ซึ งจะมีการเจริ ญเปลียนแปลงเป็ นลําดับขันจนกระทังถึงช่วงตัวเต็ม
วัย
life cycle วงชีวิต ลําดับการเจริ ญเติบโตเป็ นขันตอนซึ งจะต้องผ่านช่วงต่างๆ เหล่านี
litter ลูกสัตว์จาํ นวนหลายตัวทีเกิดร่ วมกันในคราวเดียว
Lower capony ช่วงระดับความสู งของต้นไม้ในพืนป่ าเขตร้อนช่วงประมาณ 6 เมตรเป็ นระดับที
ตํากว่าเรื อนยอดแต่อยูเ่ หนือผืนป่ า ความหนาแน่นของใบไม้และกิงก้านน้อยกว่าชันเรื อนยอดโดย
จะประกอบด้วยเถาวัลย์ ต้นปาล์ม หรื อพืชกลุ่มทีมีการปรับตัวให้สามารถเจริ ญเติบโตได้ในสภาพ
แสงน้อย
207

M
mammalian ชือเรี ยกสัตว์ทีอยู่ในชัน ( class ) สัตว์ที
เลียงลูกด้วยนํานม ซึ งมนุษย์กจ็ ดั อยู่ในชัน ( class ) นี

mangrove forest ป่ าทีอยู่ในพืนทีชายฝังทะเลรวมทังป่ าทีอยูบ่ ริ เวณปากแม่นาที


ํ ไหลลงสู่ทะเล
ต้นไม้ทีเติบโตในพืนทีนี ส่ วนใหญ่จะเป็ นต้นโกงกางซึ งมีลกั ษณะของลําต้นแบบคําจุน ซึ งจะช่วย
คําจุนลําต้นเนืองจากเป็ นพืนทีระดับนํามีการขึนลงตลอดเวลา ในพืนทีของป่ าโกงกางจะเป็ นพืนทีที
มีการสะสมของตะกอนและช่วยคงสภาพของชายฝังทะเลไว้
mark การทําเครื องหมายเพือเป็ นการประกาศอาณาเขตของสัตว์โดยการถ่ายปัสสาวะ ถ่ายมูล ซึ ง
สิ งทีขับออกจากร่ างกายเหล่านีจะมีสารทีหลังจากต่อมกลิน ( scent gland ) รวมเข้าไปด้วย หรื อ
การทําเครื องหมายบนต้นไม้
marsupial เป็ นชื อเรี ยกอันดับ ( Order ) ของสัตว์เลียงลูกด้วยนํานม สัตว์ในอันดับนี จะมีลูกอ่อนที
มีการเจริ ญเติบโตในถุงหน้าท้องของแม่ ภายในถุงหน้าท้องจะมีต่อมผลิตนํานมและหัวนมให้ลูก
สัตว์ดูดกินนม ตัวอย่างสัตว์ในกลุ่มนี เช่น จิ งโจ้ วอมแบท โอพัสซัม ซึ งเรี ยกรวมๆ ว่า มาร์ ซู
เปี ยล
maetriarch สัตว์เพศเมียทีทําหน้าทีหัวหน้าฝูง
metabolism ขบวนการทีมีความซับซ้อนเพือสร้างและสลายสารเคมีซึงเกิดขึนภายในเซลของ
สิ งมีชีวิต เพือสร้างพลังงาน คําทีเกียวข้องเช่น metablic rate หมายถึง อัตราของกระบวนการใน
ขณะทีกําลังดําเนิ นไปอยู่
microclimate ภูมิอากาศในพืนทีจํากัด เช่น ถํา โพรง ซึ งอุณหภูมิและความชืนจะแตกต่างจาก
พืนทีโดยรอบ
migrate เป็ นพฤติกรรมการเดินทางของนก สัตว์เลียงด้วยนํานม ปลาและแมลงทีเกิดขึนเป็ น
ประจําทุกปี ในช่วงเวลาทีแน่นอน โดยการเคลือนย้ายจากทีหนึ งไปยังอีกทีหนึ ง เนืองจากสภาพ
อากาศทีเปลียนแปลงไปเพือจุดประสงค์ในเรื องของอาหารหรื อเพือการสื บพันธุ์
208

mammal เป็ นสัตว์เลือดอุ่นทีอยู่ในลําดับชันแมมมาเลีย


( class mammalia ) เป็ นสัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง
ผิวหนังบางแห่งถูกปกคลุมด้วยขนชนิดทีเรี ยกว่า hair
จะเลียงลูกที เกิดขึนใหม่ดว้ ยนํานมทีผลิตจากต่อมนํานม
ของแม่ สัตว์ในชันนี มีอยูป่ ระมาณ 4,070 ชนิด แบ่ง
ออกเป็ น 18 อันดับ ( orders ) สัตวในชันนี ได้
ครอบครองพืนทีและทรัพยากรส่วนใหญ่ของโลกมาเป็ น
ช่วงเวลา 100 ล้านปี

molt การผลัดขนแบบ hair ของสัตว์เลียงลูกด้วยนํานม และการผลัดขน


แบบ feather แบบนก การลอกคราบ ( ผิวหนัง ) ของสัตว์เลือยคลาน
ก่อนทีจะมีการเจริ ญขึนมาทดแทน คําศัพท์ทีกําลังเกิดการผลัดหรื อลอก
เรี ยกว่า molting
mustelid สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีอยู่ในวงศ์ ( family ) ซึ งประกอบด้วยวีเซล มิงค์ นาก สกังค์
แบดเจอร์ และวูฟเวอร์ลีน

N
native พืนทีทีสัตว์เติบโตและดํารงชีวิตในพืนทีจําเพาะ เช่นสัตว์ทีอาศัยอยูใ่ นพืนทีเขตหนาวอาร์ ค
ติค พืชทีอยู่ในป่ าร้อนชืน
natural selection ขบวนการทางธรรมชาติ ทีหลักเกณฑ์ว่า สิ งมีชีวิตที ปรั บตัวให้เข้ากับ
สิ งแวดล้อมได้ดีเท่านันจึ งจะสามารถอยู่รอดได้ และสามารถดํารงเผ่าพันธุ์สืบลูกหลานต่อไปได้
nestling ลูกนกทีอายุยงั น้อยเกินกว่าทีจะบินออกจากรังได้
nich สภาวะภายในสิ งแวดล้อมทีสัตว์นนครอบครองพื
ั นทีอยู่ ซึ งจะมีผลต่อพฤติกรรม กิจกรรม
อาหารและความต้องการของสัตว์ชนิดนัน

night vision ความสามารถในการมองเห็นได้ดีในพืนที


ทีมีแสงน้อย เช่น นกเค้าแมวซึ งจะช่วยในการหาเหยือ
ในเวลากลางคืน
209

nocturnal สัตว์ทีกิจกรรมเฉพาะในเวลากลางคืนหรื อมีกิจกรรมส่ วนใหญ่ในเวลากลางคืน


nomadic การเคลือนทีภายในอาณาเขตแบบไร้จุดหมายจากทีหนึ งไปยังอีกทีหนึ งเพือหาอาหารและ
นํา

O
omnivorous สัตว์ทีกินทังพืชและสัตว์เป็ นอาหาร

opposal thumb นิวหัวแม่มือทีอยูใ่ นลักษณะตรงกันข้ามกับ


นิวเท้าทังสี นิว โดยเป็ นลักษณะทีพบสัตว์ทีอยูใ่ นอันดับไพรเมต
( order primate )
order ชือลําดับการแบ่งกลุ่มสิ งมีชีวิตเป็ นกลุ่ม โดยเป็ นกลุ่มย่อย
ของลําดับชัน ( class ) และมีส่วนแยกย่อยลงไปเป็ นลําดับวงศ์ (
family ) และอีกรู ปแบบหนึ งของการแยกย่อยจาก order คือ
suborder

over grazing การกัดกินพืชที มีในพืนจากสัตว์ปศุสัตว์จนมีผลให้ปริ มาณของพื ชลดลงอย่างมาก

P
pack animal สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีมนุษย์ใช้สาํ หรับเป็ นสัตว์พาหนะเพือการบรรทุกสิ งของ
pampas ทุ่งหญ้าในพืนทีตอนใต้ของทวีปอเมริ กาใต้ซึงไม่มีตน้ ไม้ยืนต้น

parasite สิ งมีชีวิตที ดํารงชี วิตอยูภ่ ายในหรื อบน


ร่ างกายของสิ งมีชีวิตอืนและดูดกินเลือดหรื อ
สารอาหารจากสิ งมีชีวิตนัน การอยู่อาศัยของพารา
สิ ตนี จะเป็ นอันตรายต่อสัตว์ทีถูกดูดเกาะอาศัย
permafrost เป็ นชันของนําแข็งทีคงอยูอ่ ย่างถาวร
ในชันใต้ดินในพืนทีหนาวเย็นแบบทุนดรา

photoperiodism สิ งมีชีวิตที มีพฤติกรรมและการเจริ ญเติบโตที มีความเกียวเนื องกับช่วงเวลาการ


ได้รับแสงแดด
210

photosynthesis เป็ นขบวนการสร้างคาร์โบไฮเดรตโดยสร้างจากคาร์บอนไดออกไซด์ และนํา โดย


เกิดทีใบพืชทีมีคลอโรฟิ ลอยูใ่ นเนือเยือและต้องมีแสงแดดเข้ามาเป็ นองค์ประกอบร่ วมด้วย
plain พืนทีราบกว้างใหญ่ทีไม่มีตน้ ไม้ยืนต้น
pollinator สัตว์ เช่น นกหรื อค้างคาวทีช่วยในการผสมเกสร
population กลุ่มของสิ งมีชีวิตชนิดเดียวกันทีอาศัยอยู่ในพืนทีใดพืนทีหนึง
predation การจับและการกินเหยือทีเป็ นสัตว์โดยสัตว์ผลู ้ ่า
predator สัตว์ทีดํารงชีวิตด้วยการล่าและกินสัตว์เหยือเป็ นอาหาร

S
self – pollination นักพฤษศาสตร์ จะเป็ นผูช้ ่วยในการทํา cross pollination เพือให้เกิดพืชทีมีความ
แตกต่างหลากหลายขึน
prehensile อวัยวะทีมีการพัฒนาเพือใช้ในการกอดรัดรอบวัตถุเพือจับหรื อโอบไว้ ยกตัวอย่างใน
ลิงหางยาวที มีหางยาวเพือใช้งานเสมือนเป็ นแขนที ห้าเพื อช่วยในการจับกิ งไม้ แรดดํามีติงที ปลาย
ริ มฝี ปากบนเพือช่วยในการจับเล็มกิงไม้
prey animal สัตว์เหยือ สัตว์ทีถูกล่าและถูกกินเป็ นอาหารโดยสัตว์ผลู ้ ่า
pride ฝูงของสิ งโตทีประกอบด้วยสิ งโตเพศเมียทีมีสายสัมพันธ์แบบเครื อญาติ ซึ งอาจมีมากถึง 12
ตัว และสิ งโตเพศผูท้ ีอาจมีมากถึง 6 ตัวโดยขนาดฝูงจะแปรผันตามปริ มาณเหยือทีล่าได้
primate สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมในอันดับไพรเมต ( primate ) ยกตัวอย่างเช่น มนุษย์ กลุ่มลิงไม่มี
หาง ( apes ) กลุ่มลิงหางยาว ( momkey ) บุชเบบี ลีเมอร์ ลิงลมและทาร์เซี ย
211

R
rain forest ป่ าเขตร้อนทีมีตน้ ไม้ยืนต้นขึนอย่างหนาแน่น ต้นไม้ส่วนใหญ่จะมีลาํ ต้นสู ง ใบกว้าง
และเขียวสดตลอดทังปี ซึ งจะเป็ นต้นไม้ทีเป็ นเรื อนยอดของป่ า มีปริ มาณนําฝนอย่างน้อยปี ละ 254
เซนติ เมตร ครอบคลุมพืนทีร้อยละ 6 ของพืนทีโลก แต่มีจาํ นวนชนิ ดพืชและสัตว์มากกว่ากึ งหนึ ง
ของชนิดพืชและสัตว์ทงหมด
ั .

regenerative ในกิงก่าบางชนิดทีหางส่ วนปลายบางส่ วน


ขาดหายไปจะมีการเจริ ญใหม่ขึนมาทดแทน
regurgitation การสํารอกอาหารทียังย่อยไม่สมบูรณ์จาก
กระเพาะอาหารหรื อจากกระเพาะพัก ( crop ) ซึ งเป็ น
พฤติกรรมทีพบในนกบางชนิ ด เช่น นกเงือกจะสํารอก
อาหารเพือป้ อนลูกนก

retractable claw เสื อและแมวหลายชนิ ดทีสามารถบังคับเล็บที งุม้ ซ่อนอยู่ให้ยืดเหยียดออกได้


reintroduction กระบวนการนําสัตว์กลับคืนสู่พืนทีธรรมชาติทีเป็ นถินอาศัยเดิมของสัตว์ชนิดนัน
หลังจากทีสัตว์ได้ผา่ นกระบวนการฝึ กให้สตั ว์สามารถปรับตัวเข้ากับสิ งแวดล้อมใหม่ได้ โดยสวน
สัตว์เป็ นอีกหน่วยงานหนึ ง’ทีทําหน้าดังกล่าวได้ เนืองจากสามารถเพาะขยายพันธุ์สตั ว์ทีอยู่ในสภาะ
ใกล้สูญพันธุ์ได้เป็ นจํานวนทีมากพอสําหรับปล่อย

rodent สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมในอันดับโรเดนเทีย ( order


rodentia ) มีฟันตัดทีมีลกั ษณะคล้ายสิ วโดยมี 2 คู่ อยูก่ ราม
บน 1 คู่และกรามล่าง 1 คู่ ฟันตัดทัง 2 คู่นีจะมีการ
เจริ ญเติบโตตลอดเวลา ตลอดช่วงอายุขยั เนื องจากมีการสึ ก
กร่ อนจากการกัดใช้งาน สัตว์ในอันดับโรเดนเทียที มีขนาด
ใหญ่ทีสุ ดคือคาปี บารา ซึ งมีถินทีอยูใ่ นทวีปอเมริ กาใต้

หนูไมค์ ( mice ) เป็ นหนูทีมีขนาดเล็กทีสุ ด สมาชิกในอันดับนีเช่น บีเวอร์ แฮมสเตอร์ เจอร์บิล


เม่น โกเฟอร์ หนูเลมมิงน์
ruminant เป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมในอันดับ Artiodactyla ทีมีกีบเท้าคู่ เช่น วัว แพะ แกะ
กวาง อูฐ ยีราฟ ซึ งย่อยอาหารทีประกอบด้วยพืชเป็ นหลัก โดยเริ มจากการย่อยให้นุ่มก่อนใน
กระเพาะอาหารส่วนแรกของสัตว์นนั ซึ งเป็ นการกระทําของแบคทีเรี ยเป็ นหลัก แล้วจึงสํารอกเอา
212

อาหารทีย่อยแล้วครึ งหนึ งออกมา เรี ยกว่า เอือง (cud) ค่อยเคียวอีกครัง ขบวนการเคียวเอืองอีกครัง


เพือย่อยสลายสารทีมีอยูใ่ นพืชและกระตุน้ การย่อยอาหารนี เรี ยกว่า "การเคียวเอือง
rut ช่วงหนึ งในวงรอบทีสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมเพศผูบ้ างชนิ ด เช่นกวาง แกะแสดงอารมณ์
และท่าทางทางเพศ เช่นการต่อสูก้ นั ขับไล่เพศผูต้ วั อืนเพือครอบครองฝูงเพศเมีย การเดิน วิงตาม
เพือผสมพันธุ์เพศเมียทีเป็ นสัด

S
savanna ทุ่งหญ้าในป่ าเขตร้อนหรื อกึงเขตร้อน ทีมีตน้ ไม้ยืนต้นขึนกระจัดกระจายและพืชทีอยูใ่ ต้
ต้นไม้ยืนต้นมีความทนทานต่อช่วงฤดูร้อนทีแห้งแล้ง
scavenege กินซากสัตว์เป็ นอาหาร แร้งเป็ นสัตว์ทีกินซากสัตว์เป็ นอาหาร
scent gland ต่อมทีมีการขับสารทีมีกลินเพือใช้เป็ นเครื องหมายบอกอาณาเขต พบในสัตว์เช่นบี
เวอร์ วีเซล นากหรื อกวางหางขาว
scent mark กลินทีมีความแตกต่างกันทีมีในปัสสาวะหรื อจากสารทีขับจากต่อมกลินทีสัตว์ใช้เป็ น
เครื องหมายบอกอาณาเขต กลินต่างๆ เหล่านีเป็ นกลินทีมนุษย์ไม่ได้กลินดังกล่าว
semiarid พืนทีทีมีปริ มาณนําฝนต่อปี ประมาณ 25 – 51 เซนติเมตรต่อปี
semidesert พืนทีแห้งแล้งที มีปริ มาณนําฝนต่อปี ประมาณ 25 – 51 เซนติเมตร มีความแห้งแล้ง
น้อยกว่าทะเลทรายและมีพืชขึนอย่างกระจัดกระจาย
silverback กอลิลาร์ทีมีช่วงอายุสมบูรณ์พนั ธุ์และมีขนบริ เวณหลังสี เงินขาว

small cat สมาชิกส่วนหนึงของสัตว์ในชันเสื อและแมว ( family


felidae ) ทีมีขนาดร่ างกายเล็กกว่าเสื อขนาดใหญ่ และอยู่ใน
ตระกูลฟี ลิส ( genus Felis ) แมวเล็กประกอบด้วยคูการ์
( cougar ) ลิงค์ ( lynk ) บอบแคท ( bobcat ) โอซี รอท
( ocelots ) แมวป่ า ( wildcat ) และแมวบ้าน

specialist hunter สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมเช่น เสื อชี ตาร์ ทีชอบล่าสัตว์เหยือเฉพาะสัตว์เหยือบาง


ชนิด ซึ งจากเหตุผลดังกล่าวมีผลให้เสื อชีตาร์มีจาํ นวนลดลง ถ้าหากว่าสัตว์เหยือลดจํานวนลง
Special survival Plans ( SSPs ) แผนการปฏิบตั ิงานทีเป็ นความร่ วมมือกันของสวนสัตว์หลาย
แห่ งทังในอเมริ กาและนอกอเมริ กาเพือช่วยในการเพาะขยายพันธุ์สัตว์ทีใกล้สูญพันธุ์หรื อสัตว์ทีถูก
213

คุกคามจํานวนกว่า 50 ชนิ ด รวมทังการทํางานในส่ วนการนําสัตว์บางชนิ ดสู่ กระบวนการคืนสู่


พืนทีธรรมชาติ

stereoscopic vision เป็ นรู ปแบบการมองเห็นทีพบในสัตว์


เลียงลูกด้วยนํานมอันดับ ( order ) ไพรเมต เช่น มนุษย์ซึงเป็ น
รู ปแบบการมองที เห็นเป็ นภาพ 3 มิติคือกว้าง ยาว ลึก

stag กวางเพศผูท้ ีอายุถึงวัยเจริ ญพันธุ์


stepp ทุ่งหญ้าทีมีพืนทีกว้าง ซึงไม่มีตน้ ยืนต้น พบในพืนทีตะวันออกเฉี ยงใต้ของทวีปยุโรป ตอน
ใต้และตะวันตกเฉี ยงใต้ของทวีปเอเชีย

tapetum lucidum ชันเนื อเยือในดวงตา ในสัตว์เลียงลูกด้วย


นํานมบางชนิด เช่น วีเซล แมว ซึ งจะช่วยในการมองในทีแสง
น้อย เป็ นเสมือนกระจกทีอยู่บนจอตาช่วยสะท้อนแสงให้จอตารับ
แสงได้มากขึน การทีมีเนือเยือชันดังกล่าวในดวงตาจะมีผลให้
เมือมีแสงจากแฟรชกล้องหรื อจากแหล่งอืนๆ มากระทบทีดวงตา
จะมีผลให้ดวงตาสะท้อนแสงสุ กสว่างขึน

talon กรงเล็บในนกล่าเหยือ เช่น นกอินทรี เหยียว นกเค้าแมว


taproot รากแก้วของต้นไม้ทีจะหยังรากลงด้านล่าง และมีรากทีแตกแยกย่อยออกมา
terriotory พืนทีทีสัตว์ตวั หนึ งหรื อทังฝูงมีการปกป้ องไม่ให้สัตว์
ตัวอืน โดยเฉพาะสัตว์ชนิดเดียวกันรุ กลําเข้ามา
testosterone ฮอร์โมนในสัตว์เพศผูท้ ีอยู่ในช่วงอายุสมบูรณ์พนั ธุ์
เช่น กวาง ซึงมักจะมีระดับสูงขึนในกระแสโลหิ ตในช่วงเวลาทีอยู่
ในช่วงฤดูผสมพันธุ์
threatened species ชนิดสัตว์ทีถูกคุกคามจนกระทังจํานวนลดลง
เป็ นระดับก่อนทีจะเข้าสู่สภาวะชนิ ดใกล้สูญพันธุ์ (endangered
species )
214

timberline เป็ นแนวเขตทีทีต้นไม้สามารถดํารงชีวิตอยูไ่ ด้ในพืนทีสู งของภูเขา


torpid สภาวะทีสัตว์ลดกิจกรรมต่างๆ ลงในช่วงการจําศีล
toxin สารพิษที ผลิตจากสิ งมีชีวิตเช่น สารพิษในกบศรพิษ โดยมีจุดประสงค์เพือการป้ องกันตัว
troop กลุ่มของสัตว์เช่น ฝูงลิงทีมีการดํารงชีวิตและเคลือนทีไปด้วยกัน
tundra พืนทีราบกว้างใหญ่ทีไม่มีตน้ ไม้ ทีมีภูมิอากาศหนาวเย็นและแห้งที ต่อเนื องจากพืนทีขัว
โลกเหนือทีกินพืนทีในทวีปอเมริ กาเหนือ ยุโรป เอเชีย

UV
vertebrate สัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วย
สัตว์เลียงลูกด้วยนํานม นก สัตว์เลือยคลาน สัตว์
สะเทินนําสะเทินบกและปลาซึ งมีอยูป่ ระมาณ
40,000 ชนิด ใน 8 ชัน ( class ) ลักษณะร่ างกายของ
สัตว์กลุ่มนี เรี ยกว่า สมดุลสองด้าน ( bilateral
symmetry ) ทังร่ างกายซี กซ้ายและขวา ตัวอย่างใน
นกจะมีอวัยวะทังสองซี ก
ทังสองซี ก เช่น ปี ก เท้า กระดูกซี โครง ตาและอืนๆ เสมือนเป็ นกระจกเงาของกันและกัน
underfur ขนชนิดเส้นสัน นิมและขึนอย่างหนาแน่นซึ งถูกปกคลุมด้วยขนเส้นยาวหยาบ ( guard
hair ) ของสัตว์เลียงลูกด้วยนํานม
ungulate สัตว์เลียงลูกด้วยนํานมทีกีบเท้าทังจํานวนคู่ ( even-toed ungulates ) เช่น วัว หมู ยีราฟ
อูฐ หรื อคี ( odd-toed ungulates ) เช่น ม้า แรด
veld ทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ในพืนทีตอนใต้ของทวีปแอฟริ กาทีมีตน้ ไม้ยืนต้นและไม้พุ่มขึนอย่างกระจัด
กระจาย
venom สารพิษทีขับจากสัตว์ซึงจะถูกส่ งผ่านด้วยการกัดหรื อเข็มพิษ สัตว์ทีร่ างกายมีการสร้าง
สารพิษ เช่นแมงป่ อง งูพิษ แมงมุมและกิงกาบางชนิ ด
vocalization เสี ยงทีเกิดขึนอากาศเคลือนผ่านอวัยวะในระบบหายใจ สัตว์เลือยคลาน สัตว์สะเทิน
นําสะทินบกและสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมเป็ นสัตว์ทีสามารถเปล่งเสี ยงร้องได้

WXYZ
warm blooded สัตว์เลือดอุ่น หมายถึงสัตว์ทีสามารถคงระดับอุณหภูมิร่างกายได้อย่างคงที โดย
215

อุณหภูมิของสิ งแวดล้อมไม่มีผลต่อการเพิมขึนหรื อลดลงของอุณหภูมิร่างกาย สัตว์เลียงลูกด้วย


นํานมและสัตว์ปีกเป็ นสัตว์เลือดอุ่น
wetland พืนทีชุ่มนําทีมีระดับนําขังในพืนที ในระดับตํา เช่น บึง หนอง นกนําจะเลือกพืนทีชุ่มนํา
เป็ นแหล่งอาศัย
Wolf ข้อแตกต่างระหว่างหมาป่ าแจคเกิล ( Jackel )กับหมาป่ าวูฟ ( Wolf ) หมาป่ าแจคเกิลจัดอยู่
ในขนาดเล็กและกลางเช่น หมาป่ าแจคเกิลสี แดงมีนาหนั ํ ก 10 – 14 ปอนด์ ส่ วนหมาป่ าวูฟจัดอยู่ใน
ํ ก 28 – 80 กิโลกรัม หมาจิงจอกจะดํารงชีวิตอยูต่ วั เดียวหรื ออยูเ่ ป็ นคู่โดยไม่
ขนาดใหญ่มีนาหนั
เปลียนคู่ ( monogagamous ) ส่ วนหมาป่ าจะดํารงชี วิตแบบสัตว์ฝงู ล่าสัตว์ขนาดใหญ่เช่นกวางมูส
กวางเอลค์ กวางคาริ บู หมาป่ าโคเอตี ( coyotes ) มีนาหนัํ ก 9 – 23 กิโลกรัม ขนาดใหญ่กว่าหมา
จิงจอกแต่เล็กกว่าหมาป่ า สี คล้ายหมาป่ าแต่รูปร่ างต่างจากหมาป่ าคือขาสัน ใบหูใหญ่ มีการ
กระจายพันธุ์ในอเมริ กาเหนือและกลาง
zygodactyls ลักษณะนิวเท้าของนกทีมีนกนิวชีมาทางด้านหน้าและอีก 2 นิวชีไปทางด้านหลังซึ ง
นิวเท้าในลักษณะดังกล่าวจะช่วยนกในการจับเกาะกับกิงไม้ได้แน่นหนาปลอดภัย

You might also like