Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 13

1

เอกสารประกอบการติวสอบคณิตศาสตร์โอลิมปิ กวิชาการ
ค่าย 1
เรือ
่ ง 1) ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
2) เลขยกกาลัง
2) อัตราส่วนตรีโกณมิติ
ครูผส ู้ อน ครูปรวิศ นครชัย

ชือ
่ …………………………………………………………………………………………………….ชัน
้ ………………..
เลขที…
่ ………….
ความรูพ
้ ื้นฐาน : นิยามและทฤษฎีบท
ก. จานวนจริง และ ห.ร.ม. ค.ร.น.
จำนวนเชิงซ ้อน
(Complex
Numbers)
จำนวนจริง จำนวนจินตภำ
(Real พ
Number) (Imaginary
Number)

1. กาหนด a และ b เป็ นจานวนจริงใด ๆ


2

a ; เมือ่ a > 0
1.1. |a| = { 0 ; เมือ่ a = 0 เช่น |2| = 2 , |−2| = 2
−a ; เมือ่ a < 0
1.2. |a| = |−a| เช่น |2| = |−2| = 2
1.3. |a − b| = |b − a| เช่น |3 − 5| = |5 − 3| = 2
1.4. −|a| = −a เช่น −|2| = −2
1.5. |a − b| ≥ |a| − |b| เช่น |2 − (−3)| = 5
|2| − |−3| = 2 − 3 = −1 ซึง่ 5 ≥ −1
1.6. |a + b| ≤ |a| + |b| เช่น |2 + (−3)| = 1

|2| + |−3| = 2 + 3 = 5

ดังนัน
้ |2 + (−3)| ≥ |2| + |−3|
1.7. |a ∙ b| = |a| ∙ |b| เช่น |2 ∙ 3| = |2| ∙ |3| = 2 × 3 = 6
1.8. |a2 | = a2 เช่น |32| = 32 = 9
แต่|a3 | ≠ a3 เช่น |(−3)3| ≠ (−3)3
a |a| 2 |2|
1.9. | | = |b| เมือ่ b ≠ 0 เช่น | | = |3|
b 3

2. √a2 = |a| เช่น √(−3)2 = |−3| = 3


1 1 √a √a 1 1 √2 √2
3. = × = เช่น = × =
√a √a √a a √2 √2 √2 2
1 1 √a−√b √a−√b
4. = × =
√a+√b √a+√b √a−√b a−b
1 1 √2−√3 √2−√3
เช่น = × =
√2+√3 √2+√3 √2−√3 2−3
1 1 √a+√b √a+√b
5. = × =
√a−√b √a−√b √a+√b a−b
1 1 √2+√3 √2+√3
เช่น = × =
√2−√3 √2−√3 √2+√3 2−3
6. |ผลคูณของตัวเลข 𝟐 จานวน| = ห. ร. ม. × ค. ร. น.
เช่น ห.ร.ม. ของ 6 และ 15 คือ 3
ค.ร.น. ของ 6 และ 15 คือ 30
∴ |6 × 15| = (ห. ร. ม. ของ 𝟔 และ 𝟏𝟓) × (ค. ร. น. ของ 𝟔 และ 𝟏𝟓)
90 = 3 × 30
3

ข. เลขยกกาลัง
an = a × a ×a × …× a

n ตัว

เรียก a ว่าฐาน เรียก n ว่าเลขชี้กาลัง

สมบัตข
ิ องเลขยกกาลัง
กาหนด a, b เป็ นจานวนเต็มใด ๆ ทีไ่ ม่ใช่ศน
ู ย์ และ m, n เปนจานวนจริง
1. am ∙ an = am+n
am
2. = am−n ,a ≠ 0
an
3. (am )n = amn
4. (a ∙ b)n = an ∙ b n
a n an
5. ( ) = ,b≠0
b bn
0
6. a = 1 ,a≠0
1
7. a−n =
an
m
n
8. √ am = a n, a ≠ 0 ,n ≥ 2
n n n
9. √a ∙ √b = √a ∙ 𝑏 , a ≠ 0 , b ≠ 0 และ , n ≥ 2
m n mn
10. √ √a = √a , a ≠ 0 , m ≥ 2 และ , n ≥ 2

น่ าจา !! ถ้า am = an แล้ว m = n โดยที่ a ≠ 0,1


ถ้า an = bn แล้ว a = b โดยที่ a, b ≠ 0
4

ค. ทฤษฎีบทกลับพีทาโกรัส และสามเหลีย
่ มคล้าย
1. ทบ.พีทาโกรัส (เมือ
่ a, b และ c เป็ นความยาวของด้านในรูป ∆
มุมฉาก)

c 2 = a2 + b 2
c c = √ a2 + b 2
a
a = √c 2 − b 2

b b = √c 2 − 𝑎 2

2. สามเหลีย่ มคล้าย
F

A B
D E

จากรูป ∆ABC ~ ∆DEF


AB BC AC
จะได้ = =
DE EF DF
5

ง. อัตราส่วนตรีโกณมิติ

ด้านตรงข้ามมุมฉา
ด้านตรงข้ามมุม A ก (ฉาก)
(ข้าม) A
ด้านประชิดมุม A
ข้าม ส่วนกลับ(ชิด) 1
= cosec A =
ฉาก
sin A =
ฉาก  sin A ข้าม
ชิด ส่วนกลับ 1 ฉาก
cos A = = sec A =
ฉาก  cos A ชิด
ข้าม ส่วนกลับ 1 ชิด
tan A = = cot A =
ชิด  tan A ข้าม

1. ค่าของฟังก์ชน
ั ตรีโกณมิติ (ใช้บอ
่ ยๆ)
ฟังก์ชนั /
0o 30o 37o 45o 53o 60o 90o
มุม
1 3 1 4 √3
Sin 1 0
2 5 √2 5 2
√3 4 1 3 1
Cos 0 1
2 5 √2 5 2
1 3 4
Tan หาค่าไม่ได้ 1 √3 0
√3 4 3

2. ความสัมพันธ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
sin A ∙ cosec A = 1 sin2 A + cos 2 A = 1

cos A ∙ sec A = 1 sec 2 A − tan2 A = 1

tan A ∙ cot A = 1 cosec 2 A − cot 2 A = 1

sin A
tan A =
cos A
ก. จานวนจริง และ ห.ร.ม. ค.ร.น.
6

1. กาหนดให้ x 2 = 44,100 และ y 2 = 42,875 แล้วผลต่างของ ค.ร.น. และ


ห.ร.ม. ทีม
่ ีคา่ เป็ นบวกของ x, y มีคา่ เท่าใด

43 1
2. ถ้าเขียน ในรูป 1 + 1 โดยที่ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็ม
30 𝑎+ 1
𝑏+𝑐
แล้ว 𝑎𝑏 2 𝑐 3 เท่ากับเท่าใด

58 1
3. ถ้าเขียน ในรูป 2 + 1 โดยที่ 𝑥, 𝑦 และ 𝑧 เป็ นจานวนเต็ม
21 𝑥+ 1
𝑦+𝑧
แล้ว 𝑧 2 − 𝑥𝑦เท่ากับเท่าใด

4. ให้ n เป็ นจานวนเต็มบวก ถ้า 6 เป็ น ห.ร.ม. ของ 6n และ 15n และ m
เป็ น ค.ร.น. ของ 9 และ 12n แล้ว m-15n มีคา่ เท่าใด
7

2𝑎2
5. กาหนดให้ 𝑥 = 𝑎 + 2𝑎2
จงพิสูจน์ วา่
𝑎+
2𝑎2
𝑎+
2𝑎2
𝑎+
𝑎+⋯

6. ถ้า 1,521,000 = 𝑎1𝑚1 × 𝑎2𝑚2 × … × 𝑎𝑛𝑚𝑛 โดยที่ 𝑎1 , 𝑎2 , … , 𝑎𝑛


เป็ นจานวนเฉพาะบวกทีเ่ รียงลาดับจากน้อยไปมาก และ 𝑚1 , 𝑚2 , … , 𝑚𝑛
เป็ นจานวนเต็มบวก แล้ว 𝑎𝑛 − 𝑎𝑛−1 + 𝑎𝑛−2 − ⋯ + (−1)𝑛−1 𝑎1
และ(𝑚1 + 𝑚2 + ⋯ + 𝑚𝑛 )2 มีคา่ ต่างกันเท่าใด

่ าให้ 2𝑝2 − 3𝑝 − 1
7. จงหาจานวนเฉพาะ 𝑝 ทัง้ หมดทีท
เป็ นกาลังสามของจานวนเต็มบวก
8

8. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม ซึง่ (𝑎, 𝑏) = 1 และให้ 𝑚 เป็ นจานวนเต็ม


ถ้า 5 | 𝑚𝑎2 + 𝑏 2 แล้ว จงแสดงว่า มีจานวนเต็ม 𝑛 ซึง่ 5 | 𝑚 − 𝑛2
9

ข. เลขยกกาลัง
1. ค่า 𝑥 ทีท่ าให้สมการ 32𝑥−4 ∙ 42𝑥−3 ∙ 52𝑥−2 = 53 เป็ นจริงคือ

2. ถ้า 𝑎4 + 4𝑏4 = [(𝑎 − 𝑏)2 + 𝑏2 ][(𝑎 + 𝑏)2 + 𝑏2 ]


(104 +324)(224 +324)(344 +324)(464 +324)(584 +324)
แล้วค่าของ (44+324)(164+324)(284+324)(404+324)(524+324)
มีคา่ เท่าใด

3. ให้ 𝐴 = 𝑎𝑏 + 8 ซึง่ 7𝑎 = 3 และ 3𝑏 = 7และ 𝐵 = 3𝑚+1 + 3𝑛−2 ซึง่ 3𝑚+𝑛 = 6


และ 22𝑚+𝑛 = 1 แล้วค่าของ (𝐴 + 𝐵) − 1 เท่ากับเท่าใด

1 1 1 1
4. ให้ 𝑎 + 𝑏 = 𝑥 และ 𝑎 ∙ 𝑏 = 𝑦 ค่าของ 𝑎 + 𝑏 ในเทอมของ 𝑥
3 3 3 3

และ 𝑦 เป็ นเท่าใดใด


10

5. ถ้า 𝑥 เป็ นค่ารากของสมการ 23𝑥−1 ∙ 6𝑥 ∙ 255𝑥−1 = 75𝑥


แล้วค่าของ √𝑥 −1 เท่ากับเท่าใด
11

ค. อัตราส่วนตรีโกณมิติ
sin 60°∙cos 45°+tan 30° 1
1. ค่าของ − เป็ นเท่าใด
sec2 30°∙ cot2 45° cosec2 30°

𝑥2
2. ค่าของ เป็ นเท่าใดเมือ
่ 𝑥 ∙ sin 30° ∙ cos 45° =
2
2
cot 30°∙sec 60°+tan 45°
cosec2 45°∙ cosec 30°

3. ถ้า 5sin2 𝜃 + 7 sin 𝜃 − 6 = 0 แล้วค่าของ cot 𝜃 + cosec 𝜃 tan 𝜃 cos 𝜃


เป็ นเท่าใด
12

1
4. จงพิสูจน์ วา่ (tan 𝜃 + )∙ cos2 𝜃 = cot 𝜃
tan 𝜃

1 1
5. ให้ sin 𝐴 = + cos 𝐴 ถ้า 2sin 𝐴 + cos 𝐴 = 2 แล้ว 4cot 𝐴
5 5
มีคา่ เป็ นเท่าใด

6. ณ ตาแหน่ งทีจ่ อห์นยืนอยู่ มองเห็นเจมส์บนยอดเขาเป็ นมุมเงย 22.5o


เมือ
่ เดินตามแนวตรงเข้าหาภูเขา เป็ นระยะทาง 600√2 เมตร
จอห์นจะมองเห็นเจมส์บนยอดเขาเป็ นมุมเงย 45o
13

อยากทราบว่าจอห์นต้องเดินเข้าหาภูเขาอีกกีเ่ มตร
จึงจะมองเห็นยอดเขาเป็ นมุมเงย 60o

7. บอลลูนลอยอยูเ่ หนือจุด A ซึ่งอยูบ


่ นพื้นดิน นาย B และนาย C
ยืนอยูใ่ นแนวระนาบเส้นตรงเดียวกับจุด A โดยทีท ่ ง้ ั สองคนยืนห่างกัน y
เมตร ถ้าขณะทีน ่ าย B และนาย C
มองบอลลูนลอยขึน ้ ในเวลาเดียวกันเป็ นมุม 𝛽 และ 𝛼 ตามลาดับ
อยากทราบว่าขณะนัน ้ บอลลูนลอยสูงกีเ่ มตร

You might also like